รายละเอียดของรายวิชาการท่ องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (มคอ.3) หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ เชิงท่ องเที่ยว (หลักสู ตรปรับปรุง พ.ศ.2554) รหัสวิชา
GOHI 3201
ชื่อวิชา (ภาษาไทย)
ประวัตศิ าสตร์ ไทยเพือ่ การท่ องเที่ยว
ชื่อวิชา (ภาษาอังกฤษ)
Thai History for Tourism
ภาควิชาสั งคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว ภาควิชา สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คณะ
มคอ.3
2
สารบัญ หน้ า หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
3
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำาเนินการ
4
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา
5
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
8
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรี ยนการสอน
12
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุ งการดำาเนินการของรายวิชา
13
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
3
รายละเอียดของรายวิชา GOHI 3201 ประวัติศาสตร์ ไทยเพือ่ การท่ องเที่ยว ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
วิทยาเขตจันทรเกษม คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์
หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา GOHI 3201 ประวัติศาสตร์ ไทยเพื่อการท่องเที่ยว 2. จำานวนหน่ วยกิต 3 หน่วยกิต 3 (3-0-6) 3. หลักสู ตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอก 4. อาจารย์ ผ้ รู ับผิดชอบรายวิชา อาจารย์สมคเน แผลงฤทธิ์ 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปี ที่เรียน ภาคเรี ยนที่ 1 ชั้นปี ที่ 3 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้ อมกัน (co-requisites) ไม่มี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รัชดา 9. วันที่จดั ทำาหรือปรับปรุ งรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่ าสุ ด 18 เมษายน พ.ศ.2554
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
4
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์ 1.2 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และแหล่ง ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย 1.3 เพื่อให้เกิดความรัก ความภาคภูมิใจ และรู้คุณค่าของแหล่งท่อง เที่ยวทางประวัติศาสตร์ของไทย รวมทั้งสร้างจิตสำานึกในการอนุรักษ์ให้คงอยูต่ ลอดไป 2. วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา/ปรับปรุ งรายวิชา 2.1 เพื่อปรับปรุ งการเรี ยนการสอนให้นกั ศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองและส่ งเสริ มให้ ดึงศักยภาพของตนออกมาได้ 2.2 เพื่อให้นกั ศึกษาได้เรี ยนรู้และเข้าใจประวัติศาสตร์ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ภายใน ประเทศไทยได้ดียิง่ ขึ้น 2.2 เพื่อเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และสัมผัสประสบการณ์จากการท่องเที่ยวมาก ขึ้น
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
5
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำาเนินการ 1. คำาอธิบายรายวิชา ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ รวมถึงข้อมูลต่างๆ ทาง ด้านประวัติศาสตร์ไทยที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ที่สาำ คัญในประเทศไทย 2. จำานวนชั่วโมงที่ใช้ ต่อภาคการศึกษา บรรยาย
45
สอนเสริม
การฝึ กปฏิบัติ/งานภาค สนาม/การ ฝึ กงาน
ไม่มี
ไม่มี
(3 คาบ x 15 สัปดาห์)
การศึกษาด้ วยตนเอง
90 (6 คาบ x 15 สัปดาห์)
3. จำานวนชั่วโมงต่ อสัปดาห์ ที่อาจารย์ให้ คาำ ปรึกษาและแนะนำาทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็ นรายบุคคล - ให้คาำ แนะนำาทางวิชาการแก่นกั ศึกษา 3 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ - สามารถนัดหมายเป็ นรายบุคคลได้ในกรณี ที่นกั ศึกษาต้องการปรึ กษาเพิ่มและเป็ นกรณี พิเศษ
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
6
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.1.1 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีวินยั มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใฝ่ รู ้ และตรงต่อเวลา 1.1.2 มีภาวะผูน้ าำ และผูต้ ามรู ้จกั การทำางานเป็ นกลุ่มเคารพสิ ทธิ และรับฟังความเห็นของผูอ้ ื่น 1.1.3 มีจิตสำานึกในการอนุรักษ์และรักษาขนบธรรมเนียมอันดีงาม 1.2 วิธีการสอนที่จะใช้ พฒ ั นาการเรียนรู้ 1.2.1 ส่งเสริ มให้นกั ศึกษาต้องรับผิดชอบในการทำางานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.2.2 ส่งเสริ มให้นกั ศึกษาทำางานเป็ นกลุ่มและมีส่วนร่ วมในการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในชั้นเรี ยน 1.2.3 ส่งเสริ มให้นกั ศึกษาเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองด้วยการศึกษานอกสถานที่ 1.3 วิธีการประเมินผล ำ 1.3.1 ประเมินจากการเข้าชั้นเรี ยนอย่างสม่าเสมอและการส่ งงานตามกำาหนดเวลา 1.3.2 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมายให้ทาำ 1.3.3 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมและการร่ วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรี ยน 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่จะได้ รับ 2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจด้านประวัติศาสตร์ ไทย 2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจถึงสถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ 2.1.3 มีความรู้และเข้าใจถึงความสำาคัญของแหล่งท่องเที่ยวภายในประเทศไทย 2.2 วิธีการสอน 2.2.1 บรรยายในชั้นเรี ยน อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่ วมกัน 2.2.2 ชี้ประเด็นให้เข้าใจถึงการศึกษาทางประวัติศาสตร์ ไทยที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ 2.2.3 เรี ยนรู้กระบวนการคิดวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์ และเสริ มความรู ้นาำ ความรู ้ดว้ ย สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
7
การมอบหมายงานกลุ่ม 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่ วมในชั้นเรี ยน(กิจกรรมและแบบฝึ กหัด) 2.3.2 ประเมินจากคุณภาพของรายงานกลุ่มและการนำาเสนอ 2.3.3 ประเมินผลการสอบกลางภาคและปลายภาค 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.1.1 สามารถใช้ความรู้ประวัติศาสตร์ มาคิดวิเคราะห์และอธิ บายอย่างมีระบบ 3.1.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู ้ทางด้านประวัติศาสตร์ เชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ใน ประเทศไทย 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 ตั้งประเด็นปัญหาแบบปลายเปิ ดเพื่อฝึ กให้นกั ศึกษาได้รู้จกั คิดวิเคราะห์ประเด็นปั ญหา 3.2.2 ส่งเสริ มกระตุน้ ให้สนใจ ด้วยการมอบหมายงานเพื่อฝึ กให้นกั ศึกษา รู ้จกั สื บค้น ค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมด้วยเอง 3.3 วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา 3.3.1 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค โดยวัดจากคำาถามเชิงวิเคราะห์ 3.3.2 ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในชั้นเรี ยน/การนำาเสนอรายงาน 4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา 4.1.1 สามารถแลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ประสบการณ์กบั ผูอ้ ื่นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4.1.2 สามารถนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผูอ้ ื่น 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 ตั้งประเด็นปัญหาเพื่อส่ งเสริ มให้เกิดการแสดงความคิดเห็นและการรับฟังความคิดเห็น จากผูอ้ ื่น 4.2.2 มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุ่มให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล 4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา 4.3.2 ประเมินจากการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรี ยน และคุณภาพของรายงาน 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
8
5.1 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5.1.1 สามารถรวบรวมและนำาประเด็นความคิดเห็น สื่ อสารให้เพื่อนและอาจารย์เข้าใจได้ 5.1.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นในการสื บค้น เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม และวิเคราะห์ตีความนำาเสนอได้อย่างมีคุณภาพ 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 มอบหมายงานที่ตอ้ งสื บค้น จัดการ และนำาเสนอข้อมูล 5.2.2 มอบหมายงานในการออกทัศนศึกษานอกสถานที่ดว้ ยตนเอง 5.3 วิธีการประเมิน 5.3.1 ประเมินจากคุณภาพของรายงานในส่ วนที่มีการนำาข้อมูลจากเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ และการอ้างอิงถึงที่มาของข้อมูล
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
9
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สั ปดาห์ ที่ 1
2
หัวข้อ/รายละเอียด
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - แนะนำารายวิชา วัตถุประสงค์ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 ลักษณะการเรี ยนการสอนและ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย เกณฑ์ในการจัดการเรี ยนการสอน โปรแกรม Microsoft - ขอบเขตของการศึกษารายวิชา PowerPoint เพื่อสร้างความ ประวัติศาสตร์ไทยเพื่อการท่อง เข้าใจเบื้องต้นและข้อตกลง เที่ยว ร่ วมกันในการเรี ยนวิชานี้ - ซักถามความรู ้พ้ืนฐาน - ความหมายและความ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ไทย สำาคัญของ ประวัติศาสตร์ และแหล่งท่องเที่ยวทาง - ทดสอบความเข้าใจก่อนเรี ยน ประวัติศาสตร์ ที่สาำ คัญ ภายในประเทศไทย - พัฒนาการทางด้าน 3 บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ ประวัติศาสตร์ใน สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย ประเทศไทย โปรแกรม Microsoft - หลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน PowerPoint ประเทศไทย
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
10
สั ปดาห์ ที่ 3
4
5
6
หัวข้อ/รายละเอียด
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - พัฒนาการของ 3 บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ อาณาจักรโบราณใน สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย ประเทศไทยจนถึงสมัย โปรแกรม Microsoft ปัจจุบัน PowerPoint - ความรู้ทาง 3 บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ ประวัติศาสตร์ไทย สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย สมัยสุโขทัยและสถาน โปรแกรม Microsoft ที่ท่องเที่ยวทาง PowerPoint ประวัติศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง - ความรู้ทาง 3 บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ ประวัติศาสตร์ไทย สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย สมัยอยุธยาและแหล่ง โปรแกรม Microsoft ท่องเที่ยวทาง PowerPoint ประวัติศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง - ความรู้ทาง 3 - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ ประวัติศาสตร์ไทย สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย สมัยธนบุรีและสถานที่ โปรแกรม Microsoft ท่องเที่ยวทาง PowerPoint ประวัติศาสตร์ที่ - ชมวีดีทศั น์ เกี่ยวข้อง - สัง่ งานโดยแบ่งกลุ่มให้ ทำารายงานเกี่ยวกับสถานที่ ท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ ของไทย
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
11
สั ปดาห์ ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
7
- ความรู้ทาง ประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์และ สถานที่ท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง
8 9
- แหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ที่สำาคัญ ของไทยในภาคเหนือ
10
- แหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ที่สำาคัญ ของไทยในภาคกลาง
11
- แหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ที่สำาคัญ ของไทยในภาคอีสาน
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint สอบกลางภาค - บรรยายประกอบสื่ อการ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - ชมวีดีทศั น์ - ซักถามความรู ้เกี่ยวกับ สถานที่ท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ บรรยายประกอบสื่ อการ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint บรรยายประกอบสื่ อการ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย โปรแกรม Microsoft PowerPoint
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
อ.สมคเน แผลงฤทธิ์
อ.สมคเน แผลงฤทธิ์
อ.สมคเน แผลงฤทธิ์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
12
สั ปดาห์ ที่ 12
13-14
15
16
หัวข้อ/รายละเอียด
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - แหล่งท่องเที่ยวทาง - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 ประวัติศาสตร์ที่สำาคัญ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย ของไทยในภาคใต้ โปรแกรม Microsoft PowerPoint - ทำาแบบทดสอบเกี่ยวกับ สถานที่ท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ ของไทย - การอนุรักษ์โบราณ 6 บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ วัตถุสถานและการ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย สร้างจิตสำานึกในการ โปรแกรม Microsoft อนุรักษ์แหล่งท่อง PowerPoint เที่ยว - ชมวีดีทศั น์ - สรุปภาพรวมของการ - บรรยายประกอบสื่ อการ อ.สมคเน แผลงฤทธิ์ 3 ศึกษาประวัติศาสตร์ สอนภาพนิ่ง จัดทำาด้วย ไทยเพื่อการท่องเที่ยว โปรแกรม Microsoft และการนำาเสนอ PowerPoint รายงานการค้นคว้า - รายงานผลการศึกษา ข้อมูล สอบปลายภาค
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ * 1.1.1, 1.1.2, 1.3.1, 1.3.3, 2.3.1, 3.1.1, 3.1.2, 3.2.1, 3.2.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.3.1
วิธกี ารประเมิน** - การเข้าชั้นเรี ยน - การแสดงความคิดเห็นใน ชั้นเรี ยน
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
สั ปดาห์ ที่ประเมิน
สั ดส่ วนของ การประเมิน
ตลอดภาคการศึกษา
10
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
13
สั ปดาห์ ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.3.3, 3.3.1 1.1.2, 1.2.1, 1.2.2, 1.3.2, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.3.2, 3.3.2, 4.2.1, 4.2.2, 4.3.2, 5.1.1, 5.1.2, 5.2.1, 5.3.1
จำานวน* กิจกรรมการเรียนการสอน (ชั่วโมง) และสื่ อที่ใช้ - สอบกลางภาค 8 - สอบปลายภาค 16 - การมีส่วนร่ วมในการทำา 15 รายงานและนำาเสนอ - คุณภาพของรายงาน - การนำาเสนองานที่มอบหมาย
ผู้สอน 60 30
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตำาราและเอกสารหลัก สมคเน แผลงฤทธิ์ . เอกสารประกอบการสอนรายวิชา GOHI 3201 ประวัติศาสตร์ ไทยเพื่อการท่องเที่ยว. 2. เอกสารประกอบ กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. ประวัต ิศ าสตร์ไ ทยเชิง วิเ คราะห์ . กรุงเทพฯ : คุรุสภา. 2546. กรมศิลปากร. จดหมายเหตุอนุรักษ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ . กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. 2525. สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
14
. โบราณคดีสี่ภาค. กรุ งเทพฯ : ศิลปากร. 2537. . นานาสาระประวัติศาสตร์ จากเอกสารต่ างประเทศ. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. 2539. คาร์ ล บอค. ท้องถิ่นสยาม ยุคพระพุทธเจ้ าหลวง. แปลโดย เสฐียร พันธรังษี. กรุ งเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2529. ซอมเมอร์ วิลล์ แม็กซ์เวล. สยามริมฝั่งเจ้ าพระยา. แปลโดย ศุกลรัตน์ ธาราศักดิ์. กรุ งเทพฯ : กรมศิลปากร. 2544. เดอ ลาลูแบร์ . จดหมายเหตุลาลูแบร์ เล่ม 1-2. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา. 2505. ถวิล มนัสน้อม. มรดกโลกในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา. 2542. ธวัชชัย องค์วฒ ุ ิเวทย์ และวิไลรัตน์ ยังรอต. คู่มือท่ องเที่ยว-เรียนรู้ อยุธยา. กรุ งเทพฯ : มิวเซียมเพรส. 2548. . คู่ม ือ ท่ องเที่ยว-เรียนรู้ เที่ยววัดกรุ งเทพฯ กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส. 2548. . คู่ม ือ ท่ องเที่ยว-เรียนรู้ สุ โขทัย ศรีสัชนาลัย กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส. 2551. นิโกลาส์ แชรแวส. ประวัตศิ าสตร์ ธรรมชาติและการเมืองแห่ งราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร.พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา. 2506. ปาลเลกัวซ์. เล่าเรื่องเมืองไทย. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. พระนคร: ก้าวหน้า. 2506. เฟรเดอริ ค อาร์เธอร์ นีล. ชีวติ ความเป็ นอยู่ในกรุ งสยามในทรรศนะของชาวต่ างประเทศระหว่ าง พ.ศ. 2383-2384. แปลโดย ลินจง สุ วรรณโภคิน. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. 2525. วีณา เอี่ยมประไพ. (2535). หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ . กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. สุรชัย จงจิตรงาม. คู่ม ือ ท่องเที่ยว-เรียนรู้ เชียงใหม่ ลำา พูน ลำา ปาง . กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส. 2549.
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุ งการดำาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์ การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 1.1 ส่งเสริ มให้นกั ศึกษาทุกคนประเมินการเรี ยนการสอนและแสดงความคิดเห็นเพื่อการพัฒนารายวิชาผ่าน ระบบทะเบียนและการบริ การการศึกษาที่เว็ปไซต์ http://reg.chandra.ac.th ของมหาวิทยาลัย 1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รี ยน 2. กลยุทธ์ การประเมินการสอน 2.1 พิจารณาผลประเมินการเรี ยนการสอนของนักศึกษา (แบบประเมินจากคณะฯ) สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์
มคอ.3
15
2.2 พิจารณาผลการศึกษาของนักศึกษา 2.3 สังเกตการณ์พฤติกรรมของนักศึกษา 3. การปรับปรุ งการสอน 3.1 ผูส้ อนประเมินตนเองจากผลการประเมินของนักศึกษาและการวัดผลการศึกษาของนักศึกษา 3.2 นำาผลที่ได้จากการประเมินการสอนมาปรับปรุ งเพื่อพัฒนารู ปแบบและวิธีการสอนตามความเหมาะสม 3.3 การทำาวิจยั ในชั้นเรี ยน 3.4 การประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา 4.1 ทวนสอบพฤติกรรมการเรี ยนของนักศึกษาที่ประเมินโดยอาจารย์ผสู ้ อน 4.2 ทวนสอบผลการเรี ยนของนักศึกษาจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 5. การดำาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิ ทธิผลของรายวิชา ปรับปรุ งหลักสูตรทุก 5 ปี
สาขาวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เชิงท่องเที่ยว และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาควิชาสังคมศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์