หนังสือเคมี ม.ปลาย

Page 1


ชองทรูปลูกปญญา

ทรูปลูกปญญา

โทรทัศนความรูด สู นุก ทางทรูวชิ นั่ ส 6 ทุกรายการสาระความรู สาระบันเทิง และการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมตลอด 24 ชั่วโมง พบกับเรื่องราวสรางแรงบันดาลใจ • รายการสอนศาสตร รายการสอนเสริมแนวใหมครบ 8 วิชา ม.3 ม.6 ติวสดทุกวันโดยติวเตอรชื่อดัง • รายการ I AM แนะนําอาชีพนาสนใจโดยรุนพี่ในวงการ • รายการสารสังเคราะห นําขาวสารมาสังเคราะหอัพเดทกัน แบบไมตกเทรนด

หน ว ยงานเพื่ อ การศึ ก ษา ภายใต ก ลุ  ม บริ ษั ท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ที่บูรณาการเทคโนโลยีและความ นิตยสารปลูก plook เชี่ยวชาญดานคอนเทนต พัฒนาเปนสื่อไลฟสไตลเพื่อสงเสริม นิตยสารสงเสริมความรูคูคุณธรรมสําหรับเยาวชนฉบับแรก การศึกษาและคุณธรรม สามารถเชื่อมโยงทุกมิติการเรียนรูได ในประเทศไทย วางแผงทุกสัปดาหแรกของเดือน หยิบฟรีไดที่ อยางครบวงจร True Coffee TrueMove Shop สถานศึกษา แหลงการเรียนรู หองสมุด และโรงพยาบาล ทั่วประเทศ หรืออานออนไลนใน www.trueplookpanya.com www.trueplookpanya.com ทรูปลูกปญญาดอทคอม คลังความรูคูคุณธรรมที่ใหญ ทีส่ ดุ ในประเทศไทย อัดแนนดวยสาระความรูใ นรูปแบบมัลติมเี ดีย แอพพลิเคชั่น Trueplookpanya.com สนุกกับการเรียนรูดวยตัวเอง ทั้งยังเปดโอกาสใหทุกคนสราง ตอบโจทยไลฟสไตลการเรียนรูข องคนรุน ใหม ดวยฟรีแอพพลิเคชัน่ เนื้อหา แบงปนความรูรวมกัน โดยไมมีคาใชจาย “Trueplookpanya.com” ใหคุณพรอมสําหรับการเรียนรูในทุก ที่ทุกเวลา รองรับการใชงานบน iOS (iPhone, iPod, iPad) และ พบกับความเปนที่สุดทั้ง 4 ดานแหงการเรียนรู Android • คลังความรู รวบรวมเนื้อหาการเรียนทุกระดับชั้นครบ 8 กลุมสาระการเรียน : www.trueplookpanya.com • คลังขอสอบ ขอสอบออนไลนพรอมเฉลยที่ใหญที่สุดใน : TruePlookpanya ประเทศไทย พรอมการประเมินผลสอบทางสถิติ • แนะแนว ขอมูลการศึกษาตอ พรอมเจาะลึกประสบการณ การเรียนและการทํางาน • ศูนยขาวสอบตรง/Admissions ขาวการสอบทุกสนาม ทุกสถาบัน พรอมระบบแจงเตือนเรียลไทม


หนังสือชุด “ติวเขม O-NET Get 100” สรางสรรคโดย ทรูปลูกปญญา มีเดีย โครงการเพื่อสังคมของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 46/8 อาคารรุงโรจนธนกุล ตึก B ชั้น 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร : 02-647-4511, 02-647- 4555 โทรสาร : 02-647-4501 อีเมล : admin@trueplookpanya.com : www.trueplookpanya.com : TruePlookpanya

หนังสือชุด “ติวเขม O-NET Get 100” ใชสัญลักษณอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส แบบ แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย


คำนำ การสอบ O-NET หรือชื่ออยางเปนทางการวา การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test) โดย สทศ. ถือเปนอีกสนามสอบที่สําคัญสําหรับนองๆ ในระดับ ป.6, ม.3, ม.6 เพื่อเปนการประเมินผลการเรียนรูของนองๆ ในระดับชาติเลยทีเดียว และยังเปนตัวชี้วัดคุณภาพการเรียน การสอนของแตละโรงเรียนอีกดวย คะแนน O-NET ก็ยังเปนสวนสําคัญในการคิดคะแนนในระบบ Admissions เพื่อสมัครเขาคณะที่ใจปรารถนา ไดคะแนนดีก็มีชัยไปกวาครึ่ง และเพื่อเปนอีกตัวชวยหนึ่งในการเตรียมความพรอมใหนองๆ กอนการลงสนามสอบ O-NET ทาง ทรูปลูกปญญาจึงไดจัดทําหนังสือชุด “ติวเขม O-NET Get 100” สุดยอดคูมือเตรียมตัวสอบ O-NET สําหรับนองๆ ในระดับ ม.3 และ ม.6 ที่เจาะลึกเนื้อหาที่มักออกสอบบอยๆ โดยเหลารุนพี่เซียนสนามในวงการติว รวบรวมแนว ขอสอบตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน พรอมเฉลยอยางละเอียด และคําอธิบายที่เขาใจงาย จําไดแมนยํา นํานองๆ Get 100 ทําคะแนนสูเปาหมายในอนาคต หนังสือชุด “ติวเขม O-NET Get 100” โดยทรูปลูกปญญา ประกอบดวยวิชาคณิตศาสตร ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ ที่รวบรวมเนื้อหาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิชา ฟสิกส เคมี ชีววิทยา ของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมทั้งหมด 11 เลม โดยสามารถศึกษาเนื้อหาหรือทําขอสอบ ออนไลนเพิ่มเติมไดจาก www.trueplookpanya.com ที่มี link ใหในทายบท สามารถดาวนโหลดหนังสือไดฟรี ผานเว็บไซตทรูปลูกปญญา ที่ www.trueplookpanya.com/onet ทีมงานทรูปลูกปญญา


สารบัญ เรื่อง

หนา

คุยกอนอาน บทที่ 1 โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ

7

บทที่ 2 สารชีวโมเลกุลเบื้องตน

26

บทที่ 3 ธาตุและสารประกอบ

53

บทที่ 4 เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (Fossil)

71

บทที่ 5 พอลิเมอร (Polymer)

87

บทที่ 6 ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction)

103


คุยกอนอาน หนังสือติวเขม O-NET Get 100 วิชาเคมีเลมนี้ ไดรวบรวมเนื้อหาวิชาเคมีพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่นองๆจะตองใช ในการสอบ O-Net ตอน ม.6 ซึ่งในหนังสือเลมนี้พี่ก็เขียนใหนองอานงายๆ ใชภาษาที่เปนกันเอง เสมือนนองนัง่ ฟงพีอ่ ธิบาย สําหรับวิชาเคมีพนื้ ฐานนัน้ ก็ ไมไดเปนเร�องยากอะไรมาก หากนองตัง้ ใจ พยายามทําความ เขาใจ ไมตองทองจําอะไรมาก และกอนสอบนองไดทําขอสอบเกามาบาง พี่คิดวานองๆก็น�าจะทําขอสอบไดแลว บทที่ 1 โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ ก็จะกลาวถึงความเปนมาของการคนพบธาตุตางๆ การทําการทดลอง ของนักวิทยาศาสตร การรูจ กั องคประกอบพืน้ ฐานของธาตุ รูจ กั การใชตารางธาตุ และอานคาตางๆ เปน ซึง่ บทนีถ้ อื วา เปนพื้นฐานที่สําคัญสําหรับการเรียนรู ในบทตอๆ ไปเลยนะ ขอใหนองทําความเขาใจดีๆนะ บทที่ 2 สารชีวโมเลกุล ในบทนี้จะคอนขางคลายกับวิชาชีววิทยาที่นองเคยเรียนมา เชน คาร โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน กรดนิวคลิอิก แตจะเนนมาทางโครงสรางทางเคมีมากขึ้น ในบทนี้คอนขางจะเปนความรู ใหม ซึ่งนองสามารถ นําความรู ไปเช�อมโยงกับทางชีววิทยาได ซึ่งจะทําใหนองๆ เรียนไดอยางเขาใจมากขึ้น บทที่ 3 สมบัติธาตุและสารประกอบ บทนี้คอนขางจะเปนบรรยาย นองสามารถอานไปไดเร�อยๆ เหมือนทําความ รูจักกับสมบัติของธาตุตางๆ และที่สําคัญคือเร�องของแนวโนมตามตารางธาตุ ในสวนนี้จะสอนลักษณะที่เหมือนกัน หรือตางกันตามคาบและหมูข องตารางธาตุ ซึง่ จะทําใหนอ งสามารถคาดเดาลักษณะ สมบัตติ า งๆ ของธาตุได นอกจาก นี้ยังมีเรื่อง ธาตุกัมมันตรังสี ในส่วนนี้ออกข้อสอบทุกปี เช่น การคํานวณหาค่าครึ่งชีวิต การคํานวณอายุของ ซากดึกดําบรรพ ซึ่งตองใชความรูทางดานสารกัมมันตรังสี บทที่ 4 เชื้อเพลิงและซากดึกดําบรรพ ในบทนี้นองๆ จะไดเรียนรูเกี่ยวกับชนิดของเชื้อเพลิงถานหิน นํามัน ปโตรเลียม กระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณภาพนาํ มัน และแกสธรรมชาติ ซึง่ ถือไดวา เปนประโยชนอยางยิง่ เพราะ เชื้อเพลิงเหลานี้นองๆ ก็ใชกันอยูในชีวิตประจําวันอยูแลว บทที่ 5 พอลิเมอร บทนี้จะกลาวถึงวัสดุพอลิเมอรชนิดตางๆ การผลิต ปฏิกิริยาที่เกี่ยวของกับการผลิต ซึ่งพบได ทั่วๆ ไป เชน ขวดพลาสติก ยางรถยนต โดยจะทําใหนองๆ เขาใจถึงรายละเอียดของพอลิเมอรแตละชนิดไดดียิ่งขึ้น


คุยกอนอาน บทที่ 6 ปฏิกริ ยิ าเคมี ในบทนีถ้ อื ไดวา เปนบททีส่ าํ คัญมากหนึง่ บทเลยก็วา ได นอกจากจะออกขอสอบในทุกๆ ปแลว เร�องของการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีนนั้ ยังเปนพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญ ของการเกิดปฏิกริ ยิ าตางๆ ทีน่ อ งๆ อาจจะไดเรียนตอไป หรือ เรียนในวิชาเคมีเพิ่มเติม ในบทนี้นองๆ จะไดรูจัก หลักการของการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยา พลังงาน ที่เกี่ยวของ และกฎอัตรา ฟงดูแลวอาจจะคิดวายากมากแน�เลย แตนองๆ อยาเพิ่งทอแท จริงๆ แลวไมไดยากอยางที่ คิดนะ ทุกอยางเปนเหตุเปนผล และดวยเทคนิคตางๆ ที่พี่ๆ ให จะทําใหนองเขาใจไดมากขึ้นครับ พีเ่ ขาใจดีวา “วิชาเคมี” อาจเปนยาขมของนองหลายๆ คน แตนอ งลองเปดใจรับมัน เขาใจในหลักการและเหตุผล ทีพ่ อี่ ธิบายในหนังสือเลมนี้ ไมตอ งทองจํามาก และทําขอสอบเกา เพียงเทานีพ้ กี่ เ็ ช�อวานองทุกคนจะสามารถเรียนเคมี ไดอยางมีความสุข และประสบความสําเร็จในการสอบแน�นอน

ทีมงานทรูปลูกปญญา


บทที่ 1

โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ

Introduction

สําหรับบทที่ 1 โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ นับไดวาเปนบทพื้นฐานที่สุดของการเรียนเคมีเลยนะ เพราะฉะนั้นพี่ อยากใหนองๆทําความเขาใจบทนี้ใหดีๆ เพราะเปนพื้นฐานที่สําคัญของบทอื่นๆ ตอไปอีกดวย เนื้อหาในบทนี้ก็จะมีตาม Outlines ในหัวขอตอไปนี้ ซึ่งเปนเสมือนกับจุดประสงคการเรียนรูของบทนี้ ที่นองๆ ตอง เขาใจหลังจากไดอานจบแลว

Outlines

1. โครงสรางอะตอม 2. อนุภาคมูลฐาน 3. ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร ไอโซอิเล็กทรอนิก 4. คลื่นแมเหล็กไฟฟา และ สเปกตรัมเบื้องตน 5. การจัดเรียงอิเล็กตรอน 6. ตารางธาตุและการใชประโยชนจากตารางธาตุ 7. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization Energy : IE) 8. อิเล็กโตรเนกาติวิตี (Electronegativity : EN)

1. โครงสรางอะตอม จริงๆแลวการศึกษาทางดานเคมี มีมาชานาน ตั้งแตยุคกรีกโบราณนับจนบัดนี้ ความรูทางดานเคมีก็ยังไมสิ้นสุด ดังนั้น ในหัวขอนี้ ก็จะเปรียมเสมือนกับการสอนประวัติศาสตรของเคมีนั่นเอง ในสมัยกรีกโบราณมีนักปรัชญาอยูหลายคน ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ ลูชิพปุส (Leucippus) และ เดโมคริตุส(Democritus) ได อธิบายไววา “สสารประกอบดวยอนุภาคขนาดเล็กที่มองไมเห็น” เขาจึงใหชื่อวา อะตอม ซึ่งแปลวาไมสามารถแบงแยกไดอีก แตในขณะนัน้ มีนกั ปรัชญาหลายคนไมเห็นดวย จึงยังไมเปนทีย่ อมรับ แตแนวความคิดของเดโมคริตสุ ก็เปนแรงจูงใจในการศึกษา เคมีตอมา เวลาลวงเลยมาหลายพันป ในป ค.ศ. 1808 (พ.ศ. 2351) ก็ไดมีนักเคมีชาวอังกฤษชื่อวา จอหน ดาลตัน (John Dalton) ก็ไดเสนอทฤษฏีเกี่ยวกับรูปแบบของอะตอมไวหลายประการ โดยทฤษฏีของดอลตันไดกลาวไววา 1. สารประกอบดวยอะตอม ซึ่งเปนหนวยที่เล็กที่สุด แบงแยกตอไปอีกไมได และไมสามารถสรางขึ้นหรือทําลายให สูญหายไป 2. ธาตุเดียวกันประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกัน มีมวลและคุณสมบัติเหมือนกัน แตจะแตกตางจากธาตุอื่น 3. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปดวยสัดสวนที่คงที่ 4. อะตอมของธาตุแตละชนิดจะมีรูปรางและนํ้าหนักเฉพาะตัว 5. นํ้าหนักของธาตุที่รวมกัน ก็คือนํ้าหนักของอะตอมทั้งหลายของธาตุที่รวมกัน ซึ่งทําใหเขาคาดคะเนวารูปแบบของอะตอมนาจะเปน “ทรงกลมตัน” มาถึงตรงนี้ นองๆ หลายคนอาจจะนึกไมออกวาทรงกลม ตันมันเปนอยางไร พี่อยากใหนองนึกถึงลูกบอล นั่นแหละทรงกลมตัน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

7


ซึง่ ในปจจุบนั ก็ไดมกี ารพิสจู นทฤษฏีของดาลตันมาแลว และก็พบวาบางขอก็ถกู ตอง บางขอก็ไมถกู ตอง และในเวลาตอ มาก็ไดมีนักวิทยาศาสตรอีกหลายคนสามารถหาเหตุผล การทดลองตางๆ มาลมลางโครงสรางอะตอมของดาลตันได

ทรงกลมตัน โครงสรางอะตอมของดาลตัน กอนจะไปถึงโครงสรางอะตอมแบบตอๆ ไป พีอ่ ยากทําความเขาใจกับนองๆ กอนวา ในการศึกษาเรือ่ งโครงสรางอะตอม ในสมัยนัน้ ทําไดยากมาก เพราะวาอะตอมเปนสิง่ ทีค่ นมองไมเห็น การทีน่ กั วิทยาศาสตรในสมัยกอนเสนอทฤษฎีขนึ้ มาวารูปแบบ ของอะตอมจะเปนอยางไรนัน้ มาจากการทําการทดลอง และก็คาดคะเนถึงโครงสรางของอะตอม ดังนัน้ หากมีนกั วิทยาศาสตร ทีท่ ดลองและไดขอ มูลใหมๆ ซึง่ ไมสอดคลองกับนักวิทยาศาสตรทเี่ สนอทฤษฎีไวกอ นหนา ก็จะนําเหตุผลของตนไปลมลาง และ ตั้งทฤษฎีของตนขึ้นมาใหม และจะเปนอยางนี้ไปเรื่อยๆ พี่จึงบอกวาการเรียนในหัวขอนี้ เหมือนกับเรานั่งอานประวัติศาสตร ของการศึกษาเคมีนั่นเอง ตอมามีนักฟสิกสชาวอังกฤษชื่อวา เจ.เจ. ทอม สัน (Sir Joseph John Thomson) ไดทาํ การทดลองเกีย่ ว กับหลอดรังสีแคโทด (นองอาจจะสงสัยวาหลอดรังสี แคโทดมันคืออะไรกันนะ เอาเปนวาเดีย๋ วพีจ่ ะมาอธิบาย ทีหลังแลวกันนะ) และไดผลการทดลองที่ไมสอดคลอง กับทฤษฎีอะตอมของดาลตัน จึงไดตงั้ โครงสรางอะตอม ขึ้นมาใหมวา “อะตอมเปนทรงกลม ที่เปนกลางทาง ไฟฟา มีประจุบวก และประจุลบกระจายตัวอยางสมํ่าเสมอและเทาๆ กัน บนผิวของทรงกลม” ลักษณะเปนดังรูป นองๆ เคยสงสัยไหมวา ปกติที่เราเคยเรียนๆ กันมา เกี่ยวกับการนําไฟฟานั้น ประจุไฟฟาจะเคลื่อนที่ได จะตองผานวัสดุที่นํา ไฟฟาได เชน โลหะ แตจะไมเคลือ่ นทีใ่ นสิง่ ของทีเ่ ปนฉนวน เชน อากาศ ยาง ผา เปนตน แตทาํ ไมเวลาฟาแลบ ฟาผา ประจุไฟฟา สามารถเคลื่อนที่ในอากาศได ความสงสัยนี้ไมไดเกิดขึ้นกับนองๆ เทานั้น แตเกิดขึ้นกับ เจ.เจ. ทอมสัน ดวย เพียงแตถาสงสัย แลวปลอยมันผานไปมันก็ไมเกิดประโยชนอะไร แต เจ.เจ. ทอมสัน สงสัยแลวอยากคนหาคําตอบ จึงไดทําการทดลองโดยนํา หลอดแกวทีเ่ ปนสุญญากาศ ติดขัว้ ไฟฟาไวทงั้ สองขางปลายหลอด และตอกับแหลงกําเนิดไฟฟาทีม่ คี วามตางศักยสงู ๆ 10,000 โวลตแลววางฉากเรืองแสงที่เคลือบดวยซิงสซัลไฟด (ZnS) ไวภายในหลอด จะเห็นเสนเรืองแสงสีเขียวพุงจากแคโทด (ขั้วลบ) ไปยังแอโนด(ขั้วบวก) (เปนการจําลองการเกิดฟาแลป ฟาผา) และเรียกหลอดนี้วา “หลอดรังสีแคโทด”

8

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ที่มา : ch-atom.blogspot.com ปรากฏวาเมื่อปลอยกระแสไฟฟาความตางศักยสูงๆ ประจุไฟฟาจากขั้วไฟฟาแคโทดสามารถเคลื่อนที่ไดในหลอดรังสี แคโทด โดยสังเกตจากรอยบนแผนเรืองแสงทีเ่ ขาไดดดั แปลงใสไวในหลอดรังสี และไดมที อมสันไดทดลองตอ โดยการนําสนาม ไฟฟามาลอประจุนั้น ปรากฏวาประจุชนิดนี้เบนเขาหาขั้วบวก นั่นก็แสดงวาประจุชนิดนี้เปน ประจุลบ (เพราะเปนประจุตางชนิด กัน จะดึงดูดกัน แตถา เปนประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน) ซึง่ ในเวลาตอมาประจุลบทีว่ า นัน้ ก็ไดถกู ตัง้ ชือ่ วา อิเล็กตรอน (electron) นั่นเอง พีเ่ พิม่ เติมใหสาํ หรับนองๆ ทีเ่ รียนทางสายวิทยาศาสตรอยูแ ลว (สําหรับนองๆ สายศิลป ไมตอ งกังวลหากไมเขาใจเนือ้ หา ในยอหนานี้นะ) สําหรับการทดลองของทอมสัน นอกจากจะนําสนามไฟฟามาลอประจุลบนั้นแลว ยังไดใชสนามแมเหล็กมาลอ ดวยเชนกัน ปรากฏวาประจุลบที่เคลื่อนที่ในหลอดรังสีแคโทดเบนเขาหาขั้วใตของแมเหล็ก ทอมสันจึงไดทําการลอประจุลบนั้น ดวยสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กพรอมกัน และปรับคาของสนามไฟฟา จนใหประจุลบนัน้ ไมเบนเขาหาขัว้ ใดๆ ทัง้ นัน้ และก็ได แกสมการทางฟสกิ ส จนไดคา คงทีม่ าคาหนึง่ ซึง่ คือคาประจุตอ มวล เทากับ 1.76x1011คูลอมบ/กิโลกรัม หรือเทากับ 1.76x108 คูลอมบ/กรัม (คูลอมบ คือ หนวยของประจุไฟฟา) ทอมสันไมสามารถบอกไดวาประจุลบที่พบนั้นมีคาประจุกี่คูลอมบ และไม สามารถบอกไดวาประจุลบนั้นมีมวลเทาใด เขาบอกไดเพียงวาถานําคาประจุมาหารดวยมวลของประจุ จะไดคาคงที่ประจุตอ มวล นองๆ มาถึงตรงนี้แลว ลองคิดถึงสถานการณในสมัยนั้น ทอมสัน ทดลองหลอดรังสีแคโทดมาเยอะแยะ ไดคาประจุตอ มวลมาแลว แตไมรูวาคาประจุเทาไร ไมรูวามวลเทาไร รูแตคาสองคานี้เวลาหารกัน เพราะฉะนั้นหากมีนักวิทยาศาสตรสัก คนหนึ่งที่หาคาใดคาหนึ่งได ก็จะไดอีกคาหนึ่งไปโดยปริยาย (เพราะคานั้นมันหารกันอยู ถาหาคาหนึ่งได อีกคาก็แกสมการหา ไดเชนกัน) โชคดีวา มีนกั วิทยาศาสตรคนหนึง่ เปนนักวิทยาศาสตรชาวอเมริกนั ชือ่ วา รอเบิรต มิลลิแกน (Robert Millikan) ทําการ ทดลองหาคาประจุอิเล็กตรอนโดยใชเวลาอยู 7 ป ก็สามารถพัฒนาอุปกรณและปรับปรุงวิธีของทอมสันไดสําเร็จ

อุปกรณที่มิลลิแกนพัฒนาขึ้น

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

9


มิลลิแกนไดเปลี่ยนจากการใชนํ้ามาใชนํ้ามันเพราะระเหยไดชากวานํ้าและสามารถหาความเร็วปลายของละอองนํ้ามัน และสามารถคํานวณคาประจุแตละละอองนํา้ มันไดเทากับ 1.6x10-19 คูลอมบ ดังนัน้ จึงแกสมการหามวลของอิเล็กตรอนไดเทากับ 9.1x10-31กิโลกรัม และเรียกการทดลองนี้วา “การทดลองหยดนํ้ามันของมิลลิแกน” ตอมาในป ค.ศ.1910 (พ.ศ.2453) ไดมนี กั วิทยาศาสตรชาวนิวซีแลนด ชือ่ วา รัทเทอฟอรด (Rutherford) ไดทาํ การทดลอง ยิงอนุภาคแอลฟา ซึ่งมีประจุเปนบวกผานแผนทองคําบางๆ (หากนึกไมออก ใหนองๆนึกถึงทองคําเปลว) ซึ่งไดผลการทดลอง ที่ไมสอดคลองกับโครงสรางอะตอมของ เจ.เจ. ทอมสัน ดังนั้นเขาจึงไดตั้งทฤษฎีอะตอมแบบใหมขึ้นมา โดยโครงสรางอะตอม ของรัทเทอฟอรด มีลักษณะเปนที่วางเปนสวนมาก มีของแข็งขนาดใหญอยูตรงกลาง มีประจุบวกอยูภายในและมีอิเล็กตรอน โคจรอยูรอบนอก ซึ่งของแข็งที่วานั้น รัทเทอฟอรดเรียกวา นิวเคลียส (nucleus) และประจุบวกที่พบวาอยูในนิวเคลียสตอมาก็ คือ โปรตอน (proton) นั่นเอง ดังรูป

นิวเคลียส ภายในมีโปรตอน

อิเล็กตรอน

โครงสรางอะตอมของรัทเทอฟอรด และในเวลาตอมาก็มีนักวิทยาศาสตรชื่อ เจมส แชดวิก คนพบอนุภาคอีกชนิดหนึ่งที่เปนกลางทางไฟฟาอยูภายใน นิวเคลียสเชนเดียวกันกับโปรตอน และไดใหชื่อวา นิวตรอน (neutron) ในตอนนี้อนุภาคของอะตอมที่นองๆ รูจักก็มี 3 อยางแลวนะ ไดแก 1. โปรตอน (proton) เปนประจุบวก อยูภายในนิวเคลียส 2. นิวตรอน (neutron) เปนกลางทางไฟฟา (ไมมีประจุ) อยูภายในนิวเคลียส 3. อิเล็กตรอน (electron) เปนประจุลบ โคจรอยูรอบๆ นิวเคลียส และพวกอนุภาคพวกนี้เราเรียกรวมๆวา “อนุภาคมูลฐาน” 2. อนุภาคมูลฐาน กอนที่จะไปรูจักกับโครงสรางอะตอมอีกสองแบบที่เหลือ ไหนๆ ตอนนี้นองๆก็รูจักกับคําวาอนุภาคมูลฐานแลว พี่ก็จะ ขอสอนเรื่องอนุภาคมูลฐานกอนแลวกัน แตกอนอื่นเราตองไปทําความรูจักกับสัญลักษณของธาตุกอนนะ

10

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


สัญลักษณที่นองๆ เห็นดานขวามือนี้ เปนสัญลักษณ สากลที่ ใชสําหรับบงบอกธาตุ เราเรียกสัญลักษณ ลักษณะนี้วา “สัญลักษณนิวเคลียร”

-

X คือ ธาตุ เชน O ก็คือ ธาตุออกซิเจน C คือ ธาตุคารบอนเปนตน Z คือ เลขอะตอม (atomic number) A คือ เลขมวล (mass number)

ตอนนี้เริ่มมีศัพทใหมที่นองๆ อาจกําลังงงกันอยู แตพี่จะอธิบายใหนองเขาใจเอง ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบดวยอะตอมเพียงหนึ่งชนิด และเปนกลางทางไฟฟา เชน C (คารบอน) , N (ไนโตรเจน) , Na (โซเดียม) เปนตน เลขอะตอม คือ จํานวนโปรตอนที่อยูภายในนิวเคลียสของธาตุ ซึ่งนองๆทุกคนรูแลววา โปรตอนเปนประจุบวก และเมื่อกี้พี่เพิ่ง บอกไปวาธาตุตองเปนกลางทางไฟฟา ดังนั้นถามีประจุบวกก็ตองมีประจุลบ ซึ่งก็คือ อิเล็กตรอน นั่นเอง ดังนั้นนอกจากเลข อะตอมจะบอกถึงจํานวนโปรตอนแลว ยังบอกถึงจํานวนอิเล็กตรอนของธาตุนั้นไดดวย เลขมวล คือ มวลของธาตุนั้นๆ ซึ่งเลขมวลไดมาจากจํานวนโปรตอนรวมกับจํานวนนิวตรอน นองๆ บางคนอาจจะสงสัยวา อาว ก็ไหนพีบ่ อกวาอนุภาคมูลฐานมีสามอยางอยูใ นอะตอม แตทาํ ไมพูดถึงมวลของธาตุ ไมรวมอิเล็กตรอนดวยละ? นัน่ ก็เปนเพราะ วาอิเล็กตรอนมันมีมวลนอยมากๆ เมือ่ เทียบกับมวลของโปรตอนและนิวตรอนดังนัน้ ถาใหนอ งหาจํานวนนิวตรอน ก็งา ยมากแค นําจํานวนโปรตอน (เลขอะตอม) ไปลบออกจากเลขมวล นองหลายคนอาจมองไมเห็นภาพวามวลอิเล็กตรอนมันนอยกวามากๆ ยังไง งัน้ พีจ่ ะขอบอกมวลของอนุภาคมูลฐานให นองๆไดรู แตไมตองจํานะ แคอยากใหนองๆ เห็นความนอยของมันไดอยางชัดเจน

มวลโปรตอน = มวลนิวตรอน = มวลอิเล็กตรอน =

1.67x10-27 กิโลกรัม 1.67x10-27 กิโลกรัม 9.1x10-31 กิโลกรัม

ดูอยางนี้ก็อาจจะยังไมเห็นภาพชัดเจน นองลองนํามวลโปรตอนหรือมวลนิวตรอนหารดวยมวลอิเล็กตรอนดูซิ.... จะได วามวลโปรตอนหรือนิวตรอน หนักกวาอิเล็กตรอนถึง 1,835 เทา นี่แหละคือเหตุผลวาทําไมมวลของธาตุจึงไมคิดอิเล็กตรอน ตอนนี้นองไดรูจักกับสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุแลว งั้นพี่จะขอลองนําสัญลักษณจริงๆ มาเปนตัวอยาง ใหนองๆ ฝก ตอบตามแลวกันนะ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

11


ธาตุ จํานวนโปรตอน จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอน

ธาตุ จํานวนโปรตอน จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอน

ออกซิเจน 8 8 16-8 = 8

ธาต จํานวนโปรตอน จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอน

โซเดียม 11 11 23-11 = 12

ฟลูออรีน 9 9 19-9 = 10

ดังนั้น “อะตอม” ก็คือ “ธาตุ” นั่นเอง ตองเปนกลางทางไฟฟา อยางที่บอกไปแลวในหนาที่ผานมา แตเนื่องจากอะตอม ไมเสถียรในสภาพธรรมชาติอะตอมหรือธาตุกจ็ ะพยายามเปลีย่ นแปลงตนเองใหอยูใ นธรรมชาติได โดยการเปลีย่ นแปลงจํานวน อิเล็กตรอนซึ่งจากอะตอมที่เปนกลางทางไฟฟา (โปรตอน = อิเล็กตรอน) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของอิเล็กตรอน ก็จะทําใหมัน ไมเปนกลางทางไฟฟาอีกตอไป และเราจะเรียกวาอะตอมที่มีการเปลี่ยนแปลงอิเล็กตรอนวา “ไอออน (Ion)” ซึ่งลักษณะการ เปลี่ยนแปลงก็จะแบงออกเปน 2 แบบ คือ 1) ไอออนบวก (Cation) คือ อะตอมที่เสียอิเล็กตรอนออกไป ก็จะทําใหมีจํานวนโปรตอนมากกวาจํานวนอิเล็กตรอน (มีความเปนบวกมากกวาลบ) เชน Na+ (โซเดียมไอออน) Ca2+ (แคลเซียมไอออน) เปนตน 2) ไอออนลบ (Anion) คือ อะตอมที่รับอิเล็กตรอนเขาไป ก็จะทําใหมีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวาจํานวนโปรตอน (มีความ เปนลบมากกวาบวก) เชน O2- (ออกไซดไอออน) F- (ฟลูออไรดไอออน) เปนตน สิ่งที่เปลี่ยนไปตอนนี้ที่นองๆ คงเห็นไดชัดคือ วิธีการเรียกชื่อไอออน อยางเดิมถาเปนธาตุ Na (โซเดียม) พอมันเปน ไอออน Na+ก็อานวา โซเดียมไอออน ก็ไมไดแปลกอะไร แตทําไม O (ออกซิเจน) พอเปนไอออน O2-แลวอานวา ออกไซดไอออน หรือ ออกไซด พี่จะอธิบายการเรียกชื่อไอออนใหฟงกอนแลวกันนะ หลักการก็มีงายๆ ดังนี้ 1. ไอออนบวก ใหเรียกเหมือนชื่อธาตุเดิม และเติมคําวา “ไอออน” ไวดานหลังของชื่อเชน Mg2+ อานวา แมกนีเซียมไอออน เปนตน 2. ไอออนลบ ใหเปลี่ยนชื่อธาตุเดิมใหเปนเสียง “ไ_ด (_ide)” เชน S2- อานวา ซัลไฟด , Cl- อานวา คลอไรด เปนตน นองอาจจะเริ่มงงวาแลวทําไมอะตอมที่เปนกลางทางไฟฟาอยูดีๆ มันจะไปเปลี่ยนแปลงจํานวนอิเล็กตรอนทําไมใหยุง ยาก เดี๋ยวพี่จะขอขามเรื่องเหตุผลไปกอนนะ และจะไปอธิบายอีกทีในหัวขอการจัดเรียงอิเล็กตรอน แตตอนนี้รูคราวๆ ไปกอน วา การที่มันตองเปลี่ยนแปลงก็เพื่อใหมันสามารถอยูในธรรมชาติได เพื่อทําใหนองๆเขาใจมากยิ่งขึ้นเกี่ยวกับไอออน ลองดู ตัวอยางตอไปนี้แลวกันนะ

12

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


หลักการ 1. ถาเปนไอออนลบ 2. ถาเปนไอออนบวก

แสดงวา อะตอมรับอิเล็กตรอนเขาไป แสดงวา อะตอมเสียอิเล็กตรอนเขาไป ไอออน จํานวนโปรตอน จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอน

ออกไซด (Oxide) 8 8+2 = 10 16-8 = 8

นองๆ จะเห็นไดวา “ออกไซด” เปนไอออนลบ ซึ่งหมายความวารับอิเล็กตรอนเขาไป 2 ตัว (เพราะประจุเปน -2) ดังนั้น จํานวนอิเล็กตรอนก็ตองบวกเพิ่มเขาไปอีก 2 จึงกลายเปน 10 ไอออน จํานวนโปรตอน จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอน

ฟลูออไรด (Fluoride) 9 9+1= 10 19-9 = 10

นองๆ จะเห็นไดวา “ฟลูออไรด” เปนไอออนลบ ซึ่งหมายความวารับอิเล็กตรอนเขาไป 1 ตัว (เพราะประจุเปน -1 แต มักเขียนยอๆเปน -) ดังนั้นจํานวนอิเล็กตรอนก็ตองบวกเพิ่มเขาไปอีก 1 จึงกลายเปน 10

ไอออน จํานวนโปรตอน จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอน

โซเดียมไอออน (Sodium ion) 11 11-1= 10 23-11 = 12

นองๆ จะเห็นไดวา “โซเดียมไอออน” เปนไอออนบวก ซึ่งหมายความวาเสียอิเล็กตรอนออกไป 1 ตัว (เพราะประจุเปน +1 แตมักเขียนยอๆ เปน +) ดังนั้นจํานวนอิเล็กตรอนก็ตองลบออกไปอีก 1 จึงกลายเปน 10

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

13


ไอออน จํานวนโปรตอน จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอน

อะลูมินัมไอออน (Aluminum ion) 13 13-3= 10 27-13 = 14

นองๆ จะเห็นไดวา “อะลูมินัมไอออน” เปนไอออนบวก ซึ่งหมายความวาเสียอิเล็กตรอนออกไป 3 ตัว (เพราะประจุ เปน +3) ดังนั้นจํานวนอิเล็กตรอนก็ตองลบออกไปอีก 3 จึงกลายเปน 10 ตัวอยางขอสอบ ไอออนบวกของไฮโดรเจน (H+) ขาดอนุภาคมูลฐานใด 1. โปรตอน 2. อิเล็กตรอน 2. โปรตอนและอิเล็กตรอน 4. นิวตรอน และอิเล็กตรอน เฉลย ขอ 4. (hydrogen) มีโปรตอน 1 ตัว และอิเล็กตรอน 1 ตัว จะเห็นไดวาไมมีนิวตรอนนะ แตถาเปน เสียอิเล็กตรอนออกไป 1 ตัว เปนไอออน เพราะฉะนั้นก็จะไมมีอิเล็กตรอนเหลือดวย

ก็คือไฮโดรเจน

3. ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร ไอโซอิเล็กทรอนิก กอนอื่นเลย นองๆควรรูความหมายของคําวา “ไอโซ (iso)” กอน ซึ่งแปลวา เทากัน ดังนั้นในหัวขอนี้ก็จะเกี่ยวของกับ ความเทากันของอะไรสักอยาง - ไอโซโทป (isotope) คือ ธาตุชนิดเดียวกัน(มีโปรตอนเทากัน) แตมีเลขมวลไมเทากัน หรือกลาวไดวา มีนิวตรอนไมเทา กับ เปนไอโซโทปกัน กัน นั่นเองเชน - ไอโซโทน (isotone) คือ ธาตุสองชนิดที่มีนิวตรอนเทากัน หลักการจํางายๆ คือ โทน น. ก็คือ นิวตรอน เชน กับ เปนไอโซโทนกัน เพราะทั้งคูตางมีนิวตรอนเทากับ 12 - ไอโซบาร (isobar) คือ ธาตุสองธาตุที่มีเลขมวลเทากัน เชน กับ จะเห็นไดวาทั้งสองธาตุมีเลขมวลเทากัน กับ นองๆจะเห็นวา - ไอโซอิเล็กทรอนิก (isoelectronic) คือ ธาตุหรือไอออนที่มีอิเล็กตรอนเทากัน เชน ทั้งโซเดียมไอออนและฟลูออไรดไอออนมีอิเล็กตรอนเทากัน ตัวอยางขอสอบ ธาตุในขอใดที่เปนไอโซโทปกับธาตุที่มีสัญลักษณเปน 1. 2. 3. 4. เฉลย ขอ 2. ไอโซโทป มันตองเปนธาตุเดียวกันใชปะ แตมีเลขมวลไมเทากัน (มีนิวตรอนไมเทากัน) ซึ่งสิ่งที่บอกวาเปนธาตุเดียวกัน ก็คือ เลขอะตอม (จํานวนโปรตอน) นั่นเอง ดังนั้น นองก็ตองเลือกกอนวา ตองเปน B ที่มีเลขอะตอมเปน 5 เหมือนกัน แตใหมี เลขมวลตางกัน

14

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


กลับมาที่เรื่องโครงสรางอะตอมของเราอีกรอบนะ จากที่พี่ได ขามไปอธิบายเรือ่ งสัญลักษณนวิ เคลียรของธาตุและไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร และไอโซอิเล็กทรอนิก สําหรับโครงสรางอะตอมในรูปแบบถัด ไปทีจ่ ะสอนนองๆ นัน้ เรียกไดวา เกิดความเปลีย่ นแปลงอยางมากจาก 3 แบบที่เราไดรูจักกันไปกอนหนานี้ เพราะวา 3 แบบกอนหนานี้ ทั้งของ ดาลตัน ทอมสัน และรัทเทอฟอรด อธิบายทฤษฎีของตนดวยการทดลอง ทางเคมีและฟสิกสแบบสมัยเกา แตตั้งแตแบบจําลองอะตอมตอไปนี้ เปนตนไปจะเขาสูชวงที่การศึกษาทางฟสิกสและเคมีกาวหนาขึ้นอยาง มาก อาจจะมีหลายสาเหตุ แตสาเหตุหนึ่งพี่คิดวาเปนเพราะอยูในชวง สงครามโลก จึงทําใหการศึกษาทางดานฟสิกสและเคมีกาวหนากวาใน อดีต นองๆ คงจะกําลังงงสิวา ทําไมการศึกษาในชวงสงครามโลกถึงไดรงุ เรือง ทัง้ ๆ ทีแ่ ตละประเทศนาจะตัง้ หนาตัง้ ตากับการ ทําสงคราม นั่นก็เปนเพราะวาในชวงการทําสงครามโลก แตละประเทศก็ทําการวิจัยอาวุธยุทโธปกรณที่ทันสมัยมาตอสูกัน ใน ชวงนั้นมีการติดตอสื่อสารแบบไรสายเปนครั้งแรก เชน พวกวิทยุสื่อสาร โทรศัพทมือถือ และที่สําคัญที่สุดก็มีนักวิทยาศาสตร ที่สามารถคิดคนอาวุธที่รายแรงที่สุดได นั่นก็คือ ระเบิดนิวเคลียร จะเห็นไดวาในชวงสงครามโลก มีการคนควาวิจัย เกิดองค ความรูใหมๆ ขึ้นมามากมาย และในชวงเวลานั้นเองก็มีนักฟสิกสชื่อวา “นีลส โบร (Niels Bohr)” ไดเสนอทฤษฎีอะตอมแบบ ใหมขึ้นมา โดยทําการทดลองเกี่ยวกับสเปกตรัมของไฮโดรเจน (สเปกตรัม คือ แถบรังสีของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ขอใหนองๆ เขาใจไปกอนวาเปนรูปแบบหนึ่งของพลังงานแลวกัน) และไดขอสรุปเปนโครงสราง ดังรูป โดยหลักการทีเ่ ขาเสนอพีข่ ออธิบายใหเขาใจงายๆ นะ คือวา เขาทําการทดลองโดยการนําอะตอมของไฮโดรเจนมาแลว ใหพลังงานเขาไปในอะตอม ปรากฏวาอะตอมสามารถคายพลังงานทีเ่ ขาใสเขาไปออกมาได โดยเขาสามารถสังเกตเห็นพลังงาน ที่อะตอมไฮโดรเจนคายออกมาได และเขาเรียกพลังงานที่มันคายออกมาวา “สเปกตรัม (spectrum)” โบรอธิบายวา การทีเ่ ขาใหพลังงานเขาไปในอะตอมของไฮโดรเจน ทําใหอเิ ล็กตรอนทีโ่ คจรอยูใ นวงโคจรชัน้ ลาง (ground state) ถูกกระตุนใหขึ้นไปอยูในวงโคจรที่สูงขึ้น (excited state) ทําใหอิเล็กตรอนนั้นไมเสถียร จึงคายพลังงานที่รับเขาไปออก มา เพื่อจะไดกลับมาอยูในวลโคจรเดิม โดยพลังงานที่คายออกมาก็คือ สเปกตรัม นั่นเอง พี่ เ ชื่ อ ว า ตอนนี้ น  อ งหลายคนกํ า ลั ง ไม เ ข า ใจว า อะไรคื อ สเปกตรั ม พอพี่ บ อกว า สเปกตรั ม คื อ แถบรั ง สี ข อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ก็จะเกิดคําถามตอไปอีกวา แลวอะไรคือคลื่นแมเหล็กไฟฟา? ดังนั้นพี่จะขออธิบายใหนองๆเขาใจเกี่ยวกับ คลื่นแมเหล็กไฟฟาเบื้องตนกอนนะ 4. คลื่นแมเหล็กไฟฟาและสเปกตรัมเบื้องตน คลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ คลื่นชนิดหนึ่งที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เชน คลื่นวิทยุ รังสีอินฟราเรด คลื่นแสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ เปนตน สามารถเคลื่อนที่ไดในสุญญากาศ เชน แสงและความรอนจากดวงอาทิตยสามารถ เคลื่อนที่ผานสุญญากาศเขามาในโลกได ตางจากคลื่นเสียงที่เปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ซึ่งก็คืออนุภาคของ อากาศ เสียงไมสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได เชน ถานองไปพูดบนดวงจันทร นองก็จะไมไดยินเสียงตัวเอง เพราะบนดวง จันทรไมมีอากาศ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

15


ที่มา : wiki.stjohn.ac.th จากภาพนี้นองจะเห็นไดวา คลื่นแมเหล็กไฟฟามีเยอะมาก เรียงจากความถี่นอย (ซาย) ไปความถี่มาก (ขวา) แตที่พี่ อยากใหนองสังเกตคือ ชองที่เขียนวา visible หรือ “แสงที่มองเห็นไดดวยตาเปลา” ซึ่งก็คือแสงที่เรามองเห็นไดอยูในชีวิต ประจําวัน ซึ่งก็มีสี มวง คราม นํ้าเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง ทําไมพี่ถึงใหนองสังเกต visible เปนพิเศษ ก็เพราะจะบอก วา จริงๆแลวแสงหรือสีที่เรามองเห็นนั้นก็คือ คลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงๆหนึ่ง นั่นเอง แตคลื่นแมเหล็กไฟฟาไมไดมีแคแสงที่เรา มองเห็นยังมีอกี เยอะ เชน ไมโครเวฟ รังสีอนิ ฟราเรด (คลืน่ ความรอน) รังสีอลั ตราไวโอเลต ฯลฯ ทัง้ หมดนีก้ เ็ ปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ทั้งสิ้น แตที่เราเห็นไดดวยตาเปลา มีเพียงแตคลื่นชวง visible light เทานั้น สิ่งที่ตางกันของคลื่นแมเหล็กไฟฟาก็คือ ความถี่ (frequency) ความยาวคลื่น (wave length) ซึ่งคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ เรามองเห็นได จะมีความความยาวคลื่นอยูในชวง 400 – 700 nm (นาโนเมตร) ซึ่งถาไมไดอยูในชวงนี้มนุษยก็ไมสามารถมอง เห็นได โดยถาคลื่นที่มีความยาวเกิน 700 nm ก็จะเปนชวงของรังสีอินฟราเรด (infrared) ซึ่งเราไมเห็นแตสัมผัสไดดวยความ รอน เพราะรังสีอนิ ฟราเรดคือรังสีความรอน ในขณะทีค่ ลืน่ ทีม่ คี วามยาวคลืน่ ตํา่ กวา 400 nm ก็จะเปนชวงของรังสีอลั ตราไวโอเลต ซึ่งเราก็มองไมเห็นเชนกัน ตอนนี้พี่เชื่อวานองๆ นาจะเขาใจหลักการเบื้องตนของคลื่นแมเหล็กไฟฟาบางแลว พี่ขออธิบายไวคราวๆ หากนอง ตองการรูเพิ่มเติม นองสามารถไปสืบคนจากแหลงตางๆ ไดนะ กลับมาที่โครงสรางอะตอมของเรากอนดีกวา จากการที่นีลส โบร เสนอโครงสรางอะตอมของเขามา ทําใหสรุปไดวา ลักษณะอะตอมของเขาคลายๆ กับของรัทเทอฟอรด ตางกันตรงที่รัทเทอฟอรดไมไดอธิบายเกี่ยวกับวงโคจรของอิเล็กตรอน โคจรมากนัก เพียงแคบอกวาอิเล็กตรอนอยูในวงโคจรที่อยูรอบนอกเทานั้น แตโครงสรางอะตอมของโบร เนนไปที่ลักษณะวง โคจรของอิเล็กตรอนทีม่ ลี กั ษณะเปนชัน้ ๆ โดยอิเล็กตรอนสามารถเคลือ่ นทีข่ นึ้ – ลงระหวางชัน้ ได แตตอ งอาศัยพลังงานในการ เปลีย่ นแปลงวงโคจร (ระดับพลังงาน) ซึง่ หากเปนการเปลีย่ นระดับพลังงานจากชัน้ ลาง (ground state) ไปอยูใ นระดับพลังงาน ที่สูงกวาจะเปนการดูดพลังงาน แตหากเปนการเปลี่ยนระดับพลังงานจากชั้นบน (excited state) กลับมาอยูในระดับพลังงาน ที่ตํ่ากวา จะเปนการคายพลังงานออกมา เนื่องจากวาแบบจําลองอะตอมของโบรสามารถอธิบายเสนสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนไดดีแตไมสามารถอธิบายเสน สเปกตรัมที่มีหลายอิเล็กตรอนได จึงไดมีการศึกษาเพิ่มเติมทางกลศาสตรควอนตัม มาถึงโครงสรางอะตอมแบบสุดทายเลยดีกวา โครงสรางนีม้ ชี อื่ วา “โครงสรางอะตอมแบบกลุม หมอก” คิดคนโดยกลุม นักวิทยาศาสตร ซึ่งประกอบไปดวยนักเคมีและนักฟสิกส โดยหลักการของโครงสรางอะตอมแบบนี้คอนขางยากและซับซอน เพราะใชหลักการของควอนตัมฟสกิ สมาอธิบาย แตพขี่ อพูดคราวๆ ใหนอ งๆไดพอจะรูจ กั แลวกันนะ สวนนองคนไหนทีส่ นใจเพิม่ เติมก็ลองไปหาขอมูลเพิ่มเติมไดนะ

16

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


สําหรับหลักการคราวๆ ของโครงสรางอะตอมแบบกลุมหมอก คือ ตรง กลางของอะตอมเปนนิวเคลียสทีป่ ระกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน สวนรอบ นอกจะเปนกลุมหมอก โดยที่กลุมหมอกหมายถึงความนาจะเปนที่จะพบ อิเล็กตรอนบริเวณนั้น นองๆ จะเห็นไดวาใกลๆ กับนิวเคลียสจะมีความหนา แนนของกลุมหมอกมากกวาดานนอก นั่นหมายความวา มีโอกาสที่จะพบ อิเล็กตรอนบริเวณใกลๆ กับนิวเคลียสไดมากกวารอบนอกนั่นเองโดยใน ป จ จุ บั น เรายึ ด ถื อ โครงสร า งอะตอมแบบกลุ  ม หมอกนี้ ใ นการอธิ บ าย ปรากฏการณตางๆ ของอะตอม 5. การจัดเรียงอิเล็กตรอน หลังจากที่เราไดเรียนเรื่องโครงสรางอะตอมไปแลว เราก็ไดรูจักกับ อนุภาคมูลฐานไปแลว ซึ่งไดแก โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน สําหรับ โปรตอนและนิวตรอนมันก็อยูภายในนิวเคลียส แตอิเล็กตรอนมันจะโคจรอยู รอบนอก ซึ่งอะตอมหนึ่งๆ ก็มีวงโคจร (ระดับพลังงาน) หลายชั้นมาก ดังนั้นในหัวขอนี้เราจะมาเรียนวาในแตละระดับพลังงาน มีอิเล็กตรอนอยูกี่ตัว และทําไมมันถึงตองอยูแบบนั้น และก็จะสามารถอธิบายการเกิดพันธะเคมีกับอะตอมธาตุอื่นๆ ไดอีกดวย เพราะฉะนั้นพี่อยากใหนองตั้งใจเรียนหัวขอนี้ดีๆ เพราะเปนหัวขอที่สําคัญมากและเชื่อมโยงกับหัวขออื่นๆ อีกมากมาย สําหรับการจัดเรียงอิเล็กตรอน จริงๆ แลว มีอยูหลายวิธี แตพี่จะขออธิบายวิธีที่พื้นฐานที่สุด เพื่อใหนองๆ เขาใจไดงาย และนําไปใชไดจริง จากรูปทีน่ อ งเห็นทางดานขวามือนี้ คือรูปแบบของอะตอมทีม่ นี วิ เคลียส ตรงกลาง และมีระดับพลังงานลอมรอบนิวเคลียสอยู กอนอื่นที่เราจะรูไดวา อิเล็กตรอนมันจัดเขาไปอยูในระดับพลังงาน เราตองรูกอนวาในแตละชั้นของ ระดับพลังงานสามารถบรรจุอเิ ล็กตรอนเขาไปอยูไ ดกตี่ วั โดยมีวธิ คี าํ นวณ ดังนี้

จํานวนอิเล็กตรอนในแตละชั้น = 2n2เม�อ n คือระดับพลังงาน

นองๆจะเห็นจากกรอบดานขวามือ นี้นะนั่น คือ จํานวนอิเล็กตรอนที่มากที่สุด ที่จะบรรจุในชั้นตางๆได ดังนั้นเราลองมา ดูตัวอยางกันนะ

n = 1 : 2(12) = 2 n = 2 : 2(22) = 8 n = 3 : 2(32) = 18 n = 4 : 2(42) = 32

n = 5 : 2(52) = 50 n = 6 : 2(62) = 72 n = 7 : 2(72) = 98

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

17


ตัวอยางที่ 1 จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของ (คารบอน) ขั้นตอนการทํา พออานโจทยเสร็จ นองๆก็ตองรูกอนวา มีอิเล็กตรอนเทาไหร จะไดวา มีอิเล็กตรอน เทากับ 6 เนื่องจาก ระดับพลังงานที่ 1 (n=1) บรรจุอิเล็กตรอนไดมากสุด 2 ตัว เพราะฉะนั้น อิเล็กตรอนอีก 4 ตัว ก็ตองไปอยูในระดับพลังงานที่ 2 (n=2) สรุปวา จัดเรียงอิเล็กตรอนไดเปน 2,4 ตัวอยางที่ 2 จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของ (นีออน) จากสัญลักษณของธาตุ ทําใหรูวา Ne มีอิเล็กตรอน 10 ตัว เนื่องจาก ระดับพลังงานที่ 1 (n=1) มีอิเล็กตรอนไดมากสุด 2 ตัว ดังนั้น อิเล็กตรอนอีก 8 ตัว จะอยูในระดับพลังงานที่ 2 (n=2) สรุปวา Ne จัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 8 ตัวอยางที่ 3 จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของ (โซเดียม) จากสัญลักษณ ทําใหรูวา มีอิเล็กตรอน 11 ตัว เนื่องจาก ระดับพลังงานที่ 1 (n=1) มีอิเล็กตรอนไดมากสุด 2 ตัว และระดับพลังงานที่ 2 (n=2) มีอิเล็กตรอนไดมากสุด 8 ตัว ดังนั้น อิเล็กตรอนอีก 1 ตัว ตองอยูในระดับพลังงานที่ 3 (n=3) สรุปวา จัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 8 , 1 ตัวอยางที่ 4 จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของ (โปแตสเซียม) จากสัญลักษณ ทําใหรูวา มีอิเล็กตรอน 19 ตัว เนื่องจาก ระดับพลังงานที่ 1 (n=1) มีอิเล็กตรอนไดมากสุด 2 ตัว และระดับพลังงานที่ 2 (n=2) มีอิเล็กตรอนไดมากสุด 8 ตัว ดังนั้น อิเล็กตรอนอีก 9 ตัว ตองอยูในระดับพลังงานที่ 3 (n=3) สรุปวา จัดเรียงอิเล็กตรอนไดเปน 2 , 8 , 9

แตจริงๆ แลว

ไมไดจัดอยางนี้!!! แตกลับจัดเปน 2 , 8 , 8 , 1

ทําไมละ? นองคงจะสงสัยกัน ก็ในเมื่อระดับพลังงานที่ 3 (n=3) บรรจุอิเล็กตรอนได 18 ตัว ไมใชหรอ เราใสเขาไป 9 ตัว เปน 2, 8, 9 ก็ไมนาจะผิดหนิ เดี๋ยวพี่จะอธิบายเหตุผลใหนะ ในตัวอยางดานบนที่นองๆ ไดเรียนไปนั้น เราเรียกวาเปนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก (shell) ก็คือ n=1, 2, 3, 4… ซึ่งแทจริงแลวยังมีระดับพลังงานยอย (subshell) ลงไปอีก ไดแก s, p, d, f ดังเชน ในรูปนี้

18

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


จากรูปนี้นองจะเห็นไดชัดเจนขึ้น คือระดับพลังงานยอยจะซอนทับ กันที่ระดับพลังงานที่ 3 (n=3) โดยไปซอนทับกับระดับพลังงานที่ 4 (n=4)

ทีนี้นองคงงงวา แลวจะจัดเรียงอิเล็กตรอนได อยางไร แคระดับพลังงานหลักยังจัดไมคอ ยเปนเลย ยัง มีขอยกเวนอีก พี่ก็อยากจะแนะนําวา นองลองลืมการ จัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานหลักไปกอนนะ มาเรียนการจัดระดับพลังงานยอยดีกวา เพราะวาแทบ จะไมมขี อ ยกเวน และถาเราจัดเรียงแบบระดับพลังงาน ยอยไดแลว การจัดระดับพลังงานหลักก็งายมาก ระดับพลังงานยอย (subshell) ในหัวขอที่แลว ระดับพลังงานหลักเราเรียกชื่อแตละชั้นเปน 1 , 2 , 3… ใชไหมครับ และแตละชั้นมีอิเล็กตรอนไดไมเกิน 2n2 แตพอมาเรียนระดับพลังงานยอย มีชื่อระดับพลังงานที่นองตองจําใหม ดังนี้ s มีอิเล็กตรอนได ไมเกิน p มีอิเล็กตรอนได ไมเกิน d มีอิเล็กตรอนได ไมเกิน f มีอิเล็กตรอนได ไมเกิน

2 6 10 14

ตัว ตัว ตัว ตัว

ทีนี้พอนองจําไดแลววาระดับพลังงานยอยมี s , p , d , f แลว ขอใหนองๆดูแผนภาพขางลางนี้ใหชินตาไวนะ และควร จะเขียนใหได

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

19


แผนภาพนี้นองควรจะจําได และเขียนได เพราะนองตองใชไป ตลอดการเรียนเคมีเลยก็วาได พี่เชื่อวานองทุกคนจําไดอยูแลว ไมไดยาก เลยใชไหม?

พอนองจําแผนภาพดานบนไดแลว พี่อยากใหนองนําปากกาแดงมาขีด ลูกศรตามภาพนี้นะ นองหลายคนคงถามวาจะขีดลูกศรไปทําไม? คําตอบก็คือ วา เสนลูกศรเหลานี้คือลําดับการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย สังเกตดีๆ นะ ลูกศรทุกเสนขนานกันนะ ถานองลากลูกศรผิด คําตอบก็จะผิดนะ เพราะฉะนั้นระวังใหดีละ ถานองจําแผนภาพไดแลว และลากลูกศรไดถูกตองแลว ตอมาเราจะ ลองมาจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอยกัน งั้นพี่ขอใชโจทยเหมือนกับ ตัวอยางที่ผานมากอน เพื่อจะใหนองเห็นชัดๆ วามันใชแทนกันได ตัวอยางที่ 1จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของ (คารบอน) โดยจัดในระดับพลังงานยอย ตอนนี้เรารูแลววา มีอิเล็กตรอน 6 ตัวขั้นตอนตอมาก็คือเราตองมานั่งดูแผนภาพ อานตามทิศทางของลูกศร ถาจบลูกศรเสนหนึ่งแลวใหอานอีกเสนลงมาเรื่อยๆ และคอยบวกเลขที่อยูดานบน s p d f ใหไดครบตามจํานวนอิเล็กตรอนที่ เราตองการ ดังนี้ จัดเรียงไดเปน 1s2 2s2 2p2(สังเกตวาเลขดานบนบวกกันได 6 แลว) และเมื่อตอนตนพี่บอกวาถานองจัดเรียง อิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานยอยได นองจะสามารถแปลงกลับไปเปนระดับพลังงานหลักได ดังนี้ 1s22s22p2 n=1 มี 2 e-

n=2 มี 4 e-

ดังนั้น

จึงจัดเปน 2 , 4

ตัวอยางที่ 2 จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของ (โซเดียม) โดยจัดในระดับพลังงานยอย เนื่องจาก เรารูวา มีอิเล็กตรอนเทากับ 11 ตัว ดังนั้น จัดเรียงอิเล็กตรอนไดเปน 1s2 2s2 2p6 3s1 1s22s22p63s1 n=1 มี 2 e-

20

n=2 มี 8 e-

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

n=3 มี 1 e-

ดังนั้น

จึงจัดเปน 2 , 8 , 1


ตัวอยางที่ 3 จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของ (โปแตสเซียม) โดยจัดในระดับพลังงานยอย มีอิเล็กตรอน 19 ตัว เนื่องจาก เรารูวา ดังนั้น จัดเรียงอิเล็กตรอนไดเปน 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 เพราะฉะนั้น จัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักไดเปน 2, 8, 8, 1 นองๆ จะเห็นไดวาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย (subshells) มีประโยชนมาก เพราะมีกฎเกณฑ ขอ ยกเวนนอยมาก และยังสามารถแปลงใหเปนในรูปพลังงานหลักไดอีกดวย แตสําหรับขอยกเวนในการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน subshells พีข่ อไมอธิบายเหตุผลนะ เพราะวามันจะลึกเกินไปสําหรับนองๆ ทีเ่ รียนทางดานศิลป-ภาษา และศิลป-คํานวณ เพราะ หนังสือเลมนี้ทําขึ้นมาเพื่อใหครอบคลุมเนื้อหา O-net เทานั้น แตหากนองๆ ตองการรูเพิ่มเติม นองๆสามารถไปสืบคนไดนะ

ขอยกเวนในการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย จะไมพบการจัดเรียงเปน 4s2 3d4 และ 4s2 3d9 แตจะเปลี่ยนเปน 4s1 3d5และ 4s1 3d10 ตามลําดับ เสมอ ขอควรรู อิเล็กตรอนที่อยูวงนอกสุด เรามักเรียกวา เวเลนซอิเล็กตรอน (valence electron) 6. ตารางธาตุและการใชประโยชนจากตารางธาตุ สิ่งที่สําคัญมากๆ ในการเรียนเคมี ก็คือ “ตารางธาตุ (periodic table)” เพราะตารางธาตุสามารถบอกรายละเอียดคราวๆของ แตละธาตุใหเราทราบได ดังนั้นเราจึงตองเรียนรูการใชประโยชนจากตารางธาตุ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

21


6.1 การอานตารางธาตุ Carbon

ชื่อธาตุ

6

เลขอะตอม (atomic number)

C

สัญลักษณของธาตุ

12.011

เลขมวล (mass number)

6.2 สวนประกอบของตารางธาตุ IA IIA

IIIA

IVA

VIA VIIIA VA VIIA คาบ 1 คาบ 2 คาบ 3 คาบ 4 คาบ 5 คาบ 6 คาบ 7

Transition

Inner Transition คําศัพทที่ควรรู คาบ คือ แนวนอนของตารางธาตุ ซึ่งจะเรียงตามเลขอะตอมไปเรื่อยๆ ซึ่งจะมีคาบที่ 1–7 สมบัติของธาตุในแตละธาตุในคาบ เดียวกันนั้นมีลักษณะคอนขางแตกตางกันมาก หมู คือ แนวตั้งของตารางธาตุ โดยธาตุที่อยูในหมูเดียวกันจะอิเล็กตรอน วงนอกสุด (valence electron) เทากัน และแตละ ธาตุมีสมบัติคลายๆกันโดยในตารางธาตุจะแบงออกเปนได 2 หมูใหญๆ ไดแก - หมู A (representative) ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 หมู (ตั้งแต IA – VIIIA) - หมู B (transition) คือ ธาตุทั้งหมดที่เหลือที่ไมใชหมู A เปนโลหะทั้งหมด บางครั้งเราเรียกวา โลหะแทรนซิชัน เสนขั้นบันได คือ เสนที่กั้นระหวางธาตุที่เปนโลหะและธาตุที่เปนอโลหะ โดยธาตุที่อยูทางดานขวาของเสนขั้นบันได คือ ธาตุ อโลหะธาตุที่อยูทางดานซายมือของเสนขั้นบันได คือ ธาตุโลหะ สวนธาตุที่อยูใกลๆกับเสนขั้นบันได คือ ธาตุกึ่งโลหะ

เสนขั้นบันได

22

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


6.3 การบอกตําแหนงของธาตุในตารางธาตุ จากหัวขอสวนประกอบของตารางธาตุ นองๆก็นาจะรูจักกับคําวา “คาบ” และ “หมู” แลว ซึ่งเราจะใชประโยชนใน การบอกตําแหนงของธาตุในตารางธาตุได เชน หากเราจะระบุตําแหนงของ Na (โซเดียม) เราก็จะพูดวา Na อยู หมูที่ IA คาบที่ 3 หรือ ตําแหนงของ Ca (แคลเซียม) เราจะไดพูดวา Ca อยูหมูที่ IIA คาบที่ 4 (นองดูไดจากรูปตารางธาตุ) เปนตน พี่คิดวานองคงจะเขาใจหลักการการบอกตําแหนงธาตุแลวนะ ก็คือ ตองบอกทั้งหมู และ คาบ แตสิ่งที่นองๆ จะตองแปลกใจกับความอัศจรรยก็คือ “การจัดเรียงอิเล็กตรอนสามารถบอกตําแหนงของธาตุได” ไมตอง แปลกใจนะนองๆ ก็ที่เราตองมานั่งเรียน งงแลวงงอีกกับเรื่องการจัดเรียงอิเล็กตรอน และพี่ก็ยํ้าอยูนั่นแหละวามันสําคัญ ใน ที่สุดนองๆก็ไดเห็นถึงความสําคัญของมันแลว เพราะฉะนั้นใครที่ยังไมเขาใจเรื่องการจัดเรียงอิเล็กตรอน ยอนกลับไปอาน ทบทวนเลยนะ พี่ขอบอกไวกอนนะวา “การจัดเรียงอิเล็กตรอน” ที่บอกวาสามารถบอกตําแหนงธาตุไดเนี่ย มันคือ “การจัด เรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก” นะ แตก็คงไมใชปญหาของนองๆ แลวละ เพราะตอนนี้เราจัดแบบ subshells ใหได นั้น มันจะตองแปลงมาเปนแบบระดับพลังงานหลักได งั้นเราลองมาดูตัวอยางดีกวาวา การจัดเรียงอิเล็กตรอนมันบอกตําแหนงของธาตุไดอยางไร?? หลักการ 1. ตัวเลขตัวสุดทาย (อิเล็กตรอนวงนอกสุด หรือ เวเลนซอิเล็กตรอน) คือ หมู ที่ธาตุนั้นอยู 2. จํานวนตัวเลข (จํานวนระดับพลังงาน) คือ คาบ ที่ธาตุนั้นอยู 3. การบอกตําแหนงของธาตุดวยการจัดเรียงอิเล็กตรอน บอกไดแคหมู A เทานั้น ตัวอยางที่ 1 จงบอกตําแหนงของธาตุ Na (โซเดียม) ในตารางธาตุ เนื่องจากเรารูวา Na มีอิเล็กตรอน 11 ตัว มีการจัดเรียงเปน เวเลนซอิเล็กตรอน เทากับ 1

2,8,1

ดังนั้น Na อยูหมู IA คาบที่ 3

มีระดับพลังงาน 3 ระดับ Na อยูคาบที่ 3 ตัวอยางที่ 2จงบอกตําแหนงของธาตุ Br (โบรมีน) ในตารางธาตุ เนื่องจากเรารูวา Br มีอิเล็กตรอน 35 ตัว มีการจัดเรียงเปน

2 , 8 , 18 , 7

เวเลนซอิเล็กตรอน เทากับ 7 ดังนั้น Br อยูหมู VIIA คาบที่ 4

มีระดับพลังงาน 4 ระดับ Br อยูคาบที่ 4

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

23


7. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization Energy: IE) ไหนๆ นองก็ไดเรียนเรื่องการจัดเรียงอิเล็กตรอนแลว เราก็นาจะรูคาพลังงานบางอยางเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง อิเล็กตรอนภายในธาตุกันหนอยเนอะ พี่พูดคราวๆ นะ หากนองอยากรูเพิ่มเติม สามารถไปสืบคนเพิ่มเติมได พลังงานไอออไนเซชัน (IE) คือ พลังงานนอยที่สุดที่ธาตุรับเขาไปจนทําใหธาตุนั้นเสียอิเล็กตรอนออกไปไดโดยมันจะมี ลําดับนิดหนอย เชน IE1 (ไอออไนเซชันลําดับที่ 1) คือ พลังงานที่นอ ยที่สดุ ทีจ่ ะทําใหอเิ ล็กตรอนตัวที่หนึง่ (นับจากเวเลนซเขาไป ถึงชั้นในสุด) หลุดออกไปจากอะตอม เชน IE5 (ไอออไนเซชันลําดับที่ 5) ก็คือ พลังงานนอยที่สุดที่จะทําใหอิเล็กตรอนตัวที่ 5 (นับจากเวเลนซ) หลุดออกไปจากอะตอม ถายังไมเขาใจ ลองมาดูภาพนะ

IE3 IE2 IE3

จากรูป นองจะเห็นวาเปนอะตอมของ Na ซึง่ จัดเรียง อิเล็กตรอนเปน 2,8,1 เพราะฉะนั้น IE1 ก็จะเปนพลังงานที่ Na ดูดเขาไป เพือ่ ทําใหอเิ ล็กตรอนตัวที่ 1 นัน้ หลุดออกไป และ ก็เปนเชนนี้ไปเรื่อยๆ โดย IE1<<IE2<IE3 … ทําไมระหวาง IE1และ IE2จึงเปนสัญลักษณ <<(นอยกวามากๆ)

ก็เปนเพราะวา พออิเล็กตรอนตัวที่ 1 หลุดออกไปแลว การจะใชพลังงานมาดึงอิเล็กตรอนอีกตัวนึงที่อยูคนละระดับ พลังงานจะตองใชพลังงานเยอะมากๆ ดังนั้น คาพลังงานที่ตองใชมันเลยตางกันมาก Idea นี้มีประโยชนดวยนะนอง เพราะ เราสามารถดูคา IE และสามารถทํานายไดวาธาตุนั้นอยูหมูอะไร อยางตัวอยางนี้ IE1<<IE2แสดงวามีเวเลนซ 1 ตัว ก็เทากับ วาอยูหมู IA อีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญก็คือวา เมื่อกี้มีคําวา “ธาตุรับพลังงาน” หรือ “ธาตุดูดพลังงาน” เขาไป นั่นหมายความ พลังงาน ไอออไนเซชัน (IE) เปนการเปลี่ยนแปลงแบบ ดูดพลังงาน (endothermic) และในเมื่อมันเปนพลังงาน ดังนั้นหนวยของ IE ก็ ตองเปนหนวยของพลังงาน เชน จูล (J) แคลอรี (cal) เปนตน ดังนั้น ธาตุที่มี IE นอยๆ ก็หมายความวา “ใชพลังงานนอยในการทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกไป” ซึ่งก็แปลวา ธาตุนั้น มีแนวโนมเปนไอออนบวก (cation) สูง เชน พวกโลหะ ในทางกลับกัน ถาธาตุใดมี IE มากๆ หมายความวา ธาตุนั้นเสีย อิเล็กตรอนยาก ซึ่งมันจะรับอิเล็กตรอนไดดี (เปนไออนลบไดดี) เชนพวกอโลหะ ซึ่งเราจะไปเรียนกันในหัวขอตอไปนะ 8. อิเล็กโตรเนกาติวิตี (Electronegativity: EN) อิเล็กโตรเนกาติวิตี หรือ EN ตรงกันขามกับ IE อยางสิ้นเชิงเลยนะ EN คือ ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน พี่ยํ้า นะวาเปน “ความสามารถ” ไมใชพลังงานนะ เพราะฉะนั้นมันไมมีหนวย เพียงแตไวเปรียบเทียบความสามารถในการรับ อิเล็กตรอนกับธาตุอื่นเทานั้น ถาธาตุใดมี EN สูงๆ แปลวา มีความสามารถรับอิเล็กตรอนไดดี ก็คือเปนไอออนลบไดดี เชนพวกอโลหะ ในทางกลับ กัน พวกโลหะ รับอิเล็กตรอนไดไมดี เพราะฉะนั้น EN ของโลหะจะตํ่า

24

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


นองๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่

Tag : สอนศาสตร เคมี อะตอม โครงสรางอะตอม ตารางธาตุ อนุภาคมูลฐาน

• 01 : โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch1-1

• 02 : ตารางธาตุ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch1-2

• สอนศาสตร : ม.ปลาย : เคมี : โครงสรางอะตอม http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch1-3

• โครงสรางอะตอม+ตารางธาตุ ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch1-4

• โครงสรางอะตอม+ตารางธาตุ ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch1-5

• โครงสรางอะตอม+ตารางธาตุ ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch1-6

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

25


บทที่ 2

สารชีวโมเลกุลเบื้องตน

Introduction

สําหรับในบทสารชีวโมเลกุลนี้ พี่ขอยํ้ากับนองๆ ทุกคนวาเปนบทที่สําคัญมาก เพราะเปนบทที่ออกขอสอบ O-Net มาก ทีส่ ดุ ในทุกๆปนะ โดยเนือ้ หาจะแตกตางจากเนือ้ หาวิชาเคมีทนี่ อ งไดเรียนมาในบทอืน่ ๆ เพราะบทอืน่ ๆ สวนมากเปนเคมีทเี่ รียก วาเคมีอนินทรีย (Inorganic Chemistry) ซึ่งก็คือเคมีที่ไมเกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิต แตสารชีวโมเลกุลจะเปนอีกสาขาหนึ่งของเคมี คือเปนเคมีอินทรีย (Organic Chemistry) ที่เกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย แตนองๆ ทําใจสบายๆนะ ไมไดยากเกินไป ถานอง เรียนบทนี้ไดดี พี่รับรองวาในการสอบ O-Net ในสวนวิชาเคมี นองทําไดดีอยางแนนอน

Outlines

1. คารโบไฮเดรต 2. โปรตีน 3. ลิพิด 4. กรดนิวคลิอิก 5. ตัวอยางขอสอบ

P

1. คารโบไฮเดรต (Carbohydrates) คารโบไฮเดรต เปนสารชีวโมเลกุลทีพ่ บไดมากทีส่ ดุ ในโลก มีตน กําเนิดมาจากการสังเคราะหดว ยแสง (photosynthesis) ซึ่งหนาที่ของมันก็มีมากมาย แตหลักๆ ก็คือเปนแหลงสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวิต โดยคารโบไฮเดรต 1 กรัม ใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี ซึ่งหากเราพูดคําวา “คารโบไฮเดรต” มันจะมีความหมายที่กวางมาก ที่รวมถึงสารจําพวก นํ้าตาล แปง ไกลโคเจน เซลลูโลส เปนตน ที่จริงคารโบไฮเดรตยังมีอีกมากมาย แตพี่ขอพูดถึงเนื้อหาเบื้องตนที่เราตองใชในการสอบแลวกันนะ งั้นเรา มาดูกันที่หัวขอแรกกันเลย 1.1 นํ้าตาล (Saccharides) พี่เชื่อวานองๆ คงรูจักนํ้าตาลเปนอยางดี นํ้าตาลที่ใชในการปรุงอาหารนั้น ที่นองรูจักนั้น มันเปนแคสวนหนึ่งของนํ้าตาลที่พี่จะ สอนในหัวขอนี้ เดี๋ยวเราจะไดมาดูกันวา นํ้าตาล มีอะไรบาง กอนอื่นนองตองรูจักกอนวานํ้าตาลนั้นเปนสารประกอบประเภทอะไร นํ้าตาลมี 2 ประเภท ใหญๆ คือ นํ้าตาลอัลโดส และนํ้าตาลคีโตส นํ้าตาลอัลโดส คือ นํ้าตาลที่เปน “สารประกอบของพอลิไฮดรอกซีอัลดีไฮด” (polyhydroxyaldehydes) นํ้าตาลคีโตส คือ นํ้าตาลที่เปน “สารประกอบของพอลิไฮดรอกคีโตน” (polyhydroxyketones) โห!!! นี่มันสารประกอ บอะไรเนี่ย ชื่อยาวมาก แตเพื่อความงาย นองดูรูปโครงสรางของนํ้าตาลทั้งสองนี้นะ

26

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


P

H

C

O

HO

C

HO

C

H H

H

C

OH

C

หมูอัลดีไฮด

CH2OH C O H H

C C

หมูคีโตน

OH OH

CH2OH

CH2OH

จากรูปโครงสรางของนํ้าตาลสองชนิด ที่มีคารบอน 5 ตัว เหมือนกัน นองจะเห็นวามีความแตกตางกันตรงที่พี่ทํากรอบ สี่เหลี่ยมเอาไว ตรงนั้นเราเรียกวา “หมูฟงกชัน” (functional group) ซึ่งหมูฟงกชันนี้เองจะเปนตัวกําหนดสมบัติตางๆของสาร อินทรีย หากเปนนํ้าตาลอัลโดส (aldose) ก็จะมีหมูอัลดีไฮดในสารประกอบ สวนนํ้าตาลคีโตส (ketose) ก็จะมีหมูคีโตนใน สารประกอบ แตสิ่งที่เหมือนกันของนํ้าตาลทั้งสองชนิดคือ มีหมูไฮดรอกซี (hydroxy: -OH) เหมือนกัน ซึ่งนองๆ จะเห็นไดจาก ที่ชื่อสารมีคําวา “พอลิไฮดรอกซี” คําวา “พอลิ (poly)” หมายถึง จํานวนมาก นอกจากการแบงนํ้าตาลตามประเภทของหมูฟงกชันแลว ยังแบงไดตามขนาดไดอีกดวย ดังนี้ 1.2 นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว (Monosaccharides) นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว หรือ นํ้าตาลเชิงเดี่ยว คือ คารโบไฮเดรตที่มีนํ้าตาลเพียง 1 หนวย มีคารบอนตั้งแต 3 อะตอมขึ้น ไป มีสูตรอยางงายคือ (CH2O)n ที่สําคัญๆ อยากใหนองรูจักคือ กลูโคส ฟรุกโทส กาแลกโทส ไรโบส ไรบูโลส เปนตน

กลูโคส

ฟรุกโทส

กาแลกโทส

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

27


นองอาจจะงงวา กลูโคสกับกาแลกโทสตางกันอยางไร? ดูดีๆ นะ จะเห็นวาหมู OH ตําแหนงคารบอนที่ตําแหนงที่ 4 มันสลับกันใชไหมเอย?? การสลับกันเพียงเล็กนอยของโครงสราง ทําใหเปลี่ยนเปนนํ้าตาลคนละชนิดกันเลยนะ แตเรื่อง โครงสรางที่มันสลับกันแบบนี้นองไมตองไปเครียดมากนะ มันจะลึกเกินไป ไวไปเรียนในมหาวิทยาลัยแลวกันนะ แตพี่กลัวนอง จะไมเห็นความแตกตาง ก็เลยบอกเฉยๆ ออ มีอีกเรื่องนึง นองหลายคนอาจจะสงสัยวาทําไมเมื่อกี้พี่พูดถึงนํ้าตาลอัลโดสกับคี โตส โครงสรางมันเปนเสนตรง แลวทําไมตอนนี้นํ้าตาลมันเปนโครงสรางวงแหวนปด พี่พูดคราวๆ แลวกันนะวา ในโครงสราง ที่มันเปนเสนตรง บังเอิญวามันมีหมูฟงกชันบางตัวในเสนตรงนั้นทําปฏิกิริยากันเองได มันก็เลยทําปฏิกิริยากันจนทําใหเปนรูป วงปดนะ แตนองไมตองสนใจมาก เผื่อนองบางคนสงสัยพี่เลยอธิบายไว นํา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ วนีส้ าํ คัญมากเลยนะนองๆ เพราะเดีย๋ วพอเรียนตอไป เราจะพบวามันเปนหนวยยอยของคารโบไฮเดรต อื่นๆ อีกเยอะแยะเลยแหละ การที่มันเปนหนวยยอยเรามีศัพทไวเรียกดวยนะ เรียกวามันเปน “มอนอเมอร (monomer)” หมายความวาถาพวก กลูโคส ฟรุกโทส กาแลกโทส มันมารวมตัวกัน ตอเปนสายยาวๆ มันจะไดสารใหมขึ้นมานะ ซึ่งสารใหมที่ เกิดขึ้นมาจากหนวยยอยพวกนี้เราก็จะเรียกวา “พอลิเมอร (polymer)” นองเริ่มสงสัยแลวใชไหมวามันรวมตัวตอกันยาวๆ แลว ไดสารอะไร งั้นเราไปดูกันในหัวขอตอไปเลย

1.3 ออลิโกแซ็กคาไรด (Oligosaccharides) ออลิโกแซ็กคาไรด คือ นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวตั้งแต 2 – 10 โมเลกุล มาตอกันดวยพันธะไกลโคซิดิก (ไมตองจําชื่อพันธะ ก็ได แตพี่อยากใหนองคุนๆชื่อเอาไว) และเสียนํ้า (H2O) ออกไป 1 โมเลกุล แตในที่นี้พี่ขออธิบายเฉพาะที่นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ตอกัน 2โมเลกุล เปนนํา้ ตาลโมเลกุลคู (Disaccharides) ซึง่ นองๆนาจะไดเคยรูจ กั มาบางจากการเรียน ม.ตน เชน ซูโครส (นํา้ ตาล ทราย) มอลโทส และแลกโทส คุนๆ ไหม งั้นเรามาทบทวนกันนะ ซูโครส (sucrose) หรือนํ้าตาลทราย

แลกโทส (lactose) มอลโทส (maltose)

กลูโคส + กลูโคส

กลูโคส + ฟรุกโทส

แลกโทส + กลูโคส

นํ้าตาลโมเลกุลคูเหลานี้ที่พี่ยกมาเปนตัวอยาง สามารถแตกตัวกลับไปเปนนํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวไดนะนองๆ ซึ่งมีหลาย วิธี ยกตัวอยางเชน ใหความรอนและใชกรดเปนตัวเรงใชเอนไซมเปนตน

28

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


1.4 พอลิแซ็กคาไรด (Polysaccharides) พอลิแซ็กคาไรด ก็คือ การนํานํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharides) หลายๆตัว (มากกวา 10 โมเลกุล) มาตอเขาดวยกัน ดวยพันธะไกลโคซิดิก ทําใหเกิดเปนสารตางๆ ที่มีสมบัติแตกตางกันออกไป ในที่นี้พี่จะอธิบายแค แปง(starch) เซลลูโลส (cellulose) และ ไกลโคเจน (glycogen) 1) แปง (starch) นองๆ คงจะรูจักแปงเปนอยางดี แปงก็คือ อาหารจําพวกแปง แบบที่เราเรียนกันตั้งแตประถมอะนะ เชน ขาว แปงมัน สําปะหลัง เปนตน แตตอนนี้เราจะมาเรียนรูโครงสรางกันหนอยนะ เนื่องจากแปงเปนพอลิแซ็กคาไรดที่ใหญมาก จึงประกอบ ดวยพอลิแซ็กคาไรดยอยๆ อีก 2 ชนิด ไดแก ก.อะไมโลส (Amylose) อะไมโลส เปนพอลิแซ็กคาไรดชนิดหนึ่ง มีหนวยยอยๆเปนกลูโคส มีลักษณะเปนเสนตรง เปนองคประกอบของแปงประมาณ 20% ทดสอบกับสารละลายไอโอดีนไดสีนํ้าเงิน

ข. อะไมโลเพกติน (Amylopectin) อะไมโลเพกติน เปนพอลิแซ็กคาไรดสว นใหญของแปง คือประมาณ 80% มีหนวยยอยเปนกลูโคสเหมือนกับอะไมโลสแหละ แต วามันเปนโครงสรางทีต่ อ กับอะไมโลสแลวเปนกิง่ แยกยอยออกมา ทดสอบกับสารละลายไอโอดีนไดสนี าํ้ ตาลแดง ทําใหโครงสราง ของแปงเปนโครงสรางแบบกิ่งนะนองๆ

การยอยสลายแปง การยอยสลาย (Hydrolysis) ของแปง ทําไดหลายวิธี เชน เติมกรด นํ้าลาย (มีเอนไซมยอยอยู) ยีสต ตมใหรอน เปนตน และเนื่องจากแปงมีขนาดโมเลกุลใหญมาก การสลายตัวเลยไมไดกลูโคสในตอนแรก แตจะเปนลําดับยอยสลายลงมา เรื่อยๆ ดังนี้ แปง เด็กซตริน มอลโทส กลูโคส 2) ไกลโคเจน (glycogen) ไกลโคเจน เปนคารโบไฮเดรตที่สะสมในเซลลของสัตว มักจะพบในตับและกลามเนื้อไกลโคเจนมีลักษณะเปนโซกิ่ง แต มีขนาดและมวลโมเลกุลมากกวา อะไมโลเพกตินมีหนวยยอยเปนกลูโคสเชนกัน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

29


3) เซลลูโลส (cellulose) เซลลูโลส เปนคารโบไฮเดรตที่พบมากที่สุดในโลกเลยนะนองๆ เพราะวามันเปนสวนประกอบของผนังเซลล (cell wall) ของสาหรายสีเขียวและพืช เซลลูโลสมีพอลิเมอรของกลูโคสโครงสรางเปนเสนตรง และเซลลูโลสเปนโครงสรางทีแ่ ข็งแรงมาก ในชีวิตประจําวันของเราก็มีการใชประโยชนจากเซลลูโลสเยอะนะ เชน สําลี กระดาษทิชชู ฝาย เปนตน

เซลลูโลสทําหนาที่เปนโครงสรางของพืช เมื่อยอยสลายเซลลูโลสจะได Disaccharides ที่มีชื่อวา “เซลโลไบโอส” ซึ่ง เปนไอโซเมอรของมอลโทส และถายอยตอไปอีกก็จะไดกลูโคส การทดสอบคารโบไฮเดรต กอนอืน่ เราตองรูก อ นวา “การทดสอบ” คืออะไร และทําไปเพือ่ อะไร เพราะวาอีกสามหัวขอทีต่ อ จากนีเ้ ราก็จะตองเรียน เรื่องการทดสอบ พี่เลยขออธิบายความหมายและจุดประสงคไปกอนดีไหม? นองๆ จะไดเขาใจกันวาเราเรียนทําไม ถาสมมติวานองเขาไปทําแล็ปในหองแล็ป มีสารใสอยูในบีกเกอรหลายใบ เรามองแลวก็ดูเหมือนๆ กัน ไมตางกัน ไมสามารถ แยกแยะออกไดวาคือสารอะไร เพราะฉะนั้นเราจึงตองเรียนวิธีการทดสอบดวยวิธีตางๆ เพื่อจะไดสรุปวาสารที่อยูในบีกเกอร ตางๆ คืออะไร นองๆ จะสังเกตเห็นไดวาจริงๆ แลวหนวยยอยที่สุดของคารโบไฮเดรตก็คือ นํ้าตาล นั่นเอง เพราะฉะนั้นเราก็ ตองรูวิธีการทดสอบนํ้าตาล เราจะใช “สารละลายเบเนดิกต” ในการทดสอบนํ้าตาล โดยไมใชวานํ้าตาลทุกชนิดจะทดสอบได แตพี่อยากใหนองจํา ไวแคตัวเดียวที่ทดสอบกับเบเนดิกตไมได คือ ซูโครสหรือนํ้าตาลทรายนั่นเอง สวนสาเหตุพี่ขออธิบายสั้นๆ งายๆ วา ซูโครสมัน

30

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ไมมีหมู Aldehyde group ที่ใชในการเกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกตเหมือนกับตัวอื่น เลยทําใหทดสอบไมได แลวเราจะรูไดอยางไรวาสารในบีกเกอรของเรามันเปนสารละลายนํ้าตาล?? หลังจากที่นําสารนั้นมาตมกับเบเนดิกต (สารสีฟา) แลว สารละลายในบีกเกอรจะมีตะกอนสีแดงอิฐ เกิดขึ้น

สมการที่เห็นขางบนนี้ นองไมตองจํานะ รูแควาถาสารที่เราทดสอบเปลี่ยนสีสารละลายเบเนดิกตจากสีฟาเปนตะกอน สีแดงอิฐ ก็แสดงวาสารนั้นเปนนํ้าตาล โจทยตัวอยาง พิจารณาขอมูลของสาร A B และ C ตอไปนี้ สาร

แหลงที่พบ

A

โครงสราง

การละลายนํ้า

ในคนและสัตว

โซกิ่ง

ไมละลาย

B

ในพืชเทานั้น

สายยาว

ไมละลาย

C

ในพืชที่เปนเมล็ดและหัว

โซตรงและโซกิ่ง

ละลายนํ้าไดเล็กนอย

สาร A B และ C นาจะเปนสารอะไร ตัวเลือก

A

B

C

1

ไกลโคเจน

เซลลูโลส

แปง

2

เซลลูโลส

ไกลโคเจน

แปง

3

ไกลโคเจน

แปง

เซลลูโลส

4

แปง

เซลลูโลส

ไกลโคเจน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

31


ตอบขออะไรนองๆ?? เฉลยก็คือ ..... ขอ 1. มาดูวิธีการคิดกันนะ พี่เลือกดู B กอน เขาบอกวามีแตในพืชเทานั้น ก็แสดงวาตองเปน “เซลลูโลส” เพราะเซลลูโลสเปนสวน ประกอบของผนังเซลลของพืช ซึ่งมาดูที่ตัวเลือก B เปนเซลลูโลสก็มี 2 ขอ เหลือสาร A และ C ที่ตองคิด ซึ่งนองจะเลือกดู จากอะไรก็ได พีว่ า ก็พอๆ กัน เชน สาร A เขาบอกวาพบในคนและสัตว พีก่ ค็ ดิ วาตองเปน “ไกลโคเจน” แนเลย เพราะวาไกลโคเจน เปนคารโบไฮเดรตที่สะสมในกลามเนื้อและตับของคนและสัตว และสาร B ก็ตองเปนแปง ซึ่งอาจจะดูไดจากพบในพืชที่เปนหัว และเมล็ด 2. โปรตีน (Protein) เปนสารชีวโมเลกุลที่มีมวลโมเลกุลมาก ประกอบดวยธาตุ C H O N เปนหลัก โดยหนวยที่เล็กที่สุดของโปรตีนคือ “กรด อะมิโน (Amino acid)” หมายความวาโปรตีนเปนพอลิเมอรของกรดอะมิโนนัน่ เองนะนองๆ นอกจากนีโ้ ปรตีนก็เปนแหลงพลังงาน ของรางกายเชนกันกับคารโบไฮเดรต และโปรตีน 1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี เหมือนกับคารโบไฮเดรต กรดอะมิโนคืออะไร?? คําถามที่ตามมาของนองๆใชไหม กรดอะมิโนก็คือ กรดอินทรียชนิดหนึ่ง ที่มีหมูคารบอกซิล (-COOH) กับ อะมิโน (-NH2) เกาะอยูที่คารบอนเดียวกัน ( -amino อานวา แอลฟาอะมิโน) ดังรูป

R หมูอะมิโน

H2N

C

หมูโซขาง

COOH

หมูคารบอกซิล

H

โดยพืน้ ฐานของกรดอะมิโน ก็คอื จะมีหมูค ารบอกซิลและหมูอ ะมิโนเกาะทีค่ ารบอนเดียวกัน ( -amino) แบบนีน้ ะ แตวา ที่ ทําใหกรดอะมิโนแตกตางกันก็คือ หมูโซขางที่จะเขามาเกาะนั่นเอง รูปดานลางนี้เปนชื่อและโครงสรางของกรดอะมิโนมาตรฐานนะ ทําไมถึงตองมีคําวา “มาตรฐาน” นั่นก็เปนเพราะวามี กรดที่มีสมบัติตางๆ เหมือนกรดอะมิโน คือ มีหมูคารบอกซิลและหมูอะมิโนเกาะอยูที่คารบอนเดียวกัน ( -amino) แตไมไดเปน สวนประกอบของโปรตีนแตในระดับเรารูเทานี้ก็พอแลว ใครอยากรูเพิ่มไปลองหาอานไดนะ ดังนั้นเราจะเรียกกรดอะมิโนที่เปน สวนประกอบของโปรตีนวา “กรดอะมิโนมาตรฐาน” นองๆ ไมตองจําโครงสรางของมัน อานชื่อใหพอคุนหูคุนตาก็พอแลว

32

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ที่มา : www.proteinsynthesis.org 2.1 กรดอะมิโนจําเปน (Essential Amino Acid: EAA) คือ กรดอะมิโนที่รางกายไมสามารถสังเคราะหขึ้นเองได ตองรับจากภายนอก ไดแก เมไทโอนิน ทรีโอนิน ไลซีน เวลีน ลิวซีน ไอโซลิวซีน ฟนิลอะลานีน ทริปโตเฟน ฮิทิดีน (สําหรับในเด็กทารกมี อารจีนีน เพิ่มดวย) และถาโปรตีนที่เรารับประทานเขาไป มีกรดอะมิโนจําเปนครบ เราจะเรียกวา “โปรตีนสมบูรณ (complete proteins)” เชน เนื้อ ปลา เปด ไก ไข นม แตถาโปรตีนที่มี EAA ไมครบเราจะเรียกวา “โปรตีนไมสมบูรณ (incomplete proteins)” เชน พืชตระกูลถั่ว ธัญพืช เปนตน 2.2 พันธะเพปไทด (peptide bond) พันธะเพปไทด ก็คือ พันธะที่เชื่อมระหวางกรดอะมิโนตั้งแต 2 โมเลกุลขึ้นไป ตอกันไปเรื่อยๆ จนเปนพอลิเมอรของกรดอะมิโน ซึ่งก็คือ โปรตีน นั่นเอง

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

33


จากรูป นองๆเห็นไหมวา มีกรดอะมิโนอยู 2 โมเลกุล (ดานบน) มันจะมาตอกันดวยพันธะเพปไทด มันตองมีการสูญเสีย นํ้า (H2O) ออกไป 1 โมเลกุล จึงจะเกิดพันธะเพปไทดได ขอสังเกตจากรูปนะนองๆ อันนี้พี่เสริมใหนะ คือ เนื่องจากกรดอะมิโนมันมีปลาย 2 ฝง ก็คือ ปลาย –COOH (เราเรียก วา C-terminus) และปลาย –NH2 (เราเรียกวา N-terminus) การสูญเสียนํ้า (H2O) จะมีการดึง OH ออกจาก C-terminus และ ดึง H ออกจาก N-terminus เมื่อมารวมกันก็จะไดนํ้า (H2O) 1 โมเลกุล พอดีและตอจากนี้นองๆ ก็คงดูตําแหนงของพันธะ เพปไทดเปนแลวใชไหม?? ซึ่งก็คือตําแหนง –CO-NH- งั้นเราลองมาดูตัวอยางโมเลกุลของโปรตีน และใหนองๆ ลองแยกออก มาใหเปนกรดอะมิโนยอยๆ โดยการตัดที่ตําแหนงพันธะเพปไทดนะ

H2 N

O C

H3C

N H

C O

H N

O CH3 OH C NH C H H O

นองลองมาคอยๆ ตัดทีต่ าํ แหนงพันธะเพปไทด (-CO-NH-) ดูซวิ า โมเลกุลโปรตีนทีเ่ ห็นนีป้ ระกอบดวยกรดอะมิโนยอยๆ กีโ่ มเลกุล

H2 N H3C

O C

N H

C O

H N

O CH3 OH C NH C H H O

จากรูปที่พี่ตัดใหดูนี้ นองๆก็จะเห็นไดวาโมเลกุลโปรตีนที่ใหไปนั้น ประกอบไปดวยกรดอะมิโนยอยๆ 4 โมเลกุล (เททระเพปไทด) 2.2.1 การเรียกชื่อพอลิเพปไทด เนื่องจากโปรตีนก็คือกรดอะมิโนที่มาเรียงตอกันดวยพันธะเพปไทด โปรตีนบางตัวก็อาจจะมีกรดอะมิโนมาตอกันเพียงสอง โมเลกุล โปรตีนบางตัวก็อาจจะมีกรดอะมิโนมาตอกัน 3 4 5 … โมเลกุล ใชไหม? ทีนี้เราจะเรียกชื่อมันยังไงละ? สมมติพี่ให แทนสัญลักษณของกรดอะมิโน และแทนพันธะเพปไทดแลวกันนะถามีกรดอะมิโน 2 โมเลกุล เชื่อมกันดวยพันธะเพปไทด เรา เรียกวา ไดเพปไทด

ไตรเพปไทด เททระเพปไทด

34

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


นองๆ หลายคนมักจะงงกับจุดนี้ เพราะวา การอานมันจะขึ้นตนดวย จํานวนที่เปนภาษาละตินและกรีก (โมโน ได ไตร เททระ...) และตามดวยคําวา “เพปไทด” ซึ่งถานองลองยอนกลับไปดูรูป Sense มันมักจะบอกวา มันบอกจํานวนพันธะเพปไทด ใชไหม? เชน เททระเพปไทดมนั มี 3 พันธะเพปไทด มันก็นา จะชือ่ วา “ไตรเพปไทด” แตจริงๆ ไมใชนะ จํานวนทีร่ ะบุนนั้ เปนจํานวน ของกรดอะมิโนเลย เพราะฉะนั้น มีกรดอะมิโน 4 โมเลกุล ก็ชื่อวา “เททระเพปไทด” เลย ระวังดีๆนะ!!

ตัวอยางขอสอบ

H

O

H

H

O

N

C

C

N

C

C

H

H

H

N

จํานวนพันธะเพปไทด

O

C

C

HH C H

จากรูป มีพันธะเพปไทดกี่พันธะ มีกรดอะมิโนกี่โมเลกุล และมีกรดอะมิโนกี่ชนิด ตัวเลือก

H

H

กรดอะมิโน (โมเลกุล)

กรดอะมิโน (ชนิด)

1

2

2

3

2

2

3

2

3

3

3

3

4

3

4

2

เฉลย ถานองลองวงกลมตัดที่พันธะเพปไทด จะไดรูปอยางที่พี่วงนี้นะ ซึ่งมีพันธะเพปไทด 2 พันธะ มีกรดอะมิโน 3 โมเลกุล แตมีกรด อะมิโนเพียง 2 ชนิด เพราะโมเลกุลแรกและโมเลกุลที่สอง เปนกรดอะมิโนชนิดเดียวกัน

H

O

H

H

O

N

C

C

N

C

C

H

H

H

N

H

O

C

C

HH C H H

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

35


2.3 โครงสรางของโปรตีน โครงสรางปฐมภูมิ (Primary structure)

โครงสรางปฐมภูมิก็คือโครงสรางที่งายๆมีกรดอะมิโนมา เรียงตอกันเปนสายยาวๆ อาจจะมีพันธะที่เกิดขึ้นระหวาง กรดอะมิโนดวยกันเองนอกเหนือจากพันธะเพปไทดได เชน พั น ธะไดซั ล ไฟด ที่ เ กิ ด ระหว า งกรดอะมิ โ นซิ ส เทอี น (Cysteine)

ที่มา : http://imgarcade.com/1/collagen-primary-structure/ โครงสรางทุติยภูมิ (Secondary structure) ประกอบดวย 2 ลักษณะ ไดแกเกลียวแอลฟาและแบบจีบเบตา

ที่มา : https://lebiochemblog.wordpress.com/2013/02/25/amino-acids-proteins-p2/

เปนเสนออนนุม เชน Fibrin พบเปนโครงสรางหลักในเคอราทิน โครงสรางตติยภูมิ (Tertiary structure) เกิดจากโครงสรางแบบเกลียวแอลฟา แตสวนที่ ไมใชเกลียวแอลฟา มวนตัวเขาหากันเพราะมีแรง ยึดเหนี่ยวออนๆ โครงสรางแบบนี้จะมีลักษณะ จําเพาะขึ้นอยูกับการเรียงตัวของกรดอะมิโนและ พรอมที่จะทําหนาที่ตางๆ ในสิ่งมีชีวิต ที่มา: http://kvhs.nbed.nb.ca/gallant/biology/tertiary_structure.jpg\

36

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


โครงสรางจตุรภูมิ (Quaternary structure) เกิดจากการรวมตัวของหนวยยอยชนิดเดียวกัน หรือตางชนิดกันของโครงสรางแบบตติยภูมิ โดยอาจจะรวมตัวเปนโปรตีนกอนกลมหรือ โปรตีนเสนใย ที่มา : https://lebiochemblog.wordpress.com/2013/02/25/amino-acids-proteins-p2/ 2.4 การทดสอบโปรตีน เชนเดียวกับการทดสอบคารโบไฮเดรตนะนองๆ โปรตีนเราก็ตองรูวิธีการทดสอบเชนกันนะ โดยการทดสอบโปรตีนเรา จะใช “สารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH” ซึ่งมีสีฟาโดยเมื่อทดสอบแลวถามีโปรตีนจะไดสีมวง - ชมพู วิธีการนี้เรา เรียกวา “การทดสอบไบยูเร็ต” ซึ่งการทดสอบนี้ก็มีขอจํากัดนะ คือ ทดสอบไดแตโปรตีนที่มีพันธะเพปไทดตั้งแต 2 พันธะขึ้นไป (ไตรเพปไทดขึ้นไป) ดังนั้นการทดสอบไบยูเร็ตนี้จึงไมสามารถใชทดสอบกรดอะมิโนได

จากรูปดานบนนี้ สารสีมวง – ชมพู ที่ไดจากการทดสอบโปรตีน ก็เปนเพราะวาเปนสีของสารเชิงซอนของ Cu นั่นเอง คําถามตอมานองคงสงสัยวาแลวถาเราอยากจะทดสอบกรดอะมิโนจะทําไง?? มันก็มีอีกวิธีหนึ่งที่ใชในการทดสอบกรดอะมิโน นั่นก็คือ เราจะใชสารนินไฮดริน ในการทดสอบ โดยถามีกรดอะมิโน จะไดสีมวงในการทดสอบดวยนินไฮดริน 2.5 การเสียสภาพโปรตีน (Protein Denaturation) กอนอื่นนองตองเขาใจหลักการของ “การเสียสภาพ” กอนนะ คือ การเสียสภาพของโปรตีน มันตางจากการไฮโดรไลส (Hydrolyse) เพราะการไฮโดรไลสคือการสลายพันธะไปเลย ซึ่งสําหรับโปรตีนก็คือการสลายพันธะเพปไทด แตถาเปนการไฮ โดรไลสของคารโบไฮเดรตก็จะเปนการสลายพันธะไกลโคซิดกิ ทีเ่ ชือ่ มระหวางโมเลกุลของนํา้ ตาลโมเลกุลเดีย่ ว แตการเสียสภาพ ของโปรตีนคือการที่โปรตีนสูญเสียสภาพโครงสรางจตุรภูมิ ตติยภูมิ ทุติยภูมิ มาเปน ปฐมภูมิ กลาวคือ พันธะเพปไทดยังคงอยู แตสภาพการทํางานของโปรตีนนั้นๆ อาจจะเสียสภาพไป งั้นเรามาดูปจจัยที่ทําใหโปรตีนเสียสภาพกัน มีดังนี้ 1) ความรอน 2) สารละลายกรด 3) สารละลายเบส 4) แอลกอฮอล 5) โลหะหนัก

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

37


2.6 ประเภทและหนาที่ของโปรตีน ประเภท

หนาที่

ตัวอยางของโปรตีน

เอนไซม

- ยอยสลายซูโครส - ยอยสลายโปรตีน

- ซูเครส - ทริปซิน

โครงสราง

- สรางเอ็นและกระดูกออน - สรางผม ขน และผิวหนัง

- คอลลาเจน - เคราติน

ลําเลียงสาร

- ลําเลียงออกซิเจน

- ฮีโมโกลบิน

ฮอรโมน

- เพิ่มประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสใน รางกาย - ทําใหรางกายเจริญเติบโตไดปกติ

- อินซูลิน

- ภูมิคุมกัน

- อิมมูโนโกลบูลิน

แอนติบอดี

- ฮอรโมนเจริญเติบโต (Growth Hormone)

จริงๆ แลวประเภทและหนาที่ตางๆ ของโปรตีนยังมีอีกเยอะแยะเลยนะ แตพี่เลือกที่สําคัญๆ มาใหนองดูกันนะ 2.7 คุณคาทางชีววิทยา คุณคาทางชีววิทยา คือ โปรตีนจากแหลงอาหารที่รางกายสามารถนําไปใชสรางเนื้อเยื่อได เชน ไข มีคุณคาทาง ชีววิทยา 100 แสดงวา ไข มีแหลงโปรตีนที่รางกายสามารถนําไปสรางเนื้อเยื่อได 100% เราลองมาดูตารางคุณคาทาง ชีววิทยากันนะ โปรตีนจากแหลงอาหาร

คุณคาทางชีววิทยา

ไข

100

นมวัว

93

เนื้อสัตวและปลา

75

ขาว

86

ขาวโพด

72

ถั่วลิสง

56

ขาวสาลี

44

ที่มา : หนังสือสาระการเรียนรูพื้นฐานสารและสมบัติของสาร

38

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


3. ลิพิด (Lipid) ลิพิด คืออะไร? ลิพิดก็คือ ไขมัน (Fat) หรือนํ้ามัน (Oil) ฟอสโฟลิพิด (Phospholipid) ไข (Wax) และสารสเตียรอยด (Steroid) นั่นเอง นองหลายคนอาจจะสงสัยวาไขมันและนํ้ามัน ตางกันอยางไร? เดี๋ยวบทนี้เราจะมาเฉลยคําตอบแลวกันนะ 3.1 ไขมันและนํ้ามัน (Fat and Oil)

ที่เกิดปฏิกิริยาเอส ไขมันและนํ้ามัน มีสวนประกอบที่เหมือนกันก็คือ เปนสารประเภทเอสเทอร (Ester) เทอริฟเคชัน (Esterification) จากกลีเซอรอลและกรดไขมัน นองหลายคนอาจจะงงกับยอหนานี้.... อะไรคือเอสเทอร? และ เอสเทอริฟเคชัน มันคืออะไรเนี่ย? เอาเปนวาพี่จะอธิบายคราวๆ นะ ในทางเคมีอินทรียเรามีการศึกษาปฏิกิริยาหลายๆ อยาง แตปฏิกิริยาที่สําคัญปฏิกิริยาหนึ่ง เรียกวา “ปฏิกิริยาเอส เทอริฟเคชัน (Esterification)” เปนปฏิกิริยาที่เกิดจาก การนําสารที่เปนแอลกอฮอล (Alcohol) มาทําปฏิกิริยากับ สารที่เปนก รดอินทรียหรือเรียกวา กรดคารบอกซิลิก (Carboxylic acid) โดยมีตัวเรงปฏิกิริยาเปนกรดแก จะทําใหเกิดสารประเภทหนึ่ง ขึ้น เราเรียกวาสารประเภท “เอสเทอร (Ester)” อันนี้เปนหลักการคราวๆ นะ ซึ่งเราลองกลับมาดูที่รูปดานบนของเรากันนะ จะเห็นไดวาแอลกอฮอลที่นํามาทําปฏิกิริยานี้คือ กลีเซอรอล (Glycerol) มาทําปฏิกิริยากับกรดไขมัน ซึ่งก็คือกรดอินทรีย นั่นเอง มีตัวเรงและความรอน ทําใหไดไขมันและนํ้ามันออกมาเปนผลิตภัณฑทางดานขวา ซึ่งไขมันและนํ้ามันก็คือสารประ เภทเอสเทอรนั่นเองหรือบางทีเรามักเรียกไขมันหรือนํ้ามันวา “ไตรกลีเซอไรด (Triglyceride)” คํานี้นองนาจะเคยคุนๆหูบาง เนอะ เพราะฉะนั้นตอไปนี้หากไดยินคํานี้อีก ก็ใหเขาใจวาเปนไขมันและนํ้ามันแลวกัน ทีนี้สิ่งที่ตามมาก็คือ แลวอะไรละที่เปนตัวแบงแยกวาปฏิกิริยาไหนจะเกิดไขมัน และปฏิกิริยาไหนจะเกิดนํ้ามัน? คํา ตอบก็คือ กรดไขมัน นั่นเอง แลวจะดูไดยังไงละ? เราลองมาดูกันในหัวขอถัดไปนะ 3.2 กรดไขมันอิ่มตัวและกรดไขมันไมอิ่มตัว (Saturated and Unsaturated Fatty Acid) สิ่งที่จะบอกเราไดวาผลิตภัณฑของเราที่ไดหลังเกิดปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน วาจะไดไขมัน หรือ นํ้ามัน ขึ้นอยูกับกรด ไขมัน เพราะเราสามารถแบงกรดไขมันออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ 1) กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated Fatty Acid) กรดไขมันอิ่มตัว คือ กรดไขมันที่ไมมีพันธะคูอยูภายในโครงสรางโมเลกุลเลย มีแตพันธะเดี่ยว (Single bond) ที่เรา

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

39


เรียกวาอิ่มตัว เพราะวาโครงสรางของมันอิ่มตัวไปดวยไฮโดรเจน (H) ไมสามารถเติมอะไรลงไปไดอีก มีสูตรเคมีเปน CnH2n+1COOHเพราะฉะนั้นเวลามันเกิดปฏิกิริยากับกลีเซอรอล จะได “ไขมัน (Fat)” ซึ่งจะมีลักษณะเปนของแข็งที่อุณหภูมิ หอง เชน พวกไขมันสัตว เปนตน 2) กรดไขมันไมอิ่มตัว (Unsaturated Fatty Acid) กรดไขมันไมอิ่มตัว คือ กรดไขมันที่มีพันธะคูอยางนอย 1 ตําแหนงในโครงสราง ทําใหโครงสรางไมไดอิ่มตัวดวย ไฮโดรเจน (H) เวลาเกิดปฏิกิริยากับกลีเซอรอลก็จะได “นํ้ามัน” ซึ่งมีลักษณะเปนของเหลวที่อุณหภูมิหอง เชน นํ้ามันพืช เปนตน หมูฟงกชันของ กรดไขมัน พันธะคูนี้ ไมนับนะนองๆ

ที่มา : vichakarn.triamudom.ac.th

ลองมาดูรูปนี้ นองๆ จะเห็นวาถาเปนโครงสรางที่อิ่มตัว โครงสรางจะเปนเสนตรง ดูคอนขางหนาแนน แตถาเปนโครงสราง ไขมันที่ไมอิ่มตัว ตําแหนงที่เปนพันธะคูจะทําใหเกิดมุมงอมุมบิดในโครงสราง ทําใหโครงสรางไมหนาแนนนะ ดังนั้นหลักการจํางายๆ ก็คือ ถาโครงสรางมันหนาแนน (อิ่มตัว) เวลาเกิดปฏิกิริยา ผลิตภัณฑที่ไดจะเปนของแข็ง (ไข มัน) แตถาเปนโครงสรางที่ไมหนาแนน (ไมอิ่มตัว) จะไดผลิตภัณฑที่เปนของเหลว (นํ้ามัน) นองๆ ควรจะรูจักกรดไขมันอิ่มตัวและไมอิ่มตัวไวบางนะ ดูจากตารางขางลางนี้ กรดไขมันอิ่มตัว

40

กรดไขมันไมอิ่มตัว

ลอริก (C11H23COOH)

โอเลอิก (C17H33COOH)

ไมรีสติก (C13H27COOH)

ไลโนเลอิก (C17H31COOH)

ปาลมิติก (C15H31COOH)

ไลโนเลนิก (C17H29COOH)

สเตียริก (C17H35COOH)

กรดไขมันจําเปน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


สาเหตุที่ไลโนเลอิกและไลโนเลนิก เปนกรดไขมันจําเปนเพราะวารางกายไมสามารถสังเคราะหขึ้นมาไดเอง จึงตองรับมาจาก อาหาร 3.3 การทดสอบความอิ่มตัวของกรดไขมัน ก็เหมือนกับหัวขอที่ผานมา เราตองรูวิธีการทดสอบ สําหรับการทดสอบความอิ่มตัวของกรดไขมัน ไมยากเลย แตวาพี่ ยํ้ากับนองๆ ทุกคนนะวา หัวขอนี้ออกขอสอบทุกป ยํ้า!! ออกทุกป ปละ 1-2 ขอ เพราะฉะนั้นนองๆ ตองเรียนรูอยางตั้งใจ และทําความเขาใจ และเดี๋ยวทายบทเราลองมาดูขอสอบดวยกัน วิธีการที่เราใชทดสอบความอิ่มตัวของกรดไขมัน ที่เราเรียนในชั้น ม.ปลายนี้ จะบอกไดแควาอะไรอิ่มตัวหรือไมอิ่มตัว มากกวากัน คือเปนแคการเปรียบเทียบความอิ่มตัวของกรดไขมันตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป แตเราไมสามารถบอกไดวาอิ่มตัวหรือไม อิ่มตัวมากนอยขนาดไหนนะอานแลวอาจจะงง ไวลองไปดูตัวอยางดวยกันนาจะเขาใจขึ้น สําหรับวิธีที่เราใช และเปนวิธีงายๆ คือ การทดสอบดวยการหยดนํ้าคลอรีน (Cl2) นํ้าโบรมีน (Br2) หรืออาจจะเปน สารละลายไอโอดีน (I2) ก็ได (ใชสารประกอบของธาตุหมู VIIA เพราะมีสมบัติรับอิเล็กตรอนไดดี) โดยพวกสารประกอบหมู VIIA นี้ มีสมบัติที่เห็นไดชัดคือมันเปนสารที่มีสี เชน คลอรีนมีสีเขียวเหลือง โบรมีนมีสีนํ้าตาล ไอโอดีนมีสีมวง เมื่อหยดสาร พวกนี้ลงไปในสารละลายกรดไขมันที่เตรียมไว มันจะถูกฟอกจางสี (สีของสารจะหายไป) เนื่องจากเกิดปฏิกิริยาการแทนที่ หรือปฏิกิริยาการเติมกับสารละลายกรดไขมัน (ไมตองซีเรียสเรื่องชื่อของปฏิกิริยานะ) ซึ่งเราจะดูความอิ่มตัว-ไมอิ่มตัวไดจาก จํานวนหยดที่เราหยดสารประกอบหมู VIIA จนกวาสารละลายกรดไขมันจะไมสามารถฟอกจางสีได พูดงายๆ ก็คือ เราจะนับ จํานวนหยดที่เราหยดพวกสารประกอบหมู VIIA ไปเรื่อยๆ จนกวาสีมันจะไมจางหายไปนั่นเองโดยถาจํานวนหยดที่หยดลงไป จนกวาสีจะไมหายเปนจํานวนมาก หมายความวา กรดไขมันนั้นมีความไมอิ่มตัวมากในทางกลับกันถาจํานวนหยดที่หยดลงไป จนกวาสีจะไมหาย เปนจํานวนนอย หมายความวา กรดไขมันนั้นมีความอิ่มตัวมาก หยดมาก หยดนอย

ไมอิ่มตัว อิ่มตัว

3.4 สมบัติตางๆ ของกรดไขมัน 1. กรดไขมันที่เสถียรมักจะมี C เปนเลขคู สวนใหญพบ C 16 อะตอม และ C 18 อะตอม 2. ในกรณีที่มีจํานวนคารบอนเทากัน ไขมันจะมีจุดเดือดสูงกวานํ้ามัน เพราะกรดไขมันอิ่มตัวจะมีมวลโมเลกุลสูงกวา และมีรูป รางที่มีความหนาแนนสูง จึงทําใหมีจุดเดือดสูงกวา 3. ในกรณีที่มีจํานวนคารบอนเทากัน การเผาไหมนํ้ามันจะเกิดเขมามากกวาไขมัน 4. ไขมันและนํ้ามันจะละลายในตัวทําละลายอินทรีย เพราะเปนสารที่ไมมีขั้ว 5. การเหม็นหืน นํ้ามันจะเหม็นหืนไดงายกวาไขมัน เพราะการเหม็นหืนเกิดจาก O2 ในอากาศเขาทําปฏิกิริยากับตําแหนง พันธะคู ไดแอลดีไฮด และกรดไขมันเล็กๆ ซึ่งเหม็นหืน ** ในปจจุบัน นํ้ามันพืช มักเติมสาร BHA BHT หรือวิตามิน E ทําใหไมเหม็นหืน 6. ในรางกายของคนและสัตว มีกรดไขมันอิ่มตัวเปนสวนมาก 7. หากรับประทานไขมันอิ่มตัวมากๆ อาจจะสงผลใหเปนโรคเสนเลือดหัวใจอุดตัน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

41


ตัวอยางขอสอบ ตาราง ปริมาณกรดไขมันชนิดตางๆ ในนํ้ามันบางชนิด

นํ้ามัน

รอยละของกรดไขมัน C17H31C O2H

C17H29C O2H

4.3

2.3

0.0

26.0

8.0

7.9

0.0

17.6

40.3

2.1

32.1

1.4

10.5

3.4

26.0

46.9

6.1

C11H23C O2H

C13H27C O2H

C15H31C C17H35C O2H O2H

A

43.8

23.4

13.6

9.6

B

22.7

11.5

19.0

C

0.0

0.0

D

0.0

0.0

C17H33C O2H

จากขอมูลในตาราง นํ้ามันชนิดใดฟอกจางสีนํ้าโบรมีนใหหายไปไดมากที่สุด ................? เฉลย นํ้ามันชนิด D เพราะวา มีความไมอิ่มตัวสูงที่สุด โดยดูจากรอยละของกรดไขมันที่มันมี เนื่องจากนองๆ รูวา สูตรเคมีของกรดไขมันที่อิ่มตัวคือ CnH2n+1COOH จะเห็นไดวากรดไขมันที่ไมอิ่มตัวก็จะมี C17H33CO2H C17H31CO2H C17H29CO2H ใชไหม? และนํ้ามันชนิด D ก็มีรอยละของกรดไขมันพวกนี้สูงที่สุด ก็เลยตองใชนํ้าโบรมีนในการ ฟอกสีมากที่สุด 3.6 การทดสอบไขมันและนํ้ามัน อันนี้ตางจากการทดสอบความอิ่มตัวนะ โดยการทดสอบไขมันและนํ้ามันนั้นงายมากๆ เพียงแตทดสอบดวยกระดาษ หากเปนไขมันและนํ้ามันจะทําใหกระดาษที่ทดสอบโปรงแสง 3.7 สบูและผงซักฟอก นองรูห รือไมวา สบูแ ละผงซักฟอกหรือผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดเกือบทุกชนิด ทํามาจากอะไร? แนนอนวาพีเ่ อามาสอน ในหัวขอนี้ นองก็คงตอบไดแลววา..... สบูและผงซักฟอกมันมีที่มาจากลิพิดแนนอน เฉลยนะ สบูและผงซักฟอกที่เราใชกันอยู ทุกวันทํามาจากไขมันหรือนํ้ามัน ขึ้นอยูกับประเภท ชนิด ของผลิตภัณฑ เพราะฉะนั้นในหัวขอนี้เราก็จะมาดูโครงสรางและหลัก การทํางานของผลิตภัณฑทําความสะอาดที่เราใชกันทุกๆ วัน

สบู/ผงซักฟอก ไขมัน (Triglyceride)

42

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

กลีเซอรอล

เกลือโซเดียมคารบอกซิเลต


ดูจากสมการดานบนนี้นะ สบูและผงซักฟอกทั่วๆ ไปเปน เกลือของกรดไขมัน นองคงจะงงวา “อาว สบูที่เราใชทุกวัน เปนเกลือหรอเนี่ย?” อาๆ มาดูสมการกันกอนแลวกัน เริ่มจากเรามีไขมันซึ่งก็คือ ไตรกลีเซอไรด ทําปฏิกิริยากับเบสแก (ในที่นี้ คือโซเดียมไฮดรอกไซด : NaOH) ตมใหรอน เราจะไดผลิตภัณฑเปนสบู ซึ่งเปนเกลือของกรดไขมัน 3 โมล (หนวยของการวัด ปริมาณสาร) และไดกลีเซอรอลออกมาดวย โดยสวนมากเบสที่เรานํามาใชตมก็มักจะเปนโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) หรือ โซดาไฟ หรืออาจจะใชโพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) หรือดางคลี ก็ได 3.7.1 สบูกอน VS. สบูเหลว นองๆ เคยสงสัยไหมวา.... สบูก อ นและสบูเ หลวตางกันอยางไร หรือมีวธิ กี ารผลิตตางกันอยางไร ..... จริงๆ แลวกรรมวิธี ไมแตกตางกันเลยนะ ก็ใชสมการเมื่อกี้นี้แหละ แตถาตองการสบูกอน เราจะใชไตรกลีเซอไรดที่เปน “ไขมัน (Fat)” จําไดไหม.. ไขมัน พี่สอนไปแลววามันเปนของแข็ง เพราะโครงสรางมันหนาแนน (ถาลืมกลับไปอานใหมเลยนะ) สวนถาเปนสบูเหลวจะใช “นํ้ามัน (Oil)” เพราะโครงสรางไมหนาแนน เวลาไดเปนสบูออกมาก็จะไดสบูเหลวนั่นเอง 3.7.2 การทํางานของสบูและผงซักฟอก สบูและผงซักฟอกมันทําความสะอาด รางกายและเสื้อผาของเราไดอยางไร? เราลองมาดูที่โครงสรางของสบูกันกอน แลวกัน

จากรูป นองจะเห็นโครงสรางของ สบู ซึ่งเราจะแบงเปน 2 สวน คือ สวนหัวที่ มีขั้ว (polar head) และสวนหางที่ไมมีขั้ว (nonpolar tail) ซึ่งลักษณะที่โครงสรางของ มันมีทั้ง สวนที่มีขั้วและไมมีขั้ว จึงทําใหมัน สามารถทําความสะอาดสิ่งสกปรกได

ขัว้ ในทีน่ หี้ มายถึง ขัว้ ของโมเลกุล ซึง่ เปนสภาพทางไฟฟานะ นองไมตอ งซีเรียสมาก เอาเปนวา Na+ เปนหัวของโครงสราง เราจะเห็นวา Na+ มีประจุบวกอยู นัน่ แหละ เราเรียกวามันมีขวั้ สวนหางทีไ่ มมขี วั้ ก็จะเปนสวนทีเ่ ปนไฮโดรคารบอน (สารประกอบ ที่มีแต H และ C) ของกรดไขมัน สวนนี้จะไมมีขั้วนะ ทีนี้ความพิเศษมันอยูตรงที่ อะไรก็ตามที่มีขั้วมันจะละลายไดในสารที่มีขั้ว และอะไรก็ตามที่ไมมีขั้วจะละลายไดในสารที่ ไมมีขั้ว เราเรียกหลักการนี้วา “like dissolve like” โดยสบูเนี่ยมันมีสวนที่มีขั้วและไมมีขั้วอยูภายในโมเลกุลเดียวกัน เลยทําให มันละลายนํ้าได (นํ้ามีขั้ว) และสามารถดึงคราบไขมัน (ไขมันไมมีขั้ว) ออกจากรางกายได

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

43


เวลาเราอาบนํ้า สบูมันจะละลายนํ้า และอยูในรูป “ไมเซลล (micelle)” ดังรูปดานขวานี้ นองจะเห็นคําวา “Hydrophillic head” ซึ่งมันก็คืออันเดียวกับคําวา “polar head” คือมันเปน สวนที่ชอบนํ้า ซึ่งคําวา (phil แปลวา ชอบ) ดังนั้นมันก็จะหัน หัวออกไปในนํ้า ทําใหสบูสามารถละลายนํ้าได สวนหางที่หันไป รวมกันดานใน “Hydrophobictail” (pho แปลวา ไมชอบ) คืออัน เดียวกับ “nonpolar tail” มันเปนสวนที่ไมชอบนํ้า หรือสวนที่ ไมมีขั้ว มันก็จะหันตัวเองหนีนํ้า ซึ่งทําใหสามารถไปดึงเอาพวก คราบสกปรก คราบไขมันออกมาได (ไขมันไมมีขั้ว ก็จะละลาย อยูในสวน nonpolar tail) 3.7.3 ทําไมนํ้ากระดางทําใหสบูหมดประสิทธิภาพ? นองๆ คงจะรูจ กั “นํา้ ออน” และ “นํา้ กระดาง” กันตัง้ แตสมัย ม.ตน แลวใชปะ ลืมกันไปหรือยัง งัน้ พีจ่ ะทวนใหนดิ หนอย แลวกันนะ แตกอนเราเรียนกันมาวา “นํ้ากระดาง” คือนํ้าที่ทําใหสบูไมมีฟอง แตมา ม.ปลาย แลว เราตองรูเพิ่มขึ้น ก็คือการที่มัน ทําใหสบูไมเกิดฟอง เปนเพราะวามันไปทําใหสบูหมดประสิทธิภาพการทําความสะอาด โดยการไปทําใหสบูตกตะกอน แตไมใช ตะกอนแบบกอนหินนะ แตมันจะเปนตะกอนเบา ที่เราเรียกวา “ไคลสบู” คลายเปนคราบโดยที่นํ้ากระดางมันจะมี Mg2+ , Ca2+ งั้นเราลองมาดูสมการกันดีกวา

2C17H35COOH + Ca2+ สบู

C H COOH Ca + Na+ 17 35 สบูที่ถูกแทนที่ดวย Ca2+ มีลักษณะเปนของแข็ง

3.7.4 ผงซักฟอก โครงสรางของผงซักฟอกก็คลายๆสบูแตตางกันตรงที่ Polar Head

44

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ผงซักฟอกมีหลายชนิด ดังนี้

โครงสรางที่ 1 : เปนโซตรง จุลินทรียสามารถยอยสลายไดทั้งหมด กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมนอย โครงสรางที่ 2 : เปนโซกิ่งและมีวงเบนซีน จุลินทรียสามารถยอยสลายไดเปนสวนใหญ กอใหเกิด ปญหาสิ่งแวดลอม โครงสรางที่ 3 : เปนโซกิ่งมากและมีวงเบนซีน จุลินทรียไมสามารถยอยสลายได กอใหเกิดปญหา สิ่งแวดลอม 3.7.5ปญหาของผงซักฟอก 1. โครงสรางบางชนิดสลายตัวไดยาก ทําใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอม 2. ในผงซักฟอกมีสารประกอบพวกฟอสเฟต (PO43-) จากสาร Na5P3O10 (โซเดียมไตรฟอสิฟอสเฟต) ซึ่งเปนสารชวย ทําความสะอาด และลดความกระดางของนํ้า สารนี้จะทําใหพืชเจริญเติบโตไดดี เพราะเหมือนเราเติมปุย P ใหพืช และเมื่อพืช เหลานี้ตายลงตองยอยสลายดวย O2 ทําใหนํ้ามี O2 ไมเพียงพอทําใหเกิดปญหานํ้าเนาได 3.7.6 การทดสอบฟอสเฟต การตรวจสอบฟอสเฟตทําไดโดยเติมสารละลายแอมโมเนียมโมลิบเดต (NH4)2MoO4ลงไปในนํ้าตัวอยาง ถานํ้านั้นมีฟอสเฟตจะ ไดตะกอนสีเหลือง ลองดูสมการนิดนึงแลวกันนะ

3NH4+ + 12MoO42- + PO43- + 24H+

(NH4)3PO4 12MoO3 + 12H2O

นอกจากไขมันและนํ้ามันที่เรารูแลววาคือลิพิดแลว ยังมีสารอีกหลายชนิดที่ก็เปนชนิดหนึ่งของลิพิดดวย แตในชั้น ม.ปลาย พี่จะขอพูดถึงแค ฟอสโฟลิพิด ไข และสเตียรอยด นะ 3.8 ฟอสโฟลิพิด (Phospholipid) ฟอสโฟลิพิด คือ ไตรกลีเซอไรด (ไขมันหรือนํ้ามัน) ที่ถูกแทนที่ดวยฟอสเฟต (PO43-) 1 ตําแหนง โดยสวนของกรดไขมัน ก็จะเปนสวนที่ไมมีขั้ว (nonpolar tail) ซึ่งไมชอบนํ้าในขณะที่ฟอสเฟต (PO43-) เปนโมเลกุลที่มีขั้ว เพราะฉะนั้นก็จะเปน (polar head) ซึ่งชอบนํ้า อานแลวก็คลายๆกับเรื่องสบูเลยใชไหม? หลักการคลายๆกัน เราลองมาดูโครงสรางกันกอน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

45


อันนี้เปนโครงสรางของ ไตรกลีเซอไรด หรือไขมัน ที่เรารูจักกัน จะเห็นไดวามีกลีเซอรอล 1 โมเลกุล และมีกรด ไขมัน 3 โมเลกุลมาเกาะ

ถาเปนฟอสโฟลิพิด ก็จะเปนฟอสเฟต มาเกาะแทนที่กรดไขมันไป 1 ตําแหนง

ที่มา:http://homepage.smc.edu/wissmann_paul/anatomy2textbook/phospholipids.html

46

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


เราจะพบฟอสโฟลิพิดอยูที่เยื่อหุมเซลล (Cell membrane) โดยเปนโครงสรางที่หันสวนที่มีขั้ว (polar head) ออกไป สองฝง (ฝงในเซลลและนอกเซลล) และหันสวนที่ไมมีขั้ว (nonpolar tail) เขาหากัน นอกจากเยื่อหุมเซลลแลวยังพบไดที่ เซลลประสาท อีกดวย 3.9 ไข (Waxes) ไข คือ ไขมันชนิดหนึ่ง แตเปนไขมันที่เกิดจากกรดไขมันที่มีโซยาว (C14– C30) และแอลกอฮอลที่มีโซยาว (C16– C30) ตัวอยาง ไข เชน ขี้ผึ้ง

C15H31COOH + C30H61OH

C15H31COOC30H61 + H2O

3.10 สเตียรอยด (Steroids) สเตียรอยด คือ ลิพิดที่ไมมีกลีเซอรอล และกรดไขมัน มีโครงสรางเปนวง สเตียรอยด จะมีโครงสรางหลักๆ ที่ เหมือนๆ กันก็คอื รูปนีน้ ะ เราเรียกวา “สเตีย รอยด นิวเคลียส (steroid nucleus)” สวนสิง่ ที่ทําใหสารส เตียรอยดตางกันก็คือหมูที่จะ มาเกาะที่ตําแหนงตางๆ ของสเตียรอยด นิวเคลียส

ที่มา: http://cnx.org/resources/4e1c51290fa732e94a25cbdf7bf159df/Figure_09_01_08.jpg

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

47


จากแผนภาพสเตียรอยดนี้ นองก็จะเห็นวาสารสเตียรอยดมีเยอะมาก แตหลักๆ ก็จะมีสเตียรอยด นิวเคลียสเหมือนกัน และ ตางกันที่หมูที่มาเกาะ ก็จะทําใหชื่อและหนาที่มันเปลี่ยนไปแลว ที่เอามาใหดูนั้นเปนฮอรโมนในรางกายมนุษย จริงๆยังมีสารส เตียรอยดอีกเยอะแยะ ใครอยากรูเพิ่มเติมไปคนเพิ่มได 4. กรดนิวคลิอิก (Nucleic Acid) นองคงรูจักกับ “กรดนิวคลิอิก” แลวนะ เพราะเรียนมาในชีวะ ตั้งแต ม.4 แลว และเราจะเอามาเรียนในเคมีดวย เพื่อ เปนการตอกยํา้ แตการเรียนในวิชาเคมีไมไดละเอียดเทากับในชีวะนะ เราเนนเฉพาะลักษณะทัว่ ๆ ไป อยางทีน่ อ งๆ รูก รดนิวคลิอกิ เปนกรดที่เปนสวนประกอบของสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต กรดนิวคลิอิกมี 2 ชนิด ก็คือ 1) DNA (Deoxyribonucleic Acid) 2) RNA (Ribonucleic Acid) DNA เปนรหัสพันธุกรรมในรางกายที่ควบคุมลักษณะตางๆ บนรางกายเรา มันก็จะมีอยูทุกๆ เซลลอะนะ สวน RNA ก็ จะมีอีกหลายประเภท ซึ่งนองๆ เรียนมาในชีวะ (สําหรับเด็กสายวิทย) สําหรับขอสอบ O-Net ก็ไมไดออกยากขนาดนั้น งายๆ ก็ คือ RNA ทําหนาเกี่ยวกับการสังเคราะหโปรตีนเพื่อนํามาใชประโยชนในเซลลและรางกายของเรา

4.1 DNA (Deoxyribonucleic acid) รูปทางดานขวามือนี้ก็คือหนาตาของ DNA ที่เปนสาร พันธุกรรมของรางกายสิ่งมีชีวิตก็จะมีลักษณะเปน เกลียวบันไดเวียนขวา และนองเห็นราวบันไดทีเ่ ปนเม็ด กลมๆ สีฟาและสีแดงไหม และเห็นขั้นบันไดแตละขั้น ไหมพีใ่ หนอ งทายวามันคืออะไร….? เดีย๋ วอานไปเรือ่ ยๆ นองก็จะรูคําตอบเอง

ที่มา : www.astrochem.org 4.1.1 โครงสรางและองคประกอบของ DNA DNA มีหนวยยอยๆ (มอนอเมอร) เปน “นิวคลีโอไทด (nucleotide)” เพราะฉะนั้นเวลามันเปนสายยาวๆ ก็คือมันเปนพอลิเมอรของนิวคลีโอไทด เพราะฉะนั้นเราก็อาจจะเรียกวา “พอลินิวคลีโอไทด (polynucleotide)” งั้นเรา มาดูโครงสรางของนิวคลีโอไทด ก็จะรูโครงสรางของ DNA โครงสรางพืน้ ฐานของนิวคลีโอไทดกจ็ ะเปนแบบรูปดานขวานีก้ ค็ อื มีเบส (base), นํา้ ตาลดีออกซีไรโบส (deoxyribose sugar) และฟอสเฟต (phosphate) แตนอ ง ก็คงจะรูมาจากชีวะแลววา นิวคลีโอไทดมี 4 แบบ ซึง่ ตัวที่ทําใหตางกันก็คอื เบส (ไนโตรจีนสั เบส) ทีม่ าเกาะนัน่ เองทีม่ ี A (adenine) , T (thymine) , G (guanine) ,และ C (cytosine) แตหลักๆก็คือ นํ้าตาลดีออกซีไรโบส และฟอสเฟตก็เหมือนกันนะ

48

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ที่มา : http://www.bio.miami.edu/tom/courses/protected/MCB6/ch02/2-17.jpg

หมายเหตุ Uracil เปนเบสที่พบใน RNA โดยทําหนาที่แทน Thymine ที่อยูใน DNA 4.1.2 เบสคูสม (complementary base) และโครงสรางแบบเกลียวของ DNA จริงๆ แลวตอนแรกๆ ที่นักวิทยาศาสตรศึกษา DNA เขาไมรูหรอกวา DNA มีลักษณะเปนเกลียวคูอยางที่เราเห็นในรูป แตเผอิญวามีนักวิทยาศาสตรคนนึงเขาตั้งขอสังเกตวาเบส A และ T มีสัดสวนเทาๆกัน และเบส G และ C ก็มีสัดสวนเทาๆ กัน ประกอบกับตอมานักวิทยาศาสตรอีกคนก็ไดใชเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ (ไมตองจําชื่อการทดลองนะ) ปรากฏวา พบวา DNA มันเรียงตัวเปนเกลียวคู เหมือนขั้นบันได โดยขั้นบันไดก็คือเบสคูสมกัน (complementary base) เกิดพันธะ ไฮโดรเจนกัน โดยเปน A จับกับ T ดวย 2 พันธะไฮโดรเจน และ C จับกับ G ดวย 3 พันธะไฮโดรเจนและบริเวณราวบันได (DNA Backbone) ก็คือ นํ้าตาลดีออกซีไรโบสและฟอสเฟต

ที่มา: http://legacy.owensboro.kctcs.edu/gcaplan/lab/Image173.gif

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

49


จากรูปนองก็คงเห็นและไดคําตอบที่พี่ถามไวตอนแรกแลว ถานองสนใจรายละเอียดตางๆ ของ DNA นองๆ ก็ไปเรียน ในชีวะหรือหาขอมูลเพิ่มเติม ในเคมีนองๆ เรียนเทานี้พอแลว 4.2 RNA (Ribonucleic acid) RNA ก็เปนอีกหนึ่งชนิดของกรดนิวคลีอิก ทําหนาที่เกี่ยวกับการสังเคราะหโปรตีนที่ใชในรางกายและเซลล โครงสราง คลายกับ DNA มาก แตตางกันที่ “นํ้าตาล” เพราะ RNA เปนนํ้าตาลไรโบส

ที่มา : http://classconnection.s3.amazonaws.com/1527/flashcards/610287/jpg/picture123.jpg

นองเห็นความแตกตางไหม ที่ตําแหนงที่ 2 ถาเปนนํ้าตาลไรโบส ก็จะมี –OH แตถาเปน นํ้าตาลดีออกซีไรโบสก็คือ เอา O (oxygen) ออก ไป มันเลยชื่อวา Deoxy- ไง เพราะ De แปลวา “ไมม”ี oxy ก็คอื oxygen รวมกันก็เลยแปลวา “ไมมี ออกซิเจน” สําหรับสวนประกอบอื่นๆ ทั้งไนโตรจีนัส เบส (Nitrogenous base) และฟอสเฟต (Phosphate) ที่มาเกาะนํ้าตาลก็เหมือนๆกับ DNA แตตางกันที่ใน RNA ไมมีเบส T (Thymine) แตมี U (Uracil) แทนนะ โครงสรางของ RNA จะเปนเสนเดียว ธรรมดาๆ (single strand) มันจะไมเปนเกลียวคู เหมือนกับ DNA ซึ่งก็คือ สัดสวนของคูเบสจะไม สัมพันธกนั (แตถา นองไปเรียนในมหาลัยอาจจะเจอ RNA ที่เปนเกลียวได ในบางกรณีเพื่อประโยชน ของกระบวนการในเซลล แตสวนมากมันก็จะเปน สายเดี่ยวนะ)

50

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ที่มา : http://images.tutorvista.com/cms/ images/81/dna-and-rna.png


จากรูป เปนการเปรียบเทียบระหวาง RNA และ DNA จะเห็นวา RNA มันไมเปนเกลียวเหมือน DNA และก็ไมมีเบส T แตมี U แทน สําหรับนองทีเ่ รียนสายวิทย นองก็จะไดเรียนวา RNA มีหลายชนิด ไดแก rRNA mRNA tRNA แตสาํ หรับใน O-NET เอาเทานี้พอ ถาอยากรูเพิ่มเติมลองไปสืบคนไดนะ ตัวอยางขอสอบ ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง ก. ไตรกลีเซอไรด 1 โมเลกุล ประกอบดวย กรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล ข. พันธะเพปไทดพบไดในโมเลกุลของโปรตีน ค. สารชีวโมเลกุล เปนสารที่มีคารบอนและไฮโดรเจนเปนหลัก พบไดทั้งในสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต ง. ปุยฝายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมตอกันเปนสายยาว 1. ก และ ข 3. ข และ ง

2. ข และ ค 4. ค และ ง

เฉลย ขอ..... 3. เรามาดูทีละตัวเลือกเลยแลวกันนะ ขอ ก. ผิด เพราะวา ไตรกีเซอไรด ประกอบดวยกลีเซอรอล 1 โมเลกุลและกรดไขมัน 3 โมเลกุล ขอ ค. ผิด เพราะ สารชีวโมเลกุล พบไดในสิ่งมีชีวิตเทานั้น ตัวอยางขอสอบ กําหนดสาย DNA มาให จงหาลําดับเบสที่เปนคูสมกับสายดังกลาว 3’ G A T G T C A 5’ 1. 5’ T G A C A T C 3’ 2. 5’ C A T C A G T 3. 5’ C T A C A G T 3’ 4. 5’ T G A G T A C 3’ เฉลย ขอ 3. กอนอื่นนองๆ ตองจําไดกอนวาเบสตัวไหนคูกับตัวไหน ซึ่งก็คือ A คูกับ T และ G คูกับ C สวนที่มีเขียนวา 3’ และ 5’ ก็คือเปนตัวเลขกํากับวาปลายนั้นคือปลายอะไรนะ ไมตองสนใจอะไร

นองๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่

Tag : สอนศาสตร เคมี เคมีอินทรีย สารชีวโมเลกุล กรด กรดนิวคลีอีก ไขมัน คารโบไฮเดรต โปรตีน

• 15 : เคมีอินทรีย 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-1

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

51


• 17 : โปรตีนและคารโบไฮเดรต http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-2 • 18 : ไขมันและกรดนิวคลีอิก http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-3

• สอนศาสตร เคมี ม.ปลาย : เคมีอินทรีย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-4

• สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-5

• สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-6

• สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-7

• เคมีอินทรีย ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-8

• เคมีอินทรีย ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-9

• เคมีอินทรีย ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch2-10

52

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่ 3

ธาตุและสารประกอบ

Introduction

สําหรับบทนี้ “ธาตุและสารประกอบ” เปนบทที่เรียกไดวาเปนความรูรอบตัวทางดานเคมีก็วาได เพราะมันเปนอะไรที่ คอนขางประยุกต เราตองอาศัยความจําและความเขาใจชวยกันจึงจะทําขอสอบในบทนีไ้ ด บทนีน้ อ งๆ จะเจออะไร? เราผานบท ที่ 1 มาแลว ไดรูจักกับตารางธาตุ และพี่ก็ไดเกริ่นๆ ไปนิดนึงแลววาธาตุในตารางธาตุมันมีความสัมพันธกัน โดยที่ธาตุในหมู เดียวกันจะมีสมบัตทิ คี่ ลายๆ กัน ในบทนีเ้ ราก็จะมาเรียนกันวาธาตุในแตละหมูท วี่ า มีสมบัตคิ ลายกัน มันมีสมบัตอิ ยางไร นอกจาก เรือ่ งตารางธาตุแลวพีก่ จ็ ะเสริมเรือ่ ง “พันธะเคมีเบือ้ งตน” ใหดว ย จริงๆแลวในเคมีพนื้ ฐานมันไมไดเรียน แตวา ขอสอบมันออก มาถามนิดหนอย ดังนั้นเราจึงตองรูไว อีกเรื่องหลักๆก็คือเรื่องครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งมีการคํานวณนิดหนอย ไมยาก มาก พี่บอกแลวนะวาบทนี้ตองใชทั้งความจําและความเขาใจ ก็ขอใหนองๆ ทําใจสบายๆ บทนี้ไมยาก งั้นเราก็มาเริ่มเรียนกัน เลย

Outlines

1. สมบัติตามหมูของตารางธาตุ 2. ตําแหนงของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ 3. พันธะเคมีเบื้องตน (Chemical bond) 4. เลขออกซิเดชัน (oxidation number) 5. แนวโนมตามตารางธาตุเบื้องตน 6. ธาตุกัมมันตรังสี

1. สมบัติตามหมูของตารางธาตุ กอนที่เราจะเริ่มเรียนกันในหัวขอนี้ นองๆ ตองไปทบทวนเนื้อหาเบื้องตนเกี่ยวกับตารางธาตุกอนนะ ใครจําไมไดก็ไป อานทบทวนไดที่บทที่ 1 พี่เคยบอกไปแลววาธาตุที่อยูในหมูเดียวกันในตารางธาตุจะมีสมบัติคลายๆ กัน ในหัวขอนี้เราก็จะมาเรียนรูกันวาที่วา มันคลายกัน สมบัติอะไรของมันที่คลายกัน และจะทําใหตอไปเวลาเราเจอโจทยที่บรรยายสมบัติของธาตุมา และใหเราตอบวา มันคือธาตุอะไรหรืออยูห มูอ ะไร เราก็จะใชความรูต รงนีไ้ ปตอบ และก็ถงึ แมพจี่ ะเปนคนที่ไมคอ ยใหนอ งๆ เรียนโดยทองจํา พีจ่ ะ เนนความเขาใจ แตวาเนื้อหาสวนนี้หลีกเลี่ยงไมไดจริงๆ ที่ตองจําบาง แตพี่จะพยายามอธิบายเหตุผลประกอบใหนองๆ เขาใจ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

53


ทีนี้ทําความเขาใจกอนนะ จริงๆ พี่ก็เคยพูดไปแลวในบทที่ 1 แตขอยํ้าอีกทีแลวกันนะ “ธาตุในหมูเดียวกันจะมีสมบัติ คลายกัน” หมายถึงเฉพาะธาตุในหมู A เทานั้น ถาดูในรูปตารางธาตุดานบนนี้ ก็คือสวนที่แรเงานั่นเอง สวนพวกธาตุหมู B หรือ โลหะแทรนซิชัน (Transition metal) ในหมูเดียวกันจะไมคอยคลายกันงั้นเรามาเริ่มเรียนทีละหมูไปเลยนะนองๆ 1.1 สมบัติธาตุหมู IA (Alkali metal) 1. เปนของแข็งชนิดออนสามารถใชมีดตัดได นําความรอนและไฟฟาไดดี 2. หมู IA เปนหมูที่มีความเปนโลหะมากที่สุดเมื่อเทียบในคาบเดียวกัน 3. มีความหนาแนนตํ่า (Li Na K ลอยนํ้าได) 4. มีขนาดอะตอมใหญที่สุดเมื่อเทียบในคาบเดียวกัน 5. มีคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ตํ่าที่สุดเมื่อเทียบในคาบเดียวกัน ทําใหเสียอิเล็กตรอนไดงาย หรือเรียกวา เปน“ตัวรีดิวซ” ที่ดี จึงเปนไอออนบวก (cation) 6. ธาตุหมู IA เมื่อรวมตัวกับธาตุอโลหะเกิดพันธะไอออนิก โดยธาตุหมู IA มีเลขออกซิเดชัน (ประจุ) +1 เสมอ 7. ธาตุหมู IA มีความวองไวในการเกิดปฏิกิริยามาก เชน ทําปฏิกิริยากับนํ้าแลวระเบิด 8. เมื่อหลอมเหลวหรือละลายนํ้าสามารถนําไฟฟาได 9. มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก เพราะเปนการทําลายพันธะไอออนิก ประโยชนของธาตุหมู IA 1. Cs ใชทําโฟโตเซลลที่เปลี่ยนสัญญาณแสงไปเปนสัญญาณไฟฟา เพราะ Cs เมื่อถูกแสงสามารถเสียอิเล็กตรอนไดงายกวา โลหะอื่นในหมู IA 2. Na และ K ทําหนาที่ถายเทความรอนจากเตาปฏิกรณปรมาณูเพราะ Na นําไฟฟาและความรอนไดดี และราคาถูก 3. Na+ และ K+ มีสวนชวยในกระบวนการตางๆ ในรางกาย เชนระบบกลามเนื้อ 4. ไอออนหมู IA ใชปรุงอาหารได เชน NaCl (เกลือแกง) , KCl 1.2 ธาตุหมู IIA (Alkaline Earth metal) มักพบในดิน 1. สารประกอบหมู IIA เปนสารประกอบไอออนิกยกเวนสารประกอบของ Be เชน BeCl2 เปนสารประกอบโคเวเลนต เพราะ คา IE และ EN มีคาสูงเนื่องจากอิเล็กตรอนบรรจุเต็ม ทําใหมีความเสถียรมาก จึงเสียอิเล็กตรอนไดยาก 2. มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงเพราะเปนสารประกอบไอออนิก

54

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


3. เมื่อหลอมเหลวหรือละลายนํ้าสามารถนําไฟฟาได แตนอยกวาหมู IA 4. ทุกธาตุเปนของแข็ง มีความหนาแนนมากกวาหมู 1 ไมสามารถใชมีดตัดได ประโยชนของธาตุหมู IIA 1. Mg ใชทําไสหลอดไฟในแฟลชของกลองถายรูป เพราะเมื่อลุกไหมจะเกิดแสงสวาง 2. โลหะผสมระหวาง Mg และ Al ใชทําสวนประกอบของเครื่องบินเพราะนํ้าหนักเบา 3. Ca และ Mg ใชเปนตัวรีดิวซในการเตรียมโลหะบริสุทธิ์เชนการเตรียมไทเทเนียม (Ti) 4. CaSO4 (แคลเซียมซัลเฟต)ใชทําแผนยิบซัม, Mg(OH)2 (แมกนีเซียมไฮดรอกไซด) ใชในยาสีฟนและยาลดกรดใน กระเพาะอาหาร 5. โลหะผสมระหวาง Be และ Cu ใชทําสวนประกอบของเรือเดินทะเล เพราะทนตอนํ้าทะเล 1.3 ธาตุหมู VIIA (Halogen)

1.

สาร

สถานะ

สี

F2

แกส

เหลือง

Cl2

แกส

เขียว

Br2

ของเหลว

นํ้าตาลแดง

I2

ของแข็ง

มวง

2. ธาตุแฮโลเจนทุกชนิดเปนพิษ หากทําการทดลองจะตองใชตูดูดควัน 3. เปนอโลหะไมนําไฟฟา 4. มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตํ่า เพราะเปนการทําลายแรงลอนดอนเทานั้น ไมไดทําลายพันธะ (อานเพิ่มไดในหัวขอพันธะเคมี เบื้องตน) 5. มีคา IE (Ionization Energy: พลังงานที่ทําใหเสียอิเล็กตรอน) EN (Electronegativity : คาความสามารถในการรับอิเล็กตรอน) สูงจึงรับอิเล็กตรอนไดงาย เปนไอออนลบ (anion) 6. ธาตุหมู VIIA มีเลขออกซิเดชันไดหลายคา เชน KClO , KClO2 , KClO3 , KClO4 โดยที่ Cl มีเลขออกซิเดชัน -1 -3 -5 -7 ตาม ลําดับ (ถานองงงกับคําวา “เลขออกซิเดชัน” ใหขามไปอานเรื่องเลขออกซิเดชัน กอนก็ไดนะ) ปฏิกิริยารีดิวส / ออกซิไดส ของธาตุภายในหมู VIIA เรือ่ งทีส่ าํ คัญของธาตุหมู VIIA หรือธาตุฮาโลเจน คือปฏิกริ ยิ าการรีดวิ ส/ออกซิไดส (ปฏิกริ ยิ าทีม่ กี ารถายเทของอิเล็กตรอน พูดงายๆ ก็คอื ปฏิกริ ยิ าทีส่ ารตัวหนึง่ ทําหนาทีใ่ หอเิ ล็กตรอน และอีกตัวทําหนาทีร่ บั อิเล็กตรอน) ของธาตุภายในหมู VIIA ซึง่ เรือ่ ง นี้ออกขอสอบบอย พี่เลยอยากใหนองๆ ทําความเขาใจใหดีๆ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

55


สาร

สี

F2

เหลือง

Cl2

เขียว

Br2

นํ้าตาลแดง

I2

มวง

พี่อยากใหนองๆ ทุกคนจําสีของโมเลกุลของธาตุหมู VIIA ไวหนอย อันนี้จําเปนจริงๆ และพี่ยํ้านิดนึง สีที่พี่ให จําพวกนี้ มันเปนสีของโมเลกุล คําวาโมเลกุลก็คือเปน สารประกอบ (ในทีนี้คือเปนสารประกอบที่มี 2 อะตอม) ไมใช ธาตุหรือไอออน เพราะธาตุมี 1 อะตอม เชน F Cl อันนี้คือ ธาตุ สวนถาเปนไอออนก็เชน F- Cl-เปนตน

F Cl Br I

ทางดานขวามือนี้ สมมติวาคือหมู VIIA ในตารางธาตุ พี่อยาก ใหนองๆ จําวา “ธาตุดานบนชิงอิเล็กตรอนไดเกงกวาตัวลาง” ลําดับความเกงก็จะลดหลั่นตามลูกศรลงมา ก็คือ

F ชิงอิเล็กตรอนไดดีกวา Cl Br I Cl ชิงอิเล็กตรอนไดดีกวา Br I Br ชิงอิเล็กตรอนไดดีกวา I

พูดอยางนี้นองคงไมเห็นภาพ พี่จะอธิบายดวยสมการ และนองก็ลองสังเกตวาหลักการมันก็แลวกันเชน

KBr + Cl2 ไมมีสี

สีเขียว

Br2 + KCl สีนํ้าตาล แดง

ไมมีสี

ถาดูจากสมการนี้ สมมติเรามีนํ้าคลอรีน (Cl2) สีเขียวอยูในหลอดทดลอง และตอมาเราก็นํา KBr (เปนตัวแทนของ Brไมจําเปนตองเปน KBr อาจจะเปน NaBr ก็ได ขอแคเปน Br-) มาเติม ก็จะเกิดการถายเทอิเล็กตรอนกัน ไดเปนนํ้าโบรมีน (Br2) ซึ่งมีสีนํ้าตาลแดง ก็คือวาสีเขียวมันจะหายไป แตเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาลแดงแทน การนําไปใชก็คือ เวลาเราทําแล็ปเนี่ย เราไมรู หรอกวาสารที่เรามีคือสารอะไร จริงไหม? เราจะใชการสังเกตสีเดิม และสีที่เปลี่ยนไป เปนเฉลยวาสารที่เรามีคืออะไร เพราะ ฉะนั้นพี่เลยใหนองจําสีไง เพื่อเสริมความเขาใจเพิ่มขึ้น ที่พี่บอกไปแลววา “ธาตุดานบนชิงอิเล็กตรอนไดเกงกวาตัวลาง”เราตองมาขยายความ นิดนึง จริงๆ แลวมันคือ “สารประกอบของธาตุที่อยูดานบน ชิงอิเล็กตรอน จากไอออนที่อยูลางมันไดดีกวา” นองลองดูจาก สมการก็ได สารประกอบของธาตุที่อยูดานบน ก็คือ Cl2ชิงอิเล็กตรอนของไอออนที่อยูลาง ก็คือ Br- (โบรไมดไอออน) ไดดีกวา มันเลยทําใหเกิดปฏิกิริยาได งั้นเราลองดูตัวอยางปฏิกิริยาที่เกิดไมไดบาง

NaCl + I2 ไมมีสี สีมวง

56

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ปฏิกิริยาดังภาพนี้ ไมเกิดปฏิกิริยา เพราะอะไร? ก็เพราะวา สารประกอบของธาตุหมู VIIA ในปฏิกิริยานี้คือ I2 (ไอโอดีน) ซึ่ง มันอยูตํ่ากวา Cl- อยางนี้ก็ไมสามารถเกิดปฏิกิริยาได สมมติเปนสารที่เราไมรูวาคือสารอะไร (unknown) ในทีนี้ก็บรรยายไดวา “เมื่อเติมสารละลายใส ไมมีสีลงไปในสารละลายสีมวง จะไมเกิดการเปลี่ยนแปลง) 1.4 แกสเฉื่อยหรือแกสมีตระกูล (inert gas or noble gas) 1. แกสเหลานี้ 1 โมเลกุล มี 1 อะตอม 2. แกสเหลานี้ไมทําปฏิกิริยากับธาตุอื่น เพราะมีความเสถียรแลว เนื่องจากอิเล็กตรอนวงนอกสุด (เวเลนซอิเล็กตรอน) ครบ 8 แลว ยกเวน He ที่มีเวเลนซอิเล็กตรอน เทากับ 2 ประโยชนของแกสเฉื่อย 1. He บรรจุในลูกบอลลูน แทน H2เพราะอาจเกิดระเบิดได 2. แกสเฉื่อยบรรจุในหลอดไฟจะทําใหไดแสงสีตางๆ 3. Ar ใชบรรจุหลอดไสธรรมดา แทนอากาศ เพราะ Ar ไมทําปฏิกิริยากับลวดรอน จึงทําใหมีอายุการใชงานยาวนาน 1.5 โลหะแทรนซิชัน (Transition metal) 1. ธาตุทรานซิชันมีความเปนโลหะนอยกวาธาตุหมู IA และ IIA 2. แข็ง มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวและความหนาแนนสูง สูงกวาโลหะหมู IA และ IIA ในคาบเดียวกัน เพราะมีขนาดเล็ก จึงมี พันธะโลหะที่แข็งแรงกวา 3. ธาตุทรานซิชันมีสมบัติคลายกันในคาบมากกวาในหมู 4. นําไฟฟาและความรอนไดดี 5. สารประกอบของโลหะทรานซิชันมักมีสี 6. ธาตุทรานซิชันมีเลขออกซิเดชันไดหลายคา ยกเวน Ag+ , Zn2+ , Sc3+ เทานั้น 7. ขนาดอะตอมเล็กลงจากซายไปขวา แตใกลเคียงกันมาก เพราะอิเล็กตรอนไดเพิ่มขึ้นมานั้นไมไดเพิ่มที่ชั้นนอกสุดของ อะตอม แตเพิ่มในชั้นที่ถัดลงมา ทําใหเกิดการบดบังแรงดึงดูดระหวางโปรตอนและอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดทําใหอะตอมไมได เล็กลงมากถึงแมโปรตอนจะเพิ่มก็ตาม 2. ตําแหนงของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ บางครั้งเราอาจจะเคยเห็นตารางธาตุแบบนี้ ใชไหมนองๆ H อยูตรงกลางและมีเสนประลากเชื่อมระหวางหมู IA และ VIIA เปนเพราะอะไรกันนะ เคยสงสัยกันไหม

ที่มา : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2422210100/17_files/17-3.jpg

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

57


มันเปนเพราะวานักวิทยาศาสตรสรุปไมไดวา H ควรอยูหมูอะไรดี เพราะมันมีสมบัติที่คลายทั้งหมู IA และหมู VIIA เขาจึงใหมันอยูตรงกลางและลากเสนเชื่อมไว เรา ลองมาดูสมบัติที่มันคลายกันทั้งสองหมู จากตารางดานลางนี้นะ สมบัติ เวเลนซอิเล็กตรอน เลขออกซิเดชัน การนําไฟฟา

หมู IA

หมู VIIA

ไฮโดรเจน

1

7

1

+1

-1,+1,+3,+5,+7

+1 หรือ -1

นําไฟฟา

ไมนําไฟฟา

ไมนําไฟฟา

พลังงานไอออไนเซชัน ลําดับที่ 1

ตํ่า

สูง

สูง

อิเล็กโตรเนกาติวิตี

ตํ่า

สูง

คอนขางสูง

สถานะที่อุณหภูมิหอง ความเปนโลหะ – อโลหะ

ของแข็ง โลหะ

ของแข็ง ของเหลว แกส อโลหะ

แกส อโลหะ

3. พันธะเคมีเบื้องตน (Chemical bond) นองคงเคยไดยนิ คําวา “พันธะเคมี” ใชไหม เมือ่ ธาตุตงั้ แตสองอะตอมขึน้ ไปมาเกิดพันธะเคมีกนั ก็จะไดเปน “สารประกอบ (compound)” คําถามก็คือทําไมธาตุตางๆ ตองเกิดพันธะเคมี นั่นก็เปนเพราะวา ธาตุ มันไมเสถียร มันเลยตองเปลี่ยนแปลงนิด หนอย โดยการไปจับมือรวมกับธาตุอีกอะตอมนึงเพื่อใหมันเสถียรมากขึ้น และอะไรคือ “ความเสถียร” ความเสถียรพูดงายๆ ก็ ประมาณวา สามารถอยูในธรรมชาติได ความเสถียรของธาตุเราจะดูที่เวเลนซอิเล็กตรอน (อิเล็กตรอนวงนอกสุด) โดยธาตุที่ เสถียรจะมีเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 8 (ตามกฎออกเตต) นองๆ ลองคิดถึงพวกแกสเฉื่อย หมู VIIIA เชน He Ne Ar พวกนี้มีเว เลนซอิเล็กตรอนวงนอกเปน 8 (เลยอยูหมู VIIIA) เราจะเรียกแกสพวกนี้วา แกสเฉื่อย (inert gas) หรือ แกสมีตระกูล (noble gas) ที่มันเฉื่อยก็เพราะวามันเสถียรแลว ไมตองดิ้นรนไปเกิดพันธะ หรือเกิดปฏิกิริยาอะไรใหเสถียรมากขึ้น ดังนั้นธาตุอื่นๆ ก็ เลยอยากเลียนแบบแกสเฉื่อย ก็จะพยายามใหเวเลนซอิเล็กตรอนของตนครบ 8 ใหได แตมันก็มีหลายวิธี และเราก็จะมาเรียน กันทุกวิธีเลย แบบคราวๆ ที่พี่บอกวามันมีหลายวิธีที่จะทําใหมีเวเลนซครบ 8 ซึ่งนั่นก็คือ พันธะชนิดตางๆ ไดแก พันธะโลหะ (metallic bond) พันธะไอออนิก (ionic bond) และพันธะโคเวเลนต (covalent bond) 3.1 พันธะโลหะ (Metallic bond) พันธะชนิดนีง้ า ยมาก พีก่ ข็ อพูดแคคราวๆ นะ พันธะโลหะนีก้ ค็ อื พันธะทีท่ าํ ใหอะตอมของธาตุทเี่ ปนโลหะ ยึดติดกัน เปน โครงสรางนองหลายคนชอบทองวา “พันธะชนิดนี้จะเกิดกับอะตอมของโลหะเทานั้น” เชน แผนเหล็ก (Fe) ก็จะประกอบดวย อะตอมของ Fe (iron) จํานวนมากมายมหาศาลมายึดเกาะกันดวยพันธะโลหะ ทําใหเปนแผนโลหะอยางที่เราเห็น

58

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


พั น ธะโลหะ ยึ ด เหนี่ ย วกั น ดวยแรงดึงดูดทางไฟฟาสถิต นองๆ จะเห็นวาที่อะตอมของโลหะมันเปน ไอออนบวก และก็ มี อิ เ ล็ ก ตรอน เคลือ่ นทีอ่ ยูร อบๆ ก็ทาํ ใหดงึ ดูดกันได

สมบัติของพันธะโลหะ - ตีเปนแผนได - ดึงเปนเสนได - นําความรอนไดดี - นําไฟฟาไดดีและนําไดทุกทิศทาง - มีความเงา

ลักษณะของโลหะที่ยึด ดวยพันธะโลหะ

ที่จริงสมบัติตางๆ ของโลหะนี้มีเหตุผลอธิบายได แตพี่ขอละไวแลวกัน หากนองอยากรู สามารถไปสืบคนเพิ่มเติมได 3.2 พันธะไอออนิก (Ionic bond) พันธะไอออนิกจะเกิดกับธาตุสองธาตุ (บางครั้งอาจจะเปนสองอนุมูลกลุม) โดยที่ธาตุหนึ่งเปนโลหะ อีกธาตุหนึ่งเปน อโลหะ ซึ่งพันธะชนิดนี้เปนแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟา โดยที่อะตอมของโลหะจะเสียอิเล็กตรอนออกไป กลายเปนไอออนบวก (Cation) และอะตอมของอโลหะจะรับอิเล็กตรอนเขาไป กลายเปนไอออนลบ (Anion) ทําใหมีทั้งไอออนบวกและลบอยูดวยกัน ก็เลยเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟา (บวกกับลบดูดกัน) เราจะรูไดไงวาธาตุไหนจะเกิดเปนไอออนบวกหรือลบเทาใด? หลักการงายๆ ก็คือ เราตองจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ นัน้ ๆ ได และลองดูวา ตองเสียหรือรับอิเล็กตรอนเทาไหร เวเลนซมนั จึงเปน 8 (ตามกฎออกเตต) อานแลวอาจจะงง มาดูตวั อยาง ก็แลวกัน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

59


เชน Na (Sodium) มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 8, 1 ก็คือเวเลนซอิเล็กตรอนเปน 1 เราก็ลองคิดซิวาจะทําไงใหมันมีเวเลนซ เปน 8 ก็มี 2 วิธี ก็คือ รับอิเล็กตรอนเขาไป 7 ตัว หรือ เสียอิเล็กตรอนออกมา 1 ตัว นองก็คิดดูวาอะไรมันงายกวากัน.... นั่นก็ คือ..... เสียอิเล็กตรอน 1 ตัว พอมันเสียอิเล็กตรอน 1 ตัว มันก็จะเปน Na+ (Sodium Ion) จัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 8 และ จากเมื่อกี้ที่พี่บอกวา โลหะมันจะเสียอิเล็กตรอน และอโลหะมันจะรับอิเล็กตรอน ก็สอดคลองกับตัวอยางนี้นะ ก็คือ Na เปน โลหะ มันก็จะเสียอิเล็กตรอน พี่ขอใช NaCl (เกลือแกง) เปนตัวอยางของสารประกอบไอออนิกแลวกันนะ พอเราได Na+ แลว อิเล็กตรอนที่มันหลุด ออกมา ก็จะวิ่งไปหา Cl (Chlorine atom) ที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 8 , 7 พออิเล็กตรอนของ Na ที่หลุดมา วิ่งไปหา Cl ก็จะกลายเปน Cl- (Chloride) ก็จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 8 , 8 นองก็จะเห็นไดวาตอนนี้ทั้ง Na+ และ Clตางก็มีเวเลนซเปน 8 แลว มันเสถียรแลว และเนื่องจาก Na+ เปนประจุบวก ก็จะเกิดแรงดึงดูดกับ Cl- ซึ่งมีประจุลบ ก็เลยทําให มันอยูดวยกันได

ที่มา : taksreview.wikispaces.com

และถาเปน Mg ที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 8 , 2 ละนองจะทําไง? ก็มาดูวา Mg ทําไงใหมันมีเวเลนซเปน 8 .... นั่นก็คือ เสียอิเล็กตรอนออกไป 2 ตัว และถามันจะเกิดพันธะไอออนิกกับ F ที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 , 7 ทําไง?.... เนื่องจาก F 1 อะตอม ถาจะใหมันมีเวเลนซครบ 8 ก็แครับอิเล็กตรอนเขาไปอีก 1 ตัว เปน F- แตอันนี้ Mg มันเสียอิเล็กตรอน มาแลว 2 ตัว แต F ตองการแค 1 อิเล็กตรอน ทําไงละ? ก็ตองเพิ่ม F เปน 2 อะตอม ใหมารับอิเล็กตรอน 2 ตัวของ Mg ก็จะ กลายเปน MgF2 (magnesium fluoride)

ที่มา : http://image.tutorvista.com/cms/images/44/magnesium-fluoride.JPG

60

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


พี่ขอเสริมนะ ประจุบวกและลบของไอออนที่เรานั่งคิดเมื่อกี้ เดี๋ยวตอไปเราจะเรียกวา “เลขออกซิเดชัน (oxidation number)” ซึ่งพี่จะอธิบายอีกทีหลังจากจบเรื่องพันธะเคมี 3.3 พันธะโคเวเลนท (Covalent bond) พันธะชนิดนี้จะเกิดกับธาตุสองธาตุขึ้นไป โดยที่ทั้งสองธาตุนั้นเปนอโลหะวิธีการเกิดพันธะชนิดนี้เราเดาไดจากชื่อของ พันธะ นั่นก็คือ โค (co-) แปลวา รวมกัน เวเลนท (valent) ก็คือ เวเลนซอิเล็กตรอน ก็แสดงวาพันธะโคเวเลนทคือการใช อิเล็กตรอนวงนอกสุดรวมกันนั่นเอง ยกตัวอยางเชน แกสฟลูออรีน (F2) เกิดจากการรวมกันของธาตุฟลูออรีน (F) 2 อะตอม โดยนองๆ ก็ตองมาดูวา F มี การจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2, 7 จะเห็นไดวาเวเลนซมี 7 อิเล็กตรอน จะทําไงใหครบ 8 ดีละ? เนื่องจาก F อีกอะตอมนึงก็ ตองการ 1 อิเล็กตรอนเหมือนกัน ดังนั้นมันก็เลยตกลงรวมกัน โดยการใชอิเล็กตรอนวงนอก 1 คู รวมกัน ดังรูป

จากรูปดานขวานี้ นองจะเห็นวาอะตอม ฟลูออรีน 2 อะตอม มันแชรอิเล็กตรอนกัน 1 คู ทําใหทั้งสองอะตอม มีเวเลนซเทากับ 8 e- ลักษณะการแชรอิเล็กตรอน 1 คู เราจะเรียก วา พันธะเดี่ยว (single bond)

ตัวอยางตอไป แกสออกซิเจน (O2) เกิดจากการรวมกันของธาตุออกซิเจน (O) 2 อะตอม โดยนองๆ ก็ตองมาดูวา O มี การจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2, 6 จะเห็นไดวาเวเลนซมี 6 อิเล็กตรอน จะทําไงใหครบ 8 ดีละ? เนื่องจาก O อีกอะตอมนึงก็ ตองการ 2 อิเล็กตรอนเหมือนกัน ดังนั้นมันก็เลยตกลงรวมกัน โดยการใชอิเล็กตรอนวงนอก 2 ตัว รวมกัน ดังรูป

จากรูป ทั้งสองอะตอมคือ ออกซิเจน (O) นองจะเห็นวาอะตอมดานซายและดานขวาแชร อิเล็กตรอน 2 คู ทําใหแตละอะตอมมีเวเลนซ เทากับ 8 e- ในกรณีนี้มีการแชรอิเล็กตรอนกัน 2 คู เราจะเรียกวา พันธะคู (double bond)

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

61


ตัวอยางสุดทาย แกสไนโตรเจน (N2) เกิดจากการรวมกันของธาตุไนโตรเจน (N) 2 อะตอม โดยนองๆ ก็ตองมาดูวา N มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2, 5 จะเห็นไดวาเวเลนซมี 5 อิเล็กตรอน จะทําไงใหครบ 8 ดีละ? เนื่องจาก N อีกอะตอมนึงก็ ตองการ 3 อิเล็กตรอนเหมือนกัน ดังนั้นมันก็เลยตกลงรวมกัน โดยการใชอิเล็กตรอนวงนอก 3 คู รวมกัน ดังรูป จากรู ป ทางด า นขวานี้ ทั้ ง สองอะตอมคื อ ออกซิเจน (O) นองจะเห็นวาอะตอมดานซายและดาน ขวาแชรอิเล็กตรอน 2 คู ทําใหแตละอะตอมมีเวเลนซ เทากับ 8 e- ในกรณีนี้มีการแชรอิเล็กตรอนกัน 3 คู เรา จะเรียกวา พันธะสาม (triple bond) เราอาจจะเขียนโครงสรางโมเลกุลขางตนนี้ เปนโครงสรางแบบเสนก็ได เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เราจะเขียนได ดังนี้ ตามลําดับ

F - F O = ON N 4. เลขออกซิเดชัน (oxidation number) เลขออกซิเดชัน คือ เลขที่แสดงคาประจุของธาตุในสารประกอบตางๆ เลขออกซิเดชัน

หมู

หมู

เลขออกซิเดชัน

IA

+1

VA

มีหลายคา

IIA

+2

VIA

-2

IIIA

+3

VIIA

-1

IVA

มีหลายคา

โลหะทรานซิชัน

มีหลายคามากๆ

ในบางครั้งนองอาจจะเจอสารประกอบที่มี “อนุมูลกลุม” ก็คือเปนสารประกอบโคเวเลนตที่เปนมีประจุไฟฟา และเกิด พันธะไอออนิกได พี่คิดวานองดูตารางนี้ก็นาจะเพียงพอแลวละ อนุมูลกลุม

เลขออกซิเดชัน

62

-1

OH- HCO3- NO3- HSO4- H2PO4- ClO3- ClO4- CN- MnO4-

-2

SO42- CO32- HPO42- Cr2O72-

-3

PO43-

+1

NH4+

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตารางที่พี่ใหนี้ พี่คิดวาในวิชาเคมีพื้นฐานจําเทานี้ก็เพียงพอแลว แตถาเรียนกันจริงๆ มันมีอีกเยอะมาก แตเอาไวเทานี้ แลวกัน และถานองอยากรูเพิ่มเติมก็สามารถไปสืบคนได ตัวอยางขอสอบ ธาตุ 3 ชนิด มีสัญลักษณดังนี้ ขอใดเปนสูตรเคมีของสารประกอบฟลูออไรด ของธาตุทั้งสามชนิดตามลําดับ ZF2 2. XF Y2F3 ZF2 1. XF YF3 3. XF2 Y2F3 ZF 4. XF2 YF3 ZF เฉลย ขอ 4. สําหรับวิธีการคิดขอนี้ก็คือ นองตองจัดเรียงอิเล็กตรอนใหไดกอนนะ ก็ไดดังนี้ :2,2 : 2 , 8, 3 : 2 , 8, 7 แสดงวา X Y และ Z เปนโลหะหมู IIA IIIA และอโลหะหมู VIIA ตามลําดับ เนื่องจาก ฟลูออไรด เปนอโลหะ เพราะฉะนั้นถา เปนพันธะโลหะเกิดพันธะกับอโลหะก็ตองเปนพันธะไอออนิก และถาเปนอโลหะกับอโหละ ก็เปนพันธะโคเวเลนต ธาตุ X อยู หมู IIA มีเลขออกซิเดชันเปน +2 เพราะฉะนั้นโครงสรางที่เกิดกับฟลูออไรดที่มีประจุ -1 ก็จะเปน XF2 ธาตุ Y อยูหมู IIIA มีเลข ออกซิเดชันเปน +3 เพราะฉะนั้นโครงสรางที่เกิดกับฟลูออไรด ที่มีประจุ -1 ก็จะเปน YF3 ธาตุ Z อยูหมู VIIA ตองการ 1 อิเล็กตรอน เชนเดียวกับ F เพราะฉะนั้นมันเลยแชรเวเลนซกัน 1 คู สูตรโมเลกุลก็เลยเปน ZF 5. แนวโนมตามตารางธาตุเบื้องตน ถาเรียนกันอยางจริงจัง หัวขอเราจะเรียนแนวโนมของหลายอยางมาก แตในเคมีพื้นฐานนี้พี่ขอกลาวถึงเพียง แนว โนมของรัศมีอะตอม ความวองไวของปฏิกิริยา IE และ EN นะนองๆ โดยคําวาแนวโนมตามตารางธาตุ เราจะดูแนวโนม 2 อยางนะ คือ แนวโนมตามหมู และแนวโนมตามคาบ 5.1 แนวโนมของรัศมีอะตอมตามตารางธาตุ เล็กลง

ใหญขึ้น

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

63


กอนอื่นนองตองเขาใจกอนวารัศมีอะตอม มีอะไรเปนปจจัยสําคัญ..? ปจจัยสําคัญก็คือ ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ยิ่งมีระดับพลังงานมาก อะตอมก็จะมีรัศมีมาก จริงไหม? สําหรับรัศมีอะตอม หรือเรียกงายๆวา ขนาดของอะตอม ถาเปนตามคาบ มันจะเล็กลง เพราะ ในคาบเดียวกันมี จํานวนระดับพลังงานเทากันแตจํานวนโปรตอน (ประจุบวก) เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามคาบ เลยทําใหโปรตอนที่เพิ่มขึ้นมีแรงดึงดูด ทําใหระดับพลังงานมันมาอยูใกลๆ กันมากขึ้น แตถาเปนตามหมู ระดับพลังงานมันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ก็เลยทําใหอะตอมใหญขึ้นดวย นองบางคนอาจจะสงสัยวา “อาว ก็ตามหมู โปรตอนมันก็เพิ่มขึ้น แลวเราสรุปไดไงวามันจะใหญขึ้น” จําไวนะนองๆ ระดับพลังงานมันเปนปจจัยที่สําคัญกวา หมายความวา การเพิ่มขึ้นของระดับพลังงานมีอิทธิพลตอขนาดของอะตอมมากกวาการเพิ่มขึ้นของจํานวนโปรตอน 5.2 แนวโนมของความวองไวของปฏิกิริยาตามตารางธาตุ ลดลง เพิ่มขึ้น

เพิ่มขึ้น

เพิ่มขึ้น สําหรับเรื่องความวองไวของปฏิกิริยาเคมี พี่ขอเรียกวา “ความเกง” ก็แลวกัน ซึ่งความเกง เราไมสามารถเหมารวม ทั้งตารางธาตุได เพราะในตารางธาตุเราแบงออกเปน โลหะ กับอโหละ ซึ่งทั้งโลหะและอโหละตางก็มีความเกงตางกัน เหมือนผูชายกับผูหญิง เรามาเปรียบเทียบกันไมได เพราะฉะนั้นเราเลยตองแยกกันคิด สําหรับโลหะ (เสนทึบ) ความวองไวของปฏิกิริยาจะลดลงตามคาบ และเพิ่มขึ้นตามหมู แตถาเปนอโลหะ (เสนประ) ความวองไวของปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นตามคาบ (ตั้งแตหมู IV ถึงหมู VIIA ที่เราไมรวมถึงหมู VIIIA เพราะมันเปนแกสเฉื่อยนะ ไมวองไวอยูแลว) และเพิ่มขึ้นตามหมู เชนเดียวกันกับโลหะ 5.3 แนวโนมของพลังงานไอออไนเซชัน (IE) ตามตารางธาตุ เพิ่มขึ้น

ลดลง

64

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


IE หรือพลังงานที่นอยที่สุดที่ธาตุรับเขาไปแลวอิเล็กตรอนจะหลุดออกมา นองๆลองคิดตามนะ ธาตุที่อิเล็กตรอนหลุด งายๆ (เปนไอออนบวกไดงาย) ควรจะเปนธาตุจําพวกไหน .... ก็ควรจะเปนโลหะจริงไหม? สวนธาตุจําพวกอโลหะอิเล็กตรอน มันหลุดยากใชปาว (เปนไอออนลบไดงาย) เพราะฉะนั้นถาเปนโลหะ อิเล็กตรอนมันหลุดไดงาย IE มันก็ตองนอย แตอโลหะ อิเล็กตรอนมันหลุดยาก IE มันก็ตองมาก ดังนั้นตามคาบ IE มันก็ตองเพิ่มขึ้น สวนตามหมู IE มันจะลดลง เพราะวาอะตอมมี ขนาดใหญขึ้น แรงดึงดูดที่มีตออิเล็กตรอนมันก็นอย ดังนั้นอิเล็กตรอนมันก็หลุดไดงาย ก็คือ IE นอย 5.4 แนวโนมของอิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN) ตามตารางธาตุ เพิ่มขึ้น

ลดลง แนวโนมของ EN นองก็ใชความเขาใจนะวา EN มันคือความสามารถในการรับอิเล็กตรอน ธาตุโลหะมันไมรับ อิเล็กตรอนอยูแลว สวนอโลหะก็รับอิเล็กตรอนเกง ดังนั้นตามคาบแนวโนมก็ตองเพิ่มขึ้น สวนถาเปนตามหมู เหตุผลก็คลายๆ กับ IE นะ ก็คือ อะตอมมันใหญขึ้น แรงที่มันจะไปดึงอิเล็กตรอนภายนอกเขามา มันก็นอย ดังนั้นธาตุที่อยูลางๆ ของตาราง ธาตุก็รับอิเล็กตรอนไมเกง เพราะฉะนั้นแนวโนมของ EN ตามหมู ก็เลย ลดลง 6. ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive element) ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่มีความไมเสถียรสูง ปลดปลอยพลังงานในรูปรังสีออกมาไดเพื่อใหมีความเสถียรมากขึ้น โดยการแผรังสีออกมานั้น อาจจะไดธาตุใหมหรือไมก็ได โดยเราจะเรียกรังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีแผรังสีออกมาไดนั้นวา “กัมมันตภาพรังสี” เพราะฉะนั้นใชใหถูก ระหวางคําวา “กัมมันตรังสี” กับ “กัมมันตภาพรังสี” 6.1 รังสีที่ควรรูจัก , ) เปนนิวเคลียสของธาตุ He ซึ่งเสียอิเล็กตรอนไป 2 ตัว ดังนั้นจึงมีประจุเปน +2 รังสีแอลฟามี รังสีแอลฟา ( อํานาจทะลุทะลวงตํ่า มีพลังงานนอยเพราะแตกตัวไดดี เพียงกระดาษแผนเดียวก็กั้นแอลฟาได รังสี แอลฟา เบตา โพซิตรอน แกมมา โปรตอน ดิวเทอรอน ตริตอน นิวตรอน

สัญลักษณ

,

β+

0 −1 e

,

0 +1 e

รังสีเบตา ( , ) เปนอนุภาคที่มีสมบัติเหมือน อิเล็กตรอน มีประจุ -1 มีอํานาจทะลุทะลวงมากกวา แอลฟาประมาณ 100 เทา แตกตัวไดนอยกวาแอลฟา เบตาสามารถผานแผนโลหะบางๆได เชน แผนตะกั่ว 1 mm แผนอลูมิเนียม 5 mm

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

65


รังสีแกมมา เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก ความถี่สูง ดังนั้นพลังงานจึงสูงดวย ไมมีมวล ไมมี ประจุ เปนพลังงาน มีอํานาจทะลุลวงสูงที่สุด ผานไม โลหะ เนื้อเยื่อได แตผานคอนกรีตหรือตะกั่วหนาไมได ขอสังเกตนะ นองๆ รังสีแกมมาเปนพลังงาน เลยไมมีสัญลักษณของธาตุเหมือนกับรังสีอื่น “ถานองจําไดก็จะดีมากเลยนะ เพราะวาเดี๋ยวมันจะเอาไปใชในเรื่อง สมการนิวเคลียร” 6.2 สมการนิวเคลียร สมการนิวเคลียรเปนไง?? .... สิ่งที่จะออกขอสอบในหัวขอนี้ก็งายมากๆ นองก็แคดุลสมการนิวเคลียร ซึ่งเดี๋ยวพี่จะ สอนวาตองทําไง หลักการดุลสมการนิวเคลียร

ผลรวมของเลขมวลและเลขอะตอมของสารตั้งตนและผลิตภัณฑตองเทากัน ตัวอยางโจทย ……………. 1. 2. ……………. พี่เฉลยขอ 1 กอนนะ นองก็ตองดูวา ฝงสารตั้งตน In ที่มีเลขอะตอม 49 และมวล 116 เปลี่ยนไปเปน Sn ที่มีเลขอะตอม 50 และเลขมวล 116 เราเทียบกันทีละอยาง (เทียบมวลกับมวล เทียบเลขอะตอมกับเลขอะตอม) จะเห็นไดวาเลขมวลไมเปลี่ยน และเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แสดงวารังสีที่เปนคําตอบตองเปน , −01 e สวนขอที่ 2 เราคิดทีละอยางรวมเลขมวลกอน ฝงสารตั้งตนได 24 เลขอะตอมฝงสารตั้งตนได 12 ทีนี้ฝงผลิตภัณฑ (อนุภาคแอลฟา) มีเลขมวลแลว 4 และเลขอะตอม 2 ดังนั้นธาตุที่เกิดขึ้นก็ตองเปนธาตุที่มีเลขมวล 20 และเลขอะตอม 10 สมมติเปนธาตุ X แลวกันนะ สมมติวาเราไมรูวาธาตุอะไร นองก็อาจจะเขียนไดเปน 6.3 ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี (Half-life) เนื่องจากธาตุกัมมันตรังสี เปนธาตุที่ไมเสถียร ตองปลดปลอยพลังงานในรูปของรังสีออกมาตลอดเวลา ก็เลยทําให มวลของธาตุมันจะลดไปเรื่อยๆ ครึ่งชีวิต (Half–life) ใชสัญลักษณเปน คือ ระยะเวลาที่ทําใหธาตุกัมมันตรังสีมีมวลเหลือครึ่งเดียวจากตอนเริ่มตน เชน ธาตุ X มี 100 กรัม ผานไป 10 วัน เหลืออยู 50 กรัม เราจะเรียกวา “ธาตุ X มีครึ่งชีวิตเปน 10 วัน” ถาเราลองมาดูกราฟ การลดลงของมวลของธาตุกัมมันตรังสีก็จะไดดังรูปดานลางนี้ จากกราฟนี้ นองจะเห็นวาเดิมมีอยู 10 กรัม และพอลดลงเหลือ 5 กรัม (ครึง่ หนึง่ ของ 10) ใชเวลา 25 ป และใชเวลาอีก 25 ป ก็จะลดเหลือ 2.5 กรัม (ครึ่งหนึ่ง ของ 5) เปนอยางนี้ไปเรื่อยๆ เราก็เรียก วาธาตุนี้มีครึ่งชีวิตเปน 25 ป

66

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


การคํานวณครึ่งชีวิต การคํานวณครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ไมใชเรื่องยาก มีอยูสูตรเดียวเอง ซึ่งสูตรก็คือ เมื่อ n คือ จํานวนครั้งที่ผานครึ่งชีวิต

คําวา “จํานวนครั้งที่ผานครึ่งชีวิต” นองงงกันไหม? ... ยกตัวอยางเชน ธาตุ X มีครึ่งชีวิต 10 ป ถาผานไปแลว 40 ป ก็แสดงวาผานครึ่งชีวิตมาแลว 4 ครั้ง ตัวอยางขอสอบ ธาตุกัมมันตรังสี X มีครึ่งชีวิตเทากับ 5,000 ป นักธรณีวิทยาคนพบซากของพืชโบราณที่มี ปริมาณธาตุกัมมันตรังสี X เหลืออยูเพียง 6.25% ของปริมาณเริ่มตน พืชโบราณนี้มีชีวิตประมาณกี่ ปมาแลว 1. 10,000 ป 2. 15,000 ป 3. 20,000 ป 4. 25,000 ป เฉลย ขอ 3. นองๆ ก็ลองใชสูตรที่เรียนไปเลยนะ โดยในที่นี้เขาไมไดกําหนดมาใหวาเริ่มตนมี X กี่กรัม แตเขาใหมาวาพบ 6.25% เราก็สมมติวาเริ่มตนมี 100% ก็แลวกัน ก็ลองไปแทนสูตร ไดเปน ก็ยายขางคํานวน ได n เทากับ 2n =16 นองก็ลองคิดซิวา 2 ยกกําลังอะไรได 16 ซึ่งก็ คือ 4 เพราะ 24 = 16 เพราะฉะนั้น n = 4 หมายความวา ผานครึ่งชีวิตมา 4 รอบ ดังนั้นพืชโบราณ นี้ก็มีอายุ 4 x 5,000 ป = 20,000 ป วิธีการตรวจสอบกัมมันตรังสี 1. ใชฟลมตรวจสอบ นําฟลมถายรูปไปหุมสารที่ตองการตรวจสอบในที่ที่ไมมีแสง นําฟลมไปลาง หากมีรอยจุดสีดํา แสดงวาวัตถุนั้นแผรังสีได 2. ใหนําสารที่คิดวาเปนสารกัมมันตรังสีเขาใกลสารเรืองแสง หากเปนสารกัมมันตรังสีจะเกิดการเรืองแสงขึ้น 3. เครื่องไกเกอรมูลเลอรเคานเตอร เมื่อรังสีเขาไปในเครื่องวัด จะไปกระทบกับ Ar ซึ่งทําใหแตกตัวเปน Ar+ ทําใหเกิด ความตางศักย เกิดกระแสไฟฟา และเครื่องจะแปลผลออกมาแสดงที่หนาปด เครื่องไกเกอรมูลเลอรเคานเตอร

ที่มา : radioactive-601.blogspot.com

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

67


ปฏิกิริยานิวเคลียร (Nuclear reaction) เปนปฏิกิริยาที่เปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอมแลวไดธาตุใหมเกิดขึ้น และใหพลังงานมหาศาล ปฏิกิริยา นิวเคลียรมี 2 ประเภท ไดแก 1. ปฏิกิริยาฟชชัน (Fission reaction) คือปฏิกิริยานิวเคลียรที่เกิดจากการยิงนิวตรอนเขาไปในนิวเคลียสธาตุหนัก ทําใหแตกออกไดธาตุเล็กลง และไดนิวตรอนออกมาอีก 2-3 อนุภาค (ฟช แปลวา แตกออก) มนุษยเราก็นําความรูเรื่อง ปฏิกิริยาฟชชันมาใชเชน การผลิตไฟฟาในโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ลองดูรูปใหเขาใจมากขึ้นนะ จากรูปนองๆ จะเห็นวา เดิมมีธาตุใหญๆ อยูธาตุ หนึ่ง และก็ยิงอนุภาคนิวตรอนเขาไป ทําใหธาตุ ใหญนนั้ แตกออกเปนอีก 2 ธาตุ และก็ไดนวิ ตรอน หลุดออกมาอีก และนิวตรอนทีห่ ลุดมาก็จะไปชน ธาตุ ทําใหแตกออกไปเรื่อยๆ เราเรียกลักษณะ ปฏิกิริยาแบบนี้วา “ปฏิกิริยาลูกโซ (chain reaction)” เพราะมันไมจบไมสนิ้ มันจะเปนอยางนีต้ อ ไปเรื่อยๆ 2. ปฏิกิริยาฟวชัน (fusion reaction) ปฏิกิริยานิวเคลียรที่นิวเคลียสของธาตุเบามา รวมกันเปนธาตุที่หนักขึ้น แตเนื่องจากเวลาเกิด ธาตุใหมขึ้น ตามหลักการมวลของธาตุหนักมัน ควรจะเทากับมวลของธาตุเล็กๆ ทีม่ ารวมกันจริง ไหม? แตปรากฏวามวลของธาตุหนักที่เกิดขึ้น ใหม นอยกวาผลรวมกันของมวลของธาตุเบา 2 ธาตุ ซึง่ มวลทีม่ นั หายไปนัน้ เอง มันเปลีย่ นไปเปน พลังงานทีป่ ลดปลอยออกมา ปฏิกริ ยิ าแบบนีเ้ กิด ขึ้นในดวงอาทิตยนะ การนํากัมมันตรังสีไปใชประโยชน - I-131 ใชตรวจสอบความผิดปกติของตอมไทรอยด - Na-24 ใชตรวจสอบการไหลเวียนของโลหิต - Co-60 รักษาโรคมะเร็ง ถนอมอาหาร - Ra-226 รักษาโรคมะเร็ง - U-238, Pu-239 ใชผลิตไฟฟาในโรงไฟฟา นิวเคลียร - C-14 หาอายุของวัตถุโบราณ ซากดึกดําบรรพ

68

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ที่มา: www.plasma.inpe.br


โทษของสารกัมมันตรังสี หากไดรับรังสีเขาสูรางกายจะมีผลทําใหการสรางเซลลใหมในรางกายมนุษยเกิดการกลายพันธุ โดยเฉพาะเซลล สืบพันธุ สวนผลที่ทําใหเกิดความปวยไขจากรังสี เนื่องจากเมื่ออวัยวะสวนใดสวนหนึ่งของรางกายไดรับรังสี โมเลกุลของธาตุ ตางๆ ที่ประกอบเปนเซลลจะแตกตัว ทําใหเกิดอาการปวยไขได

นองๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่

Tag : สอนศาสตร เคมี เคมีอินทรีย สารชีวโมเลกุล กรด กรดนิวคลีอีก ไขมัน

• 03 : พันธะไอออนิก และพันธะโลหะ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-1

• 04 : พันธะโคเวเลนต http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-2

• 05 : สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-3

• 06 : ปริมาณสารสัมพันธ :โมลและสารละลาย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-4

• 07 : ปริมาณสารสัมพันธ : สมการเคมี http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-5

• สอนศาสตร เคมี ม.ปลาย : พันธะเคมี http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-6

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

69


• สมบัติของธาตุตามหมู http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-7 • ธาตุและสารประกอบ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-8

• ธาตุและสารประกอบ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-9

• ธาตุและสารประกอบ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-10

• เคมี ม.ปลาย - พันธะเคมี ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-11

• เคมี ม.ปลาย - พันธะเคมี ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch3-12

70

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่ 4

เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (Fossil)

Introduction

แมวาชื่อของบทๆ นี้ จะดูสะเทือนใจสําหรับคนมีอายุเล็กนอย แตบทนี้มีเสนหของมันอยูเล็กๆ เสนหของมันก็คือ ทองจําแหลก กอนอื่นเลย มารูจักกับคําวา เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ หรือ บางคนอาจเคยไดยินคําวา อินทรียวัตถุกันกอนดี กวา เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพหรืออินทรียวัตถุเปนเชื้อเพลิงพื้นฐานในการดํารงชีวิตที่สําคัญ ซึ่งเกิดจากการทับถมกันมาเปน เวลานานนับหลายลานป ดวยอุณหภูมิและความดันสูง จึงเกิดการยอยสลายผานกระบวนการหลายขั้นตอนและแปลงสภาพ ไป ซึ่งนองๆรูรึเปลาวา เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพนี้สามารถแบงไดหลากหลายประเภท

Outlines

1. ถานหิน 2. หินนํ้ามัน 3. ปโตรเลียม 4. ปโตรเคมีภัณฑ 5. มลพิษจากปโตรเคมีภัณฑ

ประเภทของเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ สามารถแบง ไดเปน 3 ประเภท 1. ถานหิน (Coal) กําเนิดมาจากซากพืช ในภาวะที่มีออกซิเจน อย า งจํ า กั ด หรื อ ไม มี อ อกซิ เ จนเลย จากนั้ น จึ ง เกิ ด การ เปลี่ยนแปลงอยางชาๆ จนกลายมาเปนถานหิน ซึ่งนองเชื่อไหม วา ถานหินนี้เปนหินตะกอนชนิดหนึ่งที่สามารถใชเปนแรเชื้อ เพลิงและทําใหตดิ ไฟได และมีลกั ษณะเปนหินสีนาํ้ ตาลออนจนถึง สีดํา มีทั้งชนิดผิวมันและผิวดาน นํ้าหนักเบา และประกอบไป ดวยธาตุที่สําคัญหลายธาตุ อาทิ คารบอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน และกํามะถัน นอกจากนี้ยังมีธาตุหรือสารอื่น เชน ปรอท โครเมียม ทองแดง นิกเกิล สารหนู และซิลีเนียม เจือปน อยูเล็กนอยดวย ซึ่งรูไหมวา เมื่อนองๆนําถานหินไปใชเปนเชื้อ เพลิงสารที่เจือปนอยูนี้จะสามารถสงผลตอปญหาสุขภาพของ นองๆ และสิ่งแวดลอมไดดวยนะ โดยถานหินที่มีคุณภาพดีจะมี จํานวนคารบอนสูงและมีธาตุอื่นๆ ตํ่า เมื่อนํามาเผาจะใหความ รอนมาก ซึ่งสามารถแบงถานหินไดเปน 5 ประเภท มีอะไรบาง เรามาดูกัน

รูปแสดงประเภทตางๆ ของถานหิน (ที่มา : http://energyearth.co.th/product?lang=th)

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

71


1) พีต (Peat) ขั้นแรกในกระบวนการเกิดถานหิน เปนซากพืชบางสวนที่ไดสลายตัวไปแลวสามารถใชเปนเชื้อเพลิงได แตมีความชื้นมาก 2) ลิกไนต (Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยูเล็กนอย มีความชื้นมาก เปนถานหินที่ใชเปนเชื้อเพลิง แตจะมีควันและเถา ถานมาก นิยมใชในการผลิตไฟฟา 3) ซับบิทมู นิ สั (Subbituminous) เปนถานหินทีม่ ปี ริมาณออกซิเจนและความชืน้ ตํา่ แตมปี ริมาณคารบอนสูงกวาลิกไนต ใชเปนแหลงพลังงานสําหรับผลิตไฟฟาและงานอุตสาหกรรม 4) บิทูมินัส (Bituminous) เปนถานหินเนื้อแนน แข็ง มีสีดํามันวาว ใชเปนเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ 5) แอนทราไซต (Anthracite) มีอายุการเกิดนานที่สุด ลักษณะเปนสีดํา เนื้อแนน แข็งและเปนมัน มีปริมาณออกซิเจน และความชืน้ ตํา่ แตมปี ริมาณคารบอนสูงกวาถานหินชนิดอืน่ แมจะจุดไฟติดยาก แตเมือ่ ติดไฟจะมีควันนอยใหความรอนสูง อีก ทั้งไมมีสารอินทรียระเหยออกมาจากการเผาไหม จึงจัดวาเปนถานหินที่ใหความรอนไดดีที่สุด ประโยชนและโทษของถานหิน ถานหินถือเปนผลผลิตที่ไดจากธรรมชาติ และมีประโยชนอยูมากมายทีเดียว นองๆ รูรึเปลาวา แหลงถานหินใน ประเทศไทยสามารถพบไดในทั่วทุกภาคของประเทศไทยเลย แตสวนใหญจะอยูในเขตภาคเหนือซึ่งจะมีคุณภาพเปนขั้นลิกไนต และซับบิทูมินัส จึงใหความรอนไมสูงนักซึ่งนํามาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา การถลุงโลหะ ผลิตปูนซีเมนต ผลิต ถานกัมมันต การบมใบยาสูบ การผลิตอาหารอีกทั้งยังสามารถนํามาทําถานสังเคราะหเพื่อดูดซับกลิ่น หรือการทําคารบอนด ไฟเบอรที่เปนวัสดุแข็งและเบาไดดวย สวนโทษของถานหิน เมื่อเกิดการเผาไหมจะทําใหเกิดแกสที่เปนมลพิษทางอากาศหลายชนิด ไดแก CO2, CO, SO2และ NO ซึ่งกาซเหลานี้นองๆทราบอยูแลวใชไหมวา เปนปจจัยของภาวะเรือนกระจกที่สงผลเสียตอโลกของเราอยางมากมาย **เกร็ดความรูเพิ่มเติม** ภาวะเรือนกระจก คือ ภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกยอมใหรังสีผานลงมายังผิวโลกได อีกทั้งจะดูดกลืนรังสีคลื่นยาว ชวงอินฟราเรดทีแ่ ผออกจากพืน้ ผิวโลกเอาไวและก็จะคายพลังงานความรอนใหกระจายซํา้ ไปซํา้ มาอยูภ ายในชัน้ บรรยากาศและ พื้นผิวโลก ซึ่งผลกระทบที่ตามมานั้น สงผลโดยตรงตอสภาพภูมิอากาศของโลก และสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอยางมากมาย นองๆ รูหรือไม!? ในภาวะปกติของชั้นบรรยากาศของโลกนั้น จะประกอบดวย โอโซนไอนํ้าและกาซชนิดตางๆ ซึ่งทํา หนาทีก่ รองรังสีบางชนิดใหผา นมาตกกระทบพืน้ ผิวโลกโดยรังสีทตี่ กกระทบพืน้ ผิวโลกนีจ้ ะสะทอนกลับออกนอกชัน้ บรรยากาศ ไปสวนหนึง่ และทีเ่ หลือพืน้ ผิวโลกทีป่ ระกอบดวยพืน้ นํา้ พืน้ ดิน และสิง่ มีชวี ติ จะดูดกลืนเอาไวหลังจากนัน้ ก็จะคายพลังงานออก มาในรูปรังสีอนิ ฟราเรดแผกระจายขึน้ สูช นั้ บรรยากาศและแผกระจายออกนอกชัน้ บรรยากาศไปอีกสวนหนึง่ ผลทีเ่ กิดขึน้ คือทําให โลกสามารถ รักษาสภาพสมดุลทางอุณหภูมิไวไดจึงมีวัฏจักรนํ้า อากาศ และฤดูกาลตางๆ ดําเนินไปอยางสมดุลเอื้ออํานวยตอ การดํารงชีวิตพืชและสัตวโลกจึงเปรียบเสมือนเรือนปลูกพืชขนาดใหญที่มีไอนํ้าและกาซตางๆ ทั้งนี้ชั้นบรรยากาศมีลักษณะ คลายกับกระจกที่คอยควบคุมอุณหภูมิ และวัฏจักรตางๆ บนโลกใหเปนไปอยางสมดุลแตสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ชั้นบรรยากาศ ของโลกมีปริมาณกาซบางชนิดทีม่ ากเกินไปซึง่ เปนปจจัยทีท่ าํ ใหเสียสมดุลของธรรมชาติ ซึง่ กาซทีม่ ผี ลกระทบตอภาวะโลกรอน มีหลายชนิด อาทิ ไอนํ้า (H2O) นองเชื่อหรือไม วาไอนํ้าเปนกาซเรือนกระจกที่มีมากที่สุดบนโลก โดยมีอยูในอากาศประมาณ 0 - 4% เลยทีเดียว ขึ้นอยูกับลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และอุณหภูมิเชน ในบริเวณเขตรอนใกลเสนศูนยสูตรและ ชายทะเลจะมีไอนํ้าอยูมากสวนในบริเวณเขตหนาวแถบขั้วโลกอุณหภูมิตํ่าจะมีไอนํ้าในบรรยากาศเพียงเล็กนอย ไอนํ้าเปนสิ่งจําเปนตอสิ่งมีชีวิตอีกทั้ง เปนสวนหนึ่งของวัฏจักรนํ้าในธรรมชาติ นอกจากนี้ นํ้าสามารถเปลี่ยนสถานะ ไปมาทั้ง 3 สถานะ จึงเปนตัวพาและกระจายความรอนแกบรรยากาศและพื้นผิว

72

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) เปนกาซอีกชนิดหนึ่งที่พี่เชื่อวานองๆคงรูจักกันมาตั้งแตเด็ก ซึ่งในยุคเริ่มแรกของ โลกและระบบสุ ริ ย ะ มี ก  า ซคาร บ อนไดออกไซด ใ นบรรยากาศถึ ง 98% กั น เลยที เ ดี ย ว เนื่ อ งจากดวงอาทิ ต ย ยังมีขนาดเล็กและแสงอาทิตยยังไมสวางเทาทุกวันนี้จึงทําใหกาซคารบอนไดออกไซดชวยทําใหโลกอบอุนเหมาะ สําหรับเปนถิ่นที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตเมื่อเวลาผานไป ดวงอาทิตยมีขนาดใหญขึ้นและนํ้าฝนนี่เองที่เปนตัวการ ในการละลายกาซคารบอนไดออกไซดในอากาศลงมายังพื้นผิวแพลงกตอนและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กบางชนิด รวมถึง พืชบางชนิดมีความสามรถในการตรึงกาซคารบอนไดออกไซดในอากาศ และมาสรางเปนอาหารโดยการสังเคราะห ดวยแสง ทําใหภาวะเรือนกระจกลดลง ธรรมชาติของกาซคารบอนไดออกไซดเกิดขึ้นจากการหลอมละลายของ หินปูนซึ่งโผลขึ้นมาจากปลองภูเขาไฟ และการหายใจของสิ่งมีชีวิต กาซคารบอนไดออกไซดมีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเผาไหมในรูปแบบตาง ๆเชน การเผาไหมเชื้อเพลิง โรงงานอุตสาหกรรม การเผาปาเพื่อใชพื้นที่ สําหรับอยูอาศัยและการทําปศุสัตว เปนตน โดยการเผาปาเปนการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดขึ้นสูชั้นบรรยากาศ ไดโดยเร็วที่สุดเนื่องจากตนไมมีคุณสมบัติในการตรึงกาซคารบอนไดออกไซดไวกอนที่จะลอยขึ้นสูชั้นบรรยากาศ ดังนั้นเมื่อพื้นที่ปาลดนอยลงกาซคารบอนไดออกไซดจึงลอยขึ้นไปสะสมอยูในบรรยากาศไดมากยิ่งขึ้นและทําให พลังงานความรอนสะสมบนผิวโลกและในบรรยากาศเพิ่มขึ้นประมาณ 1.56 วัตต /ตารางเมตร(ซึ่งยังไมรวมผล ทางออมที่จะเกิดขึ้น) แลวนองๆ ทราบกันหรือเปลาวาปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดมาจากประเทศใดมากที่สุด จากผลสํารวจเรียงจากมากไปหานอยก็คือตั้งแตป ค.ศ.1950 10 อันดับแรกก็คือ 1.สหรัฐอเมริกา 2. สหภาพยุโรป 3. รัสเซีย 4. จีน 5. ญี่ปุน 6. ยูเครน 7. อินเดีย 8. แคนาดา 9. โปแลนด 10. คาซัคสถาน เปนตน ก า ซมี เ ทน (CH 4 ) ก า ซชนิ ด นี้ เ กิ ด ขึ้ น จากการย อ ยสลายของซากสิ่ ง มี ชี วิ ต แม ว  า ในอากาศจะมี เ พี ย ง 1.7 ppm แตกาซมีเทนมีคุณสมบัติของกาซเรือนกระจกสูงกวากาซคารบอนไดออกไซดในปริมาณที่เทากัน หรือ พูดงายๆก็คือ กาซมีเทนสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรดไดดีกวากาซคารบอนไดออกไซด กาซมีเทนมีปริมาณ เพิ่มขึ้นเนื่องจากการทํานาขาว การทําปศุสัตวการเผาไหมมวลชีวภาพ การเผาไหมเชื้อเพลิงประเภทถานหิน นํ้ามัน และก า ซธรรมชาติ ซึ่ ง น อ งๆเชื่ อ หรื อ ไม ว  า การเพิ่ ม ขึ้ น ของก า ซมี เ ทนนั้ น จะส ง ผลกระทบโดยตรงต อ ภาวะ เรือนกระจกมากเปนอันดับ 2 รองจากกาซคารบอนไดออกไซดเลยทีเดียว กาซไนตรัสออกไซด (N2O) โดยทั่วไป กาซชนิดนี้เกิดจากการยอยสลายซากสิ่งมีชิวิตโดยแบคทีเรีย แตสาเหตุที่ ทําใหปริมาณกาซไนตรัสออกไซดเพิ่มสูงขึ้นในปจจุบันนั้นมาจากอุตสาหกรรมที่ใชกรดไนตริกในกระบวนการผลิต เช น อุ ต สาหกรรมผลิ ต เส น ใยไนลอน อุ ต สาหกรรมเคมี แ ละพลาสติ ก บางชนิ ด เป น ต น ซึ่ ง น อ งๆรู  ไ หมว า ก า ซไนตรั ส ออกไซด ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ส ง ผลกระทบโดยตรงต อ การเพิ่ ม พลั ง งานความร อ นที่ ส ะสมบนพื้ น ผิ ว โลก และ หากลอยขึ้นสูบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟยรมันจะทําปฏิกิริยากับกาซโอโซนทําใหเกราะปองกันรังสีอัลตราไวโอเล็ต ของโลกลดนอยลงอีกดวย สารประกอบคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFC) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “ฟรีออน Freon” สารวายรายตัวการในการ เกิ ด ภาวะโลกร อ น ซึ่ ง สารชนิ ด นี้ ไ ม ไ ด เ กิ ด ขึ้ น เองตามธรรมชาติ แ ต เ กิ ด จากชี วิ ต ประจํ า วั น ของน อ งๆ นั่ น แหละ สารชนิดนี้มีแหลงกําเนิดมาจากโรงงานอุตสาหกรรมและอุปกรณเครื่องใชในชีวิตประจําวัน เชน ตูเย็น เครื่องปรับ อากาศและสเปรย เปนตน สาร CFC นี้มีองคประกอบเปนคลอรีนฟลูออไรด และโบรมีน ซึ่งความสามารถของมัน นั้นรายแรงมาก เพราะมีความสามารถในการทําลายโอโซนที่เปนชั้นบรรยากาศของนองๆ นั่นเอง ปกติแลว สาร CFC ในบริ เ วณพื้ น ผิ ว โลกจะทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ สารอื่ น แต เ มื่ อ มั น ดู ด กลื น รั ง สี อุ ล ตราไวโอเล็ ต ในบรรยากาศชั้ น สตราโตสเฟยรโมเลกุลจะแตกตัวใหคลอรีนอะตอมเดี่ยว และทําปฏิกิริยากับกาซโอโซนเกิดกาซคลอรีนโมโนออกไซด (ClO) และกาซออกซิเจน นองๆอาจจะคิดวา ถาคลอรีนจํานวน 1 อะตอมสามารถทําลายกาซโอโซน 1 โมเลกุล ก็คงไมนาจะเปนปญหาอะไรแตพี่จะบอกวามันไมใชอยางที่นองๆคิด เพราะวาคลอรีน 1 อะตอม สามารถทําลาย

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

73


กาซโอโซน 1 โมเลกุล ไดนับพันครั้งเนื่องจากเมื่อคลอรีนโมโนออกไซดทําปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยวแลว จะสามารถเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้งและเกิดเปนปฏิกิริยาลูกโซไปเรื่อยๆเชนนี้ จึงเปนการทําลายโอโซน อยางตอเนื่องแมวาปจจุบันนี้ จะมีการจํากัดการใชกาซประเภทนี้ใหนอยลง แตปริมาณของสารคลอโรฟลูออโร คารบอนยังคงสะสมอยูในชั้นบรรยากาศไมสูญหายไปไหน อีกทั้งยังเปนตนเหตุที่ทําใหมีพลังงานความรอนสะสม บนพื้นผิวโลกเพิ่มขึ้นอีกดวย โอโซน (O3) เปนกาซที่ประกอบดวยธาตุออกซิเจนจํานวน 3 โมเลกุล มีอยูเพียง 0.0008% ในบรรยากาศ โอโซนมีอายุอยูในอากาศไดเพียง 20 - 30 สัปดาหแลวก็สลายตัว โอโซนเกิดจากกาซออกซิเจน (O2) ดูดกลืน รั ง สี อุ ล ตราไวโอเล็ ต แล ว แตกตั ว เป น ออกซิ เ จนอะตอมเดี่ ย ว (O) จากนั้ น ออกซิ เ จนอะตอมเดี่ ย วรวมตั ว กั บ กาซออกซิเจนและโมเลกุลชนิดอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลาง แลวใหผลผลิตเปนกาซโอโซนออกมา นองๆ อาจจะสงสัย วาที่ผานมากลาววา โอโซนชวยปองกันรังสีที่มายังโลก แลวทําไมถึงเปนปจจัยหนึ่งใหเกิดสภาวะโลกรอนขึ้นได คําตอบนั้นก็คือ กาซโอโซนมี 2 บทบาท หรือ พูดงายๆ เปนทั้งพระเอก และผูรายในกาซชนิดเดียวกัน ขึ้นอยูกับวา ระดั บ ชั้ น บรรยากาศที่ อ ยู  นั้ น อยู  ชั้ น ไหน ซึ่ ง โอโซนที่ อ ยู  ใ นชั้ น สตราโตสเฟ ย ร จ ะทํ า หน า ที่ ทํ า หน า ที่ ก รองรั ง สี อุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตยออกไป 99% กอนถึงพื้นโลก เพราะหากรางกายมนุษยไดรับรังสีนี้มากเกินไป จะทํ า ให เ กิ ด มะเร็ ง ผิ ว หนั ง ส ว นจุ ลิ น ทรี ย  ข นาดเล็ ก อย า งเช น แบคที เ รี ย ก็ จ ะถู ก ฆ า ตาย ส ว นโอโซนที่ อ ยู  ใ น ชั้ น โทรโพสเฟ ย ร มี คุ ณ สมบั ติ เ ป น ก า ซเรื อ นกระจกมากที่ สุ ด ซึ่ ง จะดู ด กลื น รั ง สี อิ น ฟราเรดทํ า ให เ กิ ด พลั ง งาน ความร อ นสะสมบนพื้ น ผิ ว โลก โอโซนในชั้ น นี้ เ กิ ด จากการเผาไหม ม วลชี ว ภาพและการสั น ดาปของเครื่ อ งยนต ส ว นใหญ เ กิ ด ขึ้ น จากการจราจรติ ด ขั ด เครื่ อ งยนต เครื่ อ งจั ก รและโรงงานอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ปะปนอยู  ในหมอกควัน นั่นเอง ฯลฯ อาทิ กาซไฮโดรฟลูโรคารบอน (HFCS) กาซเปอรฟลูโรคารบอน (CFCS) และกาซซัลเฟอรเฮกซาฟลูโอโรด (SF6) เปนตน ผลกระทบจากภาวะโลกรอนหลักๆที่นองควรทราบมี 2 อยางไดแก ปรากฏการณเอลนิโญ ปรากฏการณนี้ ทําใหเกิดการกอตัวของเมฆและฝนเหนือนานนํ้าบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียง ใตจะลดลงและจะขยับไปทางตะวันออก ทําใหบริเวณตอนกลางและตะวันออกของแปซิฟก เขตศูนยสตู รรวมทัง้ ประเทศเปรูและ ประเทศเอกวาดอรมีปริมาณฝนมากกวาคาเฉลี่ย ขณะที่มีความแหงแลงเกิดขึ้นที่อินโดนีเซียอีกทั้งบริเวณเขตรอนของ ออสเตรเลีย (พืน้ ทีท่ างตอนเหนือ) มักจะเริม่ ฤดูฝนลาชานอก จากนีย้ งั มีความเกีย่ วของเชือ่ มโยงกับความผิดปกติของภูมอิ ากาศ ในพืน้ ทีซ่ งึ่ อยูห า งไกลดวยเชน ความแหงแลงทางตอนใตของแอฟริกา ในฤดูหนาวและฤดูรอ นของซีกโลกเหนือ (ระหวางเดือน ธันวาคม – กุมภาพันธ และ เดือนมิถุนายน – สิงหาคม) รูปแบบของฝนและอุณหภูมิหลายพื้นที่ผิดไปจากปกติดวย เชนในฤดู หนาวบริเวณตะวันออกเฉียงใตของแอฟริกาและตอนเหนือของประเทศบราซิลแหงแลงผิดปกติ ขณะทีท่ างตะวันตกของประเทศ แคนาดา และตอนบนสุดของอเมริกามีอุณหภูมิสูงผิดปกติ สวนบางพื้นที่บริเวณกึ่งเขตรอนของอเมริกาเหนือและอเมริกาใต บราซิลตอนเหนือถึงอารเจนตินาตอนกลาง มีปริมาณนํ้าฝนผิดปกติ นอกจากนี้ยังมีอิทธิพลตอการเกิดและการเคลื่อนตัวของพายุหมุนเขตรอนอีกดวย โดยปรากฏการณเอลนีโญไมเอื้อ อํานวยตอการกอตัวและการพัฒนาของพายุหมุนเขตรอนในมหาสมุทรแอตแลนติก ทําใหพายุหมุนเขตรอนในบริเวณที่พี่บอก ไปลดลง ในขณะที่บริเวณดานตะวันตกของประเทศเม็กซิโกและสหรัฐอเมริกามีพายุพัดผานมากขึ้น สวนพายุหมุนเขตรอนใน มหาสมุทรแปซิฟกเหนือดานตะวันตกที่มีการกอตัวทางดานตะวันออกของประเทศฟลิปปนส มีเสนทางเดินของพายุขึ้นไปทาง เหนือมากกวาที่จะเคลื่อนตัวมาทางตะวันตกผานประเทศฟลิปปนสลงสูทะเลจีนใต ประเทศไทยโดยเฉพาะในชวงฤดูรอนและ ตนฤดูฝนมีปริมาณฝนตํ่ากวาปกติมากขึ้น สําหรับอุณหภูมิปรากฏวาสูงกวาปกติทุกฤดูโดยเฉพาะในชวงฤดูรอนและตนฤดูฝน และสูงกวาปกติมากขึ้นในกรณีที่มีขนาดปานกลางถึงรุนแรง อยางไรก็ตามในชวงกลางและปลายฤดูฝนไมสามารถหาขอสรุป

74

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


เกี่ยวกับสภาวะฝนในปเอลนีโญไดชัดเจนซึ่งพี่เชื่อวานองๆทุกคนคงไมอยากใหเกิดเพราะมันจะทําใหประเทศไทยรอน ปรากฏการณลานีญา ปรากฏการณนี้มีผลทําใหอากาศลอยขึ้นและกลั่นตัวเปนเมฆและฝนบริเวณมหาสมุทรแปซิฟก ตะวันตกเขตรอนทําใหประเทศออสเตรเลีย ประเทศอินโดนีเซียและประเทศฟลปิ ปนสมแี นวโนมทีจ่ ะมีฝนมากและมีนาํ้ ทวม ขณะ ทีบ่ ริเวณมหาสมุทรแปซิฟก เขตรอนทางดานภาคตะวันออกมีฝนนอยและแหงแลง นอกจากนีย้ งั มีอทิ ธิพลไปยังพืน้ ทีซ่ งึ่ อยูห า ง ไกลออกไปดวย ซึ่งพบวาแอฟริกาใตมีแนวโนมที่จะมีฝนมากกวาปกติและมีความเสี่ยงตออุทกภัยมากขึ้นดวยขณะที่บริเวณ ตะวันออกของทวีปแอฟริกาและตอนใตของทวีปอเมริกาใตมีฝนนอยและเสี่ยงตอการเกิดความแหงแลงทางดานประเทศ สหรัฐอเมริกาจะแหงแลงกวาปกติอุณหภูมิพื้นผิวบริเวณเขตรอนโดยเฉลี่ยจะลดลงและมีแนวโนมตํ่ากวาปกติในชวงฤดูหนาว ของซีกโลกเหนือทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟก บริเวณประเทศญี่ปุนและเกาหลีมีอุณหภูมิตํ่ากวาปกติ ขณะทีท่ างตะวันตกเฉียงใตของมหาสมุทรรวมถึงพืน้ ทีท่ างตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลียมีอณ ุ หภูมสิ งู กวาปกติ ทางดานประเทศไทยปริมาณฝนสวนใหญสงู กวาปกติโดยเฉพาะชวงฤดูรอ นและตนฤดูฝนเปนระยะทีม่ ผี ลกระทบตอสภาวะฝน ของประเทศไทยชัดเจนกวาชวงอืน่ ทวาในชวงกลางและปลายฤดูฝนมีผลกระทบตอสภาวะฝน ของประเทศไทยไมชดั เจน หาก พิจารณาดานอุณหภูมิปรากฏวาลานีญามีผลกระทบตออุณหภูมิในประเทศไทยชัดเจนกวาฝนโดยทุกภาคของประเทศไทยมี อุณหภูมติ าํ่ กวาปกติทกุ ฤดู และพบวาลานีญาทีม่ ขี นาดปานกลางถึงรุนแรงสงผลใหปริมาณฝนของประเทศไทยสูงกวาปกติมาก ขึ้นขณะที่อุณหภูมิตํ่ากวาปกติมากขึ้น 2. หินนํ้ามัน (Oil Shale) เปนหินตะกอนที่มีสารประกอบสําคัญ คือ เคอโรเจน แทรกอยูระหวางชั้นหินตะกอนเมื่อนองๆนํา หินนํ้ามันมาสกัดดวยอุณหภูมิที่สูงพอ เคอโรเจนจะสลายตัวใหนํ้ามันหิน ซึ่งหินนํ้ามันนี้นองเชื่อไหมวาเกิดจากการสะสมและ ทับถมตัวของซากพืชและสัตวเล็กๆ ภายใตแหลงนํา้ ทีม่ ภี าวะเหมาะสมคืออยูภ ายใตความกดดันสูงและมีปริมาณออกซิเจนจํากัด ซึง่ หินนํา้ มันมีองคประกอบทีส่ าํ คัญ 2 ประเภท (พีเ่ นนใหวา นองควรเขาใจ และแยกความแตกตางของทัง้ สองชนิดดวยนะ) คือ สารประกอบอนินทรีย ไดแก แรธาตุตา งๆ ทีไ่ ดจากชัน้ หิน ซึง่ ประกอบดวยกลุม แรทสี่ าํ คัญ 3 กลุม คือ กลุม แรซลิ ิ เกต กลุมแรคารบอเนต และกลุมแรซัลไฟดและฟอสเฟต สารประกอบอินทรีย ประกอบดวย บิทูเมนและเคอโรเจน นอกจากหินนํ้ามันจะใชเปนเชื้อเพลิงหรือแหลงพลังงานไดแลว ยังสามารถนํามาผลิตเปนนํ้ามันกาด พาราฟน นํ้ามันหลอลื่น ไข แนฟทาลีน และนํ้ามันเชื้อเพลิงไดอีกดวย *** NOTE : 1. สารประกอบอินทรีย คือ สารที่ประกอบที่มีองคประกอบหลักเปน C, H และ O ซึ่งสารประกอบอินทรียสวน ใหญ มักพบในสิ่งมีชีวิต สวนสารประกอบอนินทรีย คือ สารที่มีธาตุอื่นเปนองคประกอบหลัก 2. คําวา “องคประกอบหลัก” ใน ที่นี้หมายถึง มี % รอยละโดยมวลรวมกันแลวมีคามากกวาธาตุอื่นๆ 3. ปโตรเลียม (Petroleum) กอนอื่นพี่แนะนําใหนองๆ รูถึงรากศัพทของคําวา Petroleum กันกอนดีกวา รากศัพทของ Petroleum = Petra + Oleum ซึ่ง Petra ก็หมายถึงหิน (Rock) สวน Oleum คือนํ้ามัน (Oil) ดังนั้นปโตรเลียมจึงหมายถึง “นํ้ามันที่อยูในหิน” ปโตรเลียม จึงประกอบไปดวยสารไฮโดรคารบอนเปนหลัก และอาจมีธาตุไนโตรเจน ออกซิเจน และกํามะถัน เปนองคประกอบรวมอยูดวย ซึ่งมีสถานะทั้งในรูปของแข็งและกึ่งของแข็ง (มีชื่อเรียกหลากหลาย) ของเหลว หรือแกส เชน นํ้ามันดิบ (Crude Oil) และแกส ธรรมชาติ (Natural Gas) ตามลําดับดวยเหตุนี้จึงสามารถนํามาใชประโยชนในอุตสาหกรรมปโตรเคมีไดอยางหลากหลาย แต กอนอื่น พี่จะพานองๆ มาเริ่มจากการสํารวจหาแหลงปโตรเลียมกันกอน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

75


การสํารวจหาแหลงปโตรเลียม ถึงตอนนี้ นองๆ นาจะรูกันแลววา ปโตรเลียมคืออะไร ตัวอยางเชนอะไรบาง พี่จะพานองๆ มารูจักกับการสํารวจหา แหลงปโตรเลียมกันดีกวา แหลงปโตรเลียมสวนใหญจะอยูใตพื้นดิน จึงตองมีการสํารวจและขุดเจาะขึ้นมาใชประโยชน ซึ่งก็มี วิธกี ารสํารวจอยูห ลายวิธี ไมวา จะเปนการสํารวจทางธรณีวทิ ยา (ทําแผนทีภ่ าพถายทางอากาศ) การสํารวจทางธรณีฟส กิ ส (วัด คาความเขมของสนามแมเหล็กโลก) การวัดความโนมถวงของโลก การวัดคลื่นไหวสะเทือนและที่นิยมที่สุดคือ การเจาะสํารวจ เพื่อดูความยากงายของการขุดเจาะ จากนั้นจึงนําเขาสูกระบวนการกลั่นนํ้ามัน นอกจากนี้ยังตองสํารวจหาขอมูลทางดาน วิศวกรรมปโตรเลียมที่เกี่ยวของ เชน ความดันของแหลงปโตรเลียม อัตราการไหล ความสามารถในการผลิตปโตรเลียม และ ชนิดของปโตรเลียมในแหลงสะสมตัวอีกดวย 3.1 นํ้า มันดิบ(Crude Oil) นํ้ามันดิบที่ขุดพบจากการสํารวจนั้น ประกอบไปดวยสารไฮโดรคารบอนเปนหลัก แตก็มีสารประกอบอื่นเจือปนอยูจึง ตองทําการกลั่นแยกนํ้ามันดิบกอนนํามาใชงาน เพื่อใหเปนผลิตภัณฑนํ้ามันสําเร็จรูปชนิดตางๆ ตามตองการ และเหมาะสมตอ การใชประโยชน การกลั่นแยกนํ้ามันดิบ การกลั่นแยกนํ้ามันจะนิยมใชวิธีการกลั่นลําดับสวน (Fractional distillation) โดยนํานํ้ามันดิบมากลั่นในหอกลั่นลําดับ สวน เริ่มจากนํ้ามันดิบจะถูกสงผานเขาไปในเตาเผาที่มีอุณหภูมิสูงมาก หลังจากนั้นนํ้ามันดิบจะไหลผานไปในหอกลั่น ซึ่งใน หอกลั่นจะมีถาดเรียงกันเปนชั้น ๆ เมื่อสารไดรับความรอนจนถึงจุดเดือดจะควบแนนและกลั่นตัวลงมาเปนของเหลวในถาดชั้น นัน้ ๆ โดยชัน้ บนสุดจะเปนชัน้ ทีน่ าํ้ มันมีจดุ เดือดตํา่ ทีส่ ดุ นองๆ สงสัยไหมวา ทําไมถึงเปนเชนนี้ สาเหตุเนือ่ งจากวา สารทีม่ จี าํ นวน คารบอนนอย ทําใหมีจุดเดือดตํ่าและระเหยขึ้นไปไดสูง สวนชั้นถัดมาจะมีจุดเดือดสูงขึ้นเรื่อยๆ ดังรูปแสดงการกลั่นแยกนํ้ามัน ดิบในหอกลั่นลําดับสวนทําใหสามารถแยกชนิดของนํ้ามันดิบออกจากกันได ตามชวงจุดเดือดที่ตางกัน ตามตารางลําดับ ผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่นลําดับสวน หรือ พูดงายๆ ก็คือวา ยิ่งสารที่เล็กยิ่งระเหยไดงาย

รูปแสดงการกลั่นแยกนํ้ามันดิบในหอกลั่นลําดับสวน ที่มา : http://chemistryquiz.exteen.com/20081201/fractional-distillation

76

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตารางแสดงลําดับผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่นลําดับสวน และประโยขนที่ใช จํานวนคารบอน

ประเภท

ประโยชน

จุดเดือด (oC)

1–4

แกสปโตรเลียม

แกสหุงตม, เชื้อเพลิง

5–7 6 – 12 10 – 14 14 – 19

แนฟทาเบา แนฟทาหนัก นํ้ามันกาด นํ้ามันดีเซล

19 – 35

นํ้ามันหลอลื่น

นํ้ามันเบนซิน, ใชทําตัวทําละลาย นํ้ามันเบนซิน ใชกับตะเกียง, เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงเครื่องยนต, ใชกับ เครื่องกําเนิดไฟฟา นํ้ามันหลอลื่น

มากกวา 35

ไข

นํ้ามันหลอลื่น

> 500

มากกวา 35

นํ้ามันเตา

ใชกับเครื่องยนตเรือเดินสมุทร, เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ

> 500

มากกวา 35

บิทูเมน

ยางมะตอย

> 500

< 30 30 - 110 65 - 170 170 - 250 250 - 340 > 350

**มุมเล็กๆ ขอเมาทมอย ตารางนี้ พยายามทําความเขาใจนะ ลําดับความคิดใหเปนแลวขอสอบจะเปนเรื่องงาย เชน ระหวาง แก็สหุงตม กับ นํ้ามันหลอลื่น ขอใดมีจุดเดือดตํ่ากวา นองๆ คิดไปพรอมๆ พี่นะ แก็สหุงตมมีสถานะเปนแก็ส นํ้ามันหลอลื่นมี สถานะเปนของเหลว แก็สยอมระเหยไดงายกวาของเหลว สารที่ระเหยไดงายกวาแสดงวาเปนสารที่ตัวเล็กกวา ดังนั้นแก็ สหุงตมจึงมีจุดเดือดตํ่ากวานํ้ามันหลอลื่นนั่นเอง เรื่องนี้ขอเนนอีกรอบ พยายามลําดับความคิดใหเปน เกร็ดความรูเพิ่มเติม** • คุณสมบัติพื้นฐานของแกสที่นองควรรูไดแก 1. คาความรอน (Heating Value) หมายถึงปริมาณความรอนที่เชื้อเพลิงที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส คายออก มาจากการทําปฏิกริยากับออกซิเจนและแกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหมถูกทําใหกลับมามีอุณหภูมิ 25 องศา เซลเซียสเหมือนเดิม 2. คาความถวงจําเพาะ (Specific Gravity) อากาศที่นองๆ รูจักกันดีนองมีคาความถวงจําเพาะเทากับ 1 ดังนั้น แกสที่มีคาความถวงจําเพาะมากกวา 1.0 เปนแกสที่มีความหนาแนนมากกวาอากาศ ซึ่งเมื่อรั่วไหลออกสู บรรยากาศในปริมาณมาก จะไหลลงไปที่พื้น แตจะลอยอยูเรี่ยๆ กับพื้น และคอยๆ กระจายออกสูบรรยากาศ อยางชาๆ 3. ความดันไอ )Vapour Pressure) คือ คาความดันของของเหลวที่ไดรับความรอนจนกระทั่งเกิดการเดือด 4. ความสามารถในการติดไฟ (Flammability) คาที่แสดงถึงความสามารถในการติดไฟ ยิ่งมีคามาก แสดงวา สามารถเกิดการติดไฟไดงาย 5. จุดติดไฟอัตโนมัติ (Autoignition Temperature) การที่เชื้อเพลิงจะเกิดการติดไฟหรือเผาไหมได จะตองมี

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

77


องคประกอบ 3 ประการ คือ เชื้อเพลิง อากาศและพลังงาน (ความรอนหรือเปลวไฟ) แตเมื่อเชื้อเพลิงผสมกับ อากาศและมีอุณหภูมิสูงเพียงพอก็จะสามารถเผาไหมไดเองโดยไมตองมีประกายไฟ • คําวา แกสหุงตมนองๆ อาจจะยังไมคุน แตหากพี่บอกวา แก็ส LPG (Liqueified Petroleum Gas) นองๆ นาจะรูจักกันมากกวา นองรูหรือไมวาแก็ส LPG ประกอบดวยแกสโพรเพน (Propane) และแกสบิวเทน (Butane) เปนสวนประกอบหลักและจะบรรจุ ในสภาพเปนของเหลวโดยการอัดใหมีความดัน ประมาณ 100 - 130 ปอนดตอตารางนิ้วกระบวนการเกิดของแก็ส LPG เกิดได 2 วิธี คือ 1. ผลิตจากกระบวนการแยกแกสของแกสธรรมชาติ 2. ผลิตจากกระบวนการกลั่นนํ้ามันในโรงกลั่นนํ้ามันตางๆ • คําวา NGV (Natural Gas for Vehicle) ที่นองรูจักกันคือ กาซธรรมชาติสําหรับยานยนต ซึ่งมีคุณสมบัติที่สําคัญ คือ 1. สัดสวน ของคารบอนใน NGV นอยกวาเชื้อเพลิงชนิดอื่น และมีคุณสมบัติเปนกาซทําใหการเผาไหมสมบูรณ มากกวาเชื้อเพลิงชนิดอื่น และปริมาณไอเสียที่ปลอยออกจากเครื่องยนตใชกาซธรรมชาติมีปริมาณตํ่ากวาเชื้อเพลิงชนิดอื่นซึ่งเปนการชวยโลกทางหนึ่ง ที่นองๆสามารถทําได 2. เปนเชื้อเพลิงที่สะอาดไมกอใหเกิดควันดําหรือสารพิษที่เปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชน ตัวอยางขอสอบ ขอใดคือเหตุผลหลักที่ผูประกอบการใชการกลั่นลําดับสวนแทนการกลั่นแบบธรรมดาในการกลั่นนํ้ามันดิบ 1. ในนํ้ามันดิบมีสารที่มีจุดเดือดใกลเคียงกันจึงแยกดวยการกลั่นแบบธรรมดาไมได 2. การกลั่นลําดับสวนจะไมมีเขมาที่เกิดจากการเผาไหมไมสมบูรณ 3. การกลั่นแบบธรรมดาตองใชเชื้อเพลิงมากกวาการกลั่นลําดับสวน 4. การกลั่นแบบธรรมดาจะไดสารปรอทและโลหะหนักออกมาดวย เฉลยขอ 1 การกลั่นนํ้ามันดิบจะใชวิธีการกลั่นลําดับสวน เนื่องจากมีสารที่มีจุดเดือดใกลเคียงกัน ทําใหไมสามารถแยกไดดวย การกลั่นแบบธรรมดา ตัวอยางขอสอบ สมบัติของตัวทําละลายในอุตสาหกรรมเคมีที่ไดจากการกลั่นปโตรเลียมขอใดถูกตอง 1. ประกอบดวยสารไฮโดรคารบอนที่มีจํานวนคารบอนนอยกวา 5 อะตอม 2. เปนสารไฮโดรคารบอนที่ละลายนํ้าได 3. มีจุดเดือดสูงกวานํ้ามันดีเซล 4. มีสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ เฉลยขอ 4 มีสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติเพราะตัวทําละลายในอุตสาหกรรมเคมีจะตองเปนของเหลวที่ อุณหภูมิและความดันปกติจึงสามารถใชงานได ตัวอยางขอสอบ จากภาพการกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม

78

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


a. จํานวนอะตอมของคารบอน A มากกวา B b. จุดเดือดและความหนืดของ A มากกวา C c. เปนกระบวนการแยกทางกายภาพดวยการกลั่นแบบลําดับสวน จงพิจารณาขอความ ขอใดผิด 1. ขอ a และ b เทานั้น 2. ขอ a และ c เทานั้น 3. ขอ b และ c เทานั้น 4. ขอ a, b และ c เฉลยขอ 1 ขอ a และ b เทานั้นจากภาพพี่เชื่อวานองๆ นาจะทราบวาเปนการกลั่นลําดับสวน ที่เมื่ออุณหภูมิมากขึ้นจะทําให นํา้ มันทีม่ จี ดุ เดือดตํา่ ความหนืดนอย มวลโมเลกุลตํา่ หรือจํานวนอะตอมของคารบอนนอยกวานัน้ จะสามารถระเหยขึน้ ไปไดสงู กวา นํ้ามันที่ควรรูจัก ตอนนีพ้ จี่ ะพานองๆ มาทําความรูจ กั กับนํา้ มันกันตอดีกวา นํา้ มันมีอยูด ว ยกันหลายประเภท ทัง้ ทีไ่ ดมาจากการกลัน่ แยก นํ้ามันดิบ และที่คิดคนขึ้นมาใหมจากเทคโนโลยีขั้นสูง ดังนั้นนองๆ จึงควรรูจักและเลือกใชใหเหมาะสมกับการใชงาน (ถึงตอนนี้ พี่อยากจะใหนองๆ สังเกตดูวา ที่บานของนองๆ ใชนํ้ามันชนิดไหนกันบาง แลวเรามาดูคุณสมบัติของนํ้ามันแตละ ประเภทกันเลย) นํ้ามันเบนซินหรือแกสโซลีน เปนเชื้อเพลิงที่ระเหยไดงาย ไดมาจากการกลั่นนํ้ามันดิบในโรงกลั่นในประเทศไทยนิยม ใชเปนเบนซิน 91 และเบนซิน 95 นํ้ามันดีเซลแบงเปน 2 ชนิด คือ นํ้ามันดีเซลหมุนเร็วหรือโซลา ใชกับเครื่องยนตที่มีความเร็วรอบสูงเกิน 1,000 รอบตอนาที เชน รถยนตเครื่องยนตดีเซล นํ้ามันดีเซลหมุนชาหรือขี้โล ใชกับเครื่องยนตที่มีความเร็วรอบตํ่ากวา 1,000 รอบตอนาที เชน เครื่องจักรโรงงาน เครื่องยนต เดินทะเล แกสโซฮอลมาจากคําวา Gasoline + alcohol เปนเชื้อเพลิงที่เกิดจากการผสมระหวางนํ้ามันเบนซินกับเอทานอล แกส โซฮอลถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเปนพลังงานทางเลือกทดแทนนํ้ามันเบนซิน โดยมีการเผาไหมที่สมบูรณขึ้น เนื่องจากโครงสรางทาง เคมีของแอลกอฮอล ทําใหลดมลพิษในอากาศ อีกทั้งแกสโซฮอลมีราคาตํ่ากวานํ้ามันเบนซินโดยทั่วไป ***NOTE : นองๆ มักจะเห็นตามปมนํ้ามันเวลาคุณพอคุณแมเติมนํ้ามัน เชน Gasohol E20 นองๆ รูหรือไมวา คําวา E20 หมาย ถึงนํานํ้ามันเบนซิน มาผสมกับเอทานอลบริสุทธในอัตราสวน 80 : 20 รึพูดงายๆ คือ เบนซิน 80 สวนผสมกับเอทานอลบริสุทธ 20 สวนนั่นเอง ดีโซฮอล มาจากคําวา Diesel + alcohol เปนเชื้อเพลิงที่เกิดจากการผสมระหวางนํ้ามันดีเซลกับเอทานอลพบวาดีโซ ฮอลสามารถลดควันดําไดรอยละ 50 แตมีตนทุนการผลิตที่มีราคาแพง จึงไปผลิตไบโอดีเซลแทน ไบโอดีเซลจัดเปนสารประเภทเอสเทอร ที่ผลิตจากนํ้ามันพืช นํ้ามันสัตว ผานกระบวนการทรานสเอสเตอริฟเคชัน (Transesterification Process) โดยใชนํ้ามันทําปฏิกิริยากับแอลกอฮอล ซึ่งไบโอดีเซลถือเปนพลังงานทดแทนดีเซลได เปนอยางดี การบอกคุณภาพของนํ้ามัน เลขออกเทน ใชบอกคุณภาพนํ้ามันเบนซิน ซึ่งเปนคาตัวเลขที่แสดงเปนรอยละโดยมวลของไอโซออกเทนในของผสม ระหวางไอโซออกเทนและเฮปเทนหรือ เปอรเซ็นตของไอโซออกเทนในสวนผสมระหวางไอโซออกเทนและเฮปเทน ซึ่งแสดง ถึงความสามารถในการตอตานการชิงจุดระเบิดของเครื่องยนต

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

79


โครงสรางของไฮโดรคารบอนที่เปนกิ่งจะมีคุณคาดีกวาโครงสรางแบบโซตรง และสามารถกําหนดเลขออกเทนได ดังนี้ - เลขออกเทน 100 คือ นํ้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหมไดดีเหมือนกับไอโซออกเทน - เลขออกเทน 0 คือ นํ้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหมเหมือนกับเฮปเทน **NOTE : 1. นํา้ มันเบนซินคาออกเทน 87 มีสเี ขียวนําไปใชกบั มอเตอรไซดเครือ่ งยนตสองจังหวะ และรถยนตทมี่ เี ครือ่ งยนตเบนซิน รุนเกาที่มีกําลังอัดในหองเผาไหมนอยกวา 8.5 ตอ 1 2. นํ้ามันเบนซินคาออกเทน 91 มีสีแดงนําไปใชกับรถยนตที่มีเครื่องยนตสี่จังหวะและมีกําลังอัดในหองเผาไหมตั้งแต 8.5 - 10.0 ตอ 1 3. นํ้ามันเบนซินคาออกเทน 95 มีสีเหลืองนําไปใชกับรถยนตที่มีเครื่องยนตเบนซินสี่จังหวะและมีกําลังอัดในหองเผา ไหมมากกวา 10.0 ตอ 1 4. การใชนํ้ามันที่มีคาออกเทนสูงกวาคาที่กําหนดไวบนยานพาหนะ ไมทําใหเครื่องมี กําลังเพิม่ ขึน้ หรือ ขับไดเร็วขึน้ แต อยางใด เพียงแตจะเพิ่มคาใชจายใหมากกวาตางหาก 5. การใชนํ้ามันที่มีคาออกเทนตํ่ากวาที่กําหนดไวบนยานพาหนะ อาจทําใหเครื่องยนตเสียหายได 6. ความแรงของยานพาหนะ ไมขึ้นกับชนิดของนํ้ามัน แตขึ้นกับสภาพการใชงาน การดูแลบํารุงรักษา และสภาพ เครื่องยนตในขณะนั้น เชน นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 95 จะมีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับเชื้อเพลิงที่เกิดจากการผสมไอ โซออกเทนรอยละ 95 กับเฮปเทนรอยละ 5 โดยมวล การเพิม่ เลขออกเทนใหนาํ้ มันเบนซิน หากตองการใหคณ ุ ภาพนํา้ มันดีขนึ้ คือ ตองมีเลขออกเทนสูงขึน้ มีวธิ กี ารเติมสารเพิม่ เลข ออกเทนได 2 วิธี คือ 1. เติมเตตระเมทิลเลด (TML : [Pb (CH3)4]) หรือ เตตระเอธิลเลด (TEL : [Pb (CH3CH2)4]) ลงในนํ้ามันเบนซิน ทําให นํ้ามันมีเลขออกเทนสูงขึ้น แตจะกอใหเกิดสารปรอท (Pb)เปนสารมลพิษตามมา 2. เติม เมทิลเทอรเทียรีบิวทิลอีเทอร (Methyl Tertiary Butyl Ether ; MTBE) อาจเรียกกันวา นํ้ามันไรสารตะกั่ว หรือยู แอลจี (Unleaded gasoline ; ULG) ทําใหนิยมใช MTBE มากกวา TEL, TML เพราะไมเกิดมลภาวะในภายหลัง

MTBE

80

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


เลขซีเทนใชบอกคุณภาพนํ้ามันดีเซล ซึ่งเปนคาตัวเลขที่แสดงเปนรอยละโดยมวลของซีเทน ในของผสมระหวางซี เทนและแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน ซึ่งเกิดการเผาไหมหมด

กําหนดเลขซีเทนได ดังนี้ - เลขซีเทน 100 คือ นํ้ามันดีเซลที่มีสมบัติในการเผาไหมดีเหมือนกับซีเทน - เลขซีเทน 0 คือ นํ้ามันดีเซลที่มีสมบัติในการเผาไหมเหมือนกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน สรุปการบอกคุณภาพของนํ้ามัน เลขออกเทน – คุณภาพนํ้ามันเบนซิน เลขซีเทน – คุณภาพนํ้ามันดีเซล **มุมเล็กๆ ขอเมาทมอย อยาลืมจําสูตรเคมีตางๆ นะ สําคัญมากสําหรับบทนี้ เพราะถานองจําสูตรได โครงสรางกเขียนได ชิวๆ เลย ตัวอยางขอสอบ ถาผสมนํ้ามันเบนซิลที่มีคาออกเทนเทากับ80 กับไอโซออกเทน ดวยอัตราสวน 3:1 จะทําใหไดนํ้ามันเบนซิลที่มีคาออกเทนเปน เทาใด 1. 95 2. 87 3. 85 4. 83 เฉลย ขอ3 มีคาออกเทน 85 โดยคิดจาก ถานํ้ามันมีคาออกเทน 300 สวน จะมีคุณภาพเหมือนไอโซออกเทน 240 สวน และถา มีคาออกเทน 100 สวนจะไดวามีคุณภาพเหมือนไอโซออกเทน100 สวน (อัตราสวน 3 : 1) จากนั้นผสมกันเปน 400 สวน จะมี ไอโซออกเทน 240+100 = 340 สวน เทียบไดเปน (340/400)*100 = 85 ตัวอยางขอสอบ นํ้ามันเบนซินชนิด 1 และ 2 มีเลขออกเทน 95 และ 75ตามลําดับ มีองคประกอบเปนสารที่มีโครงสรางในรูป A และ B

A

B

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

81


พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. นํ้ามันเบนซิน 1 มีสาร B มากกวาเบนซิน 2 ข. นํ้ามันเบนซิน 1 มีสาร A 95 สวน แตเบนซิน แตเบนซิน 2 มีสาร A เพียง 75 หนวย ค. สาร B ทําใหประสิทธิภาพการเผาไหมของนํ้ามันเบนซิน 1 มากกวาเบนซิน 2 ง. การเติมสาร B ลงในนํ้ามันเบนซิน 1 และ 2 เปนการเพิ่มคุณภาพ เพราะเลขออกเทนสูงขึ้น ขอใดถูก 1.ข เทานั้น 2. ก, ค และ ง เทานั้น 3.ข, ค และ ง เทานั้น 4. ก, ข, ค และ ง เฉลยขอ 2 ก, ค และ ง เทานั้นที่ถูกตอง เนื่องจากสาร A คือ เฮปเทน และสาร B คือไอโซออกเทน การปรับคุณภาพนํ้ามัน 1. กระบวนการแตกสลาย (Cracking) แตกโมเลกุลขนาดใหญเปนโมเลกุลขนาดเล็กโดยใชความรอนตัวเรงปฏิกิริยาและ ความดันตํ่า

C10H22

C H 8 16

+

C2H6

2. รีฟอรมมิง (Reforming) การเปลี่ยนรูปแบบโครงสรางสาร เชน โซตรงเปลี่ยนเปนโซกิ่ง หรือ โครงสรางแบบวงเปลี่ยน เปนอะโรมาติก โดยใชความรอนตัวเรงปฏิกิริยา Catalyst

heat Catalyst heat 3. แอลคิเลชัน (Alkylation) เปนการรวมโมเลกุลของแอลเคนกับแอลคีนใหยาวขึ้นหรือมีกิ่งมากขึ้น

+

82

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

H2SO4


4. โอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization) เปนการรวมตัวของโมเลกุลเล็กๆ ที่ยังไมอิ่มตัว (มีพันธะคู หรือ พันธะสาม) โดยใช ความรอนหรือตัวเรงปฏิกิริยาและเกิดเปนผลิตภัณฑที่ยังมีพันธะคูเหลืออยู

+ 3.2 แกสธรรมชาติ(Natural Gas) แกสธรรมชาติ มีลกั ษณะเปนแกสทีไ่ มมสี ไี มมกี ลิน่ และมีสถานะเปนแกสทีอ่ ณ ุ หภูมแิ ละความดันปกติ โดยเกิดจากการ ทับถมและแปรสภาพของอินทรียสารในชั้นหินใตผิวโลก แกสธรรมชาตินี้จะประกอบไปดวยสารประกอบไฮโดรคารบอนหลาย ชนิดเชน มีเทน (CH4) อีเทน (C2H6) โพรเพน(C3H8) บิวเทน (C4H10) ฯลฯ รวมถึงยังมีสารประกอบอื่นที่ไมใชไฮโดรคารบอน เชน นํ้า (H2O) คารบอนไดออกไซด (CO2) ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) และไอปรอท (Hg) ปนอยูดวย จึงตองนํามาผานกระบวนการ แยกแกสธรรมชาติตอไป การแยกแกสธรรมชาติ การแยกแกสธรรมชาติ ทําเพื่อแยกสารที่ไมตองการออก จากนั้นนําแกสผสมที่ผานการแยกแกสที่ไมตองการออกแลวไปเพิ่ม ความดันและลดอุณหภูมิจนกลายเปนของเหลว และนําเขาสูหอกลั่นเพื่อแยกแกสตางๆ สามารถสรุปเปนขั้นตอนได ดังนี้ 1. แยกแกสเหลวออกจากแกสธรรมชาติ โดยผานหนวยแยกของเหลว 2. ผานแกสไปยังหนวยกําจัดปรอท เนื่องจากไอปรอทมีผลตอการสึกกรอนของระบบทอแกสและเครื่องมือตางๆ 3. ผานแกสไปยังหนวยกําจัดแกสคารบอนไดออกไซด โดยใหทําปฏิกิริยากับโพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) 4. ผานแกสไปยังหนวยกําจัดความชื้น นั่นคือกําจัดไอนํ้า โดยใชสารดูดซับที่มีรูพรุนสูงและสามารถดูดซับนํ้าออกจาก แกสได 5. ทําใหแกสเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว โดยการเพิ่มความดันและลดอุณหภูมิลง นําแกสเหลวที่ได ไปรวมกับแกส เหลวที่แยกไวในขั้นตอนที่ 1 6. ผานไปยังหอกลั่นเพื่อแยกแกสมีเทน โพรเพน และบิวเทนตามลําดับโดยการเพิ่มอุณหภูมิ ผลิตภัณฑที่ไดจากแกสธรรมชาติ 1. มีเทน (Methane) เปนสารที่มีอยูมากในแกสธรรมชาติ ใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับการ ผลิตกระแสไฟฟาหรือเปน เชื้อเพลิงรถยนตและใชผลิตสารที่สําคัญของโรงงาน อุตสาหกรรม เชน ผลิตกาว ปุยเคมีแอมโมเนีย เปนตน 2. อีเทน (Ethane) ใชผลิตเชื้อเพลิง และการผลิตพลาสติกในอุตสาหกรรมปโตรเคมี 3. โพรเพน (Propane) ใชสําหรับผลิตพลาสติกในอุตสาหกรรมปโตรเคมี 4. บิวเทน (Butane) ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตยางเทียมและไนลอน 5. เพนเทน (Pentane) ใชในการผลิตปุยและเมทานอล 6. คารบอนไดออกไซด (Carbon dioxide) ใชในการถนอมอาหาร,ผลิตนํ้าอัดลมหรือ ผลิตนํ้าแข็งแหง 7. แกสโซลีนธรรมชาติ (Natural Gasoline ; NGL) ประกอบดวยแกสเพนเทน เฮกเซนและสารประกอบอื่น ๆ ที่มี คารบอนผสมอยูตั้งแต C5H12 ขึ้นไป โดยแกสชนิดนี้สามารถนํามากลั่นเปนนํ้ามันเบนซิน เปนวัตถุดิบสําหรับเปนตัวทําละลาย และใชในโรงงานอุตสาหกรรมปโตรเคมีได

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

83


8. แกสปโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas ; LPG) ประกอบดวยแกสโพรเพนและบิวเทน ใชเปนเชื้อเพลิง ในการหุงตมในอุตสาหกรรมและครัวเรือน อีกทั้งยังใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับรถยนตและโรงงานอุตสาหกรรมไดดวย 4. ปโตรเคมีภัณฑ ตอนนี้พี่เชื่อวา นองๆคงเชี่ยวชาญในความรูพื้นฐานของทั้งแก็ส และนํ้ามัน ชนิดตางๆ แลว ดังนั้น พี่จะพานองๆ มา รูจักกับคําวา ปโตรเคมีภัณฑกันดีกวา ปโตรเคมีภัณฑเปนการนําผลิตภัณฑที่ไดจากการแยกนํ้ามันดิบและแกสธรรมชาติ มาใช เปนสารตั้งตนในอุตสาหกรรมปโตรเคมี โดยสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมขั้นตน เปนการนําสารประกอบไฮโดรคารบอนที่ไดจากแกสธรรมชาติหรือนํ้ามันดิบมาผลิตสารโมเลกุลขนาด เล็กที่เรียกวา มอนอเมอร (monomer) เชน อีเทนและโพรเพนผลิตเอทิลีนและโพรพิลีน แนฟทาผลิตเบนซีน โทลูอีน และไซลีน เบนซีนทําปฏิกิริยากับเอทิลีนไดเปนสไตรีนที่ใชผลิตพอลิสไตรีน 2. อุตสาหกรรมขั้นตอเนื่อง เปนการนํามอนอเมอรที่ไดจากอุตสาหกรรมขั้นตนมาผลิตสารโพลิเมอร (Polymer) ซึ่งกลายเปน โมเลกุลขนาดใหญขึ้น ผลิตภัณฑจากอุตสาหกรรมตอเนื่องนี้ จะนําไปใชเปนสารตั้งตนในอุตสาหกรรมตางๆ ตอไป 5. มลพิษจากปโตรเคมีภัณฑ เชื่อไหมวา นองๆ ทุกคนก็เคยเปนผูสรางมลพิษที่เกิดจากผลิตภัณฑปโตรเคมีภัณฑ ทําไมพี่ถึงพูดเชนนี้ เพราะชีวิต ประจําวันของคนเราไมสามารถเลีย่ งจากการสรางมลพิษได ดังนัน้ พีจ่ ะพานองๆ มารูถ งึ ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมกันกอน ผลก ระทบตอสิง่ แวดลอมเกิดจากการเผาไหมถา นหินหรือปโตรเลียมเปนสิง่ ทีม่ นุษยใชเปนประจําในทุกๆ วัน ไมวา จะเปนการใชนาํ้ มัน หรือแกสในการเดินทางหรือขนสง การผลิตกระแสไฟฟา การทําผลิตภัณฑตางๆ เชนการผลิตยา พลาสติก และสบู จึงเกิดเปน มลพิษสูสิ่งแวดลอมเปนจํานวนมาก ทั้งที่เกิดจากการผลิตและการใชปโตรเคมี โดยมีสาเหตุหลักอยู 2 ประการ คือ การเพิ่ม จํานวนของประชากรและความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี ซึ่งสามารถจําแนกมลพิษออกไดเปน 3 ทาง ไดแก 1. มลพิษทางอากาศ พี่เชื่อวา นองๆ ทุกคนเคยสรางมลพิษทางอากาศแนนอน อากาศที่มีสารเจือปนอยูในปริมาณที่สูงกวาระดับปกติเปน เวลานาน และทําใหเกิดอันตรายแกมนุษย สัตว พืช หรือทรัพยสินตางๆ มีทั้งมลพิษที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ไฟไหม ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว และที่เกิดจากการกระทําของมนุษย ไดแก มลพิษจากทอไอเสียของรถยนต การใชสารทําความเย็น การผลิตในขั้นตางๆ จากกระบวนการในโรงงานอุตสาหกรรม การเผาขยะ เปนตน แกสคารบอนไดออกไซด(CO2) มาจากการเผาไหมเชื้อเพลิงตางๆ เมื่อปลอยสูชั้นบรรยากาศในปริมาณมาก จะเกิด ปรากฏการณเรือนกระจก เนือ่ งจากจะเก็บความรอนบางสวนไวในโลกไมใหสะทอนกลับสูบ รรยากาศทัง้ หมด จนกลายเปนภาวะ โลกรอน แกสคารบอนมอนอกไซด (CO) เปนแกสที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น เกิดจากการเผาไหมที่ไมสมบูรณเชื้อเพลิงของรถยนต สามารถเขาสูรางกายไดทางลมหายใจ เมื่อรวมตัวกับฮีโมโกลบิน จะขัดขวางการลําเลียงและขนสงกาซออกซิเจนของเลือดไป ยังสวนตางๆของรางกาย จนมีภาวะเลือดเปนกรดและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได แกสซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) เปนแกสที่ไมมีสี แตมีกลิ่นฉุนกอใหเกิดอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ และเปน สาเหตุของฝนกรด (pH ตํ่ากวา 5.6) ซึ่งจะทําลายระบบนิเวศน ปาไม และแหลงนํ้า รวมถึงการกัดกรอนทําลายสิ่งกอสรางและ โบราณสถาน แกสไนตริกออกไซด (NO) และแกสไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) เกิดจากการสันดาปของเชื้อเพลิงที่มีไนโตรเจนเปน องคประกอบหรือมาจากแหลงอุตสาหกรรม ซึง่ เปนอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ โลหะผุกรอน เปนสาเหตุของฝนกรด และ

84

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ทําใหพืชผลเสียหายและสีซีดจาง สารประกอบไฮโดรคารบอน มาจากการเผาไหมเชื้อเพลิงไมหมด มีผลตอระบบทางเดินหายใจ สารคลอโรฟลูออโรคารบอน (Chlorofluorocarbon; CFC) เปนสารใชทําความเย็น สารขับดันในกระปองสเปรย และ สารในอุตสาหกรรมโฟม สาร CFC ทําลายชั้นโอโซนในบรรยากาศและทําใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก 2. มลพิษทางนํ้า นํ้าเสีย คือ นํ้าที่มีสิ่งเจือปน ซึ่งมาจากแหลงกําเนิดตางๆ ไดแก อาคารบานเรือนชุมชนโรงงานอุตสาหกรรมและการ ทําการเกษตร สวนสารทีท่ าํ ใหเกิดมลพิษทางนํา้ ไดแก สารอินทรีย ฟอสเฟต และนํา้ มัน โดยเฉพาะนํา้ มันถือเปนสวนทีเ่ กีย่ วของ กับอุตสาหกรรมปโตรเลียมโดยตรง เมื่อไหลลงสูแหลงนํ้าจะลอยอยูบนผิวนํ้า ทําใหออกซิเจนในอากาศไมสามารถละลายลงสู แหลงนํ้าได สัตวนํ้าในบริเวณนั้นจึงขาดออกซิเจนและตายลงในที่สุด การบอกคุณภาพนํ้า DO (Dissolved Oxygen) คือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยูในนํ้า ซึ่งควรจะมีคา DO ไมนอยกวา 3 mg/dm3 BOD (Biological Oxygen Demand) คือ ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชยอยสลายสารอินทรียในนํ้า มีคาไมควรเกิน 100 mg/dm3 COD (Chemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใชในการยอยสลายสารอินทรียในนํ้า ซึ่งควร มีคานอยๆ 3. มลพิษทางดิน มลพิษดานสุดทายนี้ คือ ปญหามลพิษของดินซึง่ เกิดจากการทําลายสมดุลทางธรรมชาติจนกอใหเกิดมลภาวะทางภาค พื้นดิน ดินเปนอนุภาคที่มีขนาดเล็ก อีกทั้งสามารถฟุงกระจายไปในอากาศความรุนแรงของมลพิษทางดินขึ้นอยูกับอนุภาคดิน นั้นมีองคประกอบอยางไรสภาพทางอุตุนิยมวิทยา สภาพพื้นที่ เปนตนหากอนุภาคดินถูกพัดพาไปยังแหลงนํ้าดินที่เปนมลสาร จะกอใหเกิดปญหามลพิษทางนํ้า โดยตรงทั้งทางคุณภาพและปริมาณ อีกทั้งยังกอใหเกิดปญหาโดยออมเมื่ออนุภาคดินนั้นมี ธาตุอาหารทีส่ ง เสริมการเจริญเติบโตของพืชนํา้ กอใหเกิดภาวะขาดออกซิเจนในแหลงนํา้ สัตวนาํ้ ในแหลงนํา้ นัน้ ไดรบั ผลกระทบ เกิดกลิ่นเหม็นของกาซไขเนา (hydrogen sulfide, H2S) อันตรายของมลภาวะทางดินตอสิ่งมีชีวิต ไดแก 1. อันตรายตอมนุษย ตัวอยางเชนพิษของสารประกอบไนเทรตไนไทรตในยาปราบศัตรูพืช จากนํ้าดื่ม นํ้าใชในแหลง เกษตรกรรมและจากผลผลิตทางการเกษตร เชน ผัก ผลไม จนถึงระดับที่เปนพิษตอรางกายได 2. อันตรายตอสัตว สัตวทหี่ ากินในดินจะไดรบั พิษจากการสัมผัสสารพิษในดินโดยตรงและจากการบริโภคอาหารทีม่ สี าร พิษปะปนอยู 3. อันตรายตอพืชและสิง่ มีชวี ติ ในดิน พืชจะดูดซึมสารพิษเขาไป ทําใหเจริญเติบโตผิดปกติ ผลผลิตตํา่ หรือเกิดอันตราย และการสูญพันธุขึ้น จากการศึกษามลพิษทางดานตางๆ ไป นองๆ รูส กึ เหมือนพีไ่ หมวา ชีวติ คนเรานีอ่ ยูไ มหา งไกลจากมลพิษเลย ดังนัน้ ทาง ที่ดีที่สุด พวกเราจึงควรดูแลรักษาสุขภาพใหดีอยูเสมอ ออกกําลังกายเปนประจํา ทานอาหารที่มีประโยชนใหครบ 5 หมู และ ถูกสุขอนามัย เทานี้นองก็จะสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมที่มีแตมลพิษไดอยางสบายๆ

นองๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่

Tag : สอนศาสตร เคมี เชื้อเพลิง ซากดึกดําบรรพ ถานหิน ปโตเลียม ผลิตภัณฑเคมี แกสธรรมชาติ นํ้ามัน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

85


• 16 : ปโตเลียมและพอลิเมอร http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch4-1 • สอนศาสตร เคมี ม.ปลาย : เชื้อเพลิง ซากดึกดําบรรพและผลิตภัณฑ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch4-2

• เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ และผลิตภัณฑ ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch4-3

• เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ และผลิตภัณฑ ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch4-4

• เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ และผลิตภัณฑ ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch4-5

• แกสธรรมชาติ (Natural Gasses) http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch4-6

• นํ้ามันดิบ (Oil) http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch4-7

86

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่ 5

พอลิเมอร (Polymer)

Introduction

ในบทผานๆ มา สารเคมีที่นองๆ พบเจอ มักจะเปนสารเคมีเพียงตัวใด ตัวหนึ่ง อาจจะตัวเล็ก ตัวใหญปะปนกันไป แต ในบทนี้ สารเคมีที่นองๆ จะไดพบ ไมเพียงแตจะเปนสารเคมีที่มีโครงสรางขนาดใหญ แตพี่ขอบอกวา มันใหญมากเลยทีเดียว จนไมสามารถเขียนเต็มๆ ได ทางเดียวที่นองจะเขียนสูตรโครงสรางของสารจําพวกนี้ได คือ นองตองเขียนอยางยอ และที่ สําคัญสารประเภทนี้ อยูรอบๆตัวนองทั้งนั้นเลย ซึ่งพี่ขอเรียกสารเหลานี้วาเปนสารตระกูล “พอลิเมอร” กอนที่จะเขาสูบท เรียน พี่อยากใหนองๆลองพิจารณาถึงสิ่งรอบตัววา นองๆ คิดวาสิ่งรอบตัวนองนั้น มีสิ่งใดบางที่นาจะจัดเปนสารตระกูล พอ ลิเมอร

Outlines

1. ความหมาย และชนิดของพอลิเมอร 2. ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร 3. โครงสรางและสมบัติของพอลิเมอร 4. พลาสติก 5. เสนใย 6. ยาง 7. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมพอลิเมอร

1. ความหมายและชนิดของพอลิเมอร พอลิเมอร คือ สารที่มีนํ้าหนักมวลโมเลกุลสูง สามารถพบไดในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และนํามาใชประโยชนตอการดํารงชีวิตของ มนุษยไดมาก อีกทั้งยังมีบทบาทสําหรับกระบวนการในอุตสาหกรรมตางๆ เชน พลาสติก ยางพารา และเสนใยสังเคราะห เปนตน โดยพอลิเมอรบางชนิดสามารถเกิดขึ้นไดเองตามธรรมชาติ เชนคารโบไฮเดรต เซลลูโลส โปรตีน และยางธรรมชาติ และบางชนิดไดจากการสังเคราะหขึ้น เชน พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิไวนิลคลอไรด และพอลิเมทิลเมทาคริเลต เปนตน กอนที่จะศึกษาตอ พี่จะพานองๆ มารูจักกับรากศัพทของคําวา พอลิเมอรกันกอนดีกวา คําวา พอลิเมอร นั้นเปนทับศัพทมาจาก ภาษาอังกฤษที่เขียนวา Polymer ซึ่ง Polymer มีรากศัพทมาจาก Poly + Meros ซึ่ง Poly หมายถึง จํานวนมากและ Meros คือ สวนหรือหนวย เมื่อรวมกันจะหมายความวาสารโมเลกุลขนาดใหญที่ประกอบดวยหนวยซํ้าๆ กันของมอนอเมอร (Monomer) มาเชื่อมตอกันดวยพันธะโคเวเลนต ดังภาพ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

87


ชนิดของพอลิเมอร พอลิเมอรเปนสารที่มีอยูหลากหลายชนิด แตละชนิดจะมีการกําเนิด คุณสมบัติ องคประกอบ และประโยชนที่ใชแตกตางกัน ออกไปจึงมีการจัดจําแนกประเภทพอลิเมอรตามเกณฑ ดังนี้ • พิจารณาตามการกําเนิดแบงได 2 ชนิด คือ - พอลิเมอรธรรมชาติ (Natural Polymers) พอลิเมอรชนิดนีเ้ กิดขึน้ เองตามธรรมชาตินอ งสามารถพบไดในสิง่ มี ชีวติ ซึง่ จะมีความแตกตางกันไปตามชนิดของสิง่ มีชวี ติ และตําแหนงทีน่ อ งๆสามารถพบในสิง่ มีชวี ติ ไดเชนไกลโคเจน กรดนิวคลี อิก เซลลูโลสเสนใยพืช และไคติน - พอลิเมอรสงั เคราะห (Synthetic Polymers) เปนพอลิเมอรทมี่ นุษยเปนผูส งั เคราะหขนึ้ โดยการนําสารมอนอ เมอรจาํ นวนมากมาทําปฏิกริ ยิ าเคมีกนั ภายใตสภาวะทีเ่ หมาะสม และเกิดพันธะโคเวเลนตตอ กันจนกลายเปนโมเลกุลพอลิเมอร ไดแก พลาสติก ไนลอน ยางสังเคราะห และเสนใยสังเคราะห เปนตนซึ่งพอลิเมอรสังเคราะหนี้ นองๆจะไมสามารถหาจาก ธรรมชาติได เพราะตองผานกรรมวิธี หรือ แปรรูปออกมาตามความตองการเทานั้น • พิจารณาตามมอนอเมอรที่เปนองคประกอบแบงได 2 ชนิด คือ - โฮโมพอลิเมอร (Homo polymer) เปนพอลิเมอรทเี่ กิดจากมอนอเมอรชนิดเดียวกันทัง้ หมดมาตอกัน (คําวา Homoหมายถึง ชนิดเดียว) เชน โฮโมพอลิเมอรธรรมชาติ: แปง เซลลูโลส และไกลโคเจน ตางก็มีมอนอเมอรคือกลูโคสสวนยางธรรมชาติมีมอนอเมอร คือไอโซพรีน โฮโมพอลิเมอรสังเคราะห: พอลีเอทิลีน มีมอนอเมอรคือเอทิลีน สวนพอลีสไตรีน มีมอนอเมอรคือสไตรีนสามารถแสดงเปน ภาพการตอกันของมอนอเมอรได ดังนี้

ตัวอยางโครงสรางของเซลลูโลส

- โคพอลิเมอร (Co - polymer) เปนพอลิเมอรประกอบดวยมอนอเมอรมากกวา 1 ชนิดขึน้ ไปเชนโปรตีน กรดนิวคลี อิก พอลิเอสเทอร พอลิเอไมดเปนตน สามารถแสดงเปนภาพการตอกันของมอนอเมอรได (คําวา Co- หมายถึง มากกวา 1 ชนิดมารวมกัน) ดังนี้

88

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตัวอยางโครงสรางของพอลิเพปไทด

มุมเล็กๆ ขอเมาทมอย นองๆ อาจเคยไดยินคําวา “มาโคกันนะ” หรือ “มาจอยกันนะ” ซึ่งหมายถึง มารวมกัน คําวา Homo- และ Co- เปนคําขยาย ซึ่ง Homo- หมายถึง ชนิดเดียว สวน Co- หมายถึง มากกวา 1 ชนิดมาอยูรวมกัน ดังนั้น Homopolymer จึงมีพอลิเมอรเพียงชนิดเดียว สวน Copolymer มีพอลิเมอรมากกวา 1 ชนิด ตัวอยางขอสอบ ขอใดเปนพอลิเมอรธรรมชาติทั้งหมด 1. แปง เซลลูโลส พอลิสไตรีน 2. ไกลโคเจน ไขมัน ซิลิโคน 3. โปรตีน พอลิไอโซพรีน กรดนิวคลีอิก 4. ยางพารา พอลิเอทิลีน เทฟลอน เฉลยขอ 3 โปรตีน พอลิไอโซพรีน กรดนิวคลีอิก ขอ 1. ผิด เพราะพอลิสไตรีนเปนพอลิเมอรสังเคราะห ขอ 2. ผิด เพราะไกลโคเจนเปนพอลิเมอรสังเคราะห สวนไขมันไมใชพอลิเมอร ขอ 3 ถูก เพราะโปรตีน พอลิไอโซพรีน และกรดนิวคลีอิก จัดเปนพอลิเมอรธรรมชาติทั้งหมด ขอ 4. ผิด เพราะพอลิเอทิลีน และเทฟลอน เปนพอลิเมอรสังเคราะห 2. ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร ถึงตอนนี้นองๆ นาจะรูจักพอลิเมอรชนิดตางๆ กันแลว พี่จะพานองๆ มารูจักกับกลไกในการเกิดพอลิเมอรที่นองพึ่งได เรียนรูไ ปกันดีกวา ปฏิกริ ยิ าการเกิดพอลิเมอร คือ ปฏิกริ ยิ าการรวมตัวกันของมอนอเมอรและเกิดเปนพอลิเมอร เรียกวาปฏิกริ ยิ า พอลิเมอรไรเซชัน (PolymerizationReaction) ซึ่งแบงไดเปน 2 แบบ ดังนี้ - ปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบเติม (Addition Polymerization) หรือแบบรวมตัว เปนปฏิกิริยาที่เกิดจากมอนอ เมอรที่ไมอิ่มตัว (แอลคีน) มารวมตัวกันเปน พอลิเมอร โดยไมมีการกําจัดสวนใดออกจากโมเลกุลของมอนอเมอร เชน การเกิด พอลิเอทิลีน พอลีสไตรีนพอลิไวนิลคลอไรด เปนตน (ถาเทียบงายๆก็คือ สารมอนอเมอรที่เดิมทีจับสองแขน (พันธะคู) จะสละ 1 แขนเพื่อไปจับกับมอนอเมอรอีกตัว ทําใหเดิมการจับสองแขน (พันธะคู) เหลือจับเพียงแขนเดียว (พันธะดี่ยว) นั่นเอง)

+

+

ตัวเรง

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

89


- ปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบควบแนน (Condensation Polymerization)เกิดจากมอนอเมอรที่ทีหมูฟงกชัน มากกวา 1 หมู มาทําปฏิกริ ยิ ากัน แลวเกิดพอลิเมอร โดยมีโมเลกุลเล็กๆ เชน H2O , NH3, HCl หรือ CH3OHเกิดขึน้ เปนผลพลอยได (นองๆลองพิจารณาคําวา ควบแนน พี่อยากรูวานองๆรูสึกเหมือนพี่ไหม พี่รูสึกวา คําวาควบแนน เหมือนกันนําสิ่งของ 2 สิ่งขึ้น ไปมารวมตัวกัน) ตัวอยาง การเกิดไนลอน 6, 6 จะมี H2O เกิดขึ้น

นํ้า : ผลพลอยได 3. โครงสรางและสมบัติของพอลิเมอร หลังจากที่นองๆ รูชนิด และกลไกการเกิดของพอลิเมอรแลว พี่จะพานองๆ มารูจักกับโครงสรางและสมบัติของ พอลิเมอรกัน ซึ่งโครงสรางขอพอลิเมอรนี้มีทั้งหมด 3 แบบใหญๆ ที่แตกตางกัน ไดแก 1. พอลิเมอรแบบเสน (Linear Polymers) มีลักษณะเปนโซตรงยาว โครงสรางจะชิดกันมาก ทําใหมีลักษณะแข็ง เหนียว ความหนาแนนสูง จุดหลอมเหลวสูง เมื่อไดรับความรอนจะออนตัวและกลับมาแข็งตัวเมื่ออุณหภูมิตํ่าสามารถจําแนก ตามโครงสรางไดเปน 3 แบบ คือ 1.1) พอลิเมอรที่สายโซเรียงชิดกันมากเปนพอลิเมอรที่แข็งแรงขุนและเหนียวเชนพอลิเอทิลีน

1.2) พอลิเมอรที่โมเลกุลอยูหางกันเปนพอลิเมอรที่ใสมากกวาพอลิเมอรที่สายโซเรียงชิดกัน เชน พอลิไวนิลคลอไรด และพอลิสไตรีน

90

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


1.3) พอลิเมอรที่มีอะโรมาติกเปนองคประกอบในสายโซเปนพอลิเมอรที่มีความใสมากที่สุด เชน พอลิเอทิลีนเทเรฟ ทาเลต (PET) หรือขวดพลาสติก

มุมเล็กๆ ขอเมาทมอย ขวดนํ้าที่นองๆ ดื่ม ก็ขวด PET นะ 2. พอลิเมอรแบบกิ่ง (Branched Polymers) มีสวนประกอบหลักอยู 2 สวน ดังตอไปนี้ 2.1) สวนที่เปนโซหลัก – ประกอบดวยมอนอเมอรชนิดเดียวเทานั้น 2.2) สวนทีเ่ ปนโซกงิ่ -เปนมอนอเมอรอกี ชนิดหนึง่ ทีไ่ มไดอยูใ นโซหลักดวยโครงสรางแบบกิง่ ทําใหพอลิเมอรชนิดนี้ ไมสามารถจัดเรียงตัวชิดกันได จึงมีความยืดหยุนสูง มีความหนาแนนตํ่า และมีจุดหลอดเหลวตํ่ากวาพอลิเมอรแบบเสน เชน พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนตํ่า (Low Density Polyethylene; LDPE)

3. พอลิเมอรแบบรางแห (Cross–Linked Polymers) เปนพอลิเมอรที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหวางพอลิเมอรที่มี โครงสรางแบบเสน หรือแบบกิ่งตอเนื่องกันเปนรางแห ซึ่งมีจุดหลอมเหลวสูง เมื่อขึ้นรูปแลวจะไมสามารถหลอมหรือ เปลี่ยนแปลงรูปรางได ถาพันธะที่เชื่อมโยงระหวางโซหลักมีจํานวนนอย พอลิเมอรจะมีสมบัติยืดหยุนและออนตัวสูง แตถามี จํานวนพันธะมาก พอลิเมอรจะแข็งและไมยืดหยุน เชน เบกาไลต เมลามีน อีพอกซี

โครงสรางของอีพอกซี

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

91


สรุป รูปโครงสรางของพอลิเมอร ไดดังนี้

โครงสรางแบบเสน

โครงสรางแบบกิ่ง

โครงสรางแบบรางแห

4. พลาสติก พลาสติก เปนพอลิเมอรอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากการอัดใหเปนรูปรางตางๆ เพื่อเหมาะสมตอการนําไปใชประโยขน เชน ภาชนะบรรจุของ ขวดพลาสติก จาน ชอน เกาอี้ วัสดุทําอุปกรณไฟฟา ฯลฯ อีกทั้งยังใชแทนวัสดุธรรมชาติไดโดยพลาสติกมีทั้ง ชนิดแข็ง ชนิดไมแข็ง มีหลายสีขึ้นอยูกับกระบวนการผลิต พลาสติกเปนรอยขูดขีดไดงาย เมื่อใชไปนานๆ จะเปราะแตกได และ จะละลายไดดีในตัวทําละลายอินทรีย พี่เชื่อวา นองๆ คงรูจักกับ พลาสติกอยางดีแนนอน เพราะชีวิตประจําวันของนองๆก็คง ปฏิเสธไมไดวา พบกับพลาสติกบอยมากๆ แตนองๆ ทราบรึเปลาวาพลาสติกสามารถออกแบงเปน 2 ประเภท ดังตอไปนี้ 1. เทอรมอพลาสติก (Thermoplastic) เปนพลาสติกที่สามารถเปลี่ยนรูปกลับไปกลับมาได ระหวางพลาสติกแข็งและ พลาสติกหลอม โดยจะออนตัวเมือ่ ไดรบั ความรอน แตเมือ่ อุณหภูมลิ ดลงจะแข็ง ตัว จึงสามารถเปลี่ยนรูปรางได โดยที่สมบัติของพลาสติกไมเปลี่ยนแปลง ดัง นัน้ พลาสติกประเภทนีจ้ งึ นํากลับมาใชใหมไดซงึ่ พอลิเมอรประเภทนีม้ โี ครงสราง แบบเสนหรือแบบกิง่ และมีการเชือ่ มตอระหวางโซพอลิเมอรนอ ยมาก ตัวอยาง เชน พอลิเอทิลีน พอลิไวนิลคลอไรด พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีนตัวอยางในชีวิต ประจําวัน เชน ขวดนํ้าพลาสติกที่นองๆ ใชดื่มกัน

2. พลาสติกเทอรมอเซต (Thermosetting plastic) เปนพลาสติกที่ไมสามารถนํากลับมาขึ้นรูปใหมไดอีกเมื่อขึ้นรูปโดยการผาน ความรอนหรือแรงดันแลว เนื่องจากพอลิเมอรประเภทนี้มีโครงสรางแบบ รางแห เมือ่ แข็งตัวแลวจะมีความแข็งมาก ทนตอความรอนและความดันได ดีกวาเทอรมอพลาสติก ถาใหอุณหภูมิสูงมากจะแตกและไหมเปนเถา ตัวอยางเชน พอลิฟนอลฟอรมาลดีไฮด พอลิเมลามีนฟอรมาลดีไฮด และ พอลิยูรีเทน ตัวอยางเชน ทอนํ้าสีตางๆ ตามบานเรือนของนองๆ

92

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


มุมเล็กๆขอเมาทมอย พลาสติกเทอรโมเซต มีคําวา “เซต” ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษคําวา set ที่แปลวา กําหนดติดตั้ง ดังนั้นพลาสติกเทอรโมเซตจึงเปนชนิดของพลาสติกที่ถูกกําหนดติดตั้งไว จึงไมสามารถนํากลับมาขึ้นรูปใหมไดอีก ตางกับ เทอรโมพลาสติก ที่สามารถนํากลับมาขึ้นรูปใหม ตารางแสดงสูตรโครงสราง คุณสมบัติและประโยชนของมอนอเมอรและพอลิเมอรชนิด ตางๆ ที่เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบเติม ประเภท เทอรมอพลาสติก มอนอเมอร เอทิลีน (H2C=CH2)

โพรพิลีน (H2C=CH-CH3) ไวนิลคลอไรด } (H2C=CH-Cl) เตตระฟลูออโรเอทิลีน (F2C=CF2)

สไตรีน

พอลิเมอร

คุณสมบัติ/ประโยชน เผา : กลิ่นพาราฟน ใชทําเครื่องใช ของเลน และ ฉนวนไฟฟา

พอลิเอทิลีน (PE)

เผา : กลิ่นพาราฟน ใชทําขวดนํ้าอัดลม ภาชนะบรรจุ สารเคมี

พอลิโพรพิลีน (PP)

พอลิไวนิลคลอไรด (PVC)

เผา : กลิ่นกรดเกลือ ใชทําทอนํ้า ทอสายไฟฟากระเบื้องยาง ฉนวนสายหุมไฟฟา

พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน หรือ เทฟลอน (PTFE)

ใชเคลือบผิวภาชนะที่ใชในครัว ทําสายไฟ

พอลิสไตรีน (PS)

เผา : กลิ่นคลายจุดตะเกียง ใชทําโฟม วัสดุลอยนํ้า ฉนวนไฟฟา

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

93


เมทิลเมทาคริเลต

พอลิเมทิลเมทาคริเลต (PMMA)

อะคริโลไนไตรต

พอลิอะคริโลไนไตรต (PAN)

ลักษณะใส โปรงแสง ใชทํากระจกแวนตา กระจก ครอบไฟทายรถ หรือพลาสติก ตกแตงบาน ทนตอเชื้อราไดดี ใชทําเสื้อผาและผาออมเด็ก

ตารางแสดงสูตรโครงสราง คุณสมบัติและประโยชนของมอนอเมอรและพอลิเมอรที่เกิด จากปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบควบแนน ประเภท เทอรมอพลาสติก มอนอเมอร ไดเมทิลเทเรฟทาเลต + เอทิลีนไกลคอล

กรดอะดิปก + เฮกซะเมทิลีนไดเอมีน

บิส – ฟนอลเอ + ฟอสจีน 1,4 – บิวเทนไดออล + เฮกซะเมทิลีนไดไอโซ ไซยาเนต

94

พอลิเมอร พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET) ดาครอนหรือโทรเรเทโทรอน

พอลิเอไมด (PA) หรือ ไนลอน 6,6

พอลิคารบอเนต (PC)

พอลิยูริเทน (PU)

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

คุณสมบัติ/ประโยชน ใชทําขวดนํ้าอัดลม ขวดนํ้าดื่มชนิดแข็ง และใส ทําเสนใย เอ็น แห อวน เชือก ดายเสนเทปวีดิโอ เทปเพลง หรือทํา หินออนเทียม ใชทําเชือก ดายถุงนอง ชุดชั้น ใน ชิ้นสวนเครื่องจักรกล หรือ ปลอกหุมสายไฟฟา ใชทํากลองบรรจุเครื่องมือเครื่อง โทรศัพท ขวดบรรจุนํ้าดื่ม ขวดนมเด็ก หรือภาชนะที่ใชแทนเครื่องแกว ใชทําเสนใยของชุดวายนํ้า ลอรถเข็น นํ้ายาเคลือบผิว บุเกาอี้


ประเภท เทอรมอพลาสติก ฟนอล + ฟอรมาลดีไฮด

พอลิฟนอล-ฟอรมาลดีไฮด (เบกาไลท, PF)

ใชทํากาว หรือแผงวงจรไฟฟา

ยูเรีย + ฟอรมาลดีไฮด

พอลิยูเรีย-ฟอรมาลดีไฮด (UF)

ใชทํากาว โฟม หรือแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส

พอลิเมลามีน-ฟอรมาลดีไฮด (MF)

ใชทําถวย ชาม แผงวงจร หรือผาใบกันนํ้า

เมลามีน + ฟอรมาลดีไฮด

จากที่เห็นนองๆ อาจจะคิดวา พลาสติกจะเปนสิ่งที่มี ประโยชนและนิยมนํามาใชมาก แตหารูไมวา พลาสติกเปน ปญหาหลักทางดานการกําจัด เพราะวายอยสลายไดยาก อีก ทั้งในปจจุบันสังคมมีความคํานึงถึงสิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยมี สมาคม อุตสาหกรรมพลาสติกแหงอเมริกา (The Society of the Plastics Industry, Inc.)ไดกําหนดสัญลักษณมาตรฐานของ พลาสติกยอดนิยมกลุมตางๆ ที่สามารถนํากลับมาหมุนเวียน หรือรีไซเคิล (Recycle) ไว 7 ประเภทหลักๆ โดยหากพลาสติก ใดสามารถนํามารีไซเคิลได ก็จะมีสัญลักษณที่ประกอบดวยรูป ลูกศร 3 ตัว วนเปนรูปสามเหลี่ยมรอบตัวเลขตัวหนึ่ง

หมายเลข

สัญญลักษณ

การใชประโยชน

ชื่อ

PETE

พอลิเอทิลีน

นิยมใชทําขวดขวดนํ้าดื่ม ขวดนํ้า อัดลม

HDPE

พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนสูง

ทําเปนภาชนะบรรจุตางๆ เชน ทัป เปอรแวร ขวดนม ถังนํ้ามัน โตะ และเกาอี้แบบพับได ถุงพลาสติก

ไวนิลหรือพอลิไวนิลคลอไรด (PVC)

ทําพลาสติกหออาหาร ถุงหูหิ้ว ขวด บรรจุชนิดบีบ กลองอุปกรณตางๆ ภาชนะบรรจุเครื่องดื่มอาหาร

1

2

3

V

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

95


4

PETE

พอลิเอทิลนี ชนิดความหนาแนนตํา่

ถุงหูหิ้ว ขวดพลาสติกบางชนิด ถุงเย็นสําหรับบรรจุอาหาร

5

PP

พอลิโพรพิลีน

ใชทําภาชนะบรรจุอาหาร ขวดบรรจุ ยา สามารถนํามารีไซเคิลเปนกลอง แบตเตอรี่ในรถยนต ชิ้นสวนรถยนต

6

PS

พอลิสไตรีน

ทําโฟม พลาสติกที่ใชแลวทิ้งเชน ถวย ชอน สอม มีด

7

OTHER

อื่นๆ

สามารถนํามาหลอมใหมได

ตัวอยางขอสอบ คุณสมบัติของพลาสติกชนิดหนึ่ง มีดังนี้ a. เปนเทอรมอพลาสติก b. ประกอบดวยมอนอเมอรเพียงชนิดเดียว c. ใชทํารองเทา กระดาษติดผนัง d. เมื่อไหมไฟจะเกิดควันสีขาว กลิ่นคลายกรดเกลือ จงพิจารณาวาพลาสติกชนิดใด มีสมบัติดังกลาว 1. พอลิสไตรีน 2. พอลิไวนิลคลอไรด 3. พอลิโพรพิลีน 4. พอลิยูเรียฟอรมาลดีไฮด เฉลยขอ 2. พอลิไวนิลคลอไรด เนื่องจากเปนโฮโมพอลิเมอรที่ประกอบดวยมอนอเมอรเพียงชนิดเดียว และเปนเทอร มอพลาสติกที่สามารถนํากลับมาใชใหมได โดยโครงสรางของพอลิไวนิลคลอไรดเปน ซึ่งมี Cl อยู เมื่อไหมไฟจึงเกิดปฏิกิริยาที่มีกลิ่นคลายกรดเกลือ (HCl) เคล็บลัดที่ไมลับ ถาถามเรื่องคุณสมบัติ เราไมจําเปนตองรูคุณสมบัติทุกชนิดก็ได แตตองพิจารณาจุด เดนๆ ใหเปนมากกวา

96

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตัวอยางขอสอบ ขอใดจัดประเภทของพลาสติกไดถูกตอง เทอรมอพลาสติก

พลาสติกเทอรมอเซต

1

ถุงพลาสติก

ดอกไมพลาสติก

2

โฟม

เกาอี้พลาสติก

3

ดามจับเตารีด

ฟลมถายภาพ

4

กระดาษปดผนัง

เตาเสียบไฟฟา

เฉลยขอ 4. เทอรมอพลาสติก – กระดาษปดผนัง พลาสติกเทอรมอเซต – เตาเสียบไฟฟา สวนขออื่นที่ผิด เนื่องจากจัดไมตรงกับประเภทของพลาสติก และการจัดประเภทที่ถูกตอง มีดังนี้ เทอรมอพลาสติก – เกาอี้พลาสติก ดอกไมพลาสติก ฟลมถายภาพ พลาสติกเทอรมอเซต – ดามจับเตารีด

5. เสนใย นองๆ รูจักกับคําวา เสนใย ดีมากนอยอยางไรกันบาง หลังจากที่เราเรียนเกี่ยวกับพลาสติก ซึ่งเปนพอลิเมอรชนิดแรก ไปแลว ตอนนีพ้ จี่ ะพานองๆ มารูจ กั กับเสนใยทีเ่ ปนพอลิเมอรอกี ชนิดหนึง่ กันตอ เสนใย คือ พอลิเมอรทมี่ โี ครงสรางของโมเลกุล เหมาะสมตอการนํามาทําเปนเสนดาย สามารถเกิดขึ้นเองในธรรมชาติและไดจากการสังเคราะห จึงสามารถจําแนกประเภท ของเสนใยตามลักษณะการเกิดได 3 รูปแบบ ไดแก 1. เสนใยธรรมชาติ (Natural Fibers) เปนเสนใยที่สามารถเกิดขึ้นเองในธรรมชาติ คุณสมบัติดูดซับนํ้าไดดีและแหงชา แตขึ้นราและยับงาย มีแหลงกําเนิดจากแหลงตางๆ ดังนี้ 1.1) เสนใยจากพืช (เซลลูโลส) เปนโฮโมพอลิเมอร ประกอบดวยโมเลกุลของกลูโคสจํานวนมาก มีโครงสรางเปนโซ กิง่ ใชในการผลิตสิง่ ทอ เสนใยชนิดนี้ ไดแก เสนใยเซลลูโลส ซึง่ ไดจากสวนตางๆของพืช เชน ฝาย ปาน ปอ ลินนิ นุน ใยสับปะรด ใยมะพราว ศรนารายณ เปนตน 1.2) เสนใยจากสัตว (โปรตีน) ไดแก เสนใยไหม ขนแกะ ขนแพะผม เปนตน ซึง่ เสนใยเหลานี้ มีสมบัตคิ อื เมือ่ เปยกนํา้ ความเหนียวและความแข็งแรงจะลดลง เสนใยจะหดตัว โดยถาสัมผัสแสงแดดนานๆ จะสลายตัวดังนั้นการทําความสะอาดจึง ใชการซักแหง 1.3) เสนใยจากสินแร (ใยหิน) เชน แรใยหิน มีความทนทานตอการกัดกรอนของสารเคมี ทนไฟ และไมนาํ ไฟฟา 2. เสนใยกึ่งสังเคราะห (Semi-Synthetic Fibers) เปนเสนใยที่นําสารจากธรรมชาติ มาปรับปรุงใหเหมาะกับการใช งาน นิยมใชทําผาเช็ดตัว และผาออม ไดแก เซลลูโลสแอซีเตต วิสคอส-เรยอง และแบมเบอรกเรยอง เปนตน 3. เสนใยสังเคราะห (Synthetic Fibers) เปนเสนใยที่สังเคราะหขึ้น เพื่อใชทดแทนเสนใยจากธรรมชาติ โดยใชสาร อนินทรียหรือสารอินทรียมาสังเคราะหมีคุณสมบัติดีกวาเสนใยธรรมชาติ คือ แหงเร็ว ไมยับงาย อีกทั้งยังทนตอสารเคมี เชื้อ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

97


รา และจุลินทรียได โดยแบงไดเปน 3 ประเภท คือ 3.1) พอลิเอสเทอร เชน ดาครอนหรือโทเรเทโทรอนมีประโยชนในการทําเชือก ฟลม ใชบรรจุในหมอน อีกทั้ง ยังเปนผาที่ทนตอความรอนและสารเคมี โดยเมื่อซักแลวจะไมตองรีด 3.2) พอลิเอไมด เชน ไนลอน มีหลายชนิด เชน ไนลอน 6 ไนลอน 6,6 หรือ ไนลอน 6,10 ซึ่งตัวเลขนี้จะแสดง จํานวนคารบอนอะตอมในมอนอเมอรของเอมีนและกรดคารบอกซิลิกตามลําดับดังรูป โครงสรางของไนลอน 66

โครงสรางของไนลอน 6

3.3) พอลิอะคริโลไนไตรลเชน โอรอน ใชเปนผาออมสําหรับเด็ก

มุมเล็กๆขอเมาทมอย

เสนใย ธรรมชาติ

เสนใยกึ่ง สังเคราะห

เสนใย สังเคราะห

เสนใยจากธรรมชาติเสนใยที่มนุษยผลิตขึ้น คําถาม หลังจากนองๆ ไดเรียนเกี่ยวกับประเภทของเสนใยไป ไหน นองๆลองยกตัวอยาง สิ่งของในชีวิตประจําวัน และลองถามตัวเองดูซิวา เปนเสนใยประเภทไหน

98

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


สรุปประเภทของเสนใย ดังแผนภาพ เสนใย เสนใยธรรมชาติ เซลลูโลส

ใยหิน

เสนใยกึ่งสังเคราะห เรยอน

เสนใยสังเคราะห พอลิเอสเทอร

โปรตีน

6. ยาง

พอลิเอไมด

พอลิอะคริโลไนไตรล

อื่นๆ

ยาง (Rubber)

นอกจาก พลาสติก และเสนใยแลว ยางก็เปนพอลิเมอรอีกชนิดหนึ่งที่นองๆนาจะรูจักกันดี นองๆ รูหรือไมวายางเปน พอลิเมอรที่มีความยืดหยุนสูง มีความตานทานแรงดัน เปนฉนวนได และออนตัวเมื่อไดรับความรอน ซึ่งยางสามารถแบงได เปน 2 ประเภทตามแหลงกําเนิด ทั้งที่กําเนิดจากธรรมชาติหรือมาจากการสังเคราะหขึ้น ดังนี้ 1. ยางธรรมชาติ (Natural Rubbers)เปนพอลิเมอรที่เกิดจากตนยาง ประกอบดวย มอนอเมอร “ไอโซพรีน” ที่เชื่อม ตอกัน 1,500 ถึง 15,000 หนวย ยางพารา หรือ พอลิไอโซพรีน มีโครงสรางเปนแบบ cis – Isoprene (มีหมูท เี่ หมือนกันอยูด า นเดียวกันของพันธะ คู) คุณสมบัติที่ดี คือ ยืดหยุนไดสูง

ยางกัตตา ยางบาราทา ยางชิคเคิล หรือ พอลิไอโซพรีนมีโครงสรางเปนแบบ trans– Isoprene (มีหมูท เี่ หมือน กันอยูดานตรงขามกันของพันธะคู) เปนยางที่ไดจากตนยางกัตตา, ตนยางบาราทาและตนยางซิคเคิล

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

99


2. ยางสังเคราะห (Synthetic Rubbers) เปนยางที่ไดจากการสังเคราะหโดยเลียนแบบยางธรรมชาติ หรือ พูด งายๆ คือ ยางชนิดนี้ไมสามารถหาไดตามธรรมชาตินะ แตไดจากการสังเคราะหเทานั้น เชน พอลีบิวทาไดอีน (ใชบิวทาไดอีน เปนมอนอเมอร) ยาง SBR (Styrene-Butadiene Rubber) พอลิบิวทาไดอีนมีความยืดหยุนนอย ประกอบดวยมอนอเมอร คือ บิวตะไดอีน หรือ 1, 3 บิวตะไดอีน พอลิคลอโรพรีนมอนอเมอร คือ คลอโรพรีน

ยาง SBR หรือ ยางสไตรีน-บิวทาไดอีนเปนโคพอลิเมอร เนือ่ งจากประกอบดวย 2 มอนอเมอร คือ สไตรีน และ บิวทาไดอีน สามารถทนตอการขัดถูไดดี เกิดปฏิกิริยากับแกสออกซิเจนไดยากกวายางธรรมชาติ และยืดหยุนไดตํ่า กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization) กระบวนการวัลคาไนเซชันเปนกระบวนการปรับปรุงคุณภาพของยาง ซึ่งใชไดทั้งยางธรรมชาติและยางสังเคราะห โดยการนํากํามะถันมาเผากับยางซึ่งจะเกิดพันธะโคเวเลนซ เชื่อมระหวางโซพอลิเมอรดวยอะตอมซัลเฟอรเปนโมเลกุล เดียวกัน ทําใหคงสภาพที่อุณหภูมิตางๆ ทนตอความรอนและแสงแดด อีกทั้งยังละลายในตัวทําละลายไดยากขึ้น

(อางอิงจาก:เอกสารประกอบการสอนโครงการสอนเสริม สโมสรอาจารยจุฬาฯเรื่องผลิตภัณฑปโตรเคมีและพอลิเมอร) ตัวอยางขอสอบ พิจารณาขอความตอไปนี้ a. เอทิลีนจัดเปนมอนอเมอรที่มีขนาดเล็กที่สุดในการผลิตพอลิเมอร b. ซิลิโคนที่ใชในงานศัลยกรรมจัดเปนพอลิเมอรชนิดหนึ่ง c. ไนลอนและอีพอกซีจัดเปนเทอรมอพลาสติก d. ยางธรรมชาติและยางเทียม IR ตางมีไอโซพรีนเปนมอนอเมอร ขอใดถูกตอง 1. a, b และ c 2. a, b และ d 3. a, c และ d 4. b, c และ d เฉลยขอ 2. a. ถูกตอง เนื่องจากเอทิลีนมีโครงสรางโมเลกุลเปน (H2C=CH2) จึงจัดเปนมอนอเมอรที่มีขนาดเล็กที่สุด ที่ใชในการผลิตพอลิ เมอร b. ถูกตอง เนื่องจากซิลิโคนเกิดจาก SiO2 รวมกับอัลคิวคลอไรด(RCL)จะไดสารที่เปนมอนอเมอร c. ผิด เพราะอีพอกซีจัดเปนพลาสติกเทอรโมเซต d. ถูกตอง เนื่องจากยางธรรมชาติและยางเทียม IR มีไอโซพรีนเปนสารตั้งตนเหมือนกัน

100 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


7. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมพอลิเมอร ในปจจุบันนี้ นองๆ ทราบไหมวา ประชากรทั่วโลกมีแนวโนมจํานวนของประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทําใหเกิดการใช ทรัพยากรที่เปนพอลิเมอรในการดํารงชีวิตประจําวันในปริมาณที่มากขึ้นตามไปดวย อีกทั้งยังมีการนําเทคโนโลยีเขามา ประยุกตใช เพื่อเพิ่มความแข็งแรง ทนทานมากขึ้น หรือเพื่อสีสันความสวยงาม ทั้งอุตสาหกรรมพลาสติก เสนใย และยาง โดยนําไปใชทั้งในดานการแพทย การทําเกษตรกรรม รวมถึงงานดานกอสรางดังนั้นกอนจะใชพอลิเมอรชิ้นหนึ่งๆ ไมวาจะเปน ขวดนํ้าดื่ม ถุงพลาสติก ภาชนะตางๆ โดยเฉพาะโฟม ก็อยาลืมคํานึงถึงภาวะมลพิษตอสิ่งแวดลอมที่ตามมา เพื่อใหโลกของ เรายังคงยั่งยืนไดตราบนานเทานาน เพราะพี่เชื่อวานองๆ ทุกคนก็คงอยากจะใหธรรมชาติอยูกับเราไปนานๆ นั่นเอง

นองๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่

Tag : สอนศาสตร เคมี พอลิเมอร การเกิดพอลิเมอร ยาง พลาสติก ปฏิกิริยาพอลิเมอร

• 16 : ปโตเลียมและพอลิเมอร http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch5-1

• Polymer ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch5-2

• Polymer ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch5-3

• Polymer ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch5-4

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

101


• Polymer ตอนที่ 4 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch5-5 • Polymer ตอนที่ 5 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch5-6

• พลาสติก http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch5-7

102 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่ 6

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction)

Introduction

ในบทนี้ นองๆ จะไดเรียนเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี นองๆ บางคนอาจจะคิดในใจ คําวา ปฏิกิริยาเคมี มันดูลึกลับ ซับซอน แสดงวามันตองยากมากๆ แนๆ เลย ขามดีกวา แตเดี๋ยวกอน มันไมใชอยางที่นองคิดเลย กอนอื่นพี่จะพามาทําความ รูจักกับคําวา ปฏิกิริยาเคมีกันกอน ซึ่งมันก็ คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารตั้งตนและสารผลิตภัณฑ โดยสารกอนการ เปลีย่ นแปลงเรียกวา สารตัง้ ตน (Reactant) และสารทีเ่ กิดใหมเรียกวา ผลิตภัณฑ (Product) และพีๆ่ สัมผัสไดวา อาจมีพลังงาน หรือ บางสิ่งบางอยางที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้ก็เปนได ซึ่งสิ่งๆ นั้นเราเรียกมันวา ปฏิกิริยาเคมี นองๆ รูรึเปลา วา ปฏิกริ ยิ าสังเกตไดจากอะไร คําตอบก็คอื การเปลีย่ นสีของสาร การเกิดฟองแกส การเกิดตะกอน หรือการเกิดแกส เชน การ ยอยสลายสารอาหาร การสุกของผลไม ปฏิกิริยาที่เกิดในนํ้าอัดลม การเกิดสนิมของเหล็ก เปนตน ถึงตอนนี้นองๆ นาจะคุนๆ กับปฏิกิริยาเคมีกันบางแลวใชไหม !?^^

Outlines

1. หลักการของการเกิดปฏิกิริยา 2. ประเภทของปฏิกิริยาเคมี 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. ปจจัยที่มีผลตอการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5. กฎอัตราเร็ว 6. พลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยา 1. หลักการของการเกิดปฏิกิริยา เรามารูจ กั หลักการของการเกิดปฏิกริ ยิ ากันดีกวาปฏิกริ ยิ าเกิดไดจากการชนกันของอนุภาค (อะตอม ไอออน หรือโมเลกุล) ของสารที่จะเขาทําปฏิกิริยากัน โดยที่จะตองชนในทิศทางที่เหมาะสม และพลังงานในการชนตองมีคาสูงกวาพลังงานกระตุน หรือพลังงานกอกัมมันต (Activation Energy, Ea) ตามทฤษฎีการชน (Collistion Theory) ดังนั้นพี่จะสรุปหลักการเกิดปฏิกิริยา เคมีงายๆ เปนกราฟดังรูปที่ 1 หรือ พูดงายๆก็คือปฏิกิริยาเคมีนี้ก็เหมือนกับรักแรกพบของนองๆ นั่นเอง ถานองจะหลงรักใคร ซักคนหนึ่ง นองๆ มักจะหลงรักคนที่นองพบครั้งแรก และรูสึกวาคนๆ นั้นนารักกวาคนทั่วๆ ไปจนอยากจะรูจัก ที่สําคัญคงตอง เปนเวลาที่นองโสดดวย ถาไมโสดจะไปมองคนอื่นไดอยางไร จริงไหมละ

รูปที่ 1 แสดงจํานวนโมเลกุลที่เกิดปฏิกิริยาได เมื่อพลังงานในการชนตองมีคาสูงกวา พลังงานกระตุน

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

103


ตัวอยางขอสอบ ขอใดเกิดปฏิกิริยาเคมี a. การผลิตนํ้าโคก b. การบมมะละกอดิบจนเปนมะละกอสุก c. การเหม็นหืนของนํ้ามัน เมื่อทิ้งไวนานๆ d. การทําทิงเจอรไอโอดีน โดยผสมไอโอดีนกับเอทานอล 1. ขอ a, b และ c 2. ขอ a, b และ d 3. ขอ a, c และ d 4. ขอ b, c และ d เฉลยขอ 1 ขอ a. การผลิตนํ้าโคกนั้นนองๆจะตองอัดแก็สที่มีชื่อวา คารบอนไดออกไซดลงไปในนํ้า เพื่อทําใหเกิดกรดคารบอนิก ซึ่งสาร ที่ใสลงไป กับสารที่ไดมาเปนสารคนละตัว ดังนั้นฟนธง เกิดปฏิกิริยาเคมีแนนอน ขอ b. การบมผลไมนั้น นองๆจะตองใชแก็สเอทิลีน ซึ่งทําใหผลไมสุกเร็วขึ้น ดังนั้นเกิดปฏิกิริยาเคมีชัวรๆ ขอ c. นองๆ รูใ ชไหมวา ในอากาศมีกา ซออกซิเจน และกาซออกซิเจนตัวนีแ้ หละ ทีจ่ ะเขาไปทําปฏิกริ ยิ าเคมีกบั นํา้ มันพืช ทีเ่ ปน ไขมันไมอิ่มตัว และเปนปจจัยที่ทําใหเกิดการเหม็นหืน ขอ d. ไอโอดีน สามารถละลายไดในเอทานอล แตไมมีการเปลีย่ นแปลงใหเกิดสารชนิดใหมขึ้นมา ทิงเจอรไอโอดีนคือ เจือจาง ไอโอดีนดวยเอทานอลเฉยๆ เหมือนกับที่นองๆเจือจางนํ้าเชื่อมใหเปนนํ้าหวาน ดังนั้นจึงไมเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. ประเภทของปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีสามารถจําแนกไดถึง 3 ประเภทเลย ดังนี้ 1. ปฏิกิริยารวมตัว (Combination) เปนปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวของสารโมเลกุลเล็กๆ รวมเปนสารโมเลกุลใหญ หรือเกิดจากการรวมตัวของธาตุไดเปนสารประกอบ เชน + O2 (g) 2H2O (l) 2H2 (g) 2. ปฏิกิริยาแยกสลาย (Decomposition) เปนปฏิกิริยาที่เกิดการแยกสลายของสารโมเลกุลใหญใหเปนสารโมเลกุล เล็กลง เชน 2H2 (g) + O2 (g) 2H2O (l) 3. ปฏิกิริยาแทนที่ (Replacement) เปนปฏิกิริยาการแทนที่ของสารหนึ่งเขาไปแทนที่อีกสารหนึ่ง เชน MgSO4 (aq) + H2 (g) Mg (s) + H2SO4 (aq) **มุมเล็กๆ ขอเมาทมอย ปฏิกริ ยิ ารวมตัว ขอเรียกอยางสัน้ ๆ และเขาใจงายๆ วา หลายรวมเปนหนึง่ ปฏิกริ ยิ าแยกสลาย เรียกสั้นๆ วา หนึ่งแตกกระจาย และปฏิกิริยาแทนที่ คือ แลกคูกัน 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หลังจากนองๆ รูจักกับปฏิกิริยาเคมีแลว นองๆ มาทําความรูจักกับอัตราการเกิดปฏิกิริยากันดวยดีกวาอัตราการเกิด ปฏิกริ ยิ าเคมีนอ งๆ สามารถพิจารณาจากปริมาณสารตัง้ ตนทีล่ ดลง หรือปริมาณสารผลิตภัณฑทเี่ กิดขึน้ ณ ชวงเวลาหนึง่ ๆ โดย มีความสัมพันธกัน ดังนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยา (R)= ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงไป ( X) เวลา ( t)

104 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


นองๆ อาจจะงงใชไหมวา ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงไปหมายถึงยังไง แลวเราจะรูไดยังไงปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลง ไป คือ ปริมาณสารตั้งตนที่ลดลงหรือผลิตภัณฑที่เพิ่มขึ้นตอระยะเวลา โดยสารที่เรานํามาคิดนั้น จะนําเฉพาะสารที่มีสถานะ เปน กาซ หรือ สารละลายเทานั้น^^เชน สมการ aA+bB cC อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร _ A_ B C + t t

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย

t

_1 A_1 B 1 C + a t

c t

b t

เมื่อ

A และ B แทนสารตั้งตน C แทนสารผลิตภัณฑ a, b และ c แทนคาคงที่ใดๆ ที่ทําใหสมการเปนจริง นองลองเขียนอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยของสมการนี้กันดูหนอยอยาพึ่งแอบดู H2O (l) โดยใชเวลา T เฉลย (ในกลองสี่เหลี่ยมนะ) H2(g) + O2(g) คําตอบ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย

=

แตเราจะไมเขียน

=

-

= เพราะมีสถานะเปนของเหลว

ในปฏิกิริยาหนึ่งๆ อาจมีหลายขั้นตอน ซึ่งจะเกิดชาบาง เร็วบางขึ้นกับพลังงานกระตุนที่ใช ถาใชพลังงานมาก ปฏิกิริยาจะเกิดไดชา แตถาใชพลังงานนอยจะเกิดไดเร็ว ซึ่งในปฏิกิริยาจะมีขั้นกําหนดอัตรา (Rate DeterminingStep) โดยจะ เปนขั้นที่ปฏิกิริยาดําเนินไปชาที่สุด หรือใชพลังงานกระตุน (Ea) มากที่สุดนั่นเอง ดังนั้นจากรูปที่ 2 จะไดวาขั้นกําหนด ปฏิกิริยาคือ ขั้นที่ I **มุมเล็กๆ ขอเมาทมอย หลักการเกิดปฏิกิริยา เหมือนเวลานองๆ เดินขึ้นภูเขา ถาภูเขาชันมาก นองๆ ก็ตองใชแรง มากในการกาวเดิน นองก็จะเดินอยางลําบากสุดๆ เลย แตถาภูเขามันไมคอยชัน นองการใชแรงนิดเดียวในการเดิน นองก็ สามารถเดินไดอยางสบายใจเลย ถูกไหมละ

รูปที่ 2 แสดงขั้นตอนในการเกิดปฏิกิริยาหนึ่งๆ

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

105


นองๆ รูหรือไมวา การเกิดปฏิกิริยาในขณะเริ่มตนจะเกิดไดเร็ว เพราะปริมาณสารตั้งตนยังมีมาก ทําใหปริมาณ ผลิตภัณฑเกิดขึ้นมากเชนกัน แตเมื่อเวลาผานไปอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะชาลง เพราะมีปริมาณสารตั้งตนลดลง ทําใหเกิด ผลิตภัณฑไดชาลงตามไปดวย ถาเทียบแลวก็เหมือนนองๆ ที่ตนเดือน คุณแมใหเงินคาขนมมา อยากกิน อะไรก็ซื้องายจาย คลองกันเลยทีเดียว แตพอใกลๆ จะสิ้นเดือน เกิดปญหาเศรษฐกิจระดับโลกนั่นก็คือ เงินหมด ทําใหอาหารที่เดิมทีนองๆ ซื้อ งายจายคลอง เริ่มขาดแคลน อาหาร ขนมตางๆ เริ่มตองเสียเวลาตัดสินใจในการซื้อนั่นเอง ตัวอยางการเกิดปฏิกิริยาของสมการ 2H2O2(aq)

2H2O(l) + O2(g)

ถาพี่เอาขอมูลมาเขียนกราฟ จะสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธได ดังนี้ H2O2

H2O

O2

เวลา

เวลา

เวลา

การคํานวณอัตราปฏิกิริยาเคมี • แบบอัตราเร็วคงที่ คือ ปฏิกิริยาที่มีอัตราการลดลงของสารตั้งตน และการเกิดผลิตภัณฑคงที่ตลอดจนสารตั้งตน หมดไปเหมือนกับนองที่บริหารเงินเกงมากๆ มีการวางแผนการใชเงินตั้งแตตนเดือน จนสามารถมีเงินจับจายใชสอย ในปริมาณที่เทากันตลอดทั้งเดือน ตัวอยางขอสอบ ปฏิกิริยาของสาร A สลายตัว ดังสมการ A 4B ไดขอมูลดังตาราง เวลา (s)

สาร A ที่เหลือ (mol/L)

0

3.0

2 5

2.6 2.0

8

1.4

10

1.0

จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร A ในชวง 0 – 2 วินาที และชวง 5 – 8 วินาที - ชวง 0 - 2 s = ความเขมขนA ที่เปลี่ยนไป(mol/L)= 3.0 - 2.6 mol/L = 0.2 mol/L.s เวลา (s) 2–0s - ชวง 5 - 8 s = ความเขมขนA ที่เปลี่ยนไป(mol/L)= 2.0 - 1.4 mol/L = 0.2 mol/L.s เวลา (s) 8–5s

106 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร A และ B - R A = ความเขมขนA ที่เปลี่ยนไป(mol/L)= 3.0 – 1.0 mol/L = 0.2 mol/L.s เวลา (s) 2–0s - R B = R Ax 4 = 0.2 mol/L.s x 4 = 0.8 mol/L.s 1 หมายเหตุ 4/1 มาจากตัวเลขในสมการของสาร A และ B ที่ดุลสมการแลว นั่นคือเมื่อสาร A สลายตัว 1mol/L จะเกิดสาร B 4 mol/L • แบบอัตราเร็วไมคงที่ คือ ปฏิกิริยาที่มีอัตราการลดลงของสารตั้งตนในชวงแรกจะเกิดอยางรวดเร็วและคอยๆ ชา ลงเรื่อยๆ จนสารตั้งตนหมดไป เหมือนกับนองๆ คนที่ปกติทั่วไป ใชจายตามใจฉัน ตนเดือนจึงเปนชวงที่มีความสุข ที่สุด เพราะอยากไดอะไร ก็มีเงินซื้อทันที แตสิ้นเดือนการจะกินขาวจานหนึ่ง ยังตองคิดแลวคิดอีก ตัวอยางขอสอบ ปฏิกิริยาเคมีระหวางลวดแมกนีเซียมกับกรดซัลฟวริก เปนดังสมการ MgSO4(aq) + H2 (g) Mg(s) + H2SO4 (aq) บันทึกเวลาการเกิดแกส H2 เริ่มตนจนถึงปริมาตร 5cm3 ดังตาราง ปริมาตร H2ที่เกิด (cm3)

สาร A ที่เหลือ (mol/L)

1

2

2 3

5 9

4

14

5

20

จากขอมูลในตาราง ขอใดถูกตอง อัตราการเกิดปฏิกิริยา (cm3/s) อัตราเฉลี่ย

อัตราชวงเกิดแกส H2ปริมาตร 3 - 5cm3

1. 2. 3.

0.16

0.18

0.25

0.18

0.50

0.25

4.

0.25

0.27

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

107


เฉลยขอ 2 MgSO4(aq) + H2 (g) ดุลสมการ Mg(s) + H2SO4 (aq) 3 3 อัตราเฉลี่ย = ปริมาตร H2ที่เกิด (cm ) = 5 (cm )= 0.25 cm3 เวลาที่ใชทั้งหมด (s) 20 (s) อัตราชวงเกิดแกส H2ปริมาตร 3 - 5cm3 = ปริมาตร H2ที่เกิด (cm3) = 5 – 3 (cm3) เวลาที่ใช (s) 20 – 9 (s) = 0.18 cm3 4. ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ธรรมชาติของสาร สารตั้งตนที่มีพันธะที่ออนแอหรือแตกออกงายจะเกิดปฏิกิริยาไดงายกวา และสารตั้งตนที่มีความ ซับซอนของโครงสรางนอยจะเกิดปฏิกริ ยิ าไดเร็วกวาสารทีม่ โี ครงสรางซับซอน (โครงสรางขนาดใหญ) 2.อุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิเพิ่ม ปฏิกิริยาจะเกิดเร็วขึ้น เนื่องจากโมเลกุลของสารจะมีพลังงานจลนสูงขึ้น ทําให เกิดการชนกันของโมเลกุลมากขึ้น แสดงไดดังรูป

3. พื้นที่ผิวสัมผัส

หากสารมีพื้นที่ผิวสัมผัสตอตัวทําละลายมาก ปฏิกิริยาจะเกิดไดเร็วขึ้น เชน กอนสังกะสี > เศษสังกะสี > ผงสังกะสี ดังภาพ

4. ตัวเรงปฏิกิริยา/ตัวคะตะลิสต (Catalyst) เมื่อเติมตัวเรงลงในสารตั้งตนจะทําใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น โดยตัวเรงจะไมมีผล ตอผลิตภัณฑเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา เชนปฏิกิริยา ClO- + O2 C l-+ O3 ClO- + O2C l+ O2 จะมี Cl ทําหนาที่เปนตัวเรงปฏิกิริยาโดยลดพลังงานกระตุนลง **ถาไมเขาใจนึกถึงเวลาเราตองไปเรียน แลวมีภาพแมถือไมเรียวคอยเปนตัวกระตุน/ตัวเรงใหเรา รีบไปเรียนนั่นเอง !!

108 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


5. ตัวหนวง

เมื่อเติมตัวหนวงจะทําใหปฏิกิริยาเกิดชาลง เนื่องจากจะเขาไปเพิ่มพลังงานกระตุน **ถ า ไม เ ข า ใจนึ ก ภาพตอนน อ งๆ ถึ ง หน า โรงเรี ย น แล ว เจอเพื่ อ นชวนเข า ร า นเกม เพื่ อ นน อ งนั่ น ล ะ ตัวหนวงชั้นยอด ทําใหนองเขาโรงเรียนชาลง หรือ ไมเขาเลย !! 6. ความเขมขน สารตั้งตนที่มีความเขมขนสูง จะมีจํานวนโมเลกุลในระบบมากทําใหเกิดการชนกันไดงาย ดังนั้นปฏิกิริยาจะ เกิดเร็วขึ้น **มุมเล็กๆขอเมาทมอย ถาเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับโอกาสการจีบผูหญิงใหสําเร็จ ปจจัยอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

โอการในการจีบผูหญิงสําเร็จ

ธรรมชาติของสาร

หนาตาของผูจีบ ถาหนาตาดีมีชัยไปกวาครึ่ง

พื้นที่ผิวสัมผัส

ระยะเวลาที่เขาหา เขาหามาก สําเร็จมาก

ตัวเรงปฏิกิริยา/ตัวคะตะลิสต (Catalyst)

แรงผลักดันและความรัก

ตัวหนวง

ความสูญเสียความมั่นใจ

ความเขมขน

ความตั้งใจในการจีบ

ตัวอยางขอสอบ เมือ่ นําเหล็กใสลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกชิน้ หนึง่ วิธที ที่ าํ ใหปฏิกริ ยิ าเกิดเร็วขึน้ โดยไมเพิม่ ปริมาณเหล็กและกรด a. ใหความรอน b. ใชแทงแกวคนใหทั่ว c. เติมนํ้ากลั่นลงไปเทาตัว d. ใชผงเหล็กนํ้าหนักเทากันแทนชิ้นเหล็ก ขอใดถูกตอง 1. ขอ a, b และ c 2. ขอ a, b และ d 3. ขอ a, c และ d 4. ขอ a, b, c และ d เฉลยขอ 2 ขอ a. ถูก เนื่องจากการใหความรอนเปนการเพิ่มอุณหภูมิใหกับปฏิกิริยา ทําใหปฏิกิริยาเกิดไดเร็วขึ้น ขอ b. ถูก เนื่องจากการใชแทงแกวคนเปนการเพิ่มโอกาสใหโมเลกุลชนกันมากขึ้น สงผลใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น ขอ c. ผิด เนื่องจากการเติมนํ้ากลั่นลงไปเทาตัวนั้น เปนการลดความเขมขนของกรด ซึ่ง จะสงผลใหปฏิกิริยาเกิดไดชาลง นอกจากจะไมทําใหเร็วขึ้นแลว ยังทําใหชาลงอีกดวย ขอ d. ถูก เนื่องจากการใชผงเหล็กเปนการเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสหะหวางเหล็กกับกรดมากขึ้น จึงเกิดปฏิกิริยาไดเร็วขึ้น

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

109


5. กฎอัตราเร็ว (Law of Mass Action) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเปนสัดสวนโดยตรงกับความเขมขนของสารตั้นตนที่เขาทําปฏิกิริยา หรือพูดงายๆ คือ อัตราจะเยอะ จะนอยขึ้นกับความเขมขน ถาความเขมขนมาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็จะเกิดเร็ว ถาความเขมขนนอย อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็จะชา เหมือนนองๆ ถานองๆ มีเงินมาก โอกาสที่จะจับจายใชสอยก็มาก แตถานอยโอกาสที่จะจับ จายใชสอยก็จะนอยตามไปดวย เขียนเปนสัญลักษณไดวา Rate [A]m[B]n และสามารถสรุปเปนกฎอัตราไดเปน Rate = k[A]m[B]n เมื่อ

Rate แทนอัตราการเกิดปฏิกิริยา k แทนคาคงที่อัตรา [A] แทนความเขมขนของสารตั้งตน A [B] แทนความเขมขนของสารตั้งตน B m,n แทนคาคงที่ใดๆ ซึ่งหาไดจากผลการทดลองเทานั้น โดยถาเปนปฏิกิริยาขั้นตอนเดียว m และ n จะมีคาเทากับตัวเลขขางหนาของสารตามสมการที่ดุลแลว แต หากเปน ปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน อัตราเร็วของปฏิกิริยารวมจะขึ้นกับขั้นที่เกิดชาที่สุด และเรียก m + n วาอันดับของปฏิกิริยา เชน 1) ถาผลการทดลองได m = 0, n = 0 แสดงวา R = k แสดงวา สารตั้งตนไมมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา ไมวาความเขมขนจะเปลี่ยนแปลงไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะไม เปลี่ยนแปลง จึงเปนปฏิกิริยาอันดับศูนยทั้งของ A, B และปฏิกิริยารวม 2) ถาผลการทดลองได m = 1, n = 0 แสดงวา R = k [A] แสดงวา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะขึ้นอยูกับสาร A เทานั้น ถาความเขมขนของสาร A เปลี่ยนอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะ เปลี่ยน จึงจัดเปนปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเมื่อเทียบกับ A เปนอันดับศูนยเมื่อเทียบกับ B และมีปฏิกิริยารวมเปนอันดับหนึ่ง 3) ถาผลการทดลองได m = 1, n = 1 แสดงวา R = k [A] [B] แสดงวา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะขึ้นอยูกับความเขมขนของทั้ง A และ Bถาความเขมขนของสารใดสารหนึ่งเปลี่ยน แปลงไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งปฏิกิริยานี้เปนอันดับหนึ่ง เมื่อเทียบกับ A หรือ B และมีปฏิกิริยารวมเปน อันดับสอง 4) ถาผลการทดลองได m = 2, n = 1 แสดงวา R = k [A]2 [B] แสดงวา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะขึ้นอยูกับความเขมขนของทั้ง A และ B แตขึ้นกับ A เปน 2 เทาของ B ถาความ เขมขนของสารใดสารหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งปฏิกิริยานี้เปนอันดับสอง เมื่อเทียบกับ A และเปนปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อเทียบกับ B และมีปฏิกิริยารวมเปนอันดับสาม 5) ถาผลการทดลองได m = 2, n = 2 แสดงวา R = k [A]2 [B]2 แสดงวา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะขึ้นอยูกับความเขมขนของทั้ง A และ B ถาความเขมขนของสารใดสารหนึ่ง เปลี่ยนแปลงไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งปฏิกิริยานี้เปนอันดับสอง เมื่อเทียบกับ A หรือ B และมีปฏิกิริยา รวมเปนอันดับสี่

110 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


6. พลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยา • ปฏิกิริยาดูดความรอน (Endothermic Reaction) สวนใหญใชในการสลายพันธะ ใหแตกออกจากกัน โดยดูดความ รอนจากสิ่งแวดลอมเขาไป มีผลทําใหอุณหภูมิตํ่าลง นึกถึงเมื่อนองๆ เอามือไปจับถุงนํ้าโคก นองๆ จะพบวามันเย็น เพราะมัน ดูดความรอนจากภายนอก และมีผลทําใหอณ ุ หภูมโิ ดยรอบลดตํา่ ลง โดยใชพลังงานเทากับพลังงานกระตุน แตจะดูดเก็บพลังงาน ไวสวนหนึ่ง ( E)ดังรูปที่ 3 เขียนสมการไดเปน A

+

B

+

E

C

+

D

• ปฏิกิริยาคายความรอน (Exothermic Reaction) สวนใหญใชในการสรางพันธะ โดยคายความรอนใหสิ่งแวดลอม มีผลทําใหอุณหภูมิเพิ่มขึ้นนึกถึงเมื่อนองๆ จับถุงใสนํ้าแกงรอนๆ นองๆ จะพบวามันรอน เพราะมันคายความรอนสูภายนอก และมีผลทําใหอุณหภูมิรอบๆ สูงขึ้น โดยใชพลังงานเทากับพลังงานกระตุน แตจะคายพลังงานออกมา ( E) ดังรูปที่ 3 เขียน สมการไดเปน A + B C + D + E

รูป 3.1 ปฏิกิริยาดูดความรอน

รูป 3.2) ปฏิกิริยาคายความรอน

ดังนั้นจึงสรุปสั้นๆ ไดวา “สรางคาย สลายดูด” ตัวอยางขอสอบ จากขอมูลตอไปนี้ สารละลาย

อุณหภูมิ (OC)

X

25

สารละลายใส ไมมีสี

Y

25

สารละลายใส ไมมีสี

Z

26

สารละลายใส ไมมีสี

X ผสม Y

23

สารละลายสีเหลือง

X ผสม Z

25

ตะกอนสีขาว

ลักษณะการเปลี่ยนแปลง

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

111


ขอสรุปใดถูก 1. X และ Z เปนสารเดียวกัน 2. Y ผสมกับ Z เกิดปฏิกิริยาดูดความรอน 3. X ผสมกับ Z เกิดปฏิกิริยาคายความรอน 4. X และ Y ไมทําปฏิกิริยากัน เฉลยขอ 2 ขอ 2 ถูก เนื่องจากเมื่อ Y ผสมกับ Z แลวมีอุณหภูมิตํ่าลง จึงเกิดปฏิกิริยาดูดความรอน ตัวอยางขอสอบ สารละลาย A, B และ C ตางก็เปนสารละลายที่ไมมีสี เมื่อนําสารแตละชนิดที่มีความเขมขนและปริมาณเทากันมาผสมกันที่ อุณหภูมิ 25 OC ไดผลดังตาราง

สารละลาย

อุณหภูมิหลังผสม (OC)

สิ่งที่สังเกตได

A ผสมกับ B

24

สารละลายสีฟา

B ผสมกับ C

25

สารละลายใส ไมมีสี

ขอสรุปใดไมถูกตอง 1. A กับ B เกิดปฏิกิริยาคายความรอน 2. B กับ C เปนสารละลายชนิดเดียวกัน 3. B กับ C ทําปฏิกิริยากัน โดยไมคายความรอน 4. B กับ C เปนสารละลายตางชนิดที่ไมทําปฏิกิริยากัน เฉลยขอ 1 ขอ 1 ผิด เนื่องจากเมื่อ A ผสมกับ B แลวมีอุณหภูมิตํ่าลง จึงเกิดปฏิกิริยาดูดความรอน

112 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


นองๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่

Tag : สอนศาสตร เคมี ปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมี การเกิดปฏิกริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี • 09 : อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-1

• 10 : สมดุลเคมี http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-2

• สอนศาสตร เคมี ม.ปลาย : อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-3

• สมดุลเคมี ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-4

• สมดุลเคมี ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-5

• สมดุลเคมี ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-6

• สมดุลเคมี ตอนที่ 4 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-7

• สมดุลเคมี ตอนที่ 5 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-chemistry/ch6-8

ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

113



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.