DEMO 1

Page 1

วัคซีนแนะนํา ใน และ ผูสูงอายุ ผูใหญ

OAUU

COVID - 19 5F18utJo\)n-uTsF1TF15a-19

Influenza 5f1ButJo\)nulvn5a1noJ

Tetanus, diphtheria, pertussis (Tdap or Td) 5flBUUO\)nUTsflf10ClU u1an:6nlonsu

Mumps, Measles, Rubella (MMR) 5F18UU0\)r1UTSflfll\)QU 110 118:n"Olf.lOSU-U

Varicella (VAR) 5f1BUU0\)r1UTsf15tjn6la

tZoster 5F1ButJo\)nuTsF1Q85a

5Atiun11u:Li1a111suwl11nJ
u 19 -26 n 2 AS\J � Fleinni5o5F15UIWOOlULJOLJEllWUIEiU 21 - 49 n 50-64'0 (Aan1woo1u<l"ol.!alWUlciU) 1 AS\JcioD Tdap 1 AS\) 11amnnuuns:qud�8 Td 1150 Tdap 11n 10 D - ::. � •._ ""' ' ..l' 1 11S0 2 AS\) uuo�nUUOU\JU 2 AS\J 1 AS\) Cf) Bumrungrad International HOSPITAL �65'0
Human papillomavirus (HPV) :5"Fli3U HPV nso:5"Fli3U uo\)rfuu:1s\)LJ1nua�n 2-3 AS\J vuo�riuo1�nldsu5A8U Pneumococcal (PCV 13, PCV 15, PPSV 23} 5F1ButJo\)nuTsF1cia1d"o o::,TuF10F1Ffa
(Aan1woo1u<l"E:>l.!Ell111WU,au)
3 AS\J 3 AS\J • 5F18un11u:Lhthnsu!fi1noJ • :5"F18un11u:Li1a1nsuvy1nnJniJF1::nu1aEJ\)IWUIOUtiSOU0U\)i50U
Hepatitis B (HepB) 5f1BUU0\)r1U Tsflbsaouoniauo
(Aan1woo1UUOL.!EllWUlciU)
Covid-19 MRNA ปองกันโรคโควิด-19 วัคซีน โรคโควิด-19 วัคซีนปองกันโรคโควิด-19 ชนิดเอ็มอารเอ็นเอ ใครควรไดรับวัคซีนปองกัน โรคโควิด-19 วัคซีนมีวิธีการฉีดอยางไรสําหรับ ผูที่ไมเปนภูมิคุมกันบกพรอง ระดับปานกลาง หรือรุนแรง ผลิตโดยการใชสารพันธุกรรมสังเคราะหที่จําลองมาจากสาร พันธุกรรมของไวรัส เม�อฉีดกระตุนเขาไปในรางกายจะไปกํากับให เซลลผลิตสารโปรตีนสไปคเพ�อกระตุนทําใหเซลลระบบภูมิคุมกัน ของรางกายสรางภูมิตอตานเชื้อซารสโควี-2 โดยไมเปนอันตราย ตอเซลลรางกายมนุษย ปจจุบันในประเทศไทยมี 2 ชนิดคือ บุคคลทั่วไป โดยเฉพาะบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขที่มี ความเสี่ยงตอการสัมผัสโรค และผูที่มีโอกาสเปนโรครุนแรง ไดแก ผูสูงอายุ ผูที่มีภาวะอวน โรคปอด โรคหัวใจ เบาหวาน ภูมิคุมกันบกพรอง โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง เปนตน วัคซีนปองกันโรคโควิด-19 วัคซีนปองกันโรคโควิด-19 COMIRNATYTM (Pfizer BioNTech) (Moderna) SPIKEVAXTM 1 2 2 1 2 3 1 1 N/A N/A ประวัติการรับวัคซีนโควิด Bivalent vaccine จํานวนเข็ม bivalent vaccine ที่แนะนํา ระยะหางระหวางเข็ม ไมเคยไดรับวัคซีน เคยไดรับ Moderna monovalent 1 ครั้ง Moderna 4-8 สัปดาหหลังจากไดรับ monovalent อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent เข็มที่ 1 : 3-8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent ระยะหางระหวาง เข็ม 1 กับเข็ม 2: อยางนอย 8 สัปดาห N/A N/A ระยะหางระหวาง เข็ม 1 กับเข็ม 2: 4-8 สัปดาห ระยะหางระหวาง เข็ม 1 กับเข็ม 2: 3-8 สัปดาห ระยะหางระหวาง เข็ม 2 กับเข็ม 3: อยางนอย 8สัปดาห Pfizer BioNTech Pfizer BioNTech Moderna NA ; เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง NA ; เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง เคยไดรับ Moderna monovalent 2 ครั้ง เคยไดรับ Moderna monovalent 2 ครั้ง Modern bivalent 1 ครั้ง เคยไดรับ Pfizer BioNTech monovalent 1 ครั้ง เคยไดรับ Pfizer BioNTech monovalent 2 - 3 ครั้ง เคยไดรับ Pfizer BioNTech monovalent 2 ครั้ง และ Pfizer BioNTech bivalent 1 ครั้ง Moderna Pfizer BioNTech or อายุ 6 เดือน - 4 ป ฉีดเขากลามเนื้อ ตามกําหนดการฉีดดังตาราง
โรคโควิด-19 N/A 1 1 1 ประวัติการรับวัคซีนโควิด Bivalent vaccine จํานวนเข็ม bivalent vaccine ที่แนะนํา ระยะหางระหวางเข็ม เคยไดรับ Moderna monovalent 1 ครั้ง 4 - 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent N/A N/A อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent NA ; เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง NA ; เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง เคยไดรับ Moderna monovalent 2 ครั้ง เคยไดรับ Pfizer-BioNTech monovalent ตั้งแต 1 ครั้งขึ้นไป เคยไดรับ monovalent vaccine 2 ครั้ง และ bivalent vaccine 1 ครั้ง เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง (โดยไมพิจารณาประวัติการไดรับ monovalent vaccine) 2 1 ไมเคยไดรับวัคซีน ระยะหางระหวาง เข็ม 1 กับเข็ม 2 : 4-8 สัปดาห อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent Moderna Pfizer BioNTech or Moderna Pfizer BioNTech or Moderna Pfizer BioNTech or อายุ 5 ป Pfizer BioNTech N/A 1 1 ประวัติการรับวัคซีนโควิด Bivalent vaccine จํานวนเข็ม bivalent vaccine ที่แนะนํา ระยะหางระหวางเข็ม เคยไดรับ monovalent vaccine ตั้งแต 1 ครั้งขึ้นไป (ยังไมเคยไดรับ bivalent vaccine) N/AN/A NA ; เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง NA ; เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง เคยไดรับ monovalent vaccine 2 ครั้ง และ bivalent vaccine 1 ครั้ง เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง (โดยไมพิจารณาประวัติการไดรับ monovalent vaccine) 1 ไมเคยไดรับวัคซีน Moderna Pfizer BioNTech or Moderna Pfizer BioNTech or อายุ 6 - 11 ป อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent N/A N/A
โรคโควิด-19 1 ประวัติการรับวัคซีนโควิด Bivalent vaccine จํานวนเข็ม bivalent vaccine ที่แนะนํา ระยะหางระหวางเข็ม เคยไดรับ monovalent vaccine ตั้งแต 1 ครั้งขึ้นไป (ยังไมเคยไดรับ bivalent vaccine) N/ANA ; เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง เคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง (โดยไมพิจารณาประวัติการไดรับ monovalent vaccine) สําหรับผูที่อายุตั้งแต 65 ปขึ้นไป และเคยไดรับ bivalent vaccine 1 ครั้ง : สามารถรับ bivalent vaccine ไดเพิ่มอีก 1 ครั้ง โดยหางจากเข็มแรกอยางนอย 4 เดือน 1 ไมเคยไดรับวัคซีน Moderna Pfizer BioNTech or Moderna Pfizer BioNTech or อายุตั้งแต 12 ปขึ้นไป อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากไดรับ monovalent N/A • ผูที่มีปฏิกิริยาการแพอยางรุนแรงตอวัคซีนปองกันโรคโควิด-19 หรือสวนประกอบอ�นๆ ของวัคซีน • ผูที่มีไขหรือเจ็บปวยควรเล�อนการรับวัคซีนไปกอน กรณีเปนหวัด เล็กนอยไมมีไขสามารถรับวัคซีนได อาการไมพึงประสงคจากการรับวัคซีน ปองกันโรคโควิด-19 มีอะไรบาง ผูที่ไมควรไดรับวัคซีน ปองกันโรคโควิด-19 โดยทั่วไปอาจมีอาการปวด บวม คัน แดงบริเวณที่ฉีด อาการอ�นๆ ที่อาจพบได เชน ออนเพลีย คล�นไส อาเจียน ปวดเม�อยกลามเนื้อ ปวดหัว หรือมีไข สวนมากอาการไมรุนแรงและหายไปไดเอง ใน 1-3 วัน ทั้งนี้ยังไมมีขอมูลอาการไมพึงประสงคในระยะยาว เน�องจากเปนวัคซีนใหม

เพราะวัคซีนมีการเปลี่ยนแปลงสวนประกอบ ของสายพันธุไวรัสที่บรรจุในวัคซีนทุกป ซึ่งเปนสายพันธุที่คาดวาอาจจะเกิดการ ระบาดในปนั้นๆ ตามคําแนะนําของ

วัคซีน ปองกันไขหวัดใหญ ไขหวัดใหญ ไขหวัดใหญ ประสิทธิภาพปองกันโรคไขหวัดใหญได วัคซีนไขหวัดใหญ ชนิด 4 สายพันธุ จะประกอบไปดวย สายพันธุ วัคซีนปองกันไขหวัดใหญ ผูที่ควรไดรับวัคซีนไขหวัดใหญ
องคการอนามัยโลก เปนสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน พบไดบอยทุกกลุมอายุ อาการมีตั้งแตนามูกไหล ไอ เจ็บคอ มีไขสูง ปวดศีรษะ ออนเพลีย ปวดเม�อยตามตัว บางรายอาจ มีภาวะแทรกซอนรุนแรง เชน ปอดอักเสบ สมองอักเสบ กลามเนื้อหัวใจอักเสบ ซึ่งเปนอันตรายถึงแกชีวิต อยางไรก็ดี
*วัคซีนปองกันไขหวัดใหญสําหรับผูสูงอายุ 65 ปขึ้นไป มีการเพิ่มความแรงของวัคซีนเปน 60 ไมโครกรัม ซึ่งสูงกวาขนาดมาตรฐาน เพ�อทําใหรางกายสรางภูมิตานทานไดมากขึ้น และสงผลใหเพิ่มประสิทธิผลในการปองกันไขหวัดใหญเพิ่มขึ้นจากวัคซีนขนาดมาตรฐาน จากการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหวางวัคซีนไขหวัดใหญสําหรับผูสูงวัย และวัคซีน ไขหวัดใหญขนาดมาตรฐานในผูที่มีอายุ 65 ปพบวา วัคซีนสามารถ ปองกันการติดเชื้อไขหวัดใหญได เพิ่มขึ้นถึง 24.2% วัคซีนสามารถ ปองกันภาวะแทรกซอนของไขหวัดใหญ ดังนี้ • ลดการเขารักษาตัวในโรงพยาบาลเน�องจากโรคปอดอักเสบ 27.3%
ลดการเขารักษาตัวในโรงพยาบาลเน�องจากโรคระบบหัวใจและทางเดินหายใจ 17.9% • ลดการเขารักษาตัวในโรงพยาบาลเน�องจากโรคไขหวัดใหญ 11.7% • ลดการเขารับการรักษาในโรงพยาบาลโดยรวม 8.4% 1 2 ปวดบวมแดงบริเวณที่ฉีด ปวดเม�อย หรือมีไข อาการขางเคียงอะไรบาง ที่อาจพบไดหลังจาก ฉีดวัคซีนไขหวัดใหญ หญิงมีครรภ อายุครรภ 4 เดือนขึ้นไป เด็กเล็ก อายุ 6 เดือน ถึง 2 ป บุคคลที่มี อายุ 65 ป ขึ้นไป* ผูปวยโรคเรื้อรัง ไดแก ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ ไตวาย หลอดเลือดสมอง เบาหวาน ธาลัสซีเมีย มะเร็งที่อยูระหวาง ไดรับเคมีบําบัด ผูพิการทางสมองที่ชวยเหลือตัวเองไมได ผูที่มีภูมิคุมกันบกพรอง และผูติดเชื้อเอชไอวี ผูที่มีนํ้าหนักตั้งแต 100 กิโลกรัม หรือดัชนีมวลกาย ตั้งแต 35 กิโลกรัม ตอตารางเมตร • บุคคลทุกคนที่มีอายุตั้งแต 6 เดือนขึ้นไป ควรไดรับการฉีด วัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญเปนประจําทุกป • โดยเฉพาะกลุมเสี่ยงที่อาจเกิดการเจ็บปวยรุนแรงหากไดรับ เชื้อไวรัสไขหวัดใหญ ไดแก A 2 สายพันธุ B 2 สายพันธุ ผูที่ฉีดแลวยังมีโอกาสเปนไขหวัดใหญได แตความรุนแรงของโรคจะนอยลง 40% - 60% รับวัคซีน 1ครั้ง ตอป ไวรัสอินฟลูเอนซา (Influenza virus) หรือไวรัสไขหวัดใหญ 4 เพิ่ม ความ แรง เทา 60 4
เราสามารถปองกันการเปนโรคไขหวัดใหญไดดวยการฉีดวัคซีน

ผูที่มีอายุตั้งแต 19 ป ขึ้นไป : ผูที่ไมเคยไดรับวัคซีนรวมปองกัน

วัคซีน ปองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน อีสุกอีใส เปนวัคซีนเชื้อตาย สําหรับใชในกลุมอายุตาง : สําหรับตัวอักษร “a” ในวัคซีน DTaP และ Tdap หมายถึง “ไร เซลล (Acellular)” คือ การนําเฉพาะบางสวนของเชื้อ ไอกรนมาผลิตวัคซีน แทนการใชเชื้อไอกรนทั้งเซลล (Whole cell) ซึ่งชวยลดการเกิดอาการขางเคียงได นอกจากนี้ยังมี วัคซีน Td ซึ่งสามารถใหไดในเด็กอายุตั้งแต 7 ป ขึ้นไป จนถึง ผูใหญ วัคซีนนี้ปองกันเฉพาะโรคคอตีบ และบาดทะยักเทานั้น เหมาะสําหรับผูที่มีขอหามในการฉีดวัคซีนปองกันโรคไอกรน อาการขางเคียงของวัคซีน Tdap นั้นไมรุนแรง และมักมีอาการเพียง ไมกี่วัน โดยอาการขางเคียงที่พบไดบอย ไดแก ปวด แดง หรือบวม บริเวณแขนขางที่ฉีด มีไขเล็กนอย ปวดศีรษะ และเหน�อยลา อาการขางเคียงอะไรบาง หลังจากฉีดวัคซีน? บาดทะยัก (T-Tetanus) เปนโรคที่มีความรุนแรงถึงแกชีวิต เกิดจากสารพิษ ที่สรางจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani สารพิษดังกลาวทําใหกลามเนื้อ ทั่วรางกายเกิดการหดเกร็ง ซึ่งอาจนําไปสูอาการ “ขากรรไกรคาง (Locking of the jaw)” ทําใหผูปวยไมสามารถอาปาก กลืน หรือแมกระทั่งหายใจ ไอกรน (P-Pertussis หรือ Whooping cough) เปนโรคติดเชื้อระบบทาง เดินหายใจที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อดังกลาวทําใหเกิดอาการไอ ที่ควบคุมไมไดอยางรุนแรง วัคซีนปองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน วัคซีนรวมปองกันโรค คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน คืออะไร? ในประเทศไทยมีวัคซีนรวม ปองกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน 2 ชนิดหลัก 1 วัคซีน DTaP หรือ DTwP: วัคซีนนี้ใชสําหรับทารก และเด็กอายุตํ่ากวา 7 ป ทารก ตํ่ากวา 7 ป 2 วัคซีน Tdap: วัคซีนนี้ใชสําหรับเด็กอายุตั้งแต 4 ป ขึ้นไป จนถึงผูใหญ ตัวอักษรพิมพเล็ก “d” และ “p” บงบอกถึงการลดปริมาณท็อกซอยดของเชื้อคอตีบ และแอนติเจนของเชื้อไอกรนในวัคซีน เพ�อลดอาการ ขางเคียงของวัคซีนที่อาจเกิดขึ้น 4 ป ขึ้นไป คอตีบ (D-Diphtheria) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae สรางสารพิษที่ทําใหเกิดแผนเนื้อเย�อหนาตัวขึ้นในลําคอ เปนเหตุให เกิดการตีบตันของระบบทางเดินหายใจ กลามเนื้ออัมพาต หัวใจลมเหลว และ อาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ถึงแมจะไดรับการรักษา รูจักกับโรค “คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน” ใครควรฉีดวัคซีนรวม ปองกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน? ในประเทศไทย วัคซีนรวมปองกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน ถือ เปนวัคซีนจําเปนที่ตองใหกับเด็กทุกคน คําแนะนําในการรับวัคซีนเข็มกระตุน ผูที่มีอายุ 11-18 ป : ควรไดรับวัคซีน Tdap 1 เข็ม โดยแนะนําใหฉีดในชวงอายุ 11-12 ป หญิงตั้งครรภ : หญิงตั้งครรภทุกรายควรไดรับวัคซีน Tdap 1 เข็ม ในชวงอายุครรภ 27-36 สัปดาห แตหากมีความจําเปน
สามารถรับวัคซีนนี้ไดตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ โรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน มากอน หรือผูที่มีโอกาสใกลชิด กับเด็กเล็กอายุนอยกวา 12 เดือน ควรไดรับวัคซีน Tdap 1 เข็ม จํานวนเข็มที่ฉีด วิธีการฉีดวัคซีน เข็มที่ 1-4 : อายุ 2, 4, 6 และ 18 เดือน (วัคซีน DTaP หรือ DTwP) 4 เข็ม ทารก เข็มที่ 5 : อายุ 4-6 ป (วัคซีน DTaP, DTwP หรือ Tdap) 1 เข็ม เด็กเล็ก อยางไรก็ตาม ประสิทธิภาพในการปองกันโรคของวัคซีนนี้ไมไดยาวนานตลอดชีวิต หลังจากไดรับวัคซีน Tdap 1 เข็ม เปนเข็มกระตุนแลว เราทุกคน ควรไดรับ วัคซีน Tdap หรือ Td 1 เข็ม ทุก 10 ป
ซึ่งการฉีดวัคซีน Tdap ใหมารดา จะชวยใหเกิดการสงผานภูมิคุมกันไปสูทารก กอนคลอดได

• ผูที่ไดรับการถายเลือดหรือไดรับผลิตภัณฑจากเลือด ภายในระยะเวลา

วัคซีนปองกันโรคคางทูม วัคซีน โรคคางทูม หัด และหัดเยอรมัน วัคซีนปองกันโรคคางทูม หัด และหัดเยอรมัน คืออะไร? ใครควรฉีดวัคซีนปองกันโรคคางทูม หัด และหัดเยอรมัน? ใครไมควรฉีดวัคซีนปองกันโรคคางทูม หัด และหัดเยอรมัน? อาการขางเคียงของวัคซีนปองกัน โรคคางทูม หัด และหัดเยอรมัน คืออะไร? โรคคางทูม หัด และหัดเยอรมัน คือโรคอะไร? เปนวัคซีนรวมที่ประกอบไปดวยเชื้อไวรัสมีชีวิตที่ถูกทําให ออนฤทธิ์ลง ที่ผลิตจากเชื้อไวรัส Mump, Measles และ Rubella มีขอบงใชทั้งในเด็ก และผูใหญ อีกทั้งยังเปนวัคซีน ที่สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแหงประเทศไทย จัดเปนวัคซีนที่ ตองใหในเด็กทุกคน อาการขางเคียงที่พบไดบอย เชน ไข มักเกิดอาการภายใน 6-12 วัน หลังไดรับวัคซีน ผ�นคัน อาการแพ หรือขออักเสบ เปนตน โดยเข็มแรกฉีดเม�ออายุ 12-15 เดือน และเข็มที่ 2 เม�ออายุ 4-6 ป หากมีการระบาดของโรคคางทูม หัด และหัดเยอรมัน สามารถใหเข็มแรกไดตั้งแตอายุ 6 เดือน และใหซํ้าเม�ออายุ 12 เดือน และ 2 ปครึ่งตามปกติ เชื้อไวรัสกอโรค ไข ปวดศีรษะ ปวดเม�อยรางกาย เบ�ออาหาร และอาจมี ตอมนํ้าลายโตตามมาภายใน 48 ชั่วโมง ไข ไอ ภาวะเย�อบุเมือกโพรงจมูกอักเสบ และมักมีอาการไขออกผ�น ตามมาภายใน 48 ชั่วโมง ไข ตอมนํ้าเหลืองโต และมีอาการไขออกผ�น ตามมาภายใน 1-5 วัน มักเกิดในเด็กมากกวาผูใหญ การไดยินบกพรอง ไขสมองอักเสบ ติดเชื้อในสมอง อาการแทรกซอนมักรุนแรงในเด็กอายุตํ่ากวา 5 ป และผูใหญที่ อายุมากกวา 20 ป โดยมักมีการติดเชื้อที่หูและทองเสีย หากอาการรุนแรง อาจพบอาการปอดบวม และไขสมองอักเสบ ในหญิงตั้งครรภ อาจทําใหแทง หรือมีการสงผานเชื้อไปยังลูก กอใหเกิดอาการแทรกซอนที่รุนแรง เชน โรคหัวใจ โรคตับ เปนตน อาการแทรกซอนที่รุนแรง เชน การติดเชื้อที่สมอง หรือปญหาเลือดออก อาการ อาการแทรกซอน โรคคางทูม หัด และ หัดเยอรมัน คางทูม Mumps หัด Measles หัดเยอรมัน Rubella เด็ก หากไมเคยหรือไมทราบประวัติมากอน แนะนําใหฉีด 2 เข็ม หางกันอยางนอย 28 วัน ผูที่วางแผนจะตั้งครรภ และยัง ไมเคยมีประวัติการไดรับวัคซีน แนะนําใหฉีดวัคซีน 1 เข็ม และควรฉีดกอนตั้งครรภอยางนอย 1 เดือน • ผูที่เคยมีประวัติแพวัคซีนปองกันโรคหัด หัดเยอรมัน และคางคูม • ผูหญิงตั้งครรภ • ผูที่มีภูมิคุมกันบกพรอง
3-11 เดือน เน�องจากอาจมีผลตอการสรางภูมิคุมกัน • ผูที่เจ็บปวยรุนแรง • ผูที่มีประวัติแพยา neomycin แบบ anaphylaxis ผูใหญ 2

(Varicella-zoster virus, VZV) จะทําใหเกิด

วัคซีน ปองกันโรคอีสุกอีใส อีสุกอีใส โรค อีสุกอีใส เปนวัคซีนเชื้อเปนออนฤทธิ์เตรียมจากเชื้อไวรัสวาริเซลลา ที่ถูกทําใหออนแรงลง อยางไรก็ตาม ผูที่ไดรับวัคซีนแลวยังอาจมีโอกาสปวยเปน โรคอีสุกอีใส แตอาการที่เกิดมักไมรุนแรง และหายปวยเร็ว กวาผูที่ไมเคยไดรับวัคซีน วัคซีนปองกันโรคอีสุกอีใสคืออะไร? เปนโรคระบาดที่แพรกระจายไดงาย มีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัส
ผ�นตุมนํ้าใส และคัน โรคอีสุกอีใส (Chickenpox หรือ Varicella) ใครควรไดรับวัคซีน ปองกันโรคอีสุกอีใส? บุคคลทุกคนที่ไมเคยเปนโรคอีสุกอีใสมากอน และยังไมเคย ไดรับวัคซีนปองกันโรคอีสุกอีใส ควรไดรับการฉีดวัคซีน ดังตอไปนี้ อาการขางเคียงที่พบบอย ไดแก ปวด บวม แดง บริเวณที่ฉีดวัคซีน มีไข (เกิดขึ้นภายใน 5 - 12 วัน หลังการไดรับวัคซีน) อาการขางเคียงอะไรบาง ที่อาจเกิดขึ้นไดจากวัคซีน ปองกันโรคอีสุกอีใส? เข็ม 2 มีประสิทธิภาพสูงในการปองกันการเกิดโรค และชวยลดความรุนแรงของโรคได การไดรับวัคซีนครบ จากนั้นจึงลามไปบริเวณอ�น ทั้งนี้ อาการไข ออนเพลีย เบ�ออาหาร และปวดศีรษะ เปนอาการที่พบรวมไดบอย ภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้นในผูปวยโรคอีสุกอีใส ไดแก นอกจากนี้ผูปวยที่เคยเปนโรคอีสุกอีใสมากอนอาจปวยเปน โรคงูสวัด (Shingles หรือ Herpes zoster) ในอนาคตได ซึ่งมักจะเริ่มจากบริเวณ หนาอก หลัง ใบหนา ผิวหนัง ติดเชื้อ ปอด อักเสบ หลอดเลือด อักเสบ สมอง อักเสบ ติดเชื้อ ในกระแสเลือด เน�องจากในตุมนํ้าใสของผูปวยโรคอีสุกอีใสจะมีเชื้อไวรัส วาริเซลลาปนเปอนอยู การติดตอของโรคอีสุกอีใสโดยทั่วไปจึง เปนการติดตอ ดังนั้นการฉีดวัคซีนปองกันโรคอีสุกอีใสจึงเปนสิ่งที่แนะนําสําหรับ บุคคลทุกคน โดยผูที่ไดรับวัคซีนปองกันโรคอีสุกอีใสครบ 2 เข็ม มักจะมีภูมิตานทานโรคตลอดชีวิต ผานทางการสูดหายใจเอาละอองของตุมนํ้าใสเขาไป สัมผัสโดยตรงกับตุมนํ้าใส สัมผัสถูกของใชที่มีการปนเปอนของเชื้อไวรัส ชวงอายุ จํานวนเข็มที่ฉีด วิธีการฉีดวัคซีน 1 12 ป เข็มที่ 1 : อายุ 12 - 15 เดือน เข็มที่ 2 : อายุ 18 เดือน ถึง 4 ป 2 เข็ม 13 ปขึ้นไป หางกันอยางนอย 28 วัน 2 เข็ม ใครไมควรไดรับวัคซีน
หญิงตั้งครรภ หรือกําลังวางแผนจะตั้งครรภภายใน 3 เดือนขางหนา ผูที่มีภูมิคุมกันบกพรอง ผูปวยวัณโรคที่อยูในระยะแสดงอาการ (active TB) ที่ไมไดรับการรักษา หรือผูปวยที่กําลังมีไขอยู ผูที่ไดรับยากดภูมิคุมกัน ผูที่ไดรับการถายเลือด หรือไดรับผลิตภัณฑจากเลือดอ�นๆ เม�อไมนานมานี้
วาริเซลลา
ปองกันโรคอีสุกอีใส
ปองกันโรคงูสวัด โรคงูสวัด อาการขางเคียงที่พบไดบอยหลังจากฉีดวัคซีนปองกันโรคงูสวัด คือ อาการปวดหรือบวมในบริเวณที่ฉีด อาการขางเคียงอะไรบาง ที่อาจพบไดหลังจากฉีดวัคซีน ปองกันโรคงูสวัด? ใครควรฉีดวัคซีนปองกันโรคงูสวัด? บุคคลทุกคนที่มีอายุตั้งแต 50 ป ขึ้นไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง อายุตั้งแต 60 ป ขึ้นไป ควรไดรับการฉีดวัคซีน ปองกันโรคงูสวัด แมวาบุคคลนั้นจะไมเคยมีประวัติเปนโรค อีสุกอีใสมากอน เน�องจาก อายุที่มากขึ้นจะเพิ่มความเสี่ยงในการเปน โรคงูสวัด รวมถึงเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการแทรกซอน จากโรคงูสวัดดวย โดยทานสามารถเขามาปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญของโรง พยาบาลกอนการรับวัคซีน เน�องจากวัคซีนนี้มีขอจํากัดใน บุคคลบางกลุม วัคซีนปองกันโรคงูสวัด เปนวัคซีนที่เตรียมจากเชื้อไวรัส varicella zoster ชนิดที่ถูกทําใหออนแรงลงจากการศึกษา พบวาการฉีดวัคซีนปองกันโรคงูสวัดในกลุมผูที่มีอายุตั้งแต 60 วัคซีนสามารถปองกันการเกิดโรคได และปองกันการเกิดอาการปวดปลายประสาทหลังเปน โรคงูสวัดได รอยละ 67 อาการแทรกซอนที่พบไดบอยของโรคงูสวัด คือ อาการปวด ปลายประสาทหลังเปนโรคงูสวัด (Postherpetic neuralgia, PHN) โดยอาการปวดนี้จะยังคงอยูแมวาผ�นจะหายไปแลว ทั้งนี้อาการจะคอยๆ ดีขึ้นภายในระยะเวลาเปนสัปดาหหรือเปน เดือน แตผูปวยบางรายอาจมีอาการปวดปลายประสาทหลัง เปนโรคงูสวัดอยูนานเปนป ซึ่งสงผลกระทบตอการใชชีวิต ประจําวันได วัคซีน โรคงูสวัด วัคซีนปองกันโรคงูสวัดคืออะไร? โรคงูสวัด เปนโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส varicella zoster ซึ่งเปนเชื้อไวรัสชนิดเดียวกับที่กอใหเกิดโรคอีสุกอีใส หลัง จากที่ผูปวยหายจากโรคอีสุกอีใสแลว เชื้อไวรัสนี้จะยังคงฝง ตัวอยูบริเวณปมประสาท เม�อรางกายเริ่มออนแอ ภูมิคุมกัน ตํ่าลงอาจสงผลกระตุนใหเชื้อไวรัส varicella zoster ออก มาจากบริเวณปมประสาท และกอใหเกิดโรคงูสวัดได (Herpes zoster หรือ shingles) ปวด แสบรอน บริเวณผิวหนัง ผ�นแดงหรือตุมนํ้าใส ขึ้นเปนกระจุก อาการไข หนาวสั่น หรือไมสบายทอง ปวดศีรษะ อาการหลักของโรคงูสวัด คือ การบริหารวัคซีนปองกันโรคงูสวัดจะเปนการ ฉีดเขาใตผิวหนังเพียงเข็มเดียว เข็ม 1
Human Papillomavirus Vaccine 45 9 สายพันธุ Human Papillomavirus Vaccine Human Papillomavirus Vaccine (Human Papillomavirus 9 valent Vaccine) เปนวัคซีนชนิดเชื้อตาย มี 14 สายพันธุ คือ 16, 18, 31, 33, 35, 39, 45, 51, 52, 56 ,58, 59, 66, 68 เปนสาเหตุของการเกิด โรคมะเร็งบริเวณอวัยวะสืบพันธุและ มะเร็งทวารหนัก มีสายพันธุ 6, 11 สามารถทําใหเปนโรค หูดหงอนไกบริเวณอวัยวะเพศ ซึ่งเปน โรคติดตอทางเพศสัมพันธได เชื้อไวรัส HPV หรือ Human Papillomavirus เปนเชื้อไวรัส ที่มีมากกวา 200 สายพันธุ โดยแบงเปน 2 กลุม คือ ในผูหญิงและผูชายที่มี อายุตั้งแต 9 ถึง 45 ป วัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ สามารถฉีดไดในผูหญิง และผูชาย ปองกันการเกิดโรคไดดังนี้ (จาก HPV สายพันธุ 16, 18, 31, 33, 45, 52 และ 58) การเกิดรอยโรคกอนเปนมะเร็ง (Precancerous lesion) ของมะเร็งปากมดลูก มะเร็งปากชองคลอด มะเร็งชองคลอด และมะเร็งทวารหนัก (จาก HPV สายพันธุ 6, 11, 16, 18, 31, 33, 45, 52 และ 58) หูดหงอนไก (จาก HPV สายพันธุ 6 และ 11) วัคซีน เชื้อไวรัส HPV คืออะไร? วัคซีนนี้สามารถปองกันการเกิด โรคอะไรไดบาง? ใชสําหรับปองกันการติดเชื้อไวรัส HPV 9 สายพันธุ High Risk Low Risk วัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุคืออะไร? วัคซีน HPV ชนิด สายพันธุ
Human Papillomavirus Vaccine ชวงอายุ จํานวนเข็มที่ฉีด วิธีการฉีดวัคซีน Human Papillomavirus Vaccine Human Papillomavirus Vaccine หามฉีดวัคซีนในผูที่มีอาการแพยาหลังไดรับวัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ หรือชนิด 4 สายพันธุ ในครั้งกอน หรือแพสวนประกอบของวัคซีน รวมถึงผูที่แพยีสตอยางรุนแรง นอกจากนี้ ยังไมแนะนําใหฉีดวัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ ในหญิง ตั้งครรภ หากยังฉีดวัคซีนไมครบแนะนําใหหยุดการฉีดวัคซีนไวกอน และมาฉีดตอใหครบ 3 เข็ม หลังคลอดบุตรแลว อยางไรก็ตาม วัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ สามารถฉีดไดในหญิงใหนมบุตร สามารถฉีดวัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุได โดยเวนระยะออกไปประมาณ 1 ป หลังจากที่ฉีดวัคซีน HPV ชนิด 2 หรือ 4 สายพันธุ ครั้งสุดทาย และจําเปนตอง ฉีดวัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ ใหครบชุดใหมทั้งหมด อยางไรก็ตาม แพทยจะเปนผูพิจารณาถึงความเหมาะสมและความจําเปนในการฉีดวัคซีนนี้ ของทานอีกครั้งหนึ่ง วัคซีน ขอหามของการ ฉีดวัคซีนนี้ หากเคยไดรับการฉีดวัคซีน HPV ชนิด 2 หรือ 4 สายพันธุ มาแลวครบ 3 เข็ม สามารถฉีด อาการขางเคียง ที่พบไดจากวัคซีนนี้ วัคซีนนี้มีวิธีการ ฉีดอยางไร ? จํานวนเข็มของวัคซีนที่ฉีดนั้น ขึ้นอยูกับ ชวงอายุที่ฉีดวัคซีน ดังตาราง 9 14ป* 15 45 ป เข็มที่ 1 : วันที่ตองการฉีด เข็มที่ 2 : หลังจากเข็มแรก 5 - 13 เดือน เข็มที่ 1 : วันที่ตองการฉีด เข็มที่ 2 : หลังจากเข็มแรก 2 เดือน เข็มที่ 3 : หลังจากเข็มแรก 6 เดือน 2 เข็ม** 3 เข็ม เข็มที่ 1 : วันที่ตองการฉีด เข็มที่ 2 : หลังจากเข็มแรก 2 เดือน เข็มที่ 3 : หลังจากเข็มแรก 6 เดือน 3 เข็ม * แพทยจะพิจารณาจํานวนเข็มของวัคซีนที่ตองฉีดตามความเหมาะสม ** หากฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 หลังจากเข็มแรกเปนเวลานอยกวา 5 เดือน ตองฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 เพิ่ม
Yeast

- โรคมะเร็งทั่วไป

- ติดเชื้อเอชไอวี

- มะเร็งตอมนาเหลืองชนิดฮอดจกิน - ภาวะแทรกซอนจากการใชยากด

ภูมิคุมกัน

- มะเร็งเม็ดเลือดขาว

รูจักกับโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส กลุมที่ 1 ปองกันโรคติดเชื้อ นิวโมคอคคัส วัคซีน วัคซีนปองกันโรค ติดเชื้อนิวโมคอคคัส วัคซีนปองกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสที่มีจําหนายในประเทศไทย มีดวยกัน 2 ชนิด ซึ่งครอบคลุมสายพันธุที่แตกตางกัน โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสมีสาเหตุจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus pneumoniae (S. pneumoniae) ซึ่งสามารถทําใหเกิดการ ติดเชื้อบริเวณหูชั้นกลาง ไซนัส รวมถึงการติดเชื้อในบริเวณอ�น เชน การติดเชื้อบริเวณปอด (ปอดอักเสบ) การติดเชื้อในกระแสเลือด และการติดเชื้อบริเวณสมอง (เย�อหุมสมองอักเสบ) ซึ่งอาจนําไปสู ภาวะวิกฤตหรือเสียชีวิตได อยางไรก็ดี เราสามารถปองกันการติด เชื้อนิวโมคอคคัสไดดวยการฉีดวัคซีน Pneumococcal conjugate vaccine PCV 13 ครอบคลุม 13 สายพันธุ และ PCV 15 ครอบคลุม 15 สายพันธุ Pneumococcal polysaccharide vaccine (PPSV 23) 23 สายพันธุ วัคซีนปองกันโรคติดเชื้อ นิวโมคอคคัสในประเทศไทย เราตองฉีดวัคซีนปองกันโรค ติดเชื้อนิวโมคอคคัสจํานวนกี่เข็ม 1 ? 2 อายุ 19-64 ป (ดังแสดงในตารางที่ 1) กลุมที่ 2 อายุตั้งแต 65 ป ขึ้นไป (ดังแสดงในตารางที่ 2) ตารางที่ 1 : อายุ 19-64 ป โรคประจําตัว หรือ ปจจัยเสี่ยงตอการติด เชื้อนิวโมคอคคัส ไมมีโรคประจําตัวและปจจัยเสี่ยง ผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยงดังตอไปนี้ - โรคพิษสุราเรื้อรัง - โรคหัวใจเรื้อรัง - โรคปอดเรื้อรัง - โรคตับเรื้อรัง - โรคเบาหวาน - สูบบุหรี่ ผูปวยกลุมภูมิคุมกันบกพรองที่ มีปจจัยเสี่ยงดังตอไป - โรคไตเรื้อรัง - ไมมีมาม หรือมามทางานบกพรอง - ภาวะภูมิคุมกันบกพรองตั้งแต กําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง
-
-
หรือเอ็มเอ็ม - กลุมโรคไตเนฟโฟรติก - โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว หรือเฮโมโกลบินผิดปกติ - มีการปลูกถายอวัยวะ ผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยงดังตอไปนี้ - ผานการผาตัดฝงประสาทหูเทียม - มีการรั่วของนํ้าไขสันหลัง PCV 13 หรือ PCV 15 PPSV23 แนะนําใหฉีด (เข็มที่ 1) เข็มกระตุน (เข็มที่ 2) หลังจากฉีด PCV 13 หรือ PCV 15 อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากฉีด PCV 13 หรือ PCV 15 อยางนอย 8 สัปดาห หลังจากฉีด PPSV 23 ครั้งแรก อยางนอย 5 ป หลังจากฉีด PCV 13 หรือ PCV 15 อยางนอย 1 ป :ไมแนะนํา : แนะนําใหฉีด ภายใตการพิจารณาของแพทย นิวโมคอคคัส เด็ก ให PCV 13 หรือ PCV 15 ที่อายุ 2, 4, 6 เดือน และ 12-15 เดือน (รวมทั้งหมด 4 เข็ม) ผูใหญสามารถแบงออกตามชวงอายุไดเปน 2 กลุม
มะเร็งตอมนาเหลือง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดมัยอิโลมา

2

นิวโมคอคคัส วัคซีนปองกันโรค ติดเชื้อนิวโมคอคคัส อาการขางเคียงสวนมากมักไมรุนแรง ไดแก อาการแดง บวม ปวด หรือตึงในบริเวณที่ฉีด ผูปวยบางรายอาจมีอาการออนเพลีย มีไข ปวดศีรษะ และมีอาการปวดกลามเนื้อ หากเกิดอาการเหลานี้สามารถ หายไดเองภายใน 2-3 วัน มีโอกาสเกิดอาการขางเคียง อะไรบางหลังจากฉีดวัคซีนปองกัน โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ? โรคประจําตัว หรือปจจัยเสี่ยงตอการติด เชื้อนิวโมคอคคัส ไมมีโรคประจําตัวและปจจัยเสี่ยง ผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยงดังตอไปนี้ - โรคพิษสุราเรื้อรัง - โรคหัวใจเรื้อรัง - โรคปอดเรื้อรัง - โรคตับเรื้อรัง - โรคเบาหวาน - สูบบุหรี่ ผูปวยกลุมภูมิคุมกันบกพรองที่ มีปจจัยเสี่ยงดังตอไป - โรคไตเรื้อรัง - ไมมีมาม หรือมามทางานบกพรอง - ภาวะภูมิคุมกันบกพรองตั้งแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง - โรคมะเร็งทั่วไป - ติดเชื้อเอชไอวี - มะเร็งตอมนาเหลืองชนิดฮอดจกิน - ภาวะแทรกซอนจากการใชยากดภูมิคุมกัน - มะเร็งเม็ดเลือดขาว - มะเร็งตอมนาเหลือง - มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดมัยอิโลมาหรือเอ็มเอ็ม - กลุมโรคไตเนฟโฟรติก - โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียวหรือเฮโมโกลบินผิดปกติ - มีการปลูกถายอวัยวะ ผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยงดังตอไปนี้ - ผานการผาตัดฝงประสาทหูเทียม - มีการรั่วของนํ้าไขสันหลัง PCV 13 หรือ PCV 15 PPSV23
ป ขึ้นไป หากไมเคยฉีด PCV13 มากอน หากไมเคยฉีด PCV 13 มากอน หากไมเคยฉีด PCV 13 มากอน หลังจากฉีด PCV 13 หรือ PCV 15 อยางนอย 8 สัปดาห และหางจากการฉีด PPSV 23 ครั้งสุดทาย (ตอนอายุ < 65 ป) อยางนอย 5 ป หลังจากฉีด PCV 13 หรือ PCV 15 อยางนอย 8 สัปดาห และหางจากการฉีด PPSV 23 ครั้งสุดทาย (ตอนอายุ < 65 ป) อยางนอย 5 ป หลังจากฉีด PCV 13 อยางนอย 1ป หลังจากฉีด PCV 13 หรือ PCV 15 อยางนอย 1 ป และหางจาก การฉีด PPSV 23 ครั้งสุดทาย (ตอนอายุ < 65 ป) อยางนอย 5 ป :ไมแนะนํา : แนะนําใหฉีด
ตารางที่
: อายุ 65
100% 80% ปองกันโรคไวรัส ตับอักเสบบี วัคซีน ไวรัสตับอักเสบบี ประกอบดวยโปรตีนจากผิวของไวรัส (HBsAg) ซึ่งไมทําให เกิดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี แตจะไปกระตุนใหเกิดภูมิ ตานทานขึ้นในรางกาย สามารถฉีดปองกันไดตั้งแตทารก แรกเกิด โดยฉีดเหมือนกับผูใหญทั้งหมด อาการขางเคียงที่อาจพบหลังจากฉีด ไดแก ไขตํ่า ปวด บวม แดง บริเวณ ที่ฉีดวัคซีน ซึ่งมักหายไดเองภายใน 1-2 วัน และสามารถปองกันการติดเชื้อไดนาน ตลอดชีวิต อยางไรก็ตาม หลังจากได รับวัคซีนครบ 3 เข็ม ประมาณ 1-2 เดือน ควรเขารับการตรวจเลือดเพ�อ ยืนยันวามีภูมิคุมกันไวรัสตับอักเสบบี หากยังไมมีภูมิตานทาน ควรฉีดวัคซีน เม�อฉีดวัคซีนปองกันไวรัสตับอักเสบบี ครบ 3 เข็ม สวนใหญพบวารางกายสรางภูมิคุมกันไดมากถึง วัคซีนปองกันไวรัสตับอักเสบบี ผูที่ควรฉีดวัคซีนไวรัสตับอักเสบบี อาการขางเคียงที่อาจเกิดขึ้น หลังรับวัคซีนปองกันโรค ไวรัสตับอักเสบบี เปนเชื้อไวรัสที่อันตรายอยางยิ่ง หากไดรับเชื้อแลวไมไดรับรักษา อาจนําไปสูการอักเสบเรื้อรัง ตับแข็ง และมะเร็งตับ โดยสามารถ ติดตอผานทางการคลอด การสัมผัสเลือดหรือแผลเปดของผูติด เชื้อ การมีเพศสัมพันธกับผูติดเชื้อ และการใชอุปกรณที่แหลมคม หรือของใชสวนตัวรวมกัน เชน เข็มฉีดยา มีดโกนหนวด หรือ แปรงสีฟน ไวรัสตับอักเสบบี เข็ม 3 1 2 3 ผูปวยโรคตับเรื้อรัง ผูปวยโรคไตเรื้อรังที่ไดรับการฟอกไต ผูปวยที่ไดรับเลือดบอยๆ ผูที่ใชยาเสพติดชนิดฉีดเขาเสน ผูที่ตองเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค ผูที่เสี่ยงตอโรคเน�องจากปจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรม ทางเพศ เชน มีคูนอนหลายคน 1 เดือน 6 เดือน
Hepatitis B
Download บํารุงราษฎรแอปพลิเคชัน

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.