Berlin for29jan2015 001

Page 1

สถานการณ์ด้านแรงงานในสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี เอกสารหมายเลข 8 ฝ่ ายแรงงานฯ 25 ม.ค. 58

กฎระเบียบการนาเข้ าผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอางในเยอรมนี ผลิ ตภัณฑ์เครื่ องสำอำงเป็ นสิ นค้ำที่ถูกควบคุมโดยกฎหมำยในแต่ล ะประเทศทัว่ โลก เพื่อ ควบคุ มสิ นค้ำให้มี ควำมปลอดภัย มีคุณภำพ และมีสรรพคุณตำมที่กล่ำวอ้ำง ฉะนั้นกำรนำผลิตภัณฑ์เครื่ องสำอำงเข้ำมำในเยอรมนี จึงจำเป็ นต้องผ่ำนขั้นตอนตำมกฎระเบียบกำรนำเข้ำผลิตภัณฑ์เครื่ องสำอำงของสหภำพยุโรป (อีย)ู เช่นเดียวกับ ประเทศสมำชิกอียอู ื่นๆ ทั้งนี้เพือ่ ควมปลอดภัยสูงสุดของผูบ้ ริ โภคในทุกด้ำน สหภำพยุโรปภำยใต้กำรกำกับดูแลของคณะกรรมำธิกำรยุโรป ได้ออกกฎหมำย Derective 2003/15/EC ตั้งแต่ วันที่ 11 มีนำคม 2556 เพื่อ แก้ไ ขกฎหมำยเครื่ อ งสำอำงเดิม (Directive 76/768/EEC) แต่ปัจจุบนั กฎหมำย Derective 2003/15/EC ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็ น EU Cosmetics Regulations ซึ่ งทุกประเทศสมำชิกอียจู ะต้องปฏิบตั ิ ตำมภำยใต้มำตรฐำนเดี ยวกัน ตั้งแต่วนั ที่ 11 กรกฎำคม 2556 เป็ นต้นไป โดยมี จุดประสงค์เพื่อ ให้มั่นใจว่ำ ผลิตภัณฑ์เครื่ องสำอำงที่วำงจำหน่ำยในอียนู ้ นั มีควำมปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภคของสหภำพยุโรป นิ ยำมควำมหมำยของคำว่ำ “เครื่ องสำอำง” (Cosmetics) หมำยถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสำรที่ นำไปใช้สมั ผัสกับ อวัยวะภำยนอกของมนุษย์เช่น ผิวหนัง เส้นผม เล็บ ริ มฝี ปำก เป็ นต้น หรื อใช้กบั ฟั น เยือ่ บุช่องปำก มีจุดประสงค์เพือ่ ทำควำมสะอำด ให้กลิ่นหอม ระงับกลิ่นกำย เสริ มควำมงำมให้ดูดียงิ่ ขึ้น ป้ องกัน รักษำให้อยูใ่ นสภำพที่ดี กฎระเบียบพืน้ ฐานผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอางใน EU 1. กำรปฏิบตั ิตำมกฎระเบียบระหว่ำงประเทศว่ำด้วยควำมปลอดภัยจำกกำรใช้ผลิตภัณฑ์ 2. กรรมวิธีกำรผลิตต้องเป็ นไปตำมหลักเกณฑ์วิธีกำรที่ดีในกำรผลิตเครื่ องสำอำง (Good Manufacturing Practice: GMP) ซึ่ งจะเกี่ ยวข้อ งกับกำรจัดเก็บเอกสำร กำรควบคุ ม กำรผลิ ต กำรควบคุ มกำรจัดเก็บ กำรขนส่งผลิตภัณฑ์ ปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภำดสินค้ำ เป็ นต้น

1


3. กำรกำหนดแนวทำงกำรจัดทำข้อมูลทำงด้ำนวิชำกำรและรำยละเอียดผลิตภัณฑ์ (Product Information File: PIF) ภำยหลังกำรวำงจำหน่ ำ ยผลิ ต ภัณ ฑ์รอบสุ ดท้ำย และพร้อ มให้หน่ วยงำนที่ก ำกับดู แ ล ตรวจสอบได้ 4. กำรประเมินควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ซึ่ งเป็ นข้อมูลในภำคผนวก 1 (Annex I) ของ EU Cosmetics Regulations โดยสำมำรถตรวจสอบได้ที่เว็บไซต์ http://ec.europa.eu/consumers/cosmetics/cosing/index.cfm?fuseaction=ref_data.annexes_v2 5. กำรควบคุมสำรจำเพำะ - มีกำรระบุรำยชื่อสำรต้องห้ำมในภำคผนวก (Annex II) สำรที่กำหนดเงื่อนไขและปริ มำณกำรใช้ (Annex III) สำรย้อมสี (Annex IV) สำรกันเสี ย (Annex V) และสำรกรองแสง UV หรื อ UVfilters (Annex VI) - มีกำรห้ำมใช้สำรหรื อส่ วนประกอบที่ถู กจัดอยู่ในประเภทมีฤทธิ์ก่อ มะเร็ ง มีฤ ทธิ์ทำงพันธุกรรม และก่อให้เกิดพิษ (CMR: Carcinogenic, Mutagenic, Reprotoxic) 6. กำรห้ำมวำงจำหน่ ำยผลิ ต ภัณฑ์เครื่ อ งสำอำงที่ผ่ำนกำรทดลองด้วยสัต ว์ หรื อ มี ส่วนประกอบที่ผ่ำ น กำรทดลองด้วยสัตว์ และห้ำมกำรทดลองผลิตภัณฑ์เครื่ องสำอำงหรื อส่วนประกอบเครื่ องสำอำงด้วยสัตว์ 7. ข้อกำหนดกำรแสดงฉลำก โดยข้อควำมบนฉลำก บรรจุภณ ั ฑ์หรื อหี บห่ อต้องระบุขอ้ มูลของผลิตภัณฑ์ ด้วยตัวอักษรที่ชดั เจน ง่ำยต่อกำรอ่ำน ภำษำที่ใช้บนฉลำกควรเข้ำใจง่ำยและเหมำะสม บนผลิตภัณฑ์น้ นั จะต้องระบุขอ้ มูลดังนี้ - ชื่อและที่อยูข่ องผูร้ ับผิดชอบสินค้ำในอียู - ประเทศต้นกำเนิดของสินค้ำที่นำเข้ำ - ขนำดบรรจุ/ปริ มำณสุทธิ - ระยะเวลำและวันหมดอำยุสินค้ำ สัญลักษณ์นำฬิกำทรำยจะใช้สำหรับ ผลิตภัณฑ์ที่มีอำยุกำรใช้งำนน้อยกว่ำ 30 เดือน และ จะต้องระบุเดือนปี หรื อวันเดือนปี ที่หมดอำยุ หรื อระบุดว้ ยข้อควำม Mindestens haltbar bis และตำมด้วยวันเดือนปี ที่หมดอำยุ สัญลักษณ์ กระปุกเปิ ดฝำจะใช้ส ำหรับ ผลิ ตภัณ ฑ์มี อ ำยุม ำกกว่ำ 30 เดื อ น และจะต้อ ง กำหนดวันหมดอำยุหลังจำกกำรเปิ ดใช้งำนครั้งแรก - คำเตือน วิธีใช้หรื อข้อแนะนำในกำรใช้สินค้ำ - หมำยเลขรุ่ นกำรผลิต (batch number) ของผูผ้ ลิตหรื อตัวเลขอ้ำงอิงระบุประเภทสินค้ำ 2


- รำยชื่อส่ วนประกอบตำมมำตรฐำนสำกล (International Nomenclature for Cosmetic Ingredients: INCI เพือ่ ให้ผบู ้ ริ โภคสำมำรถระวังส่วนประกอบบำงอย่ำงที่ตนเองแพ้ได้ - หำกมีกำรใช้วสั ดุนำโน (Nanomaterials) เป็ นส่วนประกอบ ต้องแสดงชื่อวัสดุนำโนและระบุคำว่ำ “nano” ต่อท้ำย ตัวอย่ำงเช่น Titanium Dioxide [nano] ตัวอย่ างฉลากผลิตภัณฑ์ ที่ถูกต้ อง หมำยเลขรุ่ นกำรผลิต ขนำดบรรจุ วันหมดอำยุสินค้ำที่มีอำยุมำกกว่ำ 30 เดือน ข้อมูลของผลิตภัณฑ์ วันหมดอำยุสินค้ำที่มีอำยุน้อยกว่ำ 30 เดือน ชื่อและที่อยู่ของผูร้ ับผิดชอบสิ นค้ำในอียู รำยชื่อส่ วนประกอบตำมมำตรฐำน INCI ประเทศต้นกำเนิ ดของสิ นค้ำที่นำเข้ำ

คำเตือน วิธีใช้หรื อข้อแนะนำในกำรใช้สินค้ำ

8. แนวทำงกำรกล่ำวอ้ำงสรรพคุณ 9. กำรให้เปิ ดเผยข้อมูลผลิตภัณฑ์แก่สำธำรณะ 10. กำรแจ้งให้ทรำบถึงผลข้ำงเคียงจำกกำรใช้ผลิตภัณฑ์ต่อคณะกรรมำธิกำรยุโรป และมำตรกำรแก้ไข การจัดจาหน่ ายเครื่องสาอางในเยอรมนี หำกมีกำรนำเข้ำเครื่ องสำอำงจำกประเทศไทยและจำกนอกประเทศสหภำพยุโรปเพื่อ ใช้บริ กำรลูกค้ำ หรื อจัด จำหน่ ำย “ผูแ้ ทนจำหน่ ำย หรื อ ผูน้ ำเข้ำ ” ที่มีถิ่ นฐำนอยู่ในเยอรมนี จะต้อ งเป็ น “ผูร้ ับผิดชอบ” ในผลิ ตภัณฑ์ เครื่ องสำอำงนั้นโดยตรงตำมกฎระเบียบฉบับใหม่น้ ี ในกรณี ที่เกิดควำมเสี ยหำยต่อผูบ้ ริ โภค รวมถึงจะต้องเป็ น ผูด้ ำเนินกำรนำสินค้ำไปขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ให้ถูกต้อง โดยผูส้ ่ งออกหรื อผูผ้ ลิตจะต้องส่ งมอบเอกสำรข้อมูล ทำงด้ำนวิชำกำรและควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ (PIF) ให้แก่ “ผูแ้ ทนจำหน่ำย หรื อ ผูน้ ำเข้ำ”

3


ตำม EU Cosmetics Regulations นี้ “ผูร้ ับผิดชอบ” สำมำรถแจ้งข้อมู ลผลิตภัณฑ์ที่จะวำงจำหน่ ำยในอี ยตู ่อ ค ณ ะ ก ร ร ม ำ ธิ ก ำ ร ยุ โ ร ป ผ่ ำ น ท ำ ง ร ะ บ บ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ท ำ ง ลิ้ ง ค์ https://webgate.ec.europa.eu/ cpnp/public/tutorial.cfm โดยมีข้นั ตอนผ่ำนดังต่อไปนี้

หลังจำกนั้นอำจมีหน่วยงำนที่รับผิดชอบมำตรวจสอบผลิตภัณฑ์วำ่ ตรงตำมที่ได้ลงทะเบียบไว้หรื อไม่ ซึ่ งจะเห็น ได้วำ่ สหภำพยุโรปมีกฎเกณฑ์กำรนำเข้ำและระเบียบว่ำด้วยศุลกำกรที่ค่อนข้ำงซับซ้อน ผูผ้ ลิต ผูจ้ ำหน่ ำย และผู ้ ส่ งออกผลิ ตภัณฑ์เครื่ อ งสำอำงและส่ วนประกอบเครื่ อ งสำอำงไทยไปสหภำพยุโรป ควรเตรี ยมควำมพร้อ ม ติดตำมควำมเคลื่อนไหวกำรเปลี่ยนแปลง และศึกษำกฎระเบียบใหม่น้ ี อย่ำงละเอี ยดเพื่อหลีกเลี่ยงกำรสู ญเสี ย โอกำสด้ำนกำรค้ำ เรียบเรียงจาก : - บทความเรื่ องตลาดธุรกิจสปาไทยในเยอรมนีของสานักงานส่ งเสริ มการค้ าระหว่ างประเทศ ณ นครแฟรงก์ เฟิ ร์ ต และ กรุ งเบอร์ ลิน - http://europa.eu/legislation_summaries/consumers/product_labelling_and_packaging/co0013_en.htm - http://export.gov/newhampshire/build/groups/public/@eg_us_nh/documents/webcontent/eg_us_nh_050058.pdf - http://app.tisi.go.th/EU/pdf/Cosmetic_Mar13.pdf - http://nanotec.or.th/nanomarks/?page_id=50

-----------------------------------------

4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.