Mangkood.com Renewable Energy ทางรถไฟความเร็วสูงพลังงานแสงอาทิตย์ ทางเชื่อมสัมพันธ์และ เศรษฐกิจจากปารีสสู่อัมสเตอร์ดัม โดย Energy Saving วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558
“Enfinity” บริษัทพลังงานสะอาดได้ร่วมมือกับ “Infrabel” บริษัทโครงสร้างพื้นฐานของเบลเยียม ในการสร้างทาง อุโมงค์รถไฟความเร็วสูงหลังคาพลังงานแสงอาทิตย์ ให้การเชื่อมเส้นทางสายสัมพันธ์และเศรษฐกิจด้วยพลังงานที่ยั่งยืน ต่ อ ไปนี้ ป ระชาชนทั้ ง ในปารี ส และอั ม สเตอร์ ดั ม จะได้ มี เ ส้ น ทางเชื่ อ มต่ อ ที่ ม าพร้ อ มกั บ การผลิ ต พลั ง งานสะอาด ด้ ว ยทางอุ โ มงค์ ร ถไฟเชื่ อ มทั้ ง สองเมื อ ง เ ข้ า ไ ว้ ด้ ว ย กั น พ ร้ อ ม ห ลั ง ค า พ ลั ง ง า น แ ส ง อ า ทิ ต ย์ เ พื่ อ ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น โดยโครงการดังกล่าวได้สร้างขึน้ เพือ่ ปกป้อง ผืนป่าของภูมภิ าค โดยให้ทางรถไฟนัน้ พาดผ่าน ผ่านภูเขามากกว่าต้องตัดโค่นต้นไม้โบราณทิ้ง พร้อมด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์จำ�นวน 16,000 แผง ตลอดระยะเส้นทาง 2 ไมล์ ซึ่งสามารถ ให้ กำ � ลั ง การผลิ ต ที่ เ พี ย งพอสำ � หรั บ รถไฟใน เบลเยียมทัง้ หมดหนึง่ วันต่อปี หรือราวๆ 3.5 เมกะ วัตต์ต่อชั่วโมงของการใช้พลังงานในแต่ละปี ด้วยงบประมาณการก่อสร้าง 20.1 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ฯ ทาง ผู้บริหารของ “Enfinity” ได้กล่าวว่า สำ�หรับผู้ประกอบการรถไฟ การ ติ ด ตั้ ง หลั ง คาแผงเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ นี้ จะให้ ประโยชน์เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ยังไม่รวมถึงผลประโยชน์ของคุณค่าทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่จะตามมา อีกทั้งยังให้การก่อสร้างได้ในเวลา อันรวดเร็วภายใน 1 ปี ต่างจากพลังงานชนิดอื่นๆ เช่น พลังงานลมที่ต้องคำ�นึงถึงทิศทางลมและความเสถียรของพลังงาน
Shell+Honda+Cargill ผนึกกำ�ลังผลิต น้ำ�มันจากสนและต้นข้าวโพด เชลล์ ฮอนด้ า และคาร์ กิ ล ล์ 3 บริ ษั ท ยั ก ษ์ ใ หญ่ ใ นโลก ของปิ โ ตรเลี ย ม การผลิ ต ยานยนต์ แ ละการเกษตร ได้ ร่ ว มทุ น เปิ ด บริ ษั ท “Virent” เพื่ อ พั ฒ นากระบวนการผลิ ต น้ำ � มั น เบนซิ น จากพื ช “Virent” จะเป็นบริษัทที่ทำ�การเปลี่ยนต้นข้าวโพดและต้นสน ไปเป็น “Bioformate” น้ำ�มันชนิดหนึ่งที่สามารถใช้ในยานพาหนะที่ติดตั้งถังก๊าซ และเป็นอีกทางหนึ่งที่ใช้พืชที่ไม่ใช่อาหารมาแปลงเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพ ทั้งนี้ ทาง“Virent” นั้นได้เข้าร่วมเป็น 1 ในสมาชิกของสมาคมเชื้อเพลิงชีวภาพขั้นสูงแห่งชาติเพื่อการผลิต “Bioformate” ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม การผลิ ต “Bioformate” ด้ ว ยวั ต ถุ ดิ บ ดั ง กล่ า ว มี ขั้ น ตอนที่ ยุ่ ง ยากอี ก ทั้ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยั ง สู ง จาก ปัญหาโครงสร้างของลิกนิน แต่ทาง “Virent” ก็สามารถคิดค้นวิธีการทำ�ลายลิกนินให้มีศักยภาพทางเศรษฐกิจได้
2 | 10 มีนาคม 2558 | Mangkood.com
โดยการวิจัยได้ดำ�เนินการภายใต้ความช่วยเหลือของ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารพลั ง งานทดแทนแห่ ง ชาติ ด้ ว ยเงิ น ลงทุ น ของทั้ ง สามบริ ษั ท ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งการค้ น คว้ า วิ จั ย ทาง วิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่จุดมุ่งหมายก็เพื่อใช้ในอุตสาหกรรม และยังเป็นนิมิตรหมายอันดีที่ทั้งสามบริษัทหันมาพัฒนาใน เทคโนโลยีนี้ ด้วยความตืน่ ตัวไปกับโลกทีก่ �ำ ลังหันหน้าเข้าหา พลังงานทดแทนที่ไม่หมดไปเหมือนน้ำ�มัน “Ridgeblade” กังหันลมหลังคาแนวยาว เพิ่มกำ�ลังลมได้มากขึ้นถึง 3 เท่า
Mangkood.com
ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะ ราคาไม่ แ พงและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในการเก็ บ เกี่ ย วพลั ง งานลมเพื่ อ การผลิ ต กระแสไฟฟ้ า โดยการออกแบบนั้ น มี ส องรุ่ น ด้ ว ยกั น ได้ แ ก่ “RB2” เพื่อโรงงานอุตสาหกรรม และRB1เพื่อหลังคาบ้าน เรื อ น สามารถให้ ก ารผลิ ต พลั ง งานได้ ใ นช่ ว งกว้ า งของ สภาพลมรวมถึ ง ความเร็ ว กำ � ลั ง ลมต่ำ � อี ก ทั้ ง ไม่ ส่ ง ผลต่ อ สภาพภู มิ ทั ศ น์ จึ ง เหมาะสมสำ � หรั บ การติ ด ตั้ ง ในเมื อ งได้
ฉี ก ก ร อ บ กั ง หั น ล ม แ บ บ ทั่ ว ไ ป เ มื่ อ บ ริ ษั ท �หรับ RB1 ที่ออกแบบนั้น ได้รับรางวัลจนได้พัฒนา พ ลั ง ง า น จ า ก ป ร ะ เ ท ศ อั ง ก ฤ ษ ไ ด้ พั ฒ น า กั ง ล ม แ น ว นวัตสำกรรมให้ ง ออกแบบมาให้ติดตั้งบนหลังคาทรง นอน ติ ด ตั้ ง ตามแนวราบบนแนวหลั ง คาทั่ ว ไปได้ สูงทีล่ มจะถูกบัเป็งนคัรูบปทิร่ศาทางให้ ขนึ้ ไปยังกังหันด้านบนสุด ส่งผล ให้เกิดการเร่งการไหลเวียนของอากาศ ทำ�ให้ความเร็วลมทีไ่ ด้ “Power Collective” บริ ษั ท พลั ง งานลมจากอั ง กฤษ นัน้ เพิม่ ขึน้ เป็น 3 เท่าของความเร็วลมทีเ่ กิดขึน้ จริง ซึง่ คิดเป็น 9 ได้ พั ฒ นากั ง หั น ลมที่ มี ชื่ อ ว่ า “Ridgeblade” นวั ต กรรม เท่าของพลังงานลมที่ได้เมื่อเทียบกับกังหันลม 3 ใบพัดทั่วไป
กังหันพลังงานน้ำ�รีไซเคิล จากแผ่นซีดีและอะไหล่เครื่องพิมพ์ นั ก ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ จ า ก เ น เ ธ อ ร์ แ ล น ด์ ม า พ ร้ อ ม ไ ป กั บ แ น ว คิ ด สุ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใ น ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ เ ค รื่ อ ง กำ � เนิ ด พลั ง งานน้ำ � ขนาดเล็ ก เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ๆ ได้ เ รี ย นรู้ จากภาพกั ง หั น น้ำ � หมุ น วนตามกระแสน้ำ � ที่ ไ หลลงมา กลายเป็นแรงบันดาลใจให้ “masynmachien” นักประ ดิ ษ ฐ์ ผู้ ค ร่ำ � หวอดในงานประดิ ษ ฐ์ สุ ด สร้ า งสรรค์ สำ � หรั บ เด็ กๆ ที่มีประสบการณ์ยาวนานในการทำ�งานถึง 15 ปี ได้ เกิดแนวคิดผลิตกังหันน้ำ�ขนาดเล็กที่ทำ�มาจากวัสดุรีไซเคิล โดยวัสดุใช้แล้วประกอบไปด้วยแล้ว แผ่นซีดี 2 แผ่น มอเตอร์ขนาดเล็กจากเครื่องพิมพ์ โฟม ท่อพีวีซี หลอดไฟ แอลอีดี ซิปและกาวร้อน ประกอบเข้าด้วยกันในรูปลักษณะ กังหันที่ติดกับท่อพีวีซีเพื่อใช้เป็นด้าม ให้การผลิตพลังงาน ทั้งจากน้ำ�ก๊อกที่ไหลผ่าน หรือการวางตามทางน้ำ�ทั่วไป ทั้ ง นี้ “Stepper Motor” หรื อ ม อ เ ต อ ร์ ข น า ด เ ล็ ก จ า ก เ ค รื่ อ ง พิ ม พ์ นั้ น กลายเป็ น เครื่ อ งกำ � เนิ ด ไฟฟ้ า ได้ ง่ า ยๆ ด้ ว ยประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต แรง ดันไฟฟ้าที่ค่อนข้างสูงประมาณ 5โวลต์ ที่ ร อบต่ อ นาที ต่ำ � อี ก ทั้ ง ไม่ จ ะเป็ น ต้ อ ง ใช้ เ กี ย ร์ ห รื อ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพื่ อ ให้ พ ลั ง งานไปยั ง หลอดไฟแอลอี ดี และถึ ง แม้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพของกั ง หั น น้ำ � ขนาดเล็ ก นี้ จ ะเพี ย งพอต่ อ หลอดไฟ เพี ย ง 1 ดวงเท่ า นั้ น แต่ มั น ก็ เ ป็ น การ เ รี ย น รู้ ที่ คุ้ ม ค่ า สำ � ห รั บ เ ด็ ก ๆ แ ล ะ เหมาะสมกั บ ขนาดของสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ เพื่ อ ให้ ก ารผลิ ต พลั ง งานนั้ น สร้ า งสรรค์ ไ ด้ ทุ ก ที่ ด้ ว ยความรู้ ที่ มี บ วกกั บ จิ น ตนาการและแรงบั น ดาลใจ
Mangkood.com | 10 มีนาคม 2558 | 3
Mangkood.com
“Ocean Energy Turbine” นวัตกรรมกังหันน้ำ�ความเร็วต่ำ� ให้ ประสิทธิภาพไม่รบกวนชีวิตทางทะเล
“Crowd Energy” บริ ษั ท พลั ง งานจากฟลอริ ด้ า ได้ พั ฒ นา นวั ต กรรมเพื่ อ การเก็ บ เกี่ ย วพลั ง งานอั น มหาศาลจากมหาสมุ ท ร ด้ ว ยกั ง หั น ความเร็ ว ต่ำ � ที่ เ รี ย กว่ า “Ocean Energy Turbine” “ O c e a n E n e r g y T u r b i n e ” ถู ก อ อ ก แ บ บ ใ ห้ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง กำ � เ นิ ด ไ ฟ ฟ้ า ค ว า ม เ ร็ ว ต่ำ � แ ต่ แ ร ง บิ ด สู ง ติ ด ตั้ ง บ น พื้ น ท ะ เ ล เ พื่ อ เ กี่ ย ว เ กี่ ย ว พ ลั ง ง า น ค ง ที่ ข อ ง ก ร ะ แ ส น้ำ � ม า ผ ลิ ต เ ป็ น ไ ฟ ฟ้ า ตามข้ อ มู ล ของสำ � นั ก บริ ห ารพลั ง งานมหาสมุ ท รกล่ า วไว้ ว่ า ถ้ า ใช้ เพียง 1/1000 ของศักยภาพพลังงานที่มีอยู่ในอ่าวมหาสมุทรแอตแลนติก สามารถให้พลังงานไฟฟ้าที่เพียงพอแก่ฟลอริด้าได้ถึงร้อยละ 35 ทาง “Crowd Energy” จึงได้ร่วมมือกับ 2 พี่น้องผู้เชี่ยวชาญ Todd และ Phillip Janca ในการใช้เวลาวิจัยและพัฒนาถึง 8 ปี เพื่อคิดค้นกังหันที่มีความ ปลอดภั ย และให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการสร้ า งพลั ง งานจากกระแสน้ำ � ทะเล โดยกังหันพลังงานมหาสมุทรที่พัฒนานั้น มีลักษณะเป็นกังหันสามใบ มีดแนวตั้งประกอบไปด้วยใบพายเคลื่อนไหวได้ เมื่อกระแสน้ำ�เข้าปะทะใบ มีด จะก่อให้เกิดอำ�นาจกระแสน้ำ�บริเวณพื้นผิวเข้าต่อต้าน โดยกังหันถูก ออกแบบมาให้มีความทนทานต่อภาวะคลื่นที่รุนแรง ซึ่งคุณสมบัติแรงบิดสูง และความเร็วต่ำ�ของกังหันนั้น ทำ�งานที่ความเร็วใกล้เคียงกับปลาที่ว่ายน้ำ� จึงลดผลกระทบต่อสัตว์น้ำ� และไม่ก่อให้เกิดกับความเสี่ยงทางกายภาพใด ๆ อีกทั้งมันยังให้เสียงรบกวนน้อยที่สุดเพื่อไม่เป็นการรบกวนชีวิตทางทะเล
4 | 10 มีนาคม 2558 | Mangkood.com
โรงงานพลังงานความร้อนใต้พิภพ เพื่อแทนที่ยุคถ่านหิน ลดการปล่อย ก๊าซ CO2 ได้ 3 ล้านตันต่อปีใน นิวซีแลนด์
Mangkood.com
โครงการขึ้ น ในปี 2008 โดยโรงงานแห่ ง นี้ นั้ น ตั้ ง อยู่ ใ กล้ กั บ เทาโป เกาะทางตอนเหนื อ ของประเทศ
สถานีพลังงานความร้อนใต้พภิ พนีม้ ชี อื่ ว่า “Ngatamariki” ให้กำ�ลังการผลิตอยู่ที่ 100 เมกะวัตต์ ได้รับการ ออกแบบโดยบริษัทพลังงาน “Mighty River Power” ที่ใช้เวลากว่าศตวรรษในการศึกษาความซับซ้อนของ พลังงานอันเข้มข้นของธรรมชาติ ทั้งต้องอาศัยความ ร่วมมือจากผู้ร่วมทุนและเงินทุนกว่า 75 ล้านดอลลาร์ ประเทศนิวซีแลนด์นั้นได้ประสบความสำ�เร็จในการก่อสร้าง สหรัฐฯ ในการเดินหน้าตรวจสอบ ก่อนตัดสินใจก่อสร้าง โรงงานพลั งงานความร้อนใต้พิภ พแล้ว เป็น แห่งที่ 3 ตั้ ง แต่ เ ปิ ด “Ormat” หรือบริษัทที่รับผิดชอบในการก่อสร้าง โรงงานนั้น กล่าวว่ามันเป็นโรงงานที่ใหญ่ที่สุดของ ชนิดใดก็ได้ในโลก ด้วยการแปลงพลังงานจากของเหลว ที่ มี อุ ณ หภู มิ สู ง ถึ ง 193 องศาเซลเซี ย ส ข้ อ ดี คื อ ไม่ กระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มเพราะไม่ ทำ � ลายอ่ า งเก็ บ น้ำ � ใต้ ดิ น ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น การทำ � งานไม่ ต้ อ งขึ้ น อยู่ กั บ สภาพอากาศเหมื อ นแหล่ ง พลั ง งานชนิ ด อื่ น อี ก ด้ ว ย โดยทั้ง 5 บริษัทพลังงานความร้อนใต้พิภพของ Mighty River Power นัน้ สามารถผลิตกำ�ลังไฟได้รอ้ ยละ 10 ของไฟฟ้าทัง้ หมดในประเทศ และโรงงานงานพลังงาน ความร้อนใต้พภิ พนีจ้ ะมาแทนทีย่ คุ ถ่านหิน และสามารถ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 3 ล้านตันต่อปี
Mangkood.com | 10 มีนาคม 2558 | 5