:: Annual Report 2008 ::

Page 1

∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π)

KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED

√“¬ß“πª√–®”ªï 2551

Annual Report 2008


นโยบายคุณภาพ ผลิตและบริการลูกค้าให้ได้ตามที่ตกลงหรือดีกว่า โดยปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และทำให้ถูกต้อง ในครั้งเดียว


Quality Policy KCE commits to provide products and services to meet or exceed agreed requirements for all of our customers through continuous improvement and by doing it right the first time.



สารบัญ Contents จุดเด่นในรอบปี Financial Highlights ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทและบริษัทย่อย Summarized Financial Data รายงานของคณะกรรมการปี 2551 Directors’ Report 2008 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ The Audit Committee Report ลักษณะการประกอบธุรกิจ Nature of Business กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก Top Ten Shareholders From Shareholder List คณะกรรมการบริษัทฯ Board of Directors เจัาหน้าที่ระดับผู้บริหาร Management Staff ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร Remuneration รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดี Corporate Governance Report ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน Industrial Status and Competition คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ Management Explanation and Analysis บุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วมและรายการระหว่างกัน Persons with vested interest and cross over transactions ปัจจัยความเสี่ยงและนโยบายการบริหารความเสี่ยง Risk Factors and Risk Management ข้อมูลทั่วไป General Information รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน Report of the Board of Directors’ Responsibilities for Financial Statements รายงานของผู้สอบบัญชีและงบการเงิน Report of Independent Auditor and Financial Statements รายการที่กําหนดตามแบบ Check List of 56-2

4 5 6 10 12 15 16 26 28 30 66 72 80 82 88 92 94 199


จุดเด่นในรอบปี Financial Highlights

(Based on Consolidated Financial Statement) 2551 2008 รายได้รวม 7,896.501 Total Revenue กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่าย ภาษี ค่าเสือ่ มราคา และค่าตัดจำหน่าย 437.558 EBITDA กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (399.170) Net Profit (Loss) for the year เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงาน 602.880 Net cash from operating activities กำไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ถัวเฉลีย่ (บาท) (0.86) Basic Earnings per share (Baht) จำนวนหุน้ (ถัวเฉลีย่ ) (พันหุน้ ) 462,219 Weighted Avg. number of ordinary shares (in Thousand shares) จำนวนพนักงาน (คน) 4,053 Number of employees (person) สินทรัพย์รวม 9,384.641 Total Assets หนีส้ นิ รวม 7,074.400 Total Liabilities ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 2,310.241 Total shareholders’ equity ทุนทีอ่ อกจำหน่ายและชำระแล้ว 462.497 Issued and paid up capital อัตราการจ่ายเงินปันผล (%) - Dividend payout ratio

รายรับทั้งสิ้น Total Revenues

ลานบาท / Million Baht 8,800 8,600 8,578.71 8,400 8,200 8,000 7,896.50 7,716.08 7,800 7,600 7,400 7,200 2551 2550 2549 2008 2007 2006

รายงานประจำปี 2551

หน่วย : ล้านบาท Unit : Million Baht 2550 2549 2007 2006 8,578.713

7,716.077

1,124.543

754.878

257.426

(116.347)

631.092

486.577

0.66

(0.37)

388,387

310,025

4,703

4,243

9,876.965

9,115.573

7,166.872

6,832.298

2,710.093

2,283.275

462.497

314.930

12.12%

-

กำไร (ขาดทุน) สุทธิ Net Profit (Loss) ลานบาท / Million Baht 257.43 300 200 100 0 -100 -116.35 -200 -300 -400 -399.17 -500 2551 2550 2549 2008 2007 2006


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทและบริษัทย่อย Summarized Financial Data

แสดงข้อมูลเปรียบเทียบทางการเงิน / Financial Data สินทรัพย์รวม Total Assets หนีส้ นิ รวม Total Liabilities รวมส่วนของผู้ถือหุ้น Total shareholders’ Equity รายได้จากการขาย Sales Revenue รายได้รวม Total Revenue กำไรขัน้ ต้น Gross Profit กำไรจากการดำเนินงาน ก่อนดอกเบีย้ ภาษี และขาดทุน จากการป้องกันความเสีย่ ง Operating profit before interest, tax and loss from hedging activity กำไร (ขาดทุน) สุทธิ Net Profit (Loss) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงาน Net cash from Operating activities อัตราส่วนทางการเงิน / Financial Ratios อัตรากำไรขัน้ ต้นต่อยอดขาย Gross Profit margin / Total Sales อัตรากำไรจากการดำเนินงาน Operating Profit margin / Total sales อัตรากำไรสุทธิตอ่ ยอดขาย Net Profit / Total Sales อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ Return on Shareholders’ Equity อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม Return on Assets เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงานต่อยอดขาย Net cash from Operating activities / Sales เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมการดำเนินงานต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ Net cash from Operating activities / Equity กำไรสุทธิตอ่ หุน้ (บาทต่อหุน้ ) Earnings Per Share (Baht / share) เงินปันผลต่อหุน้ (บาทต่อหุน้ ) Dividend Per Share (Baht / share) มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ (บาทต่อหุน้ ) Book Value Per Share (Baht / share)

สินทรัพยรวม Total Assets

ลานบาท / Million Baht 10,000 9,876.97 9,800 9,600 9,400 9,384.64 9,115.57 9,200 9,000 8,800 8,600 2551 2550 2549 2008 2007 2006

2551 2008 9,384.641

หน่วย : ล้านบาท Unit : Million Baht 2550 2549 2007 2006 9,876.965 9,115.573

7,074.400

7,166.872

6,832.298

2,310.241

2,710.093

2,283.275

7,667.337

8,365.411

7,539.854

7,896.501

8,578.713

7,716.077

1,065.180

1,471.192

1,130.043

186.193

576.806

226.220

(399.170)

257.426

(116.347)

602.880

631.092

486.577

13.89%

17.59%

14.99%

2.43%

6.90%

3.00%

-5.20%

3.08%

-1.54%

-17.27%

9.50%

-5.10%

-4.25%

2.61%

-1.28%

7.86%

7.54%

6.45%

26.09%

23.29%

21.31%

(0.86)

0.66

(0.37)

-

0.08

-

5.00

5.86

7.25

สวนของผูถือหุน Shareholders’ Equity ลานบาท / Million Baht 2,800 2,710.09 2,700 2,600 2,500 2,400 2,310.24 2,283.28 2,300 2,200 2,100 2,000 2551 2550 2549 2008 2007 2006

Annual Report 2008


รายงานของคณะกรรมการปี 2551 ธุ ร กิ จ ที่ ด ำเนิ น ไปได้ ค่ อ นข้ า งดี ในช่วงสามไตรมาสแรกของปี 2551 (ยอด ขายเฉลี่ยประมาณ 2,084 ล้านบาทต่อ ไตรมาส) ได้รับผลกระทบในด้านตรงข้าม จากสภาวะตลาดที่ชะลอตัวลงในไตรมาส สุดท้ายของปีนี้ ทำให้ยอดขายในไตรมาส 4 ลดลงเหลื อ 1,413 ล้ า นบาท ส่ ง ผลให้

ยอดขายรวมของปี 2551 ลดลงร้อยละ 8.3 จาก 8,365 ล้านบาทในปี 2550 มาเป็น 7,667 ล้านบาทในปี 2551 ผลการดำเนิน งานรวมของบริ ษั ท ฯจึ ง ได้ ป รั บ ตั ว ลดลง จากปี ก่ อ นที่ มี ก ำไรสุ ท ธิ 257 ล้ า นบาท เป็นขาดทุนสุทธิ 399 ล้านบาท ผลขาดทุนดังกล่าวมีสาเหตุประการ สำคั ญ จากขาดทุ น ในการทำสั ญ ญา ป้ อ งกั น ความเสี่ ย งสำหรั บ ราคาวั ต ถุ ดิ บ และอัตราแลกเปลีย่ น อันเป็นนโยบายเพือ่ ป้องกันความเสี่ยงในภาวะที่ราคาตลาด ของวัตถุดิบหรืออัตราแลกเปลี่ยนมีความ ไม่แน่นอนและไม่สามารถคาดการณ์ได้ ดั ง ที่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่ า งปี 2551 จาก ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ถดถอยได้ส่งผลให้ ราคาทองแดงลดลงเกือบร้อยละ 70 จาก ราคาสูงสุดที่ 8,985 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ในเดือนกรกฎาคม มาเป็นต่ำสุดที่ 2,770 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ในเดือนธันวาคม จึง ทำให้ในปี 2551 บริษทั ฯขาดทุนจากสัญญา ป้องกันความเสี่ยงสำหรับราคาทองแดง เป็ น จำนวนถึ ง 295 ล้ า นบาท และจาก อัตราแลกเปลี่ยน จำนวน 20 ล้านบาท ดังนั้น หากไม่รวมผลขาดทุนจากสัญญา ป้องกันความเสี่ยงและอัตราแลกเปลี่ยน ดังกล่าว บริษัทฯจะมีผลขาดทุนจากการ ดำเนินงานเพียง 84 ล้านบาท จากการทีย่ อดขายลดลงโดยเฉพาะ ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ทำให้บริษทั ฯ ต้องปรับแผนการผลิตในโรงงานทุกแห่ง และจากการที่ บจ. เค ซี อี อิ น เตอร์ เนชั่ น แนล (บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ) ผลิตเฉพาะ Double-sided PCB ที่ใช้

รายงานประจำปี 2551


เทคโนโลยีตำ่ และส่วนใหญ่ถกู นำไปใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ จึงต้องปิดการผลิตชัว่ คราวจนกว่าสถานการณ์ตลาดจะดี ขึ้น อีกทั้งยังมีการลดจำนวนพนักงานผลิตลงกว่า 800 คน ซึ่งคิดเป็นประมาณร้อยละ 16 ของพนักงานทั้งหมดในกลุ่ม บริษัท ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีผลการดำเนินงานโดยสรุป ดังนี้ • บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) มียอดขายเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3 เป็น 3,032 ล้านบาท จาก 2,937 ล้านบาท ในปีก่อน และมีผลขาดทุน 168 ล้านบาท เทียบกับผลกำไร 62 ล้านบาทในปีก่อน • บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด มียอดขายลดลงร้อยละ 14 เป็น 1,283 ล้านบาท จาก 1,491 ล้านบาท ในปีก่อน และมีผลขาดทุน 22 ล้านบาท เทียบกับผลกำไร 42 ล้านบาทในปีก่อน • บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด มียอดขายลดลงร้อยละ 3 เป็น 1,535 ล้านบาท จาก 1,586 ล้านบาท ในปีก่อน และมีผลกำไร 32 ล้านบาท เทียบกับผลกำไร 63 ล้านบาทในปีก่อน • บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด มียอดขายลดลงร้อยละ 3 เป็น 4,410 ล้านบาท จาก 4,561 ล้านบาทในปีก่อน และมีผลขาดทุน 232 ล้านบาท เทียบกับผลกำไร 102 ล้านบาทในปีก่อน • บริษัท เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด มียอดขายเพิ่มขึ้นร้อยละ 76 เป็น 212 ล้านบาท จาก 120 ล้านบาท ในปีก่อน และมีผลกำไร 3.6 ล้านบาท เทียบกับผลกำไร 2.4 ล้านบาทในปีก่อน แนวโน้มธุรกิจ แม้วา่ เศรษฐกิจโลกจะอยูใ่ นภาวะชะลอตัว แต่ภาพรวมของอุตสาหกรรมแผ่นพิมพ์วงจรไฟฟ้าในปี 2552 จะค่อนข้าง ทรงตัวและมีขนาดธุรกิจใกล้เคียงกับขนาดของธุรกิจในปีนี้ที่ประมาณ 5 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ อย่างไรก็ตามด้วย เหตุผลทางการตลาด มีการคาดการณ์ถึงการลดลงของจำนวนผู้ผลิต PCB ทั้งทางยุโรปและเอเชีย ซึ่งจะเปิดโอกาสให้

ผู้ผลิต PCB ที่เหลืออยู่ ได้กลับมาดำเนินธุรกิจตามปกติเมื่อตลาดฟื้นตัวขึ้นมาอีกครั้ง ตลาดหลักของเคซีอีฯอยู่ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ และ ณ ขณะนี้ เคซีอีฯ เป็นผู้ผลิต PCB สำหรับยานยนต์ รายใหญ่อันดับที่ 3 ของโลก แต่จากการที่เศรษฐกิจชะลอตัว ได้ส่งผลกระทบต่อยอดขายให้ลดลงตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 2551 และจะต่อเนื่องมาถึงไตรมาส 1 ปี 2552 นี้ด้วย ซึ่งสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การขายลดลงนั้นเกิดจากการที่ลูกค้ายังใช้ วัตถุดิบที่มีอยู่ในสต๊อกและมีการปรับสต๊อกให้มีระดับต่ำลงด้วย แต่หลังจากช่วงนี้ คาดว่าคำสั่งซื้อจะเริ่มทยอยกลับมา ในไตรมาส 3 ปี 2552 เคซีอีฯจะขยายธุรกิจเข้าตลาดผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรม (Industrial Electronics) มากขึ้น แม้ว่า บริษัทฯจะมียอดขายในกลุ่มอุตสาหกรรมนี้อยู่มากเป็นอันดับ 3 แล้วในปัจจุบัน แต่เนื่องจากอุตสาหกรรมนี้จะไม่ได้รับ ผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกมากนักเพราะส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในโครงการสาธารณูปโภคต่างๆ ของรัฐบาล ซึ่งเป็นมาตรการในการกระตุ้นเศรษฐกิจโลก สุดท้ายนี้ คณะกรรมการฯขอขอบคุณ พนักงาน ผู้ถือหุ้น ผู้เกี่ยวข้อง ลูกค้า และสถาบันการเงินทุกแห่ง ที่ได้ให้ ความสนับสนุนแก่บริษัทฯเป็นอย่างดีเสมอมา

นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานคณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) Annual Report 2008


Directors’ Report 2008 The positive sales in the first three quarter of 2008 (average quarterly revenue of Baht 2,084 million) were severely offset by challenging market conditions encountered in the fourth quarter of 2008, with sales revenue reduced to Baht 1,413 million. Consequently consolidated group sales for 2008 fell by 8.3% from Baht 8,365 million in 2007 to Baht 7,667 million in 2008, and KCE suffered a net loss of Baht 399 million compared to a profit of Baht 257 million in 2007. The net loss was predominantly the result of losses from forward contracts on raw material and currency that the company had routinely entered into to mitigate the impact of uncertain raw material prices encountered in 2008. In particular the rapid global down turn led to a 70% collapse in the price of copper from a peak of USD 8,985 per ton (in July) to a low of USD 2,770 per ton (in December), resulting in a Baht 295 million loss. Furthermore currency fluctuations caused a loss of Baht 20 million. The underlying operational losses, excluding the losses suffered on currency and raw material forwarding contracts, equates to Baht 84 million The reduction in sales, particularly in the automotive sector has led to a necessary restructuring of the group’s production facilities. Production at KCEI, KCE’s doublesided low technology factory, which is almost 100% dependant on the automotive sector, has been suspended until further notice and 800 contracted workers (16% of the KCE Group workforce) have been made redundant.

รายงานประจำปี 2551


Results Summary The group’s company financials are summarized as follows : • KCE Electronics Plc. Sales revenues increased by 3% to Baht 3,032 from Baht 2,937 million in the previous year. Net loss for the year was Baht 168 million, compared to a profit of Baht 62 million in the last year. • KCEI Sales revenues decreased by 14% to Baht 1,283 from Baht 1,491 million in the previous year. Net loss for the year was Baht 22 million, compared to a profit of Baht 42 million in the last year. • TLM Sales revenues decreased by 3% to Baht 1,535 million from Baht 1,586 million in the previous year. Net profit for the year was Baht 32 million, compared to a profit of Baht 63 million in the last year. • KCET Sales revenues decreased by 3% to Baht 4,410 from Baht 4,561 million in the previous year. Net loss for the year was Baht 232 million, compared to a profit of Baht 102 million in the last year. • KCE Thailand Sales revenues increased by 76% to Baht 212 from Baht 120 million in the previous year. Net profit for the year was Baht 3.6 million, compared to a profit of Baht 2.4 million in the last year. OUTLOOK Notwithstanding the global slowdown, the overall worldwide market for printed circuit boards in 2009 is anticipated to be similar to the 2008 market at circa USD 50 billion. However market rationalization will no doubt result in a reduction of the number of printed circuits board manufacturers in Europe and Asia, giving immediate opportunities for the remaining manufacturers and further opportunities when the markets eventually recover. KCE’s largest market sector is the automotive industry, and in 2008, KCE was the third largest automotive printed circuit board supplier in the world. The worldwide slowdown resulted in the reduction of KCE’s automotive sales during the fourth quarter of 2008 and the first quarter of 2009. A proportion of the reduction in sales was attributable to inventory reduction and correction by KCE’s automotive customers. We anticipate that demand in the automotive sector will start to stabilize towards the third quarter of 2009. KCE continues to expand its industrial electronics sales, and this sector is now KCE’s third largest market. Sales in this sector are proving to be more resilient in the worldwide slowdown, with industrial sector customers projecting stable sales during 2009 because of government-led infrastructure projects being introduced in an effort to stimulate the global economy. The Board of Directors would like to thank the staff, shareholders, partners, customers and financial institutions for their continued support in what has been a very challenging 2008. Bancha Ongkosit Chairman KCE Electronics Public Company Limited

Annual Report 2008


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

ในรอบปีการเงิน พ.ศ. 2551 คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ ผู้มิได้มีหน้าที่บริหาร บริษัท รวม 3 ท่าน ได้ประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง เพื่อกำกับดูแลตรวจสอบในหน้าที่รับผิดชอบตามข้อกำหนด โดยมีคณะผู้สอบบัญชีภายนอก, ผู้ตรวจสอบภายใน, เจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชีและการเงิน และผู้บริหารของบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมด้วยทุกครั้ง ทีป่ ระชุมได้พจิ ารณาสอบทานงบการเงินรวมรายไตรมาส และงบการเงินรวมประจำปี ร่วมกับคณะผูส้ อบบัญชี ภายนอกของบริษทั ฯ ในประเด็นทีเ่ ป็นสาระสำคัญเกีย่ วกับรายงานทางการเงิน และในปี พ.ศ. 2551 นีย้ งั ได้มกี ารประกาศ ใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่เพิม่ เติมอีกหลายฉบับ บริษทั จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลีย่ นนโยบายและการปฏิบตั ดิ า้ นบัญชี และการเงินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการบัญชีที่ได้ประกาศใช้ใหม่นั้น เพื่อให้รายงานทางการเงินของบริษัท เป็นไปอย่างถูกต้องตามข้อกำหนดและกฎหมายที่ประกาศใช้ ทั้งนี้บริษัทฯได้เปิดเผยข้อมูลและสาระสำคัญทางบัญชี และการเงินพร้อมรายละเอียดที่ได้มีการปรับเปลี่ยนนั้นไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมสำหรับปี พ.ศ. 2551 นอกจากนี้ภาวะการณ์วิกฤตเศรษฐกิจโลกในปัจจุบันได้ส่งผลกระทบสำคัญต่อกิจการของบริษัทฯในด้านความเสี่ยง ทางการเงินและความไม่แน่นอนทางธุรกิจบางประการ ซึง่ ทำให้ผบู้ ริหารต้องใช้ดลุ พินจิ ด้วยความรอบคอบและบริหาร จัดการด้วยความรวดเร็วเพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ คณะกรรมการตรวจสอบจึงได้ให้ความสำคัญในตรวจสอบและดูแล ความเสีย่ งดังกล่าว จนเป็นทีม่ นั่ ใจว่าข้อมูลทางการเงินและบัญชีทเี่ กีย่ วข้องมีความถูกต้อง เชือ่ ถือได้ตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ นอกจากนี้ ในการประชุมฯ 3 ครัง้ สุดท้ายของปี คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณารายงานผลการตรวจสอบ ภายใน และการติดตามผลที่ได้ดำเนินการตามแผนการตรวจสอบในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบพอใจ กับการดำเนินการอย่างต่อเนือ่ งตามแผนงาน และเป็นผลให้สว่ นบริหารสามารถดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึน้ เป็นลำดับ รวมทั้งได้รับทราบข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาต่างๆ ตามที่ปรากฏจริงอย่างเหมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบจึงได้นำส่งรายงานการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกครั้ง เพื่อให้ได้รับทราบและเป็นข้อมูลสำคัญเพื่อการบริหารต่อไป สำหรับปี พ.ศ. 2552 คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาและมีความเห็นว่า บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ซึ่งได้เป็นผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัทฯและบริษัทย่อยสำหรับปีที่ผ่านมา เหมาะสมที่จะได้ทำหน้าที่เป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯและบริษัทย่อยสำหรับปี 2552 ต่อไปอีก จึงได้นำเสนอความเห็นนี้ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพือ่ ดำเนินการขออนุมัติจากผู้ถือหุ้นในการประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี ครั้งที่ 26/2552

10

ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช

คณะกรรมการตรวจสอบ พลโท นายแพทย์ สุปรีชา โมกขะเวส นางอุบล จิระมงคล 18 มีนาคม 2552

รายงานประจำปี 2551


The Audit Committee Report To Shareholders During fiscal year 2008, the Audit Committee of the Board of Directors, comprised entirely of three independent directors, held five scheduled meetings to audit and review the company’s financial status and management performance. The Independent Auditor, Internal Auditor, Chief Accountant and Management Executives attended each meeting. At the five meetings held, the Audit Committee reviewed financial statements of the company, including the quarterly reports for fiscal year 2008, and discussed with the Independent Auditor in matters concerned. Further revisions to the Thai Accounting Standards were enforced this year. In order to comply with these regulations, certain accounting policies, practices and figures needed to be revised, and the essence of such changes were clearly disclosed in the Note to consolidated financial statements section of this year’s financial statements. In addition, the effects of current global economic crises have imposed upon us some serious financial risks and uncertainties. These matters require careful, sensitive and timely management decisions. Therefore, the Audit Committee made every effort to review and discuss such matters until it had been assured that significant financial data prepared by the management were adequate, accountable and accurately presented in accordance with all relevant accounting regulations and legislation. At the last three meetings, the internal auditors’ detailed reports of audit activity according to the 2008 fiscal year plan were presented and reviewed. The Audit Committee was satisfied with the progress and outcome of the internal auditing process and documentation that revealed factual data and information for efficient organizational control and management. Minutes of all Audit Committee meetings have been submitted to the Board of Directors’ attention. For fiscal year 2009, the Audit Committee would recommend that Ernst & Young Office Limited be reappointed as the company’s independent auditor. This is subject to the approval of shareholders at the 26/2009 Annual General Shareholders Meeting.

Chairman of Audit Committee Thongdee Shaipanich, M.D.

Members of Audit Committee Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa, M.D. Mrs. Ubol Chiramongkol 18th March, 2009

Annual Report 2008

11


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) มีชื่อภาษาอังกฤษว่า “KCE Electronics Public Company Limited” จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2525 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 12 ล้านบาท เพื่อ ประกอบธุรกิจเป็นผูผ้ ลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (PRINTED CIRCUIT BOARD หรือ PCB) ซึ่งเป็นแผ่น EPOXY GLASS ที่มีสื่อนำ ไฟฟ้า เช่น ตะกั่ว ทองแดง เคลือบอยู่ ภายใต้เครื่องหมายการค้า “KCE” โดยช่วงแรกของการดำเนินธุรกิจ บริษัทสามารถผลิตได้เฉพาะ PCB ชนิด 2 หน้าเคลือบรู (DOUBLE-SIDED PTH) ต่อมาบริษัทได้มีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่องจนสามารถผลิตแผ่น PCB ชนิดหลายชั้น (MULTILAYER PCB) ซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็นชิ้นส่วนสำคัญขั้นพื้นฐานในการ ประกอบเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เครือ่ งมือสือ่ สารโทรคมนาคม และเครือ่ งอิเล็กทรอนิกส์ เกือบทุกประเภท บริษัทได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อเดือน สิงหาคม 2531 และได้แปรสภาพเป็นบริษทั มหาชน เมือ่ เดือนธันวาคม 2535 ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 500.0 ล้านบาท และ มีทุนชำระแล้ว 462.497 ล้านบาท

บริษทั ประกอบธุรกิจเป็นผูผ้ ลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (PRINTED CIRCUIT BOARD หรือ PCB) ชนิด 2 หน้าเคลือบรู (DOUBLESIDED PTH) และชนิดหลายชั้น (MULTILAYER PCB) ตั้งแต่ 4 - 21 ชั้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นการผลิตเพือ่ การส่งออก และเนือ่ งจากการผลิต PCB ต้องใช้ เทคโนโลยีและความละเอียดสูง ทางบริษัทจึงต้องมีการพัฒนาคุณภาพ และ เทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับความต้องการในตลาดโลก เพิม่ สูงขึน้ บริษทั จึงได้มกี ารขยายโรงงานผลิต จัดตัง้ ตัวแทนจำหน่ายต่างประเทศ และลงทุนในบริษทั ร่วม เพือ่ สนองความต้องการด้านอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ของตลาดโลกดังกล่าว ปี 2551 ได้จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั ไทย บิสซิเนส โซลูชนั่ จำกัด ดำเนิน ธุรกิจ รับเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำและบริการโครงการต่างๆ ในด้านระบบ คอมพิวเตอร์เกีย่ วกับการติดตัง้ ระบบคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรม การบริการ ดูแลระบบหลังการติดตั้งและเป็นตัวแทนจำหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์

12

รายงานประจำปี 2551


Nature of Business KCE Electronics Public Company Limited (KCE) is the manufacturer and distributor of Printed Circuit Board (PCB). It was established on November 5th, 1982 with an initial registered capital Baht 12 million. The Core business of company is the production and distribution of Printed Circuit Board (PCB), electrically conductive circuits, manufactured from an epoxy glass copper lead laminated, under the “KCE” trademark. KCE’s products undergo continuous development and currently, KCE’s products consist mainly of high quality Multilayer PCB, an important component of most electronic equipment. The company became a Public Company, listed on the Stock Exchange of Thailand in 1988, converting its status from a limited company to a Public Company Limited in December 1992. The present registered capital is Baht 500 million with paid up capital of Baht 462.497 million. KCE manufactures and exports high quality Printed Circuit Board (PCB), Double sided PTH and Multilayer PCB from 4 - 21 layers. Most of the products are for export. KCE’s strategy focuses on quality and technology development and KCE has continued to expand its business by establishing subsidiaries, Sales Representatives, and associated companies to serve to global demand of the electronic industry. Perform registration in Year 2008 for Thai Business Solution Company Limited (TBS) to become incorporate as a limited company under Thai Law. TBS performs business in IT related project focus on Software development, Hardware installation, Consultant, implementation, Support and distributor for Computer Hardware. โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัทย่อยและบริษัทร่วม COMPANY STRUCTURE 94.99% 25.00%

บมจ. เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ KCE

บจ. เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล KCEI 25.00%

บจ. เคซีอี อเมริกา อิงค์ KCEA

24.50% บจ. เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี KCES

100.00%

60.00%

49.00%

บจ. เคซีอี เทคโนโลยี KCET

บจ. เคซีอี ประเทศไทย KCE (Thailand)

บจ. ไทย บิซิเนส โซลูชั่น

TBS

19.20% 52.00% บจ. ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ TLM

24.50%

Annual Report 2008

13



กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก Top Ten Shareholders From Shareholder List ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551 AS AT DECEMBER 30, 2008

ชือ่

จำนวนหุน้

ร้อยละ

SHAREHOLDERS

NUMBER OF SHARES

PERCENTAGE

322,334,934

69.69

THAILAND SECURITIES

32,941,295

7.12

นายเจษฎา เลิศนันทปัญญา Mr. Jessada Lertnantapanya

25,042,100

5.41

นายปัญจะ เสนาดิสยั Mr. Panja Senadisai

19,669,400

4.25

นายบัญชา องค์โฆษิต Mr. Bancha Ongkosit

11,800,000

2.55

นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต Mrs. Voraluksana Ongkosit

9,705,000

2.09

แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต Chantima Ongkosit M.D.

4,274,500

0.92

นายแพทย์เกรียงไกร อัครวงศ์ Kriangkrai Akarawong M.D.

3,757,800

0.81

นางอุบล จิระมงคล Mrs. Ubol Chiramongkol

3,690,100

0.80

นางสาวจวบจันทร์ ภิรมย์ภกั ดี Ms. Chuabchan Bhirombhakdi

2,862,500

0.62

บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) Thailand Securities Depository Company Limited for Depositor

Annual Report 2008

15


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

ชื่อ ตำแหน่ง สัญชาติ วัน เดือน ปีเกิด สถานภาพ การศึกษา

สถาบันการศึกษา

นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ ไทย 9 กันยายน 2494 แต่งงาน (บุตร 3 คน) SIAD, SURREY DIP. GRAPHIC DESIGN (SECOND CLASS HONOURS) REIGATE COLLEGE OF ARTS,

ENGLAND

ที่อยู่ 98 ซ. พัฒนาการ 56 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2517 - 2524 • KENYON & ECKHARDT

(THAILAND) LTD.

พ.ศ. 2524 - 2525 • ห้างหุ้นส่วนจำกัด ควงเจริญ พ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน • บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 11,800,000 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (เป็นสามี) นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการและกรรมการบริหาร ประวัติการอบรม พ.ศ. 2547 • Directors Accreditation Program (DAP)/สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ชื่อ ตำแหน่ง สัญชาติ วันเดือนปีเกิด สถานภาพ การศึกษา สถาบันการศึกษา

16 รายงานประจำปี 2551

นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช ประธานกรรมการตรวจสอบ/ กรรมการอิสระ ไทย 7 มกราคม 2478 แต่งงาน (บุตร 2 คน) แพทย์ศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ F.A.C.S DIPLOMATE AMERICAN BOARD OF SURGERY

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows : Name : Position : Nationality : Date of Birth : Marital Status : Education :

Mr. Bancha Ongkosit Chairman and Managing Director Thai September 9, 1951 Married (3 Children) SIAD, SURREY DIP. GRAPHIC DESIGN (SECOND CLASS HONOURS), REIGATE COLLEGE OF ARTS,

ENGLAND

Address : 98 Pattanakarn 56, Suan Luang, Bangkok Experiences : 1974 - 1981 • Kenyon & Eckhardt (Thailand) Ltd. 1981 - 1982 • Kuang Charoen Electronics Co., Ltd. 1983 - Present • KCE Electronics Public Co., Ltd. No. of Shares : 11,800,000 Shares Relationship with others : (Husband of) Mrs. Voraluksana Ongkosit Director and Executive Director Course Training : 2004 • Directors Accreditation Program (DAP)/Thai Institute of Director Association (IOD) Name : Dr. Thongdee Shaipanich Position : Chairman of Audit Committee/

Independent Director Nationality : Thai Date of Birth : January 7, 1935 Marital Status : Married (2 Children) Education: Doctor of Medicine, F.A.C.S Diplomate American Board of Surgery Experiences : 1972 • Lecturer of Surgery Department, Faculty of Medicine, Mahidol University 1995 - 2000 • Director of Samitivej Hospital Address : 19/4 Phromprak, Klongton, Klongtoey, Bangkok


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2515 • อาจารย์ภาควิชาศัลยาศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2538 - 2543 • ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลสมิติเวช ที่อยู่ 19/4 ซ. พร้อมพรรค แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กทม. จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 225,900 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น ไม่มี ประวัติการอบรม พ.ศ. 2546 • Directors Accreditation Program (DAP)/สมาคมส่งเสริม

สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

No. of Shares : 225,900 Shares Relationship with others : None Course Training : 2003 • Director Accreditation Program (DAP)/ Thai Institute of Director Association (IOD)

Name : Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Position : Audit Committee/Independent Director Nationality : Thai Date of Birth : October 20, 1937 พลโท นายแพทย์ สุปรีชา โมกขะเวส Marital Status : Married (2 Children) ชื่อ ตำแหน่ง กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ Education : สัญชาติ ไทย 1960 • AB, Harvard College วันเดือนปีเกิด 20 ตุลาคม 2480 1964 • M.D., C.M, McGill University สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 2 คน) 1972 • F.R.C.S. (C), Royal College การศึกษา of Surgeons of Canada พ.ศ. 2503 • AB มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 50 Sukhumvit 63 Road (Ekamai), พ.ศ. 2507 • M.D., C.M. มหาวิทยาลัยแมคกิลล์ Address : Watana, Bangkok 10110 พ.ศ. 2515 • F.R.C.S (C) ราชวิทยาลัย Experiences : ศัลยแพทย์แห่งประเทศแคนาดา 1972 - 1974 • Staff, Orthopaedic Department, ที่อยู่ 50 ถ. สุขุมวิท 63 (เอกมัย) แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา Siriraj Hospital กทม. 10110 1974 - 1983 • Staff, Orthopaedic Department, ประวัติการทำงาน Phramongkutklao Hospital พ.ศ. 2515 - 2517 • อาจารย์โท คณะแพทยศาสตร์ 1983 - 1989 • Chief, Orthopaedic Department, ศิริราชพยาบาล Phramongkutklao Hospital พ.ศ. 2517 - 2526 • อาจารย์กองออร์โธปิดิคส์ 1984 - 1990 • Examiner in Orthopaedics, โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า Medical Council of Thailand พ.ศ. 2526 - 2532 • ผู้อำนวยการกอง 1987 - Present • Advisor, Mahavachiralongkorn โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า Foundation พ.ศ. 2527 - 2533 • กรรมการสอบวุฒิบัตร 1989 - 1990 • Assistant Director, ออร์โธปิดิคส์ แพทย์สภา Orthopaedic Department, พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน • ที่ปรึกษา มูลนิธิมหาวชิราลงกรณ์ พ.ศ. 2532 - 2533 • ผู้ช่วยผู้อำนวยการ Phramongkutklao Hospital โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 1990 - 1991 • President, Asean Orthopaedic พ.ศ. 2533 - 2534 • ประธานกรรมการ Association สมาคมอาเซียนออร์โธดิคส์ Annual Report 2008 17


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

• สมาชิกสมาคมรูมาติสซั่ม แห่งประเทศไทย • สมาชิกราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ แห่งแคนาดา • รองผู้อำนวยการ วิทยาลัย แพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า พ.ศ. 2533 - 2535 • ประธานกรรมการ สมาคม ออร์โธดิคส์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน • กรรมการ มูลนิธิเพื่อการศึกษา และสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2534 - 2535 • ประธานสอบวุฒิบัตร ออร์โธปิดิคส์ แพทย์สภา • ตัวแทนของศัลยแพทย์ ออร์โธปิดิคส์ราชวิทยาลัย ศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย • สมาชิกราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ ออร์โธปิดิคส์แห่งประเทศไทย

พ.ศ. 2534 - 2536 • ผู้อำนวยการกองการศึกษา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฎเกล้า พ.ศ. 2536 - 2537 • ผู้ช่วยเจ้ากรมแพทย์ทหารบก กรมแพทย์ทหารบก พ.ศ. 2537 - 2538 • รองเจ้ากรมแพทย์ทหารบก กรมแพทย์ทหารบก พ.ศ. 2538 - 2540 • ผู้อำนวยการ ศูนย์อำนวยการ แพทย์พระมงกุฎเกล้า พ.ศ. 2538 - 2542 • กรรมการ สภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2540 - 2541 • เจ้ากรมแพทย์ทหารบก กรมแพทย์ทหารบก • กรรมการ แพทย์สภา พ.ศ. 2540 - 2544 • ประธาน มูลนิธิเพื่อวิทยาลัย แพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า พ.ศ. 2541 - 2543 • ประธาน มูลนิธิโรคข้อ พ.ศ. 2541 - 2544 • กรรมการสอบวุฒิบัตร ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ ออร์โธดิคส์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543 - 2545 • ประธานองค์กรแพทย์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า พ.ศ. 2543 - 2546 • ประธานอนุกรรมการประเมิน สถาบันฝึกอบรมแพทย์ ประจำบ้านสาขาวิชาออร์โธดิคส์ ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ ออร์โธดิคส์แห่งประเทศไทย

• Fellow, Rheumatism Association

of Thailand • Fellow, Royal College of Surgeons

of Canada • Associate Dean, Phramongkutklao College of Medicine 1990 - 1992 • President, Thai Orthopaedic Association 1990 - Present • Director, Education & Welfare Foundation 1991 - 1992 • Chairman, Orthopaedics Board of Examiners, Medical Council of Thailand • Representative of Orthopaedic Surgeons, Royal College of Surgeons of Thailand • Fellow, Royal College of Orthopaedic Surgeons of Thailand 1991 - 1993 • Director of Education, Phramongkutklao College of Medicine 1993 - 1994 • Assistant Surgeon General,

Medical Department, Royal Thai Army 1994 - 1995 • Deputy Surgeon General, Medical Department, Royal Thai Army 1995 - 1997 • Director General, Phramongkutklao Medical Center 1995 - 1999 • Director, National Research Council 1997 - 1998 • Surgeon General, Medical Department, Royal Thai Army • Director, Medical Council of Thailand 1997 - 2001 • Chairman, Foundation

for Pramongkutklao Medical College 1998 - 2000 • Chairman, Arthritis Foundation 1998 - 2001 • Fellowship Examiner, Royal College of Orthopaedic Surgeons of Thailand 2000 - 2002 • Chairman, Executive

Committee of Medical Staff

18 รายงานประจำปี 2551


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

พ.ศ. 2544 - 2546 • ตัวแทนของประเทศไทย S.I.C.O.T พ.ศ. 2545 - 2547 • ประธาน มูลนิธิโรคกระดูกพรุน แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน • กรรมการ มูลนิธิออร์โธดิคส์ แห่งประเทศไทย ปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) เครื่องราชอิสรภรณ์ พ.ศ. 2536 • ประถมาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ. 2539 • มหาวชิรมงกุฎ จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 1,886,400 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น ไม่มี ประวัติการอบรม พ.ศ. 2547 • Directors Accreditation Program (DAP)/สมาคมส่งเสริม

สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

Organization Orthopaedic Department, Phramongkutklao

Hospital 2000 - 2003 • Chairman of Subcommittee

for Accreditation of

Orthopaedic Training Centers 2001 - 2003 • National Delegate for Thailand, S.I.C.O.T. 2002 - 2004 • Director, Thai Orthopaedic Foundation 2002 - Present • Chairman, Thai Osteoporosis Foundation Present • Director, KCE Electronics Public Company Limited Royal Decorations : 1993 • Knight Grand Cross (First Class) of the Most Exalted Order of White Elephant 1996 • Knight Grand Cordon ชื่อ นายปัญจะ เสนาดิสัย ตำแหน่ง กรรมการ (Special Class) of the Most Noble

สัญชาติ ไทย Order of the Crown of Thailand วันเดือนปีเกิด 10 กันยายน 2491 No. of Shares : 1,886,400 Shares สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 3 คน) Relationship with การศึกษา ปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ (MBA) others : None สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยซัฟฟอล์ก Course Training : มลรัฐแมสซาชูเสทซ์ สหรัฐอเมริกา 2004 • Directors Accreditation Program (DAP)/ ที่อยู่ 10 ซ. อินทามระ 40 ถ. สุทธิสาร

Thai Institute of Director แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม.

Association (IOD) 10400 Name : Mr. Panja Senadisai ประวัติการทำงาน Position : Director พ.ศ. 2514 - 2515 • เจ้าหน้าที่โท 2 กองการประกันภัย Nationality : Thai กระทรวงพาณิชย์ Date of Birth : September 10, 1948 พ.ศ. 2515 - 2517 • นักวิจัย และวางแผนอาวุโส ฝ่ายการตลาด บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ส Marital Status : Married (3 Children) Education: Master’s Degree in Business (ประเทศไทย) จำกัด พ.ศ. 2517 - 2519 • ผู้จัดการฝ่ายการเงิน Administration, Suffolk University, บริษัท เครดิตการพาณิชย์ Massachusetts, U.S.A. (ประเทศไทย) จำกัด Address : 10 Indhamara 40, Suthisarn Road, พ.ศ. 2519 - 2534 • เจ้าหน้าที่บริหารชั้นรองผู้จัดการ

Bangkok 10400 (VP) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

Annual Report 2008 19


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

พ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2534 - 2537 • กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอช แอนด์ คิว (ประเทศไทย) จำกัด พ.ศ. 2536 - 2550 • กรรมการ และกรรมการ พิจารณาผลตอบแทน บริษัท เอสเอ็มซี มอเตอร์ส จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2537 - 2540 • กรรมการผู้อำนวยการ บริษัท ไรมอน จำกัด พ.ศ. 2542 - 2549 • กรรมการที่ปรึกษา และ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน บริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน • กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาผลตอบแทน บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน • กรรมการ กรรมการตรวจสอบและ ประธานกรรมการพิจารณาผลตอบแทน บริษัท ทรีนีตี้ วัฒนา จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2546 - 2551 • ที่ปรึกษา บริษัท เทคนิคคัลเลอร์ (ไทยแลนด์) จำกัด พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน • กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน • ประธานกรรมการ บริษัท เดวา พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน • กรรมการ และประธาน กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไพลอน จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2549 - ปัจจุบัน • กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน ธนาคารออมสิน พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน • กรรมการบริหาร ธนาคารออมสิน จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 19,669,400 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น ไม่มี

Experiences : 1971 - 1972 • Administrative Officer, Ministry of Commerce 1972 - 1974 • Senior Sales, Planning Analyst,

Ford Motor (Thailand) Co., Ltd. 1974 - 1976 • Treasury Manager, Commercial Credit Corp. (Thailand) 1976 - 1991 • Vice President, Bangkok Bank PCL. 1983 - Present • Director, KCE Electronics Public Co., Ltd. 1991 - 1994 • Managing Director, H & Q (Thailand) Ltd. 1993 - 2007 • Director & Remuneration Committee, SMC Motor PCL. 1994 - 1997 • President, Raimon Co., Ltd. 1999 - 2006 • Director, Advisor &

Remuneration Committee, CVD Entertainment PCL. 2000 - Present • Director, Chairman of Audit

Committee & Remuneration Committee, Somboon Advance Technology PCL. 2002 - Present • Director, Audit Committee & Chairman of the Remuneration Committee, Trinity Watthana PCL. 2003 - 2008 • Advisor, Cinecolor Lab Co., Ltd. 2003 - Present • Director & Audit Committee, Rasa Property Development PCL. 2004 - Present • Chairman of the Board, Deva Property PCL. 2005 - Present • Director & Chairman of the Audit Committee, Pylon PCL. 2006 - Present • Director, Executive Director & Remuneration Committee, Government Savings Bank

20 รายงานประจำปี 2551


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

ประวัติการอบรม พ.ศ. 2545 • Directors Certification Program (DCP)/สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ. 2547 • Audit Committee Program (ACP)/สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2008 - Present • Executive Director, Government Savings Bank No. of Shares : 19,669,400 Shares Relationship with others : None Course Training : 2002 • Directors Certification Program (DCP)/ Thai Institute of Director Association (IOD) 2004 • Audit Committee Program (ACP)/ Thai Institute of Director Association (IOD)

ชื่อ แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต ตำแหน่ง กรรมการ สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 6 ธันวาคม 2489 สถานภาพ หย่า (บุตร 1 คน) ั ฑิต เกียรตินยิ มอันดับ 1 การศึกษา • แพทย์ศาสตร์บณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • Diplomate American Board of Phychiatry & Neurology • Residency training in Psychiatry and Neurology, Department of Psychiatry, University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A. ที่อยู่ 100 ม. 9 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กทม. ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2519 - 2521 • Assistant Professor of Psychiatry, University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A. พ.ศ. 2519 - 2521 • Associate Director of Affective Disorders Clinic, University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A. พ.ศ. 2519 - 2521 • Chief of In-patient and Research Unit, Westside Veteran Administration Hospital, Chicago, Illinois, U.S.A. พ.ศ. 2521 - 2523 • อาจารย์ประจำภาควิชา จิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

Name : Dr. Chantima Ongkosit Position : Director Nationality : Thai Date of Birth : December 6, 1946 Marital Status : Divorced (1 Child) Education : • M.D. (1st Class Honors) Chiengmai University • Diplomate, American Board of Psychiatry and Neurology • Residency training in Psychiatry and Neurology, Department of Psychiatry, University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A. Address : 100 Moo. 9, Kwang Dokmai, Prawet, Bangkok Experiences : 1976 - 1978 • Assistant Professor of Psychiatry,

University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A. 1976 - 1978 • Associate Director of Affective Disorders Clinic, University of Illinois, Chicago, Illinois, U.S.A.

Annual Report 2008 21


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

พ.ศ. 2523 - 2527 • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน • จิตแพทย์ที่ปรึกษา โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท และคลินิกแพทย์สุขุมวิท สุขุมวิท 31 • อาจารย์พิเศษภาควิชา จิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • อาจารย์พิเศษภาควิชา จิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลศิรริ าช มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2531 - 2550 • กรรมการ บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด พ.ศ. 2540 - 2547 • กรรมการ บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด พ.ศ. 2543 - 2550 • กรรมการ บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน • ประธานกรรมการ บริษัท พีเอซี (สยาม) จำกัด • ประธานกรรมการ โรงพยาบาลมนารมย์ โรงพยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิต จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 4,274,500 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (เป็นพี่สาว) นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการและ กรรมการผูจ้ ดั การ ประวัติการอบรม พ.ศ. 2546 • Directors Accreditation Program (DAP)/สมาคมส่งเสริม

สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ. 2547 • Finance for Non-Finance Director/ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) พ.ศ. 2551 • Directors Certification Program (DCP)/สมาคมส่งเสริม

สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

1976 - 1978 • Chief of In-patient and Research Unit,

Westside Veteran Administration Hospital, Chicago, Illinois, U.S.A. 1978 - 1980 • Lecturer of Psychiatry, Faculty of Medicine at Ramathibodi Hospital, Mahidol University 1980 - 1984 • Assistant Professor of Psychiatry, Faculty of Medicine at Ramathibodi Hospital, Mahidol University 1983 - Present • Director, KCE Electronics

Public Co., Ltd. 1985 - Present • Psychiatric Consultant at Samitivej Hospital and Sukhumvit Medical Center • Special Lecturer of Psychiatry,

Faculty of Medicine at Ramathibodi Hospital, Mahidol University • Special Lecturer of Psychiatry, Faculty of Medicine at Siriraj Hospital, Mahidol University 1988 - 2007 • Director, K.C.E. International Co., Ltd. 1997 - 2004 • Director, Thai Laminate

Manufacturer Co., Ltd. 2000 - 2007 • Director, KCE Technology Co., Ltd. 2003 - Present • Chairman of PAC (Siam) Co., Ltd. • Chairman of Manarom Hospital No. of Shares : 4,274,500 Shares Relationship with others : (Sister of) Mr. Bancha Ongkosit Chairman and Managing Director Course Training : 2003 • Directors Accreditation

Program (DAP)/Thai Institute

of Director Association (IOD)

22 รายงานประจำปี 2551


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

ชื่อ นางอุบล จิระมงคล ตำแหน่ง กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ สัญชาติ ไทย วันเดือนปีเกิด 12 มกราคม 2494 สถานภาพ หม้าย (บุตร 3 คน) การศึกษา MBA สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่อยู่ 91 ซ. ธารารมย์ 11 ถ. รามคำแหง 9 แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง

กทม. 10310 ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2517 - 2537 • สายการบินแอร์ฟรานส์ (กรุงเทพฯ) พ.ศ. 2537 - 2539 • กรรมการและรองประธาน กรรมการบริหาร บริษัท เจนเนอรัล มีเดียเท็ค จำกัด • กรรมการ บริษทั ซีเนคัลเลอร์แลบ จำกัด พ.ศ. 2538 - 2539 • กรรมการ บริษัท ซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2538 - ปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน • กรรมการตรวจสอบ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 3,690,100 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น ไม่มี ประวัติการอบรม พ.ศ. 2546 • Directors Accreditation Program (DAP)/สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2004 • Finance For Non-Finance Director/ Thai Institute of Director Association (IOD) 2008 • Directors Certification Program (DCP)/Thai Institute

of Director Association (IOD)

ชื่อ ตำแหน่ง สัญชาติ วันเดือนปีเกิด สถานภาพ การศึกษา

สถาบันการศึกษา

นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ/กรรมการบริหาร ไทย 15 สิงหาคม 2494 แต่งงาน (บุตร 3 คน) PITMAN DIP. BUSINESS & SECRETARIAL ST. JAMES COLLEGE ENGLAND

Name : Mrs. Ubol Chiramongkol Position : Director and Audit Committee Nationality : Thai Date of Birth : January 12, 1951 Marital Status : Widow (3 Children) Education : MBA, Kasetsart University Address : 91 Thararom 11, Ramkhamhaeng 9, Wangthonglang, Bangkok 10310 Experiences : 1974 - 1994 • Air France Airline. 1994 - 1996 • Director & Executive Vice President, General Media Tech Co., Ltd. • Director, Cine Color Lab Co., Ltd.. 1995 - 1996 • Director, CVD Entertainment

Public Co., Ltd. 1995 - Present • Director, KCE Electronics Public Co., Ltd. 1998 - Present • Audit Committee, KCE Electronics Public Co., Ltd. No. of Shares : 3,690,100 Shares Relationship with others : None Course Training : 2003 • Directors Accreditation Program (DAP)/ Thai Institute of Director Association (IOD) Name : Position : Nationality : Date of Birth : Marital Status :

Mrs. Voraluksana Ongkosit Director/Executive Director Thai August 15, 1951 Married (3 Children) Annual Report 2008 23


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

ที่อยู่ 98 ซ. พัฒนาการ 56 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. ประวัติการทำงาน พ.ศ. 2515 - 2516 • FEDERAL ELECTRIC

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

Education : PITMAN DIP. Business & Secretarial St. James College, England Address : 98 Pattanakarn 56, Suan Luang,

Bangkok CORPORATION Experiences : พ.ศ. 2517 - 2522 • GRANT ADVERTISING 1972 - 1973 • Federal Electric Corporation พ.ศ. 2522 - 2531 • KENYON & ECKHARDT 1974 - 1979 • Grant Advertising (THAILAND) LTD. 1979 - 1988 • Kenyon & Eckhardt (Thailand) Ltd. พ.ศ. 2532 - ปัจจุบัน • บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ 1989 - Present • KCE Electronics Public Co., Ltd. จำกัด (มหาชน) No. of Shares : 9,705,000 Shares จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 9,705,000 หุ้น Relationship with ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (เป็นภรรยา) นายบัญชา องค์โฆษิต others : (Wife of) Mr. Bancha Ongkosit ประธานกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ Chairman and Managing Director ประวัติการอบรม Course Training : พ.ศ. 2546 • Directors Accreditation 2003 • Directors Accreditation

Program (DAP)/สมาคมส่งเสริม

Program (DAP)/Thai Institute

สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) of Director Association (IOD) พ.ศ. 2547 • Finance For Non-Finance 2004 • Finance For Non-Finance Director/ Director/สมาคมส่งเสริม

Thai Institute of Director สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Association (IOD) พ.ศ. 2548 • ผลสำรวจค่าตอบแทนกรรมการ 2005 • Thai Directors Compensation บริษัทไทย 2547/สมาคมส่งเสริม

Survey 2004/Thai Institute

สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ. 2551 • Directors Certification of Director Association (IOD) Program (DCP)/สมาคมส่งเสริม

2008 • Directors Certification Program (DCP) สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Thai Institute of Director Association (IOD) นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ ชื่อ ตำแหน่ง กรรมการ Name : Mrs. Siriphan Suntanaphan สัญชาติ ไทย Position : Director วันเดือนปีเกิด 26 พฤษภาคม 2498 Nationality : Thai สถานภาพ แต่งงาน (บุตร 2 คน) Date of Birth : May 26, 1955 การศึกษา ปริญญาตรีอักษรศาสตร์ Marital Status : Married (2 Children) สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Education : B.A, Chulalongkorn University ที่อยู่ 877/6 ม. 12 สุขุมวิท 103 Address : 877/6 Moo. 12, Sukumvit 103, แขวงบางนา เขตพระโขนง กทม. ประวัติการทำงาน Bangna, Phrakanong, Bangkok พ.ศ. 2529 - 2535 • รองกรรมการผู้จัดการ Experiences : บริษัท เอสทีเค คอมพิวเตอร์ จำกัด 1986 - 1992 • Deputy of Managing Director, STK Computer Co., Ltd. 24 รายงานประจำปี 2551


คณะกรรมการบริษัท

Board of Directors

คณะกรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 8 ท่าน ดังนี้

KCE Board of Directors is comprised of 8 directors as follows :

พ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) จำนวนหุ้นที่ถืออยู่ 5,304,900 หุ้น ความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารอื่น (น้องสาว) นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการและ กรรมการผูจ้ ดั การ ประวัติการอบรม พ.ศ. 2547 • Directors Accreditation Program (DAP)/ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) พ.ศ. 2547 • Finance For Non-Finance Director/ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) พ.ศ. 2551 • Directors Certification Program (DCP)/สมาคมส่งเสริม

สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

1992 - Present • Director, KCE Electronics

Public Co., Ltd. No. of Shares : 5,304,900 Shares Relationship with

others : (Sister of) Mr. Bancha Ongkosit, Chairman and Managing Director Course Training : 2004 • Directors Accreditation Program (DAP)/ Thai Institute of Director

Association (IOD) 2004 • Finance For Non-Finance Director/ Thai Institute of Director

Association (IOD) 2008 • Directors Certification Program (DCP)/ Thai Institute of Director Association (IOD)

Annual Report 2008 25


เจ้าหน้าที่ระดับผู้บริหาร นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ / กรรมการผู้จัดการ 2525 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการบริหาร / ผู้จัดการทั่วไป 2535 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการบริหาร / ผู้อำนวยการสำนักบริหาร 2532 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นางธัญรัตน์ เทศน์สาลี ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี 2547 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นางเสาวลักษณ์ วรามิตรสกุล ผู้อำนวยการฝ่ายสนับสนุนการผลิต 2526 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นายวิทกร เลิศไพศาล ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการผลิต 2527 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นายนพดล ทับเที่ยง ผู้อำนวยการฝ่ายคุณภาพ 2531 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นางสาวสุนีย์ จันทร์รักษา ผู้จัดการอาวุโสส่วนงานการจัดการวัตถุดิบ 2550 - ปัจจุบนั : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) นายสุรพล ก่อเกิด ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์และบริหาร 2549 - 2551 : เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน)

26 รายงานประจำปี 2551


Management Staff Mr. Bancha Ongkosit Chairman / Managing Director 1982 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Mrs. Siriphan Suntanaphan Executive Director / General Manager 1992 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Mrs. Voraluksana Ongkosit Executive Director / Executives’ Office Director 1989 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Mrs. Tanyarat Tessalee Accounting Director / Finance Director 2004 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Mrs. Saovalak Waramitsakul Manufacturing Support Director 1983 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Mr. Vitagora Lerdpisarn Manufacturing Operation Director 1984 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Mr. Noppadol Tabtieang Quality Director 1988 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Ms. Sunee Chanraksa Materials Management Senior Manager 2007 - Present : KCE Electronics Public Company

Limited Mr. Surapol Kokoed Human Resource and Administration Director 2006 - 2008 : KCE Electronics Public Company

Limited Annual Report 2008 27


ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ บริษัทได้กำหนดนโยบายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส และอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับ อุตสาหกรรมเดียวกัน โดยปัจจุบนั ได้กำหนดค่าตอบแทนกรรมการเป็น 2 ส่วน คือ เบีย้ ประชุม และค่าตอบแทนกรรมการ ประจำปี ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนดังกล่าวในปี 2550 และปี 2551 ได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 24/2550 เมือ่ วันที่ 29 เมษายน 2550 และครั้งที่ 25/2551 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 แล้ว ตามลำดับ คณะกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) ลำดับ รายชือ่ ตำแหน่ง ปี 2551 ปี 2550 1 นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ 1,000,000 800,000 และกรรมการผูจ้ ดั การ 500,000 400,000 2 นายปัญจะ เสนาดิสยั กรรมการ 500,000 400,000 3 แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต กรรมการ 500,000 400,000 4 นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ 500,000 400,000 5 พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการอิสระ 500,000 400,000 6 นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช กรรมการอิสระ 500,000 400,000 7 นางอุบล จิระมงคล กรรมการอิสระ 500,000 400,000 8 นางศิรพิ รรณ สันธนะพันธ์ กรรมการ 4,500,000 3,600,000 รวมทัง้ สิน้

ค่าเบีย้ ประชุม (บาท) ปี 2551 ปี 2550 280,000 240,000 220,000 180,000 220,000 180,000 220,000 180,000 220,000 180,000 220,000 180,000 220,000 180,000 220,000 180,000 1,820,000 1,500,000

จำนวนครัง้ เข้าประชุม/ จำนวนประชุมทัง้ หมด ปี 2551 ปี 2550 13/13 12/12 13/13 12/12 13/13 12/12 13/13 12/12 11/13 12/12 12/13 11/12 13/13 12/12 11/13 12/12

คณะกรรมการตรวจสอบ ลำดับ รายชือ่ ตำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ 1 นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช 2 พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการตรวจสอบ 3 นางอุบล จิระมงคล กรรมการตรวจสอบ รวมทัง้ สิน้

ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) ปี 2551 ปี 2550 250,000 180,000 250,000 180,000 250,000 180,000 750,000 540,000

กรรมการและผู้บริหาร การกำหนดค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารเป็นไปตามหลักการและนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั กำหนด ซึง่ เชือ่ มโยงกับ ผลการดำเนินการของบริษัทและผลการดำเนินงานของผู้บริหารแต่ละท่าน ประเภทค่าตอบแทน

เงินเดือน โบนัส / เงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ 28 รายงานประจำปี 2551

จำนวน ราย 7 7

ปี 2551 จำนวนเงิน (บาท) 20,514,000 1,542,336

จำนวน ราย 9 9

ปี 2550 จำนวนเงิน (บาท) 21,273,600 3,448,485


Remuneration Remuneration The payment for the Board of Directors consists of the annual remuneration and the meeting allowances as approved by the shareholders at the AGM No. 24/2007 on April 29th, 2007 and the AGM No. 25/2008 on April 29th, 2008 respectively. Directors No 1 2 3 4 5 6 7 8

Remuneration Meeting Fee 2008 2007 2008 2007 Position Mr. Bancha Ongkosit Chairman and 1,000,000 800,000 280,000 240,000 Managing Director Mr. Panja Senadisai Director 500,000 400,000 220,000 180,000 Dr. Chantima Ongkosit Director 500,000 400,000 220,000 180,000 Mrs. Voraluksana Ongkosit Director 500,000 400,000 220,000 180,000 Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Independent Director 500,000 400,000 220,000 180,000 Dr. Thongdee Shaipanich Independent Director 500,000 400,000 220,000 180,000 Mrs. Ubol Chiramongkol Independent Director 500,000 400,000 220,000 180,000 Mrs. Siriphan Suntanaphan Director 500,000 400,000 220,000 180,000 4,500,000 3,600,000 1,820,000 1,500,000 Total Name

No. of Meeting 2008 2007 13/13 12/12 13/13 12/12 13/13 12/12 13/13 12/12 11/13 12/12 12/13 11/12 13/13 12/12 11/13 12/12

Audit Committee No.

Name

Title

1 Dr. Thongdee Shaipanich Chairman of Audit Committee 2 Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Audit Committee 3 Mrs. Ubol Chiramongkol Audit Committee Total

Remuneration 2008 2007 250,000 180,000 250,000 180,000 250,000 180,000 750,000 540,000

Executive Director and Management The scale and components of remuneration follow the company’s principles and policy, correlating

to The company’s operating results and each individual’s contribution.

Item Salary Bonus / Provident Fund

No.

7 7

2008

Amount (Baht)

20,514,000 1,542,336

No.

9 9

2007

Amount (Baht)

21,273,600 3,448,485

Annual Report 2008 29


รายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของข้อพึงปฏิบัติที่ดีของกรรมการ บทบาท โครงสร้าง

คณะกรรมการบริษทั ฯ ความสัมพันธ์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้เสีย การเปิดเผยข้อมูล ตลอดจนกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงตำแหน่ง และการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการ พร้อมทัง้ มีการสือ่ สารนโยบายดังกล่าว ผ่านช่องทางต่างๆ รวมทัง้ เว็บไซต์ของบริษทั ถึงความมุง่ มัน่ ของคณะกรรมการบริษัทฯ ในการกำกับดูแลกิจการบน พื้นฐานหลัก 6 ประการ ได้แก่ 1. รับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทำ (Accountability) คณะกรรมการบริษัทฯ ดำเนินงานด้วยการมุ่งเน้น 2. สำนึกต่อหน้าที่ความรับผิดชอบ ปกป้ อ งสิ ท ธิ แ ละผลประโยชน์ ข องผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว น

(Responsibility) ได้ เ สี ย และให้ ค วามสำคั ญ กั บ การดำเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี

3. โปร่งใส เปิดเผยข้อมูล และตรวจสอบได้ คุณธรรม โปร่งใส ตลอดจนมุ่งเน้นการสร้างผลประโยชน์ (Transparency) สู ง สุ ด ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย โดยคณะ 4. ปฏิบัติต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน กรรมการบริษทั ฯ เป็นผูใ้ ห้คำแนะนำ ติดตาม ทบทวน และ (Equitable Treatment) ประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการ 5. มี วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม แก่ กิ จ การ

ทีด่ ี เพือ่ การพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ ในระยะยาว แน่ใจว่าผู้ถือหุ้นได้รับการปกป้องสิทธิใดๆ ที่พึงจะได้รับ (Vision to Create Long Term Value) ในฐานะเป็นเจ้าของทุน และการดำเนินงานใดๆ ของบริษทั 6. มีคุณธรรมและจริยธรรม จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับผู้ถือหุ้น (Ethics) ในปี 2551 บริษัทฯ ได้ปรับปรุงนโยบายการกำกับ นอกเหนื อ จากการสื่ อ สารนโยบายดั ง กล่ า วแล้ว

ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และเพิ่มเติมแนวปฏิบัติตาม ในปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้ปรับปรุงแนวทางการปฏิบตั ติ าม หลั ก การการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ฉ บั บ ปรั บ ปรุ ง ใหม่ หลักการการกำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำหรับบริษทั จดทะเบียน สำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549 เพื่อรักษามาตรฐาน ปี 2549 โดยยึดหลักการและแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี โดยแบ่งเนือ้ หา ด้ า นการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เป็น 5 หมวด ได้แก่ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และด้ ว ยการยึ ด ถื อ หลั ก การดั ง กล่ า วใน

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น การดำเนินธุรกิจ ทำให้ในปีนี้บริษัทฯ ได้รับการประเมิน 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2551 และการ

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ให้ ค วามสำคั ญ ในสิ ท ธิ ผู้ ถื อ หุ้ น อยู่ ใ นเกณฑ์ ที่ “ดี ม าก” 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส และมี ผ ลการประเมิ น ภาพรวมการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัทจดทะเบียนไทยประจำปี 2551 อยู่ในเกณฑ์ “ดี” จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น และจากผลการประเมินดังกล่าว สะท้อนให้เห็นถึงความ บริษัทฯ รักษาสิทธิและผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น มุง่ มัน่ ของบริษทั ฯ ในการดำเนินธุรกิจทีย่ ดึ มัน่ ในจริยธรรม ทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ รายย่อย บุคคลธรรมดา ตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี หรือผู้ถือหุ้นสถาบัน โดยทุกฝ่ายจะได้รับการปฏิบัติด้วย ความเสมอภาคและเท่ า เที ย มกั น ตามข้ อ กำหนดและ นโยบายการกำกับดูแลกิจการ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งตามแนวทางการปกป้ อ งสิ ท ธิ ขั้ น

บริษทั ฯ ได้จดั ทำนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ รวมถึงสิทธิในการได้รบั ข้อมูลข่าวสาร เพื่อใช้เป็นหลักในการดำเนินธุรกิจของกรรมการ ผูบ้ ริหาร ของบริษัทอย่างถูกต้อง เพียงพอ และทันเวลา และสิทธิ และพนักงาน ให้ปฏิบตั หิ น้าทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย ข้อบังคับ ในการเข้าร่วมการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และจรรยาบรรณธุรกิจ โดยครอบคลุมถึงประเด็นสำคัญ บริ ษั ท เคซี อี อี เ ลคโทรนิ ค ส์ จำกั ด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำคัญในการปฏิบัติตามหลักการการ กำกับดูแลกิจการที่ดีและเชื่อมั่นว่ากระบวนการการกำกับ ดูแลกิจการที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญในการปฏิบัติและนำมา

ซึ่งความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจและเสริมสร้างองค์กร ให้ เ ติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ภายใต้ ก ารดำเนิ น การอย่ า งมี

จรรยาบรรณ ด้วยความรับผิดชอบในการสร้างประโยชน์ สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงสิ่งแวดล้อมและ สังคมส่วนรวม

30 รายงานประจำปี 2551


Corporate Governance Report KCE Electronics Public Company Limited recognizes the importance of Good Corporate Governance and that compliance to the Good Corporate Governance principles will contribute to a long-term sound, secure, and sustainable corporate growth and success. KCE conducts its business with full accountability to the shareholders, the stakeholders, the environment and the society. The KCE Board of Directors protects the interest of the shareholders and all stakeholders and ensures that all businesses are conducted ethically and transparently to maximize the corporate value to all shareholders and stakeholders. The Board continues to supervise, evaluate and assess the Corporate Governance and implements necessary measures for continuous governance improvement to ensure the safeguard of the rights of shareholders (fund owners), and that management of the company is for the best and long term interests of shareholders. In fiscal year 2008, KCE has improved

its Corporate Governance Policy to follow the Corporate Governance guidelines for listed company (2006), as recommended by the SET, the Stock Exchange of Thailand. KCE was positioned as “VERY GOOD” by the Thai Institute of Directors for the year 2008 in the following categories; Right of the Shareholders and Right of the Stakeholders, and rated “GOOD” for overall Corporate Governance assessment. The results of the rating reflect KCE’s constant efforts to integrate sound ethics and to comply with the principles of Good Corporate Governance into its business practices and its corporate culture. Corporate Governance Policy The company’s Corporate Governance policies and practices, including the code of conducts are complied into a manual. The KCE Board of Directors’ structure and composition follows the recommendations of the SET, performing all its fiduciary duties with integrity and care. The Company acts in a lawful and ethical manner in

their dealings with all stakeholders and their representatives. The CG policy is disclosed through different communication channels including the company’s website. The Company conducts its affairs according to the following 6 principles : 1. Accountability 2. Responsibility 3. Transparency 4. Equitable treatment 5. Creation of long term value 6. Ethics KCE complies with the Corporate Governance Guidelines for Listed Company recommended by the SET, the Stock Exchange of Thailand (2006) in regards to : 1. Rights of shareholders 2. Equitable treatment of all shareholders 3. Stakeholders’ rights 4. Disclosure and transparency 5. Roles and responsibility of the Board 1. Rights of Shareholders KCE protects the rights and the interests of the shareholders whether it’s majority, minority, foreign or institutional shareholders. KCE facilitates the needs of its shareholders and ensure equitable and fair treatment, complying with applicable laws and guidelines protecting shareholders’ basic rights. All shareholders obtain relevant and adequate information on the company in a timely manner; can participate and vote in the AGM . In 2008, the Annual General Meeting of KCE (AGM) no. 25/2008 was held on Tuesday 29th April 2008 at the Montienthip Room, Montien Hotel, Surawongse Road, Bangkok, a location chosen for easy accessibility and full facilitation. The notice of shareholders’ meeting including the meeting agenda was posted in the Company’s Website 4 weeks prior to the meeting date to allow time for the shareholders to review meeting’s agenda and necessary information regarding the issues to be decided at the meeting. The letters of Invitation the KCE AGM no. 25/2008 were mailed to the Annual Report 2008 31


ในปี 2551 บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมสามัญ

ผู้ ถื อ หุ้ น ครั้ ง ที่ 25/2551 เมื่ อ วั น อั ง คารที่ 29 เมษายน 2551 ณ ห้องมณเฑียรทิพย์ โรงแรมมณเฑียร ถนนสุรวงศ์ กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นสถานที่ที่อยู่ในทำเลที่ผู้ถือหุ้นสามารถ เดินทางไปมาได้สะดวก โดยในการจัดการประชุมดังกล่าว บริษัทฯได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมพร้อมด้วยระเบียบ วาระผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบล่ ว งหน้ า

4 สัปดาห์ก่อนวันประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษา ข้ อ มู ล ทั้ ง หมดเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ ต้ อ งตั ด สิ น ใจในที่ ป ระชุ ม เป็นการล่วงหน้า ก่อนจัดส่งเอกสารดังกล่าวให้ผู้ถือหุ้น ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ล่วงหน้ามากกว่า 18 วันก่อนการประชุม โดยเอกสารที่ บริษัทฯได้จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นในปี 2551 นั้น ประกอบด้วย : • หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และสารสนเทศเกี่ ย วกั บ สถานที่ เวลา วาระ ตลอดจนข้ อ มู ล ทั้ ง หมด

ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องพิจารณา พร้อมด้วย ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ฯ ในแต่ละวาระ • รายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 24/2550 • ประวัติของกรรมการที่ออกตามวาระในปี 2551 เพื่ อ เสนอให้ ผู้ ถื อ หุ้ น เลื อ กตั้ ง กรรมการดำรง ตำแหน่งอีกวาระหนึ่ง • รายละเอี ย ดเอกสารและหลั ก ฐานที่ ผู้ เข้ า ร่ ว ม ประชุมจะต้องแสดงก่อนเข้าประชุมและคำอธิบาย กรณีมอบฉันทะในการเข้าร่วมประชุม • หนังสือมอบฉันทะแบบ ข ซึง่ เป็นแบบทีก่ ำหนด รายการต่างๆ ที่จะมอบฉันทะที่ละเอียดชัดเจน ตายตัว • แผนที่สถานที่จัดประชุมผู้ถือหุ้น

รับทราบรายละเอียดข้อมูลการประชุม นอกเหนือจาก รายงานการประชุ ม ที่ ไ ด้ เ ผยแพร่ ใ ห้ ผู้ ถื อ หุ้ น รั บ ทราบ

ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายในเรื่องสิทธิของ ผูถ้ อื หุน้ ระบุไว้ในคูม่ อื นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ดี งั นี ้ • สิทธิในการจดทะเบียนเป็นเจ้าของหุน้ ของบริษทั • สิทธิในการเปลี่ยนมือหรือการโอนสิทธิในหุ้น ของตน • สิทธิในการรับส่วนแบ่งกำไรของบริษัท • สิทธิในการได้รับแจ้งข้อมูลและข่าวสารที่มีนัย สำคัญของบริษัทอย่างสม่ำเสมอและตรงเวลา ตามที่ควรจะเป็น • สิทธิในการเข้าร่วมประชุม เพือ่ เข้าร่วมกระบวนการ ในการตัดสินใจและลงคะแนนเสียงในเรือ่ งสำคัญ ใดๆ ในที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น สิ ท ธิ ใ นการแต่ ง ตั้ ง หรื อ ถอดถอน กรรมการบริษัท สิทธิในการออกคะแนนเสียงแต่งตั้ง และกำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี สิ ท ธิ ใ นการแสดงความคิ ด เห็ น ใน การประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อร่วมตัดสินใจ ในเรื่องสำคัญของบริษัทฯ เช่น ■ เงินปันผลของบริษัทฯ ■ การแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงหนั ง สื อ

บริคณห์สนธิ หรือข้อบังคับของ

บริษัทฯ ■ รายการเพิม ่ หรือลดทุนจดทะเบียน

บริษัทฯ ในวั น ประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น บริ ษั ท ฯได้ อ ำนวย ■ รายการพิเศษอื่นๆ ที่มิใช่รายการ

ความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น ดังนี้ ที่เกิดขึ้นตามปกติ • จัดเตรียมสถานทีส่ ำหรับจอดรถไว้อย่างเพียงพอ • สิทธิในการมีส่วนร่วมและรับทราบการตัดสินใจ • อำนวยความสะดวกให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ ใช้ สิ ท ธิ ใ น

ในเรือ่ งสำคัญใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเปลีย่ นแปลง การดำเนินกิจการขั้นพื้นฐาน การเข้าร่วมประชุมและออกเสียง ด้วยการใช้ ระบบ BARCODE ในการลงทะเบี ย นและ

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน นั บ คะแนนเสี ย ง และจั ด ให้ มี อ ากรแสตมป์ ไว้ บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญของผู้ถือหุ้นและ บริการ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะ

ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งผู้ถือหุ้น ไม่ได้นำมา รายย่อย และผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ โดยผูถ้ อื หุน้ ทุกรายจะมีสทิ ธิ • จัดเตรียมเจ้าหน้าทีค่ อยอำนวยความสะดวกให้กบั ในการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีการแบ่งแยก และ

ผูถ้ อื หุน้ อธิบายขัน้ ตอนการลงทะเบียน การเก็บ ได้รับการปกป้องจากการกระทำที่ไม่ถูกต้อง หรือเพื่อ

บัตรลงคะแนนเสียง การส่งคำถาม และอื่นๆ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นที่มีอำนาจในการควบคุมการ ทางบริษัทฯ ได้เผยแพร่รายงานการประชุมที่ระบุ ดำเนินธุรกิจของบริษัท ไม่ว่าจะเป็นการกระทำทางตรง คำถามและคำตอบที่ผู้ถือหุ้นได้สอบถามในที่ประชุมไว้ และทางอ้อม อย่างละเอียดในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้สามารถได้ 32 รายงานประจำปี 2551


shareholders 18 days prior to the AGM. The documents provided to the shareholders in 2008 were as follows : • The letter of Invitation to the KCE AGM no. 25/2008 stating the date, the time and the venue for shareholders’ meetings and necessary information regarding the issues to be decided at the meeting. Each agenda were clearly specified whether it was for acknowledgement, approval or for consideration. The opinion of the Board for each agenda was also provided. • Minutes of the 2007 Annual General Meeting of Shareholders No. 24/2007. • The resume of the directors who were to retire by rotation in year 2008 whom the Board had recommended re-elections for another term. • A list of documents and identification required for AGM attendance with explanation of the attached proxy forms. • Proxy form in which each individual agenda can be voted specifically. • Map of the Meeting venue. On the day of the AGM, the company facilitated the shareholders by providing : • Ample parking spaces, • Barcode system for the shareholders’ registration as well as for vote counting, • Stamps required for the proxy forms were also available. • KCE staff was presented at the meeting to provide information regarding registration, to collect and to count vote ballots, to collect questions and to provide any assistance that were required. The detailed minutes of the 2008 AGM, including the questions and answers were posted in the company’s website while the Resolutions of the AGM were reported to the Stock Exchange of Thailand. The rights of shareholders stipulated in the company’s Corporate Governance Policy are as follows : • The right to register as an owner of the share of the company.

• The right to buy, sell, or to transfer shares. • The right to share in the profit of the company. • The right to obtain relevant and adequate information on the company in a timely manner and on a regular basis. • The right to participate and vote in the shareholders meetings. The right to elect or remove members of the board. The right to appoint the external auditor, and The right to make decisions on any key transactions that affect the company such as : ■ Dividend payment, ■ Amendments to the company’s

article of association or the company’s bylaws, ■ Capital increases or decreases, ■ The approval of extraordinary tran-

sactions, etc. • The right to participate in, and to be informed regarding major decision concerning fundamental corporate changes. 2. Equitable treatment of shareholders KCE ensures the equitable treatment of all shareholders, including minority and foreign shareholders. All shareholders have the right

to fair practice without discrimination and are protected from abusive action by, or in the interest of controlling shareholders acting directly or indirectly. Measures have been taken to prevent insider trading and the misuse of internal information by the Company’s Board members, management including their spouses and their under-aged children. Board members and those who have retired from office of no more than 6 months are prohibited from making any transactions in regards to KCE shares from 1 month prior and 3 days postdisclosure of the Company’s financial performance. The Company’s Board members and its executives are required to disclose their investments in KCE shares. Reports of their holding must be updated and submitted to the Board of Directors on a regular basis. All directors and executives are to disclose Annual Report 2008 33


บริ ษั ท ฯ กำหนดมาตรการป้ อ งกั น การใช้ ข้ อ มู ล ภายใน (INSIDER TRADING) เพื่อหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบของกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โดยได้ออกประกาศห้ามกรรมการรวมถึงผู้บริหารที่พ้น ตำแหน่งในช่วงเวลา 6 เดือน ซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ก่อนประกาศงบการเงินเป็นเวลา 1 เดือนและหลังประกาศ เป็ น เวลา 3 วั น และกำหนดให้ ก รรมการและผู้ บ ริ ห าร มีหน้าที่รายงานการถือครองหุ้นของบริษัทฯ และจัดส่ง รายงานดั ง กล่ า วให้ แ ก่ ค ณะกรรมการเป็ น ประจำ ทั้ ง นี้ เพื่ อ มิ ใ ห้ ก รรมการและผู้ บ ริ ห ารนำข้ อ มู ล ภายในไปใช้ ประโยชน์ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ถือหุ้นโดยรวม ทั้งนี้ กรรมการ หรือผู้บริหารที่มีส่วนได้เสียในรายการนั้น จะต้องไม่มีส่วนร่วมในการพิจารณาอนุมัติในวาระนั้นๆ โดยได้กำหนดบทลงโทษการใช้ข้อมูลภายในของผู้บริหาร และพนักงาน ดังนี้

การเลิกจ้างให้พน้ สภาพการเป็นพนักงานด้วยเหตุ ไล่ออก ปลดออกหรือให้ออก ทั้งนี้ การลงโทษ

จะพิจารณาจากเจตนาของการกระทำ และความ ร้ายแรงของความผิดนั้นๆ คณะกรรมการบริษัทฯ ถือเป็นนโยบายสำคัญที่จะ ไม่ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานใช้โอกาสจากการ เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานบริษัทฯ แสวงหา ผลประโยชน์สว่ นตน โดยการห้ามไม่ให้กรรมการประกอบ ธุ ร กิ จ ที่ แข่ ง ขั น กั บ บริ ษั ท ฯ หลี ก เลี่ ย งการทำรายการที่ เกี่ยวโยงกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ หรือในกรณีที่จำเป็นต้องทำรายการเช่นนั้น คณะกรรมการบริษทั จะดูแลให้ทำรายการด้วยความโปร่งใส เที่ยงธรรมเสมอเหมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก

บริษัทฯ ปฏิบัติตามแนวทางและขั้นตอนในการ

ปฏิ บั ติ ใ นเรื่ อ งการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตาม

หลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่

บทลงโทษการใช้ขอ้ มูลภายในของผูบ้ ริหารและพนักงาน ปี 2547 เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหาร 1. บริษัทกำหนดให้มีการป้องกันการนำข้อมูลของ ซึง่ เข้าข่ายบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันตามคำนิยามของสำนักงาน บริษัทไปใช้ โดยกำหนดให้หน่วยงานที่รู้ข้อมูล คณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์

ห้ามนำข้อมูลไปเปิดเผยยังหน่วยงานหรือบุคคล เปิดเผยข้อมูลบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวโยงกัน โดยทุกครั้ง ที่ไม่เกี่ยวข้อง ที่มีการแต่งตั้งผู้บริหารใหม่ สำนักเลขานุการบริษัทฯ จะ 2. ผู้บริหารของบริษัทที่ได้รับข้อมูลทางการเงิน จัดส่งแบบฟอร์ม “รายละเอียดของบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตาม ของบริษทั ต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าว ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อนที่จะเปิดเผยสู่สาธารณชน โดยการกำหนด เรื่ อ ง การเปิ ด เผยข้ อ มู ล และการปฏิ บั ติ ก ารของบริ ษั ท

ห้ามผูบ้ ริหารทำการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั จดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546” เพื่อให้ เป็นระยะเวลา 1 เดือน ก่อนทีง่ บการเงินจะเปิดเผย ผู้บริหารที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ให้ข้อมูลพร้อมลงนามรับรอง สู่สาธารณชน ความถูกต้องของข้อมูล และหากภายหลังมีการเปลีย่ นแปลง 3. เมื่ อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท เข้ า จดทะเบี ย นใน ข้อมูล ผูบ้ ริหารจะต้องจัดส่งแบบฟอร์มดังกล่าวพร้อมลงนาม ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย บริ ษั ท ได้ รับรองความถูกต้องของข้อมูลทุกครัง้ โดยสำนักเลขานุการ กำหนดให้ ก รรมการและผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ ใ น

บริษทั ฯ จะจัดทำสรุปรายชือ่ บุคคลและบริษทั ทีเ่ กีย่ วโยงกัน การรายงานการถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ใ นบริ ษั ท ตาม เพื่อง่ายในการตรวจสอบ และนำส่งฝ่ายบริหารทุกครั้ง มาตรา 59 เพือ่ ให้เป็นไปตามประกาศสำนักงาน ตลอดจนบุ ค คลที่ เ ป็ น ผู้ ป ระสานงานเกี่ ย วกั บ รายการที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สจ. 14/2540 เรือ่ งการ เกีย่ วโยงกันของแต่ละหน่วยงาน เพือ่ ใช้ตรวจสอบธุรกรรม จั ด ทำและเปิ ด เผยรายงานการถื อ หลั ก ทรั พ ย์

ที่ ห น่ ว ยงานตนจะเสนอฝ่ า ยบริ ห ารหรื อ คณะกรรมการ

ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2540 และได้กำหนด บริษัทฯ และหากมีรายการที่เกี่ยวโยงกันเกิดขึ้น บริษัทฯ โทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาด

จะจัดทำสรุปสารสนเทศเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน หลั ก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 และตามกฎเกณฑ์

แจ้งให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทราบ รวมทั้ง

ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นำไปเปิดเผยในรายงานประจำปี (แบบ 56-2) และแบบ รวมถึงได้กำหนดโทษทางวินยั สำหรับผูแ้ สวงหา แสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ผลประโยชน์จากการนำข้อมูลภายในบริษัทไป ใช้หรือนำไปเปิดเผยจนอาจทำให้บริษัทได้รับ การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ในการเข้าร่วมการประชุมสามัญ ความเสียหาย โดยพิจารณาลงโทษตามควรแก่ ผู้ถือหุ้น กรณี ได้แก่ การตักเตือนด้วยวาจา การตักเตือน บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น เป็นลายลักษณ์อักษร การภาคทัณฑ์ ตลอดจน ประจำปี 2551 ตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่ง

34 รายงานประจำปี 2551


to the board whether they and their related parties have interest in any transaction or matter directly affecting the company. Directors and executives who have such interests should not participate in the decision making process on such issues (details in Form 56-1). Penalty regarding the use of internal information by executives and employee. 1. The Company has instituted measures

to prevent the use of the Company’s information by prohibiting the units to which the information is made known from disclosing such information to irrelevant units or persons. 2. The Company executives who obtain the Company’s financial information shall not personally use such information prior to public disclosure and will refrain from the trading of the Company’s securities for a period of one month prior to the public disclosure of the Company’s financial statements. 3. Upon the listing of the Company’s securities on the Stock Exchange of Thailand, the Company requires that the directors and executives shall have the duty to report their holding of the Company securities under Section 59 of the Securities and Exchange Act B.E. 2535 and shall comply with the Notification of the Office of the Securities and Exchange Commission No. SorJor 14/2540, dated May 21, 1997 re : Preparation and Disclosure of the Holding of Securities. Non-compliance with this provision will be subject to a penalty under the Securities and Exchange Act B.E. 2535 and under the requirements of the Stock Exchange of Thailand. The Company will also take proper disciplinary action : verbal or written reprimand, probation, termination of employment by summary dismissal, discharge or deposition, against the persons who acquire benefit in using or disclosing the Company’s internal information, which may cause damage to the Company. The severity of punishment shall be appropriate to the intention and severity of such offence.

The Board of Directors does not allow directors, executives and staff to seek personal gains or to engage in business in direct competition with the Company or in transactions that may lead to a conflict of interests with the Company. If such a transaction is unavoidable, the Board of Directors shall ensure that the transaction is carried out with transparency and fairness similar to transactions carried out with unrelated parties. The Company follows the guidelines and procedures as stipulated by the SET since September 2004 to that information disclosure is a must; should there be any relationship that falls within the definition as stipulated by the SEC. Disclosure is made on the person or entity that is related. Each time there is a new management appointment; the Company Secretariat sends the “Details of Related Persons Form” as per the SEC’s guidelines relating to information disclosure for listed companies on related party transactions, B.E. 2546 for the newly appointed person to fill and sign-off on the integrity of information provided. The document is to be returned to the Company’s Secretarial who is responsible for summarizing the information

of related persons and business entities for review purposes. The information provided to each business unit serves as reference for screening proposals seeking management or Board of Directors approval. Related party transactions are to be disclosed in the Annual Report (Form 56-2) and the annual disclosure of the Company’s information (Form 56-1). Equitable treatment of shareholders at the Annual General Shareholders’ Meeting KCE held the 2007 Annual General Shareholders’ Meeting in accordance with the legal procedures and the requirement of the Stock Exchange of Thailand as well as the Securities and Exchange Commission (SEC), following the Annual General Shareholders’ Meeting Checklist. In Year 2008, the Board of Directors, at meeting No. 4/2008 held on March 18th, 2008, passed a resolution to hold the 2008 AGM, No 25 on April 29 th, 2008, complying with the SET requirement that the AGM were to be held within 4 months post the fiscal year end. Timely, transparent and accurate disclosure in both Thai and Annual Report 2008 35


ประเทศไทย โดยปฏิบตั ติ ามแนวทางการจัดการประชุมผูถ้ อื หุ้ น ของสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ตลอดจนใช้คมู่ อื Annual General Meeting Checklist ซึง่ เป็นโครงการประเมินคุณภาพการ จัดประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปีของบริษทั จดทะเบียน

ทำหน้าทีเ่ ป็นประธานในทีป่ ระชุมในปี 2551 มีคณะกรรมการ บริษัทเข้าร่วมการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมด 8 ท่านดังนี้ 1. นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ/

กรรมการผู้จัดการ 2. พลโท นพ.สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการ/ กรรมการตรวจสอบ/ ในปี 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ กรรมการอิสระ 4/2551 ณ วันที่ 18 มีนาคม 2551 ได้มีมติเห็นชอบให้

3. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช กรรมการ/ประธาน จัดการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 25/2551 ในวันที่ กรรมการตรวจสอบ/ 29 เมษายน 2551 ตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์

กรรมการอิสระ แห่งประเทศไทยที่ต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นภายใน 4. นายปัญจะ เสนาดิสัย กรรมการ กำหนดระยะเวลา 4 เดือนนับแต่สิ้นสุดรอบปีบัญชี โดย 5. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต กรรมการ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ให้ มี ก ารรายงานและเปิ ด เผยข้ อ มู ล การ 6. นางอุบล จิระมงคล กรรมการ/กรรมการ

ดำเนินงานของบริษัทฯ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ตรวจสอบ/ และทันเวลาในการตัดสินใจ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กรรมการอิสระ ในเว็บไซต์ของบริษัท ซึ่งผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่สนใจ 7. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการบริหาร สามารถเข้าดูได้ตลอดเวลาที่ www.kcethai.in.th ตั้งแต่ 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการบริหาร วั น ที่ 1 เมษายน 2551 หรื อ 4 สั ป ดาห์ ล่ ว งหน้ า ก่ อ น

วันประชุม และได้ลงประกาศเชิญประชุมในหนังสือพิมพ์ ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้เข้าร่วมการประชุมเพื่อ รายวันฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตัง้ แต่วนั ที่ 16 - 18 รับฟังความคิดเห็นและตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น ดังนี้ เทศน์สาลี ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบัญชี เมษายน 2551 ติดต่อกัน 3 วันล่วงหน้าก่อนการประชุม 1. นางธัญรัตน์ 13 วัน 2. นางณิราพัชร์ ติรนาควิทย์ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน ในการเข้าร่วมการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ทางบริษทั ฯ ถือเป็นสำคัญในการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกคนอย่างเท่าเทียม กัน โดยผู้ถือหุ้นทุกคนจะต้องแสดงเอกสารหลักฐานเพื่อ เข้าร่วมประชุมทั้งที่มาด้วยตนเอง หรือกรณีมอบฉันทะ

ที่หน่วยรับลงทะเบียนด้วยระบบ Barcode ที่ทางบริษัทฯ ได้จดั เตรียมเจ้าหน้าทีค่ อยอำนวยความสะดวกและอธิบาย ขัน้ ตอนให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้า 2 ชัว่ โมงและต่อเนือ่ งจนกว่า การประชุมจะแล้วเสร็จ ด้วยกระบวนการและระบบที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพและสะดวกต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยผู้ ถื อ หุ้ น และ

ผู้แทนทุกคนจะได้รับบัตรลงคะแนนเสียงของทุกๆ วาระ หลังจากที่ลงทะเบียน รวมถึงการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสม แก่ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมการประชุมด้วย

นอกจากนี้ ตัวแทนของบริษัท เอินสท์ แอนด์ ยัง จำกั ด ซึ่ ง เป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี และบริ ษั ท ไว้ ท์ แ อนด์ เ คส (ประเทศไทย) จำกัด ที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายของบริษัทฯ ได้เข้าร่วมการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและตอบข้อ ซักถามของผู้ถือหุ้น ดังนี้

ผู้สอบบัญชี 1. นางสายฝน อินทร์แก้ว บริษัท เอินสท์ แอนด์ ยัง

จำกัด 2. นายสาธิต เกียรติกระจาย บริษัท เอินสท์ แอนด์ ยัง

จำกัด ที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมาย 1. นางสาวเยาวโรจน์ กลิ่นบุญ บริษัท ไว้ท์ แอนด์ เคส (ประเทศไทย) จำกัด ในการประชุมประจำปี 2551 ที่ผ่านมามีผู้ถือหุ้น เข้าร่วมการประชุมทั้งหมด 157 ราย นับจำนวนหุ้นได้ 2. นายธีระศาสตร์ นิตย์สุภาพ บริษัท ไว้ท์ แอนด์ เคส (ประเทศไทย) จำกัด 255,239,480 หุ้นเท่ากับร้อยละ 55.19 ของจำนวนหุ้น ที่ จ ำหน่ า ยได้ ทั้ ง หมด 462,497,269 หุ้ น โดยแบ่ ง เป็ น

ในปี 2551 ทางบริษัทฯ ได้เรียนเชิญ ดร. รัฐชัย ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง 72 รายจำนวนหุ้น ศีลาเจริญ อาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์การบัญชี จุฬาลงกรณ์ 156,037,390 หุ้ น และที่ ม อบฉั น ทะจำนวน 85 ราย มหาวิทยาลัย เข้าร่วมการประชุมเพื่อเป็นคนกลางเข้ามา จำนวนหุ้น 99,202,090 หุ้นโดยมอบฉันทะให้ประธาน ทำหน้าที่ดูแลตั้งแต่กระบวนการตรวจสอบเอกสารในการ กรรมการ 13 ราย กรรมการอิสระ 24 ราย และผูแ้ ทน 48 ราย ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม ขั้นตอนในการออกเสียงลง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญในการ คะแนน รวมถึงผลของการลงคะแนนเสียงและผลของมติ เข้าร่วมการประชุมผู้ถือหุ้นทุกท่าน มีประธานกรรมการ เพื่อให้การประชุมผู้ถือหุ้นเป็นไปอย่างโปร่งใส ถูกต้อง 36 รายงานประจำปี 2551


English languages were made on all material issues regarding the corporation in the company’s website accessible to all interested parties and at the Company’s website, www.kcethai.in.th since April 1st, 2008, 4 weeks prior to the date of the meeting, and in both Thai and English Press from April 16th - 18th for three consecutive days, thirteen days prior to the AGM. All shareholders received equitable and fair treatment and all presented documents to attend the AGM either in person or by proxy. The Company organized a systematic and effective barcode registration process to facilitate the shareholders attending the meeting. Shareholders and their proxies were expedited through the registration process with a large number of staff on hand to facilitate the process. Registration to attend the AGM began 2 hours prior to the commencement of the meeting and continued through the end of the AGM. All shareholders and proxies were provided with the voting slips, one for each agenda. Shareholders were offered snacks and refreshments. A total of 157 shareholders attended the AGM 2008, representing a total of 255,239,480 shares, which was 55.19 per cent of the paid up shares of 462,497,269 shares and more than one third of the Company’s paid-up capital constituting a quorum. 13 shareholders gave proxy to the Managing Director, 24 persons to the Independent Directors and 48 persons to others. All members of the Board of Directors have placed importance in attending the 2008 AGM and the Chairman of the Board of Directors presided as the Chairman of the AGM. Board members attending the AGM were as follows : 1. Mr. Bancha Ongkosit Chairman and

Managing Director 2. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. Director/

Independent Director/ Audit committee 3. Dr. Thongdee Shaipanich Director/Chairman

of Audit committee/ Independent director 4. Mr. Panja Senadisai Director

5. Dr. Chantima Ongkosit Director 6. Mrs. Ubol Chiramongkol Director/ Independent Director/ Audit committee 7. Mrs. Voraluksana Ongkosit Executive Director 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan Executive Director Management present at the AGM 2008 1. Mrs. Tanyarat Tessalee Accounting Director 2. Mrs. Niraphat Tiranakvit Finance Manager Auditors : 1. Mrs. Saifon In-kaew 2. Mr. Sathit Kiatkrajai

Ernst & Young Co., Ltd. Ernst & Young Co., Ltd.

Legal Consultants : 1. Ms. Yaowarote Klinboon White & Case Co., Ltd. 2. Mr. Teerasard Nitsupharp White & Case Co., Ltd Moreover, the Company also invited

Dr. Rattachai Seelachalern, a faculty member of the Department of Accounting, Chulalongkorn University to attend the meeting as an official supervisor of the AGM in regards to the registration and voting procedures to ensure that the AGM complied with both the legal requirements and the company’s articles of Association. At the start of AGM, the Company’s Chairman of the Board, Mr. Bancha Ongkosit who presided over the AGM as Chairman of the AGM, provided a summary regarding the votes represented at the meeting, explained the voting procedure, vote counting process, the voting process via computerized barcode, the vote collection process, and the summation of votes as follows : 1. After the registration, each shareholder or proxy would receive voting cards, one card for each agenda stated in the notice of the AGM 2007. Each voting card had the name of the shareholder or proxy, the numbers of the shares owned and the agenda to be voted. 2. A ll shareholders and proxies were requested to vote for each and every

Annual Report 2008 37


ตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัทฯ โดยในช่วงเริ่มต้น ของการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประธานกรรมการบริษัทฯ คือ นายบัญชา องค์โฆษิต ผู้ซึ่งทำหน้าที่ประธานในที่ ประชุม ได้ชี้แจงรายละเอียดและอธิบายวิธีการลงคะแนน การนับคะแนน การใช้บตั รลงคะแนนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ การเก็บบัตรลงคะแนน และการสรุปผลการลงคะแนนเสียง ในทุกๆ วาระให้ผู้ถือหุ้นทุกคนรับทราบ ดังนี้ 1. เมื่อผู้ถือหุ้นได้ทำการลงทะเบียนแล้ว ผู้ถือหุ้น จะได้รบั บัตรลงคะแนนซึง่ มีจำนวนเท่ากับจำนวน วาระที่จะต้องมีการลงคะแนนเสียง โดยในบัตร ระบุชอื่ ผูถ้ อื หุน้ ผูร้ บั มอบฉันทะ จำนวนหุน้ ทีถ่ อื 2. จำนวนหุน้ ทีป่ ระสงค์จะทำการลงคะแนนในบัตร ลงคะแนนในแต่ละวาระ ทัง้ นีใ้ นการลงคะแนนเสียง ผูถ้ อื หุน้ จะต้องลงคะแนนในบัตรลงคะแนนให้ตรง กับวาระที่จะทำการลงคะแนน 3. ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถลงคะแนนเสี ย งเห็ น ด้ ว ย

ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง อย่างใดอย่างหนึง่ ในแต่ละวาระ พร้อมทั้งระบุชื่อลงไปในบัตรลง คะแนน 4. ในการนับคะแนนเสียง เมือ่ มีการนำเสนอในแต่ละ วาระจบลง ประธานฯจะขอให้ผู้ถือหุ้นลงมติใน บัตรลงคะแนนเสียง จากนัน้ เจ้าหน้าทีข่ องบริษทั ฯ จะทำการเก็บบัตรลงคะแนนจากท่านผู้ถือหุ้น เพื่ อ นำมาประมวลผล โดยในขณะที่ ท ำการ ประมวลผลนั้น ประธานฯ จะดำเนินการประชุม ในวาระถัดไปเพื่อมิให้เป็นการเสียเวลา หรือ อาจจะพิจารณารอผลของมติการประชุมในวาระ นั้นๆ ตามแต่เห็นสมควร และในช่วงท้ายของ การประชุม บริษทั ฯจะทำการสรุปมติของทีป่ ระชุม ในแต่ละวาระให้แก่ผู้ถือหุ้นทราบอีกครั้งหนึ่ง ในระหว่างการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯได้เปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถาม หรือแสดงความคิดเห็นอย่าง เหมาะสมและเพียงพอ และให้กรรมการที่เกี่ยวข้องชี้แจง และให้ข้อมูลต่างๆ แก่ผู้ถือหุ้นอย่างครบถ้วนและชัดเจน สำหรับการลงคะแนนและนับคะแนนเสียง บริษัทฯปฏิบัติ ตามข้อบังคับของบริษัทฯ ที่กำหนดให้ 1 หุ้นเป็น 1 เสียง และนับเสียงข้างมากเป็นมติ กรณีคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานในที่ ป ระชุ ม เป็ น ผู้ ชี้ ข าดอี ก เสี ย งหนึ่ ง ต่ า งหาก

นอกเหนือจากการออกเสียงในฐานะเป็นผู้ถือหุ้น มีการ บันทึกผลของการลงคะแนนเสียงทั้งเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงในแต่ละวาระ อีกทัง้ มีการจดบันทึกคำถาม คำตอบ คำชี้แจง และความคิดเห็นของที่ประชุมไว้อย่าง ละเอียดด้วย โดยทางบริษทั ฯจะนำส่งมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ให้กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายใน 14 วัน 38 รายงานประจำปี 2551

หลังจากวันประชุมผู้ถือหุ้นในปี 2551 ที่ผ่านมา หลังจาก เสร็ จ สิ้ น การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประธานกรรมการ

คณะกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯได้เปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นซักถามอย่างไม่เป็นทางการมากกว่า 1 ชั่วโมง บริษทั ฯ ได้รบั การประเมินจากทางสมาคมนักลงทุน ไทยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในการจัดการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ในปี 2551 อยู่ในระดับ คะแนน “80 - 89” หรือ “ดีมาก” ซึ่งจากผลการประเมิน และการชี้แนะของปีที่ผ่านมา ทางบริษัทฯจะนำไปพัฒนา และยกระดับคุณภาพการจัดการประชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ในปีต่อไป ในปี 2551 บริ ษั ท ฯ ได้ แจ้ ง มติ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ

ผู้ถือหุ้นผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมติ

ดังกล่าวได้ระบุรายชือ่ กรรมการ/ผูบ้ ริหารทีเ่ ข้าร่วมประชุม และผลของการลงคะแนนเสี ย ง เห็ น ด้ ว ย ไม่ เ ห็ น ด้ ว ย หรืองดออกเสียงในแต่ละวาระที่เสนอขอการอนุมัติจาก

ผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ประเด็นทีส่ ำคัญๆ ข้อซักถามของผูถ้ อื หุน้ และการชีแ้ จงจากทางคณะกรรมการบริษทั ฯ ในแต่ละวาระ อย่ า งละเอี ย ด โดยแจ้ ง มติ ใ ห้ กั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ภายใน 14 วันนับแต่ วันประชุมผูถ้ อื หุน้ พร้อมทัง้ เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www.kcethai.in.th ด้วย 3. นโยบายต่อบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั ฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ ผูม้ สี ว่ น ได้เสียทุกกลุ่ม เคารพและคำนึงในสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจในสิทธิตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องใดๆ มีการปฏิบตั แิ ละให้ความสำคัญกับทุกๆ ฝ่ายโดยเท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ พนักงานของบริษทั ฝ่ายบริหาร ลูกค้า คู่ค้า ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรวม และเนื่องจาก

บริ ษั ท ฯ เป็ น หนึ่ ง ในผู้ น ำอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ขนาดใหญ่ จึงเน้นการให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม และ ความปลอดภัยในการทำงานเป็นหลักสำคัญมาโดยตลอด บริษัทฯ สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ ระหว่างบริษัทฯกับผู้มีส่วนได้เสียในการสร้างความมั่งคั่ง ความมั่นคงทางการเงิน ความยั่งยืนของกิจการ และสร้าง ความเชือ่ มัน่ ให้กบั ทุกฝ่ายในการดำเนินงานและการตัดสินใจ ว่าเป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของบริษทั และมัน่ ใจ ว่าผู้มีส่วนได้เสียจะได้รับความเป็นธรรมตามสิทธิ บริษัทฯ กำหนดนโยบายที่ชัดเจนในการปฏิบัติต่อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม โดยกำหนดสิทธิ ของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ตามกฎหมายและถื อ เป็ น ข้ อ ตกลง ระหว่างกัน ห้ามไม่ให้มีการกระทำใดๆ ที่เป็นการละเมิด


agenda on corresponding voting card. 3. The Shareholders could vote to approve, to disapprove or to refrain from voting and were requested to sign each voting card. 4. The signed voting cards were collected from the Shareholders and the proxies after the voting had been cast, after each agenda had been addressed and discussed. The Chairman would then either proceed with the meeting or would wait for the result

of the vote count as deemed appropriate. At the conclusion of the AGM 2008, the Chairman summarized the results of the voting for each of the agenda for the assembly. During the AGM, the Chairman of the shareholders’ meeting gave opportunity for the shareholders to express opinions and ask questions relevant to the agendas of the company. Shareholders were given sufficient time to pose questions or make suggestions. Detailed and encompassing answers were provided by Board members and management in response to questions posed by shareholders. In counting votes, the Company abided strictly by its own guideline of one share one vote basis and approval was based on majority vote. The vote was counted as one vote per share and the resolution was by the majority votes. If the votes were equal, the Chairman of the meeting would have one vote to decide besides the votes entitled to as shareholders. The Company recorded the resolutions of the meeting by classifying into approval votes, objection votes and abstention votes for each agenda in writing and also recorded in details : the questions, the answers and the opinions made during the meeting. Resolutions with voting results were recorded in the shareholders’ meeting minutes. The resolutions of the AGM were reported to the Stock Exchange of Thailand and posted in the company’s website within 14 days after the meeting. After the AGM, the Chairman of the AGM, directors, and KCE executives took the opportunity to converse with the shareholders informally for over one hour.

“Very Good” category, with a score in the range of 80 - 89. The recommendations made through the assessment will be integrated in 2009 AGM for further improvement. Resolutions reached at the AGM 2008 were disclosed the following business day to the general public via the Stock Exchange of Thailand’s information channel. The minutes of the AGM 2008 containing names of Board members and management attending the meeting along with the resulting resolutions, (approved/disapproved) and the vote counts (approve/disapprove/refrain from voting) on issues posed for shareholder consideration, along with major issues posed by shareholders and the responses made by the Company were submitted to the Stock Exchange of Thailand and other relevant government bodies within 14 days post the AGM. The minutes to the AGM were also posted on the Company’s web site www.kcethai.in.th. 3. Stakeholders’ Rights KCE is aware of the responsibilities to the stakeholders, respects the stakeholders’ legal rights and ensures that those rights are protected. The Company provides fair treatment and takes into account the interests of the stakeholders which include, but not limited to, various groups; the shareholders, the employees, the management, the customers, the suppliers, the creditors, the community, the society, the government, the environment, the public, etc. Recognizing the role of KCE as one of the major Thai manufacturing industrial leaders, KCE places the protection of the environment and safety as one of its priorities. The Company encourages active co-operation between the Company and the stakeholders in creating wealth, jobs and the sustainability of financially sound enterprise and ensures that all business decisions and actions comply with all applicable laws and regulations. Stakeholders of KCE are treated fairly in accordance with their legal rights as specified in relevant laws.

The Company sets a clear policy on fair treatment for each and every stakeholder. The rights of stakeholders that are established by law or through mutual agreements are respected. Any The Thai Investors Association and the Stock actions that can be considered in violation of Exchange of Thailand rated KCE AGM in the stakeholders’ legal rights are prohibited. Any Annual Report 2008 39


สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ดังปรากฏไม่พบว่ามีการกระทำ ใดๆในปี 2551 ทีเ่ ป็นการละเมิดสิทธิใดๆ ของผูม้ สี ว่ นได้เสีย เลย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้กำหนดให้มรี ะบบทีเ่ ปิดโอกาสให้

ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงและพัฒนา

การปฏิบตั งิ านเพือ่ ก่อให้เกิดความมัน่ คงในกิจการ และจัดให้ มี ก ารรายงานเปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ ในรายงานข้อมูลแบบ 56-1 รายงาน ประจำปี และ เว็บไซต์ของบริษัท ที่ www.kcethai.in.th ทั้ ง นี้ ในกรณี ที่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย มี เ บาะแสในประเด็ น ที่ เกี่ยวข้องกับการทำผิดกฎหมาย ระบบควบคุมภายในที่ บกพร่อง หรือการกระทำทีผ่ ดิ จรรยาบรรณ สามารถแจ้งให้ บริษทั รับทราบผ่านทางโทรศัพท์ จดหมาย หรือผ่านเว็บไซต์ ของบริษัทเอง โดยจะมีกลไกในการปกป้องคุ้มครองสิทธิ ของผู้แจ้งเบาะแสดังกล่าว

รับทราบ โดยข้อมูลเหล่านั้นจะอ่านได้จากเว็บไซต์ของ บริษัท www.kcethai.in.th บริ ษั ท ฯได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ความปลอดภั ย ใน การทำงานของพนักงานเป็นอย่างยิ่ง โดยจัดให้พนักงาน ได้ รั บ การฝึ ก อบรมและสั ม มนาในด้ า นความปลอดภั ย สุขภาพ สิง่ แวดล้อม และด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานเพือ่ นำไปพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ความรู้ ทั ก ษะในการทำงาน และนำไปใช้เพื่อก่อประโยชน์สูงสุดให้กับพนักงาน

ในปี 2551 บริษัทฯ ได้จัดให้มีการอบรมพนักงาน ในหัวข้อต่างๆ ดังนี้ • การอบรมหลักสูตร CORRECTIVE & PREVENTIVE BY 8D TECHNIQUE โดยมี

จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจในระบบ คุณภาพเกี่ยวกับแนวคิดปัญหาและการแก้ไข บริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งยุ ติ ธ รรมและ (Corrective Action) รวมทั้งการปฏิบัติการ ระมัดระวัง เก็บรักษาข้อมูลของลูกค้าไว้เป็นความลับ ปฏิบตั ิ ป้องกัน (Preventive Action) และสามารถนำมา ตามเงือ่ นไขสัญญาทีใ่ ห้ไว้กบั คูค่ า้ ดำเนินธุรกิจด้วยหลักการ ประยุกต์กบั การปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ แข่ ง ขั น ที่ เ ป็ น ธรรมและจริ ย ธรรม ปฏิ บั ติ ต่ อ พนั ก งาน

โดยจัดให้มกี ารอบรมพนักงานทุกๆ ปี ปีละ 1 ครัง้ อย่างยุตธิ รรมและเสมอภาค รวมทัง้ แสดงความรับผิดชอบ • การอบรมหลั ก สู ต รการควบคุ ม และความ ต่อสังคมส่วนรวมอย่างจริงจัง โดยได้กำหนดแนวทาง

ปลอดภัยจากการใช้สารเคมี/วัตถุอนั ตราย เพือ่ ให้ ในการดูแลผู้มีส่วนได้เสียไว้ในคู่มือ “นโยบายการกำกับ หัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสาร ดูแลกิจการที่ดี” เคมีทราบถึงวิธีการดูแลและป้องกันสารเคมีและ พนักงาน วัตถุอันตราย สามารถแยกประเภทสารเคมีและ วัตถุอันตรายได้ บริษัทฯ ตระหนักดีว่าพนักงานเป็นปัจจัยสำคัญ • การฝึ ก ซ้ อ มที ม ระงั บ เหตุ ฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด แห่งความก้าวหน้า บริษัทฯ จึงสนับสนุนการให้พนักงาน ทุกคนมีความรู้ ความสามารถ มีการดูแลพนักงานอย่าง ความพร้อมในกรณีเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน และ เสมอภาค ให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและ

เพื่อให้เป็นการเฝ้าระวัง และป้องกันเหตุฉุกเฉิน เป็นธรรม เป็นจำนวนเท่ากับหรือมากกว่าเมือ่ เปรียบเทียบ ในโรงงาน โดยจะมีการจัดอบรมเดือนละ 1 ครั้ง

กับสถานประกอบการอืน่ ๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน พนักงาน เพื่อทำการทบทวนและให้ความรู้ใหม่ๆ แก่ทีม ทุกคนจะได้รบั คูม่ อื พนักงานทีร่ ะบุขอ้ ควรปฏิบตั ิ กฎระเบียบ ปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ของบริ ษั ท (Emergency Response Team = ERT) ขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ าน และสวัสดิการต่างๆ ทีพ่ งึ จะได้รบั • การฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ เพือ่ ให้พนักงานทราบ โดยมี ค ณะกรรมการสวั ส ดิ ก ารดู แ ลสิ ท ธิ ข องพนั ก งาน

เป็นสำคัญ และมีคณะอนุกรรมการดูแลเรือ่ งสวัสดิการด้าน ขัน้ ตอนการอพยพเมือ่ เกิดเหตุฉกุ เฉิน และเพือ่ ให้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย มีสวัสดิการประกันชีวติ และประกันสุขภาพกลุม่ สอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย โดยจะมี การจัดปีละ 1 ครั้งช่วงประมาณเดือนธันวาคม สวัสดิการรถรับ-ส่ง กิจกรรมมอบทุนการศึกษาบุตรของ • การอบรมหลั ก สู ต รเจ้ า หน้ า ที่ ค วามปลอดภั ย

พนักงาน นอกจากนี้ ได้จัดให้มีโครงการ EMPLOYEE ในการทำงานระดับหัวหน้างาน มีจุดประสงค์

STOCK OPTION PROGRAM (ESOP) เพื่อเป็นการ ตอบแทนความตัง้ ใจในการปฏิบตั งิ านของพนักงาน อีกทัง้ เพือ่ ให้พนักงานมีความรูเ้ กีย่ วกับความปลอดภัย

เป็นการสนับสนุนให้พนักงานทุม่ เทในการปฏิบตั งิ านอย่าง ในการทำงาน กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่บริษทั ฯ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การป้องกันและควบคุม ให้มีผลประกอบการที่ดี และบรรลุเป้าหมายในการดำเนิน อุบัติเหตุ โรคที่เกิดขึ้นจากการทำงาน ตลอดจน ธุรกิจของบริษัทฯ สามารถค้นหาสาเหตุของอุบัติเหตุและโรคจาก การทำงานได้ โดยจะมีการจัดอบรมเป็นประจำ นอกจากนี้ ทางบริษัทฯ ได้จัดทำวารสาร เคซีอี ทุกๆ ปี เพื่อเป็นสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลต่างๆ ให้พนักงาน

40 รายงานประจำปี 2551


violation will be effectively redressed. In the Year 2007, there are no legal issues regarding any of the stakeholders. The Company provides a mechanism that stakeholders can involve in improving the company performance to ensure the firm’s sustainability. In order for stakeholders to participate effectively, all relevant information is disclosed to them in form 56-1, the KCE Annual Report, and the Company’s website www.kcethai.in.th. The stakeholders can communicate through mail, e-mail, telephone and the above mentioned website to the Company any concerns about illegal or unethical practices, incorrect financial reporting, insufficient internal control, etc. The rights and the confidentiality of any person who communicates such concerns will be protected. KCE honors commitments to stakeholders; competes in business fairly and ethically : provides fair and equal treatment to employees and assumes the responsibility to society. The policies are clearly stated in the Corporate Governance Handbook. Employees KCE Workforce represents the company’s most valuable asset. Staff development both professionally and personally are encouraged so that KCE employees can attain the highest level of competence. KCE employees receive fair treatment with salary and benefits comparable or better to those in the same industry. Each employee receives an Employee Handbook which defines rules, regulations, procedure, and welfare for KCE’s employees. The KCE welfare committee looks after the employee’s benefits with subcommittee for housing, life and health insurance, transportation, scholarship for employees’ children and food services. The company also offers “employee stock option program” as an incentive for the employee’s contribution and to help motivate employees’ dedication to reach the company’s goal. KCE Newsletter is published quarterly to provide communication within the company while KCE Gazette is accessible in the company’s website. The safety of the employees is utmost important and KCE implements strict safety policy. There have been various training and seminars for safety, health, environment and other work- related

issues to foster development and improvement of knowledge, skills and to maximize the potential of the employees. In 2008, the training courses for the Employees included, but not limited to, the following; • Corrective and preventive Technique By 8D course to improve Quality Control System through problem analysis and corrective action as well as preventive action annually. • Chemical Hazard Training – for safe handling, storage and disposal of chemical • ERT (Emergency Response Team) are conducted monthly. • Fire Fighting and Fire Drill are conducted once yearly. • Safety officer training is offered annually for supervisor-level staff to educate staff regarding work safety; safety and relevant laws; prevention and control of accidents, occupational health risks, identification of incidence and illnesses from occupation or industry. • ISO/TS 16949 training for all employees • Failure Mode and Effect Analysis for Automobile Industry (FA-40) training annually. • Continuous 5S for practical and Visual feedback Photography five times in 2008. • Restriction of the use if certain hazardous substances, ELV (END of Life Vehicle) WEEE (Waste of electrical and electronics equipment) Course. • Course on Emergency control of fire caused by short-circuited electricity to help trainees to control fires that are caused by electricity and flammable gas such as Acetone. • Document Control system • Measurement System Analysis to meet the requirement of APQP system (Advance Product Quality Planning). • Six Sigma Black Belt for Cost Saving Project. • PPE (Personal Protection Equipment) Trainings are conducted every 4 months. • JSA- Job Safety Analysis weekly following the guideline for Hazard Identification & Annual Report 2008 41


• การอบรม “ข้อกำหนดระบบ ISO/TS 16949” สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำ Cost Saving Project เพื่อให้พนักงานทุกคนได้รับทราบข้อกำหนด • การอบรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล และวิธีการปฏิบัติตามข้อกำหนดระบบคุณภาพ ISO/TS 16949 PPE (Personal Protection Equipment)

• การอบรมหลั ก สู ต ร “การวิ เ คราะห์ ปั ญ หา/

ให้กับพนักงานทุกคนเป็นประจำทุกๆ 4 เดือน • การอบรม JSA (Job Safety Analysis)

ผลกระทบจากกระบวนการและเทคนิ ค การ

วางแผนและควบคุมการผลิต (Failure Mode เป็นประจำทุกสัปดาห์ เพื่อเพิ่มแนวทางชี้บ่ง อันตรายและประเมินความเสี่ยง and Effect Analysis for Auto. Industry • การอบรม “การขับรถ Fork Lift อย่างถูกต้อง (FA-40)” เพื่อเป็นการเพิ่มความรู้ความเข้าใจ และปลอดภั ย ” เพื่ อ ให้ พ นั ก งานที่ ท ำหน้ า ที่

ให้กับพนักงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในปัจจุบัน โดย ในการขับรถ Fork Lift ได้รับความรู้และนำไป มีการจัดฝึกอบรมทุกๆ ปี ปีละ 1 ครั้ง ปฏิ บั ติ ง านในการขั บ รถได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและ • การอบรมหลักสูตร “การดำเนินกิจกรรม 5ส ปลอดภัย • การปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายแผ่นวงจร (PCB อย่างต่อเนื่องด้วย VFP (Continuous 5S for practical & Visual Feedback Photography) Handling Instruction) เพื่อให้พนักงานรู้วิธี มีการจัดอบรมทุกๆ ปี ปีละ 5 ครั้ง เพื่อสร้าง การหยิบจับแผ่นวงจรได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี ความมีวนิ ยั ให้กบั พนักงานในเรือ่ ง 5ส ซึง่ จัดเป็น อีกทั้งเป็นการรักษาคุณภาพของแผ่นวงจรและ วิ นั ย ขั้ น พื้ น ฐานของพนั ก งาน และเพื่ อ ส่ ง ผล

Packaging ที่ดีก่อนส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า • การอบรมบริ ห ารคลั ง สิ น ค้ า เพื่ อ ให้ พ นั ก งาน ให้ ค นในองค์ ก รมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ในการรั ก ษา ความสะอาด สามารถบริหารงานพืน้ ทีค่ ลังสินค้า การจัด Lay • การอบรมหลักสูตร “การควบคุมสารต้องห้าม Out ขอบข่ายหน้าที่และความรับผิดชอบของ ตามระเบียบ ROHS (Restriction of the use เจ้าหน้าที่คลังสินค้า การตรวจสอบการรับ-จ่าย of certain hazardous substances, ELV สินค้า และการตรวจสอบจำนวนในคลังสินค้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (End of Live Vehicle), WEEE (Waste of • การอบรมความปลอดภัยในการทำงานกับรังสี Electrical and Electronics Equipment)” (X-Ray) เป็ น การฝึ ก อบรมให้ กั บ พนั ก งาน

• การอบรมหลักสูตร “การควบคุมเหตุฉุกเฉิน

ที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร” เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ทีป่ ฏิบตั แิ ละรับผิดชอบงาน X-Ray ได้ทราบถึง ทราบถึงวิธีการควบคุมไฟที่เกิดจากไฟฟ้าและ วิธกี ารปฏิบตั งิ านและการป้องกันรังสีทถี่ กู ต้อง สารเคมีไวไฟ (อาซีโตน) และสามารถดับไฟ

• การอบรมหลักสูตร “การควบคุมกระบวนการ ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง เพื่อบรรเทาความ ทางสถิ ติ เ บื้ อ งต้ น Level 1, 2 (Statistical สูญเสียที่เกิดขึ้น Process Control : SPC) เพื่อเป็นการเพิ่ม • การอบรม “การจัดทำระบบเอกสาร (Document ความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการควบคุม Control System)” เพื่อให้พนักงานสามารถ กระบวนการทางสถิ ติ ไ ด้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและ ทราบถึงระบบการทำเอกสาร การจัดเก็บ ได้อย่าง สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ ให้สอดคล้องกับ ถูกต้องตรงกับระบบมาตรฐานคุณภาพ การปฏิบัติงานในปัจจุบัน โดยจะมีการจัดอบรม • การอบรมหลักสูตร “การวิเคราะห์ระบบการวัด ทุกปี ปีละ 1 ครั้ง MSA (Measurement System Analysis)” นอกจากนี้ ทางบริ ษั ท ฯ ยั ง จั ด ให้ มี ส วั ส ดิ ก าร

เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของระบบ การอบรมและให้ความรู้ในด้านต่างๆ ดังนี้ APQP (Advance Product Quality Planning) • จัดให้มีการตรวจสุขภาพพนักงานเป็นประจำ ของฝ่ายคุณภาพที่ต้องการให้พนักงานสามารถ ทุกๆ ปี นำความรู้ที่ได้มาวิเคราะห์เครื่องมือวัดได้อย่าง • จัดให้มีการตรวจเลือดเพื่อหาปริมาณสารเคมี

ถูกต้อง ในร่างกายเป็นประจำทุกๆ ปี • การอบรมหลักสูตร “Six Sigma Black Belt” • จั ด ให้ มี ห น่ ว ยปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น ตลอด

เพือ่ ให้พนักงานเข้าใจในระบบ Six Sigma และ 24 ชั่วโมงในทุกๆ โรงงาน 42 รายงานประจำปี 2551


Risk Assessment. • Forklift Skills and Safety Training • PCB handling instruction • Storage training • Radiation Safety for those working with radioactive material annually. • Course on Statistical Process Control : SPC, Level 1 and 2, to provide basic statistical knowledge that can be applied to work annually. Other benefits and activities offered to KCE employees are : • Free general physical and medical examinations are provided annually for employees. • Laboratory blood tests are offered twice yearly as a preventive measure for those working with chemicals. • Twenty four hour first-aid nursing service is also available at every plant. • Professional training programs are offered to KCE employees to enhance work efficiency through Human Resource

Development Seminar and Training Courses which include-discipline, team building, teamwork and leadership. • “Special lecture on Birth Control” • Courses and training to develop alternative skills and extra income such as mirror art and production of organic fertilizer. • Low cost consumer product sale monthly. In 2008, KCE employee participated in the following activities : • Religious Ceremony and Merit-making for New Year. • Safe Driving with No Alcohol Project for Songkran holiday. • Thai Religious Ceremony on Songkran day. • No Smoking Project • Contest for Best 5S Motto • Safety Exhibition on Safety Day • Recreational activities at Banito Resort at Amphur Bangsapan, Prajuabkirikan Province, on the July 5th - 6th, 2008. To foster workplace safety at KCE, the following safety policy has been established :

KCE Safety Policy 1. Work Safety at KCE is every employee’s responsibility; each individual at all levels must collaborate to contribute to the safety for oneself and others. 2. K CE encourages and supports every form of safety- related activities such as training courses, motivation, improvement of workplace conditions and environment. 3. Every supervisor and above has the responsibility of monitoring the safety of the subordinates and to oversee that the safety rules are strictly adhered to. 4. All employees will participate and cooperate with all the company’s safety and occupational health project. 5. KCE will monitor and evaluate the results of the implementation safety and occupational health policy in order to ensure strict compliance and maximum effectiveness.

Customers KCE strives to achieve customer satisfaction by providing quality products and delivering exceptional service to our customers. KCE has a policy to provide products that meet or exceed the customer’s expectation. KCE believes in strong ethical standards and carries out our business with uncompromising integrity and honesty in all respects. KCE protects our customers and maintains the trust placed in us by ensuring that all information relating to our customers business affairs remains confidential at all time.

Quality Policy “KCE commits to provide products and services to meet or exceed agreed requirements for all of our customers through continuous improvement and by doing it right the first time.” Suppliers KCE believes in being fair and defined conduct ethics in dealings with all parties having a business relationship with the company. The procurement policy and the service acquisition process are clearly defined. The material purchasing procedure, the supplier and the subcontractor qualification procedure, the terms and conditions

are set to ensure fairness between the Company and Annual Report 2008 43


• จัดให้มีการฝึกอบรมเฉพาะทางในแต่ละสาขา วิ ช าชี พ เพื่ อ นำมาปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพใน

การทำงานของพนักงานตามแผนการฝึกอบรม ที่ได้กำหนดไว้ ซึ่งรวมไปถึง กฎระเบียบ การ ทำงานเป็นทีม และการเป็นผู้นำ • จัดให้มีการบรรยายพิเศษเรื่องการคุมกำเนิด • จัดให้มีการสอนและเพิ่มความรู้ทางด้านวิชาชีพ แก่พนักงานในด้านต่างๆ เช่น การสอนการทำ กรอบรูปวิทยาศาสตร์ การแกะขวดน้ำอัดลม เป็นแจกันดอกไม้ การแกะลายกระจก การทำ ปุ๋ยหมักชีวภาพ • จัดให้มีการจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคราคา ถูกสำหรับพนักงานทุกๆ ต้นเดือน

4. พนักงานทุกคนต้องให้ความร่วมมือในโครงการ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต่างๆ ของบริษทั 5. บริษัทฯ จะจัดให้มีการติดตามและประเมินผล การดำเนิ น งานตามนโยบายความปลอดภั ย และอาชีวอนามัย เพือ่ ควบคุมดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิ อย่างจริงจัง และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ลูกค้า

บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ในการสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า ด้ ว ยการผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพและบริ ก ารที่ เ ป็ น เลิ ศ

โดยมี น โยบายส่ ง มอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพตรงตาม

หรือสูงกว่าความคาดหมายของลูกค้า มีการดำเนินธุรกิจ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตอย่างแน่วแน่ในทุกๆ ด้าน และ สร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าในการปกป้องรักษาข้อมูล

ในปี 2551 ทางบริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี กิ จ กรรมต่ า งๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจของลูกค้าภายใต้มาตรฐานจรรยาบรรณ แห่งวิชาชีพ ให้กับพนักงาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ • กิจกรรมทำบุญตักบาตรในวันปีใหม่ นโยบายคุณภาพ • กิจกรรมรณรงค์สงกรานต์ เมาไม่ขับ “ผลิตและบริการลูกค้าให้ได้ตามที่ตกลงหรือดีกว่า • กิจกรรมสรงน้ำพระพุทธวันสงกรานต์ โดยปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและทำให้ ถู ก ต้ อ ง

• โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิกบุหรี่ ในครั้งเดียว” • การประกวดคำขวัญ 5ส • กิจกรรมสัปดาห์ความปลอดภัย คู่ค้า • กิจกรรมสันทนาการที่บานีโต้รีสอร์ท อำเภอ บริษัทฯ เชื่อมั่นและให้ความยุติธรรมต่อทุกฝ่าย

บางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในวันที่ ทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั โดยได้กำหนดนโยบาย 5 - 6 กรกฎาคม 2551 และแนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจ้าง และหลักเกณฑ์ การคัดเลือกคูค่ า้ ไว้อย่างชัดเจน เพือ่ ให้เกิดความเป็นธรรม นอกจากนี้ บริษัทฯได้ตระหนักถึงความปลอดภัย และความเป็นอิสระระหว่างบริษัทและคู่ค้าด้วยระบบการ ในการทำงานของพนั ก งาน จึ ง จั ด ให้ มี น โยบายความ จัดหาที่โปร่งใส มีขั้นตอนที่สามารถตรวจสอบได้ มีการ ปลอดภัยตลอดจนมีระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัย

ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการค้าและสัญญาที่ตกลงกันไว้ ที่มีประสิทธิภาพ อันมีข้อปฏิบัติเพื่อเป็นแนวทางในการ และมีการจ่ายชำระเงินตรงตามเวลาทุกครัง้ โดยในปีทผี่ า่ นมา ดำเนินการและปฏิบัติของพนักงาน ดังนี้ บริษัทฯไม่มีข้อพิพาทใดๆ กับคู่ค้าหรือคู่แข่งขันเลย นโยบายความปลอดภัย เจ้าหนี้ 1. บริ ษั ท ฯ ถื อ ว่ า ความปลอดภั ย ในการทำงาน บริษัทฯ ยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจอย่างมีหลักการ เป็นหน้าที่ของพนักงานทุกคน ทุกระดับที่จะ และวินยั เพือ่ สร้างความมัน่ ใจในการตัดสินใจและการดำเนิน ร่ ว มมื อ กั น ปฏิ บั ติ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย

ธุรกิจให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้งตนเองและผู้อื่น และปฏิบัติตามมาตรฐานจรรยาบรรณของบริษัทฯ และ 2. บริษัทฯ จะสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมความ ข้อพึงปฏิบัติที่ดีตามเงื่อนไข ข้อตกลง และหน้าที่ที่พึงมี ปลอดภัยทุกรูปแบบ เช่น การฝึกอบรม การจูงใจ ต่อเจ้าหนี้ กรณีทไี่ ม่สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขข้อใดข้อหนึง่ พนักงาน การพัฒนาสภาพการทำงานและสภาพ จะดำเนินการรีบแจ้งให้เจ้าหนีท้ ราบล่วงหน้า เพือ่ พิจารณา สิ่งแวดล้อม เป็นต้น หาแนวทางร่วมกัน มีการแจ้งกำหนดวันวางบิล และเงือ่ นไข 3. ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาทุ ก คน ต้ อ งมี ห น้ า ที่ ดู แ ลและ

การรับเงินที่ชัดเจน รับผิดชอบในเรื่องความปลอดภัยในการทำงาน ของผู้ใต้บังคับบัญชา ให้เป็นไปตามกฎระเบียบ คู่แข่ง แห่งความปลอดภัยที่กำหนดขึ้นโดยเคร่งครัด บริ ษั ท ฯ เน้ น การดำเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี จ ริ ย ธรรม โปร่งใส มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรมกับคู่แข่งขันภายใต้ 44 รายงานประจำปี 2551


suppliers by way of transparent procurement system. The Company abides by the terms and conditions stipulated in contracts and make timely payments. There have been no disputes with the KCE suppliers or competitors in 2008.

with major investment in the waste treatment systems. All KCE plants are located within Industrial Estate where environment protection and impact to environment are conducted strictly. KCE commits to the environment policy as follows :

Creditors KCE is committed to discipline in the operation of our business and ensure that all business decisions and actions comply with all applicable laws and regulations. The Company observes good standards of behavior and honoring all commitments made to creditors. The Company performs according to the terms of the loans and respect obligation towards creditors with prompt communication and information when deemed necessary. Billing date, documents and conditions for payment are clearly informed to KCE creditors.

Environment Management Policy KCE Electronics Public Company Limited, manufacturer and exporter of Printed Circuit Board (PCB) is committed to establish Environment Management System through complying with the KCE Environment Management Policy as follows : • The Company will continuously meet the legal requirement as well as contributes to the improvement of environmental issues. • Reduction of waste materials • Effective and efficient utilization of natural resources. • Continuous assessment and evaluation of the environment management system, to review objectives, and targets to ensure success of the effectiveness of the system. • Promote and develop staff awareness and responsibility to the environment through communication, provision of relevant information and cooperation among staff, suppliers, customers, government agencies, the private sector and the general public.

Competitors Business transactions at KCE are performed ethical and with transparency. Business competitions are conducted fairly without illegal or unethical practices. Shareholders KCE continually strives for superior performance, taking into account the current and potential risk environment. It is our duty to ensure transparency in KCE’s operation and to do our utmost to safeguard KCE’s assets and to uphold our reputation. KCE performs duties with honesty, integrity and fairness for the benefit of major and minor shareholders as well as other related parties to : • Manage for stable long-term sustainable growth while maximizing shareholders’ wealth. • Knowledgeably execute responsibilities with utmost care and professionalism. • Safeguard the Company’s assets. • Disclose sufficient and accurate financial and non-financial information on the Company’s operating and financial status. Environment High environmental standard is maintained strictly at KCE, complying with the associated law and regulatory requirements. Energy and natural resources are utilized effectively and efficiently

Since 2002 the Company has been awarded ISO 14001 which is the Certificate for Effective Environmental Management System from SGS Thailand and the accreditation from ISO/TS 16949, the Certificate of Quality Management System of Technical Specification for Automotive Production and Relevant Service Part Organization, KCE adhere strictly to the standards and in 2008 was audited and approved by the accreditation committee on all the four surveys performed in January, March, July, and September 2008 that the Company has adhered to all the stipulations, meeting the standards of the Effective Environment Management System and Quality Management System. KCE is dedicated to create more environmentally friendly products to produce Environmentally safe PCB products and work with our customers and raw material suppliers to produce Annual Report 2008 45


กรอบกติกาการแข่งขันทีด่ ี ไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับ ของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยวิธกี ารไม่สจุ ริต หรือไม่เหมาะสม เช่น การจ่ายเงินสินจ้างให้แก่พนักงานของคู่แข่ง เป็นต้น และไม่ทำลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหา ในทางร้าย

ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องในทุกประเด็นปัญหา และจะปฏิบัติตามนโยบาย ดังนี้” • ปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมและข้อกำหนด ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง • ลดปริมาณของเสีย • การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผู้ถือหุ้น และมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ มุ่งมั่นให้มีผลการดำเนินงานที่ดีเลิศอย่าง • ประเมินระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง ต่อเนื่อง คำนึงถึงสภาวะความเสี่ยงในปัจจุบันและอนาคต ทบทวนวัตถุประสงค์และเป้าหมายเพื่อให้บรรลุ ด้วยตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบที่จะก่อให้เกิด เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม ความโปร่งใสในการดำเนินงานและพยายามอย่างเต็มที่ • ส่งเสริมให้เกิดการสร้างจิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อม ในการปกป้ อ งทรั พ ย์ สิ น และธำรงไว้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น และ

มีการสือ่ สารไปยังพนักงาน ผูร้ บั เหมา ผูส้ ง่ สินค้า ชือ่ เสียงของบริษทั ฯ ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์ สุจริต และสาธารณชน และเป็นธรรม คำนึงถึงผู้ถือหุ้นรายใหญ่และรายย่อย เพื่อ ผลประโยชน์ของกลุม่ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องโดยรวม ดังรายละเอียด บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 ต่อไปนี้ ซึง่ เป็นมาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม และ ISO/TS • บริหารกิจการของบริษทั ฯให้มคี วามเจริญก้าวหน้า 16949 ระบบมาตรฐานบริหารคุณภาพสำหรับอุตสาหกรรม มั่นคง และก่อให้เกิดผลตอบแทนที่ดีแก่ผู้ถือหุ้น ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ จึงจำเป็นต้องได้รับการตรวจสอบ • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสามารถและระมัดระวัง ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมจากบริษทั SGS ประเทศไทย เยีย่ งผูท้ มี่ คี วามรู้ ประสบการณ์ และความชำนาญ จำกัด อย่างต่อเนือ่ งเป็นประจำเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าทางบริษทั ฯ • จั ด การดู แ ลไม่ ใ ห้ ท รั พ ย์ สิ น ใดๆ ของบริ ษั ท ฯ ได้ดำเนินการตามนโยบายและปฏิบัติตามข้อกำหนดของ สูญค่าหรือสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ ระบบสิง่ แวดล้อมอย่างเข้มงวด โดยในปี 2551 ทางบริษทั ฯ • เปิดเผยข้อมูลสารสนเทศทัง้ ทางการเงินและไม่ใช่ ได้ รั บ การตรวจสอบระบบการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทางการเงินที่เกี่ยวกับธุรกิจและผลประกอบการ มาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ 4 ครั้งในเดือนมกราคม ของบริษัทฯที่เป็นจริงอย่างครบถ้วนเพียงพอ มีนาคม กรกฎาคม และเดือนกันยายน ซึ่งจากผลการ สม่ำเสมอ ทันเวลา และแสดงให้เห็นถึงสถานภาพ ตรวจสอบทั้ง 4 ครั้งไม่ปรากฏว่าบริษัทมีการดำเนินการ ของการประกอบการและสถานภาพทางการเงิน ใดๆ ทีข่ ดั ต่อข้อกำหนดและมีผลกระทบต่อระบบสิง่ แวดล้อม ที่แท้จริงของบริษัทฯ และระบบมาตรฐานคุณภาพ สิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ให้ความสำคัญและรักษาระบบมาตรฐาน สิง่ แวดล้อมไว้อย่างเคร่งครัด ภายใต้ขอ้ กำหนดและกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้อง มีนโยบายการผลิตทีใ่ ช้พลังงานและทรัพยากร

ธรรมชาติอย่างเต็มประสิทธิภาพโดยได้ลงทุนเป็นจำนวน มากในระบบการบำบัดมลพิษทางน้ำและทางอากาศ อีกทัง้ โรงงานทุกแห่งของบริษทั ฯในกลุม่ ตัง้ อยูใ่ นเขตอุตสาหกรรม ซึ่งมีมาตรการในการป้องกันมลพิษและลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมอยู่แล้วอย่างเข้มงวด บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อ ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับผู้บริหาร และพนักงาน ดังนี้

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการพัฒนาร่วมกับลูกค้า เพื่ อ ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ป ลอดมลพิ ษ เพื่ อ เป็ น การรั ก ษา สมดุ ล ของสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น LeadFree และ Hallogen-Free รวมถึงการใช้บรรจุภัณฑ์

ที่เป็น Bubble ห่อ PCB แทนโฟม ด้วยตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ทาง

บริษทั ฯ จึงได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก GLOBAL COMPACT ซึ่งก่อตั้งโดย UNITED NATION (UN) ประเทศสหรัฐ

อเมริกา ในการดำเนินธุรกิจภายใต้หลักการ 10 ประการ

ด้านการจ้างแรงงาน การป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม การ รับผิดชอบต่อสังคม และการต่อต้านการคอรัปชัน่ ดังนี ้

นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสิทธิมนุษยชน “บริ ษั ท เคซี อี อี เ ลคโทรนิ ค ส์ จำกั ด (มหาชน)

1. บริษัทฯ สนับสนุนและเคารพในกฎหมายสิทธิ ผู้ผลิตและส่งออกแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีความ มนุษยชนระหว่างประเทศ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะจัดตัง้ ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม โดยจะทำการ 2. บริษทั ฯ จะไม่กระทำความผิดด้านมนุษยชน 46 รายงานประจำปี 2551


environmentally friendly products such as LeadFree and Hallogen- Free Products as well as the use of environmentally friendly packaging material by using bubble packaging product instead of plastic foam. Recognizing the importance of the environment, in 2007 KCE became a member of the Global Compact established by the United Nations (UN) and commits to the 10 principles in respect to human rights, labour rights, the protection of the environment and anti-corruption as follows : Human Rights 1. KCE supports and respects the protection of internationally proclaimed human rights; and 2. Will not condone to human rights abuses. Labour Standards 3. Uphold the freedom of association and the effective recognition of the right to collective bargaining; 4. Elimination of all forms of forced and compulsory labor; 5. Effective abolition of child labor; and 6. Elimination of discrimination in respect of employment and occupation. Environment 7. Support a precautionary approach to environmental challenges; 8. Undertake initiatives to promote greater environmental responsibility; and 9. Encourage the development and diffusion of environmental friendly technologies. Anti-Corruption 10. Work against corruption in all its forms, including extortion and bribery. In year 2008, KCE conducted several activities for employees to participate in order to support the above policy such as the growing of the Mangrove Forest Project at Cultivation Department, Reservation Area 3 Petchburi, Prachuabkirikan Province on July 5th – 6th, 2008.

Society and Community KCE values the importance of contributing to community, society, religion and culture, natural resources and the environment and that of the general public. The Company promotes a culture of being socially responsible for all staff levels. In 2008, KCE together with the employees have participated in the following activities to contribute to the community, religion and the public : • S cholarships donation for graduate students of Mahidol University. • Fund Donation for the construction of the school building for Baan Pha Gee School, Mae Salong District, Chiang Rai. • Donation to scholarship fund to the school children at Baan Na Takut School. • School and community New Year Gift Projects. • Donation to scholarship fund to the children of employees. • Blood donation by the employees of the Company to the Red Cross Foundation with the Industrial Estate of Thailand. • Donation of food, clothes, stationary and other necessary items for orphans at Wat Bot Woradit, Amphur Pa Mok, Ang Tong Province. • Donation of various necessary items to orphans at Wat Suan Kaew through the Lat Krabang Industrial Estate Donation Project. • Donation of clothes and other necessary items for orphans and HIV patience at Wat Phrabat Nampu, Lopburi Province. The Company provides a mechanism to facilitate stakeholders involvement in improving the company performance to ensure the firm’s continuous growth and success. In order for stakeholders to participate effectively, all relevant information is disclosed in the form 56-1, the KCE Annual Report, the Company’s website, www.kce-hq.com, www.kcethai.in.th. The stakeholders can communicate through mail, e-mail, telephone and the mentioned website to the Company any concerns about illegal or unethical Annual Report 2008 47


ด้านมาตรฐานแรงงาน 3. บริษัทฯ สนับสนุนเสรีภาพของสมาคม และ ให้ ก ารรั บ รองผลของการเจรจาต่ อ รองของ สมาคม 4. ไม่มีการกดขี่และบังคับใช้แรงงานทุกรูปแบบ 5. ไม่มีการใช้แรงงานเด็ก 6. ไม่ มี ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ใ นการจ้ า งงานและ

ปฏิบัติงาน ด้านสิ่งแวดล้อม 7. สนับสนุนการป้องกันการทำลายสิ่งแวดล้อม 8. อาสาที่จะรับผิดชอบในการริเริ่มส่งเสริมให้สิ่ง แวดล้อมดียิ่งขึ้น 9. สนั บ สนุ น การพั ฒ นาและการกระจายของ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้านการต่อต้านการคอรัปชั่น 10. บริษทั ฯ ต่อต้านการคอรัปชัน่ ทุกรูปแบบรวมทัง้ การข่มขู่บังคับและการติดสินบน ในปี 2551 ทางบริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ ให้กับพนักงานเพื่อสนองต่อนโยบาย 10 ประการ ดังกล่าวทั้งในด้านมนุษยชน ด้านมาตรฐานแรงงาน ด้าน สิ่งแวดล้อม และการต่อต้านคอรัปชั่น ตัวอย่างเช่นการนำ พนักงานเข้าร่วมกิจกรรมปลูกป่าชายเลนเพื่อสิ่งแวดล้อม ณ บริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ์ ร่วมกับหน่วยเพาะชำกล้าไม้ บ้านเขาแดง สำนั ก บริ ห ารพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ที่ 3 สาขาเพชรบุ รี จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ ในวันที่ 5 - 6 กรกฎาคม 2551 สังคมและชุมชน บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญและความรับผิดชอบ ทีม่ ตี อ่ ชุมชน สังคม ศาสนา วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และประโยชน์สาธารณะ พร้อมทัง้ ส่งเสริมและปลูกจิตสำนึก ความรับผิดชอบต่อสังคมในหมู่พนักงานทุกระดับ ในปี 2551 ทางบริษัทฯ และพนักงานได้ร่วมกัน ทำกิจกรรมต่อสังคม ศาสนา และชุมชน ดังนี้ • มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ผ่านสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล • บริจาคเงินงบประมาณการก่อสร้างอาคารเรียน โรงเรี ย นบ้ า นผาจี ตำบลเทอดไทย อำเภอ

แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย • มอบทุนการศึกษาแก่โรงเรียนทุรกันดาร โรงเรียน บ้ า นนาตะกรุ ต ตำบลศรี เ ทพ อำเภอศรี เ ทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ 48 รายงานประจำปี 2551

• มอบของขวั ญ วั น เด็ ก ประจำปี ใ ห้ กั บ เด็ ก ตาม โรงเรียนและชุมชนต่างๆ • มอบทุนการศึกษาให้กับบุตรของพนักงาน • บริ จ าคโลหิ ต ให้ กั บ สภากาชาดไทยร่ ว มกั บ สำนั ก งานนิ ค มฯลาดกระบั ง เนื่ อ งในวโรกาส

5 ธันวามหาราช และวันแม่แห่งชาติ • บริจาคเงิน ข้าวสาร เสือ้ ผ้า อาหารแห้ง อุปกรณ์ การเรียน และอืน่ ๆ แก่เด็กกำพร้าวัดโบสถ์วรดิตถ์ อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง • บริ จ าคเสื้ อ ผ้ า และสิ่ ง ของให้ กั บ เด็ ก กำพร้ า

วัดสวนแก้วร่วมกับการนิคมฯลาดกระบัง • บริ จ าคเงิ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เด็ ก กำพร้ า และ

ผู้ป่วยเอดส์ วัดพระบาทน้ำพุ จังหวัดลพบุรี นอกจากนี้ ทางบริ ษั ท ฯ ได้ พั ฒ นากลไกการมี

ส่วนร่วมในการกำกับดูแลกิจการของผูม้ สี ว่ นได้เสียในการ สร้างเสริมการดำเนินงานของบริษทั ฯ โดยให้มกี ารเปิดเผย ข้อมูลอย่างโปร่งใส และรับฟังความคิดเห็นผ่านการพบปะ กับผู้บริหาร การส่งข้อมูลผ่านช่องทางรับความคิดเห็น การติ ด ต่ อ กั บ หน่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ แ ละเว็ บ ไซต์

ของบริษัท เพื่อสร้างความมั่นคงยั่งยืนให้แก่กิจการ และ กำหนดให้มีช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการ กระทำที่ผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ เช่น การรายงาน ทางการเงินทีไ่ ม่ถกู ต้องหรือระบบควบคุมภายในทีบ่ กพร่อง และกำหนดให้มกี ลไกในการคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแส รวมทัง้ กระบวนการหลังจากการแจ้งเบาะแส ทั้งนี้เพื่อให้ผู้มีส่วน

ได้เสียมีส่วนร่วมในการสอดส่องผลประโยชน์ของบริษัทฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ช่องทางในการแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ kce_mail@kce.co.th จดหมายธรรมดา สำนักบริหาร บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) 125-125/1, 1 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง แขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 โทรศัพท์ : 02-326-0196 โทรสาร : 02-326-0300 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษทั ฯ เปิดเผยข้อมูลทีส่ ำคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงินอย่าง ครบถ้วน สมบูรณ์ ทันเวลา และโปร่งใส ในรายงานข้อมูล แบบ 56-1 รายงานประจำปี และเว็บไซต์ของบริษัทฯ


practices, incorrect financial reporting, insufficient internal control, etc. Communication Channels : Electronic mails : kce_mail@kce.co.th Postal Mail : Executives’ Office KCE Electronics Public

Company Limited 125-125/1, 1 Moo 4

Lat Krabang Industrial Estate,

Chalongkrung Road, Kwang Lumplatew,

Lat Krabang, Bangkok 10520 Tel : 02-326-0196 Fax : 02-326-0300 4. Disclosure and Transparency KCE discloses accurate and complete corporate information as specified in relevant regulations in timely and transparent manners through various channels, the SET, annual statement (Form 56-1), annual reports, as well as via company website www.kcethai.in.th (Thai and English) to ensure factual presentation of vital information and transparent business practices. KCE distributes the annual report, financial statement and information explaining features of KCE’s performance in the previous year to shareholders annually for the Annual General Meeting of Shareholders. All annual report is loadable in both languages from our website. Further information can be obtained by contacting the company’s investor relation at 02-326-0196 ext. 112, 114. Analyst briefings and press conferences are additional channels of distributing corporate information. The member of the Board of Directors appointed as the company public relation representative meets regularly with analysts and the press as requested. In 2008, the Chairman of the Board, the directors and the senior executive provided information to investors 8 times in teleconferences, individual meetings and company visits. There were two analysts’ meetings held in May and September 2008.

The Company has established a policy for External Communications as recommended by the Principles for Ongoing Disclosure and Material Development Reporting by Listed Entities to be practiced by staff members as follows : • KCE strives to give all parties an equal treatment consistently within the set framework by avoiding favoritisms or situations where conflicts of interest may arise. • Dissemination of KCE information will be made clear, accurate and transparent. The information is to be credible and straightforward, and distributed to stakeholders in a clear, easily understood, and timely manner. • Any release of KCE information will be ensured that it does not jeopardize client relationships, or breach regulations concerning confidential information of clients, shareholders or other stakeholders. • KCE employees must follow KCE’s Code of Conduct where sensitive information is involved. • Spokespersons for KCE concerning sensitive information are limited to the Chairman of the Board. The Managing Director or a Director or an executive can be designated by the Chairman of the Board to act as a spokesperson to release information about selected important issues. The Board is responsible for the company’s and its subsidiaries’ financial reports and the Board’s statements are presented in the Company’s annual report. All information presented in the financial reports is correct, in accordance with generally accepted accounting principles and standards, and has been audited by an independent external auditor and is up to date. In 2008, the summary of the corporate governance policy together with the implementation of the policy is presented through various channels such as the company’s annual reports and the company’s website www.kcethai.in.th. The directors’ and the executives’ remunerations with the amount of payment that corresponds to the contributions Annual Report 2008 49


ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ www.kcethai.in.th โดยได้จดั ส่งรายงานประจำปี งบการเงิน และเอกสารอธิบาย ผลการดำเนินงานของบริษทั ฯให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ทุกปี เพือ่ เป็น ข้อมูลในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี โดยผู้ถือหุ้น สามารถดาวน์โหลดรายงานประจำปีได้จากเว็บไซต์ของ

บริ ษั ท ฯทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ หรื อ ในกรณี ที่ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อส่วนงานนักลงทุน สัมพันธ์ของบริษัทฯ ได้ที่หมายเลข 02-326-0196-9 ต่อ 114 หรือ 112 คณะกรรมการบริษัทฯได้กำหนดให้จัดโครงการ

ผู้บริหารพบปะนักวิเคราะห์ขึ้นเพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งใน การสื่อสารและกระจายข้อมูลต่อนักลงทุนและสื่อมวลชน อย่างสม่ำเสมอ โดยในปี 2551 ประธานกรรมการ กรรมการ

บริษัทฯ รวมถึงผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯได้ให้ข้อมูล กับนักลงทุนในโอกาสต่างๆ ได้แก่ การประชุมทางโทรศัพท์ การเข้าสัมภาษณ์ตัวต่อตัว รวมจำนวน 8 ครั้ง และจัด โครงการพบปะกับนักวิเคราะห์หลักทรัพย์จำนวน 2 ครั้ง ในเดือนพฤษภาคมและกันยายน บริษทั ฯ ได้กำหนดนโยบายในการสือ่ สารกับบุคคล ภายนอก โดยยึดหลักการการเปิดเผยข้อมูลและพัฒนา องค์กรอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เป็นแนวทางปฏิบตั ไิ ว้อย่างชัดเจน ดังนี้ • บริษทั ฯ พยายามอย่างยิง่ ในการปฏิบตั ติ อ่ ทุกคน อย่างเท่าเทียมกัน และสม่ำเสมอ ภายใต้กรอบ การปฏิบัติงานที่กำหนดไว้ โดยหลีกเลี่ยงการ ปฏิบตั อิ นั ไม่ถกู ต้อง หรือสถานการณ์ทที่ ำให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • การเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ จะต้องมีความ ชัดเจน ถูกต้อง โปร่งใส น่าเชือ่ ถือ ตรงไปตรงมา และสามารถแจกแจงข้อมูลต่างๆ ให้แก่ผู้มีส่วน ได้เสียอย่างถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย และทันเวลา • การแถลงข่าวสารใดๆ ของบริษทั ฯ ต้องมัน่ ใจว่า มิได้สง่ ผลเสียหายต่อความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้า กับบริษัทฯ หรือล่วงละเมิดข้อมูลที่ถือว่าเป็น ความลับของลูกค้า ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ • การปฏิบตั หิ น้าทีท่ เี่ กีย่ วกับการสือ่ สารของข้อมูล ทีถ่ อื เป็นความลับ พนักงานต้องประพฤติปฏิบตั ิ ภายใต้ ร ะเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯว่ า ด้ ว ย จรรยาบรรณของพนักงาน • ประธานกรรมการ มีอำนาจในการแถลงข่าวสาร ของบริษัท หรือประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับข้อมูล สำคั ญ ของบริ ษั ท ฯ ประธานกรรมการอาจ

มอบหมายให้กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริษทั ฯ 50 รายงานประจำปี 2551

หรื อ ผู้ บ ริ ห ารแต่ ล ะสายงาน รั บ หน้ า ที่ ใ นการ แถลงข่ า วที่ เ ป็ น ประเด็ น สำคั ญ ของบริ ษั ท ฯ

แก่มวลชน คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงิน ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รวมทัง้ สารสนเทศทางการเงิน ทีป่ รากฏในรายงานประจำปี โดยงบการเงินดังกล่าวจัดขึน้ ตามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่าง สม่ำเสมอ ในปี 2551 ทางบริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลโดยสรุป ของรายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดีพร้อมด้วยนโยบาย และแนวทางการปฏิ บั ติ ผ่ า นสื่ อ หลายช่ อ งทาง เช่ น

ในรายงานประจำปี และเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยข้อมูล ดังกล่าวจะรวมถึงการเปิดเผยรายละเอียดค่าตอบแทน ของกรรมการและผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ย

ที่จ่ายตามความเหมาะสมในหน้าที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการแต่ละท่าน ตามรายละเอียดหน้าที่ และความ

รับผิดชอบของคณะกรรมการ และจำนวนครั้งที่กรรมการ แต่ละท่านเข้าประชุมด้วย 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ มี บทบาทสำคัญในการรายงานการกำกับดูแลกิจการของ

บริษัทฯ ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ให้เกิด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ บริ ษั ท ฯและผู้ ถื อ หุ้ น ปฏิ บั ติ แ ละ บริ ห ารงานด้ ว ยความเป็ น อิ ส ระและเป็ น บุ ค คลที่ น่ า ไว้ วางใจสำหรับผู้ถือหุ้น ในปี 2551 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีจำนวนทัง้ หมด 8 ท่านโดยแต่ละท่านเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถใน หลากหลายสาขาวิชาชีพ มีความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และทั ก ษะความรู้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ กิ จ การบริ ษั ท ฯ

โดยกรรมการทุ ก ท่ า นได้ อุ ทิ ศ เวลาและความพยายาม

ให้กบั การเป็นคณะกรรมการบริษทั ฯอย่างเต็มที่ ตระหนักถึง บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการดำเนินธุรกิจ ของบริ ษั ท ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งบน

พื้นฐานของจริยธรรมขั้นพื้นฐาน มีอิสระในการตัดสินใจ และเสนอความคิดเห็นด้วยทัศนะวิสัยและความเป็นผู้นำ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต พากเพียร และใส่ใจในทุกๆ ขั้นตอนของการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย

ที่ ไ ด้ ก ำหนดไว้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ บริ ษั ท ฯและ

ผู้ถือหุ้นทุกท่าน บนพื้นฐานของการปฏิบัติตามการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี


and responsibilities of each person are also disclosed via the same channel. The amount representing the directors’ fee from the subsidiaries is to be disclosed. The Corporate Governance report also describes the roles and responsibilities of the directors as well as provides the number of meeting and attendance of each director each year. 5. Roles and Responsibilities of the Board The KCE Board of Directors plays an important role in corporate governance for the best interest of the company. The Board is accountable to shareholders and independent of management. In 2008, the Company’s Board of Directors consisted of 8 directors. All directors of the KCE Board have various knowledge, skills, experience, and expertise that are useful to the company. Each board member has contributed both time and dedication to KCE creating a strong board of directors to determine the business directions and policies, to supervise and monitor the company’s operations to ensure all activities are conducted in accordance with relevant laws and ethical standards. All directors understand their roles and responsibilities and the nature of the company’s business. They express their ideas independently with vision and leadership and always update themselves. KCE Directors perform their duties in good faith, with due diligence and care, in the best interest of the company and all shareholders and in accordance to the principles of good corporate governance. KCE Board of Director is composed of 8 directors, three of whom are independent directors, equivalent to more than one third of the board size. The term for service for each directorship is three years; the director tenders his/her resignation at the end of the term and can be re-elected by voting in the AGM. The age of retirement is completing 75 years of age prior to the next AGM. The directors’ nomination process is transparent, without any influence of controlling shareholders or management, and credible to all (details in minutes of 2008 AGM at www.kcethai.in.th).

KCE Board of Directors 1. Mr. Bancha Ongkosit Chairman and

Managing Director 2. Thongdee Shaipanich M.D. Director/ Independent Director 3. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. Director/ Independent Director 4. Mr. Panja Senadisai Director 5. Chantima Ongkosit M.D. Director 6. Mrs. Ubol Chiramongkol Director/ Independent Director 7. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director and

Executive Director 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan Director and Executive Director The appointment and term

of KCE directorship 1. The appointment of KCE director is though majority voting at the AGM. Each share held by one shareholder is equivalent to one vote and voting is separated for each individual candidate nominated. The directors who retired by rotation are to refrain from voting. 2. At AGM, one third of directors would end their term. If the number of the subjected directors could not be divided exactly into three parts, the number of directors to end the directorship must be close to the 1/3 ratio as much as possible and can be

re-elected by voting in the AGM. 3. Aside from retirement from directorship at the end of the specified term, directorship can be terminated by any of the following conditions : • Death • Resignation (effective from the day the

Company receives the resignation letter). • Unqualified or prohibited from holding

director’s position as stated in the Public

Company Act B.E. 2535’s Article 68. • Termination by shareholders’ resolution

at the Annual General Meeting, in accor-

dance with the Public Company Act

B.E. 2535’s Article 76. • Terminated by court order. Annual Report 2008 51


ในปี 2551 คณะกรรมการบริษทั 8 ท่านประกอบด้วย กรรมการอิ ส ระ 3 ท่ า นซึ่ ง เป็ น จำนวนที่ ม ากกว่ า หรื อ เท่ากับ 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทัง้ หมด โดยกรรมการ บริษทั แต่ละท่านมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปีและหลังจาก ที่ครบวาระแล้ว ทุกท่านอาจได้รับการพิจารณาคัดเลือก จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อกลับเข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่ อีกครัง้ โดยบริษทั ฯ กำหนดการเกษียณอายุของกรรมการ เมื่อมีอายุครบ 75 ปีนับแต่วันถัดจากวันประชุมสามัญ

ผู้ถือหุ้นประจำปี ซึ่งมีขึ้นหลังจากที่กรรมการผู้นั้นมีอายุ ครบ 75 ปีบริบูรณ์ ซึ่งกระบวนการสรรหากรรมการใหม่ ในแต่ละครั้ง บริษัทฯจะปฏิบัติด้วยความโปร่งใส ไม่มีการ ใช้อิทธิพลในการบังคับให้ผู้ถือหุ้นเลือก ทุกคะแนนเสียง

ที่ ไ ด้ รั บ ล้ ว นแล้ ว แต่ ม าจากความเชื่ อ ถื อ จากผู้ ถื อ หุ้ น

(รายละเอียดในรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 25/2551 ใน www.kcethai.in.th)

3. นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการ พ้นจากตำแหน่งเมื่อ • ตาย • ลาออก (มี ผ ลบั ง คั บ นั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ บ ริ ษั ท ฯ

ได้รับจดหมายลาออกจากกรรมการ) • ขาดคุ ณ สมบั ติ ห รื อ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตาม

มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน

พ.ศ. 2535 • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออกตามมาตรา 76

แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชน จำกั ด

พ.ศ. 2535 • ศาลมีคำสั่งให้ออก 4. ในกรณีทตี่ ำแหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการ คัดเลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้ อ งห้ า มตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ เข้ า เป็ น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการถัดไป เว้ น แต่ ว าระของกรรมการจะเหลื อ น้ อ ยกว่ า

สองเดือนก่อนการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ มติของ คณะกรรมการต้องประกอบด้วยคะแนนเสียง

ไม่ น้ อ ยกว่ า สามในสี่ ข องจำนวนกรรมการที่

ยังเหลืออยู่ บุคคลซึ่งเข้ามาเป็นกรรมการแทน อยู่ ใ นตำแหน่ ง ได้ เ พี ย งเท่ า วาระที่ ยั ง เหลื อ อยู่ ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเท่านั้น

คณะกรรมการบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์

จำกัด (มหาชน) 1. นายบัญชา องค์โฆษิต

ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ 2. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช

กรรมการและกรรมการอิสระ 3. พลโท นพ. สุปรีชา โมกขะเวส

กรรมการและกรรมการอิสระ 4. นายปัญจะ เสนาดิสัย

กรรมการ ขอบเขต อำนาจ หน้าที่ ของคณะกรรมการ

5. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต

บริษัทฯ 1. กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย แผนการ กรรมการ 6. นางอุบล จิระมงคล

ดำเนินงานและแผนงบประมาณ และควบคุม กรรมการและกรรมการอิสระ การปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูงให้เป็นไป 7. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต

ตามนโยบายอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและก่ อ กรรมการและกรรมการบริหาร ประสิทธิผล เพื่อความมั่นคงและผลประโยชน์ 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์

ที่สมดุล และยั่งยืนของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง กรรมการและกรรมการบริหาร 2. จัดการบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมายวัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั และมติของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ การแต่งตั้งและการพ้นตำแหน่งของ

ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษา กรรมการบริษัทฯ ผลประโยชน์ของบริษัท 1. ให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการโดยใช้เสียง 3. พิ จ ารณาและกำหนดแนวทางกลยุ ท ธ์ ก าร ข้ า งมาก โดยผู้ ถื อ หุ้ น คนหนึ่ ง มี ค ะแนนเสี ย ง บริหารงาน เท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียงและสามารถเลือกตัง้ 4. พิ จ ารณาแผนการดำเนิ น งาน และพั ฒ นา

กรรมการเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ กรรมการผู้ที่มี ขีดความสามารถขององค์กรให้แข่งขันได้ใน กำหนดครบวาระในปี นั้ น ๆ จะงดใช้ สิ ท ธิ์ ใ น ระดับสากล การออกเสียงลงคะแนน 5. ประเมินผลการดำเนินงานและการปฏิบัติงาน 2. ในการประชุมสามัญประจำปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการ ของผู้บริหาร ออกจากตำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำนวนกรรมการ

6. กำกั บ ดู แ ลและสอบทานให้ มี ร ะบบรายงาน ที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ก็ให้ออก ทางการเงินที่โปร่งใส ถูกต้อง และเพียงพอ โดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 52 รายงานประจำปี 2551


4. When there is a director vacancy due to other conditions rather than by rotation, the Board of Directors appoints a qualified person who meets the criteria as required by the Company Article of Association to fill the position and attend the next Board of Director’s meeting unless the expiration of the term of such director ends in less than two months before the next Annual General Meeting. No less than three fourth of the number of remaining directors must approve the appointment of the said director. The appointed director will remain in office until the next Annual General Meeting. Scope of Authority and Duties of the Board

of Directors 1. Establish the vision, mandate, policy, operational and budget plan and supervise the performance of top executives to efficiently and effectively comply with the policy for the security and the balanced and sustainable interest of all stakeholders. 2. Undertake the Company management in compliance with the law, the Company objectives and Articles of Association and the resolutions of the Shareholders Meeting with integrity and in good faith, to protect the Company interest. 3. Review and endorse the management strategy. 4. Review the Company’s operational and development plan in order to be competitive in the international arena. 5. Conduct assessment of the Company performance result and the performance of executives. 6. Supervise and examine the financial report system for accuracy, transparency and adequacy. 7. Comply strictly with the Company super-vision policy. 8. Review the determination of directors and executives remuneration for the best and sustainable interest of the Company and the shareholders. 9. Supervise the process of appointment and election of directors for the purpose of transparency and clarity.

10. Monitor and manage any conflict of interest which may occur. 11. Monitor and supervise the disclosure of information and communication in the organization. 12. Review the recruitment and nomination of executives for necessary replacement. 13. Set the Company managerial plan and policy and review the Company’s operational result. Board of Directors Meetings Board meetings were scheduled ahead for the year 2008, with monthly meetings held on every third Tuesday of the month and special rounds of meetings could be called as deemed necessary. The Company Secretarial prepared minutes for each Board meeting and the Executives’ Office sent the invitation letter, draft of the previous meeting report and information regarding the meeting agenda, at least 14 days prior to the meeting date to the directors. Requests for more information could be obtained from the Executive Office. Members of the Board could also request for required additional agenda item for the Board Monthly Meeting. The meeting usually required approximately 3 hours. The executives with direct responsibility pertaining issues discussed in the meeting could be invited to clarify and provided information. The Company’s attorney attended all the meeting, recorded the minutes and managed all documents as well as giving advice to the Board of Directors and Executives regarding compliance issues. In 2008, there were a total of 13 Board of Directors Meetings, the meeting attendance of each director is as follows : Attendance/ Name Total Meeting 1. Mr. Bancha Ongkosit 13/13 2. Thongdee Shaipanich M.D. 12/13 3. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. 11/13 4. Mr. Panja Senadisai 13/13 5. Chantima Ongkosit M.D. 13/13 6. Mrs. Ubol Chiramongkol 13/13 7. Mrs. Voraluksana Ongkosit 13/13 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan 11/13 Annual Report 2008 53


7. ปฏิบัติตามหลักการการกำกับดูแลกิจการของ บริษัทอย่างเคร่งครัด 8. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยั่งยืนต่อบริษัทและ ผู้ถือหุ้น 9. กำกั บ ดู แ ลกระบวนการแต่ ง ตั้ ง และเลื อ กตั้ ง กรรมการบริษัทให้มีความโปร่งใสและชัดเจน 10. ควบคุมดูแลจัดการ การขัดแย้งทางผลประโยชน์ ใดๆ ในบริษัท 11. ควบคุมดูแลการเปิดเผยข้อมูลและการสื่อสาร ใดๆ ในองค์กร 12. พิจารณาแต่งตั้ง สรรหา ผู้บริหารมาทดแทน ตำแหน่งใดๆ ในกรณีที่จำเป็น 13. วางแผนและนโยบาย การบริหารงานของบริษทั ตลอดจนตรวจสอบผลการดำเนินงานของบริษทั การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ กำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้เป็นการล่วงหน้าตลอดทัง้ ปี 2551 โดยจัดให้มกี ารประชุม ในทุกๆ วันอังคารที่สามของเดือน หรืออาจจะมีการเชิญ ประชุมวิสามัญเป็นบางครัง้ ตามความจำเป็น โดยมีเลขานุการ บริษทั ฯ ทำหน้าทีเ่ ป็นผูจ้ ดั เตรียมรายงานการประชุม และ สำนักบริหารบริษัทฯ ทำหน้าที่จัดส่งหนังสือเชิญประชุม และเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องให้กบั คณะกรรมการ 14 วันล่วงหน้า ก่อนวันประชุม ในกรณีที่คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องการ รายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับการประชุม สามารถสอบถาม ได้ทสี่ ำนักบริหารของบริษทั ฯ โดยในการประชุมแต่ละครัง้ กรรมการสามารถที่จะเสนอวาระการประชุมเพิ่มเติมได้ โดยปกติการประชุมจะใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ บางครัง้ อาจจะ เชิญผู้บริหารที่รับผิดชอบงานในหัวข้อวาระการประชุม นั้นๆ เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อมูลแก่กรรมการด้วย โดยจะ มีที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมายของบริษัทฯทำหน้าที่ในการจด บันทึกและจัดทำรายงานการประชุม รวมทั้งให้คำแนะนำ ในด้านกฎเกณท์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องให้กบั คณะกรรมการและ ผูบ้ ริหารรับทราบด้วย ในปี 2551 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุม ตามวาระปกติจำนวน 13 ครั้ง ดังรายละเอียดการเข้าร่วม ประชุมของกรรมการแต่ละท่าน สรุปได้ดังนี้ รายชื่อคณะกรรมการ การเข้าร่วมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 1. นายบัญชา องค์โฆษิต 13/13 2. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช 12/13 54 รายงานประจำปี 2551

3. พลโท นพ. สุปรีชา 4. นายปัญจะ 5. แพทย์หญิงจันทิมา 6. นางอุบล 7. นางวรลักษณ์ 8. นางศิริพรรณ

โมกขะเวส เสนาดิสัย องค์โฆษิต จิระมงคล องค์โฆษิต สันธนะพันธ์

11/13 13/13 13/13 13/13 13/13 11/13

การฝึกอบรมของคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้คณะกรรมการได้รับการ อบรมเพิม่ เติม เพือ่ เพิม่ พูนความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการ การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจน บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการบริษัทฯ

ในการบริ ห ารงานให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและภายใต้ จ รรยา บรรณที่กำหนด ในปี 2551 นี้ มีกรรมการเข้าอบรมหลักสูตรของ สมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย (IOD) เพิ่มเติมใน หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) อีกจำนวน 3 ท่าน รายละเอียดการฝึกอบรมของคณะกรรมการ 1. นายบัญชา องค์โฆษิต • ปี 2547 หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) 2. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช • ปี 2546 หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) 3. พลโท น.พ. สุปรีชา โมกขะเวส • ปี 2547 หลักสูตร Directors

Accreditation Program (DAP) 4. นายปัญจะ เสนาดิสัย • ปี 2547 หลักสูตร Audit Committee

Program (ACP) • ปี 2545 หลักสูตร Directors

Certification Program (DCP) 5. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต • ปี 2551 หลักสูตร Directors

Certification Program (DCP) • ปี 2547 หลักสูตร Finance For Non- Finance Director


Directors’ Training The directors at KCE are encouraged to seek extra training to enhance their knowledge and understanding in good corporate governance, the rules and regulations, directors’ role and responsibility in corporate management for high efficiency and ethics. In 2008, three directors attended the Directors Certification Program (DCP) of Thai Institute of Directors Association from October to December. Summary of the directors’ training programs 1. Mr. Bancha Ongkosit • Year 2004 Directors

Accreditation

Program (DAP) 2. Thongdee Shaipanich M.D. • Year 2003 Directors

Accreditation Program (DAP) 3. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. • Year 2004 Directors

Accreditation

Program (DAP) 4. Mr. Panja Senadisai • Year 2004 Audit Committee Program (ACP) • Year 2002 Directors

Certification

Program (DCP) 5. Chantima Ongkosit M.D. • Year 2008 Directors

Certification Program (DCP) • Year 2004 Finance For Non-

Finance Director • Year 2003 Directors

Accreditation

Program (DAP) 6. Mrs. Ubol Chiramongkol • Year 2003 Directors

Accreditation

Program (DAP)

7. Mrs. Voraluksana Ongkosit • Year 2008 Directors

Certification Program (DCP) • Year 2005 Thai Directors Compensation

Survey • Year 2004 Finance For Non- Finance Director • Year 2003 Directors

Accreditation Program (DAP) 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan • Year 2008 Directors

Certification

Program (DCP) • Year 2004 Finance For Non-

Finance Director • Year 2004 Directors

Accreditation Program (DAP) Subcommittees The Board of Directors sets committees to study and screen special tasks on behalf of the board especially issues that needed unbiased opinions. Committees have a clear scope of their work, roles and responsibilities as well as the working procedures such as meetings and reporting to the board. All committee members and the chairman of each committee are independent directors. 1. The Audit Committee The Company complies with the law by establishing an audit committee staffed with all independent directors. The internal audit reports directly to the audit committee. The Audit Committee comprises of three Independent Directors : 1. Thongdee Shaipanich M.D. Chairman of Audit Committee 2. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D.

Audit Committee 3. Mrs. Ubol Chiramongkol

Audit Committee

Annual Report 2008 55


• ปี 2546 หลักสูตร Directors

Accreditation Program (DAP) 6. นางอุบล จิระมงคล • ปี 2546 หลักสูตร Directors

Accreditation Program (DAP) 7. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต • ปี 2551 หลักสูตร Directors

Certification Program (DCP) • ปี 2547 หลักสูตร Finance For Non- Finance Director • ปี 2546 หลักสูตร Directors

Accreditation Program (DAP) 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ • ปี 2551 หลักสูตร Directors

Certification Program (DCP) • ปี 2547 หลักสูตร Finance For Non- Finance Director • ปี 2547 หลักสูตร Directors

Accreditation Program (DAP)

คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการ อิสระ 3 ท่าน ดังต่อไปนี้ 1. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช ประธานกรรมการ ตรวจสอบ/ กรรมการอิสระ 2. พลโท นพ. สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการอิสระ 3. นางอุบล จิระมงคล กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการอิสระ ในปี 2551 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบทัง้ หมด 5 ครัง้ และได้สง่ หนังสือเชิญประชุมให้กบั คณะกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน มีคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วมการประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน ทัง้ นีส้ ามารถดูรายละเอียดรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ได้จากรายงานประจำปี รายชื่อ การเข้าร่วมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 1. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช 5/5 2. พลโท นพ. สุปรีชา โมกขะเวส 5/5 3. นางอุบล จิระมงคล 5/5

คุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ • เป็ น อิ ส ระจากฝ่ า ยบริ ห ารและผู้ ถื อ หุ้ น หลั ก

ในการควบคุมทั้งในการตรวจสอบหรือซักถาม • มีความรู้ ความสามารถด้านธุรกิจ บัญชี และ คณะกรรมการชุดย่อย การเงินเพียงพอที่จะเข้าใจ แก้ปัญหา และให้

คณะกรรมการบริษทั ฯได้แต่งตัง้ กรรมการทีม่ คี วามรู้ คำแนะนำได้ ความสามารถและเชีย่ วชาญทีเ่ หมาะสมเป็นคณะกรรมการ • สามารถที่จะหาข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้ง ชุดย่อยเพือ่ ช่วยปฏิบตั งิ าน ศึกษาและกลัน่ กรองเรือ่ งสำคัญ จากฝ่ายบริหารและพนักงานของบริษัทฯ และ ที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิดในแต่ละด้านหรือในกรณี

ติดต่อสอบถามกับผูต้ รวจสอบภายนอกโดยตรงได้ ที่มีประเด็นพิเศษที่ต้องการความคิดเห็นที่ไม่เอนเอียง

• สร้างเครือข่ายอิสระในงานด้านการตรวจสอบ ไปทางฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ โดยคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละชุด ภายใน และติดตามงานเพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ จะมีบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และขัน้ ตอนการทำงาน ตรวจสอบ ที่ ชั ด เจน มี ก ารจั ด การประชุ ม และรายงานโดยตรงต่ อ

• ให้การสนับสนุนการทำงานของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทฯ นอกจากนี้ ประธานกรรมการและ บริษัทฯ และผู้บริหารอย่างเต็มที่ แบ่งเบาภาระ คณะกรรมการชุดย่อยทุกท่านก็ยังทำหน้าที่เป็นกรรมการ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ อิสระของบริษัทฯ ด้วย ลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับบริษัทฯ สร้าง 1. คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้น และสร้างประโยชน์ สูงสุดให้กับบริษัทฯ บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในหลั ก เกณฑ์ ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ

ขอบเขต อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ ตรวจสอบที่ ระบุใ ห้ป ระกอบด้ วยกรรมการอิส ระและให้

ของคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบบัญชีภายในของบริษัทฯรายงานโดยตรงต่อ 1. สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ายงานทางการเงิ น ที่

คณะกรรมการตรวจสอบ ถูกต้องและเพียงพอ โดยจัดให้มีผู้สอบบัญชี เข้าร่วมประชุมด้วยทุกไตรมาส 56 รายงานประจำปี 2551


In 2008, KCE held 5 Audit Committee meetings. Agendas were sent to the committee members for at least 7 days in advance and all members of the Committee attended the meeting. The Report from the Audit Committee can be viewed in the annual report. Name Attendance/ Total Meeting 1. Thongdee Shaipanich M.D. 5/5 2. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. 5/5 3. Mrs. Ubol Chiramongkol 5/5

The audit committee meets the following

criteria : • Independent form management and major shareholders to the extent that there is no influence on either the audit of its inquiries. • Have sufficient knowledge of business, accounting and finance to be able to understand and identify problems and give competent advice. • Have authority to access any information and documents, to request any executives and employees for additional information and clarification, and to contact and consult external auditors directly. • Establish independent networks, such as internal audit unit to act as a secretary and follow up work for the audit committee. • Have full support of the board of directors and key executives, who understand the committee’s role in relieving the board of certain duties and responsibilities, to reduce the company’s risk, build up shareholder confidence, and maximize value to the company.

Scope of Authority, Duties and Responsibilities of the Audit Committee 1. Conduct an audit to ensure that the Company has prepared accurate and adequate financial reports and have the auditor attend the Committee Meeting quarterly; 2. Conduct an audit to ensure that the Company complies with the Securities and Exchange Act, the Requirements of the Stock Exchange of Thailand and other

laws relating to the Company’s business; 3. Review the disclosure of the Company’s information in the case of connected transactions or transactions which may cause conflicts of interest, in order to ensure that such transactions are accurate and complete; 4. Conduct an audit to ensure that the Company has proper and effective systems of internal control and internal audit, conduct an audit of the result, guidelines and assessment of the review of Company operations in accordance with generally accepted procedures and standards and coordinate with the Company’s auditor; 5. Review, select and nominate the Company’s auditor, and review the proposed determination of auditing fee; 6. Make an assessment of the Company’s major risks and give advice to minimize the magnitude of such risks; 7. Approve the nomination and transfer, and review the rewarding or punishment of the Chief of the Company Internal Audit Unit; 8. Approve the audit plan of the Internal Audit Unit; 9. Review the budget plan and the manpower of the Internal Audit Unit; 10. Review and make an assessment of the supervision performance of the Audit Committee and prepare the report of the Audit Committee to be disclosed in the Company annual report; 11. The Chairman or the members of the Audit Committee shall attend the Shareholders Meeting in order to give explanation

on the matters relating to the Audit Committee or the appointment of the Company’s auditor; 12. Review and revise the update of the Charter of the Audit Committee annually (if it is deemed appropriate); and 13. Take any other actions as assigned by the Board of Directors, including the appointment of the Chief of the Internal Audit Unit or the appointment of the Senior Annual Report 2008 57


2. สอบทานให้บริษัทมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาด

หลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัท 3. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณี ที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ใ ห้ มี ค วาม

ถูกต้องครบถ้วน 4. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่ เ หมาะสม และมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง มี ห น้ า ที่ ส อบทาน รายงานผลการตรวจสอบ แนวทางการตรวจสอบ และประเมินผลการตรวจสอบการดำเนินงาน ด้านต่างๆ ของบริษทั ตามวิธกี ารและมาตรฐาน ที่ยอมรับโดยทั่วไปและประสานงานกับผู้สอบ บัญชีของบริษัท 5. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบ ของบริษทั รวมทัง้ การพิจารณาเสนอค่าตอบแทน การสอบบัญชี 6. ประเมิ น ความเสี่ ย งที่ ส ำคั ญ ของบริ ษั ท และ

ให้คำแนะนำในการลดความเสี่ยง 7. ให้ความเห็นชอบการแต่งตัง้ โยกย้าย และการ พิจารณาความดี ความชอบ หรือการลงโทษ หัวหน้าหน่วยงานการตรวจสอบภายในของ บริษัท 8. ให้ความเห็นชอบแผนงานการตรวจสอบของ หน่วยงานการตรวจสอบภายใน 9. พิ จ ารณางบประมาณ และอั ต รากำลั ง ของ หน่วยงานการตรวจสอบภายใน 10. พิ จ ารณาประเมิ น ผลการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ

ของคณะกรรมการตรวจสอบและจัดทำเป็น รายงาน เปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษทั 11. ประธานกรรมการตรวจสอบหรื อ กรรมการ ตรวจสอบต้องเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั เพื่ อ ชี้ แจงในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 12. พิ จ ารณาทบทวนเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง กฎบั ต รคณะ กรรมการตรวจสอบเป็นประจำทุกปี (หากมี ความจำเป็น) 13. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย รวมทั้ ง การแต่ ง ตั้ ง หั ว หน้ า หน่ ว ยงานการ

ตรวจสอบภายในหรือการแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การอาวุโส จากสำนั ก งานเลขานุ ก ารมาเป็ น เลขานุ ก าร คณะกรรมการตรวจสอบ 58 รายงานประจำปี 2551

2. คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน (REMUNERATION COMMITTEE) คณะกรรมการบริ ษั ท ฯได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ กำหนดค่าตอบแทน เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการการกำกับ ดูแลกิจการทีด่ แี ละข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ สี ำหรับกรรมการบริษทั จดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการ ทำหน้ า ที่ ส รรหาผู้ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมในการดำรง ตำแหน่งคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนและทำหน้าที่ กำหนดค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร รายชื่อคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

1. พลโท นพ. สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการ ที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 2. นายปัญจะ เสนาดิสัย กรรมการ ที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 3. นางอุบล จิระมงคล กรรมการ ที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร

ขอบเขต อำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการ กำหนดค่าตอบแทน 1. กำหนดหลักเกณฑ์หรือวิธกี ารกำหนดค่าตอบแทน สำหรับกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่/ผูจ้ ดั การ ทั่วไป 2. พิจารณาเสนอค่าตอบแทนกรรมการต่อคณะ กรรมการบริษัทฯเพื่อเห็นชอบและนำเสนอต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. พิจารณาเสนอค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการ ใหญ่/ผู้จัดการทั่วไปต่อที่ประชุมคณะกรรมการ

บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษัทฯ

นโยบายการกำหนดค่าตอบแทนกรรมการ การกำหนดค่าตอบแทนกรรมการนั้น ทางบริษัทฯ จะคำนึงถึงความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถเทียบเคียงได้กับบริษัท

ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่อยู่

ในอุตสาหกรรมและธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกัน โดยค่า ตอบแทนกรรมการดังกล่าวนัน้ เพียงพอที่จะจูงใจให้คณะ กรรมการมี คุ ณ ภาพและสามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ ห้ บ รรลุ

เป้าหมายและทิศทางธุรกิจของบริษทั ฯ โดยมีกระบวนการ ที่โปร่งใส และสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้น ในปี 2551 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 25/2551 ได้อนุมัติค่าตอบแทนและค่าเบี้ยประชุมของประธานและ คณะกรรมการดังนี้


Manager from the Company Secretarial as Secretary of the Audit Committee. 2. The Remuneration Committee In accordance with the good corporate governance and the desirable guidelines for the Board of Directors of the listed companies on the Stock Exchange of Thailand, the Company’s Board of Directors have appointed the Remuneration Committee to set the remunerations there of to pursuant to the written policies as follows : The Remuneration Committee is comprised of three directors : 1. Lt. Gen. Suprija Mokkhavesa M.D. Non Executive

Director 2. Mr. Panja Senadisai Non Executive

Director 3. Mrs. Ubol Chiramongkol Non Executive

Director Scope of Authority and Duties of the Remuneration Committee 1. Determine fair and reasonable procedures and requirements for remuneration payment to directors and the Managing Directors and propose the same for the approval of the Shareholders Meeting. 2. Evaluate the performance result of the top executives individually, as proposed by the President, for the purpose of the determination of remuneration prior to the annual submission for approval of the Board of Directors. 3. Propose guidelines and procedures for payment of remuneration and other benefits to the Board of Directors and sub-committees appointed by the Board of Directors. Remuneration Policy In setting the remuneration, the Company will consider the directors’ duties, responsibilities and the remuneration rate of comparable listed companies on the Stock Exchange of Thailand. The directors’ remuneration should be enough to provide incentives for the directors to perform their duties to ensure the Company’s success and

achievement of the desired business direction. The remuneration should be considered with transparency to ensure the shareholders’ confidence. In 2008, the remuneration of directors in fiscal year 2008 was approved at the Annual General Meeting No. 25/2008 held on April 29, 2008 as follows : • Remuneration for the Chairman Baht. 1,000,000 and Director Baht. 500,000 / Year • Meeting Fee for the Chairman Baht. 25,000 and Director Baht. 20,000 . • Remuneration for Audit Committee Baht. 250,000 / Year 3. The Executive Committee To ensure the best efficiency in the Company’s management in line with the direction, policy and objectives stipulated by the Board of Directors as well as to ensure the prosperity and sustainability of the business, the Board of Directors has appointed Executive Committee with the scope of responsibilities authorized by the board in writing. The current Executive Committee consists of 3 members who have knowledge and capability in management as follows : 1. Mr. Bancha Ongkosit Chairman/

Managing Director 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director/ Executives’ Director 3. Mrs. Siriphan Suntanaphan Director/General

Manager Scope of Authority and Duties of the

Executive Committee 1. Supervise the performance of the Management in accordance with Company policy, have overall responsibility for and take control of the expenses and investment funds as outlined in the Company’s Annual Plan as approved by the Board of Directors. 2. Review the performance result under the management policy and determine the position, strategy and operational plans in order to achieve the Company’s ultimate goal. 3. Take responsibility for the performance results of the Management and give advice Annual Report 2008 59


• ค่าตอบแทนประธานกรรมการ 1,000,000 บาท ต่อปี และกรรมการท่านละ 500,000 บาทต่อปี • ค่าเบี้ยประชุมประธานกรรมการ 25,000 บาท

และกรรมการท่านละ 20,000 บาทต่อครั้ง • ค่าตอบแทนกรรมการตรวจสอบท่านละ 250,000 บาทต่อปี 3. คณะกรรมการบริหาร (EXECUTIVE DIRECTOR) เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารจัดการ

บริษัทฯให้เป็นไปตามทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายที่ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯกำหนดและมอบหมาย รวมทั้ ง สร้างความมัน่ คงและยัง่ ยืนในการดำเนินธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโดยมีความ

รับผิดชอบตามขอบเขตทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ คณะกรรมการบริหารปัจจุบนั ประกอบด้วย กรรมการจำนวน 3 ท่ า น โดยทุ ก ท่ า นเป็ น ผู้ มี ค วามรู้

ความสามารถในด้านการบริหารจัดการ ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี ้ 1. นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ/ กรรมการผู้จัดการ 2. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ/ผู้อำนวยการ สำนักบริหาร 3. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการ/ผูจ้ ดั การทัว่ ไป

7. แก้ไขปัญหาหรือความขัดแย้งใดๆที่มีผลกระทบ กับองค์กร 8. ดำรงไว้ซงึ่ การสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพต่อผูม้ สี ว่ น เกี่ยวข้อง 9. พิ จ ารณาเรื่ อ งการระดมทุ น ของบริ ษั ท ฯเพื่ อ

นำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 10.อนุมัติการแต่งตั้งที่ปรึกษาด้านต่างๆที่จำเป็น

ต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งนี้ การมอบอำนาจดังกล่าวข้างต้นให้แก่คณะ กรรมการบริหารนัน้ ต้องอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย และกฎระเบียบของบริษัทฯ ในกรณีที่การดำเนินการใด

ทีม่ หี รืออาจมีผลประโยชน์ หรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (ตามประกาศของคณะกรรมการ ก.ล.ต.) คณะกรรมการ บริ ห ารไม่ มี อ ำนาจอนุ มั ติ ก ารดำเนิ น การดั ง กล่ า ว โดย คณะกรรมการบริ ห ารจะต้ อ งนำเสนอเรื่ อ งดั ง กล่ า วต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิจารณาต่อไป

การรวมหรือแยกตำแหน่ง เนื่องด้วยประธานกรรมการบริษัทฯ คือคุณบัญชา องค์ โ ฆษิ ต ซึ่ ง นอกจากเป็ น ผู้ ก่ อ ตั้ ง บริ ษั ท ฯที่ เ ป็ น ผู้

ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์รายแรกในตลาดหลักทรัพย์

แห่งประเทศไทยแล้ว ยังเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ขอบเขต อำนาจ หน้าที่ ของคณะกรรมการ และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่มีประโยชน์ต่อ บริหาร บริษัท จึงเหมาะสมที่จะดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ 1. กำกั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยบริ ห าร และกรรมการผู้จัดการ เนื่องจากทั้งสองตำแหน่งมีการ ให้ดำเนินงานภายใต้นโยบายต่างๆ ทีก่ ำหนดไว้ แบ่งแยกอำนาจ บทบาท และหน้าที่อย่างชัดเจน และ รับผิดชอบโดยรวม และควบคุมค่าใช้จ่ายและ เนื่ อ งจากประธานกรรมการดำรงตำแหน่ ง เป็ น หนึ่ ง ใน งบลงทุ น ตามขอบเขตที่ ค ณะกรรมการอนุ มั ติ กรรมการบริษัทฯ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ

ในแผนงานประจำปี ดังนัน้ ประธานกรรมการจึงไม่มอี ำนาจเหนือกว่ากรรมการ 2. ตรวจสอบผลการดำเนินงานตามนโยบายการ ท่านอื่นๆ ดังกฎหมายบริษัทมหาชนได้ระบุหน้าที่ความ บริหาร และกำหนดทิศทาง กลยุทธ์ และแผนงาน รับผิดชอบเพิ่มเติมของประธานบริษัทฯไว้ ดังนี้ • ทำหน้าทีเ่ ป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการ ในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด 3. รับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร • การลงคะแนนตัดสินโดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ

และให้คำปรึกษาในการแก้ไขปัญหาเพื่อที่จะ การประชุมในกรณีที่มีคะแนนเสียงเท่ากัน • เชิญประชุมคณะกรรมการ บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ • ทำหน้าทีเ่ ป็นประธานในทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ 4. ควบคุมงบประมาณค่าใช้จ่ายของบริษัทฯตามที่ คณะกรรมการมอบหมายหรื อ ตามที่ ร ะบุ ใ น

ขอบเขต อำนาจ และหน้าที่ของกรรมการ

แผนงานประจำปี ผู้จัดการ 5. รับผิดชอบและอนุมัติการจัดหาวงเงินกู้ระยะสั้น ตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ กรรมการผู้ จั ด การ

และระยะยาว และการเปิด-ปิดบัญชีของบริษัท มีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารบริษัทฯ ตามที่ 6. ให้ข้อมูลและคำแนะนำแก่คณะกรรมการเพื่อ คณะกรรมการมอบหมาย และจะต้องบริหารบริษัทฯตาม ช่วยประกอบการตัดสินใจใดๆที่เกี่ยวข้องกับ แผนงานหรืองบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัทฯ

60 รายงานประจำปี 2551


for troubleshooting in order to efficiently achieve the Company’s goal. 4. Take control of the Company’s expense budget as assigned by the Board of Directors or as outlined in the Company’s Annual Plan. 5. Be responsible for and approve the procurement of long-term and short-term loans and the opening and closing of the Company’s bank accounts. 6. Provide information and advice to the Board of Directors in support of any decision-making for the Company. 7. Solve problems or conflicts which have impact upon the organization of the Company. 8. Maintain efficient communication with

the stakeholders. 9. Review the Company’s fundraising plan for further submission to the Board of Directors. 10. Approve the appointment of advisors for specific areas, as required by the Company’s business operations. The authorization, as stated above, granted to the Executive Committee shall be subject to the requirements of the relevant laws and the Company’s rules and regulations. However, the Executive Committee is not authorized to approve any action which will cause or may cause a conflict of interest or of persons (as specified in the SEC Notification). In such case, the Executive Committee shall address such matters to the Board of Directors for their further consideration. Combined and Segregation of Positions The Chairman of the Board of KCE Electronics Public Company Limited, Mr. Bancha Ongkosit, holds the position of the Managing Director. This is deemed as appropriate as Mr. Bancha Ongkosit, the founder of the first Thaiowned Listed Electronics Company offers his expertise, knowledge, skills and experience to the company. However, the power and authorities for each position are clearly separated and defined. The Chairman of the company is one of the directors, who acts as a unitary group (the board). Therefore, the Chairman of the Board has neither

the absolute nor superior powers. The Public Company Act describes the additional responsibilities and duties of the Chairman such as : • Acting as a chairman at board meeting • Having a casting vote • Calling board meetings, and • Acting as a chairman at shareholder

meetings. Scope of Authority and Duties

of Managing Director According to the Company’s Articles of Association, the Managing Director has authority and duties in respect of the management of the Company as assigned by the Board of Directors and shall manage the Company by strictly complying with the plan and budget as approved by the Board of Directors honestly, faithfully and carefully, and protect the best interest of the Company and the shareholders. The authority and duties of the Managing Director shall include the following matters or activities : 1. Supervise the business operations and/or general management of the Company. 2. Employ, appoint, remove, transfer, promote, demote, reduce salary or wages, or take disciplinary actions against the staff and employees, and give summary dismissal to the staff and employees, except for the position of Head of Department or equivalent for which the dismissal requires the approval of the Board of Directors, as stipulated in the Working Rules. 3. Be authorized to direct, contact, instruct, take action, enter into legal acts, agreements, directives, notices or any letters in order to communicate with government agencies, state enterprises and other persons, as well as take any necessary and appropriate action to complete the aforementioned actions. 4. Give approval and authorize sub-agents in granting approval to the payment for procurement of property and services, for the Company’s benefit. The Managing Director’s authority to approve payment is limited to Baht 800 million for normal Annual Report 2008 61


อย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริตและระมัดระวัง รักษาผล ประโยชน์ของบริษัทฯและผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด รวมไปถึง อำนาจหน้าที่ในเรื่องหรือกิจการต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ควบคุ ม ดู แ ลการดำเนิ น กิ จ การ และ/หรื อ บริหารงานทั่วไปของบริษัท 2. บรรจุ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้าย เลือ่ น ลด ตัด เงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงาน และลูกจ้าง ตลอดจนให้พนักงานและลูกจ้าง ออกจากตำแหน่งตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการ กำหนด แต่ ถ้ า เป็ น พนั ก งานระดั บ ฝ่ า ยหรื อ เทียบเท่าขึ้นไป จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการก่อน 3. เป็นผูม้ อี ำนาจในการบังคับบัญชา ติดต่อ สัง่ การ ดำเนินการ ตลอดจนเข้ามาลงนามในนิติกรรม สัญญา เอกสารคำสั่ง หนังสือแจ้งหรือหนังสือ ใดๆ ทีใ่ ช้ตดิ ต่อกับหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และบุคคลอื่น ตลอดจนให้มีอำนาจกระทำการ ใดๆ ทีจ่ ำเป็นและสมควร เพือ่ ให้การดำเนินการ ข้างต้นสำเร็จลุล่วงไป 4. มี อ ำนาจอนุ มั ติ แ ละมอบอำนาจช่ ว งอนุ มั ติ

เบิ ก จ่ า ยเพื่ อ การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น

และบริการเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ซึง่ อำนาจ การอนุมัติดังกล่าวจะเป็นการอนุมัติรายการ ปกติทั่วไปทางการค้าที่มีวงเงินไม่เกิน 800 ล้านบาทต่อรายการ และอนุมตั คิ า่ ใช้จา่ ยในการ ซื้อทรัพย์สินอื่นในวงเงินไม่เกิน 400 ล้านบาท ต่อรายการ หากเกินจำนวนที่สามารถอนุมัติ ให้นำเสนอเพื่อขออนุมัติคณะกรรมการบริหาร 5. ดำเนินการให้มีการจัดทำและส่งมอบนโยบาย ทางธุ ร กิ จ รวมถึ ง แผนงานและงบประมาณ

ต่อคณะกรรมการเพื่อขออนุมัติ และมีหน้าที่ รายงานความก้าวหน้าตามแผนและงบประมาณ ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ดิ งั กล่าวต่อคณะกรรมการในทุกๆ 3 เดือน 6. ดำเนิ น การหรื อ ปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปตาม นโยบาย แผนงานและงบประมาณที่ได้อนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ คณะ กรรมการบริหารของบริษัทฯ 7. ให้มีอำนาจในการมอบอำนาจช่วง และ/หรือ มอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะอย่าง แทนได้โดยการมอบช่วง และ/หรือ การมอบ หมายดังกล่าวให้อยู่ภายใต้ขอบเขตแห่งการ มอบอำนาจตามหนั ง สื อ มอบอำนาจฉบั บ นี้ และ/หรือ ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อกำหนด 62 รายงานประจำปี 2551

หรือคำสั่งที่คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทกำหนดไว้ 8. อนุ มั ติ ก ารแต่ ง ตั้ ง ผู้ มี อ ำนาจลงนามในเช็ ค หรื อ เอกสารสั่ ง จ่ า ยเงิ น ของบริ ษั ท ฯ รวมถึง สัญญาต่างๆ เอกสารทางบัญชีและการเงินและ เอกสารทั่วไป 9. เป็ น ที่ ป รึ ก ษาฝ่ า ยจั ด การในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ นโยบายด้านการเงิน การตลาด การบริหารงาน บุคคล และด้านการปฏิบัติอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวข้อง กับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ 10. อนุมตั กิ ารแต่งตัง้ ทีป่ รึกษาด้านต่างๆ ทีจ่ ำเป็น ต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ 11. เป็นผู้รับมอบอำนาจของบริษัทฯในการบริหาร กิจการของบริษัทฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบาย ระเบียบ ข้อกำหนด คำสั่ง มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และ/หรือ มติที่ประชุม คณะกรรมการบริษทั ฯและคณะกรรมการบริหาร ทุกประการ ทั้ ง นี้ การมอบอำนาจให้ แ ก่ ก รรมการผู้ จั ด การ ตลอดจนการมอบอำนาจแก่บุคคลอื่นที่กรรมการผู้จัดการ เห็นควร จะไม่รวมถึงอำนาจ และ/หรือการมอบอำนาจ

ในการอนุมตั ริ ายการใดทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนื่ ใด (ตามข้อบังคับของบริษทั และตามทีส่ ำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำหนด) กับบริษัท หรือบริษัทย่อย ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะดังกล่าว จะต้องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาและอนุมัติรายการดังกล่าว ตามข้อบังคับของบริษทั ฯ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกำหนด เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นลักษณะการดำเนิน ธุ ร กรรมการค้ า ปกติ ทั่ ว ไปของบริ ษั ท ฯ ที่ เ ป็ น ไปตาม

นโยบายและหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณา อนุ มั ติ ไว้ ซึ่ ง เป็ น ไปตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศคำสั่ง และ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. เลขานุการบริษัทฯ

(COMPANY SECRETARY) จากมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8/2551 ในวันอังคาร ที่ 22 กรกฎาคม 2551 ได้มมี ติเห็นชอบแต่งตัง้ ให้นางธัญรัตน์ เทศน์สาลี ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบัญชี ทำหน้าที่ เป็นเลขานุการบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิบัติ ตามมาตรา 89/15 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาด

หลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ที่กำหนดไว้ว่าคณะ


commercial transactions and Baht 400 million for procurement of other property. The payment exceeding the limit of the Managing Director’s approval shall be proposed for approval of the Executive Committee. 5. Direct the preparation and submission of the Company’s business policy, as well as business and budget plans for the approval of the Board of Directors, and report the progress under the approved business and budget plans to the Board of Directors quarterly. 6. Manage or undertake the business in accordance with the policy, business and budget plans which are approved by the Company Board of Directors and/or the Company Executive Committee. 7. Be eligible to authorize sub-agents and/or assign other persons to perform certain duties. Such authorization and/or assignment shall be subject to the extent of authorization under this Power of Attorney and/or in accordance with the regulations, rules or directives stipulated by the Board of Directors and/or the Company. 8. Approve the appointment of the authorized signatory for checks or money-ordering documents of the Company, as well as agreements, accounting and financial documents and general documents. 9. Act as management advisor in respect of the financial, marketing, human resources and other operations policy which is related to the Company business operations. 10 Approve the appointment of advisors for specific tasks as required for the Company business operations. 11. Act as the Company’s authorized person in managing the Company business, in all respects, in accordance with the Company’s objectives, rules, policies, regulations, codes of conduct, directives, resolutions of Shareholders Meeting and/or resolutions of the Board of Directors Meeting and the Executive Committee.

However, the authorization granted to the Managing Director, as well as the authorization granted to a third party who is approved by the Managing Director shall exclude the authority and/or authorization to approve any transaction in which the Managing Director or such authorized third party may have conflicts, interest or any other conflict of interest (as specified in the Company’s Articles of Association and as notified by the Office of Securities and Exchange Commission) with the Company or its subsidiaries. The aforementioned transactions shall be proposed for the consideration and approval of the Board of Directors Meeting and/or the Shareholders Meeting in accordance with the Company’s Articles of Association or the relevant laws, except for the Company’s normal business transactions which are outlined in the policy and requirements approved by the Board of Directors in accordance with the laws governing securities and exchange and the regulations, notifications, directives and rules of the Stock Exchange of Thailand. Company Secretary According to the resolution of the Board of Directors Meeting No. 8/2551 which was held on Tuesday, July 22, 2008, the Board approved the appointment of Mrs. Tanyarat Tessalee, the Director of Accounting Department to be the Company Secretary, in compliance with Section 89/15 of the Securities and Exchange Act (the 4th Amendment) B.E. 2551 which requires that the Board of Directors of a listed company shall appoint a Company Secretary. The main responsibilities of the Company Secretary are as follows : 1. Prepare and maintain the following documents : • Directors’ registration. • Notices of Board of Directors Meetings, Minutes of Board of Directors Meetings and the Company Annual Reports. • Notices of Shareholders Meetings and Minutes of Shareholders Meetings. 2. Maintain the reports on conflicts of interest submitted by the directors or the executives. Annual Report 2008 63


กรรมการบริษทั ฯ จดทะเบียนต้องจัดให้มเี ลขานุการบริษทั (COMPANY SECRETARY)

ทางบริษัทฯ ได้กำหนดความรับผิดชอบหลักๆ ของเลขานุการบริษัทฯ ดังนี้ 1. จัดทำและเก็บรักษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ • ทะเบียนกรรมการ • หนังสือนัดประชุมกรรมการ รายงานการประชุม

คณะกรรมการและรายงานประจำปีของบริษทั ฯ • หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการ

ประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้เสียทีร่ ายงานโดย กรรมการหรือผู้บริหาร 3. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนด 4. จัดการประชุมผูถ้ อื หุน้ และประชุมคณะกรรมการ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ และข้อพึงปฏิบัติต่างๆ 5. ร่างนโยบายด้านการบริหารต่างๆ 6. บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และการ ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งติดตาม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามมติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 7. ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานสาร สนเทศในส่ ว นที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน่ ว ยงานที่

กำกับบริษัทฯ ตามระเบียบและข้อกำหนดของ หน่วยงานทางการ

64 รายงานประจำปี 2551

8. ดูแลให้บริษัทฯ และคณะกรรมการปฏิบัติตาม กฎหมาย และกฎเกณฑ์ ก.ล.ต./ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 9. ส่งเสริมให้บริษัทมีมาตรฐานด้านบรรษัทภิบาล

ที่เหมาะสม 10.ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น ทั่ ว ไปให้ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ต่างๆของผู้ถือหุ้น และข่าวสารของบริษัทฯ 11. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัทฯ คุณสมบัติของเลขานุการบริษัท ฯ 1. มีความซื่อสัตย์/ตรงไปตรงมา 2. มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจในธุ ร กิ จ กฎหมาย กฎ ระบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง 3. มีทักษะการประสานงานที่ดี สามารถควบคุม อารมณ์ได้ดี 4. มีระดับอาวุโสเพียงพอในการติดตามการปฏิบัติ ตามมติของคณะกรรมการ และมติผู้ถือหุ้นจาก ผู้บริหารระดับสูงได้ 5. มีมนุษยสัมพันธ์และทักษะการสื่อสารที่ดี 6. กล้าแสดงความคิดเห็นและให้ข้อแนะนำต่างๆ 7. ละเอียด รอบคอบ วางตนเป็นที่น่าเชื่อถือ 8. ใฝ่รู้ ช่างคิด ช่างสังเกต


10. Communicate with the shareholders to 3. Perform other duties as assigned by the ensure that the shareholders obtain their Board of Directors. entitlement and the information of the 4. Organize the Shareholders Meetings

Company. and the Board of Directors Meetings in 11. Manage the activities of the Board of accordance with the laws, the Company’s Directors. Articles of Association and other relevant requirements. Qualifications of the Company Secretary 5. Draft the management policies. 1. Be honest/straight-forward. 6. Record the Minutes of Shareholders 2. Have knowledge and understanding of Meetings and the Minutes of the Board business, law and other relevant reguof Directors Meetings, and follow up lations. the compliance under the resolutions of 3. Have good skills of coordination and be the Shareholders Meetings and the Board able to control his/her mood. of Directors Meetings. 4. Have sufficient seniority in order to follow 7. Ensure the disclosure of data and inforup the top executives’ compliance with mation under its responsibility to the the resolutions of the Board of Directors authorities supervising the Company under Meetings and the Shareholders Meetings. the regulations and requirements of such 5. Have good personal relationships and authorities. good communication skills. 8. Ensure the Company’s and the Board of 6. Be confident to give opinions and advice. Directors’ compliance with the laws and 7. Be detail-oriented, cautious and reliable. requirements of the SEC/ the Stock 8. Have an enquiring mind and be thoughtful Exchange of Thailand. and observant. 9. Promote and standardize good corporate governance in the Company.

Annual Report 2008 65


ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์

ขึ้ น อยู่ กั บ สภาวะเศรษฐกิ จ โลกและการขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมต่างๆ ทีเ่ ป็นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทกุ ประเภท เช่น อุตสาหกรรมการผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เกี่ยว เนื่อง อุตสาหกรรมโทรคมนาคม อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมในผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้ในภาคอุตสาหกรรม รวมถึง อุตสาหกรรมในผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชั้นสูง ในหลายปี

ที่ผ่านมาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มีการเติบโตอย่าง

ต่อเนือ่ ง แต่ในปี 2551 ได้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลก ส่งผลต่อ การเติบโตของอุตสาหกรรมทุกประเภทและเกิดภาวะตลาด ชะลอตั ว โดยเฉพาะในอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ อุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อเนื่องไปถึง อุตสาหกรรมการผลิต PCB ทั่วโลก

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความละเอียดซับซ้อน และต้องการความเทีย่ งตรงสูง เช่น อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นต้น ผู้ผลิต PCB ในภูมิภาคยุโรปและอเมริกา อุตสาหกรรมการผลิต PCB ในภูมิภาคยุโรปและ อเมริ ก ามี แ นวโน้ ม หดตั ว ลง เนื่ อ งจากต้ น ทุ น ที่ สู ง กว่ า

การผลิตจึงจำกัดอยูใ่ นผลิตภัณฑ์ทตี่ อ้ งใช้เทคโนโลยีชนั้ สูง พิเศษ และเป็นสินค้าทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะตัว มากกว่าการผลิต สินค้าในเชิงปริมาณ (Mass production) โดยมีลูกค้า กลุม่ เป้าหมายในตลาดทีม่ ผี ผู้ ลิตน้อยราย (Defensive และ Protected market) เช่ น PCB สำหรั บ อุ ต สาหกรรม

ยานยนต์ การย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีต้นทุน

ทีต่ ำ่ กว่า เช่น ในประเทศทางเอเชียได้เป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง ดังนัน้ อุตสาหกรรม PCB ในยุโรปและอเมริกาจึงเป็นตลาด ของผู้ผลิตรายใหญ่เพียงไม่กี่ราย

ผู้ผลิต PCB ในประเทศจีน ตัง้ แต่ปี 2547 - 2551 อุตสาหกรรมการผลิต PCB ในจีน มีการเติบโตและมีส่วนแบ่งทางการตลาดมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง เพราะการส่งเสริมจากรัฐบาล และต้นทุน ในการผลิ ต ที่ ต่ ำ ทำให้ ผู้ ป ระกอบการจากต่ า งประเทศ

ย้ายฐานการผลิตมายังประเทศจีนมากขึน้ ทัง้ นีผ้ ผู้ ลิต PCB ในจีนจำนวนมากเป็นบริษัทต่างชาติที่เข้ามาลงทุนในจีน เช่น อเมริกา ไต้หวัน ญีป่ นุ่ การผลิต PCB ในประเทศจีน เป็นการผลิตแบบ Mass Production ซึ่งเน้นการผลิตใน • Single-Sided PCB เป็นแผ่นพิมพ์วงจรที่มี ปริมาณมากและมีต้นทุนต่ำ ทำให้ PCB มีราคาลดลง วงจรไฟฟ้าเพียงด้านเดียว มีขั้นตอนการผลิต

และเกิดการแข่งขันทางราคาที่รุนแรงมากขึ้น ที่ไม่ซับซ้อนและเน้นการใช้แรงงานคนมากกว่า เครื่องจักร PCB เหล่านี้จะใช้เป็นส่วนประกอบ ผู้ผลิต PCB ในประเทศไทย ของเครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์

ผู้ผลิต PCB ในประเทศไทยโดยมากเน้นการผลิต ทั่วๆ ไป PCB สำหรั บ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารโทรคมนาคม ชิ้ น ส่ ว น คอมพิวเตอร์ และเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ซึง่ มีการแข่งขันทางด้าน • Double-sided PCB เป็นแผ่นพิมพ์วงจรที่มี ราคาสูง ผู้ผลิต PCB หลายรายอาจได้รับผลกระทบจาก วงจรไฟฟ้าสองด้าน ซึ่งมีการนำมาใช้กับเครื่อง การผลิต PCB ของจีน หากเป็นกลุ่มผู้ผลิต PCB ทีย่ งั ใช้ ใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์บางประเภท เทคโนโลยีการผลิตไม่สูงมากนักและต้องนำเข้าวัตถุดิบ

เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เป็นต้น จากต่างประเทศเพราะจะถูกกดดันด้านราคาขาย ขณะที่

• Multi-Layer PCB เป็นแผ่นพิมพ์วงจรทีม่ วี งจร ผู้ผลิต PCB ที่ใช้เทคโนโลยีสูงและสามารถควบคุมต้นทุน ไฟฟ้ า ซ้ อ นกั น หลายชั้ น มี ขั้ น ตอนการผลิ ต ที่ การผลิตได้ดีกว่าจะไม่ได้รับผลกระทบดังกล่าว เนื่องจาก ซับซ้อน ต้องใช้เครือ่ งจักรทีท่ นั สมัยและเทคโนโลยี เป็นการแข่งขันที่เน้นด้านคุณภาพและความน่าเชื่อถือ ชัน้ สูงในการผลิต PCB ประเภทนีถ้ กู นำไปใช้ใน มากกว่าการแข่งขันทางด้านราคา

อุตสาหกรรมแผ่นพิมพ์วงจร (Printed Circuit Board) แผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ หรือ PCB เป็นส่วน ประกอบสำคัญที่ใช้ในเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท โดยอาจแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ตามคุณสมบัติของ แผ่น PCB คือ Flexible PCB ซึง่ เป็นแผ่น PCB ชนิดอ่อน และ Rigid PCB ซึง่ เป็นแผ่น PCB ชนิดแข็ง และอาจแบ่ง PCB ออกตามระดับ technology ได้อีกดังนี้

66 รายงานประจำปี 2551


Industrial Status and Competition Electronics Industry The growth of the electronics industry correlates with the global economic growth and that of the industries that utilize electronic components. This market sector encompasses several industries such as computers and peripherals, telecommunications, automotive and many other high technology industries. The electronics industry has enjoyed many successive years of growth. However, in 2008, the global economic downturn led to a sharp fall in global demand and caused the overall worldwide market to slow down, especially the electronics and automotive industries. Consequently, worldwide PCB demand will be affected. Printed Circuit Board Industry The printed circuit board (PCB) is an important component of all electronic equipment and can be grouped into two major categories : the flexible PCB and the rigid PCB. However, the rigid PCB can also be classified by technology as follows : • Single-sided PCB : The circuit is printed onto one side of the board and the process is simple, using low technology. The PCB is the component for general electronics equipment. • Double-sided PCB : The circuit is printed on both sides of the board, utilizing standard technology and a simple process. The PCB can be a component for computer equipment, TV and general electronic appliances. • Multi-layer PCB : The multi-layer PCB combines a double-sided board into a multi-layer board, utilizing high technology and special skills. The multi-layer PCB is used in electronic equipment that requires high reliability, particularly for automobile.

PCB Manufacturers in Europe and the USA The PCB manufacturing industry in Europe and the USA has been in rapid decline due to the higher production costs. This group of manufacturers underwent strategic changes and currently focuses instead on the production of higher technology and more specialized products rather than on low-priced mass manufacturing. The target market is in the defensive or protected sector, i.e. automotive product. PCB Manufacturers in China From 2004 until the present, the PCB industry in China has grown dramatically, with increasing global market share due to strong support from the Chinese Government and the low labor cost. Most of the PCB manufacturers in China are foreignowned businesses, as manufacturers from various countries such as the USA, Taiwan and Japan moved their production bases to China to benefit from government privileges and incentives. PCB production in China is mainly mass production, focusing on large volume and low cost production. This has resulted in a decrease of PCB prices and a fierce price war worldwide. PCB Manufacturers in Thailand The majority of the PCB manufacturers in Thailand focus on massive production of PCBs for telecommunication, computer and electronic equipment, where there is high competition in product price. Therefore, the price pressure more adversely affects this group of manufacturers than manufacturers with higher technology, where quality and reliability are more crucial than pricing alone. Automobile Industry The automobile industry market accounts for more than USD 2 trillion with a distribution of USD 5 hundred billion to PCB manufacturers in 26

Annual Report 2008 67


อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์โลกเป็นอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่ที่มีเงินทุนหมุนเวียนกว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ และสร้างรายได้กว่า 5 แสนล้านเหรียญสหรัฐแก่ผู้ผลิตใน 26 ประเทศทัว่ โลก จากการทีอ่ เิ ล็กทรอนิกส์สำหรับรถยนต์ ซึง่ นับวันจะมีแต่ความซับซ้อนมากขึน้ ทำให้มคี วามจำเป็น ที่อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ต้องสร้างสรรค์นวัตกรรม ใหม่ๆ และเทคโนโลยีในระดับสูงขึ้นไปอีกให้ทันกัน

ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมแผ่นพิมพ์วงจร อิเล็กทรอนิกส์

2. กลุ่ ม การตลาด PCB ที่ มี ผู้ ผ ลิ ต น้ อ ยราย (Defensive) ได้แก่ PCB ที่ใช้ในอุตสาหกรรม ยานยนต์ ตลาดในส่วนนี้ีไม่มีการแข่งขันด้าน ราคามากนัก แต่จะเน้นการแข่งขันในเรื่องของ คุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยมี แ หล่ ง ผลิ ต ที่สำคัญ อยู่ในภูมิภาคเอเชีย 3. กลุ่มการตลาด PCB ที่ได้รับความคุ้มครอง ทางเทคโนโลยี (Protected) ได้ แ ก่ PCB

ที่ ใ ช้ ใ นอุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วกั บ เทคโนโลยี ทางการทหาร เครื่องมือทางการแพทย์ หรือ อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง ของประเทศ ฐานการผลิ ต โดยมากจะอยู่ ใ น ภูมิภาคยุโรปและอเมริกา เนื่องจากเป็นกลุ่ม การตลาดที่ ถู ก ควบคุ ม จึ ง ไม่ มี ก ารแข่ ง ขั น กั บ ตลาดอื่น

• ความผันผวนของราคาทองคำและทองแดง ในช่วง 3 - 4 ปีที่ผ่านมาราคาทองและทองแดง

ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิต PCB มีความผันผวน เป็นอย่างมากโดยมีการปรับตัวสูงขึน้ มาโดยตลอด อันเป็น ผลมาจากภาวะอุปสงค์อุปทานของตลาดโลก โดยเฉพาะ 4. กลุม่ การตลาดผูผ้ ลิต PCB ต้นแบบ (Prototype) ผลกระทบจากประเทศจีน และอินเดีย ที่เพิ่มการสำรอง เป็ น กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญพิ เ ศษใน วัตถุดิบดังกล่าวเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการที่เพิ่ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะและมี ว งจรอายุ มากขึน้ อย่างรวดเร็ว จนทำให้เกิดการเก็งกำไรในสินค้า และ ผลิตภัณฑ์สั้น ผู้ผลิต PCB ในตลาดนี้จึงเป็น

จากภาวะราคาน้ำมันดิบที่สูงขึ้นส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ที่มี ผูผ้ ลิตภายในประเทศเท่านัน้ ซึง่ ส่วนใหญ่อยูใ่ น ความสัมพันธ์กับราคาน้ำมันดิบมีระดับสูงขึ้นตามไปด้วย ภูมิภาคยุโรปและอเมริกา การปรับราคาขึ้นอย่างมากของทองแดง ทอง และน้ำมัน ส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะราคาแผ่น

กลุม่ บริษทั อยูใ่ นอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึง่ เป็นตลาด ลามิเนต ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต PCB ก็มีราคา Defensive มีจำนวนผูผ้ ลิตในตลาดนีน้ อ้ ยราย มีการแข่งขัน สูงขึ้นด้วยเช่นกัน น้ อ ยในด้ า นราคา แต่ เ น้ น คุ ณ ภาพและความเชื่ อ มั่ น ใน ผลิตภัณฑ์ โดยคู่แข่งสำคัญของบริษัทในตลาดดังกล่าว • การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาท ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐและการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิต PCB ในประเทศไต้หวัน และผู้ผลิตใน ของค่าเงินบาท มีผลกระทบอย่างมากต่อรายได้และต้นทุน ประเทศของผู้ซื้อเอง เช่น ในประเทศเยอรมัน ยุโรป หรือ

การผลิต นอกจากนั้นราคาสินค้าที่ขายในรูปเงินดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา สหรัฐยังส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันกับผู้ผลิต โอกาสและอุปสรรค รายอื่นในต่างประเทศ ศักยภาพในการลงทุนในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ภาวะการแข่งขัน ภายในประเทศยังมีค่อนข้างสูง เพราะต้นทุนแรงงานต่ำ ภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรม PCB จะมีความ เมือ่ เทียบกับประเทศอืน่ ๆ ทางยุโรปและอเมริกา แต่เนือ่ งจาก แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มการตลาด (Market Sector) การสนับสนุนทางภาครัฐยังไม่เพียงพอจึงทำให้ขาดแคลน ทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญ 1. กลุ่มการตลาด PCB ที่มีการผลิตในปริมาณสูง ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย จึงต้องมีการจ้าง

(Mass production) ได้ แ ก่ PCB ที่ ใช้ ใ น ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้ามาทำงานให้ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม อุตสาหกรรมชิน้ ส่วน คอมพิวเตอร์ และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (KEY SUCCESS FACTORS) ตลาดดั ง กล่ า วมี ก ารแข่ ง ขั น สู ง เพราะมี ผู้ ข าย บริษทั ฯและบริษทั ย่อย ให้ความสำคัญด้านผลิตภัณฑ์ หลายรายและมีการแข่งขันด้านราคาอย่างรุนแรง ด้านต้นทุนการผลิต ด้านราคาขายของผลิตภัณฑ์ และ ผู้ผลิตจึงต้องย้ายฐานการผลิตไปยังภูมิภาคที่มี รวมถึงการบริการหลังการขาย ต้นทุนการผลิตต่ำกว่า เช่น ประเทศจีน เป็นต้น 68 รายงานประจำปี 2551


countries worldwide. The increasing complexities of the automobile electronics industry necessitate new and higher innovations and technologies from the electronics industry. Factors Affecting the Printed Circuit Board

Industry Price Fluctuation of Gold, Copper

and Oil For the past three consecutive years, the price of gold and copper, the main raw materials for the production of PCBs, have fluctuated and continually escalated as a result of the increased demand predominantly from China and India, which need to accumulate raw material supplies in anticipation of the rapidly ascending demand. This consequently led to increase speculation and further strengthening of the price. Meanwhile, the escalation of the global crude oil price impacted all industries that utilize petroleum-related products such as laminate for PCB production. The increase of the raw materials price for gold, copper and oil directly increased PCB manufacturing costs. ■

The Strengthening of the Thai Currency The volatility and the strengthening of the Thai currency has a negative impact on manufacturing costs and sales revenue, as it may reduce the competitiveness of all exporters. ■

Competition PCB industry competition varies according to the market sector : • The mass production PCB industry, used in the telecommunications, computer and peripherals and electrical products sectors, faces price competition from manufacturers locating to lower cost countries such as China. • The Defensive PCB manufacturers such as automotive electronics industry, located

mainly in Asia, have less price competitors but compete for quality products. • The Protected PCB manufacturers, mainly located in Europe and the USA, control the protected electronics market such as military or warfare equipment and medical devices as well as national security related industries that do not compete with the rest of the PCB industry. • The Prototype PCB manufacturers meet the requirements of this highly specialized and specific market with a very short manufacturing life, and are usually positioned locally in Europe and the USA. KCE’s largest market sector is the automotive industry, where there is less price competition but more competition for quality and reliability. The current competitors in this market are PCB manufacturers in Taiwan and local manufacturers located in Germany, Europe or the USA. Opportunities and Obstacles Thailand offers high investment potential for the electronics industry because of the relatively low labor cost when compared to Europe and the USA. However, due to inadequate governmental support, the country is short of skilled workers, PCB specialists and other important human resources. Therefore, it is necessary to rely on technology transfer from foreign specialists. Key Success Factors KCE and its subsidiaries pay most attention to the following four factors : 1. High Quality Products : KCE has been awarded ISO/TS 16949 Certification, an internationally recognized quality standard, every year since 2003. In addition, KCE meets many other quality standards and has received awards from Annual Report 2008 69


1. เน้นคุณภาพผลิตภัณฑ์ ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ (High reliability) ได้รับการรับรองมาตรฐาน ระบบ ISO/TS 16949 ตั้งแต่ปี 2546 จนถึง ปัจจุบัน ซึ่งเป็นระบบบริหารคุณภาพที่ได้รับ การยอมรั บ ในอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ทั่ ว โลก ทั้งทวีปอเมริกา ยุโรป และเอเชีย และผ่านการ ตรวจสอบคุณภาพโดยมาตรฐานโลก อีกทั้งยัง ได้รับการรับรองคุณภาพและรางวัลต่างๆ อีก มากมาย ทำให้ลูกค้าเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ 2. เน้นการผลิตต้นทุนต่ำ ได้เปรียบจากการที่มี โรงงานผลิตแผ่นลามิเนตเป็นของบริษัทฯเอง 3. เน้นการจัดการที่ดี เพื่อการจัดส่งสินค้าที่ตรง ตามกำหนดเวลาให้กับลูกค้า

และแคนาดา เป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นการขาย

และบริการหลังการขายแก่ลูกค้า รวมถึงการ ประสานงานกับลูกค้าในการรับคำสัง่ ซือ้ รายเดือน การติ ด ตามดู แ ลเรื่ อ งการจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ให้ ไ ด้

ตามกำหนด การรั บ แจ้ ง ปั ญ หาจากลู ก ค้ า

การวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพในเบื้องต้นก่อน ประสานงานกั บ ฝ่ า ยตรวจสอบคุ ณ ภาพของ

บริษัทฯเพื่อแก้ไข และการให้ความช่วยเหลือ ทางเทคนิคอื่นๆ ปัจจัยภายนอกทีอ่ าจจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม และบริษัทในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้

การถดถอยทางด้ า นเศรษฐกิ จ ในตลาดโลกเป็ น ปัจจัยโดยตรงที่จะมีผลกระทบต่อสภาวะของอุตสาหกรรม 4. เน้นการบริการด้านการขาย โดยกลุ่มบริษัท อิเล็กทรอนิกส์ และอาจเป็นปัจจัยสำคัญที่กดดันอุปสงค์ มี บ ริ ษั ท ตั ว แทนฯซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ใ นพื้ น ที่ เ พื่ อ ให้ ในสิ น ค้ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ ห้ ล ดลงทั่ ว โลก ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้

บริการแก่ลกู ค้าได้ทนั ที เช่น ในประเทศอังกฤษ ผู้ผลิต PCB ต้องปรับลดการผลิตลงตามสภาวะตลาดใน สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ เยอรมัน เม็กซิโก บราซิล เวลานั้นๆ

70 รายงานประจำปี 2551


worldwide customers, including coordination of the customer’s purchase order issuance, monitoring of the delivery per target, receiving customer complaints and advising on quality problems before the matter is sent to the factory’s QA and other technical departments, as necessary.

many of its customers. This confirms the confidence in KCE’s product. 2. Low Production Cost : It is to KCE’s advantage that its own laminate plant has supported all of its PCB manufacturing facilities. 3. On-time Delivery : KCE is committed to deliver full lots on time to meet the customer’s required lead-time. 4. Sales and After Sales Service : Sales representative offices are located in many strategic locations in the UK, the USA, Singapore, Germany, Mexico, Brazil and Canada. They offer full and comprehensive sales and service for

External Factors that may Affect the

Electronics Industry and KCE Currently and in the Near Future The global economic recession may directly affect the growth of the electronics industry and consequently cause worldwide markets to slow down. Because the PCB industry depends on the demand for electronic products, the global market downturn will subsequently lead to a reduction in PCB production worldwide.

Annual Report 2008 71


คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะของฝ่ายจัดการ ภาพรวมผลการดำเนินงานประจำปี

ส่วนลดจากการทำสัญญา ป้องกันความเสี่ยง 49.27 6.49 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในปี 2551 ได้ชะลอ

ดอกเบี้ยรับ 30.72 32.30 ตัวลงจากปีกอ่ นเนือ่ งจากได้รบั ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ เงินชดเชยจากบริษัทประกันภัย 28.62 - โลกถดถอยซึ่งได้ลุกลามเป็นวิกฤตการณ์ทางการเงินไป เงินเพิ่มสำหรับงานพิเศษ 16.69 20.41 ทัว่ โลก และส่งผลให้ตลาดอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์ชะลอตัวใน รายได้ค่ารับจ้างผลิต - 14.36 ไตรมาสสุดท้ายทัง้ ทีม่ กี ารขยายตัวในเกณฑ์ดมี าโดยตลอด เงินชดเชยค่าเสียหาย ในช่วงสามไตรมาสแรกของปีนี้ จากวัตถุดิบไม่ได้คุณภาพ 21.00 21.48 จากปัจจัยดังกล่าว ส่งผลให้บริษทั ฯและบริษทั ย่อย กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - 49.69 มีรายได้จากการขายลดลงเป็นจำนวน 7,667 ล้านบาท ในปี รายได้เบ็ดเตล็ด 10.48 18.07 2551 เทียบกับยอดขายจำนวน 8,365 ล้านบาทในปี 2550 รวม 229.16 213.30 หรือคิดเป็นการลดลงร้อยละ 8.3 และมีผลขาดทุนสุทธิ 399 ล้านบาท เทียบกับผลกำไร 257 ล้านบาทในปี 2550 การวิเคราะห์ต้นทุนขายและกำไรขั้นต้น ในปี 2551 ต้นทุนขายมีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 86 ต่อยอดขายซึ่งเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 3.7 จากปี 2550 จาก การวิเคราะห์รายได้จากการขาย หลายสาเหตุประกอบกันดังนี้ ในปี 2551 รายได้จากการขายลดลงจากปีก่อน 1. ในปี 2551 เงิ น บาทแข็ ง ค่ า ขึ้ น ร้ อ ยละ 3.5

ร้อยละ 8.3 (หรือร้อยละ 5 ในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐ) ส่วน (34.45 และ 33.24 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐในปี ปริมาณตารางฟุตที่ขายมีจำนวนน้อยลงประมาณร้อยละ 2550 และ ปี 2551) การที่ยอดขายส่วนใหญ่อยู่ 10 แต่สัดส่วนการขายของผลิตภัณฑ์ Multilayer PCB ในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเงินบาทแข็งค่าขึ้น ได้เพิ่มมากขึ้น ยอดขายที่ถูกแปลงค่าเป็นเงินบาทจะมีจำนวน สัดส่วนปริมาณขายตามผลิตภัณฑ์ น้อยลง แต่ต้นทุนในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐก็มีอยู่ ปี 2551 ปี 2550 ประมาณร้อยละ 50 ของรายได้ ดังนัน้ การแข็งค่า ของเงินบาทจึงส่งผลกระทบให้อตั รากำไรขัน้ ต้น Double-sided PCB 21.4% 27.9% ลดลงประมาณร้อยละ 1.75 Multilayer PCB 78.6% 72.1% 2. ราคาตลาดของวัตถุดบิ หลายรายการโดยเฉพาะ ทองแดงและทองปรับตัวสูงขึ้นมากตามราคา ยอดขายเฉลี่ยในช่วงสามไตรมาสแรกของปี 2551 น้ำมัน ในช่วงครึ่งปีแรกราคาทองแดงเฉลี่ยอยู่ที่ อยู่ที่ระดับ 2,084 ล้านบาทต่อไตรมาส แต่ต่อมาได้รับ $ 6,955 ต่อตัน โดยมีราคาสูงสุดที่ $ 8,958 ความกดดันจากภาวะตลาดชะลอตัวทำให้ยอดขายลดลง ต่ อ ตั น ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯมี ต้ น ทุ น การผลิ ต ที่

ประมาณร้อยละ 30 ในไตรมาส 4 สูงขึ้นตามไปด้วย นอกจากนั้นในภาวะที่เกิด รายได้กว่าร้อยละ 60 เป็นผลิตภัณฑ์ PCB ในกลุม่ วิกฤตการณ์ราคา บริษัทฯและบริษัทย่อยยังได้ อุตสาหกรรมยานยนต์ โดยส่งออกไปยังตลาดหลักทางยุโรป เข้าทำสัญญาป้องกันความเสีย่ งราคาทองแดงไว้ เกือบร้อยละ 50 ทางอเมริการ้อยละ 20 ส่วนที่เหลือเป็น

จำนวนหนึ่ง แต่หลังจากนั้นราคาทองแดงกลับ การขายในเอเชีย โดยมีการขายในประเทศประมาณร้อยละ 3 มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องและในเวลาอัน รวดเร็ว จนกระทั่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 การวิเคราะห์รายได้อื่น ราคาทองแดงปิดที่ $ 2,902 ต่อตัน ทำให้เกิดผล รายได้อื่น (ล้านบาท) ขาดทุ น จากการทำสั ญ ญาป้ อ งกั น ความเสี่ ย ง

ปี 2551 ปี 2550 ดังกล่าว รายได้จาก ขายเศษวัสดุ 72.38 50.50 การวิเคราะห์รายได้

72 รายงานประจำปี 2551


Management Explanation and Analysis Overall Group Financial Performance The overall electronics industry in 2008 witnessed a slowdown as a result of the global economic recession, which subsequently led to the international financial crisis. This caused further downturn in the automotive electronics market, particularly in the fourth quarter of 2008, after the positive first three quarters, where sales had stabilized. KCE Electronics Group (KCE) posted a consolidated sales revenue of THB 7,667 million in 2008 from THB 8,365 million in 2007 (an 8.3% decrease), and a net loss of THB 399 million, compared to a net profit of THB 257 million in 2007. Revenue Analysis Sales Revenue Analysis In 2008, sales revenue decreased 8.3% from the previous year (or a 5% decrease in USD terms), while unit sales (sq.ft. area) was down 10%; however, the proportion of multilayer product was higher. Product mix (% sq.ft.) Y 2008 Y 2007 Double-sided PCB 21.4% 27.9% Multilayer PCB 78.6% 72.1% The average quarterly sales revenue in the first three quarters was THB 2,084 million, while fourth quarter sales dropped approximately 30% due to the market slowdown. More than 60% of KCE’s sales revenues came from the automotive electronics industry. Europe sales accounted for nearly 50% of total exports, the US accounted for 20% and Asia for the remainder, with domestic sales accounting for 3% in 2008. Other Revenue Analysis Other revenue breakdown is as follows :

(in million THB) Y 2008 Y 2007 Scrap sales 72.38 50.50 Discount from hedging contract 49.27 6.49 Interest income 30.72 32.30 Insurance claim 28.62 - Extra expedite charge 16.69 20.41 Subcontract work - 14.36 Claim on defected materials 21.00 21.48 Exchange rate gain - 49.69 Misc. income 10.48 18.07 Total 229.16 213.30 Cost of Sales / Gross Profit Analysis Cost of sales was at 86% to sales, or a 3.7% increase, in 2008, which was mainly due from the following factors : 1. Baht appreciation of approximately 3.5% (from THB 34.45/USD in 2007 to THB 33.24/USD in 2008). As sales are denominated in US currency, converted sales amounts in baht terms are less when the baht currency strengthens against US dollars. However, 50% of the raw material costs are also in US dollars; as a result of the baht appreciation, the gross profit margin decreased by approximately 1.75% to sales. 2. Rising material costs and production supplies, particularly of copper and gold, following the oil price crisis. In the first half of the year, the copper price was an average of US$ 6,955 per ton (with a

high of US$ 8,958 per ton); this caused a cumulative increase in production costs. Furthermore, due to the uncertain material price, KCE entered into a commodity forward contract for copper. Unfortunately, after the third quarter, the copper price dropped sharply and went to a low of US$ 2,902 per ton for the closed price on 31 December 2008. Annual Report 2008 73


3. จากการที่ตลาดอยู่ในภาวะชะลอตัวและมีการ สัง่ ซือ้ ลดลงทำให้ บจ. เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล (บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ) ต้ อ งหยุ ด การผลิ ต ชัว่ คราว ส่วนโรงงานอีกสองแห่งก็มกี ารใช้กำลัง การผลิ ต เพี ย งร้ อ ยละ 70 ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ

และบริ ษั ท ย่ อ ยมี สั ด ส่ ว นต้ น ทุ น การผลิ ต ต่ อ

ยอดขายสูงขึ้นในทันที เพราะมีค่าใช้จ่ายคงที่ อยู่มาก อีกทั้งมาตรการต่างๆ ในการลดต้นทุน ก็ยงั เพิง่ เริม่ ต้น และยังไม่เห็นผลชัดเจนในขณะนี ้ 4. เนื่องจากราคาวัตถุดิบได้ลดลงอย่างมากในช่วง ปลายปีโดยเฉพาะทองแดง บริษัทฯและบริษัท ย่อยจึงต้องตั้งค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้า คงเหลื อ เพิ่ ม ขึ้ น สำหรั บ สิ น ค้ า สำเร็ จ รู ป และ วั ต ถุ ดิ บ คงเหลื อ ในคลั ง สิ น ค้ า เป็ น จำนวน 40 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร และค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย โดยปกติมีสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 8 - 9 ต่อยอดขาย ซึง่ ประกอบด้วยค่าระวางขนส่ง ค่าประกันภัยทางทะเล และค่าใช้จ่ายในการส่งออกต่างๆ ค่านายหน้าสำหรับตัวแทนขายในต่างประเทศ ค่าวัสดุ หีบห่อ ค่าใช้จ่ายในการรับคืนสินค้าและค่าใช้จ่ายอื่นที่ ผันแปรตามยอดขาย นอกจากนั้นยังรวมถึงค่าใช้จ่ายคงที่ เช่น เงินเดือนพนักงานฝ่ายขาย ค่าเบี้ยประกันภัยสำหรับ การเรียกคืนผลิตภัณฑ์ เป็นต้น ส่วนค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จา่ ย คงที่ เช่น เงินเดือนเจ้าหน้าที่สำนักงานและสวัสดิการ

ต่างๆ ค่าใช้จ่ายสำนักงาน ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาอาคาร สำนักงานและอุปกรณ์ตา่ งๆ ค่าเดินทาง ค่าบริการทีป่ รึกษา ทางกฎหมาย ค่าสอบบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเบี้ย ประกันภัยทรัพย์สิน ค่าวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึง ค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินฝ่ายบริหาร และค่าตอบแทน กรรมการและผูบ้ ริหาร ในปี 2551 มีคา่ ใช้จา่ ยบริหารสูงขึน้ ประมาณ 22 ล้านบาท เนื่องจากมีการจ่ายเงินช่วยเหลือ พิเศษให้แก่แรงงานเหมาช่วงและพนักงานจำนวนหนึ่งใน บริษัทย่อยที่หยุดการดำเนินกิจการเป็นจำนวนเงิน 12 ล้านบาท และมีค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเพิ่มขึ้นประมาณ 7 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายอื่น ประกอบด้วย กำไร-ขาดทุน จาก การขายหรือตัดจำหน่ายทรัพย์สิน ขาดทุนจากการขาย เงินลงทุน หรือการตัดค่าใช้จา่ ยจากสัญญาเช่าทางการเงิน

74 รายงานประจำปี 2551

การวิเคราะห์ผลกำไรจากการดำเนินงาน ในปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำไรขั้นต้น (Gross profit) จำนวน 1,065 ล้านบาท หรือเท่ากับร้อยละ 13.9 ต่อยอดขาย ซึง่ ลดลงจากปี 2550 ร้อยละ 3.7 ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการที่ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นและจากราคา วัตถุดบิ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในไตรมาส 1 - 2 ของปี ต่อมาในไตรมาส 3 ได้มกี ารปรับราคาขายสินค้าของลูกค้า รายหนึง่ ทำให้บริษทั ฯมีกำไรดีขนึ้ แต่ในไตรมาส 4 เนือ่ งจาก ได้รบั ผลกระทบจากการชะลอตัวของตลาดทำให้การสัง่ ซือ้ ลดลงกว่าร้อยละ 30 จึงมีการใช้กำลังการผลิตต่ำกว่าปกติ ส่งผลให้ตน้ ทุนการผลิตต่อหน่วยสูงขึน้ จนทำให้กำไรขัน้ ต้น ลดลงไปมาก บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำไรจากการดำเนินงาน (Operating Profit) ก่อนดอกเบี้ย ภาษี และขาดทุนจาก การป้องกันความเสี่ยง เป็นจำนวน 186 ล้านบาท (รวม ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจำหน่าย 547 ล้านบาท) เนือ่ งจาก สาเหตุเดียวกันกับที่ได้ระบุไว้ในการวิเคราะห์กำไรขั้นต้น ตามที่ได้กล่าวแล้ว บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีผลขาดทุนสุทธิ (Net Loss) สำหรั บ ปี 2551 จำนวน 399 ล้ า นบาท เนื่ อ งจากการ

เพิ่มขึ้นของสัดส่วนต้นทุนขาย จากผลขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยน 20.46 ล้านบาท และจากผลขาดทุนจากการ ป้องกันความเสี่ยง 295.69 ล้านบาท (ในจำนวนนี้เป็นผล ขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริง 220 ล้านบาท) ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทและบริษัทย่อย มีสินทรัพย์รวมจำนวน 9,384 ล้านบาท ประกอบด้วย สินทรัพย์หมุนเวียน 3,041 ล้านบาท ที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์-สุทธิ 6,186 ล้านบาท เงินลงทุนในบริษัทร่วม และอื่นๆ 157 ล้านบาท สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวนลดลงจากปีก่อนประมาณร้อยละ 5 ซึ่งการ เปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่มาจากการลดลงของลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ และเงินสด ส่วนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์– สุทธิ เพิ่มขึ้นจากการลงทุนในโครงการต่างๆ ลูกหนีก้ ารค้าและ ลูกหนีก้ ารค้า–กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกค้าของบริษทั ส่วนใหญ่เป็นบริษทั ชัน้ นำระดับโลก ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นลูกหนี้ที่มีคุณภาพ


3. The reduction in orders led to the suspension of K.C.E. International Co., Ltd. (a subsidiary) and a reduced production capacity at two other plants. The underutilized capacity resulted in a higher unit cost of production, and even though extensive measures for cost saving and expense control have been taken, the results will not be seen until early next year. 4. Due to the lower LME price of copper towards year-end, KCE booked an allowance for diminution in value of inventories of THB 40 million, for raw materials and finished good stock on hand as at 31 December 2008. Sales and Administrative Expenses Analysis Selling expense is typically 8 – 9% to sales. It consists of freight and insurance costs, miscellaneous export expense, sales commission for overseas sales representative, carton and packing cost, goods returned expense and other costs that vary to sales. This includes other fixed costs, for instance sales staff cost, product liability and recall insurance, etc. Administrative expense is mostly fixed expenses, i.e. administrative staff cost, welfare and benefits, repair and maintenance cost, utilities cost, travelling expense, legal and auditing fee, allowance for bad debt, property and all risks insurance and R&D expense. It also includes depreciation cost (on non-production assets), director and management remuneration and other general expenses. In 2008, the administrative expense was THB 22 million higher than the previous year, which was due to the restructuring cost paid to subcontracted workers and staff when the plant was suspended (THB 12 million) and from an increase in R&D expense in one of the subsidiaries (THB 7 million). Other expenses consist of loss from sales of asset or fixed asset write-off, loss from sales of investment and financial lease expense amortization.

Operating Profit Analysis In 2008, the gross profit margin was THB 1,065 million, representing 13.9% to sales, which was 3.7% down from last year. This was the result of a strong baht and rising material cost in the first two quarters. However, the profit improved slightly in the third quarter after the selling price of a customer was adjusted. Unfortunately, the lower capacity utilization led to a higher production cost and a net loss in the fourth quarter. The operating profit before interest, tax, and loss from hedging was THB 186 million (including THB 547 million depreciation and amortization cost) due to the reasons previously stated in the gross profit analysis. KCE posted a net loss of THB 399 million in 2008 as a result of the increase in cost of manufacturing, an exchange rate loss of THB 20.46 million and, particularly, a loss from hedging activity of THB 295.69 million (being THB 220 million unrealized loss). Financial Status Assets As at 31 December 2008, according to KCE’s consolidated financial statement, total assets amounted to THB 9,384 million, consisting of current assets of THB 3,041 million, property, plant and equipment – net of THB 6,186 million, investments in associates and other non-current assets of THB 157 million. The lower account receivable, inventory and cash were offset by the net increase in property, plant and equipment, resulting in a reduction of total assets by approximately 5% in 2007. Trade Account receivable Most KCE customers are leading world electronics companies that have a good reputation in the industry. Total trade accounts receivable dropped from THB 1,998 million in 2007 to THB 1,352 million in 2008, 32% lower, because of the

Annual Report 2008 75


ในปี 2550 และปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีลูกหนี้ การค้า 1,998 ล้านบาท และ 1,352 ล้านบาทตามลำดับ ซึ่ ง มี จ ำนวนลดลงร้ อ ยละ 32 ตามยอดขายที่ น้ อ ยลง

ในปลายปี 2551 บริษัทฯมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยเท่ากับ

87 วัน อย่างไรก็ดี บริษัทมีนโยบายตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัย

จะสูญสำหรับหนี้ที่เกินกำหนดชำระมากกว่า 90 วันใน อัตราร้อยละ 50 สินค้าคงเหลือ ในปี 2550 และปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อย

มีสนิ ค้าคงเหลือจำนวน 1,711 ล้านบาทและ 1,375 ล้านบาท

ตามลำดับ (ลดลงประมาณร้อยละ 20) ซึ่งเป็นการลดลง ในวัตถุดบิ คงเหลือและงานระหว่างทำ เนือ่ งจากตัง้ แต่เดือน พฤศจิกายนมีคำสั่งซื้อน้อยลง บริษัทฯจึงได้ปรับแผนการ สั่งซื้อวัตถุดิบให้สอดคล้องกับแผนการผลิตใหม่ อีกทั้ง เนื่ อ งจากมี ก ารผลิ ต น้ อ ยลงดั ง นั้ น งานระหว่ า งทำจึ ง มี ปริมาณลดลงตามการสั่งผลิตด้วย บริษัทมีนโยบายตั้ง

ค่ า เผื่ อ สิ น ค้ า เสื่ อ มคุ ณ ภาพตามอายุ ข องวั ต ถุ ดิ บ แต่ ล ะ ประเภทตามความเหมาะสม และตั้งค่าเผื่อการลดลงของ มูลค่าสินค้าคงเหลือให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ (Net Realizable Value) ในปี 2551 บริษัทฯและบริษัท ย่ อ ยได้ ตั้ ง ค่ า เผื่ อ สิ น ค้ า เสื่ อ มคุ ณ ภาพเป็ น จำนวน 12

ล้านบาท และได้ตงั้ ค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ (NRV) เป็นจำนวน 40 ล้านบาท ระยะเวลาหมุนเวียนสินค้าคงเหลือเฉลี่ยในปี 2551 เท่ากับ 67 วัน เมือ่ เทียบกับปี 2550 ที่ 77 วัน เนือ่ งมาจาก สินค้าคงเหลือในปลายปีมีระดับลดลงไปมาก สภาพคล่อง ในปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสด สุทธิทไี่ ด้มาจากกิจกรรมดำเนินงานจำนวน 602 ล้านบาท ซึ่งลดลงเล็กน้อยจากปีก่อนที่ 631 ล้านบาท และมีเงินสด สุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 119 ล้านบาท โดยมาจากเงินกู้ยืมระยะสั้นที่เพิ่มขึ้น รวมถึงการกู้ยืม ระยะยาวสำหรับโครงการลงทุนใหม่ หักด้วยเงินสดทีจ่ า่ ยคืน เงิ น กู้ ยื ม ระยะยาวและจ่ า ยเงิ น ปั น ผล นอกจากนี้ ยั ง มี กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนจำนวน 795 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในเครื่องจักรและอุปกรณ์เพื่อ ขยายกำลังการผลิตหรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร โดยที่เ งิ นสดและรายการเทีย บเท่ า เงิ น สด ณ วั นที่ 31 ธันวาคม 2551 คงเหลือเท่ากับ 117 ล้านบาท (ลดลงจาก 190 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550) อัตราส่วนสภาพคล่องตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เท่ากับ 0.48 เท่า ลดลงจาก 0.64 เท่า 76 รายงานประจำปี 2551

ในปี ก่ อ น โดยมี ส าเหตุ ห ลั ก จากการที่ ลู ก หนี้ แ ละสิ น ค้า

คงเหลือปลายงวดได้ลดลงไปกว่าร้อยละ 30 ตามยอดขาย ที่ต่ำลงในปลายไตรมาส 4 และมีหนี้สินหมุนเวียนสูงขึ้น วงจรเงินสดของบริษัทฯและบริษัทย่อยในปี 2551 และปี 2550 เท่ า กั บ 103 วั น และ 95 วั น ตามลำดับ จำนวนวันที่สูงขึ้นเล็กน้อยในปีนี้ เกิดจากที่มีการขยาย ระยะเวลาเก็บหนี้ของลูกค้าหลักรายหนึ่งและเริ่มมีการส่ง สินค้าทางเรือเพิ่มมากขึ้น แหล่งที่มาของเงินทุน บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีเงินสดจากการดำเนินงาน เป็นบวกและเพียงพอในการรองรับความต้องการสำหรับ

เงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานปกติ รวมทั้งการจ่าย ดอกเบี้ยเงินกู้ด้วย นอกจากนั้นยังมีวงเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงินหลายแห่งที่ให้วงเงินเพื่อสนับสนุน เงินทุนหมุนเวียนของบริษัทฯและบริษัทย่อย ในขณะที่ยัง ได้รับการสนันสนุนเพิ่มเติมในวงเงินกู้ระยะยาวสำหรับ โครงการลงทุนต่างๆ ทุกโครงการอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2551 บริษทั ฯมิได้มกี ารจัดหาเงินทุนจากตลาดทุนเนือ่ งจากสภาวะ ตลาดยังไม่เอื้อประโยชน์ต่อการเพิ่มทุน รายจ่ายลงทุน ในปี 2551 บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีรายจ่ายฝ่ายทุน ทั้งสิ้น 986 ล้านบาท โดยมีการเพิ่มการลงทุนเป็นจำนวน 546 ล้านบาท ในบริษัทฯและบริษัทย่อยทุกแห่งเพื่อเพิ่ม กำลั ง การผลิ ต ทั้ ง ในส่ ว นของ INNER และ OUTER ส่วนอื่นเป็นการลงทุนเพื่อเปลี่ยนแทนเครื่องจักรเก่าที่ หมดสภาพ หรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรที่ใช้อยู่ ในปัจจุบัน รวมทั้งมีการปรับปรุงสายการผลิตและระบบ สนับสนุนการผลิตทีเ่ กีย่ วข้องตามความจำเป็น นอกจากนัน้ ยังมีการลงทุนเพื่อการติดตั้งระบบประมวลข้อมูล (SAP) ที่ จ ะเชื่ อ มต่ อ ทุ ก ระบบในแต่ ล ะโรงงานเข้ า ด้ ว ยกั น เพื่ อ สะท้อนภาพรวมของกลุ่มซึ่งจะช่วยให้การบริหารงานมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ปัจจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลต่อการดำเนินงาน ในอนาคต บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยเป็ น ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า PCB

ซึง่ เป็นวัตถุดบิ พืน้ ฐานในอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทกุ ประเภท แต่เนือ่ งจากสินค้าของบริษทั ฯส่วนใหญ่จะถูกนำไปผลิตเป็น ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในรถยนต์ ซึง่ ในปัจจุบนั อุตสาหกรรม ยานยนต์ได้รบั ผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจโลกทีถ่ ดถอย และมีผลต่อสภาวะตลาดและยอดขายของลูกค้าของบริษทั ฯ ดังนั้นจึงมีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้


decrease in sales revenue. The average day receivable was 87 days. According to KCE’s policy, an allowance for doubtful accounts is set up for amounts past due over 90 days at a rate of 50%. Inventory – net As at 31 December 2008, the company had a net inventory of THB 1,375 million, a 20% decrease from last year’s THB 1,711 million. The inventory reduction was mainly in raw material stock and work-in-process inventory due to a drop in orders; therefore, the raw material purchase plan and the production plan were adjusted down accordingly. KCE’s policy is to set an allowance for diminution in value of inventory in accordance with the ageing of individual material type and an allowance for diminution in value of finished goods to net realizable value (NRV). In 2008, KCE booked allowances for inventory obsolescence amounting to THB 12 million and THB 40 million for reduction in NRV. Inventory days were 67 days in 2008 and 77 days in 2007. The decrease was due to the sharp reduction in inventory level at the end of the year. Liquidity In 2008, KCE gained a positive cash flow from operation totaling THB 602 million, which was slightly lower than the previous year’s THB 631 million. Additional cash flows from financing activities was THB 119 million, partly from increased short-term loans and cash received from longterm loans and offset by loan repayment and dividend payout during the year. Cash used in investment activities accounted for THB 795 million, mostly for capacity expansion projects or efficiency improvement. Cash at the end of 2008 was THB 117 million, down from THB 190 million at the end of last year. As of 31 December 2008 and 2007, KCE’s current ratio was 0.48 times and 0.64 times respectively. The lower rate was caused by decreasing accounts receivable and ending stock of over 30% following the reduction in sales and higher current

liabilities, in particular other accounts payable (for copper hedging). The cash cycle in 2008 and 2007 was 103 days and 95 days respectively. The increase was due to a credit extension to one of the customers. Source of Capital KCE had a positive cash flow from operation, which was sufficient for working capital required in the normal course of business, including interest payments. Furthermore, credit lines and short-term facilities were available from many financial institutions, in addition to the continuing support on long-term loans for all investment projects. This year, the company did not seek funds from the capital market, since the market situation was not appropriate for a capital increase. Capital Expenditure Total capital expenditure for 2008 amounted to THB 986 million. This included several investment projects totaling THB 546 million; the new Inner line of KCE Electronics Pcl.; the capacity expansion project at KCE Technology; and the project at Thai Laminate Manufacturing Co., Ltd. Apart from new investments, there was regular machine replacement, machine modification projects, process line improvement and other production support systems. Moreover, KCE is installing SAP, aimed at a full integration of all systems in all plants to facilitate effective operation administration. Potential Factors that could Influence Company Performance KCE’s product is a printed circuit board that is the basis component for all electronics goods, but is mostly used for electronic equipment in an automobile. Therefore, the company’s business is heavily dependent on the automotive sector, which has been affected by the global economic recession. This has led to a market downturn and a reduction in sales for all customers. This is the predominant factor influencing the company’s performance. Annual Report 2008 77


เนื่องด้วยบริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้ในรูปเงิน ดอลลาร์ ส หรั ฐ เป็ น หลั ก และมี ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ในรู ป เงิ น ดอลลาร์สหรัฐด้วยเช่นกันประมาณร้อยละ 50 ของรายได้ จากการขาย การเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินบาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ จะมีผลกระทบต่อกำไรของบริษัทฯและ บริษัทย่อยตามสัดส่วนของการเปลี่ยนแปลงอัตราแลก เปลี่ยนดังกล่าว รายการยกเว้น เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากการ ผันผวนของราคาทองแดง บริษัทจึงมีนโยบายในการทำ สั ญ ญาป้ อ งกั น ความเสี่ ย งไว้ เ ป็ น จำนวนหนึ่ ง เพื่ อ ครอบคลุมคำสั่งซื้อของกลุ่มลูกค้าเฉพาะในอุตสาหกรรม ยานยนต์ที่ได้มีการตกลงราคาขายเป็นรายปีไว้แล้วอย่าง แน่นอน ในปี 2551 บริษัทได้ทำสัญญาให้สิทธิแก่ธนาคาร ในต่างประเทศแห่งหนึ่งในการขายทองแดงจำนวน 1,050 ตันในอนาคต โดยธนาคารต้องใช้สิทธิภายใน 1 มกราคม 2552 สั ญ ญามี ร ะยะเวลาครบกำหนดในระหว่ า งเดื อ น มกราคม ถึ ง มิ ถุ น ายน 2552 โดยมี ร าคาตามสั ญ ญา เท่ากับ $ 7,200 ต่อตัน ต่อมา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ราคาตลาด LME ของทองแดงปรั บ ตั ว ลดลงเหลื อ

$ 2,902 ต่อตัน ซึ่งตามมาตรฐานการบัญชี บริษัทฯและ บริษัทย่อยต้องรับรู้ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการ เปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของสัญญาป้องกันความเสี่ยง ดังกล่าวในงบกำไร-ขาดทุนของบริษัทฯและบริษัทย่อย

78 รายงานประจำปี 2551

ในทันที (ณ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯได้บันทึกขาดทุน ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง จำนวน 220 ล้านบาท) อย่างไรก็ตาม ราคาตลาดของทองแดงได้เริ่มขยับสูงขึ้นในต้นปี 2552 ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยจะเริ่ ม รั บ รู้ ก ำไรจากการ เปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของสัญญาป้องกันความเสี่ยง ดังกล่าวในปีหน้า ทั้งนี้เป็นไปตามหลักการที่ว่า ในช่วง เวลาหนึ่งๆ ขาดทุนจากสัญญาป้องกันความเสี่ยงจะถูก ชดเชยด้วยกำไรจากการซือ้ วัตถุดบิ ในราคาตลาดซึง่ ถูกลง ด้วยเช่นกัน แผนการดำเนินงานในอนาคต บริ ษั ท จะยั ง คงให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การพั ฒ นา เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ระดั บ สู ง ควบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นา คุณภาพของผลิตภัณฑ์เพื่อคงฐานะผู้ผลิต PCB สำหรับ รถยนต์รายใหญ่อันดับที่ 3 ของโลกต่อไป แต่จากสภาวะ เศรษฐกิจโลกที่ถดถอยซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อบริษัทฯและ บริษัทย่อยในขณะนี้ ทำให้บริษัทฯต้องชะลอการลงทุนใน โครงการต่างๆ ไว้ระยะหนึง่ ก่อนจนกว่าสถานการณ์ตลาด จะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน นอกจากนั้น ในปี 2552 บริ ษั ท จะเน้ น เรื่ อ งการใช้ ท รั พ ยากรการผลิ ต อย่ า งมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยจัดทำโครงการ Six Sigma ใน ทุ ก หน่ ว ยงานและใช้ ม าตรการในการควบคุ ม ค่ า ใช้ จ่ าย อย่างจริงจัง โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มอัตรากำไรจาก การดำเนินงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมยิ่งขึ้น


KCE sales are mostly denominated in US dollar terms and 50% of the raw material costs are in US dollars. Therefore, fluctuation in currency exchange rates would affect the company’s financial performance accordingly. Exceptional Items To mitigate the impact of uncertain raw material prices encountered in 2008, the company has entered into hedging for copper prices for a quantity that covers the company’s copper requirements for most of its automotive customers’ purchase orders, for which the product selling price has been agreed annually. In 2008, the company entered into a put option agreement with an overseas bank in respect of the future sales of 1,050 tons of copper. The bank exercised the option on 1 January 2009 and the contract has a maturity date between January and June 2009, with a contract price of US$ 7,200 per ton. As at 31 December 2008, the copper price was down to US$ 2,902 per ton (LME price) and, according to accounting standards, the forward contract must be mark-to-market at its fair value. The change in the fair value of the

total contract was immediately recognized in the income statement as an unrealized loss from hedging activities (THB 220 million) in the fourth quarter 2008. However, the LME price started to rise in the month following recognition, and the loss will be partially regained in 2009. In addition, the loss from the contract will be offset by a gain from actual purchase at a lower market price at a later date. Future Plan KCE will continue to focus on advanced technology development and quality performance in order to maintain its rank as the third largest automotive PCB supplier in the world. However, the current global economic crisis has led to a necessary suspension of capital investments in all plants until the situation is clearer. In 2009, high priority would be given to the most effective use of resources, for instance implementing the Six Sigma project in all work areas and taking extensive measures for cost control, aiming at a considerable improvement in operating profit.

Annual Report 2008 79


บุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วมและรายการระหว่างกัน คณะกรรมการของบริษัทฯ ปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ดีตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อำนาจการควบคุมของบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) มีกรรมการและกรรมการบริหาร จำนวน 8 ท่าน คณะกรรมการบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย 1. นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ 2. นายปัญจะ เสนาดิสัย กรรมการ 3. แพทย์หญิงจันทิมา องค์โฆษิต กรรมการ 4. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการและกรรมการบริหาร 5. พลโท น.พ.สุปรีชา โมกขะเวส กรรมการและกรรมการอิสระ 6. นายแพทย์ทองดี ชัยพานิช กรรมการและกรรมการอิสระ 7. นางอุบล จิระมงคล กรรมการและกรรมการอิสระ 8. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ กรรมการและกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัท เค.ซี.อี. อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ประกอบด้วย 1. นายบัญชา องค์โฆษิต กรรมการผู้จัดการ 2. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ 3. นายพิภพ สิริวณิชพันธ์ กรรมการ 4. นายพล ดุริยะบรรเลง กรรมการ 5. นางวรรณวดี พัฒศาสตร์ กรรมการ 6. นางธัญรัตน์ เทศน์สาลี กรรมการ คณะกรรมการบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ประกอบด้วย 1. นายบัญชา องค์โฆษิต กรรมการผู้จัดการ 2. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ 3. นายบุญชาติ วงศ์วัฒนากิจ กรรมการ 4. นายสุรพล ก่อเกิด กรรมการ 5. นางสาวนิตยา โรจนกำพล กรรมการ 6. นางธัญรัตน์ เทศน์สาลี กรรมการ คณะกรรมการบริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ประกอบด้วย 1. นางศิริพรรณ สันธนะพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร 2. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ 3. นายปัญจะ เสนาดิสัย กรรมการ 4. นายรังสิน สืบแสง ประธานกรรมการตรวจสอบ 5. นางทัศนาลักษณ์ สันติกุล กรรมการและกรรมการตรวจสอบ 6. นางทักษิณา เกษมสันต์ ณ อยุธยา กรรมการและกรรมการตรวจสอบ 7. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ กรรมการ 8. นางขนิษฐา สรรพอาษา กรรมการ คณะกรรมการบริษัท ไทย บิสซิเนส โซลูชั่น จำกัด 1. นายอรรถสิทธิ์ องค์โฆษิต กรรมการ 2. นางธัญรัตน์ เทศน์สาลี กรรมการ 3. หม่อมหลวงปิลัม รัชตะนาวิน กรรมการ คณะกรรมการของบริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด ประกอบด้วย 1. นายบัญชา องค์โฆษิต กรรมการ 2. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ อำนาจการควบคุมของบริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด ประกอบด้วย 1. นายบัญชา องค์โฆษิต กรรมการ 2. นางวรลักษณ์ องค์โฆษิต กรรมการ

80 รายงานประจำปี 2551


Persons with vested interest and cross over transactions KCE Board of Directors follow the good corporate governance as set by the Stock Exchange of Thailand. The board is comprised of 8 directors as follows : Board of Directors of KCE Electronics Public Co., Ltd. 1. Mr. Bancha Ongkosit Chairman and Managing Director 2. Mr. Panja Senadisai Director 3. Dr. Chantima Ongkosit Director 4. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director and Executive Director 5. Lt. Gen. Dr. Suprija Mokkhavesa Director and Independent Director 6. Dr. Thongdee Shaipanich Director and Independent Director 7. Mrs. Ubol Chiramongkol Director and Independent Director 8. Mrs. Siriphan Suntanaphan Director and Executive Director Board of Directors of K.C.E. International Co., Ltd. 1. Mr. Bancha Ongkosit Managing Director 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director 3. Mr. Pipop Siriwanichphant Director 4. Mr. Pon Duriyabanleng Director 5. Mrs. Wanvadee Patasart Director 6. Mrs. Tanyarat Tessalee Director Board of Directors of KCE Technology Co., Ltd 1. Mr. Bancha Ongkosit Managing Director 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director 3. Mr. Bunchart Wongwattanakit Director 4. Mr. Surapol Kokoed Director 5. Ms. Nitaya Rojanakamphol Director 6. Mrs. Tanyarat Tessalee Director Board of Directors of Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. 1. Mrs. Siriphan Suntanaphan Chairman 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director 3. Mr. Panja Senadisai Director 4. Mr. Rangsin Suebsang Chairman of Audit Committee 5. Mrs. Thasnalak Santikul Director and Audit Committee 6. Mrs. Thaksina Kasemsant Na Ayutthaya Director and Audit Committee 7. Mr. Pakawat Kowitwattaphong Director 8. Mrs. Kanitha Subpa-asa Director Board of Directors of Thai Business Solution Co., Ltd. 1. Mr. Athasidh Ongkosit Director 2. Mrs. Tanyarat Tessalee Director 3. M.L. Pilam Rajatanavin Director KCE America Inc. consists of 2 directors. 1. Mr. Bancha Ongkosit 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit

Director Director

KCE Singapore Pte. Ltd. consists of 2 directors. 1. Mr. Bancha Ongkosit Director 2. Mrs. Voraluksana Ongkosit Director Annual Report 2008 81


ปัจจัยความเสี่ยงและนโยบายการบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯและบริษทั ย่อย (“กลุม่ บริษทั ฯ”) เป็นผูผ้ ลิต และจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เป็นชิน้ ส่วน สำคัญในการผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทกุ ประเภท ดังนัน้ ปัจจัยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจึงผันแปรไปตามกระแสความ

ผันผวนของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจัยความเสี่ยง ทางด้ า นการผลิ ต รวมถึ ง ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในตลาด

เป้าหมาย โดยปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความผันผวนดังกล่าว อาจมาจากวั ฏ จั ก รของอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ อง

การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี หรือการเปลี่ยนแปลงใน เงือ่ นไขต่างๆ ของตลาด ภาวะเศรษฐกิจ และปัจจัยทางด้าน การผลิตอื่นๆ ปัจจัยความเสี่ยงภายนอกบริษัท • ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย การเติบโตของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ขนึ้ อยูก่ บั สภาวะเศรษฐกิจโลกและสภาวะของอุตสาหกรรมอื่นที่มี ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น อุตสาหกรรม คอมพิ ว เตอร์ แ ละอุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ ง อุ ต สาหกรรม โทรคมนาคม อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้ในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ รวมถึงผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีระดับสูง ทัง้ นี้ การเปลีย่ นแปลงตามวัฏจักรของ อุตสาหกรรมอาจนำไปสู่ความเสี่ยงด้านอื่นๆ และอาจ

ส่งผลกระทบในเชิงลบต่อยอดขายหรือราคาสินค้าของ กลุ่มบริษัทฯได้ กลุ่มบริษัทฯได้มีนโยบายมุ่งเน้นการผลิตสินค้า อิเล็กทรอนิกส์สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ เนื่องจาก เป็ น อุ ต สาหกรรมที่ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งสม่ ำ เสมอ

และเป็นตลาดทีม่ คี แู่ ข่งน้อยราย ผูซ้ อื้ มักจะให้ความสำคัญ ด้านคุณภาพของสินค้าเป็นอันดับแรก ทำให้ผู้ผลิตสินค้า ราคาถู ก ไม่ ส ามารถจะเข้ า มาแข่ ง ขั น ในตลาดนี้ ไ ด้

อย่างไรก็ตาม เพื่อกระจายความเสี่ยง กลุ่มบริษัทฯได้ กระจายการผลิตไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ ด้วย เช่น ในกลุ่มอุตสาหกรรมของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม

กลุ่ ม สิ น ค้ า อุ ป โภค กลุ่ ม อุ ป กรณ์ โ ทรคมนาคม หรื อ

กลุ่มชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เป็นต้น • ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี เนื่ อ งจาก PCB เป็ น ส่ ว นประกอบพื้ น ฐานของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทุ ก ประเภท ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น

ยั ง ไม่ มี เ ทคโนโลยี ห รื อ สิ น ค้ า ชนิ ด ใดมาแทนที่ ก ารใช้

PCB ได้ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ที่เป็นความเสี่ยงของอุตสาหกรรม PCB อาจหมายถึง

การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กี่ ย วกั บ รู ป แบบของผลิ ต ภั ณ ฑ์

82 รายงานประจำปี 2551

การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีหรือกระบวนการผลิต และ การเปลี่ยนแปลงในคุณสมบัติหรือประเภทของวัตถุดิบ

ที่ใช้ในการผลิต PCB ซึ่งอาจทำให้บริษัทต้องลงทุนใน เครือ่ งจักรและอุปกรณ์เพิม่ ขึน้ เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลง ดังกล่าว แนวโน้มของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ในอนาคต

จะมีขนาดเล็กลง แต่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงและ มีความละเอียดซับซ้อนมากขึ้น ทำให้เกิดความต้องการ PCB ที่มีขนาดเล็กลง มีลายวงจรที่ละเอียดซับซ้อน และ มีจำนวนชั้น (Layer) ของแผ่นวงจรมากขึ้น ซึ่งหมายถึง การเปลี่ ย นแปลงทางเทคนิ ค การผลิ ต ที่ ต้ อ งการทั ก ษะ

ในการผลิ ต สู ง มาก เพื่ อ ให้ ไ ด้ PCB คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษ

ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและเสถียรภาพตามต้องการ นอกจากนัน้ ยั ง อาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงประเภทของวั ต ถุ ดิ บ ที่ ใช้ ใ น

การผลิต เช่น การใช้ Laminate ที่เป็น Halogen-Free หรือใช้ Lead-Free ซึ่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากกว่า การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีดงั กล่าวในเบือ้ งต้น อาจมีผลกระทบต่อความสามารถในการผลิต รายได้และ ผลกำไรจากการดำเนินงานอยู่บ้าง แต่กลุ่มบริษัทฯก็ได้ เตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงทาง เทคโนโลยี ดั ง กล่ า วอยู่ ต ลอดเวลา ด้ ว ยการลงทุ น เพื่ อ พัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต รวมทัง้ ขยายกำลัง การผลิต เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้ามาโดยตลอด

ในขณะเดี ย วกั น กลุ่ ม บริ ษั ท ฯก็ มุ่ ง เน้ น การผลิ ต สิ น ค้ า คุณภาพในระดับปานกลางถึงคุณภาพสูง ซึ่งเทคโนโลยี การผลิ ต ระดั บ นี้ ไ ม่ ไ ด้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว

มากนัก รวมถึงการให้ความสำคัญต่อกระบวนการตรวจสอบ คุณภาพสินค้า การส่งสินค้าตรงตามความต้องการของลูกค้า การให้ความช่วยเหลือแก่ลูกค้าในการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่

เพื่อรักษาสัมพันธภาพอันดีกับลูกค้าที่เป็นผู้ผลิตอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้กลุ่มบริษัทฯสามารถรักษาฐานลูกค้า กลุม่ เดิมไว้ได้และมีการปรับตัวตามเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง ไปอยู่เสมอ • ความเสี่ยงทางด้านการตลาดและการแข่งขัน ทางธุรกิจ ความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาด อาจเกิดได้จากปัจจัยภายในประเทศของตลาดผู้ซื้อเอง เช่น จากภาวะเศรษฐกิจ สถานการณ์ทางการเมือง นโยบาย การค้าระหว่างประเทศ สงคราม การก่อการร้าย เป็นต้น และรวมถึงปัจจัยในระดับองค์กรของลูกค้า เช่น มีการ

ควบรวมกิจการ มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการจัดซื้อ


Risk Factors and Risk Management KCE is a manufacturer and exporter of printed circuit boards (PCB), the foundation of most electronic equipment. The risks that the company faces arise mainly from the innate volatility of the electronics industry, production and targeted markets. Factors causing this volatility include the cyclical nature of the electronics industry, changing technology, market conditions, economic risks and production factors, etc. External Risk Factors and Risk Management • World Economy Risk The growth of the electronics industry corresponds with the growth of the world economy and the growth of the industries that require electronic components such as telecommunications, computers, automobile, industrial equipment, high technology instruments and peripherals. Thus, the cyclical change of the economy and the electronics industry can instigate undesirable change in sales volume and price. The company’s strategy has been to concentrate on growing end-markets, including the automotive and industrial sectors, which are more stable, and the high-end consumer electronics market, while maintaining other traditional endmarkets for diversification. • Technology Risk As PCBs remain the basic, irreplaceable component of all electronic products, KCE’s exposure to technological risks is mainly related to the detailed changes in the designs, production techniques and raw material. KCE invests in necessary, new up- to - date equipment to support such changes effectively. As the trend in the electronics industry is to focus on smaller, more efficient and more

complicated designs, PCBs are consequently smaller with more intricate designs and higher layer counts. This results in changes in production technology to produce more efficiency and reliability. Moreover, as the concern for the environment grows, there are more demands for changes in green raw materials such as halogen-free laminate and leadfree PCBs. The previously mentioned changes in technology may affect production capacity, sales and operating profit. However, KCE is constantly prepared to meet such challenges of technological change through continuous research and development to advance the company’s products and production process and to increase the production capacity to meet the needs of customers. As KCE focuses on producing medium to high quality PCBs, the company’s already advanced technology is less affected by technology changes. The company’s policy, which is aimed at quality control, on-time delivery and assistance to customers, has sustained long working relationships with leading international customers worldwide, and helps KCE cope effectively with changing technology. • Market Risk and Competition Risk Many factors affect market risk, ranging from factors of the customer counties, i.e. the economic and political situation, international trade policies, war, unrest and terrorism, etc. to factors arising at the customer level, such as mergers or takeover of companies and changes in buying policies. In order to decrease market risk, KCE diversified its sales across many industries, even though its largest market is the automotive sector, and in regions throughout the world, including Europe, the USA and Asia. Annual Report 2008 83


เป็นต้น กลุม่ บริษทั ฯจึงมีนโยบายกระจายสัดส่วนการตลาด ในกลุ่มอุตสาหกรรมหลายประเภท แม้ว่าจะคงสัดส่วน การตลาดส่วนใหญ่ไว้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ อย่างไร ก็ตาม บริษทั ยังได้กระจายการขายสินค้าไปทัว่ ทุกภูมภิ าค ของโลก เช่น ในยุโรป อเมริกา และเอเชีย ส่วนความเสี่ยงทางด้านการแข่งขันทางธุรกิจนั้น ในด้ า นหนึ่ ง จะเป็ น การแข่ ง ขั น ด้ า นราคา ซึ่ ง คู่ แข่ ง ของ

กลุ่ ม บริ ษั ท ฯจะเป็ น ผู้ ผ ลิ ต ในประเทศจี น และไต้ ห วั น

ซึ่ ง เป็ น ปั ญ หาของผู้ ผ ลิ ต แผ่ น พิ ม พ์ ว งจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์

ทัว่ โลก รวมถึงกลุม่ บริษทั ฯด้วย แม้วา่ กลุม่ บริษทั ฯจะไม่ได้ เป็นคู่แข่งโดยตรงกับผู้ผลิตในประเทศจีน เพราะมีตลาด เป้าหมายคนละกลุ่ม ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นการแข่งขันกับ

ผูผ้ ลิต PCB ในยุโรปทีถ่ กู มองว่ามีเทคโนโลยีทที่ นั สมัยกว่า และมีคุณภาพสูงกว่า PCB ที่ผลิตในประเทศไทย อีกทั้ง ยังมีแหล่งผลิตในยุโรปเอง ซึ่งการขนส่งทำได้สะดวกกว่า อย่างไรก็ดี จากการที่ผู้ผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ถูกกดดัน เรื่องต้นทุนทำให้ต้องหันมาหาซื้อของถูกในตลาดเอเชีย มากขึน้ ส่งผลให้เกิดการย้ายฐานการผลิต PCB จากยุโรป และอเมริกามาทางเอเชียในหลายปีทผี่ า่ นมาอย่างต่อเนือ่ ง และผู้ผลิตที่เป็นคู่แข่งของกลุ่มบริษัทฯในยุโรปก็ค่อยๆ ลดขนาดของธุรกิจลงหรืออาจต้องปิดกิจการไปในที่สุด ปัจจัยความเสี่ยงภายในบริษัท • ความเสี่ยงทางด้านการผลิต เนือ่ งจากสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เป็นสินค้าทีม่ ขี นั้ ตอน และเทคนิคในการผลิตทีซ่ บั ซ้อน ประกอบกับเทคโนโลยีดา้ น การผลิตมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การที่กลุ่มบริษัทฯ

มีการขยายกำลังการผลิตอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ รองรับปริมาณ การสั่งซื้อสินค้าที่เพิ่มขึ้น รวมถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การผลิตเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าตาม เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น อาจเป็นความเสี่ยงของ กลุ่มบริษัทฯอย่างหนึ่ง นอกจากนั้น บริษัทยังมีความเสี่ยงด้านการจัดหา แรงงานที่ มี ทั ก ษะ บริ ษั ท ฯเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของ บุคลากรเนื่องจากการขาดแคลนบุคลากรหรือปัญหาอื่น ด้านแรงงานอาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพ

ในการผลิตและคุณภาพสินค้าได้ ดังนั้น กลุ่มบริษัทฯจึง

ส่ ง เสริ ม การฝึ ก อบรมทางเทคนิ ค และให้ ค วามรู้ อ ย่ า ง

ต่อเนือ่ ง เพือ่ เสริมสร้างทักษะและความรูท้ างด้านเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัยแก่บคุ ลากร รวมถึงการให้คา่ ตอบแทนทีเ่ หมาะสม แก่บุคลากรเพื่อจูงใจและรักษาบุคลากรให้ทำงานกับกลุ่ม บริษัทฯให้ยาวนาน ความเสี่ยงจากอัคคีภัยและภัยธรรมชาติอาจส่งผล เสียหายต่อการดำเนินงานของบริษัทฯได้เป็นอย่างมาก อาจทำให้บริษัทฯต้องเสียลูกค้าไปให้กับคู่แข่งอื่น และ 84 รายงานประจำปี 2551

บริษัทฯอาจต้องหยุดการผลิตซึ่งจะทำให้สูญเสียรายได้ อีกทั้งต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการกลับมาเปิดสาย การผลิตอีกครั้ง ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยทุกแห่ง

จึ ง ทำประกั น การเสี่ ย งภั ย ทุ ก ชนิ ด และประกั น ธุ ร กิ จ

หยุ ด ชะงั ก ไว้ กั บ บริ ษั ท ประกั น ภั ย ที่ มี ฐ านะทางการเงิ น

แข็งแรง และให้มีการทบทวนกรมธรรม์ประกันภัยทุกปี เพื่อให้มั่นใจว่ามีการคุ้มครองความเสียหายอย่างเพียงพอ ในทุกกรณี • ความเสี่ยงจากวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ความเสี่ยงทางด้านวัตถุดิบเกิดขึ้นได้จากการขาด วั ต ถุ ดิ บ ที่ ต้ อ งใช้ ใ นการผลิ ต ซึ่ ง อาจจะนำไปสู่ ก ารหยุ ด

การผลิต หรือการใช้วัตถุดิบที่ด้อยคุณภาพ หรือการปรับ ราคาของวัตถุดิบ ซึ่งบริษัทฯได้ตระหนักถึงความเสี่ยง

ดังกล่าว จึงได้สร้างโรงงานเพื่อผลิตวัตถุดิบสำหรับการใช้ ในกลุ่มบริษัทฯเอง (แผ่นลามิเนตและพรีเพก) โดยจัดตั้ง บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด (TLM) ขึน้ เพือ่ ดำเนินการผลิต ทัง้ นี้ การซือ้ ลามิเนตจาก TLM ช่วยให้ กลุม่ บริษทั ฯ มีความมัน่ ใจว่าวัตถุดบิ หลักจะมีอย่างเพียงพอ และมีคุณภาพและคุณสมบัติตามที่ต้องการเสมอ สำหรับวัตถุดบิ ทีม่ ที องแดงหรือทองเป็นส่วนประกอบ หลั ก เช่ น แผ่ น ลามิ เ นต (Laminate) แผ่ น ทองแดง (Copper Foil) ก้อนทองแดง (Copper anode) และ Gold Salt นัน้ ยังมีความเสีย่ งทางด้านราคาหากราคาตลาด ของทองแดงหรือทองเกิดความผันผวน ดังนั้นบริษัทจึงมี

นโยบายใช้เครื่องมือทางการเงินในการทำสัญญาป้องกัน ความเสี่ยงราคาทองแดงและทองไว้ในปริมาณที่เหมาะสม และตามสถานการณ์ สำหรับการจัดหาวัตถุดบิ และวัสดุจำเป็นในการผลิต อืน่ ๆ กลุม่ บริษทั ได้ทำการคัดเลือกผูผ้ ลิตหรือผูจ้ ดั จำหน่าย ไว้ 2 - 3 รายต่อรายการ อีกทัง้ ได้มกี ารพัฒนาความสัมพันธ์ อันดีกับผู้ผลิตหรือผู้จัดจำหน่ายมาเป็นระยะเวลายาวนาน นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั ยังได้มกี ารติดตามความเคลือ่ นไหว ของราคาตลาดอย่างใกล้ชิดและมีการสำรองวัตถุดิบหลัก ไว้อย่างเพียงพอที่จะทำให้การผลิตสามารถดำเนินไปได้ อย่างเรียบร้อยตามแผนการผลิตที่วางไว้ • ความเสี่ยงทางด้านการเงิน เครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ที่ ส ำคั ญ ของบริ ษั ท ฯและ บริษทั ย่อยตามทีน่ ยิ ามอยูใ่ นมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือ ทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสด ลูกหนี้การค้า เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืม ระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาว นอกจากนี้บริษัทฯและ บริ ษั ท ย่ อ ยยั ง มี ต ราสารอนุ พั น ธ์ น อกงบดุ ล เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสีย่ งจากราคาวัตถุดบิ ดังนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อย


The competitive risk is, on the one hand, price competition, where the competitors are Taiwanese and Chinese PCB manufacturers.

This does not affect only KCE, but all PCB producers in the world. Even though KCE and China do not directly compete, as both serve different customer groups, KCE cannot avoid the impact of this indirect pricing pressure. On the other hand, there is competition among local PCB manufacturers in Europe and the USA. PCBs produced in Europe are perceived to be of better quality than PCBs made in Thailand, besides the transportation being more convenient. However, the price pressure will drive most electronic equipment manufacturers to turn to Asia for a low price product. As a result, the migration of PCB production from Europe and the USA has accelerated. It is expected that PCB plants in Europe and the USA would continue to downsize and probably many more will close down. Internal Risk Factors and Risk Management • Production Risk Production can be affected by the changes caused by the constant demand for new production technologies as well as the expansion of production capacity to meet the needs of the customers. KCE continues to improve and develop its production techniques to overcome this issue. A knowledgeable and skilled labor force is crucial to the company’s success. Labor shortages or any labor-related problems would directly result in lower productivity and product reliability. Continuous technical training and proper education are provided to ensure the effectiveness and skill development of KCE staff. KCE shows a strong commitment to its workforce and provides appropriate incentives and benefits to employees to ensure a long-term and rewarding relationship. Production may be at risk due to fire and natural disasters, as the company may lose its customers to a competitor, the production must be

stopped and there is additional cost for the line re-start. Therefore, the company and its subsidiaries hold an insurance policy to protect from possible damage caused by fire and business interruptions created because of plant suspension. An annual review is carefully conducted to ensure that the proper coverage is maintained for all eventualities. • Raw Material Risk Raw material risk is associated with key materials shortages that lead to an unplanned line-down, the usage of improper specification or sub-standard quality, as well as a rising in material price. KCE invested in its subsidiary, Thai Laminate Manufacture Co., Ltd. (TLM) to produce Laminate and supply all materials to other PCB plants of KCE. This helps KCE to secure the availability of key raw materials and be able to optimize the usage of such materials, as TLM can supply a specific size and type that further eases the production process. Raw materials that are associated with copper and gold - laminate, copper foil, copper anode and gold salt - have a price risk, as they are dependent on the market price of copper and gold. The company’s policy is to use a financial derivative to hedge the commodity price as appropriate. KCE sources other raw materials and supplies from two or three main suppliers for each item from the Approved Vender List. The company has forged good relationships with its major suppliers, supported by its long track record. The global price of raw material is closely monitored and inventories assured to be adequate for smooth and continuous operation. • Financial Risk The financial instruments, as defined under Thai Accounting Standard No. 48, “Financial Instruments : Disclosure and Presentations”, principally comprise cash and cash equivalents, trade accounts receivable, investments, trade accounts payable, and short- and long-term loans. Annual Report 2008 85


จึงมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินและ ตราสารอนุพนั ธ์ดงั กล่าว ซึง่ บริษทั ฯมีนโยบายในการบริหาร ความเสี่ยงดังนี้

และหนี้ สิ น ดั ง กล่ า วมี สั ด ส่ ว นและเงื่ อ นไขที่ ส มดุ ล กั น (Natural Hedging) และเน้นการสร้างกระแสเงินสดรับ และจ่ า ยให้ ส อดคล้ อ งกั น นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯและ

บริษัทย่อยได้มีนโยบายการบริหารความเสี่ยงจากอัตรา

ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ แลกเปลี่ยน โดยเน้นการบริหารความเสี่ยงตามธุรกรรม

บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งด้ า นการให้ การค้า (Transaction risk) ตามสถานการณ์และคาดการณ์ สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า ฝ่ายบริหารควบคุม อัตราแลกเปลีย่ น เป็นผลให้บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ตกลง ความเสีย่ งนีโ้ ดยการกำหนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการ ทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากับธนาคาร ควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อย พาณิชย์ไว้จำนวนหนึ่ง ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกิน จึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจาก หนึ่งปี เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยงจาก การให้สนิ เชือ่ ดังกล่าว นอกจากนี้ การให้สนิ เชือ่ ของบริษทั ฯ อัตราแลกเปลี่ยน และบริษัทย่อยมีการกระจายตัวตามฐานของลูกค้าซึ่งมี จำนวนมากราย และลูกหนี้ส่วนใหญ่ล้วนมีความสามารถ • ความเสี่ยงจากการไม่ได้รับชำระค่าสินค้า ในการชำระหนีท้ ดี่ ี จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อย จากตัวแทนจำหน่าย ปัจจุบันบริษัทฯขายสินค้าผ่านตัวแทนขายที่ไม่ใช่ อาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือ มูลค่าตามบัญชีของ บริ ษ ท ั ย่ อยของบริษทั ฯในสัดส่วนประมาณร้อยละ 60 ของ ลูกหนี้ที่แสดงอยู่ในงบดุล รายได้จากการขายทั้งหมด โดยการขายส่วนหนึ่งเป็นการ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ขายขาดให้กับบริษัทตัวแทน และมีการขายอีกส่วนหนึ่ง

บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งจากอั ต รา ที่บริษัทฯจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าโดยตรง โดยให้บริษัท ดอกเบี้ยอันเกี่ยวกับเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงิน ตัวแทนเป็นผู้ติดตามการชำระเงินค่าสินค้าจากลูกค้าแล้ว เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงินกูย้ มื จากธนาคาร อย่างไร นำส่งให้แก่บริษทั ตามตารางเวลาทีไ่ ด้ตกลงกัน ทำให้บริษทั ก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ มีความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับชำระเงินทั้งจากบริษัทตัวแทน มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาดหรือมีอัตรา และจากลูกค้า ซึง่ จะกระทบกับสภาพคล่องและการดำเนินงาน ดอกเบี้ ย คงที่ ซึ่ ง ใกล้ เ คี ย งกั บ อั ต ราตลาดในปั จ จุ บั น ของบริษัทฯ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทย่อย อย่ า งไรก็ ต าม ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมากลุ่ ม จึงอยู่ในระดับต่ำ บริษัทฯไม่เคยประสบปัญหาในการติดตามการชำระหนี้ ที่ ผ่ า นมายั ง มิ ไ ด้ มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งมื อ อนุ พั น ธ์ ท าง จากบริษัทตัวแทน ไม่ว่าจะเป็นการติดตามการชำระหนี้ การเงิน เพือ่ บริหารความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงในอัตรา ค่าสินค้าทีบ่ ริษทั จัดส่งให้บริษทั ตัวแทน หรือการรับเงินโอน ดอกเบี้ ย อย่ า งไรก็ ต าม ในอนาคตกลุ่ ม บริ ษั ท ฯอาจใช้ ค่าสินค้าที่บริษัทตัวแทนติดตามการชำระเงินจากลูกค้า

เครือ่ งมืออนุพนั ธ์ทางการเงินในการบริหารจัดการความเสีย่ ง ให้แทนบริษัทฯ เนื่องจากบริษัทตัวแทนหลายแห่งมีฐานะ จากอัตราดอกเบี้ยของหนี้สินระยะยาว หากอัตราดอกเบี้ย เป็นบริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วมของกลุม่ บริษทั ฯ ส่วนบริษทั ในตลาดมีความผันผวนและมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นอย่าง ตัวแทนรายอื่นที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทฯนั้น

ต่อเนื่อง ก็มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่ดีมาเป็นระยะเวลานานกว่า 20 ปี นอกจากนีล้ กู ค้าส่วนใหญ่ของกลุม่ บริษทั ฯเป็นบริษทั ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งจากอั ต รา ชั้นนำของโลกที่มีฐานะทางการเงินที่มั่นคงแข็งแรง ทำให้ แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเกี่ยวเนื่องกับการขาย บริษัทมีความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับชำระหนี้ค่อนข้างต่ำ กรณี สินค้า การซื้อวัตถุดิบ เงินกู้ยืมเป็นเงินตราต่างประเทศ ที่เกิดการจ่ายเงินล่าช้าเกินกว่ากำหนดชำระนั้น โดยมาก บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี น โยบายการบริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ จะเกิดจากปัญหาอืน่ ๆ ซึง่ ไม่เกีย่ วกับหนีเ้ สียหรือมีการผิด และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศโดยจะจัดให้สนิ ทรัพย์ เงื่อนไขในการชำระเงินแต่อย่างใด

86 รายงานประจำปี 2551


In addition, the company and its subsidiaries have off-balance sheet derivatives for hedging the risk from the commodities price. Credit Risk The company and its subsidiaries’ credit risk exposure are related to trade credit given to an accounts receivable. The management approves customer credit based on the company’s credit policy and regularly reviews customers’ status when necessary. Therefore, it is not expected that there will be a materiality loss from uncollectible debt. Besides, the credit is spread over a large customer base and most of the customers are financially healthy, thus the maximum loss from the default would equals to the book value of the accounts receivable, stated in the current company’s balance sheet. Interest Rate Risk The risk exposure applies to cash at bank, overdrawn accounts and bank loans. In general, the assets and liabilities’ interest rates correspond with the market interest rates or have a fixed interest rate that close to the current market rate, so the interest rate risk is low. So far, the company has never used financial derivative for interest rate risk management, unless the market interest rate fluctuates and as the trend is increasing. The Foreign Exchange Risk The foreign exchange risk to KCE and its subsidiaries are connected to export sales, purchase of raw materials and supplies, and loans denominated

in foreign currencies. KCE and its subsidiaries minimize the exchange risk through a natural hedging policy and focus on balancing the assets and liabilities. Moreover, the KCE group hedged its transactional exposure to manage foreign exchange risk and entered into forward exchange contracts on receivables or payables, as deemed appropriate. • Risk on Non-payment from Sales Representatives and Customers Currently, 60% of the total sales of the KCE group are transacted through the KCE sales representatives and the remaining 40% of sales are shipped directly to customers. Sales representatives also collect the payments from customers on behalf of KCE and remit the money to KCE on the agreed schedule. While non-payment from representatives may pose a financial risk, there has never been such an incident. Some representatives are a KCE associated company, while some representatives are not related company, but have had a good and long lasting relationship with KCE for over 20 years. Moreover, the majority of KCE customers are world leading companies with strong financial status and history of long working relationships with KCE. All these factors help eliminate the risk of non-payment from representative and customers. Usually, delayed payment occurs as a result of other operational issues and not relating to non-payment.

Annual Report 2008 87


ข้อมูลทั่วไป บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) เดิมชือ่ บริษัท ควงเจริญ อีเลคโทรนิคส์ จำกัด สำนักงานและ โรงงานตัง้ อยูเ่ ลขที่ 125-125/1, 1 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรม ลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง แขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุ ง เทพฯ โทรศั พ ท์ (02) 326-0196 โทรสาร (02)

326-0300 บริษัทฯ เริ่มก่อตั้งในปี 2525 ได้เข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2531 และแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนในปี 2535 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 500 ล้านบาท เรียกชำระแล้วรวม 462.497 ล้านบาท บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ PCB (PRINTED CIRCUIT BOARD) ซึง่ เป็นแผ่น EPOXY GLASS ทีม่ สี อื่ นำไฟฟ้า เช่น ตะกั่ว ทองแดง เคลือบอยู่ภายใต้เครื่องหมายการค้า “KCE” ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็นชิ้นส่วนสำคัญขั้นพื้นฐาน ในการประกอบเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สาร โทรคมนาคม เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เกือบทุกประเภท บริ ษั ท เคซี อี อี เ ลคโทรนิ ค ส์ จำกั ด (มหาชน) บริษทั แม่เป็นผูผ้ ลิตแผ่น PCB ประเภท MULTILAYER ปัจจุบันมีบริษัทย่อยคือ บริษัทย่อย

(LAMINATE) และ PRE IMPREGNATED FIBERGLASS (PREPREG) ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิต

แผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ให้กับบริษัทและบริษทั ย่อย ทั้ง 2 บริษัท บริษัทและบริษัทย่อยถือหุ้นรวมเป็นร้อยละ 71.20 ของทุนจดทะเบียนเรียกชำระแล้ว

4. บริ ษั ท เคซี อี (ประเทศไทย) จำกั ด ซึ่ ง ได้

จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั เมือ่ วันที่ 8 มีนาคม 2550 ปัจจุบนั มีทนุ จดทะเบียนเรียกชำระแล้ว 3,600,000.- บาท ดำเนิน ธุรกิจเป็นตัวแทนจำหน่าย PCB ในประเทศไทย บริษัท ถือหุน้ ร้อยละ 60.00 บริษทั อิฮาร่า อีเลคโทรนิคส์ อินดัสตรี้ จำกัด ซึง่ เป็นผูจ้ ดั จำหน่าย PCB ในประเทศญีป่ นุ่ ถือหุน้ ร้อยละ 39.00 และกรรมการของบริษัทถือหุ้นรวมร้อยละ 0.86 ของทุนจดทะเบียนเรียกชำระแล้ว 5. บริ ษั ท ไทย บิ ส ซิ เ นส โซลู ชั่ น จำกั ด ซึ่ ง ได้

จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2551 ปัจจุบนั มีทนุ จดทะเบียนเรียกชำระแล้ว 3,000,000.- บาท ดำเนินธุรกิจ รับเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ และบริการ โครงการต่างๆ ในด้านระบบคอมพิวเตอร์ เกีย่ วกับการติดตัง้ ระบบคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรม โดยบริษัทถือหุ้น ร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียนเรียกชำระแล้ว บริษัทร่วม

1. บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด ปัจจุบนั มีทนุ จดทะเบียนเรียกชำระแล้ว 100.0 ล้านบาท ดำเนินธุรกิจ เป็ น ผู้ ผ ลิ ต และจำหน่ า ย PCB ประเภท DOUBLE– SIDED PTH โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 94.99 ของทุน

จดทะเบียนเรียกชำระแล้ว

บริษัทฯ มีสำนักงานขายในยุโรป อเมริกา และ สิงคโปร์ ดำเนินงานด้านการขายและการตลาด เพือ่ ติดต่อ กับลูกค้าในประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยบริษัทถือหุ้นของ บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ อยู่ 50.00% และบริษัท เคซีอี สิงคโปร์ พีทีอี จำกัด อยู่ 49.00%

2. บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ปัจจุบันมีทุน

จดทะเบียนเรียกชำระแล้ว 1,150 ล้านบาท ดำเนินธุรกิจ เป็นผู้ผลิตและจำหน่าย PCB ประเภท MULTILAYER 4 ถึง 6 ชั้นเป็นหลัก บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100.0 ของทุน จดทะเบียนเรียกชำระแล้ว

บุคคลอ้างอิง

3. บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียนเรียกชำระแล้ว 250.0 ล้านบาท ดำเนินธุรกิจเป็นผู้ผลิต COPPER CLAD LAMINATE 88 รายงานประจำปี 2551

นายทะเบียน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน เลขที่ 2/7 หมูท่ ี่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 02-596-9343-63 โทรสาร : 02-832-4994-6


General Information KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED, originally known as Kuang Charoen Electronics Company Limited, is located at

125-125/1, 1 Moo 4 Lat Krabang Industrial Estate, Chalongkrung Road, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok 10520. Tel : (02) 326-0196 Fax : (02) 326-0300 Founded in 1982, the company became a public company listed on the Stock Exchange of Thailand in 1988, and conversed its status from a limited company to a Public Company Limited in 1992. The registered capital is now Baht 500 million, paid up Baht 426.497 million. The core business of the company is the production and distribution of Printed Circuit Board (PCB), essentially electrically conductive circuits manufactured from an epoxy glass copper lead laminated under the “KCE� trademark. The multilayer PCBs with higher layer count produces at KCE Electronics Public Company Limited (Parent Company) at Lat Krabang Industrial Estate. Group of KCE is consisting

of 5 subsidiaries. 1. The double sided PCBs produces at K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary of KCE (94.99% owned) at Bangpoo Industrial Estate. 2. KCE Technology Co., Ltd., a subsidiary of KCE (100% owned) at Hi-Tech Industrial Estate to expand the capacity of PCB manufacturing. 3. Thai Laminate Manufacturers Co., Ltd., a subsidiary of KCE (71.20% owned) produces a major PCB Raw material, prepreg and laminate.

4. KCE (Thailand) Company Limited was incorporated as a limited company on March 8, 2007 with a paid up capital of Baht 3,600,000 to be the local distributor of PCBs in Thailand. KCE holds 60%, Ihara Electronics Industry, the PCB distributor in Japan, holds 39% and the Board of Director of the Company hold 0.86% of the registered share. 5. Thai Business Solution Co., Ltd. (TBS) was incorporated as a limited company under Thai law on May 26th, 2008. TBS has registered share capital and fully paid up Baht 3 million. Performs business in IT related project focus on Software development, Hardware installation, Consultation and Implementation. KCE holds 49% of registered share capital of TBS. Associated Companies KCE has a network of sales offices in Singapore, KCE Singapore Pte. Ltd. (49.00% owned), in America, KCE America Inc. (50% owned), and in Europe, offering full commercial and technical support to the customers worldwide. Other References Registrar Thailand Securities Depository Company Limited. Capital Market Academy Building 2/7 Moo 4 (North Park Project) Vipavadi - Rungsit, Tung Song Hong Laksi, Bangkok 10210 Thailand Tel : 02-596-9343-63 Fax : 02-832-4994-6

Annual Report 2008 89


ผู้สอบบัญชี นางสายฝน อินทร์แก้ว ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4434 หรือ นางสาวกมลทิพย์ เลิศวิทย์วรเทพ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4377 หรือ นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3734 แห่งบริษทั เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 02-264-0777, 02-661-9190 โทรสาร : 02-264-0789-90

90 รายงานประจำปี 2551

ที่ปรึกษาทางกฎหมาย บริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำกัด 540 อาคารเมอร์คิวรี่ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 02-264-8000 โทรสาร : 02-657-2222


Auditor Mrs. Saifon Inkaew Certified Public Account Registration No. 4434 and/or Ms. Kamontip Lertwitworatep Certified Public Account Registration No. 4377, and /or Ms. Ratana Jala Certified Public Account Registration No. 3734 Ernst & Young Office Limited. 33rd Floor, Lake Ratchada Office Complex 193/136-137 New Ratchadapisek Road Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel : 02-264-0777, 02-661-9190 Fax : 02-264-0789-90

Law Consultant Office Weerawong, Chinnavat & Peangpanor Company Limited 540 Mercury Tower, 22nd Floor Ploenchit Road, Lumpini Pathumwan, Bangkok 10330 Thailand Tel : 02-264-8000 Fax : 02-657-2222

Annual Report 2008 91


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย รวมทั้งสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏ ในรายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าวจัดขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบาย บัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ และใช้ดุลพินิจอย่างระมัดระวัง ด้วยประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นประโยชน์ ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการได้จัดให้มีและดำรงรักษาไว้ซึ่งระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจ ได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางการบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำคัญ ทัง้ นีค้ ณะกรรมการได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบซึง่ เป็นกรรมการทีเ่ ป็นอิสระ ดูแลรับผิดชอบเกีย่ วกับคุณภาพ ของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ ปรากฏในรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำปีแล้ว คณะกรรมการฯมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถ สร้างความเชื่อมั่นได้ของงบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

92 รายงานประจำปี 2551

นายบัญชา องค์โฆษิต ประธานกรรมการ


Report of the Board of Directors’ Responsibilities for Financial Statements The Board of Directors is responsible for the consolidated financial statements of the Company and subsidiaries and financial information stated in the Annual Report. The financial statements were prepared in accordance with generally accepted appropriate accounting principles and practices on a regular basis in Thailand. Material information was sufficiently disclosed in the Notes of the Financial Statements. The Board appointed the Audit Committee who compromises of Independent Directors to oversee the quality of financial reports and internal control of the Company. The Audit Committee’s views regarding this issue is disclosed in this Annual Report under the section of the Audit Committee’s Report. In the Board of Directors’ opinion, the internal control system is adequate and can assure the reliability of the consolidated financial statements of the Company and subsidiaries as at December 31, 2008.

Mr. Bancha Ongkosit Chairman

Annual Report 2008 93


สารบัญงบการเงิน • รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • งบดุล • งบกําไรขาดทุน • งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น • งบกระแสเงินสด • หมายเหตุประกอบงบการเงิน


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึง่ ผูบ้ ริหารของกิจการเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้า เป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ

ซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะของบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป ข้าพเจ้าขอให้ข้อสังเกตตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1.2 ว่าจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจบริษัทฯและ บริษัทย่อยได้รับผลกระทบจากการลดลงของปริมาณการสั่งซื้อจากลูกค้าส่งผลให้บริษัทย่อยแห่งหนึ่งหยุดดำเนินการ ผลิตสินค้าเป็นการชั่วคราวตั้งแต่เดือนธันวาคม 2551 อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ดำเนินการ ติดต่อกับลูกค้าหลายรายเพื่อเพิ่มปริมาณสั่งซื้อในอนาคตและวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงโรงงานของบริษัทย่อยที่ หยุดดำเนินการผลิต เพื่อให้สามารถรองรับการผลิตสินค้าที่หลากหลายขึ้นในอนาคต ดังนั้น ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ และบริษทั ย่อยเชือ่ ว่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะสามารถกลับมาดำเนินการเป็นปกติในอนาคตได้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อย ยังคงจัดทำงบการเงินที่รายงานนี้ตามหลักการดำเนินงานต่อเนื่องของกิจการ โดยถือว่าการขายหรือเรียกคืนสินทรัพย์ และการจ่ายชำระหนีส้ นิ จะเป็นไปตามปกติธรุ กิจโดยไม่คาดว่าจะมีการหยุดชะงักของการดำเนินงานตามปกติของบริษทั ฯ และบริษัทย่อย สายฝน อินทร์แก้ว ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4434 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ : 24 กุมภาพันธ์ 2552

Annual Report 2008 95


งบดุล บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2551 2550 2551 2550 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน 117,587,969 190,165,371 30,651,325 83,320,822 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8 ลูกหนีก้ ารค้า 9 474,230,226 526,672,107 411,845,941 276,460,821 กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 882,975,534 1,473,871,954 272,532,154 436,452,064 กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน 1,357,205,760 2,000,544,061 684,378,095 712,912,885 (4,540,200) (2,420,485) (4,260,556) (2,357,396) หัก : ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ 1,352,665,560 1,998,123,576 680,117,539 710,555,489 ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ ลูกหนีอ้ นื่ และเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ 9 561,376 336 19,332,136 16,904 แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน - สุทธิ 10 1,375,077,962 1,711,323,322 431,241,263 479,003,298 สินค้าคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ 18,327,046 5,531,090 5,772,075 1,267,050 ภาษีมลู ค่าเพิม่ รอเรียกคืน 20,465,741 48,033,304 4,368,677 4,682,674 ลูกหนีอ้ นื่ 3,596,580 15,871,494 814,796 6,821,445 รายได้คา้ งรับ 113,431,762 - - - รายได้คา่ ประกันความเสียหายค้างรับ 6,440,161 7,713,995 1,754,650 2,799,045 ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า 33,095,353 32,626,728 13,522,330 3,438,681 อืน่ ๆ 195,356,643 109,776,611 26,232,528 19,008,895 รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ 3,041,249,510 4,009,389,216 1,187,574,791 1,291,905,408 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 11 - - 920,568,175 919,098,175 เงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุทธิ 12 87,093,603 82,173,056 2,422,385 2,422,385 เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนในหลักทรัพย์ 772,218 1,494,103 772,218 1,494,103 ในความต้องการของตลาด เงินมัดจำและเงินจ่ายล่วงหน้า 31,303,826 12,170,904 31,303,826 11,030,583 ค่าซือ้ สินทรัพย์ 13 6,186,890,650 5,764,364,493 1,539,742,796 1,379,024,957 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 14 26,399,128 10,233,172 11,326,693 1,448,685 สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน - สุทธิ 4.1 - (7,187,382) - - ค่าความนิยมติดลบ - สุทธิ 10,932,539 4,327,085 10,473,889 3,925,835 เงินมัดจำและอืน่ ๆ 6,343,391,964 5,867,575,431 2,516,609,982 2,318,444,723 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 9,384,641,474 9,876,964,647 3,704,184,773 3,610,350,131 รวมสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

96 รายงานประจำปี 2551


งบดุล (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม หมายเหตุ 2551 2550 หนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ หนีส้ นิ หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื 15 4,460,734,345 3,724,086,344 ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้า 9 49,093,414 51,264,377 กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 817,291,935 1,370,045,041 กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน 866,385,349 1,421,309,418 รวมเจ้าหนีก้ ารค้า ส่วนของเจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน 16 71,459,774 23,249,671 ทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาว 17 395,131,250 573,383,283 ทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี เจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรอง 9 11,300,858 9,155,383 จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ 116,471,331 206,637,633 เจ้าหนีอ้ นื่ จากการซือ้ อุปกรณ์ 54,806,043 184,512,162 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย 306,600,840 100,906,122 เจ้าหนีอ้ นื่ 31,709,119 29,745,487 ดอกเบีย้ ค้างจ่าย 7,916,211 7,395,635 อืน่ ๆ 517,503,544 529,197,039 รวมหนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ 6,322,515,120 6,280,381,138 รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน เจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ 16 192,706,421 82,377,862 จากส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนที ่ 17 559,178,876 804,112,967 ถึงกำหนดชำระภายในหนึง่ ปี 751,885,297 886,490,829 รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน 7,074,400,417 7,166,871,967 รวมหนีส้ นิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 1,171,351,999 869,104,492 410,642,276 352,812,201 202,593,477 319,065,250 613,235,753 671,877,451 68,205,930 22,980,439 65,538,824 63,796,691 23,385,318 7,860,577 20,213,437 153,109,160 23,431,357 65,936,100 75,651,541 2,036,285 5,312,586 3,052,673 1,484,766 2,033,340 126,093,687 226,167,558 2,067,811,511 1,861,787,208 185,898,256 82,377,862 35,869,000 43,380,460 221,767,256 125,758,322 2,289,578,767 1,987,545,530

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ Annual Report 2008 97


งบดุล (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2551 2550 2551 2550 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 18 ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 500,000,000 หุน้ 500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนออกจำหน่ายและชำระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ 462,497,269 หุน้ 462,497,269 462,497,269 462,497,269 462,497,269 มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 ส่วนเกินมูลค่าหุน้ (7,993,103) (10,948,216) - - ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ ง - (9,209,143) - (3,668,754) รอตัดบัญชี กำไรสะสม 19 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย - สำรองสำหรับ 18.3 6,374,591 - 6,374,591 - หุน้ สามัญซือ้ คืน 554,310,634 989,319,751 (115,286,263) 96,581,086 ยังไม่ได้จดั สรร (ขาดทุนสะสม) 2,082,584,391 2,499,054,661 1,420,980,597 1,622,804,601 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ 18.2 (6,374,591) - (6,374,591) - หัก : หุน้ สามัญซือ้ คืน 2,076,209,800 2,499,054,661 1,414,606,006 1,622,804,601 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ - สุทธิ 18.4 - (14,809,577) - - หุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบริษทั ย่อย 234,031,257 225,847,596 - - ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั ย่อย 2,310,241,057 2,710,092,680 1,414,606,006 1,622,804,601 รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ 9,384,641,474 9,876,964,647 3,704,184,773 3,610,350,131 รวมหนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

98 รายงานประจำปี 2551


งบกำไรขาดทุน บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2551 2550 2551 2550 รายได้ 9 7,667,337,486 8,365,410,830 3,032,294,514 2,937,393,828 รายได้จากการขาย รายได้อนื่ - 49,694,907 - 16,675,886 กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น 9 30,722,611 32,300,303 30,147,408 31,063,508 ดอกเบีย้ รับ 28,620,929 - 9,636,266 - เงินชดเชยค่าประกันความเสียหาย 169,819,969 131,307,192 64,896,708 34,872,856 อืน่ ๆ 229,163,509 213,302,402 104,680,382 82,612,250 รวมรายได้อนื่ 7,896,500,995 8,578,713,232 3,136,974,896 3,020,006,078 รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ย 9 6,602,157,032 6,894,218,870 2,730,641,139 2,511,007,989 ต้นทุนขาย 9 678,272,573 721,150,936 258,785,562 260,143,238 ค่าใช้จา่ ยในการขาย 405,120,075 383,370,762 143,420,770 139,638,378 ค่าใช้จา่ ยในบริหาร 20,467,717 - 7,374,227 - ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น 295,691,064 - 101,084,840 - ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ ง 2,374,635 1,489,882 3,221,079 226,689 ค่าใช้จา่ ยอืน่ 8,004,083,096 8,000,230,450 3,244,527,617 2,911,016,294 รวมค่าใช้จา่ ย กำไร(ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จา่ ย ทางการเงิน ส่วนแบ่งกำไรจากเงิน ลงทุน ในบริษทั ร่วมและภาษีเงินได้ (107,582,101) 578,482,782 (107,552,721) 108,989,784 นิตบิ คุ คล (285,350,359) (294,136,508) (60,940,256) (47,253,468) ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน 1,965,434 4,688,915 - - ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม 12 (390,967,026) 289,035,189 (168,492,977) 61,736,316 กำไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 21 (1,567,177) (10,517,497) - - ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล (392,534,203) 278,517,692 (168,492,977) 61,736,316 กำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับปี การแบ่งปันกำไร(ขาดทุน)สุทธิ (399,169,562) 257,426,423 (168,492,977) 61,736,316 ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่ ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของ 6,635,359 21,091,269 บริษทั ย่อย (392,534,203) 278,517,692 รวม หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ Annual Report 2008 99


งบกำไรขาดทุน (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2551 2550 2551 2550 กำไรต่อหุน้ กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน กำไร(ขาดทุน)สุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของ (0.86) 0.66 (0.36) 0.16 ผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่ จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ 18.5 462,218,585 388,386,870 462,218,585 392,958,720 ถ่วงน้ำหนัก (หุน้ ) กำไรต่อหุน้ ปรับลด กำไร(ขาดทุน)สุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของ (0.86) 0.66 (0.36) 0.16 ผูถ้ อื หุน้ บริษทั ใหญ่ จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ 18.5 462,218,585 388,386,870 462,218,585 392,958,720 ถ่วงน้ำหนัก (หุน้ )

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

100 รายงานประจำปี 2551


Annual Report 2008 101

งบการเงินรวม

(หน่วย : บาท)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กำไรสะสม กำไร(ขาดทุน) จัดสรรแล้ว ส่วนของ ทุนเรือนหุน้ ผลต่าง จากการป้องกัน รวมส่วน หุน้ ของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ สำรองสำหรับ ทีอ่ อกและ ส่วนเกิน จากการแปลง ความเสีย่ ง สำรองตาม หุน้ สามัญ หุน้ สามัญ ของผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื โดย ส่วนน้อย ชำระแล้ว มูลค่าหุน้ ค่างบการเงิน รอตัดบัญชี กฎหมาย ซือ้ คืน ยังไม่ได้จดั สรร ซือ้ คืน บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย ของบริษทั ย่อย รวม ยอดคงเหลือ 314,930,000 1,017,395,000 (7,401,612) (4,033,152) 45,000,000 - 736,893,328 - 2,102,783,564 (22,743,814) 203,235,300 2,283,275,050 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ : - - (3,546,604) - - - - - (3,546,604) - - (3,546,604) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ ง - - - (5,175,991) - - - - (5,175,991) - - (5,175,991) รอตัดบัญชี รวมค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วน - - (3,546,604) (5,175,991) - - - - (8,722,595) - - (8,722,595) ของผูถ้ อื หุน้ - - - - - - 257,426,423 - 257,426,423 - 21,091,269 278,517,692 กำไรสุทธิสำหรับปี รวมรายได้(ค่าใช้จา่ ย)ทัง้ สิน้ - - (3,546,604) (5,175,991) - - 257,426,423 - 248,703,828 - 21,091,269 269,795,097 ทีร่ บั รูส้ ำหรับปี โอนกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร - - - - 5,000,000 - (5,000,000) - - - - - เป็นสำรองตามกฎหมาย - - - - - - - 147,567,269 - - 147,567,269 หุน้ สามัญทีอ่ อกจำหน่ายระหว่างปี 147,567,269 บริษทั ย่อยจำหน่ายหุน้ สามัญ 7,934,237 7,934,237 ของบริษทั ฯ - - - - - - - - - - 1,521,027 1,521,027 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ยอดคงเหลือ 462,497,269 1,017,395,000 (10,948,216) (9,209,143) 50,000,000 - 989,319,751 - 2,499,054,661 (14,809,577) 225,847,596 2,710,092,680 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


102

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ชำระแล้ว 462,497,269

งบการเงินรวม

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กำไรสะสม กำไร(ขาดทุน) จัดสรรแล้ว ผลต่าง จากการป้องกัน สำรองสำหรับ ส่วนเกิน จากการแปลง ความเสีย่ ง สำรองตาม หุน้ สามัญ หุน้ สามัญ มูลค่าหุน้ ค่างบการเงิน รอตัดบัญชี กฎหมาย ซือ้ คืน ยังไม่ได้จดั สรร ซือ้ คืน 1,017,395,000 (10,948,216) (9,209,143) 50,000,000 - 989,319,751 - - 2,955,113 - - - - - - - 9,209,143 - - - - - 2,955,113 9,209,143 - - - - - - - - - (399,169,562) - - 2,955,113 9,209,143 - - (399,169,562) - - - - - - (36,652,346) - - - - - - - (6,374,591) - - - - 6,374,591 (6,374,591) - - - - - - 7,187,382 - - - - - - - - - - - - - - - 1,017,395,000 (7,993,103) - 50,000,000 6,374,591 554,310,634 (6,374,591)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ : - ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กำไรจากการป้องกันความเสีย่ ง - รอตัดบัญชี รวมรายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วน - ของผูถ้ อื หุน้ - ขาดทุนสุทธิสำหรับปี รวมรายได้(ค่าใช้จา่ ย)ทัง้ สิน้ - ทีร่ บั รูส้ ำหรับปี - จ่ายเงินปันผล - หุน้ สามัญซือ้ คืน - สำรองหุน้ สามัญซือ้ คืน ค่าความนิยมติดลบตัดจำหน่าย - (หมายเหตุ 4.1) บริษทั ย่อยจำหน่ายหุน้ สามัญ - ของบริษทั ฯ - ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ยอดคงเหลือ 462,497,269 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของ รวมส่วน หุน้ ของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ ของผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื โดย ส่วนน้อย บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย ของบริษทั ย่อย รวม 2,499,054,661 (14,809,577) 225,847,596 2,710,092,680 2,955,113 - - 2,955,113 9,209,143 - - 9,209,143 12,164,256 - - 12,164,256 (399,169,562) - 6,635,359 (392,534,203) (387,005,306) - 6,635,359 (380,369,947) (36,652,346) - 18,313 (36,634,033) (6,374,591) - - (6,374,591) - - - - 7,187,382 - - 7,187,382 - 14,809,577 - 14,809,577 - - 1,529,989 1,529,989 2,076,209,800 - 234,031,257 2,310,241,057

(หน่วย : บาท)


Annual Report 2008 103

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ : ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ งรอตัดบัญชี รวมค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ กำไรสุทธิสำหรับปี รวมรายได้(ค่าใช้จา่ ย)ทัง้ สิน้ ทีร่ บั รูส้ ำหรับปี หุน้ สามัญทีอ่ อกจำหน่ายระหว่างปี โอนกำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรรเป็นสำรองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ : กำไรจากการป้องกันความเสีย่ งรอตัดบัญชี รวมรายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ขาดทุนสุทธิสำหรับปี รวมรายได้(ค่าใช้จา่ ย)ทัง้ สิน้ ทีร่ บั รูส้ ำหรับปี จ่ายเงินปันผล หุน้ สามัญซือ้ คืนระหว่างปี สำรองหุน้ สามัญซือ้ คืน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและ ชำระแล้ว 314,930,000 - - - - 147,567,269 - 462,497,269 462,497,269 - - - - - - - 462,497,269

บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ 1,017,395,000 - - - - - - 1,017,395,000 1,017,395,000 - - - - - - - 1,017,395,000

กำไร(ขาดทุน) จากการป้องกัน ความเสีย่ ง รอตัดบัญชี (943,613) (2,725,141) (2,725,141) - (2,725,141) - - (3,668,754) (3,668,754) 3,668,754 3,668,754 - 3,668,754 - - - -

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองสำหรับ สำรองตาม หุน้ สามัญ กฎหมาย ซือ้ คืน 45,000,000 - - - - - - - - - - - 5,000,000 - 50,000,000 - 50,000,000 - - - - - - - - - - - - - - 6,374,591 50,000,000 6,374,591 ยังไม่ได้จดั สรร 39,844,770 - - 61,736,316 61,736,316 - (5,000,000) 96,581,086 96,581,086 - - (168,492,977) (168,492,977) (36,999,781) - (6,374,591) (115,286,263)

หุน้ สามัญ ซือ้ คืน - - - - - - - - - - - - - - (6,374,591) - (6,374,591)

(2,725,141) (2,725,141) 61,736,316 59,011,175 147,567,269 - 1,622,804,601 1,622,804,601 3,668,754 3,668,754 (168,492,977) (164,824,223) (36,999,781) (6,374,591) - 1,414,606,006

รวม 1,416,226,157

(หน่วย : บาท)


งบกระแสเงินสด บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน (390,967,026) 289,035,189 (168,492,977) 61,736,316 กำไร(ขาดทุน)สุทธิกอ่ นภาษี รายการปรับกระทบกำไร(ขาดทุน)สุทธิกอ่ นภาษี เป็นเงินสดรับ(จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน (1,965,434) (4,688,915) - - ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม 542,228,252 546,108,256 159,168,770 120,447,724 ค่าเสือ่ มราคา 4,828,273 5,155,161 1,149,328 1,308,617 ค่าตัดจำหน่าย - (3,526,171) - - ค่าความนิยมติดลบตัดจำหน่าย ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ - ดอกเบีย้ 29,942,634 29,942,634 29,942,634 29,942,634 รับจากบริษทั ร่วม 2,119,715 1,386,954 1,903,160 1,323,865 ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ขาดทุน(กำไร)จากอัตราแลกเปลีย่ น 17,516,827 (25,529,411) (5,486,378) (5,024,003) ทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง (3,932,430) (1,409,366) (1,680,506) (1,873,252) กำไรจากการจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร 2,175,681 783,194 2,465,331 46,324 ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ ง 220,908,485 - 84,539,536 - ทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง (29,942,634) (29,942,634) (29,942,634) (29,942,634) ดอกเบีย้ รับจากบริษทั ร่วม 10,332,245 14,938,184 - - ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายสินค้าคงเหลือ 52,585,228 7,819,868 8,415,116 2,963,938 ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าและสินค้าล้าสมัย ขาดทุน(กำไร)ทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการปรับมูลค่าเงิน 721,885 (436,920) 721,885 (436,920) ลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 281,468,727 287,770,449 59,542,349 46,178,705 ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลง 738,020,428 1,117,406,472 142,245,614 226,671,314 ในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดำเนินงาน สินทรัพย์จากการดำเนินงานลดลง(เพิม่ ขึน้ ) 656,664,685 10,187,437 37,643,113 (94,132,442) ลูกหนีก้ ารค้า 273,327,886 (363,526,831) 39,346,919 (122,065,434) สินค้าคงเหลือ (76,705,352) (70,095,043) 1,094,497 (6,363,080) สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ (6,723,454) (13,498,238) (26,939,297) (13,321,989) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

104 รายงานประจำปี 2551


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนีส้ นิ จากการดำเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนีก้ ารค้า หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ เงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน จ่ายดอกเบีย้ จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน

งบการเงินรวม 2551 2550 (566,298,503) 204,972,205 (126,130,325) 60,803,097 892,155,365 946,249,099 (279,665,000) (294,362,092) (9,610,783) (20,795,350) 602,879,582 631,091,657

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (69,233,248) 127,197,359 (28,410,539) 15,818,133 95,747,059 133,803,861 (58,855,771) (50,214,092) (922,171) (764,647) 35,969,117 82,825,122

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ Annual Report 2008 105


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิม่ ขึน้ เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดจ่ายในการซือ้ อุปกรณ์ เงินสดจ่ายในการซือ้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยเพิม่ ขึน้ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิม่ ขึน้ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดรับจากเจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ายคืนเจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากการเพิม่ ทุน จ่ายเงินปันผล เงินสดจ่ายในการซือ้ หุน้ สามัญคืน บริษทั ย่อยจำหน่ายหุน้ สามัญของบริษทั ใหญ่ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิม่ ขึน้ (ลดลง) - สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

106 รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม 2551 2550 - - 10,986,668 22,057,521 (786,649,571) (729,601,155) (20,994,228) - 1,529,989 1,521,027 - 85,386 (795,127,142) (705,937,221) 595,128,888 308,116,817 150,142,000 349,126,844 (574,152,012) (695,333,608) 202,732,425 - (225,982,096) - - 147,567,269 (36,634,033) - (6,374,591) - 14,809,577 7,934,237 119,670,158 117,411,559 (72,577,402) 42,565,995 190,165,371 147,599,376 117,587,969 190,165,371

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 (1,470,000) (2,160,000) 12,283,434 2,260,537 (317,876,121) (267,927,509) (11,027,336) - - - - - (318,090,023) (267,826,972) 301,602,911 47,029,684 58,000,000 67,168,089 (63,796,691) (75,754,644) 202,732,425 - (225,712,864) - - 147,567,269 (36,999,781) - (6,374,591) - - - 229,451,409 186,010,398 (52,669,497) 1,008,548 83,320,822 82,312,274 30,651,325 83,320,822


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯและบริษัทย่อย บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั จำกัดตามกฎหมายไทย และได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดเมื่อวันที่ 21 ธั น วาคม 2535 บริ ษั ท ฯประกอบกิ จ การในประเทศไทยโดยดำเนิ น ธุ ร กิ จ หลั ก ในการผลิ ต และจำหน่าย ผลิตภัณฑ์แผ่นพิมพ์วงจร โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนเลขที่ 125-125/1, 1 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรม ลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย จัดตัง้ ขึน้ เป็นบริษทั จำกัดตามกฎหมายไทย โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนเลขที่ 677 หมู่ 4 เขตอุตสาหกรรมส่งออก นิคมอุตสาหกรรมบางปู ถนนสุขุมวิท ตำบลแพรกษา อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ บริษัทย่อยประกอบกิจการในประเทศไทย โดยดำเนิน ธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจร บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทจำกัดตาม กฎหมายไทย โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนเลขที่ 115/2 หมู่ 4 เขตอุตสาหกรรมส่งออก นิคมอุตสาหกรรม ลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร บริษัทย่อยประกอบกิจการในประเทศไทย โดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายแผ่นพรีเพกและลามิเนต ให้กับบริษัทฯและบริษัทย่อยสองแห่ง (บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด และบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด) บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทจำกัดตามกฎหมายไทย โดยมี ที่อยู่ตามที่จดทะเบียนเลขที่ 117-118 หมู่ 1 นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริษัทย่อยประกอบกิจการในประเทศไทยโดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและ จำหน่ายแผ่นพิมพ์วงจร บริษัท เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทจำกัดตามกฎหมายไทย โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนเลขที่ 100/61 อาคารว่องวานิช ชั้นที่ 21 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร บริษทั ย่อยประกอบกิจการในประเทศไทยโดยดำเนินธุรกิจหลักเป็นตัวแทนขาย ในประเทศให้กับบริษัทฯและบริษัทในเครือ บริษัท ไทย บิสซิเนส โซลูชั่น จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทจำกัดตามกฎหมายไทย โดยมีทอี่ ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียนเลขที่ 100/61 อาคารว่องวานิช ชัน้ 21 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร บริษัทย่อยประกอบกิจการในประเทศไทยโดยดำเนินธุรกิจหลักเป็นผู้ให้บริการในการวาง ระบบและให้การสนับสนุนด้านคอมพิวเตอร์ 1.2 วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ วิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาในช่วงปีที่ผ่านมาได้ส่งผลกระทบต่อสภาวะ เศรษฐกิจโลก โดยจะเห็นได้จากการลดลงอย่างมากของราคาหุน้ ทัว่ โลก ภาวะการตึงตัวของตลาดสินเชือ่ รวมทัง้ การกู้ยืมระหว่างธนาคาร การล้มละลายของสถาบันการเงินขนาดใหญ่ และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลง วิกฤตการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่อแผนการดำเนินธุรกิจและการเงินรวมถึงมูลค่า ของสินทรัพย์ของผูป้ ระกอบการในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก รัฐบาลของประเทศต่างๆ ได้ใช้ความพยายาม ในการทีจ่ ะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ แต่ยงั คงมีความไม่แน่นอนว่าสภาวะเศรษฐกิจของโลกจะกลับคืนสูส่ ภาวะปกติ เมื่อใด งบการเงินนี้จัดทำบนพื้นฐานข้อเท็จจริงของสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และประมาณการ Annual Report 2008 107


และข้อสมมติฐานต่างๆ ทีบ่ ริษทั ฯพิจารณาแล้วว่าเหมาะสมในสถานการณ์ปจั จุบนั อย่างไรก็ตามงบการเงินนี้ อาจได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต จากวิกฤตการณ์ดังกล่าวบริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับผลกระทบจากการลดลงของปริมาณการสั่งซื้อ จากลูกค้า ส่งผลให้บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้หยุดดำเนินการ ผลิตสินค้าเป็นการชัว่ คราวตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2551 และย้ายการผลิตทัง้ หมดมายังบริษทั ฯและบริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยอีกแห่งหนึง่ อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ดำเนินการ ติดต่อกับลูกค้าหลายรายเพื่อเพิ่มปริมาณสั่งซื้อในอนาคต และวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงโรงงานของ บริษัทย่อยที่หยุดดำเนินการผลิต เพื่อให้สามารถรองรับการผลิตสินค้าที่หลากหลายขึ้นในอนาคต ดังนั้น ฝ่ายบริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยเชื่อว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยดังกล่าวจะสามารถกลับมาดำเนินการ เป็นปกติในอนาคตได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยยังคงจัดทำงบการเงินที่แนบมานี้ตามหลักการดำเนินงาน ต่อเนื่องของกิจการโดยถือว่าการขายหรือเรียกคืนสินทรัพย์และการจ่ายชำระหนี้สินจะเป็นไปตามปกติธุรกิจ โดยไม่คาดว่าจะมีการหยุดชะงักของการดำเนินงานตามปกติของบริษัทฯและบริษัทย่อย 2. เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และ การแสดงรายการในงบการเงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

ลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษ แปลมาจากงบการเงินฉบับภาษาไทยดังกล่าว

งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะเปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี

2.2 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม

ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้

ชือ่ บริษทั ถือหุน้ โดยบริษทั ฯ บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด (ถือหุน้ โดยบริษทั ฯร้อยละ 52.00 และ บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด ร้อยละ 19.20) บริษทั เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ไทย บิสซิเนส โซลูชั่น จำกัด

108 รายงานประจำปี 2551

ร้อยละของรายได้ท ี่ ร้อยละของสินทรัพย์ท ี่ รวมอยูใ่ นรายได้รวม อัตราการถือหุน้ รวมอยูใ่ นสินทรัพย์รวม สำหรับปีสนิ้ สุดวันที ่ (ร้อยละ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2551 2550 2551 2550 2551 2550 94.99 94.99 6 9 13 15 100.00 100.00 56 54 50 50 70.24 70.24 9 9 2 2 60.00 60.00 1 1 3 1 49.00 - - - - -


ข) บริษัทฯนำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ได้มา (วันที่บริษัทฯ มีอำนาจในการควบคุมบริษัทย่อย) จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น

ค) งบการเงิ น ของบริ ษั ท ย่ อ ยได้ จั ด ทำขึ้ น โดยมี ร อบระยะเวลาบั ญ ชี แ ละใช้ น โยบายการบั ญ ชี ที่ ส ำคั ญ

เช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ

ง) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยและรายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำคัญและยอดเงินลงทุน

ในบริษทั ย่อยในบัญชีของบริษทั ฯและส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อยได้ถกู ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว

จ) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย คือ จำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยส่วนทีไ่ ม่ได้เป็น ของบริษทั ฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกำไรขาดทุนรวมและส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบดุลรวม

ฉ) มูลค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อยที่ต่ำกว่าส่วนได้เสียของบริษัทฯในมูลค่ายุติธรรมสุทธิของสินทรัพย์ หนี้สิน

และหนี้ที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุได้ของบริษัทย่อย ณ วันซื้อหุ้นได้แสดงไว้เป็น “ค่าความนิยมติดลบ” ภายใต้

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในงบดุลรวม ซึ่งบริษัทฯจะประเมินมูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทฯ ที่เข้าไปลงทุนอีกครั้ง หากกิจการที่ได้มาสูงกว่าต้นทุนการรวมธุรกิจ บริษัทฯจะรับรู้ค่าความนิยมติดลบ ที่เกิดจากการรวมธุรกิจก่อนปี 2551 เข้ากำไรสะสม

2.3 บริษัทฯได้จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย และ บริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน 3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ 3.1 มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 กำหนดให้ใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ดังต่อไปนี้

ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 51

งบกระแสเงินสด สัญญาเช่า สินค้าคงเหลือ ต้นทุนการกู้ยืม การนำเสนองบการเงิน นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด งบการเงินระหว่างกาล การรวมธุรกิจ สัญญาก่อสร้าง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

มาตรฐานการบัญชีข้างต้นถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 ไม่เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั ฯ ส่วนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 ฉบับที่ 29 ฉบับที่ 31 ฉบับที่ 33 ฉบับที ่ 35 ฉบับที่ 39 ฉบับที่ 41 และฉบับที่ 51 ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีปัจจุบัน

ยกเว้ น มาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 43 ซึ่ ง มี ผ ลกระทบต่ อ งบการเงิ น สำหรั บ ปี ปั จ จุ บั น ตามที่ ก ล่ าวไว้ใน หมายเหตุ 4.1

Annual Report 2008 109


3.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 กำหนดให้ใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ ดังต่อไปนี้

ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการบัญชีข้างต้นถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าวจะ ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว

4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 4.1

เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2551 บริษัทฯจะไม่ตัดจำหน่ายค่าความนิยมติดลบที่เกิดจากการรวมธุรกิจก่อนปี 2551 อีกต่อไปแต่บริษัทฯ จะพิจารณาประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ หนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุได้ของบริษัทที่เข้าไปลงทุน

อีกครัง้ ก่อนรับรูค้ า่ ความนิยมติดลบเข้ากำไรสะสม ซึง่ ภายหลังจากทีบ่ ริษทั ฯได้ประเมินมูลค่าดังกล่าว ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2551 ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯเชือ่ ว่าส่วนได้เสียของบริษทั ฯในมูลค่ายุตธิ รรมสุทธิของสินทรัพย์ หนีส้ นิ และหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ทีร่ ะบุได้ของกิจการทีไ่ ด้มาสูงกว่าต้นทุนการรวมธุรกิจและจากประมาณการกระแสเงินสด ในอนาคตของบริษัทที่เข้าไปลงทุน ผู้บริหารของบริษัทฯเชื่อว่าจะไม่มีผลขาดทุนจากการลงทุนดังกล่าว เกิดขึ้นในอนาคต ดังนั้น บริษัทฯจึงรับรู้ค่าความนิยมติดลบจำนวน 7.2 ล้านบาท เข้ากำไรสะสมในงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทั้งจำนวน

4.2

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยเข้าทำสัญญาตราสารอนุพนั ธ์นอกงบดุลเพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากราคาวัตถุดบิ สำหรับ สัญญาที่มีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2551 เป็นต้นไป บริษัทฯและบริษัทย่อยเลือกที่จะไม่นำการบัญชี

เพื่อการป้องกันความเสี่ยงมาถือปฏิบัติโดยบริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้กำไร/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ในงบกำไรขาดทุนและสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์เข้างบกำไร ขาดทุนดังนี้

ขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ จริง ขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง

งบการเงินรวม 74,782,579 220,908,485 295,691,064

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะ กิจการ 16,545,304 84,539,536 101,084,840

5. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 5.1 การรับรู้รายได้

ก) ขายสินค้า

รายได้จากการขายสินค้ารับรูเ้ มือ่ ความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ ป็นสาระสำคัญของความเป็นเจ้าของ สินค้าได้โอนให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำกับสินค้าโดยไม่รวมภาษี

มูลค่าเพิม่ สำหรับสินค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว

110 รายงานประจำปี 2551


ข) รายได้ค่าบริการ

ค) ดอกเบี้ยรับ

ง) เงินปันผลรับ

รายได้คา่ บริการรับรูเ้ มือ่ ได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขัน้ ความสำเร็จของงาน ดอกเบีย้ ถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนทีแ่ ท้จริง เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมือ่ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล

5.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสั้นที่มี สภาพคล่องสูง ซึ่งมีกำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้มาและไม่มีข้อจำกัด ในการเบิกใช้ 5.3 ลูกหนี้การค้าและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารค้าแสดงมูลค่าตามจำนวนมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญสำหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ โดยอาศัยการวิเคราะห์ อายุหนี้และสถานะปัจจุบันของลูกหนี้คงค้าง ณ วันที่ในงบดุล รวมถึงแนวโน้มที่จะได้รับชำระเงินจากลูกหนี้ โดยพิจารณาเป็นรายๆ ไป 5.4 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับ บริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบริษัทและบุคคลซึ่งมี อิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญกับบริษัทฯ ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจใน การวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ 5.5 สินค้าคงเหลือและค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าและสินค้าล้าสมัย สินค้าสำเร็จรูปและงานระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธถี วั เฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก) หรือมูลค่าสุทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนดังกล่าวประกอบด้วยต้นทุนของวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรงและ ค่าโสหุย้ ในการผลิต วัตถุดบิ วัสดุสนิ้ เปลือง อะไหล่และอุปกรณ์โรงงานแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธถี วั เฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก) หรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า และจะถือเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนการผลิตเมือ่ มีการเบิกใช้ มูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ของสินค้าประมาณจากราคาทีค่ าดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จา่ ย ในการขายสินค้านั้น ค่ า เผื่ อ การลดมู ล ค่ า สิ น ค้ า และสิ น ค้ า ล้ า สมั ย จะตั้ ง ขึ้ น สำหรั บ สิ น ค้ า ที่ ล้ า สมั ย เคลื่ อ นไหวช้ า หรื อ

เสื่อมคุณภาพ

Annual Report 2008 111


5.6 เงินลงทุน

ก) เงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย

ข) เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่า ตามวิธีราคาทุน

ค)

เงินลงทุนในตราสารทุนในความต้องการของตลาดซึ่งถือเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม ซึง่ คำนวณจากราคาเสนอซือ้ หลังสุด ณ สิน้ วันทำการสุดท้ายของปีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มูลค่าทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปของหลักทรัพย์ดงั กล่าว จะบันทึกเป็นกำไรหรือขาดทุนในงบกำไรขาดทุน ต้นทุน ของเงินลงทุนดังกล่าวคำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

ง) หุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบริษทั ย่อยทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินรวมแสดงตามราคาทุนซึง่ เป็นรายการหักในส่วน ของผู้ถือหุ้นและกำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายหุ้นดังกล่าวจะบันทึกเข้าไปในส่วนของผู้ถือหุ้น 5.7 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหลังหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่ า เสื่ อ มราคาของอาคารและอุ ป กรณ์ ค ำนวณจากราคาทุ น โดยใช้ วิ ธี เ ส้ น ตรงตามอายุ ก ารใช้ ง าน โดยประมาณของสินทรัพย์ดังต่อไปนี้

อาคารและโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน ส่วนปรับปรุงโรงงานและสำนักงาน เครื่องตกแต่งติดตั้งและอุปกรณ์สำนักงาน ยานพาหนะ

- - - - -

20 - 25 ปี 5 - 20 ปี 5 - 20 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี

ไม่มกี ารคิดค่าเสือ่ มราคาสำหรับทีด่ นิ งานระหว่างก่อสร้าง และเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ระหว่างทางและ ระหว่างติดตั้ง ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน 5.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันทีไ่ ด้มา ต้นทุนของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีไ่ ด้มานอกเหนือจากการรวมธุรกิจวัดมูลค่าด้วยราคาทุน และภายหลังการรับรู้รายการครั้งแรก สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัดอย่างมีระบบ ตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าว เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจำหน่ายและ วิธีการตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำหน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย ในงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ได้แก่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีอายุการให้ประโยชน์ 5 และ 10 ปี 5.9 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนอื่นของบริษัทฯและบริษัทย่อยหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำกว่า 112 รายงานประจำปี 2551


มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และ คำนวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพ ตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำลังพิจารณา อยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้แบบจำลองการประเมิน มูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำนวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจำหน่าย สินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจำหน่าย โดยการจำหน่ายนั้นผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และเต็มใจในการ แลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน 5.10 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึก ในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคา ตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า 5.11 สัญญาเช่าซื้อ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าซื้อ โดยเจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อแสดงสุทธิจาก ดอกเบีย้ เช่าซือ้ เจ้าหนีเ้ ช่าซือ้ มีระยะเวลาผ่อนชำระตามงวดในสัญญา สินทรัพย์ซงึ่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้มา ภายใต้สัญญาเช่าซื้อจะบันทึกเป็นทรัพย์สินของบริษัทฯและบริษัทย่อยในราคาเงินสด และจดทะเบียนโอน เป็นของบริษัทฯและบริษัทย่อยเมื่อบริษัทฯและบริษัทย่อยผ่อนชำระเจ้าหนี้เช่าซื้อเรียบร้อยแล้ว 5.12 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ใี่ ช้ในการจัดหาหรือก่อสร้างสินทรัพย์ทตี่ อ้ งใช้ระยะเวลานานในการแปลงสภาพ ให้พร้อมใช้หรือขาย ได้ถกู นำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั้ จะอยูใ่ นสภาพพร้อมทีจ่ ะใช้ได้ ตามที่มุ่งประสงค์ ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วย ดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น 5.13 หุ้นสามัญซื้อคืน หุน้ สามัญซือ้ คืนแสดงมูลค่าด้วยราคาทุนและแสดงเป็นรายการหักจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ หากราคาขาย ของหุน้ สามัญซือ้ คืนสูงกว่าราคาซือ้ ของหุน้ สามัญซือ้ คืน บริษทั ฯจะรับรูผ้ ลต่างเข้าบัญชีสว่ นเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ซือ้ คืนและหากราคาขายของหุน้ สามัญซือ้ คืนต่ำกว่าราคาซือ้ ของหุน้ สามัญซือ้ คืน บริษทั ฯจะนำผลต่างหักจาก ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญซื้อคืนให้หมดก่อนแล้วจึงนำผลต่างที่เหลืออยู่ไปหักจากบัญชีกำไรสะสม 5.14 ผลประโยชน์พนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุน สำรองเลี้ยงชีพเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 5.15 ภาษีเงินได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร

Annual Report 2008 113


5.16 เงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นตัวเงินซึง่ อยูใ่ นสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันที่ในงบดุล กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคำนวณผลการ ดำเนินงาน 5.17 ตราสารอนุพันธ์

สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ลูกหนี้และเจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูกแปลงค่าตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นปีบัญชี กำไรขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกใน งบกำไรขาดทุน ส่วนเกินหรือส่วนลดที่เกิดขึ้นจากการทำสัญญาจะถูกตัดจำหน่ายด้วยวิธีเส้นตรงตามอายุ ของสัญญา

สัญญาใช้สิทธิเลือกซื้อขายสินค้าและเงินตราต่างประเทศ บริษัทฯและบริษัทย่อยเข้าทำสัญญาใช้สิทธิเลือกซื้อขายสินค้าและเงินตราต่างประเทศ โดยผู้ขายจะ ให้สทิ ธิแก่ผซู้ อื้ ในการซือ้ (สิทธิเลือกซือ้ ) หรือขาย (สิทธิเลือกขาย) สินค้าหรือเงินตราต่างประเทศตามราคาหรือ อัตราแลกเปลีย่ นทีก่ ำหนดไว้ในสัญญา บริษทั ฯและบริษทั ย่อยตกลงทำสัญญาดังกล่าวเพือ่ ป้องกันความเสีย่ งที่ เกิดจากการผันผวนของราคาสินค้าและอัตราแลกเปลี่ยนในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้กำไรขาดทุน ที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของสัญญาสิทธิเลือกซื้อขายสินค้าและของเงินตราต่าง ประเทศดังกล่าวในงบกำไรขาดทุน

6. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการ ประมาณการในเรือ่ งทีม่ คี วามไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกล่าวนีส้ ง่ ผลกระทบต่อจำนวนเงิน ที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจาก จำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่สำคัญมีดังนี้ สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหาร ได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมินเงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาว่าบริษทั ฯได้โอนหรือรับโอนความเสีย่ ง และผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการ ผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ จากลูกหนีแ้ ต่ละราย โดยคำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนีท้ คี่ งค้าง และสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ ในการประมาณค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณ ผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดจากสินค้าเสื่อมสภาพและราคาตลาดที่ลดลงของสินค้าคงเหลือ

114 รายงานประจำปี 2551


มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจำลองการประเมินมูลค่า ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปร ทีม่ อี ยูใ่ นตลาด โดยคำนึงถึงสภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลีย่ นแปลงของมูลค่าของเครือ่ งมือทางการเงิน ในระยะยาว ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ บริ ษั ท ฯจะพิ จ ารณาค่ า เผื่ อ การด้ อ ยค่ า ของเงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ เ ผื่ อ ขายและเงิ น ลงทุ น ทั่ ว ไปเมื่ อ

ฝ่ายบริหารเห็นว่ามูลค่าที่จะได้รับคืนของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำคัญและเป็นการถาวรแล้ว การพิจารณาดังกล่าวจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร ค่าความนิยม และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ณ วันทีไ่ ด้มาจากการรวมธุรกิจ ตลอดจน การทดสอบการด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคต จากสินทรัพย์ หรือหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคำนวณหา มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ คดีฟ้องร้อง บริษัทฯมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการ ประเมินผลของคดีที่ถูกฟ้องร้องแล้วและเชื่อมั่นว่าจะไม่มีความเสียหายเกิดขึ้นจึงไม่ได้บันทึกประมาณการหนี้สิน ดังกล่าว ณ วันที่ในงบการเงิน

Annual Report 2008 115


7. ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงบกระแสเงินสด รายการกิจกรรมลงทุน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังต่อไปนี้ ซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ขายเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ บวก(หัก) : เจ้าหนีอ้ นื่ จากการซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ เจ้าหนีก้ จิ การทีเ่ กีย่ วข้องกันจากการซือ้ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ เจ้าหนีต้ วั๋ เงินจ่ายทรัสต์รซี ที เจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าซือ้ เงินจ่ายล่วงหน้าและเงินมัดจำทรัพย์สนิ ดอกเบีย้ ค้างจ่ายทีบ่ นั ทึกเป็นต้นทุนของ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ลูกหนีก้ จิ การทีเ่ กีย่ วข้องกันจากการขาย สินทรัพย์ถาวร ลูกหนีอ้ นื่ จากการขายสินทรัพย์ถาวร อืน่ ๆ

116 รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม 2551 2550 403,863,719 318,103,268 (1,121,495) - (103,340,524) (209,345,797) - - (117,545,115) - (181,788,333) (105,627,533) (1,097,830) (3,118,404) (91,917) - - - 1,121,495 - - (11,534) - -

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 193,230,128 263,740,884 (19,378,695) - (19,932,778) (153,109,160) (473,196) (5,273,423) - - (171,726,324) (105,358,301) (1,097,830) - - - 18,257,200 - 1,121,495 - - - - -


8. ลูกหนี้การค้า ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 แยกตามอายุหนี้ที่ค้างนับจากวันที่ ถึงกำหนดชำระได้ดังต่อไปนี้ อายุหนีค้ า้ งชำระ

ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ยังไม่ถงึ กำหนดชำระ ค้างชำระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึน้ ไป รวมลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน ยังไม่ถงึ กำหนดชำระ ค้างชำระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึน้ ไป รวมลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน รวมลูกหนีก้ ารค้า หัก : ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ

งบการเงินรวม 2550 2551 412,697,269 416,623,641 58,780,959 105,797,248 2,751,998 2,579,766 - 383,494 - 1,287,958 474,230,226 526,672,107 713,419,524 1,355,432,980 156,030,315 94,344,264 12,487,934 10,362,734 322,279 11,781,678 715,482 1,950,298 882,975,534 1,473,871,954 1,357,205,760 2,000,544,061 (4,540,200) (2,420,485) 1,352,665,560 1,998,123,576

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 262,722,851 222,528,754 148,637,593 53,519,803 485,497 - - 375,646 - 36,618 411,845,941 276,460,821 209,446,309 393,500,515 55,359,046 35,871,371 6,689,038 2,442,566 322,279 2,813,492 715,482 1,824,120 272,532,154 436,452,064 684,378,095 712,912,885 (4,260,556) (2,357,396) 680,117,539 710,555,489

Annual Report 2008 117


9. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการ ธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า วเป็ น ไปตามเงื่ อ นไขทางการค้ า และเกณฑ์ ต ามที่ ต กลงกั น ระหว่ า งบริ ษั ท ฯและบุ ค คลหรื อ กิ จ การ ที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) รายการธุรกิจกับบริษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้า ค่าขายสินทรัพย์ถาวร รายได้อนื่ ซือ้ สินค้า ค่าซือ้ สินทรัพย์ถาวร

รายการธุรกิจกับบริษทั ร่วม ขายสินค้า ค่าขายสินทรัพย์ถาวร ซือ้ วัตถุดบิ ค่าซือ้ สินทรัพย์ถาวร ค่านายหน้าจ่าย รายการธุรกิจกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ดอกเบีย้ รับ 118 รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสนิ้ สุดวันที ่ สำหรับปีสนิ้ สุดวันที ่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม นโยบายการกำหนดราคา 2551 2550 2551 2550 - - 576.5 300.0 ราคาตลาดและราคาทีต่ กลง ร่วมกันของงานสัง่ ทำแต่ละ ผลิตภัณฑ์ - - 25.3 0.3 ราคาตามบัญชีสทุ ธิบวกกำไร และราคาทีต่ กลงร่วมกัน - - 12.9 0.2 ราคาทีต่ กลงร่วมกัน - - 1,051.1 927.2 ราคาตลาดและราคาทีต่ กลง ร่วมกันของงานสัง่ ทำแต่ละ ผลิตภัณฑ์ - - 13.1 37.2 ราคาทีต่ กลงร่วมกัน 1,671.5 1,833.5 603.6 604.6 ราคาตลาดสำหรับสินค้าทีม่ ี คุณภาพใกล้เคียงกันและ เงือ่ นไขการขายเช่นเดียวกัน - 20.4 - - ราคาตามบัญชีสทุ ธิบวกกำไร และราคาทีต่ กลงร่วมกัน 226.3 236.4 70.2 83.4 ราคาตลาดสำหรับสินค้าทีม่ ี คุณภาพใกล้เคียงกันและ เงือ่ นไขการซือ้ เช่นเดียวกัน 0.9 23.7 0.6 2.4 ราคาทีต่ กลงร่วมกัน 67.1 47.6 22.5 23.3 อัตราทีต่ กลงกันซึง่ เป็น อัตราทัว่ ไปสำหรับธุรกิจ ประเภทเดียวกัน 29.9 29.9 29.9 29.9 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 7.5 ต่อปี


ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีรายละเอียดดังนี ้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2551 2550 2551 ลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - 233,962,850 73,789,592 บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด - - 5,611,436 1,515,678 บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด - - 5,175,440 5,092,617 บริษทั เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด - - 215,414 21,831,476 บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด - - 244,965,140 102,229,363 รวมลูกหนีก้ ารค้าบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 402,494,262 474,563,257 132,735,147 146,830,692 บริษทั เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด 71,735,964 52,108,850 34,145,654 27,400,766 บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด 474,230,226 526,672,107 166,880,801 174,231,458 รวมลูกหนีก้ ารค้าบริษทั ร่วม 474,230,226 526,672,107 411,845,941 276,460,821 รวมลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนีอ้ นื่ และเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การ ทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - 18,166,747 8,904 บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด - - 1,092,624 - บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด - - 72,765 8,000 บริษทั เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด รวมลูกหนีอ้ นื่ และเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ - - 19,332,136 16,904 แก่บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 538,331 - - - บริษทั เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด 23,045 336 - - บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด รวมลูกหนีอ้ นื่ และเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ 561,376 336 - - แก่บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั อวาตา ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชัน่ 399,235,126 399,235,126 399,235,126 399,235,126 เงินให้กยู้ มื 301,169,468 271,226,834 301,169,468 271,226,834 ดอกเบีย้ ค้างรับ 700,404,594 670,461,960 700,404,594 670,461,960 (700,404,594) (670,461,960) (700,404,594) (670,461,960) หัก : ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ - - - - รวมลูกหนีอ้ นื่ และเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ 561,376 336 19,332,136 16,904 แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน - สุทธิ Annual Report 2008 119


บริษทั ฯไม่ได้รบั ชำระหนีจ้ ากบริษทั อวาตา ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชัน่ ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ร่วมแห่งหนึง่ เป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 399 ล้านบาท ปัจจุบันบริษัทฯอยู่ระหว่างการฟ้องร้องบริษัทดังกล่าวต่อศาลใน ประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ณ วันทีใ่ นงบดุล บริษทั ฯบันทึกรายการหนีส้ นิ ทีเ่ กิดจากการค้ำประกันเงินกูย้ มื ของบริษทั ดังกล่าวเป็นเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับเงินให้กู้ยืมดังกล่าว และรายการค้างรับอื่นๆ จากบริษัทดังกล่าวทั้งจำนวน (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2551 2550 2551 เจ้าหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - 212,892,349 251,855,678 บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด - - 128,747,647 82,968,607 บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด - - 48,397,474 3,507,609 บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด - - 390,037,470 338,331,894 รวมเจ้าหนีก้ ารค้าบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 49,093,414 51,264,377 20,604,806 14,480,307 บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด 49,093,414 51,264,377 20,604,806 14,480,307 รวมเจ้าหนีก้ ารค้าบริษทั ร่วม 49,093,414 51,264,377 410,642,276 352,812,201 รวมเจ้าหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรองจากกิจการ ทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - 20,398,745 778,408 บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด - - 191,100 4,911,223 บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด - - 20,589,845 5,689,631 รวมเจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรองจากบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 11,300,858 9,155,383 2,795,473 2,170,946 บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด 11,300,858 9,155,383 2,795,473 2,170,946 รวมเจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรองจากบริษทั ร่วม รวมเจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรองจากกิจการ 11,300,858 9,155,383 23,385,318 7,860,577 ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2551 และ 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้บันทึกเงินเดือน โบนัส กองทุนสำรองเลี้ยงชีพและค่าเบี้ย ประชุมให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหาร เป็นจำนวนเงิน 57.1 ล้านบาท และ 55.9 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะบริษทั ฯ : 28.1 ล้านบาท และ 30.4 ล้านบาท ตามลำดับ) ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระจากการค้ำประกันให้กบั กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 27.4 120 รายงานประจำปี 2551


10. สินค้าคงเหลือ (หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม

ค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ

ลดราคาทุนให้เท่ากับมูลค่าสุทธิ

ราคาทุน

ทีจ่ ะได้รบั

2550

2551

2551

2550

สินค้าเสือ่ มคุณภาพ

สินค้าคงเหลือ-สุทธิ

2551

2551

สินค้าสำเร็จรูป

334,739,662 295,267,443 (26,552,852) (9,108,100) (12,456,753)

งานระหว่างทำ

304,788,077 434,467,075

วัตถุดบิ วัสดุสนิ้ เปลือง

2550

2550

(6,023,707)

295,730,057 280,135,636

-

(527,695)

-

304,260,382 434,467,075

323,463,091 466,785,436 (22,383,415)

-

(6,588,580)

(1,886,583)

294,491,096 464,898,853

243,817,790 264,216,713

-

-

(12,748,677) (11,654,354)

231,069,113 252,562,359

อะไหล่และอุปกรณ์ 224,609,116 207,189,884

-

-

-

-

สินค้าระหว่างทาง

-

-

-

-

รวม

24,918,198

72,069,515

-

224,609,116 207,189,884 24,918,198

72,069,515

1,456,335,934 1,739,996,066 (48,936,267) (9,108,100) (32,321,705) (19,564,644) 1,375,077,962 1,711,323,322

(หน่วย : บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ

ลดราคาทุนให้เท่ากับมูลค่าสุทธิ

ราคาทุน

ทีจ่ ะได้รบั

สินค้าสำเร็จรูป งานระหว่างทำ วัตถุดบิ วัสดุสนิ้ เปลือง

2551 90,977,275

2550

2551

2550

75,010,922 (10,146,482) (4,461,161)

112,020,436 141,904,345

สินค้าเสือ่ มคุณภาพ

สินค้าคงเหลือ-สุทธิ

2551

2551

2550

79,554,832

70,380,807

(1,275,961)

-

-

-

94,194,945

-

-

(1,088,030)

110,225,766 107,792,156

-

-

61,234,288

2550 (168,954) -

112,020,436 141,904,345

(608,880)

60,146,258

93,586,065

(11,599,707) (10,456,069)

98,626,059

97,336,087

อะไหล่และอุปกรณ์ 77,224,113

63,834,735

-

-

-

-

77,224,113

63,834,735

สินค้าระหว่างทาง

11,961,259

-

-

-

-

3,669,565

11,961,259

รวม

3,669,565

455,351,443 494,698,362 (10,146,482) (4,461,161) (13,963,698) (11,233,903) 431,241,263 479,003,298

Annual Report 2008 121


122 รายงานประจำปี 2551

สัดส่วนเงินลงทุน 2551 2550 ร้อยละ ร้อยละ 94.993 94.993 52.00 52.00 100.00 100.00 60.00 60.00 49.00 -

ค่าเผือ่ การด้อยค่าของ ราคาทุน เงินลงทุน 2551 2550 2551 2550 172,499,000 172,499,000 - - 157,710,310 157,710,310 - - 1,150,000,000 1,150,000,000 (563,271,135) (563,271,135) 2,160,000 2,160,000 - - 1,470,000 - - - 1,483,839,310 1,482,369,310 (563,271,135) (563,271,135)

เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ทุนเรียกชำระแล้ว ชือ่ บริษทั 2550 2551 100,000,000 100,000,000 บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด 250,000,000 250,000,000 1,150,000,000 1,150,000,000 บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด 3,600,000 3,600,000 บริษทั เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด 3,000,000 - บริษทั ไทย บิสซิเนส โซลูชนั่ จำกัด รวม

11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย (หน่วย : บาท) มูลค่าตามบัญชีตาม วิธรี าคาทุน-สุทธิ 2551 2550 172,499,000 172,499,000 157,710,310 157,710,310 586,728,865 586,728,865 2,160,000 2,160,000 1,470,000 - 920,568,175 919,098,175


เมือ่ วันที่ 8 มีนาคม 2550 บริษทั ฯได้ซอื้ หุน้ สามัญของบริษทั เคซีอี (ประเทศไทย) จำกัด จำนวน 216,000 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 10 บาท เป็นจำนวนเงิน 2.16 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 60 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกล่าว เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท คอนสแตน พีทีอี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ที่ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยของบริษัทฯมีมติอนุมัติให้ปิดบริษัท โดยบริษัทดังกล่าวได้ดำเนินการชำระบัญชีภายใต้ กฎหมายของสิงคโปร์เสร็จสิ้นแล้วเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2550 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 บริษัทฯได้ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ไทย บิสซิเนส โซลูชั่น จำกัด จำนวน 147,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท เป็นจำนวนเงิน 1.47 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท ดังกล่าว ซึง่ บริษทั ฯถือว่าบริษทั ดังกล่าวเป็นบริษทั ย่อยเนือ่ งจากบริษทั ฯมีอำนาจในการควบคุมการกำหนดนโยบาย และการบริหารงานในบริษัทนี ้ 12. เงินลงทุนในบริษัทร่วม 12.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษัทร่วม

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม จัดตัง้ ใน มูลค่าตามบัญชี สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ชือ่ บริษทั ลักษณะธุรกิจ ประเทศ 2551 2550 2551 2550 2551 2550 ร้อยละ ร้อยละ บริษทั เคซีอี อเมริกา ตัวแทนขายใน สหรัฐอเมริกา อิงค์ จำกัด ต่างประเทศ ให้กับบริษัทฯและ 48.75 48.75 643,633 643,633 59,487,226 56,461,901 บริษทั ในเครือ บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ ตัวแทนขายใน สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด ต่างประเทศ ให้กบั บริษทั ฯและ 47.77 47.77 4,201,138 4,201,138 27,606,377 25,711,155 บริษทั ในเครือ 4,844,771 4,844,771 87,093,603 82,173,056 รวม

ชือ่ บริษทั

บริษทั เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สัดส่วนเงินลงทุน 2551 2550 ร้อยละ ร้อยละ 25.00 25.00 24.50 24.50

(หน่วย : บาท)

ราคาทุน 2551 321,816 2,100,569 2,422,385

2550 321,816 2,100,569 2,422,385

Annual Report 2008 123


ชือ่ บริษทั บริษทั เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด รวม

งบการเงินรวม ส่วนแบ่งกำไรจาก เงินลงทุนในบริษทั ร่วมในระหว่างปี 2551 2550 1,014,431 1,458,266 951,003 3,230,649 1,965,434 4,688,915

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินปันผลรับระหว่างปี 2551 2550 - - - - - -

สำหรับปี 2551 และ 2550 ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมสองแห่งข้างต้นคำนวณจาก งบการเงิน ซึ่งยังมิได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทร่วม เนื่องจากบริษัทร่วมทั้งสองแห่ง ดังกล่าวอยู่ในต่างประเทศ และบริษัทฯไม่มีอำนาจในการกำหนดนโยบายทางการเงินและการดำเนินงาน ของบริษัทเหล่านั้น รวมทั้งการจัดให้มีการตรวจสอบงบการเงิน 12.2 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วม

สินทรัพย์รวม หนีส้ นิ รวม รายได้รวมสำหรับ ทุนเรียกชำระ ณ วันที ่ ณ วันที ่ ปีสนิ้ สุดวันที ่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม บริษทั 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 บริษทั เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด 50,000 เหรียญ 50,000 เหรียญ 521,061 586,706 390,192 479,684 1,494,523 1,645,420 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 500,000 237,548 159,397 185,493 110,905 612,518 630,708 บริษทั เคซีอี สิงคโปร์ พีทอี ี จำกัด 500,000 เหรียญสิงคโปร์ เหรียญสิงคโปร์

124 รายงานประจำปี 2551

(หน่วย : พันบาท) กำไรสุทธิสำหรับปี สิน้ สุดวันที ่ 31 ธันวาคม 2551 2550 2,315 13,595 1,819 6,153


Annual Report 2008 125

ทีด่ นิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม เครือ่ งตกแต่ง โรงงานและ เครือ่ งจักรและ เครือ่ งจักร ติดตัง้ และ ส่วนปรับปรุง อุปกรณ์ เครือ่ งจักร อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนปรับปรุง อุปกรณ์ ส่วนปรับปรุง โรงงานระหว่าง ระหว่าง และอุปกรณ์ และโรงงาน โรงงาน โรงงาน สำนักงาน สำนักงาน ยานพาหนะ ก่อสร้าง ติดตัง้ ระหว่างทาง รวม ราคาทุน 404,790,982 630,879,339 6,892,200,527 135,787,784 532,547,098 12,523,883 40,794,781 1,065,605 423,804,207 66,816,357 9,141,210,563 31 ธันวาคม 2550 - ตามทีเ่ คยรายงานไว้ - - (16,611,404) - (26,873,103) - - - - - (43,484,507) จัดประเภทรายการใหม่ - โอนไปเป็นสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน 31 ธันวาคม 2550 - ภายหลังการจัดประเภทรายการใหม่ 404,790,982 630,879,339 6,875,589,123 135,787,784 505,673,995 12,523,883 40,794,781 1,065,605 423,804,207 66,816,357 9,097,726,056 - - 25,865,910 17,227,408 14,084,779 3,152,794 18,492,820 12,858,059 868,166,613 15,328,908 975,177,291 ซือ้ เพิม่ - 51,141,546 602,304,463 54,126,314 44,905,395 3,341,053 - (9,801,199) (663,872,307) (82,145,265) - โอนเข้า (โอนออก) - - (57,703,870) (383,662) (4,148,564) - (12,542,437) - (6,786,427) - (81,564,960) จำหน่าย 404,790,982 682,020,885 7,446,055,626 206,757,844 560,515,605 19,017,730 46,745,164 4,122,465 621,312,086 - 9,991,338,387 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสือ่ มราคาสะสม - 213,813,851 2,761,886,906 58,502,657 295,769,621 8,205,017 28,434,846 - - - 3,366,612,898 31 ธันวาคม 2550 - ตามทีเ่ คยรายงานไว้ ค่าเสือ่ มราคาสะสมสำหรับสินทรัพย์ - - (13,921,097) - (19,330,238) - - - - - (33,251,335) ทีโ่ อนไปเป็นสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน - 213,813,851 2,747,965,809 58,502,657 276,439,383 8,205,017 28,434,846 - - - 3,333,361,563 31 ธันวาคม 2550 - จัดประเภทรายการใหม่ - 27,672,796 428,322,323 21,242,653 57,291,359 1,188,388 6,510,733 - - - 542,228,252 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี - - (56,809,949) (169,279) (3,734,279) - (10,428,571) - - - (71,142,078) ค่าเสือ่ มราคาสะสมสำหรับสินทรัพย์ทจี่ ำหน่ายระหว่างปี - 241,486,647 3,119,478,183 79,576,031 329,996,463 9,393,405 24,517,008 - - - 3,804,447,737 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 404,790,982 417,065,488 4,127,623,314 77,285,127 229,234,612 4,318,866 12,359,935 1,065,605 423,804,207 66,816,357 5,764,364,493 31 ธันวาคม 2550 404,790,982 440,534,238 4,326,577,443 127,181,813 230,519,142 9,624,325 22,228,156 4,122,465 621,312,086 - 6,186,890,650 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี 546,108,256 ปี 2550 (488.9 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 542,228,252 ปี 2551 (477.2 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)

13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์


126 รายงานประจำปี 2551

เครือ่ งจักร อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนปรับปรุง ทีด่ นิ และโรงงาน โรงงาน โรงงาน ราคาทุน 231,603,891 81,125,125 1,706,559,168 93,865,170 31 ธันวาคม 2550 - ตามทีเ่ คยรายงานไว้ - - (12,242,130) - จัดประเภทรายการใหม่ - โอนไปเป็นสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน 231,603,891 81,125,125 1,694,317,038 93,865,170 31 ธันวาคม 2550 - ภายหลังการจัดประเภทรายการใหม่ - - 31,489,926 14,854,227 ซือ้ เพิม่ - 50,450,410 316,365,000 37,080,958 โอนเข้า (โอนออก) - - (56,148,954) - จำหน่าย 231,603,891 131,575,535 1,986,023,010 145,800,355 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสือ่ มราคาสะสม - 55,724,096 899,226,755 45,163,777 31 ธันวาคม 2550 - ตามทีเ่ คยรายงานไว้ ค่าเสือ่ มราคาสะสมสำหรับสินทรัพย์ - - (11,120,618) - ทีโ่ อนไปเป็นสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน - 55,724,096 888,106,137 45,163,777 31 ธันวาคม 2550 - จัดประเภทรายการใหม่ - 3,859,621 131,051,927 19,051,867 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี - - (30,734,595) - ค่าเสือ่ มราคาสะสมสำหรับสินทรัพย์ทจี่ ำหน่ายระหว่างปี - 59,583,717 988,423,469 64,215,644 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 231,603,891 25,401,029 806,210,901 48,701,393 31 ธันวาคม 2550 231,603,891 71,991,818 997,599,541 81,584,711 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสือ่ มราคาสำหรับปี ปี 2550 (118.0 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) ปี 2551 (154.0 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการขายและค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครือ่ งตกแต่ง ติดตัง้ และ อุปกรณ์ ส่วนปรับปรุง สำนักงาน สำนักงาน 28,099,314 10,419,556 (2,794,181) - 25,305,133 10,419,556 8,323,520 3,102,794 4,009,853 3,341,053 (319,555) - 37,318,951 16,863,403 21,134,354 6,281,906 (2,467,008) - 18,667,346 6,281,906 3,013,963 719,281 (307,944) - 21,373,365 7,001,187 6,637,787 4,137,650 15,945,586 9,862,216

(หน่วย : บาท)

เครือ่ งจักรและ อุปกรณ์ เครือ่ งจักร ระหว่าง และอุปกรณ์ ยานพาหนะ ติดตัง้ ระหว่างทาง รวม 11,350,387 204,640,510 48,816,828 2,416,479,949 - - - (15,036,311) 11,350,387 204,640,510 48,816,828 2,401,443,638 4,374,346 290,188,750 - 352,333,563 - (362,430,446) (48,816,828) - (1,354,060) (6,384,088) - (64,206,657) 14,370,673 126,014,726 - 2,689,570,544 8,475,419 - - 1,036,006,307 - - - (13,587,626) 8,475,419 - - 1,022,418,681 1,472,111 - - 159,168,770 (717,164) - - (31,759,703) 9,230,366 - - 1,149,827,748 2,874,968 204,640,510 48,816,828 1,379,024,957 5,140,307 126,014,726 - 1,539,742,796 120,447,724 159,168,770


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีเครื่องจักรและอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่ง ตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ ราคาทุนก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมี จำนวนเงินประมาณ 1,127.3 ล้านบาท และ 817.7 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะบริษัทฯ : 687.3 ล้านบาท และ 409.8 ล้านบาท ตามลำดับ)

13.1

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยสองแห่งคือ บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด และ บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด มีเงื่อนไขตามบันทึกข้อตกลงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาเงิน

เบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากธนาคารว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะไม่นำทรัพย์สินของบริษัทฯและบริษัท

ย่อยตามที่ระบุในข้อตกลงไปจำหน่ายจ่ายโอน จำนอง จำนำ หรือก่อภาระผูกพันใดๆ

13.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทย่อยได้จดจำนองและจำนำที่ดินและอุปกรณ์ดังต่อไปนี้

13.2.1 บริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้จดจำนองสิ่งปลูกสร้าง และจำนำเครื่องจักรซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 244.7 ล้านบาท เพื่อให้เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมจากธนาคารตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 17

13.2.2 บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้จดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและ จำนำเครือ่ งจักรส่วนใหญ่เพือ่ ใช้เป็นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื จากธนาคารตามทีก่ ล่าว ไว้ในหมายเหตุ 15 และ 17 13.3 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้บันทึกดอกเบี้ยจ่ายไว้เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนเครื่องจักรและอุปกรณ์ระหว่างติดตั้ง สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ดังต่อไปนี้ ดอกเบีย้ จ่ายซึง่ ถูกบันทึกเป็นส่วนหนึง่ ของ ต้นทุนเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ (พันบาท) อัตราการตัง้ ขึน้ เป็นทุนของสินทรัพย์ (ร้อยละ)

งบการเงินรวม 2551 2550 4,523 7,808 2.47 - 7.50 2.13 - 7.25

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 1,573 4,044 3.50 - 7.50 3.50 - 7.25

14. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550 64,425,785 43,484,507 ราคาทุน (38,026,657) (33,251,335) หัก : ค่าตัดจำหน่ายสะสม 26,399,128 10,233,172 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ค่าตัดจำหน่ายทีร่ วมอยูใ่ น 4,828,273 5,155,161 งบกำไรขาดทุนสำหรับปี

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 26,063,648 15,036,311 (14,736,955) (13,587,626) 11,326,693 1,448,685 1,149,328 1,308,617

Annual Report 2008 127


15. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูย้ มื ระยะสัน้ สินเชือ่ เพือ่ การส่งออก ทรัสต์รซี ที รวม

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบีย้ (ร้อยละต่อปี) 2551 2550 2551 2550 7.00 - 8.20 79,467,759 38,100,235 34,893,800 - 4.30 - 6.50 1,199,500,000 1,003,000,000 301,500,000 215,000,000 4.20 - 6.00 2,465,600,000 2,147,000,000 735,500,000 612,000,000 2.47 - 7.37 716,166,586 535,986,109 99,458,199 42,104,492 4,460,734,345 3,724,086,344 1,171,351,999 869,104,492

15.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื จากธนาคารบางส่วนของบริษทั ฯค้ำประกัน โดยบริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย 15.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื จากธนาคารส่วนใหญ่ของบริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งค้ำประกันโดยบริษัทฯ 15.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื จากธนาคารของบริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งค้ำประกันโดยบริษัทฯ และมีการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและ จำนำเครื่องจักรส่วนใหญ่ของบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นหลักประกัน 16. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก : ส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจาก ส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี

งบการเงินรวม 2551 2550 264,166,195 105,627,533 (71,459,774) (23,249,671) 192,706,421 82,377,862

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 254,104,186 105,358,301 (68,205,930) (22,980,439) 185,898,256 82,377,862

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ทำสัญญาเช่าการเงินกับบริษทั ลีสซิง่ เพือ่ จัดหาเครือ่ งจักรและอุปกรณ์โรงงานสำหรับ ใช้ในการดำเนินงานของกิจการ โดยมีกำหนดชำระค่าเช่าเป็นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ย 4 ปี และเมื่อครบกำหนดสัญญาบริษัทฯและบริษัทย่อยสามารถใช้สิทธิขอซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ดังกล่าวได้ในราคา ตามที่กำหนดในสัญญา

128 รายงานประจำปี 2551


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่ำตามสัญญาเช่า การเงินดังนี้

ผลรวมของจำนวนเงินขัน้ ต่ำทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า ดอกเบีย้ ตามสัญญาเช่าซือ้ /เช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจำนวนเงินขัน้ ต่ำทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า ผลรวมของจำนวนเงินขัน้ ต่ำทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า ดอกเบีย้ ตามสัญญาเช่าซือ้ /เช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจำนวนเงินขัน้ ต่ำทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า

ไม่เกิน 1 ปี 84.02 (12.56) 71.46

(หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม 1 - 5 ปี 204.11 (11.40) 192.71

รวม 288.13 (23.96) 264.17 (หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี รวม 80.35 196.89 277.24 (12.15) (10.99) (23.14) 68.20 185.90 254.10

17. เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนทีเ่ ป็นสกุลเงินยูโร ส่วนทีเ่ ป็นสกุลเงินบาท หัก : ส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี

งบการเงินรวม 2551 2550 87,498,356 201,331,480 866,811,770 1,176,164,770 954,310,126 1,377,496,250 (395,131,250) (573,383,283) 559,178,876 804,112,967

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 43,407,824 107,177,151 58,000,000 - 101,407,824 107,177,151 (65,538,824) (63,796,691) 35,869,000 43,380,460

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยแห่งหนึ่งคือ บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด มีเงินกู้ยืม ระยะยาวจากธนาคารเป็นเงินสกุลยูโรเป็นจำนวน 1.8 ล้านยูโรในงบการเงินรวมและ 0.9 ล้านยูโรในงบการเงิน เฉพาะกิจการ (2550 : 4.1 ล้านยูโรในงบการเงินรวมและ 2.2 ล้านยูโรในงบการเงินเฉพาะกิจการ)

Annual Report 2008 129


130 รายงานประจำปี 2551

จำนวนเงินกูย้ มื ระยะยาว ส่วนทีถ่ งึ กำหนด ส่วนทีถ่ งึ กำหนด ชำระภายในหนึง่ ปี ชำระเกินกว่าหนึง่ ปี รวม ลำดับที ่ วันทีท่ ำสัญญา วงเงินกูย้ มื (บาท) (บาท) (บาท) เฉพาะของบริษทั ฯ 43,407,824 - 43,407,824 3,500,000 ยูโร 1. 9 มิถนุ ายน 2549 22,131,000 35,869,000 58,000,000 2. 21 กรกฎาคม 2551 150,000,000 บาท 65,538,824 35,869,000 101,407,824 รวมเงินกูย้ มื เฉพาะกิจการ

รายละเอียดเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีดังนี้ เงือ่ นไขทีส่ ำคัญของสัญญาเงินกูย้ มื ระยะเวลา ชำระคืน ชำระ เงินกู ้ เงินต้น ดอกเบีย้ 3 ปี 1 เดือน 1 เดือน 5 ปี 6 เดือน 1 เดือน 1 เดือน


Annual Report 2008 131

จำนวนเงินกูย้ มื ระยะยาว ส่วนทีถ่ งึ กำหนด ส่วนทีถ่ งึ กำหนด ชำระภายในหนึง่ ปี ชำระเกินกว่าหนึง่ ปี ลำดับที ่ วันทีท่ ำสัญญา วงเงินกูย้ มื (บาท) (บาท) บริษทั ย่อย บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด 33,750,000 101,250,000 1. 6 กรกฎาคม 2549 135,000,000 บาท - 92,142,000 2. 23 มกราคม 2551 120,000,000 บาท 33,750,000 193,392,000 บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด 3,000,000 ยูโร 34,954,656 9,135,876 1. 1 ธันวาคม 2546 104,800,000 78,700,000 2. 9 สิงหาคม 2547 445,500,000 บาท 33,169,770 - 3. 20 กันยายน 2547 704,049,700 บาท 29,200,000 29,600,000 4. 27 ตุลาคม 2547 124,500,000 บาท 42,400,000 52,800,000 5. 28 กุมภาพันธ์ 2548 180,000,000 บาท 47,200,000 93,800,000 6. 31 ตุลาคม 2548 200,000,000 บาท 4,118,000 65,882,000 7. 8 สิงหาคม 2550 70,000,000 บาท 295,842,426 329,917,876 329,592,426 523,309,876 รวมเงินกูย้ มื ของบริษทั ย่อย 395,131,250 559,178,876 รวมเงินกูย้ มื ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย 135,000,000 92,142,000 227,142,000 44,090,532 183,500,000 33,169,770 58,800,000 95,200,000 141,000,000 70,000,000 625,760,302 852,902,302 954,310,126

รวม (บาท)

เงือ่ นไขทีส่ ำคัญของสัญญาเงินกูย้ มื ระยะเวลา ชำระคืน ชำระ เงินกู ้ เงินต้น ดอกเบีย้ 4 ปี 3 เดือน 3 เดือน 5 ปี 3 เดือน 3 เดือน 6 ปี 3 เดือน 3 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 4 ปี 6 เดือน 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน 6 ปี 3 เดือน 1 เดือน


17.1 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัทฯเป็นเงินกู้สกุลบาทและยูโรมีอัตราดอกเบี้ย MLR (Minimum Loan Rate) ลบร้อยละ 2.0 ต่อปี และ LIBOR บวกร้อยละ 1.5 ต่อปี ตามลำดับ 17.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัท ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง

มีอัตราดอกเบี้ย MLR (Minimum Loan Rate) ลบร้อยละ 1.0 ถึง 1.25 ต่อปี เงินกู้ยืมระยะยาวดังกล่าว ค้ำประกันโดยบริษัทฯ และการจดจำนองอาคารสิ่งปลูกสร้างและจำนำเครื่องจักรบางส่วนของบริษัทย่อย นอกจากนี้ บริษัทย่อยต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขสำคัญบางประการ เช่น ต้องดำรงอัตราส่วนหนี้สินทั้งหมดต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้นให้อยู่ในอัตราไม่เกิน 3 : 1 และบริษัทฯและบริษัทย่อยในเครือต้องดำรงโครงสร้างและ สัดส่วนการถือหุ้นโดยการถือหุ้นโดยตรงหรือผ่านบริษัทในเครือเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของ ทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วของบริษัทย่อย เป็นต้น 17.3

เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นเงินกู้ สกุลเงินบาทและยูโรมีอตั ราดอกเบีย้ MLR (Minimum Loan Rate) ลบร้อยละ 1 - 1.25 ต่อปี และ LIBOR บวกร้อยละ 2.0 ต่อปี ตามลำดับ เงินกู้ยืมระยะยาวดังกล่าวค้ำประกันโดยบริษัทฯและโดยการจำนองที่ดิน พร้อมสิ่งปลูกสร้างและจำนำเครื่องจักรส่วนใหญ่ของบริษัทย่อย

18. ทุนเรือนหุ้น 18.1 ใบสำคัญแสดงสิทธิ บริษัทฯได้ออกและจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯให้แก่พนักงานของบริษัท และ/หรือบริษัทย่อย ซึ่งเป็นใบสำคัญแสดงสิทธิชนิดระบุชื่อผู้ถือและโอนเปลี่ยนมือไม่ได้เว้นแต่โอนตามที่ กำหนดในหนังสือชี้ชวนและไม่มีราคาเสนอขายจำนวน 3,000,000 หน่วย ใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว มีอายุไม่เกิน 5 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ โดยมีอัตราการใช้สิทธิคือใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมี สิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิ 3.93 บาทต่อ 1 หุ้นสามัญ อย่างไรก็ตาม ราคาการใช้สิทธิ และ/หรืออัตราการใช้สทิ ธิขา้ งต้นอาจถูกปรับเมือ่ มีเหตุการณ์ตามทีไ่ ด้กำหนดในหนังสือชีช้ วน และมีระยะเวลา การใช้สทิ ธิทกุ ๆ ไตรมาส ในวันที่ 15 ถึง 18 ของเดือนมีนาคม มิถนุ ายน กันยายน และธันวาคม โดยกำหนดการ ใช้สทิ ธิครัง้ แรกคือวันที่ 15 ถึง 18 กันยายน 2551 และกำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายคือวันที่ 18 มิถนุ ายน 2555 การเปลี่ยนแปลงระหว่างปีของใบสำคัญแสดงสิทธิมีรายละเอียดดังนี้ จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ณ วันต้นปี บวก : ใบสำคัญแสดงสิทธิทอี่ อกระหว่างปี จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ณ วันสิน้ ปี

จำนวน (หน่วย) 2551 2550 2,370,000 - 630,000 2,370,000 3,000,000 2,370,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีใบสำคัญแสดงสิทธิคงเหลือจำนวน 3,000,000 หน่วย โดยยังไม่มผี ใู้ ช้สทิ ธิ ตามใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ สามัญดังกล่าว เนือ่ งจาก ณ วันทีบ่ ริษทั ฯกำหนดให้สามารถใช้สทิ ธิได้ ราคาใช้สทิ ธิ สูงกว่าราคายุติธรรมของหุ้นสามัญของบริษัทฯ

132 รายงานประจำปี 2551


18.2 หุ้นสามัญซื้อคืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 หุ้นสามัญซื้อคืนประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ มูลค่าหุน้ สามัญซือ้ คืน (พันบาท) จำนวนหุน้ สามัญซือ้ คืน (พันหุน้ ) ราคาเฉลีย่ หุน้ ละ (บาท) อัตราร้อยละของจำนวนหุน้ สามัญซือ้ คืนต่อจำนวนหุน้ ทีบ่ ริษทั ฯออก

งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 6,374.6 5,999.9 1.06 1.29

ระยะเวลาจำหน่ายหุ้นที่ซื้อคืนตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2552 ถึงวันที่ 7 มิถุนายน 2555 โดยจำหน่าย หุน้ สามัญทีซ่ อื้ คืนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษทั ฯมีนโยบายในการจำหน่ายหุน้ ทีซ่ อื้ คืน การตัดหุน้ ทีซ่ อื้ คืนและการลดทุน โดยให้เป็นไปตามกฎกระทรวงเรือ่ งกำหนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารว่าด้วยการซือ้ หุน้ คืน การจำหน่ายหุน้ คืนและการตัดหุน้ ทีซ่ อื้ คืน พ.ศ. 2544 บริษทั ฯกำหนดราคาจำหน่ายหุน้ ทีซ่ อื้ คืนโดยพิจารณา จากราคาตลาดของหุ้น 18.3 สำรองสำหรับหุ้นสามัญซื้อคืน ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กลต.ชส. (ว) 2/2548 และหนังสือสภาวิชาชีพบัญชีที่ ส.สวบช. 016/2548 บริษัทมหาชนจำกัดต้องกันกำไรสะสมไว้เป็นเงินสำรอง เท่ากับจำนวนเงินที่ได้จ่ายซื้อหุ้นคืน จนกว่าจะมีการจำหน่ายหุ้นที่ซื้อคืนได้หมด หรือลดทุนที่ชำระแล้ว โดยวิธีตัดหุ้นซื้อคืนที่จำหน่ายไม่หมดแล้วแต่กรณี 18.4 หุ้นของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทย่อย

การถือหุ้นดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการหักในส่วนของผู้ถือหุ้นเพื่อแสดงส่วนของผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯสุทธิในงบการเงินรวมซึ่งมีรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ดังนี้

จำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยบริษทั ย่อย (หุน้ ) ราคาทุนของหุน้ (บาท) ส่วนต่ำมูลค่าหุน้ (บาท) หุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบริษทั ย่อย (บาท)

2551 - - - -

2550 4,571,850 12,962,513 1,847,064 14,809,577

Annual Report 2008 133


18.5 จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการคำนวณดังนี้ (หน่วย : หุน้ ) งบการเงินรวม 2551 2550 462,497,269 314,930,000 ยอดยกมา - 78,028,720 บวก : หุน้ ทีอ่ อกใหม่ในระหว่างปี (278,684) - หัก : หุน้ สามัญซือ้ คืนของบริษทั ฯ - (4,571,850) : หุน้ ของบริษทั ฯทีถ่ อื โดยบริษทั ย่อย 462,218,585 388,386,870 จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก บวก : หุน้ สามัญเทียบเท่า – ใบสำคัญแสดงสิทธิ - - (2551 : 3,000,000 หุน้ , 2550 : 2,370,000 หุน้ ) 462,218,585 388,386,870 จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักปรับลด เนือ่ งจากราคาใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวข้างต้นสูงกว่าราคายุตธิ รรมถัวเฉลีย่ ของหุน้ สามัญ ของบริษัทฯสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังนั้น บริษัทฯจึงคาดว่าจะไม่มีการใช้สิทธิของใบสำคัญ แสดงสิ ท ธิ แ ละไม่ น ำใบสำคั ญ แสดงสิ ท ธิ ดั ง กล่ า วมารวมคำนวณเพื่ อ หาจำนวนหุ้ น สามั ญ เที ย บเท่ า เพื่ อ คำนวณกำไรต่อหุ้นปรับลด (หน่วย : หุน้ ) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 462,497,269 314,930,000 ยอดยกมา - 78,028,720 บวก : หุน้ ทีอ่ อกใหม่ระหว่างปี (278,684) - หัก : หุน้ ซือ้ คืนของบริษทั ฯ 462,218,585 392,958,720 จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก 19. สำรองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วย ยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้

134 รายงานประจำปี 2551


20. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำคัญดังต่อไปนี้ (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 3,431,732,797 4,181,847,926 2,012,519,179 1,942,947,184 วัตถุดบิ และวัสดุสนิ้ เปลืองใช้ไป เงินเดือน ค่าแรง และผลประโยชน์อนื่ 1,062,247,051 1,055,429,758 370,451,668 358,713,725 ของพนักงาน 542,228,252 546,108,256 159,168,770 120,447,724 ค่าเสือ่ มราคา 435,543,608 437,451,261 131,964,335 123,445,941 ค่าสาธารณูปโภค 327,745,331 372,775,082 135,711,347 132,169,990 ค่าขนส่งสินค้า 335,494,560 392,034,051 97,620,965 108,181,116 ค่าซ่อมและบำรุงรักษา 295,691,064 - 101,084,840 - ขาดทุนจากการป้องกันความเสีย่ ง 195,526,106 213,249,843 63,143,623 76,233,292 ค่านายหน้า การเปลีย่ นแปลงในสินค้าสำเร็จรูป 44,325,561 (96,345,986) 20,679,884 (84,406,845) และงานระหว่างทำ 21. ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทฯ ไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรของปี 2551 และ 2550 เนื่องจากมีผลขาดทุน ทางภาษีจากการตัดจำหน่ายลูกหนี้ตามคำสั่งศาลล้มละลายกลาง และผลขาดทุนทางภาษียกมามากกว่า กำไรสุทธิสำหรับปี ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลของปี 2551 และ 2550 ของบริษทั ย่อยสามแห่งคือ บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด และบริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัดคำนวณขึน้ จากกำไร ของส่วนงานที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามสิทธิพิเศษจากการส่งเสริมการลงทุน (ถ้ามี) ของ บริษัทย่อยดังกล่าวหลังบวกกลับด้วยค่าใช้จ่ายซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีไม่ได้ และหักผลขาดทุนทางภาษี จากการตัดจำหน่ายลูกหนี้ตามคำสั่งศาลล้มละลายกลางและผลขาดทุนทางภาษียกมา

Annual Report 2008 135


136 รายงานประจำปี 2551

รายละเอียด 1. บัตรส่งเสริมเลขที ่ 2. เพือ่ ส่งเสริมการลงทุนในกิจการ 3. สิทธิประโยชน์สำคัญทีไ่ ด้รบั 3.1 ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำหรับ กำไรสุทธิทไี่ ด้จากการประกอบกิจการที ่ ได้รบั การส่งเสริม และได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ ง นำเงินปันผลจากกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมซึง่ ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลไปรวมคำนวณเพือ่ เสียภาษี 3.2 ได้รบั อนุญาตให้หกั เงินได้พงึ ประเมินเป็น จำนวนเท่ากับร้อยละห้าของรายได้ ที่เพิ่มขึ้นจากปีกอ่ นจากการส่งออก เป็นระยะเวลา 10 ปี ทัง้ นี้ รายได้จากการ ส่งออกของปีนนั้ ๆ จะต้องไม่ตำ่ กว่า รายได้จากการส่งออกเฉลีย่ สามปียอ้ นหลัง ยกเว้นสองปีแรก 3.3 ได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับเครือ่ งจักร ตามทีค่ ณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิ 3.4 ได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดบิ และวัสดุจำเป็นทีต่ อ้ งนำเข้าจาก ต่างประเทศเพือ่ ใช้ในการผลิตเพือ่ การส่งออกเป็นระยะเวลา 1 ปี นับตัง้ แต่ วันนำเข้าวันแรก 4. วันทีเ่ ริม่ ใช้สทิ ธิตามบัตรส่งเสริม

บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) 1292/2539 1062/2541 1065/2543 ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร 3 ปี 3 ปี 3 ปี (สิน้ สุดแล้ว) (สิน้ สุดแล้ว) (สิน้ สุดแล้ว) ได้รบั ได้รบั ได้รบั (สิน้ สุดแล้ว) ได้รบั ได้รบั ได้รบั ได้รบั ได้รบั ไม่ได้รบั (สิน้ สุดแล้ว) (สิน้ สุดแล้ว) 6 มกราคม 8 สิงหาคม 4 มิถนุ ายน 2539 2541 2543

บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด 1003/2538 1015/2543 1278(2)2548 ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร 3 ปี 3 ปี 3 ปี (สิน้ สุดแล้ว) (สิน้ สุดแล้ว) ได้รบั ได้รบั ไม่ได้รบั (สิน้ สุดแล้ว) ได้รบั กึง่ หนึง่ ได้รบั ได้รบั ได้รบั ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั (สิน้ สุดแล้ว) 15 มิถนุ ายน 13 ตุลาคม 1 กันยายน 2537 2542 2549

บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด 1099/2544 1249(1)/2545 1664(2)/2547 1176(2)/2550 ผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตผลิตภัณฑ์ พรีเพก ลามิเนต พรีเพก พรีเพกและ ลามิเนต 3 ปี 3 ปี 3 ปี 5 ปี (สิน้ สุดแล้ว) (สิน้ สุดแล้ว) (สิน้ สุดแล้ว) ได้รบั ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั ได้รบั ได้รบั ได้รบั ได้รบั ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั ไม่ได้รบั 3 พฤศจิกายน 1 กันยายน 7 กรกฎาคม 2 พฤษภาคม 2543 2546 2547 2550

บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด 1378/2543 1598(2)/2547 ผลิตแผ่น ผลิตแผ่น พิมพ์วงจร พิมพ์วงจร 7 ปี 7 ปี (สิน้ สุดแล้ว) ได้รบั ไม่ได้รบั ได้รบั ได้รบั ได้รบั ได้รบั (สิน้ สุดแล้ว) (สิน้ สุดแล้ว) 25 มิถนุ ายน 1 พฤศจิกายน 2544 2547

บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับสิทธิพิเศษทางด้านภาษีอากรจากกรมส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 โดยการอนุมัติของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ที่กำหนดไว้ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีอากรที่มีสาระสำคัญดังต่อไปนี้

22. สิทธิพิเศษจากการส่งเสริมการลงทุน


รายได้จากการขายทัง้ หมดของบริษทั ฯสำหรับปี 2551 และ 2550 เป็นรายได้ของกิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริม การลงทุนโดยสามารถจำแนกเป็นรายได้จากการส่งออกและการขายในประเทศดังต่อไปนี้ (หน่วย : บาท) 2551 2550 รายได้จากการขาย 3,012,601,633 2,891,071,273 รายได้จากการส่งออก 19,692,881 46,322,555 รายได้จากการขายในประเทศ 3,032,294,514 2,937,393,828 รวมรายได้ 23. กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญ ที่ถือโดยบุคคลภายนอกและออกอยู่ในระหว่างปี กำไรต่อหุน้ ปรับลดคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีดว้ ยผลรวมของจำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก

ที่ถือโดยบุคคลภายนอกและออกอยู่ในระหว่างปีกับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯอาจต้องออก เพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญโดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปี หรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า

Annual Report 2008 137


138 รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม สำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ธุรกิจแผ่นพิมพ์วงจร ธุรกิจ พรีเพก รายการตัดบัญชี และลามิเนต อเมริกา ยุโรป เอเชีย รวม ธุรกิจบริการ ระหว่างกัน รวม 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 154,199 138,701 1,417,520 1,633,058 4,454,756 4,900,339 1,640,862 1,693,313 7,513,138 8,226,710 - - - - 7,667,337 8,365,411 รายได้จากภายนอก 1,380,718 1,447,262 - - - - 1,426,271 870,940 1,426,271 870,940 13,663 - (2,820,652) (2,318,202) - - รายได้ระหว่างส่วนงาน 1,534,917 1,585,963 1,417,520 1,633,058 4,454,756 4,900,339 3,067,133 2,564,253 8,939,409 9,097,650 13,663 - (2,820,652) (2,318,202) 7,667,337 8,365,411 รายได้ทงั้ สิน้ กำไรจากการดำเนินงาน 156,561 140,397 878,116 1,324,125 4,324 - 26,179 6,669 1,065,180 1,471,191 ตามส่วนงาน รายได้และค่าใช้จา่ ย ทีไ่ ม่ได้ปนั ส่วน : - 49,695 กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น 30,723 32,300 ดอกเบีย้ รับ 28,621 - รายได้คา่ ประกันความเสียหาย 169,820 131,307 รายได้อนื่ (678,273) (721,151) ค่าใช้จา่ ยในการขาย (405,120) (383,371) ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร (20,468) - ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น ขาดทุนจากการป้องกัน (295,691) - ความเสีย่ ง (2,375) (1,490) ค่าใช้จา่ ยอืน่ (285,350) (294,136) ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ส่วนแบ่งกำไรจากเงิน 1,965 4,689 ลงทุนในบริษทั ร่วม (1,567) (10,517) ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล (6,635) (21,091) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย (399,170) 257,426 กำไร(ขาดทุน)สุทธิ

บริษัทฯและบริษัทย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานธุรกิจหลัก คือ การผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์แผ่นพิมพ์วงจร พรีเพก และลามิเนต โดยมีส่วนงานทางภูมิศาสตร์ที่ดำเนิน การผลิตในประเทศไทย และดำเนินธุรกิจทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ ข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยจำแนกตามส่วนงานทางธุรกิจ วาคม 2551 และ 2550 มีดังต่ อไปนี ้ (หน่วย : พันบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธัน

24. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน


Annual Report 2008 139

ธุรกิจ พรีเพก และลามิเนต 2551 2550 596,333 525,044 870,307 939,273 1,466,640 1,464,317

ธุรกิจแผ่นพิมพ์วงจร 2551 2550 5,588,411 5,239,320 2,320,688 3,173,328 7,909,099 8,412,648

บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ในการกำหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9

สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์อนื่ สินทรัพย์รวม

ธุรกิจบริการ 2551 2550 2,147 - 6,755 - 8,902 -

ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานทางธุรกิจสำหรับงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เป็นดังต่อไปนี้

(หน่วย : พันบาท) รวม 2551 2550 6,186,891 5,764,364 3,197,750 4,112,601 9,384,641 9,876,965


25. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและบริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพภายใต้การอนุมัติจาก กระทรวงการคลังตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯและบริษัทย่อยและพนักงาน จะจ่ายสมทบเข้ากองทุนดังกล่าวเป็นรายเดือนให้ในอัตราร้อยละ 4 - 8 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ธนชาต จำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงาน ตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯและบริษัทย่อย ในระหว่างปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายสมทบเข้า กองทุนซึ่งได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบการเงินรวมเป็นจำนวนเงิน 20.7 ล้านบาท (2550 : 19.3 ล้านบาท) และ เฉพาะบริษัทฯเป็นจำนวนเงิน 7.6 ล้านบาท (2550 : 7.6 ล้านบาท) 26. เงินปันผล เมือ่ วันที่ 29 เมษายน 2551 ทีป่ ระชุมสามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ สามัญจากกำไรของปีกอ่ นของบริษทั ฯในอัตราหุน้ ละ 0.08 บาท ซึง่ คิดเป็นจำนวนเงินปันผลรวม 37 ล้านบาท บริษัทฯได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวในวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯได้มีมติอนุมัติงดการจ่ายเงินปันผล ประจำปี 2549 ให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 27. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 27.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาเช่าและสัญญาบริการ ซึง่ มีระยะเวลาตัง้ แต่ 1 ถึง 3 ปี ค่าเช่าและค่าบริการขัน้ ต่ำในอนาคตทีจ่ ะต้องจ่ายตามสัญญา จนกระทัง่ สิน้ สุด

สัญญามีดังต่อไปนี้ สกุลเงิน บาท เหรียญสหรัฐอเมริกา

งบการเงินรวม 27,380,897 72,904

งบการเงินเฉพาะกิจการ 9,367,004 -

27.2

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯและ บริษัทย่อยเหลืออยู่เป็นจำนวนเงิน 63.0 ล้านบาท (เฉพาะบริษัทฯ : 28.3 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระ ผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อยซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยหนังสือ เพื่อค้ำประกันการชำระค่าไฟฟ้า

27.3

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับการซื้อเครื่องจักรเป็นจำนวนเงิน

ประมาณ 0.9 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา 114.7 ล้านเยน และ 0.2 ล้านยูโร หรือเทียบเท่ารวมเป็นจำนวนเงิน ประมาณ 89.1 ล้านบาท (เฉพาะบริษัทฯ : 0.7 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่าเป็นจำนวนเงิน ประมาณ 23.5 ล้านบาท)

140 รายงานประจำปี 2551


27.4 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการค้ำประกันเงินกูย้ มื และวงเงินสินเชื่อทุกประเภทระหว่างกันดังนี้ บริษัทที่ได้รับการค้ำประกัน บริษทั เค ซี อี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด - สกุลเงินบาท - สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา บริษทั เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด - สกุลเงินบาท - สกุลเงินยูโร บริษทั ไทยลามิเนต แมนูแฟคเจอเรอร์ จำกัด - สกุลเงินบาท บริษทั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) - สกุลเงินบาท

(หน่วย : ล้าน)

ผู้ค้ำประกัน บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) 2551 2550 73 212 1 5 3,572 3,846 1 2 135 170 - -

บริษัท เค ซี อี อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 2551 2550 - - - - - - - - - - 219 258

27.5

เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2548 บริษัท เคซีอี อเมริกา อิงค์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมแห่งหนึ่งได้ทำสัญญาเช่า พืน้ ทีส่ ำนักงานกับบริษทั ย่อยของบริษทั ร่วมแห่งหนึง่ เป็นระยะเวลา 15 ปี โดยภายใต้สญ ั ญาดังกล่าวบริษทั ร่วม มีภาระผูกพันเกี่ยวกับค่าเช่าที่ต้องจ่ายในอนาคต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็นจำนวนประมาณ 1.8 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่าประมาณ 63.9 ล้านบาท

27.6

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการประเมินภาษีธุรกิจเฉพาะจากเจ้าพนักงาน กรมสรรพากรจำนวน 4.2 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯให้การค้ำประกันแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง

โดยไม่คิดค่าธรรมเนียม อย่างไรก็ตาม บริษัทฯได้ยื่นอุทธรณ์ผลการประเมินดังกล่าวต่อศาลภาษีอากรกลาง ซึง่ ปัจจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณา และฝ่ายบริหารของบริษทั ฯเชือ่ ว่าจะไม่มภี าษีตอ้ งเสียจากการประเมิน

ดังกล่าว ดังนั้น บริษัทฯจึงมิได้บันทึกหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นไว้ในบัญชี

27.7 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯมีภาระผูกพันกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเกี่ยวเนื่องกับสัญญาการติดตั้งและ บริหารระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนเงินประมาณ 29.4 ล้านบาท 28. เครื่องมือทางการเงิน 28.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาว นอกจากนี้ บริษัทฯและบริษัทย่อยยังมีตราสารอนุพันธ์นอกงบดุลเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากราคาวัตถุดิบ บริษัทฯและ บริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินและตราสารอนุพันธ์ดังกล่าว และมีนโยบาย ในการบริหารความเสี่ยงดังนี้

Annual Report 2008 141


ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้า ฝ่ายบริหารควบคุม ความเสี่ยงนี้โดยการกำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและ บริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มกี ารกระจุกตัว เนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้าจำนวนมากราย และลูกหนีส้ ว่ นใหญ่มคี วามสามารถในการชำระหนีด้ ี จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสีย จากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ที่แสดงอยู่ในงบดุล

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากกับธนาคาร และสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตราตลาด ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ของ บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตรา ดอกเบี้ยได้ดังนี้

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้า เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ซึง่ บันทึกโดยวิธสี ว่ นได้เสีย หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรอง จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ จากการซือ้ อุปกรณ์ เจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาว

142 รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม อัตราดอกเบีย้ ปรับขึน้ ลงตาม ราคาตลาด

ไม่มอี ตั รา ดอกเบีย้ (ล้านบาท)

85 - - 85 80 4,381 - - - 264 954 5,679

รวม

33 1,353 87 1,473 - - 866 11 116 - - 993

อัตรา ดอกเบีย้ ต่อปี (ร้อยละ)

118 1,353 87 1,558 80 4,381 866 11 116 264 954 6,672

0.25 - 3.25 - - 7.00 - 8.20 2.47 - 7.38 - - - 5.56 - 7.79 4.25 - 6.00


สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้า เงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมซึง่ บันทึกโดยวิธรี าคาทุน หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนีอ้ นื่ และเงินทดรอง จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ จากการซือ้ อุปกรณ์ เจ้าหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาว

อัตราดอกเบีย้ ปรับขึน้ ลงตาม ราคาตลาด 16 - - 16 35 1,136 - - - 254 101 1,526

งบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่มอี ตั รา ดอกเบีย้ รวม (ล้านบาท) 15 31 680 680 923 923 1,618 1,634 - 35 - 1,136 613 613 23 23 20 20 - 254 - 101 656 2,182

อัตรา ดอกเบีย้ ต่อปี (ร้อยละ) 0.25 - 2.00 - - 7.00 3.18 - 5.50 - - - 5.85 - 7.79 4.25 - 4.75

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่อง กับการขายสินค้า การซือ้ วัตถุดบิ เงินกูย้ มื เป็นเงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีนโยบายการบริหาร สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่สำคัญโดยจะจัดให้สินทรัพย์และหนี้สินดังกล่าวมีสัดส่วน และเงื่อนไขที่สมดุลกัน (Natural Hedging) และเน้นการสร้างกระแสเงินสดรับและจ่ายให้สอดคล้องกัน นอกจากนี้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้มนี โยบายการบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น โดยเน้นการบริหาร ความเสี่ยงตามธุรกรรมการค้า (Transaction risk) ตามสถานการณ์และการคาดการณ์อัตราแลกเปลี่ยน เป็นผลให้บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ตกลงทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากับธนาคารพาณิชย์ ไว้จำนวนหนึ่ง ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยง

Annual Report 2008 143


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่มีสาระสำคัญดังนี้ งบการเงินรวม สินทรัพย์ หนีส้ นิ สกุลเงิน ทางการเงิน ทางการเงิน (พันหน่วย) (พันหน่วย) 37,541 เหรียญสหรัฐอเมริกา 30,549 5,863 3,586 ยูโร 315 37 ปอนด์สเตอร์ลงิ - 109,807 เยน

งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ หนีส้ นิ ทางการเงิน ทางการเงิน (พันหน่วย) (พันหน่วย) 10,621 11,702 2,681 1,147 235 - - 8,591

อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2551 อัตราซือ้ อัตราขาย (บาทต่อหนึง่ หน่วยเงินตรา ต่างประเทศ) 34.7129 35.0824 48.7514 49.6515 50.1709 51.1328 0.3819 0.3898

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward exchange contract) คงเหลือโดยมีรายละเอียดดังนี้ สกุลเงิน จำนวน วันทีค่ รบกำหนด อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญา (พัน) (บาทต่อหนึง่ หน่วยเงินตราต่างประเทศ) สัญญาซือ้ 33.2600 - 35.6062 2 มกราคม 2552 - 23 มิถนุ ายน 2552 เหรียญสหรัฐอเมริกา 17,845 570 45.6930 - 51.7048 ยูโร 6 กุมภาพันธ์ 2552 - 5 มิถนุ ายน 2552 สัญญาขาย 33.6400 - 35.4400 เหรียญสหรัฐอเมริกา 12,235 9 มกราคม 2552 - 28 พฤษภาคม 2552 1,700 48.8259 - 49.7600 ยูโร 5 มีนาคม 2552 - 29 มิถนุ ายน 2552

ความเสี่ยงจากราคาวัตถุดิบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสัญญาป้องกันความเสี่ยงจากราคาวัตถุดิบ (Commodity swap agreement) คงเหลือโดยมีรายละเอียดดังนี้

สินค้า ปริมาณ (ตัน) ทองแดง 1,430

144 รายงานประจำปี 2551

วันทีค่ รบกำหนด 28 กุมภาพันธ์ 2552 - 30 มิถนุ ายน 2552

ราคาตลาดของวัตถุดบิ ณ วันที ่ ราคาตามสัญญา 31 ธันวาคม 2551 (เหรียญสหรัฐอเมริกา (เหรียญสหรัฐอเมริกา ต่อหน่วย) ต่อหน่วย) 3,180 - 7,200 2,902


เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เข้าทำสัญญาให้สิทธิแก่ธนาคารในต่างประเทศ แห่งหนึง่ ในการขายทองแดงในอนาคตเป็นจำนวน 600 ตัน (เฉพาะบริษทั ฯ : 150 ตัน) โดยธนาคารจะต้องใช้สทิ ธิ ดังกล่าวภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552 เพื่อขายทองแดงให้กับบริษัทฯและบริษัทย่อย ซึ่งมีระยะเวลาครบ กำหนดในระหว่างเดือนมีนาคม 2552 ถึงสิงหาคม 2552 โดยมีราคาตามสัญญาเท่ากับ 6,700 เหรียญ สหรัฐอเมริกาต่อตัน ซึง่ หากราคาตามสัญญาสูงกว่าราคาตลาดถัวเฉลีย่ ในเดือนทีส่ ญ ั ญาครบกำหนด บริษทั ฯ และบริษัทย่อยจะต้องชำระเงินให้ธนาคารตามผลต่างดังกล่าวคูณด้วยปริมาณที่ครบกำหนดในเดือนนั้น 28.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนือ่ งจากสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน้ เงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยปรับขึ้นลงตามอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์กนั ในขณะทีท่ งั้ สองฝ่าย มีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มี ความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม จะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม 29. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนทีส่ ำคัญของกลุม่ บริษทั คือ การจัดให้มโี ครงสร้างทางการเงินทีเ่ หมาะสมและ การดำรงไว้ซึ่งความสามารถในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุม่ บริษทั มีอตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนเท่ากับ 3.1 : 1 (2550 : 2.6 : 1) และ บริษทั ฯมีอัตราส่วนเท่ากับ 1.6 : 1 (2550 : 1.2 : 1) 30. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน บริษทั ฯได้มกี ารจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปีปัจจุบัน ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อกำไรสุทธิหรือส่วนของผู้ถือหุ้น การจัดประเภทรายการใหม่มีดังต่อไปนี ้ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามที ่ ตามที ่ ตามที ่ ตามที ่ จัดประเภทใหม่ เคยรายงานไว้ จัดประเภทใหม่ เคยรายงานไว้ 5,764,364,493 5,774,597,665 1,379,024,957 1,380,473,642 10,233,172 - 1,448,685 -

31. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2552

Annual Report 2008 145


Contents of Financial Statements • Report of Independent Auditor • Balance Sheets • Income Statements • Statements of Changes in Shareholders’ Equity • Cash Flow Statements • Notes To Consolidated Financial Statements

146 รายงานประจำปี 2551


REPORT OF INDEPENDENT AUDITOR Report of Independent Auditor To the Shareholders of KCE Electronics Public Company Limited I have audited the accompanying consolidated balance sheets of KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries as at 31 December 2008 and 2007 and the related consolidated statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the years then ended, and the separate financial statements of KCE Electronics Public Company Limited for the same periods. These financial statements are the responsibility of the management of the Company and its subsidiaries as to their correctness and the completeness of the presentation. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audits. I conducted my audits in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audit to obtain reasonable assurance about whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as evaluating the overall financial statement presentation. I believe that my audits provide a reasonable basis for my opinion. In my opinion, the financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the financial position of KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries and of KCE Electronics Public Company Limited as at 31 December 2008 and 2007, the results of their operations, and cash flows for the years then ended, in accordance with generally accepted accounting principles. I draw attention to the matter as discussed in Note 1.2 to the financial statement that from the global economics crisis, the Company and its subsidiaries have been affected from the reduction in purchase order from customers which caused a subsidiary having temporarily ceased the production since December 2008. However the management of the Company and its subsidiaries have contacted various customers to increase the purchase order in the future and have a plan to renovate the facilities of the subsidiary which has ceased the operation to support the production of more complicated products in the future. Therefore, the management of the Company and its subsidiaries believe that the Company and its subsidiaries’ operations will return to normal in the future. The financial statements under report have been prepared under a going concern basis, assuming that the Company and its subsidiaries are able to continue their operations and that the realisation of assets and settlement of liabilities and obligations will occur in the ordinary course of business of the Company and its subsidiaries, without any expectation of significant disruption to the ongoing activities. Saifon Inkaew Certified Public Accountant (Thailand) No. 4434 Ernst & Young Office Limited Bangkok : 24 February 2009 Annual Report 2008 147


BALANCE SHEETS KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries As at 31 December 2008 and 2007 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2008 2007 2008 2007 Assets Current assets 117,587,969 190,165,371 30,651,325 83,320,822 Cash and cash equivalents 8 Trade accounts receivable 9 474,230,226 526,672,107 411,845,941 276,460,821 Related parties 882,975,534 1,473,871,954 272,532,154 436,452,064 Unrelated parties 1,357,205,760 2,000,544,061 684,378,095 712,912,885 (4,540,200) (2,420,485) (4,260,556) (2,357,396) Less : Allowance for doubtful accounts 1,352,665,560 1,998,123,576 680,117,539 710,555,489 Trade accounts receivable - net Amounts due from and short-term 9 561,376 336 19,332,136 16,904 loans to related parties - net 10 1,375,077,962 1,711,323,322 431,241,263 479,003,298 Inventories - net Other current assets 18,327,046 5,531,090 5,772,075 1,267,050 Input tax refundable 20,465,741 48,033,304 4,368,677 4,682,674 Other accounts receivable 3,596,580 15,871,494 814,796 6,821,445 Accrued income 113,431,762 - - - Insurance claim receivable 6,440,161 7,713,995 1,754,650 2,799,045 Prepaid expenses 33,095,353 32,626,728 13,522,330 3,438,681 Others 195,356,643 109,776,611 26,232,528 19,008,895 Total other current assets 3,041,249,510 4,009,389,216 1,187,574,791 1,291,905,408 Total current assets Non-current assets 11 - - 920,568,175 919,098,175 Investments in subsidiaries - net 12 87,093,603 82,173,056 2,422,385 2,422,385 Investments in associates 772,218 1,494,103 772,218 1,494,103 Investments in marketable securities Deposit and advance 31,303,826 12,170,904 31,303,826 11,030,583 for purchases of assets Property, plant and equipment - net 13 6,186,890,650 5,764,364,493 1,539,742,796 1,379,024,957 14 26,399,128 10,233,172 11,326,693 1,448,685 Intangible assets - net 4.1 - (7,187,382) - - Negative goodwill - net 10,932,539 4,327,085 10,473,889 3,925,835 Deposits and others 6,343,391,964 5,867,575,431 2,516,609,982 2,318,444,723 Total non-current assets 9,384,641,474 9,876,964,647 3,704,184,773 3,610,350,131 Total assets The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

148 รายงานประจำปี 2551


BALANCE SHEETS (Continued) KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries As at 31 December 2008 and 2007 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2008 2007 2008 2007 Liabilities and shareholders’ equity Current liabilities Bank overdrafts and short-term loans 15 4,460,734,345 3,724,086,344 1,171,351,999 869,104,492 from financial institutions Trade accounts payable 9 49,093,414 51,264,377 410,642,276 352,812,201 Related parties 817,291,935 1,370,045,041 202,593,477 319,065,250 Unrelated parties 866,385,349 1,421,309,418 613,235,753 671,877,451 Total trade accounts payable Current portion of accounts payable 16 71,459,774 23,249,671 68,205,930 22,980,439 under financial lease agreements 17 395,131,250 573,383,283 65,538,824 63,796,691 Current portion of long-term loans Amounts due to and advances 9 11,300,858 9,155,383 23,385,318 7,860,577 from related parties Other current liabilities Other payable from purchases 116,471,331 206,637,633 20,213,437 153,109,160 of equipment 54,806,043 184,512,162 23,431,357 65,936,100 Accrued expenses 306,600,840 100,906,122 75,651,541 2,036,285 Other accounts payable 31,709,119 29,745,487 5,312,586 3,052,673 Accrued interest expenses 7,916,211 7,395,635 1,484,766 2,033,340 Others 517,503,544 529,197,039 126,093,687 226,167,558 Total other current liabilities 6,322,515,120 6,280,381,138 2,067,811,511 1,861,787,208 Total current liabilities Non-current liabilities Accounts payable under financial lease 192,706,421 82,377,862 185,898,256 82,377,862 agreements, net of current portion 16 Long-term loans, 17 559,178,876 804,112,967 35,869,000 43,380,460 net of current portion 751,885,297 886,490,829 221,767,256 125,758,322 Total non-current liabilities 7,074,400,417 7,166,871,967 2,289,578,767 1,987,545,530 Total liabilities

The accompanying notes are an integral part of the financial statements. Annual Report 2008 149


BALANCE SHEETS (continued) KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries As at 31 December 2008 and 2007 Shareholders’ equity Share capital Registered 500,000,000 ordinary shares of Baht 1 each Issued and fully paid-up 462,497,269 ordinary shares of Baht 1 each Share premium Translation adjustments Deferred loss from hedging activities Retained earnings Appropriated - statutory reserve - reserve for treasury shares Unappropriated (deficit) Total shareholders’ equity of the company Less : Treasury shares Shareholders’ equity of the company - net Company’s shares held by its subsidiaries Minority interest - equity attributable to minority shareholders of subsidiaries Total shareholders’ equity Total liabilities and shareholders’ equity

Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2008 2007 2008 2007 18 500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 462,497,269 462,497,269 462,497,269 462,497,269 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 1,017,395,000 (7,993,103) (10,948,216) - - - (9,209,143) - (3,668,754) 19 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 18.3 6,374,591 - 6,374,591 - 554,310,634 989,319,751 (115,286,263) 96,581,086 2,082,584,391 2,499,054,661 1,420,980,597 1,622,804,601 18.2 (6,374,591) - (6,374,591) - 2,076,209,800 2,499,054,661 1,414,606,006 1,622,804,601 18.4 - (14,809,577) - - 234,031,257 225,847,596 - - 2,310,241,057 2,710,092,680 1,414,606,006 1,622,804,601 9,384,641,474 9,876,964,647 3,704,184,773 3,610,350,131

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

150 รายงานประจำปี 2551

(Unit : Baht)


INCOME STATEMENTS KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2008 2007 2008 2007 Revenues 9 7,667,337,486 8,365,410,830 3,032,294,514 2,937,393,828 Sales Other income - 49,694,907 - 16,675,886 Gain on exchange rate 9 30,722,611 32,300,303 30,147,408 31,063,508 Interest income 28,620,929 - 9,636,266 - Income from insurance claim 169,819,969 131,307,192 64,896,708 34,872,856 Others 229,163,509 213,302,402 104,680,382 82,612,250 Total other income 7,896,500,995 8,578,713,232 3,136,974,896 3,020,006,078 Total revenues Expenses 9 6,602,157,032 6,894,218,870 2,730,641,139 2,511,007,989 Cost of sales 9 678,272,573 721,150,936 258,785,562 260,143,238 Selling expenses 405,120,075 383,370,762 143,420,770 139,638,378 Administrative expenses 20,467,717 - 7,374,227 - Loss on exchange rate 295,691,064 - 101,084,840 - Loss from hedging activities 2,374,635 1,489,882 3,221,079 226,689 Other expenses 8,004,083,096 8,000,230,450 3,244,527,617 2,911,016,294 Total expenses Income (loss) before finance cost, share of income from investments in associates and corporate (107,582,101) 578,482,782 (107,552,721) 108,989,784 income tax (285,350,359) (294,136,508) (60,940,256) (47,253,468) Finance cost Share of income from investments 12 1,965,434 4,688,915 - - in associates Income (loss) before corporate (390,967,026) 289,035,189 (168,492,977) 61,736,316 income tax 21 (1,567,177) (10,517,497) - - Corporate income tax (392,534,203) 278,517,692 (168,492,977) 61,736,316 Net income (loss) for the year Net income attributable to : (399,169,562) 257,426,423 (168,492,977) 61,736,316 Equity holders of the parent 6,635,359 21,091,269 Minority interests of the subsidiaries (392,534,203) 278,517,692 The accompanying notes are an integral part of the financial statements. Annual Report 2008 151


INCOME STATEMENTS (Continued) KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Note 2008 2007 2008 2007 Earnings per share Basic earnings per share Net income (loss) attributable to (0.86) 0.66 (0.36) 0.16 equity holders of the parent Weighted average number of 18.5 462,218,585 388,386,870 462,218,585 392,958,720 ordinary shares (shares) Diluted earnings per share Net income (loss) attributable to (0.86) 0.66 (0.36) 0.16 equity holders of the parent Weighted average number of 18.5 462,218,585 388,386,870 462,218,585 392,958,720 ordinary shares (shares)

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

152 รายงานประจำปี 2551


Annual Report 2008 153

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Consolidated financial statements Shareholders’ equity of the Company Retained earnings Deferred gain Appropriated Unappropriated Share capital (loss) from Reserve for issued and Share Translation hedging Statutory treasury Treasury fully paid-up premium adjustments activities reserve shares shares Balance as at 31 December 314,930,000 1,017,395,000 (7,401,612) (4,033,152) 45,000,000 - 736,893,328 - 2006 Expenses recognised directly in equity : - - (3,546,604) - - - - - Translation adjustments Deferred loss from - - - (5,175,991) - - - - hedging activities Expenses recognised - - (3,546,604) (5,175,991) - - - - directly in equity - - - - - - 257,426,423 - Net income for the year Total income and expenses - - (3,546,604) (5,175,991) - - 257,426,423 - for the year Unappropriated retained earnings - - - - 5,000,000 - (5,000,000) - transferred to statutory reserve Ordinary shares issued 147,567,269 - - - - - - - during the year Disposal of the Company’s - - - - - - - - share held by its subsidiaries - - - - - - - - Minority interest Balance as at 31 December 462,497,269 1,017,395,000 (10,948,216) (9,209,143) 50,000,000 - 989,319,751 - 2007

KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007

(Unit : Baht) Minority interest equity Total equity Company’s attributable attributable shares held to minority to the parent’s by its shareholders shareholders subsidiaries of subsidiaries Total 2,102,783,564 (22,743,814) 203,235,300 2,283,275,050 (3,546,604) - - (3,546,604) (5,175,991) - - (5,175,991) (8,722,595) - - (8,722,595) 257,426,423 - 21,091,269 278,517,692 248,703,828 - 21,091,269 269,795,097 - - - - 147,567,269 - - 147,567,269 - 7,934,237 - 7,934,237 - - 1,521,027 1,521,027 2,499,054,661 (14,809,577) 225,847,596 2,710,092,680

STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY


154

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Consolidated financial statements Shareholders’ equity of the Company Retained earnings Deferred gain Appropriated Unappropriated Share capital (loss) from Reserve for issued and Share Translation hedging Statutory treasury Treasury fully paid-up premium adjustments activities reserve shares shares Balance as at 31 December 462,497,269 1,017,395,000 (10,948,216) (9,209,143) 50,000,000 - 989,319,751 - 2007 Income recognised directly in equity : - - 2,955,113 - - - - - Translation adjustments Deferred gain from hedging - - - 9,209,143 - - - - activities Income recognised directly - - 2,955,113 9,209,143 - - - - in equity - - - - - - (399,169,562) - Net loss for the year Total income and expenses - - 2,955,113 9,209,143 - - (399,169,562) - for the year - - - - - - (36,652,346) - Dividend paid (6,374,591) Treasury shares - - - - - 6,374,591 (6,374,591) - Treasury shares reserve Write-off of negative goodwill - - - - - - 7,187,382 - (Note 4.1) Disposal of the Company’s - - - - - - - - share held by its subsidiaries - - - - - - - - Minority interest Balance as at 31 December 462,497,269 1,017,395,000 (7,993,103) - 50,000,000 6,374,591 554,310,634 (6,374,591) 2008

KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007

Minority interest equity Total equity Company’s attributable attributable shares held to minority to the parent’s by its shareholders shareholders subsidiaries of subsidiaries Total 2,499,054,661 (14,809,577) 225,847,596 2,710,092,680 2,955,113 - - 2,955,113 9,209,143 - - 9,209,143 12,164,256 - - 12,164,256 (399,169,562) - 6,635,359 (392,534,203) (387,005,306) - 6,635,359 (380,369,947) (36,652,346) - 18,313 (36,634,033) (6,374,591) - - (6,374,591) - - - - 7,187,382 - - 7,187,382 - 14,809,577 - 14,809,577 - - 1,529,989 1,529,989 2,076,209,800 - 234,031,257 2,310,241,057

(Unit : Baht)

STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY (Continued)


Annual Report 2008 155

Share capital issued and fully paid-up 314,930,000 - - - - 147,567,269 - 462,497,269 462,497,269 - - - - - - - 462,497,269

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

Balance as at 31 December 2006 Expenses recognised directly in equity : Deferred loss from hedging activities Expenses recognised directly in equity Net income for the year Total income and expenses for the year Ordinary shares issued during the year Unappropriated retained earnings transferred to statutory reserve Balance as at 31 December 2007 Balance as at 31 December 2007 Income recognised directly in equity : Deferred gain from hedging activities Income recognised directly in equity Net loss for the year Total income and expenses for the year Dividend paid Treasury shares Treasury shares reserve Balance as at 31 December 2008 Share premium 1,017,395,000 - - - - - - 1,017,395,000 1,017,395,000 - - - - - - - 1,017,395,000

KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007 Deferred gain (loss) from hedging activities (943,613) (2,725,141) (2,725,141) - (2,725,141) - - (3,668,754) (3,668,754) 3,668,754 3,668,754 - 3,668,754 - - - -

Separate financial statements Retained earnings Appropriated Reserve for Statutory treasury reserve shares 45,000,000 - - - - - - - - - - - 5,000,000 - 50,000,000 - 50,000,000 - - - - - - - - - - - - - - 6,374,591 50,000,000 6,374,591 Unappropriated 39,844,770 - - 61,736,316 61,736,316 - (5,000,000) 96,581,086 96,581,086 - - (168,492,977) (168,492,977) (36,999,781) - (6,374,591) (115,286,263)

Treasury shares - - - - - - - - - - - - - - (6,374,591) - (6,374,591)

(2,725,141) (2,725,141) 61,736,316 59,011,175 147,567,269 - 1,622,804,601 1,622,804,601 3,668,754 3,668,754 (168,492,977) (164,824,223) (36,999,781) (6,374,591) - 1,414,606,006

Total 1,416,226,157

(Unit : Baht)

STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY (Continued)


CASH FLOW STATEMENTS KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements 2008 2007 2008 2007 Cash flows from operating activities (390,967,026) 289,035,189 (168,492,977) 61,736,316 Net income (loss) before tax Adjustments to reconcile net income (loss) before tax to net cash provided by (used in) operating activities : Share of income from investments in associates - - (1,965,434) (4,688,915) 542,228,252 546,108,256 159,168,770 120,447,724 Depreciation 4,828,273 5,155,161 1,149,328 1,308,617 Amortisation - (3,526,171) - - Amortisation of negative goodwill - net Allowance for doubtful accounts - interest income from associated company 29,942,634 29,942,634 29,942,634 29,942,634 2,119,715 1,386,954 1,903,160 1,323,865 Allowance for doubtful account 17,516,827 (25,529,411) (5,486,378) (5,024,003) Unrealised loss (gain) on exchange rate (3,932,430) (1,409,366) (1,680,506) (1,873,252) Gain on sales of fixed assets 2,175,681 783,194 2,465,331 46,324 Loss from write-off of fixed assets 220,908,485 - 84,539,536 - Loss from hedging activities (29,942,634) (29,942,634) (29,942,634) (29,942,634) Interest income from associated company 10,332,245 14,938,184 - - Loss from write-off of inventories Allowance for diminution in value of inventories and inventory obsolescence 52,585,228 7,819,868 8,415,116 2,963,938 Unrealised loss (gain) from revaluation of investments in marketable securities 721,885 (436,920) 721,885 (436,920) 281,468,727 287,770,449 59,542,349 46,178,705 Interest expenses Net income from operation before changes 738,020,428 1,117,406,472 142,245,614 226,671,314 in operating assets and liabilities Operating assets decrease (increase) 656,664,685 10,187,437 37,643,113 (94,132,442) Trade accounts receivable 273,327,886 (363,526,831) 39,346,919 (122,065,434) Inventories (76,705,352) (70,095,043) 1,094,497 (6,363,080) Other current assets (6,723,454) (13,498,238) (26,939,297) (13,321,989) Other non-current assets

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

156 รายงานประจำปี 2551


CASH FLOW STATEMENTS (Continued) KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007 Consolidated financial statements 2008 2007 Operating liabilities increase (decrease) (566,298,503) 204,972,205 Trade accounts payable (126,130,325) 60,803,097 Other current liabilities 892,155,365 946,249,099 Cash flows from operating activities (279,665,000) (294,362,092) Cash paid for interest expenses (9,610,783) (20,795,350) Cash paid for corporate income tax 602,879,582 631,091,657 Net cash from operating activities

(Unit : Baht) Separate financial statements

2008

2007

(69,233,248) 127,197,359 (28,410,539) 15,818,133 95,747,059 133,803,861 (58,855,771) (50,214,092) (922,171) (764,647) 35,969,117 82,825,122

The accompanying notes are an integral part of the financial statements. Annual Report 2008 157


CASH FLOW STATEMENTS (Continued) KCE Electronics Public Company Limited and its subsidiaries For the years ended 31 December 2008 and 2007 Consolidated financial statements 2008 2007 Cash flows from investing activities - - Increase in investments in subsidiary 10,986,668 22,057,521 Proceeds from sales of equipment (786,649,571) (729,601,155) Cash paid for purchases of equipment - Cash paid for purchases of computer software (20,994,228) 1,529,989 1,521,027 Increase in minority interest - 85,386 Increase in translation adjustments (795,127,142) (705,937,221) Net cash used in investing activities Cash flows from financing activities Increase in bank overdrafts and short-term loans from financial institutions 595,128,888 308,116,817 150,142,000 349,126,844 Cash received from long-term loans (574,152,012) (695,333,608) Cash paid for long-term loans Cash received from liabilities 202,732,425 - under finance lease agreements Cash paid for liabilities (225,982,096) - under finance lease agreements - 147,567,269 Cash received from share capital increase (36,634,033) - Dividend paid (6,374,591) - Cash paid for purchase of treasury shares Disposal of the Company’s shares held 14,809,577 7,934,237 by its subsidiaries 119,670,158 117,411,559 Net cash from financing activities Net increase (decrease) (72,577,402) 42,565,995 in cash and cash equivalents Cash and cash equivalents at 190,165,371 147,599,376 beginning of the year Cash and cash equivalents 117,587,969 190,165,371 at end of the year

The accompanying notes are an integral part of the financial statements.

158 รายงานประจำปี 2551

(Unit : Baht) Separate financial statements

2008

2007

(1,470,000) 12,283,434 (317,876,121) (11,027,336) - - (318,090,023) 301,602,911 58,000,000 (63,796,691) 202,732,425 (225,712,864) - (36,999,781) (6,374,591) - 229,451,409 (52,669,497) 83,320,822 30,651,325

(2,160,000) 2,260,537 (267,927,509) - - - (267,826,972) 47,029,684 67,168,089 (75,754,644) - - 147,567,269 - - - 186,010,398 1,008,548 82,312,274 83,320,822


NOTES TO CONSOLIDATED FINANCIAL STATEMENTS Notes to consolidated financial statements For the years ended 31 December 2008 and 2007 1. General information 1.1 Corporate information of the Company and its subsidiaries KCE Electronics Public Company Limited (“the Company�) was incorporated as a limited company under Thai law and had transformed to be a public company under the Public Limited Companies Act on 21 December 1992. The Company operates in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of printed circuit board products, with the registered address at No. 125 - 125/1, 1 Moo 4 Lat Krabang Industrial Estate, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok. K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 677 Moo 4 Export Processing Zone, Bangpoo Industrial Estate, Sukhumvit Road, Tambon Phraksa, Amphur Muang, Samutprakarn Province. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of printed circuit board products. Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 115/2 Moo 4 Export Processing Zone, Lat Krabang Industrial Estate, Kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of prepreg and laminate products to the Company and two subsidiary companies (K.C.E. International Co., Ltd. and KCE Technology Co., Ltd). KCE Technology Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 117 - 118 Moo 1, Hi-Tech Industrial Estate, Tambon Ban Lain, Amphur Bang Pa-In, Pranakornsriayuthaya Province. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the manufacture and distribution of printed circuit board products. KCE (Thailand) Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 100/61, 21st floor, Vongvanich Building, Rama 9 Road, Tambon Huaykwang, Amphur Huaykwang, Bangkok. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is the domestic sale representative to the Company and its affiliates. Thai Business Solution Co., Ltd., a subsidiary company, was incorporated as a limited company under Thai law. The registered address is at No. 100/61, 21st Floor, Vongvanich Building, Rama 9 Road, Tambon Huaykwang, Khet Huaykwang, Bangkok. The subsidiary company operates its business in Thailand and its principal activity is a service provider for computer system implementation and support.

Annual Report 2008 159


1.2 Economic crisis The financial crisis experienced by the United States over the past year has had a far reaching effect on the global economy as evidenced by sharp falls in share prices worldwide, a tight squeeze on credit including interbank lending, failures of large financial institutions and reduced consumer confidence. The crisis has substantially affected the business and financial plans of Thailand enterprises and asset value. The governments of many countries made efforts to contain the crisis, however, it remains uncertain as to when the global economy will return to normalcy. These financial statements have been prepared on the bases of facts currently known to the Company, and on estimates and assumptions currently considered appropriate. However, they could be affected by an array of future events. From the said crisis, the Company and its subsidiaries have been affected from the reduction in purchase order from customers which caused K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company, announced temporary cease of the production since December 2008 and the whole production will be moved to the Company and KCE Technology Co., Ltd., another subsidiary. However, the management of the Company and its subsidiaries have contacted various customers to increase the purchase order in the future and have a plan to renovate facilities of the subsidiary which has ceased the operation to support the production of more complicated products in the future. Therefore, the management of the Company and its subsidiaries believe that the Company and the subsidiaries’ operations will return to normal in the future. The accompanying financial statements have therefore been prepared on a going concern basis, assuming that the Company and the subsidiaries are able to continue their operations and that the realisation of assets and settlement of liabilities and obligations will occur in the ordinary course of business of the Company and the subsidiaries, without any expectation of significant disruption to the ongoing activities. 2. Basis of preparation 2.1

The financial statements have been prepared in accordance with accounting standards enunciated

under the Accounting Profession Act B.E. 2547 and their presentation has been made in compliance

with the stipulations of the Notification of the Department of Business Development dated 14

September 2001, issued under the Accounting Act B.E. 2543.

The financial statements in Thai language are the official statutory financial statements of the

Company. The financial statements in English language have been translated from such financial

statements in Thai language.

The financial statements have been prepared on a historical cost basis except where otherwise

disclosed in the accounting policies.

2.2 Basis of consolidation a) The consolidated financial statements include the financial statements of KCE Electronics

Public Company Limited (“the Company”) and its subsidiaries (“the subsidiaries”) as below.

160 รายงานประจำปี 2551


Company’s name Held by the Company K.C.E. International Co., Ltd. KCE Technology Co., Ltd. Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. (Held by the Company 52.00% and K.C.E. International Co., Ltd. 19.20%) KCE (Thailand) Co., Ltd. Thai Business Solution Co., Ltd.

Percentage of shareholding 2008 2007 94.99 94.99 100.00 100.00 70.24 70.24 60.00 60.00 49.00 -

Assets as a

Revenues as a percentage to the percentage to the

consolidated consolidated total total assets revenues for the year as at 31 December ended 31 December 2008 2007 2008 2007 6 9 13 15 56 54 50 50 9 9 2 2 1 1 3 1 - - - -

b) Subsidiaries are fully consolidated as from the date of acquisition, being the date on which

the Company obtains control, and continue to be consolidated until the date when such

control ceases. c) The financial statements of the subsidiaries are prepared for the same reporting period as

the parent company, using consistent significant accounting policies. d) Material balances and transactions between the Company and its subsidiaries and investments

in subsidiaries in the Company’s accounts and subsidiaries’ share capital have been eliminated

from the consolidated financial statements. e) Minority interests represent the portion of net income or loss and net assets of the subsidiaries

that are not held by the Company and are presented separately in the consolidated income

statement and within equity in the consolidated balance sheet. f)

The lower of cost of investments in subsidiaries than the Company’s share of net fair value

of the subsidiaries’ assets, liabilities and contingent liabilities at the time of acquisition has

been shown as “Negative goodwill” under non-current assets in the consolidated balance

sheets. The Company reassess the acquiree’s assets and liabilities. If the net fair value of the

acquiree’s assets, liabilities and contingent liabilities acquired is higher than the cost of

combinations, the negative goodwill from business combination before 2008 will be

recognised to retained earnings.

2.3 The separate financial statements, which present investments in subsidiaries and associates under the cost method, have been prepared solely for the benefit of the public.

Annual Report 2008 161


3. Adoption of new accounting standards 3.1 Accounting standards which are effective for the current year The Federation of Accounting Professions has issued Notification No. 9/2550, 38/2550 and 62/2550 mandating the use of new accounting standards as follows :

TAS 25 (revised 2007) TAS 29 (revised 2007) TAS 31 (revised 2007) TAS 33 (revised 2007) TAS 35 (revised 2007) TAS 39 (revised 2007) TAS 41 (revised 2007) TAS 43 (revised 2007) TAS 49 (revised 2007) TAS 51

Cash Flow Statements Leases Inventories Borrowing Costs Presentation of Financial Statements Accounting Policies, Changes in Accounting Estimates and Errors Interim Financial Reporting Business Combinations Construction Contracts Intangible Assets

These accounting standards become effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after 1 January 2008. The management has assessed the effect of these standards and believes that TAS 49 is not relevant to the business of the Company, while TAS 25, TAS 29, TAS 31, TAS 33, TAS 35, TAS 39, TAS 41 and TAS 51 do not have any significant impact to the financial statements for the current year, but TAS 43 (revised 2007) has an impact to the financial statements for the current year as discussed in Note 4.1. 3.2 Accounting standards which are not effective for the current year The Federation of Accounting Professions has also issued Notification No. 86/2551 mandating the use of the following new accounting standards.

TAS 36 (revised 2007) TAS 54 (revised 2007)

Impairment of Assets Non-current Assets Held for Sale and Discontinued Operations

These accounting standards will become effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after 1 January 2009. The management has assessed the effect of these standards and believes that they will not have any significant impact on the financial statements for the year in which they are initially applied. 4. Change in accounting policies 4.1

TAS 43 (revised 2007) applies to goodwill arising from business combinations for which effective

on or after 1 January 2008. The Company does not require to amortise negative goodwill acquired

in a business combination before 2008. The Company will reassess the acquiree’s assets, liabilities

and contingent liabilities before recognising negative goodwill to retained earnings. Based on

the reassessment of such assets and liabilities as at 31 December 2008, the management of the

Company believes that the Company’s share of net fair value of the acquiree’s assets, liabilities

and contingent liabilities acquired is higher than the cost of combinations and considering the

cash flow projection of such acquiree company in the future, the management of the Company

believes that there will be no loss from such investment in the future. Therefore, the whole of

162 รายงานประจำปี 2551


negative goodwill of Baht 7.2 million was recognised to retained earnings in the consolidated

statement of changes in shareholders’ equity for the year ended 31 December 2008.

4.2

The Company and its subsidiaries enter into off-balance sheet derivatives for hedging commodities

price risk. For the agreements which are effective as from 1 April 2008, the Company and its

subsidiaries choose not to adopt accounting for hedge activities. The Company and its

subsidiaries recognise unrealised gains or losses on the change of fair value of financial

instruments in the income statements. The Company and its subsidiaries recognised loss on

the change of fair value of financial instruments in the income statements for the year ended

31 December 2008 as follow : (Unit : Baht) Consolidated Separate financial financial statements statements 74,782,579 16,545,304 220,908,485 84,539,536 295,691,064 101,084,840

Realised loss Unrealised loss 5. Significant accounting policies 5.1 Revenue recognition

a) Sales of goods

Sales of goods are recognised when the significant risks and rewards of ownership of the

goods have passed to the buyer. Sales are the invoiced value, excluding value added tax,

of goods supplied after deducting discounts and allowances.

b) Rendering of services

Service revenue is recognised when services have been rendered taking into account

the stage of completion.

c) Interest income

Interest income is recognised on an accrual basis based on the effective rate.

d) Dividends

Dividends are recognised when the right to receive the dividends is established.

5.2 Cash and cash equivalents Cash and cash equivalents consist of cash in hand and cash at bank, and all highly liquid investments with an original maturity of three months or less and not subject to withdrawal restrictions.

Annual Report 2008 163


5.3 Trade accounts receivable and allowance for doubtful accounts Trade accounts receivable are stated at the net realisable value. Allowance for doubtful accounts is provided for the estimated losses that may be incurred in collection of receivables. The adequacy of the allowance is based on analysis of debt aging and current status of receivables outstanding at the balance sheet date including trend to collect from each debtor. 5.4 Related party transactions Related parties comprise enterprises and individuals that control, or are controlled by, the Company, whether directly or indirectly, or which are under common control with the Company. They also include associated companies, and companies and individuals which directly or indirectly own a voting interest in the Company that gives them significant influence over the Company, key management personnel, directors and officers with authority in the planning and direction of the Company’s operations. 5.5 Inventories and allowance for diminution in value of inventories and inventory obsolescence Finished goods and work in process are valued at the lower of cost (weighted average method) and net realisable value. The cost includes cost of material, labour and production overheads. Raw materials, spare parts and factory supplies are valued at the lower of cost (weighted average method) and net realisable value and charged to production costs when consumed. The net realsiable value of inventories is estimated from the estimated selling price in the ordinary course of business, less the estimated costs to complete the sale. Allowance for diminution in value of inventories and inventory obsolescence are set up for obsolete, slow-moving and deteriorated inventories. 5.6 Investments a) Investments in the associates in the consolidated financial statements are stated under

equity method. b) Investments in the subsidiaries and associates in the separate financial statements are stated

under cost method. c)

Investments in marketable securities held for trading are stated at fair value, which is based

on the latest bid price of the last working day of the year as quoted on the Stock Exchange

of Thailand. Changes in the carrying amount of securities are recorded as gain or loss on

revaluation of investment in marketable securities in the income statements. The weighted

average method is used for computation of the cost of investments.

d) Company’s shares held by subsidiaries are stated at cost and are presented as a deduction

in shareholders’ equity. Gain or loss from sales of such shares is recorded in the shareholders’

equity.

164 รายงานประจำปี 2551


5.7 Property, plant and equipment and depreciation Land is stated at cost. Plant and equipment are stated at cost less accumulated depreciation and allowance for loss on impairment of assets (if any). Depreciation of plant and equipment is calculated by reference to their costs on the straightline basis over the following estimated useful lives :

Building and plant Machinery and equipment Plant and office improvement Furniture, fixtures and office equipment Vehicles

- 20 - 25 years - 5 - 20 years - 5 - 20 years - 5 - 10 years - 5 years

No depreciation is provided for land, construction in progress, and machinery and equipment in transit and under installation. Depreciation is included in the income statement. 5.8 Intangible assets As at acquisition date, intangible assets acquired from other than business combination are recorded at cost. Following initial recognition, intangible assets are carried at cost less any accumulated amortisation and any accumulated impairment losses. Intangible assets with finite lives are amortised on a systematic basis over the useful economic life and tested for impairment whenever there is an indication that the intangible asset may be impaired. The amortisation period and the amortisation method for an intangible asset with a finite useful life is reviewed at least at each financial year end. The amortisation expense is recognised in the income statement as an expense. The intangible assets are computer software which have finite useful lives in 5 and 10 years. 5.9 Impairment of assets At each reporting date, the Company and its subsidiaries perform impairment reviews in respect of the property, plant and equipment and other intangible assets whenever events or changes in circumstances indicate that an asset may be impaired. An impairment loss is recognised when the recoverable amount of an asset, which is the higher of the asset’s fair value less costs to sell and its value in use, is less than the carrying amount. In determining value in use, the estimated future cash flows are discounted to their present value using a pre-tax discount rate that reflects current market assessments of the time value of money and the risks specific to the asset. In determining fair value less costs to sell, an appropriate valuation model is used. These calculations are corroborated by a valuation model that, based on information available, reflects the amount that the Company and its subsidiaries could obtain from the disposal of the asset in an arm’s length transaction between knowledgeable, willing parties, after deducting the costs of disposal. An impairment loss is recognised in the income statement.

Annual Report 2008 165


5.10 Long-term leases Leases of property, plant or equipment which transfer substantially all the risks and rewards of ownership are classified as finance leases. Finance leases are capitalised at the lower of the fair value of the leased assets and the present value of the minimum lease payments. The outstanding rental obligations, net of finance charges, are included in other long-term payables, while the interest element is charged to the income statements over the lease period. The property, plant or equipment acquired under finance leases is depreciated over the useful life of the asset. 5.11 Hire-purchase agreements The Company and its subsidiaries record liabilities under hire purchase agreement at hire purchase payables less related interest. The liabilities are repayable according to the installment schedules in the hire-purchase agreements. Fixed assets acquired under hire purchase agreements are recorded at their cash price and are registered in the Company and its subsidiaries’ names upon completion of repayment. 5.12 Borrowing cost Borrowing costs directly attributable to the acquisition, construction or production of an asset that necessarily takes a substantial period of time to get ready for its intended use or sale are capitalised as part of the cost of the respective assets. All other borrowing costs are expensed in the period they are incurred. Borrowing costs consist of interest and other costs that an entity incurs in connection with the borrowing of funds. 5.13 Treasury shares Treasury shares are stated at cost and presented as a deduction from shareholders’ equity. Gains on disposal of treasury shares are determined by reference to the carrying amount and are presented as premium on treasury shares. Losses on disposal of treasury shares are determined by reference to the carrying amount and are first deducted from premium on treasury shares, with any remaining loss being recorded against retained earnings. 5.14 Employee benefits Salary, wages, bonuses and contributions to the social security fund and provident fund are recognised as expenses when incurred. 5.15 Income tax Income tax is provided in the accounts based on the taxable profits determined in accordance with tax legislation. 5.16 Foreign currencies Transactions in foreign currencies are translated into Baht at the exchange rate ruling at the date of the transaction. Monetary assets and liabilities denominated in foreign currencies are translated into Baht at the exchange rate ruling at the balance sheet date. Gains and losses on exchange are included in the income statement. 166 รายงานประจำปี 2551


5.17 Derivatives

Forward exchange contracts Receivables and payables arising from forward exchange contracts are translated into Baht at the rates of exchange ruling on the balance sheet. Gains and losses from the translation are included in the income statement. Premiums or discounts on forward exchange contracts are amortised on a straight-line basis over the contract periods.

Financial instruments and commodities and currency option agreements The Company and its subsidiaries enter into commodities and currency option agreements whereby the seller grants the buyer a future option to buy (call option) or to sell (put option) commodities or foreign currency at the price and at the exchange rate as stipulated in the agreement. The Company and its subsidiaries enter into such agreements in order to manage such risk. The Company and its subsidiaries recognise unrealised gains or losses on the change of fair value of such commodities and currency option agreements in the income statements.

6. Significant accounting judgments and estimates The preparation of financial statements in conformity with generally accepted accounting principles at times requires management to make subjective judgments and estimates regarding matters that are inherently uncertain. These judgments and estimates affect reported amounts and disclosures and actual results could differ. Significant judgments and estimates are as follows : Leases In determining whether a lease is to be classified as an operating lease or finance lease, the management is required to use judgment regarding whether significant risk and rewards of ownership of the leased asset has been transferred, taking into consideration terms and conditions of the arrangement. Allowance for doubtful accounts In determining an allowance for doubtful accounts, the management needs to make judgment and estimates based upon, among other things, past collection history, aging profile of outstanding debts and the prevailing economic condition. Allowance for diminution of inventories In determining an allowance for diminution of inventories the management needs to make judgment in estimating loss from inventories obsolescence and the reduction of net realisable value of inventories. Fair value of financial instruments In determining the fair value of financial instruments that are not actively traded and for which quoted market prices are not readily available, the management exercise judgment, using a variety of valuation techniques. The input to these models is taken from observable markets, and includes consideration of liquidity, correlation and longer-term volatility of financial instruments.

Annual Report 2008 167


Impairment of investments The Company considers the impairment of investments in available for sales securities and other investments as impaired when the management judges that there has been a significant or permanent decline in the on recoverable value below their cost or where other objective evidence of impairment exists. The determination requires judgement. Goodwill and intangible assets The initial recognition and measurement of goodwill and other intangible assets, and subsequent impairment testing, require management to make estimates of cash flows to be generated by the asset or the cash generating units and to choose a suitable discount rate in order to calculate the present value of those cash flows. Litigation The Company has contingent liabilities as a result of litigation. The Company’s management has used judgement to assess of the results of the litigation and believes that no loss will result. Therefore no contingent liabilities are recorded as at the balance sheet date. 7. Additional information of cash flows statements Non-cash related transactions for investing activity for the years ended 31 December 2008 and 2007 are as follows : Consolidated financial statements 2008 2007 403,863,719 318,103,268 Purchase of fixed assets (1,121,495) - Sale of fixed assets Add(less) : Other payable from purchases of fixed assets (103,340,524) (209,345,797) Amounts due to related parties for purchases - - of fixed assets (117,545,115) - Trust receipts Accounts payable under hire (181,788,333) (105,627,533) purchase agreements Advances and deposit for purchases (1,097,830) (3,118,404) of fixed assets Accrued interest capitalised as costs (91,917) - of machinery and equipment Amounts due from related parties - - for sales of fixed assets 1,121,495 - Other receivable from sale of fixed assets - (11,534) Others - - 168 รายงานประจำปี 2551

(Unit : Baht) Separate financial statements 2008 2007 193,230,128 263,740,884 (19,378,695) - (19,932,778) (153,109,160) (473,196) (5,273,423) - - (171,726,324) (105,358,301) (1,097,830) - - - 18,257,200 - 1,121,495 - - - - -


8. Trade accounts receivable The balance of trade accounts receivable as at 31 December 2008 and 2007, aged on the basis of due date, as follows : (Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements Age of receivables 2008 2007 2008 2007 Trade accounts receivable - related parties 412,697,269 416,623,641 262,722,851 222,528,754 Not yet due Past due 58,780,959 105,797,248 148,637,593 53,519,803 Up to 3 months 2,751,998 2,579,766 485,497 - 3 - 6 months - 383,494 - 375,646 6 - 12 months - 1,287,958 - 36,618 Over 12 months Total trade accounts receivable 474,230,226 526,672,107 411,845,941 276,460,821 - related parties Trade accounts receivable - unrelated parties 713,419,524 1,355,432,980 209,446,309 393,500,515 Not yet due Past due 156,030,315 94,344,264 55,359,046 35,871,371 Up to 3 months 12,487,934 10,362,734 6,689,038 2,442,566 3 - 6 months 322,279 11,781,678 322,279 2,813,492 6 - 12 months 715,482 1,950,298 715,482 1,824,120 Over 12 months Total trade accounts receivable 882,975,534 1,473,871,954 272,532,154 436,452,064 - unrelated parties 1,357,205,760 2,000,544,061 684,378,095 712,912,885 Total trade accounts receivable (4,540,200) (2,420,485) (4,260,556) (2,357,396) Less : Allowance for doubtful accounts 1,352,665,560 1,998,123,576 680,117,539 710,555,489 Trade accounts receivable - net 9. Related party transactions During the years, the Company and its subsidiaries had significant business transactions with related parties. Such transactions, which are summarised below, arose in the ordinary course of business and were concluded on commercial terms and bases agreed upon between the Company and those related parties.

Annual Report 2008 169


(Unit : Million Bath)

Consolidated Separate financial statements financial statements For the years ended For the years ended Transfer Pricing Policy 31 December 31 December 2008 2007 2008 2007 Transactions with subsidiaries (eliminated from the consolidated financial statements) - - 576.5 300.0 Market prices and prices Sales of goods per job order for each product which are agreed between the parties - - 25.3 0.3 Net book value plus Sales of fixed assets margin and prices agreed between the parties - - 12.9 0.2 Prices agreed between Other income the parties - - 1,051.1 927.2 Market prices and prices Purchases of goods per job order for each product which are agreed between the parties - - 13.1 37.2 Prices agreed between Purchases of fixed assets the parties Transactions with associated companies 1,671.5 1,833.5 603.6 604.6 Market prices at which Sales of goods similar quality products are sold under same conditions - 20.4 - - Net book value plus margin Sales of fixed assets and prices agreed between the parties 226.3 236.4 70.2 83.4 Market prices at which Purchases of raw materials similar quality products are purchased under same conditions 0.9 23.7 0.6 2.4 Prices agreed between Purchases of fixed assets the parties 67.1 47.6 22.5 23.3 At the rates agreed between Commission expense the parties which is general rate for the same business Transactions with related company 29.9 29.9 29.9 29.9 Interest rate at 7.5 percent Interest income per annum 170 รายงานประจำปี 2551


As at 31 December 2008 and 2007, the balance of the accounts between the Company and those related companies are as follows : (Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements 2008 2007 2008 2007 Trade accounts receivable - related parties Subsidiaries - - 233,962,850 73,789,592 KCE Technology Co., Ltd. - - 5,611,436 1,515,678 Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. - - 5,175,440 5,092,617 KCE (Thailand) Co., Ltd. - - 215,414 21,831,476 K.C.E. International Co., Ltd. - - 244,965,140 102,229,363 Total trade accounts receivable - subsidiaries Associated companies 402,494,262 474,563,257 132,735,147 146,830,692 KCE America, Inc. 71,735,964 52,108,850 34,145,654 27,400,766 KCE Singapore Pte., Ltd. Total trade accounts receivable 474,230,226 526,672,107 166,880,801 174,231,458 -associated companies Total trade accounts receivable 474,230,226 526,672,107 411,845,941 276,460,821 -related parties Amounts due from and short-term loans to related parties Subsidiaries - - 18,166,747 8,904 KCE Technology Co., Ltd. - - 1,092,624 - K.C.E. International Co., Ltd. - - 72,765 8,000 KCE (Thailand) Co., Ltd. Total amounts due from and - - 19,332,136 16,904 short-term loans to subsidiaries Associated company 538,331 - - - KCE America, Inc. 23,045 336 - - KCE Singapore Pte., Ltd. Total amounts due from and 561,376 336 - - short-term loans to associated company Related company Avatar Systems Corporation 399,235,126 399,235,126 399,235,126 399,235,126 Loans 301,169,468 271,226,834 301,169,468 271,226,834 Accrued interest income 700,404,594 670,461,960 700,404,594 670,461,960 Less : Allowance for doubtful accounts (700,404,594) (670,461,960) (700,404,594) (670,461,960) - - - - Total amounts due from and 561,376 336 19,332,136 16,904 short-term loans to related parties - net Annual Report 2008 171


The Company had not received repayment from Avatar Systems Corporation, a subsidiary of an associated company, totaling approximately Baht 399 million. Currently, the Company is in the process to sue this case under the court in Thailand. However, as at the balance sheet date, the Company has recorded the above transaction with that company as short-term loans to related parties and has set up a full allowance for such loans and other receivable from that company.

Trade accounts payable - related parties Subsidiaries Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. KCE Technology Co., Ltd. K.C.E. International Co., Ltd. Total trade accounts payable - subsidiaries Associated company KCE Singapore Pte., Ltd. Total trade accounts payable - associated company Total trade accounts payable - related parties Amounts due to and advances from related parties Subsidiaries K.C.E. International Co., Ltd. KCE Technology Co., Ltd. Total amounts due to and advances from subsidiaries Associated companies KCE Singapore Pte., Ltd. Total amounts due to and advances from associated companies Total amounts due to and advances from related parties

Consolidated financial statements 2008 2007 - - - - - - - - 49,093,414 51,264,377 49,093,414 51,264,377 49,093,414 51,264,377 - - - - - - 11,300,858 9,155,383 11,300,858 9,155,383 11,300,858 9,155,383

(Unit : Baht) Separate financial statements 2008 2007 212,892,349 251,855,678 128,747,647 82,968,607 48,397,474 3,507,609 390,037,470 338,331,894 20,604,806 14,480,307 20,604,806 14,480,307 410,642,276 352,812,201 20,398,745 778,408 191,100 4,911,223 20,589,845 5,689,631 2,795,473 2,170,946 2,795,473 2,170,946 23,385,318 7,860,577

Directors and management’s remuneration In 2008 and 2007, the Company and its subsidiaries recorded salaries, bonus, provident fund and meeting allowances to their directors and management totaling Baht 57.1 million and Baht 55.9 million, respectively (the Company only : Baht 28.1 million and Baht 30.4 million, respectively). Guarantee obligations with related parties The Company and its subsidiaries have outstanding guarantee obligations with its related parties, as described in Note 27.4 to the financial statements. 172 รายงานประจำปี 2551


10. Inventories (Unit : Baht)

Consolidated financial statements

Allowance of diminution in value of inventory

Reduce cost to net

Cost

realisable value

2008

Finished goods

2007

2008

2007

Inventory obsolescence 2008

334,739,662 295,267,443 (26,552,852) (9,108,100) (12,456,753)

Work in process 304,788,077 434,467,075

-

-

(527,695)

-

304,260,382 434,467,075

(6,588,580)

(1,886,583)

294,491,096 464,898,853

(12,748,677) (11,654,354)

231,069,113 252,562,359

Supplies

243,817,790 264,216,713

-

-

Spare parts

224,609,116 207,189,884

-

-

-

-

-

-

-

-

Total

2007

295,730,057 280,135,636

-

72,069,515

2008

(6,023,707)

323,463,091 466,785,436 (22,383,415)

24,918,198

Inventory-net

2007

Raw materials

Goods in transit

224,609,116 207,189,884 24,918,198

72,069,515

1,456,335,934 1,739,996,066 (48,936,267) (9,108,100) (32,321,705) (19,564,644) 1,375,077,962 1,711,323,322

(Unit : Baht)

Separate financial statements

Allowance of diminution in value of inventory

Reduce cost to net

Cost

realisable value

Finished goods

2008 90,977,275

2007

2008

2007

75,010,922 (10,146,482) (4,461,161)

Inventory obsolescence 2008 (1,275,961)

Work in process 112,020,436 141,904,345

-

-

-

Raw materials

94,194,945

-

-

(1,088,030)

110,225,766 107,792,156

-

-

Supplies Spare parts Goods in transit Total

61,234,288

2007 (168,954) -

Inventory-net 2008

2007

79,554,832

70,380,807

112,020,436 141,904,345

(608,880)

60,146,258

93,586,065

(11,599,707) (10,456,069)

98,626,059

97,336,087

77,224,113

63,834,735

-

-

-

-

77,224,113

63,834,735

3,669,565

11,961,259

-

-

-

-

3,669,565

11,961,259

455,351,443 494,698,362 (10,146,482) (4,461,161) (13,963,698) (11,233,903) 431,241,263 479,003,298

Annual Report 2008 173


174 รายงานประจำปี 2551

Company’s name

Carrying amounts based on cost method net 2008 2007 172,499,000 172,499,000 157,710,310 157,710,310 586,728,865 586,728,865 2,160,000 2,160,000 1,470,000 - 920,568,175 919,098,175

(Unit : Baht)

On 29 April 2008, the Company purchased 147,000 shares of Thai Business Solution Co., Ltd. at Baht 10 per share, or a total sum of Baht 1.47 million, which represents 49 percent of registered share capital of that company. The Company regards such company as a subsidiary company because the Company has the control over the policies and the management of this company.

On 10 April 2007, the Extraordinary General Meeting of the shareholders of Konstant Pte. Ltd., a subsidiary company held by the subsidiary of the Company, passed a resolution approving the dissolution of the company. On 20 August 2007, that company finished the process of liquidation in accordance with the Singapore Companies Act.

On 8 March 2007, the Company purchased 216,000 shares of KCE (Thailand) Co., Ltd. at Baht 10 per share, or a total sum of Baht 2.16 million, which represents 60 percent of registered share capital of that company.

Separate financial statements Provision for impairment Shareholding percentage Cost of investments 2007 2008 2007 2008 2007 2008 (%) (%) 94.993 94.993 172,499,000 172,499,000 - - 52.00 52.00 157,710,310 157,710,310 - - 100.00 100.00 1,150,000,000 1,150,000,000 (563,271,135) (563,271,135) 60.00 60.00 2,160,000 2,160,000 - - 49.00 - 1,470,000 - - - 1,483,839,310 1,482,369,310 (563,271,135) (563,271,135)

Details of investments in subsidiaries as presented in separate financial statements are as follows :

Paid-up capital 2008 2007 100,000,000 100,000,000 K.C.E. International Co., Ltd. Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. 250,000,000 250,000,000 1,150,000,000 1,150,000,000 KCE Technology Co., Ltd. 3,600,000 3,600,000 KCE (Thailand) Co., Ltd. 3,000,000 - Thai Business Solution Co., Ltd. Total

11. Investments in subsidiaries


12. Investments in associates 12.1 Details of associates

(Unit : Baht) Consolidated financial statements Carrying Company’s Nature of Country of Shareholding amounts based on percentage Cost equity method name business incorporation 2008 2007 2008 2007 2008 2007 (%) (%) KCE America, Foreign sale United Inc. representative of Stated the Company and of America 48.75 48.75 643,633 643,633 59,487,226 56,461,901 its affiliates KCE Singapore Foreign sale Singapore Pte., Ltd. representative of the Company and 47.77 47.77 4,201,138 4,201,138 27,606,377 25,711,155 its affiliates 4,844,771 4,844,771 87,093,603 82,173,056 Total

Company’s name

KCE America, Inc. KCE Singapore Pte., Ltd. Total Company’s name KCE America, Inc. KCE Singapore Pte., Ltd. Total

(Unit : Baht) Separate financial statements Shareholding percentage Cost 2008 2007 2008 2007 (%) (%) 25.00 25.00 321,816 321,816 24.50 24.50 2,100,569 2,100,569 2,422,385 2,422,385 (Unit : Baht) Consolidated financial statements Separate financial statements Share of income from investments Dividend received in associates during the year during the year 2008 2007 2008 2007 1,014,431 1,458,266 - - 951,003 3,230,649 - - 1,965,434 4,688,915 - -

Share of income from investments for 2008 and 2007 in above two associated companies was calculated from the unaudited financial statements of those associated companies because they are located overseas and the Company has no power to direct the financial and operating policies of those companies, including the audit of their financial statements. Annual Report 2008 175


176 รายงานประจำปี 2551

Company’s name

KCE America, Inc. KCE Singapore Pte., Ltd.

Paid-up capital as at 31 December 2008 2007 US$ 50,000 US$ 50,000 S$ 500,000 S$ 500,000

12.2 Summarised financial information of associates Total revenues for Total assets as at Total liabilities as at the year ended 31 December 31 December 31 December 2008 2007 2008 2007 2008 2007 521,061 586,706 390,192 479,684 1,494,523 1,645,420 237,548 159,397 185,493 110,905 612,518 630,708

(Unit : Thousand Baht) Net income for the year ended 31 December 2008 2007 2,315 13,595 1,819 6,153


Annual Report 2008 177

(Unit : Baht) Consolidated financial statements Plant and Machinery Furniture, plant and Machinery Machinery fixtures improvement equipment and Building and and Plant and office Office under under equipment Land plant equipment improvement equipment improvement Vehicles construction installation in transit Total Cost : 404,790,982 630,879,339 6,892,200,527 135,787,784 532,547,098 12,523,883 40,794,781 1,065,605 423,804,207 66,816,357 9,141,210,563 31 December 2007 - as previously report - - (16,611,404) - (26,873,103) - - - - - (43,484,507) Reclassified to intangible assets 404,790,982 630,879,339 6,875,589,123 135,787,784 505,673,995 12,523,883 40,794,781 1,065,605 423,804,207 66,816,357 9,097,726,056 31 December 2007 - after reclassified - - 25,865,910 17,227,408 14,084,779 3,152,794 18,492,820 12,858,059 868,166,613 15,328,908 975,177,291 Purchase - 51,141,546 602,304,463 54,126,314 44,905,395 3,341,053 - (9,801,199) (663,872,307) (82,145,265) - Transfer in (out) - - (57,703,870) (383,662) (4,148,564) - (12,542,437) - (6,786,427) - (81,564,960) Disposal 404,790,982 682,020,885 7,446,055,626 206,757,844 560,515,605 19,017,730 46,745,164 4,122,465 621,312,086 - 9,991,338,387 31 December 2008 Accumulated depreciation : - 213,813,851 2,761,886,906 58,502,657 295,769,621 8,205,017 28,434,846 - - - 3,366,612,898 31 December 2007 - as previously report Accumulated depreciation of assets reclassified - - (13,921,097) - (19,330,238) - - - - - (33,251,335) to intangible assets - 213,813,851 2,747,965,809 58,502,657 276,439,383 8,205,017 28,434,846 - - - 3,333,361,563 31 December 2007 - after reclassified - 27,672,796 428,322,323 21,242,653 57,291,359 1,188,388 6,510,733 - - - 542,228,252 Depreciation for the year - - (56,809,949) (169,279) (3,734,279) - (10,428,571) - - - (71,142,078) Accumulated depreciation of disposed assets - 241,486,647 3,119,478,183 79,576,031 329,996,463 9,393,405 24,517,008 - - - 3,804,447,737 31 December 2008 Net book value : 404,790,982 417,065,488 4,127,623,314 77,285,127 229,234,612 4,318,866 12,359,935 1,065,605 423,804,207 66,816,357 5,764,364,493 31 December 2007 404,790,982 440,534,238 4,326,577,443 127,181,813 230,519,142 9,624,325 22,228,156 4,122,465 621,312,086 - 6,186,890,650 31 December 2008 Depreciation for the year : 546,108,256 2007 (Baht 488.9 million included in manufacturing cost, and the balance in selling expenses and administrative expenses) 542,228,252 2008 (Baht 477.2 million included in manufacturing cost, and the balance in selling expenses and administrative expenses)

13. Property, plant and equipment


178 รายงานประจำปี 2551

Separate financial statements Machinery Furniture, and Machinery fixtures equipment Building and and Plant and office Office under Land plant equipment improvement equipment improvement Vehicles installation Cost : 231,603,891 81,125,125 1,706,559,168 93,865,170 28,099,314 10,419,556 11,350,387 204,640,510 31 December 2007 - as previously report - - (12,242,130) - (2,794,181) - - - Reclassified to intangible assets 231,603,891 81,125,125 1,694,317,038 93,865,170 25,305,133 10,419,556 11,350,387 204,640,510 31 December 2007 - after reclassified - - 31,489,926 14,854,227 8,323,520 3,102,794 4,374,346 290,188,750 Purchase - 50,450,410 316,365,000 37,080,958 4,009,853 3,341,053 - (362,430,446) Transfer in (out) - - (56,148,954) - (319,555) - (1,354,060) (6,384,088) Disposal 231,603,891 131,575,535 1,986,023,010 145,800,355 37,318,951 16,863,403 14,370,673 126,014,726 31 December 2008 Accumulated depreciation : - 55,724,096 899,226,755 45,163,777 21,134,354 6,281,906 8,475,419 - 31 December 2007 - as previously report Accumulated depreciation of assets reclassified - - (11,120,618) - (2,467,008) - - - to intangible assets - 55,724,096 888,106,137 45,163,777 18,667,346 6,281,906 8,475,419 - 31 December 2007 - after reclassified - 3,859,621 131,051,927 19,051,867 3,013,963 719,281 1,472,111 - Depreciation for the year - - (30,734,595) - (307,944) - (717,164) - Accumulated depreciation of disposed assets - 59,583,717 988,423,469 64,215,644 21,373,365 7,001,187 9,230,366 - 31 December 2008 Net book value : 231,603,891 25,401,029 806,210,901 48,701,393 6,637,787 4,137,650 2,874,968 204,640,510 31 December 2007 231,603,891 71,991,818 997,599,541 81,584,711 15,945,586 9,862,216 5,140,307 126,014,726 31 December 2008 Depreciation for the year : 2007 (Baht 118.0 million included in manufacturing cost, and the balance in selling expenses and administrative expenses) 2008 (Baht 154.0 million included in manufacturing cost, and the balance in selling expenses and administrative expenses)

(Unit : Baht)

Machinery and equipment in transit Total 48,816,828 2,416,479,949 - (15,036,311) 48,816,828 2,401,443,638 - 352,333,563 (48,816,828) - - (64,206,657) - 2,689,570,544 - 1,036,006,307 - (13,587,626) - 1,022,418,681 - 159,168,770 - (31,759,703) - 1,149,827,748 48,816,828 1,379,024,957 - 1,539,742,796 120,447,724 159,168,770


As at 31 December 2008 and 2007, certain machinery and equipment of the Company and its subsidiaries have been fully depreciated but are still in use. The original cost of those assets amounted to Baht 1,127.3 million and Baht 817.7 million, respectively (the Company only : Baht 687.3 million and Baht 409.8 million, respectively). 13.1

As at 31 December 2008, the Company and its two subsidiaries, K.C.E. International Co., Ltd.

and Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., entered into negative pledge memorandums

which are part of bank overdrafts and loans agreements. Under these memorandums,

the Company and its subsidiaries are not allowed to dispose of, transfer, mortgage or provide

any lien on their assets, as stipulated in such memorandums.

13.2 As at 31 December 2008, the subsidiaries of the Company have mortgaged and pledged the

following property, plant and equipment : 13.2.1 Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary, has mortgaged construction and

pledged its machinery with a total net book value as at 31 December 2008 of Baht

244.7 million as collateral for loans from banks, as described in Note 17 to the financial

statements. 13.2.2 KCE Technology Co., Ltd. a subsidiary, has mortgaged most of land and construction

thereon and pledged most of its machinery as collateral for bank overdrafts and loans

from banks, as described in Notes 15 and 17 to the financial statements. 13.3 The Company and its subsidiaries have capitalised interest expenses as part of costs of

machinery and equipment under installation for the years ended 31 December 2008 and 2007

as follows : Interest capitalisation expense as part of costs of machinery and equipment (Thousand Baht) The assets capitalisation rates (Percent per annum)

Consolidated financial statements 2008 2007 4,523 7,808 2.47 - 7.50 2.13 - 7.25

Separate financial statements 2008 2007 1,573 4,044 3.50 - 7.50 3.50 - 7.25

Annual Report 2008 179


14. Intangible assets

Details of intangible assets which are computer software are as follows :

Consolidated financial statements 2008 2007 64,425,785 43,484,507 (38,026,657) (33,251,335) 26,399,128 10,233,172 4,828,273 5,155,161

Cost Less : Accumulated amortisation Net book value Amortisation expenses included in income statements for the year

(Unit : Baht) Separate financial statements 2008 2007 26,063,648 15,036,311 (14,736,955) (13,587,626) 11,326,693 1,448,685 1,149,328 1,308,617

15. Bank overdrafts and short-term loans from financial institutions Bank overdrafts and short-term loans from financial institutions as at 31 December 2008 and

2007 are consisted of : Bank overdrafts Short-term loans Packing credits Trust receipts Total

(Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements Interest rate (percent per annum) 2008 2007 2008 2007 7.00 - 8.20 79,467,759 38,100,235 34,893,800 - 4.30 - 6.50 1,199,500,000 1,003,000,000 301,500,000 215,000,000 4.20 - 6.00 2,465,600,000 2,147,000,000 735,500,000 612,000,000 2.47 - 7.37 716,166,586 535,986,109 99,458,199 42,104,492 4,460,734,345 3,724,086,344 1,171,351,999 869,104,492

15.1 As at 31 December 2008 and 2007, bank overdrafts and partial loans from banks of the Company

are guaranteed by K.C.E. International Co., Ltd., a subsidiary company. 15.2 As at 31 December 2008 and 2007, bank overdrafts and loans from banks of K.C.E. International

Co., Ltd., a subsidiary company, are guaranteed by the Company. 15.3 As at 31 December 2008 and 2007, bank overdrafts and loans from banks of KCE Technology

Co., Ltd., a subsidiary company, are guaranteed by the Company and are secured by the mortgage

of land, construction thereon and the pledge of most of machinery of such subsidiary company.

180 รายงานประจำปี 2551


16. Liabilities under financial lease agreements

Consolidated financial statements 2008 2007 Liabilities under finance lease agreements 264,166,195 105,627,533 (71,459,774) (23,249,671) Less : Portion due within one year Liabilities under finance lease agreements 192,706,421 82,377,862 - net of current portion

(Unit : Baht) Separate financial statements 2008 2007 254,104,186 105,358,301 (68,205,930) (22,980,439) 185,898,256 82,377,862

The Company and its subsidiaries entered into a number of financial lease agreements with a leasing company for machinery and equipment for its operations. The rental installments are paid on a monthly basis for up to 4 years. At the end of each agreement, the Company and its subsidiaries have an option to purchase such machinery and equipment at terms and prices which are specified in the lease agreements. As at 31 December 2008, future minimum lease payments required under finance lease agreements were as follow : (Unit : Million Baht) Consolidated financial statements Less than 1 year 1 - 5 years Total 84.02 204.11 288.13 Future minimum lease payments (12.56) (11.40) (23.96) Deferred interest expenses 71.46 192.71 264.17 Present value of future minimum lease payments (Unit : Million Baht) Saparate financial statements Less than 1 year 1 - 5 years Total 80.35 196.89 277.24 Future minimum lease payments (12.15) (10.99) (23.14) Deferred interest expenses 68.20 185.90 254.10 Present value of future minimum lease payments

Annual Report 2008 181


17. Long-term loans EURO portion Baht portion Less : Current portion of long-term loans Long-term loans, net of current portion

Consolidated financial statements 2008 2007 87,498,356 201,331,480 866,811,770 1,176,164,770 954,310,126 1,377,496,250 (395,131,250) (573,383,283) 559,178,876 804,112,967

(Unit : Baht) Separate financial statements 2008 2007 43,407,824 107,177,151 58,000,000 - 101,407,824 107,177,151 (65,538,824) (63,796,691) 35,869,000 43,380,460

As at 31 December 2008, the Company and its subsidiary, KCE Technology Co., Ltd. had long-term loans from banks in EURO currency of EURO 1.8 million in consolidated financial statements and EURO 0.9 million in the separate financial statement (2007 : EURO 4.1 million in consolidated financial statements and EURO 2.2 million in the separate financial statement).

182 รายงานประจำปี 2551


Annual Report 2008 183

Outstanding long-term loan amount Significant terms and conditions of loan agreements Non-current Loan Principal Interest portion Total No. Contract date Credit facility Current portion period repayment repayment (Baht) (Baht) (Baht) The Company only 43,407,824 - 43,407,824 3 years 1 month 1 month 1. 9 June 2006 EURO 3,500,000 22,131,000 35,869,000 58,000,000 5 years 6 months 1 month 1 month 2. 21 July 2008 Baht 150,000,000 65,538,824 35,869,000 101,407,824 Total loans of the Company

Details of long-term loans from banks as at 31 December 2008 are as follows :


184 รายงานประจำปี 2551

No. Contract date Credit facility Subsidiaries Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. Baht 135,000,000 1. 6 July 2006 2. 23 January 2008 Baht 120,000,000 KCE Technology Co., Ltd. 1. 1 December 2003 EURO 3,000,000 2. 9 August 2004 Baht 445,500,000 3. 20 September 2004 Baht 704,049,700 4. 27 October 2004 Baht 124,500,000 5. 28 February 2005 Baht 180,000,000 6. 31 October 2005 Baht 200,000,000 7. 8 August 2007 Baht 70,000,000 Total loans of subsidiaries Total loans of the Company and subsidiaries

Outstanding long-term loan amount Non-current Current portion portion Total (Baht) (Baht) (Baht) 33,750,000 101,250,000 135,000,000 - 92,142,000 92,142,000 33,750,000 193,392,000 227,142,000 34,954,656 9,135,876 44,090,532 104,800,000 78,700,000 183,500,000 33,169,770 - 33,169,770 29,200,000 29,600,000 58,800,000 42,400,000 52,800,000 95,200,000 47,200,000 93,800,000 141,000,000 4,118,000 65,882,000 70,000,000 295,842,426 329,917,876 625,760,302 329,592,426 523,309,876 852,902,302 395,131,250 559,178,876 954,310,126

Significant terms and conditions of loan agreements Loan Principal Interest period repayment repayment 4 years 3 months 3 months 5 years 3 months 3 months 6 years 3 months 3 months 6 years 3 months 1 month 4 years 6 months 3 months 1 month 6 years 3 months 1 month 6 years 3 months 1 month 6 years 3 months 1 month 6 years 3 months 1 month


17.1 Long-term loans from banks of the Company are Baht and EURO loan which carry interest at the rate of MLR (Minimum Loan Rate) less 2.0 percent per annum and LIBOR plus 1.5 percent per annum, respectively. 17.2 A long-term loan from bank of Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd., a subsidiary company, carries interest at the rates of MLR (Minimum Loan Rate) less 1.0 to 1.25 percent per annum. The loan is guaranteed by the Company and secured by mortgage of the subsidiary company’s plant, building and pledge of part of its machinery. In addition, there are certain significant conditions that the subsidiary has to comply with, such as maintaining a ratio of total debt to equity not exceeding 3 : 1. Moreover, the Company and its subsidiaries must maintain the shareholding structure, whether by direct or indirect holding at not less than 51 percent of the registered and paid-up capital of the subsidiary. 17.3 Long-term loans from banks of KCE Technology Co., Ltd. a subsidiary company are Baht and Euro loans which carry interest at the rates of MLR (Minimum Loan Rate) less 1.0 to 1.25 percent and LIBOR plus 2.0 percent per annum, respectively. These loans are guaranteed by the Company and are secured by the mortgage of the subsidiary’s land and construction thereon and the pledge of most of the subsidiary’s machinery. 18. Share capital 18.1 Share warrant The Company issued and allotted 3,000,000 registered and untransferable (except for transferring as stipulated in the prospectus) warrants free of charge to the employees of the Company and/or its subsidiaries. These warrants are exercisable at a price of Baht 3.93 per share at a ratio of 1 warrant to 1 new ordinary share, every quarter from 15 to 18 of March, June, September and December, for a period of 5 years from the issue date, starting from 15 to 18 September 2008 and with a final exercise date of 18 June 2012. The aforesaid exercise price and/or exercise ratio may be adjusted if certain events stipulated in the prospectus occur. Movement of share warrant during the year are summarised below. Warrants issued as at beginning of the year Add : Warrants issued during the year Warrants issued as at end of the year

Number of units (unit) 2008 2007 2,370,000 - 630,000 2,370,000 3,000,000 2,370,000

As at 31 December 2008, 3,000,000 units of issued warrant remained. No warrants were exercised because the exercise price as at stipulated exercise date exceeds the fair value of ordinary share.

Annual Report 2008 185


18.2 Treasury shares As at 31 December 2008, details of treasury shares are as follows : Cost of treasury shares (Thousand Baht) Number of treasury shares (Thousand shares) Average price per share (Baht) Percentage of treasury shares to the Company’s shares in issue

Consolidated and separate financial statements 6,374.6 5,999.9 1.06 1.29

Any shares bought back are to be resold on the Stock Exchange of Thailand during the period from 8 December 2009 to 7 June 2012. Resale of shares, cancellations of the repurchased shares and reductions of share capital are to conform with the 2001 Ministerial Regulations on the principles and procedures for the repurchase and resale of shares. The determination of the resale price will take into account the prevailing market price at the time of sale. 18.3 Reserve for treasury shares Under the notification of the Office of the Securities and Exchange Commission No. Gor Lor Tor. Chor Sor. (Wor) 2/2548 and the notification of the Federation of Accounting Professions No. Sor. Sor Wor Bor Chor. 016/2548, public companies have to set aside retained earnings in an amount equal to the amount paid for treasury shares until they either dispose of such shares or reduce paid-up capital to cancel any remaining shares, as the case may be. 18.4 Company’s shares held by its subsidiaries

This shareholding is presented as a deduction item in the shareholders’ equity in order

to present the net Company’s shareholders’ equity in the consolidated financial statements.

The details as at 31 December 2008 and 2007 are as follows :

Number of shares held by its subsidiaries (shares) Cost of shares (Baht) Shares discount (Baht) Shares held by its subsidiaries (Baht)

186 รายงานประจำปี 2551

2008 - - - -

2007 4,571,850 12,962,513 1,847,064 14,809,577


18.5 Weighted average number of ordinary shares As at 31 December 2008 and 2007, the weighted average number of ordinary shares in the consolidated financial statements is calculated as follows : (Unit : Share) Consolidated financial statements 2008 2007 462,497,269 314,930,000 Balance brought forward - 78,028,720 Add : Shares issued during the year (278,684) - Less : Treasury shares - (4,571,850) Shares of the Company held by subsidiaries 462,218,585 388,386,870 Weighted average number of ordinary shares Add : Potential ordinary share - share warrants - - (2008 : 30,000,000 shares, 2007 : 2,370,000 shares) 462,218,585 388,386,870 Diluted weighted average number of ordinary shares Since exercise price of the above warrants exceeds the weighted average of fair value of ordinary shares for the year ended 31 December 2008, the Company expected that the warrant will not be exercised. Therefore, the issued share warrant is excluded from the calculation of potential diluted ordinary shares for diluted earnings per share calculation. (Unit : Share) Separate financial statements 2008 2007 462,497,269 314,930,000 Balance brought forward - 78,028,720 Add : Shares issued during the year (278,684) - Less : Treasury shares 462,218,585 392,958,720 Weighted average number of ordinary shares 19. Statutory reserve Pursuant to Section 116 of the Public Limited Companies Act B.E. 2535, the Company is required to set aside a statutory reserve at least 5 percent of its net income deducting accumulated deficit brought forward (if any), until the reserve reaches 10 percent of the registered capital. The statutory reserve is not available for dividend distribution.

Annual Report 2008 187


20. Expenses by nature

Significant expenses by nature are as follow : (Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements 2008 2007 2008 2007 3,431,732,797 4,181,847,926 2,012,519,179 1,942,947,184 Raw materials and consumables used Salary, wages and other employee benefits 1,062,247,051 1,055,429,758 370,451,668 358,713,725 542,228,252 546,108,256 159,168,770 120,447,724 Depreciation 435,543,608 437,451,261 131,964,335 123,445,941 Utility expenses 327,745,331 372,775,082 135,711,347 132,169,990 Freight charge 335,494,560 392,034,051 97,620,965 108,181,116 Repair and maintenance 295,691,064 - 101,084,840 - Loss from hedging activities 195,526,106 213,249,843 63,143,623 76,233,292 Commission expenses Changes in inventories of finished goods 44,325,561 (96,345,986) 20,679,884 (84,406,845) and work in progress 21. Corporate income tax No corporate income tax is payable on the Company’s income for 2008 and 2007 because the Company has tax loss from the write-off of debts according to the Central Bankruptcy Court’s order

and has tax loss carried forward from prior years over its income for the year. Corporate income tax for 2008 and 2007 of three subsidiary companies, K.C.E. International Co., Ltd., Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. and KCE Technology Co., Ltd., have been calculated from the non-BOI promoted income (if any), after adding back non-tax deductible expenses and deducting loss from the write-off of debts according to the Central Bankruptcy Court’s order and

tax loss carried forward from prior years.

188 รายงานประจำปี 2551


Annual Report 2008 189

Details KCE Electronics Public Company Limited K.C.E. International Co., Ltd. 1. Certificate No. 1292/2539 1062/2541 1065/2543 1003/2538 1015/2543 1278(2)2548 2. Promotional privileges for Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing of Printed of Printed of Printed of Printed of Printed of Printed Circuit Board Circuit Board Circuit Board Circuit Board Circuit Board Circuit Board 3. The significant privileges are 3.1 Exemption of corporate income 3 years 3 years 3 years 3 years 3 years 3 years tax for net income from (Expired) (Expired) (Expired) (Expired) (Expired) promotional operation and exemption of income tax on dividends paid from the profit of the operations throughout the period in which the corporate income tax is exempted. 3.2 Allowance for 5% of the Granted Granted Granted Granted Granted Not granted increment in export income (Expired) (Expired) over the preceding year for ten years, providing that the export income of that particular year should not be lower than the average export income over the three preceding years except for the first two years. 3.3 Exemption of import duty Granted Granted Granted 50% Granted Granted on machinery as approved by the board. 3.4 Exemption of import duty on Granted Granted Not granted Granted Not granted Not granted raw materials and significant (Expired) (Expired) (Expired) supplies used in export production for a period of one year from the first import date. 4. Date of first earning operating income 6 January 8 August 4 June 15 June 13 October 1 September 1996 1998 2000 1994 1999 2006

Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. KCE Technology Co., Ltd. 1099/2544 1249(1)/2545 1664(2)/2547 1176(2)/2550 1378/2543 1598(2)/2547 Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing Manufacturing of Prepreg of Laminate of Prepreg of Prepreg and of Printed of Printed Laminate Circuit Board Circuit Board 3 years 3 years 3 years 5 years 7 years 7 years (Expired) (Expired) (Expired) (Expired) Granted Not granted Not granted Not granted Granted Not granted Granted Granted Granted Granted Granted Granted Not granted Not granted Not granted Not granted Granted Granted (Expired) (Expired) 3 November 1 September 7 July 2 May 25 June 1 November 2000 2003 2004 2007 2001 2004

The Company and its subsidiaries have been granted promotional privileges under the Investment Promotion Act B.E. 2520 by the Board of Investment under certain significant conditions. Significant privileges of the Company and its subsidiaries are as follow :

22. Promotional privileges


All sales of the Company for 2008 and 2007 are derived from non-promoted operation which could be separated between export and local sales as follows : (Unit : Baht) 2008 2007 Sales 3,012,601,633 2,891,071,273 Export 19,692,881 46,322,555 Local sales 3,032,294,514 2,937,393,828 Total sales 23. Earnings per share Basic earnings per share is calculated by dividing net income for the year by the weighted average number of ordinary shares held by outsiders and in issue during the year. Diluted earnings per share is calculated by dividing net income for the year by the total sum of the weighted average number of ordinary shares held by outsiders and in issue during the year and the weighted average number of ordinary shares to be issued for conversion of all dilutive potential ordinary shares into ordinary shares. The calculation assumes that the conversion took place either at the beginning of the year or on the date the potential ordinary shares were issued.

190 รายงานประจำปี 2551


Annual Report 2008 191

(Unit : Thousand Baht) Consolidated financial statements For the years ended 31 December 2008 and 2007 Printed Circuit Board business Prepreg and Service provider Laminate business America Europe Asia Total business Eliminating entries Total 2008 2007 2008 2007 2008 2007 2008 2007 2008 2007 2008 2007 2008 2007 2008 2007 Revenue from external 154,199 138,701 1,417,520 1,633,058 4,454,756 4,900,339 1,640,862 1,693,313 7,513,138 8,226,710 - - - - 7,667,337 8,365,411 customers - - - - 1,426,271 870,940 1,426,271 870,940 13,663 - (2,820,652) (2,318,202) - - Inter-segment revenues 1,380,718 1,447,262 1,534,917 1,585,963 1,417,520 1,633,058 4,454,756 4,900,339 3,067,133 2,564,253 8,939,409 9,097,650 13,663 - (2,820,652) (2,318,202) 7,667,337 8,365,411 Total revenues 878,116 1,324,125 4,324 - 26,179 6,669 1,065,180 1,471,191 Segment operating income 156,561 140,397 Unallocated income and expense : - 49,695 Gain on exchange Rate 30,723 32,300 Interest income 28,621 - Income from insurance claim 169,820 131,307 Other income (678,273) (721,151) Selling expense (405,120) (383,371) Administrative expense (20,468) - Loss on exchange rate (295,691) - Loss from hedging activates (2,375) (1,490) Other expenses (285,350) (294,136) Finance cost Share income from 1,965 4,689 investment in associated (1,567) (10,517) Corporate income tax Minority interest (6,635) (21,091) in income of subsidiaries (399,170) 257,426 Net income (loss)

The Company and its subsidiaries’ operations mainly involve business segments in printed circuit board, prepreg and laminate products with production facilities in Thailand and operates in both local and overseas markets. Financial information of the Company and its subsidiaries by business is as follows :

24. Financial information by segment


192 รายงานประจำปี 2551

Prepreg and Laminate business Printed Circuit Board business 2008 2007 2008 2007 596,333 525,044 5,588,411 5,239,320 870,307 939,273 2,320,688 3,173,328 1,466,640 1,464,317 7,909,099 8,412,648

Service provider business 2008 2007 2,147 - 6,755 - 8,902 -

Transfer prices between business segments are as set out in Note 9 to the financial statements.

Property, plant and equipment Other assets Total assets

(Unit : Thousand Baht) Total 2008 2007 6,186,891 5,764,364 3,197,750 4,112,601 9,384,641 9,876,965

Financial information by business segment for the consolidated balance sheets as at 31 December 2008 and 2007 are as follows :


25. Provident fund The Company and its subsidiaries, and their employees have jointly established a provident fund as approved by the Ministry of Finance in accordance with the Provident Fund Act B.E. 2530. Both employees and the Company or the subsidiary companies contributed to the fund monthly at the rates of 4 - 8 percent of their basic salary. The fund, which is managed by National Asset Management Co., Ltd., will be paid to employees upon termination in accordance with the fund rules. During the year 2008, the Company and its subsidiaries contributed Baht 20.7 million in consolidated financial statements (2007 : Baht 19.3 million) and Baht 7.6 million in the separate financial statement (2007 : Baht 7.6 million) to the fund. 26. Dividend payment On 29 April 2008, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders approved

the payment of dividend in respect of previous year’s net income at Baht 0.08 per share to the ordinary shareholders, totaling of Baht 37 million. The Company paid the dividend on 28 May 2008. On 30 April 2007, the Annual General Meeting of the Company’s shareholders passed a resolution

approving the omission of the annual dividend payment for the year 2006 to the Company’s shareholders. 27. Commitments and contingent liabilities 27.1 As at 31 December 2008, the Company and its subsidiaries have rental and service contract

commitments with a period of 1 - 3 years. The future minimum charge according to the agreements

until the end of the agreements are as follows : Currency Baht US Dollar

Consolidated financial statements 27,380,897 72,904

Separate financial statements 9,367,004 -

27.2 As at 31 December 2008, the Company and its subsidiaries have outstanding bank guarantees

of approximately Baht 63.0 million (the Company only : Baht 28.3 million) in respect of

certain performance bonds as required in the normal course of business, mainly for guarantee

of electric payment. 27.3

As at 31 December 2008, the Company and its subsidiaries had commitment to purchase machine

amounting to approximately USD 0.9 million and YEN 114.7 million and Euro 0.2 million or

totally equivalent to Baht 89.1 million (The Company only : USD 0.7 million or totally equivalent

to Baht 23.5 million).

Annual Report 2008 193


27.4 As at 31 December 2008 and 2007, the Company and its subsidiaries have contingent liabilities

in respect of cross guarantees of loans and other credit facilities as follows : Guarantee company K.C.E. International Co., Ltd. - Baht - USD KCE Technology Co., Ltd. - Baht - EURO Thai Laminate Manufacturer Co., Ltd. - Baht KCE Electronics Plc. - Baht

(Unit : Million)

Guarantor KCE Electronics Plc. K.C.E. International Co., Ltd. 2008 2007 2008 2007 73 212 - - 1 5 - - 3,572 3,846 - - 1 2 - - 135 170 - - - - 219 258

27.5

On 26 October 2005, KCE America Inc., an associated company, had entered into operating

lease agreement for its office premises with a subsidiary of an associated company for

a period of 15 years. Under this agreement, as at 31 December 2008, the associated company

has commitment to pay the rental fee in the future of approximately USD 1.8 million or equivalent

to approximately Baht 63.9 million.

27.6

As at 31 December 2008, the Company has contingent liabilities in respect of specifies

business tax assessment from Revenue Department’s officer of Baht 4.2 million because the

Company guaranteed to a related party without fee. However, the Company appealed such

assessment to the Central Tax Court, which the case is under consideration at the present.

The Company’s management believe that there is no tax to be paid from such assessment.

Therefore, the Company did not record any contingent liabilities in the accounts.

27.7 As at 31 December 2008, the Company has commitment with a subsidiary in respect of installment

and implementation of computer software amounting to Baht 29.4 million. 28. Financial instruments 28.1 Financial risk management The Company and its subsidiaries’ financial instruments, as defined under Thai Accounting Standard No. 48 “Financial Instruments : Disclosure and Presentations”, principally comprise cash and cash equivalents, trade accounts receivable, investments, trade accounts payable, and short-term and long-term loans. In addition, the Company and its subsidiaries have off-balance sheets derivatives for hedging the risk from commodities’ price. The financial risks associated with these financial instruments and derivatives and how they are managed is described below.

194 รายงานประจำปี 2551


Credit risk The Company and its subsidiaries are exposed to credit risk primarily with respect to trade accounts receivable. The Company and its subsidiaries manage the risk by adopting appropriate credit control policies and procedures and therefore do not expect to incur material financial losses. In addition, the Company and its subsidiaries do not have high concentration of credit risk since they have a large customer base that has good payment abilities. The maximum exposure to credit risk is limited to the carrying amounts of receivables as stated in the balance sheet.

Interest rate risk The Company and its subsidiaries’ exposure to interest rate risk relates primarily to its

cash at banks and financial institutions, bank overdrafts, and loans from bank. However, since most of the Company and its subsidiaries’ financial assets and liabilities bear floating interest rates, the interest rate risk is expected to be minimal. Significant financial assets and liabilities as at 31 December 2008 classified by type of interest rates are summarised in the table below.

Financial Assets Cash and cash equivalents Trade accounts receivable Investments in associates accounted for under equity method Financial liabilities Bank overdrafts Short-term loans from financial institutions Trade accounts payable Amounts due to and advances from related parties Other payable from purchases of equipment Accounts payable under financial lease agreements Long-term loans

Consolidated financial statements Floating Non- interest interest rate bearing Total (Million Baht) 85 33 118 - 1,353 1,353 - 87 87 85 1,473 1,558 80 - 80 4,381 - 4,381 - 866 866 - 11 11 - 116 116 264 - 264 954 - 954 5,679 993 6,672

Interest rate (% p.a.) 0.25 - 3.25 - - 7.00 - 8.20 2.47 - 7.38 - - - 5.56 - 7.79 4.25 - 6.00

Annual Report 2008 195


Floating interest rate

Financial Assets Cash and cash equivalents Trade accounts receivable Investments in subsidiaries and associates accounted for under cost method Financial liabilities Bank overdrafts Short-term loans from financial institutions Trade accounts payable Amounts due to and advances from related parties Other payable from purchases of equipment Accounts payable under financial lease agreements Long-term loans

16 - - 16 35 1,136 - - - 254 101 1,526

Separate financial statements Non- interest bearing Total (Million Baht) 15 31 680 680 923 923 1,618 1,634 - 35 - 1,136 613 613 23 23 20 20 - 254 - 101 656 2,182

Interest rate (% p.a.) 0.25 - 2.00 - - 7.00 3.18 - 5.50 - - - 5.85 - 7.79 4.25 - 4.75

Foreign currency risk The Company and its subsidiaries’ exposure to foreign currency risk relates primarily

to their sales of goods, purchases of materials and loans, which are denominated in foreign currencies. The Company and its subsidiaries have policies to manage their assets and liabilities denominated in foreign currencies through balancing the proportions and conditions of those assets and liabilities (Natural Hedging), with emphasis on having cash inflows and cash outflows occur concurrently. In addition, the policy has also been focused on hedging on transaction risk in accordance with varying situations and forecasts of the foreign exchange rates. As a result, the Company and its subsidiaries have entered into a number of forward exchange contracts with banks that have maturities of less than one year in order to hedge their foreign currency risk.

196 รายงานประจำปี 2551


As at 31 December 2008, the Company and its subsidiaries had balances of financial assets and liabilities denominated in foreign currencies as follow :

Consolidated financial statements Financial Financial Foreign currency assets liabilities (Thousand (Thousand Unit) Unit) 30,549 37,541 USD 5,863 3,586 EURO 315 37 GBP - 109,807 YEN

Separate financial statements Exchange rate as at Financial Financial assets liabilities 31 December 2008 (Thousand (Thousand Buying rate Selling rate Unit) Unit) (Baht per unit of foreign currency) 10,621 11,702 34.7129 35.0824 2,681 1,147 48.7514 49.6515 235 - 50.1709 51.1328 - 8,591 0.3819 0.3898

As at 31 December 2008, the Company and its subsidiaries had outstanding forward exchange contracts, of which details are presented below : Currency Buy USD EURO Sell USD EURO

Amount (Thousand) 17,845 570 12,235 1,700

Maturity date 2 January 2009 - 23 June 2009 6 February 2009 - 5 June 2009

9 January 2009 - 28 May 2009 5 March 2009 - 29 June 2009

Contract exchange rate (Baht per unit of foreign currency) 33.2600 - 35.6062 45.6930 - 51.7048 33.6400 - 35.4400 48.8259 - 49.7600

Commodity price risk As at 31 December 2008, the Company and its subsidiaries had outstanding commodity swap agreements, of which details are presented below.

Type of goods Quantity (Ton) Copper 1,430

Maturity date 28 February 2009 - 30 June 2009

Commodity’s market price as at Contract price 31 December 2008 (US dollar per unit) (US dollar per unit) 3,180 - 7,200 2,902

Annual Report 2008 197


On 17 September 2008, the Company and its subsidiaries had entered into put option agreements with an overseas bank in respect of future sale of copper of 600 ton (the Company only : 150 ton). The bank has to exercise the option within 28 February 2009 for sale of copper to the Company and its subsidairy, which has maturity date between March 2009 and August 2009. If the contract price, which is USD 6,700 per ton, is greater than average market price in the month of settlement, the Company and its subsidiaries will pay the bank an amount equal to the difference multiplied by notional quantity per settlement period. 28.2 Fair values of financial instruments Since the majority of the Company and its subsidiaries’ financial instruments are short-term in nature or bear floating interest rates, their fair value is not expected to be materially different from the amounts presented in the balance sheets. A fair value is the amount for which an asset can be exchanged or a liability settled between knowledgeable, willing parties in an arm’s length transaction. The fair value is determined by reference to the market price of the financial instrument or by using an appropriate valuation technique, depending on the nature of the instrument. 29. Capital management The primary objective of the Group’s capital management is to ensure that it has an appropriate financial structure and preserves the ability to continue its business as a going concern. According to the balance sheet as at 31 December 2008, the Group’s debt-to-equity ratio was 3.1 : 1 (2007 : 2.6 : 1) and the Company’s was 1.6 : 1 (2007 : 1.2 : 1). 30. Reclassification Certain amounts in the financial statements for the year ended 31 December 2007 have been reclassified to conform to the current year’s classification but with no effect to previously reported net income or shareholders’ equity. The reclassifications are as follow : Property, plant and equipment - net Intangible assets

(Unit : Baht) Consolidated Separate financial statements financial statements As previously As previously As reclassified reported As reclassified reported 5,764,364,493 5,774,597,665 1,379,024,957 1,380,473,642 10,233,172 - 1,448,685 -

31. Approval of financial statements These financial statements were authorised for issue by the Company’s Board of Directors on 24 February 2009.

198 รายงานประจำปี 2551


รายการที่กำหนดตามแบบ 56-2 CHECK LIST OF 56-2 รายการ / Items ข้อมูลทัว่ ไป General Information ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษทั และบริษทั ย่อย Summarized Financial Data ลักษณะการประกอบธุรกิจ Nature of Business ปัจจัยความเสีย่ งและนโยบายการบริหารความเสีย่ ง Risk Factors and Risk Management โครงสร้างการถือหุน้ และการจัดการ Shareholders and Management Structures ผูถ้ อื หุน้ (Shareholders) การจัดการ (Management) รายงานการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี Corporate Governance Report รายการระหว่างกัน Connected Transactions คำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ Management Explanation and Analysis งบการเงิน Financial Statements

หน้า / Page

88-91

5

12-13

82-87

13, 26-27 15

16-25

30-65

80-81

72-79

94-198

Annual Report 2008 199


∫√‘…—∑ ‡§´’Õ’ Õ’‡≈§‚∑√π‘§ å ®”°—¥ (¡À“™π) KCE ELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED 125-125/1, 1 À¡Ÿà 4 π‘§¡Õÿµ “À°√√¡≈“¥°√–∫—ß ·¢«ß≈”ª≈“∑‘« ‡¢µ≈“¥°√–∫—ß °√ÿ߇∑æœ 10520 125-125/1, 1 Moo 4 Lat Krabang Industrial Estate, kwang Lumplatew, Lat Krabang, Bangkok 10520, Thailand Tel. (662) 326-0196 Fax. (662) 326-0300 Website : www.kcethai.in.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.