√“¬ß“πª√–®”ªï 2550 Annual Report 2007 ∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED†
∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED† 125-125/1, 1 À¡Ÿà 4 π‘§¡Õÿµ “À°√√¡≈“¥°√–∫—ß ·¢«ß≈”ª≈“∑‘« ‡¢µ≈“¥°√–∫—ß °√ÿ߇∑æœ 10520 125-125/1, 1 Moo 4 Lat Krabang Industrial Estate, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok 10520, Thailand Tel. (662) 326-0196 Fax. (622) 326-0300 Website : www.kcethai.in.th
∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈Á§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED
√“¬ß“πª√–®”ªï 2550 I Annual Report 2007
สารบัญ I Contents
2 3 4
จุดเด่นในรอบปี Financial Highlights ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ของบริษัทและบริษัทย่อย Summarized Financial Data รายงานของคณะกรรมการปี 2550 Directors’ Report 2007
10 13 14
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ The Audit Committee Report ลักษณะการประกอบธุรกิจ Nature of Business กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก Top Ten Shareholders From Shareholder List
16 22 24
คณะกรรมการบริษัทฯ Board of Directors เจัาหน้าที่ระดับผู้บริหาร Management Staff ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร Remuneration
นโยบายคุณภาพ ผลิตและบริการลูกค้าให้ ได้ตามที่ตกลงหรือดีกว่า โดยปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และทำให้ถูกต้อง ในครั้งเดียว
QUALITY POLICY
KCE commits to provide products and services to meet or exceed agreed requirements for all of our customers through continuous improvement and by doing it right the first time.
26 56 62
รายงานการกํากับดูแลกิจการ Corporate Governance Policy ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน Industrial Status and Competition คําอธิบายและการวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ Management Explanations and Analysis
66 68 74
บุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วม และรายการระหว่างกัน Persons with vested interest and cross over transactions ปัจจัยความเสี่ยงและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง Risk Factors and Risk Management ข้อมูลทั่วไป General Information
76 79 173
รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน Report of the Board of Directors’ Responsibilities for Financial Statements รายงานของผูส้ อบบัญชีและงบการเงิน Report of Independent Auditor and Financial Statements รายการที่กําหนดตามแบบ Check List of
จุดเด่นในรอบปี Financial Highlights
2550 2007
รายรับทั้งสิ้น
Total revenues
8,584.465
7,716.077
6,777.386
289.035
(69.904)
49.420
257.426
(116.347)
1.332
631.092
486.577
0.66
(0.37)
473.306
388,387
310,025
310,415
4,703
4,243
4,041
9,876.965
9,115.573
8,873.106
886.491
1,029.054
1,530.843
2,710.093
2,283.275
2,400.017
462.497
314.930
314.930
กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้
Profit before income taxes กำไรสุทธิ (ขาดทุน)
Net profit (loss) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงาน
Net cash provided by operating activities กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น / ถัวเฉลี่ย (บาท)
Net profit (loss) per share / Average (baht) จำนวนหุ้น (ถัวเฉลี่ย) (พันหุ้น)
Share outstanding (Weighted average) (Thousand Shares) จำนวนพนักงาน (คน)
Number of employees (person) สินทรัพย์รวม
Total assets เงินกู้ระยะยาว
Long term obligations รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
Total shareholders’ equity
หน่วย : ล้านบาท Unit : Million Baht 2549 2548 2006 2005
ทุนชำระแล้ว
Issued and paid up capital % เงินปันผล / กำไรสุทธิ
12.12%
% Dividends / Net profit
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทและบริษัทย่อย Summarized Financial Data หน่วย : ล้านบาท แสดงข้อมูลเปรียบเทียบทางการเงิน I Financial Data Unit : Million Baht
รายรับทั้งสิ้น Total Revenues ล้านบาท/Million Baht 8,000
7,166.872 6,832.298 6,473.090
4,000
2,710.093 2,283.275 2,400.017
0
631.092
486.577
473.306
8,584.465 7,716.077 6,777.386
180 80 -20 -120
2550 2549 2548 2007 2006 2005
สินทรัพย์รวม Total Assets ล้านบาท/Million Baht
3.08%
-1.54%
0.02%
9.50%
-5.10%
0.06%
8,000
2.61%
-1.28%
0.02%
4,000
7.54% 23.29%
6.45% 21.31%
0
0.66 0.08
(0.37)
7.10% 19.72% -
5.86
7.25
7.62
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
1.33 -116.35
10,000 6,000
8,873.11
1.332
280
2,000 2550 2549 2548 2007 2006 2005
ส่วนของผู้ถือหุ้น Shareholders’ Equity ล้านบาท/Million Baht 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0
2,400.02
(116.347)
กำไรสุทธิ (ขาดทุน) Net Profit (Loss) ล้านบาท/Million Baht 7,716.08
257.426
2550 2549 2548 2007 2006 2005
9,115.57
1,471.192 1,130.043 1,120.678
2,000
2,283.28
8,365.411 7,539.854 6,668.241
6,000
6,777.39
9,876.965 9,115.573 8,873.106
7,716.08
10,000
8,584.47
2548 2005
257.43
2549 2006
9,876.96
I
2550 2007
2,710.09
สินทรัพย์รวม Total Assets หนี้สินรวม Total Liabilities รวมส่วนของผู้ถือหุ้น Total shareholders’ Equity รายได้จากการขาย Sales Revenue กำไรขั้นต้น Gross Profit กำไรสุทธิ (ขาดทุน) Net Profit (Loss) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงาน Net cash provided by operating activities รายได้รวม Total Revenues อัตราส่วนทางการเงิน Financial Ratios อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้ขาย Net Income : Total Sales อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น Return on Shareholders’ Equity อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม Return on Assets เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงานต่อยอดขาย Net cash provided by operating activities / Sales เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงาน ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น Net cash provided by operating activities / Shareholders’ equity กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) Earning Per Share (Baht) เงินปันผลต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) Dividend Per Share (Baht) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) Book Value Per Share (Baht)
2550 2549 2548 2007 2006 2005
รายงานของคณะกรรมการปี 2550 กลุ่มเคซีอี ได้เติบโตอย่างแข็งแกร่งและต่อเนื่องตลอดปี 2550 ส่งผลให้ยอดขายของบริษัท และบริษัทย่อยเพิ่มขึ้นร้อยละ 11 จาก
ยอดขายจำนวน 7,539 ล้านบาทในปี 2549 มาเป็น 8,365 ล้านบาท
ในปี 2550 ส่วนรายได้ ในรูปสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 21 จากรายได้จำนวน 199 ล้านเหรียญในปี 2549 เป็น 242 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2550 การเติบโตดังกล่าวมาจากฐานธุรกิจของ กลุ่มลูกค้าหลักกลุ่มเดิมและจากลูกค้ากลุ่มใหม่ด้วย โดยเฉพาะลูกค้า
ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมอื่น เคซีอีฟื้นตัวกลับมาทำกำไรได้ตั้งแต่ ไตรมาสสุดท้ายของปี 2549 และมีผลประกอบการที่ดีขึ้นมาเป็นลำดับในทุกๆ ไตรมาส จนทำให้กลุ่ม เคซีอี มีกำไรสูงถึง 257.4 ล้านบาท ในปี 2550 การอ่อนค่าลงของเงินดอลล่าร์สหรัฐ ส่งผลกระทบเชิงลบต่อกำไร ของกลุม่ เคซีอี เนือ่ งจากเคซีอสี ง่ ออกผลิตภัณฑ์ถงึ ร้อยละ 97 ของยอดขาย ทัง้ หมด โดยขายเป็นเงินดอลล่าร์สหรัฐ ถึงร้อยละ 74 เงินดอลล่าร์สหรัฐ อ่อนค่าลงประมาณร้อยละ 6 จากอัตราเฉลี่ยที่ 35.76 บาทต่อดอลล่าร์ ในเดือนมกราคม 2550 เป็น 33.49 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐในเดือนธันวาคม 2550 และหากนับจากต้นปี 2549 เงินดอลลล่าร์สหรัฐได้อ่อนค่าลงไป แล้วกว่าร้อยละ 15 จาก 39.43 เมื่อต้นปี 2549 มาเป็น 33.49 บาทต่อ ดอลล่าร์สหรัฐ ในปลายปี 2550 ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีผลการดำเนินงานโดยสรุปดังนี้ • บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) มียอดขายเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 18 เป็น 2,925 ล้านบาท จาก 2,485 ล้านบาทในปีกอ่ น และมีกำไร 62 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 148 จากปีกอ่ น • บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มียอดขายลดลง ร้อยละ 7 เป็น 1,491 ล้านบาท จาก 1,599 ล้านบาทในปีกอ่ น และมีกำไร 42 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จากปีก่อน • บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด มียอดขายเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 16 เป็น 1,586 ล้านบาท จาก 1,364 ล้านบาทในปีกอ่ น และมีกำไร 63 ล้านบาท ซึ่งลดลงร้อยละ 35 จากปีก่อน • บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด มียอดขายเพิ่มขึ้นร้อยละ 11 เป็น 4,561 ล้านบาท จาก 4,119 ล้านบาทในปีก่อน และมี กำไร 102 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 158 จากปีก่อน • บริษทั เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด มียอดขาย 120.0 ล้านบาท และมีกำไร 2.4 ล้านบาท
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
DIRECTORS’ REPORT 2007 KCE continued its strong growth during 2007 resulting in group sales revenue increasing by 11% in 2007 from Baht 7,539 million in 2006 to Baht 8,365 million in 2007. However, in US dollar term, sales was up around 21% from US$ 199 million to US$ 242 million. This growth was achieved by increases in business from existing customers, particularly in the automotive and industrial market sectors, as well as from new customers. KCE’s return to profit in Q4 2006 continued quarter on quarter during the course of 2007 resulting in a profit of Baht 257.4 million for 2007. The continued weakness of the USD dollar has however had a negative effect on the group’s profitability. KCE Group exports 97% of its production and 74% of the Group’s earnings results from USD sales. The USD depreciated by 6.3% during 2007 from an average exchange monthly exchange rate of 35.76 THB in January 2007 to 33.49 THB in December 2007. Since 2006 the USD has weakened by 15% from 39.43 THB at the beginning of 2006 to the current average of 33.49 THB. RESULTS SUMMARY The Group Company earnings are summarised as follows: • KCE Electronics Plc Sales revenues increased by 18% to Baht 2,925 million up from Baht 2,485 million. Profit of Baht 62 million up 148% from the previous year. • KCEI Sales revenues decreased by 7% from Baht 1,491 million down from Baht 1,599 million. Profit of Baht 42 million up 6% from the previous year • TLM Sales revenues increased by 16% to Baht 1,586 million up from Baht 1,364 million. Profit of Baht 63 million down 35% from the previous year • KCET Sales revenues increased by 11% to Baht 4,561 million up from Baht 4,119 million. Profit of Baht 102 million up 158% from the previous year • KCE Thailand Sales revenues was Baht 120.0 million with a profit of Baht 2.4 million.
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
แนวโน้มธุรกิจ
คาดว่าอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์โลกจะเติบโตขึ้นราวร้อยละ 13 โดยมี มูลค่าตลาด 1.6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐในปี 2551 อย่างไรก็ตามในปีนมี้ ลู ค่าการผลิต PCB ของโลกเพิม่ ขึน้ จาก 47.9 พันล้านเป็น 50.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ และแม้วา่ จะมีการคาดการณ์ถงึ การชลอตัวของการบริโภคเนือ่ งจากปัญหาเครดิตของผูบ้ ริโภค ในอเมริกา แต่กระนัน้ ก็คาดว่าความต้องการในผลิตภัณฑ์ PCB จะเพิม่ ขึน้ เป็น 54.7 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2551 และสูงถึง 71.4 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2554 เคซีอี มิได้รับผลกระทบจากการชลอตัวทางเศรษฐกิจของอเมริกามากนัก อันเป็นผลจากการทีบ่ ริษทั มีกลยุทธ์ในการกระจายความเสีย่ งด้านการตลาดไว้กอ่ นแล้ว ในปี 2550 ยอดขายในตลาดอเมริกามีสดั ส่วนลดลงเหลือร้อยละ 19 จากร้อยละ 22 ของยอดขายรวมในปีก่อน ส่วนแบ่งตลาดในยุโรปค่อนข้างมั่นคงและมีสัดส่วนอยู่ ทีร่ อ้ ยละ 50 ในขณะทีต่ ลาดทางเอเซียเติบโตขึน้ ร้อยละ 5 จากปีกอ่ น และมีสดั ส่วน ขาย ร้อยละ 31 ของยอดขายทั้งหมดในปี 2550 ธุรกิจส่วนใหญ่ของเคซีอี อยู่ ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และมีสัดส่วน มากกว่าร้อยละ 67 ของธุรกิจโดยรวม ในปัจจุบนั เคซีอี เป็นหนึง่ ในผูข้ ายรายหลักจาก เอเซียทีส่ ง่ ผลิตภัณฑ์เข้าสูต่ ลาดยานยนต์ยโุ รป ทัง้ นีเ้ คซีอคี รอบครองส่วนแบ่งตลาด ถึงร้อยละ 12 ในตลาดยุโรป ซึ่งมีมูลค่ากว่า 600 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2550 ตามการคาดการณ์ ตลาดอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์จะเติบโตขึ้นมากกว่าร้อยละ 21 และมีมูลค่าตลาดสูงถึง 163.46 พันล้านเหรียญสหรัฐภายในปี 2551 ซึ่งนับว่า เป็นอัตราการเติบโตที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับการขยายตัวของตลาดอื่นที่อาจ
ได้รับผลกระทบจากการชลอตัวของการบริโภค เคซีออี ยู่ในฐานะทีจ่ ะได้รบั ประโยชน์อย่างเต็มทีจ่ ากการเติบโตของอุตสาหกรรม ยานยนต์โดยทั้งนี้เคซีอี ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ผลิต PCB สำหรับบริษัทอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ชั้นนำของโลกหลายบริษัท อาทิ Bosch, Continental, TRW, Valeo, Siemens, Hella, Preh, Sumitomo, Kostal, Helbako เป็นต้น แต่เดิม PCB ที่ ใช้ ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ มักจะผลิตโดยการใช้เทคโนโลยี มาตรฐาน อย่างไรก็ตาม ด้วยความต้องการในอุปกรณ์ใหม่ๆ เช่น Body control sensors, ระบบ infotainment ที่ซับซ้อน และระบบความปลอดภัยเทคโนโลยีสูง ทำให้เคซีอีตระหนักถึงความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นของเทคโนโลยีการผลิตระดับสูง ไม่ว่าจะเป็น High Density Interconnect (HDI) หรือ Sequential Build up (SBU) PCB และจากการที่เคซีอีมีประสบการณ์ในเทคโนโลยีดังกล่าว กอรปกับมี ความเชีย่ วชาญในการผลิต PCB สำหรับอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์อยูแ่ ล้ว ทำให้เคซีอี อยู่ ในตำแหน่งที่ ได้เปรียบเหนือผู้ผลิตรายอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน เคซีอี ยังคงมุง่ มัน่ ในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพือ่ ยกระดับความสามารถ ในการผลิตโดยเฉพาะ High-layer SBU และ HDI PCB จากเป้าขายผลิตภัณฑ์
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
OUTLOOK
The overall worldwide electronics market is set to increase by 13% to 1.6 trillion USD in 2008. Overall world production of PCB’s was up from 47.9 billion USD to 50.7 billion USD in 2007. Notwithstanding the anticipated consumer slowdown led by consumer credit issues in the USA, PCB consumption is expected to increase to 54.7 billion USD in 2008 and to 71.4 billion USD by 2011. KCE is partly insulated from the slowdown in the USA economy by its continued global diversification strategy. 2007 revenue from the USA accounted for 19% of KCE’s total sales, down from 22% in 2006. Europe remained at 50% reflecting the stability of the European markets and Asian sales increased by 5% from 2006 to account for 31% of KCE Group’s sales. KCE’s largest market sector is the automotive industry accounting for over 67% of KCE’s total business. Today KCE is one of the main Asian suppliers to the European Automotive with a 12% market share of a market thought to be worth in excess of 600m USD in 2007. The Global electronics automotive sector is poised to grow in excess of 21% to 163.46 billion USD during 2008 which is a substantial increase compared to other market sectors more adversely affected by the consumer slowdown. KCE is very well placed to benefit from the growth in the automotive sector. Of the world’s top automotive suppliers, KCE is an established supplier to Bosch, Continental, TRW, Valeo, Siemens, Hella, Preh, Sumitomo, Kostal, Helbako and etc. amongst others. The automotive electronics sector has traditionally sourced standard technology PCB. However with the requirement for new applications such as body control sensors, complex infotainment systems and advanced safety technology, KCE is seeing increasing demand from the industry for complex high density interconnect (HDI) and Sequential Build up (SBU) PCB. KCE’s leading experience in HDI and SBU combined with its automotive expertise means that KCE Group is in an advantageous position compared to other peer group PCB suppliers in the automotive sector. KCE group continues to develop and expand its manufacturing capability for higher layer SBU and HDI PCB. Targeting sales for this type of complex PCB allows KCE to increase its earnings utilising existing
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
High-Tech PCB เหล่านี้ ทำให้ยอดขายรวมมีมลู ค่าสูงขึน้ โดยใช้กำลังการผลิตเท่าที่ มีอยู่ในปัจจุบนั อย่างเต็มที่ ในปี 2549 สัดส่วนขายของ Multilayer และ HDI PCB อยู่ที่ร้อยละ 71 และเพิ่มขึ้นในปี 2550 เป็นร้อยละ 80 ของยอดขายทั้งหมด กลุม่ เคซีอี โดยโรงงาน PCB ทัง้ 3 แห่ง จะมีกำลังการผลิตเพิม่ ขึน้ โดยรวม ในอัตราร้อยละ 16.6 ในปี 2551 เพือ่ รองรับความต้องการซือ้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากลูกค้าหลัก กลุ่มเดิม จากคำสั่งซื้อล่วงหน้าของลูกค้าที่ยังแข็งแกร่ง ทำให้เคซีอีคาดการณ์ว่าจะ ยังคงรักษาอัตราการเติบโตของธุรกิจไว้ ได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยหนุนให้บริษัท มีกำไรและผลประกอบการที่เหมาะสมต่อไป สุดท้ายนีค้ ณะกรรมการขอขอบพระคุณผูถ้ อื หุน้ พนักงานผูเ้ กีย่ วข้อง ลูกค้า และสถาบันการเงินที่ ได้กรุณาสนับสนุนบริษัทฯ เป็นอย่างดี ในปีแห่งความสำเร็จ ที่ผ่านมา นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานคณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
manufacturing facilities. In 2006, Multilayer and HDI accounted for 71% of earnings. This increased by 9% to account for 80% of earning in 2007. Capacity output and technical capability from KCE Groups by 3 PCB manufacturing facilities will be increased by 16.6% in 2008 to satisfy the further increased demand from key long term customers. Forward order bookings remain strong and KCE Group’s projections are for sustained growth during 2008 which should underpin the recovery in Group sales margins and profitability. The Board of Directors would like to thank the staff, shareholders, partners, customers and financial institutions for their support in what has been a successful 2007. Bancha Ongkosit Chairman KCE Electronics Public Company Limited
รายงานประจำปี 2550 ANNUAL REPORT 2007
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ในรอบประกอบการปี พ.ศ. 2550 คณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ประกอบด้วยกรรมการ อิสระ ผู้มิได้มีหน้าที่บริหารบริษัท รวม 3 ท่าน ได้ประชุมเพื่อกำกับดูแลตรวจสอบใน หน้าที่รับผิดชอบตามข้อกำหนด รวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง โดยมีคณะผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,
ผูต้ รวจสอบภายใน, เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยบัญชีและการเงิน และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เข้าร่วมประชุม ด้วยทุกครั้ง ที่ประชุมได้พิจารณาสอบทานงบบัญชีการเงินรายไตรมาส และงบการเงินรวม ประจำปี พ.ศ. 2550 ร่วมกับคณะผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตในประเด็นทีเ่ ป็นสาระสำคัญเกีย่ วกับ รายงานทางการเงิน และในปีนี้ ได้ตรวจสอบการควบคุมระบบสารสนเทศสำหรับการบัญชี และการบริหารของบริษัทฯ เพิ่มเติมขึ้นอีก เพื่อยืนยันความถูกต้องของข้อมูลทางการเงิน และบัญชี ในส่วนการปฏิบัติตามข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องนั้นในปี พ.ศ. 2550 มีการเปลี่ยนแปลงในมาตรฐานการบัญชี ใหม่ที่เกี่ยวกับงบการเงินรวมและบัญชีเงิน ลงทุนในบริษัทย่อย โดยเฉพาะเรื่องมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) ทำให้ตอ้ งเปลีย่ นแปลงวิธกี ารบันทึกบัญชีในปี พ.ศ. 2550 และมีผลให้บริษทั ฯ ต้องปรับปรุง งบการเงินเฉพาะของบริษทั ฯ สำหรับปี พ.ศ. 2549 ทีแ่ สดงเปรียบเทียบในงบการเงินสำหรับ ปี พ.ศ. 2550 ขึน้ ใหม่ เพือ่ ให้เกิดความถูกต้องเชือ่ ถือได้ตามหลักการบัญชีอนั เป็นทีร่ บั รอง และมีข้อมูลเปิดเผยที่เหมาะสม นอกจากนีท้ ปี่ ระชุมได้พจิ ารณารายงานผลการตรวจสอบภายในและการติดตามวัดผล ที่ ได้ดำเนินตามแผนการตรวจสอบภายในตลอดปี พ.ศ. 2550 ซึง่ ได้ดำเนินไปอย่างต่อเนือ่ ง ตามแผนงาน และเป็นผลให้การตรวจสอบส่วนบริหารกิจการมีประสิทธิภาพสูงขึ้นเป็น ลำดับ และได้ข้อมูลต่างๆ จากการตรวจสอบที่จะเป็นประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารฯ ในการ แก้ ไขปัญหาต่างๆ ได้เหมาะสมตามที่ปรากฏจริง คณะกรรมการตรวจสอบจึงได้นำส่ง รายงานการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบทุกครั้งเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ ได้รับทราบและเป็นข้อมูลสำคัญเพื่อการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสรรหาผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตทีเ่ หมาะสมสำหรับ ปี พ.ศ. 2551 และมีความเห็นว่า บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ซึ่งได้เป็น ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัทฯและบริษัทในเครือในปีที่ผ่านมา เหมาะสมที่จะได้เป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัทสำหรับปี 2551 ต่อไปอีกวาระหนึ่ง จึงได้นำเสนอความเห็นนี้ต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อดำเนินการขออนุมัติจากผู้ถือหุ้นในการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปีครั้งต่อไป ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช คณะกรรมการตรวจสอบ พลโท นายแพทย์ สุปรีชา โมกขะเวส นางอุบล จิระมงคล 12 มีนาคม 2551 รายงานประจำปี 2550 10 ANNUAL REPORT 2007
The Audit Committee Report To Shareholders For the fiscal year 2007, the Audit Committee of the Board of Directors comprised entirely of three independent directors held four scheduled meetings in fulfilling its duties and responsibilities to audit and review the Company’s performance. Each meeting was joined by Independent Auditor, Internal Auditor, Chief Accountant, and Management Executives. The Audit Committee reviewed quarterly financial statements of the company and subsidiaries for fiscal year 2007. This year the audit process included a review of general controls surrounding the Company’s accountingrelated computer system. In addition, there has been increase in the Thai accounting standards being revised in 2007. Particularly, the TAS 44 (revised 2007) regarding the Consolidated Financial Statements and Separate Financial Statements that has resulted in additional requirement for revision of last year’s book keeping figures for current data comparison. Some significant issues were thoroughly discussed until the matters were sufficiently clarified. The Audit Committee had been assured that significant financial data prepared by the management are adequate, accountable and accurately presented duly to all relevant, including recently revised accounting regulations and legislation. As usual, internal auditors’ detailed reports of audit activity according to the 2007 fiscal year plan were presented and reviewed at each meeting. The audit committee was satisfied with the outcome of continual internal auditing process and documentation resulting in factual data for efficient control and management. Minute of all audit committee meetings have been submitted to the Board of Directors’ attention. After careful consideration, members of audit committee unanimously agree to nominate Ernst & Young Office Limited for re-appointment as company’s independent certified auditor for the year 2008 subject to shareholders’ approval at the next Annual General Shareholders Meeting. Chairman of Audit Committee Thongdee Shaipanich, MD Members of Audit Committee Lt. Gen, Suprija Mokkhavesa, MD Mrs. Ubol Chiramongkol 12th March, 2008. รายงานประจำปี 2550 11 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 12 ANNUAL REPORT 2007
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
Nature of Business
บริ ษั ท เคซี อี อี เ ลคโทรนิ ค ส์ จำกั ด (มหาชน) มี ชื่ อ ภาษาอั ง กฤษว่ า “KCE Electronics Public Company Limited” จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2525 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 12 ล้านบาท เพื่อประกอบ ธุรกิจเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (PRINTED CIRCUIT BOARD หรือ PCB) ซึ่งเป็นแผ่น EPOXY GLASS ที่ มี สื่ อ นำไฟฟ้ า เช่ น ตะกั่ ว ทองแดง เคลือบอยู่ ภายใต้เครื่องหมายการค้า “KCE” โดยเริ่มต้นจาก การผลิตเฉพาะ PCB ชนิด 2 หน้าเคลือบรู (DOUBLESIDED PTH) ปัจจุบันมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง จนสามารถผลิตแผ่น PCB ชนิดหลายชั้น (MULTILAYER PCB) ซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็นชิ้นส่วนสำคัญขั้นพื้นฐาน
ในการประกอบเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เครือ่ งมือสือ่ สารโทรคมนาคม และเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เกือบทุกประเภท บริ ษั ท ได้ เ ข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยเมื่อเดือนสิงหาคม 2531 และได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน เมื่อเดือน ธันวาคม 2535 ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 500.0 ล้าน บาท และมีทุนชำระแล้ว 462.497 ล้านบาท บริษทั ประกอบธุรกิจเป็นผูผ้ ลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (PRINTED CIRCUIT BOARD หรือ PCB) ชนิด 2 หน้าเคลือบรู (DOUBLE-SIDED PTH) และ ชนิดหลายชั้น (MULTILAYER PCB) ตั้งแต่ 4 - 21 ชั้น โดย ส่วนใหญ่จะเป็นการผลิตเพือ่ การส่งออก และเนือ่ งจากการผลิต PCB ต้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี แ ละความละเอี ย ดสู ง ทางบริ ษั ท
จึ ง ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและเทคโนโลยี ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ อย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับความต้องการในตลาดโลกเพิม่ สูงขึน้ บริษัทจึงได้มีการขยายโรงงานผลิต จัดตั้งตัวแทนจำหน่าย ต่างประเทศ และลงทุนในบริษทั ร่วม เพือ่ สนองความต้องการ ด้านอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของตลาดโลกดังกล่าว
KCE Electronics Public Company Limited (KCE) is the manufacturer and distributor of Printed Circuit Board (PCB). It was established on November 5th, 1982 with an initial registered capital Baht 12 million. The core business of company is the production and distribution of Printed Circuit Board (PCB), electrically conductive circuits, manufactured from an epoxy glass copper lead laminated, under the “KCE” trademark. KCE’s products undergo continuous development and currently, KCE’s products consist mainly of high quality Multilayer PCB, an important component of most electronic equipment. The company became a Public Company, listed on the Stock Exchange of Thailand in 1988, converting its status from a limited company to a Public Company Limited in 1992. The present registered capital is Baht 500 million with paid up capital of Baht 462.497 million. KCE manufactures and exports high quality Printed Circuit Board (PCB), Double sided PTH and Multilayer PCB from 4-21 layers. Most of the products are for export. KCE’s strategy focuses on quality and technology development and KCE has continued to expand its business by establishing subsidiaries, Sales Representatives, and associated companies to serve to global demand of the electronic industry.
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัทย่อยและบริษัทร่วม COMPANY STRUCTURE 94.99% 25.00%
บมจ. เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ KCE
บจ. เคซีอี อินเตอร์เนชั่นแนล KCEI 25.00%
บจ. เคซีอี อเมริกา อิงค์ KCEA
24.50% บจ. เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี KCES
100.00%
60.00%
บจ. เคซีอี เทคโนโลยี KCET
บจ. เคซีอี ประเทศไทย KCE (Thailand)
19.20% 52.00% บจก. ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ TLM
24.50%
รายงานประจำปี 2550 13 ANNUAL REPORT 2007
กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก Top Ten Shareholders From Shareholder List ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2550 AS AT DECEMBER 28, 2007
ชื่อ SHAREHOLDERS บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) Thailand Securities Depository Company Limited for Depositor THAILAND SECURITIES นายบัญชา องค์โฆษิต Mr. Bancha Ongkosit นายปัญจะ เสนาดิสัย Mr. Panja Senadisai นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต Mrs. Voraluksana Ongkosit นายเจษฎา เลิศนันทปัญญา Mr. Jessada Lertnantapanya นางอุบล จิระมงคล Mrs. Ubol Chiramongkol แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต Chantima Ongkosit M.D. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต Mrs. Voraluksana Ongkosit นายแพทย์เกรียงไกร อัครวงศ์ Kriangkrai Akarawong M.D.
จำนวนหุ้น ร้อยละ NUMBER OF SHARES PERCENTAGE 288,265,354 62.33 53,289,345
11.52
27,899,930
6.03
19,669,400
4.25
13,315,000
2.88
8,119,000
1.76
5,535,400
1.20
4,274,500
0.92
3,950,000
0.85
3,757,800
0.81
รายงานประจำปี 2550 14 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 15 ANNUAL REPORT 2007
คณะกรรมการบริษัทฯ
Board Of Directors
คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้
KCE Board of Directors is comprised of 8 directors
as follows :
ชื่อ นายบัญชา องค์โฆษิต ตำแหน่ง ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ สัญชาติ ไทย วัน เดือน ปีเกิด 9 กันยายน 2494 สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 3 คน) การศึกษา SIAD, SURREY DIP. GRAPHIC DESIGN (SECOND CLASS HONOURS) REIGATE COLLEGE OF ARTS, ENGLAND สถาบันการศึกษา ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2517 - 2524 KENYON & ECKHARDT (THAILAND) LTD. พ.ศ. 2524 - 2525 ห้างหุ้นส่วนจำกัด ควงเจริญ พ.ศ. 2526 - ปัจจุบนั บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ทีอ่ ยู่ 98 ซ. พัฒนาการ 56 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 27,899,930 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (เป็นสามี) นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการและกรรมการบริหาร ชื่อ นายปัญจะ เสนาดิสัย ตำแหน่ง กรรมการ สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 10 กันยายน 2491 สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 3 คน) การศึกษา ปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ (MBA) สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยซัฟฟอล์ก มลรัฐเมสซาชูเสทซ์ สหรัฐอเมริกา ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2514 - 2515 เจ้าหน้าที่ โท 2 กองการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2515 - 2517 นักวิจัยและวางแผน อาวุโสฝ่ายการตลาด บริษทั ฟอร์ดมอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด พ.ศ. 2517 - 2519 ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษทั เครดิตการพาณิชย์ (ประเทศไทย) จำกัด
Name : Mr. Bancha Ongkosit Position : Chairman and Managing Director Nationality : Thai Date of Birth : September 9, 1951. Marital Status : Married (3 Children) Education: SIAD, SURREY DIP. GRAPHIC DESIGN (Second Class Honours) Experiences : Kenyon & Eckhardt (Thailand) Ltd. 1974 - 1982 Kuang Charoen Electronics 1981 - 1982 Company Ltd. KCE Electronics Public Company Ltd. 1983 - Present 98 Pattanakarn 56, Suan Luang, Address : Bangkok No. of Shares : 27,899,930 Shares Relationship with (Husband of) Mrs. Voraluksana Ongkosit others : Executive Director Name : Mr. Panja Senadisai Position : Director Nationality : Thai Date of Birth : September 10, 1948 Marital Status : Married (3 Children) Education : Master’s Degree in Business Administration Suffolk University, Massachusetts, USA Experiences : Administrative Officer,
1971 - 1972 Ministry of Commerce Senior Sales, Planning Analyst 1972 - 1974 Ford Motor Company (Thailand) Ltd. Treasury Manager, Commercial Credit 1974 - 1976 Corp. (Thailand)
●
●
●
●
●
●
รายงานประจำปี 2550 16 ANNUAL REPORT 2007
●
●
●
●
●
●
คณะกรรมการบริษัทฯ
Board Of Directors
คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้
KCE Board of Directors is comprised of 8 directors
as follows :
พ.ศ. 2519 - 2534 เจ้าหน้าที่บริหารชั้นรองผู้จัดการ (VP) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2534 - 2537 กรรมการผู้จัดการบริษัท เอช แอนด์ คิว (ประเทศไทย) จำกัด พ.ศ. 2537 - 2540 กรรมการผูอ้ ำนวยการบริษทั ไรมอน จำกัด พ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2536 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท สวีเดนมอเตอร์ส จำกัด
(มหาชน) พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท บี เอ็ม เอส จำกัด พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์
จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์
เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท ทรีนีตี้ วัฒนา จำกัด
(มหาชน) พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท รสา ทาวเวอร์ จำกัด ที่อยู่ 10 ซ. อินทามระ 40 ถ.สุทธิสาร แขวงดินแดง
เขตดินแดง กทม. 10400 จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 19,669,400 หุ้น ความสัมพันธ์กับ
ผู้บริหารอื่น ไม่มี ชื่อ แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต ตำแหน่ง กรรมการ สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 6 ธันวาคม 2489 สถานภาพ หย่า (บุตร 1 คน) การศึกษา แพทย์ศาสตร์บัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ 1 สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2519 - 2521 Assistant Professor of Psychiatry,
University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A.
1976 - 1991 Vice President, Bangkok Bank PCL. Managing Director, H & Q 1991 - 1994 (Thailand) Ltd. President, Raimon Co., Ltd. 1994 - 1997 Advisor & Director, KCE Electronics PCL. 1997 - Present Advisor & Director, 1999 - Present CVD Entertainment PCL. Director, Cinecolor Lab Co., Ltd. 1999 - 2003 Advisor, Cinecolor Lab Co., Ltd. 2003 - Present Chairman of the Board, 2004 - Present Deva Property PCL. Address : 10 Indhamara 40, Suthisarn Road, Bangkok No. of Shares : 19,669,400 Shares Relationship with others : None Name : Dr. Chantima Ongkosit Position : Director Nationality : Thai Date of Birth : December 6, 1946 Marital Status : Divorced (1 Child) Diplomat, American Board of Education : Psychiatry and Neurology Residency training in Psychiatry and
Neurology, Department of Psychiatry, University of Illinois, Chicago, Illinois, USA Experiences : Assistant Professor of Psychiatry 1976 - 1978 University of Illinois, Chicago, Illinois, USA
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
รายงานประจำปี 2550 17 ANNUAL REPORT 2007
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
คณะกรรมการบริษัทฯ
Board Of Directors
คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้
KCE Board of Directors is comprised of 8 directors
as follows :
พ.ศ. 2520 - 2521 Associate Director of Affective Disorders Clinic, University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A. พ.ศ. 2520 - 2521 Chief of In-patient and Research Unit,
Westside Veteran Administration Hospital, Chicago, Illinois, U.S.A. พ.ศ. 2521 - 2523 อาจารย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์
คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2523 - 2527 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน จิตแพทย์ที่ปรึกษา โรงพยาบาลสมิติเวช
สุขุมวิท คลินิกแพทย์สุขุมวิท สุขุมวิท 31 อาจารย์พิเศษภาควิชาจิตเวชศาสตร์ - คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล - คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน กรรมการบริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2531 - ปัจจุบัน กรรมการบริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด พ.ศ. 2540 - 2547 กรรมการบริษัท ไทยลามิเนต
แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษทั พีเอซี (สยาม) จำกัด ประธานกรรมการโรงพยาบาลมนารมย์ โรงพยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิต ที่อยู่ 100 ม. 9 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กทม. จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 4,274,500 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (เป็นพี่สาว) นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ
1977 - 1978 Associate Director of Affective Disorders Clinic, University of Illinois, Chicago, Illinois, USA Chief of In-patient and Research Unit 1977 - 1978 Westside Veteran Administration Hospital, Chicago, Illinois, USA Lecturer of Psychiatry 1978 - 1980 Faculty of Medicine at Ramathibodi
Hospital, Mahidol University Assistant Professor of Psychiatry 1980 - 1984 Faculty of Medicine at Ramathibodi Hospital, Mahidol University Psychiatric Consultant at Samitivej 1989 - Present Hospital and Sukhumvit Medical Center Director 1983 - Present KCE Electronics Public Company Ltd. Director 1988 - Present K.C.E. International Company Ltd. Director 1997 - 2004 Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. Director 2000 - Present KCE Technology Company Ltd. Chairman of PAC (Siam) Co., Ltd. 2003 - Present Chairman of Manarom Hospital Address : 100 Moo. 9, Kwang Dokmai, Prawet, Bangkok No. of Shares : 4,274,500 Shares Relationship with others : (Sister of) Mr. Bancha Ongkosit Chairman and Managing Director
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
รายงานประจำปี 2550 18 ANNUAL REPORT 2007
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
คณะกรรมการบริษัทฯ
Board Of Directors
คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้
KCE Board of Directors is comprised of 8 directors
as follows :
ชื่อ นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต ตำแหน่ง กรรมการ/กรรมการบริหาร สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 15 สิงหาคม 2494 สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 3 คน) PITMAN DIP. BUSINESS & SECRETARIAL การศึกษา สถาบันการศึกษา ST.JAMES COLLEGE ENGLAND ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2515 - 2516 FEDERAL ELECTRIC CORPORATION พ.ศ. 2517 - 2522 GRANT ADVERTISING พ.ศ. 2522 - 2531 KENYON & ECKHARDT (THAILAND) LTD. พ.ศ. 2532 - ปัจจุบัน บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ที่อยู่ 98 ซ. พัฒนาการ 56 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 17,265,000 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (เป็นภรรยา) นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ ชื่อ พลโท นายแพทย์ สุปรีชา โมกขะเวส ตำแหน่ง กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 20 ตุลาคม 2481 สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 2 คน) การศึกษา M.D., C.M. สถาบันการศึกษา McGill UNIVERSITY ประวัติการทำงาน 1 พฤษภาคม 2517 ร.พ.พระมงกุฎเกล้า พ.ศ. 2540 - 2543 เจ้ากรมแพทย์ทหารบก ที่อยู่ 50 สุขุมวิท 63 พระโขนง กทม. จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 1,886,400 หุ้น ความสัมพันธ์ กับผู้บริหารอื่น ไม่มี
Name : Mrs. Voraluksana, Ongkosit Position : Director/Executives Director Nationality : Thai Date of Birth : August 15, 1951 Marital Status : Married (3 Children) Education : PITMAN DIP. Business & Secretarial St. James College, England Experiences : Federal Electric Corporation 1972 - 1973 Grant Advertising 1974 - 1979 Kenyon & Eckhardt (Thailand) Ltd. 1979 - 1988 KCE Electronics Public Company Ltd. 1989 - Present 98 Pattanakarn 56, Suan Luang, Bangkok Address : No. of Shares : 17,265,000 Shares Relationship with others : (Wife of) Mr. Bancha Ongkosit Chairman and Managing Director Name : Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Position : Audit Committee/Independent Director Nationality : Thai Date of Birth : October 20, 1938 Marital Status : Married (2 Children) Education : M.D., C.M, McGill University Experiences : Phramongkutklao Hospital. May 1, 1974 Surgeon General of the Royal Thai Army 1997 - 2000 Medical Department Address : 50 Sukhumvit 63, Phrakanong, Bangkok No. of Shares : 1,886,400 Shares Relationship with others : None
●
●
●
●
●
●
รายงานประจำปี 2550 19 ANNUAL REPORT 2007
●
●
●
●
●
●
คณะกรรมการบริษัทฯ
Board Of Directors
คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้
KCE Board of Directors is comprised of 8 directors
as follows :
ชื่อ นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช ตำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 7 มกราคม 2478 สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 2 คน) การศึกษา แพทย์ศาสตร์บัณฑิต สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ F.A.C.S DIPLOMATE AMERICAN BOARD OF SURGERY ประวัติการทำงาน อาจารย์ภาควิชาศัลยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2538 - 2543 ผู้อำนวยการ ร.พ สมิติเวช 19/4 ซ.พร้อมพรรค แขวงคลองตัน เขตคลองเตย ที่อยู่ กทม. จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 150,600 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น ไม่มี ชื่อ นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ ตำแหน่ง กรรมการ/กรรมการบริหาร สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 26 พฤษภาคม 2498 สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 2 คน) การศึกษา ปริญญาตรีอักษรศาสตร์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2529 - 2535 รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามไทแคนน์ จำกัด พ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) 877/6 ม. 12 แขวงบางนา เขตพระโขนง กทม. ที่อยู่ จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 5,304,900 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (เป็นน้องสาว) นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ
Name : Dr. Thongdee Shaipanich Chairman of Audit Committee/Independent
Position : Director Nationality : Thai Date of Birth : January 7, 1935 Marital Status : Married (2 Children) Education : Doctor of Medicine, F.A.C.S Diplomate American Board of Surgery Experiences : Lecturer of Surgery Department, 1972 Faculty of Medicine, Mahidol University Director of Samitivej Hospital 1995 - 2000 Address : 19/4 Phromprak, Klongton, Klongtoey, Bangkok No. of Shares : 150,600 Shares Relationship with others : None Name : Mrs. Siriphan Suntanaphan Position : Director Nationality : Thai Date of Birth : May 26, 1955 Marital Status : Married (2 Children) Education : B.A, Chulalongkorn University Experiences : Siam Thai Can Co., Ltd. 1986 - 1992 KCE Electronics Public Company Ltd. 1992 - Present Address : 877/6 Moo.12, Bangna, Phrakanong,
Bangkok No. of Shares : 5,304,900 Shares Relationship with others : (Sister of) Mr. Bancha Ongkosit Chairman and Managing Director
●
●
●
●
รายงานประจำปี 2550 20 ANNUAL REPORT 2007
●
●
●
●
คณะกรรมการบริษัทฯ
Board Of Directors
คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้
KCE Board of Directors is comprised of 8 directors
as follows :
ชื่อ นางอุบล จิระมงคล ตำแหน่ง กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 12 มกราคม 2494 สถานภาพ หม้าย (บุตร 3 คน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด MBA สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2517 - 2537 สายการบินแอร์ฟรานส์ พ.ศ. 2537 - 2539 กรรมการบริหาร บริษัท เจนเนอรัล มีเดียเท็ค จำกัด 91 หมูบ่ า้ นธารารมณ์ รามคำแหง 9 วังทองหลาง ที่อยู่ กทม. จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 5,535,400 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น ไม่มี
Name : Mrs. Ubol Chiramongkol Position : Director and Audit Committee Nationality : Thai Date of Birth : January 12, 1951 Marital Status : Widow (3 Children) Education : MBA, Kasetsart University Experiences : Air France Airline. 1974 - 1994 Executive Director, General 1994 - 1996 Media Tech Co., Ltd. Address : 91 Thararom, Ramkhamhaeng 9, Wangthonglang, Bangkok No. of Shares : 5,535,400 Shares Relationship with others : None
●
●
รายงานประจำปี 2550 21 ANNUAL REPORT 2007
●
●
เจ้าหน้าที่ระดับผู้บริหาร ชื่อ นายบัญชา
องค์โฆษิต
ตำแหน่ง ประธานกรรมการ/กรรมการผู้จัดการ
นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการบริหาร/ผู้จัดการทั่วไป นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต
ประสบการณ์ 2525 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) 2535 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
กรรมการบริหาร/ผู้อำนวยการสำนักบริหาร 2532 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
นายชูฤกษ์
โชติมารัตน์ ผู้อำนวยการฝ่ายจัดซื้อ
2532 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
นางธัญรัตน์
เทศน์สาลี
2547 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี
นางเสาวลักษณ์ วรามิตรสกุล ผู้อำนวยการฝ่ายสนับสนุนการผลิต
2526 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
นายวิทกร
เลิศไพศาล ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการผลิต
2527 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด(มหาชน)
นายนพดล
ทับเที่ยง
ผู้อำนวยการฝ่ายคุณภาพ
2531 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
นายสุรพล
ก่อเกิด
ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ และบริหาร
2549 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำปี 2550 22 ANNUAL REPORT 2007
MANAGEMENT STAFF NAME Mr. Bancha
Ongkosit
POSITION
EXPERIENCE
Chairman/Managing Director
Mrs. Siriphan Suntanaphan Executive Director/General Manager Mrs. Voraluksana Ongkosit
Executive Director/ Executives’ Office Director
Mr. Chulerg Chotimarat Purchasing Director Mrs. Tanyarat Tessalee
Accounting Director
Mrs. Saovalak Waramitsakul Manufacturing Support Director Mr. Vitagora Lerdpisarn Manufacturing Operation Director Mr. Noppadol Tabtieang Quality Director Mr. Surapol
Kokoed
Human Resource and Administration Director
1982 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 1992 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 1989 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 1989 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 2004 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 1983 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 1984 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 1988 - Present : KCE Electronics Public Company Limited 2006 - Present : KCE Electronics Public Company Limited
รายงานประจำปี 2550 23 ANNUAL REPORT 2007
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ
บริษทั ได้กำหนดนโยบายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส และอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับอุตสาหกรรม เดียวกัน โดยปัจจุบันได้กำหนดค่าตอบแทนกรรมการเป็น 2 ส่วน คือเบี้ยประชุม และค่าตอบแทนกรรมการประจำปี ทั้งนี้ ค่าตอบแทนดังกล่าวในปี 2549 และ ปี 2550 ได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 23/2549 เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2549 และครั้งที่ 24/2550 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 แล้ว ตามลำดับ
กรรมการ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ 2 นายปัญจะ เสนาดิสัย กรรมการ 3 แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต กรรมการ 4 นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ 5 พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการอิสระ 6 นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช กรรมการอิสระ 7 นางอุบล จิระมงคล กรรมการอิสระ 8 นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการ รวมทั้งสิ้น
ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าเบี้ยประชุม จำนวนครั้งเข้า (บาท) (บาท) ประชุม ปี 2550 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2549 800,000 800,000 240,000 240,000 12 12 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 400,000 400,000 180,000 180,000 12 9 400,000 400,000 180,000 180,000 11 11 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 400,000 400,000 180,000 180,000 12 9 3,600,000 3,600,000 1,500,000 1,500,000
คณะกรรมการตรวจสอบ ลำดับ รายชื่อ 1 นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช 2 พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส 3 นางอุบล จิระมงคล รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) ปี 2550 ปี 2549 180,000 180,000 180,000 180,000 180,000 180,000 540,000 540,000
กรรมการและผู้บริหาร
การกำหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารเป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกำหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับ
ผลการดำเนินการของบริษัทและผลการดำเนินงานของผู้บริหารแต่ละท่าน ประเภทค่าตอบแทน
เงินเดือน โบนัส / เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ปี 2550 ปี 2549 จำนวนราย จำนวนเงิน (บาท) จำนวนราย จำนวนเงิน (บาท) 9 21,273,600.00 9 20,791,200.00 9 3,448,485.00 9 3,137,120.00 รายงานประจำปี 2550 24 ANNUAL REPORT 2007
MANAGEMENT STAFF Remuneration
The payment for the Board of Directors consists of the annual remuneration and the meeting allowances as approved by the shareholders at the AGM No. 23/2006 on April 27th, 2006 and the AGM No. 24/2007 on April 30th, 2007 respectively.
Directors No. of Remuneration Meeting Fee Meeting No. Name Position 2007 2006 2007 2006 2007 2006 1 Mr. Bancha Ongkosit Chairman and 800,000 800,000 240,000 240,000 12 12 Managing Director 2 Mr. Panja Senadisai Director 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 3 Dr. Chantima Ongkosit Director 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 4 Mrs. Voraluksana Ongkosit Director 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 5 Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Independent Director 400,000 400,000 180,000 180,000 12 9 6 Dr. Thongdee Shaipanich Independent Director 400,000 400,000 180,000 180,000 11 11 7 Mrs. Ubol Chiramongkol Independent Director 400,000 400,000 180,000 180,000 12 12 8 Mrs. Siriphan Suntanaphan Director 400,000 400,000 180,000 180,000 12 9 Total 3,600,000 3,600,000 1,500,000 1,500,000
Audit Committee No. Name 1 Dr. Thongdee Shaipanich 2 Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa 3 Mrs. Ubol Chiramongkol Total
Title Chairman of Audit Committee Audit Committee Audit Committee
Executive Director and Management
Remuneration 2007 2006 180,000 180,000 180,000 180,000 180,000 180,000 540,000 540,000
The scale and components of remuneration follow the company’s principles and policy, correlating to the company’s operating results and each individual’s contribution. 2007 2006 Item No. Amount (Baht) No. Amount (Baht) Salary 9 21,273,600.00 9 20,791,200.00 Bonus / Provident Fund 9 3,448,485.00 9 3,137,120.00
รายงานประจำปี 2550 25 ANNUAL REPORT 2007
รายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) มีความมุง่ มัน่ ที่จะบริหารงานโดยยึดหลักการการกำกับดูแลกิจการที่ดีและ ดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงสิ่งแวดล้อมและสังคมส่วนรวม คณะกรรมการบริษทั ฯ ตระหนักดีวา่ การกำกับดูแลกิจการ ที่ดีนั้นเป็นปัจจัยสำคัญในการปฏิบัติที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ และเป็ น พื้นฐานในการนำมาซึ่งความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจและ เสริมสร้างองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทฯ ปฏิบัติตาม แนวทางและข้อบังคับของหลักการการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรับบริษัทจดทะเบียน ระเบียบและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ของพระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์
แห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อพึงปฏิบตั ิ ทีด่ ขี องกรรมการบริษทั จดทะเบียน ข้อบังคับของบริษทั โดยได้ ปลูกฝังและสร้างความเข้าใจในหลักการการกำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี รวมถึงจริยธรรมทางธุรกิจ และนำไปปฏิบตั ใิ นระดับผูบ้ ริหาร และพนักงาน โดยมีคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้คำแนะนำ ติดตาม ทบทวน และประเมินผลการปฏิบตั ติ ามแนวทางการกำกับดูแล กิจการที่ดี เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อให้แน่ ใจว่าผู้ถือหุ้นได้รับการปกป้องสิทธิใดๆ ที่ผู้ถือหุ้น พึ ง จะได้ รั บ ในฐานะเป็ น เจ้ า ของทุ น และการบริ ห ารงาน ของบริษัทก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับผู้ถือหุ้น จากการประเมินการปฏิบัติตามหลักการการกำกับดูแล กิจการที่ดี 15 ข้อสำหรับบริษัทจดทะเบียนที่ประกาศใช้ตั้งแต่ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 ที่ ให้บริษัทจดทะเบียนทุกบริษัทมี การรายงานการปฏิบัติตามหลักการการกำกับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อในแบบแสดงรายการข้อมูล (56-1) และรายงานประจำปี บริษทั ฯ ได้รบั คะแนนจากการประเมินในภาพรวมจากสถาบัน กรรมการบรรษัทไทยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในด้านการกำกับดูแลกิจการบริษัทอยู่ ในเกณฑ์ “ดีมาก” มา โดยตลอด และจากผลการประเมินดังกล่าว สะท้อนให้เห็นถึง ความมุ่ ง มั่ น ของบริ ษั ท ฯ ในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ โดยยึ ด มั่ น จริยธรรม ตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี และในปี 2550 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ทำการประเมินตนเอง (SELF ASSESSMENT) ทบทวน ตรวจสอบ และปรับปรุงนโยบาย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิด
ความมัน่ ใจในการปฏิบตั ติ ามหลักการการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี สำหรับบริษัทจดทะเบียน คณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ควบคุมดูแลและกำกับการบริหารงานของฝ่ายบริหาร ให้เป็นไปตามเป้าหมายและกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ ติดตามและ ประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความ โปร่งใสและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่าย ปฏิบัติต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องภายใต้กฎหมาย และจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง ให้สิทธิผู้ถือหุ้นทุกคนเข้าร่วมใน การกำกับดูแลกิจการอย่างเท่าเทียมกัน กำหนดและระบุสิทธิ ของผู้มีส่วนได้เสียและผู้ถือหุ้นไว้อย่างชัดเจน แบ่งแยกการ ปฏิ บั ติ ง านและหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ กับฝ่ายบริหาร หรือบุคคลใดทีม่ อี ำนาจในการควบคุมการทำงาน ของฝ่ายบริหาร หรือกลุ่มผู้ถือหุ้นใดๆ อย่างชัดเจน มีการ รายงานแนวทางการปฏิบัติงาน การควบคุมดูแลตลอดจนถึง กิจกรรมใดๆ ของฝ่ายบริหารในด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รั บ ทราบบนพื้ น ฐานของความถู ก ต้ อ ง ชั ด เจน ทันเหตุการณ์ เพียงพอ และเชื่อถือได้
สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการบริษทั ฯ ตระหนักและเคารพในสิทธิของผูถ้ อื หุน้ รวมถึงรักษาสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น ดังนี้ • สิทธิในการจดทะเบียนเป็นเจ้าของหุ้นของบริษัท • สิทธิในการเปลีย่ นมือหรือการโอนสิทธิในหุน้ ของตน • สิทธิในการรับส่วนแบ่งผลกำไรของบริษัทฯ • สิทธิในการได้รบั แจ้งข้อมูลและข่าวสารทีม่ นี ยั สำคัญ ของบริษัทอย่างสม่ำเสมอและตรงเวลาตามที่ควร จะเป็น • สิทธิในการเข้าร่วมประชุมเพื่อเข้าร่วมกระบวนการ ในการตัดสินใจและลงคะแนนเสียงในเรือ่ งสำคัญใดๆ ในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น o สิทธิในการแต่งตั้งหรือถอดถอนคณะกรรมการ o สิทธิในการออกคะแนนเสียงแต่งตั้งและกำหนด ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี o สิ ท ธิ ใ นการแสดงความคิ ด เห็ น ในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ ร่ ว มตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งสำคั ญ ของ บริษัท เช่น
รายงานประจำปี 2550 26 ANNUAL REPORT 2007
Corporate Governance Report KCE Electronics Public Company is committed to the good corporate governance policy and conducts its business with full accountability to the shareholders, the stakeholders, the environment and the society. The KCE Board of Directors understand the importance of good corporate governance and establish action plans to protect the interest of all the stakeholders and to ensure the long term sound, secure, and sustainable corporate growth and success. KCE follows operational guidelines for implementing good CG, the Public Company Act, the Securities and Exchange Act, the relevant rules and regulations issued by Securities and Exchange Commission (SEC), the Stock Exchange of Thailand (SET), and the Company’s Articles of Association. The Company creates a better understanding and prac-tices of the good corporate governance at the level of directors, management, and employees. The company’s corporate governance policies and practices, including the code of conducts are complied into a manual. The Board supervises, evaluates and assesses the Corporate Governance and implements necessary measures for continuous governance improvement to ensure the protection of the rights of shareholders (owners of funds), and that management of the company is for the best and long term interests of shareholders. Since the fifteen principles of good corporate governance for listed companies was implemented from the accounting period ending December 31, 2002 and listed companies are required to demonstrate, in their annual registration statement (Form 56-1) and annual reports, how they apply the fifteen principles, KCE has been always positioned in the top quartile of all of the governance surveys in the overall performance by the Thai Institute of Directors in collaboration with the Stock Exchange of Thailand. The results of the rating reflect KCE’s constant efforts to integrate sound ethics and to comply with the principles of good corporate governance into its business practices and its corporate culture. In fiscal year 2007, KCE performed a self assessment as recommended by the Corporate Governance Center (CG Center) of SET to ensure compliance with
the Principles of Good Corporate Governance for listed Companies (2006). The KCE Board of Directors acts with integrity and care to provide the strategic guidance, effective motoring and supervision of the management as well as regularly reviews and improves the policy to attain transparency and accountability to maximize the corporate value to all shareholders and stakeholders. The KCE Board Members act in the best interests of Shareowners. The Company acts in a lawful and ethical manner in their dealings with all stakeholders and their representative. All Shareowners have the same right to participate in the governance of the Company and receive fair treatment from the Board and management. All rights of Shareowners and other stakeholders are clearly delineated and communicated. The Board and its committees are structured to act independently from management, individuals or entities that have control over management, and other non-Shareowner groups. Appropriate controls and procedures are in place covering management’s activities in running the day-to-day operations of the Company; and the Company’s operating and financial activities, as well as its governance activities, are consistently reported to Shareowners in a fair, accurate, timely, reliable, relevant, complete and verifiable manner. The Company conducts its affairs according to the following principles:
Rights of Shareholders
The KCE Board of Directors recognizes and respects the rights of the shareholders. The Board protects the basic rights of shareholders which includes but not limited to the following: • Secure methods of ownership registration • The right to buy, sell, or transfer shares • The right to share in the profit of the company • The right to obtain relevant and adequate information on the company in a timely manner and on a regular basis • The right to participate in important decisionmaking process and vote in the shareholders’ meetings
รายงานประจำปี 2550 27 ANNUAL REPORT 2007
• เงินปันผลของบริษัทฯ • การแก้ ไขเปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณห์สนธิ หรือข้อบังคับของบริษัทฯ • การเพิ่มหรือลดทุนจดทะเบียนบริษัท • รายการพิเศษอื่นๆ ที่มิใช่รายการที่เกิดขึ้น ตามปกติ • สิทธิในการมีสว่ นร่วมและรับทราบ การตัดสินใจใน เรือ่ งสำคัญใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเปลีย่ นแปลงการ ดำเนินกิจการขัน้ พืน้ ฐาน
เท่ากับหนึง่ เสียงโดยมีคณะกรรมการอิสระเป็นผูด้ แู ลผลประโยชน์ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ สำหรับผูถ้ อื หุน้ ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้นนั้ ก็สามารถมอบอำนาจให้กับผู้อื่นได้ การกำหนดมาตรการป้ อ งกั น การใช้ ข้ อ มู ล ภายใน (INSIDER TRADING) เพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือ ผูอ้ นื่ ในทางมิชอบของกรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหาร รวมทัง้ คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ (ดูรายละเอียดใน 56-1 หัวข้อ 9.6 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน) นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นได้รับสิทธิอย่างเต็มที่ ในการได้รับ บริษทั ฯ ได้ออกประกาศห้ามกรรมการรวมถึงกรรมการ แจ้งกฎระเบียบ และขั้นตอนต่างๆ ที่ ใช้ ในการดำเนินการ ทีพ่ น้ ตำแหน่งในช่วงเวลา 6 เดือน และผูบ้ ริหารซือ้ ขายหลักทรัพย์ การประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ของบริษทั ฯ ก่อนประกาศงบการเงินเป็นเวลา 1 เดือนและหลัง ครบถ้วน ทันเวลา และเพียงพอในการประกอบการตัดสินใจ ประกาศเป็นเวลา 3 วัน และกำหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหาร ในแต่ละวาระล่วงหน้าก่อน 20 ก่อนวันประชุม ได้รับโอกาส มีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหุน้ ของบริษทั ฯ และจัดส่งรายงาน ในการซักถามและรับการชี้แจงจากคณะกรรมการบริษัทให้ ดังกล่าวให้แก่คณะกรรมการเป็นประจำ ทัง้ นี้ เพือ่ มิให้กรรมการ เกิดความกระจ่างทัง้ ในทีป่ ระชุมหรือจากการส่งคำถามล่วงหน้า และผู้ บ ริ ห ารนำข้ อ มู ล ภายในไปใช้ ป ระโยชน์ ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด รวมทัง้ มี โอกาสในการเสนอเรือ่ งเข้าสูร่ ะเบียบวาระการประชุม ความเสียหายต่อผู้ถือหุ้นโดยรวม เป็นต้น ทั้งนี้ กรรมการ พร้อมทั้งข้อเสนอในการลงมติ ภายใต้เงื่อนไขและข้อจำกัดที่ ผู้บริหาร หรือพนักงานที่มีส่วนได้เสียในรายการนั้นจะต้อง เหมาะสมของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยผ่านทางจดหมาย ไม่มีส่วนร่วมในการพิจารณาอนุมัติในวาระนั้นๆ อีเมล์ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ และด้วยตระหนักดีถึงความ สำคัญของสิทธิของผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการหลีกเลีย่ งการกระทำ คณะกรรมการบริษัทถือเป็นนโยบายสำคัญที่จะไม่ ให้ ใดๆ ที่เป็นลักษณะการเอาเปรียบผู้ถือหุ้น ไม่มีการปฏิบัติใดๆ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานใช้ โอกาสจากการเป็นกรรมการ ทีเ่ ป็นไปในทางมิชอบ ปกปิดข้อมูลของบริษทั ฯ หรือสงวนสิทธิ ผู้บริหาร หรือพนักงานบริษัทฯ แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน จึ ง ห้ า มไม่ ใ ห้ ก รรมการประกอบธุ ร กิ จ ที่ แ ข่ ง ขั น กั บ บริ ษั ท ฯ ใดๆ ในการเข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น หลีกเลี่ยงการทำรายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ฯ หรือในกรณีทจี่ ำเป็น การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของผูถ้ อื หุน้ และปฏิบตั ิ ต้องทำรายการเช่นนั้น คณะกรรมการบริษัทจะดูแลให้ทำ ต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งผู้ถือหุ้นรายย่อย และ รายการด้วยความโปร่งใส เทีย่ งธรรมเสมอเหมือนการทำรายการ ผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยผู้ถือหุ้นทุกรายจะมีสิทธิในการปฏิบัติ กับบุคคลภายนอก อย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีการแบ่งแยก มีอิสระในการตัดสินใจ บริษัทฯ ปฏิบัติตามแนวทางและขั้นตอนในการปฏิบัติ และได้รบั การปกป้องจากการกระทำที่ ไม่ถกู ต้องของผูถ้ อื หุน้ ทีม่ ี อำนาจในการควบคุมการดำเนินธุรกิจของบริษัท หรือจาก ในเรื่องการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวโยงกัน ตามหลักเกณฑ์ของ การกระทำที่ ไม่ถูกต้องเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นที่มีอำนาจ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ตั้ ง แต่ ปี 2547 เพื่ อ ให้
ในการควบคุมการดำเนินธุรกิจของบริษทั ไม่วา่ จะเป็นการกระทำ คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหาร ซึ่งเข้าข่ายบุคคลที่ ทางตรงและทางอ้อม โดยบริษัทจะปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐาน เกี่ยวโยงกันตามคำนิยามของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ ของผู้ถือหุ้นด้วยความเป็นธรรม และเป็นไปตามข้อกำหนด หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เปิดเผยข้อมูลบุคคลและ ของกฎหมาย เพื่ อ ให้ มั่ น ใจในสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานของผู้ ถื อ หุ้ น บริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกัน ทุกครัง้ ทีม่ กี ารแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารใหม่ สำนัก การออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผูถ้ อื หุน้ จะให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ เลขานุการบริษัทฯ จะจัดส่งแบบฟอร์ม “รายละเอียดของ ออกเสียงในทีป่ ระชุมตามจำนวนหุน้ ทีถ่ อื อยู่ โดยหนึง่ หุน้ มีสทิ ธิ บุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ รายงานประจำปี 2550 28 ANNUAL REPORT 2007
o to elect or remove members of the board, o to appoint the independent auditor, and set annual audit fees o to make decisions on any key transactions that affect the company such as • dividends payment, • amendments to the company’s articles of association or the company’s bylaws, • capital increases or decreases, • and the approval of extraordinary transactions, etc • The right to participate in, and to be informed regarding major decisions concerning fundamental corporate changes.
shareholders are treated in an equal way. KCE facilitates the needs of its shareholders and ensure equitable and fair treatment, complying with applicable laws and guidelines protecting shareholders’ basic rights. Voting rights are based on a one vote per share basis with Independent Directors mandated to look after the benefits of minority shareholders. Shareholders who cannot vote in person can vote by proxy. Measures have been taken to prevent insider trading and the misuse of internal information by the Company’s Board members, management including their spouses and their under aged children. Board members and those that have retired from office of no more than 6 months are prohibited from making any transactions in Shareholders have a right to be fully informed of regards to KCE shares from 1 month prior and 3 days the criteria and procedures governing shareholders post disclosure of the Company’s financial performance. meetings. Sufficient information regarding the issues to The Company’s Board members and its executives are be decided in each agenda item is to be provided 20 required to disclose their investments in KCE shares days in advance of the meeting. Shareholders can and reports of their holding must be updated and query directors both in the meeting and by sending submitted to the Board of Directors on a regular basis. their questions in advance. They are allowed to propose All directors and executives are to disclose to the board an agenda item and vote by proxy. Minority shareholders whether they and their related parties have any interest have the opportunity to propose issues as meeting in any transaction or matter directly affecting the company. agenda as the company follows the additional guidelines Directors and executives who have such interests should recommended by SET through mail, email and the not participate in the decision making process on such company’s website www.kcethai.in.th. The Board issues. (details inform 56-1, 9.6) recognizes shareholders’ rights and avoids any actions that violate those rights. There are no actions that The Board of Directors shall not allow directors, violate shareholders’ rights to study the company’s executives and staff to seek personal gains from or to information and their rights to attend shareholders’ engage in business in direct competition with the meetings. Company or transactions that may lead to a conflict of interests with the Company. If such a transaction is Equitable Treatment of All Shareholders unavoidable, the Board of Directors shall ensure that the KCE ensure the equitable treatment of all share- transaction is carried out with transparency and fairness holders, including minority and foreign shareholders. All similar to transactions carried out with unrelated parties. shareholders have the right to fair practice without Directors, executives or staff having an interest in any discrimination, based on the number of shares held, free transaction must not take part in its approval process. of influence from major shareholders and have the When a transaction is considered a connected transaction opportunity to obtain effective redress for violation of according to the Announcement of the Stock Exchange their rights, protected from abusive action by, or in the of Thailand, the Board of Directors must make sure that interest of, controlling shareholders acting directly or the relevant rules and procedures for disclosure regarding indirectly. All shareholders, including those with manage- connected transactions by listed companies are strictly ment positions, non-executive shareholders and foreign complied with. รายงานประจำปี 2550 29 ANNUAL REPORT 2007
แห่งประเทศไทย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการ ของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ 2546” เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ ห ารที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ใหม่ ใ ห้ ข้ อ มู ล พร้ อ มลงนาม รั บ รองความถู ก ต้ อ งของข้ อ มู ล และหากภายหลั ง มี ก าร เปลี่ยนแปลงข้อมูล ผู้บริหารจะต้องจัดส่งแบบฟอร์มดังกล่าว พร้อมลงนามรับรองความถูกต้องของข้อมูลทุกครั้งโดยสำนัก เลขานุการบริษัทฯ จะจัดทำสรุปรายชื่อบุคคลและบริษัทฯที่ เกี่ยวโยงกันเพื่อง่ายในการตรวจสอบ และนำส่งฝ่ายบริหาร ทุกครั้ง ตลอดจนบุคคลที่เป็นผู้ประสานงานเกี่ยวกับรายการที่ เกี่ยวโยงกันของแต่ละหน่วยงาน เพื่อใช้ตรวจสอบธุรกรรมที่ หน่วยงานตนจะเสนอฝ่ายบริหารหรือคณะกรรมการบริษัทฯ และหากมีรายการที่เกี่ยวโยงกันเกิดขึ้น บริษัทฯจะจัดทำสรุป สารสนเทศเกีย่ วกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันแจ้งให้ตลาดหลักทรัพย์ ทราบ รวมทั้งนำไปเปิดเผยในรายงานประจำปี (56-2) และ แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ทั้งนี้ เพื่อ ให้การดำเนินการเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกันมีแนวทาง ปฏิบัติชัดเจนยิ่งขึ้น
การประชุมผู้ถือหุ้น
บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารประชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2550 ตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดย ปฏิบัติตามแนวทางการจัดการประชุมผู้ถือหุ้นของสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตลอดจนใช้คมู่ อื ANNUAL GENERAL MEETING CHECKLIST ซึ่งเป็นโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้น สามัญประจำปีของบริษัทจดทะเบียน โดยในปีที่ผ่านมาทาง สมาคมนักลงทุนไทยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประเมินการจัดการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ อยู่ ในระดับคะเนน “80-89” หรือ “ดีมาก” ซึ่งจากผลจาก การประเมินและการชี้แนะของปีที่ผ่านมา บริษัทฯจะนำไป พัฒนาและยกระดับคุณภาพการจัดการประชุมใหญ่สามัญ ผู้ถือหุ้นของบริษัทในปีต่อไป • การกำหนดวัน เวลา และสถานที่ ในการประชุม ผู้ถือหุ้น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2550 เมื่อ วันที่ 20 มีนาคม 2550 ได้มีมติกำหนดให้จัดการประชุมใหญ่ สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 ในวันที่ 30 เมษายน 2550 ตามข้อบังคับของบริษัทที่จะต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น ภายในกำหนดระยะเวลา 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี
บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารรายงานและเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงาน ของบริษัทฯ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลาใน การตัดสินใจ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใน Website ของบริษัท ซึ่งผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่สนใจสามารถเข้าดู ข้อมูลได้ตลอดเวลาที่ www.kcethai.in.th ตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2550 หรือ 20 วันล่วงหน้าก่อนวันประชุม และได้ ล งประกาศเชิ ญ ประชุ ม ในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น ฉบั บ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตัง้ แต่วนั ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2550 ติดต่อกัน 3 วันล่วงหน้าก่อน วันประชุม 13 วัน บริษทั ฯ ได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมให้กบั ผูถ้ อื หุน้ 20 วัน ล่วงหน้าก่อนวันประชุม โดยได้แนบรายละเอียดข้อมูลใน แต่ละวาระ เอกสารที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับการปฏิบัติ ตามกฎหมาย ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และข้อบังคับของบริษัทฯ พร้อมกันนี้ ได้แนบรายละเอียด ในแต่ ล ะวาระของการประชุ ม ให้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเพี ย งพอ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ โดยได้ระบุอย่างชัดเจนในแต่ละ วาระที่นำเสนอว่า เป็นเรื่องที่นำเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพือ่ พิจารณา รวมทัง้ นำเสนอความเห็นของคณะกรรมการ บริษทั ฯ ในแต่ละวาระอย่างชัดเจน พร้อมกันนี้ ได้แนบรายงาน การประชุมครั้งที่ผ่านมา รายงานประจำปี เอกสารประกอบ การประชุม รวมถึงเอกสารที่ต้องใช้ ในการมอบฉันทะและ ระบุวิธีการไว้อย่างชัดเจน ผู้ถือหุ้นสามารถถามคำถามใน ห้องประชุมหรือส่งคำถามล่วงหน้า นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ ปฏิ บั ติ ต ามแนวทางของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นนำเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า ก่อนวันประชุมผ่านช่องทางจดหมาย อีเมล์ หรือเว็บไซต์ของ บริษัท www.kcethai.in.th และในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สะดวก ที่จะเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง ก็ ให้มอบอำนาจให้ตัวแทน กรรมการอิ ส ระ หรื อ ประธานกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู้ ล ง คะแนนเสียงแทนได้ ในปี 2550 บริษัทฯ จัดการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 24/2550 ในวันที่ 30 เมษายน 2550 ณ ห้อง มณเฑียรทิพย์ โรงแรมมณเฑียร ถ.สุรวงศ์ กรุงเทพฯ ซึ่งเป็น โรงแรมที่ อ ยู่ ใ นย่ า นใจกลางเมื อ ง สะดวกในการเดิ น ทาง เข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น โดยมีผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุม ทั้ ง หมด 148 ราย นั บ จำนวนหุ้ น ได้ 161,296,742 หุ้ น
เท่ากับร้อยละ 51.22 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้ทั้งหมด
รายงานประจำปี 2550 30 ANNUAL REPORT 2007
The Company follows the guidelines and procedures as stipulated by the SET since September 2004 to that information disclosure is a must should there be any relationship that falls within the definition as stipulated by the SEC. Disclosure is made on the person or entity that is related and each time there is a new management appointment, the Company Secretariat sends the “Details of Related Persons Form” as per the SEC’s guidelines relating to information disclosure for listed companies on related party transactions, B.E. 2546” for the newly appointed person to fill and sign-off on the integrity of information provided. The document is to be returned to the Company’s Secretariat who is responsible for summarizing the information of related persons and business entities for review purposes. The information provided to each business unit serves as reference for screening proposals seeking management or Board of Directors approval. Related party transactions is to be disclosed in the Annual Report (form 56-2) and the annual disclosure of the Company’s information (form 56-1). These measures are to ensure the integrity of members of the Board and that of management.
Annual General Shareholders’ Meeting.
KCE held the 2007 Annual General Shareholders’ Meeting in accordance with the legal procedures and the requirement of the Stock Exchange of Thailand as well as the Securities and Exchange Commission (SEC). An Annual General Shareholders’ Meeting Checklist was used in preparation of holding the Annual General Shareholders’ Meeting 2007 (AGM). The Thai Investors Association and the Securities and Exchange Commission (SEC) rates the KCE’s AGM in 2007 as ‘very good’ (80-89). The recommendations made from the rating will be implemented in the preparation of the next AGM to enhance the quality of AGM 2008. • Determination of the date, the time and the venue for shareholders’ meetings At the Board of Directors’ meeting No. 3/2007 held on March 20th, 2007, a resolution was reached to hold the 2007 AGM on April 30th, 2007, complying with the articles of association of KCE requiring the AGM to be held within 4 months post the fiscal year end. Timely,
transparent and accurate disclosure in both Thai and English languages are made on all material issues regarding the corporation in the company’s website accessible to all interested parties and at the Company’s website www.kce.hq.com, www.kcethai.in.th on April 10th, 2007, 25 days prior to the date of the meeting earlier than required by regulations and in both Thai and English Press for three consecutive days, thirteen days prior to the AGM. The letter of invitation to all Shareholders 20 days prior to date to attend the AGM and details of the various issues which were to be considered for approval were also included in the information packet in accordance to the legal requirements, SET guidelines and the Company’s own guidelines require the distribution of such information. Adequate information and details were provided to shareholders on each issue to ensure that shareholders have appropriate and sufficient information to make sound decisions. Clear identification was made for each issue as whether it was just “for your information”, “for approval” or “for consideration”. The Company also provided shareholders with a viewpoint from the Board of Directors on each issue for better insight. Included in the information packet were the minutes to the previous year’s AGM, a copy of the previous fiscal year’s annual report, copies of relevant information and a copy of a proxy along with detailed procedures to be observed. Shareholders can query directors both in the meeting and by sending their questions in advance. The company complies with the additional guidelines recommended by the SET and offers the shareholders the opportunity to propose issues as meeting agenda in advance of the meeting date through mail, email and the company’s website www.kcethai.in.th and to vote by proxy. The proxy forms allow shareholders to specify their votes and the Board of Directors nominated at two independent directors and the Chairman of the Board to act as a shareholders’ proxy. The AGM 2007 (24/2550) was held on the 30th April 2007 at Montientip Room, Montien Hotel. Surawongse Road, Bangkok. The location was chosen for its convenient location and easy accessibility for Shareholders.
รายงานประจำปี 2550 31 ANNUAL REPORT 2007
314,930,000 หุน้ มีผถู้ อื หุน้ เข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง 63 ราย และมอบอำนาจจำนวน 85 รายโดยมีผู้ถือหุ้นจำนวน 9 ราย มอบอำนาจให้ ป ระธานกรรมการและ 14 ราย ให้ กั บ กรรมการอิสระของบริษทั และ 62 รายมอบอำนาจให้กบั ผูแ้ ทน • การเข้าร่วมประชุมและการลงทะเบียน ในการเข้าร่วมการประชุม ผู้ถือหุ้นทุกคนต้องแสดง เอกสารหลักฐานเพื่อเข้าร่วมประชุม อาทิ บัตรประจำตัว ประชาชน หรือหนังสือเดินทาง ในกรณีที่รับมอบฉันทะจาก บุคคลธรรมดา จะต้องนำหลักฐานของผูม้ อบฉันทะมาแสดงด้วย อาทิ หนังสือมอบฉันทะ และสำเนาบัตรประชาชนหรือสำเนา หนังสือเดินทาง หรือในกรณีที่รับมอบฉันทะจากนิติบุคคล ในฐานะเป็ น ผู้ แ ทน จะต้ อ งนำหลั ก ฐานของผู้ ม อบฉั น ทะ มาแสดงด้วย อาทิ หนังสือมอบฉันทะ และหนังสือรับรองการ จดทะเบียนนิติบุคคลที่มีการรับรองสำเนาถูกต้อง โดยในการ ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมในปีที่ผ่านมา บริษัทฯได้อำนวย ความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นโดยจัดเจ้าหน้าที่รับลงทะเบียนไว้ ล่วงหน้าก่อนการประชุม 2 ชั่วโมงและต่อเนื่องจนกว่าการ ประชุ ม จะแล้ ว เสร็ จ ด้ ว ยกระบวนการที่ เ ป็ น ระบบและมี ประสิทธิภาพ และสะดวกต่อผู้ถือหุ้น โดยผู้ถือหุ้นและผู้แทน ทุกคนจะได้รับบัตรลงคะแนนเสียงของทุกๆ วาระหลังจากที่ ลงทะเบียน รวมถึงการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้น ที่มาประชุมด้วย • การเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ของคณะกรรมการ บริษัทฯ ในการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อการประชุมผู้ถือหุ้น โดยประธานกรรมการบริษัทฯ ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม และมีกรรมการบริษทั ฯ เข้าร่วมประชุมทัง้ สิน้ 8 ท่าน ซึง่ รวมถึง ประธานกรรมการบริษัทฯ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ ผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังความ คิดเห็น และตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ 2. พลโทนายแพทย์สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการ 3. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช กรรมการ 4. นายปัญจะ เสนาดิสัย กรรมการ 5. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต กรรมการ
6. นางอุบล จิระมงคล กรรมการ 7. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ ได้เข้าร่วมประชุมเพือ่ รับฟัง ความคิดเห็นและตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. นางธัญรัตน์ เทศน์สาลี ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี 2. นางณิราพัชร์ ติรนาควิทย์ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน
การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถาม แสดงความคิดเห็น การลงมติ และการบันทึกรายงานการประชุม
ในช่วงเริม่ ต้นของการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานกรรมการ บริษัทฯ คือ นายบัญชา องค์ โฆษิต ผู้ซึ่งทำหน้าที่ประธาน ในที่ประชุม ได้แจ้งรายละเอียดและอธิบายวิธีการลงคะแนน การนับคะแนน การใช้บัตรลงคะแนนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ การเก็บบัตรลงคะแนน การสรุปผลการลงคะแนนเสียงในทุกๆ วาระ ให้ผถู้ อื หุน้ ทุกคนทราบ ส่วนบัตรลงคะแนนเสียงทัง้ หมด ทางบริษัทฯจะเก็บไว้เพื่อการตรวจสอบได้ ในภายหลัง ขั้นตอนการลงคะแนนเสียง มีดังนี้ 1. เมือ่ ผูถ้ อื หุน้ ได้ทำการลงทะเบียนแล้ว ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั บัตร ลงคะแนนซึ่งมีจำนวนเท่ากับจำนวนวาระที่จะต้องมีการ ลงคะแนนเสียง โดยในบัตรระบุชื่อผู้ถือหุ้น ผู้รับมอบ ฉันทะ จำนวนหุน้ ทีถ่ อื และจำนวนหุน้ ทีป่ ระสงค์จะทำการ ลงคะแนนเสี ย งในบั ต รลงคะแนนในแต่ ล ะวาระ ทั้ ง นี้ ในการลงคะแนนเสียง ผู้ถือหุ้นจะต้องลงคะแนนในบัตร ลงคะแนนให้ตรงกับวาระที่จะทำการลงคะแนน 2. ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนนเสียงเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียงอย่างใดอย่างหนึง่ ในแต่ละวาระ พร้อมทัง้ เซ็นชื่อลงไปในบัตรลงคะแนน 3. ในการนับคะแนนเสียง เมือ่ มีการนำเสนอในแต่ละวาระจบ ประธานฯจะขอให้ผถู้ อื หุน้ ลงมติบนบัตรลงคะแนน จากนัน้ เจ้าหน้าทีข่ องบริษทั จะทำการเก็บบัตรลงคะแนนจากผูถ้ อื หุน้ เพื่อนำไปประมวลผล โดยในขณะที่ เจ้าหน้าที่ทำการ ประมวลผล ประธานฯ อาจจะดำเนินการประชุมในวาระ ถัดไปเพือ่ มิให้เป็นการเสียเวลา หรืออาจจะพิจารณารอผล ของมติการประชุมในวาระนั้นๆ ตามแต่เห็นสมควร และ ในช่ ว งท้ า ยของการประชุ ม บริ ษั ท จะทำการสรุ ป มติ
ที่ประชุมในแต่ละวาระให้แก่ผู้ถือหุ้นทราบอีกครั้งหนึ่ง
รายงานประจำปี 2550 32 ANNUAL REPORT 2007
A total of 148 shareholders and proxies (63 in persons and 85 by proxies) attended the meeting representing a total of 16,1296,742 shares, which was 51.22 per cent of the paid up shares of 314,930,000 and more than one third of the Company’s paid-up capital constituting a quorum. 9 shareholders gave proxy to the Managing director and 14 persons to the Independent Directors and 62 to others. • Meeting Attendance and Registration To attend the shareholders’ meeting, shareholders present documents to verify their identities such as the identification card or passport. As for a proxy of a natural person, he/she must bring proxy evidence such as the completed proxy form along with a copy of identification card or passport of the shareholder. Where a proxy is assigned by a juridical person, he/she must bring proxy evidence such as the proxy form along with a certified copy of business registration certificate. Shareholders presenting Identification Card can preregister two hours prior to the AGM. The Company organizes a systematic and effective registration process to facilitate the shareholders attending the meeting At the AGM 2007, Shareholders and their proxies were expedited through the registration process with a large number of staff on hand to facilitate the process. Registration to attend the AGM began 2 hours prior to the commencement of the meeting and continued through the end of the AGM. All shareholders and proxies were provided with the voting slips, one for each agenda. Shareholders were offered snacks and refreshments. • Attendance of Board Members at the Annual General Shareholders’ Meeting All members of the Board of Directors have placed importance in attending the 2007 AGM and the Chairman of the Board of Directors presided as the Chairman of the AGM. A total of 8 Board members attended the AGM including the Chairman of the Board of Directors, Chairman of the Audit Committee, Chairman of Independent Directors, Management Committee, Chairman of Remuneration Committee. Key executives and representatives from the various departments took note of shareholders’ comments, concerns and
answered questions that shareholders may have. Board members attending the AGM are as follows: 1. Mr. Bancha Ongkosit Chairman and Managing Director 2. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. Director 3. Thongdee Shaipanich Director 4. Mr. Panja Senadisai Director 5. Chantima Ongkosit M.D. Director 6. Mrs. Ubol Chiramongkol Director 7. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan Director Management present at the AGM 2007 1. Mrs. Tanyarat Tessalee Accounting Director 2. Mrs. Niraphat Tiranakvit Finance Manager
Agendas and providing Shareholders with the opportunity to ask questions, make comments, vote on resolutions and recording of the minutes
At the start of AGM, the Company’s Board Chairman, Mr. Bancha Ongkosit who presided over the AGM as Chairman provided a summary regarding the votes represented at the meeting, explained the voting procedure, vote counting process, the voting process via computerized, the vote collection process, and the summation of votes. The voting documents have been kept for future reference. The voting procedures at the AGM 2007 were as follows; 1. After the registration, each shareholder or proxy received voting cards, one card for each agenda stated in the notice of the AGM 2007. Each voting card had the name of the shareholder or proxy, the numbers of the shares owned and the agenda to be voted. All shareholders and proxies were requested to vote for each and every agenda. 2. The Shareholders can vote to approve, disapprove or refrain from voting and requested to sign each voting card.
รายงานประจำปี 2550 33 ANNUAL REPORT 2007
4. ในการนับคะแนน ว่าที่ร้อยตรีเทพวรา ธนพัฒน์ ซึ่งเป็น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและวางแผนระดับ 7 จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นผูส้ งั เกตการณ์ในการนับคะแนน ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริษัทฯได้เปิดโอกาสให้
ผู้ถือหุ้นซักถาม หรือแสดงความคิดเห็นอย่างเหมาะสมและ เพียงพอ และให้กรรมการทีเ่ กีย่ วข้องชีแ้ จงและให้ขอ้ มูลต่างๆ แก่ผู้ถือหุ้นอย่างครบถ้วนและชัดเจน สำหรับการลงคะแนน และนับคะแนนเสียง บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับของบริษทั ฯ ที่กำหนดให้ 1 หุ้นเป็น 1 เสียง และนับเสียงข้างมากเป็นมติ ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมเป็นผู้ชี้ขาด อีกเสียงหนึ่งต่างหากนอกเหนือจากการออกเสียงในฐานะเป็น ผู้ถือหุ้น และใช้บัตรลงคะแนนเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงด ออกเสียงในแต่ละวาระ และมีการบันทึกคำถาม คำชี้แจง และความคิดเห็นของที่ประชุมไว้อย่างละเอียดด้วย โดยทาง บริษัทฯจะนำส่งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้กับตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ภายใน 14 วันหลังจากวันประชุมผู้ถือหุ้น และหลังจากเสร็จสิ้นการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในปี 2550 ที่ผา่ นมา ประธานกรรมการ คณะกรรมการ และผูบ้ ริหารของ บริษัทฯได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามอย่างไม่เป็นทางการ มากกว่า 1 ชั่วโมง วาระที่นำเสนอในการประชุมผู้ถือหุ้นในปี 2550 นั้น มีดังนี้ (ดูรายละเอียดได้ ในหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 24/2550 ในเว็บไซต์ของบริษัท www.kcethai.in.th) วาระที่ 1 : พิจารณารับรองรายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2549 ครั้งที่ 23/2549 วาระที่ 2 : พิจารณารับทราบรายงานผลการดำเนินงานของ บริษัทในรอบปี 2549 และรายงานประจำปีของ คณะกรรมการบริษัท วาระที่ 3 : พิจารณาอนุมัติงบดุลและกำไรขาดทุน สำหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 วาระที่ 4 : พิจารณาอนุมตั งิ ดการจัดสรรกำไรประจำปี 2549 วาระที่ 5 : พิจารณาอนุมตั เิ ลือกตัง้ กรรมการใหม่แทนกรรมการ ซึ่งออกจากตำแหน่งตามวาระ วาระที่ 6 : พิจารณาอนุมัติกำหนดค่าตอบแทน และค่าเบี้ย ประชุมสำหรับกรรมการและกรรมการตรวจสอบ
วาระที่ 7 : พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี ประจำปี 2550 และ กำหนดค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี วาระที่ 8 : พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารยกเลิ ก มติ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 23/2549 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2549 เรือ่ งการออกและเสนอขายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ของบริษทั และจัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนเพือ่ รองรับ การใช้สิทธิตามหุ้นกู้แปลงสภาพ วาระที่ 9 : พิจารณาอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนของบริษัท จากจำนวน 450,000,000 บาทเป็น 317,930,000 บาท โดยตัดหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ยังมิได้จัดสรร จำนวน 132,070,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท วาระที่ 10 : พิจารณาอนุมตั กิ ารแก้ ไขเพิม่ เติมหนังสือบริคณห์ สนธิของบริษัทข้อ 4 เพื่อให้สอดคล้องกับการลด ทุนจดทะเบียนของบริษัท วาระที่ 11 : พิจารณาอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั จากจำนวน 317,930,000 บาท เป็น 500,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 182,070,000 หุ้น วาระที่ 12 : พิจารณาอนุมตั กิ ารแก้ ไขเพิม่ เติมหนังสือบริคณห์ สนธิของบริษัทข้อ 4 เพื่อให้สอดคล้องกับการ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท วาระที่ 13 : พิจารณาอนุมัติการออกและเสนอขายใบสำคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญให้แก่พนักงานของ บริษัท และ/หรือ บริษัทย่อย ในจำนวนไม่เกิน 35 ราย จำนวน 3,000,000 หน่วย วาระที่ 14 : พิจารณาอนุมัติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัท วาระที่ 15 : พิจารณาอนุมัติการแก้ ไขเพิ่มเติมวัตถุประสงค์ ของบริษัท โดยให้เพิ่มข้อ 33 และแก้ ไขหนังสือ บริคณห์สนธิของบริษัทข้อ 3 เพื่อให้สอดคล้อง กับการแก้ ไขเพิ่มเติมวัตถุประสงค์ของบริษัท วาระที่ 16 : วาระเรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่มีการเพิ่มเติมวาระใดๆ นอกเหนือ จากวาระที่แจ้งผู้ถือหุ้นในหนังสือเชิญประชุม
รายงานประจำปี 2550 34 ANNUAL REPORT 2007
3. The sign voting cards were collected from the Shareholders and the proxies after the voting had been cast after each agenda had been addressed and discussed. The Chairman would then either proceed with the meeting or wait for the result of the vote count as deemed appropriate. At the conclusion of the AGM 2007, the Chairman summarized the results of the voting for each of the agenda for the assembly. 4. Lieutenant Thapwara Thanapat, an officer from Chulalongkorn University,acted as the official observer of the counting of the votes.
During the AGM, the Chairman of the shareholders’ meeting gave opportunity for the shareholders to express opinions and ask questions relevant to the agendas or the company. Shareholders were given sufficient time to pose questions or make suggestions. Detailed and encompassing answers were provided by Board members and management in response to questions posed by shareholders. In counting votes, the Company abides strictly by its own guideline of one share one vote basis and approval is based on majority vote. The vote is counted one vote per share and the resolution is by the majority votes. If the votes are equal, the Chairman of the meeting shall have one vote to decide besides the votes entitled to as shareholders. The Company recorded the resolutions of the meeting by classifying into approval votes, objection votes and abstention votes for each agenda in writing and will also record in details the questions, answers and opinions made during the meeting. Resolutions with voting results were recorded in the shareholders’ meeting minutes. The Resolution of the AGM was reported to the Stock Exchange of Thailand and the company’s website within 14 days after the meeting. After the AGM, the Chairman of the AGM, directors, and KCE executives took the opportunity to converse with the shareholders informally for over one hour. The agenda presented in the 2007 AGM are summarized as follows: (See details in “Invitation to AGM 24/2007 at company’s website www.kcethai.in.th”)
Agenda 1 : To consider and certify the Minutes of the Annual General Meeting of Shareholders No.23/2006. Agenda 2 : To consider and acknowledge the report of the Board of Directors on the performance result of the Company for the year 2006. Agenda 3 : To consider and approve the audited Balance Sheet and the Profit and Loss statements for the year ending December 31, 2006. Agenda 4 : To consider and approve the omission of the annual dividend payment for the year 2006. Agenda 5: To consider and approve the election of new directors to replace the directors who retired by rotation. Agenda 6 : To consider and approve the determination of the remuneration and meeting allowance of directors and the remuneration for the audit committee for the year 2007. Agenda 7 : To consider and approve the appointment of the auditors for the year 2007 and determination of auditing fee. Agenda 8 : To consider and approve the cancellation of the resolution of the Annual General Meeting of Shareholders No.23/2006 held on April 27, 2006, agenda item 9 in relation to the approval of the issuance and offer for sale of convertible debentures of the Company and allocation of the newly issued shares to accommodate the exercise of the convertible debentures. Agenda 9 : To consider and approve the reduction of the registered capital of the Company from Baht. 450,000,000 to Baht. 317,930,000 by canceling 132,070,000 authorized but unissued shares at the par value of Baht 1 per share. Agenda 10 : To consider and approve the amendment to Clause 4 of the Memorandam of Association of the Company to be consistent with the reduction of the registered capital.
รายงานประจำปี 2550 35 ANNUAL REPORT 2007
ภายหลังวันประชุมผู้ถือหุ้น
ได้เสีย ดังปรากฏไม่พบว่ามีการกระทำใดๆ ในปี 2550 ทีเ่ ป็น ในปี 2550 บริษัทฯ ได้แจ้งมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น การละเมิดสิทธิใดๆ ของผู้มีส่วนได้เสียเลย ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายในวันทำการถัดไป โดยมติดังกล่าวระบุผลของการลงคะแนนเสียง (เห็นด้วย/ บริษัทฯ ได้กำหนดให้มีระบบที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วน ไม่เห็นด้วย/งดออกเสียง) ในแต่ละวาระ และจัดส่งรายงาน ได้ เ สี ย ได้ เ ข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา การประชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มีระบุรายชือ่ กรรมการ/ผูบ้ ริหารทีเ่ ข้าร่วม การปฏิบัติงานเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคงในกิจการ จึงจัดให้มี ประชุม และผลของการลงคะแนนเสียง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย การรายงานเปิดเผยข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หรืองดออกเสียง ในแต่ละวาระทีเ่ สนอขอการอนุมตั จิ ากผูถ้ อื หุน้ ของบริษัทฯ ในรายงานข้อมูลแบบ 56-1 รายงานประจำปี รวมทัง้ ประเด็นทีส่ ำคัญๆ ข้อซักถามของผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละวาระ และ Website ของบริ ษั ท ที่ www.kcethai.in.th ทั้ ง นี้ และการชี้แจงจากทางคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างละเอียด ในกรณีที่ผู้มีส่วนได้เสีย มีเบาะแสในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ ให้ กั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและหน่ ว ยงานที่ การทำผิดกฎหมาย ระบบควบคุมภายในทีบ่ กพร่อง หรือการผิด เกีย่ วข้อง ภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมทั้ง จรรยาบรรณ สามารถแจ้งบริษทั ได้ผา่ นทางโทรศัพท์ จดหมาย เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.kcethai.in.th ด้วย หรือผ่าน Website ของบริษัทเอง โดยบริษัทฯ มีกลไกใน การปกป้องคุ้มครองสิทธิของผู้แจ้งเบาะแสดังกล่าว นโยบายต่อผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบที่มีต่อผู้มีส่วน ผู้ถือหุ้น ได้เสียทุกกลุ่ม เคารพและคำนึงในสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ให้มผี ลการดำเนินงานทีด่ เี ลิศอย่างต่อเนือ่ ง ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจในสิ ท ธิ ต ามกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งใดๆ มี คำนึงถึงสภาวะความเสี่ยงในปัจจุบันและอนาคต ตระหนักถึง การปฏิบัติและให้ความสำคัญต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มโดย หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ความโปร่ ง ใส เท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ พนักงานของบริษทั ฝ่ายบริหาร ในการดำเนิ น งานและพยายามอย่ า งเต็ ม ที่ ใ นการปกป้ อ ง ลูกค้า คู่ค้า ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรวม โดยทาง ทรั พ ย์ สิ น และธำรงไว้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น และชื่ อ เสี ย งของบริ ษั ท บริษัทจะสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่าง ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์ สุจริต และเป็นธรรม คำนึงถึง บริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียในการสร้างความมั่งคั่ง ความมั่นคง ผู้ถือหุ้นทั้งรายใหญ่และรายย่อย และเพื่อผลประโยชน์ของ ทางการเงิน ความยั่งยืนของกิจการ และสร้างความเชื่อมั่น กลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องโดยรวม คือ ให้กบั ทุกฝ่ายในการดำเนินงานและการตัดสินใจว่าเป็นไปตาม - บริหารกิจการของบริษทั ฯ ให้มคี วามเจริญก้าวหน้า กฎหมายและข้อกำหนดของบริษทั ทัง้ นีผ้ มู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ มั่นคง และก่อให้เกิดผลตอบแทนที่ดีแก่ผู้ถือหุ้น สามารถแจ้งเบาะแสต่อคณะกรรมการในประเด็นเกี่ยวกับ - ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความสามารถและความระมัดระวัง การทำผิ ด กฎหมาย ระบบควบคุ ม ภายในที่ บ กพร่ อ ง หรื อ
เยี่ยงผู้ที่มีความรู้ ประสบการณ์และความชำนาญ การผิดจรรยาบรรณ โดยมีกลไกคุม้ ครองสิทธิของผูแ้ จ้งเบาะแส - จัดการดูแลไม่ให้ทรัพย์สนิ ใดๆ ของบริษทั ฯ สูญค่า หรือสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ ผู้มีส่วนได้เสียจะได้รับความเป็นธรรมตามสิทธิ โดย - เปิดเผยข้อมูลสารสนเทศทั้งทางการเงินและไม่ ใช่ คณะกรรมการบริษทั สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ ทางการเงินทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจและผลประกอบการของ ระหว่างบริษทั กับผูม้ สี ว่ นได้เสียในการสร้างความมัง่ คัง่ มัน่ คง บริษทั ฯ ทีเ่ ป็นจริงอย่าครบถ้วนเพียงพอ สม่ำเสมอ ทางการเงิน และความยั่งยืนของบริษัท ทันเวลาและแสดงให้เห็นถึงสถานภาพของการ ประกอบการและสถานภาพทางการเงินที่แท้จริง บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายที่ชัดเจนในการปฏิบัติต่อ
ของบริษัทฯ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม โดยได้กำหนดสิทธิของ ผู้มีส่วนได้เสียตามกฎหมายและถือเป็นข้อตกลงระหว่างกัน พนักงาน ห้ามไม่ ให้มีการกระทำใดๆ ที่เป็นการละเมิดสิทธิของผู้มีส่วน บริษัทฯ ยึดมั่นในนโยบายและข้อกำหนดตามระเบียบ การบริหารงานทรัพยากรบุคคลด้านการจ้างงานและกำหนด รายงานประจำปี 2550 36 ANNUAL REPORT 2007
Agenda 11 : To consider and approve the increase of the registered capital of the Company from Baht. 317,930,000 to Baht. 500,000,000 by issuing the newly issued shares in the number of 182,070,000 shares at the par value of Baht 1 per share. Agenda 12 : To consider and approve the amendment to Clause 4 of the Memorandum of Association of the Company to be consistent with the increase of the registered capital. Agenda 13 : To consider and approve the offer for sale of warrants to purchase ordinary shares in the number of 3,000,000 units to not more than 35 employees of the Company and/or the subsidiary companies. Agenda 14 : To consider and approve the allocation of newly issued shares of the Company. Agenda 15 : To consider and approve the amendment of the objectives of the Company by adding clause 33 and amendment of the Memorandum of Association item 3 in accordance with the amendment of the objectives of the Company. Agenda 16 : Others (If any) There was no other new agenda issue added to AGM 2007.
posted on the Company’s web site www.kce.hq.com, www.kcethai.in.th.
Stakeholders’ Rights
KCE is aware of the responsibilities to the stakeholders, respects the stakeholders’ legal rights and ensures that those rights are protected. The Company provides fair treatment and takes into account the interest of the stakeholders which include, but not limited to, various groups; the shareholders, the employees, the management, the customers, the suppliers, the creditors, the community, the society, the government, the environment, the public, etc. The Company encourages active co-operation between the Company and the stakeholders in creating wealth, jobs and the sustainability of financially sound enterprises and ensures that all business decisions and actions comply with all applicable laws and regulations. The stakeholders can communicate their concern about any possible illegal or unethical practices to the Company with out compromising their rights. Stakeholders of KCE are treated fairly in accordance with their legal rights as specified in relevant laws. The board of directors promotes cooperation between the company and its stakeholders in order to create wealth, financial stability and sustainability of the firm. Post the Annual General Shareholders’ Meeting The Company set a clear policy on fair treatment Resolutions reached at the AGM 2007 were disclosed the following business day to the general for each and every stakeholder. The rights of stakeholders public via the Stock Exchange of Thailand’s information that are established by law or through mutual agreements channel. The details regarding the approved/disapproved are respected. Any actions that can be considered in resolutions and the vote counts (approve/disapprove/ violation of stakeholders’ legal rights are prohibited. Any refrain from voting) for each issue that was submitted violation will be effectively redressed. In the Year 2007, for consideration. The minutes of the AGM 2007 containing there are no legal issues regarding any of the stakeholders. names of Board members and management attending The Company provides a mechanism that stakehol the meeting along with the resulting resolutions, (approved/ ders can involve in improving the company performance disapproved) and the vote count (approve/disapprove/ to ensure the firm’s sustainability. In order for stakeholders refrain from voting) on issues posed for shareholder to participate effectively, all relevant is disclosed to consideration along with major issues posed by them in the form 56-1, the KCE Annual Report, the shareholders and the responses made by the Company Company’s website, www.kce.hq.com, www.kcethai.in.th. were submitted to the Stock Exchange of Thailand and The stakeholders can communicate through mail, email, other relevant government bodies within 14 days post telephone and the mentioned website to the Company the AGM. The minutes to the AGM has also been any concerns about illegal or unethical practices, รายงานประจำปี 2550 37 ANNUAL REPORT 2007
ผลตอบแทน พนักงานทุกคนจะได้รับการปฏิบัติ รวมทั้งได้รับ ผลประโยชน์ ต อบแทนเป็ น จำนวนที่ เ ท่ า กั บ หรื อ มากกว่ า เมื่อเปรียบเทียบกับสถานประกอบการอื่นๆ ในอุตสาหกรรม เดียวกัน พนักงานทุกคนจะได้รับคู่มือพนักงานที่ระบุข้อควร ปฏิบัติ กฎระเบียบ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน และสวัสดิการ ต่างๆ ที่พึงจะได้รับ โดยมีคณะกรรมการสวัสดิการ ดูแลสิทธิ ของพนักงานเป็นสำคัญ และมีคณะอนุกรรมการดูแลเรื่อง สวัสดิการด้านที่อยู่อาศัย ด้านการเดินทางและการบริการ อาหารแก่พนักงานด้วย นอกจากนี้ ทางบริษัทฯ จัดให้มีการ จัดทำวารสาร เคซีอี เพื่อเป็นสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล ต่างๆ ให้พนักงานรับทราบ โดยข้อมูลเหล่านี้จะอ่านได้จาก Website ของบริษัท และนอกจากนี้ บริษัทยังได้จัดการ อบรมในหัวข้อต่างๆ ให้กับพนักงานเพื่อเป็นการเพิ่มระดับ ความรู้ความสามารถ และพัฒนาศักยภาพในการทำงาน บริษัทฯ ได้ ให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยในการ ทำงานเป็นอย่างยิ่ง บริษัทฯได้จัดให้มีการอบรมและสัมมนา ในด้านความปลอดภัย ด้านสุขภาพของพนักงาน ด้านสิง่ แวดล้อม และด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานเพือ่ นำไปพัฒนาและปรับปรุง ความรู้ ทักษะในการทำงาน และนำไปใช้เพือ่ ก่อประโยชน์สงู สุด ของพนักงานเอง ในปี 2550 บริษัทฯ จัดให้มีการอบรมให้กับพนักงาน ดังนี้ • การอบรม JSA (Job Safety Analysis) เป็นประจำ ทุกสัปดาห์ เพื่อเพิ่มแนวทางการชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ยง • การอบรม Safety Patrol การตรวจระบบความ ปลอดภัยในโรงงาน เป็นประจำทุกๆ เดือน • การบริจาคเงินและช่วยเหลือสังคม • การจัดอบรมการซ้อมดับเพลิงเบื้องต้น มีการจัด เป็นประจำทุกๆ 4 เดือน • แจกจ่ า ยอุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น ภั ย ส่ ว นบุ ค คล PPE (Personal Protection Equipment) ให้กบั พนักงาน ทุกคน เป็นประจำทุกๆ เดือน • การอบรมทีมงานตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน ERT (Emergency Response Team) เป็นประจำทุกๆ เดือน • การอบรมความปลอดภัยในการทำงานกับรังสี (X-Ray) เป็ น การฝึ ก อบรมให้ กั บ พนั ก งานที่ ป ฏิ บั ติ แ ละ
•
•
•
•
•
•
•
•
รับผิดชอบงาน X-Ray ให้ทราบวิธีการปฏิบัติงาน และการป้องกันรังสีที่ถูกต้อง การอบรมพื้ น ฐานความปลอดภั ย ในการทำงาน เกี่ ย วกั บ สารเคมี เพื่ อ ให้ พ นั ก งานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน เกี่ยวข้องกับสารเคมี ได้ทราบถึงคุณสมบัติ วิธีการ จัดเก็บ และวิธีการปฏิบัติตนในการใช้และป้องกัน สารเคมีแต่ละชนิดอย่างถูกต้อง การอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน เพือ่ ให้พนักงานมีความรูเ้ กีย่ วกับ ความปลอดภั ย ในการทำงาน กฎหมายความ ปลอดภัยและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การป้องกันและ ควบคุมอุบัติเหตุและโรคจากการทำงาน ตลอดจน สามารถค้ น หาสาเหตุ ข องอุ บั ติ เ หตุ แ ละโรคจาก การทำงานได้ การอบรมการขับรถ Fork Lift อย่างถูกต้องและ ปลอดภัย เพื่อให้พนักงานที่ทำหน้าที่ ในการขับรถ Fork Lift ได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติงานในการ ขับรถได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย การปฏิ บั ติ ใ นการเคลื่ อ นย้ า ยแผ่ น วงจร (PCB Handling Instruction) เพื่อให้พนักงานมีการ ปรับปรุงวิธีการหยิบจับแผ่นวงจรได้อย่างถูกต้อง และถูกวิธี อีกทั้งเป็นการรักษาคุณภาพของแผ่น วงจรและ Packaging ที่ดีก่อนที่จะส่งมอบสินค้า ให้กับลูกค้า การอบรมบริหารงานคลังสินค้า เพื่อให้พนักงาน สามารถบริหารงานพืน้ ทีค่ ลังสินค้า การจัด Lay out บทบาทและหน้าทีข่ องเจ้าหน้าทีค่ ลังสินค้า ตรวจสอบ การรั บ -จ่ า ยสิ น ค้ า และการตรวจสอบจำนวน ในคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ การอบรมการจัดทำระบบเอกสาร (Document Control System) เพือ่ ให้พนักงานสามารถทราบถึง ระบบการทำและจัดเก็บเอกสารได้อย่างถูกต้อง ตรงกับระบบมาตรฐานคุณภาพ การอบรมการพั ฒ นาภาวะผู้ น ำและการทำงาน เป็ น ที ม เพื่ อ ให้ พ นั ก งานได้ ท ราบและเข้ า ใจถึ ง ประโยชน์ของการทำงานเป็นทีม และสามารถนำ ความรูท้ ี่ได้จากการอบรมไปพัฒนาศักยภาพการเป็น ผูน้ ำและการทำงานเป็นทีมให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ จัดให้มกี ารตรวจสุขภาพพนักงานเป็นประจำทุกๆ ปี
รายงานประจำปี 2550 38 ANNUAL REPORT 2007
incorrect financial reporting, insufficient internal control, etc. The rights of any person who communicates such concerns will be protected. Policies on environmental and social issues are also set. Shareholders KCE continually strives for superior performance, taking into account the current and potential risk environment. It is our duty to ensure transparency in KCE’s operation and to do our utmost to safeguard KCE’s assets and uphold the reputation. KCE performs duties with honesty, integrity and fairness for the benefit of major and minor shareholders as well as other related parties to: - Manage for stable long-term sustainable growth while maximizing Shareholder wealth. - Knowledgeably execute responsibilities with utmost care and professionalism. - Safeguarding the Company’s assets. - Disclose sufficient and accurate financial and non-financial information on the Company’s operating and financial status.
Employees
KCE has strong commitment to the workforces and follows the regulations of the Human Resources Department which has a clear cut employment and compensation work instructions. KCE employees receive fair treatment with salary and benefits comparable or better to those in the same industry. Each employee receives an Employee Handbook which defines rules, regulations, procedure, and welfare for KCE’s employees. The KCE welfare committee looks after the employee’s benefits with subcommittee for housing, transportation, and food services. KCE Newsletter is published quarterly to provide communication within the company while KCE Gazette is accessible in the company’s website. KCE continually trains and develops employees to a high level of competence and provides them with salaries and benefits comparable to leading employers. The safety of the employees is utmost important and KCE implements strict safety policy. There were various training and seminars for safety, health, environment and other work- related issues to foster development
and improvement of knowledge, skills and to maximize the potential of the employees. In 2007, the training courses for the Employees include, but not limited to, the following; • JSA- Job Safety Analysis weekly following the guideline for Hazard Identification & Risk Assessment • Safety patrol training monthly • Community services and scholarship donation • PPE (Personal Protection Equipment) Training are monthly conducted. • Fire Fighting and Fire Drill are conducted regularly every four months. • ERT (Emergency Response Team) are conducted monthly. • Radiation Safety for those working with radioactive material annually. • Chemical Hazard Training - for safe - handling, storage and disposal of chemical. • Workplace Safety Training • Forklift Skills and Safety Training • PCB handling instruction • Storage training • Document control system • Personal development courses which includediscipline, team building, working as a team and leadership. • Free general physical and medical examinations are provided annually for employees. • Laboratory blood tests are offered twice yearly as a preventive measure for those working with chemicals. • Twenty four hour first-aid nursing service is also available at every plant. • Social activities for employees include walk rallies, sport days, sightseeing trips and holidays celebrations. • KCE provides a long-term employee incentive scheme to align employees and shareholders’ interests by establishing Employee Share Option Program (ESOP). • Professional training programs are offered to KCE employees to enhance work efficiency through Human Resource Development Seminar
รายงานประจำปี 2550 39 ANNUAL REPORT 2007
• มีบริการการตรวจเลือดเพื่อหาปริมาณสารเคมี ใน ร่างกายปีละ 2 ครั้ง • จัดให้มีหน่วยบริการปฐมพยาบาลเบื้องต้นตลอด 24 ชั่วโมง ในทุกๆ โรงงาน • ด้านกิจกรรมทางสังคม บริษัทฯจัดให้มีกิจกรรม Walk Rally กีฬาสี กิจกรรม 5ส และการจัดงาน สังสรรค์ตามเทศกาลต่างๆ • จัดให้มี โครงการมอบสิทธิในการถือหุ้น (ESOP) ให้ แ ก่พ นั ก งานเพื่ อ เป็น ขวั ญ และกำลั ง ใจในการ ทำงาน โดยจัดสรรให้มี โครงการอันจะส่งผลดีต่อ ผลการดำเนินงานของบริษัทในระยะยาว • จัดให้มกี ารฝึกอบรมเฉพาะทางในแต่ละสาขาวิชาชีพ เพื่อนำมาปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานของ พนักงานตามแผนการฝึกอบรมที่ ได้กำหนดไว้ ซึ่ง รวมไปถึง กฎระเบียบ การทำงานเป็นทีม และ การเป็นผู้นำ
คู่ค้า
บริ ษั ท ฯ เชื่ อ มั่ น และให้ ค วามยุ ติ ธ รรมต่ อ ทุ ก ฝ่ า ยที่ มี ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท พยายามอย่ า งยิ่ ง ในการ หลีกเลีย่ งความลำเอียง หรือสถานการณ์ทที่ ำให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ จึงได้กำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ในการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง และหลั ก เกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ กคู่ ค้ า ไว้อย่างชัดเจน เพือ่ ให้เกิดความเป็นธรรมและความเป็นอิสระ ระหว่างบริษัทและคู่ค้าในระบบการจัดหาที่ โปร่งใส มีขั้นตอน ทีส่ ามารถตรวจสอบได้ ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการค้าและสัญญา ที่ตกลงกันไว้ และมีการจ่ายชำระเงินตรงตามเวลาทุกครั้ง โดยในปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯ ไม่มขี อ้ พิพาทใดๆ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับ คู่ค้าหรือคู่แข่งขันเลย
สิ่งแวดล้อม
บริษัทฯ ได้รักษามาตรฐานระบบสิ่งแวดล้อมไว้อย่าง เคร่งครัด ภายใต้กฎหมายและข้อกำหนดทีเ่ กีย่ วข้องมีนโยบาย การผลิ ต ที่ ใ ช้ พ ลั ง งานและทรั พ ยากรธรรมชาติ อ ย่ า งเต็ ม ประสิทธิผล และได้ลงทุนเป็นจำนวนมากในระบบการบำบัด ลูกค้า บริษัทฯ มุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า มลพิษทางน้ำและอากาศ อีกทั้งโรงงานทุกแห่งของบริษัทฯ ด้วยการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและการบริการที่เป็นเลิศ มี ในกลุม่ ตัง้ อยู่ในเขตอุตสาหกรรมซึง่ มีมาตรการในการป้องกัน การดำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริตอย่างแน่วแน่ ในทุกๆ มลพิษและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอยู่แล้วอย่างเข้มงวด ด้าน สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ลูกค้า ในการปกป้องรักษาข้อมูล ในปี 2545 บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO ที่เกี่ยวกับธุรกิจของลูกค้าภายใต้มาตรฐานจรรยาบรรณแห่ง วิชาชีพ ด้วยการบริการลูกค้าด้วยสินค้าที่มีคุณภาพและการ 14001 ซึ่งเป็นมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และ บริการที่เป็นเลิศ รับผิดชอบการดำเนินงานเยี่ยงผู้เชี่ยวชาญ ISO/TS 16949 มาตรฐานของระบบบริหารคุณภาพสำหรับ ในวิชาชีพ และมุ่งมั่นที่จะบรรลุผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ อุ ต สาหกรรมผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ จึ ง จำเป็ น ต้ อ งได้ รั บ
โดยการผสมผสานกรรมวิธีและเทคโนโลยี ใหม่ๆ ในการผลิต การตรวจสอบระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมจากบริษัท SGS ประเทศไทย จำกัด อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ เพื่อให้มั่นใจว่า นอกจากนั้น ทางบริษัทยังจัดให้มีสำนักงานขายใน ทางบริษทั ฯ ได้ดำเนินการตามนโยบายและปฏิบตั ติ ามข้อกำหนด ประเทศต่างๆ เพื่อให้ข้อมูล รับฟังปัญหา และแก้ปัญหา ของระบบสิง่ แวดล้อมอย่างเข้มงวด โดยในปี 2550 ทางบริษทั ฯ ในเรื่องต่างๆ ให้กับลูกค้า เพื่อความสะดวกและสร้างความ ได้รบั การตรวจสอบระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมและมาตรฐาน ระบบบริหารคุณภาพจำนวน 4 ครัง้ ในเดือนมกราคม พฤษภาคม พึงพอใจให้กับลูกค้าทั่วโลกด้วย กรกฎาคม และเดือนพฤศจิกายน ซึ่งปรากฏว่าบริษัทฯ ไม่มี การดำเนินการใดๆ ที่ขัดต่อข้อกำหนดและมีผลกระทบต่อ เจ้าหนี ้ บริษัทฯ ยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจอย่างมีหลักการและ ระบบสิ่งแวดล้อม และระบบมาตรฐานคุณภาพ วินยั เพือ่ สร้างความมัน่ ใจได้วา่ การตัดสินใจและการดำเนินการ บริษัทฯ ได้มีการพัฒนาร่วมกับลูกค้าและคู่ค้าเพื่อผลิต ทางธุ ร กิ จ จะเป็ น ไปตามกฎหมาย ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ที่ เกี่ยวข้อง และปฏิบัติตามมาตรฐานจรรยาบรรณของบริษัท ผลิตภัณฑ์ทปี่ ลอดมลพิษเพือ่ เป็นการรักษาสมดุลของสิง่ แวดล้อม และข้อพึงปฏิบัติที่ดีของพนักงาน ตามเงื่อนไข ข้อตกลง และ เช่น ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็น Lead Free และ Halogen Free รวมถึง การใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็น Bubble ห่อ PCB แทนการใช้ โฟม หน้าที่ที่พึงมีต่อเจ้าหนี้ รายงานประจำปี 2550 40 ANNUAL REPORT 2007
and Training Plan courses which include-discipline, team building, teamwork and leadership.
Customers
KCE strives to achieve customer satisfaction by providing quality products and delivering exceptional service to our customers. KCE believes in strong ethical standards and carries out our business with uncompromising integrity and honesty in all respects. KCE protects our customers and maintain the trust placed in us by ensuring that all information relating to our customers business affairs remains confidential at all time. Quality and service are offered to KCE customers KCE is dedicated to carry out its responsibilities in a professional manner and is determined to achieve excellence by continuously seeking to perform better by embracing new methods and technologies. Moreover, KCE offers support to all our customers through our international offices to provide information, solve problems and receive complaints to assure customer’s satisfaction.
Creditors
KCE is committed to discipline in the operation of our business and ensure that all business decisions and actions comply with all applicable laws and regulations. The Company observes good standards of behavior and honoring all commitments made to creditors. The Company performs according to the terms of the loans and respect obligation towards creditors.
Suppliers
KCE believes in being fair to all parties having a business relationship with us and assiduously avoids favoritism or a conflict of interest situation. The Company clearly defines the procurement policy and the service acquisition process. The material purchasing procedure, the supplier and the subcontractor qualification procedure, the terms and conditions are set to ensure fairness between the Company and suppliers by way of transparent procurement system. The Company abides by the terms
and conditions stipulated in contracts and make timely payments. There have been no disputes with the KCE suppliers or competitors.
Environment
High environmental standard is maintained strictly at KCE, complying with the associated law and regulatory requirements. Energy and natural resources are utilized effectively and efficiently with major investment in the waste treatment systems. All KCE plants are located within Industrial Estate where environment protection and impact to environment are conducted strictly. Since 2002 the Company has been awarded ISO 14001 which is the Certificate for Effective Environmental Management System from SGS Thailand and the accreditation from ISO/TS 16949, the Certificate of Quality Management System of Technical Specification for Automotive Production and Relevant Service Part Organization. KCE adhere strictly to the standards and in 2007 was audited and approved by the accreditation committee on all of the four surveys performed in January, May, July and November 2007 that the Company has adhered to all the stipulations, meeting the standards of the Effective Environment Management System and Quality Management System. KCE is dedicated to creating more environmentally friendly products to produce environmentally safe PCB products and work with our customers and raw material supplier to produce environmentally friendly products such as Lead Free and Hallogen Free Products as well as the use of environmentally friendly packaging material by using bubble packaging product instead of plastic foam. Recognizing the importance of the environment, in 2007 KCE became a member of the Global Compact established by the United Nations (UN) and commits to the 10 principles in respect to human rights, labour rights, the protection of the environment and anticorruption as follows:
รายงานประจำปี 2550 41 ANNUAL REPORT 2007
บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสิง่ แวดล้อม ในปี 2550 จึงได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก Global Compact ซึง่ ก่อตัง้ โดย UNITED NATION (UN) ประเทศสหรัฐอเมริกา ในการ ดำเนินธุรกิจภายใต้หลักการ 10 ประการด้านการจ้างแรงงาน การป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม การรับผิดชอบต่อสังคม และ การต่อต้านคอรัปชั่น ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ด้านสิทธิมนุษยชน 1. บริ ษั ท ฯ สนั บ สนุ น และเคารพในกฎหมายสิ ท ธิ มนุษยชนระหว่างประเทศ 2. บริษัทฯ จะไม่กระทำความผิดด้านสิทธิมนุษยชน ด้านมาตรฐานแรงงาน 3. บริษัทฯ สนับสนุนเสรีภาพของสมาคม และให้ การรับรองผลของการเจรจาต่อรองของสมาคม 4. ไม่มีการกดขี่และบังคับใช้แรงงานทุกรูปแบบ 5. ไม่มีการใช้แรงงานเด็ก 6. ไม่มีการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและปฏิบัติงาน ด้านสิ่งแวดล้อม 7. สนับสนุนการป้องกันการทำลายสิ่งแวดล้อม 8. อาสาที่ จ ะรั บ ผิ ด ชอบในการริ เ ริ่ ม ส่ ง เสริ ม ให้ สิ่งแวดล้อมดียิ่งขึ้น 9. สนับสนุนการพัฒนาและการกระจายของเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้านการต่อต้านคอรัปชั่น 10. บริษัทฯ ต่อต้านการคอรัปชั่นทุกรูปแบบรวมทั้ง
การข่มขู่บังคับและการติดสินบน
• ประเมินระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง ทบทวนวัตถุประสงค์และเป้าหมายเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมให้เกิดการสร้างจิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อม มี การสื่อสารยังพนักงาน ผู้รับเหมา ผู้ส่งสินค้าและ สาธารณชน
สังคม/ชุมชน
บริษัทฯ ทำหน้าที่เป็นพลเมืองที่ดี วางตัวเป็นกลาง ไม่กระทำการฝักใฝ่ ในพรรคการเมืองหนึ่งพรรคการเมืองใด และไม่กระทำการใดๆ ทีจ่ ะมีผลเสียหายต่อชือ่ เสียงของประเทศ สังคม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และด้วยความรับผิดชอบ ทีม่ ตี อ่ สังคม บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของชุมชน สังคม ศาสนา วัฒนธรรม ทรัพยากร ธรรมชาติ และประโยชน์ สาธารณะ พร้อมทัง้ ส่งเสริมและปลูกจิตสำนึกความรับผิดชอบ ต่อสังคมในหมู่พนักงานทุกระดับ ในปี 2550 ทางบริษทั ฯและพนักงาน ได้ทำกิจกรรมต่อ สังคม ชุมชน และศาสนา ด้วยการทำกิจกรรมและบริจาคเงิน ให้แก่ โครงการและสถานกุศลต่างๆ ดังนี้ - บริ จ าคเงิ น เพื่ อ สร้ า งหอสมุ ด ให้ กั บ โรงเรี ย นวั ด คีรีรัตนาราม อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี - บริจาคเงินเพือ่ เป็นทุนการศึกษาแก่นกั ศึกษาบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - บริจาคเงินเพือ่ เป็นทุนการศึกษาแก่นกั เรียนโรงเรียน บ้านหนองทราย ตำบลวังควง อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร - เข้าร่วมโครงการ 80 พรรษา 80 โรงเรียน 8,000 ทุน นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม กับการนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบังแห่งประเทศไทย “บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิต และส่งออกแผ่นพิมพ์วงจรอีเลคโทรนิคส์ มีความมุ่งมั่นที่จะ เพือ่ มอบทุนการศึกษาให้กบั เด็กนักเรียนทีข่ าดแคลน จัดตั้งระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยจะทำการปรับปรุง
ทุนทรัพย์ - มอบของขวัญเนื่องในโอกาสวันเด็กให้กับเด็กตาม สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องในทุกประเด็นปัญหา และปฏิบัติ ตามนโยบาย ดังนี้ โรงเรียนและชุมชนต่างๆ • ปฏิบตั ติ ามกฎหมายสิง่ แวดล้อมและข้อกำหนดต่างๆ - ร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เพื่อเป็นการรักษาสภาวะ แวดล้ อ มร่ ว มกั บ สำนั ก งานนิ ค มอุ ต สาหกรรม ที่เกี่ยวข้อง • ลดปริมาณของเสีย ลาดกระบัง • การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ให้เกิดประโยชน์ - บริจาคโลหิตให้กบั สภากาชาดไทยร่วมกับสำนักงาน การนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง และมีประสิทธิภาพ
รายงานประจำปี 2550 42 ANNUAL REPORT 2007
Human Rights • Principle 1 : Businesses should support and respect the protection of internationally proclaimed human rights; and • Principle 2 : make sure that they are not plicit in human rights abuses. Labour Standards • Principle 3 : Businesses should uphold the freedom of association and the effective recognition of the right to collective bargaining; • Principle 4 : the elimination of all forms of forced and compulsory labour; • Principle 5 : the effective abolition of child labour; and • Principle 6 : the elimination of discrimination in respect of employment and occupation. Environment • Principle 7 : Businesses should support a precautionary approach to environmental challenges; • Principle 8 : undertake initiatives to promote greater environmental responsibility; and • Principle 9 : encourage the development and diffusion of environmental friendly technologies. Anti-Corruption • Principle 10 : Businesses should work against corruption in all its forms, including extortion and bribery.
Environment Management Policy
KCE Electronics Public Company, manufacturer and exporter of Printed Circuit Board (PCB) is committed to establish Environment Management System through complying with the KCE Environment Management Policy as follows: • The Company will continuously meet the legal requirement as well as contributes to the improvement of environmental issues. • Reduction of waste materials
• Effective and efficient utilization of natural resources. • Continuous assessment and evaluation of the environment management system, to review objectives, and targets to ensure success of the effectiveness of the system. • Promote and develop staff awareness and responsibility to the environment through communication, provision of relevant information and cooperation among staff, suppliers, customers, government agencies, the private sector and the general public.
Society and Community KCE performs its duties as a good citizen,
contributing to non-political causes which enhance. The Company avoids activities that will bring negative impact to the country, adverse impact on society and acts to preserve the environment. As a responsible member of the community, the Company values the importance of contributing to community, society, religion and culture natural resources and the environment and that of the general public. The Company promote a culture of being socially responsible for all staff levels. In 2007, KCE together with the employees have participated in the following activities to contribute to the community, religion and the public: - Fund Donation for the construction of the school library for Kiri Rattanaram School. - Scholarships donation for graduate students of Mahidol University. - Donation to scholarship fund to the school children at Baan Nong Sai School. - Scholarship donation to the Lat Krabang Industrial Estate Scholarship Project to commemorate His Majesty the King’s 80th Birthday. - Schools and community Gift projects - Tree planting project to promote environmental awareness in collaboration with the Lat Krabang Industrial Estate. - Blood donation by the employees of the Company to the Red Cross Foundation with the Industrial Estate of Thailand.
รายงานประจำปี 2550 43 ANNUAL REPORT 2007
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส
บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทั้ง ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ ไม่ ใช่ทางการเงินอย่างครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส ในรายงานข้อมูลแบบ 56-1 รายงาน ประจำปี และ Website ของบริษทั ทัง้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ที่ www.kcethai.in.th และทางบริ ษั ท ฯได้ จั ด ส่ ง รายงาน ประจำปี งบการเงิน และเอกสารอธิบายผลการดำเนินงาน ของบริษัทให้กับผู้ถือหุ้นทุกปี เพื่อเป็นข้อมูลในการประชุม สามัญประจำปี บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลที่สำคัญของบริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ หน่วยงานของรัฐ และสาธารณชน อย่างทันเวลา และโปร่งใส โดยกำหนดให้การเผยแพร่ข้อมูล ของบริษัทแก่นักลงทุนและผู้ที่สนใจผ่านทางตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รวมไปถึงสามารถดาวน์โหลดรายงานประจำปี ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ได้จากทาง Website ของบริษัทที่ www.kcethai.in.th ทั้งนี้นักลงทุนสามารถติดต่อส่วนงาน นักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทได้ที่หมายเลข 02-326-0196-9 ต่อ 112, 114 หรือ E-mail : kce_mail@kce.co.th คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มี โครงการผูบ้ ริหารพบปะ นักวิเคราะห์เพือ่ ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับบริษทั ซึง่ เป็นอีกช่องทางหนึง่ ในการสื่อสารและกระจายข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ โดยในปี 2550 ประธานกรรมการ กรรมการบริษัท รวมถึงผู้บริหาร ระดับสูงของบริษัทฯ ได้ ให้ข้อมูลกับนักลงทุนในโอกาสต่างๆ ได้แก่ การประชุมทางโทรศัพท์ การเข้าพบสัมภาษณ์ตัวต่อตัว จำนวน 10 ครั้ง และจัดโครงการพบนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ กลุ่มย่อยจำนวน 3 ครั้ง ในช่วงเดือนมีนาคม กันยายน และ พฤศจิกายน บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายในการสื่อสารกับบุคคล ภายนอก โดยได้ยึดหลักการการเปิดเผยข้อมูลและพัฒนา วัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ ของบริษทั ไว้อย่างชัดเจน ดังนี้ • บริษัทฯ พยายามอย่างยิ่งในการปฏิบัติต่อทุกคน อย่างเท่าเทียมกัน และสม่ำเสมอ ภายใต้กรอบ การปฏิบัติงานที่กำหนดไว้ โดยหลีกเลี่ยงการปฏิบัติ อันไม่ถกู ต้อง หรือสถานการณ์ทที่ ำให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์
• การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของบริษทั จะต้องมีความ ชัดเจน ถูกต้อง โปร่งใส น่าเชือ่ ถือ ตรงไปตรงมา และ สามารถแจกแจงข้อมูลต่างๆ ให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย อย่างถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย และทันเวลา • การแถลงข่าวสารใดๆ ของบริษทั ต้องมัน่ ใจว่ามิได้ ส่งผลเสียหายต่อความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้ากับ บริษัท หรือล่วงละเมิดข้อมูลที่ถือว่าเป็นความลับ ของลูกค้า ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอื่น • การปฏิบัติหน้าที่ ที่เกี่ยวกับการสื่อสารของข้อมูลที่ ถือเป็นความลับ พนักงานต้องประพฤติปฏิบตั ภิ ายใต้ ระเบียบข้อบังคับของบริษทั ว่าด้วยจรรยาบรรณของ พนักงาน • ประธานกรรมการ มีอำนาจในการแถลงข่าวสาร ของบริษทั หรือประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับข้อมูลสำคัญ ของบริษทั หรืออาจมอบหมายให้กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริษทั หรือผูบ้ ริหารแต่ละสายงาน รับหน้าที่ ในการแถลงข่าวที่เป็นประเด็นสำคัญของบริษัทฯ แก่มวลชน
คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงิน ของบริษัทและบริษัทย่อย รวมทั้งสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฏในรายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าวจัดขึ้นตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ ข้อมูลโดยสรุปของรายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี พร้อมด้วยนโยบายและแนวทางการปฏิบัติได้เปิดเผยผ่านสื่อ หลายช่องทาง เช่น ทางรายงานประจำปี และ Website ของ บริษทั ฯ www.kcethai.in.th เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีการเปิดเผย รายละเอียดข้อมูลค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร ทีจ่ า่ ย ตามความเหมาะสมในหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการ แต่ละท่าน และเปิดเผยรายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี ที่ ระบุถงึ ระเบียบ และความรับผิดชอบของกรรมการ ค่าตอบแทน กรรมการบริษทั ฯ และค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯย่อย อีกทัง้ เปิ ด เผยจำนวนครั้ ง ที่ ก รรมการแต่ ล ะท่ า นเข้ า ประชุ ม
ในแต่ละปีด้วย
หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ
คณะกรรมการบริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) มีบทบาทสำคัญในรายงานการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ
รายงานประจำปี 2550 44 ANNUAL REPORT 2007
Disclosure and Transparency
KCE discloses accurate and complete corporate information as specified in relevant regulations through the channel of the SET, annual statement (Form 59-1), annual reports, as well as via company website www.kcethai.in.th (Thai and English) to ensure factual presentation of vital information and transparent business practices. KCE distributes the annual report, financial statement and information explaining features of KCE’s performance in the previous year to shareholders annually for the Annual General Meeting of Shareholders. KCE discloses important information to the shareholders, security analysts, government, and general public in timely and transparent manners. Various information and news has been disseminated to investors and interested parties through various outlets and media of the Stock Exchange of Thailand and the company’s website in both Thai and English language www.kcethai. in.th. Annual report is loadable in both languages from our website. Further information can be obtained by contacting the company’s investor relation at 02-3260196 ext. 112, 114. Analyst briefings and press conferences are additional channels of distributing corporate information. The member of the Board of Directors appointed as the company public relation representative meet regularly with analysts and the press as requested. In 2007, the Chairman of the Board, the directors and the senior executive provided information to investors for 10 times, on various occasions from teleconference, individual meetings, company visits and held three analysts’ meetings, in March, September and November to provide other necessary information. The Company has established a policy for External Communications as recommended by the Principles for Ongoing Disclosure and Material Development Reporting by Listed Entities to be practiced by staff members as follows: • KCE strives to give all parties an equal treatment consistently within the set framework by
•
•
• •
avoiding favoritisms or situations where conflicts of interest may arise. Dissemination of KCE information will be made clear, accurate and transparent. The information is to be credible and straightforward, and distributed to stakeholders in a clear, easily understood, and timely manner. Any release of KCE information will be ensured that it does not jeopardize client relationships, or breach regulations concerning confidential information of clients, shareholders or other stakeholders. KCE employees must follow KCE’s Code of Conduct where sensitive information is involved. Spokespersons for KCE concerning sensitive information are limited to the Chairman of the Board. The Managing Director or a Director or an executive can be designated by the Chairman of the Board to act as a spokesperson to release information about selected important issues.
The Board is responsible for the company’s and its subsidiaries’ financial reports and the Board’s statement is presented alongside the auditor report in the Company’s annual report. All information presented in the financial reports is correct, in accordance with generally accepted accounting principles and standards, and has been audited by an independent external auditor and is up to date. The summary of the corporate governance policy together with the implementation of the policy is presented through various channels such as the company’s annual reports and the company’s web site www.kcethai.in.th. The directors’ and executives’ remunerations with the amount of payment that corresponds to the contributions and responsibilities of each person are also disclosed via the same channel. The amount representing the directors’ fee from the subsidiaries is to be disclosed. The Corporate Governance report also describes the roles and responsibilities of the directors as well as provides the number of meeting and attendance of each director each year.
รายงานประจำปี 2550 45 ANNUAL REPORT 2007
เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ ได้กำหนดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการเป็นบุคคลทีน่ า่ ไว้วางใจ สำหรับผูถ้ อื หุน้ และเป็นผูบ้ ริหารทีม่ คี วามอิสระในการบริหารงาน การแต่งตั้งกรรมการแต่ละท่านจะต้องผ่านการเห็นชอบของที่ ประชุมสามัญประจำปี และจะต้องมีจำนวนอย่างน้อย 5 ท่าน สำหรับคณะกรรมการของบริษัทฯ มีจำนวนทั้งหมด 8 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่านซึง่ เป็นจำนวนทีเ่ หมาะสม กับขนาดกิจการ กรรมการบริษทั ฯ แต่ละท่านมีความหลากหลาย ในด้านความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และทักษะ ความรู้ ที่เป็นประโยชน์ต่อกิจการบริษัท โดยทุกท่านได้อุทิศ เวลา และความพยายามให้กับการเป็นกรรมการบริษัทอย่าง เต็มที่ และดำเนินกิจการของบริษัทให้ทุกกิจกรรมสอดคล้อง กับกฎหมายที่เกี่ยวข้องและจริยธรรมขั้นพื้นฐาน โดยคณะ กรรมการทุกท่านเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการดำเนินธุรกิจของบริษัท เสนอความคิดเห็นด้วยความ เป็นอิสระ ด้วยทัศนะวิสยั และความเป็นผูน้ ำ และหมัน่ พัฒนา ความรู้ความสามารถของตนเองอยู่เสมอ ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความสุจริต ความพากเพียร และใส่ใจในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ อง แต่ละท่านเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ ได้กำหนดไว้ ให้เกิด ประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ ทุกท่าน ภายใต้หลักการ กำกับดูแลกิจการอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ปี 2550 คณะกรรมการบริษทั มีจำนวน 8 ท่านประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่านซึ่งเป็นจำนวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการบริษัททั้งหมด โดยกรรมการ แต่ละท่านจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปีและหลังจากที่ กรรมการแต่ละท่านลาออกหลังจากครบวาระแล้ว ทุกท่าน สามารถได้ รั บ การคั ด เลื อ กจากที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ กลั บ
เข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่อกี ครัง้ บริษทั ฯ กำหนดการเกษียณอายุ ของกรรมการเมือ่ มีอายุครบ 75 ปี ตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี ซึ่งมีขึ้นหลังจากที่กรรมการผู้นั้นมีอายุ ครบ 75 ปีบริบูรณ์ ซึ่งกระบวนการเลือกตั้งกรรมการบริษัทฯ ในแต่ละครั้ง จะปฏิบัติด้วยความโปร่งใส ไม่มีการใช้อิทธิพล ในการบังคับให้ผู้ถือหุ้นเลือก ทุกคะแนนเสียงที่เลือกมาล้วน แล้วมาจากความเชื่อถือจากผู้ถือหุ้น (รายละเอียดกรุณาดูใน รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 24/2550 ใน www.kcethai.in.th)
คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
1. นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการ 2. นายปัญจะ เสนาดิสัย กรรมการ 3. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช กรรมการและ กรรมการอิสระ 4. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต กรรมการ 5. พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการและ กรรมการอิสระ 6. นางอุบล จิระมงคล กรรมการและ กรรมการอิสระ 7. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการและ กรรมการบริหาร 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการและ กรรมการบริหาร (รายละเอียดกรุณาดูในการรายงานข้อมูลแบบ 56-1 และ รายงานประจำปี ใน www.kcethai.in.th)
ขอบเขตอำนาจและหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ มีดังต่อไปนี ้
• กำหนดวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ นโยบาย แผนการ ดำเนิ น งานและแผนงบประมาณ และควบคุ ม การปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูงให้เป็นไปตาม นโยบายอย่างมีประสิทธิภาพและก่อประสิทธิผล เพื่อความมั่นคงและผลประโยชน์ที่สมดุล ยั่งยืน ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง • จัดการบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษา ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ควบคุมดูแลการปฏิบตั งิ าน ของกรรมการ และผู้บริหารให้เป็นไปตามหลักการ จริยธรรมธุรกิจ รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัตินั้นๆ • พิจารณาและกำหนดแนวทางกลยุทธ์การบริหารงาน • พิจารณาแผนการดำเนินงาน และพัฒนาขีดความ สามารถขององค์กรให้แข่งขันได้ ในระดับสากล • ประเมินผลการดำเนินงานและการปฏิบัติงานของ ผู้บริหาร
รายงานประจำปี 2550 46 ANNUAL REPORT 2007
Roles and Responsibilities of the Board
The KCE Board of Directors plays an important role in corporate governance for the best interest of the company. The Board is accountable to shareholders and independent of management. The appointments of Board members were approved by the AGM. The Company’s Board of Directors is made up of at least 5 persons but not more than 15. The board size of 8 members, 3 of whom are independent directors is deemed as appropriate for KCE. All directors of the KCE Board have various knowledge, skills, experience, and expertise that are useful to the company. Each board member has contributed both time and dedication to KCE creating a strong board of directors to determine the business directions and policies, to supervise and monitor the company’s operations to ensure all activities are conducted in accordance with relevant laws and ethical standards. All directors understand their roles and responsibilities and the nature of the company’s business. They express their ideas independently with vision and leadership and always update themselves. KCE Directors perform their duties in good faith, with due diligence and care, in the best interest of the company and all shareholders and in accordance to the principles of good corporate governance. To perform their duties, they are provided with correct and complete information. In 2007, the Company’s Board of Directors consisted of 8 persons, three of whom are independent directors, equivalent to more than one third of the board size. The term for service for each directorship is three years, the director tenders his/her resignation at the end of the term and can be re-elected by voting in the AGM. The age of retirement is completing 75 years of age prior to the next AGM. The directors nomination process is transparent, without any influence of controlling shareholders or management, and credible to all (details in minutes of 2007 AGM at www.kcethai.in.th).
KCE Board of Directors
1. Mr. Bancha Ongkosit 2. Mr. Panja Senadisai
Chairman and Managing Director Director
3. Thongdee Shaipanich M.D. Director and Independent Director 4. Chantima Ongkosit M.D. Director 5. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. Director and Independent Director 6. Mrs. Ubol Chiramongkol Director and Independent Director 7. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director and Executive Director 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan Director and Executive Director (Details in Form 56-1, annual report and company website: www.kcethai.in.th)
KCE Board of Directors has the following authority and responsibilities:
• To determine the Company’s direction, objectives, vision and mission of the Company, policies, risks, plans of action and budget, supervising the management to act in accordance with the policy effectively and efficiently to align and sustain the interest of all stakeholders and create long-term shareholder’s value. • Managing all duties in compliance with the laws, the Company’s objectives, articles of association including the shareholders’ resolution, with honesty, being conscientious and watchful of the Company’s interest. To ensure that a written code of business conduct be in place so that all directors, executives and employees understand business ethical standards of the company. Compliance to the code is closely monitored by the board. • Reviewing and guiding corporate strategy, • Review the operating plan and ensuring maximum competitiveness at the global level. • To oversee and review performance of the management committee. • Ensuring the integrity of corporate financial reporting systems, that internal control system
รายงานประจำปี 2550 47 ANNUAL REPORT 2007
• กำกับดูแล สอบทานให้มรี ะบบรายงานทางการเงิน ที่ โปร่งใส ถูกต้องและเพียงพอ มีการจัดระบบ การตรวจสอบภายใน ในทุกๆ ด้านรวมถึงด้านการเงิน ให้ ค วามสะดวกในการปฏิ บั ติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ ตรวจสอบภายในให้ดำเนินงานได้อย่างมีระบบและ เป็นอิสระ • กำหนดหลักการ การกำกับดูแลกิจการของบริษัท และนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด • พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด และยั่ ง ยื น ต่ อ บริ ษั ท ฯและ ผู้ถือหุ้น • กำกับดูแลกระบวนการแต่งตัง้ และเลือกตัง้ กรรมการ บริษัทฯให้มีความโปร่งใส ชัดเจน • ควบคุมและจัดการ การขัดแย้งทางผลประโยชน์ ใดๆ ในบริษัทด้วยแนวทางการปฏิบัติ และการ ตรวจสอบอย่ า งชั ด เจนเพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สูงสุดต่อบริษัทฯและผู้ถือหุ้น โดยไม่อนุญาตให้ บุคคลที่มีผลประโยชน์ในเรื่องนั้นๆ มีส่วนร่วมใน การตัดสินใจในวาระนัน้ นอกจากนี้ คณะกรรมการ มีหน้าที่ในการกำกับดูแล ควบคุม กระบวนการหรือ การปฏิ บั ติ ใ ดๆ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ • ควบคุมดูแลการเปิดเผยข้อมูลและการสื่อสารใดๆ ในองค์กร • พิจารณาแต่งตัง้ สรรหา ผูบ้ ริหารมาทดแทนตำแหน่ง ใด ในกรณีที่จำเป็น นอกจากนี้ กรรมการบริษัทฯ ยังมีบทบาทในการดูแล การปฏิบัติงานของบริษัทฯให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ ปกป้องผลประโยชน์ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย โดยแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระของบริษทั เป็นบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน และมีความเป็นอิสระตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้กำหนด บริษัทฯ จึงกำหนดให้คำว่า “กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการที่ ไม่ทำหน้าทีจ่ ดั การของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม หรือกิจการใดๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจ หรือทำให้ มีข้อจำกัดในการแสดงความเห็นที่เป็นอิสระ
กรรมการอิสระของบริษัทฯ มีคุณสมบัติดังนี้ • เป็นบุคคลที่ถือหุ้นไม่เกินร้อยละห้าของจำนวนหุ้น ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดในบริษทั ฯ บริษทั ย่อยหรือกิจการใดๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการถือครองหุ้นของบุคคลใดๆ ที่มีความ สัมพันธ์กัน • ไม่มสี ว่ นร่วมในการบริหาร เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ผูท้ ี่ได้รบั เงินเดือนประจำ ของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ
กิจการใดๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ • ไม่เป็นที่ปรึกษาที่ ได้รับเงินเดือนประจำ หรือเป็น
ผู้ ให้บริการด้านวิชาชีพผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือกิจการใดๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัทฯ • ไม่เป็นผูม้ ผี ลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ไม่วา่ ทางตรง และทางอ้อม ทั้งในด้านการเงิน และการบริหารงานของ บริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการใดๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือ
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ • ไม่เป็นญาติสนิทของผู้บริหารระดับสูง หรือผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท
คณะกรรมการบริหาร
1. นายบัญชา องค์โฆษิต 2. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต 3. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์
ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการ กรรมการและ กรรมการบริหาร กรรมการและ กรรมการบริหาร
บทบาท อำนาจและหน้าที่ของกรรมการบริหาร
• กำกั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านให้ ด ำเนิ น งานตาม นโยบาย เป้าหมาย และกลยุทธทีก่ ำหนดไว้ ภายใต้ งบประมาณที่อนุมัติในแผนงานประจำปี • รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยบริ ห าร และให้คำปรึกษาในการแก้ ไขปัญหา เพือ่ ทีจ่ ะบรรลุ เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ • ตรวจสอบการดำเนินงานตามนโยบายการบริหาร และแผนงานในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย สูงสุด • ควบคุมงบประมาณค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ ตามที่ คณะกรรมการฯมอบหมายหรือตามทีร่ ะบุในแผนงาน ประจำปี
รายงานประจำปี 2550 48 ANNUAL REPORT 2007
•
• • •
• •
is in place, including financial, compliance, and policy control with an internal auditor to independently audit and report on the system. Set and approve the written corporate governance policy for the company, monitoring the effectiveness of the company governance practices. Aligning executive and board remuneration with the long term interests of the company and its shareholders. Ensuring a formal and transparent board nomination and election process. Monitoring and managing potential conflicts of interest in the company with a clear guideline on the approval of transactions with conflict of interests for the best interest of the company and all shareholders. The person who has interest in the transaction should not participate in decision making process. The board also monitor compliance to the regulations regarding criteria, procedures and disclosure of transactions with conflict of interests. Overseeing the process of disclosure and communication. Selecting, compensating, monitoring and when necessary, replacing key executives.
The Board of Directors role is to oversee the effectiveness of the company and protect the assets of all KCE stakeholders. KCE appoints independent board committees for audit and remuneration that are staffed by independent directors.
Independent Directors
An Independent Director is defined as a director fulfilling the criteria as required by the SET. An Independent Director is a Director who does not have any related business or work that may affect his or her independent decision. A Director is not considered to be independent if such Director: (a) Holds shares not in excess of 5 percent of the issued shares of the Company or any of its subsidiary, associated or related companies, including shares held by a related person;
(b) Does not take part in the management of the Company or its subsidiary, associated, or related companies or major shareholders of the Company, or receives the salary from the Company, or its subsidiary, associated or related companies, or its major shareholders; (c) Is not an advisor who receives salary from the Company or its subsidiary, associated or related companies, or major shareholders of the Company; (d) Has no any direct or indirect benefit in financial management of the Company or any of its subsidiary, associated or related companies, or its major shareholders; or (e) Is not related to, or is a close relative of a senior executive or a major shareholder of the Company.
The Management Committee
1. Mr. Bancha Ongkosit 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit 3. Mrs. Siriphan Suntanaphan
Chairman and Managing Director Director and Executive Director Director and Executive Director
Roles, Authorities and Responsibilities of the Management Committee
• To manage and direct the operation in accordance to the strategic targets, policies and budgets approved by the Board. • Reviewing the performance of the Management periodically and offer solutions to achieve the objectives of the Company. • To determine the directions and strategies in the operation of the Company to achieve the highest efficiency. • To assume the responsibility for the Company’s operation results. • To control expenses and capital expenditures limits as approved by the Board and as stated in the Annual Operation Plan. • To assume the responsibility for the approved financial short-term and long-term financial transactions, the opening and closing of the Company accounts.
รายงานประจำปี 2550 49 ANNUAL REPORT 2007
• รับผิดชอบและอนุมัติการจัดหาวงเงินกู้ระยะสั้น และระยะยาว และการเปิด-ปิดบัญชีของบริษัท • ให้ข้อมูลและคำแนะนำแก่คณะกรรมการเพื่อช่วย ประกอบการตัดสินใจใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท • แก้ ไขปัญหาหรือความขัดแย้งใดๆ ที่มีผลกระทบ กับองค์กร • ดำรงไว้ซึ่งการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพต่อผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการชุดย่อย
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งกรรมการที่มีความรู้ ความชำนาญที่เหมาะสมเป็นคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อช่วย ปฏิ บั ติ ง านศึ ก ษาและกรั่ น กรองเรื่ อ งสำคั ญ ที่ ต้ อ งการดู แ ล อย่างใกล้ชิดในแต่ละด้าน และในกรณีที่มีประเด็นพิเศษที่ ต้องการความคิดเห็นที่ ไม่เอนเอียง และเสนอความเห็นต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ โดยรายละเอียด บทบาท หน้าที่ความ รับผิดชอบ และองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ได้อธิบายไว้อย่างชัดเจน อาทิเช่น หน้าที่ ในการเข้าร่วมการ ประชุมและการรายงานการประชุมต่อคณะกรรมการบริษัทฯ นอกจากนี้ ประธานและคณะกรรมการชุดย่อยก็ยังทำหน้าที่ เป็นกรรมการอิสระของบริษัทด้วย
• สามารถที่จะหาข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ทั้ง จากทางฝ่ายบริหารและพนักงานบริษทั และติดต่อ สอบถามกับผู้ตรวจสอบภายนอกโดยตรงได้ • สร้างเครือข่ายอิสระในงานด้านการตรวจสอบภายใน และติดตามงานเพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ • ให้ ก ารสนั บ สนุ น การทำงานของคณะกรรมการ บริษัทฯ และผู้บริหารอย่างเต็มที่ แบ่งเบาภาระ หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ ลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับบริษัท สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และสร้างประโยชน์ สูงสุดให้กับบริษัท
คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ดังต่อไปนี้
1. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช ประธานกรรมการ ตรวจสอบ 2. พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการตรวจสอบ 3. นางอุบล จิระมงคล กรรมการตรวจสอบ (ดูรายละเอียดใน 56-1, รายงานประจำปี และ www.kcethai.in.th) คณะกรรมการตรวจสอบมี อ ำนาจหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบ ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีรายงานทางการเงินที่ถูกต้องและ บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่ เพียงพอ โดยจัดให้มีผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมด้วย ทุก เกี่ยวข้องในหลักเกณ์การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบที่ ไตรมาส ระบุให้ประกอบด้วยกรรมการอิสระและให้ผู้ตรวจสอบบัญชี 2. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย ภายในของบริษัทรายงานโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนด โดยในปี 2550 ทีผ่ า่ นมา ทางบริษทั มีการประชุมคณะกรรมการ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและกฎหมายอื่นใด ตรวจสอบ 4 ครั้ ง และได้ ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ให้ กั บ
ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน มีคณะกรรมการ 3. พิ จ ารณาการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ฯ ในกรณี ที่ เ กิ ด ตรวจสอบทุ ก ท่ า นเข้ า ร่ ว มการประชุ ม โดยพร้ อ มเพรี ย งกั น รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องครบถ้วน ได้จากรายงานประจำปี 4. สอบทานให้บริษัทฯมีระบบการควบคุมภายในและระบบ การตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทัง้ คณะกรรมการตรวจสอบจะต้องมีคุณสมบัติดังนี ้ มี ห น้ า ที่ ส อบทานรายงานผลการตรวจสอบ แนวทาง • เป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและผู้ถือหุ้นหลักในการ การตรวจสอบและประเมินผลการตรวจสอบการดำเนินงาน ควบคุมทั้งในการตรวจสอบหรือซักถาม ด้านต่างๆ ของบริษทั ฯ ตามวิธกี ารและมาตรฐานทีย่ อมรับ • มีความรูค้ วามสามารถด้านธุรกิจ บัญชี และการเงิน โดยทั่วไปและประสานงานกับผู้สอบบัญชีของบริษัท เพียงพอทีจ่ ะเข้าใจ แก้ปญ ั หา และให้คำแนะนำได้
รายงานประจำปี 2550 50 ANNUAL REPORT 2007
• To provide information and consultation to the Board of Directors to assist in the Board’s decision making. • To manage personnel in line with the Company’s policy. • To resolve problems or conflicts that may affect the Company. • To maintain effective communication with the stakeholder.
Subcommittees
The board of directors set committees to study and screen special tasks on behalf of the board, especially issues that need unbiased opinions. Committees have a clear scope of their work, roles and responsibilities as well as the working procedures such as meetings and reporting to the board. All committee members and the chairman of each committee are independent directors.
The Audit Committee
The Company complies with the law by establishing an audit committee staffed with all independent directors. The internal audit reports directly to the audit committee. In 2007, KCE held 4 Audit Committee meetings. Agendas were sent to the committee members for at least 7 days in advance and all members of the Committee attended the meeting. The Report from the Audit Committee can be viewed in the annual report. The audit committed meet the following criteria: • Independent from management and major shareholders to the extent that there is no influence on either the audit or its inquiries. • Have sufficient knowledge of business, accounting and finance to be able to understand and identify problems and give competent advice. • Have authority to access any information and documents, to request any executives and employees for additional information and clarification, and to contact and consult external auditors directly. • Establish independent networks, such as an internal audit unit to act as a secretary and follow up work for the audit committee.
• Have full support of the board of directors and key executives, who understand the committee’s role in relieving the board of certain duties and responsibilities, to reduce the company’s risk, build up shareholder confidence, and maximize value to the company.
The Audit Committee comprises of three Independent Directors: 1. Dr. Thongdee Shaipanich Chairman of the Audit Committee 2. Lt.Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Director of the Audit Committee 3. Mrs. Ubol Chiramongkol Director of the Audit Committee (Details in Form 56-1, annual report and company website : www.kcethai.in.th) The Audit Committee has the following responsibilities: • To review and audit the Company’s financial report, so as to ensure that it is correct and sufficient, with the Company’s auditor attending the quarterly meeting. • To review and audit the Company’s operations to ensure that they are in compliance with the Securities and Exchange Acts, Regulations of the Stock Exchange of Thailand, and any other relevant laws. • To consider KCE information disclosure on matters related to connected transactions or conflict-of-interest transactions to ensure that they are correct and sufficient. • To review the internal control and internal audit systems to ensure that they are appropriate and effective, and, by coordinating with the external auditors, ensure that the audit report, the audit method and the audit report evaluation are of the required standard. • To consider, select and propose the appointment of KCE’s external auditors and decide their remuneration.
รายงานประจำปี 2550 51 ANNUAL REPORT 2007
5. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ รวมทั้งการพิจารณาเสนอค่าตอบแทนการสอบบัญชี 6. เตรียมรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ และจัดทำเป็นรายงานเปิดเผยไว้ ในรายงานประจำปีของ บริษัทฯ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย รวมทั้ง การแต่งตั้งหัวหน้าหน่วยงานการตรวจสอบภายใน หรือ การแต่งตั้งผู้จัดการอาวุโสจากสำนักงานเลขานุการมา เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ประกอบด้ ว ย กรรมการอิสระ 3 ท่านดังต่อไปนี้ 1. พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส ประธานกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน 2. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน 3. นางอุบล จิระมงคล กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษทั ฯพิจารณาค่าตอบแทนแก่กรรมการ และฝ่ายบริหาร ตามหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนและโปร่งใส โดย ค่ า ตอบแทนจะอยู่ ใ นระดั บ มาตรฐานเมื่ อ เปรี ย บเที ย บใน อุตสาหกรรมเดียวกัน กำหนดค่าตอบแทนตามประสบการณ์ และหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารแต่ละท่าน สำหรับ ค่าตอบแทนในปี 2550 ได้ผ่านการพิจารณาจากที่ประชุม
ผู้ถือหุ้นครั้งที่ 24/2007 ในวันที่ 30 เมษายน 2550 (ดู ร ายละเอี ย ดใน 56-1, รายงานประจำปี และ www.kcethai.in.th)
บริษัทฯ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันเป็นกลุ่มคณะ ดังนั้นประธาน กรรมการจึงไม่มอี ำนาจเหนือกว่ากรรมการท่านอืน่ ๆ กฎหมาย บริษทั มหาชนได้ระบุหน้าทีค่ วามรับผิดชอบเพิม่ เติมของประธาน บริษัทไว้ดังนี้ - ทำหน้าทีเ่ ป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการ - การลงคะแนนตัดสินโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการ ประชุมเนื่องจากแต่ละฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน - เชิญประชุมคณะกรรมการ - ทำหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุมสามัญประจำปี
การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ
บริษัทฯ ได้กำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้อย่างเป็นการล่วงหน้าตลอดทั้งปี 2550 โดยได้กำหนดการ ประชุมทุกๆ เดือนในวันอังคารที่สามของเดือน และมีการ เชิญประชุมวิสามัญตามความจำเป็น โดยมีเลขานุการบริษัท ทำหน้าที่เป็นจัดเตรียมรายงานการประชุมและสำนักบริหาร ของบริษัทฯ ทำหน้าที่จัดส่งหนังสือเชิญประชุมและเอกสารที่ เกี่ยวข้องให้กับคณะกรรมการล่วงหน้า 14 วันก่อนวันประชุม ในกรณีที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม เกี่ยวกับการประชุม สามารถสอบถามได้ที่สำนักงานบริหาร ของบริษัทฯ และในการประชุมแต่ละครั้ง กรรมการสามารถ ที่จะเสนอวาระ การประชุมเพิ่มเติมได้ โดยปกติจะใช้เวลา ในการประชุมประมาณ 3 ชัว่ โมง โดยอาจจะมีบางครัง้ ทีจ่ ะเชิญ ผู้ บ ริ ห ารที่ รั บ ผิ ด ชอบงานในหั ว ข้ อ วาระการประชุ ม นั้ น ๆ เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อมูลแก่คณะกรรมการด้วย และจะมี ที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายของบริษัททำหน้าที่ ในการจดบันทึก จัดทำรายงานการประชุมรวมทัง้ ให้คำแนะนำในด้านกฎเกณฑ์ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องให้กบั คณะกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ด้วย ในปี 2550 กรรมการแต่ละท่านมีรายละเอียดการเข้า ร่วมประชุม ดังนี้ การรวมหรือแยกตำแหน่ง ด้วยประธานกรรมการบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ รายชื่อคณะกรรมการ เข้าร่วมประชุม/ครั้ง 1. นายบัญชา องค์โฆษิต 12 จำกัด (มหาชน) คือคุณบัญชา องค์โฆษิต ซึ่งนอกจากจะเป็น 2. นายปัญจะ เสนาดิสัย 12 ผู้ก่อตั้งบริษัทจดทะเบียนที่เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ 3. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต 12 รายแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ยังเป็นผู้ที่ 4. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต 12 มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านอิเล็กทรอนิกส์ 5. พลโท นายแพทย์สุปรีชา โมกขะเวส 12 ทีม่ ปี ระโยชน์อย่างยิง่ ต่อบริษทั จึงเหมาะสมทีจ่ ะดำรงตำแหน่ง 6. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช 11 ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ เพราะทัง้ สองตำแหน่ง 7. นางอุบล จิระมงคล 12 มีการแบ่งแยกอำนาจ และบทบาท หน้าที่ อย่างชัดเจน และ 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ 12 เนือ่ งจากประธานกรรมการดำรงตำแหน่งเป็นหนึง่ ในกรรมการ รายงานประจำปี 2550 52 ANNUAL REPORT 2007
• To prepare reports of the audit committee for submission to the Board of Directors and for publication in the company’s annual report. • To assume any other action as authorized by the Board of Directors.
The Remuneration Committee
The Remuneration Committee is composed of three independent directors: 1. Lt.Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Chairman of the Remuneration Committee 2. Mr. Panja Senadisai Director of the Remuneration Committee 3. Mrs. Ubol Chiramongkol Director of the Remuneration Committee The Remuneration Committee stipulates remuneration for directors and management with a fair, clear and transparent criteria. The scale and components of remuneration are comparable to the standard to the general practice in the same industry, corresponding to the work experience, responsibilities as well as the contributions each individual made to the company. The remuneration of directors in fiscal year 2007 was disclosed and approved by shareholders at the Annual General Meeting held on April 30,2007. (Details in Form 56-1, annual report and company website: www.kcethai.in.th)
Combined and Segregation of Positions
The Chairman of the Board KCE Electronics Public Company Limited, Mr. Bancha Ongkosit, holds the position of the Managing Director. This is deemed as appropriate as Mr. Bancha Ongkosit, the founder of the first and the only Thai-owned Listed Electronics Company offers his expertise, knowledge, skills and experience to the company. However, the power and authorities for each position are clearly separated and defined. The Chairman of the company is one of the directors, who acts as a unitary group (the board). Therefore, the Chairman of the board does not have
absolute nor superior powers. The Public Company Act describes the additional responsibilities and duties of the Chairman such as (1) acting as a chairman at board meetings, (2) having a casting vote, (3) calling board meetings, and (4) acting as a chairman at shareholder meetings. Although one person assumes both roles, the board can still perform these functions.
Board of Directors Meetings
Board meetings have been scheduled ahead for the year 2007 with monthly meetings held on the third Tuesday of the month and special rounds of meetings are called as necessary. The Company Secretariat prepares minutes to each Board meeting and the Executive Office sent the invitation letter and draft of the previous meeting report and information regarding the meeting agenda at least 14 days prior to the meeting date. Request for more information can be obtained from the Executive Office. Members of the Board can request for an additional agenda item for the Board Monthly Meeting. Each meeting usually require approximately 3 hours. The executives with direct responsibility pertaining issues discussed in the Meeting can be invited to clarify and provide information. The Company’s attorney attended all the meeting, recorded the minutes and managed all documents as well as giving advice to the Board of Directors and Executives regarding compliance issues. In 2007, there were a total of 12 board of directors meeting, the meeting attendance of each director is as follows : Meeting Attendance No. Mr. Bancha Ongkosit 12 Mr. Panja Senadisai 12 Dr. Chantima Ongkosit 12 Mrs. Voraluksana Ongkosit 12 Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa 12 Dr. Thongdee Shaipanich 11 Mrs. Ubol Chiramongkol 12 Mrs. Siriphan Suntanaphan 12
Internal Control and Internal Audit
The Board of Directors together with the Audit Committee monitor the controlling system in various
รายงานประจำปี 2550 53 ANNUAL REPORT 2007
การควบคุมและตรวจสอบภายใน
มิชอบหรือทุจริตใดๆ ในธุรกิจ ทางคณะกรรมการบริษัทจึงได้ คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ เป็นผูต้ รวจสอบระบบการควบคุมภายในเรือ่ งต่างๆ เช่นระบบ จำนวน 3 ท่าน เพื่อให้ควบคุมดูแลให้บริษัทฯมีระบบรายงาน การบริหารด้านการเงิน เปรียบเทียบผลการดำเนินงานของ ทางการเงินและระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ บริษัทกับกลยุทธ์และเป้าหมาย การปฏิบัติให้สอดคล้องกับ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นต่อการดำเนินงาน กฎหมายและระเบียบโดยบริษทั ฯ มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน ที่จะทำการทดสอบความถูกต้องของข้อมูลรวมถึงการดูแล ของบริษทั ฯ ในปีทผี่ า่ นมาว่ามีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะ การเก็บรักษาและการใช้งานทรัพย์สินประเมินความเพียงพอ สมและเพียงพอแล้ว ดังรายละเอียดในหัวข้อ รายงานกรรมการ และประสิ ท ธิ ภ าพของระบบควบคุ ม ภายในของระบบงาน ตรวจสอบ ในรายงานประจำปี ต่างๆ พร้อมด้วยการวางแผนการตรวจสอบและติดตามให้มี การปฏิบัติตามแผนโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้การดำเนินงาน เลขานุการบริษัทฯ คณะกรรมการเล็งเห็นถึงความสำคัญของบทบาทหน้าที่ ของบริษทั มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จัดให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายในเพื่อควบคุมความเสี่ยง ของเลขานุการจึงได้แต่งตั้งคุณวรลักษณ์ องค์โฆษิต ซึ่งดำรง ตำแหน่งกรรมการบริหารและผู้อำนวยการสำนักบริหาร เป็น ทั้งในระดับองค์กรและระดับหน่วยงาน เลขานุการของคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยมีบทบาทหน้าที่ ดังนี ้ • ติดตามและประสานงานดูแลกิจกรรมต่างๆ ของ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ
คณะกรรมกรรมการบริษัทฯ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไป งบการเงิน สารสนเทศทางการเงินของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ตามกฎหมาย และมติคณะกรรมการ และการรายงานทางการเงินในรายงานประจำปี งบการเงินของ • ดูแลการจัดทำและเก็บรักษาเอกสารประกอบการ บริ ษั ท จะได้ รั บ การตรวจสอบจากผู้ ส อบบั ญ ชี ว่ า ถู ก ต้ อ ง ประชุมคณะกรรมการบริษทั และการประชุมผูถ้ อื หุน้ ตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานบัญชีที่เป็นที่ยอมรับ รวมทั้งประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ในประเทศไทย มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ ส ำคั ญ และเพี ย งพอ ในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินในรายงานประจำปี ในปี 2550 สำนักบริหารของบริษัทได้ส่งเจ้าหน้าที่ ของบริษัทฯ ด้วย สำนักบริหารจำนวน 2 ท่าน เข้าร่วมการสัมมนาในหัวข้อ คณะกรรมการบริษทั ฯ ยังมีความรับผิดชอบในการจัด “การกำกับดูแลกิจการที่ดีตามหลัก CG ใหม่” ในวันที่ 6 ไว้ซึ่งระบบภายในที่มีประสิทธิภาพเพื่อสร้างความมั่นใจอย่าง พฤศจิกายน 2550 และเข้าร่วมการสัมมนาในหัวข้อเรื่อง มี เ หตุ ผ ลในส่ ว นที่ เ กี่ ย วกั บ งบการเงิ น ว่ า มี ก ารบั น ทึ ก ข้ อ มู ล “เลขานุการบริษัท (COMPANY SECRETARY)” ในวันที่ 4 อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ มีการดูแลการเก็บรักษาและการ กันยายน 2550 จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ใช้งานของทรัพย์สินและเพื่อเป็นการป้องกันการปฏิบัติโดย
รายงานประจำปี 2550 54 ANNUAL REPORT 2007
area such as the financial system, the Company’s performance in accordance to the Company’s strategy and objectives, compliance with the statute law and the Company’s rules and regulations. An internal audit operation is established as a separate unit in the company to review the accuracy and completeness of data, including review of controls for the storage and use of assets, to assess the adequacy and efficiency of internal control systems for various work systems, and to make plans to monitor and audit compliance, with the objective of making the Company’s operation efficient and effective. The Company also establishes appropriate internal control systems for risk management both corporate and departmental levels. The Board of Directors is responsible for the financial statement of the Company and its subsidiaries, and the financial data which appears in the Annual Report. These financial statements are prepared in conformance with generally accepted accounting principles recognized in Thailand. Suitable accounting policies have been chosen and applied consistently with direction, using the best estimates. There has also been adequate disclosure of important information in the notes to the financial statement. The Board of Directors has maintained effective internal control systems for reasonable confidence that accounting data has been recorded accurately and completely to maintain the Company’s assets, and to be apprised of loopholes to prevent significant corruption or abnormal business practices. The Board of Directors has appointed the Audit Committee, comprising of nonexecutive directors, to supervise and take responsibility for the quality of financial reports and internal control
systems. The Audit Committee is responsible for determining the adequacy of the internal control system of the company include ensuring the compliance with all laws, rules, regulations and related policies through the reviewing audit performance undertaken by the Internal Audit and the independent auditor consecutively. Should the Audit Committee has any recommendations or finds any significant flaws, the committee shall report to the Board of Directors for consideration to take further corrective actions. The Audit Committee performs under the charter which in line with SET’s guidelines on good corporate governance. The Company’s Audit Committee has the opinion that the Company’s operations over the last year had adequate and suitable internal control systems, as stated in the Report of the Audit Committee included in the Company’s Annual Report.
Company Secretary
To achieve smooth business operations, the board appoints Mrs. Voraluksana Ongkosit, an executive director as a secretary to the board of directors and the head of office of the company secretary. The company secretary office’s duties include: to follow up and monitor the performance of the board in line with statutory requi-rements, articles of association and shareholders’ reso-lutions; to manage, prepare and maintain any documents used for board and shareholder meetings; and to liaise with the relevant authorities. In 2007, two staff members from the office of the company secretary attended the “New Corporate Governance Policy” on November 6, 2007 and “Company Secretary” on September 4th, 2007, provided by The Stock Exchange of Thailand.
รายงานประจำปี 2550 55 ANNUAL REPORT 2007
ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรม
ผู้ผลิต PCB ในภูมิภาคยุโรปและอเมริกา อุ ต สาหกรรม PCB ในภู มิ ภ าคยุ โ รปและอเมริ ก ามี
แนวโน้มทีจ่ ะหดตัวลงเนือ่ งจากต้นทุนทีส่ งู กว่า ผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ มี ก ารเติ บ โตตามภาวะ ในภูมิภาคจึงเน้นการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ ใช้เทคโนโลยีสูงและ เศรษฐกิ จ โลก และภาวะอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ที่ มี ชิ้ น ส่ ว น มี ค วามเฉพาะเจาะจงมากกว่ า การผลิ ต สิ น ค้ า ราคาถู ก อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ อาทิ การเติบโตของธุรกิจ ในปริมาณมาก โดยมีลกู ค้ากลุม่ เป้าหมายเป็นอุตสาหกรรมทีม่ ี คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เกี่ยวเนื่อง ธุรกิจโทรคมนาคม ผู้ผลิตน้อยราย อาทิเช่น PCB สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ธุรกิจยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ทางด้านอุตสาหกรรมต่างๆ รวมถึง และมีการย้ายฐานการผลิ ต ไปยั ง ประเทศที่ มี ต้ น ทุ น ต่ ำ กว่ า อุตสาหกรรมในผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชั้นสูง เช่น ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม PCB ในยุโรปและอเมริกาเป็นตลาดของผูผ้ ลิต ยุทโธปกรณ์ทางการทหาร ผลิตภัณฑ์อากาศยาน เป็นต้น ซึง่ ใน รายใหญ่ ไม่กรี่ าย อาทิเช่น Multek Visaystem SCI 3M ปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากขึ้ น รวมไปถึ ง สิ น ค้ า อุ ป โภคต่ า งๆ เป็ น ตั ว ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ผลิต PCB ในประเทศจีน ตั้งแต่ปี 2547-2550 อุตสาหกรรม PCB ในจีน มีการ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เติบโตและมีสว่ นแบ่งทางการตลาดมากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง เพราะ อุตสาหกรรมแผ่นพิมพ์วงจร (Print Circuit Board: PCB) การส่งเสริมจากรัฐบาล และต้นทุนในการผลิตที่ต่ำ ทำให้
แผ่นพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ PCB เป็นส่วนประกอบ ผูป้ ระกอบการจากต่างประเทศย้ายฐานการผลิตมายังประเทศจีน สำคัญของแผงวงจรที่ ใช้ ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด มากขึ้ น ทั้ ง นี้ ผู้ ผ ลิ ต PCB ในจี น จำนวนมากเป็ น บริ ษั ท
โดยสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ตามลักษณะของแผ่น ต่างชาติที่เข้ามาลงทุนในจีน เช่น อเมริกา ไต้หวัน ญี่ปุ่น PCB คือ Flexible PCB เป็นแผ่น PCB ชนิดอ่อน และ Rigid การผลิต PCB ในประเทศจีนเป็นการผลิตในปริมาณมาก PCB เป็นแผ่น PCB ชนิดแข็งและสามารถแบ่งเป็นประเภท (Mass Production) ซึ่งเน้นการผลิตในปริมาณมากและ ย่อยๆ ได้ดังนี้ มีต้นทุนต่ำ ทำให้ PCB มีราคาลดลงและเกิดการแข่งขันทาง • Single Side PCB ซึ่งเป็นแผ่นพิมพ์วงจรที่มี ราคาที่รุนแรงมากขึ้น วงจรไฟฟ้าเพียงด้านเดียว มีขั้นตอนการผลิตที่ ไม่ ซับซ้อนและเน้นการใช้แรงงานคนมากกว่าเครือ่ งจักร ผู้ผลิต PCB ในประเทศไทย นำมาใช้เป็นส่วนประกอบของเครือ่ งใช้ ไฟฟ้า และ ผูผ้ ลิต PCB ในประเทศไทยโดยมากเน้นการผลิต PCB อิเล็กทรอนิกส์ทั่วๆ ไป สำหรับเครื่องมือสื่อสารโทรคมนาคม ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ • Double sided PCB เป็นแผ่นพิมพ์วงจรที่มีวงจร และเครือ่ งใช้ ไฟฟ้า ซึง่ มีการแข่งขันทางด้านราคาสูง ดังจะเห็น ไฟฟ้าสองด้าน นำมาใช้กับเครื่องใช้ ไฟฟ้า และ ได้จากราคาเครื่องใช้ ไฟฟ้าที่มีแนวโน้มลดต่ำลงทุกปี ผู้ผลิต อิเล็กทรอนิกส์ บางประเภท เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ใช้ ไฟฟ้าจึงพยายามลดต้นทุน โดยนำเข้า PCB จาก ต่างประเทศมากขึ้น ซึ่งมีต้นทุนต่ำกว่า นอกจากนี้ยังมีปัจจัย โทรทัศน์ เป็นต้น • Multilayer PCB เป็นแผ่นพิมพ์วงจรทีม่ วี งจรไฟฟ้า ทางด้านราคาวัตถุดิบ เช่น ทองแดง ทองคำ และลามิเนต ซ้ อ นกั น หลายชั้ น มี ขั้ น ตอนการผลิ ต ที่ ซั บ ซ้ อ น ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักของ PCB ในปีที่ผ่านมามีความผันผวนสูง ใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยี ในการผลิตที่สูง ใช้ ใน ทำให้ ผู้ ผ ลิ ต ที่ ต้ อ งนำเข้ า วั ต ถุ ดิ บ จากต่ า งประเทศมี ต้ น ทุ น
อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทมี่ คี วามละเอียดซับซ้อนและ การผลิตสูงขึ้น ต้องการความเทีย่ งตรงสูง เช่นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ที่ ใช้ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิต PCB ที่จะได้รับผลกระทบจาก อุ ต สาหกรรม PCB ในจีนคือกลุ่มผู้ผลิต PCB ที่ ใช้เทคโนโลยี การผลิ ต ไม่ สู ง มากซึ่ ง ต้ อ งนำเข้ า วั ต ถุ ดิ บ จากต่ า งประเทศ ขณะที่ผู้ผลิต PCB ที่ ใช้เทคโนโลยีสูง เช่น Multilayer PCB รายงานประจำปี 2550 56 ANNUAL REPORT 2007
Industrial Status and Competition
Electronics Industry The growth of the electronic industry correlates with the global economic growth and that of the industries that utilize electronic components. This market sector encompasses several industries such as computers and peripherals, telecommunications, automotives, and many other high-technology industries. The electronic industry has enjoyed successive years of growth. The overall worldwide electronic industry is poised to increase by 13 per cent in 2008, regardless of the anticipated consumer slowdown created by the economic situation in the USA. Printed Circuit Board Industry (PCB) Printed Circuit Board or PCB, is an important component of circuits in all electronic equipments can be grouped into 2 major categories: the flexible PCB and the rigid PCB. The rigid PCB consists of: • Single side PCB • Double sided PCB • Multilayer PCB PCB Manufactures in Europe and the USA The PCB manufacturing industry in Europe and the USA has been in rapid decline due to the higher production costs. This group of manufacturers underwent strategic changes and currently focuses instead on the production of higher technology and more specialized products rather than on the low-priced mass manufacturing. PCB Manufacturers in China Since 2004-2007, the PCB industry in China has grown dramatically with increasing global market share due to the strong support from the Chinese Government, and the low labor cost. Most of the PCB
manufactures in China are foreign-owned businesses, as manufactures from various countries such as USA, Taiwan and Japan, moved their production bases to China to benefit from Government privileges and incentives. PCB productions in China is mainly mass production, focusing on large volume and low cost production. This has resulting in the decrease in the PCB prices and fierce price war worldwide. PCB Manufacturers in Thailand. The majority of the PCB manufacturers in Thailand, producing mass production PCB for telecommunication, computer and electric industries faces a severe price competition that is evidenced in the continuous price reduction of the electric products. Meanwhile, the electric products industries also increased import of lower-priced PCB to reduced production cost. The fluctuations in the price of other essential raw materials such as copper, gold and oil have also caused the manufacturing costs to rise. This group of manufacturers is more adversely affected by the price pressure than the manufacturers with higher technology where the quality and reliability are more crucial than pricing alone. Automobile Industry Automobile industry market accounts for more than two trillions USD with a distribution of five hundred billions USD to the PCB manufactures in 26 countries worldwide. The increasing complexities of the automobile electronic industry necessitate new and higher innovations and technologies from the electronic industry.
Factors affecting the Electronic Industry The Fluctuation of the price of gold, copper and oil
For the past three consecutive years, the price
รายงานประจำปี 2550 57 ANNUAL REPORT 2007
ทีส่ ามารถควบคุมต้นทุนการผลิตได้ดจี ะไม่ได้รบั ผลกระทบดังกล่าว เนือ่ งจากเป็นการแข่งขันทีเ่ น้นด้านคุณภาพและความน่าเชือ่ ถือ มากกว่าการแข่งขันทางด้านราคา อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์โลกเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่มีเงินทุนหมุนเวียนกว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐและสร้าง รายได้กว่า 5 แสนล้านเหรียญสหรัฐแก่ประเทศผูผ้ ลิต 26 ประเทศ นอกจากนีย้ งั เป็นอุตสาหกรรมทีม่ กี ารลงทุนทางด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยี ใหม่ๆ มากที่สุดอุตสาหกรรมหนึ่งของโลก
ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมแผ่นพิมพ์วงจร อิเล็กทรอนิกส์ ความผันผวนของราคาทองคำและทองแดง
เนื่ อ งจากอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ นั้ น มี ค วามสำคั ญ ต่ อ เศรษฐกิ จ ของประเทศ โดยเฉพาะการเป็ น แหล่ ง จ้ า งงาน ที่สำคัญ ซึ่งภาครัฐต้องเร่งหามาตรการป้องกันผลกระทบที่มี ต่อการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ในระยะยาว เพราะปัจจุบัน แม้ว่าอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย จะมีการพัฒนามานานแล้ว แต่ยังไม่เติบโตเท่าที่ควร ดังนั้นการสนับสนุนด้านการวิจัย และพัฒนาจากภาครัฐ การปรับปรุงโครงสร้างภาษีศุลกากร และโครงสร้ า งพื้ น ฐานสาธารณู ป โภค ที่ ยั ง เป็ น ปั ญ หาต่ อ
การพัฒนาขีดความสามารถของผูผ้ ลิตไทย การพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ความสามารถในระดับที่สูงขึ้น เป็นปัจจัยสำคัญที่ จะทำให้อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ไทยเติบโตในอนาคต
ภาวะการแข่งขัน
ภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรม PCB จะมีความ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาราคาทองคำและทองแดงซึ่งเป็น แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มการตลาด (Segment) 1. กลุ่ ม การตลาด PCB ที่ มี ป ริ ม าณการผลิ ต สู ง วัตถุดิบสำคัญในการผลิต PCB มีความผันผวนอย่างมากโดย มีการปรับตัวสูงขึน้ มาโดยตลอด อันเป็นผลมาจากภาวะอุปสงค์ ได้แก่ PCB ที่ ใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่องมือสื่อสาร โทรคมนาคม อุตสาหกรรมชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ อุปทานของตลาดโลก โดยเฉพาะผลกระทบจากประเทศจีน และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้า กลุ่มการตลาด และอินเดีย ที่เพิ่มการสำรองสินค้าดังกล่าวเพื่อให้เพียงพอ ในส่วนดังกล่าว มีการแข่งขันสูง โดยเฉพาะการแข่งขัน ต่อความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้เกิด
ด้านราคา ผู้ผลิตได้ย้ายฐานการผลิตไปยังภูมิภาค การเก็งกำไรในสินค้าดังกล่าว และจากภาวะราคาน้ำมันดิบที่ ทีม่ ตี น้ ทุนการผลิตต่ำกว่า เช่น ประเทศจีน เป็นต้น สูงขึน้ ซึง่ ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามสัมพันธ์กบั ราคาน้ำมันดิบ มีระดับสูงขึ้นตาม การปรับตัวขึ้นอย่างมากของราคาทองแดง 2. กลุม่ การตลาด PCB ทีม่ ผี ผู้ ลิตน้อยราย (Defensive) และทองคำ และราคาน้ำมันส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนการผลิต ได้แก่ PCB ที่ ใช้ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่ม โดยเฉพาะราคา แผ่นลามิเนตซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต การตลาดในส่วนนี้มีคู่แข่งน้อยราย และจะเน้น PCB ที่มีราคาสูงขึ้นด้วยเช่นกัน การแข่ ง ขั น ในเรื่ อ งของคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ แหล่งผลิตที่สำคัญจะอยู่ ในภูมิภาคเอเซีย 3. กลุ่มการตลาด PCB ที่มีการควบคุมเทคโนโลยี การแข็งค่าขึ้นของเงินบาท การผลิ ต (Protected) ได้ แ ก่ PCB ที่ ใ ช้ ใ น นับตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา ค่าเงินบาทได้แข็งค่าขึ้น อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการทหาร อย่างต่อเนื่อง โดยในอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ที่ 33.747 บาทต่อ เครื่องมือทางการแพทย์ หรืออุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ ดอลลาร์สหรัฐ การแข็งค่าขึ้นอย่างรวดเร็วและความผันผวน เกี่ยวข้องกับความมั่นคงในประเทศ ฐานการผลิต ของค่าเงินส่งผลกระทบอย่างมากต่อการส่งออกทัง้ ในด้านต้นทุน โดยมากจะอยู่ในภูมภิ าคยุโรปและอเมริกา เนือ่ งจาก ทางการผลิต และการเงิน ราคาสินค้าที่ผลิต ส่งผลต่อความ สามารถในการแข่งขันกับผู้ผลิตในต่างประเทศ เป็นกลุ่มการตลาดที่ถูกควบคุมจึงไม่มีการแข่งขัน 4. กลุ่มการตลาด PCB ที่ ใช้เป็นต้นแบบในการผลิต (Prototype) เป็นกลุม่ ตลาดทีม่ คี วามเฉพาะเจาะจง อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ยังต้องเผชิญกับปัจจัยความเสีย่ งอืน่ ๆ ทัง้ ในด้านการเปลีย่ นแปลง สูง มีวงจรอายุผลิตภัณฑ์สั้น ผู้ผลิต PCB ในส่วน ของเทคโนโลยีการผลิต การปรับตัวของผูป้ ระกอบการในประเทศ การตลาดนี้ โดยมากจึงเป็นผู้ผลิตภายในประเทศ เท่านั้น ส่วนมากอยู่ ในภูมิภาคยุโรปและอเมริกา และภาวะการณ์แข่งขันจากต่างประเทศ ซึ่งผู้ประกอบการ จำเป็นต้องเร่งปรับตัวอย่างมาก เพื่อรองรับกับปัจจัยดังกล่าว รายงานประจำปี 2550 58 ANNUAL REPORT 2007
of gold and copper, the important raw materials for the production of PCB, have fluctuated and escalated continuously, from the increased demand predominantly from China and India, that need to accumulate the raw material supplies in anticipation of the rapidly ascending demand. This consequently led to increased speculation and further strengthening of the price. Meanwhile, the global crude oil price escalation has subsequent impacts on all industries that utilize petroleum-related products such as laminate for PCB production. The increase of the raw materials price, gold, copper and oil directly increased the manufacturing costs of PCB.
The Strengthening of the Thai Currency
Since the beginning of 2007, the Thai Baht has strengthened incessantly against the USD with the currency exchange rate of 33.747 at year end. The volatility and the strengthening of the Thai currency has negative impact on manufacturing costs, fiscal and cost of goods sold, reducing the competitiveness of all Thai exporters. In contrast, the Chinese PCB manufacturing industry has proposed from currency stability which has rewarded exporters and benefited the Chinese economy. To summarize, the electronic industry in Thailand faces a multitude of risks, ranging from changes in technologies, domestic predicaments as well as international competition which entail constant vigilance and modifications. It is of utmost importance that the Thai Government recognizes these factors and attains measures to support this sector which has continued to contribute to the country’s economy through the export revenue and substantial employment of the Thai citizens. The electronic industry in Thailand is still at its onset and is still vulnerable and need assistance at the national level through area such as, research and development, human resources development, tax exemption and the infrastructure which still pose a hindrance to the progress of the Thai electronic industry.
Competition
PCB industry competitions vary according to the sectors: • The mass production PCB industry, used in the telecommunication, computer and peripherals, electrical products industry faces price competition from the manufactures locating to lower cost countries such as China. • The Defensive PCB manufacturers such as automotive electronic industry, located mainly in Asia, have less price competitors but compete for quality products. • The Protected PCB manufacturers, mainly located in Europe and the USA, control the protected electronic market such as military or warfare equipments, medical devices as well as national security related industries do not compete with the rest of the PCB industry. • The Prototype PCB manufacturers, meet the highly specialized and specific market with very short manufacturing life and are usually positioned locally in Europe and the USA. The largest market sector for KCE is the automotive industry where there is less of the price competition but more for quality and reliability and higher requirements for the market entry thus lessening the new competitors.
Opportunity and Obstacles
Thailand offers high potential for electronic manufacturing industry investments because of the relatively low labor cost, when compared to Europe, and the USA. However, without adequate governmental support, Thailand still lacks qualified manpower in the technology field and investors in the electronic industry including KCE are compelled to rely on the skills of foreign technicians.
รายงานประจำปี 2550 59 ANNUAL REPORT 2007
กลุ่มลูกค้าหลักของกลุ่มบริษัทอยู่ ในกลุ่มอุตสาหกรรม 1. การผลิตสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ (HIGH QUALITY PRODUCT) ซึง่ ได้รบั การรับรองมาตรฐานระบบ ISO/TS16949 ตัง้ แต่ ยานยนต์ ซึ่งเป็นกลุ่มการตลาด PCB ที่มีผู้ผลิตน้อยราย ปี 2546 จนถึงปี 2552 ซึ่งเป็นระบบบริหารคุณภาพที่ มีการแข่งขันต่ำ และมีอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดสูง โอกาสที่ ได้รับการยอมรับในอุตสาหกรรมยานยนต์ทั่วโลก ทั้งทวีป ผู้ผลิตรายใหม่จะเข้ามาในตลาดหรือโอกาสที่ผู้ผลิตเดิมจะ อเมริกา ยุโรปและเอเชีย และผ่านการตรวจสอบคุณภาพ ออกจากตลาดจึงมี ได้น้อย ทั้งนี้เพราะผลิตภัณฑ์ในแต่ละรุ่น จะมีผผู้ ลิตเพียงรายเดียวหรือน้อยราย และการย้ายฐานการผลิต โดยมาตรฐานโลก หรือการเปลีย่ นสายการผลิตมีใช้คา่ ใช้จา่ ยสูง ทำให้การแข่งขัน 2. การส่งมอบสินค้าให้ตรงตามกำหนดเวลาที่ลูกค้าต้องการ ภายในกลุม่ การตลาดนีเ้ น้นหนักไปในเชิงคุณภาพและเชือ่ ถือได้ 3. การบริการด้านการขายและการบริการหลังการขาย โดย ของผลิตภัณฑ์ โดยคูแ่ ข่งสำคัญของบริษทั ในกลุม่ ตลาดดังกล่าว กลุ่ ม บริ ษั ท มี บ ริ ษั ท ตั ว แทนจำหน่ า ยซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ที่ ป ระเทศ ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิต PCB ในประเทศไต้หวัน และประเทศจีน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ เยอรมัน เม็กซิโก บราซิล และแคนาดา เป็นผู้ ให้บริการด้านการขายและการบริการ หลังการขายเพือ่ ให้ลกู ค้าได้ทนั ตามความต้องการ (อาทิ เช่น โอกาสและอุปสรรค การประสานงานกับลูกค้าในการรับคำสั่งซื้อรายเดือน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ภายในประเทศมีศักยภาพ ติดตามดูการจัดส่งสินค้าได้ตามกำหนด รับแจ้งปัญหา ในการลงทุนค่อนข้างสูง เพราะต้นทุนแรงงานต่ำเมือ่ เทียบกับ ลูกค้า เช่น ปัญหาการส่งมอบสินค้าล่าช้า หรือสินค้าไม่ ได้ ประเทศต่างๆ ในยุโรปและอเมริกา แต่เนือ่ งจากการสนับสนุน มาตรฐาน รับคืนสินค้าทีม่ ปี ญ ั หา วิเคราะห์ปญ ั หาเบือ้ งต้น ทางภาครัฐยังไม่เพียงพอ จึงทำให้ขาดแคลนทรัพยากรบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยี และประสานงานกับฝ่ายตรวจสอบคุณภาพของบริษัท การผลิตทีท่ นั สมัย จึงต้องมีการจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศ เพื่อทำการแก้ ไข และการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค) เข้ามาทำงาน ปัจจัยภายนอกทีอ่ าจจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (KEY SUCCESS FACTORS) และบริษัทในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้
ทั้งบริษัท และบริษัทย่อย ต่างมุ่งเน้นในเรื่องสำคัญ การถดถอยทางด้านเศรษฐกิจในตลาดโลกเป็นปัจจัย 3 ประเด็น คือ โดยตรงที่จะมีผลกระทบต่อกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อความต้องการในการซื้อลดลง ก็จะมีผลกระทบโดยตรง ต่อผู้ผลิต
รายงานประจำปี 2550 60 ANNUAL REPORT 2007
External Factors that may effect the KCE and its subsidiaries pay close attention to electronic industry and KCE currently and in the near future the following three factors: Key Success Factors
1. High Quality Products. KCE was awarded the ISO/TS 16949 Certification, an internationally recognized quality standard since the year 2003 to the year 2009. 2. Prompt Delivery KCE is committed to deliver full lots on time to meet our customer’s required lead time. 3. Sales and Service Sales and Service Offices, located in strategic locations: the UK, the USA, Singapore, Germany, Mexico, Brazil and Canada offer full and comprehensive service for our world wide customers.
The global economic downturn may effect the electronic industry manufacturers and PCB manufacturers through the consumption slowdown.
รายงานประจำปี 2550 61 ANNUAL REPORT 2007
คำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ธนาคาร กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 50 ล้านบาท ที่ ส่วนใหญ่เกิดจากการทำสัญญาป้องกันความเสี่ยงเป็นการ ล่วงหน้า ส่วนรายได้อื่นๆ จำนวน 132 ล้านบาท เกิดจาก การขายเศษวัตถุดิบ และวัสดุต่างๆ จากการที่ เ งิ น บาทแข็ ง ค่ า ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ค่ า เงิ น ดอลลาร์สหรัฐ ถึงร้อยละ 6 ทำให้รายได้จากการขายที่เป็น เงินบาทลดลงประมาณ 535 ล้านบาท ส่งผลให้กำไรขั้นต้น ลดลงตามไปด้วย อย่างไรก็ดี การลดลงของกำไรขั้นต้นได้ถูก ชดเชยด้วยการเติบโตของยอดขายโดยเฉพาะจากบริษัทเคซีอี เทคโนโลยี ที่สามารถดำเนินการผลิตได้เต็มประสิทธิภาพ จน ทำให้เกิดการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) และ ได้ต้นทุนการผลิตที่ต่ำลง ประกอบกับมีการขายผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ภาพรวมผลการดำเนิ น งานประจำปี 2550 จากงบ Hi-Tech มากขึ้นซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีกำไรดี ทั้งหมดทำให้ การเงินรวม บริษทั และบริษทั ย่อยมียอดขายเพิม่ ขึน้ จากจำนวน อัตรากำไรขัน้ ต้นเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 15.0 เป็นร้อยละ 17.6 ในปี 7,539 ล้านบาทในปี 2549 เป็น 8,365 ล้านบาท หรือคิดเป็น 2550 การเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 11 ส่วนรายได้ ในรูปสกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐ เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 21 จากรายได้จำนวน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารในปี 2550 มีสัดส่วน 199 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2549 เป็น 242 ล้านเหรียญสหรัฐ อยู่ที่ร้อยละ 13.3 ของยอดขายซึ่งลดลงเล็กน้อยจากปีก่อน ในปี 2550 ผลการดำเนินงานของกลุ่มเคซีอีพื้นตัวกลับมา โดยมีค่าใช้จ่ายประมาณร้อยละ 60 ผันแปรไปตามยอดขาย แข็งแกร่งนับแต่ ไตรมาสแรก และเรื่อยมาจนไตรมาสสุดท้าย เช่น ค่าระวางสินค้าส่งออก ค่าสำรองสินค้าไม่ ได้คุณภาพ ของปี บริษัทและบริษัทย่อยรายงานกำไรสุทธิ 257 ล้านบาท ค่าวัสดุหีบห่อ ในขณะที่ค่าใช้จ่ายด้านบริหารส่วนใหญ่เป็น
ในปี 2550 เทียบกับปีก่อนที่มีผลขาดทุนถึง 116 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายคงที่ เว้นแต่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเป็นค่าวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษทั ย่อย (ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์) การเพิ่มขึ้นของยอดขายดังกล่าว มาจากทั้งราคาขาย เป็นจำนวนประมาณ 15 ล้านบาท และปริมาณขายที่เพิ่มสูงขึ้น โดยราคาขายได้ถูกปรับตั้งแต่ กลางปี 2549 แล้ว และมีผลต่อเนื่องมาในปี 2550 ส่วน ในปี 2550 บริษัทมีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน จำนวนตารางฟุตขายที่เติบโตขึ้น ได้มาจากการขยายกำลัง 50 ล้ า นบาท ความเสี่ ย งจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นของบริ ษั ท
การผลิตอีก 1.5 แสนตร.ฟุต ต่อเดือน ที่ โรงงานเคซีอี อีเลค- มาจากการขายผลิตภัณฑ์ การซื้อวัตถุดิบ การซื้อเครื่องจักร โทรนิคส์ ตั้งแต่กลางไตรมาสสองของปี 2550 อีกทั้งยังมีการ การกู้ยืมในสกุลเงินตราต่างประเทศ การขายยังคงเป็นใน ผลิต Double-sided PCB ลดลงจากร้อยละ 40 เหลือร้อยละ สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐและยูโร ในสัดส่วนร้อยละ 74 และ 25 นัน่ หมายถึงมีการผลิต Multilayer PCB ทีเ่ ป็น High-Tech 23 ของยอดขายตามลำดับ ส่วนการซื้อวัตถุดิบนั้นจะเป็น มากขึ้น ดังนั้นแม้ว่าจำนวนตารางฟุตอาจเพิ่มขึ้นไม่มากนัก สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐประมาณร้อยละ 60 ในขณะที่มีเงินกู้ เป็นยูโรบางส่วน บริษัทมีนโยบายการบริหารสินทรัพย์และ แต่ราคาขายต่อตารางฟุตที่ ได้รับจะสูงขึ้นกว่าเดิม หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศโดยจัดให้มีสินทรัพย์และ บริษัทยังมีรายได้อื่นในปี 2550 จำนวน 214 ล้านบาท หนี้สินในสัดส่วนและเงื่อนไขที่สมดุลกัน (Natural Hedging) ซึง่ ประกอบด้วยรายได้ดอกเบีย้ รับจำนวน 32 ล้านบาท ทีเ่ กิดจาก และเน้นการสร้างกระแสเงินสดรับและจ่ายให้สอดคล้องกัน ลูกหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและจากเงินสดคงเหลือที่ฝากไว้ ใน นอกจากนีบ้ ริษทั ยังได้ปรับนโยบายให้เป็นการบริหารความเสีย่ ง ในปี 2550 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลก มีอัตรา การเติบโตที่ช้าลง ซึ่งการเติบโตของอุตสาหกรรมแผ่นพิมพ์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (PCB) ก็จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ถึง แม้ว่าตลาด PCB โลกจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องในตลอด 4 ปี ที่ผ่านมา แต่ ในปีนี้ตลาด PCB ได้เติบโตในอัตราที่ต่ำกว่าการ ขยายตัวของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ในปี 2550 ตลาด PCB โลก มีมลู ค่ากว่า 5 หมืน่ ล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ เพิม่ สูงขึน้ กว่าร้อยละ 6 จากปีก่อน ในภาพที่ตลาดทางอเมริกาเล็กลง แต่ธุรกิจทางเอเชียเพิ่มมากขึ้น คาดว่าอุตสาหกรรม PCB จะ ยังคงเติบโตในอัตราร้อยละ 5 ถึง 6 ตามการขยายตัวของ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในระยะ 2-3 ปีข้างหน้า
รายงานประจำปี 2550 62 ANNUAL REPORT 2007
Management Explanation and Analysis Electronic equipment growth is slowing overall worldwide, which presages slower growth in PCBs. Although the world PCB market continued to grow for the fourth year in a row, the pace was slower than the growth of Electronic industries. The global PCB market in value terms was US$ 50.7 billion in 2007 and the growth of PCB production was 6.25%, with a declining picture in the Americas offset by better business in Asia. The outlook is 5-6% growth over the next few years, which reflects the overall electronic industry trends.
Analysis of 2007 Performance
The overall KCE group performance for 2007 continued its strong growth, resulting in an increase in sales revenue by 11% from Baht 7,539 million in 2006 to Baht 8,365 million in 2007. However in US dollar terms, sales were up around 21% from US $199 million to US $242 million. The profit recovery started in Q4’06 and continued from quarter to quarter during 2007. As a result, KCE group posted Baht 257 million net profit this year, compare to a net loss of Baht 116 million in the previous year. Sales revenue growth was attributed to higher volume sales and the increased selling price due to price adjustment since Q3’06 and has been carried over to the current year. The growth in Sq.ft. area came from KCE Electronics factory after its capacity expansion was completed in Q2’07 giving an additional capacity of 150 k ft 2 per month. However, double-sided PCB production declined from 40% to 25% of total output in 2007, but multilayer PCB production was up and the sales unit price was higher. The other income amounting to Baht 214 million comprised Baht 32 million interest income from loan to related party and cash at bank, Baht 50 million from foreign exchange gain which was mostly from forward contract entered and Baht 132 million
from sales of material scrap. Due to the 6% exchange strengthening of Baht against the US dollar, sales in baht terms was baht 535 million lower and gross margin percent to sale dropped. However, the lower margin was partly compensated by KCE Technology’s sales growth. After the manufacturing facility fully utilized its production capacity, it hit the Economy of Scale, resulted in a lower production costs. In addition, selling complex multilayer PCBs earned higher margin. These allowed an increase in gross margin from 15% to 17.6% in 2007. Selling and general administrative expenses in 2007 was at 13.3% of sales, slightly down from previous year. Approximately 60% of total expense varies to sales amount; i.e. freight and insurance cost, reserve for reject claims, sales commission, packing materials, while other administrative cost are relatively fixed, except there was Baht 15 million spent on R&D for new product by Thai Laminate Manufacturer. In 2007, the company had a net gain of baht 50 million on foreign exchange rate. The foreign exchange risk has arisen from export sale, the purchase of raw materials and loans denominated in foreign currency. Export sales were mainly in USD and EURO at 74% and 23% of total sales respectively. On the other hand, 60% of total purchase was in USD and part of the loan was in EURO. The Company and its subsidiaries hold the “Natural Hedging” policy over their assets and liabilities denominated in foreign currencies through balancing their proportions and conditions, with emphasis on having cash inflows and cash outflows occur concurrently. In addition, the policy is to hedge the initial transaction exposure by taking into account the foreign exchange risk consideration. As a result, KCE had extended FX forward
รายงานประจำปี 2550 63 ANNUAL REPORT 2007
ตามธุรกรรมการค้า (Transaction risk) ตามสถานการณ์ และการคาดการณ์อตั ราแลกเปลีย่ น ทัง้ นีบ้ ริษทั ได้ขยายเพดาน ในการทำสัญญาป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนให้ สูงขึ้นโดยพิจารณาช่วงเวลาที่เหมาะสม กำไรจากการดำเนินงานก่อนดอกเบี้ยและภาษีเงินได้ ของปี 2550 ปรับตัวสูงขึ้นเป็นร้อยละ 6.9 เทียบกับปีที่แล้วที่ ร้อยละ 3.0 ในทำนองเดียวกัน กำไรสุทธิหลังดอกเบี้ยและ ภาษีเงินได้ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3.1 จากที่เคยติดลบร้อยละ 1.5 ในปี 2549
147 ล้านบาทแล้ว บริษทั ยังได้จดั หาเงินกูย้ มื ระยะสัน้ เพิม่ เติม สำหรับเป็นเงินทุนหมุนเวียนซึ่งมีความต้องการเพิ่มมากขึ้น ตามการขยายตัวของธุรกิจ และมีการกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น จำนวนหนึ่งสำหรับโครงการลงทุนของบริษัทและบริษัทย่อย
สัดส่วนและคุณภาพของสินทรัพย์
สัดส่วนของสินทรัพย์ 2550 2549 ลูกหนี้การค้าสุทธิ 20% 22% สินค้าคงเหลือ 17% 15% ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 58% 60% อื่นๆ 5% 3% แนวโน้มในอนาคต บริษัทจะยังคงให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยี ลูกค้าของบริษัทส่วนใหญ่เป็นบริษัทชั้นนำระดับโลกใน การผลิตระดับสูงเพือ่ สร้างความได้เปรียบทางด้านการแข่งขัน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นลูกหนี้ที่จัดว่ามีคุณภาพ กับผูผ้ ลิตรายอืน่ ควบคู่ ไปกับการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ในปีนี้อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้การค้าได้ลดลงเหลือ 89 บริษัทได้ตั้งงบประมาณการลงทุนไว้จำนวน 700 ล้านบาท วันซึ่งเป็นผลให้มีกระแสเงินสดไหลเข้ากิจการเร็วขึ้น ส่วน สำหรับการขยายการผลิตในส่วนของสายการผลิต Inner ทีเ่ คซีอี วั ต ถุ ดิ บ และสิ น ค้ า คงคลั ง มี สั ด ส่ ว นสู ง ขึ้ น เนื่ อ งจากราคา อีเลคโทรนิคส์ และการขยายกำลังการผลิตอีก 1.5 แสน ตร.ฟุต วัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้นและต้องเก็บสินค้าในปริมาณที่มากขึ้น ต่อเดือนทีเ่ คซีอี เทคโนโลยี รวมถึงสำหรับการปรับแต่งโรงงาน เพื่อรองรับการผลิตได้อย่างเหมาะสม ดังจะเห็นได้ว่าอัตรา ของเคซีอี อินเตอร์เนชัน่ แนล เพือ่ รองรับการผลิต Multilayer หมุนของสินค้าคงคลังยังคงเท่าเดิม สำหรับที่ดิน อาคารและ Board ในอนาคต ซึ่งคาดว่าสองโครงการแรก จะเริ่มได้ ใน อุปกรณ์-สุทธิ มีจำนวน 9,141 ล้านบาท (ราคาทุนก่อนหักค่า ครึ่งปีหลังของปี 2551 เสื่อม) เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 828 ล้านบาท ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น มาจากโครงการลงทุนในการขยายกำลังการผลิตทีบ่ ริษทั เคซีอี การวิเคราะห์ฐานะการเงินและคุณภาพของสินทรัพย์ อีเลคโทรนิคส์ และ บริษัทเคซีอี เทคโนโลยี เป็นส่วนใหญ่ จากการทีบ่ ริษทั และบริษทั ย่อยมีผลประกอบการทีด่ ขี นึ้ ทั้งนี้บริษัทใช้แหล่งเงินทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนหนึ่งตาม มาเป็นลำดับ ทำให้เกิดสภาพคล่องและมีกระแสเงินสดหมุนเวียน นโยบายโครงสร้ า งเงิ น ทุ น และจั ด หาเงิ น ทุ น จากการกู้ ยื ม ในการดำเนินงานอย่างเพียงพอ จากงบการเงินรวม กลุม่ เคซีอี ระยะยาวอีกส่วนหนึง่ ซึง่ เป็นเงินทุนทีม่ ตี น้ ทุนต่ำ ณ สิน้ ปี 2550 มีกำไรสุทธิ 257 ล้านบาท ซึ่งเมื่อปรับกระทบด้วยรายการที่ อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนได้ลดลงเหลือ 2.6 เท่า เนื่องจากเงินกู้ ไม่ใช่เงินสดต่างๆ แล้ว มีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงานอยู่ ระยะยาวได้ ล ดลงไปมากในขณะที่ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น สู ง ขึ้ น 631 ล้านบาท เงินสดดังกล่าวถูกนำไปใช้ ในการชำระคืนเงินกู้ เนื่ อ งจากมี ก ำไรจากการดำเนิ น งานและมี ก ารเพิ่ ม ทุ น ของ และใช้ ไปในกิจกรรมลงทุนบางส่วน อย่างไรก็ตาม นอกจาก บริษัทในระหว่างปี จะมีเงินสดรับจากการเพิ่มทุนในบริษัทเคซีอี อีเลคโทรนิคส์
รายงานประจำปี 2550 64 ANNUAL REPORT 2007
contracts to cover its currency risk in such a way that the changes in exchange rate have a neutral impact on KCE’s gearing. KCE’s operating result before interest expense and corporate tax for the year 2007 increased to 6.9%, compare to 3.0% in the previous year. Similarly, the net profit after interest and tax was up to 3.1% from a net loss of 1.5% reported a year earlier.
Future trend
KCE group will continue to focus on advanced technology development and quality performance in order to build a global competitive advantage among other peer PCB suppliers. For next year, a capital expenditure budget of Baht 700 million has been planned. This includes an expansion of Inner line at KCE Electronics, a 150 k ft2 capacity expansion for KCE Technology, and manufacturing facility restructuring at KCE International to extend its multilayer PCB production capability. The first two projects are expected to begin in the second half of 2008.
Financial Status and Financial Ratio
As a result of the strong growth, the liquidity was greatly improved and there was sufficient cash to be used in the operation. From the group’s net profit of Baht 257 million, the operation generated a positive cash flow of Baht 631 million after adjusted by those non-cash transactions. The cash provided from operation was partially used in long-term loan repayment and in investing activities. The company
received Baht 147 million from the Share capital increase and acquired an additional short-term financing for its working capital to support growing business and also acquired a long-term loan for planned investments.
Financial ratios
2006 2007
Trade Account Receivable - net 20% 22% Inventories 17% 15% Property, Plant & Equipment 58% 60% Others 5% 3% Most of KCE’s customers are the world leading electronic companies, therefore all trade receivables are well performing. This year the receivable turnover ratio continued to decrease to 89 days, which allowed for faster cash inflow. Inventories in terms of value were higher due to the rising raw material price and a higher level of stock was kept to support expanding production, however the inventory turnover time was stabilized. Property, Plant & Equipment totaled (at cost) baht 9,141 in 2007, an increase of Baht 828 million from last year. The incremental amount came mainly from investment for capacity expansion at KCE Electronics and at KCE Technology. The company sourced funds from Shareholder Equity according to the target capital structure, and also from long-term financing, which is the lowest cost of capital. Debt to Equity ratio was down to 2.6 times, caused by a significant decrease in long-term loans and higher equity, due to the increased share capital and profit from operations in current year.
รายงานประจำปี 2550 65 ANNUAL REPORT 2007
บุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วมและรายการระหว่างกัน คณะกรรมการของบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ตี ามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อำนาจการควบคุม ของบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) มีกรรมการและกรรมการบริหาร จำนวน 8 ท่าน
คณะกรรมการบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย
1. นายบัญชา องค์โฆษิต 2. นายปัญจะ เสนาดิสัย 3. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต 4. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต 5. พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส 6. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช 7. นางอุบล จิระมงคล 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์
ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและกรรมการบริหาร กรรมการและกรรมการอิสระ กรรมการและกรรมการอิสระ กรรมการและกรรมการอิสระ กรรมการและกรรมการบริหาร
1. นายบัญชา 2. นางวรลักษณ์ 3. นายพิภพ 4. นายพล 5. นางวรรณวดี 6. นางธัญรัตน์
องค์โฆษิต องค์โฆษิต สิริวณิชพันธ์ ดุริยะบรรเลง พัฒศาสตร์ เทศน์สาลี
กรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
1. นายบัญชา 2. นางวรลักษณ์ 3. นายบุญชาติ 4. นายสุรพล 5. นางนิตยา 6. นางธัญรัตน์
องค์โฆษิต องค์โฆษิต วงศ์วัฒนากิจ ก่อเกิด โรจนกำพล เทศน์สาลี
1. นางศิริพรรณ 2. นางวรลักษณ์ 3. นายปัญจะ 4. นายรังสิน 5. นางทัศนาลักษณ์ 6. นางทักษิณา 7. นายภควัต 8. นางขนิษฐา
สันธนะพันธ์ องค์โฆษิต เสนาดิสัย สืบแสง สันติกุล เกษมสันต์ ณ อยุธยา โกวิทวัฒนพงศ์ สรรพอาษา
1. นายบัญชา 2. นางวรลักษณ์
องค์โฆษิต องค์โฆษิต
1. นายบัญชา 2. นางวรลักษณ์
องค์โฆษิต องค์โฆษิต
คณะกรรมการบริษัท เคซีอี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ประกอบด้วย
คณะกรรมการบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ประกอบด้วย
กรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
คณะกรรมการบริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ประกอบด้วย ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ
คณะกรรมการของบริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด ประกอบด้วย กรรมการ กรรมการ
อำนาจการควบคุมของบริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด ประกอบด้วย กรรมการ กรรมการ
รายงานประจำปี 2550 66 ANNUAL REPORT 2007
Persons with vested interest and cross over transactions KCE Board of Directors follow the good corporate governance as set by the Stock Exchange of Thailand. The board is comprised of 8 directors as follows:
Board of Directors of KCE Electronics Public Co.,Ltd.
1. Mr. Bancha Ongkosit 2. Mr. Panja Senadisai 3. Dr. Chantima Ongkosit 4. Mrs. Voraluksana Ongkosit 5. Lt. Gen. Dr.Suprija Mokkhavesa 6. Dr. Thongdee Shaipanich 7. Mrs. Ubol Chiramongkol 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan
Chairman and Managing Director Director Director Director and Executive Director Director and Independent Director Director and Independent Director Director and Independent Director Director and Executive Director
1. Mr. Bancha 2. Mrs. Voraluksana 3. Mr. Pipop 4. Mr. Pon 5. Mrs. Wanvadee 6. Mrs. Tanyarat
Managing Director Director Director Director Director Director
Board of Directors of K.C.E. International Co.,Ltd. Ongkosit Ongkosit Siriwanichphant Duriyabanleng Patasart Tessalee
Board of Directors of KCE Technology Co.,Ltd
1. Mr. Bancha Ongkosit 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit 3. Mrs. Tanyarat Tessalee 4. Mr. Bunchart Wongwattanakit 5. Mr. Surapol Kokoed 6. Ms. Nitaya Rojanakamphol
Managing Director Director Director Director Director Director
Board of Directors of Thai Laminate Manufacturer Co.,Ltd.
1. Mrs. Siriphan Suntanaphan Chairman 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director 3. Mr. Panja Senadisai Director 4. Mr. Rangsin Suebsang Chairman of Audit Committee 5. Mrs. Thasnalak Santikul Director and Audit Committee 6. Mrs. Thaksina Kasemsant Na Ayutthaya Director and Audit Committee 7. Mr. Pakawat Kowitwattaphong Director 8. Mrs. Kanitha Subpa-asa Director
KCE America Inc. consists of 2 directors.
1. Mr. Bancha Ongkosit 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit
Director Director
1. Mr. Bancha Ongkosit 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit
Director Director
KCE Singapore Pte. Ltd. consists of 2 directors.
รายงานประจำปี 2550 67 ANNUAL REPORT 2007
ปัจจัยความเสี่ยงและนโยบายการบริหารความเสี่ยง เนือ่ งจากบริษทั และบริษทั ย่อย (“กลุม่ บริษทั ”) เป็นผูผ้ ลิต และจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นชิ้นส่วน สำคัญในการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท ดังนั้น ปัจจัยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นโดยหลักจึงแปรผันไปตามกระแส ความผันผวนของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจัยความเสีย่ ง ทางด้านระบบการผลิต รวมถึงความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในตลาด เป้าหมาย โดยปัจจัยทีส่ ง่ ผลให้เกิดความผันผวนดังกล่าวข้างต้น อาจมาจากวัฏจักรอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การเปลีย่ นแปลง ทางเทคโนโลยีหรือการเปลีย่ นแปลงในเงือ่ นไขต่างๆ ของตลาด ภาวะเศรษฐกิจ และปัจจัยทางด้านการผลิตอื่นๆ
ปัจจัยความเสี่ยงภายนอกบริษัท
ความเสีย่ งจากภาวะความผันผวนในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เติ บ โตขึ้ น ตามภาวะ เศรษฐกิ จ โลกและภาวะอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ที่ มี ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ อาทิ การเติบโตของธุรกิจ คอมพิวเตอร์ และอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจยานยนต์และผลิตภัณฑ์ทางด้านอุตสาหกรรมต่างๆ รวมถึง ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีระดับสูง เช่น ผลิตภัณฑ์ยุทโธปกรณ์ ทางการทหาร ผลิตภัณฑ์อากาศยาน ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ ทัง้ นี้ การเปลี่ ย นแปลงตามวั ฏ จั ก รของอุ ต สาหกรรมอาจนำไป สู่ความเสี่ยงต่างๆ และอาจส่งผลกระทบในเชิงลบต่อยอด ขายและราคาสินค้าของของกลุ่มบริษัทได้ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทได้มีนโยบายมุ่งเน้นการผลิต สิ น ค้ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ในอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ซึ่ ง เป็ น อุตสาหกรรมทีม่ กี ารเจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทยังได้กระจายการผลิตไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอืน่ ๆ อาทิเช่น อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เพื่อกระจายความเสี่ยงจากการพึ่งพาอุตสาหกรรมใดเพียง อุตสาหกรรมเดียว ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี PCB เป็นส่วนประกอบพื้นฐานหลักของผลิตภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีเทคโนโลยี หรือสินค้าทดแทนใดมาแทนทีก่ ารใช้ PCB ได้ การเปลีย่ นแปลง เทคโนโลยีทอี่ าจเป็นความเสีย่ งของอุตสาหกรรม PCB โดยมาก จึงมาจากการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องของ การออกแบบ เทคโนโลยีการผลิต และวัตถุดบิ ซึง่ ทำให้บริษทั ต้องมีการลงทุนในเครื่องจักรและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
จากแนวโน้มของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในอนาคตที่จะ มี ข นาดเล็ ก ลงพร้ อ มกั บ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความละเอี ย ด ซับซ้อนมากขึ้นทำให้มีความต้องการ PCB ที่มีขนาดเล็กลง มีลายวงจรที่ละเอียดซับซ้อน และมีจำนวนชั้น (Layer) ของ แผ่นวงจรมากขึ้นและยังส่งผลถึงการเปลี่ยนแปลงเทคนิคใน การผลิต เพื่อให้ ได้ PCB คุณสมบัติพิเศษที่มีประสิทธิภาพ และเสถียรภาพสูง นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงในแง่ของ วัตถุดบิ ที่ใช้ เพือ่ ให้ ได้ PCB ทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามทีผ่ ผู้ ลิตอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต้องการ อาทิเช่น Halogen-Free PCB และ Lead-Free PCB ซึ่งไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีดงั กล่าวอาจมีผลกระทบ ต่ อ ความสามารถในการผลิ ต รายได้ แ ละผลกำไรจากการ ดำเนินงาน รวมถึงฐานลูกค้าของกลุ่มบริษัท อย่างไรก็ตาม ที่ ผ่ า นมาบริ ษั ท ได้ มี ก ารเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ รองรั บ การ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีดังกล่าวอยู่ตลอดเวลา ด้วยการ ลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละกระบวนการผลิ ต รวมทั้ ง ขยายกำลังการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า มาโดยตลอดขณะเดียวกันกลุ่มบริษัทก็มุ่งเน้นการผลิตสินค้า คุณภาพในระดับปานกลางถึงคุณภาพสูง ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลง เทคโนโลยีการผลิตไม่รวดเร็วมากนักรวมถึงการให้ความสำคัญ ต่อกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้า การส่งสินค้าตรงตาม ความต้ อ งการของลู ก ค้ า การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก่ ลู ก ค้ า
ในการผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อรักษาสัมพันธ์กับลูกค้าที่เป็นผู้ผลิต อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ก ารพั ฒ นาทางเทคโนโลยี อ ยู ่
ตลอดเวลาทำให้กลุ่มบริษัทสามารถดำรงรักษาฐานลูกค้าและ ปรับตัวตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงได้ ความเสี่ยงทางด้านการตลาด ความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลงของตลาดอาจเกิดได้ จากปัจจัยภายในประเทศของตลาดผูซ้ อื้ เอง เช่น ภาวะเศรษฐกิจ สถานการณ์ทางการเมือง นโยบายการค้าระหว่างประเทศ สงคราม การก่อการร้าย เป็นต้น และรวมถึงปัจจัยในระดับ องค์กรของลูกค้า เช่น มีการควบรวมกิจการ การเปลีย่ นแปลง นโยบายในการจัดซื้อ เป็นต้น ดั ง นั้ น เพื่ อ ลดความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว กลุ่ ม บริ ษั ท จึ ง มี นโยบายในการรักษาคุณภาพของสินค้า การสร้างความสัมพันธ์ทดี่ ี กับลูกค้าผ่านการรับคำสั่งผลิตสินค้า (Order) ปริมาณมาก และมีระยะเวลานาน รวมทั้งการดำเนินกิจการทางการตลาด โดยบริษัทตัวแทนจำหน่ายเป็นผู้ ให้บริการด้านการขายและ การบริ ก ารหลั ง การขาย เช่ น การประสานงานกั บ ลู ก ค้ า
รายงานประจำปี 2550 68 ANNUAL REPORT 2007
Risk Factors and Risk Management in the changes in the production technologies to produce more efficiency and reliability. Moreover, as the concern for the environment grows, there are more demands for changes in the green raw materials such as Halogen-free PCB and Lead-free PCB. The above mentioned changes in the technology may thus affect the production capacity, sales and profit of the operation as well as the customers’ base. External Risk Factors and Risk Management However, KCE is constantly prepared to meet such challenges of the technological changes through continuous research and development to advance the Electronics Industry Risk The electronic industry grows correspondingly company’s products and production process and to to the world economy and the growth of the industries increase the production capacity to meet the needs that require electronic components such as telecom- of the customers. As KCE has focuses on producing munications, computers, automobile, industrial equip- medium to high quality PCB, the company’s already ments, high technology instruments and peripherals. advanced technology is less affected by the said Thus, the cyclical change of the economy and the technology changes. The company’s policy which aims electronic industry can instigate undesirable change at quality control, prompt delivery and assistance to our customers has sustained long working relationship in sales volume and price. with leading international customers worldwide and The company’s strategy has been to concentrate helps KCE to cope with the changing of technology on growing end-markets, including automotive and effectively. industrial sectors which are more stable, and high-end consumer electronics market, while other traditional Market Risk Market risks can be derived from many factors end-markets will be maintained for diversification. ranging from macro factors of the major customer counties i.e. the economic, political, international trade Technology Risk As PCB still remains the basic, irreplaceable policies, war, unrest and terrorism, etc. to micro factors component of all electronic products, KCE’s exposure arising at customer level such as merging or takeover to the technological risks is mainly related to the of companies, change in buying policies. details changes in the designs, the production tech- In order to decrease the market risk, KCE’s niques and the raw material. KCE invests in necessary, new up-to-date equipment to countenance such strategies are to maintain the quality of our products, to build good working relationship with our customers, changes effectively. to obtain large and long-term purchase orders and to As the trend in the electronic industry is to maintain marketing and sales offices worldwide. Our focus on smaller, more efficient and more complicated oversea representatives offer individualized sales and designs, PCB are consequently smaller with more after-sales services to our customers. While existing intricate designs and higher layer counts. This results customers, particularly in the automobile and industrial KCE is a manufacturer and exporter of printed circuit board (PCB), the foundation of most electronic equipments. The risks that the company faces arise mainly from the innate volatility of electronic industry, production, and targeted markets. Factors causing this volatility include cyclical nature of electronic industry, change of technology, market conditions, economic risks, production factors, etc.
รายงานประจำปี 2550 69 ANNUAL REPORT 2007
ในการรับคำสั่งซื้อรายเดือน ติดตามดูการจัดส่งสินค้าให้ทัน กำหนด รับแจ้งปัญหาจากลูกค้า เช่น ปัญหาการส่งมอบสินค้า ล่าช้า หรือสินค้าไม่ได้มาตรฐาน รับคืนสินค้าทีม่ ปี ญ ั หา เป็นต้น นอกจากนี้การที่กลุ่มบริษัทมีนโยบายที่จะคงสัดส่วนการตลาด ส่วนใหญ่ไว้ในกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ เนือ่ งจากตลาดสินค้า อิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์มีแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และเป็นตลาดที่มีคู่แข่งน้อยรายเพราะมีความยากลำบาก ในการเข้าของผู้ผลิตรายใหม่ๆ เนื่องจากความซับซ้อนของ กระบวนการผลิต อย่างไรก็ตามกลุ่มบริษัทได้กระจายฐาน ลูกค้าไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ อาทิเช่น อุปกรณ์สื่อสาร โทรคมนาคม ชิ้ น ส่ ว นคอมพิ ว เตอร์ และในทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าค ของโลก เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยงทางด้านการตลาด อีกทางหนึ่งด้วย ความเสี่ยงในการแข่งขันทางธุรกิจ การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของผู้ผลิตแผ่นพิมพ์วงจร อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศจีนทำให้เกิดการแข่งขันด้านราคา มากขึ้ น ซึ่ ง ถื อ เป็ น อุ ป สรรคสำหรั บ ผู้ ผ ลิ ต แผ่ น พิ ม พ์ ว งจร อิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลก รวมถึงบริษัทด้วย ถึงแม้ว่ากลุ่มบริษัท จะไม่ ได้เป็นคู่แข่งโดยตรงกับผู้ผลิตในประเทศจีนเพราะมี กลุ่มตลาดเป้าหมายต่างกัน โดยทางกลุ่มบริษัทได้กำหนด ตลาดเป้าหมายไว้อย่างชัดเจนในตลาดสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพในระดับ ปานกลางถึงสูงและเน้นการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ ใช้เทคโนโลยีสูง โดยมีผู้ผลิตในประเทศไต้หวันเป็นคู่แข่งขันที่สำคัญในกลุ่ม ตลาดดังกล่าว ในขณะที่ผู้ผลิตประเทศจีนจะเน้นกลุ่มตลาด สินค้าระดับล่างเพราะยังไม่มีศักยภาพเพียงพอในการผลิต แผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีคุณภาพสูง ถึงแม้วา่ บริษทั จะมีผผู้ ลิตจากประเทศไต้หวันเป็นคูแ่ ข่ง สำคัญ บริษทั ยังสามารถคงศักยภาพในการแข่งขันไว้ ได้ โดยมี นโยบายในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการผลิต อย่างไรก็ตามการผลิตสินค้าราคาถูกเข้าสู่ตลาด เพิม่ มากขึน้ และส่งผลให้การปรับตัวลดลงของราคาขายเกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในหลายปีทผี่ า่ นมา ซึง่ ถือเป็นความกดดันทางอ้อม ต่อกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทยังคงกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจไว้
เช่นเดิม กล่าวคือ กลุ่มบริษัทจะผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อน และมีคณ ุ ภาพในระดับปานกลางถึงสูง และคงสัดส่วนการตลาด ไว้ในกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ รวมถึงการขยายกำลังการผลิต อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้สามารถรองรับกับปริมาณการสัง่ ซือ้ สินค้า ที่เพิ่มขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เทคนิคในการผลิตทีซ่ บั ซ้อน ประกอบกับเทคโนโลยีดา้ นการผลิต มีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา การทีก่ ลุม่ บริษทั มีการขยายกำลัง การผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับปริมาณการสั่งซื้อสินค้าที่ เพิม่ ขึน้ รวมถึงการปรับเปลีย่ นรูปแบบการผลิตเพือ่ สอดคล้องกับ ความต้องการของลูกค้าตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น อาจส่งผลกระทบให้กลุ่มบริษัทไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามที่ คาดการณ์ในช่วงเริม่ ต้นของการขายและ/หรือการปรับเปลีย่ น รูปแบบการผลิตและมีอัตราการสูญเสียสูง ซึ่งกลุ่มบริษัทได้ ทำการปรับปรุงและพัฒนาการผลิตให้สามารถดำเนินการได้ อย่างมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ ทัง้ นีก้ ลุม่ บริษทั เล็งเห็นถึงความสำคัญ ของบุคลากรเนื่องจากการขาดแคลนบุคลากรหรือปัญหาอื่น ด้านแรงงานจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพในการผลิต และคุณภาพสินค้า ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงส่งเสริมการฝึกอบรม ทางเทคนิคและให้ความรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อเสริมสร้างทักษะ และความรู้ทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยแก่บุคลากร รวมถึง การให้ประโยชน์ที่เหมาะสมแก่บุคลากรเพื่อจูงใจและรักษา บุคลากรให้ทำงานกับกลุ่มบริษัทในระยะยาว ความเสี่ยงจากวัตถุดิบสำหรับการผลิต ความเสีย่ งทางด้านวัตถุดบิ เกิดขึน้ ได้จากการขาดวัตถุดบิ ที่ต้องใช้ ในการผลิตซึ่งอาจจะนำไปสู่การหยุดการผลิต หรือ การมีวัตถุดิบที่ด้อยคุณภาพ หรือการปรับราคาของวัตถุดิบ ซึ่งบริษัทได้ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าว จึงได้สร้างโรงงาน เพือ่ ผลิตวัตถุดบิ หลักของกลุม่ บริษทั คือ แผ่นลามิเนตและแผ่น
พรีเพค โดยการจัดตัง้ บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด (TLM) ขึน้ เพือ่ ดำเนินการผลิต การซือ้ ลามิเนตจาก TLM ช่วยให้กลุ่มบริษัทมีความเชื่อมั่นได้ว่าวัตถุดิบหลักจะมีอย่าง เพียงพอและมีคุณภาพและคุณสมบัติตามที่ต้องการ
ปัจจัยความเสี่ยงภายในบริษัท
ปัจจุบนั บริษทั มีการใช้ทองแดงและทองคำคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 29.7 และ 13.0 ของต้นทุนการผลิตทัง้ หมด ซึง่ กลุม่ บริษทั มีการทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า วัตถุดิบจำพวกทองแดงและ ทองคำ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 40 และร้อยละ 25 ของทองแดงและทองคำที่ ใช้ทั้งหมดตามลำดับ เพื่อป้องกัน ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาทองคำและทองแดง ซึง่ มีความผันผวนอย่างมาก และมีการปรับตัวสูงขึน้ มาโดยตลอด โดยในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ราคาทองคำได้มีการปรับตัวสูงขึ้น ร้อยละ 60.57 ขณะทีร่ าคาทองแดงได้มกี ารปรับตัวสูงขึน้ ร้อยละ 135 การปรับตัว การปรับตัวสูงขึ้นของราคาทองแดง ทองคำ ส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะราคาแผ่นลามิเนต ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต PCB ที่มีการปรับราคาสูงขึ้น ร้อยละ 27.6 ในปี 2550
ความเสี่ยงทางด้านการผลิต เนือ่ งจากสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เป็นสินค้าทีม่ ขี นั้ ตอนและ
สำหรับการจัดหาวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นในการผลิต อืน่ ๆ กลุม่ บริษทั ได้ทำการคัดเลือกผูผ้ ลิตหรือผูจ้ ดั จำหน่ายหลัก
รายงานประจำปี 2550 70 ANNUAL REPORT 2007
technical training and proper education are provided to ensure effectiveness and skill development of KCE staffs. KCE shows a strong commitment to its workforces and provide appropriate incentives and benefits to the employees for a long-term and rewarding relationship. Raw Material Risk Raw material risk associates with key materials shortage that leads to an unplanned line-down, improper specification or sub-standard quality, as well as fluctuation in pricing. KCE has vertically integrated into the production of laminate and prepreg, its key raw materials, via its subsidiary, Thai Laminate Manufacture Co., Ltd. This helps KCE to secure the availability of key raw materials and be able to optimize the usage of such materials as TLM can supply a specific size and type that ease further production process. Currently, other raw materials used at KCE are Gold and Copper which account for 6 and 13 per cent respectively of the total production cost. KCE has minimized the risk of the price fluctuation by entering into commodity forward contracts to cover 40% and 25% of the amount purchased consecutively. Internal Risk Factors and Risk Management In the past three years, there had been rapid rise in the price of gold, an increase of 60.57 per cent while Production Risk copper had risen by 135 per cent. This rise have direct Production can be affected by the changes impact on the cost of production especially in the caused by the constant demand for the new production price of the laminate which require copper as the main technologies as well as the expansion of the production raw material. In 2007, the price of PCB rose 27.6 per capacity to meet the needs of the customers. Such cent. changes may have an impact on the production time required at the start of a new sale or after the imple- KCE sources other raw materials and supplies mentation of the new technology with higher scrap rate. from two to three main suppliers for each item from KCE continues to improve and develop its production the Approved Vender List. The company has forged techniques to overcome with this issue. The know- relationship with its major suppliers, supported by its how and skillful labor workforce are crucial to the long track record. Global price of raw material is company’s success. Labor shortage or any labor closely monitored and inventories assured to be related problems would directly affect in a lower adequate for smooth and continuous operation. productivity and product’s reliability. Continuous
market sector are maintained, KCE continues to expand its customers’ base through developing new customers to minimize the market risk. Competition Risk The precipitous growth of PCB production from China poses a major threat to all other PCB manufacturers, including KCE. Although, KCE clearly holds its position on the medium to high-end market and does not directly compete with the PCB manufacturers in China which serves different customers, KCE can not avoid the impact of this indirect pricing pressure from additional supply from lower cost PCB manufacturers. Taiwan can be considered as more of a direct competitor to KCE, as some of Taiwan PCB manufacturers compete for similar market. KCE, however, can still maintain its potential as a competitor through concentration on non-traditional growing high-end markets, focusing on automotive sector, which have a higher barrier of entry. The company will continue to expand its capacity to meet growing demand of world electronic equipments.
รายงานประจำปี 2550 71 ANNUAL REPORT 2007
ไว้ 2-3 รายต่อรายการ อีกทั้งได้มีการพัฒนาความสัมพันธ์ อันดีกับผู้ผลิต หรือผู้จัดจำหน่ายมาเป็นระยะเวลายาวนาน นอกจากนี้กลุ่มบริษัทยังได้มีการติดตามความเคลื่อนไหวของ ราคาตลาดอย่างใกล้ชิดและมีการสำรองวัตถุดิบหลักไว้อย่าง เพียงพอที่จะให้การผลิตสามารถดำเนินไปได้อย่างเรียบร้อย ตามแผนการผลิต ความเสี่ยงทางด้านการเงิน บริษัทและบริษัทย่อยมีเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญที่ แสดงในงบดุลประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าเงินลงทุน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้น และ เงินกูย้ มื ระยะยาว นอกจากนีบ้ ริษทั และบริษทั ย่อยยังมีตราสาร อนุพันธ์นอกงบดุล เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากราคาวัตถุดิบ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เครือ่ งมือ ทางการเงินและตราสารอนุพนั ธ์ดงั กล่าว และมีนโยบายในการ บริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่ เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้ โดยการกำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อ ที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทและบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับ ความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้ สิ น เชื่ อ ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยไม่ มี ก ารกระจุ ก ตั ว เนือ่ งจากบริษทั และบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้าจำนวนมากราย และลูกหนีส้ ว่ นใหญ่มคี วามสามารถในการชำระหนีด้ ี จำนวนเงิน สูงสุดทีบ่ ริษทั และบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ที่แสดงอยู่ ในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ สำคั ญ อั น เกี่ ย วกั บ เงิ น ฝากกั บ ธนาคารและสถาบั น การเงิ น เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงินกู้ยืมจากธนาคาร อย่างไร ก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มี อัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาดหรือมีอัตราดอกเบี้ย คงทีซ่ งึ่ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั ความเสีย่ งจากอัตรา ดอกเบี้ยของบริษัท และบริษัทย่อยจึงอยู่ ในระดับต่ำ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับการขายสินค้า การซื้อวัตถุดิบ เงินกู้ยืมเป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัทและ
บริษัทย่อยมีนโยบายการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็น เงินตราต่างประเทศที่สำคัญโดยจะจัดให้สินทรัพย์และหนี้สิน
ดังกล่าวมีสดั ส่วนและเงือ่ นไขทีส่ มดุลกัน (Natural Hedging) และเน้นการสร้างกระแสเงินสดรับและจ่ายให้สอดคล้องกัน นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทย่อย ได้มีนโยบายการบริหาร ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น โดยเน้นการบริหารความเสีย่ ง ตามธุรกรรมการค้า (Transaction risk) ตามสถานการณ์
และคาดการณ์อตั ราแลกเปลีย่ นเป็นผลให้บริษทั และบริษทั ย่อย ได้ตกลงทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากับ ธนาคารพาณิ ช ย์ ไ ว้ จ ำนวนหนึ่ ง ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ มี อ ายุ สั ญ ญา ไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยง ความเสี่ยงจากการไม่ได้รับชำระค่าสินค้า
จากตัวแทนจำหน่าย ปัจจุบันบริษัทขายสินค้าผ่านตัวแทนจำหน่ายที่ ไ ม่ ใช่ บริษทั ย่อยคิดเป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 95 ของรายได้จากการขาย ทั้งหมด โดยมีรายได้จากการขายโดยการจัดส่งสินค้าไปยัง บริษัทตัวแทนในสัดส่วนร้อยละ 60 ของรายได้จากการขาย และมี ร ายได้ จ ากการขายที่ บ ริ ษั ท จั ด ส่ ง สิ น ค้ า ไปยั ง ลู ก ค้ า โดยตรงโดยให้ บ ริ ษั ท ตั ว แทนเป็ น ผู้ ติ ด ตามการชำระเงิ น ค่าสินค้าทัง้ หมดจากลูกค้าให้แก่บริษทั ในสัดส่วนร้อยละ 40 ของ รายได้จากการขาย ทำให้บริษัทมีความเสี่ยงที่จะไม่ ได้รับ ชำระเงินทั้งจากบริษัทตัวแทนและลูกค้า ซึ่งจะกระทบกับ สภาพคล่องและการดำเนินงานของบริษัท อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากลุ่มบริษัท
ไม่เคยประสบปัญหาในการติดตามการชำระหนีจ้ ากบริษทั ตัวแทน ไม่วา่ เป็นการติดตามชำระสินค้าทีบ่ ริษทั จัดส่งให้บริษทั ตัวแทน หรือการรับเงินโอนสินค้าที่บริษัทตัวแทนติดตามการชำระเงิน จากลูกค้า เนื่องจากบริษัทตัวแทนหลายแห่งนั้น กลุ่มบริษัท ได้มีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของ โดยบริษัทตัวแทนดังกล่าว มีฐานะเป็นบริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วมของกลุม่ บริษทั ส่วนบริษทั ตัวแทนรายอืน่ ที่ไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับกลุม่ บริษทั นัน้ กลุม่ บริษทั ก็มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจอันดี กับบริษัทตัวแทนดังกล่าวเป็น ระยะเวลานานกว่ า 20 ปี นอกจากนี้ ลู ก ค้ า ส่ ว นใหญ่ ข อง กลุม่ บริษทั เป็นบริษทั ชัน้ นำของโลกทีม่ ฐี านะทางการเงินทีม่ นั่ คง แข็งแรง และยังมีความสัมพันธ์ทางการค้าอันดีมาเป็นระยะ เวลานาน ทำให้บริษัทมีความเสี่ยงที่จะไม่ ได้รับชำระเงินต่ำ กรณีที่เกิดการจ่ายเงินล่าช้าเกินกว่ากำหนดชำระนั้น โดยมาก จะเกิดปัญหาในการส่งมอบงานหรือ ปัญหาทางด้านคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ซึ่งต้องใช้เวลาในการวิเคราะห์หาสาเหตุ
รายงานประจำปี 2550 72 ANNUAL REPORT 2007
Financial Risk
KCE Group’s financial instruments consist of cash and cash equivalents, trade accounts receivable, investments, trade accounts payable, and short-term and long-term loans as well as off - balance sheets derivatives for hedging the risk from commodities price.
Credit risk
Credit risk of KCE is primarily due to trade accounts receivables. Such risk is managed through adopting credit control policies and procedures, maintaining customer base of sound payment abilities. The maximum exposure to credit risk is limited to the carrying amounts of receivables as stated in the balance sheet.
Interest rate risk
The company’s exposure to interest rate risk relates mainly to its cash at banks and financial institutions, bank overdrafts, and loans from banks. Since most of the Company and its subsidiaries’ financial assets and liabilities bear floating interest rates or fixed interest rates which correlate closely to the market rate, the interest rate risk is expected to be minimal.
Foreign currency risk
The foreign currency risk at KCE is connected to their sales of goods, purchases of materials and loans, which are denominated in foreign currencies. The Company and its subsidiaries have foreign exchange policies to manage their assets and liabilities denomi-
nated in foreign currencies through balancing the proportions and conditions of those assets and liabilities (Natural Hedging), with emphasis on controlling cash inflows and cash outflows concurrently. The policy includes hedging on transaction risk according to the situations and forecasts of the forging exchange rate. The company and its subsidiaries have entered into a number of forward exchange contracts with maturities of less than one year in order to hedge their foreign currency risk.
Risk on Non-payment from sales representatives and customers.
Currently, 95 per cent of the total sales from KCE group are transacted through the KCE sales representatives: 40 per cent of the income from the sales are paid directly to KCE, and the remaining 60 per cent are collected through KCE representatives. While non-payment from the representatives may poses a financial risk, there had never been such incidence. KCE representatives share ownership of KCE, as a KCE associated company or have a good and long lasting relationship with KCE for over 20 years. Moreover, the majority of the KCE’s customers are world leading companies with strong financial status and history of long working relationship with KCE. All these factors help eliminate the risk of non-payment. Delayed payment occurs as a result of delayed delivery or questions regarding the quality of the delivered products that require time for detailed study and analysis of the predicament.
รายงานประจำปี 2550 73 ANNUAL REPORT 2007
ข้อมูลทั่วไป บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) เดิมชื่อ บริษัท ควงเจริญ อีเลคโทรนิคส์ จำกัด สำนักงานและ โรงงานตั้งอยู่เลขที่ 125-125/1, 1 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรม ลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง แขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ (662) 326-0196 โทรสาร (662) 326-0300 เคซีอีฯ เริ่มก่อตั้งในปี 2525 ได้เข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2531 และแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี 2535 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 500 ล้านบาท เรียกชำระแล้วรวม 462.497 ล้านบาท เคซีอีฯ เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ หรือ PCB (PRINTED CIRCUIT BOARD) ซึ่ง เป็นแผ่น EPOXY GLASS ทีม่ สี อื่ นำไฟฟ้า เช่น ตะกัว่ ทองแดง เคลื อ บอยู่ ภ ายใต้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า “KCE” ผลิ ต ภั ณ ฑ์
ดังกล่าวเป็นชิ้นส่วนสำคัญขั้นพื้นฐานในการประกอบเครื่อง คอมพิวเตอร์ เครื่องมือสื่อสาร โทรคมนาคม เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เกือบทุกประเภท บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) บริษทั แม่ เป็นผู้ผลิตแผ่น PCB ประเภท MULTILAYER ปัจจุบันมี บริษัทย่อยคือ 1) บริษทั เค.ซี.อี.อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด โดยบริษทั ฯ ได้ถือหุ้นอยู่จำนวน 94.99% มี โรงงานอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรม บางปู ผลิตเฉพาะแผ่น PCB ประเภท DOUBLE SIDED PTH 2) บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด เป็น ผูผ้ ลิตพรีเพรค และลามิเนต ซึง่ เป็นวัตถุดบิ ทีส่ ำคัญในการผลิต PCB บริษทั ฯถือหุน้ ของบริษทั ไทยลามิเนต อยูจ่ ำนวน 71.20% 3) บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งบริษัทฯถือหุ้นอยู่ จำนวน 100% ผลิตและจำหน่ายแผ่น PCB โรงงานตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมไฮ-เทค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
บริษทั ฯ มีสำนักงานขายในยุโรป อเมริกา และสิงคโปร์ ซึง่ จะดำเนินงานด้านการขายและการตลาด เพือ่ ติดต่อกับลูกค้า ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยบริษัทฯถือหุ้นของบริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ อยู่ 50.00% และบริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด อยู่ 49.00%
บุคคลอ้างอิง นายทะเบียน
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน เลขที่ 2/7 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 02-596-9343-63 โทรสาร : 02-832-4994-6
ผู้สอบบัญชี
นางสายฝน อินทร์แก้ว ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4434 หรือ นางสาวกมลทิพย์ เลิศวิทย์วรเทพ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4377 หรือ นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3734 แห่งบริษัทเอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 02-264-0777, 02-661-9190 โทรสาร : 02-264-0789-90
ที่ปรึกษาทางกฎหมาย
บริษัท ไวท์ แอนด์ เคส (ประเทศไทย) จำกัด 540 อาคารเมอร์คิวรี่ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 02-264-8000 โทรสาร : 02-657-2222
รายงานประจำปี 2550 74 ANNUAL REPORT 2007
General Information KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED, Originally known as Kuang Charoen Electronics Company Limited, is located at 125-125/1, 1 Moo 4 Lat Krabang Industrial Estate, Chalongkrung Road, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok 10520. Tel. : (662) 326-0196 Fax : (662) 326-0300 Founded in 1982, the company became a public company listed on the Stock Exchange of Thailand in 1988, and conversed its status from a limited company to a Public Company Limited in 1992. The registered capital is now Baht 500 million, paid up Baht 462.497 million. The core business of the company is the production and distribution of Printed Circuit Board (PCB), essentially electrically conductive circuits manufactured from an epoxy glass copper lead laminated under the “KCE” trademark. Group of PCBs manufacturing is consisting of 3 subsidiaries. The multilayer PCBs with higher layer count produces at KCE Electronics Public Company Limited (Parent Company) at Lat Krabang Industrial Estate. The double sided PTH PCBs produces at K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary of KCE (94.99% owned) at Bangpoo Industrial Estate. Thai Laminate Manufacturers Co., Ltd., a subsidiary of KCE (71.20% owned) produces a major PCB Raw material, prepreg and laminate. KCE Technology Co., Ltd., a new subsidiary, of KCE (100% owned) at Hi-Tech Industrial Estate to expand the capacity of PCB manufacturing. KCE has a network of sales offices in Singapore, KCE Singapore Pte. Ltd. (49.00% owned), in America, KCE America Inc.(50% owned), and in Europe, offering full commercial and technical support to the customers worldwide.
Other References Registrar
Thailand Securities Depository Company Limited. Capital Market Academy Building 2/7 Moo 4 (North Park Project) Vipavadi - Rungsit, Tung Song Hong Laksi Bangkok 10210 Thailand Tel : 02-596-9343-63 Fax : 02-832-4994-6
Auditor
Mrs. Saifon Inkaew Certified Public Account Registration No. 4434 and/or Ms. Kamontip Lertwitworatep Certified Public Account Registration No. 4377, and/or Ms. Ratana Jala Certified Public Account Registration No. 3734 Ernst & Young Office Limited. 33rd Floor, Lake Ratchada Office Complex 193/136-137 New Ratchadapisek Road Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 02-264-0777, 02-661-9190 Fax : 02-264-0789-90
Law Consultant Office
White & Case (Thailand) Company Limited. 540, Mercury Tower, 22th Floor, Ploenchit Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel : 02-264-8000 Fax : 02-657-2222
รายงานประจำปี 2550 75 ANNUAL REPORT 2007
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย รวมทั้งสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏใน รายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าวจัดขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่ เหมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ และใช้ดุลพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ รวมทั้ง การเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการได้จัดให้มีและดำรงรักษาไว้ซึ่งระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้ อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางการบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อป้องกัน ไม่ ให้เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำคัญ ทั้งนี้คณะกรรมการได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการที่เป็นอิสระ ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของ รายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ ในรายงานประจำปีแล้ว คณะกรรมการฯมี ค วามเห็ น ว่ า ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท ฯโดยรวมอยู่ ใ นระดั บ ที่ น่ า พอใจ และสามารถ สร้างความเชื่อมั่นได้ของงบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำปี 2550 76 ANNUAL REPORT 2007
Report of the Board of Directors’ Responsibilities for Financial Statements The Board of Directors is responsible for the consolidated financial statements of the Company and subsidiaries and financial information stated in the Annual Report. The financial statements were prepared in accordance with generally accepted appropriate accounting principles and practices on a regular basis in Thailand. Material information was sufficiently disclosed in the Notes of the Financial Statements. The Board appointed the Audit Committee who compromises of Independent Directors to oversee the quality of financial reports and internal control of the Company. The Audit Committee’s views regarding this issue is disclosed in this Annual Report under the section of the Audit Committee’s Report. In the Board of Directors’ opinion, the internal control system is adequate and can assure the reliability of the consolidated financial statements of the Company and subsidiaries as at December 31, 2007. Mr. Bancha Ongkosit Chairman KCE Electronics Public Company Limited
รายงานประจำปี 2550 77 ANNUAL REPORT 2007
สารบัญงบดุล • รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • งบดุล • งบกําไรขาดทุน • งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น • งบกระแสเงินสด • หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำปี 2550 78 ANNUAL REPORT 2007
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของ บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึง่ ผูบ้ ริหารของกิจการเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วน ของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผล การตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้อง วางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและ การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีทกี่ จิ การใช้และประมาณการเกีย่ วกับ รายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการ แสดงรายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสม ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควร ในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2550 บริษัทฯได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ การบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน โดยบริษัทฯได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน เพื่อสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว สายฝน อินทร์แก้ว ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4434 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ : 26 กุมภาพันธ์ 2551 รายงานประจำปี 2550 79 ANNUAL REPORT 2007
งบดุล บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะสั้น แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้ตามสัญญา ป้องกันความเสี่ยงทางการเงิน ลูกหนี้กรมสรรพากร ลูกหนี้อื่น รายได้ค้างรับ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่นๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด เงินมัดจำและเงินจ่ายล่วงหน้า ค่าซื้อสินทรัพย์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ ค่าความนิยมติดลบ - สุทธิ เงินมัดจำและอื่นๆ รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2550 2549 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) 190,165,371 147,599,376 83,320,822 82,312,274 8 9 526,672,107 550,906,958 276,460,821 216,096,854 1,473,871,954 1,461,679,076 436,452,064 398,140,231 2,000,544,061 2,012,586,034 712,912,885 614,237,085 (2,420,485) (1,033,531) (2,357,396) (1,033,531) 1,998,123,576 2,011,552,503 710,555,489 613,203,554 9 336 2,227 16,904 5,952,395 10 1,711,323,322 1,370,554,543 479,003,298 359,901,802 17,541,161 375,545 1,761,399 - 5,531,090 11,045,381 1,267,050 3,913,241 48,033,304 7,736,951 4,682,674 3,693,401 15,871,494 2,658,263 6,821,445 910,240 7,713,995 4,536,169 2,799,045 1,454,436 15,085,567 13,081,486 1,677,282 1,982,297 109,776,611 39,433,795 19,008,895 11,953,615 4,009,389,216 3,569,142,444 1,291,905,408 1,073,323,640 11 - - 919,098,175 916,938,175 12 82,173,056 81,116,130 2,422,385 2,422,385 1,494,103 1,057,183 1,494,103 1,057,183 12,170,904 3,411,054 11,030,583 - 13 5,774,597,665 5,469,699,995 1,380,473,642 1,022,292,002 - 67,517 - - 14 (7,187,382) (10,781,070) - - 14 4,327,085 1,859,430 3,925,835 1,634,429 5,867,575,431 5,546,430,239 2,318,444,723 1,944,344,174 9,876,964,647 9,115,572,683 3,610,350,131 3,017,667,814
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2550 80 ANNUAL REPORT 2007
งบดุล (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2550 2549 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืม ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 15 3,724,086,344 3,420,514,246 869,104,492 821,647,428 เจ้าหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 9 51,264,377 67,794,102 352,812,201 284,466,494 1,370,045,041 1,151,867,258 319,065,250 258,873,109 กิจการอื่น รวมเจ้าหนี้การค้า 1,421,309,418 1,219,661,360 671,877,451 543,339,603 ส่วนของเจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 16 23,249,671 - 22,980,439 - ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 17 573,383,283 696,813,251 63,796,691 74,648,460 เจ้าหนี้อื่นและเงินทดรอง จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 9 9,155,383 10,812,304 7,860,577 13,124,337 หนี้สินหมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้อื่นจากการซื้ออุปกรณ์ 206,637,633 166,516,067 153,109,160 44,416,027 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 184,512,162 163,947,684 65,936,100 49,427,636 เจ้าหนี้อื่น 100,906,122 84,239,458 2,036,285 2,028,853 ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย - 5,947,667 - - ดอกเบี้ยค้างจ่าย 29,745,487 28,528,888 3,052,673 3,044,259 อื่นๆ 7,395,635 6,262,761 2,033,340 1,519,642 รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น 529,197,039 455,442,525 226,167,558 100,436,417 รวมหนี้สินหมุนเวียน 6,280,381,138 5,803,243,686 1,861,787,208 1,553,196,245 หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ จากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 16 82,377,862 - 82,377,862 - เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 17 804,112,967 1,029,053,947 43,380,460 48,245,412 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 886,490,829 1,029,053,947 125,758,322 48,245,412 รวมหนี้สิน 7,166,871,967 6,832,297,633 1,987,545,530 1,601,441,657
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2550 81 ANNUAL REPORT 2007
งบดุล (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2550 2549 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 18 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 500,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2549 : หุน้ สามัญ 450,000,000 หุน้ 500,000,000 450,000,000 500,000,000 450,000,000 มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ทุนออกจำหน่ายและชำระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 462,497,269 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2549 : หุน้ สามัญ 314,930,000 หุน้ 462,497,269 314,930,000 462,497,269 314,930,000 มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน (10,948,216) (7,401,612) - - ขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยง รอตัดบัญชี (9,209,143) (4,033,152) (3,668,754) (943,613) กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย 20 50,000,000 45,000,000 50,000,000 45,000,000 ยังไม่ ได้จัดสรร 989,319,751 736,893,328 96,581,086 39,844,770 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 2,499,054,661 2,102,783,564 1,622,804,601 1,416,226,157 หุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทย่อย 18.4 (14,809,577) (22,743,814) - - ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย 225,847,596 203,235,300 - - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 2,710,092,680 2,283,275,050 1,622,804,601 1,416,226,157 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 9,876,964,647 9,115,572,683 3,610,350,131 3,017,667,814
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2550 82 ANNUAL REPORT 2007
งบกำไรขาดทุน บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2550 2549 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) รายได้ รายได้จากการขาย 9 8,365,410,830 7,539,854,242 2,925,541,911 2,485,372,387 รายได้อื่น เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย 9, 11 - - - 125,743,680 กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 49,694,907 - 16,675,886 - ดอกเบี้ยรับ 9 32,300,303 32,052,945 31,063,508 32,920,394 132,370,489 124,047,816 46,724,773 40,032,610 อื่นๆ รวมรายได้อื่น 214,365,699 156,100,761 94,464,167 198,696,684 ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 12 4,688,915 20,121,805 - - รวมรายได้ 8,584,465,444 7,716,076,808 3,020,006,078 2,684,069,071 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย 9 6,894,218,870 6,409,811,630 2,511,007,989 2,244,184,977 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 9 1,113,440,936 1,053,579,150 401,083,068 348,039,868 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน - 26,465,673 - 5,906,527 ค่าเผื่อการด้อยค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย 11 - - - 172,411,586 รวมค่าใช้จ่าย 8,007,659,806 7,489,856,453 2,912,091,057 2,770,542,958 กำไร(ขาดทุน)ก่อนดอกเบี้ยจ่าย และภาษีเงินได้นิติบุคคล 576,805,638 226,220,355 107,915,021 (86,473,887) ดอกเบี้ยจ่าย (287,770,449) (296,124,223) (46,178,705) (42,327,512) ภาษีเงินได้นิติบุคคล 19 (10,517,497) (13,989,869) - - กำไร(ขาดทุน)หลังภาษีเงินได้นิติบุคคล 278,517,692 (83,893,737) 61,736,316 (128,801,399) กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ของบริษัทย่อย (21,091,269) (32,453,378) - - กำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับปี 257,426,423 (116,347,115) 61,736,316 (128,801,399) กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร(ขาดทุน)สุทธิ 0.66 (0.37) 0.16 (0.41) จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก (หุน้ ) 18.5 388,386,870 310,025,000 392,958,720 314,930,000 กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไร(ขาดทุน)สุทธิ 0.66 (0.37) 0.16 (0.41) จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก (หุน้ ) 18.5 388,386,870 310,025,000 392,958,720 314,930,000
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2550 83 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 84 ANNUAL REPORT 2007
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบการเงินรวม กำไร (ขาดทุน) กำไรสะสม จากการ หุ้นของบริษัทฯ ที่ ทุนเรือนหุ้นที่ออก ส่วนเกิน ผลต่างจากการ ป้องกันความเสี่ยง จัดสรรแล้ว - และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น แปลงค่างบการเงิน รอตัดบัญชี สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร ถือโดยบริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 (393,352) - 45,000,000 853,614,189 (20,593,627) - ตามที่รายงานไว้เดิม 314,930,000 1,017,395,000 - - - - - (373,746) - รายการปรับปรุงปีก่อน (หมายเหตุ 22) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 (393,352) - 45,000,000 853,240,443 (20,593,627) - หลังการปรับปรุง 314,930,000 1,017,395,000 รายการที่ยังไม่รู้ ในงบกำไรขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน - - (7,008,260) - - - - ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ งรอตัดบัญชี - - - (4,033,152) - - - ขาดทุนสุทธิสำหรับปี - - - - - (116,347,115) - บริษัทย่อยซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ - - - - - - (18,762,629) บริษัทย่อยจำหน่ายหุ้นสามัญของบริษัทฯ - - - - - - 16,612,442 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย - - - - - - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 314,930,000 1,017,395,000 (7,401,612) (4,033,152) 45,000,000 736,893,328 (22,743,814) หุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายระหว่างปี 147,567,269 - - - - - - รายการที่ยังไม่รู้ ในงบกำไรขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน - - (3,546,604) - - - - ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ งรอตัดบัญชี - - - (5,175,991) - - - จัดสรรเป็นสำรองตามกฎหมาย - - - - 5,000,000 (5,000,000) - กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - 257,426,423 - บริษัทย่อยจำหน่ายหุ้นสามัญของบริษัทฯ - - - - - - 7,934,237 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย - - - - - - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 462,497,269 1,017,395,000 (10,948,216) (9,209,143) 50,000,000 989,319,751 (14,809,577) ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย ของบริษัทย่อย 190,064,494 373,746 190,438,240 - - 32,453,378 - - (19,656,318) 203,235,300 - - - - 21,091,269 - 1,521,027 225,847,596
รวม 2,400,016,704 - 2,400,016,704 (7,008,260) (4,033,152) (83,893,737) (18,762,629) 16,612,442 (19,656,318) 2,283,275,050 147,567,269 (3,546,604) (5,175,991) - 278,517,692 7,934,237 1,521,027 2,710,092,680
(หน่วย : บาท)
รายงานประจำปี 2550 85 ANNUAL REPORT 2007
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบการเงินรวม กำไร (ขาดทุน) กำไรสะสม จากการ หุ้นของบริษัทฯ ที่ ทุนเรือนหุ้นที่ออก ส่วนเกิน ผลต่างจากการ ป้องกันความเสี่ยง จัดสรรแล้ว - และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น แปลงค่างบการเงิน รอตัดบัญชี สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร ถือโดยบริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 - 314,930,000 1,017,395,000 (393,352) - 45,000,000 853,240,443 (20,593,627) ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ - - 393,352 - - (684,594,274) 20,593,627 การบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม (หมายเหตุ 5) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 - หลังการปรับปรุง 314,930,000 1,017,395,000 - - 45,000,000 168,646,169 - รายการที่ยังไม่รู้ ในงบกำไรขาดทุน ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ งรอตัดบัญชี - - - (943,613) - - - - - - - - (128,801,399) - ขาดทุนสุทธิสำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - หลังการปรับปรุง 314,930,000 1,017,395,000 - (943,613) 45,000,000 39,844,770 - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - ตามที่รายงานไว้เดิม 314,930,000 1,017,395,000 (7,316,226) (943,613) 45,000,000 736,893,328 (22,743,814) ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ - - 7,316,226 - - (697,048,558) 22,743,814 การบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม (หมายเหตุ 5) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - หลังการปรับปรุง 314,930,000 1,017,395,000 - (943,613) 45,000,000 39,844,770 - - - - - - - หุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายระหว่างปี 147,567,269 รายการที่ยังไม่รู้ ในงบกำไรขาดทุน ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ งรอตัดบัญชี - - - (2,725,141) - - - จัดสรรเป็นสำรองตามกฎหมาย - - - - 5,000,000 (5,000,000) - กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - 61,736,316 - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 462,497,269 1,017,395,000 - (3,668,754) 50,000,000 96,581,086 -
2,209,578,464 (663,607,295) 1,545,971,169 (943,613) (128,801,399) 1,416,226,157 2,083,214,675 (666,988,518) 1,416,226,157 147,567,269 (2,725,141) - 61,736,316 1,622,804,601
รวม
(หน่วย : บาท)
งบกระแสเงินสด บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบการเงินรวม 2550 2549 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไร(ขาดทุน)สุทธิ 257,426,423 (116,347,115) ปรับกระทบกำไร(ขาดทุน)สุทธิเป็นเงินสดรับ(จ่าย) สุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน : ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (4,688,915) (20,121,805) ค่าเสื่อมราคา 551,263,417 532,184,229 (3,526,171) (3,526,171) ค่าความนิยมตัดจำหน่าย - สุทธิ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 29,942,634 29,942,634 หนี้สูญ 1,386,954 536,550 กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (25,529,411) (10,913,433) กำไรจากการจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร (1,409,366) (2,135,239) ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร 783,194 473,230 ส่วนลดจากการทำสัญญาป้องกันความเสี่ยง - 502,971 ดอกเบี้ยรับจากบริษัทร่วม (29,942,634) (29,942,634) ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายสินค้าคงเหลือ 14,938,184 6,421,871 ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าและสินค้าล้าสมัย 7,819,868 11,061,731 กำไรจากการตัดจำหน่ายเจ้าหนี้การค้า - (501,665) ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัทย่อย - - ขาดทุน(กำไร)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการปรับมูลค่า เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (436,920) 147,640 เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย - - ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยในกำไรสุทธิของบริษทั ย่อย 21,091,269 32,453,378 กำไรสุทธิจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน 819,118,526 430,236,172 สินทรัพย์จากการดำเนินงานลดลง(เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้า 10,187,437 (18,748,148) สินค้าคงเหลือ (363,526,831) (99,658,163) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (70,095,043) (14,857,955) สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น (13,498,238) 7,192,450 หนี้สินจากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้า 204,972,205 153,554,715 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 43,933,601 28,858,279 เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 631,091,657 486,577,350
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2550 86 ANNUAL REPORT 2007
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) 61,736,316 (128,801,399) - - 121,756,341 114,150,089 - - 29,942,634 29,942,634 1,323,865 896,208 (5,024,003) (4,900,386) (1,873,252) (2,478,591) 46,324 436,505 - 3,546 (29,942,634) (29,942,634) - - 2,963,938 8,428,191 - (501,665) - 172,411,586 (436,920) 147,640 - (125,743,680) - - 180,492,609 34,048,044 (94,132,442) 86,973,718 (122,065,434) (43,204,438) (6,363,080) (4,914,375) (13,321,989) (634,000) 127,197,359 111,547,164 11,018,099 6,762,658 82,825,122 190,578,771
งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบการเงินรวม 2550 2549 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น - - เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย - - เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ 22,057,521 12,084,933 เงินสดจ่ายในการซื้ออุปกรณ์ (729,601,155) (476,349,695) ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยลดลง 1,521,027 - ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) 85,386 (85,386) เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน (705,937,221) (464,350,148) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 308,116,817 514,500,271 เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว 349,126,844 179,046,112 เงินสดจ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะยาว (695,333,608) (719,178,784) เงินสดรับจากการเพิ่มทุน 147,567,269 - เงินปันผลจ่ายผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย - (19,656,318) บริษัทย่อยซื้อหุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ - (18,762,629) บริษัทย่อยจำหน่ายหุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ 7,934,237 16,612,442 เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน 117,411,559 (47,438,906) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) - สุทธิ 42,565,995 (25,211,704) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี 147,599,376 172,811,080 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี 190,165,371 147,599,376 ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายระหว่างปีสำหรับ ดอกเบี้ยจ่าย 294,362,092 294,660,455 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 20,795,350 21,635,593
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำปี 2550 87 ANNUAL REPORT 2007
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) (2,160,000) (250,000,000) - 125,743,680 2,260,537 12,009,407 (267,927,509) (231,525,588) - - - - (267,826,972) (343,772,501) 47,029,684 158,395,748 67,168,089 111,046,111 (75,754,644) (72,578,068) 147,567,269 - - - - - - - 186,010,398 196,863,791 1,008,548 43,670,061 82,312,274 38,642,213 83,320,822 82,312,274 50,214,092 43,269,056 764,647 738,361
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549
1. ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯและบริษัทย่อย
บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั จำกัดตามกฎหมายไทย และได้จดทะเบียน แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2535 บริษัทฯประกอบ กิจการในประเทศไทยโดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์แผ่นพิมพ์วงจร โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียน เลขที่ 125 - 125/1, 1 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทจำกัดตามกฎหมายไทย โดยมีที่อยู่ ตามทีจ่ ดทะเบียนเลขที่ 677 หมู่ 4 เขตอุตสาหกรรมส่งออก นิคมอุตสาหกรรมบางปู ถนนสุขมุ วิท ตำบลแพรกษา อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ บริษทั ย่อยประกอบกิจการในประเทศไทย โดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจร บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทจำกัดตามกฎหมายไทย โดยมี ทีอ่ ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียนเลขที่ 115/2 หมู่ 4 เขตอุตสาหกรรมส่งออก นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร บริษัทย่อยประกอบกิจการในประเทศไทยโดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายแผ่นพรีเพกและ ลามิเนต ให้กบั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยสองแห่ง (บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด และบริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด) บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั จำกัดตามกฎหมายไทย โดยมีทอี่ ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียน เลขที่ 117 - 118 หมู่ 1 นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริษทั ย่อยประกอบ กิจการในประเทศไทยโดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจร บริษทั เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั จำกัดตามกฎหมายไทย โดยมีทอี่ ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียน เลขที่ 100/61 อาคารว่องวานิช ชัน้ ที่ 21 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร บริษทั ย่อยประกอบกิจการ ในประเทศไทยโดยดำเนินธุรกิจหลักเป็นตัวแทนขายในประเทศให้กับบริษัทฯและบริษัทในเครือ
2. เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน
งบการเงินนีจ้ ดั ทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการ ในงบการเงินได้ทำขึน้ เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความ ในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินนี้ ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะเปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี บริษัทฯได้จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ตามวิธีราคาทุน
รายงานประจำปี 2550 88 ANNUAL REPORT 2007
3. เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม
3.1 งบการเงินรวมนี้ ได้จดั ทำขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษทั ฯ”)
และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้
ร้อยละของรายได้ที่รวมอยู่ ร้อยละของสินทรัพย์ที่ ในรายได้รวมสำหรับปี อัตราการถือหุ้น รวมอยู่ ในสินทรัพย์รวม สิ้นสุดวันที่ 31 (ร้อยละ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม ธันวาคม ชื่อบริษัท 2550 2549 2550 2549 2550 2549 ถือหุ้นโดยบริษัทฯ บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 94.99 94.99 9 12 15 19 บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด 100.00 100.00 54 57 50 49 บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด 70.24 70.24 9 8 2 2 (ถือหุ้นโดยบริษัทฯร้อยละ 52.00 และ บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด ร้อยละ 19.20) บริษัท เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด 60.00 - 1 - 1 - ถือหุ้นโดยบริษัทย่อย บริษัท คอนสแตน พีทีอี จำกัด 100.00 100.00 - - - - (ถือหุน้ โดยบริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ร้อยละ 100.00) ในระหว่างปี 2550 บริษัท คอนสแตน พีทีอี จำกัด ซึ่งถือหุ้นโดย บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็น บริษัทย่อยของบริษัทฯได้ดำเนินการชำระบัญชีภายใต้กฎหมายของสิงคโปร์และปิดกิจการแล้วตามที่กล่าวไว้ ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11 3.2 งบการเงินของบริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ซึง่ จัดตัง้ ขึน้ ในต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้ อัตราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ณ วันที่ในงบดุล สำหรับรายการสินทรัพย์และหนีส้ นิ หรืออัตราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ รายเดือน ในระหว่างปี สำหรับรายได้และค่าใช้จา่ ย ผลต่างซึง่ เกิดขึน้ จากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่าง จากการแปลงค่างบการเงิน” ในส่วนของผู้ถือหุ้น 3.3 ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อยและรายการค้าระหว่างกันทีม่ สี าระสำคัญและยอดเงินลงทุนในบริษทั ย่อย
ในบัญชีของบริษัทฯและส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยได้ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว 3.4 ส่วนเกินของราคาทุนทีส่ งู กว่าราคาตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ณ วันซือ้ หุน้ ได้แสดงไว้เป็น “ค่าความนิยม” ภายใต้สนิ ทรัพย์ ไม่หมุนเวียนในงบดุลรวม ส่วนเกินนีจ้ ะถูกตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จา่ ยภายในระยะเวลา 5 และ 10 ปี นับตั้งแต่วันที่เข้าซื้อหุ้นในบริษัทย่อย รายงานประจำปี 2550 89 ANNUAL REPORT 2007
3.5 มูลค่าเงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีต่ ำ่ กว่ามูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิตามบัญชีของบริษทั ย่อย ณ วันซือ้ หุน้ ได้แสดงไว้เป็น “ค่าความ นิยมติดลบ” ภายใต้สนิ ทรัพย์ ไม่หมุนเวียนในงบดุลรวม ส่วนต่ำนีจ้ ะถูกรับรูเ้ ป็นรายได้ภายในระยะเวลา 5 ปี นับตัง้ แต่ วันที่เข้าซื้อหุ้นในบริษัทย่อย
4. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่
สภาวิชาชีพบัญชี ได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับ มาตรฐานการบัญชี โดยให้ ใช้มาตรฐานการบัญชี ใหม่ดังต่อไปนี้
ก) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน
ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เงินลงทุนในบริษัทร่วม ฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นให้ถอื ปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 เป็นต้นไป ในระหว่างไตรมาสที่ 1 ของปีปัจจุบัน บริษัทฯได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 ฉบับปรับปรุงใหม่ ตามที่กล่าวไว้ ใน หมายเหตุ 5
ข) มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน
ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) สัญญาเช่า ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) สินค้าคงเหลือ ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ต้นทุนการกู้ยืม ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 51 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นให้ถอื ปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าวจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็น สาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) กำหนดให้บริษทั ฯไม่ตอ้ งตัดจำหน่ายค่าความนิยมรวมทัง้ ค่าความนิยม ติดลบจากการรวมธุรกิจอีกต่อไป แต่บริษทั ฯต้องทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมและแสดงค่าความนิยมด้วยราคาทุน หักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ในกรณีค่าความนิยมติดลบให้ประเมินการระบุและการวัดมูลค่าสินทรัพย์หนี้สินและหนี้ที่ อาจเกิดขึน้ ของผูถ้ กู ซือ้ ใหม่รวมทัง้ ประเมินต้นทุนการรวมธุรกิจใหม่กอ่ นรับรูส้ ว่ นเกินทีค่ งเหลือเข้างบกำไรขาดทุนทันที โดยให้ถือปฏิบัติสำหรับค่าความนิยมที่เกิดจากการรวมธุรกิจซึ่งมีข้อตกลงตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป รายงานประจำปี 2550 90 ANNUAL REPORT 2007
ส่วนค่าความนิยมที่รับรู้ก่อนหน้านี้ ให้ปฏิบัติตามแนวทางที่มาตรฐานการบัญชีกำหนด ดังนั้นในปี 2551 บริษัทฯจะ พิจารณาปรับปรุงค่าความนิยมติดลบที่มีอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ตามแนวทางที่มาตรฐานกำหนดต่อไป
5. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ
ในระหว่างไตรมาสที่ 1 ของปีปจั จุบนั บริษทั ฯได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ จากวิธสี ว่ นได้เสียเป็นวิธรี าคาทุนตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรือ่ ง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึง่ กำหนดให้เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและเงินลงทุนในบริษทั ร่วมในงบการเงิน เฉพาะกิจการต้องแสดงตามวิธีราคาทุน ในการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว บริษทั ฯได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการงวดก่อนทีน่ ำมาแสดง เปรียบเทียบเสมือนว่าบริษัทฯได้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน
มาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้บริษัทฯมีกำไรสุทธิในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ลดลงเป็นจำนวน 195.7 ล้านบาท (0.50 บาทต่อหุน้ ) และขาดทุนสุทธิในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการสำหรับปีสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวน 12.5 ล้านบาท (0.04 บาทต่อหุน้ ) ตามลำดับ ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลง นโยบายการบัญชีดงั กล่าวได้แสดงไว้ในหัวข้อ “ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการแล้ว ทัง้ นีก้ ารเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว มีผลกระทบเฉพาะต่อรายการบัญชีทเี่ กีย่ วข้องกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการเท่านั้น ไม่ ได้มีผลกระทบต่องบการเงินรวมแต่อย่างใด
6. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ
นโยบายการบัญชีที่สำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยโดยสรุปมีดังต่อไปนี้
6.1 การรับรู้รายได้ ก) ขายสินค้า
รายได้จากการขายสินค้ารับรูเ้ มือ่ บริษทั ฯได้ โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ ป็นสาระสำคัญของความเป็น เจ้าของสินค้าให้กบั ผูซ้ อื้ แล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำกับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ สำหรับสินค้าที่ ได้ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว
ข) ดอกเบี้ยรับ
ดอกเบี้ยถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง
ค) เงินปันผลรับ
เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อมีสิทธิในการรับเงินปันผล รายงานประจำปี 2550 91 ANNUAL REPORT 2007
6.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึ่งมีกำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน นับตั้งแต่วันที่ ได้มาและไม่มีข้อจำกัดในการเบิกใช้
6.3 ลูกหนี้การค้าและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ลูกหนีก้ ารค้าแสดงตามมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุน โดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนี้ ไม่ได้ โดยอาศัยการวิเคราะห์อายุลกู หนีแ้ ละสถานะปัจจุบนั ของลูกหนี ้ คงค้าง ณ วันที่ ในงบดุล รวมถึงแนวโน้มที่จะได้รับชำระเงินจากลูกหนี้ โดยพิจารณาเป็นรายๆ ไป
6.4 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำนาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกควบคุม โดยบริษัทฯไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ยั ง หมายรวมถึ ง บริ ษั ท ร่ ว มและบุ ค คลซึ่ ง มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งเป็ น
สาระสำคัญกับบริษัทฯ ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุม การดำเนินงานของบริษัทฯ
6.5 สินค้าคงเหลือและค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าและสินค้าล้าสมัย
สินค้าสำเร็จรูปและงานระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก) หรือมูลค่าสุทธิที่จะ ได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนดังกล่าวประกอบด้วยต้นทุนของวัตถุดบิ ค่าแรงทางตรงและค่าโสหุย้ ในการผลิต วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง อะไหล่ และอุปกรณ์โรงงานแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก) หรือ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า และจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับของสินค้าประมาณจากราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายใน การขายสินค้านั้น ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าและสินค้าล้าสมัยจะตั้งขึ้นสำหรับสินค้าที่ล้าสมัย เคลื่อนไหวช้าหรือเสื่อมคุณภาพ
6.6 เงินลงทุน
ก) เงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ข) เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่า ตามวิธีราคาทุน
ค) เงินลงทุนในตราสารทุนในความต้องการของตลาดซึง่ ถือเป็นหลักทรัพย์เพือ่ ค้าแสดงตาม มูลค่ายุตธิ รรม ซึง่ คำนวณ จากราคาเสนอซือ้ หลังสุด ณ สิน้ วันทำการสุดท้ายของปีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มูลค่าทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป รายงานประจำปี 2550 92 ANNUAL REPORT 2007
ของหลักทรัพย์ดังกล่าว จะบันทึกเป็นกำไรหรือขาดทุนในงบกำไรขาดทุน ต้นทุนของเงินลงทุนดังกล่าวคำนวณ โดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
ง) หุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ ในงบการเงินรวมแสดงตามราคาทุนซึ่งเป็นรายการหักในส่วนของ
ผู้ถือหุ้นและกำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายหุ้นดังกล่าวจะบันทึกเข้าไปในส่วนของผู้ถือหุ้น
6.7 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา
ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหลังหักค่าเสื่อมราคาสะสมและ ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนโดยใช้วธิ เี ส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของ สินทรัพย์ดังต่อไปนี้ :-
อาคารและโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน ส่วนปรับปรุงโรงงานและสำนักงาน เครื่องตกแต่งติดตั้งและอุปกรณ์สำนักงาน ยานพาหนะ
- - - - -
20 - 25 ปี 5 - 20 ปี 5 - 20 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี
ไม่มกี ารคิดค่าเสือ่ มราคาสำหรับทีด่ นิ งานระหว่างก่อสร้าง และเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ระหว่างทางและระหว่างติดตัง้
6.8 การบันทึกต้นทุนการกู้ยืมเงินเป็นราคาทุนของทรัพย์สิน
ต้นทุนการกู้ยืมซึ่งเกี่ยวเนื่องกับเงินกู้ยืมที่กู้มาโดยเฉพาะสำหรับการจัดหาสินทรัพย์ถาวรจะถูกนำไปรวมเป็น ส่วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์ถาวรจนกว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นจะอยู่ ในสภาพพร้อมที่จะใช้งาน
6.9 การด้อยค่าของสินทรัพย์
ณ วันที่ในงบดุล บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะประเมินว่ามีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์มกี ารด้อยค่าหรือไม่ หากมีขอ้ บ่งชี้ ว่าสินทรัพย์นั้นด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ (มูลค่าที่คาดว่า จะได้รับคืนของสินทรัพย์หมายถึงราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์นั้นแล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า) หากราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สงู กว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะลดมูลค่าของสินทรัพย์นนั้ ลงให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน และรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ในงบกำไรขาดทุน
6.10 สัญญาเช่าทางการเงิน
บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินเป็นสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ กีย่ วข้องด้วยจำนวน เท่ากับราคายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า ณ วันเริ่มต้นของสัญญาหรือมูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่าย ตามสัญญาแล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า ซึง่ ใช้อตั ราดอกเบีย้ ตามสัญญาสำหรับการคิดลดเพือ่ คำนวณมูลค่าปัจจุบนั ของ จำนวนเงินขัน้ ต่ำทีต่ อ้ งจ่ายโดยดอกเบีย้ จ่ายจะถูกบันทึกตามงวดต่างๆ ตลอดอายุสญ ั ญาเช่าการเงิน ตามยอดคงเหลือ ของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินในแต่ละงวด รายงานประจำปี 2550 93 ANNUAL REPORT 2007
6.11 ค่าความนิยม/ค่าความนิยมติดลบ
ส่วนของต้นทุนเงินลงทุนในบริษัทย่อยที่สูงกว่า/ต่ำกว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินที่ระบุได้ของ บริษทั ย่อยเฉพาะส่วนทีเ่ ป็นของบริษทั ฯ ณ วันซือ้ หุน้ ถือเป็นค่าความนิยม/ค่าความนิยมติดลบ และจะถูกตัดจำหน่ายเป็น ค่าใช้จ่าย/รับรู้เป็นรายได้ โดยวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 5 และ 10 ปี
6.12 ผลประโยชน์พนักงาน
บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ
6.13 ภาษีเงินได้
บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร
6.14 สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า
ลูกหนีแ้ ละเจ้าหนีต้ ามสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูกแปลงค่าตามอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ ปี บัญชี กำไรขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ส่วนเกิน หรือส่วนลดที่เกิดขึ้นจากการทำสัญญาจะถูกตัดจำหน่ายด้วยวิธีเส้นตรงตามอายุของสัญญา
6.15 เงินตราต่างประเทศ
รายการทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศซึง่ เกิดขึน้ ระหว่างปีได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันที่ ทีเ่ กิดรายการ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศคงเหลืออยู่ ณ วันที่ในงบดุลแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ ในงบดุล กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ ในการคำนวณผลการดำเนินงาน
6.16 เครื่องมือทางการเงิน
บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีเครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำคัญทีแ่ สดงในงบดุลประกอบด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสด ลูกหนี้การค้า เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว
บริษทั ฯและบริษทั ย่อยเข้าทำสัญญาตราสารอนุพนั ธ์นอกงบดุลเพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากราคาวัตถุดบิ โดยบันทึก การเปลีย่ นแปลงมูลค่ายุตธิ รรมของสัญญา ณ วันสิน้ งวด โดยแสดงเป็นรายการในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และจะรับรูเ้ ป็นต้นทุน ของวัตถุดิบเมื่อเบิกใช้
รายงานประจำปี 2550 94 ANNUAL REPORT 2007
6.17 การใช้ประมาณการทางบัญชี
ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ในบางสถานการณ์ฝา่ ยบริหารอาจต้องใช้การประมาณ และการตัง้ สมมติฐาน ซึง่ มีผลกระทบต่อจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณไว้
7. ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงบกระแสเงินสด
รายการกิจกรรมลงทุน ซึง่ ไม่เกีย่ วข้องกับกระแสเงินสดสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดงั ต่อไปนี ้
ซื้อสินทรัพย์ถาวร - สุทธิ บวก(หัก) : เจ้าหนี้อื่นจากการซื้อสินทรัพย์ถาวร เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกันจากการ ซื้อสินทรัพย์ถาวร เจ้าหนี้ตั๋วเงินจ่ายทรัสต์รีซีท เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ เงินมัดจำค่าสินทรัพย์ถาวร ดอกเบี้ยค้างจ่ายที่บันทึกเป็นต้นทุนของ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกันจากการขาย สินทรัพย์ถาวร อื่นๆ
งบการเงินรวม 2550 2549 318,103,268 282,757,219 (209,345,797) (167,409,734) - - - (113,969,117) (105,627,533) (704,214) (3,118,404) - - (607,665) - - (11,534) (66,489) - -
รายงานประจำปี 2550 95 ANNUAL REPORT 2007
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 263,740,884 50,890,299 (153,109,160) (44,534,651) (5,273,423) (11,685,648) - - (105,358,301) - - - - - - 5,330,000 - - - -
8. ลูกหนี้การค้า
ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 แยกตามอายุหนี้ที่ค้างนับจากวันที่ถึง กำหนดชำระได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ อายุหนี้ค้างชำระ 2550 2549 2550 2549 ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำหนดชำระหนี้ 416,623,641 456,260,855 222,528,754 170,150,633 เกินกำหนด น้อยกว่า 3 เดือน 105,797,248 94,144,072 53,519,803 45,792,417 - 84,935 3 - 6 เดือน 2,579,766 309,308 6 - 12 เดือน 383,494 144,705 375,646 20,851 มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป 1,287,958 48,018 36,618 48,018 รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 526,672,107 550,906,958 276,460,821 216,096,854 ลูกหนี้การค้า - อื่น ๆ ยังไม่ครบกำหนดชำระหนี้ 1,355,432,980 1,264,238,473 393,500,515 323,879,203 เกินกำหนด น้อยกว่า 3 เดือน 94,344,264 190,365,839 35,871,371 69,013,968 3 - 6 เดือน 10,362,734 4,817,779 2,442,566 3,051,742 6 - 12 เดือน 11,781,678 1,799,906 2,813,492 1,738,239 มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป 1,950,298 457,079 1,824,120 457,079 รวมลูกหนี้การค้า - อื่น ๆ 1,473,871,954 1,461,679,076 436,452,064 398,140,231 รวมลูกหนี้การค้า 2,000,544,061 2,012,586,034 712,912,885 614,237,085 หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (2,420,485) (1,033,531) (2,357,396) (1,033,531) ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 1,998,123,576 2,011,552,503 710,555,489 613,203,554
รายงานประจำปี 2550 96 ANNUAL REPORT 2007
9. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ในระหว่างปี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายการธุรกิจทีส่ ำคัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าว เป็นไปตามเงือ่ นไขทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั ฯและบริษทั เหล่านัน้ ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจ โดยสามารถ สรุปได้ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุด สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม นโยบายการกำหนดราคา 2550 2549 2550 2549 รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้า - - 300.0 272.8 ราคาตลาดและราคาที่ตกลง ร่วมกันของงานสั่งทำ แต่ละผลิตภัณฑ์ ค่าขายสินทรัพย์ถาวร - - 0.3 8.8 ราคาตามบัญชีสุทธิบวกกำไร และราคาที่ตกลงร่วมกัน เงินปันผลรับ - - - 125.7 ตามอัตราที่ประกาศจ่าย ซื้อสินค้า - - 927.2 799.2 ราคาตลาดและราคาที่ตกลง ร่วมกันของงานสั่งทำ แต่ละผลิตภัณฑ์ ค่าซื้อสินทรัพย์ถาวร - - 37.2 29.4 ราคาที่ตกลงร่วมกัน รายการธุรกิจกับบริษัทร่วม ขายสินค้า 1,833.5 1,782.7 604.6 532.4 ราคาตลาดสำหรับสินค้าที่มี คุณภาพใกล้เคียงกันและ เงื่อนไขการขายเช่นเดียวกัน ค่าขายสินทรัพย์ถาวร 20.4 - - - ราคาตามบัญชีสุทธิบวกกำไร และราคาที่ตกลงร่วมกัน ซื้อวัตถุดิบ 236.4 257.1 83.4 101.6 ราคาตลาดสำหรับสินค้าที่มี คุณภาพใกล้เคียงกันและ เงื่อนไขการซื้อเช่นเดียวกัน ค่าซื้อสินทรัพย์ถาวร 23.7 - 2.4 - ราคาที่ตกลงร่วมกัน ค่านายหน้าจ่าย 47.6 40.0 23.3 20.4 อัตราที่ตกลงกันซึ่งเป็น อัตราทั่วไปสำหรับธุรกิจ ประเภทเดียวกัน รายการธุรกิจกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ดอกเบี้ยรับ 29.9 29.9 29.9 29.9 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 7.5 ต่อปี รายงานประจำปี 2550 97 ANNUAL REPORT 2007
ยอดคงค้างของรายการข้างต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 2550 2549 ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด - - 73,789,592 65,763,955 บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด - - 21,831,476 6,791,283 บริษัท เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด - - 5,092,617 - บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด - - 1,515,678 737,348 รวมลูกหนี้การค้าบริษัทย่อย - - 102,229,363 73,292,586 บริษัทร่วม บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด 474,563,257 487,655,378 146,830,692 104,504,723 บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด 52,108,850 63,251,580 27,400,766 38,299,545 รวมลูกหนี้การค้าบริษัทร่วม 526,672,107 550,906,958 174,231,458 142,804,268 รวมลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน 526,672,107 550,906,958 276,460,821 216,096,854 ลูกหนี้อื่นและเงินให้กยู้ ืมระยะสั้น แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด บริษัท เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด รวมลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด รวมลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อวาตา ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น เงินให้กู้ยืม ดอกเบี้ยค้างรับ หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้อื่นและเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่ เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ
336 336 399,235,126 271,226,834 670,461,960 (670,461,960) -
2,227 2,227 399,235,126 241,284,199 640,519,325 (640,519,325) -
8,904 8,000 - 16,904 - - 399,235,126 271,226,834 670,461,960 (670,461,960) -
336
2,227
16,904
- - - -
- - - -
รายงานประจำปี 2550 98 ANNUAL REPORT 2007
5,620,846 - 331,549 5,952,395 - - 399,235,126 241,284,199 640,519,325 (640,519,325) - 5,952,395
เจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด รวมเจ้าหนี้การค้าบริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด รวมเจ้าหนี้การค้าบริษัทร่วม รวมเจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด รวมเจ้าหนี้อื่นและเงินทดรองจากบริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด รวมเจ้าหนี้อื่นและเงินทดรองจากบริษัทร่วม รวมเจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรองจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 2550 2549 - - 251,855,678 60,799,674 - - 82,968,607 185,010,106 - - 3,507,609 14,168,199 - - 338,331,894 259,977,979 51,264,377 67,794,102 14,480,307 24,488,515 51,264,377 67,794,102 14,480,307 24,488,515 51,264,377 67,794,102 352,812,201 284,466,494
- - - -
9,155,383 - 9,155,383 9,155,383
- - - -
10,733,972 78,332 10,812,304 10,812,304
4,911,223 - 778,408 5,689,631 2,170,946 - 2,170,946 7,860,577
10,053,424 1,657,394 - 11,710,818 1,413,519 - 1,413,519 13,124,337
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2550 และ 2549 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้บันทึกเงินเดือน โบนัส กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และค่าเบี้ย ประชุมให้แก่กรรมการและผู้บริหาร เป็นจำนวนเงิน 55.9 ล้านบาท และ 53.7 ล้านบาท (เฉพาะกรรมการบริหาร จำนวน 20.9 ล้านบาทตามที่เคยเปิดเผยในงบการเงินปี 2549) ตามลำดับ (เฉพาะกิจการ : 30.4 ล้านบาท และ 29.6 ล้านบาท (เฉพาะกรรมการบริหารจำนวน 16.2 ล้านบาทตามที่เคยเปิดเผยในงบการเงินปี 2549) ตามลำดับ ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระจากการค้ำประกันให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 27.4 รายงานประจำปี 2550 99 ANNUAL REPORT 2007
10. สินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ประกอบด้วย งบการเงินรวม 2550 2549 สินค้าสำเร็จรูป 295,267,443 175,582,503 งานระหว่างทำ 434,467,075 367,903,186 วัตถุดิบ 466,785,436 320,873,744 วัสดุสิ้นเปลือง 264,216,713 236,206,148 อะไหล่และอุปกรณ์ 207,189,884 203,056,390 สินค้าระหว่างทาง 72,069,515 87,785,448 รวม 1,739,996,066 1,391,407,419 หัก : ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าและสินค้าล้าสมัย (28,672,744) (20,852,876) สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 1,711,323,322 1,370,554,543
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 75,010,922 36,546,162 141,904,345 93,822,265 94,194,945 62,716,303 107,792,156 98,175,577 63,834,735 65,996,749 11,961,259 15,375,872 494,698,362 372,632,928 (15,695,064) (12,731,126) 479,003,298 359,901,802
11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย
ชื่อบริษัท
ทุนเรียกชำระแล้ว 2550 2549 บริษัท เค ซี อี 100,000,000 100,000,000 อินเตอร์เนชั่นแนล บาท บาท จำกัด บริษัท ไทยลามิเนต 250,000,000 250,000,000 แมนูแฟคเจอเรอร์ บาท บาท จำกัด บริษัท เคซีอี 1,150,000,000 1,150,000,000 เทคโนโลยี บาท บาท จำกัด บริษัท เคซีอี 3,600,000 (ประเทศไทย) บาท - จำกัด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าเผื่อการด้อยค่าของ สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน เงินลงทุน 2550 2549 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ 94.993 94.993 172,499,000 172,499,000 - - 52.000 52.000 157,710,310 157,710,310 - - 100.000 100.000 1,150,000,000 1,150,000,000 (563,271,135) (563,271,135) 60.000 - 2,160,000 - - - 1,482,369,310 1,480,209,310 (563,271,135) (563,271,135)
(หน่วย : บาท) มูลค่าตามบัญชีตาม เงินปันผลรับระหว่างปีสิ้นสุด วิธีราคาทุน-สุทธิ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 2550 2549 172,499,000 172,499,000 - 99,743,700 157,710,310 157,710,310 - 25,999,980 586,728,865 586,728,865 - - 2,160,000 - - - 919,098,175 916,938,175 - 125,743,680
จากผลกระทบของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 เรื่องงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทฯได้บันทึก เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีราคาทุนโดยปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการเสมือนบันทึก เงินลงทุนตามวิธีราคาทุน มาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯได้พจิ ารณามูลค่าเงินลงทุนในบริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ซึ่งมียอดขาดทุนสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 จำนวนประมาณ 565 ล้านบาท บริษัทฯได้ตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของ เงินลงทุนในบริษัทย่อยดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เป็นจำนวนประมาณ 563 ล้านบาท แม้ว่าต่อมาในปี 2550 บริษัทย่อยดังกล่าวจะมีผลการดำเนินงานดีขึ้น แต่บริษัทฯจะพิจารณาปรับปรุงค่าเผื่อดังกล่าวเมื่อบริษัทย่อยมีผลกำไรจาก การดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ รายงานประจำปี 2550 100 ANNUAL REPORT 2007
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2549 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็น บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ย่อยจ่ายเงินปันผลจากการดำเนินงานปีกอ่ นๆ ในอัตรา หุน้ ละ 10.50 บาท รวมเป็น จำนวนทั้งสิ้น 105 ล้านบาท โดยบริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยในวันที่ 23 สิงหาคม 2549 และวันที่ 13 กันยายน 2549 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2549 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึ่งเป็น บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้มีมติอนุมัติให้บริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลจากการดำเนินงานปีก่อนๆ ในอัตรา หุ้นละ 2 บาท รวมเป็น จำนวนทั้งสิ้น 50 ล้านบาท โดยบริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยในวันที่ 30 สิงหาคม 2549 เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2549 และ 31 กรกฎาคม 2549 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ มีมติพเิ ศษอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 900 ล้านบาท (หุน้ สามัญ 90 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) เป็น 1,400 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 140 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) โดยการออก
หุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 50 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยเรียกชำระแล้วเป็นจำนวน 250 ล้านบาท และ บริษัทย่อยได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2549 เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2550 บริษัทฯได้ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด จำนวน 216,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท เป็นจำนวนเงิน 2.16 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 60 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกล่าว เมือ่ วันที่ 10 เมษายน 2550 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั คอนสแตน พีทอี ี จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษัทย่อยของบริษัทฯมีมติอนุมัติให้ปิดบริษัท โดยบริษัทดังกล่าวได้ดำเนินการชำระบัญชีภายใต้กฎหมายของสิงคโปร์ เสร็จสิ้นแล้วเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2550
12. เงินลงทุนในบริษัทร่วม 12.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษัทร่วม
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม มูลค่าตามบัญชี สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ 2550 2549 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ ตัวแทนขายใน สหรัฐอเมริกา จำกัด ต่างประเทศให้ กับบริษัทและ บริษัทในเครือ 48.750 48.750 643,633 643,633 56,461,901 58,558,481 บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอ ี ตัวแทนขายใน สิงคโปร์ จำกัด ต่างประเทศให้ กับบริษัทฯและ บริษัทในเครือ 47.770 47.770 4,201,138 4,201,138 25,711,155 22,557,649 รวม 4,844,771 4,844,771 82,173,056 81,116,130 จัดตั้งใน ประเทศ
รายงานประจำปี 2550 101 ANNUAL REPORT 2007
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ 25.00 25.00 321,816 321,816 24.50 24.50 2,100,569 2,100,569 2,422,385 2,422,385
ชื่อบริษัท บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด รวม
งบการเงินรวม ส่วนแบ่งกำไรจาก เงินลงทุนในบริษัทร่วมในระหว่างปี 2550 2549 1,458,266 19,078,022 3,230,649 1,043,783 4,688,915 20,121,805
ชื่อบริษัท บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด รวม
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินปันผลรับระหว่างปี 2550 2549 - - -
- - -
สำหรับปี 2550 ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมสองแห่งข้างต้นคำนวณจากงบการเงิน ซึ่งยังมิได้ ผ่านการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั ร่วม เนือ่ งจากบริษทั ร่วมทัง้ สองแห่งดังกล่าวอยู่ในต่างประเทศ และบริษทั ฯ ไม่มอี ำนาจในการกำหนดนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของบริษทั เหล่านัน้ รวมทัง้ การจัดให้มกี ารตรวจสอบ งบการเงิน
12.2 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วม
(หน่วย : พันบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้รวมสำหรับ กำไรสุทธิสำหรับปี ทุนเรียกชำระ ณ วันที่ ณ วันที่ ปีสิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม บริษัท 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549 บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ 50,000 เหรียญ 50,000 เหรียญ 586,706 620,254 479,684 519,916 1,645,420 1,871,233 13,595 27,522 จำกัด สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา บริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี 500,000 500,000 159,397 180,441 110,905 137,916 630,708 503,520 6,153 1,326 จำกัด เหรียญสิงคโปร์ เหรียญสิงคโปร์
รายงานประจำปี 2550 102 ANNUAL REPORT 2007
ในปี 2541 บริษทั ฯได้จา่ ยชำระหนีส้ นิ ทีเ่ กิดขึน้ จากการค้ำประกันเงินกูย้ มื ของบริษทั อวาตา ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชัน่ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทร่วมแห่งหนึ่งเป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 399 ล้านบาท ในงบการเงินรวมและใน
งบการเงินเฉพาะของบริษทั ฯ บริษทั ดังกล่าวได้ดำเนินการชำระบัญชีภายใต้กฎหมายของสหรัฐอเมริกา (Chapter 7 of the U.S. Federal Bankruptcy Code) เสร็จสิ้นแล้ว โดยบริษัทฯไม่ ได้รับ ชำระหนี้จากบริษัทดังกล่าว อย่างไร ก็ตาม บริษทั ฯกำลังอยูร่ ะหว่างการเตรียมการยืน่ ฟ้องร้องบริษทั ดังกล่าวต่อศาลในประเทศไทยต่อไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัทฯบันทึกรายการหนี้สินที่เกิดจากการค้ำประกันเงินกู้ยืมของบริษัทดังกล่าวเป็นเงินให้กู้ยืม ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับเงินให้กู้ยืมดังกล่าวและรายการค้างรับอื่นๆ จากบริษัทดังกล่าวทั้งจำนวนตามรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9
รายงานประจำปี 2550 103 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 104 ANNUAL REPORT 2007
404,790,982 - - - 404,790,982 - - - - 404,790,982 404,790,982
ที่ดิน
อาคาร และโรงงาน 600,212,586 2,122,222 28,544,531 - 630,879,339 186,766,703 27,047,148 - 213,813,851 413,445,883 417,065,488 6,082,471,666 129,276,736 710,823,955 (30,371,830) 6,892,200,527 2,321,142,028 454,494,343 (13,749,465) 2,761,886,906 3,761,329,638 4,130,313,621
เครื่องจักร และอุปกรณ์ โรงงาน
ส่วนปรับปรุง โรงงาน 81,819,381 33,964,601 20,008,942 (5,140) 135,787,784 51,115,939 7,391,857 (5,139) 58,502,657 30,703,442 77,285,127
ปี 2550 (488.9 ล้านบาท รวมอยู่ ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)
เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สำนักงาน 512,286,116 9,220,967 25,317,318 (14,277,303) 532,547,098 249,209,857 56,277,760 (9,717,996) 295,769,621 263,076,259 236,777,477
ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี : ปี 2549 (472.1 ล้านบาท รวมอยู่ ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)
ราคาทุน : ณ 31 ธันวาคม 2549 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า (โอนออก) จำหน่าย ณ 31 ธันวาคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสะสม : ณ 31 ธันวาคม 2549 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ค่าเสื่อมราคาสะสม สำหรับสินทรัพย์ ที่จำหน่ายระหว่างปี ณ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าสุทธิตามบัญชี : ณ 31 ธันวาคม 2549 ณ 31 ธันวาคม 2550
13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ งบการเงินรวม ส่วนปรับปรุง สำนักงาน 11,986,326 387,557 150,000 - 12,523,883 7,235,491 969,526 - 8,205,017 4,750,835 4,318,866
โรงงานและ ส่วนปรับปรุง โรงงานระหว่าง ยานพาหนะ ก่อสร้าง 44,196,297 16,604,110 2,012,370 13,411,806 - (28,950,311) (5,413,886) - 40,794,781 1,065,605 28,516,257 - 5,082,783 - (5,164,194) - 28,434,846 - 15,680,040 16,604,110 12,359,935 1,065,605
เครื่องจักรและ อุปกรณ์ ระหว่าง ติดตั้ง 544,882,794 619,427,886 (740,506,473) - 423,804,207 - - - - 544,882,794 423,804,207
เครื่องจักร และอุปกรณ์ ระหว่างทาง 14,436,012 67,768,307 (15,387,962) - 66,816,357 - - - - 14,436,012 66,816,357
551,263,417
532,184,229
(หน่วย : บาท) รวม 8,313,686,270 877,592,452 - (50,068,159) 9,141,210,563 2,843,986,275 551,263,417 (28,636,794) 3,366,612,898 5,469,699,995 5,774,597,665
รายงานประจำปี 2550 105 ANNUAL REPORT 2007
231,603,891 - - - 231,603,891 - - - - 231,603,891 231,603,891
ที่ดิน
เครื่องจักร อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนปรับปรุง และโรงงาน โรงงาน โรงงาน 81,125,125 1,346,362,653 48,622,482 - 122,219,624 31,110,114 - 264,025,993 14,132,574 - (26,049,102) - 81,125,125 1,706,559,168 93,865,170 51,941,138 816,927,600 39,155,602 3,782,958 108,179,142 6,008,175 - (25,879,987) - 55,724,096 899,226,755 45,163,777 29,183,987 529,435,053 9,466,880 25,401,029 807,332,413 48,701,393
งบการเงินเฉพาะกิจ เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ ส่วนปรับปรุง สำนักงาน สำนักงาน 25,099,334 9,881,998 3,054,330 387,558 - 150,000 (54,350) - 28,099,314 10,419,556 18,622,921 5,777,041 2,523,789 504,865 (12,356) - 21,134,354 6,281,906 6,476,413 4,104,957 6,964,960 4,137,650
ยานพาหนะ 14,257,217 1,362,756 - (4,269,586) 11,350,387 11,765,093 757,412 (4,047,086) 8,475,419 2,492,124 2,874,968
เครื่องจักรและ อุปกรณ์ ระหว่าง ติดตั้ง 202,970,922 279,978,155 (278,308,567) - 204,640,510 - - - - 202,970,922 204,640,510
เครื่องจักร และอุปกรณ์ ระหว่างทาง 6,557,775 42,259,053 - - 48,816,828 - - - - 6,557,775 48,816,828
121,756,341
114,150,089
(หน่วย : บาท) รวม 1,966,481,397 480,371,590 - (30,373,038) 2,416,479,949 944,189,395 121,756,341 (29,939,429) 1,036,006,307 1,022,292,002 1,380,473,642
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีเครื่องจักรและอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ ราคาทุนก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของ สินทรัพย์ดังกล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 817.7 ล้านบาท และ 780.7 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะกิจการ : 409.8 ล้านบาท และ 431.7 ล้านบาท ตามลำดับ)
ปี 2550 (118.0 ล้านบาท รวมอยู่ ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)
ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี : ปี 2549 (110.6 ล้านบาท รวมอยู่ ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)
ราคาทุน : ณ 31 ธันวาคม 2549 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า (โอนออก) จำหน่าย ณ 31 ธันวาคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสะสม : ณ 31 ธันวาคม 2549 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ค่าเสื่อมราคาสะสมสำหรับสินทรัพย์ ที่จำหน่ายระหว่างปี ณ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าสุทธิตามบัญชี : ณ 31 ธันวาคม 2549 ณ 31 ธันวาคม 2550
13.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยสองแห่งคือ บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด และบริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด มีเงือ่ นไขตามบันทึกข้อตกลงซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของสัญญาเงินเบิกเกินบัญชีและ เงินกู้ยืมจากธนาคารว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะไม่นำทรัพย์สินของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่ระบุในข้อตกลง
ไปจำหน่ายจ่ายโอน จำนอง จำนำหรือก่อภาระผูกพันใดๆ 13.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทย่อยได้จดจำนองและจำนำที่ดินและอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ 13.2.1 บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้จดจำนองสิง่ ปลูกสร้างและจำนำ เครือ่ งจักรซึง่ มีมลู ค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 127 ล้านบาท เพือ่ ให้เป็นหลักประกัน เงินกู้ยืมจากธนาคารตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุ 17 13.2.2 บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้จดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและจำนำ เครื่องจักรส่วนใหญ่เพื่อใช้เป็นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากธนาคารตามที่กล่าวไว้ ใน หมายเหตุ 15 และ 17 13.3 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้บนั ทึกดอกเบีย้ จ่ายไว้เป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ระหว่างติดตัง้ ดังต่อไปนี ้
(หน่วย : พันบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 7,808 4,566 4,044 2,508
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนของสินทรัพย์สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 อยู่ระหว่างร้อยละ 3.50 ถึง 7.25
ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (2549 : อัตราร้อยละ 4.74 ถึง 7.14)
14. ค่าความนิยม/ค่าความนิยมติดลบ
ค่าความนิยม หัก : ค่าความนิยมตัดจำหน่ายสะสม ค่าความนิยม - สุทธิ
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 2550 2549 57,204,718 57,204,718 (57,204,718) (57,137,201) - 67,517
ค่าความนิยมติดลบ หัก : ค่าความนิยมติดลบตัดจำหน่ายสะสม ค่าความนิยมติดลบ - สุทธิ
(17,968,446) (17,968,446) 10,781,064 7,187,376 (7,187,382) (10,781,070)
ค่าความนิยม/ค่าความนิยมติดลบตัดจำหน่ายสำหรับปี รายงานประจำปี 2550 106 ANNUAL REPORT 2007
(3,526,171)
(3,526,171)
15. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ประกอบด้วย
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้น สินเชื่อเพื่อการส่งออก ทรัสต์รีซีท รวม
งบการเงินรวม 2550 2549 38,100,235 32,806,525 1,003,000,000 1,072,000,000 2,147,000,000 1,910,200,000 535,986,109 405,507,721 3,724,086,344 3,420,514,246
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 - 6,906,731 215,000,000 235,000,000 612,000,000 563,500,000 42,104,492 16,240,697 869,104,492 821,647,428
15.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากธนาคารบางส่วนของบริษัทฯค้ำประกัน โดยบริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย 15.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากธนาคารส่วนใหญ่ของบริษัท เค ซี อี
อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งค้ำประกันโดยบริษัทฯ 15.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื จากธนาคารของบริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ค้ำประกันโดยบริษทั ฯ และมีการจดจำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างและจำนำเครือ่ งจักรส่วนใหญ่ ของบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นหลักประกัน
16. เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เจ้าหนี้สัญญาเช่าการเงินประกอบด้วย
เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน (มูลค่าตามสัญญา) หัก : ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าทางการเงิน - สุทธิจาก ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี
งบการเงินรวม 2550 2549 105,627,533 - (23,249,671) - 82,377,862 -
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 105,358,301 - (22,980,439) - 82,377,862 -
บริษทั ฯได้ทำสัญญาเช่าการเงินกับบริษทั แห่งหนึง่ เพือ่ จัดหาเครือ่ งจักรและอุปกรณ์โรงงานสำหรับใช้ในการดำเนินธุรกิจ โดยมีกำหนดชำระค่าเช่าเป็นรายเดือนรวม 48 งวด และเมือ่ ครบกำหนดสัญญาบริษทั ฯสามารถใช้สทิ ธิขอซือ้ เครือ่ งจักรและ อุปกรณ์ดังกล่าวได้ ในราคาตามที่กำหนดในสัญญา
รายงานประจำปี 2550 107 ANNUAL REPORT 2007
17. เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนที่เป็นสกุลเงินยูโร ส่วนที่เป็นสกุลเงินบาท หัก : ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งปี
(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 2550 2549 201,331,480 260,242,428 107,177,151 120,043,872 1,176,164,770 1,465,624,770 - 2,850,000 1,377,496,250 1,725,867,198 107,177,151 122,893,872 (573,383,283) (696,813,251) (63,796,691) (74,648,460) 804,112,967 1,029,053,947 43,380,460 48,245,412
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยอีกสองแห่งคือ บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด และ บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด มีเงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคารเป็นเงินสกุลยูโรเป็นจำนวน 4.1 ล้านยูโรในงบการเงินรวมและ 2.2 ล้านยูโรในงบการเงินเฉพาะกิจการ (2549 : 5.4 ล้านยูโรในงบการเงินรวมและ 2.5 ล้านยูโรในงบการเงินเฉพาะกิจการ) บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้เจรจาขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้เงินต้นกับ ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยแห่งหนึง่ สำหรับเงินกูย้ มื วงเงิน 1,070 ล้านบาท โดยในเดือนกันยายน 2549 บริษทั ย่อยได้รบั หนังสือข้อตกลงแก้ ไขเพิม่ เติมต่อท้ายสัญญากูเ้ งินจากธนาคารโดยธนาคารยินยอมให้เปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขการชำระหนีเ้ งินต้น เป็นชำระคืนเงินต้นทัง้ หมดจำนวน 267.50 ล้านบาทภายในวันที่ 22 ธันวาคม 2549 ต่อมาบริษทั ย่อยได้ขอเปลีย่ นแปลง เงื่อนไขการชำระหนี้กับธนาคารอีกครั้งหนึ่งโดยกลับไปชำระหนี้ตามกำหนดในสัญญาเดิมกล่าวคือให้ชำระคืนเงินต้น จำนวน 133.75 ล้านบาท ภายในเดือนธันวาคม 2549 ซึ่งบริษัทย่อยได้ชำระหนี้เงินต้นเรียบร้อยแล้วและส่วนที่เหลืออีก จำนวน 133.75 ล้านบาท ให้ชำระในเดือนมกราคม 2550 และเดือนเมษายน 2550 โดยบริษัทย่อยได้ทำข้อตกลงแก้ ไข เพิ่มเติมต่อท้ายสัญญากู้เงินจากธนาคารในเดือนมกราคม 2550 และได้ชำระส่วนที่เหลือทั้งหมดในปี 2550 เรียบร้อยแล้ว
รายงานประจำปี 2550 108 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 109 ANNUAL REPORT 2007
ลำดับที่ วันที่ทำสัญญา เฉพาะของบริษัทฯ 1. 18 สิงหาคม 2548 2. 9 มิถุนายน 2549 รวมเงินกู้ยืมเฉพาะกิจการ
วงเงินกู้ยืม 1,000,000 ยูโร 3,500,000 ยูโร
จำนวนเงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนที่ถึงกำหนด ส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี ชำระเกินกว่าหนึ่งปี รวม (บาท) (บาท) (บาท) 5,889,918 - 5,889,918 57,906,773 43,380,460 101,287,233 63,796,691 43,380,460 107,177,151
รายละเอียดเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีดังนี้ เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญาเงินกู้ยืม ระยะเวลา ชำระคืน ชำระ เงินกู้ เงินต้น ดอกเบี้ย 3 ปี 1 เดือน 1 เดือน 3 ปี 1 เดือน 1 เดือน
รายงานประจำปี 2550 110 ANNUAL REPORT 2007
จำนวนเงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนที่ถึงกำหนด ส่วนที่ถึงกำหนด รวม ลำดับที่ วันที่ทำสัญญา วงเงินกู้ยืม ชำระภายในหนึ่งปี ชำระเกินกว่าหนึ่งปี (บาท) (บาท) (บาท) บริษัทย่อย บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 1. 2 กรกฎาคม 2547 109,500,000 บาท 33,375,000 - 33,375,000 2. 2 กรกฎาคม 2547 1,000,000 ยูโร 15,158,971 - 15,158,971 48,533,971 - 48,533,971 บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด 1. 18 กรกฎาคม 2545 340,000,000 บาท 34,800,000 135,000,000 169,800,000 34,800,000 135,000,000 169,800,000 บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด 1. 1 ธันวาคม 2546 3,000,000 ยูโร 34,932,621 44,062,737 78,995,358 2. 9 สิงหาคม 2547 445,500,000 บาท 104,800,000 183,500,000 288,300,000 3. 20 กันยายน 2547 704,049,770 บาท 167,720,000 33,169,770 200,889,770 4. 27 ตุลาคม 2547 124,500,000 บาท 29,200,000 58,800,000 88,000,000 5. 28 กุมภาพันธ์ 2548 180,000,000 บาท 42,400,000 95,200,000 137,600,000 6. 31 ตุลาคม 2548 200,000,000 บาท 47,200,000 141,000,000 188,200,000 7. 8 สิงหาคม 2550 70,000,000 บาท - 70,000,000 70,000,000 426,252,621 625,732,507 1,051,985,128 รวมเงินกู้ยืมของบริษัทย่อย 509,586,592 760,732,507 1,270,319,099 รวมเงินกู้ยืมของบริษัทฯและบริษัทย่อย 573,383,283 804,112,967 1,377,496,250
เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญาเงินกู้ยืม ระยะเวลา ชำระคืน ชำระ เงินกู้ เงินต้น ดอกเบี้ย 4 ปี 1 เดือน 1 เดือน 4 ปี 1 เดือน 1 เดือน 5 ปี 3 เดือน 3 เดือน 6 ปี 3 เดือน 3 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 4 ปี 6 เดือน 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน
17.1 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคารของบริษทั ฯเป็นเงินกูส้ กุลยูโรโดยคิดในอัตราดอกเบีย้ LIBOR บวกร้อยละ 1.5 ถึง 2.5 ต่อปี 17.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นเงินกู้ สกุลเงินบาทและยูโร มีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 3.5 ต่อปี และอัตรา LIBOR บวกร้อยละ 1.5 ต่อปี ตามลำดับ เงินกูย้ มื ระยะยาวดังกล่าวค้ำประกันโดยบริษัทฯ 17.3 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีอัตรา ดอกเบีย้ MLR (Minimum Loan Rate) ลบร้อยละ 1.0 ถึง 1.5 ต่อปี เงินกูย้ มื ระยะยาวดังกล่าวค้ำประกันโดยบริษทั ฯ และการจดจำนองอาคารสิง่ ปลูกสร้างและจำนำเครือ่ งจักรบางส่วนของบริษทั ย่อย นอกจากนี้ บริษทั ย่อยต้องปฏิบตั ติ าม เงือ่ นไขสำคัญบางประการ เช่น ต้องดำรงอัตราส่วนหนีส้ นิ ทัง้ หมดต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ให้อยู่ในอัตราไม่เกิน 3 : 1 และ บริษัทฯและบริษัทย่อยในเครือต้องดำรงโครงสร้างและสัดส่วนการถือหุ้นโดยการถือหุ้นโดยตรงหรือผ่านบริษัทใน เครือเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วของบริษัทย่อย เป็นต้น 17.4 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นเงินกู้สกุลเงินบาท และยูโร มีอตั ราดอกเบีย้ ระหว่าง MLR (Minimum Loan Rate) ลบร้อยละ 1.25 ต่อปี ถึง MLR (Minimum Loan Rate) ต่อปี และ LIBOR บวกร้อยละ 2.0 ต่อปี ตามลำดับ เงินกู้ยืมระยะยาวดังกล่าวค้ำประกันโดยบริษัทฯและ โดยการจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและจำนำเครื่องจักรส่วนใหญ่ของบริษัทย่อย
18. ทุนเรือนหุ้น
18.1 หุ้นกู้แปลงสภาพ
เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2549 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯเสนอขายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ เป็นหุ้นสามัญของบริษัทฯชนิดระบุชื่อผู้ถือหุ้นกู้ จำนวนไม่เกิน 500 ล้านบาท โดยเสนอขายวงจำกัดให้แก่ผู้ลงทุน โดยเฉพาะเจาะจง (Private Placement) และจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามหุ้นกู้แปลงสภาพ ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม วันที่ 30 เมษายน 2550 ที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯได้มีมติอนุมัติยกเลิก มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของ บริษทั ฯเมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2549 เรือ่ งการออกและเสนอขายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพเป็นหุน้ สามัญ ของบริษัทฯและการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าว
18.2 ใบสำคัญแสดงสิทธิ
เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2549 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯได้มีมติอนุมัติให้บริษัทฯออกและเสนอขาย ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่พนักงานของบริษัทฯและ/หรือบริษัทย่อย ตามโครงการเสนอขาย หลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของบริษทั ฯและ/หรือบริษทั ย่อย (โครงการ ESOP) จำนวน 3,000,000 หน่วย และจัดสรร หุ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อรับรองการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เมือ่ วันที่ 24 กรกฎาคม 2550 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั กิ ารกำหนดรายละเอียดเกีย่ วกับ การออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำนวน 3,000,000 หน่วย ให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และ/หรือบริษัทย่อย ตามที่ ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2549 โดยบริษัทฯได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้ออกและเสนอขาย
ใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวให้แก่พนักงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยแล้วเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2550 รายงานประจำปี 2550 111 ANNUAL REPORT 2007
การเปลี่ยนแปลงระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ของใบสำคัญแสดงสิทธิมีราย ละเอียดดังนี้ จำนวน (หน่วย) 2550 2549 จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ณ วันต้นปี - - บวก : ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกระหว่างปี 2,370,000 - จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ณ วันสิ้นปี 2,370,000 - เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2550 และวันที่ 10 ตุลาคม 2550 บริษัทฯได้ออกและจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯให้แก่พนักงานของบริษัทและ/หรือบริษัทย่อย ซึ่งเป็นใบสำคัญแสดงสิทธิชนิดระบุชื่อผู้ถือ และโอนเปลี่ยนมือไม่ ได้เว้นแต่ โอนตามที่กำหนดในหนังสือชี้ชวนและไม่มีราคาเสนอขายจำนวน 365,000 หน่วย และ 2,005,000 หน่วย ตามลำดับ ใบสำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวมีอายุไม่เกิน 5 ปีนบั แต่วนั ทีอ่ อกใบสำคัญแสดงสิทธิ โดยมีอัตราการใช้สิทธิคือใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิ 3.93 บาทต่อ 1 หุน้ สามัญ อย่างไรก็ตาม ราคาการใช้สทิ ธิและ/หรืออัตราการใช้สทิ ธิขา้ งต้นอาจถูกปรับเมือ่ มีเหตุการณ์ตามที่ได้กำหนดใน หนังสือชี้ชวน และมีระยะเวลาการใช้สิทธิทุกๆ ไตรมาส ในวันที่ 15 ถึง 18 ของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม โดยกำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรกคือวันที่ 15 ถึง 18 กันยายน 2551 และกำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย คือวันที่ 18 มิถุนายน 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มี ใบสำคัญแสดงสิทธิคงเหลือจำนวน 2,370,000 หน่วย โดยยังไม่มีผู้ ใช้สิทธิ ตามใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญดังกล่าว เนื่องจากบริษัทฯกำหนดให้สามารถใช้สิทธิได้ครั้งแรกวันที่ 15 ถึง 18 กันยายน 2551
18.3 หุ้นสามัญของบริษัทฯ
เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯได้มีมติเกี่ยวข้องกับการลดทุนและ การเพิ่มทุนดังนี้ ก) ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 450,000,000 บาท (จำนวน 450,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ลงเหลือ 317,930,000 บาท (จำนวน 317,930,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) โดยยกเลิกหุน้ สามัญจดทะเบียนทีย่ งั ไม่ ได้ ออกจำหน่ายจำนวน 132,070,000 หุ้น ข) เพิม่ ทุนจดทะเบียนที่ ได้รบั อนุมตั ใิ ห้ลดลงข้างต้นจาก 317,930,000 บาท (จำนวน 317,930,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) เป็น 500,000,000 บาท (จำนวน 500,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) โดยออกหุน้ สามัญใหม่จำนวน 182,070,000 หุน้ มูลค่าตราไว้หนุ้ ละ 1 บาท โดยจำนวน 157,465,000 หุน้ เสนอให้สทิ ธิจองหุน้ กับผูถ้ อื หุน้ เดิม ของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนหุน้ สามัญเดิม 2 หุน้ ต่อหุน้ สามัญใหม่ 1 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 1 บาท ส่วนทีเ่ หลืออีกจำนวน 24,605,000 หุ้น เสนอต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณาจัดสรรต่อไป บริษทั ฯได้รบั ชำระหุน้ สามัญเพิม่ ทุนดังกล่าวเป็นจำนวน 147.6 ล้านบาท และได้จดทะเบียนการเปลีย่ นแปลง ทุนเรียกชำระดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2550 รายงานประจำปี 2550 112 ANNUAL REPORT 2007
18.4 หุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทย่อย
หุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบริษทั ย่อยเป็นหุน้ สามัญ ซึง่ ออกจำหน่ายโดยบริษทั ฯและถือไว้ โดยบริษทั ย่อยสองแห่ง คือ บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด และบริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด อย่างไรก็ตาม ในปี ปัจจุบัน บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ได้จำหน่ายหุ้นของบริษัทฯที่ถืออยู่ออกไปทั้งหมดแล้ว ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีบริษทั ย่อยเพียงแห่งเดียวคือบริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด ทีถ่ อื หุน้ ของบริษทั ฯ
การถือหุ้นดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการหักในส่วนของผู้ถือหุ้นเพื่อแสดงส่วนของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯสุทธิ ในงบการเงินรวมซึ่งมีรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ดังนี้ จำนวนหุ้นที่ถือโดยบริษัทย่อย (หุ้น) ราคาทุนของหุ้น (บาท) ส่วนต่ำมูลค่าหุ้น (บาท) หุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทย่อย (บาท)
2550 4,571,850 12,962,513 1,847,064 14,809,577
2549 4,905,000 18,209,154 4,534,660 22,743,814
18.5 จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 หุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในงบการเงินรวมและ งบการเงิน เฉพาะกิจการคำนวณดังนี้ (หน่วย : หุ้น) 2550 2549 ยอดยกมา 314,930,000 314,930,000 บวก : หุ้นที่ออกใหม่ ในระหว่างปี 78,028,720 - หัก : หุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทย่อย (4,571,850) (4,905,000) จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 388,386,870 310,025,000 บวก : หุ้นสามัญเทียบเท่า - ใบสำคัญแสดงสิทธิ (2550 : 2,370,000 หุ้น, 2549 : ไม่มียอดคงเหลือ) - - จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักปรับลด 388,386,870 310,025,000 เนื่องจากราคาใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวข้างต้นสูงกว่าราคายุติธรรมถัวเฉลี่ยของหุ้นสามัญของ
บริษัทฯสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ดังนั้น บริษัทฯจึงคาดว่าจะไม่มีการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิ และไม่นำใบสำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวมารวมคำนวณเพือ่ หาจำนวนหุน้ สามัญเทียบเท่าเพือ่ คำนวณกำไรต่อหุน้ ปรับลด
รายงานประจำปี 2550 113 ANNUAL REPORT 2007
ยอดยกมา บวก : หุ้นที่ออกใหม่ระหว่างปี จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
(หน่วย : หุ้น) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 314,930,000 314,930,000 78,028,720 - 392,958,720 314,930,000
19. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
บริษัทฯ ไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรของปี 2550 และ 2549 เนื่องจากมีผลขาดทุนทางภาษีจากการ ตัดจำหน่ายลูกหนี้ตามคำสั่งศาลล้มละลายกลาง และผลขาดทุนทางภาษียกมามากกว่ากำไรสุทธิสำหรับปี ภาษีเงินได้นิติบุคคลของปี 2550 และ 2549 ของบริษัทย่อยสามแห่งคือ บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด และบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัดคำนวณขึ้นจากกำไรของส่วนงานที่ ไม่ ได้ รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามสิทธิพิเศษจากการส่งเสริมการลงทุน (ถ้ามี) ของบริษัทย่อยดังกล่าวหลังบวกกลับด้วย ค่าใช้จา่ ยซึง่ ถือเป็นค่าใช้จา่ ยทางภาษีไม่ได้ และหักผลขาดทุนทางภาษีจากการตัดจำหน่ายลูกหนีต้ ามคำสัง่ ศาลล้มละลายกลาง และผลขาดทุนทางภาษียกมา
20. สำรองตามกฎหมาย
บริษัทฯต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วย ยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนีจ้ ะมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เพือ่ ให้เป็นไปตาม มาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้
21. เงินปันผลจ่าย
เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2550 ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั งิ ดการ จ่ายเงินปันผลประจำปี 2549 ให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2549 ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั งิ ดการจ่ายเงินปันผลประจำปี 2548 ให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ
22. รายการปรับปรุงปีก่อน
บริษัทฯได้ปรับปรุงกำไรสะสมยกมา ณ วันที่ 1 เมษายน 2549 จำนวน 0.4 ล้านบาท ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบการเงินรวม เนื่องจากบันทึกส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อยต่ำไปในปี 2548
รายงานประจำปี 2550 114 ANNUAL REPORT 2007
23. จำนวนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน จำนวนพนักงาน ณ วันสิ้นปี (คน) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานสำหรับปี (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2550 2549 4,703 4,243 1,055 941
24. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 1,476 1,266 359 313
บริษัทฯและบริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพภายใต้การอนุมัติจากกระทรวงการคลัง ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯและบริษัทย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุน ดังกล่าวเป็นรายเดือนให้ ในอัตราร้อยละ 3 - 8 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์
จัดการกองทุน ธนชาต จำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจ่ายสมทบเข้ากองทุนซึง่ ได้บนั ทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในงบการเงินรวม เป็นจำนวนเงิน 19.3 ล้านบาท (2549 : 14.5 ล้านบาท) และเฉพาะบริษทั ฯเป็นจำนวนเงิน 7.6 ล้านบาท (2549 : 7.5 ล้านบาท)
รายงานประจำปี 2550 115 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 116 ANNUAL REPORT 2007
รายละเอียด บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) 1. บัตรส่งเสริมเลขที่ 1292/2539 1062/2541 1065/2543 2. เพื่อส่งเสริมการลงทุนในกิจการ ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร 3. สิทธิประโยชน์สำคัญที่ ได้รับ 3.1 ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี 3 ปี 3 ปี สำหรับกำไรสุทธิที่ ได้จาก (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) การประกอบกิจการที่ ได้รับ การส่งเสริม และได้รับยกเว้น ไม่ต้องนำเงินปันผลจากกิจการ ที่ ได้รับการส่งเสริม ซึ่งได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษี 3.2 ได้รับอนุญาตให้หักเงินได้ ได้รับ ได้รับ ได้รับ พึงประเมินเป็นจำนวนเท่ากับ (สิ้นสุดแล้ว) ร้อยละห้าของรายได้ที่เพิ่มขึ้น จากปีก่อนจากการส่งออกเป็น ระยะเวลา 10 ปี ทั้งนี้ รายได้ จากการส่งออกของปีนั้นๆ จะต้อง ไม่ต่ำกว่ารายได้จาก การส่งออกเฉลี่ยสามปีย้อนหลัง ยกเว้นสองปีแรก 3.3 ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับ ได้รับ ได้รับ ได้รับ เครื่องจักรตามที่คณะกรรมการ พิจารณาอนุมัติ 3.4 ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับ ได้รับ ได้รับ ไม่ ได้รับ วัตถุดิบและวัสดุจำเป็นที่ต้อง (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) นำเข้าจากต่างประเทศเพื่อใช้ ใน การผลิตเพื่อการส่งออกเป็น ระยะเวลา 1 ปี นับตั้งแต่ วันนำเข้าวันแรก 4. วันที่เริ่มใช้สิทธิตามบัตรส่งเสริม 6 มกราคม 8 สิงหาคม 4 มิถุนายน 2539 2541 2543
บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด 1003/2538 1015/2543 1278(2)2548 1099/2544 1249(1)/2545 1664(2)/2547 1176(2)/2550 1378/2543 1598(2)/2547 ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น ผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร พรีเพก ลามิเนต พรีเพก พรีเพกและ พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร ลามิเนต 3 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 5 ปี 7 ปี 7 ปี (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) ได้รับ ได้รับ ไม่ ได้รับ ได้รับ ไม่ ได้รับ ไม่ ได้รับ ไม่ ได้รับ ได้รับ ไม่ ได้รับ (สิ้นสุดแล้ว) ได้รับกึ่งหนึ่ง ได้รับ ได้รับ ได้รับ ได้รับ ได้รับ ได้รับ ได้รับ ได้รับ ได้รับ ไม่ ได้รับ ไม่ ได้รับ ไม่ ได้รับ ไม่ ได้รับ ไม่ ได้รับ ไม่ ได้รับ ได้รับ ได้รับ (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) (สิ้นสุดแล้ว) 15 มิถุนายน 13 ตุลาคม 1 กันยายน 3 พฤศจิกายน 1 กันยายน 7 กรกฎาคม 2 พฤษภาคม 25 มิถุนายน 1 พฤศจิกายน 2537 2542 2549 2543 2546 2547 2550 2544 2547
บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับสิทธิพิเศษทางด้านภาษีอากรจากกรมส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 โดยการอนุมัติของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ที่กำหนดไว้ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีอากรที่มีสาระสำคัญดังต่อไปนี้
25. สิทธิพิเศษจากการส่งเสริมการลงทุน
รายได้จากการขายทั้งหมดของบริษัทฯสำหรับปี 2550 และ 2549 เป็นรายได้ของกิจการที่ ไม่ ได้รับการส่งเสริม
การลงทุนโดยสามารถจำแนกเป็นรายได้จากการส่งออกและการขายในประเทศดังต่อไปนี้ (หน่วย : บาท) 2550 2549 รายได้จากการขาย รายได้จากการส่งออก 2,879,219,356 2,389,845,964 รายได้จากการขายในประเทศ 46,322,555 95,526,423 รวมรายได้ 2,925,541,911 2,485,372,387
26. กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ถือโดย บุคคลภายนอกและออกอยู่ ในระหว่างปี กำไรต่อหุน้ ปรับลดคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีดว้ ยผลรวมของจำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักทีถ่ อื โดย บุคคลภายนอกและออกอยู่ ในระหว่างปีกับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯอาจต้องออกเพื่อแปลง
หุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทัง้ สิน้ ให้เป็นหุน้ สามัญโดยสมมติวา่ ได้มกี ารแปลงเป็นหุน้ สามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุน้ สามัญ เทียบเท่า
27. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
27.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาเช่าและสัญญาบริการ ซึ่งมี ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 3 ปี ค่าเช่าและค่าบริการขั้นต่ำในอนาคตที่จะต้องจ่ายตามสัญญา จนกระทั่งสิ้นสุดสัญญา มีดังต่อไปนี้ สกุลเงิน
บาท เหรียญสหรัฐอเมริกา
งบการเงินรวม 48,379,360 68,140
งบการเงินเฉพาะกิจการ 25,062,985 -
27.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีหนังสือค้ำประกันซึง่ ออกโดยธนาคารในนามบริษทั ฯและบริษทั ย่อยเหลืออยูเ่ ป็นจำนวนเงิน 59.1 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ : 24.4 ล้านบาท) ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับภาระผูกพันทางปฏิบตั ิ บางประการตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยซึง่ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหนังสือเพือ่ ค้ำประกันการชำระค่าไฟฟ้า 27.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับการซือ้ เครือ่ งจักรเป็นจำนวนเงินประมาณ 1.7 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา 34.6 ล้านเยน และ 0.1 ล้านยูโร หรือเทียบเท่ารวมเป็นจำนวนเงินประมาณ 78.0 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ : 1.7 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และ 0.1 ล้านยูโร หรือเทียบเท่ารวมเป็นจำนวนเงินประมาณ 65.6 ล้านบาท) 27.4 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการค้ำประกันเงินกูย้ มื และ วงเงินสินเชื่อทุกประเภทระหว่างกันดังนี้ รายงานประจำปี 2550 117 ANNUAL REPORT 2007
บริษัทที่ ได้รับการค้ำประกัน
บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด - สกุลเงินบาท - สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด - สกุลเงินบาท - สกุลเงินยูโร บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด - สกุลเงินบาท บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) - สกุลเงินบาท
(หน่วย : ล้าน) ผู้ค้ำประกัน บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) จำกัด 2550 2549 2550 2549 212 319 - - 5 - - - 3,846 3,871 - - 2 2 - - 170 81 - - - - 258 439
27.5 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ มีภาระผูกพัน เกีย่ วเนือ่ งกับสัญญาการว่าจ้างตัวแทนจำหน่ายสินค้าในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซงึ่ มีระยะเวลา 1 ปี โดยบริษทั ย่อย ต้องจ่ายค่านายหน้าตามอัตราที่ระบุในสัญญา 27.6 เมือ่ วันที่ 26 ตุลาคม 2548 บริษทั เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมแห่งหนึง่ ได้ทำสัญญาเช่าพืน้ ทีส่ ำนักงาน กับบริษทั ย่อยของบริษทั ร่วมแห่งหนึง่ เป็นระยะเวลา 15 ปี โดยภายใต้สญ ั ญาดังกล่าวบริษทั ร่วมมีภาระผูกพันเกีย่ วกับ ค่าเช่าทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เป็นจำนวนประมาณ 1.9 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือเทียบ เท่าประมาณ 65.4 ล้านบาท
รายงานประจำปี 2550 118 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 119 ANNUAL REPORT 2007
สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์รวม
(หน่วย : พันบาท) ธุรกิจพรีเพกและลามิเนต ธุรกิจแผ่นพิมพ์วงจร รวม 2550 2549 2550 2549 2550 2549 525,044 500,732 5,249,554 4,968,968 5,774,598 5,469,700 939,273 765,450 3,163,094 2,880,423 4,102,367 3,645,873 1,464,317 1,266,182 8,412,648 7,849,391 9,876,965 9,115,573
บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ในการกำหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9
ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานทางธุรกิจสำหรับงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เป็นดังต่อไปนี ้
(หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ธุรกิจแผ่นพิมพ์วงจร ธุรกิจ รายการตัดบัญชี พรีเพกและลามิเนต อเมริกา ยุโรป เอเชีย รวม ระหว่างกัน รวม 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549 รายได้จากภายนอก 138,701 133,452 1,633,058 1,548,740 4,900,339 3,759,663 1,693,313 2,097,999 8,226,710 7,406,402 - - 8,365,411 7,539,854 รายได้ระหว่างส่วนงาน 1,447,262 1,230,151 - - - - 870,940 797,171 870,940 797,171 (2,318,202) (2,027,322) - - รายได้ทั้งสิ้น 1,585,963 1,363,603 1,633,058 1,548,740 4,900,339 3,759,663 2,564,253 2,895,170 9,097,650 8,203,573 (2,318,202) (2,027,322) 8,365,411 7,539,854 กำไรจากการดำเนินงาน ตามส่วนงาน 140,397 175,316 1,324,125 920,740 6,669 33,987 1,471,191 1,130,043 รายได้ที่ ไม่ ได้ปันส่วน 186,754 144,170 32,300 32,053 ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายที่ ไม่ ได้ปันส่วน (1,113,441) (1,080,046) ดอกเบี้ยจ่าย (287,770) (296,124) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (10,517) (13,990) (21,091) (32,453) ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 257,426 (116,347) กำไร(ขาดทุน)สุทธิ
บริษทั ฯและบริษทั ย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานธุรกิจหลัก คือ การผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์แผ่นพิมพ์วงจร พรีเพก และลามิเนต โดยมีสว่ นงานทางภูมศิ าสตร์ทดี่ ำเนินการผลิต
ในประเทศไทย และดำเนินธุรกิจทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ ข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยจำแนกตามส่วนงานทางธุรกิจเป็นดังต่อไปนี้
28. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน
29. เครื่องมือทางการเงิน 29.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง
เครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำคัญของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยตามทีน่ ยิ ามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดง รายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครือ่ งมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ การค้า เงินลงทุน เจ้าหนีก้ ารค้า เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยาว นอกจากนีบ้ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังมีตราสาร อนุพนั ธ์นอกงบดุลเพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากราคาวัตถุดบิ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเครือ่ งมือ ทางการเงินและตราสารอนุพันธ์ดังกล่าว และมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้
ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ
บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้า ฝ่ายบริหารควบคุมความเสีย่ งนี้ โดยการกำหนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงไม่คาดว่าจะ ได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มี การกระจุกตัวเนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้าจำนวนมากราย และลูกหนีส้ ว่ นใหญ่มคี วามสามารถใน การชำระหนีด้ ี จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี ้ ที่แสดงอยู่ ในงบดุล
ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย
บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากกับธนาคารและ สถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีซ่ งึ่ ใกล้เคียงกับอัตราตลาด
ในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงอยู่ ในระดับต่ำ
รายงานประจำปี 2550 120 ANNUAL REPORT 2007
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ยได้ดังนี้
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงินลงทุนในบริษัทร่วมซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่นจากการซื้ออุปกรณ์ เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาว
งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ไม่มีอัตรา ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม (ล้านบาท) 190 - 190 - 1,998 1,998 - 82 82 - 1 1 190 2,081 2,271 38 - 38 3,686 - 3,686 - 1,421 1,421 - 9 9 - 206 206 106 - 106 1,377 - 1,377 5,207 1,636 6,843
รายงานประจำปี 2550 121 ANNUAL REPORT 2007
อัตรา ดอกเบี้ย ต่อปี (ร้อยละ) 0.25 - 0.75 - - - 4.00 - 7.63 4.80 - 7.83 - - - 6.35 - 6.76 5.25 - 6.97
อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ราคาตลาด สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 83 ลูกหนี้การค้า - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน - เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด - 83 หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 869 เจ้าหนี้การค้า - เจ้าหนี้อื่นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - เจ้าหนี้อื่นจากการซื้ออุปกรณ์ - เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน 105 เงินกู้ยืมระยะยาว 107 1,081
งบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่มีอัตรา ดอกเบี้ย รวม (ล้านบาท) - 83 711 711 922 922 1 1 1,634 1,717 - 869 672 672 8 8 153 153 - 105 - 107 833 1,914
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
อัตรา ดอกเบี้ย ต่อปี (ร้อยละ) 0.25 - - - 4.10 - 6.75 - - - 6.35 - 6.76 5.97 - 6.97
บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศทีส่ ำคัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับการขาย สินค้า การซื้อวัตถุดิบ เงินกู้ยืมเป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีนโยบายการบริหารสินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่สำคัญโดยจะจัดให้สินทรัพย์และหนี้สินดังกล่าวมีสัดส่วนและเงื่อนไขที่สมดุลกัน (Natural Hedging) และเน้นการสร้างกระแสเงินสดรับและจ่ายให้สอดคล้องกัน นอกจากนี้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อย
ได้มนี โยบายการบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น โดยเน้นการบริหารความเสีย่ งตามธุรกรรมการค้า (Transaction risk) ตามสถานการณ์และการคาดการณ์อตั ราแลกเปลีย่ น เป็นผลให้บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ตกลงทำสัญญาซือ้ ขาย เงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากับธนาคารพาณิชย์ไว้จำนวนหนึง่ ซึง่ ส่วนใหญ่มอี ายุสญ ั ญาไม่เกินหนึง่ ปีเพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือ ในการป้องกันความเสี่ยง
รายงานประจำปี 2550 122 ANNUAL REPORT 2007
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยมียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็น เงินตราต่างประเทศที่มีสาระสำคัญดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ สกุลเงิน 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย์ หนี้สิน สินทรัพย์ หนี้สิน อัตราซื้อ อัตราขาย (พันหน่วย) (พันหน่วย) (พันหน่วย) (พันหน่วย) (บาทต่อหนึ่งหน่วยเงินตรา ต่างประเทศ) เหรียญสหรัฐอเมริกา 45,581 46,773 14,573 18,304 33.5519 33.8850 ยูโร 9,554 5,120 3,409 2,783 48.9006 49.6202 ปอนด์สเตอร์ลิง 311 24 290 - 66.8427 67.7950 เยน - 106,133 - 43,393 - 0.2997 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward exchange contracts) คงเหลือโดยมีรายละเอียดดังนี้ สกุลเงิน จำนวน วันที่ครบกำหนด อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา (พัน) (บาทต่อหนึ่งหน่วยเงินตรา ต่างประเทศ) สัญญาซื้อ เหรียญสหรัฐอเมริกา 4,089 4 มกราคม 2551 - 8 พฤษภาคม 2551 33.7200 - 34.1400 เยน 250,000 15 มกราคม 2551 - 21 มกราคม 2551 0.2788 - 0.2798 สัญญาขาย ยูโร 9,009 15 มกราคม 2551 - 3 กรกฎาคม 2551 47.3000 - 50.3250 เหรียญสหรัฐอเมริกา 65,353 15 มกราคม 2551 - 2 กรกฎาคม 2551 33.4960 - 34.0750
สินค้า
ทองแดง
ความเสี่ยงจากราคาวัตถุดิบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีสญ ั ญาป้องกันความเสีย่ งจากราคาวัตถุดบิ (Commodity Swap agreement) คงเหลือโดยมีรายละเอียดดังนี้ ราคาตลาดของวัตถุดิบ ปริมาณ วันที่ครบกำหนด ราคาตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 (ตัน) (เหรียญสหรัฐอเมริกา (เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อหน่วย) ต่อหน่วย) 560 30 เมษายน 2551 - 31 พฤษภาคม 2551 6,600 - 7,500 6,677 รายงานประจำปี 2550 123 ANNUAL REPORT 2007
29.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน
เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯและบริษัทย่อยจัดอยู่ ในประเภทระยะสั้น เงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยปรับขึ้นลงตามอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์กนั ในขณะทีท่ งั้ สองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มคี วามเกีย่ วข้องกัน วิธกี ารกำหนด มูลค่ายุตธิ รรมขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึน้ โดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม
30. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน
นอกจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีตามทีก่ ล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 ซึง่ มีผลกระทบต่อขาดทุนสุทธิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ ตามที่ ได้รายงานไปแล้ว บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้มกี ารจัดประเภทรายการบัญชีรายได้ ในงบการเงินรวม สำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใหม่เพือ่ ให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปีปจั จุบนั ซึง่ ไม่มผี ลกระทบ ต่อขาดทุนสุทธินอกเหนือไปจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว
31. การอนุมัติงบการเงิน
งบการเงินนี้ ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2551
รายงานประจำปี 2550 124 ANNUAL REPORT 2007
Report of Independent Auditor To the Shareholders of KCE Electronics Public Company Limited I have audited the accompanying consolidated balance sheets of KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries as at 31 December 2007 and 2006 and the related consolidated statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the years then ended, and the separate financial statements of KCE Electronics Public Company Limited for the same periods. These financial statements are the responsibility of the management of the Company and its subsidiaries as to their correctness and the completeness of the presentation. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audits. I conducted my audits in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audit to obtain reasonable assurance about whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as evaluating the overall financial statement presentation. I believe that my audits provide a reasonable basis for my opinion. In my opinion, the financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the financial position of KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries and of KCE Electronics Public Company Limited as at 31 December 2007 and 2006, the results of their operations, and cash flows for the years then ended, in accordance with generally accepted accounting principles. Without qualifying my opinion on the above financial statements, I draw attention to the matter as discussed in Note 5 to the financial statements whereby, effective 1 January 2007, the Company changed its accounting policy for recording investments in subsidiaries and associates in the separate financial statements from the equity method to the cost method. The Company has thus restated the separate financial statements as at 31 December 2006 and for the year then ended to reflect this accounting change. Saifon Inkaew Certified Public Accountant (Thailand) No. 4434 Ernst & Young Office Limited Bangkok : 26 February 2008
รายงานประจำปี 2550 125 ANNUAL REPORT 2007
BALANCE SHEETS KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES AS AT 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2007 2006 2007 2006 (Restated) ASSETS CURRENT ASSETS 190,165,371 147,599,376 83,320,822 82,312,274 Cash and cash equivalents Trade accounts receivable 8 Related parties 9 526,672,107 550,906,958 276,460,821 216,096,854 1,473,871,954 1,461,679,076 436,452,064 398,140,231 Other companies 2,000,544,061 2,012,586,034 712,912,885 614,237,085 (2,420,485) (1,033,531) (2,357,396) (1,033,531) Less : Allowance for doubtful accounts Trade accounts receivable - net 1,998,123,576 2,011,552,503 710,555,489 613,203,554 Amounts due from and short-term loans to related parties - net 9 336 2,227 16,904 5,952,395 Inventories - net 10 1,711,323,322 1,370,554,543 479,003,298 359,901,802 Other current assets Accounts receivable under 17,541,161 375,545 1,761,399 - hedging agreements Receivable from Revenue 5,531,090 11,045,381 1,267,050 3,913,241 Department 48,033,304 7,736,951 4,682,674 3,693,401 Other accounts receivable 15,871,494 2,658,263 6,821,445 910,240 Accrued income 7,713,995 4,536,169 2,799,045 1,454,436 Prepaid expenses 15,085,567 13,081,486 1,677,282 1,982,297 Others 109,776,611 39,433,795 19,008,895 11,953,615 Total other current assets 4,009,389,216 3,569,142,444 1,291,905,408 1,073,323,640 TOTAL CURRENT ASSETS NON-CURRENT ASSETS Investments in subsidiaries 11 - - 919,098,175 916,938,175 Investments in associates 12 82,173,056 81,116,130 2,422,385 2,422,385 Investments in marketable securities 1,494,103 1,057,183 1,494,103 1,057,183 Deposit and advance for 12,170,904 3,411,054 11,030,583 - purchases of assets Property, plant and equipment - net 13 5,774,597,665 5,469,699,995 1,380,473,642 1,022,292,002 Goodwill - net 14 - 67,517 - - Negative goodwill - net 14 (7,187,382) (10,781,070) - - 4,327,085 1,859,430 3,925,835 1,634,429 Deposits and others 5,867,575,431 5,546,430,239 2,318,444,723 1,944,344,174 TOTAL NON-CURRENT ASSETS 9,876,964,647 9,115,572,683 3,610,350,131 3,017,667,814 TOTAL ASSETS The accompanying notes are an integral part of the financial statements. รายงานประจำปี 2550 126 ANNUAL REPORT 2007
BALANCE SHEETS (Continued) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES AS AT 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2007 2006 2007 2006 (Restated) LIABILITIES AND SHAREHOLDERS’ EQUITY CURRENT LIABILITIES Bank overdrafts and short-term loans from financial institutions 15 3,724,086,344 3,420,514,246 869,104,492 821,647,428 Trade accounts payable Related parties 9 51,264,377 67,794,102 352,812,201 284,466,494 1,370,045,041 1,151,867,258 319,065,250 258,873,109 Other companies Total trade accounts payable 1,421,309,418 1,219,661,360 671,877,451 543,339,603 Current portion of accounts payable under financial lease agreements 16 23,249,671 - 22,980,439 - Current portion of long-term loans 17 573,383,283 696,813,251 63,796,691 74,648,460 Amounts due to and advances from related parties 9 9,155,383 10,812,304 7,860,577 13,124,337 Other current liabilities Other payable from purchases of equipment 206,637,633 166,516,067 153,109,160 44,416,027 Accrued expenses 184,512,162 163,947,684 65,936,100 49,427,636 Other accounts payable 100,906,122 84,239,458 2,036,285 2,028,853 Corporate income tax payable - 5,947,667 - - Accrued interest expenses 29,745,487 28,528,888 3,052,673 3,044,259 Others 7,395,635 6,262,761 2,033,340 1,519,642 Total other current liabilities 529,197,039 455,442,525 226,167,558 100,436,417 TOTAL CURRENT LIABILITIES 6,280,381,138 5,803,243,686 1,861,787,208 1,553,196,245 NON-CURRENT LIABILITIES Accounts payable under financial lease agreements, net of current portion 16 82,377,862 - 82,377,862 - Long-term loans, net of current portion 17 804,112,967 1,029,053,947 43,380,460 48,245,412 TOTAL NON-CURRENT LIABILITIES 886,490,829 1,029,053,947 125,758,322 48,245,412 TOTAL LIABILITIES 7,166,871,967 6,832,297,633 1,987,545,530 1,601,441,657
The accompanying notes are an integral part of the financial statements. รายงานประจำปี 2550 127 ANNUAL REPORT 2007
BALANCE SHEETS (Continued) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES AS AT 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2007 2006 2007 2006 (Restated) SHAREHOLDERS’ EQUITY Share capital 18 Registered 500,000,000 ordinary shares of Baht 1 each (2006 : 450,000,000 ordinary shares of Baht 1 each) 500,000,000 450,000,000 500,000,000 450,000,000 Issued and fully paid-up 462,497,269 ordinary shares of Baht 1 each (2006 : 314,930,000 ordinary shares of Baht 1 each) 462,497,269 314,930,000 462,497,269 314,930,000 Share premium 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 Translation adjustments (10,948,216) (7,401,612) - - Deferred loss from hedging activities (9,209,143) (4,033,152) (3,668,754) (943,613) Retained earnings Appropriated - statutory reserve 20 50,000,000 45,000,000 50,000,000 45,000,000 Unappropriated 989,319,751 736,893,328 96,581,086 39,844,770 TOTAL SHAREHOLDERS’ EQUITY OF THE COMPANY 2,499,054,661 2,102,783,564 1,622,804,601 1,416,226,157 COMPANY’S SHARES HELD BY ITS SUBSIDIARIES 18.4 (14,809,577) (22,743,814) - - MINORITY INTEREST - equity attributable to minority shareholders of subsidiaries 225,847,596 203,235,300 - - TOTAL SHAREHOLDERS’ EQUITY 2,710,092,680 2,283,275,050 1,622,804,601 1,416,226,157 TOTAL LIABILITIES AND SHAREHOLDERS’ EQUITY 9,876,964,647 9,115,572,683 3,610,350,131 3,017,667,814
The accompanying notes are an integral part of the financial statements. รายงานประจำปี 2550 128 ANNUAL REPORT 2007
INCOME STATEMENTS KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2007 2006 2007 2006 (Restated) REVENUES Sales 9 8,365,410,830 7,539,854,242 2,925,541,911 2,485,372,387 Other income Dividend received from subsidiaries 9, 11 - - - 125,743,680 49,694,907 - 16,675,886 - Gain on exchange rate Interest income 9 32,300,303 32,052,945 31,063,508 32,920,394 132,370,489 124,047,816 46,724,773 40,032,610 Others Total other income 214,365,699 156,100,761 94,464,167 198,696,684 Share of income from investments in associates 12 4,688,915 20,121,805 - - 8,584,465,444 7,716,076,808 3,020,006,078 2,684,069,071 TOTAL REVENUES EXPENSES Cost of sales 9 6,894,218,870 6,409,811,630 2,511,007,989 2,244,184,977 Selling and administrative expenses 9 1,113,440,936 1,053,579,150 401,083,068 348,039,868 - 26,465,673 - 5,906,527 Loss on exchange rate Impairment of investments in subsidiaries 11 - - - 172,411,586 8,007,659,806 7,489,856,453 2,912,091,057 2,770,542,958 TOTAL EXPENSES INCOME (LOSS) BEFORE INTEREST EXPENSES AND CORPORATE 576,805,638 226,220,355 107,915,021 (86,473,887) INCOME TAX (287,770,449) (296,124,223) (46,178,705) (42,327,512) INTEREST EXPENSES CORPORATE INCOME TAX 19 (10,517,497) (13,989,869) - - INCOME (LOSS) AFTER CORPORATE 278,517,692 (83,893,737) 61,736,316 (128,801,399) INCOME TAX NET INCOME ATTRIBUTABLE TO MINORITY INTEREST (21,091,269) (32,453,378) - - IN SUBSIDIARIES NET INCOME (LOSS) FOR THE YEAR 257,426,423 (116,347,115) 61,736,316 (128,801,399) EARNINGS PER SHARE Basic earnings per share Net income (loss) 0.66 (0.37) 0.16 (0.41) Weighted average number of ordinary shares (shares) 18.5 388,386,870 310,025,000 392,958,720 314,930,000 Diluted earnings per share Net income (loss) 0.66 (0.37) 0.16 (0.41) Weighted average number of ordinary shares (shares) 18.5 388,386,870 310,025,000 392,958,720 314,930,000 The accompanying notes are an integral part of the financial statements. รายงานประจำปี 2550 129 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 130 ANNUAL REPORT 2007
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Deferred gain Company’s Retained earnings Share capital (loss) from shares held by its Minority issued and Translation hedging Appropriated - fully paid-up Share premium adjustments activities statutory reserve Unappropriated subsidiaries interest Total Balance as at 31 December 2005 - as previously reported 314,930,000 1,017,395,000 (393,352) - 45,000,000 853,614,189 (20,593,627) 190,064,494 2,400,016,704 Prior year’s adjustments (Note 22) - - - - - (373,746) - 373,746 - Balance as at 31 December 2005 - as restated 314,930,000 1,017,395,000 (393,352) - 45,000,000 853,240,443 (20,593,627) 190,438,240 2,400,016,704 Unrealised transactions in income statements Translation adjustments - - (7,008,260) - - - - - (7,008,260) Deferred loss from hedging activities - - - (4,033,152) - - - - (4,033,152) Net loss for the year - - - - - (116,347,115) - 32,453,378 (83,893,737) Investment in the Company’s share held by its subsidiaries - - - - - - (18,762,629) - (18,762,629) Disposal of the Company’s share held - - - - - - 16,612,442 - 16,612,442 by its subsidiaries Minority interest - - - - - - - (19,656,318) (19,656,318) Balance as at 31 December 2006 314,930,000 1,017,395,000 (7,401,612) (4,033,152) 45,000,000 736,893,328 (22,743,814) 203,235,300 2,283,275,050 Ordinary shares issued during the year 147,567,269 - - - - - - - 147,567,269 Unrealised transactions in income statements Translation adjustments - - (3,546,604) - - - - - (3,546,604) Deferred loss from hedging activities - - - (5,175,991) - - - - (5,175,991) Appropriation of statutory reserve - - - - 5,000,000 (5,000,000) - - - Net income for the year - - - - - 257,426,423 - 21,091,269 278,517,692 Disposal of the Company’s share held by its subsidiaries - - - - - - 7,934,237 - 7,934,237 Minority interest - - - - - - - 1,521,027 1,521,027 Balance as at 31 December 2007 462,497,269 1,017,395,000 (10,948,216) (9,209,143) 50,000,000 989,319,751 (14,809,577) 225,847,596 2,710,092,680
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY
รายงานประจำปี 2550 131 ANNUAL REPORT 2007
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Separate financial statements Deferred gain Company’s Retained earnings Share capital (loss) from shares held by its issued and Translation hedging Appropriated - fully paid-up Share premium adjustments activities statutory reserve Unappropriated subsidiaries Total Balance as at 31 December 2005 - as previously reported 314,930,000 1,017,395,000 (393,352) - 45,000,000 853,240,443 (20,593,627) 2,209,578,464 Cumulative effect of the change in accounting policy for investments in subsidiary and associated companies (Note 5) - - 393,352 - - (684,594,274) 20,593,627 (663,607,295) Balance as at 31 December 2005 - as restated 314,930,000 1,017,395,000 - - 45,000,000 168,646,169 - 1,545,971,169 Unrealised transactions in income statements Deferred loss from hedging activities - - - (943,613) - - - (943,613) Net loss for the year (restated) - - - - - (128,801,399) - (128,801,399) Balance as at 31 December 2006 - as restated 314,930,000 1,017,395,000 - (943,613) 45,000,000 39,844,770 - 1,416,226,157 Balance as at 31 December 2006 - as previously reported 314,930,000 1,017,395,000 (7,316,226) (943,613) 45,000,000 736,893,328 (22,743,814) 2,083,214,675 Cumulative effect of the change in accounting policy for investments in subsidiary and associated companies (Note 5) - - 7,316,226 - - (697,048,558) 22,743,814 (666,988,518) Balance as at 31 December 2006 - as restated 314,930,000 1,017,395,000 - (943,613) 45,000,000 39,844,770 - 1,416,226,157 Ordinary shares issued during the year 147,567,269 - - - - - - 147,567,269 Unrealised transactions in income statements Deferred loss from hedging activities - - - (2,725,141) - - - (2,725,141) Appropriation of statutory reserve - - - - 5,000,000 (5,000,000) - - Net income for the year - - - - - 61,736,316 - 61,736,316 Balance as at 31 December 2007 462,497,269 1,017,395,000 - (3,668,754) 50,000,000 96,581,086 - 1,622,804,601
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY (Continued)
CASH FLOW STATEMENTS KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements 2007 2006 2007 2006 (Restated) Cash flows from operating activities Net income (loss) 257,426,423 (116,347,115) 61,736,316 (128,801,399) Adjustments to reconcile net income (loss) to net cash provided by (used in) operating activities :- Share of income from investments in associates (4,688,915) (20,121,805) - - Depreciation 551,263,417 532,184,229 121,756,341 114,150,089 Amortisation of goodwill - net (3,526,171) (3,526,171) - - Allowance for doubtful accounts 29,942,634 29,942,634 29,942,634 29,942,634 Bad debts 1,386,954 536,550 1,323,865 896,208 Unrealised gain on exchange rate (25,529,411) (10,913,433) (5,024,003) (4,900,386) Gain on sales of fixed assets (1,409,366) (2,135,239) (1,873,252) (2,478,591) Loss from write-off of fixed assets 783,194 473,230 46,324 436,505 Discount on hedging activities - 502,971 - 3,546 Interest income from associated company (29,942,634) (29,942,634) (29,942,634) (29,942,634) Loss from write-off of inventories 14,938,184 6,421,871 - - Allowance for diminution in value of inventories and inventory obsolescence 7,819,868 11,061,731 2,963,938 8,428,191 Gain from write-off of accounts payable - (501,665) - (501,665) Allowance for diminution in value of investments in subsidiaries - - - 172,411,586 Unrealised loss (gain) from revaluation of investments in marketable securities (436,920) 147,640 (436,920) 147,640 Dividend received from subsidiaries - - - (125,743,680) Net income attributable to minority interest 21,091,269 32,453,378 - - Net income from operation before changes in operating assets and liabilities 819,118,526 430,236,172 180,492,609 34,048,044 Operating assets decrease (increase) Trade accounts receivable 10,187,437 (18,748,148) (94,132,442) 86,973,718 Inventories (363,526,831) (99,658,163) (122,065,434) (43,204,438) Other current assets (70,095,043) (14,857,955) (6,363,080) (4,914,375) Other non-current assets (13,498,238) 7,192,450 (13,321,989) (634,000) Operating liabilities increase (decrease) Trade accounts payable 204,972,205 153,554,715 127,197,359 111,547,164 Other current liabilities 43,933,601 28,858,279 11,018,099 6,762,658 Net cash from operating activities 631,091,657 486,577,350 82,825,122 190,578,771 The accompanying notes are an integral part of the financial statements. รายงานประจำปี 2550 132 ANNUAL REPORT 2007
CASH FLOW STATEMENTS (Continued) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements 2007 2006 2007 2006 (Restated) Cash flows from investing activities Increase in investments in subsidiary - - (2,160,000) (250,000,000) Dividend received from subsidiaries - - - 125,743,680 Proceeds from sales of equipment 22,057,521 12,084,933 2,260,537 12,009,407 Cash paid for purchases of equipment (729,601,155) (476,349,695) (267,927,509) (231,525,588) Decrease in minority interest 1,521,027 - - - Increase (decrease) in translation adjustments 85,386 (85,386) - - Net cash used in investing activities (705,937,221) (464,350,148) (267,826,972) (343,772,501) Cash flows from financing activities Increase in bank overdrafts and short-term loans from financial institutions 308,116,817 514,500,271 47,029,684 158,395,748 Cash received from long-term loans 349,126,844 179,046,112 67,168,089 111,046,111 Cash paid for long-term loans (695,333,608) (719,178,784) (75,754,644) (72,578,068) Cash received from share capital increase 147,567,269 - 147,567,269 - Dividend paid to minority shareholders of subsidiaries - (19,656,318) - - Increase in the Company’s shares held by it subsidiaries - (18,762,629) - - Disposal of the Company’s shares held by it subsidiaries 7,934,237 16,612,442 - - Net cash from (used in) financing activities 117,411,559 (47,438,906) 186,010,398 196,863,791 Net increase (decrease) in cash and cash equivalents 42,565,995 (25,211,704) 1,008,548 43,670,061 Cash and cash equivalents at beginning of the year 147,599,376 172,811,080 82,312,274 38,642,213 Cash and cash equivalents at end of the year 190,165,371 147,599,376 83,320,822 82,312,274 Supplement cash flows information Cash paid during the year for :- Interest expenses 294,362,092 294,660,455 50,214,092 43,269,056 Corporate income tax 20,795,350 21,635,593 764,647 738,361
The accompanying notes are an integral part of the financial statements. รายงานประจำปี 2550 133 ANNUAL REPORT 2007
NOTES TO CONSOLIDATED FINANCIAL STATEMENTS KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED AND ITS SUBSIDIARIES FOR THE YEARS ENDED 31 DECEMBER 2007 AND 2006
1. GENERAL INFORMATION OF THE COMPANY AND SUBSIDIARIES
KCE Electronics Public Company Limited (“The Company”) was incorporated as a limited company under Thai law and had transformed to be a public company under the Public Limited Companies Act on 21 December 1992. The Company operates in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of printed circuit board products, with the registered address at No. 125-125/1, 1 Moo 4 Lat Krabang Industrial Estate, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok. K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 677 Moo 4 Export Processing Zone, Bangpoo Industrial Estate, Sukhumvit Road, Tambon Phraksa, Amphur Muang, Samutprakarn Province. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of printed circuit board products. Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 115/2 Moo 4 Export Processing Zone, Lat Krabang Industrial Estate, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of prepreg and laminate products to the Company and two subsidiary companies (K.C.E. International Co., Ltd. and KCE Technology Co., Ltd). KCE Technology Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 117-118 Moo 1, Hi-Tech Industrial Estate, Tambon Ban Lain, Amphur Bang Pa-In, Pranakornsriayuthaya Province. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of printed circuit board products. KCE (Thailand) Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 100/61, 21st floor, Vongvanich Building, Rama 9 Road, Tambon Huaykwang, Amphur Huaykwang, Bangkok. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the domestic sale representative to the Company and its affiliates.
2. BASIS OF PREPARATION
The financial statements have been prepared in accordance with accounting standards enunciated under the Accounting Profession Act B.E. 2547. The presentation of the financial statements has been รายงานประจำปี 2550 134 ANNUAL REPORT 2007
made in compliance with the stipulations of the Notification of the Department of Business Development dated 14 September 2001, issued under the Accounting Act B.E. 2543. The financial statements have been prepared on a historical cost basis except where otherwise disclosed in the accounting policies. The separate financial statements, which present investments in subsidiaries and associates presented under the cost method, have been prepared solely for the benefit of the public.
3. BASIS OF CONSOLIDATION
3.1 The consolidated financial statements include the financial statements of KCE Electronics Public Company Limited (hereinafter called “the Company”) and its subsidiaries (hereinafter called “the subsidiaries”) as below:- Percentage of shareholding 2007 2006
Company’s name Held by the Company K.C.E. International Co., Ltd. 94.99 KCE Technology Co., Ltd. 100.00 Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. 70.24 (Held by the Company 52.00% and K.C.E. International Co., Ltd. 19.20%) KCE (Thailand) Co., Ltd. 60.00 Held by the subsidiary Konstant Pte. Ltd. 100.00 (Held by KCE Technology Co., Ltd. 100.00%)
94.99 100.00 70.24
Assets as a percentage Revenues as a percentage to the consolidated to the consolidated total total assets as at revenues for the year 31 December ended 31 December 2007 2006 2007 2006 9 12 15 19 54 57 50 49 9 8 2 2
-
1
-
1
-
100.00
-
-
-
-
During the year 2007, Konstant Pte. Ltd., a subsidiary company held by KCE Technology Co., Ltd.,
a subsidiary of the Company dissolved and liquidated in accordance with the Singapore Companies Act as described in Note 11 to the financial statements. 3.2 The financial statements of overseas subsidiary companies are translated into Thai Baht at the average exchange rate ruling on the balance sheet date for assets and liabilities, and at the monthly average exchange rates during the year for revenues and expenses. The resultant differences have been shown under the caption of “Translation adjustments” in the shareholders’ equity. รายงานประจำปี 2550 135 ANNUAL REPORT 2007
3.3 Material balances and transactions between the Company and its subsidiaries and investments in subsidiaries in the Company’s accounts and subsidiaries’ share capital have been eliminated from the consolidated financial statements. 3.4 The excess of cost over the net book value of investment in its subsidiaries at acquisition date has been shown as “Goodwill” under non-current assets in the consolidated balance sheets and is amortised as expenses over the periods of five and ten years. 3.5 The lower of cost of investments in subsidiaries and the net assets value of the subsidiaries at the time of acquisition has been shown as “Negative goodwill” under non-current assets in the consolidated balance sheets and is recognised as revenues over the periods of five years.
4. ADOPTION OF NEW ACCOUNTING STANDARDS
The Federation of Accounting Professions (FAP) has issued Notifications No. 9/2550, 38/2550 and 62/2550 regarding Accounting Standards. The notifications mandate the use of the following new Accounting Standards. a) Accounting Standards which are effective for the current year TAS 44 (revised 2007) Consolidated Financial Statements and Separate Financial Statements TAS 45 (revised 2007) Investments in Associates TAS 46 (revised 2007) Interests in Joint Ventures These accounting standards become effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after 1 January 2007. During the first quarter of the current year, the Company changed its accounting policy for recording investments in subsidiaries and associates in the separate financial statements in order to comply with the revised Thai Accounting Standard No. 44 as discussed in Note 5. b) Accounting Standards which are not effective for the current year TAS 25 (revised 2007) Cash Flow Statements TAS 29 (revised 2007) Leases TAS 31 (revised 2007) Inventories TAS 33 (revised 2007) Borrowing Costs TAS 35 (revised 2007) Presentation of Financial Statements TAS 39 (revised 2007) Accounting Policies, Changes in Accounting Estimates and Errors TAS 41 (revised 2007) Interim Financial Reporting TAS 43 (revised 2007) Business Combinations TAS 49 (revised 2007) Construction Contracts TAS 51 Intangible Assets รายงานประจำปี 2550 136 ANNUAL REPORT 2007
These accounting standards will become effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after 1 January 2008. The management has assessed the effect of these accounting standards and believes that they will not have any significant impact on the financial statements for the year in which they are initially applied, except for the following accounting standard. TAS 43 (revised 2007) does not require the Company to amortise goodwill, including negative goodwill, acquired in a business combination. Such goodwill is instead to be tested for impairment, and measured at cost less accumulated impairment losses. In case of negative goodwill, identification and measurement of the acquiree’s assets, liabilities and contingencies should be reassessed and the measurement of the cost of the combination and the remaining balance is to be recognised as income immediately in the income statement. This accounting standard applies to goodwill arising from business combinations for which the agreement date is on or after 1 January 2008. Previously recognised goodwill can be accounted for prospectively, according to the treatment as outlined in the accounting standard. Hence, in 2008, the Company will adjust the negative goodwill as of 31 December 2007 according to the treatment as outlined in the accounting standard.
5. CHANGE IN ACCOUNTING POLICY FOR RECORDING INVESTMENTS IN SUBSIDIARIES AND ASSOCIATES IN THE SEPARATE FINANCIAL STATEMENTS
During the first quarter of the current year, the Company changed its accounting policy for recording investments in subsidiaries and associates in the separate financial statements from the equity method to the cost method, in compliance with Accounting Standard No. 44 (Revised 2007) regarding “Consolidated Financial Statements and Separate Financial Statements”, under which investments in subsidiaries and associates are to be presented in the separate financial statements under the cost method. In this regard, the Company has restated the previous period’s separate financial statements as though the investments in the subsidiaries and associates had originally been recorded using the cost method. The change has the effect of decreasing net income for the year ended 31 December 2007 by Baht 195.7 million (Baht 0.50 per share) and increasing net loss for the year ended 31 December 2006 by Baht 12.5 million (Baht 0.04 per share), respectively, in the separate income statements. The cumulative effect of the change in accounting policy has been presented under the heading of “Cumulative effect of the change in accounting policy for investments in subsidiary and associated companies” in the separate statements of changes
in shareholders’ equity. Such change in accounting policy affects only the accounts related to investments in subsidiary and associated companies in the Company’s separate financial statements, with no effect to the consolidated financial statements.
6. SIGNIFICANT ACCOUNTING POLICIES
Significant accounting policies adopted by the Company and its subsidiaries are summarised below. รายงานประจำปี 2550 137 ANNUAL REPORT 2007
6.1 Revenue recognition
a)
Sales of goods
Sales of goods are recognised when the significant risks and rewards of ownership of the goods have passed to the buyer. Sales are the invoiced value, excluding value added tax, of goods supplied after deducting discounts and allowances.
b) c)
Interest income Interest income is recognised on an accrual basis based on the effective rate. Dividends Dividends are recognised when the right to receive the dividends is established.
6.2 Cash and cash equivalents
Cash and cash equivalents consist of cash in hand and cash at bank, and all highly liquid investments with an original maturity of three months or less and not subject to withdrawal restrictions.
6.3 Trade accounts receivable and allowance for doubtful accounts
Trade accounts receivable are stated at the net realisable value. Allowance for doubtful accounts is provided for the estimated losses that may be incurred in collection of receivables. The adequacy of the allowance is based on collection experience and current status of receivables outstanding at the balance sheet date.
6.4 Related party transactions
Related parties comprise enterprises and individuals that control, or are controlled by, the Company, whether directly or indirectly, or which are under common control with the Company.
They also include associated companies and individuals which directly or indirectly own a voting interest in the Company that gives them significant influence over the Company, key management personnel, directors and officers with authority in the planning and direction of the Company’s operations.
6.5 Inventories and allowance for diminution in value of inventories and inventory obsolescence
Finished goods and work in process are valued at the lower of cost (weighted average method) and net realisable value. The cost includes cost of material, labour and production overheads. รายงานประจำปี 2550 138 ANNUAL REPORT 2007
Raw materials, spare parts and factory supplies are valued at the lower of cost (weighted average method) and net realisable value and charged to production costs whenever consumed. The net realsiable value of inventories is estimated from the estimated selling price in the ordinary course of business, less the estimated costs to complete the sale. Allowance for diminution in value of inventories and inventory obsolescence are set up for obsolete, slow-moving and deteriorated inventories.
6.6 Investments
a) Investments in the associates in the consolidated financial statements are stated under equity method. b) Investments in the subsidiaries and associates in the separate financial statements are stated under cost method. c) Investments in marketable securities held for trading are stated at fair value, which is based on the latest bid price of the last working day of the year as quoted on the Stock Exchange of Thailand. Changes in the carrying amount of securities are recorded as gain or loss on revaluation of investment in marketable securities in the income statements. The weighted average method is used for computation of the cost of investments. d) Company’s shares held by subsidiaries are stated at cost and are presented as a deduction in shareholders’ equity. Gain or loss from sales of such shares is recorded in the shareholders’ equity.
6.7 Property, plant and equipment and depreciation
Land is stated at cost. Plant and equipment are stated at cost less accumulated depreciation and allowance for loss on impairment of assets (if any). Depreciation of plant and equipment is calculated by reference to their costs on the straight-line basis over the following estimated useful lives :- Building and plant - 20 - 25 years Machinery and equipment - 5 - 20 years Plant and office improvement - 5 - 20 years Furniture, fixtures and office equipment - 5 - 10 years Vehicles - 5 years รายงานประจำปี 2550 139 ANNUAL REPORT 2007
No depreciation is provided for land, construction in progress, and machinery and equipment in transit and under installation.
6.8 Capitalisation of borrowing cot as cost of assets
The borrowing cost directly related to the acquisition of fixed assets is capitalised as part of cost
of fixed assets, until the assets are ready for use.
6.9 Impairment of assets
The Company and its subsidiaries assess at each reporting date whether there is an indication that an asset may be impaired. If any such indication exists, the Company and its subsidiaries make an estimate of the asset’s recoverable amount. (An asset’s recoverable amount is the higher of fair value less costs to sell and value in use.) Where the carrying amount of the asset exceeds its recoverable amount, the asset is considered impaired and is written down to its recoverable amount. Impairment losses are recognised in the income statement.
6.10 Financial lease agreements
The Company and the subsidiaries record fixed assets under finance leases as assets and related liabilities in the balance sheets at amounts equal to the lower of fair value of the leased property
or at the present value of the minimum lease payments at the inception of the lease. In calculating the present value of the minimum lease payments, the discount factor used is the interest rate implicit in the lease. The interest charge is recorded to periods during the lease term on the remaining balance of the liability for each period.
6.11 Goodwill/Negative goodwill
Excess/lower of cost of investments in subsidiaries over the fair value of the identifiable assets and liabilities acquired as at the date of acquisition to the extent of the Company’s interest obtained
is accounted for as goodwill/negative goodwill and amortised/recognised as expense/revenue on the straight-line basis over the periods of five and ten years.
6.12 Employee benefits
Salary, wages, bonuses and contributions to the social security fund and provident fund are recognised as expenses when incurred.
6.13 Income tax
Income tax is provided for in the accounts based on the taxable profits determined in accordance with tax legislation. รายงานประจำปี 2550 140 ANNUAL REPORT 2007
6.14 Forward exchange contracts
Receivables and payables arising from forward exchange contracts are translated into Baht at the rates of exchange ruling on the balance sheet. Gains and losses from the translation are included in determining income. Premiums or discounts on forward exchange contracts are amortised on a straightline basis over the contract periods.
6.15 Foreign currencies
Foreign currency transactions incurred during the year are translated into Baht at the rates ruling on the transaction dates. Assets and liabilities denominated in foreign currency outstanding at the balance sheet date are translated into Baht at the rates ruling on the balance sheet date.
Exchange gains and losses are included in determining income.
6.16 Financial instruments
The Company and its subsidiaries have significant financial instruments carried in the balance sheet which include cash and cash equivalents, trade accounts receivable, investments, trade accounts payable, and short-term and long-term loans. The Company and its subsidiaries entered into off-balance sheet derivatives for hedging commodities’ price risk. At the end of period, the change of contract’s fair values are recorded in shareholder’s equity and recognised as a part of material cost when the materials are consumed.
6.17 Use of accounting estimates
Preparation of financial statements in conformity with generally accepted accounting principles requires management to make estimates and assumptions in certain circumstances, affecting amounts reported in these financial statements and related notes. Actual results could differ from these estimates.
รายงานประจำปี 2550 141 ANNUAL REPORT 2007
7. ADDITIONAL INFORMATION OF CASH FLOWS STATEMENTS
Non-cash related transactions for investing activity for the years ended 31 December 2007 and 2006 are as follows : - (Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements 2007 2006 2007 2006 Purchase of fixed assets - net 318,103,268 282,757,219 263,740,884 50,890,299 Add(less) : Other payable from purchases of fixed assets (209,345,797) (167,409,734) (153,109,160) (44,534,651) Amounts due to related parties for purchases of fixed assets - - (5,273,423) (11,685,648) Trust receipts - (113,969,117) - - Accounts payable under hire purchase agreements (105,627,533) (704,214) (105,358,301) - Deposit for purchases of fixed assets (3,118,404) - - - Accrued interest capitalised as costs of machinery and equipment - (607,665) - - Amounts due from related parties for sales of fixed assets - - - 5,330,000 Others (11,534) (66,489) - - - - - -
รายงานประจำปี 2550 142 ANNUAL REPORT 2007
8. TRADE ACCOUNTS RECEIVABLE
The outstanding balance of trade accounts receivable as at 31 December 2007 and 2006 are aged, based on due date, as follows :- Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements Age of receivables 2007 2006 2007 2006 Trade accounts receivable - related parties Not yet due 416,623,641 456,260,855 222,528,754 170,150,633 Overdue Less than 3 months 105,797,248 94,144,072 53,519,803 45,792,417 3 - 6 months 2,579,766 309,308 - 84,935 6 - 12 months 383,494 144,705 375,646 20,851 Over 12 months 1,287,958 48,018 36,618 48,018 Total trade accounts receivable - related parties 526,672,107 550,906,958 276,460,821 216,096,854 Trade accounts receivable - others Not yet due 1,355,432,980 1,264,238,473 393,500,515 323,879,203 Overdue Less than 3 months 94,344,264 190,365,839 35,871,371 69,013,968 3 - 6 months 10,362,734 4,817,779 2,442,566 3,051,742 6 - 12 months 11,781,678 1,799,906 2,813,492 1,738,239 Over 12 months 1,950,298 457,079 1,824,120 457,079 Total trade accounts receivable - others 1,473,871,954 1,461,679,076 436,452,064 398,140,231 Total trade accounts receivable 2,000,544,061 2,012,586,034 712,912,885 614,237,085 Less : Allowance for doubtful accounts (2,420,485) (1,033,531) (2,357,396) (1,033,531) Trade accounts receivable - net 1,998,123,576 2,011,552,503 710,555,489 613,203,554
รายงานประจำปี 2550 143 ANNUAL REPORT 2007
9. RELATED PARTY TRANSACTIONS
During the years, the Company and its subsidiaries had significant business transactions with related parties, which have been concluded on commercial terms and bases agreed upon in the ordinary course of businesses between the Company and those companies. Below is a summary of those transactions. (Unit : Million Baht) Consolidated Separate financial financial statements statements For the year ended For the year ended 31 December 31 December Transfer Pricing Policy 2007 2006 2007 2006 Transactions with subsidiaries (eliminated from the consolidated financial statements) Sales of goods - - 300.0 272.8 Market prices and prices per job order for each product which are agreed between the parties Sales of fixed assets - - 0.3 8.8 Net book value plus margin and prices agreed between the parties Dividend income - - - 125.7 At the declared rate Purchases of goods - - 927.2 799.2 Market prices and prices per job order for each product which are agreed between the parties Purchases of fixed assets - - 37.2 29.4 Prices agreed between the parties Transactions with associated companies Sales of goods 1,833.5 1,782.7 604.6 532.4 Market prices at which similar quality products are sold under same conditions Sales of fixed assets 20.4 - - - Net book value plus margin and prices agreed between the parties Purchases of raw materials 236.4 257.1 83.4 101.6 Market prices at which similar quality products are purchased under same conditions Purchases of fixed assets 23.7 - 2.4 - Prices agreed between the parties Commission expense 47.6 40.0 23.3 20.4 At the agreed rates between the parties which is general rate for the same business Transactions with related company Interest income 29.9 29.9 29.9 29.9 Interest rate at 7.5 percent per annum รายงานประจำปี 2550 144 ANNUAL REPORT 2007
The balances of the accounts as at 31 December 2007 and 2006 are as follows:- (Unit : Baht) Consolidated financial Separate financial statements statements 2007 2006 2007 2006 Trade accounts receivable - related parties Subsidiaries KCE Technology Co., Ltd. - - 73,789,592 65,763,955 K.C.E. International Co., Ltd. - - 21,831,476 6,791,283 KCE (Thailand) Co., Ltd. - - 5,092,617 - Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. - - 1,515,678 737,348 Total trade accounts receivable - subsidiaries - - 102,229,363 73,292,586 Associated companies KCE America, Inc. 474,563,257 487,655,378 146,830,692 104,504,723 KCE Singapore Pte., Ltd. 52,108,850 63,251,580 27,400,766 38,299,545 Total trade accounts receivable - associated companies 526,672,107 550,906,958 174,231,458 142,804,268 Total trade accounts receivable - related parties 526,672,107 550,906,958 276,460,821 216,096,854 Amounts due from and short-term loans to related parties Subsidiaries KCE Technology Co., Ltd. - - 8,904 5,620,846 KCE (Thailand) Co., Ltd. - - 8,000 - K.C.E. International Co., Ltd. - - - 331,549 Total amounts due from and short-term loans from subsidiaries - - 16,904 5,952,395 Associated company KCE Singapore Pte., Ltd. 336 2,227 - - Total amounts due from and short-term loans from associated company 336 2,227 - - Related company Avatar Systems Corporation Loans 399,235,126 399,235,126 399,235,126 399,235,126 Accrued interest income 271,226,834 241,284,199 271,226,834 241,284,199 670,461,960 640,519,325 670,461,960 640,519,325 Less : Allowance for doubtful accounts (670,461,960) (640,519,325) (670,461,960) (640,519,325) Total amounts due from and short-term loans from related company - - - - Total amounts due from and short-term loans from related parties - net 336 2,227 16,904 5,952,395 รายงานประจำปี 2550 145 ANNUAL REPORT 2007
Trade accounts payable - related parties Subsidiaries Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. KCE Technology Co., Ltd. K.C.E. International Co., Ltd. Total trade accounts payable - subsidiaries Associated company KCE Singapore Pte., Ltd. Total trade accounts payable - associated company Total trade accounts payable - related parties Amounts due to and advances from related parties Subsidiaries KCE Technology Co., Ltd. Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. K.C.E. International Co., Ltd. Total amounts due to and advances from subsidiaries Associated companies KCE Singapore Pte., Ltd. KCE America, Inc. Total amounts due to and advances from associated companies Total amounts due to and advances from related parties
(Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements 2007 2006 2007 2006 - - 251,855,678 60,799,674 - - 82,968,607 185,010,106 - - 3,507,609 14,168,199 - - 338,331,894 259,977,979 51,264,377 67,794,102 14,480,307 24,488,515 51,264,377 67,794,102 14,480,307 24,488,515 51,264,377 67,794,102 352,812,201 284,466,494 - - 4,911,223 10,053,424 - - - 1,657,394 - - 778,408 - - - 5,689,631 11,710,818 9,155,383 10,733,972 2,170,946 1,413,519 - 78,332 - - 9,155,383 10,812,304 2,170,946 1,413,519 9,155,383 10,812,304 7,860,577 13,124,337
Directors and management’s remuneration In 2007 and 2006, the Company and its subsidiaries recorded salaries, bonus, provident fund and meeting allowances to their directors and management totaling Baht 55.9 million and Baht 53.7 million (only directors totally Baht 20.9 million as previously disclosed in 2006 financial statements), respectively (The separate financial statements : Baht 30.4 million and Baht 29.6 million, (only director totally Baht 16.2 million as previously disclosed in 2006 financial statements) respectively). Guarantee obligations with related parties The Company and its subsidiaries have outstanding guarantee obligations with its related parties, as described in Note 27.4 to the financial statements. รายงานประจำปี 2550 146 ANNUAL REPORT 2007
10. INVENTORIES
As at 31 December 2007 and 2006, inventories consisted of :- Consolidated financial statements 2007 2006 Finished goods 295,267,443 175,582,503 Work in process 434,467,075 367,903,186 Raw materials 466,785,436 320,873,744 Supplies 264,216,713 236,206,148 Spareparts 207,189,884 203,056,390 Goods in transit 72,069,515 87,785,448 Total 1,739,996,066 1,391,407,419 Less : Allowance for diminution in value of inventories and inventory obsolescence (28,672,744) (20,852,876) Inventories - net 1,711,323,322 1,370,554,543
(Unit : Baht) Separate financial statements 2007 2006 75,010,922 36,546,162 141,904,345 93,822,265 94,194,945 62,716,303 107,792,156 98,175,577 63,834,735 65,996,749 11,961,259 15,375,872 494,698,362 372,632,928 (15,695,064) (12,731,126) 479,003,298 359,901,802
11. INVESTMENTS IN SUBSIDIARIES
Separate financial statements Provision for impairment of Paid-up capital Shareholding percentage Cost investments Company’s name 2007 2006 2007 2006 2007 2006 2007 2006 (%) (%) K.C.E. Baht Baht International 100,000,000 100,000,000 94.993 94.993 172,499,000 172,499,000 - - Co., Ltd. Thai Laminate Baht Baht Manufacturer 250,000,000 250,000,000 52.000 52.000 157,710,310 157,710,310 - - Co., Ltd. KCE Technology Baht Baht Co., Ltd. 1,150,000,000 1,150,000,000 100.000 100.000 1,150,000,000 1,150,000,000 (563,271,135) (563,271,135) KCE (Thailand) Baht Co., Ltd. 3,600,000 - 60.000 - 2,160,000 - - - 1,482,369,310 1,480,209,310 (563,271,135) (563,271,135) Total
(Unit : Baht) Carrying amounts based on Dividend received for the cost method net year ended 31 December 2007 2006 2007 2006 172,499,000 172,499,000 - 99,743,700 157,710,310 157,710,310 - 25,999,980 586,728,865 586,728,865 - - 2,160,000 - - - 919,098,175 916,938,175 - 125,743,680
According to TAS 44 regarding “Consolidated Financial Statements and Separate Financial Statements” the Company has accounted for the investments in subsidiaries using cost method whereby the Company has restated the separate financial statements as through the investments had originally been recorded using the cost method. However, the Company considered the value of investments in KCE Technology Co., Ltd.,
a subsidiary, which had deficit balance as at 31 December 2006 of approximately Baht 565 million. The Company
รายงานประจำปี 2550 147 ANNUAL REPORT 2007
set the provision for impairment of these investments as at 31 December 2006 of approximately Baht 563 million. Although, in 2007 the subsidiary had improved the operating results but the provision would be adjusted when the subsidiary has continuous operating income. On 14 July 2006, the Extraordinary General Meeting of the shareholders of K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company, passed a resolution approving the payment of a dividend in respect of prior year’s income at Baht 10.50 per share, or a total sum of Baht 105 million. The dividend was paid to the subsidiary company’s shareholders on 23 August 2006 and 13 September 2006. On 7 August 2006, the Board of Director Meeting of Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary company, passed a resolution approving the payment of a dividend in respect of prior year’s income at Baht 2 per share, or a total sum of Baht 50 million. The dividend was paid to the subsidiary company’s shareholders on 30 August 2006. On 14 July 2006 and 31 July 2006, the Extraordinary General Meeting of the shareholders of KCE Technology Co., Ltd., a subsidiary company, had a special resolution to approve the increase of the subsidiary company’s registered share capital from Baht 900 million (90 million ordinary shares of Baht 10 each) to Baht 1,400 million (140 million ordinary shares of Baht 10 each) through the issuance of 50 million new ordinary shares with a par value of Baht 10 each, Baht 250 million of which had already been paid-up. The subsidiary company registered the share capital increase with the Ministry of Commerce on 25 August 2006. On 8 March 2007, the Company purchased 216,000 shares of KCE (Thailand) Co., Ltd. at Baht 10 per share, or a total sum of Baht 2.16 million, which represents 60 percent of registered share capital of that company. On 10 April 2007, the Extraordinary General Meeting of the shareholders of Konstant Pte. Ltd., a subsidiary company held by the subsidiary of the Company, passed a resolution approving the dissolution of the company. On 20 August 2007, that company finished the process of liquidation in accordance with the Singapore Companies Act.
รายงานประจำปี 2550 148 ANNUAL REPORT 2007
12. INVESTMENTS IN ASSOCIATES
12.1 Details of associates Nature Company’s name of business
(Unit : Baht) Consolidated financial statements Carrying amounts based Shareholding on equity method percentage Cost 2007 2006 2007 2006 2007 2006 (%) (%) KCE America, Inc. Foreign sale United Stated representative of America to the Company and its affiliates 48.750 48.750 643,633 643,633 56,461,901 58,558,481 KCE Singapore Foreign sale Singapore Pte., Ltd. representative to the Company and its affiliates 47.770 47.770 4,201,138 4,201,138 25,711,155 22,557,649 Total 4,844,771 4,844,771 82,173,056 81,116,130 (Unit : Baht) Separate financial statements Company’s name Shareholding percentage Cost 2007 2006 2007 2006 (%) (%) KCE America, Inc. 25.00 25.00 321,816 321,816 KCE Singapore Pte., Ltd. 24.50 24.50 2,100,569 2,100,569 Total 2,422,385 2,422,385
Company’s name KCE America, Inc. KCE Singapore Pte., Ltd. Total
Country of incorporation
Consolidated financial statements Share of income from investments in associates during the year 2007 2006 1,458,266 19,078,022 3,230,649 1,043,783 4,688,915 20,121,805 รายงานประจำปี 2550 149 ANNUAL REPORT 2007
(Unit : Baht) Separate financial statements Dividend received during the year 2007 2006 - - - - - -
Share of income from investments for 2007 in above two associated companies was calculated from the unaudited financial statements of those associated companies because they are located overseas and the Company has no power to direct the financial and operating policies of those companies, including the audit of their financial statements. 12.2 Summarised financial information of associates
(Unit : Thousand Baht) Total revenues for the Net income Paid-up capital as at Total assets as at Total liabilities as at year ended for the year ended 31 December 31 December 31 December 31 December 31 December Company’s name 2007 2006 2007 2006 2007 2006 2007 2006 2007 2006 KCE America, Inc. US$ 50,000 US$ 50,000 586,706 620,254 479,684 519,916 1,645,420 1,871,233 13,595 27,522 KCE Singapore Pte., Ltd. S$ 500,000 S$ 500,000 159,397 180,441 110,905 137,916 630,708 503,520 6,153 1,326
In 1998, the Company made repayment of liabilities from guarantees of loans of Avatar Systems Corporation, a subsidiary of an associated company, totaling approximately Baht 399 million in the consolidated financial statements and in the Company’s financial statements. This company had been liquidated under Chapter 7 of the U.S. Federal Bankruptcy Code. The Company had not received repayment from that company. However, the Company is in the process to sue this case under the court in Thailand. As at 31 December 2007 and 2006, the Company has recorded the above transaction with that company as short-term loans to related parties and has set up a full allowance for such loans and other receivable from that company, as detailed in Note 9 to the financial statements.
รายงานประจำปี 2550 150 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 151 ANNUAL REPORT 2007
404,790,982 - - - 404,790,982 - - - - 404,790,982 404,790,982
Building and Plant 600,212,586 2,122,222 28,544,531 - 630,879,339 186,766,703 27,047,148 - 213,813,851 413,445,883 417,065,488
6,082,471,666 129,276,736 710,823,955 (30,371,830) 6,892,200,527 2,321,142,028 454,494,343 (13,749,465) 2,761,886,906 3,761,329,638 4,130,313,621
Machinery and equipment
Plant improvement 81,819,381 33,964,601 20,008,942 (5,140) 135,787,784 51,115,939 7,391,857 (5,139) 58,502,657 30,703,442 77,285,127
2007 (Baht 488.9 million included in manufacturing cost, and the balance in selling and administrative expenses)
Consolidated financial statements Furniture, fixtures and Office Office equipment improvement Vehicles 512,286,116 11,986,326 44,196,297 9,220,967 387,557 2,012,370 25,317,318 150,000 - (14,277,303) - (5,413,886) 532,547,098 12,523,883 40,794,781 249,209,857 7,235,491 28,516,257 56,277,760 969,526 5,082,783 (9,717,996) - (5,164,194) 295,769,621 8,205,017 28,434,846 263,076,259 4,750,835 15,680,040 236,777,477 4,318,866 12,359,935
Depreciation for the year : 2006 (Baht 472.1 million included in manufacturing cost, and the balance in selling and administrative expenses)
Cost : 31 December 2006 Purchase Transfer in (out) Disposal 31 December 2007 Accumulated depreciation : 31 December 2006 Depreciation for the year Accumulated depreciation of disposed assets 31 December 2007 Net book value : 31 December 2006 31 December 2007
Land
13. PROPERTY, PLANT AND EQUIPMENT
Plant and plant Machinery and improvement equipment Machinery and under under equipment construction installation in transit 16,604,110 544,882,794 14,436,012 13,411,806 619,427,886 67,768,307 (28,950,311) (740,506,473) (15,387,962) - - - 1,065,605 423,804,207 66,816,357 - - - - - - - - - - - - 16,604,110 544,882,794 14,436,012 1,065,605 423,804,207 66,816,357
551,263,417
532,184,229
(Unit : Baht) Total 8,313,686,270 877,592,452 - (50,068,159) 9,141,210,563 2,843,986,275 551,263,417 (28,636,794) 3,366,612,898 5,469,699,995 5,774,597,665
รายงานประจำปี 2550 152 ANNUAL REPORT 2007
231,603,891 - - - 231,603,891 - - - - 231,603,891 231,603,891
Land
14,257,217 1,362,756 - (4,269,586) 11,350,387 11,765,093 757,412 (4,047,086) 8,475,419 2,492,124 2,874,968
Vehicles
(Unit : Baht) Total 1,966,481,397 480,371,590 - (30,373,038) 2,416,479,949 944,189,395 121,756,341 (29,939,429) 1,036,006,307 1,022,292,002 1,380,473,642
121,756,341
114,150,089
Machinery and equipment Machinery and under equipment installation in transit 202,970,922 6,557,775 279,978,155 42,259,053 (278,308,567) - - - 204,640,510 48,816,828 - - - - - - - - 202,970,922 6,557,775 204,640,510 48,816,828
As at 31 December 2007 and 2006, certain machinery and equipment of the Company and its subsidiaries have been fully depreciated but are still in use.
The original cost of those assets amounted to Baht 817.7 million and Baht 780.7 million, respectively (The Separate financial statements : Baht 409.8 million and Baht 431.7 million, respectively).
2007 (Baht 118.0 million included in manufacturing cost, and the balance in selling and administrative expenses)
Separate financial statements Furniture, Machinery fixtures Building and and Plant and Office Office Plant equipment improvement equipment improvement 81,125,125 1,346,362,653 48,622,482 25,099,334 9,881,998 - 122,219,624 31,110,114 3,054,330 387,558 - 264,025,993 14,132,574 - 150,000 - (26,049,102) - (54,350) - 81,125,125 1,706,559,168 93,865,170 28,099,314 10,419,556 51,941,138 816,927,600 39,155,602 18,622,921 5,777,041 3,782,958 108,179,142 6,008,175 2,523,789 504,865 - (25,879,987) - (12,356) - 55,724,096 899,226,755 45,163,777 21,134,354 6,281,906 29,183,987 529,435,053 9,466,880 6,476,413 4,104,957 25,401,029 807,332,413 48,701,393 6,964,960 4,137,650
Depreciation for the year : 2006 (Baht 110.6 million included in manufacturing cost, and the balance in selling and administrative expenses)
Cost : 31 December 2006 Purchase Transfer in (out) Disposal 31 December 2007 Accumulated depreciation : 31 December 2006 Depreciation for the year Accumulated depreciation of disposed assets 31 December 2007 Net book value : 31 December 2006 31 December 2007
13.1 As at 31 December 2007, the Company and its two subsidiaries, K.C.E. International Co., Ltd. and Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., entered into negative pledge memorandums which are part of bank overdrafts and loans agreements. Under these memorandums, the Company and its subsidiaries are not allowed to dispose of, transfer, mortgage or provide any lien on their assets, as stipulated in such memorandums. 13.2 As at 31 December 2007, the subsidiaries of the Company have mortgaged and pledged the following property, plant and equipment :- 13.2.1 Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary, has mortgaged construction and pledged its machinery with a total net book value as at 31 December 2007 of Baht 127 million as collateral for loans from banks, as described in Note 17 to the financial statements. 13.2.2 KCE Technology Co., Ltd. a subsidiary, has mortgaged most of land and construction thereon and pledged most of its machinery as collateral for bank overdrafts and loans from banks, as described in Notes 15 and 17 to the financial statements. 13.3 The Company and its subsidiaries have capitalised interest expenses as part of costs of machinery and equipment under installation as follows. (Unit : Thousand Baht) For the year ended 31 December 2007 2006 Consolidated financial statements 7,808 4,566 Separate financial statements 4,044 2,508
The assets capitalisation rates for the year ended 31 December 2007 are at the rates between 3.50 to 7.25 percent per annum in the consolidated financial statements and the separate financial statements. (2006 : at the rates between 4.74 to 7.14 percent per annum)
รายงานประจำปี 2550 153 ANNUAL REPORT 2007
14. GOODWILL/NEGATIVE GOODWILL
Goodwill Less : Accumulated amortisation of goodwill Goodwill - net
(Unit : Baht) Consolidated financial statements 2007 2006 57,204,718 57,204,718 (57,204,718) (57,137,201) - 67,517
Negative goodwill Less : Accumulated amortisation of negative goodwill Negative goodwill - net
Amortisation expenses of goodwill/negative goodwill for the year
(17,968,446) (17,968,446) 10,781,064 7,187,376 (7,187,382) (10,781,070)
(3,526,171)
(3,526,171)
15. BANK OVERDRAFTS AND SHORT-TERM LOANS FROM FINANCIAL INSTITUTIONS
Bank overdrafts and short-term loans from financial institutions as at 31 December 2007 and 2006 are consisted of :- (Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements 2007 2006 2007 2006 Bank overdrafts 38,100,235 32,806,525 - 6,906,731 Short-term loans 1,003,000,000 1,072,000,000 215,000,000 235,000,000 Packing credits 2,147,000,000 1,910,200,000 612,000,000 563,500,000 Trust receipts 535,986,109 405,507,721 42,104,492 16,240,697 Total 3,724,086,344 3,420,514,246 869,104,492 821,647,428 15.1 As at 31 December 2007 and 2006, bank overdrafts and partial loans from banks of the Company are guaranteed by K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company. 15.2 As at 31 December 2007 and 2006, bank overdrafts and loans from banks of K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company, are guaranteed by the Company. 15.3 As at 31 December 2007 and 2006, bank overdrafts and loans from banks of KCE Technology Co., Ltd.,
a subsidiary company, are guaranteed by the Company and are secured by the mortgage of land, construction thereon and the pledge of most of machinery of such subsidiary company.
รายงานประจำปี 2550 154 ANNUAL REPORT 2007
16. ACCOUNTS PAYABLE UNDER FINANCIAL LEASE AGREEMENTS
As at 31 December 2007 and 2006, accounts payable under financial lease agreements are as follows :-
Accounts payable under financial lease agreements (Contractual value) Less : Current portion due within one year Accounts payable under financial lease agreements - net of current portion
Consolidated financial statements 2007 2006 105,627,533 - (23,249,671) - 82,377,862 -
(Unit : Baht) Separate financial statements 2007 2006 105,358,301 - (22,980,439) - 82,377,862 -
The Company entered into a number of financial lease agreements with a leasing company for machinery and equipment for its operations. The rental installments are paid on a monthly basis for up to 48 periods. At the end of each agreement, the Company has an option to purchase such machinery and equipment at terms and prices which are specified in the lease agreements.
17. LONG-TERM LOANS
EURO portion Baht portion Less: Current portion of long-term loans Long-term loans, net of current portion
(Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements 2007 2006 2007 2006 201,331,480 260,242,428 107,177,151 120,043,872 1,176,164,770 1,465,624,770 - 2,850,000 1,377,496,250 1,725,867,198 107,177,151 122,893,872 (573,383,283) (696,813,251) (63,796,691) (74,648,460) 804,112,967 1,029,053,947 43,380,460 48,245,412
As at 31 December 2007, the Company and its two subsidiaries, K.C.E. International Co., Ltd. and KCE Technology Co., Ltd. had long-term loans from banks in EURO currency of EURO 4.1 million in consolidated financial statements and EURO 2.2 million in the separate financial statement (2006 : EURO 5.4 million in consolidated financial statements and EURO 2.5 million in the separate financial statement).
รายงานประจำปี 2550 155 ANNUAL REPORT 2007
KCE Technology Co., Ltd., a subsidiary company, negotiated with a local commercial bank for changing the principal repayment condition of loan facility of Baht 1,070 million, and in September 2006 received a letter from the bank approving the change of the principal repayment condition that all loan principal repayment of Baht 267.50 million will be made within 22 December 2006. The subsidiary company has subsequently renegotiated with a local commercial bank for changing the principal repayment condition back to previously agreement which loan principal repayment of Baht 133.75 million would be made within December 2006 which was already paid. The remaining outstanding loan principal of Baht 133.75 million was made within January 2007 and April 2007. The amendment agreement for this change was made in January 2007 and the remaining outstanding loan was already paid in 2007.
รายงานประจำปี 2550 156 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 157 ANNUAL REPORT 2007
No. Contract date Credit facility The Company Only 1. 18 August 2005 Euro 1,000,000 2. 9 June 2006 Euro 3,500,000 Total loans of the Company
Outstanding long-term loan amount Current portion Non-current portion Total (Baht) (Baht) (Baht) 5,889,918 - 5,889,918 57,906,773 43,380,460 101,287,233 63,796,691 43,380,460 107,177,151
Details of long-term loans from bank as at 31 December 2007 are as follows:- Significant terms and conditions of loan agreements Loan Principal Interest period repayment repayment 3 years 1 month 1 month 3 years 1 month 1 month
รายงานประจำปี 2550 158 ANNUAL REPORT 2007
Outstanding long-term loan amount Significant terms and conditions of loan agreements Non-current Loan Principal Interest No. Contract date Credit facility Current portion portion Total period repayment repayment (Baht) (Baht) (Baht) Subsidiaries K.C.E International Co., Ltd. 1. 2 July 2004 Baht 109,500,000 33,375,000 - 33,375,000 4 years 1 month 1 month 2. 2 July 2004 Euro 1,000,000 15,158,971 - 15,158,971 4 years 1 month 1 month 48,533,971 - 48,533,971 Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. 1. 18 July 2002 Baht 340,000,000 34,800,000 135,000,000 169,800,000 5 years 3 months 3 months 34,800,000 135,000,000 169,800,000 KCE Technology Co., Ltd. 1. 1 December 2003 Euro 3,000,000 34,932,621 44,062,737 78,995,358 6 years 3 months 3 months 1 month 2. 9 August 2004 Baht 445,500,000 104,800,000 183,500,000 288,300,000 6 years 3 months 3. 20 September 2004 Baht 704,049,770 167,720,000 33,169,770 200,889,770 4 years 6 months 3 months 1 month 4. 27 October 2004 Baht 124,500,000 29,200,000 58,800,000 88,000,000 6 years 3 months 1 month 5. 28 February 2005 Baht 180,000,000 42,400,000 95,200,000 137,600,000 6 years 3 months 1 month 6. 31 October 2005 Baht 200,000,000 47,200,000 141,000,000 188,200,000 6 years 3 months 1 month 7. 8 August 2007 Baht 70,000,000 - 70,000,000 70,000,000 6 years 3 months 1 month 426,252,621 625,732,507 1,051,985,128 Total loans of subsidiaries 509,586,592 760,732,507 1,270,319,099 Total loans of the Company and subsidiaries 573,383,283 804,112,967 1,377,496,250
17.1 Long-term loans from banks of the Company is EURO loan which carry interest at the rate of LIBOR plus 1.5 to 2.5 percent per annum. 17.2 A long-term loan from bank of K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company, are Baht and EURO loans which carry interest at the rates of 3.5 percent and LIBOR plus 1.5 percent per annum, respectively. The loans are guaranteed by the Company. 17.3 A long-term loan from bank of Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary company, carries interest at the rates of MLR (Minimum Loan Rate) less 1.0 to 1.5 percent per annum. The loan is guaranteed by the Company and secured by mortgage of the subsidiary company’s plant, building and pledge of part of its machinery. In addition, there are certain significant conditions that the subsidiary has to comply with, such as maintaining a ratio of total debt to equity not exceeding 3 : 1. Moreover, the Company and its subsidiaries must maintain the shareholding structure, whether by direct or indirect holding at not less than 51 percent of the registered and paid-up capital of the subsidiary. 17.4 Long-term loans from banks of KCE Technology Co., Ltd. a subsidiary company are Baht and Euro loans which carry interest at the rates between MLR (Minimum Loan Rate) less 1.25 percent and MLR (Minimum Loan Rate) per annum and LIBOR plus 2.0 percent per annum, respectively. These loans are guaranteed by the Company and are secured by the mortgage of the subsidiary’s land and construction thereon and the pledge of most of the subsidiary’s machinery.
18. SHARE CAPITAL 18.1 Convertible debenture
On 27 April 2006, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders passed a resolution approving the issuance and offering of the THB Senior Convertible Debentures for the amount not more than Baht 500 million which will be offered to specific investor (Private Placement) and allocation of share to reserve for the exercise of the convertible debentures. However, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders passed a resolution approving the cancellation of the resolution of the Annual General Meeting of the Company’s shareholders on 27 April 2006 regarding the issuance and offering of convertible debentures of the Company and allocation of the newly issued shares to accommodate the exercise of the convertible debentures.
18.2 Share warrant
On 27 April 2006, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders passed a resolution approving the issuance and offering of warrants to purchase the Company’s ordinary share to the employees of the Company and/or its subsidiaries under the ESOP program of 3,000,000 units and allocation of shares to reserve for the exercise of the warrant. รายงานประจำปี 2550 159 ANNUAL REPORT 2007
On 24 July 2007, the meeting of the Company’s Board of Directors passed a resolution approving the detail for issuing and offering the warrants of ordinary shares for the amount of 3,000,000 units to the employees of the Company and/or its subsidiaries in accordance with the approval from the Annual General Meeting of the Company’s shareholders on 27 April 2006. The Company has been already permitted by the Securities and Exchange Commission for issuing and offering those warrants on 6 August 2007.
The movements of warrants during the year ended 31 December 2007 and 2006 are as follows:-
Warrants issued as at beginning of the year Add : warrants issued during the year Warrants issued as at end of the year
Number of units 2007 2006 - - 2,370,000 - 2,370,000 -
On 9 August 2007 and 10 October 2007, the Company issued and allotted 365,000 and 2,005,000 registered and untransferable (except for transferring as stipulated in the prospectus) warrants free of charge, respectively, to the employees of the Company and/or its subsidiaries. These warrants are exercisable at a price of Baht 3.93 per share at a ratio of 1 warrant to 1 new ordinary share, every quarter from 15 to 18 of March, June, September and December, for a period of 5 years from the issue date, starting from 15 to 18 September 2008 and with a final exercise date of 18 June 2012. The aforesaid exercise price and/or exercise ratio may be adjusted if certain events stipulated in the prospectus occur. As at 31 December 2007, 2,370,000 units of issued warrant remained. No warrants were exercised because the exercise date started from 15 to 18 September 2008.
18.3 Company’s ordinary shares
On 30 April 2007, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders passed a resolution approving the reduction and the increase of the registered capital as follow :-
a) b)
Reducing registered capital from Baht 450,000,000 (450,000,000 shares at the par value of Baht 1 per share) to Baht 317,930,000 (317,930,000 shares at the par value of Baht 1 per share) by canceling 132,070,000 authorised but unissued shares. Increasing registered capital from Baht 317,930,000 (317,930,000 shares at the par value of Baht 1 per share) to Baht 500,000,000 (500,000,000 shares at the par value of Baht 1 per share) by issuing the newly issued shares in the number of 182,070,000 shares at the par value of Baht 1 per share whereby 157,465,000 shares are to be offered to the existing shareholders of the Company, at the ratio of 2 existing shares to 1 new share and at offering price of Baht 1 per share. The remaining 24,605,000 shares shall be proposed for further consideration by the shareholders. รายงานประจำปี 2550 160 ANNUAL REPORT 2007
The Company had been paid up the increased share capital of Baht 147.6 million and registered it with the Ministry of Commerce on 22 June 2007.
18.4 Company’s shares held by its subsidiaries
The Company’s shares held by its subsidiaries represent the Company’s ordinary shares which are held by its two subsidiaries, K.C.E. International Co., Ltd. and Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. However, during the year, Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. disposed all its shares of the Company, therefore as at 31 December 2007, only subsidiary company which holds shares of the Company is K.C.E. International Co., Ltd.
This shareholding is presented as a deduction item in the shareholders’ equity in order to present the net Company’s shareholders’ equity in the consolidated financial statements. The details as at 31 December 2007 and 2006 are as follows :- 2007 2006 Number of shares held by its subsidiaries (shares) 4,571,850 4,905,000 Cost of shares (Baht) 12,962,513 18,209,154 Shares discount (Baht) 1,847,064 4,534,660 Shares held by its subsidiaries (Baht) 14,809,577 22,743,814
18.5 Weighted average number of ordinary shares
As at 31 December 2007 and 2006, the weighted average number of ordinary shares in the consolidated financial statements is calculated as follows:- (Unit : Shares) 2007 2006 Balance brought forward 314,930,000 314,930,000 Add : Shares issued during the year 78,028,720 - Less: Shares of the Company held by subsidiaries (4,571,850) (4,905,000) Weighted average number of ordinary shares 388,386,870 310,025,000 Add : Potential ordinary share - share warrants (2007 : 2,370,000 shares, 2006 : no balances) - - Diluted weighted average number of ordinary shares 388,386,870 310,025,000 Since exercise price of the above warrants exceeds the weighted average of fair value of ordinary shares for the year ended 31 December 2007, the Company expected that the warrant will not be exercised. Therefore, the issued share warrant is excluded from the calculation of potential diluted ordinary shares for diluted earnings per share calculation. รายงานประจำปี 2550 161 ANNUAL REPORT 2007
Balance brought forward Add : Shares issued during the year Weighted average number of ordinary shares
(Unit : Share) Separate financial statements 2007 2006 314,930,000 314,930,000 78,028,720 - 392,958,720 314,930,000
19. CORPORATE INCOME TAX
No corporate income tax is payable on the Company’s income for 2007 and 2006 because the Company has tax loss from the write-off of debts according to the Central Bankruptcy Court’s order and has tax loss carried forward from prior years over its income for the year. Corporate income tax for 2007 and 2006 of three subsidiary companies, K.C.E. International Co., Ltd., Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. and KCE Technology Co., Ltd., have been calculated from the non-BOI promoted income (if any), after adding back non-tax deductible expenses and deducting loss from the write-off of debts according to the Central Bankruptcy Court’s order and tax loss carried forward from prior years.
20. STATUTORY RESERVE
Pursuant to Section 116 of the Public Limited Companies Act B.E. 2535, the Company is required to set aside a statutory reserve at least 5 percent of its net income deducting accumulated deficit brought forward (if any), until the reserve reaches 10 percent of the registered capital. The statutory reserve is not available for dividend distribution.
21. DIVIDEND PAYMENT
On 30 April 2007, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders passed a resolution approving the omission of the annual dividend payment for the year 2006 to the Company’s shareholders. On 27 April 2006, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders passed a resolution approving the omission of the annual dividend payment for the year 2005 to the Company’s shareholders.
22. PRIOR YEAR’S ADJUSTMENT
The Company has adjusted the beginning retained earnings as at 1 January 2006 amounting Baht 0.4 million, on the consolidated statements of changes in shareholders equity because of under recording of minority interest in subsidiaries in 2005.
รายงานประจำปี 2550 162 ANNUAL REPORT 2007
23. NUMBER OF EMPLOYEES AND RELATED COSTS Number of employees at the end of year (Persons) Employee costs for the year (Million Baht)
Consolidated financial statements 2007 2006 4,703 4,243 1,055 941
Separate financial statements 2007 2006 1,476 1,266 359 313
24. PROVIDENT FUND
The Company and its subsidiaries, and their employees have jointly established a provident fund as approved by the Ministry of Finance in accordance with the Provident Fund Act B.E. 2530. Both employees and the Company or the subsidiary companies contributed to the fund monthly at the rates of 3 - 8 percent of their basic salary. The fund, which is managed by National Asset Management Co., Ltd., will be paid to employees upon termination in accordance with the fund rules. During the year 2007, the Company and its subsidiaries contributed Baht 19.3 million in consolidated financial statements (2006 : Baht 14.5 million) and Baht 7.6 million in the separate financial statement (2006 : Baht 7.5 million) to the fund.
25. PROMOTIONAL PRIVILEGES
The Company and its subsidiaries have been granted promotional privileges under the Investment Promotion Act B.E. 2520 by the Board of Investment under certain significant conditions. Significant privileges of the Company and its subsidiaries are as follow :-
รายงานประจำปี 2550 163 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 164 ANNUAL REPORT 2007
Details KCE Electronics Public Company Limited K.C.E. International Co., Ltd. Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. KCE Technology Co., Ltd. 1. Certificate No. 1292/2539 1062/2541 1065/2543 1003/2538 1015/2543 1278(2)2548 1099/2544 1249(1)/2545 1664(2)/2547 1176(2)/2550 1378/2543 1598(2)/2547 Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing 2. Promotional privileges for of Printed of Printed of Printed of Printed of Printed of Printed of Prepreg of Laminate of Prepreg of Prepreg and of Printed of Printed Circuit Board Circuit Board Circuit Board Circuit Board Circuit Board Circuit Board Laminate Circuit Board Circuit Board 3. The significant privileges are 3.1 Exemption of corporate income 3 years 3 years 3 years 3 years 3 years 3 years 3 years 3 years 3 years 5 years 7 years 7 years (Expired) (Expired) (Expired) tax for net income from (Expired) (Expired) (Expired) (Expired) (Expired) promotional operation and exemption of income tax on dividends paid from the profit of the operations throughout the period in which the corporate income tax is exempted. 3.2 Allowance for 5% of the Granted Granted Granted Granted Granted Not granted Granted Not granted Not granted Not granted Granted Not granted (Expired) increment in export income (Expired) over the preceding year for ten years, providing that the export income of that particular year should not be lower than the average export income over the three preceding years except for the first two years. 3.3 Exemption of import duty Granted Granted Granted 50% Granted Granted Granted Granted Granted Granted Granted Granted Exemption on machinery as approved by the board. 3.4 Exemption of import duty on Granted Granted Not granted Granted Not granted Not granted Not granted Not granted Not granted Not granted Granted Granted (Expired) (Expired) (Expired) raw materials and significant (Expired) (Expired) supplies used in export production for a period of one year from the first import date. 4. Date of first earning operating 6 January 8 August 4 June 15 June 13 October 1 September 3 November 1 September 7 July 2 May 25 June 1 November income 1996 1998 2000 1994 1999 2006 2000 2003 2004 2007 2001 2004
All sales of the Company for 2007 and 2006 are derived from non-promoted operation which could be separated between export and local sales as follows :- (Unit : Baht) 2007 2006 Sales Export 2,879,219,356 2,389,845,964 Local sales 46,322,555 95,526,423 Total sales 2,925,541,911 2,485,372,387
26. EARNINGS PER SHARE
Basic earnings per share is calculated by dividing net income for the year by the weighted average number of ordinary shares held by outsiders and in issue during the year. Diluted earnings per share is calculated by dividing net income for the year by the total sum of the weighted average number of ordinary shares held by outsiders and in issue during the year and the weighted average number of ordinary shares to be issued for conversion of all dilutive potential ordinary shares into ordinary shares. The calculation assumes that the conversion took place either at the beginning of the year or on the date the potential ordinary shares were issued.
27. COMMITMENTS AND CONTINGENT LIABILITIES
27.1 As at 31 December 2007, the Company and its subsidiaries have rental and service contract commitments with a period of 1 - 3 years. The future minimum charge according to the agreements until the end of the agreements are as follows :- Currency
Baht US Dollar
Consolidated financial statements 48,379,360 68,140
รายงานประจำปี 2550 165 ANNUAL REPORT 2007
Separate financial statements 25,062,985 -
27.2 As at 31 December 2007, the Company and its subsidiaries have outstanding bank guarantees of approximately Baht 59.1 million (the separate financial statements : Baht 24.4 million) in respect of certain performance bonds as required in the normal course of business, mainly for guarantee of electric payment. 27.3 As at 31 December 2007, the Company and its subsidiaries had commitment to purchase machine amounting to approximately USD 1.7 million and YEN 34.6 million and Euro 0.1 million or totally equivalent to Baht 78.0 million (The Company only : USD 1.7 million and Euro 0.1 million or totally equivalent to Baht 65.6 million). 27.4 As at 31 December 2007 and 2006, the Company and its subsidiaries have contingent liabilities in respect of cross guarantees of loans and other credit facilities as follows:- (Unit : Million) Guarantor Guarantee company KCE Electronics Plc. K.C.E. International Co., Ltd. 2007 2006 2007 2006 K.C.E. International Co., Ltd. - Baht 212 319 - - - USD 5 - - - KCE Technology Co., Ltd. - Baht 3,846 3,871 - - - EURO 2 2 - - Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. - Baht 170 81 - - KCE Electronics Plc. - Baht - - 258 439 27.5 As at 31 December 2007, Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary company, has one year distributionship commitment to commission the Southeast Asia distributors at the rate stipulated in the agreement. 27.6 On 26 October 2005, KCE America Inc., an associated company, had entered into operating lease agreement for its office premises with a subsidiary of an associated company for a period of 15 years. Under this agreement, as at 31 December 2007, the associated company has commitment to pay the rental fee in the future of approximately USD 1.9 million or equivalent to approximately Baht 65.4 million.
รายงานประจำปี 2550 166 ANNUAL REPORT 2007
รายงานประจำปี 2550 167 ANNUAL REPORT 2007
Consolidated financial statements For the year ended 31 December Printed Circuit Board business Prepreg and Laminate business America Europe Asia Total 2007 2006 2007 2006 2007 2006 2007 2006 2007 2006 Revenue from external customers 138,701 133,452 1,633,058 1,548,740 4,900,339 3,759,663 1,693,313 2,097,999 8,226,710 7,406,402 Inter-segment 1,447,262 1,230,151 - - - - 870,940 797,171 870,940 797,171 revenues Total revenues 1,585,963 1,363,603 1,633,058 1,548,740 4,900,339 3,759,663 2,564,253 2,895,170 9,097,650 8,203,573 Segment operating 1,324,125 920,740 income 140,397 175,316 Unallocated income Interest income Unallocated expenses Interest expenses Corporate income tax Minority interest in income of subsidiaries Net income (loss) Financial information by business segment for the consolidated balance sheets as at 31 December 2007 and 2006 are as follows :- Prepreg and Laminate business 2007 2006 525,044 500,732 Property, plant and equipment - net Other assets 939,273 765,450 1,464,317 1,266,182 Total assets Transfer prices between business segments are as set out in Note 9 to the financial statements
(Unit: Thousand Baht)) Printed Circuit Board business Total 2007 2006 2007 2006 5,249,554 4,968,968 5,774,598 5,469,700 3,163,094 2,880,423 4,102,367 3,645,873 8,412,648 7,849,391 9,876,965 9,115,573
Eliminating entries 2007 2006 - - (2,318,202) (2,027,322) (2,318,202) (2,027,322) 6,669 33,987
Total 2007 2006 8,365,411 7,539,854 - - 8,365,411 7,539,854 1,471,191 1,130,043 186,754 144,170 32,300 32,053 (1,113,441) (1,080,046) (287,770) (296,124) (10,517) (13,990) (21,091) (32,453) 257,426 (116,347)
(Unit : Thousand Baht)
The Company and its subsidiaries’ operations mainly involve business segments in printed circuit board, prepreg and laminate products with production facilities in Thailand and operates in both local and overseas markets. Financial information of the Company and its subsidiaries by business is as follows:-
28. FINANCIAL INFORMATION BY SEGMENT
29. FINANCIAL INSTRUMENTS 29.1 Financial risk management
The Company and its subsidiaries’ financial instruments, as defined under Thai Accounting Standard No. 48 “Financial Instruments: Disclosure and Presentations”, principally comprise cash and cash equivalents, trade accounts receivable, investments, trade accounts payable, and short-term and long-term loans. In addition, the Company and its subsidiaries have off-balance sheets derivatives for hedging the risk from commodities’ price. The financial risks associated with these financial instruments and derivatives and how they are managed is described below.
Credit risk
The Company and its subsidiaries are exposed to credit risk primarily with respect to trade accounts receivable. The Company and its subsidiaries manage the risk by adopting appropriate credit control policies and procedures and therefore do not expect to incur material financial losses. In addition, the Company and its subsidiaries do not have high concentration of credit risk since they have a large customer base that has good payment abilities. The maximum exposure to credit risk is limited to the carrying amounts of receivables as stated in the balance sheet.
Interest rate risk The Company and its subsidiaries’ exposure to interest rate risk relates primarily to its cash at banks and financial institutions, bank overdrafts, and loans from bank. However, since most of the Company and its subsidiaries’ financial assets and liabilities bear floating interest rates or fixed interest rates which are close to the market rate, the interest rate risk is expected to be minimal.
รายงานประจำปี 2550 168 ANNUAL REPORT 2007
Significant financial assets and liabilities as at 31 December 2006 classified by type of interest rates are summarised in the table below.
Consolidated financial statements Floating Non-interest interest rate bearing Total interest rate (Million Baht) (% p.a.) Financial Assets Cash and cash equivalents 190 - 190 0.25 - 0.75 Trade accounts receivable - 1,998 1,998 - Investments in associates accounted for under equity method - 82 82 - Investments in marketable securities - 1 1 - 190 2,081 2,271 Financial liabilities Bank overdrafts 38 - 38 4.00 - 7.63 Short-term loans from financial institutions 3,686 - 3,686 4.80 - 7.83 Trade accounts payable - 1,421 1,421 - Amounts due to and advances from related parties - 9 9 - Other payable from purchases of equipment - 206 206 - Accounts payable under financial lease agreements 106 - 106 6.35 - 6.76 Long-term loans 1,377 - 1,377 5.25 - 6.97 5,207 1,636 6,843
รายงานประจำปี 2550 169 ANNUAL REPORT 2007
Separate financial statements interest Floating Non-interest interest rate bearing Total rate (Million Baht) (% p.a.) Financial Assets Cash and cash equivalents 83 - 83 0.25 Trade accounts receivable - 711 711 - Investments in subsidiaries and associates accounted for under cost method - 922 922 - Investments in marketable securities - 1 1 - 83 1,634 1,717 Financial liabilities Short-term loans from financial institutions 869 - 869 4.10 - 6.75 Trade accounts payable - 672 672 - Amounts due to and advances from related parties - 8 8 - Other payable from purchases of equipment - 153 153 - Accounts payable under financial lease agreements 105 - 105 6.35 - 6.76 Long-term loans 107 - 107 5.97 - 6.97 1,081 833 1,914
Foreign currency risk The Company and its subsidiaries’ exposure to foreign currency risk relates primarily to their sales of goods, purchases of materials and loans, which are denominated in foreign currencies. The Company and its subsidiaries have policies to manage their assets and liabilities denominated in foreign currencies through balancing the proportions and conditions of those assets and liabilities (Natural Hedging), with emphasis on having cash inflows and cash outflows occur concurrently. In addition, the policy has also been focused on hedging on transaction risk in accordance with varying situations and forecasts of the foreign exchange rates. As a result, the Company and its subsidiaries have entered into a number of forward exchange contracts with banks that have maturities of less than one year in order to hedge their foreign currency risk.
รายงานประจำปี 2550 170 ANNUAL REPORT 2007
As at 31 December 2007, the Company and its subsidiaries had balances of financial assets and liabilities denominated in foreign currencies as follow :- Consolidated Separate financial statements financial statements Exchange rate as at Foreign currency 31 December 2007 Assets Liabilities Assets Liabilities (Thousand Unit) (Thousand Unit) (Thousand Unit) (Thousand Unit) Buying rate Selling rate (Baht per unit of foreign currency) USD 45,581 46,773 14,573 18,304 33.5519 33.8850 EURO 9,554 5,120 3,409 2,783 48.9006 49.6202 GBP 311 24 290 - 66.8427 67.7950 YEN - 106,133 - 43,393 - 0.2997 As at 31 December 2007, the Company and its subsidiaries had outstanding forward exchange contracts, of which details are presented below :- Currency Amount Maturity date Contract exchange rate (Thousand) (Baht per unit of foreign currency) Buy USD 4,089 4 January 2008 - 8 May 2008 33.7200 - 34.1400 YEN 250,000 15 January 2008 - 21 January 2008 0.2788 - 0.2798 Sell EURO 9,009 15 January 2008 - 3 July 2008 47.3000 - 50.3250 USD 65,353 15 January 2008 - 2 July 2008 33.4960 - 34.0750
Commodity price risk As at 31 December 2007, the Company and its subsidiaries had outstanding commodity swap agreements, of which details are presented below :-
Type of goods Quantity (Ton) Copper 560
Maturity date 30 April 2009-31 May 2008
Commodity’s market price Contract price as at 31 December 2007 (US dollar per unit) (US dollar per unit) 6,600 - 7,500 6,677
รายงานประจำปี 2550 171 ANNUAL REPORT 2007
29.2 Fair values of financial instruments
Since the majority of the Company and its subsidiaries’ financial instruments are short-term in nature
or bear floating interest rates, their fair value is not expected to be materially different from the amounts presented in the balance sheets. A fair value is the amount for which an asset can be exchanged or a liability settled between knowledgeable, willing parties in an arm’s length transaction. The fair value is determined by reference to the market price of the financial instrument or by using an appropriate valuation technique, depending on the nature of the instrument.
30. RECLASSIFICATION
In addition to the change in accounting policy as mentioned in Note 5, which affects the previously reported net loss and shareholder’s equity, revenues amounts in the consolidated financial statements for the year ended 31 December 2006 have been reclassified to conform to the current year’s classification but with no effect to previously reported net loss other than from the change in accounting policy.
31. APPROVAL OF FINANCIAL STATEMENTS
These financial statements were authorised for issue by the Company’s Board of Directors on 26 February 2008.
รายงานประจำปี 2550 172 ANNUAL REPORT 2007
รายการที่กำหนดตามแบบ 56-2 CHECK LIST OF 56-2 รายการ / Items ข้อมูลทั่วไป General Information ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทและบริษัทย่อย Financial Highlights of the Company ลักษณะการประกอบธุรกิจ Overview Business ปัจจัยความเสี่ยงและนโยบายการบริหารความเสี่ยง Risk Factors and Risk Management โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ Shareholders ผู้ถือหุ้น (Shareholders and Management Structures) การจัดการ (Management) การกำกับดูแลกิจการ (Corporate Good Governance) รายการระหว่างกัน Connected Transactions คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน Management Discussion and Analysis งบการเงิน Financial Statement รายงานประจำปี 2550 173 ANNUAL REPORT 2007
หน้า / Page 66-67 3 10-11 62-65 12-17 12 12-17 22-53 60-61 56-59 72-151
√“¬ß“πª√–®”ªï 2550 Annual Report 2007 ∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED†
∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED† 125-125/1, 1 À¡Ÿà 4 π‘§¡Õÿµ “À°√√¡≈“¥°√–∫—ß ·¢«ß≈”ª≈“∑‘« ‡¢µ≈“¥°√–∫—ß °√ÿ߇∑æœ 10520 125-125/1, 1 Moo 4 Lat Krabang Industrial Estate, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok 10520, Thailand Tel. (662) 326-0196 Fax. (622) 326-0300 Website : www.kcethai.in.th
∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈Á§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED
√“¬ß“πª√–®”ªï 2550 I Annual Report 2007