CREATIVE RESOURCE วั ต ถุ ท างความคิ ด
BOOK
DOCUMENTTARY ALONE TOGETHER Why We Expect More from Technology and Less from Each Other
GOOGLEAND THE WORLD BRAIN ก�ำ กับโดย Ben Lewis
ในปี 2002 กูเกิลได้ เริ่ มโปรเจ็กต์ขนาดใหญ่ด้วยการ สแกนหนังสือจ�ำนวนกว่าล้ านเล่มอย่างเงียบๆ เพื่อเก็บ โดย Sherry Turkle ไว้ ในกูเกิลบุ๊ก อันเป็ นความพยายามในการสร้ าง ศูนย์กลางคลังความรู้ ขนาดใหญ่ที่จะส่งตรงสู่ผ้ ใู ช้ ผ่าน แค่ชื่อหนังสือก็ตงค� ั ้ ำถามชวนให้ คิดว่า ท�ำไมเราถึงคาดหวัง ระบบดิจิทลั สอดคล้ องกับงานเขียนแนววิทยาศาสตร์ ใน กับเทคโนโลยีมากขึ ้น แต่กลับคาดหวังจากคนอื่นลดลง เชอ ปี 1937 ของ เอช.จี. เวลส์ (H.G. Wells) ที่เขียน ร์ รี เทอร์ เคิล ศาสตราจารย์ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านความสัมพันธ์ ถึงประเด็น World Brain หรื อคลังสมองของโลกที่จะ ระหว่างมนุษย์และเทคโนโลยีของสถาบันเทคโนโลยีแมสซา น�ำพามนุษย์ไปสู่ปัญญาอันยิ่งใหญ่ แต่ความเป็ นจริ ง ชูเซตส์ (MIT) เขียนหนังสือเล่มนี ้ขึ ้นจากผลจากการศึกษา หนังสือจ�ำนวนมากในโปรเจ็กต์ต่างมีลิขสิทธิ์และกลาย ยาวนานกว่า 15 ปี เทอร์ เคิลอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง เป็ นคดีฟ้องร้ องอื ้อฉาวในปี 2012 สารคดีเรื่ องนี ้จึง มนุ ษ ย์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปหลัง จากที่ เ ทคโนโลยี เ ข้ ามามี เป็ นการน�ำเสนอการวิพากษ์ อนั เผ็ดร้ อนของคณาจารย์ บทบาทในชีวิตประจ�ำวันเป็ นอย่างมาก บางครัง้ เราก็ห่างเหินความรู้ สกึ ของการใช้ เวลาร่ วม บรรณารักษ์ รวมถึงผู้บริ หารของกูเกิล ซึง่ ต่างร่ วมสร้ าง กับผู้อื่นซึง่ นับวันยิ่งท�ำให้ เราประหลาดใจ เธอยกตัวอย่างง่ายๆ ว่าปั จจุบนั การโทรศัพท์หากัน มุมมองที่น่าสนใจทังเรื ้ ่ องลิขสิทธิ์ ขอบเขตของ หรื อการพูดคุยแบบซึง่ หน้ ากลายเป็ นเรื่ องเคอะเขิน หรื ออาจท�ำให้ บางคนรู้ สกึ ถูกรุ กล� ้ำความ เทคโนโลยี ราคาค่างวดของความรู้ กระทัง่ ความ เป็ นส่วนตัว แต่มนั จะสะดวกใจกว่าหากสื่อสารกันด้ วยการส่งข้ อความ (Text) ผ่านโปรแกรม สามารถในการเข้ าถึงแหล่งความรู้ อย่างเสรี เสมือน สนทนา และเราก็ใช้ วิธีนี ้มากขึ ้นเรื่ อยๆ จนกลายเป็ นนิสยั โดยที่ไม่ร้ ู ตวั จนอาจต้ องให้ ค�ำจ�ำกัด เป็ นการมอง ความค�ำว่า “ความสันโดษ” กันใหม่แล้ วจริ งๆ หาความเป็ นไปได้ ที่เหมาะสมส�ำหรับผู้คนแต่ละกลุม่ ใน การสร้ างสรรค์ และส่งต่อองค์ความรู้ส�ำหรับอนาคตโดย มนุ ษ ย์ เ ป็ นสั ต ว์ ส ง ั คม จึ ง อาจไม่ ใ ช่ เ รื ่ อ งเกิ น คาดหมาย มีเครื่ องมือส�ำคัญเป็ นเทคโนโลยี พลังกลุ่มไร้ สังกัด ส� ำ หรั บ ปรากฏการณ์ ก ารเชื ่ อ มต่ อ กั น ทางอิ น เทอร์ เ น็ ต แต่ เขียนโดย Clay Shirky ค�ำถามใหญ่หลังจากนันคื ้ อ เทคโนโลยีเหล่านี ้มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและสังคมในภาพรวมอย่างไร ในบท ส่ง ท้ า ยของเล่ม ผู้เ ขี ย นได้ เ ล่า ถึ ง เหตุก ารณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหวที่ มณฑลเสฉวนในจีน ซึง่ มีการกระจายข่าวอย่างรวดเร็ ว โดย ผู้ร ายงานคนแรกเป็ นชาวเสฉวนที่ ร ายงานผ่า นเครื อ ข่า ย สังคมออนไลน์ชื่อคิวคิว จากนันมี ้ การอัพโหลดภาพการทวิต ข้ อมูลจนถึงสายข่าวบีบีซี ภายใน 40 นาทีมีการบันทึกข้ อมูล ในวิกิพีเดีย ไม่กี่ชวั่ โมงถัดมามีเว็บไซต์ช่วยค้ นหาผู้คนที่ สูญหาย และเริ่ มเปิ ดช่องทางการบริ จาค แต่ความเห็นใจก็ ไม่สามารถทดแทนการสูญเสียขันรุ ้ นแรงนี ้ได้ เพราะไม่นาน หลังเหตุการณ์กลับมีการตีแผ่เรื่ องราวการคอร์ รัปชัน่ ในการ ก่ อ สร้ างอาคารเรี ย นจนเกิ ด เสี ย งวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ บ นโลก ออนไลน์ต่อในวงกว้ าง แต่ละบทจากหนังสือเล่มนี ้จะทยอย เล่าถึงแง่มมุ ของพลังกลุม่ คนที่ก�ำลังเลือนรางระหว่างภาพของสื่อและการสื่อสาร ไปจนถึงการ บรรจบกันระหว่างแรงบันดาลใจส่วนตัวสูเ่ รื่ องส่วนรวม การเคลื่อนไหว ท้ าทาย รวมถึงการต่อ รองในแต่ละมิติอย่างรอบด้ านซึง่ จะท�ำให้ เห็นว่าคนตัวเล็กจ�ำนวนมากสามารถรวมตัวเป็ นพลัง ในช่องทางที่มองไม่เห็นนี ้ได้ อย่างไร 2 | Creative Thailand | กุมภาพันธ์ 2558 | กรรณทิมา อิสระโชติ |
CREATIVE RESOURCE วั ต ถุ ท างความคิ ด
FEATUED BOOK THE DIGITAL ECONOMY Rethinking Promise and Peril in the Age of Networked Intelligence โดย Don Tapscott
ไม่ว่าคุณจะคิดเห็นอย่างไร ขณะนี ้เราก�ำลังอยู่ในยุคที่อินเทอร์ เน็ตกลาย เป็ นส่วนหนึ่งของชีวิตและเป็ นสาธารณูปโภคพื ้นฐานที่ทกุ คนถามหา แค่ ลองคิดว่าถ้ าไม่มีอินเทอร์ เน็ต การติดต่อสื่อสารระหว่างกันการรับรู้ ข้อมูล ต่างๆ จะยากขึ ้นเพียงใด หากย้ อนกลับไปในวันที่โลกนี ้เพิ่งรู้จกั อินเทอร์ เน็ต ได้ ไม่นาน ดอน แทปสกอตต์ ได้ เขียนหนังสือเล่มนี ้ขึ ้น ซึง่ นี่เป็ นหนึ่งใน หนังสือที่ขายดีที่สดุ ในปี 1995 เขายังเป็ นคนแรกที่ให้ ค�ำจ�ำกัดความค�ำว่า “เศรษฐกิจฐานดิจิทลั (Digital Economy)” ที่หลายคนพูดถึงกันอยู่ในทุก วันนี ้ ในยุคอุตสาหกรรม เทคโนโลยีเครื่ องจักรกลเข้ ามามีส่วนส�ำคัญใน การสร้ างมาตรฐานให้ กบั สิ่งต่างๆ เพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตให้ กับธุรกิจ ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่มีแนวคิดมุ่งตอบสนอง ความต้ องการระดับบุคคล กระตุ้นให้ เกิดการใช้ ทรัพยากร อย่างไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ ้น จริ งอยู่ที่การแข่งขันเป็ นเรื่ องดี แต่ หากการแข่งขันถูกยึดโยงกับความสามารถในการเข้ าถึงอ�ำนาจ อาจท�ำให้ เกิดความไม่เท่าเทียมขึ ้นมากมาย และในที่สดุ ความต้ องการแบบไม่มีที่สิ ้น สุดจะพาเราไปถึงทางตัน เช่นในหลายประเทศที่ก�ำลังประสบปั ญหาทาง เศรษฐกิจ ระหว่างที่กลไกทุนนิยมก�ำลังกระจายไปทัว่ โลก อินเทอร์ เน็ตได้ ถกู พัฒนาขึ ้นให้ เข้ ามาเป็ นส่วนหนึ่งในการช่วยลดต้ นทุนการบริ หารจัดการไม่ เพียงแต่ภาคการผลิตเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงการพัฒนาการบริ การขยาย ขอบเขตทางธุรกิจ สร้ างโอกาสทางการตลาดใหม่ๆ หลอมรวมโลกเป็ นหนึง่ เวลาผ่านไป 20 ปี หนังสือเล่มนี ้พิสจู น์ได้ ว่าแทปสกอตต์มองเห็น เดียว เราอาจไม่เชื่อว่านอกจากอินเทอร์ เน็ตจะเปลี่ยนวิธีการเข้ าถึงข้ อมูล แล้ ว มันยังเปลี่ยนวิธีคิดของผู้คนที่มีต่อสังคมและระบบเศรษฐกิจอีกด้ วย อนาคตของโลกดิจิทลั ได้ อย่างถูกต้ องแม่นย�ำ เขาตีพิมพ์หนังสือเล่มนี ้อีก ครัง้ พร้ อมปรับปรุงเนื ้อหาข้ อมูลเชิงลึกที่นา่ สนใจและเหมาะกับสถานการณ์ แทปสกอตต์ เ คยกล่ า วไว้ ว่ า ถื อ เป็ นเรื่ องน่ า เสี ย ดายที่ ค� ำ ว่ า ปั จจุบนั นอกจากนีย้ งั ตังประเด็ ้ นให้ ฉุกคิดถึงผลกระทบของเทคโนโลยีใน “สังคมนิยม (Socialism)” ได้ ถกู ใช้ โดยคาร์ ล มาร์ กซ์ (Karl Marx)ไปแล้ ว ด้ านต่างๆไม่ว่าจะต่อครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และหลักการ ไม่เช่นนันมั ้ นอาจเป็ นค�ำที่ใช้ อธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั ได้ ดี ประชาธิปไตยในยุคดิจิทลั เพื่อให้ เราได้ ท�ำความเข้ าใจและพร้ อมที่จะรับมือ ที่สดุ ในวันที่เรามีสื่อสังคม (Social Media) เครื อข่ายสังคม (Social Net- กับสิ่งที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต work) และธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)พร้ อมสรรพ นัน่ หมายความ ว่าอินเทอร์ เน็ตได้ สร้ างการเข้ าถึงอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน คนจะให้ ความ ส�ำคัญกับการรวมกลุ่มมากขึ ้น เป็ นยุคของการเป็ นส่วนหนึ่ง ร่ วมมือกัน สร้ างสรรค์สิ่งใหม่ ลดความเป็ น “ของฉัน”เพิ่มความเป็ น “ของเรา” ไม่ใช่ แค่การแชร์ ข้อมูลระหว่างกัน แต่รวมถึงการแชร์ ภมู ิปัญญาที่สงั่ สมมาใน กลุ่มที่มีความสนใจเรื่ องเดียวกัน จนเกิดเป็ นสังคมที่ระบบเศรษฐกิจใน อนาคตจะถูกปรับเปลี่ยนไปเพื่อตอบสนองต่อความต้ องการของกลุม่ สังคม มากขึ ้น ทังนี ้ ้เพื่อการสร้ างความยัง่ ยืนให้ แก่ทกุ คน กุมภาพันธ์ 2558 | Creative Thailand | กรรณทิมา อิสระโชติ | 3