0602135628nantakakan

Page 1

[2013] ชื่อ นันทกานต์ สาแก้ว ม.5/6 เลขที่28

ดาวเคราะห์วงใน-ดาวเคราะห์วงนอก จัดทาโดย น.ส. นันทกานต์ สาแก้ว ม.5/6 เลขที่28 เสนอ อ. กานต์พิชชา จีระศิริ วิชา Star And Our World ดวงดาวและโลกของเรา

[ดาวเคราะห์วงใน-ดาวเคราะห์วงนอก]


สารบัญ

หน้ า ดาวเคราะห์ วงใน

1

ดาวเคราะห์ วงนอก

2

จุดประสงค์ ของการทดลอง สรุป

3-5 6


1. คาแนะนาการเรียน 1.1 ศึกษาจุดประสงค์การเรี ยนรู้ 1.2 ศึกษาเนื้อหา 1.3 สรุ ปสาระสาคัญแล้วบันทึกลงสมุดของนักเรี ยน 1.4 ทาการทดลองที่ 6 1.5 ตอบคาถามกิจกรรมที่ 18,19 1.6 ตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยกิจกรรมที่ 18,19 2. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 1. จาแนกประเภทของดาวเคราะห์โดยใช้โลกเป็ นเกณฑ์ได้ 2. อธิบายการมองเห็นดาวเคราะห์วงในและวงนอกเมื่อมองจากโลกได้ 3. เนือ้ หา ดาวเคราะห์ วงใน-ดาวเคราะห์ วงนอก นักเรี ยนทราบแล้วว่าดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะมีท้ งั หมดด้วยกัน 9 ดวง ทั้งนี้ไม่รวมดาวเคราะห์นอ้ ย ที่ โคจรอยูช่ ่วงดาวอังคาร กับดาวพฤหัส เพื่อความสะดวกในการศึกษาดาวเคราะห์ เราจึงแบ่งดาวเคราะห์ โดยยึดโลกเป็ นหลักออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1.ดาวเคราะห์วงใน(Inferior planets)หมายถึง ดาวเคราะห์ที่โคจรอยูร่ ะหว่างโลกกับดวงอาทิตย์มี 2 ดวงคือ ดาวพุธและ ดาวศุกร์ ดังรู ป


2.ดาวเคราะห์วงนอก(Superiorplanets)หมายถึงดาวเคราะห์ที่โคจรเลยไปจากโลกมี 6 ดวง ได้แก่ ดาวอังคาร ดาว พฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ดังรู ป

เมื่อเราใช้กล้องโทรทรรศน์ศึกษาดาวเคราะห์ท้ งั วงในและวงนอกจะมองเห็นดาวเคราะห์วงในและวงนอกมีลกั ษณะ แตกต่างกัน ซึ่ งนักเรี ยนจะศึกษาได้จากการทดลองต่อไปนี้ การทดลอง 6 การเห็นดาวเคราะห์ เมื่อมองจากโลก


จุดประสงค์ การทดลอง สรุ ปการมองเห็นของดวงดาวเคราะห์วงในและดาวเคราะห์

วิธีทา 1. ใช้แบบจาลองระบบสุ ริยะดังรู ป 30 โดยใช้ดินน้ ามันปั้ นเป็ นทรงกลมไว้ตรงกลางแทนดวงอาทิตย์ โดยให้ลูกกลม ทั้ง 3 ลูกแทน


ดาวเคราะห์วงใน โลกและดาวเคราะห์วงนอก ทาตาแหน่งผูส้ ังเกตบนโลกไว้ ่ ตาแหน่ง ก ดังรู ป 31 สังเกตลักษณะของดาวเคราะห์วงในเมื่อมองจาก 2. จัดแบบจาลองให้ดาวเคราะห์วงในอยูณ โลกบันทึกผล 3. ทาการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนตาแหน่งของดาวเคราะห์วงในให้อยู่ ณ ตาแหน่ง ข, ค และ ง ตามลาดับ โดยให้โลก อยู่ ณ ตาแหน่งเดิม ่ ตาแหน่ง ก ดังรู ป 32 แล้วเลื่อนดาวเคราะห์วงนอกให้อยูใ่ นตาแหน่งข,ค และ ง 4. จัดให้ดาวเคราะห์วงนอกอยูณ ตามลาดับโดยให้ โลกอยู่ ณ ตาแหน่งเดิม สังเกตลักษณะดาวเคราะห์วงนอกจากโลกแล้วบันทึกผล อุปกรณ์ รายการ 1.แบบจาลองดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะ 2.ดินน้ ามัน

จานวนต่ อ 1 กลุ่ม 1 ชุด 1 ก้อน

ตารางบันทึกผลการทดลอง ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ วงใน

ดาวเคราะห์ วงนอก

ตาแหน่ ง ก ข ค ง ก ข ค ง

เวลาทีส่ ั งเกตได้ ช่ วงหัวค่า ช่ วงเทีย่ งคืน ช่ วงเช้ ามืด

รู ปแสดงส่ วนสว่ าง ทีส่ ั งเกตได้


ข้ อเสนอแนะ 1. ให้นก ั เรี ยนลองหมุนแบบจาลองระบบสุ ริยะที่ครู เตรี ยมไว้ให้ซ่ ึ งเป็ นคนละชุดกับการทดลอง 6 ศึกษาดู ลักษณะของดาวเคราะห์ วงใน 2. นาแกนลวดพร้อมลูกกลมสวมใส่ เข้าไปแทนดาวเคราะห์วงนอกแล้วลองหมุนและสังเกตลักษณะของดาว เคราะห์วงนอก 3. การหมุนดาวเคราะห์ท้ งั วงในและวงนอกให้หมุนจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก 4. ดาวเคราะห์ท้ งั วงในและวงนอกที่เห็นก่อนดวงอาทิตย์ข้ ึนจะอยูท่ างตะวันตกของดวงอาทิตย์จะเห็นได้ ตอนเช้ามืดส่ วนดาวเคราะห์ ที่เห็นหลังดวงอาทิตย์ตกจะอยูท่ างตะวันออกของดวงอาทิตย์จะเห็นได้ตอนหัวค่า ตัวอย่างตารางบันทึกผลการทดลอง ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ วงใน

ดาวเคราะห์ วงนอก

ตาแหน่ ง ก ข ค ง ก ข ค ง

เวลาทีส่ ั งเกตได้ ช่ วงหัวค่า ช่ วงเทีย่ งคืน ช่ วงเช้ ามืด / / / / / / / / -

รู ปแสดงส่ วนสว่ าง ทีส่ ั งเกตได้


สรุ ปผลการทดลอง 1. ดาวเคราะห์ท้ งั วงในและวงนอกรวมทั้งโลกมีการโคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก 2. คนบนโลกจะเห็นดาวเคราะห์วงในเป็ นเสี้ ยวสว่างทานองเดียวกับเห็นดวงจันทร์คือเห็นดาวเคราะห์วงใน เป็ นเสี้ ยวสว่างโต ขึ้นเรื่ อย ๆ จนเต็มดวงแล้วค่อย ๆ เล็กลงจนมืดหมดดวงแต่ไม่มีโอกาสเห็นดาวเคราะห์วงในเต็มดวง 3. คนบนโลกมีโอกาสเห็นดาวเคราะห์วงนอกเต็มดวงได้แต่ไม่เห็นดาวเคราะห์วงนอกเป็ นเสี้ ยวสว่าง เหมือนดวงจันทร์คือเมื่อ เห็นดาวเคราะห์วงนอกสว่างเต็มดวงแล้วค่อย ๆ เล็กลงจนโตขึ้นเต็มดวงอีก


ขอขอบคุณ


ผู้จดั ทำ

ชื่อ นันททกานต์ สกุล สาแก้ ว ชัน้ ม.5/6 ห้ อง 28 โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมุทรปราการ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ดูแลการผลิต โดย กานต์ พิชชา จีระศิริ ครูชานาญการพิเศษ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมุทรปราการ www.debsirinsp.ac.th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.