คานา อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีความหลากหลายทางเชื้อชาติเช่น ไทย พม่า มอญ กะเหรี่ยง กะหร่าง ลาว แขกบังคลาเทศ และ แขกปากีสถาน ซึ่งมีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษาและอาชีพที่แตกต่างกัน ชุมชนส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพ เคลื่อนย้ายมาจากต่างประเทศ มาอาศัยอยู่ ตามแนวชายแดนไม่มีหลักฐานการเข้าเมืองที่ถูกต้องจึงไม่สามารถประกอบอาชีพบางอาชีพได้อาชีพหลัก ของชุมชน คือ อาชีพรับจ้าง อาชีพอิสระ อาชีพเกษตรกรรม อาชีพรับราชการ ประมง จักรสาน ทอ ผ้า ทาไม้กวาด เก็บของป่า ค้าขาย เป็นต้น ซึ่งอาชีพของชาวสังขละบุรีสมัยก่อนเน้นการอยู่ร่วมกันกับ ธรรมชาติ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อดารงชีวิตแบบพออยู่พอกิน แต่ปัจจุบันมีการปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ต้นยางเพิ่มมากขึ้น ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการค้า จึงทาให้ทรัพยากรทางธรรมชาติของสังขละบุรี ลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาของชาวสังขละบุรีและประเทศในอนาคตเป็นอย่างมาก โรงเรียนอุดมสิทธิศึกษาเห็นความสาคัญของปัญหาเหล่านี้จึงได้จัดทาโครงการ จัดการเรียนการสอนบน ฐานวัฒนธรรมชุมชนขึ้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์วิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และอาชีพของ ชาวสังขละบุรี เพื่อสร้างนวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้การส่งเสริมทักษะชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลง ของชาวกะเหรี่ยง มอญ และหลักสูตรท้องถิ่นกระบวนการเกี่ยวกับอาชีพใน ชุมชน อาเภอสังขละบุรี นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้การส่งเสริมทักษะชีวิต หลักสูตรท้องถิ่นอาชีพข้าวไร่นี้ เป็น นวัตกรรมที่รวบรวมองค์ความรู้ และหลักสูตรท้องถิ่นประเพณี กระบวนการเกี่ยวกับอาชีพในชุมชน ทั้งด้านที่มาและความสาคัญของอาชีพ วัตถุดิบและที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาชีพ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการประกอบอาชีพ กระบวนการ ขั้นตอน ในการประกอบอาชีพ ผลผลิตและ การตลาด ในการประกอบอาชีพ ปัญหาและอุปสรรค์ในการประกอบอาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการ ประกอบอาชีพ เพิ่มเจตคติที่ดี และเห็นคุณค่าของอาชีพในชุมชน โดย นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้การส่งเสริมทักษะชีวิต หลักสูตรท้องถิ่นอาชีพข้าวไร่เป็น ผลผลิตจากโครงการ จัดการเรียนการสอนบนฐานวัฒนธรรมชุมชนโรงเรียนอุดมสิทธิศึกษา ซึ่งได้รับ การสนับสนุนจากโครงการส่งเสริมนวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ระดับมัธยมศึกษา ครั้งที่ 1/2554 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) โรงเรียนอุดมสิทธิศึกษา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
คาอธิบายรายวิชา
1
ตัวชี้วัด
2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3
หน่วยการเรียนรู้รายวิชากิจกรรมกระบวนการเกี่ยวกับอาชีพในชุมชน อาชีพข้าวไร่
4
ที่มาและความสาคัญของอาชีพข้าวไร่
5
วัตถุดิบและที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาชีพข้าวไร่
6
วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการประกอบอาชีพข้าวไร่
7
กระบวนการ ขั้นตอน ในการประกอบอาชีพ
9
ผลผลิตและการตลาดในการประกอบอาชีพ
27
ปัญหาและอุปสรรค์ ในการประกอบอาชีพ
30
บรรณานุกรม สัมภาษณ์
คาอธิบายรายวิชา ศึกษาที่มาและความสาคัญของอาชีพข้าวไร่ วัตถุดิบและที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการ ประกอบอาชีพข้าวไร่เพื่อการเรียนรู้ วัสดุ / อุปกรณ์ / เครื่องมือ ที่ใช้ในการประกอบอาชีพข้าวไร่ และกระบวนการ ขั้นตอน ในการประกอบอาชีพข้าวไร่ พิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปลูกข้าวไร่ ผลผลิตและการตลาดในการประกอบอาชีพ โดยการประกอบอาชีพ ข้าวไร่ ตามขัน้ ตอนและวิธกี าร หลักการการปลูกข้าวไร่ เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการทาอาชีพข้าวไร่ มีเจตคติทีดีต่ออาชีพ สามารถนา ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และเห็นประโยชน์การ ดารงชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ง ม.๑/๑/๒/๓ ง ม.๑/๑.อธิบายการเลือกอาชีพ ม.๑/๒.มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ ม.๑/๓.เห็นความสาคัญของการสร้างอาชีพ ง ม.๒/๑/๒ ม.๒/๑.อธิบายการเสริมสร้างประสบการณ์อาชีพ ม.๒/๒.ระบุการเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ ง ม.๓/๒/๓ ม.๓/๒.วิเคราะห์แนวทางสู่อาชีพ ม.๓/๓.ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ ความถนัด และ ความสนใจของตน ง ม.๔-๖/๑/๓/๔ ม.๔-๖/๑.อภิปรายแนวทางสู่เข้าอาชีพที่สนใจ ม.๔-๖/๓.มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ ม.๔-๖/๔.มีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชา กิจกรรมกระบวนการเกี่ยวกับอาชีพในชุมชน อาชีพ ข้าวไร่ ๑. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอาชีพข้าวไร่จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ๒. วิเคราะห์และสรุปสาระสาคัญของข้อมูลทางอาชีพข้าวไร่ จากการศึกษาค้นคว้า ๓. สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าขณะดาเนินการประกอบอาชีพข้าวไร่ได้เหมาะสม ๔. อธิบายข้อมูลการประกอบอาชีพข้าวไร่ ได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่ว และมีความมั่นใจ ๕. สามารถใช้ อุปกรณ์ เครื่องมือ ประกอบการอธิบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หน่วยการเรียนรู้ รายวิชา กิจกรรมกระบวนการเกี่ยวกับอาชีพในชุมชน อาชีพ ข้าวไร่
ที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
๑ ที่มาและความสาคัญของอาชีพ ง ม.๑/๑/๒/๓ ง ม.๒/ ๑.๑ เรียนรู้ที่มาและความสาคัญของ ข้าวไร่ อาชีพข้าวไร่ ในชุมชน อาเภอสังขละบุรี ๑/๒/ ง ม.๓/๒/๓ ง ม.๔-๖/๑/๓/๔ ๒
๓
๑.๒ ข้าวไร่ คืออะไร
ง ม.๑/๑/๒/๓ ง ม.๒/ ๒.๑ ชนิดของเมล็ดพันธุ์ที่นามาในการ ปลูกข้าวไร่ ของชุมชนอาเภอสังขละบุรี ใช้ ในการประกอบอาชีพข้ าวไร่ ๑/๒/ ง ม.๓/๒/๓ วัตถุดิบและที่มาของวัตถุดิบที่ เพื่อการเรียนรู้
ง ม.๔-๖/๑/๓/๔
วัสดุ / อุปกรณ์ / เครื่องมือ ที่ ใช้ในการประกอบอาชีพข้าวไร่
ง ม.๑/๑/๒/๓ ง ม.๒/ ๓.๑ เครื่องมือในการประกอบอาชีพข้าว ไร่ ๑/๒/ ง ม.๓/๒/๓ ง ม.๔-๖/๑/๓/๔
๔
กระบวนการ ขั้นตอน ในการ ประกอบอาชีพข้าวไร่
ง ม.๑/๑/๒/๓ ง ม.๒/ ๔.๑ การสารวจพื้นที่ ๔.๒ การถางไร่ ๑/๒/ ง ม.๓/๒/๓ ง ม.๔-๖/๑/๓/๔
๔.๓ การจุดไฟ ๔.๔ การรื้อไร่ ๔.๕ การดายหญ้า ๔.๖ การหยอดข้าว ๔.๗ การดายหญ้ารอบขอบไร่ ๔.๘ เกี่ยวข้าวและฟาดข้าว
๕
พิธีกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการ
ง ม.๑/๑/๒/๓ ง ม.๒/ ๕.๑ เชิญพระแม่โพสพให้ มาอยู่ในลาน
ปลูกข้ าวไร่
๑/๒/ ง ม.๓/๒/๓ ง ม.๔-๖/๑/๓/๔
ฟาดข้ าว ๕.๒ พิธีกินข้ าวหัวยุ้ง ๕.๓ พิธีกินข้ าวใหม่
รวม
เวลา
น้าหนัก
(ชั่วโมง)
คะแนน
กิจกรรมกระบวนการเกี่ยวกับอาชีพในชุมชน อาชีพข้ าวไร่ โครงการจัดการเรียนการสอนบนฐานวัฒนธรรมชุมชน ๑. ที่มาและความสาคัญของอาชีพ อาเภอสังขละบุรี เป็ นอาเภอชายแดนที่ติดกับพม่า ห่างจากตัวจังหวัดกาญจนบุรี
220 กิโลเมตร มี
ลักษณะภูมิประเทศเป็ นทิวเขาสูงสลับกับหุบเขาแคบ บางแห่งเป็ นหน้ าผาชัน เส้ นทางคดเคี ้ยวไปตามไหล่เขา ประชากรที่อาศัยอยู่ในพื ้นที่ มีหลากหลายเผ่าพันธุ์ ได้ แก่ ชาวไทยพื ้นเมือง ลาว มอญ พม่า จีน แขก ชาวไทย ภูเขาเผ่าต่างๆ เช่น กะเหรี่ยง นอกจากนั ้นยังมีชนกลุม่ น้ อยพลัดถิ่นที่หลบหนีเข้ าเมือง ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ข้ าวไร่ รับจ้ าง หาของป่ า ประมงน ้าจืด ฯลฯ การทาเกษตรของชุมชนสังขละบุรีในอดีต เป็ นการเกษตรแบบพื ้นบ้ าน (
Traditional Farming)
ใน
เขตเกษตรน ้าฝน (Rainfed Farming) เป็ นการทาเกษตรเพื่อยังชีพ โดยเก็บหาอาหารจากป่ า ลาห้ วย และทาไร่ ข้ าวหมุนเวียน โดยให้ ความสาคัญกับการทาไร่ข้าวหมุนเวียนมากที่สดุ ส่วนการทานามีบ้างเล็กน้ อยในพื ้นที่ราบ ลุม่ ระหว่างหุบเขา โดยระบบการปลูกพืชเป็ นแบบการปลูกพืชผสม
(Mixed Cropping) คละชนิด เช่น ข้ าว อ้ อย
พริก ฟั กทอง แตง กล้ วย เป็ นต้ น โดยมีข้าวเป็ นพืชหลัก ซึง่ เป็ นลักษณะการปลูกพืชเลียนแบบระบบนิเวศ ธรรมชาติ ทาให้ ระบบนิเวศในไร่ข้าวมีความหลากหลายของชนิดพืช เกิดสมดุล ไม่มีการแพร่ระบาดของศัตรูพืช รวมถึงไม่ใช้ สารเคมีในการป้องกันกาจัดศัตรูพืช เป็ นเวลานับร้ อยปี ที่วิถีชีวิตของคนในชุมชนหยัดยืนผูกพันอยู่กบั การทาไร่ข้าว หรือ ไร่ซาก แบบระบบ หมุนเวียนเพื่อยังความสมดุลในการใช้ ประโยชน์จากผืนดินอย่างยัง่ ยืนที่สดุ โดยไม่ต้องใช้ ป๋ ยปรั ุ บปรุงดิน ภายใต้ วงจรของการทาไร่ที่เปรียบเสมือนจุดเริ่มต้ นของวงจรชีวิตชนเผ่าผู้รักสันโดษ ซึง่ มีขั ้นตอนมากมายที่แสดงออกถึง ความเคารพและอ่อนน้ อมถ่อมตนต่อธรรมชาติ แบบแผนประเพณีอนั ดีงามที่สบื ทอดปฏิบตั ิโดยผ่านพิธีกรรมล้ วน ต่างเป็ นสัญลักษณ์ที่แสดงออกถึงการขอใช้ และขอบคุณเสมอมา
ข้าวไร่ ข้ าวคือชีวิตของคนในชุมชนเป็ นอาหารหลักขอบคนในชุมชน ดังนั ้นการทาข้ าวไร่หมุนเวียนจึงสะท้ อน วิถีการทาการเกษตรบนฐานความเคารพธรรมชาติของชุมชน ผ่านพิธีกรรม วัฒนธรรม และความเชื่อได้ อย่าง ชัดเจน ตั ้งแต่เริ่มปลูกจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวขึ ้นยุ้งฉาง
๒. วัตถุดบิ และที่มาของวัตถุดบิ ที่ใช้ ในการประกอบอาชีพ
เมล็ดพันธุ์ข้าว
เมล็ดพันธุ์ข้าว
เมล็ดข้าวเหนียว เมล็ดผัก เช่น แตงเปรี้ยว, เผือก, มัน, แมงลัก, แตงไท, แตงกวา, ฟัก, แฟง, ข้าวโพด, พริก, กระเจี๊ยบเขียว, กระเทียม เป็นต้น
เมล็ดผัก
เมล็ดดอกไม้ เช่น ดอกดาวเรือง, หงอนไก่แดง, หงอนไก้เหลือง เป็นต้น
๓. วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ ในการประกอบอาชีพ
มีด ใช้สาหรับฟันไร่ หรือถางหญ้า คลุ่ง หรือ เสียมเล็กๆ ใช้สาหรับขุดหลุมหยอดข้าว
คลุ่ง หรื อ เสียมเล็กๆ
ขวาน ใช้สาหรับตัดต้นไม้ใหญ่ หรือต้นไผ่
ขวาน
ตะกร้าสาน ใช้สาหรับเก็บหญ้าที่ถางไปทิ้ง จอบ ใช้สาหรับขุดหลุมหรือขุดต้นไม้
พัด ใช้สาหรับโบกละอองข้าวหลังจากการฟาดข้าว
พัด
๔. กระบวนการ ขัน้ ตอน ในการประกอบอาชีพ การสารวจพืน้ ที่ ทาในช่วงเดือนมกราคม
การหาพื ้นที่สาหรับทาไร่
โดยจะเข้ าไปในป่ าเพื่อเสาะหาพื ้นที่ที่เหมาะสม
สาหรับการทาไร่ เช่น ป่ าประเภทป่ าไผ่ (วากล่า) หรือพื ้นที่ลาดชันที่ไม่มีต้นไม้ ใหญ่อยู่ เมื่อได้ พื ้นที่ที่เหมาะ สาหรับทาไร่เพราะไม่ต้องตัดไม้ ใหญ่มาก และเหมาะแก่การฟื น้ ตัวของต้ นไผ่ได้ ง่ายเมื่อหมดฤดูกาลทาไร่
โดย
ลักษณะพื ้นที่ที่จะไม่ทาไร่คือ เป็ นพื ้นที่มีน ้า พรุ (มีน ้าท่วมขัง) พื ้นที่หลังเต่า มีเสียงเก้ ง / นกร้ อง หากเลือกพื ้นที่ใน ลักษณะนี ้เป็ นพื ้นที่ทาไร เชื่อว่าจะทาให้ ไม่สบาย ทามาหากินไม่ได้ วิเคราะห์จากสภาพพื ้นที่ที่ห้ามเลือกมาทาไร่ พบว่าเป็ นพื ้นที่ที่เป็ นแหล่งต้ นน ้า หรือป่ าที่สมบูรณ์ผ่านความเชื่อและวัฒนธรรม เพื่อป้องกันการขาดแคลนน ้า และป้องกันการทาลายป่ าที่อดุ มสมบูรณ์
การสารวจพืน้ ที ่ การดูพนื ้ ที่ป่า(ตีป่า) เมื่อเลือกพื ้นที่ได้ เหมาะสมแล้ วจะต้ องประกอบพิธี “ดุเหม่ยละ(ตีป่า)”
พิธีตีป่าทาช่วงปลายมกราคม
เพื่อขอพื ้นที่จากจิตวิญญาณเจ้ าของพื ้นที่และเสีย่ งทายความอุดมสมบูรณ์ของพื ้นที่ เพื่อขออนุญาตโดยชาวบ้ าน จะต้ องอธิษฐานขอถึงพระเจ้ าแผ่นดิน (เชอโบวเชอขว่า) เจ้ าป่ าเจ้ าเขา (ที่คองชา) แม่ธรณี (ซ่งทะรี) โดยจะไปกับ ภรรยาหรือเพื่อนอย่างน้ อยหนึง่ คน เพื่อกล่าวคาอนุญาตนั ้น ด้ วยการนาไม้ ไผ่ หนึง่ ท่อนยาวขนาดหนึง่ วาของคน ทาพิธี ซึง่ เป็ นผู้ประสงค์จะทาไร่ตรงพื ้นที่นั ้นมาตีพื ้นดินสามครั ้งเป็ นการบอกกล่าวต่อเจ้ าของพื ้นที่ แล้ วนาไม้ ไผ่ นั ้นมาวัดความยาวอีกครั ้งหนึง่ ถ้ าไม้ ไผ่นั ้นยาวมากขึ ้นจากเดิม ก็ถือได้ ว่าได้ รับการอนุญาตให้ ใช้ ประโยชน์จาก เจ้ าของผืนป่ านั ้น แต่ถ้าสั ้นลงมากกว่าเดิมก็ถือว่าไม่ดี ถือว่าเจ้ าของที่นั ้นมีพลังอานาจแรงมากจึงแสดงสิง่ เหล่านั ้นให้ ผ้ ทู ี่ประกอบพิธีได้ รับการอนุญาตหรือไม่อนุญาตในการทาไร่ในพื ้นที่ผืนนั ้น และในการเลือกพื ้นที่ทาไร่
นี ้ใช้ เวลาถึง ๓ วันด้ วยกัน ภายใน ๓ วันนี ้ ถ้ าเกิดเหตุการณ์ต่างๆที่ผิดปกติขึ ้นมา เช่น สมาชิกในครอบครัว เจ็บป่ วย เป็ นต้ น แม้ แต่ความฝั น ๓ คืนแรก ถ้ าฝั นไม่ดีก็หมายถึงอุปสรรคต่างๆ ที่จะเกิดขึ ้นในการทาไร่บนพื ้นที่ นั ้น ถ้ าฝั นเห็นถึงวัว ควาย ถือเป็ นสิง่ ไม่ดี แต่ถ้าฝั นเห็นม้ า หรือช้ าง ถือว่าเป็ นสิง่ ที่ดี ถ้ าหากยังคงต้ องการทาไร่บน ผืนนั ้นก็ต้องหาวิธีการแก้ ไข หากแก้ ไขแล้ วยังไม่ดีขึ ้นก็ต้องทิ ้งไร่ผืนนั ้น นอกจากนี ้ในแต่ละอาจต้ องทาพิธีตีป่าถึง ๓ ครั ้ง จึงจะได้ รับอนุญาตให้ เข้ าใช้ พื ้นที่ทาไร่ได้ หากพิจารณาแนวคิดแม้ ไม้ จะยาวออกแต่ถ้ามากเกินไปก็จะไม่ เป็ นผลดี ในแง่มมุ คุณธรรมเป็ นการสอนให้ เป็ นคนรู้จกั พอ ไม่ละโมบโลภมาก ทาแต่พอดี ไม่หวังผลมากเกินไป รู้จกั ประมาณตนเอง
ครู ภูมิปัญญาสอนการตีป่า ต่อจากนั ้นเมื่อได้ รับอนุญาตจากแม่ธรณี (ซ่งทะรี) แล้ วก็จะทาขั ้นตอนต่อไปโดยการนาไม้ ไผ่ที่นามาตี ป่ านั ้นปั กลงบนพื ้นดินแล้ วผ่าด้ านปลายให้ เป็ น ๔ แฉก เอาซีกไม้ ไผ่สอดไว้ เรียกว่า “ทูผะทา” เพื่อเป็ นการบอกให้ คนอื่นรู้ว่าพื ้นที่นี ้มีผ้ เู ข้ าใช้ ในการทาไร่แล้ ว ต่อจากนั ้นก็เริ่มต้ นตัดต้ นไม้ เล็กๆ ที่อยู่ในบริเวณนั ้นเป็ นการ ตรวจสอบการเสีย่ งทายอีกครั ้งหนึง่ ผู้ทาไร่หนั หน้ าไปตีพื ้นดินด้ านทิศอื่นดูอีกทีเผื่อว่าเจ้ าป่ าไม่อนุญาต ถ้ าหัน หน้ าตีจนครบทุกทิศแล้ วยังไม่ได้ รับอนุญาต ก็ต้องหาพื ้นที่ใหม่ และในระหว่างที่ตดั ต้ นไม้ อยู่นั ้นถ้ ามีเสียงนก ขุนแผน (ทูสอ่ ง) หรือเก้ ง (คี่บ่อง) ร้ องขึ ้นแสดงว่าไม่ได้ รับการอนุญาตให้ ใช้ ประโยชน์ในพื ้นที่ เพราะมีสตั ว์ชนิดนั ้น ใช้ ประโยชน์อยู่ก่อนแล้ ว ผู้ที่เลือกพื ้นที่ทาไร่ต้องไปหาที่ใหม่ทาไร่ ถือเป็ นขั ้นตอนแรกของการหาพื ้นที่ ทาไร่ของ ชาวกะเหรี่ยงในป่ าทุ่งใหญ่นเรศวรโดยทัว่ ไป ข้ อห้ ามในพื ้นที่สาหรับการทาไร่ ๑. พื ้นที่ที่น ้าผุด มีความเชื่อกันว่าเป็ นพื ้นที่ที่มีเจ้ าที่แรงที่สดุ ถ้ าหากใครฝ่ าฝื นจะได้ รับบทลงโทษทาง ธรรมชาติถงึ ขั ้นแก่ความตาย ๒. พื ้นที่ต้นน ้ามีความเชื่อกันว่าเป็ นวิญญาณที่ดรุ ้ าย หากใครฝ่ าฝื นจะทาให้ เจ็บไข้ ได้ ป่วย ๓. พื ้นที่ด้านนอกส่วนโค้ งของลาน ้าตรงกับแนวการไหลของน ้าก่อนถึงโค้ ง
๔. พื ้นที่สามเหลีย่ มที่บรรจบกันของน ้าสองสาย ๕. พื ้นที่เกาะกลางน ้าหรือพื ้นที่ด้านในโค้ งหักศอกของลาน ้า ๖. พื ้นที่ระหว่างโค้ งของสองลาน ้า ๗. ที่ราบระหว่างหุบเขาหรือที่ดินล้ อมรอบด้ วยภูเขา ๘. ที่ดินสามผืนตั ้งอยู่ในลักษณะสามเส้ า ๙. พื ้นที่ที่มีลกั ษณะเป็ นหลังเต่า ๑๐. ครัวเรือนเดียวกันใช้ ผืนดินสามผืน ๑๑. พื ้นที่ที่พบเก้ งหรือเต่าขณะเลือกพื ้นที่ทาไร่ ๑๒. พื ้นที่ที่พบปรากฏการณ์ธรรมชาติผิดปกติ เช่น มีหน่อไม้ ขึ ้นในหน้ าแล้ ง มีไผ่แตกลาเป็ นสองกิ่ง เชื่อ กันว่าปรากฏการณ์ผิดธรรมชาติเป็ นเสมือนการบอกห้ ามจากเจ้ าที่ ๑๓. พื ้นที่บนสันเขาที่เป็ นต้ นน ้าของลาน ้าสองสายหรือที่ราบระหว่างน ้าผุดสองที่ เชื่อกันว่าทาให้ เจ้ าที่ บีบกัน ๑๔. พื ้นที่ขนาบหรืออยู่ระหว่างลาน ้าสามสาย ๑๕. พื ้นที่ระหว่างลาน ้าสองสาย ๑๖. ทาไร่บนสองฝั่ งของลาน ้าในเวลาเดียวกัน ๑๗. ที่ดินระหว่างที่ดินสองผืนที่มีผ้ ใู ช้ อยู่ในสายผีเดียวกัน ๑๘. ใช้ ที่ดินสามผืนของสามครัวเรือนในสายผีเดียวกันแต่ไม่เรียงลาดับตามอาวุโส พื ้นที่ต้องห้ ามสาหรับการทาไร่ดงั กล่าว ทุกคนจะปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด เพราะกลัวผลร้ ายที่อาจจะ เกิดขึ ้นถ้ าหากมีการฝ่ าฝื น คนรุ่นเก่ายังคงมีความเชื่อกันว่าจิตวิญญาณของธรรมชาติยงั เฝ้าดูพฤติกรรมของผู้ที่ จะทาไร่อยู่จงึ ต้ องมีกฎข้ อห้ ามต่างๆเหล่านี ้
การถางไร่ จะทาประมาณช่วงเดือนกุมภาพันธ์ โดยก่อนหวดหญ้ า ถางไร่
(พิเฆ่อะ) คือการทาพื ้นที่ที่จะทาไร่นั ้นให้
เป็ นพื ้นที่โล่งเพื่อจะได้ เพาะปลูกข้ าวได้ จะขออนุญาตเจ้ าป่ าในการใช้ พื ้นที่อีกครั ้งและขอให้ เจ้ าป่ าย้ ายไปพื ้นที่ อื่นก่อน เชื่อว่าจะช่วยให้ การหวดหญ้ าปลอดภัย โดยจะตัดเฉพาะต้ นไม้ เล็กๆ ที่คลุมพื ้นดิน จะไม่ตดั ต้ นไม้ ใหญ่ จะตัดเพียงกิ่งก้ านที่บงั แสงแดดที่จะส่องลงมาในเวลาปลูกข้ าวเท่านั ้น หลังจากตัดไม้ ในไร่เรียบร้ อยแล้ วก็จะตาก ไว้ เพื่อให้ แห้ งช่วงปลายกุมภาพันธ์ -มีนาคม
การถางไร่ การจุดไฟ ช่วงปลายเดือนมีนาคม
แล้ วเมื่อถึงเวลาไม้ ในไร่แห้ งแล้ วก็จะทาพิธีกรรมต่อมาคือ การเผาไร่ (ดวย
เฆ่อะ) โดยจะเลือกวันที่ท้องฟ้าโปร่ง เป็ นวันเผาไร่หรือเผาในวันอังคาร (เอ่อยา) เพราะเชื่อว่าเป็ นวันดี เจ้ าของไร่ จะอธิษฐานขอให้ สงิ่ ศักดิ์สทิ ธิ์อยู่ในไร่ในต้ นไม้ ที่ตดั นั ้นออกไปจากพื ้นที่ไร่ก่อน
การจุดไฟ เมื่ออธิษฐานเสร็จแล้ วจึงลงมือเผา เจ้ าของไร่และคนอื่นๆ จะช่วยกันเดินจุดไฟรอบๆ พื ้นที่ไร่พร้ อมกับ ตะโกนโห่ร้องพร้ อมเคาะไม้ แห้ งที่อยู่ตามไร่
3 ครั ้ง เพื่อบอกสัตว์ เช่น มด กระรอก เต่า ให้ ออกจากพื ้นที่ เมื่อ
พิจารณาในมิติความปลอดภัยจะพบว่าเป็ นสัญญาณในการบอกพื ้นที่ใกล้ เคียงว่าจะมีการเผาไร่ให้ ช่วยกัน ระมัดระวังไฟที่จะลามไปที่อื่น
การเผาป่ า ในขณะเดียวกันฝ่ ายภรรยาที่อยู่ที่บ้านหรือกระต๊ อบที่สร้ างไว้ ใกล้ ที่ทาไร่ เมื่อเห็นมีควันลอยขึ ้นที่ท้องฟ้า ทิศทางที่ทาไร่ก็จะนาขี ้เถ้ ามากองเป็ นเจดีย์ที่หน้ าบันไดบ้ านจานวน ๓ กอง แล้ วนาเอาพริกแห้ งมาปั กบนกอง ขี ้เถ้ านั ้น เชื่อกันว่าช่วยให้ การเผาไร่นั ้นไหม้ ได้ ดี และเป็ นการป้องกันสิง่ ที่ไม่ดีที่อยู่ในไร่ไม่ให้ หนีเข้ ามาอยู่ในบ้ าน
ซึง่ อาจทาให้ มีการเจ็บป่ วยเกิดขึ ้น เพราะเชื่อกันว่าขี ้เถ้ าสามารถขับไล่สงิ่ ไม่ดีให้ พ้นไปจากบันไดบ้ านได้ เช่นเดียวกับการเดินทางไปนอกบ้ านหรือไปค้ างแรมที่อื่นก่อนลงจากบ้ านเจ้ าของบ้ านจะนาขี ้เถ้ ามาโปรยที่บนั ได บ้ าน เพื่อเป็ นการคุ้มกันบ้ านไม่ให้ สงิ่ ไม่ดีเข้ าบ้ าน
การปลูกพืชต่างๆ ในไร่ ข้าว เมื่อเผาไร่เสร็จแล้ วชาวกะเหรี่ยงจะหว่านเมล็ดพันธุ์พืชต่างๆ ก่อน เช่น พริก ข้ าวโพด พืชผักสวนครัว ต่างๆ แล้ วก็ทิ ้งไร่เป็ นเวลา ๑ เดือน เพื่อรอให้ มีฝนตกชะล้ างแต่งหน้ าดินสักครั ้งก่อนเริ่มต้ นรื ้อไร่ และดายหญ้ าที่ ขึ ้นครั ้งแรก ก่อนที่จะทาการปลูกข้ าวในไร่ต่อไป การรื อ้ ไร่ ทาในช่วงปลายเมษายน-พฤษภาคม เป็ นการรื ้อไม้ ที่ยงั ไหม้ ไฟไม่หมดมากองรวมกันแล้ วเผาอีกหลาย ครั ้งจนไหม้ ดี จะใช้ เวลาประมาณ
15 วัน โดยก่อนเผากวาดใบไม้ บริเวณรอบไร่เพื่อให้ ไฟไม่ลามไปที่อื่น และ
กิจกรรมที่ทาเพิ่มเติมคือสร้ างกระท่อมไว้ พกั ผ่อน ปลูกผักตามริมไร่ (ฟั กทอง กล้ วย อ้ อย มัน) เพื่อล่อเม่น ตุ่น ให้ กินอาหารเหล่านี ้ให้ อิ่มจะได้ ไม่มากินข้ าวในไร่
พืชผักต่างๆ ทีป่ ลูกในไร่ ข้าว และเพื่อนามาใช้ ทาอาหารของครอบครัวระหว่างการทาไร่ปลูกผักในไร่ เช่น ผักชี เผือก แตง ฯลฯ เมื่อ วิเคราะห์ตามหลักการควบคุมศัตรูพืช จะพบว่าการปลูกผักหลากหลายชนิดเป็ นการสร้ างความหลากหลายใน ระบบนิเวศ เพื่อลดความเสียหายรุนแรงจากการทาลายของศัตรูพืช ซึง่ สะท้ อนให้ เห็นแนวคิดไม่ใช่วิธีการกาจัด ศัตรูพืชแบบการฆ่า แต่เป็ นการแบ่งกันกินทาให้ ไม่ทาลายสัตว์ในระบบนิเวศนั ้น ทาให้ สตั ว์ยงั คงมีความ หลากหลายในระบบนิเวศของข้ าวไร่ นอกจากนั ้นการปลูกพืชผักไว้ ที่ไร่ทาให้ มีอาหารกินระหว่างทางานอยู่ไร่และ สามารถเก็บผักกลับไปกินที่บ้านได้ ด้วย เป็ นการประหยัดแรงงานที่มาไร่ครั ้งเดียวได้ ประโยชน์หลายอย่าง การดายหญ้ า ทาในช่วงกลางเมษายน
-กลางพฤษภาคม โดยมักจะชวนลูก หลาน และคนในครอบครัวช่วยกันดาย
หญ้ า เป็ นการสอนลูกหลานเรื่องการทาไร่ด้วยการลงมือปฎิบตั ิจริง ( Learning by Doing) และได้ อยู่พร้ อมหน้ า กัน การหยอดข้ าว หรื อ การปลูกข้ าว ๙ กอ (บือ้ ชีเบาะ) ทาในช่วงปลายพฤษภาคม
-ต้ นมิถน ุ ายน
เมื่อได้ หว่านเมล็ดพันธุ์ต่างๆ ในไร่ข้าวก่อนเมล็ดข้ าวแล้ ว จะมี
การหยอดข้ าวโดยการแซะดินเพื่อหว่านเมล็ดข้ าวในไร่อยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคม และรอฝนก่อนจะมีการเริ่มต้ น ในการหว่านเมล็ดข้ าวและต้ องใช้ เครื่องมือที่เรียกว่า “คลุง่ ” หรือเสียมเล็กๆ ที่ใช้ ไม้ ไผ่ต่อขึ ้นไปอีกให้ ยาวประมาณ ๓ เมตร ทาเป็ นด้ ามจับสาหรับแซะดินให้ เป็ นหลุมหยอดข้ าวเชื ้อ ในการหยอดข้ าวนี ้มีพิธีกรรมที่สาคัญ คือ การ ทา “บือฉิเบาะ” หรือการปลูกข้ าว ๙ กอ อันเป็ นหัวใจของพื ้นที่ไร่ทั ้งหมด เจ้ าของไร่เลือกเอาพื ้นที่ที่ดีที่สดุ ของผืน ไร่หรือกลางไร่ โดยเลือกพื ้นที่ที่เรียบไม่ชนั มาก ดินดี และห่างจากต้ นไม้ ใหญ่พอสมควร ข้ าว ๙ กอนี ้ ถือว่าเป็ นที่ อยู่ของแม่โพสพ (ภี่บือโหย่ว) ซึง่ มีความสาคัญต่อผืนไร่มาก เพราะถ้ าหากข้ าว ๙ กอ ( บื ้อชีเบาะ) นี ้ถูกหนูหรือ
สัตว์อื่นรบกวน เจ้ าของไร่ก็ต้องทาพิธีขอขมาต่อแม่โพสพ (ภี่บือโหย่ว) เมื่อต้ นไม้ ใหญ่ล้มทับข้ าว ๙ กอ (
บื ้อชี
เบาะ) ก็ต้องทิ ้งไร่ผืนนั ้นทันที
การปลูกข้าว ๙ กอ เจ้ าของไร่มกั เป็ นผู้หญิงเป็ นคนทาหน้ าที่ “ไหว้ เจ้ าแห่งดิน (บ่าซุ่งธะรี)” ด้ วยการนัง่ ไหว้ อธิษฐานและตบ พื ้นดินสามครั ้ง เพื่อเป็ นการบอกกล่าวฝากผืนไร่แก่เจ้ าแห่งดินให้ ช่วยกันปกปั กรักษา อย่าให้ มีสตั ว์ร้ายมารบกวน หรือทาลาย ให้ ดแู ลข้ าวและพืชต่างๆ ในไร่ให้ งอกงาม ต่อจากนั ้นก็เริ่มหยอดเมล็ดข้ าวจานวน ๙ หลุม ด้ วยการ นาแม่ข้าว (บือมู) ซึง่ เป็ นพันธุ์ข้าวที่เก็บเกี่ยวมาจากต้ นข้ าวที่ปลูกข้ าว ๙ กอเมื่อปี ที่ผ่านมา การทาพิธีปลูกข้ าว ๙ กอนั ้น เจ้ าของไร่ใช้ ซีกไม้ ไผ่ยาวประมาณ ๑ เมตร จานวน ๔ ซีกมาวางยึดให้ ติดเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัสบนพื ้นดิน ตรงกลางของ ๙ หลุมปั กไม้ ไผ่ที่ผ่าให้ เป็ นง่ามหนีบห่อเมล็ดข้ าวเชื ้อของแม่ข้าวที่เหลือจากการทาปลูกข้ าว ๙ กอ ปี ที่แล้ วมาคลุกกับดิน แล้ วห่อด้ วยใบไม้ เพื่อเป็ นเครื่องหมาย เมื่อเสร็จสิ ้นขั ้นตอนการทาพิธีปลูกข้ าว ๙ กอ ( บื ้อชี เบาะ) แล้ วจึงหยอดข้ าวในพื ้นที่อื่นๆต่อไป นอกจากนี ้การทาพิธีปลูกข้ าว ๙ กอนี ้ยังมีความเชื่อทางพระพุทธศาสนาคือ จะมีการเขียน “เนี๊ยะ หมื่อ พุ๊ก เธี่ย ยะ หรือ นะ โม พุทธา ยะ” เขียนลงไปบนพื ้นดินตามลักษณะดังนี ้ ข้ าวกอที่ ๑ ข้ าวกอที่ ๒ ข้ าวกอที่ ๓ (นะ) (โม) ข้ าวกอที่ ๘ ข้ าวกอที่ ๙ ข้ าวกอที่ ๔ (ยะ) ข้ าวกอที่ ๗ ข้ าวกอที่ ๖ ข้ าวกอที่ ๕ (ธา) (พุท)
เมื่อเขียนลงไปบนพื ้นดินตามลักษณะดังกล่าวแล้ ว ก็ต้องปลูกข้ าวล้ อมรอบอีก ๓ ชั ้น แล้ วหลังจากนั ้น ก็รอผลผลิตและมาดายหญ้ าที่จะขึ ้นปกคลุมข้ าวต่อไป และคอยป้องกันข้ าวไร่จากสัตว์ที่มารบกวนต้ นข้ าวในไร่ ด้ วย การดายหญ้ ารอบขอบไร่ ทาในปลายสิงหาคมถึงต้ นกันยายน ซึง่ เป็ นช่วงที่ข้าวกาลังตั ้งท้ อง ดังนั ้นการดายหญ้ ารอบขอบๆ ไร่จะ เป็ นการป้องกันศัตรูพืชมารบกวนข้ าวในไร่ เช่น หมู เม่น กระรอก กระแต โดยวิธีการไล่สตั ว์มีหลายวิธี เช่น นาผ้ า สีขาวเสียบไว้ ปักไว้ ทารูปนกด้ วยฟางข้ าวและนาไปย่างบนเตาไฟที่บ้าน เชื่อว่านกจะได้ ไม่มารบกวน
การดายหญ้าเมือ่ ข้าวเริ่ มเติ บโต ปั จจุบนั มีการใช้ ผ้าห่อด้ วยแป้ง เพื่อให้ กลิน่ คล้ ายคน เป็ นต้ น ช่วงข้ าวสุกจะใช้ ผ้าสีเขียว แดง ผูกกับผ้ า ให้ พดั ปลิวเพื่อไล่นก ที่ชอบมาจักกินข้ าว เช่น นกแก้ ว นกกระจิบและนกเขา เป็ นต้ น สะท้ อนแนวคิดดั ้งเดิมที่ไม่ใช้ สารเคมีในการป้องกันกาจัดศัตรูพืช และไม่กาจัดโดยการฆ่าทาลาย ทาให้ ระบบนิเวศในไร่ข้าวไม่สญ ู เสียความ สมดุล
การถอนหญ้า ดูแลไร่ ข้าว เกี่ยวข้ าวและฟาดข้ าว ทาในช่วงเดือนปลายตุลาคม-ธันวาคม ก่อนเก็บเกี่ยวข้ างต้ องมีพิธีกรรมที่จะขอไม่ให้ ฝนตกก่อน จาก การที่ชมุ ชนปลูกข้ าวด้ วยพันธุ์ที่หลากหลายทาให้ มีอายุเก็บเกี่ยวต่างกัน จึงทยอยเก็บเกี่ยวจากแปลงข้ าวที่สกุ ก่อน
ชาวไร่ ตดั ไม้ไผ่มาจักตอกเพือ่ เตรี ยมมัดข้าวทีเ่ กี ่ยวจากไร่
ครู ภูมิปัญญาสอนการเก็บเกี ่ยวข้าวไร่ การปลูกข้ าวหลายสายพันธุ์ที่มีอายุเก็บเกี่ยวแตกต่างกัน นอกจากเป็ นการจัดการในเชิงพื ้นที่เพราะ ปลูกแล้ ว ยังเป็ นการการจัดการแรงงานให้ สามารถเก็บเกี่ยวข้ าวได้ ทนั ไม่ร่วงเสียหาย ในช่วงการเก็บเกี่ยวยังนิยม ลงแขกเอาแรงช่วยเหลือกันทั ้งเกี่ยวข้ าวฟาดข้ าว และถือเป็ นช่วงที่คนในชุมชนมีความสนุกสนาน
เกี ่ยวข้าวไร่
โดยมีพิธีเชิญพระแม่ โพสพสู่ลานฟาดข้ าว(ภี่บ่ อื โหย่ วเก้ เลอเพาะบือเอ่ อลอง) ช่วงเดือนพฤศจิกายน คือจะมีการเกี่ยวข้ าว สาหรับการเกี่ยวข้ าวก็ให้ เกี่ยวครั ้งแรก ๗ ฟ่ อนก่อน แล้ ววัน ต่อๆ มาก็จะเกี่ยวข้ าวจนหมดทั ้งผืน แต่จะเว้ นเอาไว้ ตรงที่มีการปลูกข้ าว ๙ กอ (
บื ้อชีเบาะ) เอาไว้ เกี่ยวในวัน
สุดท้ าย เมื่อได้ ผลผลิตแล้ วขั ้นตอนสุดท้ ายก็มีพิธีกรรมเชิญแม่โพสพให้ มาอยู่ในลานฟาดข้ าว นับตั ้งแต่การเลือก พื ้นที่ทาไร่ การฟั นไร่ การหยอดข้ าว การดายหญ้ า การเกี่ยวข้ าว และขั ้นตอนสุดท้ ายคือ การฟาดข้ าว
การฟาดข้าว การฟาดข้ าวนั ้นเป็ นการเอาแรงกันทุกคนที่มีร่วมฟาดข้ าวจะผลัดเปลีย่ นไปตามไร่ต่างๆ ที่ได้ นดั หมาย กัน และจะทาการฟาดข้ าวในช่วงกลางคืนเพราะทุกคนมีเวลาว่างและอากาศไม่ร้อน ไม่เหน็ดเหนื่อย สามารถมา ช่วยกันได้ อย่างเต็มที่ การฟาดข้ าวจะอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม การฟาดข้ าวเริ่มเมื่อนาข้ าวทั ้งหมดมากองไว้ บริเวณใกล้ ๆ ที่ปลูกข้ าว ๙ กอ และทาลานฟาดข้ าว มีแคร่สาหรับฟาดข้ าว (ฉุ่งหมุ่ง) และยกแม่ข้าว (บือมู) ใน ตอนกลางวัน มีเสือ่ ที่สานจากไม้ ไผ่ (โคล) ขนาดใหญ่ไว้ สาหรับรองข้ าวที่ฟาด ในที่นี ้จะกล่าวถึงพิธีกรรมในระดับ ครอบครัวที่ทากันเรื่อยมา เจ้ าของไร่ก็เตรียมสานไม้ ไผ่เป็ นรูปตะกร้ า (เชอฉิทองบือ) แต่มีก้านยาวเอาไว้ ใส่ข้าวเหนียว ข้ าวเจ้ า กล้ วย อ้ อย ลงไป จากนั ้นนาตระกร้ านั ้นพร้ อมทั ้ง กล้ วย ๑ ต้ น อ้ อย ๑ ต้ น ดอกหงอนไก่ ไปวางที่โคนไม้ ที่ไว้ แม่ ข้ าว (บือมู) เอาไว้ ใช้ เทียน ๕ เล่ม ดอกไม้ ๗ ดอก ใช้ ใบไก่ลาและใบพ่ง (ใบไม้ ชนิดหนึง่ ) อย่างละ ๗ ใบ เอามา กวาดในบริเวณลานฟาดข้ าว ในลักษณะทวนเข็มนาฬิกาแล้ วมาวางไว้ ที่ใต้ แคร่สาหรับฟาดข้ าวนั ้น พร้ อมทั ้งจุด เทียนปั กเอาไว้ บนแคร่สาหรับฟาดข้ าว ๓ เล่ม จุดเทียนบนหลักข้ าว ๑ เล่ม และจุดเทียนใต้ แม่ข้าวอีก ๑ เล่ม เมื่อ ถึงกลางคืนก็เริ่มทาพิธีเชิญแม่โพสพ (ภี่บือโหย่ว) ให้ มาอยู่ในลานฟาดข้ าว เพื่อขอบคุณแม่โพสพที่ได้ ดแู ลต้ นข้ าว มาตลอดฤดูกาลทาไร่ และเป็ นการส่งแม่โพสพให้ กลับขึ ้นไปอยู่บนสวรรค์อีกครั ้ง เพื่อพักผ่อนและรอเวลาลงมา ดูแลข้ าวไร่ในฤดูกาลต่อไป ในช่วงที่มีการเริ่มฟาดข้ าวนั ้น จะต้ องมีการยิงปื น ๑ นัด เพื่อให้ แม่โพสพได้ รับรู้
ต่อจากนั ้นเจ้ าของไร่จะฟาดคนแรกก่อน จากนั ้นทุกคนที่มาช่วยฟาดข้ าวก็ทยอยเดินไปหยิบมัดข้ าวมาฟาดที่แคร่ ฟาดข้ าวที่อยู่กลางลาน และจะมีการเลี ้ยงอาหารแก่ผ้ มู าช่วยฟาดข้ างตลอดคืน เมื่อทาการฟาดข้ าวจนหมดแล้ ว ในรุ่งเช้ าก็จะมีขั ้นตอนการเก็บต่อไปคือ การวีบือ หมายถึง การโบกข้ าวเพื่อเศษขยะเศษฝุ่ น และเมล็ดข้ าวที่ไม่ดี ออกไปให้ หมด จะเหลือไว้ เฉพาะเมล็ดดีซงึ่ วางกองรวมกันอยู่ในลานฟาดข้ าว บนที่สดุ ของกองข้ าวนั ้นเจ้ าของจะ ปั กเคียว ขิง ดิน เถาวัลย์ ดอกดาวเรือง ดอกหงอนไก่สแี ดงและเหลืองไว้ เจ้ าของจะเคี ้ยวขิงและดินแล้ วถมทับลง บนกองข้ าว จากนั ้นจะใช้ กระบุงตวงข้ าวตรงปลายสุดของกองข้ าว แบกแล้ วเดินวนรอบกองข้ าว ๓ รอบ พร้ อมทั ้ง ร้ องบอกว่า ขอเถาวัลย์ยดึ ข้ าวไว้ ขอให้ เคียวและขิงยึดกองข้ าวไว้ ให้ กองข้ าวสูงรอบเดิม ให้ ข้าวไม่ยบุ ลงมา จากนั ้นก็เตรียมเอาข้ าวขึ ้นยุ้ง โดยจะสร้ างไว้ ในไร่ โดยยุ้งข้ าวในไร่นี ้จะมีการห่อข้ าวเหนียวสุกใส่ใบไม้ วางไว้ ที่มมุ เสา ๔ ด้ าน และอุปกรณ์ต่างๆ และเมล็ดพืชพันธุ์ต่างๆ ก็วางไว้ ข้างบนเช่นกัน ในส่วนของยุ้งข้ าวจริงนี ้ก็จะนาแม่ ข้ าวจากการปลูกข้ าว ๙ กอ มาแขวนไว้ ข้างบน เพื่อเป็ นขวัญให้ แก่ข้าวในยุ้งทั ้งหมด ส่วนใต้ ถนุ ยุ้งข้ าวก็จะวางยุ้ง จาลองหลังเล็กไว้ ในยุ้งจะอัดแน่นด้ วยดิน มีด ขวาน เสียม ฯลฯ ซึง่ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ตลอดเวลาในการทาไร่และ เผือกมันต่างๆ ที่เป็ นพืชพันธุ์ที่ปลูกไว้ ในไร่มาวางเช่นกัน ยุ้งจาลองนี ้ทาให้ แก่ ภี่ด๊ ขุ ะ ซึง่ ถือว่าเป็ นผีค้ มุ ครอง ภาคพื ้นดิน พื ้นน ้า คอยดูแลไม่มีอะไรมารบกวนมนุษย์ช่วงทาไร่
การเตรี ยมพิ ธีเชิ ญพระแม่โพสพ
ประเพณีฟาดข้าว
การวีบือ หรื อโบกข้าว
โบกเศษใบข้าว สาหรับพิธีกรรมในการฟาดข้ าวประจาปี ในระดับชุมชนนั ้นได้ กล่าวมาแล้ ว ซึง่ ถือเป็ นกิจกรรมหนึง่ ที่ทั ้ง ตาบลได้ มีการจัดร่วมกัน โดยเวียนกันไปตามหมู่บ้านต่างๆ จนครบทั ้งตาบล เพื่อเป็ นเจ้ าภาพในแต่ละปี
การตากข้าว
เครื ่องสีขา้ ว พิธีกินข้ าวหัวยุ้ง (อองบือพ่ องคู) เมื่อฟาดข้ าวเสร็จแล้ วจึงเป็ นขั ้นตอนการนาข้ าวขึ ้นยุ้ง ข้ าวที่ฟาดเสร็จแล้ วถูกนาไปใส่ย้ งุ (บือพ่อง) ซึง่ มักทาไว้ ที่ไร่ เมื่อนาข้ าวขึ ้นยุ้งเสร็จแล้ วจึงทาพิธีกินข้ าวหัวยุ้ง (อองบือพ่องคู) หรือการกินข้ าวใหม่เป็ นครั ้งแรก
กิ นข้าวหัวยุง้
ยุง้ เก็บข้าว ในการเปิ ดยุ้งข้ าวเจ้ าของไร่แล้ ว จะเอาข้ าวใส่ย้ งุ โดยกระเชอ แล้ วใช้ นิ ้ว ๓ นิ ้ว โกยข้ าว จากนั ้นก็จะเอา ข้ าวมาตาก และตาข้ าวเพื่อเลี ้ยงดูอปุ กรณ์เครื่องมือที่ใช้ ในการผลิตและสาหรับเลี ้ยงสมาชิกรวมทั ้งเพื่อนบ้ านใกล้ เรือนเคียงที่มาร่วมกินข้ าวใหม่ต้องทาภายในวันเดียวและนิยมทากันในวันอาทิตย์เพราะถือว่าจะกินได้ นาน สาหรับสมาชิกในครอบครัวก็จะแยกย้ ายกันไปหาผัก (เชอดุเชอลา) ช้ อนปลา (ย๊ า) กุ้ง (สะดอง) หอย (คลู) ปู (ชเว) นามาแกงกับเผือกและมัน (คูถี่ยและเนถี่ย)
เครื ่องสีขา้ ว เมื่อได้ มาแล้ ว หลังจากการหุงข้ าวและจะต้ องนาเถาลิเภา (ทูไก่ค)ู มามัดอุปกรณ์การทากินทุกชนิด ตั ้งแต่มีด (คิย) ขวาน (กว่า) เสียม (คลุง่ ) จอบ (เป๊ าะตู) เคียว (ถะงิ) หม้ อ (เผ่อ) ครก (เชอทุง) เขียง (เค่อ) หินลับ มีด (โลวไกล่คิย) ไม้ พายสาหรับคนข้ าว (นู๊วะ) และอุปกรณ์อื่นๆ ตลอดจนข่าไฟ (เผ้ คลาเทอ) เพื่อทาพิธีขอบคุณ โดยจะนาอาหารที่ทามาจากกุ้ง หอย ปู เผือก มัน นั ้นมาโรยใส่อปุ กรณ์เหล่านั ้นเพื่อให้ ได้ กินข้ าวหัวยุ้งก่อนเจ้ า ข้ าวไร่
ครกกระเดือ่ งตาข้าว พิธีกินข้ าวใหม่ หลังเก็บเกี่ยวข้ าวเสร็จต้ องชวนเพื่อนบ้ านมากินข้ าวใหม่ อาหารจะประกอบด้ วยแกงที่ใส่ก้ งุ ปลา ปู หอย เผือก โดยมีความเชื่อว่ากุ้งและหอยที่นามากินกับเผือกและมันนั ้น ถือเคล็ดว่ากุ้งเป็ นสัตว์ที่เดินถอยหลัง และหอยเป็ นสัตว์ ที่เดินช้ าทาให้ ข้าวในยุ้งหมดช้ าสามารถเก็บไว้ กินได้ จนถึงปี ต่อไป
ก่อนหุงข้ าวต้ องนาเถาของ
“ทุไก่ค”ู มาพันหม้ อหุงข้ าว และอุปกรณ์ทั ้งหมดที่เกี่ยวข้ องในการทาไร่ เชื่อว่าข้ าวจะกินได้ พอดี ไม่หมด จะ เหนียวแน่นเหมือนเถาของ “ทุไก่ค”ู ก่อนกินข้ าวนาอุปกรณ์ที่ใช้ ทาการเกษตรทั ้งหมด เช่น เขียง มีด ขวาน เคียว เป็ นต้ น มาวางรวมกันแล้ วจะนาข้ าวพร้ อมอาหารอื่นๆ วางให้ อปุ กรณ์ได้ กินข้ าวด้ วยกัน ซึง่ สาระสาคัญอีก ประการหนึง่ ของพิธีกรรมคือก่อนที่นาเครื่องมือมาเข้ าพิธีกรรมจะตรวจสอบ ซ่อมแซมและทาความสะอาด เครื่องมือให้ เรียบร้ อย หลังเสร็จสิ ้นพิธีกรรมสามารถเก็บไว้ ได้ อย่างเป็ นที่เป็ นทางและพร้ อมใช้ สาหรับฤดูเพราะ ปลูกต่อไป การกินข้ าวใหม่นี ้จะต้ องกินข้ าวที่หงุ ให้ หมดภายในวันเดียวเหลือเป็ นข้ าวเย็นหรือเททิ ้งเสียไม่ได้ จึง นิยมช่วยกันไปกินข้ าวหัวยุ้งของแต่ละบ้ าน
พิ ธีกินข้าวใหม่ เพื่อเป็ นการกินข้ าวใหม่ร่วมกันและเป็ นการชื่นชมผลผลิตที่ได้ ทามาตลอดเวลาหนึง่ ปี และนี ้ก็ถือเป็ น การสิ ้นสุดการทากินในแต่ละปี และพิธีกรรมอีกอย่างคือ การทาบุญข้ าวใหม่ (โบวบือส้ องคู) ซึง่ แต่เดิมนั ้นเป็ น เพียงพิธีกรรมที่ทากันในครอบครัวแต่ปัจจุบนั ได้ กลายเป็ นกิจกรรมร่วมกันในชุมชนทั ้งตาบลมีพิธีกรรมที่สาคัญ เช่น ผูกข้ อมูลให้ แม่โพสพ (ไคยจูภี่บือโหย่วหล่า) ซึง่ ได้ กล่าวมาแล้ วในพิธีกรรมประจาปี ขอชุมชน
๕. ผลผลิตและการตลาดในการประกอบอาชีพ ข้ าวเปลือกจะเก็บใส่กระสอบไว้ ที่บ้านและบางส่วนจะเก็บไว้ ที่ไร่ซากแล้ วค่อยๆ ทยอยขนย้ ายกลับมาที่ บ้ านสาหรับการขัด สี ข้ าว มีทั ้งการสีที่โรงสี การตาข้ าวด้ วยครกกระเดื่องโดยใช้ พลังงานน ้า ซึง่ มีการพัฒนา เครื่องมือโดยปราชญ์ ชมุ ชนบนฐานความรู้ดั ้งเดิมผนวกกับความรู้ และประสบการณ์ที่ได้ จากากรทดลองและ สังเกตเห็นจากภายนอกจนทาให้ สามารถตาข้ าวได้ ครั ้งละ
4 ครก ส่วนใหญ่การทาข้ าวไร่ไม่นิยมขายข้ าว แต่จะ
ได้ รายได้ เสริมจากการเก็บผักที่ปลูกไว้ ในไร่ เช่น พริก, แตงกวา, เผือก, มัน เป็ นต้ น ถูกแบ่งเป็ น 4 ส่วน คือ ไว้ ทาพันธุ์ ไว้ กินในครอบครัว ทาบุญ และเลี ้ยงแขกผู้มาเยือน
ในอดีตข้ าวที่เก็บเกี่ยวได้ จะ
ประเพณีการกวนข้าวยาฮูของชาวกะเหรี ่ยง ในพิ ธีกรรมสะเดาะเคราะห์ แสดงถึงการจัดสรรปั นส่วนที่ชดั เจนบนแนวคิดการพึง่ พาตนเอง โดยเฉพาะการเก็บพันธุ์ข้าวไว้ เองเป็ น การลดความเสีย่ งที่จะไม่มีพนั ธุ์ปลูกในฤดูกาลต่อไป และยังเป็ นการอนุรักษ์ พนั ธุ์ข้าวท้ องถิ่นไปในตัว แต่ปัจจุบนั ได้ มีการพัฒนาต่อยอดทาเป็ นผลิตภัณฑ์ หรือถนอมอาหาร เช่น ข้ างกล้ อง ข้ าวเพื่อสุขภาพ
ข้าวกล้อง นอกจากนี ้การจัดสรรการใช้ ประโยชน์จากข้ าว ยังสะท้ อนถึงแนวคิดที่คานึงถึงความเป็ นส่วนรวมและ ความมีน ้าใจอาทร เป็ นมิตรต่อผู้อื่น เช่น การเก็บข้ าวไว้ ทาบุญ หรือสาหรับแขกผู้มาเยือน สาหรับกรณีที่ข้าวไม่ พอกินจะมีการขอยืมจากญาติก่อนหรือแลกเปลีย่ นกับของอื่น สาหรับการซื ้อจากตลาดภายนอกเป็ นทางเลือก สุดท้ าย เป็ นภาพสะท้ อนถึงระบบการดูแล และมีน ้าใจต่อกันของคนในชุมชนได้ อย่างชัดเจน
จากความสาพันธ์ ระหว่างพิธีกรรม วัฒนธรรม ความเชื่อในระบบเกษตรกรรม กรณี “การทาข้ าวไร่ หมุนเวียน” ดังกล่าวข้ างต้ นจะเห็นว่าชุมชนมีวฒ ั นธรรม และความเชื่อและวิถีในการทาการเกษตรที่สอดคล้ อง กับแนวคิด “เกษตรกรรมยัง่ ยืน” หรือ “เกษตรทางเลือก” ซึง่ เป็ นแนวทางที่ได้ รับการยอมรับอย่างกว้ างขวางว่าเป็ น รูปแบบการทาการเกษตรที่จะนามาซึง่ การสร้ างความมัน่ คงทางอาหารได้ โดยเฉพาะในครัวเรือนเกษตรรายย่อย ที่อยู่ในเทศที่กาลังพัฒนาหากพิจารณาตามรอบนิยามความหมาย “เกษตรกรรมยัง่ ยืน” (
Sustainable
Agriculture) ของ Gips จะพบว่าวิถีเกษตรกรรมของชุมชนมีความสอดคล้ องกับประเด็นดังต่อไปนี ้ 1.
สอดคล้ องกับระบบนิเวศ คือ มีการใช้ ทรัพยากรท้ องถิ่นให้ เกิดประโยชน์สงู สุด ในขณะเดียวกันก็มี
การฟื น้ ฟู ดูแลทรัพยากรธรรมชาติให้ มีสภาพที่สมบูรณ์ รวมทั ้งดูแลระบบนิเวศในองค์รวมไม่ว่าจะเป็ นสิง่ มีชีวิต อื่นๆ เช่น นก หนู แมลง เป็ นต้ น หรือสิง่ ไม่มีชีวิต ได้ รับการดูแลจัดการให้ มีความสมดุลและสุขภาพดี 2.
มีความเป็ นไปได้ ทางเศรษฐกิจ คือสามารถทาการผลิตพอเพียงที่จะเลี ้ยงดูครอบครัว และมีรายได้
ตามอัตภาพเหมาะสมต่อแรงงานและต้ นทุนการผลิต 3.
มีความยุติธรรมทางสังคม คือ มีการกระจายทรัพยากรและอานาจให้ สมกับสมาชิกในชุมชนเพื่อให้
ได้ รับปั จจัยยังชีพและโครงสร้ างพื ้นฐานเพื่อการผลิตเท่าเทียมกัน 4.
มีมนุษยธรรม คือ สิง่ มีชีวิตทั ้งมวล (พืช สัตว์ และมนุษย์) มีสทิ ธิ์ที่จะอยู่อย่างเหมาะสม คนทุกคน
ได้ รับการยอมรับอย่างเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความไว้ วางใจกันและกัน ความซื่อสัตว์ ความร่วมมือกัน ความรักใคร่กลมเกลียวกันในชุมชน เป็ นต้ น 5.
มีความยืดหยุ่น คือ ชุมชนสามารถปรับตัวเข้ ากับสภาวการณ์ที่เปลีย่ นแปลงไป ไม่ว่าจะเป็ นเงื่อนไข
ด้ านประชากรหรือนโยบายด้ านตลาดซึง่ หมายถึงจะต้ องมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมและการปรับตัวทาง สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนควบคู่กนั ไป
๖. ปั ญหาและอุปสรรค์ ในการประกอบอาชีพ ในการทาข้ าวไร่สว่ นใหญ่จะพบปั ญหาในด้ านฤดูกาลเพราะใช้ น ้าฝนที่ตกตามฤดูกาล ถ้ าฝนไม่ตกต้ อง ตามฤดูจะกระทบต่อการปลูกข้ าวไร่เป็ นอย่างมาก ในการปลูกข้ าวไร่จะมีหมูป่าหรือสัตว์ต่างๆ มารบกวนในไร่ ข้ าวซึง่ ทาให้ ผลผลิตในไร่ข้าวลดลง อีกทั ้งคนรุ่นหลังไม่อนุรักษ์ ไว้ ซงึ่ การปลูกข้ าวไร่ รวมทั ้งขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีงามเก่าแก่ของคนในชุมชน รวมทั ้งพื ้นที่ที่ใช้ ในการปลูกข้ าวไร่มกั เป็ นพื ้นที่ของอุทยานเขตอนุรักษ์ จึง มีพื ้นที่จากัดและไม่สามารถเผาป่ าถางป่ าได้ ตามความต้ องการ เพราะปั จจุบนั มีการตัดไม่ทาลายป่ ากันมากขึ ้น จึงมีข้อจากัดและข้ อตกลงที่มากขึ ้นตามไปด้ วย รวมทั ้งสารเคมีที่นามาใช้ ในการทาข้ าวไร่ในปั จจุบนั ทาให้ เป็ น
ปั ญหากับพื ้นดินและพื ้นที่ที่ทาข้ าวไร่ซงึ่ ต่างจากอดีตที่ไม่มีการใช้ สารเคมีต่างๆ จึงเป็ นปั ญหาและอุปสรรคในการ ประกอบอาชีพข้ าวไร่เป็ นอย่างมาก กล่าวถึงที่สดุ แล้ วฐานทรัพยากรอาหารโดยเฉพาะความหลากหลายของชนิดพรรณพืชอาหารในชุมชน ยังอยู่ในระดับที่มีความหลากหลาย เพียงพอต่อการสร้ างความมัน่ คงทางอาหารสาหรับคนในชุมชน รวมถึง ความสัมพันธ์ ระหว่างพิธีกรรม วัฒนธรรม และความเชื่อในระบบเกษตรกรรมซึง่ สะท้ อนผ่าน “การทาข้ าวไร่ หมุนเวียน” และวิถีการทามาหากินดั ้งเดิมเป็ นวัฒนธรรม และวิถีเกษตรกรรมที่สอดคล้ องกับแนวคิด “เกษตรกรรมยัง่ ยืน” หรือ “เกษตรกรรมทางเลือก” ที่สามารถสร้ างความมัน่ คงทางอาหาร โดยเฉพาะระดับ ครัวเรือนได้ อย่างยัง่ ยืน การดารงไว้ ซงึ่ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาเกษตรกรรมที่สอดรับกับแนวทาง “เกษตรกรรม ยัง่ ยืน” ที่ชมุ ชนสืบทอดมาอย่างยาวนาน คือการสร้ าง “ความยืดหยุ่น” ให้ สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับสภาวการณ์ที่ เปลีย่ นแปลงของยุคสมัย โดยไม่สญ ู เสียเอกลักษณ์ของตนเอง ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ชมุ ชนไม่สามารถดาเนินการได้ โดย ลาพัง ควรได้ รับการสนับสนุนและเติมภูมิปัญญาเกษตรกรรมแผนใหม่ที่เหมาะสม จากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง เพื่อเป็ นแนวร่วมและสนับสนุนให้ ชมุ ชนมีองค์ความรู้เพียงพอที่จะเลือกสรร คัดกรอง ภูมิปัญญาเกษตรกรรมแผน ใหม่นาไปปรับใช้ ร่วมกับภูมิปัญญาเกษตรกรรมดั ้งเดิมของตนเองได้ อย่างเหมาะสมกับบริบทของชุมชน
บรรณานุกรม
สลิลทิพย์ เชียงทอง. ฝากหัวใจข้าไว้ที่ไล่โว่. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รวมทวีผลการพิมพ์, ๒๕๕๑. ดร. ประพาส วีระแพทย์. ความรู้เรื่องข้าว. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานวิจยั ดินและปุ๋ยข้าว กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร. รายงานสรุปผลการวิจัยดินปุ๋ยข้าว ประจาปี ๒๕๓๔. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานวิจันดินและปุ๋ยข้าว กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร, ๒๕๓๔. โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น และความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อการพัฒนาความมั่นคงของ อาหารและโภชนาการในประชากรกลุ่มชาติพันธุ์. กรณีศึกษา : บ้านสะเนพ่อง ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหัดกาญจนบุรี, ๒๕๕๑.
สัมภาษณ์ นายกิตติศักดิ์ ธาราวนารักษ์ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นภาษากะเหรี่ยง หมู่บ้านกองม่องทะ ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี นางวิไล ธาราวนารักษ์ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นการปลูกข้าวไร่ บ้านกองม่องทะ ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี นายนรพล คงนานดี
ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นภาษากะเหรี่ยง ตาบลหนองลู อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
นางสาวปุ้ย -
ประกอบอาชีพข้าวไร่ อายุ 55 ปี 25/3 หมู่ 2 ตาบลหนองลู อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
นางนองดุ -
ประกอบอาชีพข้าวไร่ อายุ 40 ปี 15/1 หมู่ 3 ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
นายจันทร สังขชโลทร
ประกอบอาชีพข้าวไร่ อายุ 42 ปี 44/3 หมู่ 1 ตาบลไล่โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี