รายละเอียดของรายวิชาประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่ (มคอ.3) หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ เชิงท่ องเที่ยว (หลักสู ตรปรับปรุง พ.ศ.2554) รหัสวิชา
GOHI 2203
ชื่อวิชา (ภาษาไทย)
ประวัตศิ าสตร์ ไทยสมัยใหม่
ชื่อวิชา (ภาษาอังกฤษ)
Modern Thai History
ภาควิชาสั งคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว ภาควิชา สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คณะ
มคอ.3
2
สารบัญ หน้ า หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
3
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำาเนินการ
4
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา
5
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
8
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรี ยนการสอน
12
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุ งการดำาเนินการของรายวิชา
13
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
3
รายละเอียดของรายวิชา GOHI 2203 ประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่ ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
วิทยาเขตจันทรเกษม คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์
หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา GOHI 2203 ประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่ 2. จำานวนหน่ วยกิต 3 หน่วยกิต 3 (3-0-6) 3. หลักสู ตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอก 4. อาจารย์ ผ้ รู ับผิดชอบรายวิชา อาจารย์สมคเน แผลงฤทธิ์ 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปี ที่เรียน ภาคเรี ยนที่ 1 ชั้นปี ที่ 2 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้ อมกัน (co-requisites) ไม่มี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รัชดา 9. วันที่จดั ทำาหรือปรับปรุ งรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่ าสุ ด 18 เมษายน พ.ศ.2554 สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
4
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของประเทศชาติ และเกิดความรักและ ความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย 1.2 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยทั้งทางด้าน การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมไทย ตัง้ แต่สมัยเริ่มปรับปรุงประเทศ ในช่วงรัชกาลที่ 4 จนถึงปี พ.ศ. 2475 1.3 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเหตุการณ์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นทางประวัติศาสตร์ รวมถึงสามารถใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ 2. วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา/ปรับปรุ งรายวิชา 2.1 เพื่อปรับปรุ งการเรี ยนการสอนให้นกั ศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองและส่ งเสริ มให้ ดึงศักยภาพของตนออกมาได้ 2.2 เพื่อให้นกั ศึกษาได้เรี ยนรู้และสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ ที่เกิดขึ้นได้ อย่างเป็ นเหตุเป็ นผลมากขึ้น 2.2 เพื่อเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ประสบการณ์และมุมมองจากผูอ้ ื่นมากขึ้ น
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
5
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำาเนินการ 1. คำาอธิบายรายวิชา ศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ต้ งั แต่การปรับตัวเข้าสู่ยคุ ใหม่ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จนถึงปัจจุบนั ทั้งทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจนถึงปี พ.ศ. 2475 2. จำานวนชั่วโมงที่ใช้ ต่อภาคการศึกษา บรรยาย
45
สอนเสริม
การฝึ กปฏิบัติ/งานภาค สนาม/การ ฝึ กงาน
ไม่มี
ไม่มี
(3 คาบ x 15 สัปดาห์)
การศึกษาด้ วยตนเอง
90 (6 คาบ x 15 สัปดาห์)
3. จำานวนชั่วโมงต่ อสัปดาห์ ที่อาจารย์ให้ คาำ ปรึกษาและแนะนำาทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็ นรายบุคคล - ให้คาำ แนะนำาทางวิชาการแก่นกั ศึกษา 3 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ - สามารถนัดหมายเป็ นรายบุคคลได้ในกรณี ที่นกั ศึกษาต้องการปรึ กษาเพิ่มและเป็ นกรณี พิเศษ
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
6
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.1.1 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีวินยั มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใฝ่ รู ้และตรงต่อเวลา 1.1.2 มีภาวะผูน้ าำ และผูต้ ามรู ้จกั การทำางานเป็ นกลุ่มเคารพสิ ทธิ และรับฟังความเห็นของผูอ้ ื่น 1.2 วิธีการสอนที่จะใช้ พฒ ั นาการเรียนรู้ 1.2.1 กำาหนดหน้าที่ภาระงานที่นกั ศึกษาต้องรับผิดชอบ 1.2.2 ส่งเสริ มให้นกั ศึกษาทำางานเป็ นกลุ่มและมีส่วนร่ วมในการอภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในชั้นเรี ยน 1.3 วิธีการประเมินผล ำ 1.3.1 ประเมินจากการเข้าชั้นเรี ยนอย่างสม่าเสมอ และการส่ งงานตามกำาหนดเวลา 1.3.2 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมายให้ทาำ 1.3.3 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมและการร่ วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรี ยน 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่จะได้ รับ 2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจและอธิ บายอัตลักษณ์ของประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่ได้ 2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจถึงพัฒนาการของบ้านเมืองในประเด็นต่างๆ ทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคม ในช่วงรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นถึงปี พ.ศ. 2475 2.1.3 มีความรู้และเข้าใจในเหตุการณ์ต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ ที่ได้เกิดขึ้นในช่วงรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นถึงปี พ.ศ. 2475 2.2 วิธีการสอน 2.2.1 บรรยายในชั้นเรี ยน อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่ วมกัน สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
7
2.2.2 ชี้ประเด็นให้เข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่ ทั้งทางด้าน การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม 2.2.3 เรี ยนรู้กระบวนการคิดวิเคราะห์เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ และเสริ มความรู ้นาำ ความรู ้ดว้ ย การมอบหมายงานกลุ่ม
2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่ วมในชั้นเรี ยน (กิจกรรมและแบบฝึ กหัด) 2.3.2 ประเมินจากคุณภาพของรายงานกลุ่มและการนำาเสนอ 2.3.3 ประเมินผลการสอบกลางภาคและปลายภาค 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.1.1 สามารถใช้ความรู้ประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่มาคิดวิเคราะห์และอธิ บาย อย่างมีระบบ 3.1.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู ้ทางด้านประวัติศาสตร์ เชื่อมโยงกับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 ตั้งประเด็นปัญหาแบบปลายเปิ ดเพื่อฝึ กให้นกั ศึกษาได้รู้จกั คิดวิเคราะห์ประเด็นปั ญหา 3.2.2 ส่งเสริ มกระตุน้ ให้สนใจ ด้วยการมอบหมายงานเพื่อฝึ กให้นกั ศึกษา รู ้จกั สื บค้น ค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมด้วยเอง 3.3 วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา 3.3.1 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค โดยวัดจากคำาถามเชิงวิเคราะห์ 3.3.2 ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในชั้นเรี ยน/การนำาเสนอรายงาน 4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา 4.1.1 สามารถแลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ประสบการณ์กบั ผูอ้ ื่นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4.1.2 สามารถนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผูอ้ ื่น 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 ตั้งประเด็นปัญหาเพื่อส่ งเสริ มให้เกิดการแสดงความคิดเห็นและการรับฟังความคิดเห็น จากผูอ้ ื่น สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
8
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม 4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา 4.3.2 ประเมินจากการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรี ยน และคุณภาพของรายงาน
5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5.1.1 สามารถรวบรวมและนำาประเด็นความคิดเห็น สื่ อสารให้เพื่อนและอาจารย์เข้าใจได้ 5.1.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นในการสื บค้น เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม และวิเคราะห์ตีความนำาเสนอได้อย่างมีคุณภาพ 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 มอบหมายงานที่ตอ้ งสื บค้น จัดการ และนำาเสนอข้อมูล 5.3 วิธีการประเมิน 5.3.1 ประเมินจากคุณภาพของรายงานในส่ วนที่มีการนำาข้อมูลจากเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ และการอ้างอิงถึงที่มาของข้อมูล
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
9
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สั ปดาห์ ที่ 1
2
หัวข้อ/รายละเอียด
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - แนะนำารายวิชา วัตถุประสงค์ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 ลักษณะการเรี ยนการสอนและข้อ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย ตกลงในการเรี ยนการสอน โปรแกรม Microsoft - ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่โดย PowerPoint เพื่อสร้างความ สังเขป เข้าใจเบื้องต้นและข้อตกลง - ขอบเขตของการศึกษา ร่ วมกันในการเรี ยนวิชานี้ ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ - ซักถามความรู ้พ้ืนฐาน - ทดสอบความเข้าใจก่อนเรี ยน เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ - สภาพโดยทั่วไปของ บรรยายประกอบสื่ อการ 3 อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ ไทยก่อนการปรับปรุง สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย ประเทศ โปรแกรม Microsoft PowerPoint
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
10
สั ปดาห์ ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
3
- การปรับตัวเข้าสู่ยุค ใหม่ในสมัยรพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว - สาเหตุการปรับปรุง ความสัมพันธ์กับ ประเทศมหาอำานาจ - การปรับปรุงประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ด้านสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การทหาร
4
5
6
- การปฏิรูปประเทศใน สมัยรัชกาลที่ 5 ปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการ ปฏิรูป - การปฏิรูปทางด้าน การเมืองการปกครอง - การปฏิรูปประเทศในสมัย รัชกาลที่ 5 ทางด้านเศรษฐกิจและ สังคม
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint
3
3
3
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - สัง่ งานโดยแบ่งกลุ่มให้ วิพากษ์เนื้อหาในหนังสื อที่ มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ไทยสมัย ใหม่ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - บรรยายประกอบสื่ อการ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint
ภาควิชาสังคมศาสตร์
อ.สมคเน แผลงฤทธิ์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
11
สั ปดาห์ ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
7
- บทบาทของที่ปรึ กษาชาวต่าง ชาติที่มีต่อการปฏิรูปประเทศใน ด้านต่างๆ
8 9
10-11
12-13
14
- ปัญหาและอุปสรรคในการ ปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5
- การพัฒนาประเทศในสมัย รัชกาลที่ 6 - การชะงักของการพัฒนา ความ ล่าช้าในการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ - การพัฒนาประเทศทางด้าน - การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในรัชสมัย รัชกาลที่ 7 - การปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง และผลของการปฏิวตั ิ 2475
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - นำาเสนอการวิพากษ์ เนื้อหาในหนังสื อ สอบกลางภาค - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint 3
3
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- บรรยายประกอบสื่ อการ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - บรรยายประกอบสื่ อการ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint
ภาควิชาสังคมศาสตร์
อ.สมคเน แผลงฤทธิ์
อ.สมคเน แผลงฤทธิ์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
12
สั ปดาห์ ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
15
- สรุ ปเนื้อหาและประเด็นสำาคัญ ของรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย สมัยใหม่ และรายงานในชั้นเรี ยน
16
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint -วิพากษ์ในชั้นเรี ยน สอบปลายภาค
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ * 1.1.1, 1.1.2, 1.3.1, 1.3.3, 2.3.1, 3.1.1, 3.1.2, 3.2.1, 3.2.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.3.1 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.3.3, 3.3.1 1.1.2, 1.2.1, 1.2.2, 1.3.2, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.3.2, 3.3.2, 4.2.1, 4.2.2, 4.3.2, 5.1.1, 5.1.2, 5.2.1, 5.3.1
วิธกี ารประเมิน**
สั ปดาห์ ที่ประเมิน
สั ดส่ วนของ การประเมิน
- การเข้าชั้นเรี ยน - การแสดงความคิดเห็นใน ชั้นเรี ยน - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - การมีส่วนร่ วมในการทำา รายงานและนำาเสนอ - คุณภาพของรายงาน - การนำาเสนองานที่มอบหมาย
ตลอดภาคการศึกษา
10
8 16 15
60
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
30
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
13
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตำาราและเอกสารหลัก สมคเน แผลงฤทธิ์ . เอกสารประกอบการสอนรายวิชา GOHI 2203 ประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่. 2. เอกสารประกอบ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. ประวัต ิศ าสตร์เ ศรษฐกิจ ไทย . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2543. บังอร ปิยะพันธุ์. ประวัต ิศ าสตร์ไ ทย การปกครอง สัง คม เศรษฐกิจ และความสัม พัน ธ์ก ับ ต่า งประเทศ ก่อ นสมัย สุโ ขทัย จนถึง พ.ศ. 2475. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2538. ประวัตศิ าสตร์ กรุ งรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2325-2394 . กรุ งเทพฯ: คณะ กรรมการจัดงานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี . 2525. ปิ ยะฉัตร ปิ ตะววรณ. ระบบไพร่ ในสังคมไทย พ.ศ. 2411-2453. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . 2526. สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
14
ผาสุ ก พงษ์ไพจิตร และ คริ ส เบเคอร์ . เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุ งเทพฯ. กรุ งเทพฯ: ตรัสวิน. 2539. ภารดี มหาขันธ์. รัต นโกสิน ทร์ย ุค ปรับ ปรุง ประเทศ (พ.ศ.2394-2475). กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช. 2527. วงเดือน นาราสัจจ์ และชมพูนุท นาคีรักษ์. “ความรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์” ใน ประวัต ิ ศาสตร์ไ ทยจะเรีย นจะสอนกัน อย่า งไร . กรุงเทพฯ : มติชน. 2540: 199-247. วิจิตรมาตรา, ขุน. กรุ งเทพฯ เมื่อวานนี้. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ: สารคดี. 2542. สกินเนอร์ , จี วิลเลียม. สังคมจีนในประเทศไทย : ประวัติศาสตร์ เชิงวิเคราะห์ . แปลโดย ชาญวิทย์ เกษตร ศิริ. กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำาราสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ . 2529. อัญชลี สุ สายัณห์. ไพร่ สมัย ร. 5 ความเปลีย่ นแปลงของระบบไพร่ และผลกระทบต่ อสั งคมไทยในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้ าอยู่หัว. กรุ งเทพฯ: สำานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ. 2546.
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุ งการดำาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์ การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 1.1 ส่งเสริ มให้นกั ศึกษาทุกคนประเมินการเรี ยนการสอนและแสดงความคิดเห็นเพื่อการพัฒนารายวิชาผ่าน ระบบทะเบียนและการบริ การการศึกษาที่เว็ปไซต์ http://reg.chandra.ac.th ของมหาวิทยาลัย 1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รี ยน 2. กลยุทธ์ การประเมินการสอน 2.1 พิจารณาผลประเมินการเรี ยนการสอนของนักศึกษา (แบบประเมินจากคณะฯ) 2.2 พิจารณาผลการศึกษาของนักศึกษา 2.3 สังเกตการณ์พฤติกรรมของนักศึกษา 3. การปรับปรุ งการสอน 3.1 ผูส้ อนประเมินตนเองจากผลการประเมินของนักศึกษาและการวัดผลการศึกษาของนักศึกษา สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
15
3.2 นำาผลที่ได้จากการประเมินการสอนมาปรับปรุ งเพื่อพัฒนารู ปแบบและวิธีการสอนตามความเหมาะสม 3.3 การทำาวิจยั ในชั้นเรี ยน 3.4 การประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา 4.1 ทวนสอบพฤติกรรมการเรี ยนของนักศึกษาที่ประเมินโดยอาจารย์ผสู ้ อน 4.2 ทวนสอบผลการเรี ยนของนักศึกษาจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 5. การดำาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิ ทธิผลของรายวิชา ปรับปรุ งหลักสูตรทุก 5 ปี
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์