Before Ending Story เร่อง ื / เรา /เล่า
Before Ending Story เรื่อง / เรา / เล่า เรื่องโดย นักศึกษาภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุ กระจาย เสียงและวิทยุ โทรทัศน์รุ่นที่ 6 © สงวนลิขสิทธิ์ 2557 : มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ กีรติ เอมมาโนชญ์ บรรณาธิการต้นฉบับและผู ้จัดท�ำ อ.ปณต สุสุวรรณ บรรณาธิการที่ปรึกษา พิมพ์ครัง้ แรก กันยายน 2558
ค�ำน�ำ
ก่อนจะเข้ าเรื่องกัน ผมอยากจะสารภาพไว้ ตรงนี้ก่อนเลยว่า ผมคิดการเขียนค�ำน�ำในครั้งนี้ อยู่นานมาก เขียนเสร็จแล้ วลบ ลบแล้ วก็เขียนใหม่ วนไปวนมาทั้งคืน จนต้ องไปพักสมองเสียหน หนึ่งก่อนที่จะกลับมานั่งแท่น แตะคีย์บอร์ดเตรียมเขียนต่อ ณ ตอนนี้
ที่ผมคิดไม่ออกไม่ใช่ว่าไม่มีเรื่องจะให้ เขียนถึงนะครับ แต่เรื่องราวที่มมี าตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่ต้องมาอยู่ร่วมชายคาเดียวกันกับเพื่อนๆภาควิชาวารสารศาสตร์วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ท้งั หมดกว่า 50 ชีวิตนั้นมีมากมายหลายเรื่องเลยทีเดียว แต่แหม่ในฐานะที่ไม่ค่อยได้ เข้ าไปร่วมสังฆกรรมในหลายๆงานที่เพื่อนเขาร่วมแรงร่วมใจกันท�ำ ก็ทำ� ให้ ตะหงิดๆใจเล็กๆครับ ที่จะเขียนถึงพวกเขาและเธอเหล่านั้น
เอาเป็ นว่า ผมขอย้ อนที่มาของหนังสือที่ทา่ นก�ำลังไล่สายตาอ่านอยู่ในขณะนี้ให้ รับรู้ก่อน แล้ วกัน หนังสือเล่มนี้คือโปรเจคตัวจบของผมครับ แหะๆ ท่านผู้อ่านคงจะแปลกใจใช่ไหมครับว่า ท�ำไมผมในฐานะที่เรียนวารสาร Broadcasting มา (ต่อไปนี้จะขอใช้ คำ� นี้นะครับ ขี้เกียจพิมพ์ช่ ือ เต็ม มันยาว) ใยมาท�ำหนังสือได้ ? เอ่อ อันนี้ต้องชี้แจงแถลงไขให้ หายข้ องใจกันก่อน หนังสือเล่ม นี้นอกจากท�ำเป็ นรูปเล่มแล้ ว ยังท�ำ E-Book ด้ วยนั่นเอง ถือว่า...ไม่เป็ นการข้ ามสปี ชี่สแ์ น่นอน ครับ ถ้ าไม่สงสัยอะไรแล้ วก็เข้ าเรื่องเลยดีกว่านะครับ (ตัดบทกันดื้อๆแบบนี้เลยทีเดียว) ส�ำหรับ เรื่องราวในหนังสือเล่มนี้ จะเป็ นการรวบรวมข้ อเขียนทั้งหมด 25 เรื่อง จากเพื่อนๆ 24 คนและ ของผมเองด้ วยอีก 1 เรื่องครับ โดยคัดจากต้ นฉบับทั้งสิ้น 40 เรื่อง (มีบางคนไม่ได้ ส่งและหาไฟล์
ที่เก็บงานไว้ ไม่เจอท�ำให้ มตี ้ นฉบับทั้งสิ้น 40 เรื่องนั่นเอง) ซึ่งใช้ เวลาในการคัดเลือกนานมาก เพราะเราพิถพี ิถนั ในทุกขั้นตอนการผลิตจึงต้ องใช้ เวลาพอสมควร (จริงๆคือ ขี้เกียจท�ำ มัวแต่ไป ท�ำบ้ าท�ำบออะไรก็ไม่ร้ )ู และจัดต้ นฉบับเหล่านั้นให้ อยู่ใน 4 หัวข้ อหลักก็คือ เพื่อน, ความทรงจ�ำ, ชีวิตและความคิด และความสุข ส�ำหรับหลักในการเลือกเรื่องของหนังสือเล่มนี้ ก็ไม่มอี ะไรมากครับ เลือกตามความ สบายใจของผมเป็ นส�ำคัญ อันไหนสนุกก็เอามารวมไว้ อันไหนอ่านแล้ วท�ำให้ ง่วงนอน ปวดตา เมื่อยล้ า เบื่อหน่าย เหน็ดเหนื่อยต่อไปเกินที่จะอ่านก็โยนลงตะกร้ าไป ฮ่าๆๆๆๆ (จริงๆไม่ใช่นะ ครับ และต้ องขอโทษคนอื่นด้ วยนะที่ไม่ได้ เอามาลงไว้ ) โดยต้ นฉบับทั้ง 25 เรื่องนี้ถูกบันทึกไว้ ก่อนพวกเขาและเธอเหล่าจะจบการศึกษากันไป เพียงไม่นาน ท�ำให้ ความคิดความอ่านของพวกเขาและเธอตกผลึก คือทุกเรื่องจะไม่ออกแนวไม่ วัยรุ่นจ้ ามากแต่กไ็ ม่ได้ เป็ นผู้ใหญ่เต็มตัว ผมว่าน่าจะได้ ความคิดที่เป็ นตัวของพวกเขาเองทั้งหมด จริงๆ ซึ่งทุกคนได้ ผ่านประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยมาตั้งแต่เพิ่งผละจากเด็กมัธยมปลาย จน ก�ำลังจะลาจากชีวิตของการเป็ นนักเรียน นักศึกษาไปตลอดกาล เรื่องราวในหนังสือทั้งหมด 25 เรื่องนี้ เป็ นเรื่องราวความคิดความอ่านของเด็กกลุ่มหนึ่ง (รวมถึงผมด้ วย) ผมไม่คาดหวังถึงขนาดว่า หนังสือเล่มนี้จะเปลี่ยนชีวิตใคร หรือสั่งสอนอะไรใคร หรอกครับ ผมแค่ทำ� หนังสือเล่มนี้ข้ นึ มา เพราะอยากจะจบการศึกษาจากที่น่ีเร็วๆก็เท่านั้นเอง เฮ้ ย! ไม่ใช่ๆ ผมท�ำหนังสือเล่มนี้ข้ นึ มา ก็เพื่ออยากจะรวบรวมเศษเสี้ยวความทรงจ�ำของพวกเขา และเธอเหล่านี้ไว้ เท่านั้นเอง ไม่ว่ามันจะเป็ นความทรงจ�ำที่ดหี รือไม่ดกี ต็ าม แต่เมื่อมันผ่านไปแล้ ว จะท�ำได้ กแ็ ค่คิดถึงมันก็เท่านั้นเองล่ะครับ ถือว่าเป็ นช่วงเวลาหนึ่งในชีวิตของเด็กกลุ่มหนึ่งก็แล้ ว กัน จึงเอามารวมไว้ ไม่ให้ มนั กระจัดกระจายหายไปในอากาศ เผื่อคิดถึงจะได้ มาเปิ ดอ่านกันนั่นเอง ครับ เอ้ าๆ เดีย๋ วจะซึ้งกันเกินเหตุซะก่อน ขออนุญาตขอบคุณหลายๆท่านในที่น่ีเสียก่อน 1. อ.ขจรจิต บุนนาค อดีตหัวหน้ าภาควิชาวารสารศาสตร์ ที่เมตตาเปิ ดวิชา JR310 ให้ ลง ทะเบียนเรียน และส�ำหรับค�ำปรึกษาอาการแพนิคจากเรื่องฝึ กงาน ไปจนถึงเรื่องเรียนไม่จบพร้ อม เพื่อนนะครับ 2. อ.ปณต สุสวุ รรณ ส�ำหรับการให้ คำ� ปรึกษางานชิ้นนี้ และการคอยทวงงานและจ�ำ้ จี้จำ�้ ไช
ลูกศิษย์ตกค้ างคนนี้มาโดยตลอด (แม้ ว่า ไอ้ น้ ีมนั จะไม่ส่งงานและท�ำอาจารย์กลุ้มใจในหลายๆ รอบก็ตาม) อาจารย์เป็ นคนที่ทำ� ให้ ผมมองโลกของข่าวเปลี่ยนไปนะครับ จากไอ้ เด็กบ้ าการเมือง ตอนนี้กลายเป็ นไอ้ เด็กบ้ าข่าวไปแล้ วครับ 3. มะยม เพื่อนร่วมวิชาส�ำหรับที่ชวนให้ มาลงเรียนวิชานี้และช่วยเรื่องการท�ำรูปเล่ม 4. พี กับ แหวว ส�ำหรับการช่วยเหลือในเรื่องงานและหลายๆเรื่อง 5. ม๊า ส�ำหรับแรงก�ำลังใจมหาศาล 6. ป๊ า ส�ำหรับทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตเหลียง 7.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ส�ำหรับประสบการณ์ชีวิตที่ท้งั ดีและไม่ดี มันท�ำให้ ชีวิตมีรสชาติข้ นึ 8. เพื่อนกลุ่มสารคดีชิโน-โปรตุกสิ ที่ตรัง ที่ทำ� ให้ ร้ วู ่ามึงควรรีบท�ำความรู้จักกับทุกคนใน ห้ องเสียแต่เนิ่นๆ และ 9. เหล่าบรรดาเพื่อนๆ BJ6 ทุกคน ผมท�ำไม่ดกี บั ใครไว้ ขอโทษผ่านหนังสือเล่มนี้ เลยนะครับ และก็สำ� หรับ 4 ปี ที่ผ่านมานะ แม้ ผมจะไม่คุย ไม่ตสี นิท ไม่ทำ� ห่านอะไรกับเพื่อนๆ และไม่แยแสใครก็เหอะนะ แต่ร้ ไู ว้ เถอะว่า เมื่อไหร่ท่มี าเรียนแล้ วเจอพวกคุณ มันรู้สกึ คุ้นเคยรู้สกึ วางใจทุกครั้งไป แล้ วก็อะไรดีๆก็เก็บไว้ คิดถึงเยอะๆกันเถอะ อะไรร้ ายๆไม่ดๆ ี ก็ลืมๆมันไป ให้ รับรู้เพียงว่า 4 ปี ที่ผ่านมามันเป็ นช่วงเวลาเล็กๆช่วงหนึ่งเราได้ มาเจอกัน (แม้ มนั จะขมขื่น ทุกข์ ตรมบ้ างก็เถอะนะ) ขอบคุณมากๆครับ กีรติ เอมมาโนชญ์ 30 กันยายน 2558
สารบัญ
ค�ำน�ำ
Part 1 เพือ่ น
เมื่อเด็กบ้านนอกเข้ากรุ ง : มาลินี วรรณทอง การเรียนกับการมีเพื่อน : พงศ์พล ชั ยเมืองแก้ว แคปซู ลเวลา : อรณิชา สุวรรณปิ ณฑะ 16 โดดเดี่ยวไม่เดี่ยวดาย : รวินท์นิภา หล่ายหก Story 4 Years JR BU : อรญา พัฒนชาคร
2 10 27 32
Part 2 ความทรงจ�ำ
สิ่งที่ไม่อาจลืม : เกวลิน สุวรรณดี 42 ตัง้ ใจและพยายาม : ชญานี ทาดากิ 48 กล้าเริ่มต้น : ยุ พดี จิวประเสริฐ 54 4 ปี ความรัก ความคิด ความฝั น : กานต์ วัฒนภิโกวิท 60 ก้าวแรก : รตา ผดุงเกียรติศักดิ์ 66 คิดจะเลือก เลือก BU : ธัญญาพร พิมพ์งาม 72 ประสบการณ์ท่หี าที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว : สโรชา นิ่มวุ ่น 82
Part 3 ชี วิตและความคิด
กิจกรรมท�ำให้คนท�ำงานเป็น : จักรพันธ์ ไชยพงษ์ 91 เลือกเรียนผิดชี วิตเปลี่ยน : นันทวัน คุ้มวงษา 96 ชี วิตที่อิสระ : ภูรีนาฏ กาญจนาชี วะ 106 ท�ำไมเราจะผ่านไปไม่ได้ : แก้วตา วงษ์เกลี้ยง 112 จากความไม่รู้ : ศิวพงษ์ กัลชาญสุพรรณ 118
เรื่องราวในรัว้ สีม่วงส้ม : คมกฤษ ทองค�ำ 124 เรื่องราว เรื่องเล่า กับเราที่ BU : อารยา แต้ไพบู ลย์ศักดิ์ 132 พัฒนาการของฉัน : Part รชาดา3 ความสุ นวลจันขทร์ 138 Part 4 ความสุข Happy memories (ความทรงจ�ำที่มีความสุข) : รังสิมา กาญจนเกตุ 146 ภูมิใจมากค่ะ : พลอยระวี แป้นเจริญ 154 ความรู ้สึกทัง้ หมดที่มีต่อที่น่ี : กรองกาญจน์ วัฒนศรี 162 สี่ปี : กีรติ เอมมาโนชญ์
บทแถม 170
เมื่อเด็กบ้านนอกเข้ากรุ ง มาลินี วรรณทอง
“เคยตัง้ ค�ำถามให้ตัวเองมาตลอดว่า นิเทศศาสตร์คือสิ่งที่ใจเราชอบจริงๆหรือไม่ 4 ปี ท่ไี ด้เรียนรู ้ กิจกรรมที่ได้ลงมือท�ำ มันท�ำให้รู้ว่าเรามาถูกทางแล้ว”
กว่าจะได้เรียนที่น่ี ขอเริ่มด้วยการเล่าก่อนว่ามาเรียนที่น่ไี ด้อย่างไร เพราะความที่เป็นเด็กต่างจังหวัด และเป็นลูกสาว คนเดียวของบ้านท�ำให้พ่อแม่ห่วงเรื่องความปลอดภัยมาก หากลูกสาวต้องมาอยู ่กรุ งเทพเพียงล�ำพัง และ ปกติแทบจะไม่เคยได้รับอนุญาตให้เดินทางไกลๆ ดังนัน้ พ่อจึงไม่อยากให้มาเรียนที่กรุ งเทพ และมักจะถาม เสมอตอนที่เรียนม.ปลาย “เรียนใกล้บ้านเราได้ไหมลูก ศรีสะเกษ หรืออุ บล ม.เขาก็ดีเหมือนกันนะ ท�ำไมต้อง อยากไปเรียนไกลๆ พ่อไม่อยากให้ไปเรียนไกลเลยเป็นห่วง” ในระหว่างที่ใกล้จะจบม.6 ได้ลองไปสอบหลายที่ ติดบ้างไม่ติดบ้างเป็นเรื่องปกติ แต่ท่ภี ูมิใจที่สุดเลยคือ การสอบติดทุนของมหาวิทยาลัยแคมบริจ ประเทศ อังกฤษแต่พ่อกับแม่ไม่ยอมให้ไปเด็ดขาด และขอร้องว่าลูกเรียนที่ไทยก่อนได้ไหม หากจบปริญญาตรีแล้ว อยากเรียนต่อเมืองนอกพ่อแม่จะไม่ว่าอะไรเลย ตอนนัน้ ท่านคงทราบดีว่าถึงเราไปก็คงอยู ่ไม่ได้แน่ๆ เพราะ คิดถึงบ้านมาก หลังจากนัน้ จึงมุ ่งประเด็นไปที่การสอบชิ งทุนของมหาวิทยาลัยกรุ งเทพ เพราะนิเทศศาสตร์ ต้องที่น่เี ท่านัน้ รุ ่นพี่ศิษย์เก่ามักเข้าไปแนะแนวเสมอ และมองว่าสถาบันนี้น่าสนใจคงจะเติมเต็มในสิ่งที่เราอยาก เรียนรู ้ซ่ึ งเชื่ อมั่นว่าจะท�ำให้ความฝั นการอยากเป็นผู ้ประกาศข่าว และผู ้ส่ือข่าวมีโอกาสเป็นไปได้ โชคดีอีกครัง้ คือ ผลการสอบสัมภาษณ์ปรากฏว่าติดทุน BU CREATIVE ไม่ต้องเสียค่าเทอมเต็มหน่วยกิต แน่นอนว่าช่ วย ลดค่าใช้จ่ายของทางบ้านได้เยอะมากซึ่ งไม่อยากเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายให้ทางบ้าน รู ้สึกว่านี่แหละคือตัวเลือกที่ เหมาะกับเรา จึงตัดสินใจเลือกเรียนที่น่ี
บ้านนอกเข้าเมืองมาใช้ชีวิตเด็กหอ เด็กต่างจังหวัดบ้ านอยู่อำ� เภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษติดชายแดนไทย – กัมพูชา (เขมร) หรือจะ เรียกว่าเด็กบ้ านนอกก็คงไม่แปลกอะไร ชีวิตการเดินทางเข้ ากรุงเทพนับครั้งได้ ความรู้สกึ เหมือนบ้ านนอกเข้ า เมืองจริงๆ ทุกสิ่งทุกอย่างดูแปลกไปจากบ้ านเรา มีคำ� ถามและสงสัยเรื่องไม่เป็ นเรื่องอยู่ตลอดเวลา ขนาด เดือนแรกข้ ามสะพานลอยใจสั่นสงสัยว่าท�ำไมกรุงเทพรถวิ่งเร็วจังเพราะที่บ้านไม่มสี ญ ั ญาณไฟแดง คืนแรก ของชีวิตเด็กหอเต็มไปด้ วยความรู้สกึ เหงาและคิดถึงพ่อกับแม่ คิดถึงบ้ าน อยากกลับบ้ านหรือที่น่ีคงไม่เหมาะ กับเรา ซอยอะไรเสียงดังตลอดเวลาเหมือนถนนที่ผ้ ูคนไม่เคยหลับใหล ทั้งเสียงดังจากร้ านเหล้ า เสียงดังจาก รถวิ่งผ่าน เสียงคนร้ องโวยวายเหมือนทะเลาะกันตลอดเวลาแต่จริงๆแค่คุยกัน นอนไม่หลับอยากกลับบ้ าน เทอมแรกยอมรับเลยว่ากลับบ้ านบ่อยมากๆ เกือบจะทุกสัปดาห์น่ังรถประมาณ 7-8 ชั่วโมง บางครั้งหยุดแค่ 1 วันขอให้ ได้ กลับพอกลับบ้ านแล้ วไม่อยากกลับหอเลย มีนำ�้ ตากลับมาด้ วยทุกครั้ง มันคือความรู้สกึ ที่ทรมาน มากถามตัวเองว่าเรามาที่น่ีทำ� ไม ท�ำไมไม่เชื่อพ่อแม่ต้งั แต่แรกว่าให้ เรียนใกล้ บ้าน ความฝันของเราคืออะไร เรายังจะสู้ต่อไหม เราจะเอาอย่างไรดี ในใจครึ่งๆกลางๆ บางคืนตีสามตีส่โี ทรกลับบ้ านบอกพ่อว่าไม่ไหวแล้ ว อยู่ไม่ได้ คิดถึงบ้ านมากๆ สังคมที่น่ีไม่เหมาะกับลูกเลยมันไม่ใช่จริงๆ ลูกขอย้ ายมหาลัยได้ ไหมมันไม่ไหวแล้ ว โชคดีท่ตี อนนั้นพ่อกับแม่เข้ าใจและให้ กำ� ลังใจที่ดมี าโดยตลอด บอกเสมอว่าให้ อดทนเพื่ออนาคตที่ดขี องลูก เอง ต้ องปรับตัวให้ ได้ อะไรที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ต้องสนใจ ตั้งใจท�ำหน้ าที่ของตัวเองให้ ดที ่สี ดุ พ่อกับแม่เป็ นก�ำลัง ใจให้ เสมอ จากก�ำลังใจของพ่อแม่ในวันนั้นท�ำให้ อยู่รอดมาจนถึงวันนี้เสมอ จากก�ำลังใจของพ่อแม่ในวันนั้น ท�ำให้ อยู่รอดมาจนถึงวันนี้ เรื่อง เรา เล่า 11
บ้านนอกเข้าเมืองมาใช้ชีวิตเด็กหอ เด็กต่างจังหวัดบ้ านอยู่อำ� เภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษติดชายแดนไทย – กัมพูชา (เขมร) หรือจะ เรียกว่าเด็กบ้ านนอกก็คงไม่แปลกอะไร ชีวิตการเดินทางเข้ ากรุงเทพนับครั้งได้ ความรู้สกึ เหมือนบ้ านนอกเข้ า เมืองจริงๆ ทุกสิ่งทุกอย่างดูแปลกไปจากบ้ านเรา มีคำ� ถามและสงสัยเรื่องไม่เป็ นเรื่องอยู่ตลอดเวลา ขนาด เดือนแรกข้ ามสะพานลอยใจสั่นสงสัยว่าท�ำไมกรุงเทพรถวิ่งเร็วจังเพราะที่บ้านไม่มสี ญ ั ญาณไฟแดง คืนแรก ของชีวิตเด็กหอเต็มไปด้ วยความรู้สกึ เหงาและคิดถึงพ่อกับแม่ คิดถึงบ้ าน อยากกลับบ้ านหรือที่น่ีคงไม่เหมาะ กับเรา ซอยอะไรเสียงดังตลอดเวลาเหมือนถนนที่ผ้ ูคนไม่เคยหลับใหล ทั้งเสียงดังจากร้ านเหล้ า เสียงดังจาก รถวิ่งผ่าน เสียงคนร้ องโวยวายเหมือนทะเลาะกันตลอดเวลาแต่จริงๆแค่คุยกัน นอนไม่หลับอยากกลับบ้ าน เทอมแรกยอมรับเลยว่ากลับบ้ านบ่อยมากๆ เกือบจะทุกสัปดาห์น่ังรถประมาณ 7-8 ชั่วโมง บางครั้งหยุดแค่ 1 วันขอให้ ได้ กลับพอกลับบ้ านแล้ วไม่อยากกลับหอเลย มีนำ�้ ตากลับมาด้ วยทุกครั้ง มันคือความรู้สกึ ที่ทรมาน มากถามตัวเองว่าเรามาที่น่ีทำ� ไม ท�ำไมไม่เชื่อพ่อแม่ต้งั แต่แรกว่าให้ เรียนใกล้ บ้าน ความฝันของเราคืออะไร เรายังจะสู้ต่อไหม เราจะเอาอย่างไรดี ในใจครึ่งๆกลางๆ บางคืนตีสามตีส่โี ทรกลับบ้ านบอกพ่อว่าไม่ไหวแล้ ว อยู่ไม่ได้ คิดถึงบ้ านมากๆ สังคมที่น่ีไม่เหมาะกับลูกเลยมันไม่ใช่จริงๆ ลูกขอย้ ายมหาลัยได้ ไหมมันไม่ไหวแล้ ว โชคดีท่ตี อนนั้นพ่อกับแม่เข้ าใจและให้ กำ� ลังใจที่ดมี าโดยตลอด บอกเสมอว่าให้ อดทนเพื่ออนาคตที่ดขี องลูก เอง ต้ องปรับตัวให้ ได้ อะไรที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ต้องสนใจ ตั้งใจท�ำหน้ าที่ของตัวเองให้ ดที ่สี ดุ พ่อกับแม่เป็ นก�ำลัง ใจให้ เสมอ จากก�ำลังใจของพ่อแม่ในวันนั้นท�ำให้ อยู่รอดมาจนถึงวันนี้
เปลีย่ นคนแปลกหน้าเป็ นเพือ่ นรูใ้ จ การปรับตัวอีกอย่างหนึ่งของการใช้ ชีวิตมหาวิทยาลัยคือ เพื่อนใหม่ ซึ่งมาจากต่างถิ่น ย่อมมีนิสยั ที่ แตกต่างกันไป แต่ส่วนตัวเป็ นคนชอบพูดชอบคุย การท�ำความรู้จักกับเพื่อนใหม่จึงไม่ใช่ปัญหาอะไร แต่ ยอมรับว่าช่วงแรกของการเป็ นนักศึกษาปี 1 นั้นยังไม่ค่อยกล้ าเปิ ดเผยความบ้ าของตนเองเท่าไหร่ เรียกว่ายัง ไม่ได้ สนิทกันมากนัก แต่แล้ วการที่เราผ่านอะไรหลายอย่างมาด้ วยกันท�ำให้ เราผูกผันกันมากขึ้น ขอเล่าถึง เพื่อนที่สนิทที่สดุ ในบียู คือ ปวัน แท่นทอง ที่มาที่ไปของการได้ ร้ จู ักกัน เริ่มจากแข่งโต้ วาทีของมหาวิทยาลัย เราเป็ นตัวแทนจากคณะนิเทศศาสตร์ ส่วนปวันเป็ นตัวแทนจากคณะนิตศิ าสตร์ เราสองทีมคือ คู่แข่งกันอย่าง เห็นได้ ชัด การแข่งขันดุเดือดมากด้ วยวาทะของทั้งคู่ หลังจากแข่งขันเสร็จผลปรากฏว่านิเทศศาสตร์ชนะ นิตศิ าสตร์หลังจากวันนั้นเราก็ไม่คุยกันเลยเพราะปกติกไ็ ม่ร้ จู ักกันอยู่แล้ ว ในใจรู้สกึ ว่าท�ำไมตุด๊ คนนี้ด่าเราแรง จัง (เก็บเรื่องบนเวทีมาคิด) วันหนึ่งเดินกลับหอ ตายแล้ วเราอยู่หอใกล้ กนั หรอ ท�ำไมเราต้ องเจอคนนี้ด้วยนะ จากคนที่เรารู้สกึ ว่าไม่ชอบขี้หน้ าที่สดุ ไม่อยากเจอ แล้ ววันหนึ่งได้ มาตัดตัวแทนนักโต้ มหาวิทยาลัยผลปรากฏ ว่าเราผ่านการคัดเลือกทั้งคู่ ยิ่งท�ำให้ เราเจอกันบ่อยขึ้นเพราะต้ องซ้ อมโต้ วาทีด้วยกันทั้งวันทั้งคืน จากคนที่เรา คิดมาตลอดว่าเขาไม่ชอบเราหรือเปล่า หรือโกรธเราเรื่องการแข่งขันอยู่ม๊ยั และความรู้สกึ กลับค่อยๆเปลี่ยน ไป เราเริ่มพูดคุยกันมากขึ้น กลับเป็ นคนที่อยู่ด้วยแล้ วเรามีความสุข เราเป็ นตัวเองที่สดุ เขาคือเพื่อนที่คอย ช่วยเหลือกันทุกอย่าง จนได้ เปิ ดใจคุยกันว่าก่อนหน้ านี้เราเคยคิดว่าเขามองเราอย่างไร ต่างคนต่างหัวเราะ เพราะคิดเองเออเองเหมือนกัน แล้ ววันนี้ 4 ปี ที่ผ่านมาเขาคือคนแปลกหน้ าที่กลายเป็ นเพื่อนสนิทซึ่งเรารัก มากที่สดุ คนหนึ่ง ดีใจที่ได้ ร้ จู ักเพื่อนที่ดกี บั เราขนาดนี้ รักเธอนะปวัน ถ้ าไม่ใช่ตดุ๊ ป่ านนี้จีบไปนานแล้ ว… เพื่อน 12
(ภาพซ้ าย) ก่อนมาลินีเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ (ภาพขวา) เมื่อมาลินีเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพเต็มตัว (คนซ้ ายสุด)
ขอโทษนะ…ความรับผิดชอบอยู่ไหน การเข้ ามาเรียนที่น่ีทำ� ให้ ชีวิตได้ เรียนรู้อะไรเยอะมาก สิ่งที่แปลกใจและต้ องปรับตัวในช่วงแรกมากๆ เลยคือ การท�ำงานกลุ่มกับเพื่อนในวิชาโทซึ่งไม่เคยรู้จักกันมาก่อน เจอช่วงแรกแอบสงสัยว่าเขาเหล่านี้จบ มัธยมมาได้ อย่างไร จบจากสถาบันไหน ท�ำไมไม่มคี วามรับผิดชอบเลย ท�ำงานแย่มากๆ เข้ าใจว่าทุกคนย่อมมี สองด้ านแต่ การท�ำงานเป็ นทีมทุกคนต้ องมีการปรับตัวแต่ หลายครั้งเวลาร่ วมงานกับเพื่อนต่ างสาขาจะต้ อง ท�ำใจกับค�ำว่า เพื่อนไม่ช่วยท�ำงาน ถึงแม้ จะมีการแบ่งงานที่ค่อนข้ างชัดเจนแล้ วก็ตาม เจอตั้งแต่ปี 1 จนถึงปี 4 กับพฤติกรรมเพื่อนแบบนี้ ซึ่งแตกต่างจากเพื่อนที่โรงเรียนเดิมที่ช่วยเหลือกันและท�ำงานค่อนข้ างละเอียดและ เรียบร้ อย มีเหตุการณ์ครั้งหนึ่งที่จำ� ได้ แม่น เมื่อสมัยเรียนวิชา LB214 กับเพื่อนต่างสาขา อาจารย์ให้ ทำ� รายงานกลุ่ม แน่นอนว่าส่วนใหญ่ไม่ช่วยท�ำงาน แต่ท่หี นักกว่านั้นคือ มีเพื่อนคนหนึ่งมาขออยู่กลุ่มด้ วยในคาบ ที่จะต้ องส่งรายงาน ทั้งๆที่รายงานเสร็จเรียบร้ อยแล้ ว จึงตัดสินใจเข้ าไปปรึกษาอาจารย์ว่า “อาจารย์คะ พอดี เพื่อนขอเพิ่มชื่อในรายงานด้ วย แต่เพื่อนไม่ได้ ทำ� อาจารย์จะว่าอย่างไร อนุญาตไหม” ในใจตอนนั้นนึกว่า อาจารย์จะให้ เพื่อนคนนั้นไปท�ำรายงานมาใหม่ หรือให้ อ่านเพิ่ม แต่เปล่าเลยอาจารย์กลับด่าเราหน้ าห้ องเสียง ดังต่อหน้ าเพื่อนนักศึกษาคนอื่นว่า “แค่เพิ่มชื่อมันยากตรงไหน คุณจะใจด�ำไม่ใส่ช่ ือเพื่อนหรอ” เลยถามกลับ ไปว่า “แต่เพื่อนเพิ่งมาและไม่ได้ มสี ่วนช่วยในรายงานชิ้นนี้เลยนะคะ “อย่างที่ผมถามว่าคุณจะใจด�ำกับเพื่อน หรอ” เราเลยมองหน้ าเพื่อนที่ไม่ร้ จู ักและบอกให้ เขาเพิ่มชื่อลงไปได้ เลย เราอนุญาตเพราะเราถือว่าได้ ปรึกษา อาจารย์ผ้ ูสอนแล้ ว และไม่คิดเลยว่านี่ถอื ค�ำปรึกษาที่จะได้ รับจากอาจารย์ ประเด็นไม่ได้ อยู่ท่คี ะแนนแต่มันอยู่ท่วี ่าผลลัพธ์ของการสั่งงานชิ้นนี้คืออะไรหากมิใช่ต้องการฝึ กนักศึกษาให้ มีความรับผิดชอบ การท�ำงานเป็ นทีม แล้ วสิ่งที่นักศึกษาคนนั้นได้ เรียนรู้ในครั้งนี้คืออะไร เราไม่ได้ โกรธอะไรอาจารย์ ไม่ได้ โกรธเพื่อนคนนั้นเพราะสัญชาตญาณการเอาตัวรอดมีอยู่ในมนุษย์ทุกคนอยู่แล้ ว เพียงแต่สงสัยและเหตุการณ์น้ ีย
เรื่อง เรา เล่า 13
ยังคงเป็ น เรื่องที่เราจ�ำไม่เคยลืม และนับตั้งแต่วันนั้นไม่ว่าใครจะช่วยหรือไม่ช่วยงานอะไรก็ตาม บอกตัวเองเสมอว่าท�ำ มากย่อมได้ เปรียบ ไม่ทำ� คือไม่ร้ ู และสิ่งหนึ่งที่ทำ� มาตลอดตั้งแต่ปี 1 ถึงปี 4 คือ ทุกครั้งที่เรารับผิดชอบปริ้นรายงานไม่ว่าจะงานวิจัย หรืองาน อะไรก็ตามแม้ ว่าเพื่อนจะไม่ช่วยท�ำ แต่เราจะหารเงินค่าปริ้นเท่ากันหมด ทั้งที่ๆความจริงเราจะเก็บเงินเกินนั้นกี่บาท ก็ได้ แต่เรากลับเลือกที่จะหารเท่ากันทุกคน นี่คือสิ่งที่เรากลับไปคิดแล้ วภูมใิ จ แม้ ไม่ใช่ความดีอะไรแต่อยากบอกไว้ เรา ไม่เคยโกงเงินสักบาทเลย และอีกสิ่งหนึ่งคือ เกิดเป็ นเมรัยใครยืมเงินให้ หมดเพราะความสงสารเพราะเพื่อนบอกไม่มี เงินกินข้ าวแต่กลับทวงไม่เคยได้ คืน เราจดไว้ หมดใครติดเงินกี่บาทหลายปี ผ่านไปจะเรียนจบปี 4 แล้ วยังไม่ได้ คืนเลย จริงของประโยคที่ว่า ไม่อยากเสียเพื่อนอย่าให้
การเรียนสอนให้มีงานท�ำ แต่กิจกรรมสอนให้ท�ำงานเป็ น เรียนด้ วยท�ำกิจกรรมด้ วยท�ำให้ ชีวิต 4 ปี ของการเรียนมหาวิทยาลัยคุ้มค่ามาก เพราะทุกเวลาที่เสียไป เราได้ เรียนรู้อะไรกลับมามากมาย โชคดีท่มี ไี ด้ เข้ ามาเรียนที่น่ี การเป็ นเด็กกิจกรรมสมัยมัธยมท�ำให้ เราสนใจ อยากที่จะท�ำกิจกรรมต่างๆของมหาวิทยาลัย ทั้งการสมัครเข้ าชมรมปาฐกถาและโต้ วาทีเพื่อฝึ กการพูดของเรา รวมถึงกิจกรรมอีกหลายอย่าง โดยที่การเรียนและการท�ำกิจกรรมสามารถควบคู่กนั ไปได้ รู้สกึ โชคดีมากๆที่ หลายครั้งได้ รับโอกาสจากเพื่อน รุ่นพี่ อาจารย์และผู้ใหญ่ใจดีหลายท่านมอบให้ กิจกรรมที่ได้ ทำ� บ่อยๆจนรู้ว่า ตัวเองสนใจและรักงานด้ านนี้เป็ นพิเศษคือ ด้ านการลงเสียง แม้ จะไม่ใช่เงินที่มากมายแต่ภมู ใิ จที่หาเงินได้ เอง ขณะที่ยังเรียนไม่จบ และคิดเสมอว่าการที่เราได้ ลองท�ำกิจกรรมหลายๆอย่างเป็ นสิ่งที่ช่วยเราตัดสินใจได้ ว่าเรา ชอบอะไรหรือถนัดงานไหนเป็ นพิเศษซึ่งจะช่วยให้ เราไปถึงเป้ าหมายได้ เร็วขึ้น ซึ่งรางวัลที่ภมู ิใจมากที่สดุ ใน ชีวิตคือ รางวัลชนะเลิศโต้ วาทีอดุ มศึกษาชิงถ้ วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี… คือดีใจที่สดุ แล้ ว
ท�ำอะไร…บ้าไปแล้ว ตั้งแต่เรียนมา 4 ปี ผ่านมามากกว่าร้ อยกิจกรรม แต่ส่งิ ที่ประทับใจที่สดุ และนึกถึงครั้งใดรู้สกึ ตลกตัว เองเสมอว่าวันนั้นเราท�ำอะไรลงไป คือ กิจกรรมลงสมัครเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ตอนปี 3 กิจกรรมนี้ถอื ว่าโชคดีท่ไี ด้ รับโอกาสจากรุ่นพี่เข้ ามาถามว่าเราสนใจอยากจะเข้ ามาช่วยบริหารงานใน มหาวิทยาลัยไหม เราดีใจที่พ่ีเชื่อมั่นในตัวเรา บวกกับการรวมทีมเพื่อนๆน้ องที่เคยท�ำกิจกรรมด้ วยกัน นับว่า เป็ นประการณ์ท่นี ่าสนใจควรคว้ าไว้ แต่ส่งิ ที่บ้าคือ ช่วงเวลาของการหาเสียงที่บ้าคลั่ง บวกกับการเรียนและ การบ้ านที่หนักมาก ในช่วงนั้น เจ็ดโมงเช้ ายืนหาเสียงหน้ าประตูมหาวิทยาลัย ยืนไหว้ เชิญชวนคนไปเลือกตั้งโหวตเบอร์ 1 ช่วงว่างจากการเรียนเดินหน้ าหาเสียงทั่วมอ เลิกเรียนเจอได้ ท่หี น้ ามอยืนไหว้ แจกใบปลิวพรรคเธอคิด ฉันท�ำ ช่วงเย็นหาเสียงในซอยหอพักรังสิตภิรมย์ และซอยหอกอล์ฟ ช่วงดึกประชุมงานวางแผนการเข้ าถึงกลุ่มเป้ า หมาย คิดค้ นวิธหี าเสียงให้ ชนะใจพี่น้องม.กรุงเทพ ตีสามนอนตื่นหกโมงเช้ าวนเวียนแบบนี้กว่าสองเดือน รุ่น พี่บอกต้ องแต่งหน้ าท�ำผมทุกวันเพื่อรักษาบุคลิกภาพ จะเป็ นผู้นำ� ต้ องให้ ดูน่าเชื่อถือ เจอใครต้ องเข้ าไปพูดคุย แบ่งเวลาเข้ าไปหาเสียงทั้งวิทยาเขตกล้ วยน�ำ้ ไทยและรังสิต เพราะเราเป็ นหัวหน้ าพรรคต้ องเข้ าหาคน
เพื่อน 14
เมื่อครั้งลงสมัครนายกสโมสรนัดกศึกษาประจ�ำปี 2557 ในนามพรรคเพื่อเธอคิด ฉันท�ำ แม้ ว่าจะแพ้ แต่ถอื ว่าเป็ นประสบการณ์ท่ดี ใี นชีวิตครั้งหนึ่ง
ความรักในรั้วม.กรุงเทพ หัวใจไม่ใช่หิน เจ็บได้ ร้องไห้ เป็ นถ้ าพูดถึงเรื่องความรักเราคงไม่ค่อยถูกกันเท่าไหร่ เคยคิดว่าไม่ต้อง รีบ มีแฟนสมัยมัธยมเดีย๋ วค่อยเจอตอนเรียนมหาวิทยาลัยก็ได้ เวลานั้นเราคงได้ เจอใครมากมาย แต่ไม่เลย เพราะตอนนี้ปี 4 แล้ ว ยังครองแชมป์ โสดสนิทเหมือนเดิม หรือเป็ นเพราะใจเราไม่ฟักใฝ่ หรือเพราะยังไม่ถงึ เวลาของเรา หรือจะเหตุผลอะไรก็ตาม มองซ้ ายมองขวาไม่เห็นมีใครที่ถูกใจสักคน เชื่อว่าถ้ าจะเจอคงต้ องเจอ สักวันหนึ่ง “ก็ยังคงรอให้ ใครสักคนผ่านเข้ ามาแต่ยังไม่มใี ครสักคนที่เข้ าตาแต่ละคนที่เข้ ามาก็ทำ� ให้ ร้ วู ่าอยู่คน เดียวยังง่ายกว่า...” จนบางทีเพื่อนเคยสงสัยว่าเราเป็ นเลสกันหรือเปล่า… ขอตอบเลยว่าไม่ใช่นะแค่ “เพื่อน สนิทเฉยๆ” ^__^
คุณครูของเพือ่ นๆ…BJ6 คุณครูเมรัยสวัสดีค่ะ นี่คือฉายาที่เพื่อนๆ BJ6 ตั้งให้ และเรารู้สกึ ถูกใจกดไลด์เลย อาจจะด้ วยเหตุผล ที่หน้ าตาล�ำ้ เกินอายุหรือการแต่งกายที่โบราณดูเหมือนอาจารย์ไปหน่อย หรืออะไรก็ตาม แต่อยากขอบคุณ เพื่อนๆ ทุกคนที่เรียนรู้ความผิดพลาดมาด้ วยกัน จากตอนแรกเราคือเพื่อนวารสารที่ไม่สนิทกันเลย พอปี 4 กลับรู้สกึ สบายใจ ไว้ วางใจและอยากร่วมงานด้ วย บางคนแต่ก่อนไม่ค่อยมีความรับผิดแต่ปี 4 กลับมีพัฒนาการ รับผิดชอบงานมากขึ้น เราสบายใจเวลาท�ำงานด้ วยกันถึงแม้ งานจะหนักแต่หลายอย่างเราก็ผ่านมันมาได้ เพราะ เพื่อนช่วย
เรื่อง เรา เล่า 15
เราอาจจะเป็ นคนที่ชอบพูดอะไรมากมาย ตามสไตล์ของเรา เล่นมุขบ่อยๆซึ่งบางทีมนั ไม่ตลกและ เพื่อนมักจะบอกว่าวันหลังอย่าเล่นอีกนะครู แต่เราก็อยากเล่น อยากท�ำให้ เพื่อนที่กำ� ลังเครียด หัวเราะยิ้ม มี ความสุข ความในใจบางค�ำที่ไม่เคยบอกแต่ร้ สู กึ คือ ค�ำว่าน้ อยใจในบางครั้ง เราไม่เคยโกรธเพื่อนเลย ถามว่ารู้ ไหม เรารู้นะ แต่ไม่โกรธ ขอบคุณเพื่อนหลายๆคนที่คอยช่วยเหลืองานเราตลอดโดยเฉพาะงานในกอง บรรณาธิการเพราะเราไม่สามารถท�ำคนเดียวได้ ขอบคุณที่ช่วยแบ่งเบาภาระงาน คอยถามคอยให้ กำ� ลังใจเวลา ที่เราเจอปัญหา ขอบคุณที่อนุญาตให้ เราเป็ นเพื่อนนะ จากนี้ขอให้ ทุกคนโชคดีเดินตามเส้ นทางความฝันของตัว เอง อนาคตเราคงได้ พบกันอีก
ค�ำถามทีร่ ูค้ �ำตอบ… ในที่สดุ สิ่งที่เคยตั้งค�ำถามให้ ตวั เองมาตลอดว่า นิเทศศาสตร์คือสิ่งที่ใจเราชอบจริงๆหรือไม่ 4 ปี ที่ได้ เรียนรู้ กิจกรรมที่ได้ ลงมือท�ำ มันท�ำให้ ร้ วู ่าเรามาถูกทางแล้ ว นี่แหละคืออาชีพที่เราสนใจ ไม่เคยรู้สกึ ว่าตัวเอง เก่งแต่ทุกครั้งที่ได้ ทำ� งานด้ านนี้เรามีความสุข เรารักที่จะท�ำมัน เราภูมใิ จมากเวลาที่พ่อกับแม่ดูทวี ีแล้ วมีผลงาน เราอยู่ในนั้น สิ่งที่เคยท�ำไม่เป็ น กลับได้ เรียนรู้ว่าต้ องท�ำอย่างไร คิดไม่ผดิ ที่เลือกเรียนวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
เพื่อน 16
คุณครูของเพื่อน BJ6
การเรียนกับการมีเพื่อน พงศ์พล ชั ยเมืองแก้ว
“ผมว่าการเรียนกับการมีเพื่อนมันมักจะคู่กันมา ถ้ามีเพื่อนดีก็คงจะให้อยากมาเรียน แต่ถ้าไม่มีเพื่อนหรือได้เพื่อนไม่ดี ก็อาจจะไม่ค่อยอยากมาเรียนสักเท่าไร”
ต้องบอกเลยว่าจริงๆแล้วผมไม่ได้ตั้งใจจะมาเรียนในวิชาภาควารสารศาสตร์หรอกครับ จริงๆแล้วผมเลือกเรียนนิเทศศาสตร์ภาควิชาวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์แต่ด้วยความขี้เกียจ ของผม เลยท�ำให้ผมไม่ค่อยได้ไปเรียนสักเท่าไรและก็ไม่สนใจในการเรียนเลย จึงท�ำให้ผมโดนทาง มหาวิทยาลัยรีไทร์เนื่องจากมีเกรดเฉลี่ยเพียง 1.00 ท�ำให้ไม่ผ่านเกณฑ์ของทางมหาวิทยาลัย ท�ำให้ ผมพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา แต่ด้วยความตัง้ ใจของผมที่มีความจะกลับมาเรียนอีกครัง้ ผมจึง ตัดสินใจสมัครเรียนอีกครัง้ ที่มหาวิทยาลัยเดิมก็คือมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผมได้ไปสมัครตอนช่ วง ปี 1เทอม2 แต่ด้วยการที่ไม่รู้จะเรียนอะไร ผมจึงเลือกคณะเดิมคือคณะนิเทศศาสตร์แต่ผมก็ไม่รู้อีกจะ เลือกภาคอะไรดี แต่ผมดันมองไปเห็นภาควารสารศาสตร์ เอกวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ซ่ึ ง ผมคิดว่าน่าจะคล้ายกับที่ผมเคยเรียนมาเลยเลือกภาควิชานี้ไป แล้วเรื่องราวของผมก็เริ่มขึ้น
ปี 1 อย่างที่ผมบอกไปครับว่าผมเข้ าเรียนภาควารสารเป็ นคณะใหม่ ท�ำให้ ห้องที่ผมเรียนต้ องเต็มไปด้ วย รุ่นน้ องอย่างแน่นอนครับ ต้ องยอมรับเลยนะครับว่าช่วงแรกที่ไปเรียนค่อนข้ างจะเขินๆและมีความเกร็งมากๆ เพราะห้ องที่เราเข้ าไปเรียนมีแต่ใครก็ไม่ร้ เู ราไม่ร้ จู ักใครสักคน เข้ าไปเรียนก็มแี ต่คนมอง แต่คงมองเพราะ ความแปลกหน้ านะครับ ไม่ได้ มองเพราะความชอบหรืออะไรแน่นอน 5555 ช่วงแรกๆที่เข้ าไปเรียนผมคงไม่ต้องแคร์อะไรมากเพราะผมคิดไว้ แล้ วว่าผมจะตั้งใจเรียนผมสัญญา กับตัวเองไว้ ว่าจะไม่ทำ� ให้ พ่อแม่เสียใจและผิดหวังในตัวผมอีก ผมจึงไปเรียนทุกๆคาบที่ผมต้ องเรียน ไปก็น่ัง อยู่คนเดียวเน้ นมาเรียนในทุกคาบถึงผมจะเรียนไม่เก่งก็อาศัยส่งงานไว้ ก่อน แต่เรื่องตลกของผมก็คงเป็ นเรื่อง ที่ว่าผมไม่มเี พื่อนเลยสักคน แต่ใครจะไปรู้ว่าผมจะได้ เจอเพื่อนที่เคยเรียนภาควิชาวิทยุกระจายสียงและวิทยุโทรทัศน์อกี 2คนใน ภาควิชาวารสารศาสตร์ ก็คือ บีและตาลเรารู้จักกันมาก่อน แต่ไม่อยากจะเชื่อว่าจะโดนรีไทร์เหมือนกัน มัน ท�ำให้ ผมต้ องอยู่กบั เพื่อนที่ร้ จู ักกันมา ช่วงปี 1เราอยู่กนั แค่3คนนี้เพราะเรารู้จักกันอยู่แค่น้ ีเราเลยต้ องช่วยกัน เรียนให้ ผ่านไปให้ ได้ เพราะเราคงไม่อยากเสียใจกับเรื่องการเรียนของพวกเราอีก แต่ช่วงแรกๆที่ผมเรียนปี 1 ถ้ าผมจ�ำไม่ผดิ น่าจะเป็ นการเรียนของภาควารสารศาสตร์ ซึ่งยังไม่แยกเอก ระหว่างวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์กบั สื่อสิ่งพิมพ์ ถึงตอนนั้นยอมรับเลยว่าไม่ร้ 2ู อย่างนี้คืออะไร รู้แค่ว่าน่าจะท�ำอะไรสักอย่างเกี่ยวกับ หนังสือพิมพ์หรือนิตยสารแน่ๆ แต่ยอมรับว่าเรียนคณะนี้แรกๆไม่ได้ มคี วามสนุกเลยครับ อาจจะเป็ นเพราะ เราไม่ร้ จู ักคนเยอะมากนัก การหากลุ่มก็ยากการจะมีเพื่อนสักคนก็ยาก ผมว่าการเรียนกับการมีเพื่อนมันมักจะ คู่กนั มาถ้ ามีเพื่อนดีกค็ งจะให้ อยากมาเรียนแต่ถ้าไม่มีเพื่อนหรือได้ เพื่อนไม่ดีกอ็ าจจะไม่ค่อยอยากมาเรียนสัก เท่าไร แต่ผมว่าผมโชคดีนะที่ผมมาลงภาควารสารเพราะภาคของเราเป็ นภาคที่มคี นน้ อยท�ำให้ เรารู้จักคน แต่ละคนได้ ง่ายขึ้นเห็นน่าทุกคนบ่อยๆ แต่ขอบอกไว้ เลยนะว่าเด็กวิชาภาควารสารเนี่ยน่ารักและนิสยั ดีทุกคน
เรื่อง เรา เล่า 19
บี (ซ้ าย) และ ตาล (ขวา) เพื่อนคู่แรกของไผ่
ถึงแม้ อาจจะมีบางกลุ่มทะเลาะกันบ้ างแต่ผมก็ว่าทุกคนรักกันนะ ผมเรียนช้ ากว่าคนอื่นๆมันท�ำให้ ผมต้ องขยัน กว่าคนอื่นๆมากกว่าเดิม แต่ผมดีใจนะที่ผมเรียนผ่านเกรดของผมออกมาดีในช่วงปี 1 ตอนผมปี 1คงไม่มอี ะไรที่น่าสนใจสักเท่าไร เพราะผมได้ แต่เรียนไปวันๆให้ หมดไปวันๆถึงเวลาก็ไป สอบ มีงานให้ ทำ� ก็ส่งให้ ทนั เวลาตั้งใจไว้ แล้ วว่าเรียนให้ ผ่านๆจบๆไป นี้กเ็ ป็ นช่วงเวลาปี 1ของผมเองครับ คง ไม่มอี ะไรน่าสนุกนัก แต่ผมก็ยังคิดเสมอว่าเรายิ่งเรียนเราจะยิ่งขยันมากขึ้นกว่าเดิมและต้ องมีเพื่อนมากขึ้นกว่า นี้เพราะเราไม่เก่งบางทีต้องอาศัยปรึกษาเพื่อนๆและขยันด้ วยตัวเองควบคู่กนั ไป
ปี 2 พอขึ้นปี 2 ต้ องบอกว่าซวยจริงๆครับ เพราะน�ำ้ ท่วมมหาวิทยาลัยและก็ทว่ มหอพักที่ผมอยู่ ท�ำเอาการ เปิ ดการเรียนของเราล่าช้ าไปเรื่อยๆ ท�ำให้ เราเปิ ดเทอมช้ ากว่าผู้อ่นื เรียกได้ ว่าการเรียนของภาคนี้ลำ� บากสุดๆ ต้ องมีการเรียนการสอนผ่านทางอินเตอร์เน็ตหรือที่นักศึกษาจะรู้กนั ว่าเรียนผ่าน web x ผมชอบนะการเรียน แบบนี้เพราะเพื่อนๆบางคนตื่นมาก็มานั่งเรียนหน้ าคอมพิวเตอร์เลย มีการเช็คชื่อผ่านการล็อกอินและเห็นน่า แต่ถ้าห้ องเรียนไหนที่สามารถท�ำการเรียนการสอนได้ อาจารย์กจ็ ะให้ เข้ าไปเรียน แต่กต็ ้ องทนกับกลิ่นและคาบ น�ำ้ ที่ยังมีอยู่ แต่จะไงได้ ละครับก็ยังดีกว่าไม่มที ่เี รียน แต่มนั ไม่ใช่ผลดีต่อผมเลย ผมกลับกลายเป็ นคนที่ยังไม่มี เพื่อนอยู่ตามเคย เพราะเรียนแบบนี้การหาเพื่อนสักคนคงยากแน่นอน
เพื่อน 20
พอปี 2เทอม2ขึ้นมาต้ องบอกเลยว่าสิ่งที่ผมคิดไว้ ไม่ได้ เป็ นอย่างที่คิดเลยครับ ผมยังคงไม่มเี พื่อน เหมือนเดิม ผมยังคงต้ องเรียนคนเดียวและมีคนรู้จักคือบีและตาล ผมหวังว่าผมจะได้ มเี พื่อนผู้ชายแบบเขา บ้ าง เพราะผมคงไม่สนุกกับการเรียนแน่ๆถ้ าจะมีแค่เพื่อนผู้หญิงไปจนจบปี 4 แต่ใครจะไปเชื่อละครับเพื่อน ผู้ชายผมไม่ต้องเดินเข้ าไปหาเขาเลยเพราะว่ามีชายหนุ่มที่ช่ือบอส มานั่งข้ างผมและชวนผมไปดูดบุหรี่ จะพูดก็ พูดเถอะครับผมได้ มเี พื่อนผู้ชายที่ช่ือบอสเป็ นเพื่อนคนแรกของผมในภาควารสารศาสตร์เลยครับ บอสได้ พาผมไปรู้จักอีกหลายๆคนไม่ว่าจะเป็ น ปิ ง ต้ น อุม กัน บลู หน�ำ พี แหวว เก่ง เต้ ย หลังจาก เริ่มปี 2มาเพียง2อาทิตย์ผมก็มกี ลุ่มผู้ชายเหมือนคนอื่นๆสักที มันท�ำให้ ผมอยากมาเรียนมากขึ้นกว่าแต่ก่อน อีก มันท�ำให้ ผมสนุกและอยากไปเรียนทุกๆวัน เพราะผมมีความสุขที่ได้ อยู่กลุ่มนี้และสนุกทุกครั้งที่ได้ ไปเรียน ผมอาจจะไม่ได้ เล่าเรื่องเรียนมากเท่าไรเพราะสิ่งที่ผมคิดว่าการไปเรียนแล้ วท�ำให้ สนุกคือการที่เราได้ เจอเพื่อน ดีๆในทุกๆวัน ตอนนั้นผมชอบนะคาบที่เรียนการพูดเนื่องจากผมเป็ นคนที่สำ� เนียงเหน่อมาก ท�ำให้ ทุกครั้งที่ได้ ออก ไปพูดหน้ าห้ องมันท�ำให้ ผมรู้สกึ อายและเขินมาก แต่ผมก็ดใี จที่เพื่อนในห้ องหัวเราะที่สำ� เนียงผม ผมมองว่า อย่างน้ อยเราก็ทำ� ให้ เพื่อนในห้ องยิ้มได้ และมีความสุขที่ได้ ยินเสียงที่เราพูด และพอถึงตอนนี้ผมเริ่มรู้สกึ สนุก กับวิชาที่ได้ เขียนข่าวถึงแม้ จะเป็ นแค่พ้ ืนฐานก็ตามและภาควารสารได้ แยกฝั่งเป็ นสองฝั่งแล้ วแยกระหว่างฝั่ง สื่อสิ่งพิมพ์และฝั่งวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
ปี 3 พอผมขึ้นปี 3 จากการเรียนที่มเี พื่อนมันท�ำให้ ผมอยาก ไปเรียนทุกๆวัน และไม่เบื่อที่ได้ ไปเรียน แต่ใครจะไปรู้ละครับ การเรียนที่เด็กทุกคนไม่เคยเจอได้ เจอแล้ ว เพราะเราได้ เจอ อาจารย์ปณต สุสวุ รรณ เป็ นอาจารย์ท่รี ่นุ พี่พูดต่อๆกันมาว่าค่อน ข้ างเคี้ยวในเรื่องงานและชอบงานที่ดีไม่เอางานที่เด็กไม่ต้ังใจท�ำ ยอมรั บนะครั บว่ าการเรี ยนช่ วงแรกเราอาจจะไม่ สนุ กสักเท่าไร เพราะเราเรียนกับข่าวและสารคดี ถึงตอนนั้นสารคดีคืออะไรพวก เรายังไม่ร้ จู ักเลย และจะท�ำยังไงให้ ทำ� งานและถูกใจอาจารย์
บอส (ขวา) เพื่อนผู้ชายคนแรกของไผ่
ผมค่ อนข้ างมีความเกร็งมากตอนเจออาจารย์ครั้งแรก แต่ตอนแรกอาจารย์ยังดูใจดีอยู่ ผมก็มคี วามสุขที่อาจารย์ใจดี และไม่เห็นจะเป็ นอย่างที่ร่นุ พี่บอกเลย แต่การเขียนข่าวตอนนั้น ต้ องบอกเลยว่าเรียนเขียนข่าวอย่างหนัก เพราะถึงเวลานี้ทุกคน ต้ องเขียนข่าวเป็ นแล้ ว และก็มกี ารได้ มกี ารเรียนการสอนที่ เป็ นการสอบเป็ นผู้ประกาศข่าว ก็อย่างที่บอกครับผมมีเสียงที่
เรื่อง เรา เล่า 21
เหน่อ เลยท�ำให้ อาจารย์กข็ ำ� และบอกกับเราว่าไม่เป็ นไรของแค่อ่านให้ ถูกและออกค�ำให้ ชัดเจน แต่ผมก็สนุก นะครับเพราะมีการได้ ลองอะไรใหม่ๆ แต่ส่งิ ที่ใหม่จริงก็คงจะเป็ นการท�ำสารคดีส่งเข้ าประกวด ไม่ว่าจะเป็ นสายฟ้ าน้ อย ที่จะเป็ นสนามแข่ง ส�ำหรับเด็กปี 3อย่างพวกเรา ที่จะเป็ นการทดลองก่อนไปประกวดแข่งสนามใหญ่ แต่ใครจะเชื่อละครับว่าสนาม ที่ใหญ่สำ� หรับเราจะมาแล้ ว ที่สดุ ของการแข่งขันประกวดสารคดีเชิงข่าวคือ เรื่องจริงผ่านจอ กับโครงการสิ่ง สร้ างสรรค์คนทีวีปี9 ที่ทุกคนที่เรียนวารสารเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์จะได้ แข่งขัน กับมหาวิทยา ลัยอื่นๆ แต่โครงการนี้คงไม่เหมาะกับผมสักเท่าไร เพราะผมได้ แข่งประดวดโครงการท่องเที่ยวของ ททท.และ ผมก็ได้ รางวัลชนะเลิศของภาคกลางมาเพราะเราได้ ไปท�ำที่ จังหวัดเพชรบุรี ผมมีความสุขมากที่ได้ ไปแข่ง โครงการนี้
ช่วงเวลาฝึ กงาน พอฝึ กงานนี้ทำ� ให้ ผมรู้เลยว่าระบบข่าวเป็ นอย่างไร ผมรู้เลยว่าการท�ำงานที่ยากและต้ องมีความผิด พลาดน้ อยที่สดุ ผมมีโอกาสได้ ไปฝึ กที่ สถานีSpring news เป็ นสถานีข่าวที่เน้ นเรื่องข่าว เป็ นหลักผมได้ ไปฝึ ก อยู่โต๊ะบันเทิง ยอมรับนะครับว่าช่วงแรกเบื่อมาก ต้ องเดินทางไกล มาก็เช้ ากลับก็ดกึ ไม่มคี วามสนุกเลยกับ การฝึ กงาน ผมทั้งโดนพี่ท่โี ต๊ะต�ำหนิเรื่องมาสายและขาดบ่อย แต่พอเราอยู่ไปเรื่อยๆมันท�ำให้ เราปรับตัวได้ และเริ่มสนุกกับการท�ำงานได้ ไปเจอดาราเยอะแยะมากมาย
ภาพเมื่อตอนฝึ กงานที่ Spring News
แต่ ถ้ าเที ย บความแตกต่ า ง ระหว่างการฝึ กงานกับการเรียน ต้ อง ยอมรับว่าแตกต่างกันมากการเรียนยัง สามารถมีการผิดพลาดได้ และมีเวลา ท�ำงานค่อนข้ างมาก แต่การฝึ กงาน จริงๆเราไม่สามารถผิดพลาดได้ ผิด พลาดเมื่ อ ไรเราอาจจะตกข่ า วดาราที่ เราไปท�ำได้ ถ้ายิ่งผิดพลาดมากเท่าไร พี่ ผู้ส่อื ข่าวก็อาจจะมีการว่ากล่าวตักเตือน เราได้ แต่เมื่อเทียบกับการเรียน การ เรียนที่มีเวลาท�ำงานค่อนข้ างเยอะบวก
กับการท�ำงานเดียวหรือท�ำงานกับเพื่อนเป็ นกลุ่ม ท�ำให้ อาจจะไม่มคี วามจริงจังในการท�ำงานมากเท่าไร ท�ำผิด ก็จะไม่มีใครมาว่ากล่าวตักเตือนเรา ดังนั้นการท�ำงานจริงต้ องมีความเตรียมพร้ อมในข้ อมูลต่างๆและเตรียม ตัวให้ พร้ อมทุกครั้งเมื่อมีหมายข่าวด่วนเข้ ามา และต้ องท�ำให้ ดที ่สี ดุ และอย่าให้ เกิดความผิดพลาด
เพื่อน 22
ปี 4 ขึ้นปี 4แล้ ว การเรียนก็เหลืออีกเพียงแค่ปีเดียว ต้ องเก็บเกี่ยวการเรียนการสอนให้ ได้ มากที่สดุ และท�ำ ทุกอย่างที่อยากท�ำและที่เราสนใจ เพื่อเอาความรู้ท่ไี ด้ ไปใช้ ต่อจากนี้เพื่อไปต่อยอดการท�ำงานในอนาคต เราได้ มีโอกาสรันสตูทำ� รายการต่างๆไม่ว่าจะเป็ นรายการข่าว รายการวิทยุท่ผี มก็มโี อกาสได้ จัด เรียกได้ ว่าเราได้ อะไร จากภาควิชาวารสารเยอะเลย ได้ ท้งั ความรู้จากเราท�ำอะไรไม่เป็ น ก็กลายเป็ นเรื่องง่ายส�ำหรับเรา เราได้ มเี พื่อน เพิ่มขึ้นจากรู้จักกันนิดเดียวก็ได้ ร้ จู ักกันทั้งห้ อง เพราะการท�ำงานปี 4 ต้ องท�ำงานร่วมกันเป็ นกลุ่มหรือไม่กท็ ้งั ห้ องช่วยกัน
ผมรู้สกึ สนุกกับการเรียนมากขึ้นและสนุกทุกครั้งที่ได้ มกี ารรันสตูเสมือนการออนแอร์จริงๆ และผมก็ คิดว่าเพื่อนทุกคนก็สนุกกับการเรียนมากๆเช่นกันเพราะยิ่งเราได้ ทำ� งานด้ วยกันมากเท่าไร ท�ำให้ พวกเรารักกัน และสามัคคีมากขึ้นเท่านั้น และถึงตอนนี้กค็ งมีเวลาอีกไม่ก่เี ดือนที่พวกเราจะได้ เรียนด้ วยกันเพราะแต่ละคน ต้ องจบออกไปเจอโลกของการท�ำงานจริงที่ผดิ พลาดไม่ได้ เลย เพราะถ้ าผิดจะเป็ นผลไม่ดสี ำ� หรับเรา ผมหวังว่าเพื่อนทุกคนจะรักผมและผมก็คงรักเพื่อนๆทุกคนมากเช่นกัน คิดแล้ วใจหายนะครับที่จะไม่ได้ เรียน ในมหาวิทยาลัยนี้อกี แล้ วเพราะนี้กเ็ หลือเวลาอีกไม่ก่เี ดือนก็จบแล้ วแยกย้ ายกันออกไป ผมอยากให้ เพื่อนๆได้ มีเวลาเจอกันบ้ างเจอหน้ าก็อย่าลืมกัน ผมมีความสุขมากที่ได้ เรียนมหาวิทยาลัยกรุงเทพแห่งนี้ และมีเพื่อนที่ น่ารักๆทุกคน ผมหวังว่าเราจะเป็ นเพื่อนกันตลอดไปครับ
เรื่อง เรา เล่า 23
แคปซูลเวลา อรณิชา สุวรรณปิ ณฑะ
“ความที่เราเป็นคนเรียนไม่เก่งมาแต่แรก เราจึงใช้ความขยันทัง้ หมดที่ เรามีผลักดันให้เราเรียนได้ดีท่สี ุดเท่าที่จะท�ำได้”
ชี วิตในมหาวิทยาลัยของเราดูเหมือนว่าไม่มีอะไรน่าสนใจและน่าดึงดูดมากเมื่อดูจากเพื่อนๆ รอบข้างหรือคนที่ใช้ชีวิตอยู ่ในวัยไล่เลี่ยกับเรา มันมีเหตุผลเหมือนกันนะ อาจเป็นเพราะว่าตัง้ แต่เข้า มหาวิทยาลัยมาตัง้ แต่ปี 1 เราโฟกัสแต่เรื่องเรียนเป็นวัตถุประสงค์หลักในการเข้าศึกษาต่อที่น่เี ลย จะ ตัง้ เป้าหมายไว้เสมอว่า เราจะไม่วอกแวก ไม่ว่าชี วิตเราจะมีเพื่อนมากมายแค่ไหน ไม่ว่าสังคมจะถีบให้ เราเติบโตไปในทิศทางใด แต่เราต้องกลับมาท�ำเป้าหมายที่เราตัง้ มั่นมาแต่แรกให้ตรงตามเป้าและบรรลุ วัตถุประสงค์ได้ และนี่คือจุ ดเริ่มต้นของเรื่องราวทัง้ หมดที่เกิดขึ้นต่อจากนี้ แต่ด้งั แต่เดิมเราไม่ใช่เด็กเรียนดีเด่อะไรแต่แรก เราเป็ นเด็กปอนด์ๆ ที่ไม่ต้งั ใจเรียน ไม่มวี ินัยในการ อ่านหนังสือเรียน เหมือนคนเหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ เราเรียนได้ เกรด 0 เกรด 1 มาก่อนตอนอยู่โรงเรียนรัฐฯ เรา เป็ นคนหัวช้ าและเข้ าใจอะไรช้ ากว่าคนอื่นในบางเรื่อง และเราไม่เก่งเทคโนโลยี ไม่มคี วามรู้ด้านคณิตศาสตร์ เราชอบการศึกษาวิเคราะห์ทฤษฎี การท�ำงานเบื้องหน้ า และการท�ำงานศิลปะเกี่ยวกับการตัดแปะ เราจึงเลือก เรียนสาขาอะไรก็ได้ ท่ไี ม่มวี ิชาบัญชีหรือค�ำนวณ จึงเลือกเรียนนิเทศศาสตร์ ที่เลือกเรียนวารสารฯ เพราะคิดว่า จะได้ เขียนหนังสือ ได้ ทำ� งานในแบบที่ตวั เองชอบ แต่กไ็ ม่คิดว่าเขาจะเน้ นที่หนังสือพิมพ์เป็ นหลัก ความที่เรา เป็ นคนเรียนไม่เก่งมาแต่แรก เราจึงใช้ ความขยันทั้งหมดที่เรามีผลักดันให้ เราเรียนได้ ดที ่สี ดุ เท่าที่จะท�ำได้ ไทม์ไลน์ชีวิตในตลอดระยะเวลาปี 1- ปี 4 ไม่มอี ะไรเหมือนกันสักปี เลย บางปี ติดเพื่อน บางปี ติด แฟน บางปี บ้ าเรียนมาก บางปี หลงระเริงคิดว่าเรียนดีมาแล้ ว บางปี ตั้งใจท�ำงานที่ชอบ ในช่วงเวลาทั้งหมดของ มหาวิทยาลัย ส่วนมากเกินร้ อยละ 70 ตลอดระยะเวลา 4 ปี เราหมดเวลาไปกับการท�ำรายงาน ท�ำเกรดใน แต่ละวิชามากที่สดุ มากกว่าอยู่กบั ผู้คนในสังคม จ�ำได้ ว่าไม่ได้ ออกไปเที่ยวไหนเลย ไม่ว่าจะปิ ดหรือเปิ ดเทอม ปิ ดเทอมใหญ่กจ็ ะซื้อหนังสือเรียนของปี ต่อๆ ไปมาอ่านล่วงหน้ า หรือไม่กจ็ ะขอจากพี่รหัสมาอ่านท�ำความ เข้ าใจช่วงปิ ดเทอมล่วงหน้ า เพราะอยากเรียนให้ ได้ ดที ่สี ดุ มันมีท่มี าที่ไปเหมือนกัน ตอนแอดมิดชั่นไม่ตดิ มันก็ต้องมีคนเริ่มสงสัยในตัวเราแล้ วว่าเราท�ำไมไม่เข้ าที่น่ันนี่ ซิ่วสิ นู่นนี่สิ แต่ เราก็ไม่เชื่อคนอื่นเท่ากับเชื่อตัวเอง ไหนๆ ก็เรียนมาแล้ วก็ต้องเรียนให้ ดที ่สี ดุ ถึงจะไม่เก่งเท่าใครๆ แต่กต็ ้ อง น�ำค�ำพูดพวกนั้นมาเป็ นแรงผลักดันให้ กบั ชีวิตและกู้หน้ าครอบครัวให้ ได้ ในช่วงแรกๆ ของการเรียน เราจ�ำได้ เลยว่า เรามีหลายสังคมมาก รู้จักคนเยอะ เพื่อนเยอะ กระจายไปทั่วๆ มันดูใหม่ไปทุกอย่าง เราชอบมากๆ เวลาที่ได้ คุยกับคนเยอะๆ ในตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เพราะว่าเมื่อพอคนเราอยากพูด อยากระบาย เราก็ฟัง ท�ำให้ เรารู้ว่าชีวิตของผู้คนในสังคมแห่งนี้ ไม่มีใครเหมือนกันเลย ได้ ร้ จู ักและเข้ าไปท�ำความคุ้นเคยกับชีวิต เพื่อนๆ ในแต่ละคนเยอะมาก
เรื่อง เรา เล่า 25
แต่เมื่อวันและเวลาผ่านไป สังคมเราดูเหมือนจะเริ่มเล็กลงๆ จากกลุ่มมีเป็ น 10 เริ่มน้ อยลงๆ มา เรื่อย ผู้คนที่เคยรู้จักกลับกลายเป็ นคนไม่ร้ จู ัก ไม่สนิทใจกันเหมือนเดิม อาจด้ วยช่วงของเวลาที่มนั แปรเปลี่ยน ไป ไม่มใี ครอยู่ในสังคมใดสังคมหนึ่งตลอดช่วงๆ หนึ่งได้ เหมือนค�ำๆ หนึ่งที่ว่า “งานเลี้ยงย่อมมีวันเลิกรา” สังคมของผู้คนที่เข้ ามาก็ไม่ต่างกันมากนัก ความสนุกและความสบายใจมีคนละอย่างกันเลยนะ ตอน อยู่กบั เพื่อนเยอะๆ มีเป็ น10คน เราจะรู้สกึ เลยว่า เราไม่เหงา เรามีเพื่อนพูดตลอดเวลา แต่พอนานๆ ไปมันก็ จะมีความรู้สกึ อึดอัด อยากมีเวลาส่วนตัว สมมติเราไม่ชอบกินอาหารร้ านนี้ ไม่อยากไปที่น่ี ก็ต้องไป ปฏิเสธก็ เริ่มยากแล้ ว เพราะจะเริ่มถูกมองว่าเป็ นแกะด�ำของกลุ่มสังคมใหญ่ๆ ฟังดูเหมือนคนมีกำ� แพงสูง เอาแต่ใจเกิน ไป แต่ถ้าเอาตามความรู้สกึ จริงๆ เราชอบคุยกับคนสังคมใหญ่ แต่อยู่ด้วยเป็ นระยะเวลานานๆ หลายๆ เทอม ติดต่อกันไม่ได้ ดังนั้น ในทุกๆ เทอมเราจะเปลี่ยนสังคม เปลี่ยนที่อยู่กลุ่มบ่อยมากๆ เมื่อลองย้ อนเวลากลับไป ท�ำให้ เราได้ ร้ หู ลากหลายกลุ่มสังคมย่อย พอตอนอยู่คนเดียวได้ ทำ� อะไรคนเดียวมีอยู่ช่วงหนึ่ง มันมีความสุขนะ แบบว่าได้ เดินไปไหนมาไหน ท�ำอะไรคล่องตัว ไม่ต้องสนใจใคร ก็มคี วามสุข ตอบโจทย์ชีวิต แต่จะรู้สกึ ว่าเรา เหงามากๆ เลย เหงาแบบไม่สนุกอะไร เราเลยชอบสังคมแบบอยู่กนั เป็ น Partner ท�ำอะไร 2 คน มันเป็ นอะไร ที่ไม่เล็กและไม่ใหญ่เกินไป และถูกการใส่ใจมากที่สดุ และมีประสิทธิภาพมากที่สดุ ในความคิดเรานะ
ช่วงปี 1 เรียกได้ ว่าเป็ นปี ที่ปูทางมาอย่างดีมากๆ หลายคนเคยบอกเราว่ าจะดีหรื อแย่ ข้ ึนอยู่ กับปี แรกที่เรา เรียนเพราะเป็ นช่ วงเวลาของการปรับตัวและการเข้ าสังคม ใหม่ๆ ซึ่งเราก็คิดว่ามันมีส่วน แต่มนั ก็ไม่ใช่ท้งั หมด ปี 1 เป็ นปี ที่เราได้ เริ่มรู้จักคนมากหน้ าหลายตา เป็ นร้ อยๆ คน เลยที่เรารู้จักและเดินเข้ าไปทักทาย เราเคยชอบคนมากๆ อยากมีเพื่อนเยอะๆ แต่เราก็ต้องยอมทิ้งบางสิ่งเพื่ออะไร บางอย่าง สิ่งเหล่านั้นคือการเรียน เราเริ่มเข้ ากลุ่มเพื่อนที่ เป็ นเด็กตั้งใจเรียนเหมือนกัน
แมงปอ (ซ้ ายสุด) เพื่อนสนิทคนแรกของเดล
เรามี เ พื่ อ นสนิ ท คนหนึ่ ง เรี ย กได้ ว่ า สนิ ท กัน มาก จริงๆ ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นึกถึงกี่ทๆี ก็ใจหาย เพราะ ความผู ก พั น ของระหว่ า งเพื่ อ นของเรามั น จบลงไม่ ค่ อ ย สวยงามเท่าไรนัก ทุกวันนี้เรายังดีใจมากๆ ที่ได้ เป็ นเพื่อน
แมงปอ เพราะแมงปอช่วยเหลือเราเปรียบเสมือนบุพการีอกี ท่านหนึ่งเลยก็ว่าได้ อาจฟังดูเกินจริง แต่มนั ก็เกิด ขึ้นจริงมาแล้ ว แมงปอเป็ นคนติวข้ อสอบให้ ทุกครั้งก่อนที่เราจะสอบทุกวิชาเป็ นเดือนๆแมงปอเป็ นคนสอนวิชา สถิติ ให้ เราจากคนที่ได้ คะแนนรองห่วยสุดของเซคชั่นในตอนนั้นให้ ได้ เกรดบีบวกในเวลาต่อมา ถ้ าเราไม่ได้ แมงปอนะ เราหลุดเกียรตินิยมไปตั้งแต่ปี 1 แล้ ว เพราะเราเรียนวิชานี้ไม่ได้ เลย มันต้ องใช้ การค�ำนวณซึ่งเรา อคติกบั การเรียนวิชาแบบนี้แบบกู่ไม่กลับจริงๆ เป็ นความประทับใจที่เราไม่อาจลืมเธอได้ เพื่อน 26
ปี 1 เป็ นปี ที่เราบ้ าเรียนที่สดุ ตั้งแต่เรียนมาแล้ วนะ เทอม 1 มีเรียนวิชากฎหมาย สถิติ ไทยหลัก การ ตลาด นิเทศเบื้องต้ น อังกฤษตัวแรก เชื่อไหมว่าทุกวิชาเรานั่งหน้ าสุดหมดเลย เพราะเราอ่านคู่มอื การเป็ น นักเรียนเกรดเอมา เขาบอกมาว่านั่งหน้ าสุดมีส่วนช่วยให้ เราตั้งใจเรียนเพิ่มขึ้น ซึ่งมันช่วยได้ จริงๆ นะ เกรด เทอมแรกนั้นสูงจนเป็ นที่น่าพอใจ แต่กไ็ ม่ได้ พอใจอย่างสูงสุด เราชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษตัวแรกมากที่สดุ เลย เพราะอาจารย์มองเห็นว่าเราตั้งใจเรียนด้ วย เราเลยตั้งใจต่อให้ ทำ� ไม่ได้ เขียนไม่เป็ น ตีโจทย์ไม่แตกแต่เรา ก็จะท�ำ เราชอบมาก วิชากฎหมายนี่เป็ นวิชาที่ดงึ ดูดสมองมากๆ ที่สดุ ตั้งแต่เรียนมาแล้ ว เพราะสอนอัดเต็มคาบ จดทุก คาบ เรียนเสร็จทีจำ� ได้ เลยว่าต้ องไปกินสเต๊กที่แพงที่สดุ ในร้ านตลอด เพราะมันใช้ สมองมากจริงๆ ใช้ พลัง มากๆ ในการเรียนวิชานี้ เทอมแรกเรามีเพื่อนในกลุ่ม 11 คน ถือว่าเยอะมากๆ แต่เราสนิทไม่ครบนะ สนิท จริงๆ มี 2 คนเอง ทุกวันนี้กไ็ ม่ได้ เจอกันบ่อยแล้ วด้ วย ตอนนั้นเรียนสื่อสิ่งพิมพ์ สนิทกันได้ เทอมเดียวแล้ วก็ ต้ องแยกกลุ่มกัน เทอมต่อมาก็แยกๆ กันท�ำงานแล้ ว เริ่มมีปัญหาในเรื่องไลฟ์ สไตล์การท�ำงานไม่ตรงกัน มาตรฐานการท�ำงานที่แตกต่างกัน รวมถึงพื้นฐานทางด้ านนิสยั และรสนิยมทางการใช้ ชีวิต ขึ้นเทอม 2 มาเราก็ ตั้งใจเรียนมากกว่าเดิมอีกหลายเท่า เพราะแอบชอบเพื่อนคนนึง อยากช่วยเหลือเขา ดังนั้น ตัวเองก็ต้องตั้งใจ เรียน มันเป็ นความสัมพันธ์ท่นี ่ารักมากๆ เลยนะช่วงนั้น ถึงแม้ ว่าทุกวันนี้จะไม่ได้ มโี อกาสช่วยเหลือมันแล้ ว ก็ตาม แต่นึกแล้ วก็ขำ� ร่วมงานกันทุกวิชา เกรดเทอมนั้นสูงมากจริงๆ ได้ เกือบ 4.00 ขาดอีกนิดเดียวเพราะติด วิชาไอที มันเป็ นผลพลอยได้ มาจากการแอบชอบเพื่อนในเซคชั่นแล้ ว เราอยากโชว์เขาว่าเราขยันนะ อยาก สร้ างภาพลักษณ์ ให้ เขาอยากร่วมงานกับเรา สุดท้ ายแล้ วเขาก็ไม่ได้ ชอบเรานะตลกดี ไม่ร้ ผู ่าน ณ จุดๆ นั้นมา ได้ ไง มันเป็ นความตั้งใจเรียนที่ต้องเก็บซ่อนความในใจไว้ มากมายเลย แต่มนั ใช้ ได้ ผลนะ เกรดขึ้นจริง เราลงเรียนซัมเมอร์ทุกเทอมเลยนะ ชอบมาก เพราะได้ มอี สิ ระในการจัดตารางและเลือกลงทะเบียน เรียนเอง เป็ นเทอมที่ต้งั ใจมาก จ�ำได้ เลยซัมเมอร์ปี 1 ท�ำรายงาน 260 หน้ า หมดเงินเป็ นพัน เพื่อนตกใจกัน มาก แต่เราไม่ตกใจตัวเองนะ เราชอบท�ำมากๆ นั่งพิมพ์ทุกวัน ทั้งวัน มันเป็ นความสุขไปเลยในการพิมพ์ รายงานบนหอพักเป็ นเดือนๆ เงียบๆ มืดๆ ยังจ�ำความรู้สกึ นั้นได้ อยู่เลยว่าเราตั้งใจท�ำงานมากๆ ช่วงนั้นเป็ นช่วงเปลี่ยนผ่านชีวิตเลยก็ว่าได้ เพราะเป็ นช่วงที่มปี ัญหากับเพื่อนในกลุ่มเก่าหนักๆ ไม่ร้ ู ตัวเรามีปัญหาเองหรือเปล่าอันนี้กไ็ ม่แน่ใจ แต่อยากเปลี่ยนกลุ่ม เปลี่ยนสังคม ไม่อยากอยู่กบั อะไรเดิมๆ นาน เกินไป เปลี่ยนมาอยู่กบั กลุ่มอธิส เพื่อนเยอะอีกช่วงนั้น มีเพื่อนตั้ง 9 คนที่มาเรียนด้ วยกัน ต่างนิสยั ดี น่ารัก มากๆ ที่สำ� คัญตั้งใจเรียน เรียนเก่งกันทุกคน สังคมดีมากๆ เราเรียนซัมเมอร์แบบได้ เรียนรู้และประสบการณ์มากจากการท�ำกิจกรรม Outdoor ชอบมากๆ แต่ บางทีมนั ก็เสียเงินมากหน่อย อาจจะน้ อยส�ำหรับคนอื่น แต่มนั ก็มากพอส�ำหรับคนอย่างเรานะในการออกนอก สถานที่แต่ละครั้ง นอกจากนั้น ซัมเมอร์เรายังได้ เรียนวิชา JR453 กับอาจารย์ณรงค์ศกั ดิ์ เราว่ามันเป็ นจุด เปลี่ยนชีวิตเริ่มต้ นที่ทำ� ให้ เราเกิดความคิดในการอยากย้ ายภาคจากสื่อสิ่งพิมพ์ไปเป็ นบรอดเลยก็ว่าได้ ท่าน พูดประมาณว่าอีก 15 ปี วารสารศาสตร์ส่งิ พิมพ์จะเริ่มตันแล้ ว กระดาษจะหมดไปจะมีแต่ดจิ ิทลั เข้ ามาและ เฟื่ องฟูข้ นึ เราก็คิดตามแบบจดเลคเชอร์นะ แต่ในใจก็คิดมากกว่าการท�ำเกรดแล้ วตอนนั้นว่าเราก�ำลังเรียนไป สู่ทางตันเหรอ หรือต่อไปเราจะท�ำอะไร อนาคตเราจะไปแขวนอยู่ท่ตี รงไหน แต่เราก็ได้ แค่คิดนะ เพราะบางที
เรื่อง เรา เล่า 27
เราก็คิดว่าเราย้ ายไปเราอาจจะไม่เหมาะก็ได้ เราอาจจะเหมาะกับสื่อสิ่ง พิมพ์มากกว่า จวบจนกระทั่งขึ้นปี 2 ใครจะรู้ว่ามันเป็ นช่วงชีวิตที่ทำ� ให้ ชีวิต ของเราไม่ เหมือนเดิมอีกต่ อไป...เปิ ดเทอมไปวันแรกเชื่อไหมว่ าเจอ แฟนเลย 5555 เป็ นวันแรกและครั้งแรกที่มโี อกาสได้ เจอตี้แบบเต็มๆ ตา เคยได้ ยินกิตติศพั ท์เรื่องความอหังการในการท�ำข้ อสอบมาตั้งแต่ปี 1 ว่าท�ำข้ อสอบไอทีโหดมาก คนอื่นฝอยท�ำสอบปฏิบตั กิ ว่าจะเสร็จกัน เป็ นชั่วโมง แต่นางท�ำ 10 นาทีเสร็จ เป็ นปรากฏการณ์เงิบทั้งห้ องที่ ท�ำให้ เพื่อนในกลุ่มใหม่ของเราน�ำมาเล่าต่อให้ เราฟัง เราก็งงมากๆ ตอนนั้นยังไม่เคยเห็นหน้ า ไม่ร้ จู ักว่าใครคือตี้
อ.ณรงค์ศกั ดิ์ ศรีทานันท์ อาจารย์ภาควิชา ตอนนั้นตี้หยิ่งมาก ทักไปไม่เคยหัน ท�ำหน้ าไม่ค่อยอยากจะคุย วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผู้สอนวิชา JR453 ที่สร้ างจุดเปลี่ยนส�ำคัญในชีวิตของเดล กับเราด้ วยซ�ำ้ เราก็งงๆ แต่กไ็ ม่ได้ อะไร เรื่องของมัน ปี 2 เป็ นเทอมที่
โหดนะ เรียน 7 ตัวในเทอมแรก รู้สกึ เครียด เพราะเจอวิชา
ยากๆ ทั้งนั้น เทอมนี้ไม่มแี มงปอแล้ ว ต้ องช่วยเหลือตัวเอง มาอยู่กลุ่มใหม่ต้องเรียนรู้ท่จี ะอยู่กบั สังคมให้ มากขึ้นกว่า เดิม เทอมนี้กไ็ ด้ อธิสนี่แหละคอยสอน คอยให้ กำ� ลังใจเวลาเครียดหรือท้ อมากๆ กับการเรียน และให้ ทศั นคติในการ ด�ำเนินชีวิต รวมถึงท�ำให้ เราได้ เข้ ามารู้จักตี้ด้วย เทอมนี้ไม่ค่อยโดดเด่นเรื่องเรียนเลย แต่มคี วามสุขที่ได้ คุยกับตี้ มากกว่า ความสัมพันธ์ในตอนนั้นเล่า 3 วันก็ไม่จบ เราได้ คุยกับตี้ครั้งแรกแบบจริงๆ จังๆ ตอนเรียนวิชาจริยศาสตร์ ไม่ร้ วู ่ามันเป็ นความบังเอิญหรือความอะไรนะ แต่เราคุยกับตี้ครั้งแรกวันนั้นประมาณ 15 นาที มันเหมือนกับว่าเรารู้ จักตี้มานานแล้ ว 10 ปี คุยแล้ วได้ ฟิวล์ รู้เรื่อง เข้ าใจค�ำพูดมันมากๆ และมันก็เข้ าใจเราด้ วย ซึ่งเราหาเพื่อนแบบนี้มา นานมากๆ เราคุยกับตี้จบวันนั้นเรารู้สกึ อิ่มเอมใจนะ รู้สกึ ปลื้มปริ่มเหมือนทลายก�ำแพงมันได้ สำ� เร็จ กว่ามันจะคุยกับ เราได้ ปกติแต่ก่อนตี้จะเป็ นคนคุยกับคนยาก ใช้ คำ� พูดน้ อย และค่อนข้ างมีกำ� แพง และชอบให้ คนอื่นเป็ นคนเริ่ม สัมพันธไมตรีก่อน เลยรู้สกึ เหมือนปลื้มใจเล็กๆ ที่เราสามารถพูดคุยกับตี้ได้ แล้ ว ปี 2 เป็ นเทอมที่ไม่มุ่งเรียน ยังหลงระเริงมาก เพราะตอนนั้นยังมีความคิดแบบไม่ค่อยโต ตอนนี้กย็ ังไม่โตนะ ยังคิดว่าเกรดยังไงก็สงู แต่กต็ ้ องขยัน แค่มนั ไม่มากเท่าปี 1 เทียบกันไม่ได้ เลย ทุกวันเราจะคุยกับตี้ท้งั คืน จนแม่ต้อง เดินมาคุม ถูกว่าแรงบ้ าง เบาบ้ าง แล้ วแต่ช่วงว่าสอบหรือไม่สอบ สุดท้ ายเทอมนั้นทั้งเทอมเกรดตกเหลือ 3.5-3.6 เป็ นเทอมที่นอยด์มากๆ เทอมนั้นเจอวิชา JR300 กับ JR430 เป็ นวิชาที่เรารู้สกึ ไม่ชอบมากๆ เราไม่ชอบการเขียน ข่าว เราเรียนแล้ วเราท้ อ เราไม่เข้ าใจ เราเขียนข่าวส่งวิชา JR300 เต็ม 10 คะแนน เราได้ 0 หลายช่องมาก ช่วงนั้นจิต ตกไปเลย อยู่ๆ ก็เหม่อลอย มันคิดและเขียนไม่ได้ จริงๆ ในการเขียนข่าวหนังสือพิมพ์ ส่วน JR430 ต้ องเขียนข่าว หนังสือพิมพ์ให้ เสร็จในชั่วโมง คือเวลาน้ อยมาก ต้ องหาข้ อมูลจากแหล่งข่าวจากอินเทอร์เน็ต เน็ตตึกนิเทศศาสตร์ สัญญาณเบามาก มันต้ องเอาตัวรอดให้ ได้ แล้ วเราหัวช้ ามากๆ ท�ำอะไรช้ า เชื่อไหมว่าเราเหงื่อชุ่มมือทุกครั้งที่ไปเรียน และไม่อยากเข้ าไปเรียน มันเขียนยากมากและไม่ชอบการเขียนแบบนี้ จนกระทั่งสอบกลางภาค เราท�ำสอบไม่ได้ คนเดียวในเซคเลยมั้ง เราท�ำไม่ทนั ไม่เท่าไร เราท�ำไม่ได้ หมดเลย ด้ วยซ�ำ้ เราเขียนข่าวมั่ว แถมเราซื่อมากอีกบางข้ อมูลมันดิ้นได้ แต่เราตอบไปแบบตรงๆ ท�ำให้ ผดิ เป็ นยวง ตอนนั้น นอยด์เป็ นเดือน พอคะแนนออกทีร้องไห้ เลย คะแนนน้ อยมากๆ เต็ม 30 นี่อายมาก บอกคะแนนหน้ าห้ องได้ เกือบไม่ เพื่อน 28
ตี้ (ขวา) คนใกล้ ชิด
ถึง 10 ตอนนั้นเราตัดสินใจย้ ายภาคเลยนะ เราไม่ได้ ปรึกษาใครด้ วย ขอเบิกเงินแม่ล่วงห้ า 500 บาทมาย้ ายภาคไว้ ก่อน เป็ นการตัดสินใจที่ชอ็ กกับคนรอบข้ างเหมือนกัน เพราะเรารู้ว่าเราไม่ชอบ และเราจะไม่ทนกับสิ่งแบบนี้ตลอด ระยะเวลา 2 ปี แน่นอนปัญหาไม่ได้ จบแค่น้ันนะ ไม่ใช่อยู่ๆ จะได้ ย้ายเลย เราเข้ าขอท�ำเรื่องกับอาจารย์ตรีพลเป็ น 20 รอบ ตลอด 3 เดือน กว่าจะย้ ายได้ เหนื่อยยากมากๆ เกือบจะไม่ได้ ย้าย แต่เราพยายามที่จะย้ ายมาเรียนบรอดให้ ได้ เอง หลายคนถามเราว่า เราย้ ายเพราะเรื่องเรียนแน่เหรอ ไม่ใช่ย้ายตามตี้ไปเหรอ เราก็ยอมรับนะว่าเราย้ ายตามตี้มา แต่น่ันมันไม่ใช่เหตุผลเดียวที่อยู่ๆ ปุบปับย้ าย เราไม่มคี วามสุขกับการ เรียนแล้ วต่างหากถึงย้ ายมา ต่อให้ ใครจะบอกว่าบรอดยากกว่า โหดกว่า แต่เราไม่ได้ สนใจสิ่งต่างๆ เหล่านั้นเลยนะ เราเคยคุยกับพี่นิตา BJ4 ตอนพี่เขาอยู่ปี 4 เราอยู่ปี 2 ช่วงนั้นเขาท�ำงานที่มหาลัยเยอะมากมีงานสายฟ้ าน้ อย งาน ประกวดนั่นนี่เต็มไปหมด เราก็เลยอยากประกวดสายฟ้ าน้ อยบ้ าง มันเป็ นความฝันของเด็กสิ่งพิมพ์คนหนึ่งเหมือนกัน เพราะเราชอบงานประกวดมาตั้งแต่เด็กๆ แล้ ว แต่พอขึ้นมหาวิทยาลัยมายังไม่ได้ ประกวดอะไรเลย จนกระทั่ง 3 เดือนต่อมา เราย้ ายภาคได้ สำ� เร็จ ขั้นต่อมาก็ต้องมาตามเก็บวิชาที่เป็ นตัวต่อมากมาย และก็ไม่ พ้ นความเครียดที่ว่าเราจะจบทัน 4 ปี ไหม เราเครียดมากๆ กลัววิชาไม่เปิ ด กลัวไม่ทนั กลัวติดต่ออาจารย์ไม่ได้ มัน เป็ นความกดดันที่ทำ� ให้ เราขยันเรียนมากๆ เลยนะ เพราะกว่าเราจะท�ำเรื่องย้ ายภาคเองมาได้ มันล�ำบากจริงๆ พอ ย้ ายเอกมาได้ กไ็ ด้ เจอตี้บ่อยขึ้น รู้จักกันมากช่วงซัมเมอร์ปี 3 นึกย้ อนกลับไปทีไรแล้ วรู้สกึ ซึมเศร้ านิดหน่อย อยากกลับ ไปช่วงเวลานั้น เป็ นช่วงเวลาที่ดจี ริงๆ ได้ ไปเรียนที่กล้ วยด้ วยกัน ได้ น่ังด้ วยกัน ได้ มคี นเอาใจใส่กนั แบบนี้
เรื่อง เรา เล่า 29
เรามีความสุขทุกครั้งที่มาเรียนเลยที่ได้ มตี ้ อี ยู่ข้างๆ พอได้ เข้ ามาเรียนวารสารฯ บรอดอย่างเต็มตัว ก็ต้อง ปรับตัวมากขึ้น เพราะเปลี่ยนสภาพแวดล้ อมทั้งหมดเลย ตอนแรกก็คิดอยู่เหมือนกันว่าจะต้ องใช้ วิธเี รียนยังไง ยังไม่ ค่อยเข้ าใจวิธกี ารมาก แต่กม็ ่นั ใจเหมือนกันว่าจะเรียนได้ เพราะถ้ าไม่ม่นั ใจว่าจะเรียนได้ จริงคงไม่ย้ายมา เพราะใน ตอนนั้นเริ่มเบื่อเรียนภาคสื่อสิ่งพิมพ์เต็มทีแล้ ว มันมีเหตุผลเหมือนกัน ไม่ใช่ว่าเรียนสื่อสิ่งพิมพ์ไม่ดนี ะ มันเหมาะกับ เรากว่าด้ วยซ�ำ้ แต่แค่เราเบื่อชีวิตที่เป็ นเหมือนเดิมตลอด ไม่ค่อยมีอะไรน่าตื่นเต้ น ส่วนมากมันเน้ นเขียนกับสัมภาษณ์ คนแล้ วน�ำมาร้ อยเรียง ซึ่งเราก็ไม่ชอบ เราอยากเรียนอ่านข่าว อยากท�ำงานแบบเปิ ดหน้ า อัพงานยูทูปให้ มผี ลงาน อยากประกวดงานอะไรให้ มนั ตื่นเต้ นมากกว่า ซึ่งพอย้ ายมาแล้ วมันก็มอี ะไรน่าตื่นเต้ นจริงๆ ได้ ลงพื้นที่ทำ� งานจริง เหนื่อยมากๆ เลยช่วงนั้น แทบไม่มเี วลาพัก ต้ องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลายอย่าง บางอย่างที่ว่าช้ าๆ ก็ต้องตัดสินใจ คิดให้ ไวขึ้น จ�ำได้ เลยว่าตอนปี 3 เทอม 1 ตั้งใจเรียนมาก เพราะเรายังใหม่มากๆ เพิ่งย้ ายเข้ ามา แล้ วต้ องจัดการเรื่อง เวลาหลายๆ อย่าง ซึ่งมันก็ผ่านมาได้ แบบเหนื่อยๆ เลยในเทอมนั้น ชีวิตช่วงนั้นไม่ได้ มอี ะไรมากเลย มันมีแต่การท�ำ สารคดีจริงๆ ไปเรียนเปรียบเสมือนไปเข้ าค่าย แล้ วก็การท�ำคะแนนสูงๆ ในรายวิชาต่างๆ เพื่อดึงเกรดที่ไม่ค่อยน่า พอใจในปี 2 ให้ ข้ นึ มามากกว่าที่ควรจะเป็ น ซึ่งก็บรรลุความส�ำเร็จเรื่องการเรียนในเทอมนั้น แต่มนั ก็ต้องแลกมากับ อารมณ์ท่แี ปรปรวนง่ายจากผลของการคาดหวังหลายอย่าง จะเครียดมากๆ ในเทอมนั้น ในเทอม 2 จะสนุกกว่าเทอมแรก แต่ปีนี้ท้งั ปี แอบดรอปเรียนไปหลายวิชาเหมือนกัน เพราะไม่ชอบเนื้อหา วิชาที่เรียน ไม่ชอบวิธกี ารสอน ไม่พอใจคะแนน ที่สำ� คัญบางวิชาก็เรียนแล้ วไม่มีความสุข และไม่อยากฝื นอารมณ์ตวั เอง เลยเหลือไว้ แต่วิชาที่เรียนหลัก และชอบเรียนจริงๆ เทอมนี้ดใี จมากๆ ได้ เป็ นพิธกี รในงานวิชาโท ซึ่งอยากท�ำมา นานแล้ ว ต้ องขอบคุณอาจารย์วิชาแหน๋มมากๆ ที่ไม่มองกันที่ความสามารถของเรา แต่มองเห็นในความอยากท�ำของ เราจริงๆ จึงให้ เราท�ำ ปี นั้นสนุกมากๆ เรียกได้ ว่ามีท้งั สุขทั้งเศร้ ารวมอยู่ในปี นั้น ทั้งเรื่องไม่ผ่านการฝึ กงาน การโดน คนอื่นเอาเปรียบเรื่องการท�ำงานในวิชานอกสาขา การต้ องไปดรอปเรียนบางวิชา แต่ละอย่างนี่ดูเหมือนท�ำให้ ชีวิตไม่มี ความสุขเลยจริงๆ แอบเซ็งไปพักใหญ่ๆ ว่าท�ำไมต้ องเป็ นแบบนี้ แต่สดุ ท้ ายก็ค่อยๆ ลืมทีละอย่าง 2 อย่าง เวลามันก็ ช่วยได้ จริงๆ ท�ำให้ เราให้ ความส�ำคัญกับปัจจุบนั มากกว่าสิ่งที่มนั ผ่านไปแล้ ว อีกอย่างของการมาเรียนภาคนี้ท่ดี คี ือ การที่เรามาเรียนแบบมีหน้ าที่ในการท�ำงานตลอด ท�ำให้ เราได้ แก้ ปัญหาทีละวัน และลืมปัญหาของเมื่อวานที่เศร้ าใจไปได้ เลยนะ พอเราให้ ความส�ำคัญกับอีกอย่าง มันจะไม่ทำ� ให้ เราไป หมกมุ่นอยู่กบั อดีตมากเกินไป เรามานั่งย้ อนคิดเรายังไม่ร้ เู ลยนะว่าเราเรียนผ่านเทอมนี้มาได้ ไง เป็ นเทอมที่หนักมหา โหด ท�ำสารคดีหลายชิ้น แล้ วก็ต้องท�ำข่าวเป็ น 20 ชิ้นได้ หลายๆ วิชารวมกัน ออกนอกสถานที่ตลอด เราบริหารจัดการ เวลาแบบไหนก็ไม่ร้ ู แต่ผ่านมาได้ อย่างสวยงามเลยนะ เทอมนั้นเป็ นเทอมที่ไม่ล้ ุนเกรด เพราะไม่ค่อยเอาใจใส่การ เรียนมาก เพราะมีกจิ การย่อยที่สร้ างเองที่ต้องดูแล เลยไม่ได้ โฟกัสการเรียนเท่าเทอมก่อนๆ แต่สดุ ท้ ายเกรดออกมา ประทับใจมากๆ มันเกินคาดกว่าที่ต้งั เป้ าไว้ ตลอดเวลา 4 ปี ที่ผ่านมา เราชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษของที่น่ีมากที่สดุ เลย ไม่ว่าจะเป็ นของปี อะไร ประทับ ใจทุกปี ชอบลักษณะการมอบหมายงานที่ต้องใช้ ทกั ษะทางภาษา และได้ สร้ างสรรค์งานใหม่ๆ ตลอดเวลา ที่สำ� คัญได้ แต่งตัวแปลกๆ ท�ำอะไรในแบบที่ไม่ค่อยได้ ทำ� มาก่อน ยังจ�ำได้ อยู่เลยว่าถ้ าเราชอบวิชาไหนมากๆ เราจะตั้งใจท�ำวิชา นั้นแบบสุดๆ ท�ำทั้งวัน อีกวิชาหนึ่งที่ชอบคือวิชาการจัดการ ของคณะบริหารธุรกิจ รู้สกึ สนุกมากที่ได้ เรียนและได้ ท�ำงาน จ�ำได้ ว่านั่งท�ำแผนผัง 7 ชั่วโมง เพราะความที่ชอบเรียน ชอบท�ำงานแบบนี้
เพื่อน 30
ส่วนความประทับใจด้ านความสัมพันธ์เราประทับใจแมงปอ อธิส แล้ วก็ต้ มี ากๆ หลายๆ คนที่เอ่ยถึง เราพบ เจอในช่วงเวลาที่แตกต่างกันหมดเลย แมงปอเป็ นเพื่อนคนแรกที่เราอยู่ด้วย และคอยช่วยเหลือทุกอย่าง และคอย ปกป้ องเราตลอดทุกครั้งที่มคี นเริ่มก้ าวเข้ ามาเอาเปรียบเรา แมงปอก็เปรียบเสมือนพี่เลี้ยงเราเลยที่มหาวิทยาลัยช่วงปี 1 ทั้งปี ท�ำให้ เราเอาตัวรอดในการเรียนปี 1 มาได้ ความประทับใจแมงปอคงจะเป็ นเรื่องความจริงใจ และความรักที่ มอบให้ กนั แบบบริสทุ ธิ์ใจจริงๆ ถึงแม้ ว่าสุดท้ ายแล้ ว ความเป็ นเพื่อนระหว่างเราจะจบลงกันแบบไม่ได้ สวยงามมาก แต่ทุกวันนี้ยังรู้สกึ ถึงความดีท่ผี ่านมาทุกอย่าง ต่อมาเป็ นอธิสเหมือนเป็ นครูอกี คนในชีวิตเลย จะคอยให้ แง่คิดดีๆ และบางอย่างเราก็ได้ ความคิดดีๆ จาก อธิสมาผลักดันให้ ชีวิตเราไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป หากแต่เป็ นการพัฒนาให้ ไปไกลขึ้น และมีความคิดที่เป็ นตัวของตัว เอง และท�ำให้ เรามีมาตรฐานในการท�ำงาน ได้ มองเห็นถึงการใช้ ชีวิตมากขึ้น อยู่กบั อธิสมาก็ 1 ปี เต็ม ยังอยากขอบคุณ อธิสมากๆ ที่ทำ� ให้ เรามีความเป็ นสากลมากขึ้น และสอนให้ เราคิดแบบหัวนอก ต่อมาคนสุดท้ ายจากเพื่อนมาเป็ นคนใกล้ ตวั ของจริง ประทับใจตี้มากๆ ตี้ตลอดระยะเวลาที่ใช้ เวลาอยู่กนั มา ตั้งแต่เป็ นเพื่อนกัน จะคอยเตือน คอยสอนตลอด บางอย่างไม่มใี ครกล้ าพูดก็เตือนเราตรงๆ แต่เขาจะกล้ าพูดทุกครั้ง แล้ วไม่เคยกลัวว่าเราจะโกรธ ไม่พอใจ แต่ต้ จี ะคิดตลอดว่าบอกแล้ วโกรธ ก็ยังดีกว่าท�ำนิสยั ติดตัวที่ไม่ดแี บบเดิมๆ จริงๆ มันยากมากในสังคมชีวิตจริงๆ ที่ต้องพูดกันต่อหน้ า แสดงความจริงใจกันแบบเต็มที่ ไม่เคยบอกตี้ตรงๆ เลย ว่าประทับใจอะไรบ้ าง แต่ถ้ามีโอกาสได้ เข้ ามาเห็นก็อยากจะเปิ ดเผยไปว่า จริงๆ เราดีใจมากๆ เลยที่มตี ้ อี ยู่ข้างๆ ใน ตอนนี้ เวลานี้ ถึงเราจะนิสยั ไม่ดมี าก ไม่เป๊ ะ ไม่เก่ง แต่เราขอบคุณที่ต้ มี ากๆ ที่ต้ อี ยู่ข้างๆ เรามาตลอดตั้งแต่ย้ายภาค มา มันไม่ใช่แค่ดนี ะความรู้สกึ กับคนๆ หนึ่งแบบนี้ แต่มนั ดีท่สี ดุ แล้ วส�ำหรับเรา จนถึงวันนี้ปี 4 แล้ ว เราก็ไม่ร้ เู หมือนกันว่า เราเปลี่ยนไปมากกว่าตอนปี 1 ที่เข้ ามามากน้ อยแค่ไหน แต่เราก็ รู้สกึ มาโดยตลอดว่า เราชอบชีวิตในปัจจุบนั มากกว่าปี ที่ผ่านๆ มา อาจเป็ นเพราะใกล้ จบแล้ วด้ วย แล้ วชีวิตก็เริ่มทรงๆ คงที่ แต่มนั ก็ยังต้ องมีอะไรที่เราต้ องพัฒนาให้ มากขึ้นกว่านี้ หนทางข้ างหน้ าเราก็ไม่ร้ วู ่าเราจะเป็ นยังไง ก็อยากที่จะ พัฒนาตัวเองต่อไปเรื่อยๆ ไม่ย่ำ� อยู่กบั ที่เดิมนานเกินไป และได้ พบเจอสิ่งใหม่ๆ บ้ างในชีวิต อันนี้กเ็ ป็ นอีกสิ่งหนึ่งที่ ต้ องการหลังจากที่จะจบไปแล้ ว ตอนนี้เหลือเวลาเรียนที่น่ีอกี ไม่ก่สี ปั ดาห์กม็ แี อบกังวลบ้ าง เพราะยังไม่เคยท�ำงาน จริงๆ จังๆ มาก่อน ทุกวันนี้กค็ ิดทุกวันว่ามันจะเป็ นยังไง คงต้ องลองไปเสี่ยงดูกนั ต่อข้ างหน้ า ตอนนี้กเ็ รียนใกล้ จบ แล้ ว แอบคิดอยู่เหมือนกันว่าจะจบแล้ วจริงๆ หรือ เหมือนมาเรียนหนังสือนานเกินไปจนเคยชิน ชีวิตมีแค่เปิ ดเทอม ท�ำรายงาน ปิ ดเทอม พักผ่อน แล้ วมาเปิ ดเทอมใหม่ หลายคนบอกเหมือนๆ กันว่า มาเรียนสนุกกว่ามาท�ำงาน และคิดถึงสมัยเรียนมากกว่าท�ำงาน เราก็ไม่เชื่อซะ ทีเดียวนะว่า ท�ำงานจะไม่สนุกและอยากกลับมาเรียนอีก เราว่าถ้ าไม่สนุกแล้ วจะท�ำงานไปเพื่ออะไร เรียนจบมาก็ต้อง มุ่งไปหาชีวิตที่ดกี ว่าที่เป็ นอยู่ตอนนี้ เวลานี้ เรายังไม่ได้ ทำ� งาน แต่ความคิด ณ ช่วงเวลาปัจจุบนั เรามองว่าการได้ ไป ท�ำงานจะสนุกกว่า เพราะเราได้ เจอสังคมใหม่ๆ ได้ มเี งินใช้ โดยที่เราไม่ต้องขอพ่อแม่อกี แล้ ว และมีอสิ ระในการจับ จ่ายใช้ สอยมากขึ้น โดยที่เราไม่ต้องโดนบ่นเวลาใช้ เงินเยอะๆ เหมือนช่วงเรียน ความอิสระมันมาพร้ อมกับหน้ าที่และ ความรับผิดชอบ สิ่งนี้แหละมั้งที่หลายๆ คนอาจกังวล เราเองก็ไม่แน่ใจ แต่เราว่าชีวิตข้ างหน้ าต่อไป มันต้ องดีกว่าวัน นี้ เวลานี้แน่นอน เรามั่นใจ
เรื่อง เรา เล่า 31
ช่วงเวลานี้เราก�ำลังมีความคิดที่จะท�ำแคปซูลเวลา อยากจะเขียนสิ่งต่างๆ ลงไปที่ตวั เองอยากจะท�ำ และต้ อง ท�ำให้ ได้ แน่นอนว่าฝันต้ องใหญ่ไว้ ก่อนอยู่แล้ ว ถึงจะมั่นใจว่าบางอย่างท�ำไม่ได้ แน่นอน แต่ความคิดคนเราบางทีมนั ก็ ต้ องมีความทะนงตน ความอหังการในความคิดตัวเองบ้ าง เราว่าเราจะชวนตี้ทำ� ด้ วย แต่เราไม่บอกในนี้หรอกนะว่าสิ่ง ต่างๆ ที่เราต้ องการตอนนี้มอี ะไรบ้ าง 10 อย่าง และในอีก 5 ปี เราจะกลับมาที่น่ี และมาเปิ ดในสิ่งที่เราได้ เขียนไว้ กลับมาดูว่าสิ่งที่เราคิดฝันตอนนี้คือวันนั้นในอนาคต อนาคต เราพัฒนาตัวเองไปได้ ขนาดไหนแล้ ว เทียบกับวันนี้ท่เี รา ก�ำลังจะจบ แทบไม่มอี ะไรเลยในชีวิต...
การมาเรียนทีน่ ตี่ ลอด 4 ปี ทีผ่ ่านมาหลายสิง่ หลายอย่างท�ำให้เราไม่ใช่คนเดิม ...อย่างน้อยก็ไม่ใช่ในแบบทีเ่ คยเป็ น
เพื่อน 32
โดดเดี่ยวไม่เดี่ยวดาย รวินท์นิภา หล่ายหก
“ชี วิตดีขึ้นไปอีก ไม่มีค�ำว่าเหงาเลย”
ปี 1 เทอม 1 ฉันใช้เวลาไป 1 ปี ครึ่ง เสียเวลาการเรียนไปกับมหาวิทยาลัยอัสอัสสัมชั ญ ถ้าเทียบกับการเรียนตาม หลักสูตรปกติของปี 1 แต่ฉันมีเพื่อนที่ดีกลุ่มหนึ่งเป็นสิ่งที่มีค่ามากส�ำหรับฉัน ที่มาจากโรงเรียนเก่าด้วยกัน บ้าง มาเจอกันใหม่บ้าง แต่พวกเราเข้ากันได้อย่างดี เราสนิทกันเพราะความสัมพันธ์แบบโลกกลม คือฉันมี เพื่อนจากมัธยมปลายคือ แตงไท เอิร์ท และแม็ก แต่ต้อมเป็นเพื่อนสมัยมัธยมต้นของเอิร์ทและแม็ก ส่วนวิว เป็นเพื่อนสมัยประถมของเอิร์ท เราจึงสนิทกันไว และด้วยนิสัยที่เข้ากันได้ดีมากๆจึงท�ำให้เราเข้าใจกันทุกเรื่อง ผ่านเรื่องราวมามากมายเหมือนหลาย 10 ปี อยู ่กันเป็นฝู ง เราแยกแยะเรื่อง เรียน เที่ยว เล่น แต่เราก็ไม่ สามารถผ่านทนต่อกับการเรียนของที่น่ไี ด้ เราทนกันมา 1 ปี ตัดเรื่องเที่ยวออกเหลือแต่การเรียนพิเศษกับ ทีวีตู้ปลาหน้าปากซอยมหาวิทยาลัย เรียนวันละหลายชั่ วโมง แต่ก็ไม่เป็นผล เหมือนกับสมองไม่รับความรู้แล้ว หรือเราโง่ เราก็กัดฟั นสู้อีก 1 เทอมกับความหวังว่าอาจจะดีขึ้นแต่ก็ไม่เป็นผล ฉันตัดสินใจคุยกับที่บ้านและ เพื่อนๆ ฉันและกลุ่มเพื่อนมีความคิดเหมือนกันคือ ไม่อยากเรียนต่อที่น่แี ล้ว เราจึงตัดสินใจที่จะแยกย้ายกัน ไปด้วยความเศร้าบางคนก็สู้ต่อ ฉันก้าวสู่มหาวิทยาลัยกรุงเทพเทอมที่ 2 อย่างกะทันหัน
ปี 1 เทอม 2 วิธกี ารที่น่ีรับสมัครนักศึกษาอย่างรวดเร็วมาก ฉันแทบไม่มเี วลาคิดที่จะเลือกคณะฉันจึงถามพี่เปิ้ ล(ป้ าตีกระ บังประจ�ำแผนกต้ อนรับนักศึกษา) ได้ คำ� แนะน�ำมาว่า “วารสารสิสนุกดี” ฉันได้ ถามรายละเอียดของสาขานิดหน่อย ฉันไม่ชอบอ่านหนังสือ ฉันไม่ชอบเขียน ฉันคิดว่าอะไรก็ได้ ท่พี ้ นจากบริหารพวกตัวเลขออกมา ฉันเรียนได้ หมด ฉันจึง เลือกวารสารBroadcasting ที่น่ี เปิ ดเทอมวันแรกฉันไม่มคี วามสุขไม่มคี วามประทับใจ เรียนด้ วยความรู้สกึ ที่ว่าเคยมีเพื่อน แต่วันนี้อยู่คน เดียวฉันคิดถึงเพื่อนฉัน ท�ำไมฉันต้ องมาอยู่ท่นี ่ี มองไปรอบๆมีแต่คนอยู่กนั เป็ นกลุ่มเป็ นก้ อน คือทุกคนมีเพื่อน ฉัน ตัดสินใจไม่สร้ างความสัมพันธ์กบั ใคร มีคนมาชวนคุยบ้ างแต่ฉันไม่ได้ สานต่ออะไร ฉันเลือกที่จะเรียนแล้ วกลับบ้ าน คุยกับเพื่อนในห้ องให้ ดูมมี นุษยสัมพันธ์บ้าง ฉันแทบจะร้ องไห้ แต่ละคลาสมีการออกไปท�ำกิจกรรมหน้ าห้ องเรียน ฉันขี้อาย เกลียดการออกไปพูดหน้ าห้ อง ฉันปรับตัวกับที่น่ีไม่ได้ ไม่ต้องบอกก็ร้ วู ่าเพื่อนมองว่าฉันหยิ่ง ฉันเลิกเรียนเสร็จกลับบ้ านเป็ นแบบนี้ท้งั เทอม ฉันไม่มเี พื่อน ฉันเรียนอย่างเดียว วิชาภาษาอังกฤษฉันเริ่ม เข้ าไปพูดคุยกับเพื่อนชื่อดาว เรียนวารสาร Print ฉันดีใจมากที่ได้ เจอดาวเพราะรู้สกึ ได้ ว่าดามนิสยั ดีมาก ฉันตัดสินใจ อยู่กบั พวกดาว แต่ฉันก็ยังทิ้งระยะห่างกับเพื่อนที่น่ีเหมือนเดิม ฉันเลือกที่จะพูดคุยสนิทได้ ไปกินข้ าวโรงอาหารด้ วย กัน แต่ไม่ไปเที่ยวด้ วยหรือไปไหนนอกมหาลัยด้ วย ฉันเริ่มแยกแยะได้ ว่าหน้ าใครคือเพื่อนในภาค แต่ฉันจ�ำชื่อเพื่อน ไม่ได้ สกั คน เหมือนในใจฉันติดอะไรบางอย่าง ฉันไม่ค่อยจะไว้ ใจใคร แต่ฉันไม่มเี หตุผลให้ ตวั เอง ฉันรู้สกึ ในใจของ ฉันแค่ว่ายังไม่มีอะไรซื้อใจให้ ฉันสนิทใจได้
เรื่อง เรา เล่า 35
(ซ้ าย) เมื่อครั้งอยู่ม.อัสสัมชัญก่อนย้ ายมาม.กรุงเทพ (ขวา) บี และตาล เพื่อนกลุ่มแรกๆในม.กรุงเทพ
ปี 2 เทอม 1 เทอมนี้ฉันต้ องเป็ นคนไม่มเี พื่อนอีกแล้ ว ฉันแยกเรียนกับสาขาวิชาของดาว ฉันมองไปทางไหนก็มแี ต่คน เสียงดังอยู่กนั เป็ นแก๊งแล้ ว ฉันรู้สกึ ตัวหดเหลือนิดเดียวทุกคนคุยข้ ามหัวฉัน หัวเราะกันอย่างมีความสุข พวกนั้นคือ กลุ่มหมิว ฉันพยายามมองหาใครที่มานั่งเรียนคนเดียว..ไม่มี และก็มี ไผ่ บี ตาล มะยม เดินเข้ ามานั่งแถวฉัน ฉันดีใจ ที่ได้ ร้ วู ่าเพื่อนกลุ่มนี้ย้ายมาตอนเทอม 2 เหมือนกัน ฉันจึงตัดสินใจนั่งกับกลุ่มนี้ เพื่อที่จะไม่ร้ สู กึ ด้ อยที่ไม่มเี พื่อนนั่ง ท่ามกลางสังคมฮาเฮของกลุ่มหมิว ที่น่ีมแี ต่งานกลุ่มฉันค่อนข้ างอึดอัด ฉันรู้ว่าฉันเป็ นคนที่ต้องมีเพื่อน แต่ท่นี ่ีทำ� ให้ ฉันอยู่คนเดียวอย่างแกร่งฉันเรียนคนเดียวได้ ท�ำงานคนเดียวได้ กินข้ าวคนเดียวได้ แต่ฉันก็พอแลก ID Line กับพวก บีไว้ บ้างแล้ ว ฉันก็เริ่มสนิทขึ้นมาระดับหนึ่งเพราะต้ องเริ่มเรียนเจอกันบ่อย แต่ละเทอมผ่านไปไม่ค่อยมีอะไรเป็ น พิเศษ จะมีกบ็ างกิจกรรมบางวิชาที่ต้องออกไปถ่ายท�ำข้ างนอกมหาวิทยาลัย
ปี 2 เทอม 2 เทอมนี้มีงานที่ท้าทายชิ้นหนึ่งถือเป็ นงานแปลกใหม่และประทับใจส�ำหรับฉัน การได้ ทำ� หนังสือเกี่ยวกับ การน�ำเที่ยวที่เข้ าใหญ่ เป็ นงานเดี่ยว ฉันสนุกกับงานชิ้นนี้ท้งั เทอม มีโอกาสได้ ไปพักผ่อนที่เข้ าใหญ่อยู่หลายครั้ง เทอม นี้ผ่อนคลายพอควร ฉันได้ ชวนเพื่อนนอกมหาวิทยาลัยไปท�ำงานชิ้นนี้เป็ นเพื่อนหวังว่าจะมีงานประเภทนี้อกี เรื่อยๆ ใกล้ หมดเทอมเสียงโทศัพท์ฉันดังปลายสายคือต้ อมเพื่อนที่เอแบค โทรมาขอความช่วยเหลือ.. ต้ อมไม่ไหวกับเอแบค ต้ อมอยากย้ ายมาเรียนด้ วย พาไปสมัครเรียนหน่อย ความรู้สกึ วันนี้คำ� ว่าเพื่อนมันกลับมา ถึงจะเรียนคนละปี ไม่ทนั กัน แต่ฉันรู้สกึ ว่าจะมีเพื่อนแล้ ว เพื่อนมาหาฉันแล้ วฉันรีบเป็ นธุระพามันไปสมัครเรียน เช่าหอพัก พาทัวร์ย่านรังสิต และ ดีใจกว่าที่มเี พื่อนที่ร้ จู ักจากเอแบคย้ ายมาอีก 2 คน
เพื่อน 36
ปี 3 เทอม 1 เชื่อไหมชีวิตฉันเปลี่ยน ฉันมีความสุขทุกวันกับการมาเรียน พวกเพื่อนของฉันเรียนโฆษณา แต่กไ็ ม่ใช่ปัญหา พวกเรา เรียนเสร็จนัดเจอใต้ ตกึ แล้ วออกไปหาอะไรกิน ไปเที่ยวต่อฉันพูดเรื่องส่วนตัวกับพวกต้ อมได้ ฉันปรึกษาเรื่อง แฟนเรื่องอื่นๆความลับได้ หมด ด้ วยอะไรก็แล้ วแต่ เราต่างยังมีวิชาเรียนคนละเวลา แต่ถ้ามีเวลาว่างตรงกันเราจะนัด กันไปร่าเริงที่หอสมุด ดูหนังฟังเพลง หากมีเวลามากกว่า 2 ชั่วโมงเราก็จะไปฟิ วเจอร์ฯกัน เรารวมตัวกันแบบเจริญ อาหารน�ำ้ หนักเราขึ้นเรื่อยๆจนถึงทุกวันนี้ เราไปเที่ยวต่างจังหวัด ท�ำงานแบบฉันช่วยพวกมัน และพวกมันช่วยงานฉัน ทุกคนเต็มใจ ชีวิตฉันเริ่มอยู่กนั เป็ นฝูงอีกครั้ง แต่เมื่อฉันอยู่ในห้ องเรียนฉันก็จะกลับสู่ภาพลักษณ์เดิมคือ “คนเดียว” แต่ความรู้สกึ มันต่างกับที่ผ่านมา ความรู้สกึ มันเหมือนกับว่าเดีย๋ วก็ผ่านไป เรียนเสร็จเราจะได้ ไปนู้นนี่โน้ นนั่นกับ เพื่อนๆแล้ ว ฉันคิดว่าชีวิตฉันดีข้ นึ มาก มีความสุขสุดๆ ว่างก็ไปเที่ยวทะเลสัก 1-2วัน แล้ วกลับมาเรียน ยังคงใช้ ชีวิต บนแผนเดิม จะกิน จะเที่ยว ต้ องไม่ท้ งิ การเรียน
ปี 3 เทอม 2 ชีวิตดีข้ นึ ไปอีก ไม่มีคำ� ว่าเหงาเลย เทอมนี้ดเี หลือเกินตารางเรียนพวกเราลงตัว คาบที่ฉันว่าฉันไปนั่งเรียนกับ พวกมัน คาบที่พวกมันว่างพวกมันก็มานั่งเรียนกับฉัน อาจารย์ท่นี ่ีใจดีไม่ได้ เรียนก็อนุญาตให้ น่ังได้ แต่ห้ามคุย เราเลย ส่งสารทางโทรศัพท์มอื ถือเพลิน มีงานในคาบก็ช่วยกันท�ำ นอกนั้นใช้ ชีวิตแบบเดิมๆจัดสรรเวลาเรียน กิน เที่ยว ทุก อย่างลงตัวตามที่คิดกันไว้ สนุกตรงที่มงี านออกต่างจังหวัดแล้ วเพื่อนเราไปด้ วยกัน เทอมนี้ไม่เหงาเลย แต่พอเริ่ม เรียนไปสักพัก งานเริ่มมาบางวิชาเพื่อนเริ่มไม่สามารถเข้ ามานั่งเรียนด้ วยได้ อกี แล้ ว ค่อยๆลดไป แต่ฉันก็โอเค งาน เริ่มเยอะมากแต่ไม่เป็ นอุปสรรคกับอะไรที่ต้งั ใจจะท�ำไว้ ฉันเริ่มมีเวลาให้ เพื่อนน้ อยลง เทเวลาให้ กบั การเรียนและงาน มากขึ้น พวกเพื่อนฉันก็น่ารักรอให้ งานฉันเสร็จค่อยออก ถึงจะดึกก็ตาม ฉันไม่เคยขาดเรียนและไม่เคยไปเรียนสาย เลย แย่สดุ คือหลับในห้ องเรียนจริงๆ
ปี 4 เทอม 1 ลืมไปเลยว่าเคยมีเพื่อน งานเยอะอย่างเต็มรูปแบบการผลิตสารคดีเข้ มข้ นขึ้นเพราะเป็ นงานประกวดและ และต้ องหาเวลาว่างมาระดมความคิดและเดินงาน กลุ่ม 3 คน แน่นอนต้ องสนิทกันมากขึ้นเพราะเจอกันเช้ ายันมืด คือ ฟลุคกับแพรว งานเราท�ำกันแบบทนแดดทนฝน เราไปประจ�ำการอยู่เกาะเกร็ด เราเข้ ากันได้ เพราะชอบกินเหมือนกัน เราเห็นกันและกันเป็ นเพื่อนกิน จนงานของเราก็ได้ เข้ ารอบชิงชนะเลิศเราก็ดใี จกันใหญ่ เพราะแต่ละคนใช้ กล้ อง ตัด ต่อยังไม่เก่ง ยังดีท่มี อี าจารย์และรุ่นพี่คอยช่วยเหลือ เทอมนี้จึงเป็ นเทอมที่งดสิ่งบันเทิงใดๆ ฉันกลายเป็ นคนคิวแน่น ต้ องจัดตารางเวลาให้ งาน เพื่อน และแฟน สุดท้ ายตารางก็ไม่แน่นอนทุกคนเลิกคาดหวังนัดฉัน ฉันกลายเป็ นคนชอบ เลื่อนนัดเพราะเหตุเหตุจำ� เป็ น
เรื่อง เรา เล่า 37
แพรว (ซ้ าย) และ ฟลุค (ขวา) เพื่อนที่ร่วมท�ำสารคดีด้วยกัน
ปี 4 เทอม 2 ฉันดีใจมากที่ร้ วู ่าเทอมนี้มเี รียนเพียง 9 สัปดาห์กจ็ ะจบการศึกษา ฉันภูมใิ จตั้งแต่เปิ ดเทอมว่าจะจบการ ศึกษาพร้ อมเพื่อนๆ ฉันชอบแอบคิดเข้ าข้ างตัวเองข�ำๆว่าฉับนี่จบ 3 ปี ครึ่ง แต่อกี ความรู้สกึ ก็ใจหายแปลกๆ ชีวิตมหา ลัยช่างผ่านไปไว ฉันรู้สกึ ว่ามันสั้นไปแต่ถ้าจะให้ อยู่ต่ออีกเทอมก็ไม่เอาดีกว่า ฉันรู้สกึ ว่าที่แม่ฉันเสียใจต้ อนฉันย้ าย มหาลัยไม่ได้ ทำ� ให้ ทา่ นดีใจน้ อยลงในเมื่อความหวังของพ่อและแม่คือได้ เห็นลูกเรียนจบปริญญา ฉันนั่งนับวันรอ ตั้งแต่วันแรกของการเปิ ดเทอม พวกต้ อมก็ใจหายที่ฉันจะจบก่อนพวกมัน พ่อเพื่อนเคยพูดเล่นว่ายังไม่อยากให้ จบ เลย อยากให้ จบพร้ อมลูกเค้ า ฉันฟังแล้ วตอบไม่ถูกเลยทีเดียว ได้ แต่ย้ ิมรับ ฉันยังนึกไม่ออกว่าจะวางแผนชีวิตยังไง ต่อไป ฉันยังไม่ได้ คิดอะไรเลย อีกใจก็กลัว จะไปท�ำงานอะไรในเมื่อความสามารถเรายังไม่แกร่งพอที่จะไปสู้โลก ภายนอกเค้ าได้ ความทรงจ�ำในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพที่น่ีมสี ่งิ ที่ฉันประทับใจเมื่อมองย้ อนไปคงเป็ นสถานศึกษา และเหล่าเพื่อนรักเพื่อนสนิทของฉัน ยิ่งโตน่าจะต่างคนต่างไป คงไม่มโี อกาสไปเที่ยวกันบ่อยๆ และวัยท�ำงานคงไม่ สบายเท่าวัยเรียนที่มพี ่อแม่คอยส่งเงินให้ ใช้ จนเรากินอยู่สบาย ทุนเรามี 0 จบไปต้ องสร้ างทุนขึ้นมาเป็ นของตัวเอง ฉัน คงต้ องคิดถึงเรื่องราวสมัยเรียนอย่างแน่นอน
เพื่อน 38
Story 4 Years JR BU อรญา พัฒนชาคร “ได้รู้จักค�ำว่าความรัก ซึ่ งความรักครัง้ นีไ้ ม่ใช่ ความรักของเด็ก รักๆเลิกๆ แต่เป็นการมีความสุขทีม่ ีคนข้างๆ อยู ่ด้วยกันตลอดไม่ว่าจะสุขหรือทุกข์”
4 ปี ในมหาวิทยาลัยกรุ งเทพ เป็นสิง่ ทีม่ ีคุณค่าทัง้ มิตรภาพจากเพือ่ น ความรู ้จากอาจารย์ซึ่งอาจารย์ ทุกท่านเต็มทีก่ ับการสอน เจอสิง่ ใหม่ทีไ่ ม่เคยท�ำ คือ การท�ำข่าวและสุดท้ายได้รู้จักค�ำว่าความรัก ซึ่ งความรัก ครัง้ นีไ้ ม่ใช่ ความรักของเด็ก รักๆเลิกๆ แต่เป็นการมีความสุขทีม่ ีคนข้างๆ อยู ่ด้วยกันตลอดไม่ว่าจะสุขหรือทุกข์ ต้ องบอกตามตรงว่า ไม่ได้ ต้งั ใจมาเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพตั้งแต่แรก ตอนแรกติดที่มหาวิทยาลัยบูรพา คณะนิเทศศาสตร์ แต่ใจจริงอยากเข้ าที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พอถึงวันสอบสัมภาษณ์ท่มี หาวิทยาลัยบูรพา สอบ ผ่านจนถึงตรวจสุขภาพเรียบร้ อยแต่พอถึงวันรายงานตัวกลับตัดสินใจไม่ไป และเลือกที่จะมาเข้ าที่มหาวิทยาลัย กรุงเทพ จึงเป็ นจุดเริ่มต้ นของเรื่องราวดีๆในสถานที่แห่งนี้ จุดเริ่มต้ นของการเป็ นนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คือ การเข้ าไปสมัครเรียนที่วิทยาเขตกล้ วยน�ำ้ ไท เลือก เรียนวารสารอย่างมั่นใจ ตอนแรกเลือกลงวารสารสิ่งพิมพ์ แต่ให้ พ่ีเปลี่ยนเป็ นวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ตอนแรกแอบไม่ม่นั ใจในตัวเอง เพราะว่า เสียงพูดไม่ค่อยชัด แต่ใจอยากเป็ นผู้ส่อื ข่าวจริงจึงเลือกที่จะท�ำตามความ ฝันให้ สำ� เร็จ ตอนแรกที่ได้ ตารางเรียนเทอมแรกมา พ่อตกใจท�ำไมเรียนน้ อย เวลาว่างเยอะจัง เพราะตารางเรียนของ มหาวิทยาลัยกับโรงเรียนจะไม่เหมือนกัน โรงเรียนจะเรียนหลายวิชาในวันเดียว พอถึงวันเปิ ดเทอมเข้ าเป็ นนิสติ วารสารเพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ตอนแรกกลัวจะไม่มเี พื่อน จนมีการพบปะกันที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้นท�ำให้ เจอเพื่อนที่เรียนสาขาเดียวกัน แต่เพื่อนที่สนิท เป็ นสิ่งพิมพ์หมดจนมา ถึงห้ องเรียนท�ำให้ เจอเพื่อนที่เรียนวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งเรามีกนั ทั้งหมด 7 คน คือ ดิว อาย ออย ออม มาย ดี้ นิก และเราก็อยู่ด้วยกัน ท�ำงานด้ วยกัน ซึ่งเทอมนี้เป็ นเทอมที่ชิวมาก เข้ าเรียนก็ได้ ไม่เข้ าเรียนก็ได้ ท�ำให้ เกรดเทอมนี้ออกมาไม่ดเี ลย แต่วิชาที่ทำ� ผลงานดีท่สี ดุ กับเป็ นวิชา สถิติ ที่เพื่อนไม่ชอบเรียนกัน วิชาที่ไม่ชอบเรียน มากที่สดุ คือ ภาษาอังกฤษ เพราะว่า เป็ นคนที่ไม่ชอบภาษาอังกฤษตั้งแต่เด็ก เรียนอย่างไงก็ไม่เข้ าใจ คะแนนไม่ดสี กั ที ก็เกิดการท้ อและกลัวการตอบค�ำถามของวิชานี้ แต่มเี รื่องหนึ่งของวิชาภาษาอังกฤษ ที่ทำ� ให้ เบลดีใจที่สดุ คือ การสอบเก็บคะแนนของวิชานี้ เป็ นการสอบ เกี่ยวกับแกรมม่าและการใช้ Verb ช่วย เบลท�ำได้ คะแนนสูงสุดใน Section และที่สำ� คัญเบลชนะคนที่ซ่ิวมาจาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งคนนี้เป็ นคนที่เรียนเก่งมาก จนเพื่อนหลายคนเข้ าใจผิดว่าเบลเก่งภาษาอังกฤษซะงั้น แต่ เทอมนี้มีอกี เรื่องหนึ่งที่ทำ� ให้ ท้งั รุ่นพี่และรุ่นเดียวกันรู้จักเบล ตอนเฉลยพี่เนียน เบลอยู่กบั พี่เนียนตั้งแต่ยังไม่เปิ ด เทอมท�ำให้ สนิทกับพี่มาก พอถึงตอนเฉลยว่าเป็ นพี่เนียนเท่านั้น น�ำ้ ตาแตกเลยค่ะ ไม่คิดว่าตัวเองจะโดน เทอมแรก ของปี 1 ไม่ค่อยมีเรื่องราวอะไรมาก
เรื่อง เรา เล่า 41
มาถึงเรื่องราวดีในปี 1 เทอม 2 กันดีกว่า ปี นี้เป็ นปี ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในการเรียน ตอนแรกก็แอบงง เพราะว่า เทอมนี้มกี ารเรียนแบบ Video Call เรียนผ่านจอและสามารถเห็นหน้ าเพื่อนทุกคน และอาจารย์ แต่การ เรียนแบบนี้มขี ้ อดีตรงที่คนที่บ้านอยู่ไกลไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปมหาวิทยาลัย พอถึงเวลาเรียนก็ออนไลน์เรียนได้ เลย ตอนแรกรู้สกึ แปลกๆมากนี่เราเรียนมหาวิทยาลัย หรือเรียนพิเศษกันแน่น่ี เหมือนการเรียนพิเศษมาก แต่ข้อเสีย ของการเรียนแบบนี้ คือ ท�ำให้ เราไม่มีสมาธิในการเรียนเพราะว่า เราสามารถเล่นอย่างอื่นได้ โดยที่อาจารย์ไม่ร้ ู แต่ใน ความคิดเห็นของฉันการเรียนในห้ องเป็ นสิ่งที่ดที ่สี ดุ เทอมนี้เป็ นเทอมที่พบเพื่อนน้ อยมาก เจอกันแค่ช่วงต้ นเทอมและช่วงปลายเทอมเท่านั้น เทอมนี้เป็ นเทอมที่ เกรดขึ้นสูงมาก ส่งผลให้ เกรดเฉลี่ยสะสมขึ้นมาเยอะมาก แต่วิชาที่เรียนจะเป็ นวิชาแบบพื้นฐานไม่ได้ เจาะลึกมาก แต่ก ็ เริ่มมีวิชาของวารสารเพิ่มขึ้นมา พอได้ เริ่มเรียนวิชาวารสารตัวแรก รู้สกึ ว่าวิชานี้ไม่ใช่เรื่องง่ายๆเลย โดยเรียนการท�ำ แมกกาซีน ซึ่งเบลเลือกเป็ นการเขียนเชิงท่องเที่ยว โดยเลือกสถานที่ คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เนื่องจากสถานที่ สวยงามและควรแก่การอนุรักษ์ อีกทั้งมีเรื่องราวที่สามารถเล่าได้ เป็ นจ�ำนวนมาก เทอมนี้เป็ นอีกครั้งหนึ่งที่ทำ� ให้ เจอผู้ชายดีๆคนหนึ่งคือ รุ่นพี่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เรา เจอกันครั้งแรกที่โรงอาหารกลาง และพี่เขาพยายามหาเฟสเบลจนเราได้ คุยกันรู้จักกันมากขึ้น จนพัฒนาความสัมพันธ์ จากพี่น้อง เปลี่ยนเป็ นคนรู้ใจ และคบกันมาเรื่อยๆ ทุกครั้งที่มปี ัญหาเขาจะคอยอยู่เคียงข้ างเรามาตลอด พี่เขาเป็ นคน ที่ดูแลเราดีมาก ตั้งแต่คบมาไม่เคยโกรธหรือทะเลาะกันแม้ แต่ครั้งเดียว แต่ความรักครั้งนี้กจ็ บ เพราะ ตัวเบลเอง เท อมนี้เบลสมัครเข้ าไปเต้ นหลีดวารสารศาสตร์ แต่เต้ นไปเต้ นมา เบลเครียดเรื่องงาน กลัวจะท�ำงานไม่ทนั เลยขอออก จากการเป็ นหลีด เทอมนี้กจ็ บไปด้ วยดี ปิ ดเทอมไปเที่ยวอย่างสนุกสนาน จนเปิ ด ปี 2 เทอม 1ครั้งแรกที่เปิ ดเทอมคิดว่าท�ำไมเวลาเร็วมาก จากเราพึ่งเป็ นเฟรนซี่ไปได้ ไม่นาน จน เปลี่ยนสถานะ เป็ นพี่ปี 2 ซะแล้ ว เทอมนี้มเี พื่อนใหม่เข้ ามาในกลุ่มคือ น�ำ้ มนต์ แต่เราไม่ได้ เรียนด้ วยกันครบทุกคน เพราะ Section เต็มท�ำให้ นิกกับดี้เรียนคนละวัน แต่เทอมนี้กเ็ ป็ นเทอมแห่งการเปลี่ยนแปลงเสื้อผ้ า การแต่งตัวของ นักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี 1 เทอม1 จะใส่เสื้อนักศึกษาอยู่นอกกระโปรง และใส่กระโปรงพลีทสั้นเหนือเข่า ปี 1 เทอม 2 ใส่เสื้อนักศึกษานอกกระโปรง กระโปรงก็จะเปลี่ยนเป็ นทรงสอบ เอวต�่ำ แต่พอมาถึง ปี 2 เทอม1 เสื้อนักศึกษา ใส่ในกระโปรงทรงพลีท จีบเล็ก ซึ่งเบลท�ำตามทุกเทรน ทุกปี เลยค่ะ เทอมนี้เป็ นเทอมที่เรียนหนักมากอีกเทอมหนึ่ง เรียน 18 หน่วยกิตเลย โดยเทอมนี้เรียนวารสารอย่างจริงจัง การเขียน Lead และ Body ลักษณะLead แต่ละแบบ What Where When Why Whom How ซึ่งเรียนกับอาจารย์ บุปผา ต้ องยอมรับว่าเรียนยากจริงๆ ตอนแรกงงกับการเขียน Lead มาก ไม่ร้ จู ะเริ่มอย่างไง ข้ อสอบก็ยากด้ วย แต่ก ็ ผ่านไปได้ ด้วยดี แต่วิชาที่เพื่อนท�ำกันไม่ได้ เบลกลับท�ำได้ คะแนนดีคือ วิชาEthics ข้ อสอบวิชานี้ต้องอาศัยการใช้ ความ เข้ าใจและความจ�ำเป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งปี นี้วิชาที่ยากมากที่สดุ คืองานวิจัย เพราะว่า งานวิจัยไม่สามารถท�ำครั้งเดียวแล้ ว จบได้ แต่ละสัปดาห์อาจารย์จะสอนวิธที ำ� แต่ละขั้นตอน แล้ วน�ำกลับมาท�ำการบ้ าน ซึ่งเทอมนี้เป็ นเทอมที่อยู่กบั เพื่อน ในกลุ่มบ่อยมาก แต่ไม่ค่อยได้ ออกไปเที่ยว เนื่องจากงานแต่ละชิ้นจะเป็ นงานชิ้นใหญ่ ส�ำหรับเพื่อนในกลุ่มทุกคนเรา ใช้ เวลาอยู่ด้วยกันเยอะทั้งมีเรียนภาคเช้ า และภาคเย็น กินข้ าวด้ วยกันตลอด ไปไหนจะไปเป็ นกลุ่มใหญ่ เทอมนี้เป็ น เทอมที่เข้ าหอสมุดบ่อยมาก เพราะ ต้ องท�ำการบ้ าน และ บางทีจะคลายเครียดด้ วยการดูหนัง พอถึงเวลาสอบเราช่วย กันติวหนังสือและเทอมนี้กจ็ บไปด้ วยดี เพื่อน 42
(ซ้ าย) เพื่อนกลุ่มแรกในมหาวิทยาลัย (ขวา) น�ำ้ มนต์ (คนซ้ าย) เพื่อนใหม่ปี 2
ปี 2 เทอม 2 แล้ วจ้ า ขอเริ่มด้ วยเทรนด์แฟชั่นชุดนักศึกษาของเทอมนี้ก่อนเลย เทรนด์ช่วงนี้จะเป็ นชุด นักศึกษาใส่ในกระโปรง กระโปรงแบบพลีทสั้นแต่เป็ นจีบแบบสวิท คือจีบใหญ่แบบกระโปรงนักเรียน เทอมนี้เรียน การถ่ายภาพวารสารศาสตร์ โดยใช้ กล้ อง DSLR ต้ องยอมรับว่าไม่เคยใช้ กล้ องมาก่อน เป็ นครั้งแรกที่เรียนถ่ายภาพ อาจารย์สอนวิธใี ช้ F-stop Shutter speed และ ISO การถ่ายภาพแบบชัดลึก ชัดตื้น การถ่ายผ่านแฟรม และน�ำภาพ มาเล่าเรื่อง ซึ่งการเรียนถ่ายภาพในครั้งนี้สามารถน�ำมาประยุกต์กบั การถ่ายวิดโี อ สารคดีเชิงข่าวได้ เทอมนี้วิจัยมา อีกแล้ ว แต่คราวนี้เป็ นงานวิจัยวารสารศาสตร์ ให้ ทำ� ข้ อหัวที่เกี่ยวกับด้ านข่าว โดยกลุ่มเบลเลือกที่จะท�ำรายการเรื่อง เล่าเสาร์ อาทิตย์ เพราะว่ากลุ่มเป้ าหมายที่อาจารย์กำ� หนด คือ นักศึกษาแต่ละคณะในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงเลือก เพราะ วันเสาร์ อาทิตย์ซ่ึงส่วนมากนักศึกษาหยุดเรียนมีโอกาสได้ ดูมากที่สดุ จึงเป็ นจุดเริ่มต้ นของความรักในครั้งนี้ เบลรับผิดชอบให้ แจกแบบสอบถามที่คณะนิตศิ าสตร์ เดินหาคนที่เรียนคณะนิตยิ ากมาก จนได้ เจอห้ องเรียน ของคณะนิตศิ าสตร์ และแจกแบบสอบถามให้ เพื่อนในคณะนิติ จนท�ำให้ เราสองคนได้ เจอกัน และแลกเปลี่ยนเบอร์ กัน จนเขามาเห็นเบลอีกทีท่งี าน English Fun Fair เต้ นเพลงเกาหลี ซึ่งไม่เคยเต้ นมาก่อน เต้ นไปอายไปเลยทีเดียว ซึ่ง หนุ่มนิตกิ เ็ ห็นเบลเต้ นจึงไปจุดเริ่มที่เราคุยกัน ซึ่งเขาเป็ นคนที่น่ารักมาก แต่ไม่ค่อยแสดงความรู้สกึ ออกมาเนื่องจาก เขาเขิน อาย แต่มคี วามสุขทุกครั้งที่ได้ อยู่กบั เขา เปิ ดเทอมปี 3 เทอม1 เป็ นอีกเทอมหนึ่งที่มคี วามสุขตั้งแต่เปิ ดเทอม เมื่อเราเจอคนที่ร้ ใู จ ไม่เคยคิดมาก่อน ว่าจะคบกับใครที่เรียนวิศวะ แต่เหมือนกับยิ่งเกลียดก็ย่ิงได้ ส่งิ นั้น แต่โชคดีมากที่ครั้งหนึ่งเราได้ เจอกัน เขาไม่ใช่ผ้ ูชาย ในสเปค แต่ด้วยนิสยั ความขี้เล่น น่ารักแล้ วคนนี้เหละ ขี้อาย และเป็ นผู้ชายคนแรกที่เบลยอมเปิ ดตัวกับเพื่อนและรัก คนนี้มาก เราดูแลกันมาจนตลอด และโชคดีมากที่เราได้ คบกัน เทอมนี้เป็ นเทอมที่เรียนหนักมาก มีเขาเป็ นก�ำลังใจ และเป็ นครั้งแรกที่ทำ� งานสารคดี เรื่องม็อบอุรพุ งษ์ เป็ น เรื่องที่ยากมาก ตอนแรกถ่ายภาพมาไม่โฟกัสทั้งหมด ท�ำให้ ต้องไปถ่ายภาพใหม่ และได้ ร้ จู ักการพูดคุยกับแหล่งข่าว ลักษณะการถามค�ำถาม ซึ่งเป็ นงานหนึ่งที่เราได้ หาความรู้ด้วยตนเอง ได้ ลองผิดลองถูกด้ วยตนเอง รู้จักการแก้ ไข ปัญหา มาถึงการเขียนบทเป็ นสิ่งที่ยากมากเพราะ ไม่ร้ วู ่าจะเริ่มที่ส่วนไหน ควรเขียนอะไรก่อน หลัง สารคดีเชิงข่าวคือ อะไร และข่าวประกอบเสียงคืออะไร และเทอมนี้ทำ� ให้ ร้ จู ักการท�ำwix ครั้งแรก ลองผิดลองถูก จนถึงตี4 แต่กเ็ ป็ น ประสบการณ์ดๆ ี และท�ำให้ เราจ�ำได้ แม่นย�ำมากขึ้น และเป็ นครั้งแรกที่ต้องคิดประเด็นข่าวเป็ นงานคู่และออกไปท�ำ เรื่อง เรา เล่า 43
ท�ำสารคดีครั้งแรกตอนปี 3 เรื่องการชุมนุมที่อรุ พุ งษ์
ข่าวในมหาวิทยาลัย ท�ำให้ เรารู้จักการติดต่อแหล่งข่าว ลักษณะการถามค�ำถาม การถ่ายวิดโี อ และการตัดต่อ ซึ่งหนูตดั ข่าวเป็ นอย่างไม่น่าเชื่อเพียงแค่ระยะเวลาแปปเดียว และการเข้ าสตูดโิ อครั้งแรก รู้จักการใช้ เครื่องมือในการท�ำข่าว ทั้ง กล้ อง และอุปกรณ์ในห้ องคอนโทรข้ างบน การรันสตูดโิ อข่าวครั้งแรก ซึ่งอาจจะมีถูกบ้ าง ผิดบ้ างแต่กเ็ ป็ นความรู้อกี แบบหนึ่ง ซึ่งเทอมนี้ถอื ได้ ว่าเป็ นเทอมที่ได้ ประสบการณ์ทางด้ านวารสารอย่างเต็มที่ ทั้งประสบการณ์ในห้ องเรียนและ ประสบการณ์นอกห้ องเรียน เข้ าสู่ปี 3 เทอม 2 ดีใจมากเทอมนี้ได้ ร้ จู ักรุ่นพี่วารสารหลายๆคน พูดคุยกันจนสนิทกัน พี่ทุกคนน่ารักใจดี มากคอยช่วยเหลืองานน้ องตลอด เป็ นเทอมที่มแี ต่งานชิ้นใหญ่ๆ ทั้งสารคดีเชิงข่าว เรื่องโพงพาง ซึ่งงานนี้ตอนแรกจะ ลงพื้นที่จันทบุรีท่มี โี พงพางทะเลขนาดใหญ่หลายๆแห่ง ซึ่งมีการใช้ เครื่องมือนี้อย่างไม่เกรงกลัวกฎหมาย โดยที่เบล ดิว อาย ลงพื้นที่ไปเรียบร้ อยแล้ ว พอจะสัมภาษณ์กรมประมงที่จันทบุรีต้องท�ำจดหมายขออนุญาตที่กรมประมงใหญ่ แถวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และรู้วันนั้นเลยว่าจะมีการรื้อถอนโพงพางที่สมุทรสงครามพรุ่งนี้ ท�ำให้ ต้องเปลี่ยน ประเด็นมาที่สมุทรสงคราม ท�ำให้ ร้ จู ักเจ้ าหน้ าที่กรมประมงหลายๆท่าน ทุกคนน่ารักมาก และเขามีความสุขที่เราลงไป กับเขา เพราะว่า การท�ำงานในลักษณะนี้เป็ นการท�ำงานที่เครียดและกดดัน กรมประมงไม่อยากรื้อถอนเครื่องมือการ ท�ำมาหากินของชาวบ้ านแต่กต็ ้ องรื้อถอนเพราะผิดกฎหมาย ซึ่งทุกคนน่ารักมาก ทุกวันนี้เจ้ าหน้ าที่กรมประมงยังไลน์มาหาเลย และ อีกงานชิ้นหนึ่งเป็ นประสบการณ์ท่ยี ากคือ การท�ำสกูป๊ ข่าวเชิงสืบสอนสอบสวนของพี่หนึ่ง เรื่อง เสื้อวินมอเตอร์ไซค์ เป็ นเรื่องที่ยากมาก ที่จะออกมาในรูปแบบไหนดี เพราะ เป็ นเรื่องที่เสี่ยงและยากที่จะได้ คำ� ตอบจากแหล่งข่าว แต่กผ็ ่านไปได้ ด้วยดี พี่หนึ่งเป็ นอาจารย์ท่นี ่ารัก คอยให้ คำ� แนะน�ำตลอด จะไม่บอกตรงๆให้ ไปท�ำอะไร แต่จะแนะน�ำเป็ นแนวทางว่าควรออกมาในรูปแบบไหนดี และเอางาน ของพี่หนึ่งให้ ดูเป็ นตัวอย่าง เทอมนี้กจ็ บไปได้ ด้วยดี
เพื่อน 44
ฝึ กงานที่ช่อง 7
ช่วงปิ ดเทอมซัมเมอร์เป็ นช่วงที่มคี วามสุขและประทับใจมากๆ ได้ ฝึกงานที่ช่อง 7 ฝ่ ายผู้ส่อื ข่าวการเมือง ได้ รู้จักพี่ผ้ ูส่อื ข่าวต่างช่อง และทีมงานทุกคน ภูมใิ จที่ได้ เป็ นสื่อหนึ่งในการผลิตข่าวสารให้ ผ้ ูชมได้ ร้ คู วามจริง สถานการณ์ ต่างๆที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั พี่ทุกคนทีมโต๊ะข่าวการเมืองเป็ นกันเองมาก โดยเฉพาะ บก.การเมืองน่ารักมาก เป็ นกันเอง ตอนแรกทัศนคติการมองการเมืองของเบลกับพี่โจไม่ตรงกัน แต่พ่ีโจก็อธิบายเหตุผลที่เขาคิดแบบนี้คืออะไร ใช้ เหตุผล ข้ อเท็จจริงในการพูดคุยกัน โดยไม่ต้องเกิดเรื่องทะเลาะเพราะคิดไม่เหมือนกัน และดีใจที่เป็ นส่วนหนึ่งใน ช่อง7 ได้ แสดงฝน ฟ้ า อากาศ การที่ได้ ฝึกงานช่อง 7 นอกจากการได้ ความรู้นอกห้ องเรียน รู้จักระบบการท�ำงาน ได้ ทดลองงานจริง และได้ มติ รภาพดีๆจากพี่ผ้ ูส่อื ข่าวและพี่ช่อง7ทุกคน รักสถานที่และมิตรภาพมากค่ะ เปิ ดเทอมปี 4 เทอม 1 เทอมนี้ได้ ความรู้ต่างๆมากมาย เริ่มจากงานโปรเจคจบ JR309 ให้ คิดรายการ ซึ่ง เครียดตั้งแต่คิดรายการว่าจะท�ำเรื่องอะไร พร้ อมบอกเหตุผล ต่อไปบทที่1 ซึ่งแก้ หลายรอบมากกว่าค�ำจะสวยงามน่า ฟัง จนถึงบทที่ 3 ที่ต้องผลิตรายการจริง เริ่มคิด 10 ตอน ที่จะท�ำ และเลือกตอนแรกโดยการเขียนบท ติดต่อแหล่ง ข่าว และลงมือถ่ายท�ำ ซึ่งการเขียนบท ติดต่อแหล่ง และถ่ายท�ำไม่ใช่เรื่องยาก เพราะ เคยผ่านการท�ำสารคดีมาก่อน เลยรู้จักขั้นตอนต่างๆ ลักษณะการพูดคุย และตอนแรก คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เรื่องภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ ยาวที่สดุ ในโลก มีปัญหาที่การถ่ายท�ำและด�ำเนินรายการ ซึ่งไม่สามารถที่จะสัมภาษณ์ภายในภาพจิตรกรรมฝาผนัง และถ่าย ท�ำในแต่ละครั้งต้ องขออนุญาต และระบุวันเวลาอย่างชัดเจน ห้ ามบอกเป็ นช่วง ท�ำให้ การถ่ายท�ำในแต่ละครั้งมีความ ยากล�ำบากและต้ องมีกำ� หนดการที่ชัดเจน ส่งผลให้ ยังไม่สามารถท�ำเรื่องทีละหลายๆวันได้ แล้ วต้ องเปลี่ยนแผนใหม่ หลายรอบ เนื่องจากการด�ำเนินรายการในบริเวณที่มภี าพจิตรกรรมฝาผนังนั้นท�ำไม่ได้ แต่กผ็ ่านพ้ นไปด้ วยดี
เรื่อง เรา เล่า 45
สิ่งที่ประทับใจต่อมา คือ การได้ เรียนรู้วิธกี ารจัดรายการวิทยุ ลักษณะรายการ แสดงการใช้ โปรมแกรมจัด รายการวิทยุ และ สิ่งสุดท้ ายที่ประทับใจการท�ำข่าวงาน open house ซึ่งแบ่งงานรับผิดชอบแต่ละคณะ โดยงานชิ้นนี้ เหมือนการท�ำข่าวช่องทีวีจริง ซึ่งต้ องใช้ ความรวดเร็วระมัดระวังและรอบคอบให้ ได้ มากที่สดุ เข้ าปี 4 เทอม 2 เปิ ดเทอม แต่เทอมนี้มกี ารท�ำติดตามชีวิตชาวโปรตุเกสที่โบสถ์ซางตาครู้ส พบแหล่งข่าวที่ น่ารัก แต่โชคดีท่ไี ด้ ประเด็นนี้ เพราะ เราเคยเข้ าไปคุยกับแหล่งข่าวก่อน ท�ำให้ แหล่งข่าวจ�ำเราได้ ส่งผลให้ เรื่องทุก อย่างง่ายขึ้นและการรันสตูข่าววิทยุ เบลจัดรายการข่าวบันเทิง รายการแฉหลังไมค์กบั มณี เป็ นประสบการณ์ใหม่ท่ไี ม่ เคยท�ำมาก่อน สนุกในการจัดรายการซึ่งเป็ นอีกรูปแบบหนึ่งที่แตกต่างจากการจัดรายการทีวี ซึ่งอีกแค่ไม่ก่วี ันก็จบ แล้ ว หนูจะเก็บมิตรภาพที่ดไี ว้ และจะเรียนจบให้ ได้ เกียรตินิยมอันดับ1 เป็ นของขวัญชิ้นพิเศษมาฝากที่คุณพ่อ คุณ แม่ ได้ ภาคภูมใิ จในตัวลูกคนนี้
เพื่อน 46
เรื่อง เรา เล่า 47
Part 2
ความทรงจ�ำ
สิ่งที่ไม่อาจลืม
เกวลิน สุวรรณดี
“ การเรียนมันก็ต้องมีท้อกันบ้าง มีเหนื่อย การท�ำงานจริงเราอาจจะต้องเจอเยอะกว่านี้ก็ได้ เลยท�ำให้ลองสู้และเรียนต่อไป ”
ความทรงจ�ำแรกที่ตัดสินใจเข้ามาเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ในคณะนิเทศศาสตร์ เลือกภาค วารสารศาสตร์ วิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ ชื่ อยาวเลือกเลย ตอนนัน้ ก็สับสนระหว่างภาควิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ รุ่นพี่ท่ใี ห้ค�ำแนะน�ำว่าเราเลือกภาคนี้แน่นะ เราก็ตอบเลยว่า ค่ะพี่อย่างมั่นใจ วันรับน้ องก็ได้ เจอเพื่อนๆหลายคน และก็ได้ ร้ วู ่าภาคที่เราเรียนมันแยกฝั่งกัน ปริ้นท์กบั บอร์ดก็ได้ เจอรุ่นพี่ หลายๆคนมาบอกเล่าประสบการณ์ ได้ เข้ าสตูดโิ อใหญ่ ดีใจที่ได้ เข้ าสตู ยังคิดเลยว่า นี่เราจะได้ เรียนในนี้จริงๆใช่ไหม ก็ได้ เจออาจารย์ในภาควิชามาอธิบายถึงการเรียนการสอนในภาค ว่าจะได้ เรียนท�ำหนังสือพิมพ์ เป็ นผู้ประกาศ ท�ำ สารคดี วันนั้นก็ได้ ทำ� กิจกรรมต่างๆ เจอเพื่อนหลายคน เพื่อนคนแรกที่ร้ จู ักคือเนย รู้จักคนแรกเลยจากการหาเพื่อน ในโซเชียล และก็ได้ ร้ จู ักกับหลายๆคน ผักบุ้ง หมิว ใหม่ ตุ้ม โอ๊ต และอีกหลายๆคน วันนั้นคือเอาโรตีสายไหมไปฝาก ให้ เพื่อนๆกินด้ วย แต่กว่าจะได้ กนิ เส้ นเริ่มละลายแล้ ว ปี 1 เป็ นช่วงที่เปิ ดเทอมมีกจิ กรรมเยอะ วันที่ไปรับน้ องใหญ่ท่ี ธรรมศาสตร์กไ็ ด้ ไปกับเพื่อนคนใหม่ท่สี นิทกันจากเฟสบุค๊ คือ ติ๊ก ตอนนั้นติ๊กเรียนภาคประชาสัมพันธ์ได้ วันนั้นโทร หาใครไม่ตดิ เลย จึงนั่งคู่กนั ในงาน ก็ได้ ร้ จู ักกันมากขึ้น แล้ ววีรกรรมที่ยังจ�ำได้ ในวันนั้นคือบอกกับพี่ว่าขอกลับก่อน บ้ านอยู่ไกล ช่วงปี 1 คือรีบกลับบ้ านมากเพราะกลัวรถหมด หลังจากวันนั้นก็ชวนติ๊กย้ ายภาคมาเรียนด้ วยกัน แล้ วเราก็สนิทกันเวลาเรียนเราจะเรียนรวมกันก่อน เป็ นก ลุ่มใหญ่มากเวลาไปเรียนก็เดินกันไปเป็ น 10 คน แต่กม็ บี างวิชาที่ต้องแยกกันเรียนอย่างวิชาภาษาอังกฤษก็แยกกันไป วิชาที่เข้ าเรียนประจ�ำแบบไม่เคยโดดคือวิชาStatistical Analysis เรียนตอนเช้ า คิดในใจเราหนีมาจากมัธยมแล้ วยัง ต้ องเจอกับคณิตอีกหรอ พยายามตั้งใจเรียนมากๆไม่กล้ าโดดจริงๆกับวิชานี้ ตอนนั้นจะเรียนตึกข้ างหน้ าที่น่ังเยอะและเป็ นที่น่ังคู่ ท�ำแบบฝึ กหัดตลอดเวลา และอีก 1 วิชาที่ลืมไม่ได้ เลย วิชา CA101 วิชานี้คือเราต้ องเรียนเกี่ยวกับการศึกษาเบื้องต้ นทั้งหมด เป็ นวิชาเลกเชอร์โดนแล้ วเรียนไม่ร้ เู รื่องคนเข้ า เรียนกันเต็มทุกครั้ง และจะต้ องไปดูละครเวที 2 เรื่อง เลือกไปดูกนั วันเสาร์เหมือนเราก็เพิ่งเคยดูละครเวทีครั้งแรก ด้ วยก็ต่นื เต้ น เรื่องแรกเป็ นภาษาอังกฤษ เรื่องที่สองเป็ นภาษาอีสาน พอมาถึงตอนท�ำรายงานก็ช่วยกันวิเคราะห์แต่ มึนตึบเลยเจอ 2 ภาษาเข้ าไปเราต้ องตีความให้ ได้ ก็ช่วยกันท�ำงานเข้ าห้ องสมุดบ่อยมากตอนนั้น วิชาที่เรียนสนุกมากในปี 1 คือ CA106 การตลาดเรียนสนุกมากๆ อาจารย์ใจดี เข้ าเรียนครบ ปี 1 บอกเลย แทบไม่ได้ โดดเรียนไปไหน เทอม 1 ก็เริ่มสนิทกับเพื่อนๆมากขึ้นโดยเฉพาะการลงทะเบียนเรียนครั้งแรกในการเรียน มหาวิทยาลัยตอนนั้นจะจัดเป็ นเซตให้ เลือกกันก่อน ก็มแี ยกกันบ้ างในเทอมที่ 2 แต่กเ็ จอกันในวิชาที่เรียนรวมกัน ใหญ่ๆก็ไม่เป็ นไรยังมีเพื่อน ตื่นเต้ นมากๆตอนกดลงทะเบียน ช่วงวันสอบเป็ นช่วงที่เริ่มมีข่าวน�ำ้ ท่วม เราอยู่อยุธยาก็ หวั่นๆว่าจะมาสอบได้ ไหม น�ำ้ ท่วมเยอะมาก ในปี นั้นเราสอบเสร็จวันที่ 8 สิหาคม 2554 แล้ วอีกวันน�ำ้ ท่วมบ้ านพอดี แต่กไ็ ม่เป็ นไรช่วงปิ ดเทอม แต่เหตุการณ์นำ�้ ท่วมก็ทำ� ให้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพโดนน�ำ้ ท่วมเช่นกัน ก็เลยท�ำให้ มหาวิทยาลัยต้ องปิ ดยาวนานไปอีกจนถึงเดือนมกราคม
เรื่อง เรา เล่า 51
(ซ้ าย) เพื่อนกลุ่มแรก (ขวา) ติ๊กเพื่อนสนิท
พอเปิ ดเทอมปี 1 เทอม 2 ก็มกี ารเรียนการสอบที่ปรับเปลี่ยนไปจากเดิมเยอะเพราะจะต้ องเรียนแค่ 3 เดือน แล้ วเกือบทุกวิชาไม่มสี อบกลางภาคปลายภาค เราก็สบายสิเทอมนี้ มาเรียนสัปดาห์เว้ นสัปดาห์เพราะห้ องเรียนยังไม่ พร้ อม เราก็ต้องนับตารางวันที่เรียนให้ ดู ช่วงนั้นสบายมากส่วนใหญ่จะเรียนที่บ้าน วิชาภาษาอังกฤษก็ต้องไปเรียนใต้ โถงหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ รวมเรียนกันทุกเซคคนเยอะมากเรียนไม่ร้ เู รื่อง แต่กไ็ ด้ ร้ จู ักกับนวัตกรรมใหม่กบั การเรียนผ่านwebex แรกๆงงมากเรียนอะไรผ่านเว็บไซด์เหรอ แต่มนั ทันสมัยมากนะตอนนั้น เอาไปโม้ กบั เพื่อน การเรียน webex มันก็คล้ ายๆกับเราเล่นเว็บแคมกับอาจารย์ มีการเช็คชื่อถามตอบกัน สนุกดีนะ แรกๆเกร็ง มากเขินจริงๆใส่ชุดนักศึกษาพร้ อมมาก แต่พอหลังๆเห็นเพื่อนใส่ชุดธรรมดาก็ใส่ตามแล้ วเราเรียนตอนเช้ าด้ วยชุด นอนอหน้ าแต่ละคนสะลึมสะลือได้ ท่จี ริงๆ ก็สนุกดีในเทอมนี้ได้ ทำ� อะไรแปลกใหม่หลายๆอย่าง เรียนจบปี 1 ไปอย่างสบายๆเริ่มปรับตัวมากขึ้น เข้ าสู่ปี 2 ก็มกี ารเปลี่ยนแปลงอีกกับการเรียนคือ มหาวิทยาลัยเปลี่ยนไปเปิ ดเทอมแบบอาเซียนคือเดือนสิงหาคม เราก็โห่ ปิ ดเทอมนานมากเลยนะตั้ง 6 เดือน ตอนนั้น คือไม่ร้ กู ป็ ล่อยให้ เวลาผ่านไปอย่างว่างๆไม่เรียนซัมเมอร์อะไรทั้งนั้น ช่วงปิ ดเทอมก็เริ่มเข้ ามาช่วยงานภาคบ้ างแต่ไม่ ได้ ช่วยมากเข้ ามาประชุมเพราะตอนนั้นงานภาคยังไม่ได้ เป็ นงานของปี 1 เต็มตัว เข้ ามาให้ กำ� ลังใจเพื่อนในงานแสดง รับน้ องคณะนิเทศศาสตร์ เปิ ดเทอมปี 2 ก็เริ่มเรียนกันเป็ นกลุ่มเล็กๆเพิ่มขึ้น ที่เคยจับกลุ่มกันใหญ่เริ่มเหลือเป็ นกลุ่มเล็กๆ และก็เริ่ม เรียนแตกออกมาที่เป็ นวิชาภาคเริ่มเรียนเขียนข่าวแล้ วในขั้นพื้นฐาน เริ่มรู้จักว่าการเขียนข่าวเป็ นยังไง เรียนการเขียน นิตยสาร เรียนเรื่องการพูด เทอมนี้เรียนสนุกมากๆ และขอบอกเลยว่า วิชาการพูดเป็ นวิชาหนึ่งเลยที่ทำ� ให้ เราได้ กล้ า แสดงออกมากขึ้นจริงๆ และก็ได้ ร้ จู ักเพื่อนมากขึ้น เพราะปกติจะเป็ นคนที่ไม่กล้ าออกไปพูดหน้ าห้ องหรือท�ำอะไร แบบนี้เลย เป็ นวิชาที่เปิ ดโอกาสให้ เราออกไปพูดเล่าประสบการณ์ต่างๆหน้ าห้ อง รวมถึงเป็ นพิธกี ร 1 รายการ เป็ น รายการคู่กท็ ำ� เลย 1 รายการคู่กบั ติ๊ก ฟรีสไตล์กจ็ ัดไปเลยเกาหลี ตอนนั้นสนุกมากเพราะเพื่อนทุกๆคนก็ต้องออกไปท�ำ แต่ท่จี ำ� ได้ เลยวันนั้นเป็ นวันที่เพื่อนครึ่งที่ 2 ต้ องมาสอบรายการแล้ วเพื่อนบางส่วนไม่มา แล้ วเพื่อนออกไปสารภาพรัก กันหน้ าห้ องก็ขำ� ๆดี เทอมนี้สนุกสนานได้ ร้ จู ักเพื่อนและสนิทไปกันอีก 1 ขั้น ความทรงจ�ำ 52
พอเปิ ดเทอมปี 1 เทอม 2 ก็มกี ารเรียนการสอบที่ปรับเปลี่ยนไปจากเดิมเยอะเพราะจะต้ องเรียนแค่ 3 เดือน แล้ วเกือบทุกวิชาไม่มสี อบกลางภาคปลายภาค เราก็สบายสิเทอมนี้ มาเรียนสัปดาห์เว้ นสัปดาห์เพราะห้ องเรียนยังไม่ พร้ อม เราก็ต้องนับตารางวันที่เรียนให้ ดู ช่วงนั้นสบายมากส่วนใหญ่จะเรียนที่บ้าน วิชาภาษาอังกฤษก็ต้องไปเรียนใต้ โถงหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ รวมเรียนกันทุกเซคคนเยอะมากเรียนไม่ร้ เู รื่อง แต่กไ็ ด้ ร้ จู ักกับนวัตกรรมใหม่กบั การเรียนผ่านwebex แรกๆงงมากเรียนอะไรผ่านเว็บไซด์เหรอ แต่มนั ทันสมัยมากนะตอนนั้น เอาไปโม้ กบั เพื่อน เวลาที่มาถึงในการลงทะเบียนเทอม 2 ก็เริ่มเป็ นกลุ่มมากขึ้นลุ้นทุกครั้งที่ลงเพราะรหัสนักศึกษาอยู่กลางๆ ก็ จะลงทัน แต่เพื่อนๆในกลุ่มรหัสนักศึกษาอยู่ท้ายๆก็เสียวกันมากว่าจะลงไม่ทนั แต่กล็ งกันทันเพราะยังลงแบบเซตกัน อยู่ เทอม 2 ก็เรียนเจอกันเยอะขึ้น เทอมนี้จะต้ องเรียนวิชาตรรกะ ยอมกับวิชานี้จริงๆทุกครั้งที่เข้ าเรียนคือไม่ร้ เู รื่อง เลย และอาจารย์กไ็ ม่ค่อยเช็คชื่อบางครั้งก็โดดเรียน นิสยั ไม่ดมี าก ช่วยไม่ได้ จริงเรียนไม่ร้ เู รื่อง ที่แย่ท่สี ดุ คือช่วงสอบ กลางภาค คะแนนออกมาได้ 4 คะแนน โอ้ โห้ โคตรแย่ 4 เต็ม 30 นะ ท�ำได้ ยังไง ฮ่าๆๆๆ แต่กร็ อดผ่านพ้ นวิชานี้มาได้ แม้ จะเกรดไม่สวยเท่าได้ ต่อมาเป็ นอีก 1 วิชาที่เรียนแล้ วสนุกและท�ำให้ เราต้ องตื่นตัวตลอดเวลาในการท�ำข่าวคือวิชา JR440 ในตอน เช้ าก่อนเข้ าเรียนจะต้ องทวิตข่าว 1 ข่าวที่เจอแล้ วติดแฮชแทก #JR440 ท�ำทุกเช้ า เหมือนกันการฝึ กให้ เราช่างสังเกต เหตุการณ์และได้ ใช้ โซเชียลให้ เป็ นประโยชน์ และได้ ร้ จู ักวิธกี ารวิเคราะห์ข่าวน�ำมาเขียนบทข่าววิทยุโทรทัศน์ รู้จักการ ท�ำมายแมพแตกประเด็นออกมาจากบทความข่าวที่เราอ่าน และที่สำ� คัญวิชานี้ทำ� ให้ เรารอบคอบด้ วยต้ องตรวจค�ำผิด ทุกครั้งก่อนส่งไม่ง้นั จะโดนสั่งคัด 100 จบ แต่ไม่เคยโดนนะ ช่วงเลือกวิชาโทด้ วยจะเลือกกันในปี 2 มุ่งมั่นมากเลือกเรียนโทบรอดแคสติ้งเลย เพราะเริ่มรู้ความแตกต่าง ของภาคตัวเองแล้ วว่าเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้ าง เทอมนี้ได้ เรียนถ่ายภาพนิ่งด้ วย จากที่ถ่ายรูปไม่เป็ นเลยก็เริ่มถ่ายรูป เป็ น ดูแสงเป็ นได้ ถ่ายรูปพื้นฐานหลายแบบน�ำไปปรับใช้ ได้ เยอะขึ้น อ่อ! เกือบลืมเล่าเรื่องฉายาตัวเองที่ทุกคนเรียก “ป้ า” ถ้ าจ�ำไม่ผดิ ได้ มาตอนปี 2 หรือเปล่า ตอนออกไปพรี เซ็นงานบัตรบลูการ์ดแล้ วแสดงบทบาทสมมติ เพื่อนเลยเรียกว่าป้ าเพราะขี้บ่นด้ วย ฮ่าๆๆ เล่าแค่น้ ีแหละที่มา
ป้ าเองค่ะ เรื่อง เรา เล่า 53
ทีมแข่งสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 (กลาง) ออม และ (ขวา) ติ๊ก
และยังมีวิชา JR305 ที่ต้องท�ำสกูป๊ ข่าวอีก ท�ำกัน 3 เรื่องไม่ซำ�้ กันเลยท้ าทายความสามารถกันสุด เอาจริงปี 3 เป็ นปี ที่เหนื่อยมากทั้ง 2 เทอม จนคิดว่าอยากย้ ายภาคเลยด้ วย คิดว่าทางนี้ใช่ตวั เราหรือจริงๆหรือป่ าว แต่กค็ ิดเรา เรียนมาขนาดนี้แล้ วเราต้ องเรียนจบสิ การเรียนมันก็ต้องมีท้อกันบ้ าง มีเหนื่อย การท�ำงานจริงเราอาจจะต้ องเจอเยอะ กว่านี้กไ็ ด้ เลยท�ำให้ ลองสู้และเรียนต่อไป ได้ ทำ� งานข่าวจริงๆด้ วยในงานปัจฉิมของปี 4 วันนั้นวิ่งวุ่นท�ำข่าวการแสดงตามคณะถึงเที่ยงคืนเลย แต่กไ็ ด้ ประสบการณ์เยอะมาก และอีกงานที่ได้ ทำ� ก็คือ งานรับปริญญาก็ถ่ายรูปเก็บภาพบรรยากาศของงานซ้ อมรับปริญญา ช่วงปี 3 เทอม 2 เราต้ องยื่นเอกสารขอฝึ กงาน อีก ก็กระจายกันไปในแต่ละที่ได้ คุยกันในกลุ่มเพื่อนไปฝึ กที่ไหนสรุปไปฝึ กงานที่เว็บไซต์ Sanook.com ที่ไปฝึ กด้ วย กันก็มี ติ๊ก หมิว ขวัญ ได้ ไปท�ำในส่วนของงานโปรดักส์ช่ัน ได้ ประสบการณ์มาเยอะมากจากการฝึ กงาน เปิ ดเทอมปี 4 เทอม 1 มีงานท�ำสารคดี 1 เรื่องและสารคดีวิทยุและข่าว และโปรเจคจบที่เป็ นสารนิพนธ์ 1เรื่อง ตอนนั้นกลัวมากเราจะท�ำงานเสร็จทันไหม ประเด็นเราจะผ่านหรือเปล่า เป็ นกังวลหลายๆเรื่อง แต่กผ็ ่านมา ด้ วยดีสำ� หรับโปรเจคจบ ท�ำเป็ นรายการ 1 รายการที่ท้งั ลงมือถ่ายเอง เป็ นพิธกี ร ตัดต่อเอง ก็สนุกปนเหนื่อยและ เทอมนี้ยังได้ ไปช่วยเพื่อนถ่ายงานอีกด้ วยจะได้ เรียนจบพร้ อมๆกัน ส่วนงานสารคดีเชิงข่าวเทอมนี้งานเบาลงมาเพราะน�ำเรื่องเดิมมาท�ำแต่เพิ่มเรื่องติดตามต่อของประเด็นจ่าย ค่าเยียวยา ลงพื้นที่เพิ่มเติม เทอมนี้ต้องจัดรายการวิทยุด้วยด้ วย เป็ น DJ จริงจังครั้งแรกในชีวิตเลยด้ วย และเทอมนี้ ต้ องท�ำงานเป็ นกองบก.ใหญ่ด้วย แบ่งงานกันเป็ นโต๊ะ ท�ำข่าวและงานใหญ่ ที่ต้องท�ำในเทอมนี้คืองาน BU Sport Day กับ BU Open House แบ่งงานกันไปท�ำในจุดต่างๆ ที่ ประทับใจที่สดุ คือการท�ำงาน BU Open House เพราะทุกคน แยกย้ ายกันไปท�ำข่าวแต่ละคณะและ Alert ขึ้นมาที่เพจ Broadcast Journalism 6 ก็ประสบความส�ำเร็จไปด้ วยดี อย่าไปบอกใครนะ ที่ทำ� งานส�ำเร็จใน 3 วันนี้ด้วยธูป 9 ดอกนะจ้ ะ การท�ำงานในเทอมนี้กไ็ ม่ได้ ราบรื่นไปหมด เพราะสอบรันสตูเทอมนี้เป็ นการสอบจัดรายการวิทยุ 6 ชั่วโมง และข้ อผิดพลาดเราไม่ได้ สอบ และเมื่อจัดแบบกอง ความทรงจ�ำ 54
ช่วงฝึ กงานตอนปิ ดเทอมปี 3 ที่ Snook.com
บรรณาธิการกลุ่มใหญ่คนเยอะการแบ่งสรรหน้ าที่อาจจะไม่ได้ ทำ� ครบทุกคนและเกิดปั ญหาที่เราไม่ได้ จัดเตรียมซ้ อม และการใช้ โปรแกรม SAM เลยท�ำให้ การรันสตูครั้งนี้ล่มไป เหมือนเป็ นกันบอกการท�ำงานเราต้ องมีการวางแผนให้ มากกว่านี้ จบไปส�ำหรับเทอม 1 เปิ ดเทอม 2 ปี 4 เป็ นเทอมสุดท้ ายของการเรียนแล้ วเหมือนกับเราต้ องสามัคคีกนั มาก ขึ้นในการท�ำงาน เทอมนี้ใช้ เวลาเรียนเพียงแค่ 3 เดือนเท่านั้นด้ วยเวลาที่จำ� กัดมากเราจะต้ องวางแผนงานให้ ดี เทอมนี้ ก็ได้ ทำ� งานสารดีชิโน-โปรตุกสี ก็ต้องวางแผนงานกันให้ ดดี ้ วยเนื่องจากเวลาที่มขี ้ อจ�ำกัด และต้ องรันสตูข่าวทั้งหมด ของเทอมที่แล้ วและรายการที่ทำ� ในโปรเจคจบ รวมถึงรายการสดที่ต้องถ่ายเพื่อมาร้ อยกันเป็ นสถานีข่าว และรันสตู วิทยุท่ที ำ� ไม่สำ� เร็จเมื่อเทอมที่แล้ วครั้งนี้ได้ ปรับปรุงและท�ำส�ำเร็จแม้ จะมีตดิ ขัดบ้ างเล็กน้ อย
เรื่อง เรา เล่า 55
ตัง้ ใจและพยายาม ชญานี ทาดากิ
“คนเราน้อยแต่เราก็ยังรักกัน ไม่ว่าจะรักมากหรือ รักน้อย แต่ก็ถือว่าเป็นสายพันธ์ท่ไี ม่มีวันขาดได้”
ปี 1 เทอม 1 หลังจากจบมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนบดินทรเดชา สิงห์ สิงหเสนี 2 ก็ได้สมัครเข้า มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะ นิเทศาสตร์ ภาควิชา วารสารศาสตร์ ส่วนเหตุผลที่เลือกคณะนี้เนื่องจากตอน ที่ได้สมัครนัน้ ได้เหลือแค่เพียง ภาควิชา โฆษณา สื่อสารตรา และ วารสารศาสตร์ เหตุผลหลักๆคือมีความ สนใจในด้ า นนี้ พ อสมควรและมี เ พื่ อ นจากมั ธ ยมปลายเรี ย นด้ ว ยจึ งได้ ตั ด สิ นใจว่ า จะเรี ย นภาควิ ช า วารสารศาสตร์ หลังจากสมัครเสร็จเรียบร้ อยก็ได้ มางานปฐมนิเทศและงานรับน้ องตามล�ำดับ ซึ่งการมาท�ำกิจกรรมเหล่านี้ ท�ำให้ ได้ พบปะ รุ่นพี่ปี 3 และ 4 ในคณะของเราถือว่ามีคนน้ อยมากแต่พวกเขาก็ร่วมใจกันท�ำงานอย่างเต็มที่เพื่อคณะ ของเรา และรุ่นน้ องที่เข้ ามาใหม่ อีกทั้งท�ำให้ เจอเพื่อนใหม่ๆ สังคมใหม่ๆ มีการจับฉลากเลือกพี่บดั ดี้และพี่บดั ดี้มี การให้ ของขวัญวันเกิดเป็ นตุก๊ ตาหมาตัวใหญ่น่ารักมากๆ และมีการท�ำกิจกรรม English Fun Fair ได้ รับหน้ าที่ให้ ทำ� เป็ นบุคคลแสดงหน้ าเวที ส่วนเรื่องการเรียนเนื่องจากในการเรียนเทอมแรกยังเข้ าที่มากนัก อีกทั้งยังมีวิชาคณิต จึง ท�ำให้ ได้ ตดิ โปรมาในเทอมแรก คะแนนสอบถูกส่งถึงบ้ านจึงโดนคุณแม่กล่าวตักเตือนว่าให้ เทอมหน้ าขอให้ หลุดจาก ตรงนี้ให้ ได้ ปี 1 เทอม 2 ก่อนเปิ ดการเรียนการสอนในเทอม 2 นั้นได้ ไปรับท�ำอาชีพเสริมคือท�ำร้ านกาแฟในย่านถนน นว มินทร์ ท�ำให้ ได้ รับเงินพิเศษเล็กน้ อยและความรู้ในการท�ำงานในร้ านกาแฟ พอเปิ ดภาคการศึกษาของการปี 1 เทอมที่ 2 นั้น ได้ มีเหตุการณ์นำ�้ ท่วมครั้งใหญ่มาก ท�ำให้ ไม่สามารถมาเรียนได้ ตามปกติ จึงต้ องมีการเรียนการสอนพ่านทาง WebEX ที่เป็ นระบบของมหาวิทยาลัยเพื่อให้ ได้ มกี ารเรียนสอนจากที่บ้านได้ หรือบางครั้งก็ต้องไปมหาวิทยาลัยเพื่อมี การสอนในบางครั้ง แต่ในตอนนั้นมหาวิทยาลัยก็ต้องมีการปรับปรุงครั้งใหญ่ การเปิ ดเทอมจึงได้ ล่าช้ ากว่าเดิมถึง 3 เดือนท�ำให้ มหาวิทยาลัยได้ มีการจัดระเบียบของมหาวิทยาลัยให้ พร้ อมกับการเข้ าอาเซียนจึงเปิ ดเทอมในต้ นเดือน มกราคม ส่วนการเรียนการสอนของเทอมนี้ส่วนตัวนั้นได้ มคี วามพยายามมากขึ้น จึงท�ำให้ เกรดได้ เพิ่มขึ้นมากพอ จึง ได้ ทำ� ให้ หลุดโปรของมหาวิทยาลัยนั้นได้ สำ� เร็จ ส่วนเรื่องเพื่อนในกลุ่มจากตอนแรกมี 8 คน สองคนได้ ทำ� การลาออก จากมหาวิทยาลัย เนื่องจากสาเหตุส่วนตัว อีกคนหนึ่งมีการย้ ายกลุ่ม จึงท�ำให้ เหลือเพียงแค่ 5 คนเท่านั้น หลังจาก เหตุการณ์น้ันก็ทำ� ให้ ความสัมพันธ์ในกลุ่มเพื่อนมีความผูกพันมากยิ่งขึ้นและมีการท�ำกิจกรรมต่างๆร่วมกันอีกหลาย เหตุการณ์ ปี 2 เทอม 1 เทอมนี้เป็ นการเรียนการสอนที่เริ่มมีวิชาเอกเลือกเข้ ามาเป็ นวิชาแรกในการเรียนวิชา JR 300 เป็ นการเรียน การสอนที่มีความล�ำบากเนื่องจากไม่มีความรู้ในด้ านนี้ทำ� ให้ เกรดของวิชานี้ไม่ได้ เป็ นตามที่คาดหวังและผิดหวังมาก เนื่องจากเป็ นวิชาแรกของปี การศึกษาที่ 1 ที่ตดิ F จึงท�ำให้ เกรดเฉลี่ยของเทอมนี้ฉุดลงไปอีกครั้ง ส่วนในวิชาอื่นๆก็ยัง ปกติดสี ่วนกิจกรรมของเทอมนี้ได้ ออกไปท�ำกิจกรรมนอกสถานที่ อาทิเช่นวิชา JR 300 ได้ ให้ ไปท�ำงานนอกสถานที่ เนื่องจากในช่วงนั้นมีการสัมมานาเรื่องจริยธรรมสื่อที่ เซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 2 หรือ วิชา JR 301 ที่ให้ จัดท�ำแมคกาซีน ของตัวเอง ต้ องมีการลงพื้นที่เพื่อถ่ายภาพ มาจัดท�ำแมคกาซีนของตัวเอง อีกทั้งยังมีวิชา CA 103 ที่เป็ นวิชาเกี่ยวกับ เรื่อง เรา เล่า 57
เพื่อนกลุ่มแรกตอนปี 1
การพูด ส่วนตัวแล้ วเป็ นคนที่พูดไม่ค่อยเก่งจึงไม่ค่อยชอบออกไปพูดหน้ าฉันเรียนต่างจากเพื่อนในกลุ่มที่มคี วามกล้ า จะไปพูดหน้ าชั้นเรียน ปี 2 เทอม 2 เนื่องจากภาคการเรียนที่แล้ วมีเกรดเฉลี่ยที่ไม่ดมี ากนัก จึงท�ำให้ ในเทอมนี้ต้องมีการตั้งใจเรียนมากขึ้นเป็ น เท่าตัว เนื่องจากหากท�ำเกรดเฉลี่ยไม่ถงึ ตามที่มหาวิทยาลัยก�ำหนดจะไม่สามารถฝึ กงานตามที่ต้องการได้ จึงท�ำให้ เป็ นแรงผลักดันว่าต้ องท�ำให้ เกรดให้ ถงึ ที่ต้องการให้ ได้ ส่วนวิชาเรียนของภาคการศึกษานี้มวี ิชาที่น่าสนใจคือ วิชา CA 104 เป็ นวิชาถ่ายภาพที่ต้องไปตามสถานที่ต่างๆเพื่อถ่ายภาพตามโจทย์อาจารย์กำ� หนดมา ส่วนตัวได้ ไปวัดพระแก้ ว สะพานพระราม 8 ในยามเช้ าและยามค�่ำคืน เป็ นต้ น เหมือนกับว่าการได้ เรียนวิชานี้ทำ� ให้ ได้ รับประสบการณ์ต่างๆ ก่อนที่จะท�ำงานจริงไม่ว่าจะเป็ นการท�ำงานกลุ่มหรือเดี่ยว วิชา JR440 ได้ มีกจิ กรรมได้ พาไปดูงานที่สำ� นักงานข่าว สปริงนิวส์ ที่เป็ นสถานที่การท�ำงานจริงหลังจากการ ไปดูงานแล้ วส่วนตัวท�ำให้ อยากมาฝึ กงานที่น้ ี หรือไม่ว่าจะเป็ นวิชา EN313 ได้ มกี ารแสดงละครส่งอาจารย์ซ่ึงเป็ นการ ท�ำงานที่มคี วามเหนื่อยยากตั้งแต่คิดบทจนถึงการแสดงละคร ท�ำให้ ได้ ทราบเลยว่าการสร้ างทีม Production ทีมหนึ่ง นั้นมีความยากขนาดไหน ปี 2 Sumer ก่อนเข้าปี การศึกษาที่ 3 เป็ นภาคการศึกษาซัมเมอร์เนื่องจากภาคการศึกษาที่ 1 ติด F วิชา JR 300 ท�ำให้ ต้องมีการมาเรียนซ�ำ้ ไม่ อย่างนั้นในปี การศึกษาที่ 3 จะไม่สามารถเรียนในวิชาเอกได้ จึงต้ องมาเรียนแก้ ไข โชคดีท่วี ่ามีการเปิ ดสอนในช่วง ซัมเมอร์ทำ� ให้ ได้ มาเรียนซ�ำ้ ได้ หลังจากเรียนซ�ำ้ ไปหนึ่งรอบแล้ วท�ำให้ การเรียนในของเทอมนี้มคี วามรู้จากเดิมท�ำให้ เกรดของวิชานี้ได้ A ได้ เกินความคาดหมายและเรียนวิชาเสรีเพิ่มเติมท�ำให้ ภาคการศึกษานี้ต้องมีการเรียนซัมเมอร์ อีกทั้งกิจกรรมในมหาวิทยาลัยรุ่นพี่ปีที่กำ� ลังจะขึ้นปี การศึกษาปี ที่ 4 ได้ มกี ารนัดรวมตัวพูดถึงการเรียนการสอนใน เทอมปี การศึกษาหน้ าและมีการจับรุ่นพี่น้อง บัดดี้ใหม่ทำ� ให้ ดฉิ ันได้ มพี ่ีบดั ดี้อกี คน และจากที่ร่นุ พี่พูดการเรียนการ สอนในเทอมหน้ าท�ำให้ เห็นชัดว่าเทอมหน้ าจะมีการเรียนการสอนในแนวทางไหน ท�ำให้ เราต้ องเตรียมพร้ อมกับการ ความทรงจ�ำ 58
ศึกษาหน้ าให้ ดมี ากกว่าเดิมมากขึ้น ปี 3 เทอม 1 เป็ นการเรียนวิชาโทที่เลือกครั้งแรก ท�ำให้ เราได้ ร้ กู ารเรียนการสอนของภาควิชาอื่นนอกจากภาควิชาวารสาร ว่ามีการเรียนอย่างไร ส่วนตัวนั้นได้ เรียนภาควิชาโฆษณา ท�ำให้ ร้ เู ลยว่าการเรียนของภาควิชาของเราต่างกัน อย่างภาค วิชาวารสารศาสตร์น้ันต้ องมีการเรียนที่พูดถึงความเป็ นจริง ส่วนของภาควิชาโฆษณานั้นต้ องมีความคิดสร้ างสรรค์ใน การโฆษณาสินค้ าต่างๆ ถ้ าพูดถึงวิชา EN314 คงเป็ นวิชาภาษาอังกฤษตัวสุดท้ ายแล้ วจึงมีความยากในการเรียนสูงสุดไม่ว่าจะ เป็ นการแสดงละคร ร้ องเล่นเต้ นร�ำ หรือขายของสินค้ า ซึ่งในกลุ่มของดิฉันได้ มีการขายน�ำ้ ผลไม้ คือ น�ำ้ แอปเปิ้ ล ยี่ห้อ มาลี ซึ่งกลุ่มของดิฉันท�ำออกมาได้ ดอี าจารย์ประจ�ำวิชาจึงคัดเลือกให้ กลุ่มของดิฉันได้ เข้ าร่วมงาน English Funfair ไม่ ว่าการน�ำเสนอสินค้ าแต่เรายังท�ำแผ่นโฆษณาเป็ นรูปแอปเปิ้ ล หรือการแต่งตัวในโทนสีแดง เพื่อให้ ได้ ส่อื ถึงผลิตภัณฑ์ ได้ เป็ นอย่างดี อีกทั้งมีวิชา JR301 JR444 ได้ มใี ห้ ทำ� งานในของสายงานข่าวจริงๆให้ ลงพื้นที่จริงๆ คือการท�ำสารคดี เชิงข่าวและท�ำบอร์ดกลุ่มซึ่งกลุ่มของดิฉันนั้นได้ ทำ� เรื่อง เสาโฮปเวลล์ ในย่านดอนเมือง ซึ่งการท�ำงานนั้นได้ มคี วาม ยากล�ำบากในการท�ำ เนื่องจากเป็ นกลุ่มของเพื่อนที่ไม่เคยท�ำงานร่วมกันจึงมีการท�ำงานที่ยากล�ำบาก และวิชา JR442 ซึ่งเป็ นการเรียนการสอนของวิชาผู้ประกาศจากในตอนแรกเรียนวิชา CA103 ก็ทำ� ได้ ไม่ดแี ต่พอมาเรียนวิชานี้จึงท�ำให้ ตัวเองต้ องมีการปรับตัวมากขึ้นและพยายามมากยิ่งขึ้นกว่าเดิมต้ องพูดให้ เก่งขึ้น กล้ าแสดงออกมายิ่งขึ้น สุดท้ ายวิชา SC201 เป็ นวิชาที่ทำ� ให้ เราได้ ไปพบเจอกับธรรมชาติท่เี ราต้ องรักษามาก ยิ่งเราใช้ มากเท่าไร่เราก็ต้องรักษามากยิ่งขึ้น ปี 3 เทอม 2 เป็ นการเรียนที่หนักมากเพราะต้ องลงเรียนถึง 8 วิชา ซึ่งหนักที่สดุ แล้ วก็ว่าได้ กิจกรรมที่ได้ ร่วมท�ำคือ กิจกรรมบายเนียร์ท่มี กี ารแสดงอ�ำลารุ่นพี่ปี 4 ท�ำให้ ร้ ไู ด้ เลยว่า คนเราน้ อยแต่เราก็ยังรักกัน ไม่ว่าจะรักมากหรือรัก น้ อย แต่กถ็ อื ว่าเป็ นสายสัมพันธ์ท่ไี ม่มวี ันขาดได้ ส่วนเรื่องการศึกษานั้นเริ่มจากวิชาเสรี HM371 เป็ นวิชาที่มกี ารเรียนเกี่ยวกับจัดดอกไม้ ซ่ึงดิฉันก็ทำ� ออกมา ได้ ดพี อสมควรแต่ยังไม่ถอื ว่าดีมากเป็ นการจัดดอกไม้ ในรูปแบบต่างๆที่อาจารย์สอน ซึ่งโปรเจคของวิชานี้ถอื ว่าหนัก มาก เพราะให้ จัดซุ้มใหญ่ท่เี กี่ยวกับดอกไม้ แต่ต้องให้ มวี ัสดุเหลือใช้ ทำ� ให้ การออกแบบท�ำได้ ยากมาก วิชา JR302 ที่ต้องท�ำข่าวนอกสถาบันการศึกษาเหมือนเป็ นการท�ำฝึ กเราให้ เหมือนนักข่าวจริงๆ ที่ไปตาม สถานที่ต่างๆเพื่อท�ำงานออกมาให้ ได้ ข่าวมาส่งอาจารย์ซ่ึงความยากล�ำบากต่างๆไม่ว่าจะเป็ นการถ่ายท�ำหรือการเขียน ข่าวและตัดต่อข่าว เราต้ องท�ำคนเดียวซึ่งเป็ นการท�ำงานที่ทำ� ให้ ร้ วู ่านักวารสารไม่ได้ ต้องได้ วิชา JR305 ที่เป็ นการ เรียนเกี่ยวกับท�ำสารคดีเชิงข่าวซึ่งกลุ่มของดิฉันได้ ทำ� เรื่องพระบัณเฑาะว์ ซึ่งมีความยากล�ำบากในการหาบุคคลต้ น เรื่องจริงๆ กว่าจะมีการถ่ายท�ำที่สำ� เร็จซึ่งเป็ นการท�ำงานที่เหนื่อยมากๆเนื่องจากสมาชิกในกลุ่มไม่มกี ารให้ ความช่วย เหลือที่เต็มที่ 5 คน เราท�ำแค่เพียงคนเดียว ไม่ว่าจะเป็ นการถ่ายท�ำ เขียนบท ตัดต่อ ลงเสียง เราท�ำคนเดียวแต่สมาชิก นั้นช่ วยแค่ เพียงเล็กน้ อยท�ำให้ เราได้ ตระหนักปั ญหาของการท�ำงานที่แท้ จริงว่ าการท�ำงานคนเดียวนั้นไม่ สามารถ ท�ำงานออกมาให้ ได้ ดที ่สี ดุ ท�ำได้ แค่เพียงให้ มนั เสร็จและดีพอเท่าที่เราท�ำได้ เท่านั้น และวิชาสุดท้ ายคือวิชา 443 ที่ เรื่ อง เรา เล่า 59
เป็ นการท�ำงาน 3 คน ซึ่งเป็ นวิชาที่ต้องลงพื้นที่ถงึ เกาะเสม็ดเป็ นการท�ำงานที่ลงพื้นที่จริงสองครั้งซึ่งมีปัญหาใน ระหว่างการถ่ายท�ำตลอดเวลาแต่เรา 3 คน จะคอยพยายามผลักดันให้ งานของเรานั้นได้ ทำ� ส�ำเร็จหลังจากการท�ำงาน เสร็จ เราก็ได้ ย่ ืนผลงานส่งประกวดของสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 และท�ำส่งส�ำนักข่าวประชาไท ซึ่งผลงานของเราได้ รับคัดเลือกของส�ำนักงานข่าวประชาไทแต่พอเขามาคัดเลือดจริงๆ เราได้ มกี ารเปลี่ยนประเด็นเรื่องการจัดการสิ่ง แวดล้ อมของไทยในระยะเวลาในการท�ำงานของเราคือช่วงที่เราต้ องฝึ กงานพร้ อมกับท�ำงานส่งประกวดชิ้นนี้ไปด้ วย ปี 3 ซัมเมอร์
ในปี นี้เราจะก้ าวขึ้นสู่เป็ นรุ่นพี่ปี 4 แล้ ว แต่ช่วงนี้คือภาคการศึกษาที่เราต้ องมีการฝึ กงานซึ่งดิฉันได้ มกี าร ฝึ กงานที่สำ� นักงานข่าว สปริงนิวส์ ในโต๊ะเศรษฐกิจ ซึ่งหัวหน้ าของโต๊ะเศรษฐกิจนั้นพยายามให้ เราได้ มกี ารท�ำงานไม่ ว่าจะเป็ นการหาข้ อมูลต่างๆ และสิ่งได้ เรียนรู้จากการฝึ กงานในช่วงแรกจะเป็ นการหาข้ อมูลของข่าวนั้นๆก่อนไปท�ำ ข่าวจริงๆ ท�ำให้ เราเกิดประเด็นต่างๆในการท�ำข่าว อีกทั้งส่วนตัวได้ มกี ารใช้ โปรแกรมตัดต่อของ Edius ในเบื้องต้ น และได้ มกี ารเข้ าไปศึกษาห้ องควบคุมก่อนรันสตูดโิ อในนั้นมีการท�ำงานที่เร่งรีบ แม่นย�ำ หากมีการท�ำงานผิดพลาดใน แต่ละครั้งจะมีการหักเงินเดือนของพนักงานประจ�ำ ประโยชน์จากการฝึ กงานแรกๆก็คือได้ มีการพัฒนาและฝึ กฝนในด้ านต่างๆ ให้ มคี วามช�ำนาญมากขึ้นอย่าง เช่นในการจับประเด็นข่าว เขียนข่าวซึ่งท�ำให้ มคี วามช�ำนาญมากขึ้นและมีพ่ีเลี้ยงจะช่วยเกลาประเด็นอีกทีในแต่ละข่าว อีกทั้งในการท�ำงานของสายข่าวต้ องท�ำงานแข่งกับเวลาดังนั้นการออกหมายแต่ละครั้งจะท�ำให้ เรามีความอดทนและ การตรงต่อเวลามากขึ้น อีกทั้งส่วนตัวมีการจับประเด็นที่ยังไม่แข็งพอท�ำให้ พ่ีเลี้ยงต้ องคอยสอนว่า ข่าวแบบนี้ควรท�ำ ออกมาในรูปแบบไหน ในช่วงสามอาทิตย์แรกพี่เขายังไม่ให้ ออกหมายข่าวจึงต้ องท�ำงานหาข้ อมูลท�ำสกูป๊ ข่าวส่งให้ พ่ี และช่วยเขาตัดต่อสกูป๊ ข่าว หลังจากนั้นได้ มกี ารออกหมายข่าวบ้ างส่วนใหญ่จะตามพี่ผ้ ูส่อื ข่าวไปท�ำหน้ าที่หาแหล่งข่าว บ้ าง ถือไมค์บ้าง จดที่สมั ภาษณ์บ้าง หลังจบหมายข่าวนั้นๆพอกลับมาถึงส�ำนักงานก็ต้องเขียนข่าวส่งให้ พ่ีดูเพื่อ เป็ นการฝึ กฝี มอื ให้ พัฒนายิ่งขึ้น และในขณะที่ฝึกงานเรายังต้ องท�ำงานให้ กบั ประชาไทที่เกี่ยวกับงานสารคดีเชิงสิ่งแวดล้ อมไม่ว่าจะเป็ นการ ถ่ายท�ำที่บ่อขยะแพรกษา รวมถึงการนัดหาในเวลาว่างเราต้ องมาช่วยกันเขียนบทเพื่อส่งให้ กบั พี่เลี้ยงในกลุ่มของเรา ไม่ว่าจะเป็ นการ แพรกษาโมเดลที่เราต้ องไปคนเดียวเนื่องจากไม่มใี ครว่างที่จะมาร่วมงานกับเราได้ เนื่องจากในกลุ่ม ของเราได้ ใช้ วันหยุดกันไปครบตามที่กำ� หนดแล้ ว หลังจากท�ำงานให้ กบั ประชาไทเสร็จแล้ วถือว่าเราได้ ทำ� งานใหญ่ เสร็จแล้ วถือว่าโล่งใจมากๆแต่กแ็ ลกมากับประสบการณ์ของเราที่สอนให้ ร้ ถู งึ ชีวิตที่แท้ จริง
ความทรงจ�ำ 60
ปี 4 เทอม 1 เป็ นการเริ่มต้ นของปี การศึกษาสุดท้ าย วิชาเริ่มต้ นของหลังจากการฝึ กงานคือวิชา JR309 คือตัวโปรเจคจบ ถือว่าเป็ นตัวที่ยากที่สดุ แล้ วไม่ว่าจะเป็ นการเขียนบท หรือสารนิพนธ์ ถ่ายท�ำ ตัดต่อ และดิฉันได้ เรื่องของบุคคลเร่ร่อน ถือว่ าเป็ นงานหนักมากเพราะเราพูดคุยกับเขาไม่ ร้ ูเรื่องโชคดีท่ีว่ายังมีพ่อและแม่ ของเขาที่ยังสามารถพูดคุยได้ จึง สามารถท�ำงานนี้ออกมาได้ อย่างส�ำเร็จ หรือจะเป็ นวิชา JR445 ที่เราน�ำงานของการจัดการสิ่งแวดล้ อมมาต่อยอดท�ำส่ง สมาคมนักข่าวไทยใน โครงการสายฟ้ าน้ อย เราได้ มาท�ำส่งในของสารคดีวิทยุจากการท�ำงานนี้ทำ� ให้ กลุ่มของเราได้ รับรางวัล รางวัลชมเชย ท�ำให้ ได้ เราได้ มีความภาคภูมใิ จเป็ นอย่างมากในการรับรางวัลในครั้ง หรือการท�ำกิจกรรมของมหาลัยคืองานวัน Open house สามวันติด
เรื่อง เรา เล่า 61
กล้าเริ่มต้น ยุ พดี จิวประเสริฐ
“ถ้าทุกคนสามารถผ่านปี 1 ไปได้ เริ่มเรียนรู ้ ปรับตัวทุกอย่างให้ดีแล้ว ดิฉันเชื่ อว่าก็ไม่ใช่ เรื่อง ยากที่จะสามารถก้าวผ่านในขัน้ ที่สูงขึ้นต่อๆไป”
ดิฉันชื่ อ นางสาว ยุ พดี จิวประเสริฐ หรือเรียกสัน้ ๆว่า ออย ขอเริ่มตัง้ แต่แรกเลยว่าท�ำไมถึงเลือก เข้ามาเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะนิเทศศาสตร์ ภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุ กระจายเสียงและ วิทยุ โทรทัศน์ เพราะว่ามีความตัง้ ใจอยากเรียนทางด้านนิเทศศาสตร์ และมหาวิทยาลัยกรุงเทพก็มีช่ื อเสียง ด้านนี้ ทัง้ หลักสูตรการเรียนการสอน อาคารเรียน เครื่องมืออุ ปกรณ์ต่างๆที่มีความทันสมัย การเดินทาง สะดวก จึงตัดสินใจศึกษาข้อมูลภาควิชาที่เปิ ดสอน จนสุดท้ายก็มาเลือกเรียนภาควิชาวารศาสตร์ท่ตี ้องกับ ความสามารถมากของตนเองมากที่สุด ย้ อนกลับไปวันแรกที่ก้าวเข้ ามาในฐานะนักศึกษาชั้นปี ที่ 1 วันนั้นเป็ นวันรับน้ อง ดิฉันมากับเพื่อนที่จบมาจาก โรงเรียนเดิมด้ วยกันหลายคน แต่พอถึงมหาวิทยาลัยก็แยกย้ ายกันไปตามคณะ ตามสาขาที่เรียน ดิฉันรู้สกึ ตื่นเต้ นมาก เพราะทุกอย่างรอบตัวมีแต่ส่งิ ใหม่ๆให้ ฉันได้ เรียนรู้ เพื่อนก็ยังไม่มยี ืนตัวคนเดียวเพื่อต่อแถวลงทะเบียนเข้ าไป ท�ำความรู้จักกับภาควิชาวารสารศาสตร์ และอาจารย์ผ้ ูสอนทั้งหมดของภาควิชาวารสารศาสตร์ ที่สตูดโิ อ 1 หลังจาก นั้นในช่วงบ่ายก็เป็ นกิจกรรมของคณะนิเทศศาสตร์ ดิฉันก็ได้ ดูการแสดงต่างๆของทุกภาควิชา ท�ำให้ ร้ จู ักมากขึ้นว่าใน แต่ละภาควิชานั้นมีอะไรบ้ าง เรียนเกี่ยวกับอะไร และมีจุดเด่นที่แตกต่างกันอย่างไร เรียกได้ ว่าทุกการแสดงของทุก ภาควิชาเป็ นไปอย่างตื่นตาตื่นใจส�ำหรับเด็กปี 1 ที่เพิ่งเข้ ามาเริ่มต้ นเรียนรู้การใช้ ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยมากทีเดียว ก่อนเริ่มเรียนวันแรกหลังจากที่เห็นตารางสอนแล้ ว เกิดค�ำถามขึ้นมาในใจคือ ห้ องเรียนในตารางสอนมันดู อย่างไร แล้ วฉันจะไปยังไงดี แต่ในความโชคร้ ายยังมีความโชคดีอยู่บ้างที่ภาควิชานี้ฉันมีเพื่อนที่จบจากโรงเรียน เดียวกันเราจึงโทรนัดกันมาเรียน และหลังจากที่ดฉิ ันรู้วิธกี ารดูตารางสอนแล้ วนั้นชีวิตฉันก็ดูง่ายดายขึ้นมาทันที เทอม แรกของการเข้ ามาเป็ นเด็กปี 1 ของที่น่ีทุกอย่างล้ วนมีแต่คำ� ว่าครั้งแรก เพื่อนคนแรก เรียนวันแรก กินข้ าววันแรก อาจารย์คนแรก และอีกหลายต่อหลายสิ่งให้ ได้ เรียนรู้ การใช้ ชีวิตที่เปลี่ยนไปจากโรงเรียนสู่มหาวิทยาลัยท�ำให้ ดฉิ ันต้ องปรับตัวค่อนข้ างมาก ตั้งแต่เรื่องเวลาเรียน ที่จากเดิมต้ องเรียนวันจันทร์ถงึ วันศุกร์ ตั้งแต่ 8.00 – 15.00 น. วันละหลายวิชา ก็ต้องเปลี่ยนมาเรียนวันละ 1 – 2 วิชา อาจดูเหมือนเรียนสบายขึ้น แต่จริงๆแล้ วเนื้อหาที่เรียนนั้นมีความเข้ มข้ นมากกว่า ทั้งยังต้ องใช้ สมาธิในการเรียน มากขึ้นเพราะระยะเวลาเรียนค่อนข้ างนาน วิชานึงประมาณ 2 ชม.ครึ่ง ถ้ าเกิดไม่ต้งั ใจเรียนให้ ดสี มาธิไม่อยู่กบั ตัวก็ ท�ำให้ เรียนไม่ร้ เู รื่อง นอกจากเรื่องเวลาเรียนยังมีเรื่องของความสะดวกสบายหรืออิสระที่มากขึ้น สามารถที่จะเข้ าเรียนกี่โมงก็ได้ ไม่เรียนก็ได้ อยากจะโดดเรียนก็ย่อมได้ ไม่มอี าจารย์คนไหนมานั่งดู คอยว่ากล่าวตักเตือนอยู่แล้ ว เพราะฉะนั้นปี แรก จึงส�ำคัญทุกคนจะต้ องรู้ด้วยตัวเองว่าต้ องมีความรับผิดชอบต่อหน้ าที่ พ่อแม่ทา่ นส่งเงินให้ เราเข้ ามาเรียนเพื่อการ ศึกษาที่ดี น�ำวิชาความรู้ท่ไี ด้ ไปต่อยอดสู่อาชีพในอนาคต เราก็ควรตอบแทนท่านด้ วยการรู้จักหน้ าที่เรียนหนังสือ ถ้ า ใจเรามุ่งมั่นแล้ วต่อให้ มอี ะไรมาขวางก็ย่อมผ่านไปได้ ด้วยดี เรื่องเพื่อนที่มหาวิทยาลัยนั้นก็สำ� คัญเราต้ องเลือกคบ
เรื่อง เรา เล่า 63
เพื่อนให้ ดี คบเพื่อนที่ชวนกันเรียนไปให้ รอด ไม่ใช่คบเพื่อนที่คอยชวนกันไปแต่ในทางที่ไม่ดี ดั่งพุทธศาสนสุภาษิตที่ ว่า “คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล” ถ้ าทุกคนสามารถผ่านปี 1 ไปได้ เริ่มเรียนรู้ ปรับตัว ทุกอย่างให้ ดแี ล้ ว ดิฉันเชื่อว่าก็ไม่ใช่เรื่องยากที่จะสามารถก้ าวผ่านในขั้นที่สงู ขึ้นต่อๆไป เข้ าสู่ช่วงปี ที่ 2 หลังจากเรียนวิชาพื้นฐานและวิชาทั่วไปตามหลักสูตรมาพอสมควร ก็เริ่มเจอวิชาหลักส�ำหรับ ภาควิชาวารสารศาสตร์ เช่น การเขียนข่าวหนังสือพิมพ์ การเขียนเพื่อนิตยสาร การเขียนข่าววิทยุและวิทยุโทรทัศน์ เป็ นต้ น ท�ำให้ เริ่มรู้จักวิธเี ขียนข่าวที่มากขึ้นว่ามีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งการเขียนในแต่ละช่องทางของสื่อก็มวี ิธกี าร เขียนที่แตกต่างกันออกไป ด้ วยข้ อได้ เปรียบและข้ อจ�ำกัดต่างๆของสื่อตามคุณสมบัตนิ ้ันๆเป็ นตัวก�ำหนด ช่วงเทอมที่ 2 เป็ นครั้งแรกที่เริ่มมีการลงไปท�ำข่าวภายในมหาวิทยาลัย ฝึ กคิดประเด็นข่าว ติดต่อแหล่งข่าว คิดค�ำถามสัมภาษณ์แหล่งข่าว แล้ วน�ำมาเขียนเป็ นข่าว จากที่ก่อนหน้ านั้นเคยแต่เรียนทฤษฎีพอดิฉันได้ เริ่มลงมือ ปฏิบตั จิ ริงก็ร้ สู กึ สนุกกับการเรียน กลายเป็ นคนช่างสังเกตมากขึ้น เห็นความเคลื่อนไหวหรือความเปลี่ยนแปลง ภายในมหาวิทยาลัยก็เกิดความสงสัยและอยากรู้คำ� ตอบ เพราะนักข่าวที่ดจี ะต้ องมีจมูกที่ไวต่อข่าว นอกจากการเรียน แล้ วยังมีส่งิ ที่น่าสนใจและมีความส�ำคัญนั่นก็คือกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย อย่างงานกีฬาสีของคณะนิเทศศาสตร์ ดิฉันก็ได้ มโี อกาสขึ้นสแตนด์เชียร์เพื่อนๆ บางคนก็เป็ นเชียร์ลีดเดอร์ เป็ นวันที่จะได้ เห็นถึงความสามัคคีของแต่ละ ภาควิชาในคณะนิเทศศาสตร์ มีท้งั การแข่งขัน การแสดง โชว์ต่างๆที่นักศึกษาได้ ฝึกซ้ อมและเตรียมการกันเอง ในช่วงปี ที่ 2 นี้กเ็ ป็ นครั้งแรกอีกเช่นกันที่ลงเรียนซัมเมอร์หลังจากพลาดกับการลงทะเบียนมาแล้ วเมื่อปี 1 ด้ วยสาเหตุจากความไม่ร้ หู ลายๆอย่างจนสุดท้ ายก็ประสบความส�ำเร็จ การเรียนซัมเมอร์ค่อนข้ างเรียนเร็วเรียน ประมาณ 7 ครั้งก็จบแล้ ว ท�ำให้ มกั มีนักศึกษาลงเรียนกันมาก มีวิชาที่ฉันจ�ำได้ มาจนถึงทุกวันนี้กค็ ือวิชาเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนาเป็ นวิชาเสรี จะเน้ นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา หลักธรรมค�ำสอน ปลูกฝังจิตส�ำนึกที่ดี มีงานที่ต้องอาสา ออกไปท�ำประโยชน์เพื่อสังคม ดิฉันและกลุ่มเพื่อนๆก็ได้ มโี อกาสไปสันทนาการวันภาษาไทยที่โรงเรียนแห่งหนึ่งใน จังหวัดปทุมธานี เป็ นโรงเรียนเล็กๆแต่เด็กนักเรียนทุกคนน่ารักมาก ในงานมีการจัดกิจกรรมการเล่นเกมส์สนุกๆใน วันภาษาไทย มีการให้ ความรู้สอดแทรกไปกับเกมส์ด้วย น้ องๆทุกคนต่างก็ให้ ความร่วมมือเป็ นอย่างดี การท�ำกิจกรรมในครั้งนี้มนั ท�ำให้ ฉันเห็นถึงรอยยิ้มของน้ องๆ ความสุขของเด็กตัวตัวเล็กๆที่มาจากความ ร่วมมือของนักศึกษาด้ วยกัน และดิฉันก็ภมู ใิ จที่ได้ เป็ นส่วนหนึ่งในนั้น และอีกงานหนึ่งที่ทำ� ให้ ดฉิ ันชอบมากก็คือ การ ท�ำอะไรก็ได้ ท่ที ำ� ให้ พ่อแม่มคี วามสุขพร้ อมอัดคลิปวีดโี อมาส่ง เป็ นงานที่ฟังดูง่ายมาก แต่สำ� หรับตัวดิฉันเองค่อนข้ าง เป็ นเรื่องยากที่ต้องมาท�ำเรื่องอะไรที่อ่อนไหวแบบนี้ และดิฉันก็เชื่อว่ายังมีอกี หลายคนที่เป็ นเหมือนกันคือการแสดง ความรักต่อพ่อแม่ ดิฉันต้ องขอบอกเลยว่าต้ องใช้ ความกล้ าขั้นสูงเป็ นอย่างมากกว่าที่จะกล่าวขอขมาต่อสิ่งที่เคยไม่ดี กับท่าน บอกรักท่าน แล้ วก็ล้างเท้ าให้ ทา่ น มันยากแค่ตอนเริ่มเท่านั้นพอเราได้ เริ่มท�ำทั้งหมดมันก็จะออกมาจากใจ ของเราเอง จากเด็กที่ไม่เคยท�ำอะไรแบบนี้เลยพอหลังจากที่ดฉิ ันท�ำเสร็จสามารถรับรู้ได้ ทนั ทีว่าแม่รักเรามากเพียงใด ต่อให้ เราจะท�ำผิดพลาด หรือไม่ดอี ย่างไร ท่านก็พร้ อมที่จะให้ อภัยและก็คอยที่จะอยู่เคียงข้ างเราเสมอ
ความทรงจ�ำ 64
เมื่อตอนไปท�ำกิจกรรมในวิชาพระพุทธศาสนา ช่วงซัมเมอร์ ปี 2
ต่อมาในชั้นปี ที่ 3 เริ่มเข้ าสู่กระบวนการเรียนขั้นสูงขึ้นมาอีก ทุกอย่างไปไวมากต้ องเรียนรู้การเขียนข่าว โทรทัศน์ท่ถี ูกต้ อง ต้ องถ่ายวีดโี อประกอบข่าว ถ่ายอย่างไร ถ่ายแบบไหน ต้ องมีอะไรบ้ าง เริ่มหัดตัดต่อข่าวด้ วย โปรแกรมพรีเมียร์โปร เรียนรู้อปุ กรณ์ภายในสตูดโิ อ การจัดไฟ การตั้งกล้ องในรายการข่าว จากที่ไม่ร้ อู ะไรเลยดิฉัน ต้ องท�ำให้ เป็ น เรียนรู้ให้ ไว ปรับตัวให้ ทนั พื้นฐานทุกคนมีไม่เท่ากัน เพราะฉะนั้นดิฉันจึงตั้งปณิธานไว้ ว่าจะต้ องท�ำให้ ได้ หลังจากที่ดฉิ ันได้ ร้ จู ักกับการท�ำข่าวมากขึ้น จากนั้นก็เริ่มเข้ าสู่บทเรียนที่ยากมากกว่านั้นไปอีกนั่นก็คือการเริ่มท�ำ สารคดีเชิงข่าว ในตอนนั้นแค่คิดประเด็นก็เป็ นเรื่องที่ยากมากแล้ วกว่าจะเสนอผ่านต้ องใช้ เวลาหาข้ อมูลกันอยู่นาน แต่เมื่อพอได้ เรื่องแล้ วทุกอย่างก็ดำ� เนินเป็ นขั้นตอนต่อไปได้ เอง หาแหล่งข่าว ติดต่อแหล่งข่าว ลงพื้นที่ ซึ่งนับว่า เป็ นการออกสู่สนามข่าวนอกรั้วมหาวิทยาลัยครั้งแรก ต้ องเขียนบทเอง ถ่ายท�ำเอง ทุกขั้นตอนการท�ำงานนั้นถือเป็ น ประสบการณ์ท่หี าจากที่ไหนไม่ได้ ถ้าเราไม่ลงมือท�ำ แต่ต้องยอมรับเลยว่างานในครั้งนี้เหนื่อยมากจริงๆ เพราะทุก อย่างนั้นเป็ นครั้งแรกอาจมีผดิ พลาดในหลายๆเรื่อง แต่ถงึ อย่างไรสุดท้ ายงานก็สำ� เร็จไปได้ ด้วยดี นอกจากการท�ำสารคดีเชิงข่าวแล้ วนั้นดิฉันยังได้ ถ่ายรายการข่าวเป็ นครั้งแรกอีก งานนี้เป็ นงานเทอมโปรเจค ที่ให้ ทุกคนในกลุ่มที่เรียนด้ วยกันต้ องร่วมมือ ช่วยกันท�ำงาน โดยแบ่งงานให้ รับผิดชอบในแต่ละหน้ าที่ อาทิ ผู้ประกาศ ข่าว ช่างกล้ อง สเตจ สวิสต์เชอร์ คนควบคุมเสียง คนควบคุมไฟ โปรดิวเซอร์ เป็ นต้ น นับเป็ นการท�ำงานครั้งแรกที่ ต้ องมีการวางแผนอย่างเป็ นระบบจริงๆ ซึ่งหน้ าที่ท่ดี ฉิ ันต้ องรับผิดชอบ คือ การเป็ นช่างกล้ อง ต้ องคอยดูภาพให้ ออก มาดี ดูองค์ประกอบ ปรับความชัดภาพ ปรับแสง ระยะของภาพ โดยหลักการท�ำงานส่วยใหญ่จะมีเท่านี้ และที่สำ� คัญ เมื่อเรามีหน้ าที่มองผ่านจอภาพ คนที่อยู่เฟรมของเราจึงมีความส�ำคัญ ช่างภาพมีหน้ าที่คอยเช็คให้ ผ้ ูประกาศดูดอี ยู่ เสมอเมื่ออยู่ต่อหน้ ากล้ อง เช่นสมมติถ้าผู้ประกาศหน้ ามันหรือทรงผมไม่เรียบร้ อย เมื่อเราเห็นต้ องบอกทีมงานที่ มีหน้ าที่รับผิดชอบให้ รีบเข้ าไปจัดการทันที สิ่งที่ได้ เรียนรู้กค็ ือทุกหน้ าที่น้ันมีความส�ำคัญเหมือนกันหมดและมีความ เกี่ยวข้ องกัน ถ้ าใครบกพร่องต่อหน้ าที่งานก็จะไม่สามารถด�ำเนินต่อไปได้ น่ันเอง และในช่วงซัมเมอร์ปีนี้ของดิฉันนั้น ถือเป็ นประสบการณ์ท่ยี ่ิงใหญ่และส�ำคัญที่สดุ ของชีวิตนักศึกษาทุกคน คือ การออกไปฝึ กงาน ดิฉันก็ได้ มโี อกาศไป
เรื่ อง เรา เล่า 65
ฝึ กงานที่ช่อง 7 ฝ่ ายข่าว โต๊ะเกษตร เหตุผลที่เลือกเกษตรคือโต๊ะนี้ไม่มนี ักศึกษามาฝึ กงานฝ่ ายบุคคลของช่องเลย แนะน�ำ ซึ่งตัวดิฉันเองก็ไม่ได้ มคี วามรู้ด้านการเกษตรเลยแต่กค็ ิดว่าการลองเลือกอะไรที่แตกต่างจากเดิม อาจท�ำให้ เราได้ ร้ จู ักตัวเองมากขึ้นว่าชอบอะไรไม่ชอบอะไร อีกทั้งยังได้ เรียนรู้งานอีกด้ านที่เราไม่เคยรู้จักด้ วย ดิฉันก็ได้ บอกกับ ตัวเองว่าถ้ าไม่เคยลองจะรู้ได้ อย่างไรว่ามันดีหรือไม่ดี หลังจากฝึ กจบก็เป็ นอย่างนั้นจริงๆ ดิฉันได้ เรียนรู้ในอีกมุมมอง ที่เราไม่เคยได้ ทำ� ทุกอย่างรอบตัวในระหว่างที่ฝึกงานสามารถน�ำมาต่อยอดเพื่อฝึ กฝนทักษะได้ ท้งั นั้น อยู่ท่กี ารน�ำมา ปรับใช้ และก็มาถึงปี สุดท้ าย ปี ที่ 4 ปี ของการเป็ นพี่ใหญ่ท่สี ดุ ในภาควิชาวารสารศาสตร์ เมื่อปี ที่แล้ วนอกจากการ ท�ำงานภายในรุ่นเดียวกัน ยังมีร่นุ พี่คอยให้ คำ� แนะน�ำในการท�ำงาน คอยช่วยเหลือดูแล แต่เมื่อต้ องมาเริ่มท�ำเอง นั้น ก็ร้ สู กึ ต้ องมีความรับผิดชอบให้ มากขึ้น ตั้งใจให้ มากขึ้น วิชาที่ต้องเรียนนั้นก็มแี ต่ตวั ที่ยากๆ เน้ นปฏิบตั มิ ากกว่า นั่งเรียนในห้ อง ดิฉันนั้นเลือกเรียนวิชาโทการโฆษณา ซึ่งต้ องเรียนทั้งหมด 5 วิชา แล้ วเทอมแรกของปี 4 นั้นก็เป็ นวิชาตัว สุดท้ ายที่หนักและโหดมากเพราะเป็ นวิชาที่เน้ นความคิดสร้ างสรรค์งานโฆษณา ที่สำ� คัญวิชานี้จะไม่ยากเท่านี้ถ้าทุก คนในกลุ่มช่วยกันท�ำงาน ดิฉันเรียนกับเพื่อน 3 คน และต้ องไปจับกลุ่มกับเพื่อนนักศึกษาภาควิชาอื่นอีก 7 คน และ ความจริงที่ดฉิ ันค้ นพบส�ำหรับวิชานี้ คือ ทุกการท�ำงานกับคนหมู่มากทุกคนต้ องเคยประสบกับปัญหาแบบนี้ท้งั นั้น งานหนึ่งงานมักมีคนที่ทำ� งานมากกว่ากับคนที่ทำ� งานน้ อยกว่า และไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นงานต้ องส�ำเร็จ ความรับผิด ชอบต่องานและหน้ าที่น้ันส�ำคัญเราต้ องตระหนักไว้ อยู่เสมอ และยิ่งโดยวิชาชีพนักข่าวแล้ วยิ่งส�ำคัญที่จะต้ องมีความ รับผิดชอบต่อสังคมอย่างที่สดุ ส่วนในด้ านการเรียนของวิชาเอกนั้น ก็ยังเป็ นในเรื่องของข่าวแต่ในเทอมนี้เน้ นการท�ำ สารคดีวิทยุ ค่อนข้ างมีความแตกต่างกับบทสารคดีโทรทัศน์พอสมควรในส่วนของการใช้ คำ� เชื่อม การพรรณาที่มาก ขึ้น แต่กไ็ ม่ถงึ กับเยอะจนฟุ่ มเฟื อย ต้ องเป็ นภาษาที่สวยงามฟังเข้ าใจง่าย สั้นกระชับ นอกจากนี้ดฉิ ันก็ยังจัดรายการ วิทยุ เป็ นการท�ำงานที่สนุกและแตกต่างออกไปในอีกรูปแบบหนึ่ง
ความทรงจ�ำ 66
สุดท้ ายหลังจากที่ดฉิ ันบรรยายมาจนถึงตอนนี้ เกี่ยวกับการใช้ ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย 4 ปี ที่เป็ นนักศึกษา คณะนิเทศศาสตร์ ภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ แม้ ดฉิ ันจะไม่สามารถน�ำเอาเรื่อง ราวทั้งหมดที่เกิดขึ้นมาเล่าให้ ฟังได้ เพราะมันมีเหตุการณ์มากมายเหลือเกินที่เข้ ามา มีท้งั ดีและไม่ดี สุขและทุกข์ แต่ ทุกอย่ างล้ วนเป็ นเรื่องราวที่น่าจดจ�ำและจะสอนให้ เรารู้จักน�ำเอาไปใช้ ในชีวิตของการเป็ นผู้ใหญ่ ในเวลาอันใกล้ น้ ี ส�ำหรับตัวดิฉันเองมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ ให้ อะไรมากมาย ทั้งวิชาความรู้ การท�ำงาน เพื่อนในมหาวิทยาลัย สังคม การใช้ ชีวิต ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นและอยู่กบั ดิฉันมาจนถึง 4 ปี เวลามักผ่านไปไวเสมอแต่ทุกๆเรื่องราวที่เกิดขึ้นมัน จะไม่ผ่านไปและจะยังคงอยู่ในความทรงจ�ำว่าครั้งหนึ่งนั้นฉันเคยเรียนที่น่ี ที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
เรื่อง เรา เล่า 67
4 ปี ความรัก ความคิด ความฝั น กานต์ วัฒนภิโกวิท
“ ผมยังคิดถึงเรื่องราวที่ผ่านมาตลอด 4 ปี ที่ได้ศึกษาในมหาวิทยาลัยกรุ งเทพ”
ภายหลังจากการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 สิ่งที่ใครหลายๆคนก�ำลังมองหาคือมหาวิทยาลัยที่ตอบ โจทย์ในการศึกษาหาความรู้ของตนเอง ปฏิเสธไม่ได้ว่าจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัยที่หลายคนอยากที่จะเข้าไปศึกษาเนื่องจากเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆของ ประเทศไทย ผมก็เป็นอีกหนึ่งคนที่ต้องการเข้าไปศึกษาที่ วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่หลัง จากที่ผลการแอดมิชชั่ นไม่ได้ออกมาตามที่ใจต้องการ การมองหามหาวิทยาลัยเอกชนก็เป็นตัวเลือกของผม ในเวลานัน้ ผมจึงใช้เวลารวบรวมข้อมูลในหลายๆที่ เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยไหนที่เปิ ดรับสมัครและน่าสนใจใน ด้านวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพจึงเป็นตัวเลือกแรกที่นึกถึง เนื่องจากอุ ปกรณ์ท่ีได้โฆษณาตาม สื่อต่างๆน่าสนใจ ผมจึงได้เลือกมหาวิทยาลัยกรุ งเทพในการศึกษาวารสารศาสตร์ หลังจากที่ได้ เข้ ามาเรียนมหาวิทยาลัยกรุงเทพเทอมแรกที่มาเรียนนั้นทุกอย่างดูเหมือนเป็ นเรื่องง่ายไปหมด เพราะยังเป็ นการเรียนวิชาพื้นฐานซึ่งไม่ต่างจากการเรียนในสมัยมัธยมมากนักจึงไม่เป็ นปั ญหาต่อการเรียนของผม เท่าไหร่ แต่ปัญหาที่เป็ นหนักก็คือการใช้ เวลาไปกับการเล่นเกมส์ ใช่เลยครับ เล่นเกมส์ ผมเป็ นคนที่ตดิ เกมส์มาตั้งแต่มัธยมเรียกได้ ว่าทุกวันจะต้ องเล่นเกมส์ เมื่อขึ้น มหาวิทยาลัยก็ยังคงเล่นเกมส์เหมือนเดิมแต่ต่างจากเดิมตรงที่เล่นมากกว่าเดิม เนื่องจากการเรียนมหาวิทยาลัย เรา จะมีเวลาว่างกว่าเรียนมัธยมเยอะมาก เวลาว่างเหล่านั้นจึงเป็ นการเล่นเกมส์ซะส่วนใหญ่ และแน่นอนว่าการเล่นเกมส์ ที่มากขึ้นก็ต้องมีผลที่ตามมามากขึ้น จากการเรียนที่เป็ นเรื่องง่ายก็เริ่มเป็ นเรื่องยากเพราะเริ่มไม่ค่อยตั้งใจฟังอาจารย์ ที่สอนมากเท่าไหร่เวลาเรียน ส่วนใหญ่จะเป็ นการหลับในห้ องเรียน จนมาวันหนึ่งผมได้ เจอปัญหาเรื่องสายตากับการ ใช้ คอมพิวเตอร์เป็ นเวลานาน วันนั้นเป็ นวันที่ผมรู้สกึ ว่าเวลาที่เสียไปเพื่อท�ำร้ ายตัวเองและเสียเวลาไปกับสิ่งที่ไร้ ค่า ผมจึงตั้งใจว่าจะน�ำเวลามาศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมให้ กบั ตนเองทุกครั้งที่ว่างจากการเรียน ผ่านไปเพียงแค่ 2 สัปดาห์หลังจากเลิกเล่นเกมส์ การเรียนของผมกลับมาดีข้ นึ ทันตาเห็น เรื่องง่ายๆที่หลาย คนมองว่ายาก อย่างการเรียน ผมแค่ใส่ใจกับมันก็ทำ� ให้ สามารถเรียนผ่านมาหลายๆวิชาได้ ง่ายดาย การเรียนปี 1 ของ ผมจึงไม่ใช่เรื่องยากอะไรและไม่ค่อยได้ เจออุปสรรคอะไรมาก แต่หลังจากการจบการศึกษาชั้นปี ที่ 1 ผมได้ มานั่งคิด กับตัวเองว่า การเรียนที่เป็ นอยู่จะพาให้ ตวั ผมไปสู่ทศิ ทางในชีวิตที่ต้องการได้ จริงหรือ?
ค�ำถามนี้ เกิดขึ้ นกับผม เป็ นจุดเริม่ ต้นเล็กๆทีม่ าจากการทีไ่ ด้นงท� ั ่ ำอะไรกับตัวเองมากขึ้ น
เรื่อง เรา เล่า 69
การศึกษาชั้นปี ที่ 2 “ความคิดและความฝัน” เมื่อจบการศึกษาชั้นปี ที่ 1 การเรียนวิชาพื้นฐานก็เริ่มหมดไป วิชาที่เกี่ยวข้ องกับวารสารศาสตร์เริ่มเข้ ามามาก ขึ้น ถือเป็ นเรื่องที่ดที ่จี ะมาตอบผมให้ หายสงสัยว่าการเรียนวารสารศาสตร์ท่จี ริงแล้ วจะเป็ นอย่างไร มันจะเหมือนกับที่ ผมคิดไว้ รึเปล่า ในการเรียนชั้นปี ที่ 2 ผมได้ พบเจอเพื่อนๆมากมายทั้งจากที่เรียนด้ านวิทยุและโทรทัศน์และสื่อสิ่ง พิมพ์ ค�ำถามที่ผมมักถามเพื่อนเสมอในเวลาที่ได้ พูดคุย ผมมักจะถามว่า ท�ำไมถึงมาเรียนวารสารศาสตร์ ซึ่งหลายคน มักมีเหตุผลที่แตกต่างกันออกไป แต่มผี ้ ูหญิงคนหนึ่งที่ทำ� ให้ ผมรู้สกึ ถูกใจค�ำตอบที่ได้ ฟัง เธอชื่อว่า “เดล” เดลให้ คำ� ตอบกับผมว่า มาเรียนเพราะต้ องการท�ำตามความฝัน ฝันที่จะเป็ นบรรณาธิการ การมาเรียน วารสารศาสตร์จึงเป็ นเส้ นทางที่จะไปท�ำตามฝันของเดล ผมมองว่าเรื่องนี้เป็ นเรื่องที่ดมี าก เพราะหลังจากที่ได้ ฟังค�ำ ตอบนั้นผมก็ย้อนมาถามตัวเองว่าแล้ วเรามาเรียนวารสารศาสตร์ถอื ว่าผมท�ำตามฝันของตัวเองไหม ผมมีความฝันที่ เรียบง่ายโดยคิดว่าอยากเป็ นนักข่าว ซึ่งผมคิดว่าความฝันของผมจะถูกท�ำให้ เป็ นจริงขึ้นมาได้ แน่นอนเพียงแต่ความ ฝันของผมไม่ได้ มเี พียง 1 อย่าง ช่วงการเรียนปี ที่ 2 ที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ทุกวันที่มเี วลาว่าง ผมมักใช้ เวลากับการคิดถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้น และเรื่องราวที่ผมได้ พบเจอ รวมไปถึงเรื่องราวในอนาคตที่จะเกิดขึ้น ผมได้ วางแผนในการใช้ ชีวิตไว้ คร่าวๆถึงเรื่อง การเป็ นนักข่าวหลังจากที่เรียนจบมาแล้ วโดยผมมักจะเขียนสิ่งที่ตนเองต้ องท�ำอยู่เสมอและสิ่งเหล่านั้นเป็ นเรื่องราวที่ เกี่ยวกับเดลไม่น้อยไปกว่าเรื่องราวของผมเอง ในทุกๆวันที่ผมไปเรียน ผมจะต้ องคุยกับเดลเสมอในทุกๆเรื่อง ทุกครั้งที่ผมได้ คุยกับเดล มันท�ำให้ ผมคิด อะไรได้ มากขึ้น จากมุมมองใหม่ๆ วิธคี ิดใหม่ๆ และการพัฒนาตนเองจากการอ่านหนังสือ โดยเรื่องราวที่เดลรับรู้และ พบเจอ ได้ ตกผลึกออกมาออกมาเป็ นข้ อมูลที่ทำ� ให้ ผมพัฒนายิ่งขึ้นในทุกๆครั้งที่ได้ พูดคุยกับเดล ไม่ใช่เพียงแค่ทศั คติท่ดี ี ที่ผมได้ รับจากเดลเท่านั้น การเรียนในเทอมนี้ งานส่วนมากจะเป็ นงานที่ได้ รับมอบ หมายเป็ นกลุ่ม ซึ่งเดลเป็ นคนที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาศักยภาพการท�ำงานของผมด้ วยเช่นกัน โดยงานทั้งหมดจากที่ ผมเคยคิดว่าครบและสมบูรณ์แล้ ว จะยังขาดส่วนเล็กๆที่ผมมักมองข้ ามไปเสมอ โดยรวมแล้ วการเรียนในปี นี้ถอื เป็ นเรื่องราวดีๆที่ได้ พบเจอคนที่มาปรับความคิดและเปลี่ยนพฤติกรรม จาก เดิมผมไม่เคยมองเรื่องความฝันมากเท่าไหร่นัก ในหลายๆครั้งมันมักจะเป็ นสิ่งที่ผมลืมไปว่าอยากจะท�ำ แต่ในเวลานี้ ผมคิดได้ แล้ วว่าผมควรเติมฝันให้ เป็ นเช่นไร และควรหาแนวทางที่ชอบส�ำหรับการท�ำงานในอนาคตอีกด้ วย
ท้ายทีส่ ุดแล้วความคิดและความฝัน ทั้ง 2 อย่างนี้ ส�ำคัญไม่ต่างกัน...
ความทรงจ�ำ 70
กับเดล (ขวา) การศึกษาชั้นปี ที่ 3 “แนวทางทีเ่ ริม่ แน่ชดั ”
การเปลี่ยนผ่านเข้ าสู่ปีที่ 3 ถือว่าเป็ นเรื่องที่ผ่านไปไวมาก ผมไม่คิดว่าเวลาที่เกิดขึ้นจะผ่านไปไวขนาดนี้หลัง จากรู้สกึ ตัวว่าชีวิตของผมนั้นต้ องท�ำอะไรบ้ าง ซึ่งการเรียนปี ที่ 3 ในมหาวิทยาลัยกรุงเทพนั้นเป็ นปี ที่ได้ เปิ ดมุมมอง ของการใช้ ชีวิตที่แท้ จริงเนื่องจาก 2 ปี ที่ผ่านมา การเรียนที่พบเจอจะถูกจ�ำกัดเพียงแค่การท�ำงานภายในห้ องเรียนและ การศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่ปีที่ 3 ถือว่าเป็ นการลงลึกขึ้นมาอีกขั้นในการท�ำงานวารสารศาสตร์ เนื่องจากปี นี้เป็ นปี แรกที่ ได้ รับมอบหมายงานสารคดีเชิงข่าว ซึ่งเป็ นงานที่ต้องใช้ ท้งั พลังสมองและพลังกายอย่างหนัก เนื่องจากเป็ นเรื่องราว ใหม่ๆที่เพิ่งเคยพบเจอ การท�ำงานสารคดีเชิงข่าวในปี นี้อยู่ภายใต้ โจทย์ท่ผี มคิดขึ้น ซึ่งเป็ นเรื่องราวที่เกี่ยวกับฝรั่งเร่ร่อนใน ประเทศไทย ซึ่งการตามหาฝรั่งเร่ร่อนมาสัมภาษณ์จึงเป็ นเรื่องที่ใหญ่พอตัว งานชิ้นนี้จึงท�ำให้ ผมและเพื่อนในกลุ่มได้ รู้ถงึ การท�ำงานของนักข่าวจริงๆว่าเป็ นไปเช่นไร ซึ่งเรื่องราวหลายๆอย่างต้ องผ่านวิธกี ารคิดและการหาข้ อมูลอย่างลึก ซึ้ง เนื่องจากข้ อมูลที่นำ� มาประกอบในการท�ำงาน ต้ องเป็ นข้ อมูลรอบด้ านและอธิบายเรื่องราวครบองค์ประกอบของ สารคดีเชิงข่าว
เรื่ อง เรา เล่า 71
ทีมสารคดี
ในการเรียนชั้นปี ที่ 3 ส่วนใหญ่แล้ วจะเป็ นการท�ำงานสารคดีเชิงข่าว ซึ่งงานชิ้นนี้ได้ ให้ ส่งิ ใหม่ๆในการใช้ ชีวิต เป็ นเหมือนการเดินทางพร้ อมกับการท�ำงานไปในตัวด้ วยเพราะการท�ำงานชิ้นนี้ต้องลงพื้นที่ไกลถึงพัทยา จากปกติท่ี ไปพัทยาเพื่อเที่ยวเพียงเท่านั้น ในครั้งนี้ต้องไปเพื่อท�ำงานเหมือนเป็ นการสร้ างประสบการณ์ใหม่ๆให้ กบั ตนเอง เรื่อง ราวใหม่ๆที่ได้ พบเจอ ผู้คนใหม่ๆที่ได้ พบเจอ ต่างเป็ นความทรงจ�ำที่เกิดขึ้นจากการท�ำงานชิ้นนี้ โดยรวมแล้ วการศึกษาชั้นปี ที่ 3 ถือว่าเป็ นจุดที่เริ่มขี้แนวทางที่แน่ชัดในการท�ำงานด้ านวารสารศาสตร์ ไม่ เพียงแค่การลงพื้นที่ทำ� งานจริงภายในเทอมที่ได้ เรียน การฝึ กงานก็เป็ นเรื่องราวที่ทำ� ให้ พบเจอบุคคลใหม่ๆและการ ท�ำงานจริงในการเป็ นนักข่าว ซึ่งในทุกๆวันผมจะได้ ลงพื้นที่จริง เป็ นผู้ส่อื ข่าวจริงๆ ท�ำให้ ได้ ประสบการณ์ในการณ์ ท�ำงานจริง หลายครั้งข่าวที่ผมท�ำได้ นำ� ไปออกอากาศจริง ถือเป็ นเรื่องที่น่าภูมใิ จอย่างมากส�ำหรับนักศึกษาคนหนึ่ง ซึ่ง สิ่งที่ผมได้ พบเจอตลอดการเรียนปี ที่ 3 ถือว่าเป็ นปี การศึกษาที่ใช้ งานได้ ค้ ุมค่าอย่างมาก ในปี นี้จึงเป็ นเหมือนแนวทาง การตัดสินใจของการก้ าวขึ้นมาท�ำงานด้ านวารสารศาสตร์ ส�ำหรับแนวทางของผมในตอนนี้ เริ่มมัน่ ใจแล้วว่าการท�ำงานวารสารศาสตร์เป็ นสิ่งที่ตอบโจทย์ในชีวิต ของตนเอง
ความทรงจ�ำ 72
การศึกษาชั้นปี ที่ 4 “ตัดสินใจ
สิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังจากการฝึ กงาน การเปลี่ยนผ่านเข้ าสู่ปีสุดท้ ายของการเป็ นนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย กรุงเทพ เป็ นเรื่องที่มาพร้ อมกับการท�ำงานโปรเจคจบ เรื่องราวที่ผมได้ พบเจอในปี นี้เป็ นเรื่องที่แปลกใหม่อกี เช่นเคย โจทย์งานโปรเจคจบที่ผมตั้งขึ้นเป็ นสิ่งที่ผมไม่เคยรู้เรื่องราวมาก่อน เพียงแค่อยากท�ำมันออกมาเนื่องจากเป็ นเรื่อง ราวที่ไม่เคยท�ำ ซึ่งเป็ นเรื่องเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและ AEC การลงมือท�ำงานในเทอมนี้ทำ� ให้ ผมได้ ผมคนแปลกใหม่ เรียนรู้วัฒนธรรมและศาสนาใหม่ๆ ผมไม่เคยรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับชาวมุสลิมและศาสนาอิสลามมาก่อน ทุกวันในการลงพื้นที่ผมจึงต้ องให้ เพื่อนชาวอิสลามเป็ นคน แนะน�ำสิ่งที่สามารถท�ำได้ และสิ่งที่เป็ นข้ อห้ ามของศาสนา โดยเรื่องราวที่ผมได้ พบเจอจากการถ่ายท�ำร้ านอาหารของ ชาวมุสลิม ผมได้ พบกับความศรัทธาในศาสนาของชาวมุสลิม ถือได้ ว่าทั้งหมดที่ได้ พบเป็ นเรื่องแปลกใหม่ในชีวิต ล ช่วงปี 4 ของการศึกษาในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็ นเรื่องราวที่ยังคงด�ำเนินอยู่ ปัจจุบนั ผมยังคิดถึงเรื่อง ราวที่ผ่านมาตลอด 4 ปี ที่ได้ ศกึ ษาในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ สถานที่น้ ีเป็ นมากกว่าการให้ การศึกษา แต่ก่อนผมเคยคิด ว่าการมาเรียนมหาวิทยาลัยเป็ นเรื่องที่เสริมสร้ างเพียงแค่ความรู้จากการศึกษาเท่านั้น แต่หลังจากที่ได้ มาเรียน 4 ปี มหาวิทยาลัยให้ ประสบการณ์ ให้ ความคิด ให้ เรื่องราวดีๆในชีวิต ในอีกไม่ก่สี ปั ดาห์ผมก็จะเรียนจบจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ต่อจากนี้จะเป็ นทางที่ผมได้ เลือกก้ าวเดิน และ เลือกตัดสินใจจากความคิดทั้งหมดที่ได้ รวบรวมมาตลอด 4 ปี ว่าชีวิตของผมจะเดินไปตามความฝันส�ำเร็จมากเท่า ไหร่ เมื่อเรียนจบไปแล้ วเวลาจะเป็ นตัวตัดสินทุกอย่าง ทั้งหมดนี้เป็ นเรื่องราวของผมที่เกิดขึ้นใน 4 ปี ที่ผ่านมาใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ทางข้างหน้าจะเป็ นอย่างไร การตัดสินใจเป็ นสิง่ ส�ำคัญ....
เรื่อง เรา เล่า 73
ก้าวแรก รตา ผดุงเกียรติศักดิ์
“ เป็นผู ้ใหญ่ขึ้นมากๆ ต้องเจอกับปั ญหาและ อุ ปสรรคอะไรหลายๆอย่าง โตขึ้นก็ต้องคิดมากขึ้น และต้องสามารถแก้ไขปั ญหาต่างๆได้”
วันแรกก้าวเท้าเข้ามาในรัว้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มาแบบงงๆ เพราะไม่เคยมาปฐมนิเทศ หรือมาเข้า ร่วมกิจกรรมก่อนเปิ ดภาคเรียน จึงไม่มีเพื่อนมาก่อน ต้องมาหาเอาเองทัง้ ๆที่เพื่อนบางคนมีเพื่อนตัง้ แต่ตอน ปฐมนิเทศแล้ว วันเปิ ดเทอมจึงให้รุ่นพี่ท่เี คยอยู ่โรงเรียนเดียวกันตอนมัธยมปลายมาส่งที่ห้อง เพราะอ่านรหัส ห้องในตารางสอนไม่เป็น ไม่รู้ว่าอาคารไหนและห้องไหน ซึ่ งคาบแรกที่เรียนคือวิชา Marketing เรียนเวลา 08.40 น. แล้วก็ไปสาย เพราะกะเวลามามหาวิทยาลัยไม่ถูก พอถึงหน้าห้อง มองเข้าไปเพื่อนอยู ่กันเต็มห้อง และอาจารย์ก�ำลังสอนอยู ่ พอเราขออนุญาตอาจารย์เข้ าห้ อง เพื่อนทุกคนก็หันมามองพร้ อมกัน ซึ่งเราก็งงว่า เราท�ำอะไรผิดรึเปล่า วัน นั้นเลยได้ เพื่อนผู้หญิงกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง วันนั้นก็เป็ นวันที่ประทับใจไม่เคยลืม เพราะไม่คิดว่าตัวเองจะหาเพื่อนได้ เร็วขนาดนี้ ท�ำให้ คลายกังวลไปได้ แต่มเี พื่อนคนหนึ่งในกลุ่ม เรียกได้ ว่า เป็ นรุ่นพี่กว็ ่าได้ เพราะเค้ าเรียนอยู่ท่นี ่ีมา หลายปี แล้ ว เค้ าชื่อ‘ชะเอม’ แรกที่เราคบกัน เราก็ไม่ได้ คิดอะไร พอผ่านไปสักระยะหนึ่ง เค้ าเริ่มแปลกๆ เค้ าบอกเรา ว่า บางวันที่เค้ าไม่ได้ มาเรียนคือเค้ าไปcasting ละครโทรทัศน์ เราก็เด็กไม่ร้ เู รื่องอะไร หลังๆมาพวกเราเริ่มจับผิดว่า หน้ าตาเค้ าไม่ได้ สวย หุ่นไม่ได้ ท�ำไมถึงได้ castingละคร เค้ าบอกพวกเราว่า เดีย๋ วเค้ าจะพาพวกเพื่อนๆไปcastingด้ วย จะได้ มงี าน พอหลังจากนั้นไม่นานเค้ าก็ออกจากลุ่ม ท�ำให้ ร้ วู ่าที่ผ่านมาเค้ าโกหกเราหลายๆเรื่อง นึกย้ อนกลับไปก็ ตลกดีเหมือนกัน หลังจากวันนั้นก็เรียนอย่างมีความสุข มีเพื่อนที่เรียนด้ วยกัน ไม่เคยโดดเรียนและตั้งใจเรียนมาก แต่มหี นึ่ง วิชาที่เรียนยังไงก็ไม่เข้ าใจ ไม่ร้ เู รื่อง คือวิชากฎหมาย ดูเพื่อนทุกคนเรียนแล้ วเข้ าใจ มีเราคนเดียวที่ไม่เข้ าใจ ซึ่งมัน เหมือนจะไม่ยาก แต่เราก็ไม่เข้ าใจ ท�ำข้ อสอบก็ไม่ได้ ปี นี้เป็ นปี ที่เรียนเล่นๆ เพราะยังไม่ร้ วู ่าการเรียนหรือเกรดที่ ประเมินตัวเองส�ำคัญและคิดกันอย่างไร และไม่คิดว่าเกรดที่ออกจะแย่ท่สี ดุ เท่าที่เคยเจอมา คือ เกรดรวมเฉลี่ยไม่ถงึ 3 คือประมาณ 2.7 ซึ่งน้ อยมาก ไม่เคยได้ น้อยขนาดนี้มาก่อน หลังจากเกรดออกมาท�ำให้ ต้องปฏิวัตติ วั เอง เล่นด้ วยก็ ต้ องเรียน ต้ องรู้ตวั เองว่าก�ำลังท�ำอะไรอยู่ ท�ำให้ เกรดเทอม2 ดีข้ นึ เกรดถึง3 ช่วงเวลาตอนปี 1 ไม่มอี ะไรหวือหวา แต่กไ็ ม่เคยร่วมกิจกรรมอะไรของคณะ หรือภาควิชา ไม่ว่าจะกิจกรรม นิเทศสัมพันธ์ Sport Day หรืออื่นๆก็ไม่เคย เพราะต้ องมีเวลาซ้ อมหลังเลิกเรียน ซึ่งบ้ านเราอยู่ไกล ไม่กล้ ากลับบ้ าน เย็น กลัวถึงบ้ านดึก กลัวไม่มรี ถกลับบ้ าง จึงท�ำให้ ไม่เคยเข้ ามาร่วมกิจกรรมอะไร มีร่นุ พี่ปี3 มาชวนให้ เป็ นเชียร์ ลีดเดอร์ของภาควิชา ในใจนี่คือ อยากเป็ นนะ อยากรู้อยากลองอะไรใหม่ๆ อยากมีผลงานในรั้วมหาวิทยาลัย เพราะ โดยส่วนตัวเป็ นคนชอบท�ำกิจกรรม สมัยอยู่อนุบาล-ประถม-มัธยมท�ำกิจกรรมมาโดยตลอด ถึงแม้ เป็ นกิจกรรมที่ไม่ ได้ ร่วมท�ำ100เปอร์เซ็นต์ ชอบมีเพื่อนเยอะๆ รู้สกึ ผ่อนคลายแล้ วก็สนุกด้ วย
เรื่อง เรา เล่า 75
แต่เมื่อรุ่นพี่มาชวน เราก็ได้ แต่ปฏิเสธไป โดยให้ เหตุผลไปว่า กลับบ้ านดึกไม่ได้ เพื่อนมาชวนเป็ นเชียร์ ลีดเดอร์เป็ นเพื่อน เราก็ปฏิเสธไป ส่ายหัวอย่างเดียว จึงท�ำให้ ในช่วงปี 1 ไม่ได้ ทำ� กิจกรรม ไม่มอี ะไรหวือหวา เลิกเรียน อย่างมากก็ไปหาอะไรกินกับเพื่อนใกล้ มหาวิทยาลัย แล้ วก็รีบกลับบ้ าน เพื่อนชอบแซวว่ากลัวบ้ านหายเหรอ? แต่ จริงๆคือบ้ านไกล แต่พ่อกับแม่เป็ นคนขี้ห่วง ถ้ ากลับเกินเวลานิดเดียวก็จะถาม ถามเยอะมาก ว่าไปไหนมา ก่อนจะไป ไหนจะต้ องโทรไปบอกก่อนตลอด ไม่อย่างนั้นมีเรื่องแน่ๆ ปี 2 เพื่อนที่อยู่กลุ่มเดียวกันตอนปี 1 ก็เริ่มแยกย้ ายไปมีกลุ่มของตัวเอง เรียกได้ ว่า ใครอยู่กบั ใครได้ กจ็ ะแยก กันไปเอง ไม่ได้ เกิดการทะเลาะกัน ถึงแม้ จะแยกกลุ่มกันไปแต่เราก็ยังคุยกันปกติเหมือนเดิม แค่ไม่ได้ เรียนด้ วยกัน แค่น้ัน ช่วงเวลาปี 2 ก็เป็ นปี ที่ยังมีความสุขกับการเรียนและการเที่ยวเล่นกับเพื่อนๆ ถ้ าจ�ำไม่ผดิ ปี นี้เป็ นปี ที่นำ�้ ท่วม ใหญ่ จนมหาวิทยาลัยต้ องปิ ดเทอมนานถึง 6เดือนก่อนขึ้นปี 2 พอเปิ ดเทอมแล้ วคิดถึงเพื่อนมาก แต่ไม่อยากเรียน อยากมามหาวิทยาลัยเพื่อมาคุยเล่นกับเพื่อน เป็ นช่วงเวลาที่น่าจดจ�ำเลยก็ว่าได้ มหาวิทยาลัยต้ องฟื้ นฟูอย่างยาวนาน เราได้ มีโอกาสมากิจกรรม Big Cleaning Day มาท�ำความสะอาด บ้ านก็อยู่ไกล แต่อยากมาเข้ าร่วมกิจกรรม มันเป็ น ภาพความประทับใจไม่ลืม เพราะเราไม่เคยท�ำอะไรแบบนี้มาก่อน จ�ำได้ ว่า การเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเป็ นการเรียนผ่านระบบอินเตอร์เน็ต WebEx เป็ นอะไรที่แปลกดี เสียค่าเทอมหลายหมื่น แก้ ปัญหาด้ วยการเรียนที่บ้าน จะบอกว่าสบายก็สบาย แต่ความรู้สกึ เหมือนเราสบายเกินไป อยู่บ้านจะท�ำอะไรก็ได้ ถ้ าบ้ านไหนระบบอินเตอร์เน็ตไม่เสถียรภาพก็จะค้ าง แล้ วเวลาเพื่อนๆเห็นหน้ าตอนค้ างก็พา กันหัวเราะ มันเป็ นสิ่งที่น่าจดจ�ำมากๆ ไม่คิดเลยว่าประสบการณ์ในการเรียนจะมีอะไรแปลกๆเกิดขึ้นด้ วย ปี นี้เป็ นปี ที่เริ่มท�ำกิจกรรมของมหาวิทยาลัยและของภาควิชา กิจกรรมของมหาวิทยาลัยก็เป็ นการเข้ าชมรม เราอยู่ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ เพราะรู้จักกับรุ่นพี่ท่โี รงเรียนสมัยมัธยม พี่เค้ าชักชวนให้ อยู่ พอมีกจิ กรรมต่างๆเค้ าจะ มาบอก ที่ได้ ร่วมกิจกรรมเลยก็คือ ไปปลูกป่ า เป็ นป่ าชายเลนที่จังหวัดระยอง กิจกรรมนี้เหมือนเราย้ อนกลับไป เหมือนตอนเข้ าค่ายที่โรงเรียน เพราะที่พักเป็ นโรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดระยอง มีอาคารไม้ 2 หลัง นอนแยกกับรุ่น
กับเพื่อนๆและรุ่นพี่ท่ชี มรมอนุรักษ์ธรรมชาติ
ความทรงจ�ำ 76
พี่ของชมรม ไม่มหี ้ องอาบน�ำ้ มีแค่ถงั น�ำ้ ใหญ่ 2 ถัง แล้ วน�ำแผ่นพลาสติกหนาทึบมากั้นรอบๆเพื่อไม่ให้ คนข้ างนอก มองเห็น ค่ายครั้งนี้ไป2 คืน 3 วัน สนุกมาก ได้ เจอเพื่อน เจอรุ่นพี่ รู้จักกับเพื่อนต่างคณะ ค่ายครั้งนี้ทำ� ให้ เราสนิทกัน กับทุกคน เจอกันที่มหาวิทยาลัยก็ทกั ทายกัน ส่วนกิจกรรมของภาควิชาคือ ได้ เข้ าร่วมเป็ น Staffของภาควิชา รวมถึง เป็ นนักแสดงในการแสดงนิเทศสัมพันธ์ เรามีหน้ าที่เต้ น ซึ่งจ�ำได้ ว่า ซ้ อมกันตั้งแต่ปิดเทอม ยันเปิ ดเทอม เหนื่อยมาก แต่สนุกมาก รุ่นพี่เข้ มงวดในการฝึ กซ้ อมมาก เพราะกลัวสู้กบั ภาควิชาอื่นๆไม่ได้ เพราะจ�ำนวนคนของภาคอื่นๆมี เยอะ แต่วารสารศาสตร์ของเรามีน้อย จึงเรียกมาซ้ อมทุกวัน เลิกเรียนก็ซ้อม กลับบ้ านดึกก็ทน การท�ำกิจกรรมในครั้ง นี้ได้ เรียนรู้อะไรหลายๆอย่าง อดทนซ้ อมแล้ วยังต้ องอดทนกับค�ำติคำ� ชมของรุ่นพี่ท่จี บไปแล้ ว แล้ วเคยท�ำกิจกรรมนี้ ต้ องอดทนกับนิสยั ของเพื่อนๆพี่ๆที่เราไม่เคยคุยกันมาก่อนแล้ วต้ องมาร่วมงานกัน ได้ เรียนรู้วิธกี ารแก้ ไขปัญหา ต่างๆ คนเยอะเรื่องแยะเป็ นธรรมดาบางครั้งต้ องอาศัยความเข้ าใจกันและกัน พอวันงานการแสดงของภาควิชา วารสารศาสตร์ทำ� ให้ ตวั เราเองก็ท่งึ ไม่คิดว่าจะออกมาดีเกินคาด รุ่นพี่ท่มี าดูถงึ กับเอ่ยค�ำชม ผลสุดท้ ายก็ทำ� ให้ เราได้ คิดว่า มันก็ค้ ุมนะที่ได้ มโี อกาสมาท�ำกิจกรรม ถึงแม้ มนั จะเหนื่อย แต่เราก็สามารถพูดได้ ว่าภูมใิ จที่ได้ ทำ � ปี 3 ปี นี้เป็ นปี ที่ต้งั ใจไว้ ว่า ขอพักเรื่องกิจกรรมต่างๆไว้ ก่อน เพราะได้ ยินจากรุ่นพี่หลายๆคนว่า ปี 3 งานเริ่ม เยอะเรียนเริ่มหนัก เวลาในการท�ำกิจกรรมต่างๆอาจจะไม่สะดวก แต่ร่นุ พี่บางคนที่เคยเห็นเราร่วมกิจกรรมของภาค วิชา ก็ยังอยากให้ เราท�ำอยู่ แต่เราก็พยายามให้ เหตุผลเรื่องที่เราไม่สะดวกจะท�ำกิจกรรมแล้ ว อาจจะเข้ าไปช่วยบ้ างถ้ า อะไรที่มนั ไม่หนักหนาเกินไปส�ำหรับตัวเราเองนัก แต่ผลสุดท้ ายการปฏิเสธก็ไม่ได้ ผล เนื่องจากจ�ำเป็ นต้ องหาคนที่สามารถเป็ นเชียร์ลีดเดอร์ให้ กบั ภาควิชาใน งานSport Day เพราะไม่มใี ครท�ำ ทุกคนมีภาระหน้ าที่ท่ตี ้ องเรียน การซ้ อมก็ไม่ได้ ซ้อมกันเต็มที่เพราะปี นี้เริ่มเรียน หนักมีท้งั วิชาเอกและวิชาโท ซ้ อมบ้ างไม่ซ้อมบ้ าง ไม่มรี ่นุ พี่เข้ ามาควบคุมและดูแลพวกเรา เราต้ องจัดการกันเอง ไม่ ว่าเรื่องเพลง เรื่องกลอง เรื่องชุดการแสดง รู้สกึ ท้ อนิดหน่อย เพราะว่าไม่พร้ อม เราไม่เคยเป็ นเชียร์ลีดเดอร์มาก่อน ไม่ร้ วู ่าต้ องท�ำยังไงบวกกับระยะเวลาอันสั้นที่ต้องรีบซ้ อมให้ ทนั วันงาน ซ้ อมบ้ างไม่ซ้อมบ้ าง เมื่อถึงวันจริงจะเห็นความ ไม่พร้ อมหลายๆอย่างของภาควิชา หลักๆเลยคือคนน้ อยมาก แต่เราก็พยายามที่สดุ เท่าที่จะท�ำได้ ถึงแม้ จะไม่ได้ รางวัล แล้ วก็ยอมรับได้ แต่กภ็ มู ใิ จที่เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมในครั้งนี้ แล้ วก็ได้ ทำ� งานนิเทศสัมพันธ์คือเป็ นนักแสดง
เมื่อเป็ นเชียร์ลีดเดอร์ตอนปี 3
เรื่อง เรา เล่า 77
ซึ่งเวลาซ้ อมก็น้อยเหมือนกัน ซ้ อมบ้ างไม่ซ้อมบ้ าง แต่กย็ ังมีเวลามากกว่าเชียร์ลีดเดอร์ เพราะได้ ความร่วมมือจาก เพื่อนๆน้ องๆของภาควิชาท�ำงานให้ ออกมาได้ ดพี อสมควร การเปลี่ยนแปลงของชีวิตในการเรียนมหาวิทยาลัยเริ่มจากปี 3 เพราะปี 3เป็ นปี ที่เรียนหนัก วิชาที่เรียนส่วน ใหญ่กเ็ ป็ นวิชาที่เกี่ยวข้ องกับภาควิชามากๆ ก็คือ วารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายและวิทยุโทรทัศน์ เรียกง่ายๆ ท�ำข่าว โทรทัศน์ สกูป๊ ข่าวท�ำนองนี้ การท�ำงานหลายขั้นตอนก็ได้ เรียนรู้จากปี นี้มากๆ ต้ องท�ำข่าวจริงๆ ต้ องสัมภาษณ์ ต้ อง ติดต่อแหล่งข่าวเอง ต้ องถ่ายภาพข่าวเอง ตัดต่อ ลงเสียงข่าวเอง เรียกได้ ว่าท�ำได้ ทุกอย่าง รวมไปถึงสารคดีเชิงข่าว จ�ำ ได้ ว่าเรื่องแรกที่คือ ‘แมลงทอดอาหารกู้โลก’ เป็ นสารคดีเชิงข่าวเรื่องแรก รู้สกึ ยังช่วยทีมตัวเองไม่เต็มที่ เพราะมีไป ต่างจังหวัด ตอนนั้นจ�ำได้ ว่า พ่อของเรายังไม่เข้ าใจงานที่เราท�ำ ไม่เข้ าใจการลงพื้นที่ ท�ำให้ ไม่ได้ ไปกับเพื่อนและพลาด อะไรหลายๆอย่าง พอได้ ลงมือท�ำงานเองจริงๆ รู้เลยว่าเหนื่อยมากๆ เหมือนเป็ นการท�ำงานจริงๆ แต่เราจะส่งงานที่ อาจารย์ แต่อาจารย์กเ็ ปรียบเหมือนหัวหน้ างานท�ำนองนั้น ไม่มอี ะไรท�ำไม่ได้ จริงๆ บางทีการท�ำงานจริงเรื่องการ ติดต่อแหล่งข่าวเป็ นสิ่งที่น่ากังวลและน่ากลัวที่สดุ ส�ำหรับเรา เพราะเราไม่มที างรู้เลยว่า แหล่งข่าวจะให้ ความร่วมมือ หรือไม่ บางคนก็ไม่ให้ ความร่วมมือเลย บางคนก็ให้ อย่างเต็มที่เพราะเห็นเราเป็ นนักศึกษา ต้ องให้ ความรู้กบั เราเป็ น สิ่งที่ยากอย่างหนึ่งในการต่อต่อขอสัมภาษณ์ ปี 3เทอม2 ก็เป็ นช่วงที่ต้องหาที่ฝึกงาน ตอนนั้นก็ยังงงๆว่า ต้ องท�ำอย่างไร ต้ องใช้ เอกสารอะไร แล้ วเราจะไป ที่อ่นื คือตอนนั้นก็เคว้ งมากเพราะเพื่อนบางคนก็ได้ ท่ฝี ึ กงานแล้ ว แต่เรายังไม่ได้ ที่แรกที่ไปยื่นเอกสารไว้ คือ ThaiPBS ต้ องรอเค้ าตอบรับกลับมา ที่ท่2ี คือ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสชี ่อง3 ไปถึงที่แล้ ว พี่ท่ชี ่องบอกว่า นักศึกษาฝึ กงานเต็ม หมดแล้ ว เพราะมหาวิทยาลัยที่อ่นื มาสมัครไปก่อนหลายเดือนแล้ ว ตอนนั้นไปกับเพื่อน2คนก็ร้ สู กึ แย่ เพราะกลัวไม่มี ที่ฝึกงาน ก็เลยนั่งอยู่ท่ชี ่อง นั่งคุยกันว่าจะเอายังไงกันต่อ แล้ วอยู่ๆก็มพี ่ีคนหนึ่งเดินออกมาจากออฟฟิ ศแล้ วเข้ ามา ถาม เค้ าก็เลยแนะน�ำว่ารายการโต๊ะข่าวบันเทิงยังเปิ ดให้ นักศึกษาฝึ กงานสมัครอยู่ จึงพากันไปที่ตกึ ข่าวของช่อง3 รอ การตอบรับ สุดท้ ายก็ได้ ฝึกที่น่ี ปี 4 เป็ นปี ที่ต้องท�ำงานหนักเหมือนเดิม เรียนหนักเหมือนเดิม ไม่ค่อยมีเวลา เวลาทั้งหมดก็พูดได้ ว่าไปทุม่ เท ให้ กบั งานสารคดีเชิงข่าวมากกว่า แล้ วก็มงี านพวกจัดรายการวิทยุ จัดรายการวิทยุท่สี ่งอาจารย์ไป เราคิดว่ายังท�ำได้ ไม่ ดี แต่พอคะแนนออกมาได้ 7/10 ก็ร้ สู กึ ดีใจ อย่างน้ อยๆอาจารย์กย็ ังเห็นว่าเราไม่ได้ แย่ เราก็มกี ำ� ลังใจที่คิดอยากจะ ท�ำอาชีพดีเจเป็ นคนจัดรายการวิทยุ รู้สกึ ว่ามันสนุกดี เป็ นประสบการณ์ท่ดี ที ่เี ราได้ ลองท�ำอะไรที่เราไม่เคยท�ำมาก่อน แล้ วก็มจี ุดที่เราคิดว่าโหดที่สดุ เลย คือการท�ำprojectจบ คือท�ำProductionและรูปเล่มจบเพียงคนเดียว ช่วงนี้ เหนื่อยมาก ต้ องท�ำทุกอย่างเองคนเดียว มีเพื่อนเพียงหนึ่งคนไปช่วยถ่ายท�ำ แต่กแ็ อบคิดว่า ถ้ าเราท�ำงานจริงๆ เรา ต้ องท�ำเองคนเดียวแบบนี้รึเปล่า? คือไม่มใี ครผ่านมาได้ ง่ายๆจริงๆเพราะมันคือตัวจบ ถ้ าท�ำไม่ผ่านก็คือไม่จบ ต้ อง ยอมรับว่าเราไม่ได้ เป็ นคนที่เก่ง แต่อย่างน้ อยก็เอาตัวรอดได้ ในหลายๆเรื่อง งานนี้ต้งั ใจท�ำสุดความสามารถแล้ ว พยายามท�ำให้ ได้ เท่าเพื่อนคนอื่นๆ แต่ช่วงที่โหดที่สดุ คือช่วงเสนอรายการ เสนอยังไงก็ไม่ผ่าน เสนอไป2-3รอบ กว่า จะผ่าน จ�ำได้ เลยว่าตอนที่เสนอครั้งสุดท้ าย เสียงและมือสั่นมาก กลัวไม่ผ่าน แต่สดุ ท้ ายก็ผ่าน โล่งใจมากอย่างน้ อยๆ ก็ผ่านไปด่านหนึ่งแล้ ว ด่านต่อๆไปคือรูปเล่มและวิดโี อ ค่อยๆทยอยส่งให้ อาจารย์ตรวจทุกสัปดาห์ อาจารย์นัดวัน
ความทรงจ�ำ 78
โปรเจคจบ
ไหนก็ไป แล้ วผลสุดท้ ายมันก็ผ่านมาได้ ถึงแม้ ว่ามันจะไม่ใช่งานที่ดที ่สี ดุ แต่เราก็พยายามอย่างเต็มที่แล้ ว เรื่องเพื่อนก็เป็ นอีกเรื่องหนึ่งที่ทำ� ให้ ปวดหัวได้ ไม่ใช่น้อย เพราะเรียนมา4ปี ก็ร้ นู ิสยั ใจคอเพื่อนบางคนพอ สมควร คนไหนสามารถร่วมงานอย่างสนิทใจก็มี ไม่สนิทใจก็มี พอได้ ทำ� งานกันเป็ นทีมจะรู้ทุกสิ่งอย่างว่าใครเป็ น อย่างไร แต่ไม่ได้ ว่าใครหรือว่าโทษใคร เพราะเพื่อนทุกคนก็ต่างที่มา แล้ วมารวมกันก็อาจมีไม่พอใจกันบ้ าง แต่เราจะ รู้ว่าสามารถอยู่กบั ใครแล้ วสบายใจ ซึ่งปี 4ก็เป็ นปี สุดท้ ายที่จะได้ เรียนอยู่ในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ไม่อยากจะมีปัญหา กับใคร อยากอยู่อย่างมีความสุขและสุดท้ ายจะพยายามตั้งหน้ าตั้งตาเรียนให้ จบแบบสบายใจ สุดท้ ายนี้ร้ัวมหาวิทยาลัยกรุงเทพก็เป็ นที่ท่ใี ห้ อะไรหลายๆอย่าง ท�ำให้ เป็ นผู้ใหญ่ข้ นึ มากๆ ต้ องเจอกับปัญหา และอุปสรรคอะไรหลายๆอย่าง โตขึ้นก็ต้องคิดมากขึ้นและต้ องสามารถแก้ ไขปัญหาต่างๆได้ เมื่อเรียนจบไปคงจะ ไม่มชี ่วงเวลาแบบนี้อกี แล้ ว
เรื่อง เรา เล่า 79
คิดจะเลือก เลือก BU ธัญญาพร พิมพ์งาม
“ ถึงแม้ว่าเราจะสามารถคิดได้ ท�ำได้ แต่ถ้าไม่ได้ ท�ำในสิ่งที่ตัวเองคิดมันจะสนุก มันจะดีได้ยังไง ”
หากถามว่าท�ำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ขอตอบเลยว่า แอดมิชชั่ นไม่ติดค่ะ ไม่ติดซั ก คณะเลยขนาดเลือกคณะที่มีคะแนนเกินตัง้ แปดพันแต่ก็ไม่ติด บวกกับช่ วงนัน้ ไม่สบายด้วยโรคเริ่มรุมเร้าไม่ได้ ไปสอบ GAT PAT ครัง้ สุดท้ายซึ่ งครัง้ นี้เตรียมตัวมาดีมาก คือยังไง GAT ภาษาไทยต้ องได้ เต็มไม่กเ็ กือบเต็ม ส่วน GAT ภาษาอังกฤษก็ค่อยไปถูไถเอา คิดว่ายังไง คะแนนต้ องดีกว่าครั้งแรกที่สอบ แต่สดุ ท้ ายแล้ วก็ไม่ได้ ไปสอบเพราะว่าป่ วยในวันนั้นพอดีและแอดมิดเข้ าโรง พยาบาล ต้ องใช้ คะแนนสอบครั้งแรกซึ่งน้ อยมากๆ วินาทีน้ันเลยตัดสินใจว่ายังไงคะแนนก็ไม่น่าจะไปสู้คนอื่นได้ เลย ไปสมัครเรียนที่ม.กรุงเทพไว้ เลย ก่อนที่จะประกาศผลแอดมิชชั่น โดยส่วนตัวชอบถ่ายภาพ ถ่ายหนัง เลยเลือกที่จะเรียนสาขาภาพยนตร์แต่ ด้ วยสุขภาพที่ไม่ค่อยเอื้ออ�ำนวยก็เลยเลือกสาขาวิทยุโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียงแต่พ่ีท่รี ับสมัครบอกว่าสาขานี้คน เรียนเยอะแล้ วน้ องเรียนนี่ดีกว่ าสาขาวารสารศาตร์เพื่อวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์เรียนเหมือนกันแหละ เนื้อหาที่เรียนละเอียดกว่าด้ วย นี่กค็ ิดว่าไหนๆก็เสียค่าเทอมแล้ วเอาให้ ค้ ุมเลยแล้ วกันเลยเลือกเรียนวารสารศาสตร์ โดยที่ไม่ร้ วู ่าเนื้อหาที่เรียนเกี่ยวกับข่าว ท�ำสารคดีเชิงข่าว ซึ่งไม่ใช่งานถนัดเลย วันปฐมนิเทศจ�ำได้ เลยเพื่อนคนแรกที่เจอคือ เมย์ หรือที่ตอนนี้ร้ จู ักกันในชื่อของ คุณครูเมรัยใจดี เมย์ดู เรียบร้ อยมาก พอมาดูตวั เองก็เออะ วันแรกได้ เจอกับเพื่อนๆอีกหลายคนซึ่งตอนนี้ยังรอดชีวิตอยู่กม็ ใี หม่ โอ๊ต หมิว เนย ตุ้ม อาร์ต น�ำโชค แตงกวา ฟลุค๊ แพรว พลอย อากาเนะ และเพื่อนๆฝั่งปริ้น ส่วนเพื่อนคนอื่นที่เรียนบรอดตอน นั้นยังไม่ร้ จู ัก เข้ ามาปี 1 ยังเรียนเกี่ยวกับพื้นฐานนิเทศศาสตร์เบื้องต้ นก็ยังไม่ยากเท่าไหร่ผ่านมาได้ ด้วยดีด้วยเกรดที่ สวยงาม ได้ เจอเพื่อนใหม่ ประสบการณ์ใหม่ๆ จากที่เคยชินไปโรงเรียนเข้ า 08.15 น. พอเข้ ามหาวิทยาลัยถ้ าเรียนเช้ า จะเริ่ม 08.40 น. นี่กก็ ลัวว่าจะเข้ าเรียนไม่ทนั กลัวไม่ทนั เช็คชื่อ พ่อเลยมาส่งตั้งแต่ 07.00 น. ฟังเพลงประจ�ำ มหาวิทยาลัยและเคารพธงชาติทุกวันที่มอเลย ถ้ าพูดถึงเพื่อนแล้ วตอนแรกเป็ นกลุ่มใหญ่มากเกือบ 20 คน แต่พอ หลังๆก็ค่อยๆลดลง เพราะว่าต้ องแยกกันเรียนแล้ ว บางคนอยู่ๆก็หายไปเลย เทอมแรกผ่านไป สุขภาพก็ออดออดแอดแอดไปพบแพทย์เป็ นประจ�ำตามนัด พร้ อมที่จะเรียนเทอมต่อไปแล้ วแต่ก ็ มีเหตุการณ์ท่ไี ม่น่าจะเกิดเกิดขึ้นนั่นคือ มหาอุทกภัยในปี พ.ศ.2554 ท�ำให้ การเปิ ดเทอมที่ 2 ต้ องเลื่อนออกไปนานอยู่ แล้ ว ช่วงนั้นต้ องย้ ายออกจากบ้ านไปเช่าอพาร์ทเม้ นต์อยู่ น�ำ้ ก็เน่า ไข้ ข้ นึ ทุกวัน กินไทลินอลทุกวัน ระยะหลังเริ่มไม่ไหวมีอาการ หายใจไม่ออก ติดขัด ไข้ ข้ นึ สูง ปวดศีรษะ เลยต้ องลุยน�ำ้ ท่วมไปโรงพยาบาล ครั้งนี้เป็ นหนักกว่าทุกครั้งที่ผ่านมาต้ องเข้ าเครื่อง MRI สแกนสมอง ผลปรากฏว่าเนื้อเยื่อในสมองอักเสบต้ องเจาะน�ำ้ ไขกระดูกสันหลังและให้ ยาฆ่าเชื้อ แต่กย็ ังดีท่ยี ังไม่เปิ ด มี เวลาพักฟื้ นพอตัว
เรื่ อง เรา เล่า 81
บทความ MCTD โรคนี้ต้องระวังส่งอ.ปริณดา เปิ ดเทอม 2 มาก็ไปเรียนและพบแพทย์ตามปกติ มีกจิ กรรมให้ ทำ� อยู่เรื่อยๆ ปี 2 ก็ยังเรียนเนื้อหาที่ยังไม่เจาะลึก มากแต่กม็ บี างตัวที่เริ่มเข้ าถึงเนื้อหาแล้ วในเรื่องของการเขียนข่าว เขียนบท สคริปต์รายการ เขียนพ็อกเก็ตบุค๊ งานวิจัยต่างๆ วิชาที่เรียนเกี่ยวกับสื่อใหม่ สื่อยุคหลอมรวม ซึ่งมันค่อนข้ างยากมากแต่กผ็ ่านไปด้ วยดี จ�ำไม่ได้ ว่ารหัสวิชาอะไรแต่เรียนกับอา จารย์ปริณดาเขียนพวกบทความ อาจารย์ให้ เขียนเรื่องอะไรก็ได้ แล้ วเสนอถ้ าผ่านแล้ วก็เริ่มเขียนได้ เลยแน่นอนว่าต้ องเลือกเอา เรื่องที่ใกล้ ตวั และเรารู้ดที ่สี ดุ ถึงจะสามารถเขียนออกมาเป็ นพ็อกเก็ตบุค๊ ดีๆได้ ตอนนั้นเสนอเรื่อง MCTD โรคที่ควรระวัง เพราะด้ วยความที่เราป่ วยเป็ นโรคนี้อยู่แล้ วอยากเตือนทุกๆคนว่าโรคนี้ มันไม่ใช่เป็ นทางพันธุกรรมอย่างเดียว มันเกิดจากปัจจัยหลายๆอย่างทั้งในเรื่องของความเครียด สภาพแวดล้ อม การเขียน เล่าจึงไม่ใช่ปัญหาอะไรแค่แก้ คำ� บางค�ำเท่านั้นเอง ในเรื่องของแหล่งข่าวเราสามารถเล่าเรื่องของตัวเองได้ ต้งั แต่เริ่มเป็ น การ รักษา จนสภาพปัจจุบนั แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือก็เป็ นคุณหมอประจ�ำตัว วิชานี้เลยได้ เอมาอย่างโล่งใจเพราะว่าเราก็เต็มที่กบั มัน ดีใจมากตอนที่อาจารย์เซ็นอนุมตั ใิ ห้ รู้สกึ ว่าเฮ้ ยเราก็ทำ� ได้ น่ี ได้ มโี อกาสเรียนกับอาจารย์บุบผาทั้งวิชาที่เขียนข่าวและวิจัย ต้ องพูดเลยว่าไม่ใช่ทางตัวเองมานั่งเขียนข่าวแปลงข่าว จากหนังสือพิมพ์เป็ นทีวีหรือการที่ให้ ข่าวมาแล้ วมาเขียนเป็ นรูปแบบต่างๆเช่น พีระมิดหัวกลับ หัวคว�่ำ แบบผสม จ�ำได้ ว่าวัน สอบท้ องเสียแต่ทำ� ข้ อสอบยังไม่เสร็จต้ องนั่งขนลุกจนครบชั่วโมง คิดก็คิดไม่ออกเลยถูๆไถๆ เกรดที่ออกมาก็ปล่อยไปเถอะ ไม่ชอบจริงๆแต่ไม่ชอบยังไงตอนนี้คิดได้ แล้ วว่ายังไงก็ต้องเอามาใช้ จนได้ ขอบคุณอาจารย์นะคะที่สอนหนูมา อีกวิชาเป็ นวิจัย JR304 โอ้ โห!วิชานี้ไม่คิดเลยว่าจะมีสอบปากเปล่าท่องไปอ่านไปก็จำ� ไม่ได้ เป็ นงานที่แก้ แล้ วแก้ อกี แต่ละสัปดาห์อาจารย์จะให้ ส่งทีละบท จ�ำได้ เลยว่าแก้ หลายรอบมากและไม่เคยได้ A วันที่สอบปากเปล่าสอบที่ห้องบ้ านกล้ วย ตื่นเต้ นมากกลัวอาจารย์ถามแล้ วตอบไม่ได้ สุดท้ ายก็ตามน�ำ้ ไปถูๆไถๆจนจบ พอเกรดออกมาตกใจมากได้ เอค่ะ ขอบคุณนะ คะอาจารย์
ความทรงจ�ำ 82
วิชาตั้งแต่ท่เี รียนมาตลอด 2 ปี ไม่ประทับใจเลยคือพวกวิชาจิตวิทยา ตระกูลขึ้นต้ นด้ วย LB ไม่ชอบเลยเป็ นวิชาที่น่า เบื่อมาก เกรดเลยออกมาแบบขอผ่านไปทีแต่วิชาพวกนี้เข้ าเรียนนะไม่ได้ โดดนะ ตอนสอบก็อ่านหนังสือแต่อ่านไปจ�ำไม่เคย ได้ สดุ ท้ ายต้ องไปซุยและอาศัยโชคชะตา หมุนปากกาในข้ อสอบ ระหว่างที่เรียนก็จะมีกจิ กรรมโครงการให้ นักศึกษาเข้ าร่วมได้ เข้ าร่วมโครงการนักเขียนมือใหม่ หัวใจวารสารศาสตร์ ครั้งที่ 6 จริงแล้ วเป็ นงานที่ส่งในวิชาแต่กต็ ้ องส่งประกวดด้ วยไม่คิดเลย ว่าจะผ่านเข้ ารอบสุดท้ ายงานเขียนบทความนี้โดยหัวข้ อคือ มหัศจรรย์วัฒนธรรมไทย จ�ำไม่ได้ แล้ วว่าเขียนเรื่องอะไรไป รู้สกึ ดีใจนะที่เข้ ารอบสุดท้ ายถึงแม้ จะไม่ได้ รางวัลแต่กไ็ ด้ เกียรติบตั รมาเก็บไว้ ให้ พ่อให้ แม่ได้ ช่ ืนชมลูกบ้ าง ช่วงนั้นสุขภาพเริ่มแย่แล้ วจ�ำได้ เลยไปสอบวันสุดท้ ายวิชา LB อะไรซักอย่างต้ องสอบแยกห้ องกับเพื่อนเพราะเลขที่ แรกๆ เพื่อนสอบชั้น 8 เราสอบชั้น 3 วันนั้นรู้เลยว่าไม่ไหวแต่ถ้าไม่ไปสอบต้ องดรอปแน่ๆ ไม่อยากเสียเวลาเรียนซ�ำ้ แล้ วยังไม่ ชอบอีกเลยฝื นมาสอบ เข้ าห้ องสอบไปสมองไม่ทำ� งานแล้ วข้ อสอบโจทย์ยาวไม่พอ ไม่เข้ าใจอีก ปวดหัวมาก คลื่นไส้ เลยอ่าน ไปแบบผ่านๆรีบฝนให้ ครบร้ อยข้ อแล้ วนอนพักเผื่อว่าจะดีข้ นึ พอหมดเวลาตอนนั้นคิดอย่างเดียวยังไงต้ องไปหาพ่อขึ้นรถให้ ได้ โทรหาพ่อกดลิฟท์รอลงแต่ไม่ทนั ลิฟท์จะมาก็เป็ น ลมไปก่อน ตอนนั้นพอโทรมาพูดได้ แค่ว่าไม่ไหวแล้ ว จากนั้นก็หมดสติไปเลย ยังดีท่มี เี พื่อนที่ร้ จู ักเรียน CA105 ของอาจารย์ นันทวิช เขามาอุ้มไปนอนพักก่อนและจึงไปห้ องพยาบาล เย็นวันนั้นเลยได้ เข้ าโรงพยาบาลเลย ชีวิตตอนนั้นต้ องฮึดมากจริงๆ ไม่คิดว่าจะผ่านช่วงเวลานั้นมาได้ จนถึงตอนนี้ท่ใี กล้ จะจบแล้ ว พอเข้ าปี 3 รู้สกึ ชีวิตเปลี่ยนเหมือนหน้ ามือเป็ นหลังมือ ไม่เคยคิดว่าจะต้ องท�ำสารคดีเชิงข่าว ต้ องเขียนบท ถ่ายภาพ ตัดต่อ เพราะว่าไม่เคยท�ำและท�ำไม่เป็ นเลย จนพอเรียนวิชา JR303 ได้ ร้ ซู ้ ึงเลยได้ ทำ� ทุกอย่างเองหมดทุกอย่างตั้งแต่เริ่ม กระบวนการผลิตจนสิ้นสุด พูดได้ ว่าท�ำได้ ต้งั แต่ Pre-Production Production และ Post-Production จากความคิดที่หน้ ามือ เป็ นหลังมือ ตอนนี้ขอเปลี่ยนค�ำพูดท�ำทุกอย่างได้ ด้วยตัวเองคือเราไม่ต้องพึ่งพาคนอื่นพึ่งพาตัวเองได้ และยังภูมใิ จในตัวเอง
เข้ ารอบแข่งบทความ นักเขียนมือใหม่ หัวใจวารสาร
เรื่อง เรา เล่า 83
อีกด้ วย ถ้ าตอนแรกเรียนบรอดคงท�ำไม่ได้ ขนาดนี้ เรียนวารสารไม่ใช่แค่ทำ� ข่าว เขียนข่าว ผลิตสารคดีเชิงข่าวเป็ น แต่งานใน สตูดโิ อก็เป็ นเช่นกันสามารถควบคุมได้ ท้งั หมด ด้ านเทคนิค VTR SWITCHER CG GRAPHIC SOUND ถึงแม้ ว่าจะไม่ได้ เชี่ยวชาญแต่กย็ ังพอรู้ว่าเครื่องมือพวกนั้นใช้ ทำ� อะไร แม้ แต่การจัดไฟอย่างน้ อยก็ร้ วู ่าควรจัดแสงอย่างไร ส่วนด้ านล่างก็ร้ วู ่าใน การรายงานข่าวจริงมีข้นั ตอนอย่างไร ใครมีหน้ าที่อะไรบ้ างประกอบกับการที่ได้ ไปฝึ กงานในช่วงปิ ดเทอมมาย้ อนดูกท็ ำ� ให้ ร้ วู ่า สิ่งที่อาจารย์ได้ สอนมาน�ำไปใช้ ได้ จริงในอนาคต งานแรกที่ได้ ทำ� คือ สารคดีเชิงข่าว ต้ องคิดประเด็นและเสนออาจารย์ก่อนถึงจะสามารถท�ำได้ ตอนนั้นพูดได้ เลยว่า ไม่เข้ าใจว่ามันคืออะไร มันต้ องประเด็นไหนถึงจะผ่าน ท�ำงานกลุ่มครั้งแรกอาจารย์ให้ จับกลุ่มกลุ่มละ 5 คน สมาชิกมีโอ๊ต ปาย อากาเนะและติ๊ก จ�ำได้ ว่าเสนอไป 8 ครั้ง เสนอครั้งละ 1-3 เรื่อง อาจารย์ตอบบ้ างไม่ตอบบ้ าง เสนอไปเท่าไหร่กไ็ ม่ผ่านซักที แต่คอมเม้ นท์ท่อี าจารย์ตอบยังพอรับได้ เช่น งั้นๆครับ ยังดีไม่พอ เก่า ไม่เวิร์ค ครั้งสุดท้ ายที่เสนอไปรออาจารย์ตอบ 3 วัน นอนไม่หลับกินข้ าวไม่ลง ระบบขับถ่ายรวนไปหมดเลยค่ะ พอผ่านนะดีใจมาก พอตอนนี้ไปย้ อนอ่านดูว่าเราเสนออะไรก็ขำ� ตัว เองว่าตอนนั้นคิดได้ ไง ช่วงที่เสนอประเด็นไม่ผ่านจิตตกมากเลยไปนั่งอ่านเลยว่าสารคดีเชิงข่าวมันเป็ นอย่างไร น�ำเสนออย่างไร จับใจความ ได้ ว่ามันต้ องสามารถน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้ มีผลกระทบต่อสาธารณชนในวงกว้ าง มีการน�ำเสนอที่ไม่เหมือนสกูป๊ คือมี กลวิธใี นการเล่าเรื่อง จากนั้นก็ลองค้ นหาข่าวเก่าๆอ่านดู พยายามหาข่าวที่เกี่ยวกับโครงการสักโครงการที่เกิดขึ้นมาแล้ วแต่ทำ� ไม่สำ� เร็จและปล่อยค้ างคาไว้ ไม่มกี ารพัฒนา สิ่งปลูกสร้ างที่สร้ างความเดือดร้ อนให้ กบั ประชาชนส่งผลต่อสาธารณชนในวง กว้ างได้ มา 2 เรื่องคือ โฮปเวลล์ ตอนนั้นไม่ร้ จู ักว่าโฮปเวลล์คืออะไร เรียกว่าตอม่อ อีกเรื่องคือเรื่องของป้ ายโฆษณาใหญ่ๆที่ รุกล�ำ้ พื้นที่ของคนจน พยายามตั้งชื่อเพื่อให้ น่าสนใจ ตั้งว่า ป้ ายโฆษณาโศกนาฏกรรมของคนจน อีกเรื่องหนึ่งชื่อว่า ปิ ด ต�ำนาน…โฮปเวลล์ สรุปว่าเรื่อง ตอม่อผ่าน ดีใจมากโดยไม่ได้ คิดเลยว่าจะถ่ายได้ หรือเปล่า การท�ำงานโปรดักซ์ช่ันท�ำให้ ร้ เู ลยว่ากลุ่มต้ อง สามัคคีกนั ถึงแม้ ว่าเราจะมั่นใจในตัวเองมากแค่ไหนแต่ยังไงก็ต้องพึ่งพาคนในทีมด้ วย ท�ำคนเดียวมันเหนื่อยมากๆ เริ่มแรก เลยต้ องหาข้ อมูล งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง ข่าวที่เกี่ยวข้ องก่อน คือต้ องศึกษาข้ อมูลก่อนที่จะหาแหล่งข่าวและสุดท้ ายลงพื้นที่ ช่วง นั้นไปลงพื้นที่บ่อยมากอาจารย์ให้ ช่ ือว่า เจ้ าแม่ตอม่อ ซึ่งหนูกไ็ ม่ได้ อยากไปจะไปบ่อยๆหรอกนะแต่มคี วามจ�ำเป็ นจริงๆ ถือว่าเป็ นโชคดีของพวกเรามากที่ได้ วิศวกรคุมงานที่ดอี ย่างคุณลุงสุรโยธินที่คุมงานบริเวณนั้น คุณลุงให้ ความร่วม มือดีมาก มันยากนะกับการจะเจอแหล่งข่าวดีๆสักคน แต่กม็ บี างครั้งที่ผดิ หวังเพราะทางหน่วยงานไม่ให้ ความร่วมมือ ภาพที่ พวกเราต้ องการคือ ภาพการทุบท�ำลายซากตอม่อที่บริษัท อิตาเลียนไทย จังหวัดสระบุรี พวกเราท�ำจดหมายอย่างถูกต้ องเพื่อ ขอไปถ่ายภาพแต่กไ็ ม่ได้ รับการตอบรับใดๆ แต่กพ็ อเข้ าใจว่ามันอาจจะเป็ นความลับของทางหน่วยงาน งานนี้กผ็ ่านไปด้ วยดี ส่งงานทันก�ำหนดคืนวันลอยกระทงพอดีเลย งานแรกผ่านไปในใจคิดว่าคงงานนี้งานเดียวแหละพอแล้ ว เทอมแรกของปี 3 ไปด้ วยดีถงึ แม้ ว่าช่วงที่ผ่านมาจะเจอ อุปสรรคหลายรูปแบบก็ตามในเมื่อเราผ่านมาได้ แล้ วเทอมต่อก็สบ๊ายยยย ปี 3 เทอม 2 จ�ำได้ ว่าช่วงนั้นจะใช้ เวลาอยู่ท่มี อ มากกว่าอยู่บ้าน ถึงแม้ ว่าจะไม่มเี รียนแต่กต็ ้ องมาเพราะว่าต้ องมาท�ำข่าว เทอมนี้จะต้ องมีการสอบเทอมโปรเจคซึ่งจะต้ องน�ำ ข่าวที่ทำ� มันใช้ ในการสอบ ช่วงนั้นไม่ร้ เู อาแรงมาจากไหนท�ำงานหามรุ่งหามค�่ำยังไงก็ไม่ป่วย นอนน้ อยมากแทบไม่มเี วลาพัก ผ่อนถ้ ามีไข้ หรือปวดหัว ปวดหลัง ก็จะมีไทลินอลเป็ นเพื่อนคู่ใจเวลา เราอยู่ไหนเพื่อนสบายใจได้ เพราะเรามียาแจกให้ ทุกคน ถ้ าไม่สบาย
ความทรงจ�ำ 84
การท�ำงานสาาคดีเชิงข่าวครั้งแรกเรื่อง โฮปเวล ตลอดเวลาที่ผ่านมายาสเตียรอยด์เป็ นสิ่งหนึ่งที่ร่างกายขาดไม่ได้ หากหยุดไปจะต้ องมีปัญหาตามมาตลอดเช่น เป็ น ลม หน้ ามืด คลื่นไส้ และสุดท้ ายแอดมิดเข้ าโรงพยาบาล แต่รอบนี้ลองหยุดยาเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์เพราะคิดว่าอาการตัว เองดีข้ นึ แล้ วโรคสงบแล้ ว ผลปรากฏว่าก็ยังอยู่ดี กินดี สบายดี ไม่มอี าการดังกล่าวที่เคยเป็ น ในใจก็คิดว่าโรคคงสงบแล้ ว กิน ยาบ้ างหยุดยาบ้ างคงไม่เป็ นไรหรอก กินยาเยอะมันไม่ดตี ่อไตเดีย๋ วไตวาย จากที่เคยคิดว่าคงไม่ต้องท�ำแล้ วแหละสารคดีเชิง ข่าว เฮ้ อ...หนีไม่พ้นจริงๆงานนี้ส่งประกวดของโครงการสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 ครั้งนี้เปลี่ยนสมาชิกร่วมทีมใหม่ประกอบ ด้ วยพี่แตง ปิ ง ครั้งนี้ 3 คน ก็คิดว่าน่าจะไปกันรอดได้ ทำ� เรื่องต่อยอดจากรุ่นพี่คือประมงพื้นบ้ านที่อ่าวอุดมที่กำ� ลังจะหายไป เพราะมีโรงงานอุตสาหกรรมเข้ ามาใช้ พ้ ืนที่ในการท�ำท่าเรือ แน่นอนว่าการด�ำเนินงานเหมือนครั้งแรกที่ทำ� เลยเริ่มจากหาข้ อมูล อ่านข่าวเก่าๆ งานวิจัยต่างๆ รวมถึงดูคลิปวิดโี อ ที่ร่นุ พี่เคยท�ำมาและค้ นหาคลิปต่างๆในอินเตอร์เน็ตเพื่อเป็ นข้ อมูลเพิ่มเติม ในการเขียนบทอาจารย์แนะน�ำว่าควรมีวลีทอง ตอนแรกงงว่ามันคืออะไร วลีทอง วลีเด็ด มันคือค�ำพูดที่โดน ตรงจุด ฟังปุ๊ ปขนลุกปั๊ปประมาณนี้ การลงพื้นที่เราไปกันถึง ชลบุรีเลยทีเดียวพอไปถึงก็เก็บพวกภาพบรรยากาศ หาสัญญะดีๆเพื่อสื่อความหมายที่สำ� คัญภาพการขนถ่ายสินค้ า วัสดุของ กลุ่มผู้ประกอบการรวมถึงการด�ำเนินชีวิตของผู้คนเรามีหน้ าที่เป็ นฝ่ ายประสานงาน หาแหล่งข่าว พูดคุยกับแหล่งข่าว โดยครั้ง นี้ถอื ว่าเป็ นโชคดีของพวกเรามากที่ได้ เจอแหล่งข่าวดีๆอย่างคณลุงสมหมาย คุณลุงประจวบ คุณป้ าประกายจันทร์และพี่อู๊ ดรวมถึงชาวบ้ านที่อ่าวอุดม ทุกคนให้ ความร่วมมือดีมากในการตอบค�ำถาม ประจวบเหมาะกับเวลาที่ทางชาวบ้ านและทาง กลุ่มผู้ประกอบการจะมีการประชุมกนพอดีเลยได้ โอกาสในการถ่ายท�ำและซักถามค�ำถามที่เป็ นประโยชน์มากในการท�ำสารคดี เชิงข่าวครั้งนี้ พอส่งผลงานไปรอวันประกาศผลมีสายโทรศัพท์หนึ่งโทรเข้ ามาแล้ วบอกว่าทีมน้ องเข้ ารอบนะคะ ตอนนั้นยังงงอยู่ เลยว่า จริงเหรอคะพี่พ่ีโทรมาอ�ำหนูเปล่า พี่เขาก็บอกว่าปี นี้เรื่องที่ม.กรุงเทพส่งมาดีแทบทุกกลุ่ม โปรดักซ์ช่ันดีมาก ก็ร้ สู กึ ไม่ เสียดายเวลาที่ทำ� ไปอย่างน้ อยเราก็เข้ ารอบละ ด่านต่อไปเป็ นไงค่อยว่ากัน ระยะเวลาช่วงหลังเพื่อนจะเวลากับการหาที่ฝึกงาน อาจารย์แนะน�ำว่ามีทางเลือก 2 ทางคือ ลงเรียนวิชา JR309 และ JR310 ถ้ า JR309 ต้ องไปฝึ กงานและกลับมาท�ำสารนิพนธ์ รวมถึงรายการ แต่ถ้า JR310 ท�ำสารนิพนธ์อย่างเดียว ซึ่งตอนนั้นเราคิดว่าสุขภาพเราดีแล้ วสามารถไปท�ำงานเหมือนกับ เพื่อนๆคนอื่นได้ แล้ วจึงตัดสินใจลงเรียนวิชา JR309 ไปโดยที่ไม่ร้ เู ลยว่าการฝึ กงานมันไม่ใช่เรื่องสนุกอย่างที่คิดนะ
เรื่ อง เรา เล่า 85
ที่แรกที่อยากไปคือที่ช่อง 9 อสมท.แต่พอมานั่งคิดแล้ วถ้ าเข้ างาน 08.30 ไปไม่ทนั แน่ๆเพราะบ้ านอยู่ไกล จึงเลือกที่ TNN24 ไม่ได้ ใกล้ บ้านและรถติดมากแต่กค็ ิดว่าเข้ างานทันแน่ๆ ช่วงสัปดาห์แรกของการฝึ กงานไปเช้ ามากถึงตึก 06.30 เข้ า งาน 08.30 เลือกฝึ กงานโต๊ะข่าวเศรษฐกิจเพราะว่าจะได้ ออกไปข้ างนอก เป็ นคนไม่ชอบท�ำอะไรเดิมๆซ�ำ้ ๆอยู่กบั ที่ชอบออก ไปข้ างนอกหาประสบการณ์ใหม่มากกว่า ส่วนเรื่องของตัวเลข หุ้น ราคาน�ำ้ มัน ทองค�ำ เป็ นสิ่งที่ไม่เข้ าใจเลยแต่สดุ ท้ ายก็หนีไม่ พ้ นมาท�ำรายการเศรษฐกิจซึ่งก่อนเข้ ารายการ 10 นาทีต้องมานั่งหาหุ้นที่เคลื่อนไปเคลื่อนมา ตอนเช้ าก็ต้องมานั่งอัพเดตราคา ทองค�ำ ราคาน�ำ้ มัน แต่กย็ ังมีเรื่องสนุกๆที่น่าท�ำอีกอย่างเช่นการท�ำสกูป๊ รายการนี้ช่วงแรกจะเป็ นเกี่ยวกับราคาทองค�ำ น�ำ้ มัน หุ้น และข่าวเศรษฐกิจทั้งในและนอกประเทศ ช่วงสุดท้ ายจะมี สกูป๊ เกี่ยวกับเศรษฐกิจ โดยจะต้ องออกไปถ่ายท�ำข้ างนอกเราในฐานะนักศึกษาฝึ กงานสามารถเสนอได้ ว่าอยากท�ำอะไร ถ้ า โปรดิวเซอร์ตกลงและเห็นด้ วยก็ไปท�ำได้ เลย อย่างที่ผลงานที่เคยท�ำเป็ นสกูป๊ เกี่ยวกับรถยนต์มอื สองที่ปัจจุบนั มีขายทั้งใน ตลาดรถและออนไลน์ ผู้ซ้ ือจะรู้ได้ อย่างไรว่ารถคันนี้ซ้ ือไปแล้ วจะไม่ทำ� ให้ ผดิ หวัง แน่นอนว่าเลือกเรื่องใกล้ ตวั เพราะว่าสามารถ ไปถ่ายท�ำได้ เลย แหล่งข่าวก็คนรู้จักกัน ไม่มคี วามยุ่งยากและยังสะดวกสบายอีกด้ วย ช่วงเวลาในการฝึ กงานผ่านไปช้ ามากในตอนนั้นสุขภาพเริ่มเกเรแล้ วป่ วยอิดๆออดๆวันที่ไม่สามารถไปได้ จริงๆก็จะ โทรลากับหัวหน้ าโต๊ะ ไม่อยากหยุดบ่อยกลัวจะไม่ผ่าน วันไหนไหวก็มา และการฝึ กงานในช่วงปิ ดเทอมฤดูร้อนนั้นก็ผ่านไป ด้ วยดีพร้ อมแล้ วกับการต้ องท�ำสารนิพนธ์และรายการ คิดแล้ วมันก็น่ากังวลเพราะยังไม่ร้ วู ่าจะท�ำรายการอะไร เวลาของปี สุดท้ ายมาถึงแล้ ว เทอมแรกของปี 4 ตอนนั้นลงทะเบียนไปใส่ทุกวิชาที่สามารถลงได้ เพราะว่ากลัวเทอม 2 จะหนัก เทอมนี้เลย มีวิชาโท 2 ตัวสุดท้ ายและเอกอีก 4 ตัว เพราะว่าพวกวิชาเสรีเก็บหมดแล้ ว เทอมนี้พูดได้ เลยว่าสุขภาพค่อนข้ างถึงจุดพีคแล้ ว ไปเรียนบ้ างไม่ไปบ้ างเพราะว่าเป็ นลม หน้ ามืดบ่อยมากไปเรียน ไม่ไหว เข้ าออกแต่โรงพยาบาลจนระยะหลังคุณหมอประจ�ำตัวเอาไม่ไหวต้ องส่งไปหาหมอที่ศริ ิราช ซึ่งยังดีท่เี ขามาลงตรวจที่ โรงพยาบาลนี้ซ่ึงเป็ นเอกชน เหตุผลที่รักษาโรงพยาบาลเอกชนก็เพราะว่าไม่ต้องไปรอคิวนานๆอีกอย่างหมอที่รักษาก็เป็ น หมอศิริราชเหมือนกัน ตอนนั้นมีอาการแทรกซ้ อนหลายอย่างมากทั้งปวดท้ อง ปวดเอว แสบหน้ าอก เป็ นกรดไหลย้ อน ปวด หลัง หน้ ามืด เป็ นลม หมอจึงสั่งให้ ไปตรวจเลือดและปัสสาวะ ผลปรากฏว่ามีโปรตีนรั่วเยอะมากจ�ำเป็ นต้ องเจาะไต เลยถูก
ช่วงป่ วยหนักตอนขึ้นปี 4
ความทรงจ�ำ 86
ส่งตัวไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลศิริราช เพราะว่าทางโรงพยาบาลเอกชนไม่สามารถจะเจาะไตได้ เพราะว่ามีความเสี่ยงสูงต้ อง ให้ โรงพยาบาลรัฐบาลเท่านั้น ตอนนั้นก็ไม่ได้ ไปเรียนอีกหยุดบ่อยมากแต่กม็ ใี บรับรองแพทย์ทุกครั้ง สัปดาห์ท่ตี ้ องเจาะไตเป็ นสัปดาห์การสอบ กลางภาคพอดีจึงไม่ต้องท�ำเรื่องของหยุดแต่มันก็เป็ นสัปดาห์ของการเตรียมตัวเพื่อไปเข้ าค่ายโครงการสิงห์อยากไปช่วยเพื่อน มากแต่ไม่สามารถไปได้ สุดท้ ายพอเจาะไตเสร็จผลปรากฏว่าเป็ น SLE ลงไต ไตอักเสบเฉียบพลันขั้นรุนแรง ตอนแรกก็ตกใจ แต่ตอนนี้ทำ� ใจได้ แล้ วเพราะมันสามารถรักษาได้ ถงึ ค่ายาจะแพงลิบแค่ไหนก็เถอะ ช่วงเวลาการเข้ าค่ายผ่านไปอย่างรวดเร็วมาก การเอ็นเตอร์เทนต์ของโครงการนี้ยอมรับว่าสนุกจริงๆพี่ๆน่ารักมาก รวมถึงเพื่อนๆในโครงการด้ วย ทางพี่ท่จี ัดกิจกรรมท�ำกิจกรรมที่ให้ ทุกมหาวิทยาลัยได้ มโี อกาสรู้จักกันคุยกันท�ำให้ การเข้ าค่าย ในครั้งนี้เป็ นที่น่าประทับใจมาก ก่อนหน้ านี้เคยไปของโครงการ Thai PBS Young Journalist แต่กไ็ ม่ร้ สู กึ สนุกเท่าครั้งนี้ เล่า ซักหน่อยดีกว่า คือทาง Thai PBS ได้ จัดโครงการ Thai PBS Young Journalist ขึ้นท�ำสารคดีเชิงข่าวในหัวข้ อเกี่ยวกับอาเซียน เสนอเรื่องเกี่ยวกับแรงงานข้ ามชาติไปก็ไม่คิดว่าจะเข้ ารอบแต่กเ็ ข้ ารอบและก็ต้องท�ำจริง อยากไปลงพื้นที่ อยากช่วยเพื่อนมาก แต่ด้วยสภาพสังขารที่ไม่เอื้ออ�ำนวยเลยคิดว่าอย่าไปเป็ นภาระจะดีกว่าเคยถามอาจารย์แล้ วว่าขอเปลี่ยนตัวได้ ม้ยั อาจารย์บอก ว่าไม่ต้องหรอก คือจริงๆแล้ วอยากเต็มที่กบั งานเวลาได้ รางวัลมามันจะได้ ภมู ิใจ ถึงจะไม่ได้ ลงพื้นที่จริงแต่กช็ ่วยอย่างอื่นอย่าง เต็มที่ มาต่อที่โครงการสิงห์ตลอดระยะเวลาที่เข้ าค่ายต้ องไปลงพื้นที่ถ่ายท�ำจริง ตัดต่อ ลงเสียงกันให้ เสร็จภายในระยะ เวลาก�ำหนดและส่งตรงเวลาด้ วย ตอนแรกทุกอย่างผ่านไปเหมือนจะดีพอวันสุดท้ ายจะใส่ CG ดันลืมขอชื่อแหล่งข่าววุ่นวาย กันไปซักพักสุดท้ ายต้ องนั่งรถไปถามชื่อแหล่งข่าว นี่ถอื ว่าเป็ นข้ อผิดพลาดครั้งใหญ่ในการท�ำงานเลยเพราะลืมขอชื่อแหล่งข่าว แล้ วก็ถงึ เวลาในการประกาศผลที่บริษัท บุญรอด เอาจริงก็ต่นื เต้ นนะ รางวัลได้ ไม่ได้ ไม่เป็ นไรท�ำดีท่สี ดุ แล้ ว รางวัลแรกที่ ประกาศคือรางวัลประเด็นยอดเยี่ยมซึ่งตกใจมากที่ทมี เราได้ ถัดมาเป็ นตัดต่อยอดเยี่ยม เขียนบทยอดเยี่ยม ดีใจมากที่เพื่อน เราได้ ต่อมาเป็ นนาทีท่รี ะทึกใจคือประกาศ 8 ทีมสุดท้ ายที่ผ่านเข้ ารอบม.กรุงเทพเข้ ารอบ 4 ทีม ต่อมาก็ล้ ุนแล้ วว่าทีมไหนจะ ได้ รางวัลอะไรบ้ าง พอผลออกมาถึงเราจะไม่ได้ รางวัลแต่ดใี จมากที่เพื่อนอีก 2 ทีมได้ ทีมแรกรางวัลที่ 2 ดางหาง มีฟลุค๊ แอม และแพรว ส่วนรางวัลชนะเลิศได้ ไปญี่ปุ่นก็คือ แท่นหิน โปรดักซ์ช่ัน มีหมิว เนย ขวัญ งานนี้กจ็ บลงไปด้ วยดี หลังจากนี้กค็ ิดว่า คงจะมีเวลาพักผ่อนอีกนิดแล้ วก็ลุยกับโปรเจคจบนั่นก็คือวิชา JR309 ที่ต้องท�ำทั้งสารนิพนธ์และรายการความยาว 30 นาที เราได้ ต่อมาเป็ นนาทีท่รี ะทึกใจคือประกาศ 8 ทีมสุดท้ ายที่ผ่านเข้ ารอบม.กรุงเทพเข้ ารอบ 4 ทีม ต่อมาก็ล้ ุนแล้ วว่าทีมไหนจะ ได้ รางวัลอะไรบ้ าง พอผลออกมาถึงเราจะไม่ได้ รางวัลแต่ดใี จมากที่เพื่อนอีก 2 ทีมได้ ทีมแรกรางวัลที่ 2 ดางหาง มีฟลุค๊ แอม และแพรว ส่วนรางวัลชนะเลิศได้ ไปญี่ปุ่นก็คือ แท่นหิน โปรดักซ์ช่ัน มีหมิว เนย ขวัญ งานนี้กจ็ บลงไปด้ วยดี หลังจากนี้กค็ ิดว่า คงจะมีเวลาพักผ่อนอีกนิดแล้ วก็ลุยกับโปรเจคจบนั่นก็คือวิชา JR309 ที่ต้องท�ำทั้งสารนิพนธ์และรายการความยาว 30 นาที
เรื่อง เรา เล่า 87
ตอนแรกต้ องเสนอรายการก่อนว่าจะท�ำรูปแบบไหน อาจารย์ให้ นำ� ข้ อมูลเดิมที่มมี าใช้ เลยได้ ทำ� เป็ นรูปแบบรายการ รายงานพิเศษ จุดเปลี่ยน ตอน : จุดเปลี่ยน...คลองภาษีเจริญ ซึ่งเดิมมีฟุตภาพเก่าอยู่แล้ วแต่ในส่วนของข้ อมูลยังไม่ค่อย ชัดเจนและมากพอที่จะท�ำให้ ครบ 30 นาทีจึงต้ องไปเก็บสัมภาษณ์เพิ่ม เก็บภาพเพิ่มและไปเปิ ดหน้ ารายงานพิเศษที่แถว คลองภาษีเจริญ งานในครั้งนี้ต้องขอบคุณพลอยมากที่ช่วยไปเปิ ดหน้ ารายงานพิเศษให้ ในส่วนของรูปเล่มเป็ นอะไรที่เป๊ ะมาก จริงๆ เกลียดมากตอนนั่งท�ำสารบัญตาลายไปหมด ถ้ าเอาไปให้ อาจารย์ตรวจและถ้ าผิดโดยจุดละ 1 บาท โดยรวมโดนไป 83 บาทถ้ วน ในเรื่องของตัวรายการมีแก้ เสียงและสลับซีเคว้ นท์นิดหน่อย พยายามจะรีบแก้ ให้ เสร็จภายในสัปดาห์น้ันเลยจะได้ ไม่ มีภาาระติดพันอีกอย่างเกรดจะต้ องส่งแล้ ว แล้ วงาน 30 นาทีกว่าจะเอ็กพอร์ตคิดดูมนั จะใช้ เวลาเท่าไหร่ แล้ วยังต้ องอัฟยูทู ปอีกถ้ าอัฟที่บ้านคง 2 วันเลยรีบท�ำและอัฟให้ เสร็จที่มอเลย และสุดท้ ายงานก็เสร็จสมบูรณ์เล่มก็ได้ เข้ าเล่มแล้ วแต่ว่าตอนนี้ยัง ไม่ได้ สกรีนแผ่นส่งนะ ก่อนหน้ านี้กต็ ้ องท�ำข่าวในมอซึ่งจริงแล้ วมันไม่ใช่เรื่องยากเลยนะท�ำแค่ 7 ข่าวเองแต่ประเด็นมันอยู่ท่วี ่าท�ำงานใน กองบรรณาธิการท�ำเป็ นโต๊ะ นี่ได้ โต๊ะสาธารณสุขแล้ วสมาชิกในโต๊ะก็มกี ต็ ้ องแบ่งกัน แล้ วก็มจี ัดรายการวิทยุอกี งานหนึ่งตอน แรกเสนอรายการเกี่ยวกับอาหารสุขภาพ โดนเลยจ้ ะ อาจารย์ร้ ทู นั บอกว่าจะเอาบทความในอินเตอร์เน็ตมาอ่านใช่ไหม ชัดเลย ก็เลยไม่ทำ� และเปลี่ยนใหม่เป็ นรายการคุยเฟื่ องเรื่องรถเป็ นรายการที่นำ� เสนอเกี่ยวกับรถยนต์มอื สอง การดูรถอย่างไรไม่ให้
โปรเจคจบเสร็จสมบูรณ์
ความทรงจ�ำ 88
ถูกหลอก ซึ่งจัดรายการ 30 นาทีแบบต่อเนื่องจริงๆแล้ วมันไม่ได้ ยากเลยนะแต่แค่เราต้ องเปิ ดพวกสป็ อต จิงเกิ้ล ให้ พอดีเวลา เท่านั้นเอง ตอนแรกนึกว่าเอาแค่เสียงสรุปว่าต้ องมีกล้ องด้ วยเหมือนที่รายการวิทยุเขาท�ำกันแบบสด ก็ต้องไปถ่ายใหม่เพราะว่า รายการมีแขกรับเชิญมาร่วมพูดคุยและแล้ วงานนี้กไ็ ด้ อฟั โหลดส่งซักที ต่อมางานสารคดีวิทยุทำ� เรื่องเดิมเหมือนทีวีเลยคือจุด เปลี่ยนคลองภาษีเจริญแต่แปลงบทให้ เป็ นบทวิทยุ ตอนแรกเหมือนจะจบแล้ วไม่จบ อาจารย์อยากให้ นำ� เรื่องเรือของคลอง แสนแสบส่วนต่อขยายและเรื่องโครงการทดลองเดินเรือในคลองภาษีเจริญมารวมกันเป็ นเรื่องเดียว ซึ่งค่อนข้ างสับสนนะตอน แรกไปๆมาๆกว่าจะจับรวมกันได้ กเ็ กือบวินาทีสดุ ท้ าย งานเกือบสุดท้ ายที่ได้ ทำ� คือ สอบเทอมโปรเจ็คจัดรายการวิทยุ ซึ่งก็ล้ม ไม่เป็ นท่าเลยส�ำหรับงานนี้ เพราะว่าพวกเราไม่จัดรายการแบบต่อเนื่อง ตอนแรกกะว่าจะลักไก่แอบเอามาคัทชนกันแต่กไ็ ม่ ส�ำเร็จ งานสุดท้ ายที่ได้ คือ โอเพ่นเฮ้ าส์ 2014 งานนี้ทุกคนในกองบรรณาธิการตั้งใจมาก ช่วยกันท�ำงานอย่างดี พยายามให้ มี ข้ อบกพร่องน้ อยที่สดุ ในการท�ำข่าว อัฟเดตในเพจ เปิ ดหน้ าทั้งแบบเซลฟี่ และมีเพื่อนถ่ายให้ และสุดท้ ายการรายงานสดใน ห้ องปฏิบตั กิ ารวารสารศาสตร์ท่จี ำ� ลองเป็ นห้ องข่าวขึ้นมา เป็ นงานสุดท้ ายที่ได้ ทำ� กับเพื่อนๆในเทอมนี้ อีกไม่ก่เี ดือนก็จะเรียนจบแล้ ว 4 ปี ที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพนี้มนั ผ่านไปเร็วจริงๆตอนนั้นยังเป็ นเฟรชชี่อยู่เลย เคยคิด มาตลอดเลยว่าเราเลือกผิดหรือเปล่าที่เรียนวารสารศาสตร์ ตอนนี้กย็ ังคงคิดอยู่ ถึงแม้ ว่าเราจะสามารถคิดได้ ท�ำได้ แต่ถ้าไม่ ได้ ทำ� ในสิ่งที่ตวั เองคิดมันจะสนุก มันจะดีได้ ยังไง ไม่คิดว่าสุขภาพตัวเองจะย�่ำแย่แบบนี้ ยิ่งช่วงหลังมากินยาเยอะมาก ยาก็แรง กินแล้ วจะมึนหัว คลื่นไส้ อาเจียน มือไม้ ส่นั แต่ก่อนเป็ นคนถ่ายภาพไม่ต้องใช้ ขาตั้งกล้ องเลยนะ แต่เดีย๋ วนี้พอจับกล้ องทีมอื ไม้ สั่นเป็ นผีเข้ า มือ ขา เป็ นตะคริว หน้ าบวมเป็ นกระรอกอมถั่ว ตัวก็บวม แล้ วสมองยังมึนๆเบลอๆจ�ำอะไรก็ไม่ค่อยได้ ทั้งหมด เป็ นผลของยา ไม่ร้ วู ่าอยู่รอดมาได้ ยังไงจนถึงตอนนี้ อึดและถึกจริงๆ พ่อบอกว่าถ้ าเรียนจบไปคงยังไม่ให้ ไปท�ำงานแน่ๆอยากให้ พักก่อนสักหนึ่งปี แล้ วจะท�ำงานจะเรียนต่ออะไรก็ตามใจ ส่วนหมอก็อยากจะให้ ดรอปตั้งแต่ร้ วู ่าเป็ นแต่ทำ� ไงได้ มนั จะจบแล้ วอีกแค่ 3 วิชาเองต้ องสู้กนั อีกซักตั้ง อยากรีบเอาปริญญามา ฝากพ่อกับแม่ ติดผนังใส่กรอบแปะฝาบ้ านไปเลย ถึงแม้ ว่าจะไม่ได้ เกียรตินิยมก็ไม่เป็ นไรแต่กเ็ คยคิดนะว่าเราเป็ นขนาดนี้ มา เรียนบ้ างไม่มาเรียนบ้ าง เข้ าโรงพยาบาลบ่อยกว่ามามหาวิทยาลัยเรียนเกรดเฉลี่ยรวมถึงสามก็พอใจในตัวเองแล้ ว ไม่อยาก ท�ำให้ พ่อแม่ผดิ หวังและล�ำบากใจเพราะว่าไหนจะไม่สบาย ป่ วย เข้ าโรงพยาบาลบ่อย ค่าใช้ จ่ายก็สงู ยังเรียนไม่ได้ เรื่องอีกพ่อ แม่คงกลุ้มใจน่าดู ยังไงก็แล้ วแต่เทอมนี้กจ็ ะสู้อกี ซักรอบเพื่อตัวเองเพื่อพ่อแม่และคนที่เรารัก และอยากจะบอกว่าเลือกไม่ผดิ เลยที่เรียนภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะ นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพนี้ถงึ แม้ ว่าในอนาคตไม่ได้ จะท�ำงานด้ านนี้กต็ ามเพราะมีปัญหาด้ านสุขภาพ แต่อยากจะ บอกน้ องๆว่าที่น่ีไม่ได้ สอนแค่ทฤษฎีในห้ องเรียน เรียนในห้ องเรียนแล้ วทิ้งไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ แต่ท่นี ่ียังได้ ปฏิบตั จิ ริง ท�ำจริง ท�ำพลาดก็พลาดจริง โดนต�ำหนิจริงๆ แต่ส่งิ ที่เราได้ เรียนรู้มาทั้งหมดสามารถน�ำไปใช้ ได้ จริงในอนาคตรวมถึงแรงกดดันต่างๆ ที่เคยผ่านมา พอเราไปเจอในสังคมจริง สังคมที่โตกว่า คนหลายรูปแบบเราก็สามารถปรับตัวได้ อีกทั้งอาจารย์ทุกท่านก็พร้ อม ที่จะให้ ความรู้มอบประสบการณ์ต่างๆให้ เราด้ วยความเต็มใจ
เรื่อง เรา เล่า 89
ประสบการณ์ท่หี าที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว สโรชา นินิ่ม่มวุวุ่น่น
“ เรื่องราวในรวั้ BU นัน้ มีมากมาย ยิ่งถ้าได้เข้ามาเรียนจะต่างกับที่เคยได้ยิน มาจากข้างนอก
ความทรงจ�ำเริ่มตัง้ แต่ก่อนจะเข้าเรียนในระดับอุ ดมศึกษา ดิฉันตัง้ ใจที่จะเรียนในคณะนิเทศศาสตร์เนื่องจาก มีความฝั นตัง้ แต่เด็กๆไม่เคยเปลี่ยนแปลง คืออยากประกอบอาชี พผู ้ประกาศข่าว ความฝั นนี้เกิดขึ้นจากตอนเด็กๆที่ บ้านจะเปิ ดรายการผู ้หญิงถึงผู ้หญิงทุกเช้า เลยดูแล้วเกิดอยากที่จะเป็นอยากเข้าไปนั่งอ่านข่าวแบบพี่ๆทัง้ 4 คนบ้าง โดยเฉพาะตอนนัน้ มีพ่ีไก่ มีสุข แจ้งมีสุข หนึ่งในพิธีกรรายการนี้เป็น Idol ซึ่ งพี่ไก่ เป็นศิษย์เก่า BU เลยเริ่มหาข้อมูล ว่า ถ้าจะเป็นผู ้ประกาศข่าวต้องเรียนอะไร ในขณะนั้นทางโรงเรียนได้ มที ุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพเข้ ามา ชื่อทุน BU Premier คัดเลือกจากความ สามารถพิเศษซึ่งตอนนั้น ดิฉันก็มคี วามสามารถพิเศษในเรื่องของการร�ำนาฏศิลป์ ไทย จึงสมัครเพราะเรียนฟรี เสียค่าเทอม เพียงแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น และที่สำ� คัญจากที่ได้ หาข้ อมูลมาแล้ วถ้ าจะเรียนนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชนก็ต้องมหาวิทยาลัย กรุงเทพ เพราะคิดไว้ ว่าแอดไม่ตดิ แน่ๆ จุฬาฯ ,ธรรมศาสตร์ ถ้ าจะเรียนสายนี้ เลยตัดสินใจสมัครและหาข้ อมูลว่าเลือกเรียนนิ เทศฯควรเรียน ภาควิชาไหนที่จะเหมาะสมและตรงตามเป้ าหมาย ถ้ าอยากเป็ นผู้ประกาศข่าว หาข้ อมูลอยู่ระยะหนึ่งอย่างละเอียดมาก ทั้งทางเว็บไซต์ และหนังสือต่างๆ จนมาลงเอยที่ คณะนิเทศศาสตร์ ภาค วิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ น่าจะตรงตัวมากที่สดุ กับความฝันผู้ประกาศข่าว อยากอยู่ในทีวีให้ พ่อแม่ดใี จ ผลการคัดเลือกนักเรียนทุน สรุปว่าได้ รับการคัดเลือกเป็ น คนเดียวในจังหวัดที่ได้ รับทุนนี้ ก็ดใี จเป็ นอย่างมาก ไม่ คิดอะไรละ ไม่สนใจเรื่องแอดมิชชั่นอีกต่อไป แต่กม็ ลี ้ ุนๆลึกๆว่าถ้ าแอดไม่ตดิ ก็ไม่เป็ นไรยังไงก็เรียน BU จนกระทั่งวันมอบตัวนักศึกษาใหม่ มาที่วิทยาเขตกล้ วยน�ำ้ ไทย ตอนนั้นมาเรียนกรุงเทพเป็ นครั้งแรก ก็เหมือนเด็ก บ้ านนอกคนหนึ่งที่ทำ� ตัวไม่ถูกต้ องมีการปรับตัวเป็ นอย่างมากในการปรับเปลี่ยนสถานที่เรียน ตอนนั้นแต่งตัวเรียบร้ อยมากที่ ส�ำคัญ ผมสั้น ซึ่งเพื่อนคนอื่นๆที่มาเจอผมยาวหมดดราเป็ นคนเดียวที่ผมสั้น เลยดูเชยๆ ไม่เหมือนเด็กในเมือง แต่เอาความ เรียบร้ อยเข้ าสู้ค่ะ ก็ทำ� การมอบตัวเป็ นนักศึกษาใหม่เรียบร้ อย จนกระทั่งเปิ ดเทอมวันแรกเข้ ามาเป็ นนักศึกษาใหม่ ปี 1 คณะนิเทศศาสตร์ภาควิชาวารสารศาสตร์ ซึ่งตอนนั้นพอจะ เคยมาชมมหาวิทยาลัยมาก่อนแล้ วว่าเป็ นอย่างไร แต่ไม่เคยได้ สมั ผัสอย่างละเอียด ในช่วงแรกที่เข้ าเรียนใหม่ๆก็ต้องมีการ ปรับตัวกันเป็ นอย่างมาก ทั้งเรื่องของการเรียนแบบใหม่ เพื่อนใหม่ สถานที่เรียนใหม่ ทุกอย่างใหม่หมด ที่สำ� คัญต้ องจ�ำ อาคารเรียนให้ ได้ ว่า แผนกไหนอยู่ตรงไหน ชื่ออาคารแต่ละอาคาร ซึ่งความประทับใจในครั้งแรกตั้งแต่ได้ เข้ ามาเรียนเป็ น
คุณมีสขุ แจ้ งมีสขุ ผู้ประกาศข่าวช่อง 3 ไอดอลของแก้ ว
เรื่ อง เรา เล่า 91
นักศึกษาเต็มตัวคือ เป็ นมหาวิทยาลัยที่มอี ปุ กรณ์ส่อื การเรียนการสอนในส่วนของนิเทศศาสตร์ท่คี รบครันคณาจารย์ผ้ ูสอนมี คุณภาพ คิดว่าคุ้มค่ามากๆที่ได้ เข้ ามาเรียนที่น่ี ในเทอมแรกเรียนหนักมาก 6 วันติด แทบจะไม่มวี ันหยุด แล้ วรู้สกึ ว่าช่วงเข้ า ใหม่ๆจะตั้งใจเรียนมากเป็ นพิเศษคงเป็ นเพราะมีความตั้งใจและมุ่งมั่นสูง อีกอย่างอะไรก็ยังใหม่ รวมถึงการแต่งกายเรียบร้ อย มากกระโปรงเลยเข่าทุกตัว แต่ผมยังสั้นอยู่ท่ี ดูเชยๆอีกแล้ ว เมื่อไหร่จะยาวเพราะ เพื่อนๆผมยาวกันหมดเลยแต่กไ็ ม่ได้ ซี เรียดอะไรมาก การเรียนในช่วงแรกนี้ถอื ว่าดีพอสมควร เวลาจะสอบก็มกี ารอ่านหนังสือทบทวนบนเรียน ซึ่งเกรดที่ได้ กถ็ อื ว่า อยู่ในเกณฑ์ดเี ป็ นที่น่าพอใจ ซึ่งในตอนนั้นก็ไม่ได้ ลงเรียนซัมเมอร์ เพราะคิดว่าน่าจะไหว แต่พอเปิ ดเทอมสองมาทราบทีหลัง ว่าถ้ าลงเรียนซัมเมอร์จะได้ เกรดดีกว่าตอนเรียนภาคปกติเลยตั้งแต่น้ันตั้งใจว่าจะลงเรียนซัมเมอร์ทุกเทอมถ้ ามีวิชาไหนเปิ ด ในช่วงปี หนึ่งก็ไม่มอี ะไรมาก นอกจากการปรับตัวในหลายๆเรื่องรวมถึงเรียนสูงขึ้นค่าใช้ จ่ายก็มากขึ้นตามมา ซึ่งข้ อ เสียของตัวเองในช่วงนั้นคือ ไม่มีคำ� ว่าประหยัด รู้สกึ ว่าใช้ จ่ายฟุ่ มเฟื่ อยมาก เพราะเป็ นช่วงที่เริ่มใช้ เงินเองครั้งแรกโดยไม่มีผ้ ู ปกครองควบคุม ให้ แค่รายเดือน แต่ถ้าหมดเราต้ องประหยัดเอาเองซึ่งต้ นเดือนก็มคี วามสุขแต่ปลายเดือนเงินหมดก็เศร้ า มา ถึงเทอมที่สองเป็ นเทอมที่พอรู้อะไรหลายๆอย่างมากขึ้นในมหาวิทยาลัย เริ่มมีกลุ่มเพื่อนสนิทช่วยกันท�ำรายงานหลายๆอย่าง เริ่มเก็บเพชรบ�ำเพ็ญประโยชน์มกี จิ กรรมอะไรของทางมหาวิทยาลัยก็อยากจะเข้ าร่วม ซึ่งเกรดในเทอมนี้กอ็ อกมาดีเช่นกัน ตอนนี้เริ่มรู้จักแต่งตัวมากขึ้น เข้ าสู้สงั คมมหาวิทยาลัยเห็นคนอื่นหน้ าตาดี ก็อยากสวยเหมือนเขาบ้ างเลยเริ่มปรับตัวเองมาก ขึ้นแต่กอ็ ยู่ในความเหมาะสม ซึ่งซัมเมอร์รอบนี้กล็ งเรียนเต็ม เกรดออกมาอยู่ในเกณฑ์ดตี ามที่คิดเอาไว้ แต่เริ่มพลิกผัน เพราะ ในช่วงที่จะขึ้นปี สอง เกิดอุทกภัยน�ำ้ ท่วมหนัก ซึ่งในจังหวัดปทุมธานีกท็ ว่ มทั้งจังหวัดรวมถึงมหาวิทยาลัยด้ วยท�ำให้ ต้องหยุด การเรียนการสอนไปกว่าสามเดือน เมื่อปัญหาคลีคลายลงก็เริ่มช่วยกันปรับปรุงซ่อมแซมส่วนที่เสียหายอาคารเรียนบางส่วนก็ ปิ ดท�ำการ การเรียนการสอนก็ต้องปรับตัวด้ วยเช่นกัน จึงต้ องเรียนผ่านระบบออนไลน์ เห็นหน้ ากันทางอินเทอร์เน็ตกับ อาจารย์สอน ท�ำแบบฝึ กหัด ส่งงานทางระบบออนไลน์ ก็สนุกสนานดี แต่จะล�ำบากส�ำหรับคนที่มปี ัญหาทางระบบเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต ช่วงปี แรกๆที่เข้ ามาเรียนจะประทับใจกับวิชาหนึ่งมากเป็ นวิชาบังคับที่ทุกคนต้ องเรียนคือวิชา Tell Me More ออกเสียงและท�ำแบบฝึ กหัดภาษาอังกฤษผ่านโปรแกรม ซึ่งรุ้สกึ สนุกมาก เพราะได้ ฝึกออกเสียงที่บางที่เราไม่ทราบว่าออก เสียงอย่างไร ผิดบ้ างถูกบ้ าง แต่จะสนุกตรงที่แข่งกับเพื่อนว่าใครท�ำครบ 100 คะแนนเต็มก่อนจะเก่ง ก็เป็ นวิชาที่ช่ ืนชอบวิชา หนึ่ง ชีวิตเด็กๆใสๆก็ผ่านไปกระทั้งขึ้นปี สอง สิ่งที่เห็นได้ ชัดคือ ภาพลักษณ์ภายนอก หลายคนบอกว่ายิ่งเรียนสูงกระโปรง ยิ่งสั้น ก็จริงในส่วนหนึ่ง แต่ยังอยู่ในเกณฑ์ท่เี หมาะตามกาละเทศะ คือเอากระโปรงไปตัด และเนื่องด้ วยน�ำ้ หนักที่ลดลงมา เกือบ 10 โลเนื่องจากปัญหาน�ำ้ ท่วม อาจเป็ นเพราะไม่ค่อยได้ ทานข้ าวน�ำ้ หนักจึงลด เป็ นอะไรที่ถอื ว่าเปลี่ยนชีวิตตัวเองเป้ นอ ย่างมากเพราะที่ผ่านมาจะเป็ นคนอวบ อยากผอมมานาน จนตอนนี้นำ�้ หนักลดสมใจ เลยเอากระโปรงไปตัดให้ ส้นั กว่าเดิมนิด นึงเพื่อความสวยงาม ตอนนี้ยังไม่คิดอะไร ท�ำอะไรตามความคะนอง แต่จะอยู่ในสายตาพ่อแม่ เพราะดิฉันไม่ได้ อยู่หอพัก เลยต้ องเดิน ทางไปกลับบ้ านทุกวัน เลยไม่ออกนอกลู่นอกทาง ซึ่งชีวิตมาพลิกผันในช่วงปี สาม ที่ได้ เรียน JR อย่างเต็มตัวในวิชาที่เกี่ยวกับ วิชาชีพของผู้ส่อื ข่าว ผู้ประกาศข่าวโดยตรง ก็สนุกไปอีกแบบ เพราะเราเลือกเรียนในสิ่งที่ชอบตั้งแต่แรกการเรียนก็จะราบรื่น ที่สำ� คัญท�ำคะแนนได้ ดเี ป็ นอันดับหนึ่งในวิชา JR ซึ่งก็ดใี จมากเกินคาด เพราะไม่คิดว่าตัวเองจะท�ำได้ กระทั่งมาถึงวิชาที่ใฝ่ ฝัน มานานก็คือวิชา การฝึ กเป็ นผู้ประกาศข่าว ได้ เรียนกับอาจารย์ท่เี ป็ นผู้ประกาศข่าวโดยตรงมาตรงการอ่านข่าว เขียนข่าว ได้ น่ัง อ่านข่าวในสตูจริงๆเป็ นครั้งแรกก็ต่นื เต้ นและดีใจมาก เหมือนเราได้ ก้าวมาสู้ความฝันก้ าวแรก ซึ่งก็ต้งั ใจกับวิชานี้เป็ นพิเศษ เกรดออกออกมาเป็ นที่น่าพอใจ
ความทรงจ�ำ 92
อ.ปณต สุสวุ รรณ อาจารย์ท่ที ำ� ให้ ชีวิตของการท�ำข่าวชัดเจนขึ้น จนกระทั่งมาเจออาจารย์ทา่ นหนึ่ง ท�ำให้ ชีวิตของการท�ำข่าวชัดเจนขึ้น ได้ ลงพื้นที่ทำ� งานจริงซึ่งในตอนนั้นชีวิตเปลี่ยน งานหนักเหนื่อยมาก อีกทั้งยังโดนคอมเม้ นท์แรงๆจากอาจารย์แต่กไ็ ม่เคยท้ อ เพราะเราเลือกที่จะท�ำอาชีพนี้ การฝึ กแบบนี้คือ ความจริงเพราะการท�ำงานจริงต้ องเจออะไรอีกเยอะกว่านี้ ได้ ลงพื้นที่หลายๆที่เจอผู้คน เจอแหล่งข่าวมากมาย ได้ เรียนรู้การ สัมภาษณ์แหล่งข่าว การตัดต่อการถ่ายท�ำจริงนอกสถานที่ รู้จักการแก้ ไขปัญหาถือว่าเลือกเรียนไม่ผดิ คุ้มค่าจริงๆกับค่าเทอม ฟรีท่ไี ด้ เข้ ามาเรียนในตรงนี้ อีกทั้งได้ ประกวดการท�ำสารคดีเชิงข่าวในหลายๆรายการ เหนื่อยแต่เมื่อผลงานออกมาแล้ วก็ร้ สู กึ ภาคภูมใิ นในผลงานที่เราสร้ างขึ้นมาเองด้ วยแรงกาย แรงใจ แรงสมอง กว่าจะได้ สารคดีเชิงข่าวออกมาแต่ละเรื่องต้ องทนกลับบ้ านดึก แต่กส็ นุกเพราะยังมีเพื่อนๆที่ร่วมเส้ นทางนี้ นอกจาก การลงพื้นที่ข้างนอกแล้ ว ยังประทับใจการรันสตูดโิ อจริง เพราะนี่แหละคือความฝันของเราที่วันหนึ่งเราต้ องท�ำให้ ได้ ฝึ กการ ท�ำงานเป็ นทีม ซึ่งดิฉันก็ได้ ทำ� หน้ าที่เป็ นผู้ประกาศข่าวสมใจ เลยตั้งใจมากและท�ำมันออกมาดีท่สี ดุ เพราะทุกคนช่วยกันอย่าง สุดความสามารถให้ งานออกมาดี ถึงแม้ จะได้ รับการติชมจากอาจารย์อย่างรุนแรงก็ตามในบางครั้ง แต่มนั ท�ำให้ เรารับรู้ถงึ ข้ อ ผิดพลาดและได้ นำ� ไปพัฒนาต่อในครั้งต่อไป จนถือว่าทุกวันนี้กส็ ามารถก้ าวเข้ าสู้ความเป็ นมืออาชีพได้ อย่างภาคภูมิใจ พอมาถึงปี สี่ เป็ นปี ที่ทรหดที่สดุ ตั้งแต่เรียนมาในรั้วมหาวิทยาลัย ในการเรียนซึ่งมีวิชาปราบเซียนคือ 309 ต้ อง ท�ำงานด้ วยตัวเองทุกอย่างลงพื้นที่เองคนดียวขอช่วยจากเพื่อนในบางครั้ง กว่าจะมีผลงานออกมาได้ กถ็ อื ว่าทรหดพอสมควร จากแรงกดดันหลายๆอย่างก็กเ็ ป็ นบทพิสจู น์ว่าเราสามารถท�ำได้ ด้วยตัวเองจริงๆและออกมาค่อนข้ างเป็ นที่น่าพอใจ และที่ ส�ำคัญลืมเล่าไปในช่วงแรกว่ามหาวิทยาลัยนี้ ใครที่เข้ ามาเรียนจากที่สงั เกตต้ องมีสมาร์ทโฟนทุกคน ซึ่งตอนนั้นก็ไม่คิดว่าจะ ต้ องทันสมัยในทุกๆเรื่องแบบนี้ แต่กถ็ อื ว่าเป็ นข้ อดีท่ที ำ� ให้ การใช้ ชีวิตในเรื่องเรียนง่ายขึ้น เรื่องราวในรั้ว BU นั้นมีมากมายยิ่งถ้ าได้ เข้ ามาเรียนจะต่างกับที่เคยได้ ย่ินมาจากข้ างนอกว่า เป็ นมหาวิทยาลัยไฮโซ ใครเข้ ามาเรียนจะต้ องถือกระเป๋ าแพง นั่งรถแพงๆ พอได้ เข้ ามาเรียนรู้สกึ เลยว่าเรื่องพวกนี้เป็ นเรื่องที่ไร้ สาระมาก ว่าชีวิตไม่ จ�ำเป็ นต้ องอะไรขนาดนี้ถ้ายังเรียนอยู่
เรื่อง เรา เล่า 93
ขณะฝึ กเป็ นผู้ประกาศข่าว ถ้ าให้ เลือกสิ่งที่ประทับใจที่สดุ ตั้งแต่เข้ ามาเรียนในรั้ว BU ก็คงเป้ นการได้ ฝึกการเป็ นนักข่าวจริงและการฝึ กงานจริง กับสื่อโทรทัศน์ช้ันน�ำซึ่งดิฉันก็ได้ เข้ าฝึ กที่สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสชี อง 3 เป็ นอะไรที่ดมี ากได้ เจอผู้ประกาศผู้ส่อื ข่าวที่เราชื่น ชอบในหลายๆท่าน และได้ ทราบเทคนิคที่มมี ากกว่าที่เราได้ เรียนว่าเมื่อออกไปท�ำงานจริงกับมืออาชีพการเรียนถือว่า น้ อยนิด เพราะการก้ าวเข้ าสู่มอื อาชีพเป็ นอะไรที่ต้องมีท้งั ประสบการณ์ความรอบรู้ และการกล้ าที่จะตัดสินใจรวมถึงการฝึ กฝนหาก อาชีพผู้ประกาศไม่มปี ระสบการณ์และการฝึ กฝนก็ไม่สามารถก้ าวไปสู้มอื อาชีพแถวหน้ าได้ อย่าหยิ่งทะนงตัวในความรู้ท่เี รียน มาเพราะออกไปสู้โลกการท�ำงานจริ งต้ องเจออะไรอีกมากมายและดีใจที่ได้ รับการฝึ กฝนจากอาจารย์ท่ีสอนให้ ได้ รับรู้ถึง ประสบการณ์การท�ำงานแบบนี้ ซึ่งหาที่ไหนไม่ได้ อกี แล้ วต้ องมาสัมผัสด้ วยตัวเอง ดีใจที่ได้ เจอเพื่อนๆ ได้ เจออาจารย์เพราะการท�ำงานแบบนี้สามารถท�ำให้ เรากล้ าที่จะยอมรับข้ อผิดพลาดของตัวเอง ได้ คนเราถ้ าไม่เคยผิดพลาดมาก่อนก็จะไม่ร้ จู ักการแก้ ไขปัญหา ผิดได้ แต่ห้ามเกินสองครั้งเมื่อผิดแล้ วต้ องแก้ ไขให้ ถูกต้ อง ซึ่ง เห็นได้ ชัดจากการรันสตูดโิ อเทอมโปรเจคในหลายๆครั้งที่ทุกคนร่วมมือกันท�ำโดยตามหน้ าที่ของตนเองที่ได้ รับมอบหมาย ไม่ ว่างานจะออกมาในระดับไหนทุกคนก็ต้องยอมรับในสิ่งที่ร่วมกันท�ำเพราะมันเป็ นผลงานของเราเอง และทุกสิ่งทุกอย่างที่ อาจารย์มอบให้ ถอื ว่าจะเป็ นประโยชน์อย่างมากในการท�ำงานจริง และสามารถพูดได้ เต็มปากว่า จบวารสารฯ จากม.กรุงเทพ ไปที่ไหนก็มีแต่คนยอมรับว่านักศึกษาที่น้ ีมคี ุณภาพ สามารถท�ำงานในสนามข่าวจริงได้ จึงต้ อง ...ขอบคุณทุกสิง่ ทุกอย่างจากรั้ว BU แห่งนี้ ทีไ่ ด้สร้างคนให้เป็ นเพชรทีแ่ ข็งแกร่งกล้าทีจ่ ะเผชิญกับโลกแห่ง ความเป็ นจริงได้ในอนาคต
ความทรงจ�ำ 94
เรื่อง เรา เล่า 95
Part 3
ชี วิตและความคิด
กิจกรรมท�ำให้คนท�ำงานเป็น จักรพันธ์ ไชยพงษ์
“ การเรียนและการท�ำกิจกรรมตัง้ แต่ ปี 2 ถือว่าที่น่ีให้อะไรมากมาย ”
ตัง้ แต่ข้าพเจ้าเขามาเรียนที่คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ เมื่อปี พ.ศ.2554 สิ่งแรกที่เลือกเรียน ภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุ งเทพเพราะเป็น ภาควิชาที่สามารถให้ความรู้อย่างครบถ้วนและรอบด้านจึงมั่นใจว่าภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุ กระจายเสียง และวิทยุ โทรทัศน์สามารถตอบโจทย์และความต้องการที่จะฝึ กฝน เรียนรู ้จนสามารถออกไปเป็นนักสื่อสารมวลชนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็ นมหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดังที่มคี วามเก่าแก่และมีช่ ือเสียงมายาวนานซึ่งมหาวิทยาลัย กรุงเทพผลิตบัณฑิตให้ มคี วามรู้ความสามารถที่โดนเด่นและมีช่ ือเสียงมาอย่างยาวนาน ข้ าพเจ้ าเริ่มเรียนชั้นปี ที่ 1 ซึ่งได้ เรียนรู้ ว่ าการท�ำงานด้ านวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ไม่ ใช่ เรื่องง่ ายและต้ องมีความเข้ าอย่ างลึกซึ้งและ เพราะการท�ำงานค่อนข้ างสลับซับซ้ อน ขณะเรียนอยู่ปี 1 ได้ เรียนรู้การท�ำงานด้ านวารสารศาสตร์ ทั้งการท�ำข่าวและการเลือกน�ำเสนอข่าวสารให้ ผ้ ูรับสารรับ ทราบกับข้ อมูลอย่างตรงไปตรงมา โดยความรู้สกึ ส่วนตัวในตอนปี 1 ยังไม่ได้ ชอบที่เรียนด้ านข่าวเสมอไปเพราะเนื้อหาที่ได้ เข้ ามาเรียนและท�ำการศึกษามาสักระยะหนึ่งแล้ วคงยังไม่ใช่ทางที่จะเรียนจบไปแล้ วน�ำมาประกอบอาชีพ เพราะเป็ นการเรียนที่ ค่อนข้ างเข้ มงวดพอสมควร ส�ำหรับการท�ำงานด้ านวารสารศาสตร์อาจจะยังไม่ใช่อาชีพที่สนใจ หลังจากนั้นได้ ทำ� เรื่องขอย้ าย ภาควิชาซึ่งตอนนั้นตั้งใจจะย้ ายไปเรียนภาควิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เพราะเท่าที่ศกึ ษามามีเนื้อหาที่ผลิต รายการโทรทัศน์และมีการจัดรายการวิทยุ รวมไปถึงการจัดผังละครและรายการต่างๆ โดยส่วนตัวคิดมาตั้งแต่แรกว่าเข้ าภาค วิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ต้งั แรกแต่มาลงชื่อเรียนไม่ทนั จึงให้ จำ� นวนผู้เข้ าศึกษาเต็ม จึงเปลี่ยนใจกะทันหันและ เลือกเรียนภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แทน หลังจากนั้นได้ ทำ� เรื่องย้ ายภาคเรียน ในที่สดุ และผลสุดท้ ายเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายทะเบียนบอกว่าถ้ าย้ ายตอนนี้อาจจะเก็บตัวที่เรียนเพิ่มขึ้นและอาจจะท�ำให้ เรียนจบช้ ากว่าเพื่อนที่ เรียนตามหลักสูตร สุดท้ ายก็เลือกเรียนที่ภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ต่ หลักจากนั้นจึงค่อยๆปรับตัวในการเรียนเพิ่มมากขึ้น ถึงแม้ จะมีเนื้อหาที่แน่นมากและในใจอาจจะไม่ได้ ชอบมาก แต่ ก็พยายามเข้ าถึงและค่อยๆเรียนรู้มีเพื่อนๆคอยให้ คำ� ปรึกษาและเรียนมาจนถึงปลายเทอมและก�ำลังจะก้ าวข้ ามจากนักศึกษา ชั้นปี ที่ 1 ไปปี 2 ท�ำให้ เริ่มเข้ าใจและเริ่มสนใสที่จะเรียนด้ านวารสารศาสตร์มากยิ่งขึ้น เพราะเป็ นเนื้อที่น่าสนใจและได้ เห็น การท�ำกิจกรรมต่างในภาควิชาของรุ่นพี่ตลอดทั้งเทอม ไม่ว่าจะเป็ นการขายหนังสือพิมพ์บ้านกล้ วย การออกไปท�ำข่าวตาม สถานที่ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ได้ ยังได้ รับความรู้เพิ่มเติมจากได้ สงั เกต การท�ำงานจากรุ่นพี่และฝึ ก ประสบการณ์ใหม่ ชั้นปี ที่ 2 การเรียนด้ านภาควิชาวารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงแลวิทยุโทรทัศน์ได้ เรียนรู้ถงึ การเรียนด้ านโปรดักชั่น และการท�ำงานด้ านกองถ่ายมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ได้ เรียนรู้เกี่ยวกับการท�ำงานได้ ในการถ่ายท�ำ หรือแม้ แต่การถ่ายงานด้ านข่าว โทรทัศน์เนื่องจาก การลงพื้นที่ทำ� ข่าวและการถ่ายท�ำภาคสนามต้ องมีการเตรียมตัวอย่างไรบ้ างเพื่อให้ ผ้ ูส่อื ข่าวมืออาชีพได้ มี การเตรียมความพร้ อมและจรรยาบรรณของนักสื่อสารมวลชน
เรื่ อง เรา เล่า 100
ชั้นปี ที่ 2 ได้ เรียนรู้และเข้ าถึงการท�ำงานอย่างจริงจัง อนึ่งการได้ เรียนรู้ด้านการท�ำงานด้ านวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ทำ� ให้ ร้ วู ่ามีความสนุกและท้ าทายมากที่สดุ การท�ำงานด้ านวารสารศาสตร์นอกจากจะได้ เรียนรู้ ด้ านการเขียนข่าว การเขียนสคริปต์ และอีกทั้งการจับประเด็น เพื่อน�ำเสนอข่าวสาร ภาควิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ยังได้ จัดให้ มีการฝึ กอบรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้ ผ้ ูท่เี รียนทางด้ านวารสารศาสตร์ได้ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการตงแต่งภาพ นิ่ง การไดร์คัดรูปภาพ ในโปรแกรม Adobe photoshop และ Adobe illustrator เพื่อใช้ ในงานถ่ายปกขึ้นปกนิตยสาร และการ ถ่ายภาพบุคคลรวมไปถึงการถ่ายภาพข่าว ซึ่งในแต่ละครั้งที่เข้ าปฏิบตั อิ มรมคอมพิวเตอร์จะสามรถฝึ กให้ เราได้ เรียนรู้และใช้ โปรแกรมต่างๆได้ เข้ าใจมากยิ่งขึ้น จากพื้นฐานไม่ร้ จู ักเลย ในช่วงชั้นปี 2 ยังได้ เข้ าร่วมกิจกรรมของภาควิชาเริ่มตั้งแต่การรับน้ อง การน�ำเสนอจุดเด่นของภาควิชาวารสารศาสตร์ เพื่อให้ น้องๆปี 1 เข้ ามาเรียนต่อในด้ านวารสารศาสตร์มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ระยะเวลาเกือบ 3 เดือนที่ได้ เข้ ามาเป็ นส่วนหนึ่ง ของภาคที่จะต้ องท�ำงานรับน้ อง น�ำเสนอภาค จัดหา คิดการแสดง รวมไปถึงงานบายเนียร์จากการที่เข้ ามาเป็ นส่วนหนึ่งได้ ท�ำให้ เห็นการท�ำงานของรุ่นพี่ ว่ามีการแบ่งการท�ำงานอย่างไร และแบ่งหน้ าการรับผิดชอบอย่างไร ซึ่งตรงนี้สามารถท�ำให้ เรามี ความรับผิดชอบมากขึ้น เพราะการท�ำงานที่จริงจังและแข่งขันกับเวลารวมไปถึงความกดดันอย่างๆหลาย ท�ำให้ ในช่วงที่เรามา ท�ำงานภาคในปี 2 ต้ องเก็บเกี่ยวประสบการณ์ให้ มากๆ เพราะเมื่อถึงปี 3 เราจะต้ องท�ำกันเอง ไม่ว่าจะเป็ นในส่วนของ ฝ่ าย เทคนิค ทดสอบระบบเสียง ฝ่ ายฉากและอุปกรณ์การแสดง ฝ่ ายนักแสดงและเเดนเซอร์ ฝ่ ายคอสตูมและแมคอัพ และฝ่ ายส เตจ ทุกอย่างต้ องท�ำงานอย่างเป็ นระบบ และแน่นอนเมื่อมีหลายคน หลายความคิดก็ต้องมีปัญหาและอุปสรรค์เข้ ามา เพราะ ฉะนั้นหัวหน้ าแต่ละฝ่ ายต้ องเป็ นคนตัดสินใจและหาทางออกให้ ฝ่ายของตนเอง เพื่อให้ งานไปต่อได้ เมื่อระยะเวลาผ่านไปทุกอย่างเริ่มลงตัวเราต้ องน�ำทุกฝ่ ายมาประชุมเพื่อซ้ อมใหญ่ครั้งที่ 1 ทุกฝ่ ายต้ องพร้ อม ซึ่งตอน นั้นทุกอย่างดูกดดันและเครียดมากพอสมควร เพราะไม่ใช่มแี ค่ร่นุ พี่ปี 3 ปี 4 ที่เข้ ามาดูยังมีร่นุ พี่ท่จี บไปแล้ วกลับเจ้ ามาดูผล งานน้ องๆ ครั้งแรกเราต้ องท�ำให้ ออกมาดีท่สี ดุ เพราะไม่ใช่มแี ค่พวกเรา ยังมีเพื่อนภาคอื่นอีก 6 ภาควิชา และรุ่นพี่อกี 6 ภาค วิชาคอยจับดูเรา เราต้ องท�ำให้ เต็มที่ท่สี ดุ สุดท้ ายผลออกมาภาคเรายังไม่เท่ากับเพื่อนๆอีก 6 ภาค เมื่อรันเสร็จแล้ วรุ่นพี่กด็ ่า แต่ไม่เป็ นไรปี หน้ าเราจะท�ำให้ ดขี ้ นึ มากกว่านี้ ยอมรับว่าเหนื่อยและท้ อจริงๆ ชั้นปี ที่ 3 เข้ าสู่ปีที่ 3 ของชีวิตการเป็ นนักศึกษาต้ องบอกเลยว่าต่างจากปี 1 และปี 2 ค่อนข้ างมากเพราะได้ ศกึ ษาเกี่ยว กับ สารคดีเชิงข่าวโทรทัศน์ ค�ำว่าสารคดีเชิงข่าวโทรทัศน์หลายๆคนคิดว่าไม่น่าจะยากเพราะเหมือนเราได้ ไปลงพื้นที่ และ สัมภาษณ์นำ� มาตัดต่อ ที่ความจริงแล้ วการท�ำสารคดีเชิงข่าวต้ องมีข้อมูลด้ านงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง บทความที่เกี่ยวข้ อง ข่าวที่ เกี่ยวข้ อง นี่คือข้ อมูลเบื้องต้ นที่ต้องหาประกอบกับการท�ำสารคดีเชิงข่าวในแต่งละเรื่อง เรื่องแรกที่ได้ ทำ� คือ “แมลงทอดอาหารกู้โลก” ถัดมาได้ เรียนรู้เกี่ยวกับการท�ำสกูป๊ ข่าวและได้ ลงมือท�ำสกูป๊ ข่าว เรื่อง “ผ้ าไหมบ้ านครัวกลางกรุง” และสารคดีเชิงข่าวเรื่องสุดท้ าย คือเรื่อง “อวนมหาภัย” การท�ำสารคดีเชิงข่าวและสกูป๊ ข่าว เรื่องที่ดี ต้ องมีข้อมูลพื้นฐานเพื่อศึกษาก่อนที่จะลงพื้นที่จริง การลงพื้นที่ทำ� สารคดีเชิงข่าวแตกต่างกับการลงพื้นที่ทำ� ข่าว สารคดีเชิงข่าวต้ องมีการเตรียมความพร้ อมทางด้ านเนื้อหาความเป็ นจริงลงพื้นทีจริง เพื่อไปเสาะหาแหล่งที่เกิดเป็ นข่าว สอบถามชาวบ้ านที่ได้ รับผลกระทบและความเดือดร้ อน รวมไปถึงสัมภาษณ์และการใช้ คำ� ถามที่เจาะลึกแต่ไม่ทำ� ร้ ายแหล่งข่าว จนเกินไป เพื่อเป็ นการปกป้ องแหล่งข่าวด้ วย นี่คือเบื้องต้ นในการท�ำสารคดีเชิงข่าวในแต่ละเรื่อง
ชี วิตและความคิด 100
เมื่อครั้งท�ำกิจกรรมของภาควิชา เรื่องแรกที่ได้ ทำ� คือ “แมลงทอดอาหารกู้โลก” ถัดมาได้ เรียนรู้เกี่ยวกับการท�ำสกูป๊ ข่าวและได้ ลงมือท�ำสกูป๊ ข่าว เรื่อง “ผ้ าไหมบ้ านครัวกลางกรุง” และสารคดีเชิงข่าวเรื่องสุดท้ าย คือเรื่อง “อวนมหาภัย” การท�ำสารคดีเชิงข่าวและสกูป๊ ข่าว เรื่องที่ดี ต้ องมีข้อมูลพื้นฐานเพื่อศึกษาก่อนที่จะลงพื้นที่จริง การลงพื้นที่ทำ� สารคดีเชิงข่าวแตกต่างกับการลงพื้นที่ทำ� ข่าว สารคดีเชิงข่าวต้ องมีการเตรียมความพร้ อมทางด้ านเนื้อหาความเป็ นจริงลงพื้นทีจริง เพื่อไปเสาะหาแหล่งที่เกิดเป็ นข่าว สอบถามชาวบ้ านที่ได้ รับผลกระทบและความเดือดร้ อน รวมไปถึงสัมภาษณ์และการใช้ คำ� ถามที่เจาะลึกแต่ไม่ทำ� ร้ ายแหล่งข่าว จนเกินไป เพื่อเป็ นการปกป้ องแหล่งข่าวด้ วย นี่คือเบื้องต้ นในการท�ำสารคดีเชิงข่าวในแต่ละเรื่อง ในช่วงต้ นๆเทอมได้ เรียนรู้เกี่ยวกับการเป็ นผู้ประกาศข่าว ค�ำควบกล�ำ้ การออกเสียง การแบ่งลมหายใจและสอบ ปฏิบตั อิ ่านข่าวจริง ถัดมาเป็ นเรื่องการเรียนรู้เกี่ยวกับการท�ำงานในสตูอโิ อข่าว ว่ามีข้นั ตอนอะไรบ้ างและการรันสตูรายการข่าว เป็ นการน�ำข่าวที่เราไปลงพื้นที่ไปท�ำในมหาวิทยาลัยในมาท�ำรันดาวน์เลือกข่าวและน�ำมารัน หน้ าที่ในการรันสตูมีท้งั สวิชเชอร์ กล้ อง ไฟ สเตจ วีทอี าร์ ซาวด์ ซีจี และผู้ประกาศ ในช่วงเทอมแรกๆจะเรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องมือแต่ละชนิดว่าแต่ละอย่างใช้ อย่างไร ช่วงสัปดาห์ท้ายๆเทอมได้ มกี ารสอบรันสตู ชื่อรายการ Sky News ครั้งแรกอาจจะมีปัญหาผิดพลาดทางเทคอยู่บ่อย ครั้งพอสมควร เพราะเป็ นครั้งแรกเพื่อนในแต่ละหน้ ายังไม่ชินกับเครื่องมือที่ตนเองได้ รับมอบหมาย ก่อนจะเปิ ดเทอมในช่วง เทอมที่ 2 นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 ของภาควิชาวารศาสตร์ต้องออกไปฝึ กงานยังสถานที่ต่างๆ ซึ่งตนเองเองได้ เลือกช่องข่าว และ สนใจที่จะข่าวบันเทิงเลยมาเฟ้ นหาข่าวบันเทิงที่ได้ รับความนิยมสูงสุดและน�ำเสนอข่าวที่ค่อนข้ างตรง แต่ไม่บดิ เบือนไปจาก ความเป็ นจริงและในส่วนของการท�ำข่าวบันเทิงต้ องไม่ทำ� แค่ในเฉพาะช่วงตัวเองเป็ นหลัก เลยตัดสินสินใจเลือกฝึ กงานที่ช่อง 9 ฝ่ ายธุรกิจไนน์เอนเตอร์เทน ที่ตดั สินใจเลือกที่เพราะรายการไนน์เอนเตอร์เทนเป็ นข่าวบันเทิงที่หลายๆต่างรู้จักและคุ้นเคย กันดี ประกอบกับเป็ นรายการข่าวบันเทิงที่ได้ รับความนิยมสูงสุดตลอดระยะเวลา 12 ปี ตลอดระยะเวลาที่ได้ เข้ าไปฝึ กงานที่ ส�ำนักข่าวบันเทิง ไนน์เอนเตอร์เทน ได้ เรียนรู้อะไรมากมาย เช่น การเขียนข่าวบันเทิงมีลักษณะอย่างไร การเขียนสกูป๊ ข่าว บันเทิงท�ำอย่างไร การรายงานข่าวสดที่กำ� ลังเป็ นกระแสและคนก�ำลังติดตามท�ำอย่าง และนอกจากนี้ช่องยังได้ ฝึกประสบการณ์ การจัดอีเว้ นท์ จัดมิตติ้งดาราให้ นักแสดงน�ำไปเที่ยวยังสถานที่ต่างๆ ถือว่าเป็ นการฝึ กงานที่ครบถ้ วนและสามารถท�ำให้ เราแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าได้ อกี ด้ วย
เรื่อง เรา เล่า 101
เมื่อครั้งฝึ กงานที่ Nine Entertain และมาถึงชั้นปี ที่ 4 ในช่วงเปิ ดเทอมแรกๆเพื่อนต่างมาแลกประสบการณ์ต่างที่ทุกๆคนได้ ไปฝึ กงานแต่ละช่องมาน�ำ เอาประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนกันในห้ องเรียน หลังจากนั้นไม่ก่ชี ่ัวโมงอาจารย์กใ็ ห้ แบ่งโต๊ะข่าวเพื่อจะง่ายต่อการท�ำงานและ ท�ำข่าวในมหาวิทยาลัย ข้ าพเจ้ าได้ เลือกโต๊ะข่าวบันเทิง ซึ่งน่าจะเหมากับที่เราฝึ กงานมาตรงสายในด้ านนี้ หลังจากแบ่งโต๊ะข่าวแล้ วก็ได้ เริ่มท�ำงานเลย คือการลงพื้นที่ทำ� ข่าวตามโต๊ะของตนเอง และตามที่ได้ รับมอบหมาย ลงพื้นท�ำข่าวจริงเขียนข่าวและสุดท้ ายก็มาตัดต่อเอง ในแต่ละข่าวผู้ส่อื ข่าวต้ องแสดงถึงความบันเทิงด้ วย ในช่วงปี 4 เทอมแรก ก็เจองานใหญ่เลยนั่นก็คือการท�ำสานิพนธ์ ซึ่งส่วนตัวสนใจการท�ำขนมไทยเรื่องราวศิลปะความเป็ นไทยโบราณที่ขาดหายไป เพื่อให้ คนรุ่นหลังได้ สบื ถอดเพื่อให้ วัฒนธรรมอันดีงามของไทยอยู่คู่กบั เยาวชนไทยและคนไทยสืบต่อไป เพราะฉะนั้นจึงผลิต รายการ “ร้ อยเรื่องเมืองสยาม” เพื่อเป็ นการเล่าเรื่องราวของดีจากอดีตจนถึงปัจจุบนั โดยตอนแรกเลือกที่จะเจาะลงเป็ นขนม ไทยเลยประเดิมตอนแรกว่า “ขนมทองเอก” เพราะขนมชนิดจะหารับประทานได้ ค่อนข้ างยากและผู้ท่สี อนท�ำขนมก็หาได้ ยาก เราจึงบุกถึงก้ นครัวล้ วงสูตรเด็ดเคล็ดลับกันถึง พระบรมมหาราชวัง เขตพระราชฐานชั้นใน เพื่อศึกษากรณีท่เี กิดขึ้นทั้งประวัติ และวิธที ำ� อย่างละเอียด และสุดท้ ายผลงานก็เสร็จสมบูรณ์เป็ นรูปเล่มถือว่าช่วงนั้นเหนื่อยมาก ต่อจากการท�ำสารนิพนธ์แล้ วยังได้ รับมอบหมายอีกหนึ่งชิ้นนั่นก็คือสารคดีเชิงข่าว เรื่อง “วิกฤตน�ำ้ เสียคลอง ภาษีเจริญ” งานนี้เป็ นผลงานที่หินมากพอสมควรและต้ นเหตุท่เี กิดก็คือจากโรงงานอุสาหกรรมเราต้ องลงพื้นที่จริงเพื่อเข้ าไป ตรวจสอบ พอเข้ าไปถึงยังสถานที่เกิดเหตุครั้งแรกที่เข้ าไปรู้สกึ เวียนหัวอย่างรุ่นแรง คลื่นไส้ เข้ าไปสังเกตโรงงานอุตสาหกรรม เก็บข้ อมูลทั้งหมด รวมถึงเก็บภาพนิ่งและวิดโี อเพื่อท�ำให้ ชาวบ้ านที่รับผลกระทบมีสทิ ธิในการเรียกร้ องความเป็ นธรรมจาก หน่วยงานภาครัฐ เดินทางมาขั้นสุดท้ ายคือทราบว่า ทีมของตนเองมีช่ ือเข้ าชิงผลงาน สารคดีเชิงข่าววิทยุกระจายเสียง ใน โครงการสายฟ้ าน้ อย ครั้งที่ 10 และที่น่าตกใจคือผลงานได้ รับรางวัลสายฟ้ าน้ อย ประเภทสารคดีเชิงข่าววิทยุกระจายเสียง ตอนนั้นไม่คิดเลยว่าจะมาถึงขนาดนี้ ตอนลงพื้นที่ในใจแค่อยากจะช่วยชาวบ้ านที่ได้ รับผลกระทบได้ มสี ทิ ธิเรียกร้ องความเป็ น และอยากให้ หน่วยงานเข้ ามาช่วยเหลือ แต่เมื่อได้ รับรางวัลถือว่าหายเหนื่อยและมีกำ� ลังใจในการท�ำงานเพิ่มมากต่อไป
ชี วิตและความคิด 102
การเรียนและการท�ำกิจกรรมตั้งแต่ ปี 2 ถือว่าที่น่ีให้ อะไรมากมายให้ เพื่อน ให้ ร่นุ พี่ และกระชับความสัมพันธ์กบั รุ่น น้ องเชื่อว่าการท�ำงานและการท�ำกิจกรรมท�ำให้ คงท�ำงานเป็ นแน่นอนเพราะต้ องผ่านบททดสอบมากมาย ต้ องแก้ สถานการณ์ เฉพาะหน้ าได้ มีวิธกี ารดูแลเพื่อนๆให้ กำ� ลังใจกันและเชื่อว่าเพื่อนๆ แต่ละคนมีของและประสบการณ์มากพอที่จะก้ าวข้ ามเป็ น วัยท�ำงานอย่างสมบูรณ์แบบ เชื่อว่าผลงานของแต่ละคนสามารถใช้ ได้ จริงกับสถานีข่าวในยุคปัจจุบนั เหลือเวลาอีกไม่ก่เี ดือนก็ จะจบแล้ วขอเก็บเกี่ยวความรู้ท่มี อี ยู่อย่างเต็มที่ ก่อนที่จะไปเจอเผชิญกับโลกแห่งความเป็ นจริง
เรื่ อง เรา เล่า 103
เลือกเรียนผิดชี วิตเปลี่ยน นันทวัน คุ้มวงษา
“ การเดินหลงทาง ท�ำให้เจอสถานที่สวยงามใหม่ๆ “
“ “ “ “ “ “ “
เราจะเรียนวารสารศาสตร์ สาขาวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ใช่ มัย๊ “ เอ่อค่ะ “ ไม่ใช่ ภาคบรอดแคสติ้ง ใช่ มัย๊ “ คือหนูไม่แน่ใจอะค่ะ “ เราอยากเรียนอะไรละ ที่คิดมา ? “ หนูอยากเรียนที่เป็นท�ำโทรทัศน์ด้วย แต่ว่าเป็นเชิ งสาระหน่อยอะค่ะ “ งัน้ เรียนอันนี้แหละ ถูกแล้ว อันนี้แหละ “
ค�ำถามชุดแรกจากการสมัครเข้ าเรียมหาวิทยาลัย ยอมรับว่าท�ำให้ อ้ งึ เพราะไม่ร้ วู ่าที่อาจารย์ถามคืออะไร และก�ำลัง ต้ องไปเจอกับอะไร แต่กค็ ิดว่าตัวเองจะต้ องผ่านไปได้ แน่ ตอนนั้นไฟแรงและเตรียมพร้ อมอย่างเต็มที่สำ� หรับการเริ่มต้ นใหม่ หลังจากที่ได้ สมัครเรียนแล้ วก็เหลือแค่รอเวลาที่เจอเปิ ดเทอมเจอเพื่อนใหม่ สังคมใหม่ๆ แต่ตอนนั้นสังคมเสมือน จริงที่ช่ ือว่าเฟซบุก๊ ก็ทำ� ให้ เรารู้จักเพื่อนที่เรียนในสาขาเดียวกัน มีเพื่อนคนหนึ่งได้ เชิญเราให้ เข้ ากลุ่มรวมของเฟรชชี่วารสาร เราติดตามความเคลื่อนไหวเป็ นระยะๆ และได้ แลกเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์กบั เพื่อนไว้ บ้าง แต่กไ็ ม่เคยได้ โทรหาใครจนกระทั่ง วันรับน้ องมาถึง เพื่อคนแรกที่มใี นชีวิตมหา’ลัย ชื่อโอ๊ต –โอ๊ตเป็ นตุด๊ ที่ดูแรง และดูเป็ นตัวตบของโรงเรียนเก่าสมัยมัธยม แน่ๆ ท�ำให้ เราไม่ค่อยกล้ าคุยกับโอ๊ตมากเท่าไหร่ แม้ จะมีตารางเรียนที่ตรงกันทุกวิชา ถึงเวลาของการเปิ ดเทอม แน่นอนว่าเรา ต้ องติดต่อโอ๊ตเป็ นคนแรกเพื่อจะเข้ าเรียนพร้ อมกัน แต่ครั้งนี้เราได้ คุยกับโอ๊ตมากขึ้นและได้ ร้ วู ่าโอ๊ตไม่ได้ เป็ นคนอย่างที่คิดไว้ ตอนแรกเลย ทั้งตลก ฮา เป็ นกันเอง แล้ วก็ดูจะเป็ นเพื่อนบ้ าๆที่เราพอจะเข้ าถึงได้ การเรียนท�ำให้ เราได้ เจอเพื่อนกลุ่มใหญ่อกี หนึ่งกลุ่มที่ทำ� ให้ การเรียนมหา’ลัยในปี แรกไม่น่ากลัวมากนัก เราได้ เจอเนย เพื่อนที่มอี ะไรคล้ ายกันมาก ทั้งบ้ านใกล้ กนั เรียน โรงเรียนมัธยมใกล้ กนั และเป็ นเพื่อนของเพื่อน ท�ำให้ อะไรหลายๆอย่างในปี หนึ่งนั้นลงตัวเป็ นอย่างมาก เพื่อนดี การเรียนก็ เป็ นไปอย่างเรื่อยๆไม่ได้ กดดันอะไรมากนัก แต่ในปี ที่เราเบิกบานและมีความสุขสุดๆกับเป็ นปี เดียวกับที่เราต้ องเสียเพื่อนคน หนึ่งไปโดยที่ไม่ทนั ตั้งตัว ดราฟเป็ นเพื่อนสมัยมัธยมที่แม้ จะอยู่คนละห้ อง แต่กไ็ ด้ ร้ จู ักกันจากการท�ำกิจกรรมหลายๆอย่างของ โรงเรียน จ�ำได้ ว่าในวันนี้ร้ วู ่าดราฟเกิดเรื่องไม่ดขี ้ นึ เรารีบไปที่โรงพยาบาลเพื่อไปดูใจ แต่หลังจากนั้นไม่นานดราฟก็ได้ จาก พวกเราทุกคนไป เหตุการณ์ครั้งนั้นท�ำให้ เราใช้ ชีวิตมหา’ลัยอย่างไม่ประมาท เพราะจากที่ได้ ฟังเรื่องราวต้ นเหตุการณ์จากไป ของดราฟ ก็เป็ นเพราะเรื่องชู้สาวและอารมณ์ช่ัววูบของฤทธิ์สรุ า ภาคเรียนที่ 2 ของการเรียนมหาวิทยาลัย มาพร้ อมเหตุการณ์ทางธรรมชาติท่ไี ม่ปกติ น�ำ้ ท่วมใหญ่ท่สี ดุ ตั้งแต่เกิดมา แล้ วพบเจอ ท่วมมันทั้งประเทศ ท่วมจนเรียนหนังสือหนังหากันไม่ได้ ด้ วยความที่ม.กรุงเทพอยู่รังสิตซึ่งเป็ นที่ลุ่ม แน่นอนว่า น�ำ้ ท่วมท�ำให้ เราไม่สามารถเดินทางไปเรียนตามปกติได้ การเปิ ดเทอมถูกเลื่อนจากปกติไปหลายเดือน ครอบครัวของเราเองก็ ต้ องย้ ายไปอยู่โรงแรมที่พัทยาชั่วคราว เพราะพ่อยังต้ องท�ำงานที่ชลบุรี ไปอยู่พัทยาเป็ นที่ท่ใี กล้ ท่สี ดุ ระหว่างอยู่ท่นี ้ันแบบไม่ ได้ เรียน ไม่ได้ เจอเพื่อน เป็ นช่วงที่เหงามาก มีแค่ทะเล สระว่ายน�ำ้ ของโรงแรม แล้ วก็อาหารเช้ าที่เราต้ องเจอเป็ นประจ�ำ แม้ ว่า ที่น่ีจะเป็ นเมืองท่องเที่ยวก็จริง แต่การไปอยู่ท่อี ่นื ที่ไม่ใช้ บ้าน ก็เกิดความรู้สกึ คิดถึงบ้ านขึ้นมา และยังมีข้อจ�ำกัดที่ต้องประหยัด ขึ้น
เรื่อง เรา เล่า 105
กับโอ๊ต (ขวา) เพื่อนคนแรกในมหาวิทยาลัย 1 เดือน ผ่านไปหลังจากที่ไปอยู่พัทยา เราได้ กลับมาอยู่ท่บี ้ านแต่กอ็ กี สักพักถึงจะเปิ ดเทอม แม่เห็นว่าอยู่บ้านก็ว่าง ไม่ได้ ทำ� อะไร บวกกับช่วงนั้นลูกพี่ลูกน้ องของเราที่เป็ นช่างภาพอยู่ท่อี มรินทร์ พลับลิชชิ่ง ท�ำหนังสื่อเรียลพาเรนติ้ง ที่เป็ น หนังสือเกี่ยวกับแม่และเด็ก ผู้ช่วยช่างภาพเค้ าลาออกพอดี พี่เห็นว่าเราเรียนนิเทศศาสตร์ มาช่วยหยิบๆจับๆอะไรน่าจะได้ จึง ได้ ชวนไปช่วยงาน พี่ของเราคนนี้ช่ ือพี่ไกด์ จะให้ พูดๆไปพี่ไกด์เป็ นครูทางด้ านนิเทศศาสตร์ การถ่าย รูป การท�ำงานกับคน แก สอนหมดทุกอย่าง ตอนนั้นจ�ำได้ ว่าอายุ 18 เป็ นผู้ช่วยที่อายุน้อยที่สดุ เท่าที่อมรินทร์เคยมีมา ในวันแรกที่ต้องไปอยู่หอกับพี่ไกด์ แม้ จะเป็ นลูกพี่ลูกน้ องที่เล่นกันมาตั้งแต่เด็ก แต่กเ็ กรงใจ ท�ำตัวไม่ถูก กลัวว่าจะ ช่วยงานพี่เค้ าไม่ดี ไอ้ เราก็เรียนมาแบบงูๆปลาๆไม่ค่อยได้ ต้งั ใจเรียนซะด้ วย แต่โชคดีท่พี ่ีไกด์เป็ นคนใจเย็น และพี่ๆทุกคน เอ็นดูเหมือนเราเป็ นน้ องจริงๆ ในวันที่อยู่ออฟฟิ ศไม่ถ่ายงาน เราจะช่วยทุกคนท�ำทุกอย่างที่ช่วยได้ จัดหนังสือ เดินเอาของไป ให้ พ่ีเล่มอื่น เซฟงาน จัดหมวดหมู่งาน หรือแม้ แต่ซ้ ือน�ำ้ ซื้อขนม ท�ำหมดทุกอย่าง วันที่มถี ่ายทั้งในสตูดโิ อ หรือออกกองถ่าย แรกๆยืนเหวอเลย พี่ไกด์เรียกให้ หยิบเลนส์อะไรไม่ร้ จู ักสักอย่าง แต่พ่ีทุกคนช่วยๆสอนงาน แนะน�ำตั้งแต่เรื่องการเก็บรีเฟล็ กซ์ไปถึงวัดแสงก่อนถ่าย จริงๆแล้ วเราไม่เข้ าใจหรอกว่าทุกอย่างสอนไปท�ำไม เก็บรีเฟล็กซ์สอนท�ำไม จัดขาไฟ เก็บให้ เป็ นระเบียบสอนท�ำไม เก็บแบบไหนก็เหมือนกัน แต่พอท�ำงานที่น่ีไปเรื่อยๆ เราเข้ าใจทุกอย่างที่พ่ีทุกคนสอน มันท�ำให้ เราเป็ นมืออาชีพ มีระเบียบใน การท�ำงาน และท�ำให้ ทำ� งานร่วมกับทุกคนได้ ดี นี่เป็ นโอกาสที่ท่สี ดุ ที่เราเคยได้ เลยจริงๆ ตอนแรกที่แม่บอกว่าจะให้ ไปอยู่กพ็ ่ี ไกด์ เราก็ไม่ค่อยเต็มใจนัก เพราะอยู่เฉยๆที่พัทยามานาน ชีวิตมีแต่เล่นน�ำ้ ทะเลกับกินๆนอนๆ แต่เมื่อเวลาเปิ ดเทอมมาถึง จริงๆ เรากลับคิดถึงที่น่ีมาก จริงๆระยะเวลาที่ทำ� งานที่อมรินทร์กไ็ ม่ได้ เยอะ แต่ความรู้ท่ไี ด้ น้ันหาที่ได้ ไม่ได้ ความเอ็นดูจาก พี่ๆ ความสนุกเวลาท�ำงาน แม้ ตอนเหนื่อยก็ยังยิ้มเพราะเป็ นงานที่มคี วามสุขได้ เจอผู้ใหญ่ใจดีหลายคน กับเด็กปี 1 ที่อายุแค่ 18 ครั้งหนึ่งได้ มายืนข้ างช่างภาพมืออาชีพได้ เป็ นผู้ช่วยหยิบเลนส์ถอื รีเฟล็กซ์แค่น้ ีกเ็ ป็ นความประทับใจที่สดุ แล้ วส�ำหรับเด็ก คนนี้
ชี วิตและความคิด 106
และแล้ วมหาวิทยาลัยกรุงเทพเปิ ดเทอมแบบจริงๆและได้ เริ่มการเรียนแบบใหม่ท่มี หา’ลัยสร้ างสรรค์ของเราคิดขึ้น นั่นก็คือการเรียนทางอินเตอร์เน็ต มันออกจะแปลกๆ แต่กส็ นุกมากที่ได้ เห็นเพื่อนจากจอคอมพิวเตอร์ แย่งกันตอบผ่านการ พิมพ์แชท แต่ท่เี หมือนเดิมคืออาจารย์กย็ ังต้ องบ่นเราเรื่องคุยกัน หรือท�ำเสียงดัง ไม่แตกต่างจากในห้ องเรียน เพื่อนบางคนก็ มีคนมานั่งเรียนด้ วย เป็ นน้ องบ้ าง พ่อแม่เดินเข้ ามาในเฟรมบ้ าง สนุกสนานกันแบบแปลกๆ ตอนนั้นกังวลพอสมควรว่าถ้ า เรียนแบบนี้ผลการเรียนจะตกมั๊ย เพราะไม่ได้ เจอไม่ได้ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกับอาจารย์เท่าที่ควร แต่การเรียนเทอมนี้ ด้ วยความที่มนั แตกต่างไปมากกับวิธกี ารเรียนที่เราเคยเรียนมาตลอดชีวิต เราต้ องรับผิดชอบมากขึ้น ทบทวนบทเรียนด้ วยตัว เอง ถามเพื่อนหลังจากเรียนเสร็จ อินเตอร์เน็ตมีประโยชน์มากจริงๆในปี นั้น และท�ำให้ เห็นศักยภาพของตัวเองที่ปกติจะ เฉื่อยๆ ตามเพื่อนไปวันๆ ก็ได้ ร้ วู ่า เฮ้ ย พอเรารับผิดชอบมากขึ้น เราก็ทำ� ได้ น่ีหว่า การเรียนในชั้นที่ปี 1 นั้นผ่านไปแบบไม่ดแี ละไม่แย่ เกิดอะไรขึ้นหลายอย่างในปี นี้ เราทั้งรู้สกึ โตขึ้นจากทั้งตัววิชา ใหม่ๆที่ได้ เรียน และประสบการณ์ชีวิตที่ได้ มาเจอ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องเล็กน้ อยอย่างได้ ข้ นึ รถตู้กลับบ้ านเองท�ำให้ เจอเรื่องอะไร แปลกๆทุกวัน จนไปถึงเรื่องใหญ่ๆที่ต้องตัดสินใจเองทั้งการเรียนที่เปลี่ยนไปและเรื่องของการบริหารเวลาในชีวิต ที่ไม่ได้ มี แค่บ้านกับโรงเรียนอีกต่อไปแล้ ว หรือการที่ต้องเรียนเหมือนนักเรียนทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ต ตอนนั้นแม้ จะเป็ นเด็กน้ อย กว่าตอนนี้มาก แต่คิดว่าเป็ นปี ที่ไม่เลวส�ำหรับการเริ่มต้ นอะไรใหม่ๆ แม้ ในใจจะมีลังเลกับการซิ่วไปเรียนที่อ่นื เพราะอยากลบ ค�ำสบประมาทของการเอ็นทรานซ์ไม่ตดิ แต่กเ็ กือบจะใช้ คำ� ที่เรียกได้ ว่า เราลงตัวกับที่น่ีมากๆแล้ ว แม้ จะใช้ คำ� ว่าผูกพันธ์ไม่ได้ แต่ 1 ปี ที่น่ีเราก็ภาคภูมใิ จกับอะไรหลายๆอย่างที่เราได้ รับมากทีเดียว และการเรียนมหาวิทยาลัยชั้นปี ที่ 2 ก็เริ่มขึ้น แน่นอนว่าเรายังเรียนที่ม.กรุงเทพต่อ เพราะไม่ตดิ มหา’ลัย ที่เราคิดว่า จะซิ่วไป แต่กด็ ที ่ไี ม่ต้องปรับเปลี่ยนอะไรใหม่ ทุกอย่างเหมือนเดิมแค่เริ่มที่จะเข้ าใกล้ การเรียนที่โหดขึ้น หินขึ้น และก็เจอ อาจารย์ท่เี ก่งและเฮี้ยบมากขึ้น แต่กน็ ่ันแหละ เราผ่านปี 1 มาแบบสบายๆ และได้ ใจคิดว่าเรียนนิเทศศาสตร์ ก็ไม่ได้ แล้ วร้ าย จึงคิดการใหญ่ ไปลงเรียนนิตศิ าสตร์รามค�ำแหงทิ้งไว้ ซึ่งก็เป็ นความต้ องการของพ่อที่อยากให้ เราลองเรียนดู เผื่อว่าจะได้ รับ ปริญญา 2 ใบ หรือเผื่อในอนาคตเรียนไปแล้ วนิเทศศาสตร์อาจจะไม่ใช่ข้ นึ มาจริงๆ ก็ยังมีนิตฯิ ราม รองรับอยู่อกี ที่ แต่การ เรียนของปี นี้ไม่เหมือนกับปี ที่แล้ ว “นี่มนั อะไรกันน่ะ” ค�ำพูดส�ำหรับอาทิตย์ของการแนะน�ำวิชาของทุกๆวิชา และได้ ร้ วู ่างาน ทั้งหมดนั้นมีอะไรบ้ าง เหมือนกับว่าเราเข้ าใกล้ ความเป็ นวารสารศาสตร์ ภาควิชาที่เลือกเรียนไว้ มีการเริ่มเขียนข่าว ท�ำวิจัย เกี่ยวการสื่อ การเขียนบทความ และการเข้ าสัมภาษณ์พ่ีนักข่าวตัวจริง ถึงหัวข้ อที่อาจารย์ให้ มา ปี นี้เลยเป็ นปี ที่ได้ เรียนหนัก เป็ นพิเศษ แน่นอนว่าตอนมัธยมเราแค่เรียนตามต�ำรา จดตามที่ครูบอก ท�ำการบ้ านแบบลอกเพื่อนแค่น้ันจริงๆ เมื่อตอนปี 1 งานส่วนใหญ่กไ็ ม่ยากมากนัก แต่กย็ ังดีท่เี รามีเพื่อนดีมากๆ เพราะทุกอย่างที่เป็ นงานกลุ่ม ทุกคนท�ำ หน้ าที่ของตัวเองท�ำให้ งานทุกงาน ที่แม้ ว่ามันจะดูยากแต่มันก็ผ่านไปด้ วยดี หรือถึงแม้ ท่เี ป็ นงานเดี่ยวก็จะได้ เพื่อนนี่แหละ ค่อยช่วยดูให้ ว่ามันโอเคแล้ วหรือยัง ท�ำให้ เราคิดว่าโชคดีท่ไี ม่ต้องไปเริ่มต้ นอะไรใหม่ ถ้ าวันนั้นซิ่วติด วันนี้อาจจะไม่เจอเพื่อน ดีๆแบบนี้แล้ วก็ได้
เรื่อง เรา เล่า 107
ทุกๆวันเรายังคงนั่งรถตู้กลับบ้ านกับเนย และร้ องคาราโอเกะกับโอ๊ตและใหม่ แม้ การบ้ านจะเยอะ แต่ทุกเย็นเราและ เพื่อนมักจะหากิจกรรมท�ำก่อนกลับบ้ าน เพื่อบรรเทาความเครียดจากการเรียน (ขนาดนั้นเลย) จ�ำได้ ว่าปี นั้นเป็ นปี ที่อ้วนมาก เพราะนอกจากจะร้ องคาราโอเกะตอนเย็นแล้ ว การกินบุฟเฟ่ ต์ป้ ิ งย่างก็เป็ นหนึ่งกิจกรรมที่เราท�ำด้ วยกันบ่อย และขณะที่การ เรียนนิเทศศาสตร์เป็ นไปอย่างเข้ มข้ น อีกมุมหนึ่งของนิตศิ าสตร์เราก็ต้องขยันท่องหนังสือพอสมควร เทอมนี้เป็ นเทอมที่ทำ� ให้ รู้เส้ นการเดินทางเส้ นใหม่ๆเยอะมาก เพราะเรียนม.กรุงเทพที่อยู่รังสิต แล้ วบางครั้งต้ องนั่งรถต่อมาเพื่อซื้อหนังสือหรือท�ำ ธุระที่รามค�ำแหง เป็ นแบบนี้อยู่ตลอดทั้งเทอม แต่กเ็ รียนสองที่ไปพร้ อมกันก็ทำ� ให้ ได้ เห็นอะไรชัดมาก ที่ม.กรุงเทพ ต้ อง ยอมรับว่าทุกอย่างเพียบพร้ อม นักศึกษาส่วนใหญ่มฐี านะ มีมากพอที่จะมีกระเป๋ าแบรนด์เนม มีรถขับ หรือฟุ่ มเฟื่ อยได้ การ ลงทะเบียนหรือติดต่อกับทางมหา’ลัยก็แสนสบาย มีช่องทางมากมาย ห้ องเรียนติดแอร์ อุปกรณ์ทุกอย่างครบครันไม่ต้อง ดิ้นรนอะไรมาก ไม่ต้องเจอความวุ่นวายและความยากล�ำบาก แต่กบั รามค�ำแหงแล้ ว เด็กส่วนใหญ่เป็ นเด็กต่างจังหวัดที่ท่นี ่ีมคี นหลากหลายแบบมาก แบบที่เราไม่เคยเห็นมาก่อน เลยก็มี แต่ทุกคนต้ องเข้ าแถวลงทะเบียน ติดต่อกับเจ้ าหน้ าที่ ที่แสนจะล�ำบาก ร้ อนมาก คนเยอะมากๆ แต่ทุกคนที่รามค�ำแหง ราวกับว่าจะมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือปริญญาและความการประสบความส�ำเร็จกลับบ้ านเกิด ครั้งแรกที่ไปสอบที่รามค�ำแหง ทั้งหลงทาง ไม่กล้ าเข้ าห้ องน�ำ้ ร้ อน และไปคนเดียวไม่กล้ าคุยกับใคร แต่ท่นี ่ันเงียบมาก เสียงพูดคุยก่อนเข้ าห้ องสอบมีดงั ขึ้น เป็ นกลุ่มๆจากคนที่เป็ นเพื่อนเข้ าเรียนแล้ วมาสอบด้ วยกัน ส่วนใหญ่จะมาคนเดียว มีหลายวัยหลายบุคลิก ทุกคนก้ มอ่าน หนังสือย่างใจจดใจจ่อ แตกต่างกับม.กรุงเทพมาก ที่ก่อนเข้ าห้ องสอบเสียงดังโวยวายจากการหยอกล้ อจะมากกว่า ไม่มที ่ไี หน ดีหรือแย่กว่ากัน เราคิดว่าทุกอย่างมีดใี นแบบของมัน มันแค่แตกต่างกันเท่านั้น แต่กท็ ำ� ให้ เราได้ ร้ คู วามสบายที่เราได้ รับ มีคน อีกมากมายที่ต้องการปริญญา ต้ องการเป็ นบัณฑิต ถึงสองมหา’ลัยจะแตกต่างกันราวฟ้ ากับเหว (โดยเฉพาะค่าเทอม) แต่ส่งิ หนึ่งที่ท้งั สองที่มเี หมือนกันคือคามรู้ ที่รอให้ คนที่ขวนขวายเข้ ามาหยิบฉวยไป และเปิ ดเทอมปี 2 เทอมที่ 2 ถึงตอนนี้เราตั้งตัวได้ แล้ วแต่กไ็ ม่วายที่จะเจอโจทย์ในการท�ำงานที่หินขึ้นไปอีก เทอมนี้ เราได้ ออกไปถ่ายงานข้ างนอกเยอะขึ้น ความรู้ท่เี คยได้ ไปช่วยงานพี่ไกด์ท่อี มรินทร์ได้ เอาออกมาใช้ จริงแล้ ว จ�ำได้ ว่าแม้ จะเคยฝึ กงานเป็ นผู้ช่วยช่างภาพแต่วิชาที่กงั วลที่สดุ กลับเป็ นวิชาถ่ายภาพ ภาพที่เราชอบที่สดุ เป็ นภาพวัด ท�ำให้ เรา รู้ว่าเราถ่ายรูปสถานที่ออกมาได้ ดี ส่วนภาพที่เราไม่ชอบที่สดุ แล้ วมันก็สวยน้ อยที่สดุ จริงๆเป็ นภาพอาหารญี่ปุ่น การถ่ายภาพ อาหารเป็ นเรื่องยากมาก โดยเฉพาะกับเจ้ าซูชิน่ีรายละเอียดเยอะ จานหรือถ้ วยที่ใส่ต้องสะอาด เพราะเมื่อถ่ายออกมานั้นเห็น ทุกอย่างชัดจริงๆ ก็ทำ� ให้ เราจับทางตัวเองได้ ว่าไปทางการถ่ายอาหารไม่รอดจริงๆ พักได้ ไม่ก่วี ันของการปิ ดเรียน ก็ถงึ เวลาที่จะพบกับปี ที่เปลี่ยนชีวิตของเราและเพื่อนไปตลอดกาล ปี 3 เป็ นปี ที่ต้อง เรียนวิชาภาคอย่างเต็มตัว พร้ อมกับเข้ าสู่การเรียนวิชาสาขาที่เลือกไว้ น่ันก็คือวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ ชื่ออาจารย์ท่เี ลืองลือมากก่อนจะก้ าวขึ้นปี 3 รุ่นพี่ทุกคนเตือนว่าให้ ทำ� ใจมาดีๆ กับการเรียนกับอาจารย์ท่ชี ่ ือ ปณต สุ สุวรรณ เราก็คิดว่าเราแน่พอสมควร เอาวะ เรียนยาก งานเยอะอะไรก็ไม่เท่าไหร่หรอกมั้ง เรียนมาตั้งหลายปี ตอนม.6 ก็สาหัส พอสมควร นี่มนั ก็ไม่น่าจะแย่นะ เราน่าจะผ่านไปได้ แต่มันไม่เป็ นอย่างที่คิดน่ะสิ
ชี วิตและความคิด 108
เทอมนั้นมีวิชาเรียนเกี่ยวกับปฏิบตั หิ ลายตัว ทั้งการเรียนผู้ประกาศ การเข้ าสตูดโิ อครั้งแรก เขียนข่าว ท�ำข่าวจริงๆ มาหมดในเทอมเดียว การเรียนผู้ประกาศนั้นเราได้ เรียนกับอาจารย์พ่ีกฟิ ต์ อภิยา ฉายจันทร์ทพิ ย์ ผู้ประกาศประจ�ำส�ำนักข่าว ไทยพีบเี อส พี่กฟิ ต์เป็ นอาจารย์ท่นี ่ารักและสอนแบบเป็ นกันมาก ในวิชานี้ทำ� ให้ ได้ อ่านข่าวโดยจริงๆ มีการจัดไฟใช้ กล้ อง แต่ง หน้ าท�ำผม ซึ่งเราและเพื่อนก็สนุกกันมาก วิชานี้เป็ นวิชาเดียวในเทอมที่เราสบายใจที่สดุ ในการเรียน เพราะพี่กฟิ ต์สอนเหมือน พี่กบั น้ อง แนะน�ำว่าอะไรถูกผิดและให้ พยายามแก้ ไข ต่อมาตัดภาพมาที่การเรียนปฏิบตั กิ ารวารสารศาสตร์แบบเต็มรูปแบบ ต้ องมารู้จักงานที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน “สารคดี เชิงข่าว” – คืออะไรวะ ท�ำข่าวก็น่าจะพอแล้ วมั้งเรียนวารสารน่ะ ในใจก็คิดแบบนี้ แต่จริงๆแล้ วก็ต้องพยายามหาค�ำตอบ และ ตั้งใจสิ่งที่อาจารย์บอก เพื่อเก็บรายละเอียดมาท�ำผลงานต่อ นี่เป็ นเทอมแรกที่ได้ เห็นศักยภาพตัวเองมากที่สดุ ไม่สิ ตั้งแต่เกิด มาเลยแล้ วกัน อาจารย์ ปณต ที่ร่นุ พี่ข้ นึ ชื่อลือชา แกหินจริงๆ อย่างที่บอกว่าอาจารย์ทำ� ให้ เราได้ ร้ จู ักการสารคดีเชิงข่าว ที่แม้ จะ ไม่ได้ เคยรู้จักกันมาก่อน แต่ตอนที่เล่าเรื่องนี้อยู่ เรากลายเป็ นเพื่อนสนิทกับมันไปเสียแล้ ว ในตอนนั้นอาจารย์ให้ จับกลุ่ม 5 คน โดยเราได้ ทำ� งานกับเพื่อนที่เราไม่ค้ ุนเคย ในตอนแรกนั้นเราก็ไม่เข้ าใจว่าท�ำไม อาจารย์ไม่ให้ ทำ� งานกับเพื่อนตามที่สมัครใจจะท�ำด้ วยกัน รวมถึงหัวเสียไปหมดกับข้ อจ�ำกัดและแรงกัดดันที่อาจารย์สร้ างขึ้น เพื่อนร่วมรุ่นเริ่มตกหล่นไปจากเทอมนี้ บ้ างก็ย้ายไปเรียนวารสารศาสตร์อกี สาขาหนึ่ง บ้ างก็ย้ายภาควิชาไปเลยก็มี เพราะทน แรงกดดันไม่ไหว เราเองก็เป็ นหนึ่งในคนที่คิดจะย้ ายออกจากสาขานี้ เพื่อหนีอาจารย์ คิดแล้ วก็ตลกดี ที่แปลก็คือเราจ�ำได้ ว่า ตอนนั้นเกิดอะไรขึ้น แต่พอมาถึงตอนนี้ทุกอย่างกลับกลายเป็ นเรื่องเล็กน้ อย เพราะรู้ว่าเรื่องพวกนั้นท�ำให้ เราแกร่งขึ้นมากแค่ ไหน สิ่งที่อาจารย์ปณตท�ำ คงเป็ นการเรียนรู้ทางลัดแบบเร่งด่วน ด่วนสุดๆ คิดประเด็นกับงาน ออกไปถ่ายท�ำ แก้ ปัญหาเอง อยู่ตรวจสอบงานถึงดึกดื่น จ�ำได้ ว่าเทอมนั้นวันไหนได้ กลับบ้ านเร็วนี่แทบจะจุดพลุฉลอง โชคดีหน่อยที่เทอมนี้มีของขวัญพิเศษจากพ่อ เป็ นรถ คันเล็กๆคันหนึ่งไว้ ให้ ลูกเดินทาง เพราะเห็นว่าชีวิตเริ่มทรหดขึ้นทุกที นอกจากห้ องนอนที่บ้านแล้ ว ที่ท่เี ราอยู่บ่อยที่สดุ ในช่วง นั้นก็คือห้ องที่พวกเราเรียกกันว่า ห้ อง04 เป็ นห้ องที่เราไว้ ใช้ ตดั ต่อรวมรวบข้ อมูล เหมือนกับว่าเป็ นห้ องบัญชาการอะไรสัก อย่าง อยู่กนั จนชิน คุ้นหน้ ากันทุกคน เริ่มจับทางถูกแล้ วว่าเพื่อนคนไหนเก่งอะไร มีดที างด้ านไหน ปี นี้เป็ นปี ที่ทุกคนได้ ฉาย แววของตัวเองอย่างเต็มที่ ส่วนตัวเราก็ได้ เจอสิ่งที่เราถนัด นั่นก็คือการตัดต่อ นี่เป็ นจุดเริ่มต้ นแรก ที่เรากลายเป็ นมือตัดต่อ ประจ�ำกลุ่มไปโดยปริยาย จ�ำได้ ว่าเทอมนั้นวันไหนได้ กลับบ้ านเร็วนี่แทบจะจุดพลุฉลอง โชคดีหน่อยที่เทอมนี้มีของขวัญพิเศษจากพ่อ เป็ นรถ คันเล็กๆคันหนึ่งไว้ ให้ ลูกเดินทาง เพราะเห็นว่าชีวิตเริ่มทรหดขึ้นทุกที นอกจากห้ องนอนที่บ้านแล้ ว ที่ท่เี ราอยู่บ่อยที่สดุ ในช่วง นั้นก็คือห้ องที่พวกเราเรียกกันว่า ห้ อง04 เป็ นห้ องที่เราไว้ ใช้ ตดั ต่อรวมรวบข้ อมูล เหมือนกับว่าเป็ นห้ องบัญชาการอะไรสัก อย่าง อยู่กนั จนชิน คุ้นหน้ ากันทุกคน เริ่มจับทางถูกแล้ วว่าเพื่อนคนไหนเก่งอะไร มีดที างด้ านไหน ปี นี้เป็ นปี ที่ทุกคนได้ ฉาย แววของตัวเองอย่างเต็มที่ ส่วนตัวเราก็ได้ เจอสิ่งที่เราถนัด นั่นก็คือการตัดต่อ นี่เป็ นจุดเริ่มต้ นแรก ที่เรากลายเป็ นมือตัดต่อ ประจ�ำกลุ่มไปโดยปริยาย
เรื่อง เรา เล่า 109
สารคดีเชิงข่าวเรื่องแรกที่ทำ� ชื่อ การจัดระเบียบตู้โทรศัพท์สาธารณะ แน่นอนว่าต้ องสัมภาษณ์ข้าราชการผู้ใหญ่ท่ดี ูแล เรื่องนี้ รวมถึงบริษัทเอกชนที่ได้ รับสัมปทาน ซึ่งแน่นอนว่าเรากลัวมาก ไม่เคยต้ องติดต่อกับผู้ใหญ่ระดับนี้มากก่อน การ สัมภาษณ์ การวางตัว กังวลไปหมด แต่กโ็ ชคดีท่ผี ้ ูใหญ่ให้ ความเอ็นดู และให้ ช่วยให้ ข้อมูล ประสานเรื่องการถ่ายท�ำเยอะมากๆ จนได้ ผลงานที่สมบูรณ์ออกมาก แต่เหมือนกับว่าเราจะเป็ นคนที่ดวงแปลกๆหรืออย่างไร เมื่องานใกล้ จะเสร็จ ถึงก�ำหนดส่ง เพื่อนสนิทที่สดุ ของเรา – เนย ถูกรถ จากการนั่งมอเตอร์ไซด์เพื่อมาเรียน ท�ำให้ ขาหักต้ องพักรักษาตัว ท�ำให้ เราใจหายและไปไม่เป็ นกับงานที่ยังค้ าง อยู่ เพราะปกติไปไหนท�ำอะไรจะไปกับเนยตลอด หลังจากที่ไม่มเี นยมาเรียนด้ วยกัน สมาชิกในกลุ่มท�ำสารคดีดจี ริงน้ อยลง เรายิ่งต้ องแบ่งงานกันท�ำมากขึ้น กลับดึกขึ้น และบางครั้งก็ท้อกันมากขึ้น เพราะกว่าบทจะผ่าน กว่าจะได้ ลงเสียงหรือตัดต่อ อาจารย์ปณตก็จะกวดขันให้ ดที ่สี ดุ ซะก่อน แต่ด้วยความที่พวกเราอายุยังน้ อยก็มงี อแงกันตามประสาเด็กๆที่อยากจะมีเวลาไป เที่ยวสนุกสนานอย่างที่เคยเป็ น และเมื่อคืนวันส่งสารคดีมาถึง นอกจากจะท�ำส่งในวิชาเรียนแล้ ว สารคดีของทุกกลุ่มในรุ่นจะ ถูกส่งไปที่สมาคมนักข่าวเพื่อประกวดรางวัลสายฟ้ าน้ อยด้ วย แต่ถงึ เวลานั้นจริงๆเราไม่ได้ คิดเรื่องประกวดเลย ออกจากให้ งานเสร็จๆไปซะมากกว่า คืนนี้จำ� ได้ ว่าอยู่กนั จนถึง 4 ทุม่ หลังจากส่งงานเสร็จสรรพ เราและเพื่อนๆในรุ่นก็ไปฉลองกัน เฮ้ อ สารคดีเชิงข่าวเรื่องแรกในชีวิต มันเป็ นแบบนี้น่ีเอง แต่นอกจากสารคดีเชิงข่าวที่เป็ นเพื่อนใหม่ท่เี พิ่งได้ ทำ� ความรู้จักกัน เทอมนี้กม็ ีเรื่องน่ารักๆเกิดขึ้นนั่นคือ เราได้ ไป ลงเรียนวิชาการแสดงกับขวัญ เพื่อนสนิทอีกคนในกลุ่ม เพราะวิชาเสรีเหลืออีก 1 ตัว จึงเลยไปให้ ครบหน่วยกิตจะได้ ไม่เสีย เวลา ท�ำให้ ได้ ไปเรียนศาสตร์ใหม่ๆ นั่นคือการวิจารณ์การแสดง คาบแรกที่ได้ เข้ าไปเรียนรู้สกึ ตื่นเต้ นกับวิชานี้มาก เพราะ อาจารย์ผ้ ูสอนที่ออกจะดูตสิ ต์ผสมกับตัววิชาที่ให้ แสดงความเห็นอย่างเต็มที่ หลังจากการอ่านหนังสือ ดูภาพยนตร์ส้นั หรือ ละคร เปรียบเสมือนวิชานี้เป็ นวิชาผ่อนคลายจิตใจวิชาหนึ่ง เพราะให้ เราได้ เสพศิลปะและอธิบายออกมากผ่านตัวหนังสือ วิชา นี้เองที่ทำ� ให้ เราเจอผู้หญิงคนหนึ่งที่น่ังอยู่หน้ าห้ อง วันนี้เธอก็ทกั มาขอดูเลคเชอร์ แล้ วเราก็มแี ฟน
เนย (ซ้ าย) ตอนประสบอุบตั เิ หตุขาหัก
ชี วิตและความคิด 110
Tanhin Production ที่เขาผาแรด อุทยั ธานี และปี 3 เทอม 2 ก็มาถึงสิ่งที่ทุกคนคิดเหมือนกัน คือเตรียมตัวมาเจอสารคดีเรื่องใหม่ท่เี ราจะต้ องมาหาประเด็นท�ำ กัน แต่คราวนี้โจทย์หินขึ้นกว่าเดิม เพราะสมาชิกในกลุ่มมีแค่ 3 คน ท�ำให้ คิดแล้ วคิดอีก คิดจนเลิกคิด ในขณะที่เพื่อนกลุ่ม อื่นๆเสนอประเด็นผ่านกันเกือบหมด แต่กลุ่มเรา หมิว เนย และขวัญ ใจเย็นมาก คิดว่าถ้ าได้ ปุ๊บจะโดนเลย เข้ าเป้ า และแล้ ว วันนี้ท่รี อคอยก็มาถึง เราเจอประเด็นการระเบิดหินในจังหวัดอุทยั ธานี ที่น่าท�ำมาก เพราะผลกระทบของการระเบิดเขานั้น กระทบกับโรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่งและชุมชนที่ต้งั อยู่ใกล้ เขาแห่งนี้อย่างมาก เมื่อเสนอประเด็นอาจารย์ผ่าน หาข้ อมูล ไปพอสมควร เราจึงมุ่งหน้ าสู่จังหวัดอุทยั ธานี โดยที่ไม่ร้ เู ลยว่าจะไปเจออะไร และยินดีทุกท่านต้ อนรับเข้ าสู่ “ เขาผาแรด “ ภูเขาหินขนาดใหญ่ ที่อยู่ของสัตว์ป่าสงวนอย่างเลียงผา ค้ างคาว และสัตว์อ่นื ๆที่ชาวบ้ านที่ให้ ข้อมูลไม่แน่ใจนัก กลับกรุงเทพ กันอย่างเหนื่อยล้ าและมีความสุข งานเสร็จ เจอน้ องๆที่น่ารัก ทีน้ ีกต็ ้ องไปดูกนั ตอนที่ตดั ต่อ ซึ่งแน่นอนว่าเป็ นหน้ าที่ของเรา ผลงานชิ้นนี้เสร็จสิ้นไปด้ วยดี ด้ วยชื่อ ระเบิดป่ า เขาผาแรด แต่ครั้งนี้แตกต่างไปอาจารย์นำ� ผลงานที่ส่งในห้ องเรียนนั้น ต่อย อดไปประกวดในสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 แล้ วก็เหมือนเดิม เราไม่คิดว่าจะได้ รางวัล แค่อยากให้ งานเสร็จ จนวันที่ประกาศ ผล ทีม Tanhin Production เข้ ารอบภาคกลาง เฮ้ ยทีมเราจริงดิ ทั้งเรา ขวัญ เนย งงๆกับผลที่ออกมา เรานอนคิดพลิกไปพลิก มานอนไม่หลับเพราะตื่นเต้ นมาก ตื่นเต้ นกลับการที่ต้องเข้ าไปแข่งในรอบชิงชนะเลิศด้ วย จะเป็ นยังไงกันนะการแข่งขันนี้ แน่นอนการแข่งขันถูกคั้นด้ วยการปิ ดเทอม ช่วงปิ ดเทอมนี้กเ็ ป็ นอีกช่วงเวลาหนึ่งที่ได้ พบกับประสบการณ์การท�ำงาน แบบจริง นั่นก็คือการฝึ กงานนั้นเอง ตัวเราเองแปลกใจว่าท�ำไมให้ ฝึกตอนปี 3 แต่ทุกอย่างย่อมมีเหตุผล อาจเป็ นเพราะ อาจารย์ต้องการให้ เราน�ำความรู้ช่วงฝึ กงานมาทดลองใช้ ในการท�ำงานในมหาวิทยาลัยก่อน และองค์กรที่เราไปฝึ กก็คือ บริษัท สนุกออนไลน์ เว็บไซต์อนั ดับหนึ่งของประเทศไทย (ที่พาดหัวแล้ วคนด่าเยอะๆนั่นแหละ) แต่ถงึ ที่น่ีจะมีข้ นึ ชื่อเรื่องลบๆ มากกว่าเรื่องบวกๆ แต่กท็ ำ� ให้ เราได้ ศกึ ษาอะไรๆได้ เยอะมาก กับการฝึ กงาน จริงๆแล้ วเรายอมรับว่าไม่ได้ สนุกเป็ นตัวเลือกในใจไว้ ก่อนเลย เพราะคิดว่าเรียนมาทางวิทยุโทรทัศน์ ก็อยากฝึ กกับโปรดักชั่นหรือส�ำนักข่าวมากกว่า บวกกับองค์กรที่ย่ ืนเอกสารไปไม่ตอบรับ ที่เว็บไซต์สนุกดูจะให้ การ ต้ อนรับเป็ นอย่างดี และขวัญที่เป็ นพิธกี อยู่ท่สี นุกอยู่แล้ วก็แนะน�ำว่าให้ มาฝึ กที่น่ีเถอะ จะได้ เป็ นเพื่อนกัน ก็โอเคไปฝึ กกัน 4 คน หมิว ขวัญ ติ้ก และเจ้ าคุณป้ า(ตั๊ก) โชคดีท่เี ราได้ ฝึกกับเพื่อน บรรยากาศเลยสนุกสมชื่อองค์กร ที่น่ีเป็ นองค์กรง่ายๆ อยู่
เรื่อง เรา เล่า 111
วินาทีแห่งชัยชนะ บนชั้น 15 ของตึกไทย-ภัทร ย่านสุทธิสาร ระยะเวลาตลอดการฝึ กงาน 2 เดือน ได้ รับประสบการณ์และความรู้กลับมากเยอะ มากจริงๆ จนทุกวันนี้บางทักษะที่ได้ ฝึกมายังไม่ได้ ใช้ จริงในงานมหาวิทยาลัยเลย แม้ ว่าใครจะมองว่าเว็บไซต์สนุกจะขายข่าวที่พาดหัวแรงจนไม่สนเรื่องจรรยาบรรณ แต่เมื่อเข้ าไปเป็ นส่วนหนึ่งของ เว็บไซต์ทุกที่ จะรู้ว่าสิ่งที่สำ� คัญที่สดุ คือยอดคลิก คนกดดูมาก วิวขึ้นมาก เว็บไซต์ย่อมท�ำเงินได้ ในตอนแรกก็คิดลบเหมือนกัน ว่า แหม มีวิธกี ารอื่นตั้งเยอะ ท�ำไมต้ องมาหายอดคลิกในทางแบบนี้ด้วย แต่ชีวิตจริงเป็ นแบบนั้น กระทู้ธรรมมะไม่มคี นเข้ า แต่ กระทู้แย่งสามีหรือชายหนึ่งหญิงสองท�ำนองนี้ คนจะดูเพียบ หรือพูดในกว้ างๆก็คือ สังคมในประเทศเราเองนี่แหละ ท�ำให้ ผ้ ู ก�ำหนดเนื้อหาต้ องท�ำมาหากินกันแบบนี้ พี่ๆทุกคนในสนุกน่ารักมากๆ แต่ท่ซี ้ ีๆคนอยากจะขอบคุณ ก็คือพี่โอ๋ พี่เนส และ พี่ ปิ๊ ก พี่ท้งั สามคือชายหนุ่มที่ดูแลด้ านโปรดักชั่นและการผลิตโดยตรง การเปิ ดเทอมปี 4เทอม 1 มาถึง เรื่องเรียนทุกอย่างเหมือนเดิมแต่ท่เี พิ่มขึ้นมาคือการเก็บตัวแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ สิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 ครั้งนี้ Tanhin production ของเราท�ำเรื่อง ตู้คอนเทนเนอ์มรณะ ที่อ่ใู นหัวข้ อเตือนภัยในที่สาธารณะ เราเก็บตัวเป็ นเวลา 5 วัน ถ่ายท�ำในค่าย ตัดต่อทุกอย่างต้ องอยู่ในเวลาที่กำ� หนด และสิ่งที่ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น “ รางวัลชนะเลิศ อันดับหนึ่ง ทีม Tanhin Production” พ่วงด้ วย รางวัลเขียนบทยอดเยี่ยม และ ตัดต่อยอดเยี่ยม แต่ท่เี กินฝันที่สดุ คือการไปได้ ญี่ปุ่น นี่เป็ นรางวัลแรกในชีวิตที่เราภูมใิ จมากๆที่ทำ� ให้ พ่อแม่ภมู ใิ จได้ อ่านมาถึงตรงนี้หลายๆคนคงงงว่าทุกๆอย่างก็ดูเป็ นไปในทางดีท่ี แต่ทำ� ไมถึงชื่อว่า เลือกเรียนผิด ชีวิตเปลี่ยน เพราะการเดินหลงทาง ท�ำให้ เจอสถานที่สวยงามใหม่ๆ การเลือกเรียนอย่างลังเลในตอนแรกของการเลือกภาควิชาของเราก็ คงเหมือนกัน ความตั้งใจจริง เราน่าจะเข้ าภาคบรอดแคสติ้ง แต่การที่มาเรียนวารสารศาสตร์ท่ไี ม่ใช่ตวั เองเอาซะเลย ท�ำให้ ได้ รู้ว่าเราสามารถท�ำเกินข้ อจ�ำกัดของตัวเองได้ มากกว่าที่เราคิด และการท�ำได้ ดใี นสิ่งที่เราไม่ชอบ ก็เป็ นการตอกย�ำ้ ความสามารถ ว่าหากได้ ทำ� ให้ ส่งิ ที่ชอบ ก็ควรเต็มที่และท�ำให้ ประสบความส�ำเร็จให้ ได้ ไม่ว่าหนทางข้ างหน้ าจะเป็ นยังไง เราก็จะขอขอบคุณ วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่ทำ� ให้ เด็กคนนี้โตขึ้นอย่างภาคภูมใิ จ เป็ นบัณฑิตเต็มตัว เป็ นคนเต็มคน และเราเองก็ จะเป็ นผลผลิตของวารสารศาสตร์ท่ดี ตี ่อไปเช่นกั
ชี วิตและความคิด 112
เรื่อง เรา เล่า 113
ชี วิตที่อิสระ ภูรีนาฏ กาญจนาชี วะ
“การเรียนรู ้ในครัง้ นี้ไม่เพียงแต่เรียนรู ้วิชาการเรียน แต่ต้องมีการเรียนรู ้การใช้ชีวิต”
ชี วิตในรัว้ มหาลัย ถือว่าเป็นการเริ่มต้นใหม่ส�ำหรับการเรียนรู ้กับสิ่งต่างๆมากมาย มีทงั้ เรื่องดีและไม่ดี การ เรียนรู ้ในครัง้ นี้ไม่เพียงแต่เรียนรู้วิชาการเรียนแต่ต้องมีการเรียนรู ้การใช้ชีวิต การรับน้อง การคบเพื่อน การมีคนรัก แสงสีวิลัย และอื่นๆอีกมากมาย ชีวิตในมหาวิทยาลัยถือว่าเป็ นช่วงชีวิตหนึ่งที่เหล่านักศึกษาจะได้ เรียนรู้ในการใช้ ชีวิตในอีกด้ านหนึ่ง การใช้ ชีวิตใน มหาวิทยาลัย 4 ปี ของฉันในรั้ว BU มีความเป็ นอิสระทั้งด้ านเวลา การใช้ ชีวิต การแสดงความคิดเห็น และการร่วมกิจกรรม ต่างๆ เหมือนเป็ นการเตรียมความพร้ อมเพื่อเข้ าสู่ในวัยท�ำงานในอนาคต ในการเรียนที่น่ีทำ� ให้ เราต้ องมีการปรับตัวเพิ่มมาก ขึ้นเพื่อรองรับกับการใช้ ชีวิตในรูปแบบใหม่ท่แี ตกต่างไปจากการเรียนในโรงเรียน รู้สกึ ว่าตัวเองเป็ นผู้ใหญ่มากขึ้น ก้ าวมาข้ าง หน้ าอีกหนึ่งก้ าว ออกห่างจากพ่อแม่เพื่อมาใช้ ชีวิตด้ วยตัวเอง จากที่ตอนเด็กๆพ่อแม่จะเป็ นคนช่วยเหลืออยู่ใกล้ ๆ ตลอด พอ ก้ าวเข้ ามหาวิทยาลัยจากสิ่งที่ไม่เคยท�ำกลับต้ องมาท�ำเองทั้งหมด ไม่ว่าจะเรื่องการเดินทาง การเรียน งานบ้ าน ในส่วนตัวดิฉันคิดว่าการใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัยจะประสบความส�ำเร็จหรือไม่น้ัน ส่วนหนึ่งมากจากลักษณะการใช้ ชีวิตส่วนตัว ว่าจะเอื้อต่อการประสบความส�ำเร็จมากเพียงใด ก่อนที่ดฉิ ันจะมาเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพแห่งนี้ ดิฉันอาศัย อยู่กบั พ่อแม่มาตลอด ตั้งแต่เกิดจนถึงระดับชั้นมัธยมปลาย ไม่เคยห่างบ้ านไปไหน จนพอถึงเวลาจบการศึกษาระดับชั้น มัธยมศึกษาก็มคี วามคิดที่อยากจะเข้ ามาเรียนที่กรุงเทพ โดยมีเหตุผลที่ว่าอยากจะมีชีวิตที่อสิ ระ อยากจะออกมาอยู่ท่ที ่หี ่าง จากพ่อแม่มากขึ้น เพราะที่บ้านค่อนข้ างเป็ นระเบียบมาก ท�ำให้ ต้องคิดแบบนั้น ในความคิดของพ่อแม่อยากจะให้ ได้ เข้ าเรียน ที่มหาวิทยาลัยที่มชี ่ ือเสียง เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่ด้วยความสามารถที่มไี ม่ถงึ และ ด้ วยการชอบดูข่าว อ่านข่าว จึงเลือกที่จะมาเรียนมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เพราะพอจะได้ ยินมาจากรุ่นพี่ว่าถ้ าจะเรียนนิเทศศาสตร์ ให้ มาเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เพราะมีอปุ กรณ์การเรียนที่พร้ อม ตอนแรกพ่อแม่กไ็ ม่อยากให้ มาเรียน เพราะต้ องอยู่หอ คนเดียวและไกลบ้ านมาก อยากจะให้ เรียนแถวๆบ้ าน แต่สดุ ท้ ายก็ต้องยอม เพราะพยายามท�ำทุกอย่างให้ ได้ มาเรียน จ�ำได้ ว่าวันที่สมัครพ่อแม่พามาส่งใช้ เวลาไม่นานในการสมัคร หลังจากนั้นพ่อก็ขบั รถวนรอบมหาวิทยาลัยเพื่อตาม หาตึกนิเทศศาสตร์ว่าเป็ นยังไง การใช้ ชีวิตในปี 1 ก็เริ่มขึ้น ตอนเข้ ามาแรกๆไม่ร้ จู ักใครเลย ปกติเป็ นคนที่ถ้าไม่ร้ จู ักจะไม่พูด จะเงียบ เพื่อนๆทุกคนเลยเข้ าใจว่าเราเรียบร้ อย พอรู้จักกันมาพอสมควรเพื่อนๆเริ่มเปลี่ยนความคิดจากที่ว่าเรียบร้ อยไปเลย จ�ำได้ ว่าครั้งแรกที่ได้ ร้ จู ักเพื่อนๆ คือหน้ าลิฟท์ก่อนที่จะเข้ าเรียนในวิชาแรก เพื่อนที่ร้ จู ักคือ เมรัย เอ้ เชียร์ แก้ ว หลังจากนั้นเรา ก็สนิทแล้ วก็ไปไหนมาไหนกันเรื่อยๆ ปี 1 เรียนแบบสบายๆ ไม่หนักมาก เรียนแป๊ ปๆก็กลับมานอนหอแล้ ว เลยคิดว่ามันสบายมาก และมันคงจะสบายไป จนถึงปี 4 หรือเปล่านะ เพื่อนกลุ่มนี้เป็ นเพื่อนที่ไม่เที่ยวทุกครั้งที่เรียนเสร็จก็จะแยกย้ ายกันต่างคนต่างกลับบ้ าน กลับหอ ปี แรกในการใช้ ชีวิตในกรุงเทพ ก็ร้ สู กึ ดี ใช้ ชีวิตอิสระ จะไปไหนก็ได้ ไม่มคี นมาตามมาคอยว่า จะท�ำอะไรก็ทำ� ใช้ ชีวิตในแบบของ เราเอง รู้สกึ สนุกได้ เจอเพื่อนๆหลากหลายรูปแบบ ได้ แห่งแต่ส่งิ แปลกใหม่ท่แี ถวบ้ านไม่มี ไม่คิดว่าร้ านเหล้ าจะมีคนเยอะ แบบนี้โดยเฉพาะนักศึกษา มีผ้ ูชายหลายๆคนแบกผู้หญิงในสภาพที่เมา มีเรื่องทะเลาะวิวาท เยอะแยะไปหมด คิดในใจ ชีวิตนี้ ยิ่งกว่าละครจริงๆ อะไรที่ไม่เคยได้ ทำ� ไม่เคยได้ เห็นได้ เห็นและได้ ทำ� หมดในสิ่งที่แปลกใหม่ ชีวิตในมหาวิยาลัยนอกจากจะ เป็ นที่ให้ ความรู้แล้ วยังเป็ นอีกที่ท่ใี ห้ ความรู้เรื่องความรักอีกด้ วย ได้ เจอคนในหลายๆรูปแบบ ร้ อยพ่อพันแม่ เจอทั้งคนดีคน ไม่ดปี ะปนกันไป มีการคบเพศตรงข้ าม การที่เลือกคบใครสักคนแน่นอนว่าจะอยู่นอกสายตาพ่อแม่ เพราะฉะนั้นการมีแฟนใน รั้วมหาวิทยาลัยจึงเป็ นเรื่องหนึ่งที่หลายๆคนมากกว่า 80 % ที่ต้องเจอ
เรื่อง เรา เล่า 115
เพื่อนกลุ่มแรก ในมหาวิยาลัยมีของกินให้ เลือกมากมาย จนบางครั้งเลือกไม่ถูกเลยว่าจะกินอะไรดี แต่ท่กี นิ บ่อยๆก็มีแค่ไม่ก่รี ้ าน บางครั้งกลุ่มเพื่อนมักจะนัดกันไปกินอาหารในห้ าง ปี แรกไม่ค่อยจะสนใจเรื่องการซื้อเสื้อผ้ ามากเท่าไหร่ส่วนใหญ่จะหมดไป กับเรื่องกิน จากน�ำ้ หนัก 48 ภายในปี เดียวขึ้นมาเป็ น 60 จนได้ นี่เป็ นเพียงชีวิตในชั้นปี ที่ 1 เท่านั้น เหมือนเป็ นการเปิ ดหูเปิ ด ตานอกมหาวิทยาลัยมากกว่าการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย ตอนแรกคิดว่าการเรียนในมหาวิทยาลัยจะง่ายเหมือนเรียนชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษา จ�ำได้ ว่าสอบกลางภาคครั้ง แรกไม่แตะหนังสือเลยสักเล่ม เพราะคิดว่ามันคงง่าย ไม่ต้องอ่านหรอก เพราะคะแนนออกมาเท่านั้นแหละ ความคิดก็เปลี่ยน ไปเลย ไม่คิดว่าจะยากขนาดนี้ ปี 1 พึ่งเข้ ามาใหม่ๆ จะสนใจสิ่งอื่นมากกว่าการเรียน อยากจะรู้เรื่องอื่นมากกว่าการเรียน ท�ำให้ ไม่ค่อยสนใจในการเรียนสักเท่าไหร่นัก เหมือนใช้ ชีวิตไปวันๆ ปี 2 เริ่มจะชินกับการใช้ ชีวิตในกรุงเทพคนเดียว ปรับตัวได้ มาก ขึ้น หันมาสนใจการเรียนมากขึ้น พอเริ่มสนใจเท่านั้นแหละน�ำ้ ก็ทว่ มเลย ช่วงนั้นก็กลับไปอยู่บ้าน รู้สกึ เบื่อมากเหมือนกับไปใช้ ชีวิตมัธยมปลายอีกครั้งอยู่แต่บ้านไม่ได้ ไปไหน คอยฟังข่าว ตามข่าวอย่างเดียวว่าเมื่อไหร่มหาวิทยาลัยจะเปิ ดสักทีเหมือนเสีย เวลาในการเรียนไปนานมาก แต่พอทุกอย่างเริ่มเข้ าที่กก็ ลับมาใช้ ชีวิตเหมือนเดิม ปี 2 ก็จะเรียนออนไลน์เป็ นส่วนใหญ่ การใช้ ชีวิตก็ปกติเช่นเคย นั่งๆนอนๆอยู่หอ ถึงเวลาเรียนก็เปิ ดคอม รู้สกึ สบายแต่ไม่ค่อยสนุก ไม่ได้ เจอเพื่อนๆไม่ได้ คุยกับเพื่อนๆ ปี 2 ก็เริ่มสนิทกับ เพื่อนมากขึ้น เริ่มชวนกันไปเที่ยวห้ างกันมากขึ้น พากันไปซื้อเสื้อผ้ า เครื่องส�ำอางกันมากขึ้น และเงินก็หมดเร็วขึ้น กินมาม่า กันมากขึ้น เป็ นอะไรที่สนุกมากเริ่มมารวมตัวกันที่หอมากขึ้น มานั่งคุยกันตามประสาสาวๆ พูดถึงคนนู้นคนนี่ไปทั่ว ไปเดิน เล่นกินนู้นกินนี่ รู้สกึ โชคดีท่เี จอเพื่อนไม่เกเร ไม่เที่ยว ไม่ด่มื เริ่มมีการท�ำกิจกรรมมากขึ้น ที่น่ีไม่เหมือนที่อ่นื จะมีการจัด ฉลองในแก่นักศึกษาที่ ยิ่งใหญ่ อลังการมาก ทั้งแปลกตา ทั้งสวยงาม และท�ำให้ ร้ สู กึ ประทับใจมาก มีกจิ กรรมของแต่ละคณะ ให้ ได้ ร่วมสนุก มีการร้ องเพลง เล่นเกมส์กนั ไม่ว่าจะเป็ นงานลอยกระทง และงานอื่นๆ ไม่ว่าจะปี ไหนๆก็ยืนยันค�ำเดิมว่าอิสระ มาก ไม่มคี รูมาคอยตาม คอยดุด่าว่า ไม่มอี าจารย์ฝ่ายปกครองมาคอยตามเวลาหนีเรียน
ชี วิตและความคิด 116
โดยส่วนใหญ่การเข้ าเรียนก็ไม่ค่อยมีการเช็คชื่อ ยกเว้ นในบางวิชาใครจะมาเรียนหรือไม่มาก็ได้ บางคนเทอมหนึ่งมา เรียนนับวันได้ เลย บางคนคอยแต่จะเที่ยวเล่นไปวันๆ สุดท้ ายก็มานั่งเครียดในช่วงสอบ หรือจะมารู้สกึ ตัวอีกทีกต็ อนคะแนน สอบออกแล้ ว แต่ความคิดพวกนี้มนั จะเกิดขึ้นก็ตอนเป็ นอิสระใหม่ๆ เท่านั้น พอเริ่มเรียนในระดับที่โตขึ้นความคิดไร้ สาระ พวกนี้กจ็ ะหายไปทันที แต่ใช่ว่าเข้ ามาเรียนในมหาวิยาลัยก็จะก้ มหน้ าก้ มตาเรียนอย่างเดียวไม่สนใจอะไรเลย กิจกรรมก็ไม่เอา เพื่อนก็ไม่เอา ซึ่งตอนแรกๆดิฉันก็คิดแบบนั้นเหมือนกันไม่ต้องสนใจอะไรมาก เรียนๆไปให้ จบก็พอ พอเริ่มโตขึ้นความคิดก็ เริ่มเปลี่ยนเริ่มคิดถึงอนาคตมากขึ้น จบไปจะท�ำอะไรต่อ เริ่มจะเครียดกับสิ่งที่จะเกิดกับอนาคตที่ตามมา เริ่มสนใจมากขึ้น ท�ำ เกรดให้ ดมี ากขึ้น แต่กย็ ังไม่อ่านหนังสือเหมือนเดิม ปี 2 เพิ่งจะคิดได้ ว่าเราต้ องส�ำรวจมหาวิทยาลัยกันหน่อย เริ่มเดินตั้งแต่หน้ ามหาวิทยาลัยไปจนสนามบอลด้ านหลัง มหาวิทยาลัย มีแต่อะไรแปลกๆ มองไปรอบๆรู้สกึ ว่าตึกสวยนะ มหาวิทยาลัยกว้ างนะ ห้ องสมุดใหญ่โตนะ ได้ มโี อกาสไปเก็บ เพชรที่พิพิธภัณฑ์สถานเครื่องถ้ วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ มโี อกาสไปขัดเครื่องถ้ วยที่ได้ รับความเสียหายจากการเกิดน�ำ้ ท่วม ได้ เห็นเครื่องถ้ วยแปลกๆก็ร้ สู กึ ประทับใจ ไม่เคยเห็นที่ไหนมาก่อน แล้ วก็ไม่ต้องเดินทางไปไกล เริ่มเข้ าสู่ช้ันปี ที่3 สิ่งที่ ตื่นเต้ นตั้งแต่ต้นเทอมเลยก็คือข่าวเกี่ยวกับหอพักมีคนเสียชีวิต เริ่มไม่อยากอยู่หอและคิดถึงพ่อแม่มากขึ้น ด้ วยความเป็ นคน ที่กลัวผีมาก ถึงจะอยู่คนละตึกก็กลัวผีจะลอยมาหาอยู่ดี เป็ นข่าวที่ออกทางทีวี หนังสือพิมพ์ ออกทุกช่องทางไม่อยากจะรับรู้ไม่ อยากจะอ่านเลย แต่ด้วยความที่มเี พื่อนดีส่งมาให้ อ่านกันเป็ นระยะๆ แรกๆก็กลัวไปนอนหอเพื่อนบ่อยขึ้น หลังๆก็เริ่มคิดถึง หอ อยู่ด้วยกันเข้ าปี ที่3 แล้ วจะไปกลัวท�ำไมก็เลยกลับหอมาใช้ ชีวิตปกติ ความกลัวนั้นก็หายไป เริ่มสู่การเรียนตามปกติ อาทิตย์แรกๆรู้สกึ สบาย งานไม่หนัก พอเริ่มอาทิตย์ท่สี องเท่านั้นแหละงานมาเป็ นทางเลย งานยากๆทั้งนั้น ไม่เคยท�ำงานก่อน ต้ องมาเรียนทุกวิชาและตรงเวลาไม่ง้นั จะตามไม่ทนั เลย อะไรที่ไม่เคยท�ำเริ่มได้ ทำ� เช่น การ ตัดต่องาน การถ่ายวีดโี อ เริ่มมีการออกนอกสถานที่มากขึ้น ได้ ไปถ่ายงานในที่ไกลๆ เริ่มมีการติดต่อกับผู้คนมากขึ้น รู้สกึ กลัว ไม่กล้ าที่จะท�ำ แต่จำ� เป็ นต้ องท�ำไม่ง้นั ก็ไม่มงี านส่งอาจารย์ พยายามท�ำทุกอย่างให้ ออกมาดี พอเริ่มท�ำเป็ นก็ร้ สู กึ ว่าไม่เห็นยาก เลยง่ายมาก โดยเฉพาะเรื่องการตัดต่อตอนแรกรู้สกึ ว่ายากท�ำไม่ได้ แน่ๆ พออาจารย์สอนเริ่มท�ำเป็ นก็ไม่มอี ะไรยากเลย อย่าง น้ อยก็ตดั ต่อได้ ถงึ จะไม่ได้ ตดั ต่อสวยแบบมืออาชีพก็ตาม
เมื่อตอนฝึ กงาน
เรื่อง เรา เล่า 117
จากการท�ำสารคดีเรื่องแรกคือเรื่องโรงเรียนขนาดเล็ก กว่าจะคิดเรื่องได้ ใช้ เวลานานพอสมควรเป็ นอะไรที่หนักมาก เพราะมือใหม่หัดท�ำ พึ่งจะได้ มกี ารเริ่มคิด เริ่มจะต้ องไปถ่ายเอง ตัดต่อเอง ท�ำเองทั้งหมด ไม่คิดว่าจะรอดมาได้ ทุกวันนี้ จะ ต้ องมีการออกไปท�ำข่าวมากขึ้น เรียนรู้เจาะจงด้ านข่าวมากขึ้น แรกที่ได้ ทำ� รู้สกึ เบื่อไม่ชอบเลย ไม่อยากท�ำกดดัน ปี 3 เริ่ม คิดถึงบ้ านมากขึ้นคิดตลอดว่ารู้แบบนี้เรียนแถวบ้ านก็น่าจะดี คิดถึงพ่อแม่ คิดถึงบ้ าน เริ่มรู้สกึ เบื่อชีวิตในกรุงเทพฯ ทุกปัญหา รุมเร้ าเข้ ามาทีเดียว แต่สดุ ท้ ายพอท�ำส�ำเร็จมันก็ผ่านมาได้ ด้วยดี ยังมีการคิดถึงอนาคตอยู่เรื่อยๆว่าจบมาจะท�ำอะไร ได้ มี โอกาสไปฝึ กงานที่ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง5 การมาเรียนคนเดียวก็ว่าตื่นเต้ นแล้ ว การไปฝึ กงานเหมือนเป็ นการ ท�ำงานจริงตื่นเต้ นยิ่งกว่า แปลกใหม่เข้ าไปอีก เจอคนมากเข้ าไปอีก แต่ท่เี หมือนกันคือคน ไม่ว่าจะในมหาวิทยาลัย หรือในที่ ท�ำงานล้ วนมีคนที่แตกต่างกันออกไป แต่การฝึ กงานเป็ นอะไรที่สนุกมาก ได้ ออกไปท�ำข่าวข้ างนอกทุกวัน ไม่มเี บื่อเลย รู้สกึ ว่า ตัวเองมีความรับผิดชอบมากขึ้นต้ องตื่นแต่เช้ าด้ วยตัวเอง เดินทางด้ วยตัวเอง แต่ถ้าว่างจากการฝึ กงานก็ไปเที่ยว เริ่มเที่ยว มากขึ้น ไปที่ใหม่ๆที่ไม่เคยไป ไปเปิ ดหูเปิ ดตามากขึ้น แต่กเ็ ป็ นปี ที่เรียนหนักที่สดุ งานหนักที่สดุ เจอสิ่งแปลกใหม่มากที่สดุ เจอคนหลายรูปแบบมากที่สดุ ขยันมากที่สดุ ปี 3 ถือว่าเป็ นปี ที่ท่สี ดุ จริงๆ แต่กส็ นุก แต่ส่งิ ที่ชอบที่สดุ คือการไปท�ำโปรเจคจบ แรกๆรู้สกึ ว่าจะท�ำได้ หรือเปล่า งานจะเสร็จทันตามเวลาหรือเปล่า เครียดและกังวลมาก แต่ร้ สู กึ ชอบที่เวลาไปถ่ายงานแหล่ง ข่าวให้ การต้ อนรับเป็ นอย่างดี รู้สกึ ว่าการไปถ่ายงานครั้งนี้เริ่มไม่ค่อยยากสักเท่าไหร่ แต่จะยากตรงที่เขียนบท และตัดต่อ อย่างไรให้ ออกมาดี พอเวลาผ่านไป งานก็เริ่มเป็ นชิ้นเป็ นอันมากขึ้น การท�ำสารนิพนธ์ตอนแรกเห็นของเพื่อนคิดในใจเราจะท�ำได้ หรอ แบบนี้ มีอะไรไม่ร้ ใู นเล่มเยอะแยะไปหมด ต้ องไปหาที่ไหนเนื้อหามีต้งั ร้ อยกว่าหน้ า แต่พอท�ำเข้ าจริงเข้ าใจและว่าการหาเนื้อ งานมันไม่ได้ ยากเลย ตอนแรกคิดว่าน่าจะไม่สามารถหาได้ ถงึ ร้ อยกว่าหน้ าสุดท้ ายหามาได้ จนต้ องตัดออกไปหลายหน้ า สุดท้ ายก็ได้ เล่มสารนิพนธ์ของตัวเองมา วันที่ดใี จที่สดุ คือวันที่ปริ้นและวันที่เอาเล่มไปเข้ า สุดท้ ายก็ทำ� ส�ำเร็จมีเล่มเป็ นของตัว เองสักที อยากจะนอนกอดเล่มทั้งคืน รู้สกึ สุขใจมาก ชีวิตสบายขึ้นว่างมากขึ้นมีเวลาให้ ตวั เองและครอบครัวมากขึ้น
ความดีใจเมื่อวิทยานิพนธ์เสร็จ
ชี วิตและความคิด 118
พอผ่านไปได้ กก็ ลับมาคิดว่ามันไม่ได้ ยากเกินความสามารถเลย ใครๆก็ทำ� ได้ ถ้าตั้งใจท�ำ หลังจากนั้นก็เริ่มมาที่งาน ตัดต่อจนเสร็จในที่สดุ พออัพลง Youtube เพียงแค่ 2 วัน ไม่คิดเลยว่าจะมีคนเข้ ามาดู 200 กว่าครั้ง ถึงงานจะออกมาไม่ดที ่สี ดุ แต่มคี นดูเยอะขนาดนี้กเ็ หมือนเป็ นก�ำลังใจให้ เรา แหล่งข่าวมีการอัพลงเพจเฟซบุก๊ ของศูนย์ฝึกอาชีพจัตจุ ักรท�ำให้ มคี นเข้ ามา ชมและติดตามกันมากพอสมควร สุดท้ ายปี 3 ก็ผ่านไปด้ วยดีอกี 1 ปี เจอเรื่องต้ องให้ คิดให้ ทำ� ตลอดเวลา มาปี สุดท้ าย ปี 4 ดูอะไรๆก็ง่ายไปซะทุกอย่างแต่มนั ไม่ง่ายอย่างที่คิดเลย ยังคงต้ องท�ำงานชิ้นใหญ่เหมือนเดิมเทอมนี้ สบายหน่อย เพราะเหลือวิชาเรียนอีกแค่ 3 ตัวเท่านั้น เรียน วันพุธ , พฤหัสบดี และศุกร์ เสาร์ – อังคารก็เป็ นวันหยุดที่แสนจะ สบาย แต่แค่อาทิตย์แรกเท่านั้นที่ยังไม่มงี าน พอเข้ าอาทิตย์ท่สี องเริ่มจะมีงานหนักเข้ ามามากขึ้น ยิ่งใกล้ จะจบยิ่งเครียดจบไป แล้ วจะท�ำงานอะไรดี จะท�ำอะไรดีต่อจากนี้ เหลือเวลาในมหาวิทยาลัยอีกแค่ 9 สัปดาห์เท่านั้นก็จะจบแล้ ว รู้สกึ ใจหายเหมือน กัน พึ่งจะมาสนิทกับเพื่อนๆคนอื่นๆได้ ไม่นานก็ต้องต่างคนต่างแยกย้ ายกันแล้ ว พอมาถึงตอนนี้ย้อนกลับมาถามตัวเองว่าการใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัยดีกว่าชีวิตในมัธยมปลายไหม ตอบเลยว่าดีกว่า มาก เพราะมีแต่คำ� ว่าอิสระเต็มไปหมด แต่ความเป็ นอิสระมากมายนี้เอง บางครั้งมันก็ทำ� ร้ ายเราเหมือนกันในบางเรื่อง ความขี้ เกียจถือว่าเป็ นตัวดีเลย พ่อจะสอนเสมอว่าล�ำบากตอนนี้ อนาคตก็จะสบาย ได้ แต่คิดตามแต่ทำ� ไม่ได้ สกั ที พอได้ นอนทีไรก็ อยากจะนอนต่อไปเรื่อยๆ ไม่อยากจะท�ำอะไรเลย อยากจะนอนอยู่น่ิงๆ การเรียนในปี 4 ถือว่าสนุกขึ้นเรื่อยๆตามชั้นปี เลยก็ว่า ได้ ได้ คุยสนุกสนานกับเพื่อนมากขึ้น ท�ำให้ อยากที่จะไปมหาวิทยาลัยมากขึ้น อยากที่จะไปเจอเพื่อนๆไปเล่าเรื่องราวต่างๆ เรื่องเพื่อนถือว่าเป็ นสิ่งส�ำคัญที่สดุ เจอเพื่อนดีทุกอย่างก็ดตี ามมา เพื่อนคอยช่วยเหลือทุกครั้งเวลาที่มปี ัญหาไม่ว่าจะเรื่อง อะไรก็ตาม การเรียน ความรัก ทุกครั้งที่มงี านกลุ่มก็ได้ เพื่อนที่คอยช่วยคิดช่วยท�ำอยู่เสมอ จนผ่านมาได้ ทุกวันนี้ ยิ่งโตเริ่มปลงกับชีวิตท�ำได้ เท่าที่จะ ท�ำ และพยายามท�ำให้ ดที ่สี ดุ ไม่ว่าจะเรื่องอะไรก็ตาม ใครว่าเรียนมหาลัยเอกชนจบได้ ง่ายๆ ได้ ยินหลายคนที่ชอบพูดแบบนี้ อยากจะให้ ลองเองว่าเรียนเอกชนกับรัฐมันก็เหมือนกัน เอกชนอาจจะท�ำได้ มากกว่ามหาวิทยารัฐก็ได้ เพราะมีอปุ กรณ์ท่ดี กี ว่า และพร้ อมกว่า เอกชนไม่ใช่จะได้ เกรดมาง่ายๆเหมือนกัน เรียนมหาวิทยาลัยที่ไหนก็เป็ นอิสระกันหมด แต่กค็ งไม่มที ่ไี หน อิสระเท่ามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เหมาะกับชื่อที่ว่ามหาวิทยาลัยสร้ างสรรค์จริงๆ การแต่งตัวมาเรียนฟรีสไตล์ ใช้ ความคิดของ ตัวเองได้ อย่างคุ้มค่า ไม่มใี ครมาขวางกั้นได้ การมาใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ได้ เจอดารา นายแบบที่หล่อๆสวยๆ มากมาย ตื่นเต้ นได้ ทุกวันแต่ต้องท�ำตัว ปกติ เดีย๋ วคนเขาจะว่าเราได้ ว่าบ้ านนอกไม่เคยเห็นดารา ทุกคนสนุกสนานกับเรื่องการเรียน เรื่องเพื่อน ต่อไปนี้จบแล้ วต่างคน ก็ต้องต่างออกไปใช้ ชีวิตในแบบของตัวเองต่อไป
เรื่อง เรา เล่า 119
ท�ำไมเราจะผ่านไปไม่ได้ แก้วตา วงษ์เกลี้ยง
“เราต้องพยายามค่อยเป็นค่อยไป ต้องอดทนให้มากๆ ใจเย็นๆพวกพี่ๆก็เคยผ่านมา แล้วเหมือนกัน ท�ำไมเราจะผ่านไปไม่ได้”
ชีวิตสี่ปีในรั้วมหาวิทยาลัย ถือว่าเป็ นการเริ่มต้ นใหม่สำ� หรับการเรียนรู้กบั สิ่งต่างๆมากมายให้ กบั ดิฉัน มีท้งั เรื่องดี และไม่ดี การเรียนรู้ในครั้งนี้ไม่เพียงแต่เรียนรู้วิชาการเรียนแต่ต้องมีการเรียนรู้การใช้ ชีวิต การรับน้ อง การคบหาเพื่อน การมี คนรักและอื่นๆอีกมากมาย ดิฉันเป็ นคนกล้ าแสดงออก และมีความเป็ นตัวของตัวเองสูง ดิฉันจึงเลือกเรียนคณะนิเทศศาสตร์ สาขาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ท�ำไมดิฉันถึงเลือกเรียนสาขานี้ เพราะดิฉันชอบอ่านข่าว อยาก เป็ นผู้ประกาศข่าวหรือพิธกี รรายการอะไรก็ได้ มันเป็ นความใฝ่ ฝันส่วนตัวของดิฉันตั้งแต่เด็กๆละค่ะ ดิฉันคิดว่าการเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยนั้นแตกต่างจากการเรียนในตอนมัธยมมากๆ จะเข้ าเรียนก็ได้ ไม่เข้ าก็ได้ ไม่มี ใครมาคอยบังคับคอยบอกคอยเตือนเราเหมือนตอนสมัยมัธยม ส�ำหรับบางวิชานั้นก็ยากมากเรียนไม่ค่อยรู้เรื่องเท่าไร บาง วิชาก็แสนที่จะง่ายดาย ปี แรกที่เริ่มเรียนดิฉันปรับตัวแทบไม่ทนั จ�ำได้ ว่าเกรดเฉลี่ยตกมากๆ และยังมีเรื่องอื่นๆที่ต้องคิด นอกจากเรื่องเรียนมากมาย แต่โชคดีท่ดี ฉิ ันเริ่มปรับตัวได้ ในเริ่มเข้ าปี ที่สองถัดมา แต่กย็ ังปรับตัวได้ ไม่มากนัก ถึงขั้นว่าดิฉัน ต้ องโทรกลับไประบายให้ คนที่บ้านฟัง แล้ วบอกว่า ดิฉันเหนื่อย ดิฉันท้ อ ดิฉันไม่ยากเรียนแล้ ว ดิฉันเคยรู้สกึ แบบนี้จริงๆนะ คะ แต่ท่บี ้ านก็พยายามเกลี่ยกล่อมและบอกว่า” เราต้ องพยายาม ค่อยเป็ นค่อยไป ต้ องอดทนให้ มากๆ ใจเย็นๆพวกพี่ๆก็เคย ผ่านมาแล้ วเหมือนกัน ท�ำไมเราจะผ่านไปไม่ได้ “เมื่อฟังเช่นนั้นแล้ วดิฉันก็เริ่มรู้สกึ ดีข้ นึ และกลับมาพยายามตั้งใจเรียนใหม่อกี ครั้งจนเริ่มเข้ าปี สามและดิฉันก็เริ่มเรียนตามทันเพื่อน เริ่มเรียนเข้ าใจมากขึ้น จนวันนี้ดฉิ ันฉันสามารถเรียนได้ อย่างมีความสุข แต่อกี สิ่งหนึ่งที่ต้องเจอเมื่อมาอยู่ในมหาวิทยาลัยก็คือ การรับน้ อง มันเป็ นสิ่งที่ใครหลายๆคนกลัวและหนึ่งในนั้นก็ คือฉัน ก่อนมามหาวิทยาลัยฉันเตรียมใจไว้ กบั การรับน้ อง เพราะฟังจากการเล่าของพี่ๆว่าการรับน้ องมันโหด เหนื่อย ต้ อง ร้ องไห้ แต่พอฉันได้ มาเจอกับตัวเองแล้ วมันก็ไม่ได้ หนักหนาสาหัสอะไร อาจมีบ้างที่เป็ นอย่างที่เขาพูด แต่ฉันก็รับได้ และสนุก กับการรับน้ อง เพราะการรับน้ องที่ฉันเจอเป็ นการรับน้ องเหมือนกับว่าพี่ๆเป็ นพี่ของเราจริงๆพี่ๆเขาช่วยเหลือทุกอย่าง ให้ คำ� ปรึกษาในเรื่องการเรียน และอื่นๆมากมาย การรับน้ องที่ดฉิ ันเจอถือว่าเป็ นอีกหนึ่งเรื่องที่มคี วามสุขและน่าจดจ�ำมากๆ เพื่อนถือเป็ นอีกหนึ่งสิ่งที่สำ� คัญกับเราไม่ว่าจะอยู่ท่ไี หนๆก็ตาม แต่เมื่อมาอยู่มหาวิทยาลัยเราก็จะได้ ร้ จู ักค�ำว่าเพื่อน แท้ และเพื่อนไม่แท้ ซ่ึงมีอยู่แน่นอน มีท้งั คนที่หวังดีจริงใจกับเราและก็คนที่ไม่ดแี ละไม่จริงใจกับเราอีกมากมายถ้ าได้ เพื่อนไม่ ดีกถ็ อื ว่าโชคร้ ายไป แต่ถอื ว่าดิฉันโชคดีมากๆเลยนะคะที่ดฉิ ันได้ เจอเพื่อนที่จริงใจและแสนดีแถมเราห้ าคนก็สนิทกันมากด้ วย เรียนตั้งแต่ปีหนึ่งจนปัจจุบนั เราก็ได้ อยู่ปีสี่แล้ วเราก็ยังสนิทกันเหมือนเดิม ดิฉันยอมรับนะคะว่าดิฉันรู้สกึ ว่าดิฉันโชคดีมากๆที่ ได้ เจอเพื่อนห้ าคนนี้ เพื่อน ไม่ว่าเวลาจะมุมเวียน เปลี่ยนฤดูกาลไปนานเท่าไหร่ แต่ความเป็ นเพื่อนของเรายังคงอยู่ เพื่อน ไม่ ว่าเพื่อนจะเป็ นอะไร เพื่อนจะดีเลิศ จะเลวร้ าย ซักแค่ไหนแต่เพื่อนก็ยังคงเป็ นเพื่อน ค�ำว่า เพื่อน ไม่เหมือนน�ำ้ ไม่เหมือนสิ่ง อื่นใด ไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้ เพราะเพื่อนก็ยังคงเป็ นเพื่อน ไม่ว่าเพื่อนจะท�ำผิด จะพลาด ซักกี่หน แต่เพื่อนก็ยังคงเป็ น เพื่อน และเราก็จะเป็ นเพื่อนกันตลอดไป และอีกสิ่งที่น่าจดจ�ำที่อยู่ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพแห่งนี้ ก็คือการได้ ไปฝึ กงานที่สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง5 ตลอดระยะเวลาการฝึ กงาน 1 เดือน 8 วัน ท�ำให้ ดฉิ ันได้ รับประโยชน์มากมาย โดยทางฝ่ ายข่าวซึ่งเป็ นผู้ดูแลนักศึกษา ฝึ กงานได้ แจกแจงระยะเวลาการท�ำงานของนักศึกษาที่มาฝึ กงานแต่ละฝ่ ายได้ เป็ นอย่างดี และเหมาะสม แรกเริ่มเลยผมคิดว่า ควรจะจัดให้ ฝึกสายข่าวใดสายหนึ่งไปเลยตลอดระยะเวลาการฝึ กงานเพื่อสร้ างทักษะในการเขียนข่าวสายนั้นๆ แต่เมื่อฝ่ าย ข่าวมอบหมายให้ รับการฝึ กสายข่าวทุกสาย ก็ทำ� ให้ ดฉิ ันได้ เรียนรู้การท�ำงานของสายข่าวต่างๆได้ อย่างครอบคลุม และเป็ นการ
เรื่อง เรา เล่า 121
กลุ่มเพื่อนที่คบกันมาตั้งแต่ปี 1 - ปี 4 ค้ นหาตัวเองว่าเหมาะสมกับสายข่าวใด และเกิดประโยชน์สงู สุด คือการได้ ลงพื้นที่ทำ� งานเป็ นผู้ส่อื ข่าวจริงของช่อง ท�ำให้ ได้ รับ ประสบการณ์โดยตรง ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ ได้ ในการท�ำงานจริง อีกทั้งยังได้ เรียนรู้การปฏิบตั งิ านของสื่อมวลชนของทั้งหน่วย งานเดียวกันและหน่วยงานอื่นอีกด้ วย นอกจากนี้เจ้ าหน้ าที่ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ทุกท่านยังมีความเป็ นกันเองกับ ดิฉันและดูแลดิฉันเป็ นอย่างดีพร้ อมให้ ความกรุณาในการสอนงาน และช่วยแนะน�ำสิ่งต่างๆ ทั้งเทคนิค วิธกี ารท�ำงาน และ แบ่งปันประสบการณ์ต่างๆ อย่างเต็มที่ ส่งผลให้ ผมสามารถน�ำมาปรับใช้ และพัฒนาตัวเองในการฝึ กงาน และยังน�ำไปต่อย อดกับการท�ำงานในอนาคต ปัญหาและอุปสรรคจากการฝึ กงานที่สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในช่วงแรกๆสิ่งที่จะ เป็ นปัญหาก็คือพี่ๆสั่งงานมาแล้ วอธิบายไม่ค่อยเข้ าใจ เพราะเป็ นงานที่ต้องใช้ ความละเอียดในการท�ำงาน ท�ำให้ งานเกิดความ ล่าช้ าในการท�ำงานไปบ้ างในช่วงแรกของการเริ่มฝึ กงานเพราะต้ องมีการศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม สร้ างความเข้ าใจเกี่ยวกับ อุปกรณ์บางอย่างที่ยังไม่ทนั สมัย และต้ องมีการเตรียมพร้ อมหาข้ อมูลข่าวสารเพิ่มเติมก่อนออกไปปฏิบตั งิ านจริง กับพี่ผ้ ูส่อื ข่าว ช่างภาพและพี่ผ้ ูช่วยช่างภาพเพื่อที่จะได้ ไม่เสียเวลาเปล่าในการท�ำข่าว เพราะพี่ผ้ ูส่อื ข่าวจะเตรียมข้ อมูลล่วงหน้ าก่อนที่จะ ไปปฏิบตั งิ านจริง มิฉะนั้นจะเป็ นการล่าช้ าในการปฏิบตั งิ านได้ และถ้ าเราตอบไม่ได้ กถ็ อื ว่าเป็ นอุปสรรคในการท�ำข่าว สุดท้ ายนี้ส่ปี ี ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพแห่งนี้มนั ชั่งผ่านไปเร็วเหลือเกิน เหมือนเวลาที่เราเป็ นเพื่อนกันตลอดมา ท�ำไมมันสั้นนัก อยากย้ อนเวลากลับไปใช้ ชีวิตเฮฮา ไม่คิดอะไรมาก เพราะตอนนี้พอต่างคนต่างจะเรียนจบ ก็ต้องดิ้นรนหางาน ท�ำ สี่ปี ที่เราผ่านอะไร ๆ ด้ วยกันมาก็มากมาย ทั้งสุข ทั้งทุกข์ ทั้งผิดใจ ทะเลาะอะไรกันก็มากมาย แต่เราก็ยังเป็ นเพื่อนกันวิธี การใช้ ชีวิตให้ มคี วามสุขตลอดเวลาการเรียนนั้นต้ องมีความ ก็มอี ยู่ด้วยกันมากมาย อย่างไรก็ตามการด�ำรงชีวิตรั้วมหาวิทยาลัย ก็ต้องขึ้นอยู่กบั การปรับตัวของเราเอง การท�ำกิจกรรมในรั้วมหาวิทยาลัยนั้นเป็ นสิ่งที่ดี แต่กต็ ้ องเลือกดูหน่อยว่ากิจกรรมนั้นมีประโยชน์และส�ำคัญไหม เช่น กิจกรรมน้ องใหม่เป็ นกิจกรรมแรกที่ดฉิ ันได้ ทำ� ไม่ควรพลาดกิจกรรมรับน้ อง เพราะจะท�ำให้ เราได้ ร้ จู ักเพื่อนๆ รู้จักการ ใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัย ซึ่งถ้ าพลาดกิจกรรมนี้ไปจะเป็ นเรื่องที่น่าเสียดายมากๆ เพราะในชีวิตเราก็จะมีเพียงแค่ครั้งเดียว กิจกรรมในมหาวิทยาลัยถือได้ ว่าเป็ นการฝึ กฝนให้ คนเข้ าสู่สงั คมมากยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นการเข้ าร่วมกิจกรรมหลายๆที่ มหาวิทยาลัยจัดขึ้นแต่ละอย่างจึงเป็ นแนวทางที่ดใี นการปรับตัวเอง หรือแม้ แต่กจิ กรรมร่วมสัมพันธ์กนั ระหว่างพี่น้องก็มี ประโยชน์มากเลยทีเดียวส�ำหรับชีวิตเด็กมหาลัย
ชี วิตและความคิด 122
ชีวิตในมหาวิทยาลัยเปรียบได้ กบั ถนนสายหนึ่ง เราต่างเป็ นนักเดินทางที่กำ� ลังเดินไปตามเส้ นทางที่มชี ่ ือว่าชีวิต โดยมี จุดหมายปลายทางคือ ความฝัน ทุกๆคนต่างก้ าวไปบนเส้ นทางที่ตนเองเลือก แต่กย็ ังไม่ร้ วู ่าทางข้ างหน้ าจะเป็ นเช่นไร มหาวิทยาลัย ก็เป็ นเหมือนถนนสายเล็กๆ ที่เหล่านักเดินทางตัดสินใจเดินเข้ ามา โดยหวังว่าถนนสายนี้จะน�ำพาไปสู่จุดหมาย ปลายทางแห่งความฝัน และเส้ นทางนี้กเ็ ต็มไปด้ วยผู้ร่วมเดินทางมากมาย ที่ออกเดินทางไปพร้ อมกัน ในเส้ นทางแห่งฝันอัน ยาวไกลสาย ในเส้ นทางของ มหาวิทยาลัย ทุกคนล้ วนอยากก้ าวเดินไปตามทางที่สวยงามในแบบที่ตนเองคิด แต่จะมีสกั กี่คนที่ ท�ำได้ อย่างที่หวังและตั้งใจเอาไว้ ในบางวันเราก้ าวเดินอย่างฉับไวด้ วยความเชื่อมั่น แต่บางวัน ใจดวงเดิมของเรามันกลับอ่อน ล้ าหมดแรงจนแทบจะหยุดนิ่ง เมื่อต้ องเผชิญกับอุปสรรคที่มาขวางกั้น แต่หากไม่เผชิญหน้ ากับอุปสรรค ก็จะไม่เกิดการเรียนรู้ ถ้ าเราไม่ล้มก็จะไม่ร้ วู ่าจะลุกขึ้นอย่างไร หากไม่เจ็บก็จะไม่ร้ จู ักการระวังตัวเองเพื่อไม่ให้ เราเจ็บตัวในครั้งต่อไป ที่สำ� คัญคือ ต้ องรู้จักใช้ สติในการคิดและไตร่ตรองเพื่อก้ าวผ่านอุปสรรคนั้น สุดท้ ายแล้ วจุดหมายที่เราคิดและหวังเอาไว้ ก็ไม่ยากเกินที่จะ ไปให้ ถงึ ในยามที่ต้องเผชิญกับความล�ำบากจนรู้สกึ ท้ อใจและหมดแรงในการเรียน เพื่อน คือหนึ่งก�ำลังใจที่จะช่วยพาเราไป ให้ ถงึ จุดหมาย คอยช่วยเหลือแนะน�ำทางเดินที่ดี ช่วยแต่งแต้ มคืนวันที่มดื มนให้ เราสดใส แบ่งปันความห่วงใยและน�ำ้ ใจให้ กนั เสมอเพื่อให้ เราก้ าวต่อไปบนเส้ นทางการผจญภัยที่มที ้งั ความสุขและเศร้ าคละเคล้ ากัน เมื่อบรรลุจุดหมายที่สดุ สายปลายทางแห่ง มหาวิทยาลัย แต่เรายังคงต้ องก้ าวต่อไป เพราะเส้ นทางแห่ง ชีวิต ยังไม่ สิ้นสุด คงถึงเวลาแล้ วที่เราคงต้ องแยกย้ ายจากกัน เพื่อไปตามความฝันใฝ่ ของแต่ละคน เหมือนเวลาผ่านไปเพียงแค่เวลาเสี้ยว วินาทีเท่านั้น นับตั้งแต่เดินเข้ ามาในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งนี้ พอถึงเวลาที่ต้องจบการศึกษาแล้ วกลับรู้สกึ ใจหาย แม้ เมื่อก่อนจะ คอยเฝ้ านับวันเวลาว่าเมื่อไรจะจบซักที อยากจบเร็วๆ แต่ตอนนี้ดฉิ ันคิดถึงตึกคณะ คิดถึงตึก คิดถึงตึกหอพัก คิดถึงตึกโรง อาหาร คิดถึงตึกห้ องสมุด คิดถึงตึก คิดถึงตึกศาลาพักใจ คิดถึงรถราง คิดถึงห้ องหนึ่งศูนย์ส่ี คิดถึงต้ นไม้ ทุกต้ น คิดถึงอาจารย์ ทุกคนที่คอยเตือนคอยสั่งสอนเรา คิดถึงเพื่อนๆ คิดถึงน้ องๆ คิดถึงกิจกรรมต่างๆและอื่นๆอีกมากมายที่อยู่ในมหาวิทยาลัย กรุงเทพแห่งนี้ สิ่งเหล่านี้กำ� ลังจะกลายเป็ นภาพความทรงจ�ำ ที่จะยังคงอยู่ในใจของเราเสมอ
ตอนฝึ กงานที่ช่อง 5
เรื่อง เรา เล่า 123
ขอบคุณเพื่อนๆที่แบ่งบันความรักและคอยช่วยเหลือซึ่งกันและกันเสมอมา แม้ ว่าต่อจากนี้ไปเราอาจจะไม่เจอกัน แล้ ว และไม่ร้ จู ะได้ เจอกันอีกเมื่อไร ถึงแม้ ว่าเราคงต้ องเศร้ า แต่ต่างคน ต่างก็ไปตามทางของตนเอง อีกไม่ก่เี ดือนมันถึงเวลา แล้ วที่เราต้ องลาจากรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพแห่งนี้ไปจริงๆแล้ วสินะ แต่ถ้าไม่มีการลาจากก็ไม่ส่งิ ใหม่ๆในชีวิต จบเพื่อเริ่มต้ น ใหม่ ถึงแม้ ว่าจะเป็ นวันสุดท้ ายในรั้วมหาวิทยาลัย แต่กลับเป็ นวันเริ่มต้ นของการผจญภัยครั้งใหญ่ ที่เราต้ องเริ่มเรียนรู้ในต�ำรา บทต่อไป เพื่อก้ าวไปสู่ความส�ำเร็จของชีวิตในการท�ำงาน ดิฉันคิดว่าชีวิตของคนเราก็คล้ ายกับกระดาษสีขาว ประสบการณ์และเรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ ามาเปรียบเหมือนพู่กนั ที่จะเติมสีสนั ให้ ชีวิต เรื่องราวต่างๆมากมายจะแต้ มสีจนประกอบกันกลายเป็ นภาพวาด ซึ่งมีท้งั ภาพที่ทำ� ให้ อบอุ่นในหัวใจจน กลายเป็ นรอยยิ้มอันสดใส และบางภาพก็ทำ� ให้ เสียใจจนน�ำ้ ตาไหลนอง แต่ไม่ว่าภาพนั้นจะออกมาเป็ นเช่นไร จงเก็บภาพ ความทรงจ�ำเหล่านั้นเอาไว้ เพราะสิ่งที่พบเจอระหว่างการเดินทางล้ วนเป็ นประสบการณ์ชีวิตอันล�ำ้ ค่า ซึ่งท�ำให้ เราแกร่งขึ้น และเป็ นโอกาสที่ทำ� ให้ เราได้ เรียนรู้เพื่อก้ าวต่อไปอย่างมั่นคง แต่ความทรงจ�ำดีๆสี่ปีในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพแห่งนี้จะยังคง อยู่ในใจดิฉันไม่เปลี่ยนแปลง
ชี วิตและความคิด 124
เรื่อง เรา เล่า 126
จากความไม่รู้ ศิวพงษ์ กัลชาญสุพรรณ
“ผมเลือกเรียนที่ คณะนิเทศศาสตร์ ก็ไม่รู้มันคืออะไร”
ผมได้ก้าวมาสู่รัว้ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้ โดยที่ผมไม่รู้เลยสักนิดว่าตอนที่ผมเลือกเรียนที่ คณะ นิเทศศาสตร์ ก็ไม่รู้มันคืออะไร พู ดตรงๆก็คือ ตอนที่ผมจบช่ วงมัธยม จากโรงเรียนกรุ งเทพคริสเตียน ผมก็ได้ ไปสอบ หรือ เอ็นทรานซ์ ท่ีไหนเลย หลังจากได้แต่น่ังคิดว่าจะเรียนอะไร ก็ได้มีโอกาสเจอเพื่อนที่อยู ่ กรุ งเทพคริสเตียนกับผม ผมก็ได้ถามเพื่อนผมคนนัน้ ว่า เฮ้ย! มึงเข้ามหาลัยที่ไหนวะ เพื่อนผมก็บอกว่า เข้าที่ มหาลัยกรุ งเทพหวะ เรียนคณะนิเทศศาสตร์ ภาควารสารศาสตร์ สื่อสิ่งพิมพ์ ผมก็ได้ถามเพื่อนคนนัน้ ต่อว่า แล้ว ไอภาควารสาร มันเรียนเกี่ยวกับอะไรวะ? เพื่อนผมบอกได้อธิบายให้ผมฟั งว่า วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์เนี่ย มันจะ เกี่ยวกับ ท�ำหนังสือพิมพ์ นิตยสาร ต่างๆ แต่วาสารก็ยังมีแยกไป วิทยุ โทรทัศน์อีกนะ ผมได้ ก้าวมาสู่ร้ัวมหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้ โดยที่ผมไม่ร้ เู ลยสักนิดว่าตอนที่ผมเลือกเรียนที่ คณะนิเทศศาสตร์ ก็ไม่ร้ มู นั คืออะไร พูดตรงๆก็คือ ตอนที่ผมจบช่วงมัธยม จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ผมก็ได้ ไปสอบ หรือ เอ็นทรานซ์ท่ไี หนเลย หลังจากได้ แต่น่ังคิดว่าจะเรียนอะไร ก็ได้ มีโอกาส เจอเพื่อนที่อยู่คริสเตียนกับผม ผมก็ได้ ถามเพื่อนผมคนนั้นว่า เฮ้ ย! มึงเข้ า มหาลัยที่ไหนวะ เพื่อนผมก็บอกว่า เข้ าที่มหาลัยกรุงเทพหวะ เรียนคณะนิเทศศาสตร์ ภาควารสารศาสตร์ สื่อสิ่งพิมพ์ ผมก็ได้ ถามเพื่อนคนนั้นต่อว่า แล้ วไอภาควารสาร มันเรียนเกี่ยวกับอะไรวะ? เพื่อนผมบอกได้ อธิบายให้ ผมฟังว่า วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ เนี่ย มันจะเกี่ยวกับ ท�ำหนังสือพิมพ์ นิตยสาร ต่างๆ แต่วารสารก็ยังมีแยกไป วิทยุโทรทัศน์อกี นะ ผมได้ ก้าวมาสู่ร้ัวมหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้ โดยที่ผมไม่ร้ เู ลยสักนิดว่าตอนที่ผมเลือกเรียนที่ คณะนิเทศศาสตร์ ก็ไม่ร้ มู นั คืออะไร พูดตรงๆก็คือ ตอนที่ผมจบช่วงมัธยม จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ผมก็ได้ ไปสอบ หรือ เอ็นทรานซ์ท่ไี หนเลย หลังจากได้ แต่น่ังคิดว่าจะเรียนอะไร ก็ได้ มีโอกาส เจอเพื่อนที่อยู่คริสเตียนกับผม ผมก็ได้ ถามเพื่อนผมคนนั้นว่า เฮ้ ย! มึงเข้ า มหาลัยที่ไหนวะ เพื่อนผมก็บอกว่า เข้ าที่มหาลัยกรุงเทพหวะ เรียนคณะนิเทศศาสตร์ ภาควารสารศาสตร์ สื่อสิ่งพิมพ์ ผมก็ได้ ถามเพื่อนคนนั้นต่อว่า แล้ วไอภาควารสาร มันเรียนเกี่ยวกับอะไรวะ? เพื่อนผมบอกได้ อธิบายให้ ผมฟังว่า วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ เนี่ย มันจะเกี่ยวกับ ท�ำหนังสือพิมพ์ นิตยสาร ต่างๆ แต่วารสารก็ยังมีแยกไป วิทยุโทรทัศน์อกี นะ
เพื่อนจากกรุงเทพคริสเตียนที่ย้ายมาเรียนด้ วยกัน
เรื่อง เรา เล่า 127
หลังจากคุยกันได้ คร่าวๆ วันรุ่งขึ้นผมจึงตัดสินใจไปสมัครที่มหาลัยกรุงเทพ จะเรียกว่าตามเพื่อนเลยก็ว่าได้ ผม เลือกที่จะเรียนคล้ ายๆไอเพื่อนคนนี้แหละครับ แต่ผมเลือกที่จะเรียน ภาควิทยุโทรทัศน์ เพราะอะไรนะเหรอครับ ผมคิดว่า วิทยุโทรทัศน์คงมีอะไรสนุกๆมากกว่า สื่อสิ่งพิมพ์แน่ๆ เพราะตัวผมเองเป็ นคนที่ไม่ค่อยชอบอ่านหนังสือหรือตัวหนังสือสัก เท่าไหร่ ว่าแล้ วผมได้ สมัครแล้ วก็สอบในวันนั้นเลย ผลที่ออกมาผมก็สามารถเข้ ามหาลัยกรุงเทพได้ ครับ วันแรกในรั้วมหาลัยของผมนะครับผมรู้สกึ ตื่นเต้ นมากๆ เพราะว่าจะได้ เจอเพื่อนใหม่ๆ อีกทั้งตอนที่ผมเรียนมัธยม ก็เป็ นโรงเรียนชายล้ วน ในมหาลัยก็คงจะได้ เจอผู้หญิงมากมาย ว่าแล้ วก็ถงึ ตอนรับน้ องครับก็เป็ นอะไรที่สนุกมากๆ ได้ ทำ� กิจกรรมร่วมกับเพื่อนใหม่ แล้ วก็ร่นุ พี่ ก็ทำ� ให้ วันแรกในรั้วมหาลัยเป็ นอะไรที่ประทับใจมาก ช่วงเรียนปี หนึ่ง ผมก็ได้ ลงเรียนกับเพื่อนผมที่มาจากโรงเรียนเก่าด้ วยกันแหละครับ เลยเวลามีอะไรก็จะคอยปรึกษา ให้ คำ� แนะน�ำกันตลอด ช่วงเรียนปี หนึ่ง ผมก็ได้ อยู่ท่หี อด้ วย จึงท�ำให้ มเี วลาในมหาลัยมากขึ้นเราสองคนก็คอยพากันเรียน แหละครับ ไม่ค่อยนอกรู่นอกทางเท่าไหร่ ก็อาจจะมีบ้างบางครั้งก็พากันส�ำมะเลเทเมา ก็เพราะช่วงปี หนึ่ง ส�ำหรับผมผมว่า เรียนไม่ค่อยอยากเท่าไหร่ ตัวที่เรียนก็จะเป็ นวิชาที่ง่ายๆเป็ นวิชาที่ตอนช่วงมัธยมก็เคยเรียนมา อย่างเช่น วิชา คณิตศาสตร์ ภาษาไทย กฎหมาย ก็ไม่หน้ าจะอยากเท่าไหร่ ปี หนึ่ง ก็เลยเป็ นปี ที่ชิวๆซะมากกว่า ไหนจะเจอเพื่อนใหม่กพ็ ากันไปสังสรรค์อยู่ บ่อยๆ แต่เรื่องเรียนก็คือเรื่องเรียนนะครับ เวลามีการบ้ าน หรืองานต่างก็ไม่เคยขาดส่ง เวลาสอบก็มตี วิ บ้ างพอเวลาเกรดออก มาก็อยู่ในระดับปานกลาง ไม่ถงึ กับแย่ ไม่มี ดรอป ไม่มี เอฟ ชีวิตตอนปี หนึ่งก็ยังไม่ค่อยเครียดเท่าไหร่ แถมเวลาอยู่ในมหา ลัยก็มกี จิ กรรมที่ร่นุ พี่คอยให้ เราเข้ าไปท�ำก็อย่างเช่น ตอนปี หนึ่ง ก็จะมี วัน JR SPORT DAY ผมก็ได้ ร่วมเข้ าท�ำกิจกรรมด้ วย กิจกรรมที่ผมร่วมท�ำก็คือ เป็ นนักกีฬาฟุตซอล ก็ได้ ร่วมลงเล่นกับเพื่อนๆ แล้ วก็ร่นุ พี่ ก็สนุกดีครับ เข้ าสู่ช่วงปี สอง ผมก็ยังได้ ลงเรียนกะไอเพื่อนคนเดิมเนี่ยแหละครับ เพราะตอนช่วงปี หนึ่งกับปี สองเนี่ย ทางมหาลัย ยังไม่ได้ แยกสายให้ ลงเรียน ก็คือว่า ผมเรียนวิทยุโทรทัศน์กย็ ังสามารถลงเรียนกับสื่อสิ่งพิมพ์ได้ จึงเป็ นข้ อดีไปเลย เพราะ ท�ำให้ ผมมีเพื่อนทั้งสองฝั่งภาคครับ ปี สองการเรียนก็ยังเป็ นแบบเดิม ไม่ค่อยยากเท่าไหร่ครับ ผมจึงได้ ใช้ ชีวิตในมหาลัยคุ้ม สุดช่วงนี้เลย เพราะได้ เรียนรู้การใช้ ชีวิต จากปี หนึ่งมาแล้ ว ปี สองก็เลยรู้มากเลยครับ มีมาเรียนสายบ้ าง ฝากเพื่อนเช็กชื่อให้ เพื่อนสนิทๆท�ำรายงานให้ แต่กใ็ นกลุ่มเพื่อนก็คอยดูแลกันตลอดครับ ช่วงนี้ แถมช่วงปิ ดเทอมก็ยังนัดเพื่อนๆ ไปเที่ยวต่าง จังหวัดอีกเป็ นอะไรที่สนุกมากๆครับ การที่เราไปเที่ยวต่างจังหวัดเนี่ย จริงอาจจะมองว่าจริงๆแล้ วอาจไม่เกี่ยวกับเรื่องในมหา ลัย แต่ผมว่ามันเป็ นส่วนหนึ่งที่ทำ� ให้ ผมได้ สนิทกับเพื่อนๆเพิ่มขึ้นมากเลยครับ เพราะไปเที่ยวต่างจังหวัด ก็ทำ� ให้ กลุ่มเพื่อนๆ ได้ ใช้ ชีวิตด้ วยกัน ไปเที่ยว ได้ นอนอยู่ด้วยกัน ได้ คุยเปิ ดอกในสิ่งที่ไม่เคยคุยกันมาก่อนก็ถอื ว่าเป็ นอะไรที่ประทับใจมากครับ ตอนสอบช่วงปี สองเนี่ยอาจจะมีปัญหาเล็กน้ อยครับ เนื่องด้ วยผมคิดว่าวิชาที่เรียนไม่ค่อยยากมากจึงปล่อยปะละเลย ไปบ้ าง ขี้เกียจบ้ าง ไม่ค่อยอ่านหนังสือ สังสรรค์กบั เพื่อนๆบ่อยเกินไป จึงท�ำให้ มขี าดเรียน เรียนไม่ค่อยรู้เรื่อง เรื่องเหล่านี้ก ็ เกิดจาก ความรู้มากของผมบวกกับความประมาท ว่าเรียนไม่ยากหรอก ฝากเพื่อนเช็กชื่อก็ได้ เดี่ยวค่อยท�ำ เดี่ยวค่อยอ่าน จึง ท�ำให้ ผมสอบออกมาไม่ดเี ท่าที่ควร ตอนเทอมสองผมจึงเริ่มปรับตัว ขยันมากขึ้น สังสรรค์น้อยลง ตั้งใจเรียน ตั้งใจอ่านหนังสือ แล้ วก็จากอยู่หอ ก็ย้ายมาอยู่บ้าน เหตุจริงๆที่ย้ายก็ไม่เกี่ยวกับว่าไม่อยากอยู่หรอกครับ เพราะบางทีอยู่หอก็หน้ าเบื่อ ไม่ค่อย ได้ ทำ� อะไรสักเท่าไหร่ ว่างก็ออกไปสังสรรค์ แถมเพื่อนผมในกลุ่มคนหนึ่ง ได้ ไปมีปัญหากับ โต๊ะพนันบอล จึงท�ำให้ เพื่อนผม คนนี้ต้อง ย้ ายไปเรียนต่างประเทศแล้ วเพื่อนคนนี้กเ็ ปรียบเสมือนรูมเมทครับ เพราะผมได้ ไปอาศัยหอเพื่อนคนนี้อยู่ จึงเป็ น อีกเหตุผลหนึ่งที่ทำ� ให้ ผมอยากย้ ายมาอยู่บ้านครับ
ชี วิตและความคิด 128
การสอบในช่วงปลายภาคเทอมสอง ก็เลยดีข้ นึ ครับ แต่ถงึ ยังไงไม่ว่าจะตอน เทอมแรกหรือเทอมสอง ผมก็ไม่ได้ ตดิ เอฟ หรือต้ องดรอปวิชาต่างๆ อาจเป็ นเพราะว่าผมได้ ปรับตัวต่างๆ เพื่อท�ำให้ ผลการเรียนดีข้ นึ ผมก็ยังประขับประครอง เพื่อนๆ ในกลุ่ม ให้ ต้งั ใจเรียนด้ วยกัน แต่กห็ น้ าเสียดายที่มเี พื่อน บางคนต้ องเจอปัญหาต่างๆ จึงท�ำให้ ไม่ได้ เรียนด้ วยกันต่อ ก็อย่างเรื่อง ติดพนัน ติดยาเสพติด แม้ กระทั่ง เรียนมาถึงปี สอง แต่กลับค้ นพบตัวเองว่าไม่ชอบในสิ่งที่เรียน จึงท�ำให้ ต้องย้ าย มหาลัยเพื่อไปเรียนในสิ่งที่ตนเองชอบ ขึ้นปี สาม ผมต้ องลงเรียนแบบรายวิชาของภาค จึงท�ำให้ ไม่ได้ ร่วมเรียนกับเพื่อนที่มาจากโรงเรียนเก่าแล้ ว ตอนแรก ก็คิดว่าคงไม่ยากหรอก ก็คงเหมือนปี ที่ผ่านมา แต่ผมคิดผิดทั้งหมดเลยครับ ปี สามเป็ นปี ที่โหดมากๆ ส�ำหรับผม เจอรายวิชา ที่ยากๆทั้งนั้นเลยครับ ไม่ว่าจะเป็ นวิชาการพูด เพื่อเป็ นผู้ประกาศข่าว ซึ่งผมไม่มที กั ษะอะไรในด้ านนี้เลย ไหนจะเป็ นวิชาการ เขียนข่าวต่างๆ และยังเริ่มมีเรียนวิชาโทอีก วิชาโทผมก็เลือกเรียน แบรนด์ ครับ เพราะเพื่อนๆในกลุ่มเรียนกันเยอะก็เลย เรียนด้ วยกันเนี่ยแหละจะได้ ไปรอด แหะๆ ปี สามเป็ นปี ที่ผมแทบไม่มเี วลาไปท�ำอย่างอื่นเลยงานเยอะมากๆ การบ้ าน รายงาน สอบในรายวิชาต่าง แล้ วก็มตี ้ อง ไปท�ำงานนอกสถานที่ ถ่ายท�ำงาน แต่ผมก็ส้ คู รับตั้งใจเรียน ก็ผ่านเทอมแรกมาได้ ด้วยดี เทอมสองเนี่ยสิ ยากกว่าเดิมอีก ได้ เจออาจารย์ สุดโหดของภาควิชาวารสารศาสตร์ มีงานเยอะมากๆ แถมโดนด่าบ่อยด้ วย อีกอย่างต้ องเริ่มเรียน การถ่ายท�ำข่าว การท�ำงานในสตูดโิ อ และยังมีงานที่ต้องส่งประกวดต่างๆอีก แต่ถงึ ยังไง ผมก็ได้ มโี อกาส ส่งงานประกวดชิ้นแรกในรายการ ประกวดสารคดีเชิงข่าวของสายฟ้ าน้ อย แต่จริงๆแล้ วการประกวดงานนี้เป็ นของรุ่นพี่ปีสี่ แต่กลุ่มของผมที่ได้ ร่วมกันท�ำก็ช่วย กันท�ำกันเสร็จและได้ ไปส่งผลงานในวันสุดท้ ายพอดี ผลงานของผมเป็ นสารคดีท่เี กี่ยวกับ ปัญหาของชาวต่างชาติเร่ร่อน เป็ น งานสารคดีช้ ินแรกที่ผมได้ ทำ� ก็เป็ นอะไรที่ผมภูมใิ จไม่น้อยเลยครับ การท�ำงานครั้งแรกก็มีอปุ สรรคมากมาย เพราะไม่ค่อยรู้ เรื่อง ไหนจะหาแหล่งข่าวข้ อมูล การถ่ายท�ำที่ไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรมากนักแต่กย็ ังมีเพื่อนๆและอาจารย์ ที่คอยให้ คำ� ปรึกษา อาจ จะมีปัญหาต่างๆเข้ ามา แต่ผมก็ผ่านจุดนั้นมาได้ เพราะเพื่อนๆ ที่คอยช่วยกันเนี่ยแหละครับ
ฟอร์มทีมแข่งกีฬาในมหาลัย
เรื่อง เรา เล่า 129
ทีมสารคดีชาวต่างชาติเร่รอน ปี สามเป็ นปี ที่ผมแทบไม่มเี วลาไปท�ำอย่างอื่นเลยงานเยอะมากๆ การบ้ าน รายงาน สอบในรายวิชาต่าง แล้ วก็มตี ้ อง ไปท�ำงานนอกสถานที่ ถ่ายท�ำงาน แต่ผมก็ส้ คู รับตั้งใจเรียน ก็ผ่านเทอมแรกมาได้ ด้วยดี เทอมสองเนี่ยสิ ยากกว่าเดิมอีก ได้ เจออาจารย์ สุดโหดของภาควิชาวารสารศาสตร์ มีงานเยอะมากๆ แถมโดนด่าบ่อยด้ วย อีกอย่างต้ องเริ่มเรียน การถ่ายท�ำข่าว การท�ำงานในสตูดโิ อ และยังมีงานที่ต้องส่งประกวดต่างๆอีก แต่ถงึ ยังไง ผมก็ได้ มโี อกาส ส่งงานประกวดชิ้นแรกในรายการ ประกวดสารคดีเชิงข่าวของสายฟ้ าน้ อย แต่จริงๆแล้ วการประกวดงานนี้เป็ นของรุ่นพี่ปีสี่ แต่กลุ่มของผมที่ได้ ร่วมกันท�ำก็ช่วย กันท�ำกันเสร็จและได้ ไปส่งผลงานในวันสุดท้ ายพอดี ผลงานของผมเป็ นสารคดีท่เี กี่ยวกับ ปัญหาของชาวต่างชาติเร่ร่อน เป็ น งานสารคดีช้ ินแรกที่ผมได้ ทำ� ก็เป็ นอะไรที่ผมภูมใิ จไม่น้อยเลยครับ การท�ำงานครั้งแรกก็มีอปุ สรรคมากมาย เพราะไม่ค่อยรู้ เรื่อง ไหนจะหาแหล่งข่าวข้ อมูล การถ่ายท�ำที่ไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรมากนักแต่กย็ ังมีเพื่อนๆและอาจารย์ ที่คอยให้ คำ� ปรึกษา อาจ จะมีปัญหาต่างๆเข้ ามา แต่ผมก็ผ่านจุดนั้นมาได้ เพราะเพื่อนๆ ที่คอยช่วยกันเนี่ยแหละครับ ผลงานที่ส่งไปของสายฟ้ าน้ อย ไม่น่าเชื่อว่าจะได้ เข้ ารอบในวันประกาศผลครับ ผมกับเพื่อนๆก็ดใี จมากๆ เพราะผม เป็ นกลุ่มที่ยังเป็ น รุ่นน้ องปี สามอยู่เลย เพราะงานประกวดนี้ มีแต่ร่นุ พี่ปีสี่ รุ่นผมปี สามก็ได้ ส่งผลงานไปไม่ก่กี ลุ่มเอง วันที่ไป ฟังประกาศผล ตื่นเต้ นมากๆครับ แต่ผลที่ออกมาก็ทำ� ให้ ผดิ หวังไม่น้อยเลยครับ ผลที่ออกมาคือกลุ่มผลงานผมยังไม่ได้ รางวัลอะไรเลย อาจเป็ นเพราะครั้งแรกจึงท�ำให้ ผลงานออกมาได้ ไม่ดเี ท่าที่ควร แต่ถงึ ยังไงก็ไม่เป็ นไรครับเพราะว่า อย่างน้ อย เพื่อนๆที่ได้ ร่วมท�ำงานนี้ด้วยกันก็คอยปลอบใจกันว่า ไม่เป็ นไรงานหน้ าเอาใหม่เว้ ย ก็ทำ� ให้ ผมรู้สกึ ปลื้มใจไม่น้อยเลยที่เดียว ว่าเวลาผิดหวังต่างก็ยังมีเพื่อนที่คอยช่วยเหลือปลอบใจซึ่งกันและกัน และยังมีอาจารย์ ที่พูดกับผมว่า ไม่เป็ นไรมาได้ แค่น้ ีก ็ เก่งแล้ วครั้งแรก ก็เป็ นค�ำพูดที่ฟังแล้ วรู้สกึ ดีมากๆครับ ปี สี่ ปี สุดท้ ายในรั้วมหาลัย รู้สกึ อะไรๆผ่านไปเร็วมากๆ ปี นี้ผมก็ได้ เป็ นรุ่นพี่เต็มตัวซักที เป็ นปี สุดท้ ายที่จะได้ ใช้ ชีวิต ในรั้วมหาลัยเป็ นปี สุดท้ าย ใจหายไม่น้อยเลยครับ ปี นี้ผมก็ร้ สู กึ ว่าอยากใช้ ชีวิตในรั้วมหาลัยให้ ค้ ุมที่สดุ จะตั้งใจท�ำในสิ่งต่างๆ ตั้งใจเรียนในสิ่งที่ตนเองชอบ ทั้งๆที่ตอนแรกเข้ ามาเรียนไม่ร้ ดู ้ วยซ�ำ้ ว่าคืออะไร ปี สี่ผมได้ มโี อกาส ท�ำงานประกวดสารคดีเชิง ข่าวส่งสิงสร้ างสรรค์ เรื่องจริงผ่านจอ ผมก็ได้ สานต่อผลงานชิ้นเดิมที่ผมได้ ทำ� ไว้ ในตอนการประกวดสายฟ้ าน้ อย นั้นก็คือ ปัญหาคนเร่ร่อนชาวต่างชาติผมก็ได้ หาจุกบกพร่องของผลงานชิ้นนี้ เพิ่มเติมแหล่งข้ อมูล และได้ ส่งผลงานชิ้นนี้ไปที่เรื่องจริง ผ่านจอ ปรากฏว่า ผลงานชิ้นนี้ ก็ได้ เข้ ารอบของภาคกลาง ผมจึงได้ ไป เก็บตัวกับค่ายสิงห์สร้ างสรรค์ และท�ำผลงานออกมาอีก หนึ่งชิ้น โจทย์เกี่ยวกับการเตือนภัยในที่สาธารณะ ผมจึงเลือกมองปัญหาของเครื่องเด็กเล่น เพราะว่าเครื่องเด็กเล่นใน
ชี วิตและความคิด 130
ประเทศไทยมีเครื่องเล่นอยู่มากมายที่ไม่ได้ มาตรฐานท�ำให้ เด็กต้ องเสียชีวิตมากมาย ตอนลงถ่ายท�ำก็ได้ เจอปัญหาที่ใหญ่ มากๆ เพราะแหล่งข่าวไม่สามารถให้ ข้อมูลได้ เท่าที่ควรและด้ วยเวลาที่มใี ห้ เพียงแค่ไม่ก่วี ันจะต้ องส่งผลงาน แต่ถงึ ยังไงก็ สามารถผ่านช่วงเวลานั้นมาได้ ถึงวันประกาศผล ผมก็ได้ เป็ น หนึ่งในแปดทีม ที่คัดมาจาก ยี่สบิ กว่าทีม แต่ถงึ ยังไงผมก็ไม่ได้ รางวัลอะไร แค่ได้ เป็ นหนึ่งในแปดทีมที่ได้ เข้ ารอบ แต่ผมก็ภมู ิใจว่าผมมาได้ เท่านี้กโ็ อเคแล้ ว เพราะเจอกับปัญหาต่างๆ มากมาย แต่กย็ ังร่วมแก้ ปัญหากับเพื่อนๆ และผ่านมาได้ อีกย่าง มหาลัยกรุงเทพ ก็ได้ กวาดรางวัลไปเยอะมากๆครับ ตอนนี้ผมก็เหลือเวลาอีกไม่ก่เี ดือนที่จะจบจากมหาลัยนี้ สิ่งที่ผมได้ จากมหาลัยก็คงเป็ นอะไรที่หาจากที่อ่นื ไม่ได้ อกี แล้ ว เพื่อนๆ ที่คอยอยู่ร่วมทุกข์ร่วมสุข ช่วยท�ำงาน ช่วยแก้ ปัญหา เป็ นที่ปรึกษา เวลามีปัญหามากมายประสบการณ์การจาก การท�ำงาน และได้ ฝึกงานในสถานที่ดดี ี มีอาจารย์ ที่คอยสอนในสิ่งต่างๆ คอยกดดันเวลาท�ำงานต่างๆ ก็ขอขอบคุณเพื่อนๆ ทุกๆคน ที่คอยอยู่เคียงข้ างมาตลอด และอาจารย์ท่คี อยสอนในเรื่องต่างๆที่ไม่สามารถหาอ่านในต�ำราหนังสือได้ ขอบคุณ มากๆครับ...
รางวัลสิงห์สร้ างคนทีวีปี 9 (บน) รางวัลหนังสั้นส่งเสริมการท่องเที่ยว จ.ฉะเชิงเทรา (ล่าง)
เรื่อง เรา เล่า 131
เรื่องราวในรัว้ สีม่วงส้ม คมกฤษ ทองค�ำ
“ พ่อกับแม่เป็นแรงขับเคลื่อนที่ส�ำคัญ ที่ท�ำให้ซากศพเดินได้คนนี้ยังคงตะเกียกตะกาย เดินหน้าต่อไป “
เมื่อพู ดถึง 4 ปี ที่มหาวิทยาลัยกรุ งเทพของเราคงเต็มไปด้วยเรื่องราวที่ทัง้ สุขทัง้ ทุกข์ผิดหวังและผิดพลาด แต่น่ันก็เต็มเปี่ ยมไปด้วยประสบการณ์และความรู ้ท่ีได้รับ แต่ถามว่าคุ้มไหมกับการต้องทนอยู ่และรอคอยวันที่จะจบ การศึกษาออกไป… ขอย้ อนไปไกลกว่า 4 ปี แล้ วกัน วันนั้นเราจ�ำได้ แม่นมากว่าเราจะเข้ ามาเรียนที่คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย กรุงเทพ ตอนนั้นมั่นใจมากว่าเราจะท�ำตามเส้ นทางที่เราวาดฝันไว้ คือเรียนในคณะนิเทศศาสตร์ เพราะเป็ นศาสตร์ท่เี ราชอบ แต่ปัญหาก็เกิดขึ้น เพราะเราไม่เคยรู้ว่าคณะนิเทศศาสตร์ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพมีท้งั หมด 7 สาขา เราก็เริ่มศึกษาแล้ วว่าจะ เข้ าสาขาอะไร และได้ ตดั สินใจว่าจะเข้ าศึกษาสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ แต่กย็ ังลังเลอยู่เพราะอีกใจหนึ่งก็อยากจะเข้ าภาค วิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ วันถัดมาเราจึงเดินทางมาสมัครกับแม่ท่มี หาวิทวิทยาลัย แต่ตอนจะกรอกเลือกภาค คนข้ างๆ เราก็เลือกภาควิชาการ ประชาสัมพันธ์ แต่คุณเธอเป็ นผู้หญิงที่ดูแรงและกร้ านโลกมาก บวกกับค่านิยมของคนนอกเวลามองนักศึกษามหาวิทยาลัย เอกชนก็จะรู้สกึ ว่าเป็ นเด็กเสี่ยหรืออะไรท�ำนองนั้น จ�ำได้ ว่าวินาทีน้ันเรารับไม่ได้ เลยเปลี่ยนใจกะทันหัน ถามรุ่นพี่ท่รี ับสมัคร ว่านอกจากภาควิชาการประชาสัมพันธ์และวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แล้ วมีอะไรที่เรียนคล้ ายๆ กับสองอันนี้บ้าง รุ่น พี่คนนั้นบอกว่า ถ้ าอย่างนั้นต้ องภาควิชานี้เลย เพราะน้ องจะได้ รับความรู้ท้งั การเขียนข่าว และการท�ำงานแบบคนทีวี และภาค วิชาที่พ่ีเค้ าแนะน�ำก็คือภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และหลังจากปลายปากกาเขียนชื่อภาค วิชานี้ลงไปจนตัวสุดท้ าย เส้ นทางชีวิตของเราก็เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง ‘เฟรชชี่’ ใครๆ ก็มกั จะเรียกเด็กปี 1 ว่าอย่างนั้น แต่ตอนนั้นเราเป็ นเด็กที่นิสยั ไม่ค่อยดีหรอก เอาแต่ใจและบ้ าแบ รนด์เนม การเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่งที่เข้ ามาส�ำหรับเราจากม.ปลาย ก็คือการที่เราได้ รับความอิสระในการใช้ ชีวิต ทั้งเรื่องการ แต่งกายและเสื้อผ้ าหน้ าผม เรามั่นใจว่าเราเก่งและไม่จำ� เป็ นต้ องแคร์ใครมาก และส่งผลกับความคิดเรา จ�ำได้ ว่าเรียน MG101 วิชาของอาจารย์พิมลพรรณ เชื้อบางแก้ ว และอาจารย์ส่งั งานให้ เขียนสรุปตอบค�ำถามท้ ายบท ตอนนั้นเหมือนจะ เขียนประมาณ 20 หน้ า เราก็ทำ� เสร็จและพรุ่งนี้เตรียมส่ง แต่จู่ๆ ได้ ข่าวว่าอาจารย์ต้องให้ ขดี เส้ นหน้ าและใครไม่ขดี ก็ไม่รับ เรา โมโหมาก เพราะว่าตอนแรกอาจารย์เค้ าไม่ได้ ส่งั แบบนี้ อยู่ๆ จะมาเปลี่ยนแบบนี้มนั ไม่ยุตธิ รรมเลย เราจึงไปทะเลาะกับ อาจารย์เค้ า ด้ วยความที่ตอนนั้นยังเด็กมาก เถียงแทบจะทุกค�ำ คือเถียงในมุมมองของเรานะ ผ่านไป 5 นาที เราก็ข้ เี กียจจะ เถียงเพราะคนมุงมาก รวมถึงอาจารย์อ้างถึงความเป็ นจุฬาเราเลยไม่ร้ จู ะเถียงไม่ทำ� ไม ก็เลยถอยออกมา สรุปก็คือต้ องมานั่ง ท�ำใหม่ภายในคืนนั้น และการเรียนวิชานี้ในเทอมนั้นเต็มไปด้ วยความอึดอัด เพราะโดนจิกทุกคาบ แต่เราคิดเสมอว่าอย่างไงก็ แล้ วแต่วิชานี้เราจะต้ องได้ A เราจะไม่ยอมแพ้ จึงตั้งใจอ่านวิชานี้เป็ นพิเศษ จนหมดการเรียนเทอมแรก พอเกรดเทอมแรก ออกมาได้ ดเี กินคาด ในใจตอนนั้นคิดว่า เฮ้ ย! อะไรกันท�ำไมได้ ขนาดนี้ ถือเป็ นรางวัลชีวิตแล้ วกันที่ต้งั ใจเรียน ผ่านมาเทอมสอง ไม่โอเคมากๆ เพราะเป็ นปี ที่นำ�้ ท่วม เทอมนั้นหยุดไป 5 เดือนได้ มีเรื่องที่ทำ� แบบมีสาระอย่าง เดียวคือเราก็ไปเรียนขับรถ (แต่พอคิดอีกที ท�ำไมเราไม่เอาเวลานั้นไปท�ำหน้ าหรือไปเรียนภาษาที่ต่างประเทศ) การเรียน เทอมนั้นเป็ นไปด้ วยความยากล�ำบาก เพราะเราไม่ชอบการเรียนผ่าน WebX (คือระบบการเรียนที่ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรารู้สกึ ไม่ได้ รับความรู้อย่างเต็มที่ เพราะบางช่วงการสื่อสารก็เหมือนจะขาดๆ หายๆ) รวมถึงต้ อง มาท�ำการบ้ านเทคโฮม ข้ อสอบเทคโฮมอะไรก็ไม่ร้ ู อยากบอกว่าเทอมนี้เป็ นเทอมที่น่าเบื่อสุดๆ เพราะทุกอย่างดูไม่ลงตัว ไม่
เรื่อง เรา เล่า 133
เป็ นระบบ การวัดผลไม่ชัดเจน ผลออกมาเกรดไม่ค่อยน่าเป็ นที่พึงพอใจนัก แต่กม็ เี รื่องที่สนุกๆ อยู่เหมือนกันก็คือ เราได้ เป็ น เชียร์ลีดเดอร์ของภาควิชาวารสารศาสตร์ มีเวลาซ้ อมเพียง 10 วัน เรากับเพื่อนๆ ที่พอจะมีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับ การเต้ นเชียร์ลีดเดอร์จึงคิดท่ากันเอง ผลตอบรับคือเราได้ ท่ี 1 แต่เสียดายที่ไม่มใี ครถ่ายวีดโี อไว้ หมดไปหนึ่งปี แบบรวดเร็ว แต่ยังไม่จบปี หนึ่งดีเพราะมีซัมเมอร์ อันนี้เราไม่พอใจมากๆ ตอนนั้น คือเราไม่สามารถลงวิชาอะไรได้ เลย แบบรู้สกึ ว่าชีวิต ไม่มคี วามยุตธิ รรมเอาซะเลย ต้ องมารอพี่ปีสูงๆ ลงก่อน แล้ วอย่างนี้จะเหลือให้ เราลงได้ อย่างไร ตอนนั้นเราคิดถึงขนาดอยาก ให้ มอปรับระบบการลงทะเบียน เพราะรู้สกึ แย่ท่เี ทอมหน้ าจะไม่มกี ารได้ แบ่งเบาภาระการเรียนเลย เอาเป็ นว่าจบสักทีปีหนึ่ง เวลาผ่านไปหนึ่งสัปดาห์กแ็ ล้ ว ก็เหมือนยังไม่ค่อยมีอะไรคืบหน้ า รวมทั้งรุ่นพี่กเ็ ริ่มแผลงฤทธิ์ แต่ใช่ว่าเค้ ามีคนเดียว เมื่อไหร่ ตอนนั้นเราไม่ยอม ใครร้ ายมาเราก็ร้ายตอบ เราไม่พอใจมาก สีหน้ าเราก็ออกนะ แต่กค็ ือท�ำหน้ าที่ในส่วนของตัวเอง ให้ มนั จบๆ จนแบบไม่ไหวละ เรากับเพื่อนๆ ก็เลยตัดสินใจไม่ไปท�ำแล้ ว เบื่อ ก็โดนด่าจากรุ่นพี่คนหนึ่ง ว่าจะมาทิ้งกันแบบนี้ ไม่ได้ นะ ประมาณนี้ เราก็คุยกับในกลุ่มได้ ข้อสรุปว่าพวกเราจะกลับไปท�ำให้ มนั จบๆ ไป และจะพยายามสงบปากสงบค�ำ ซึ่ง มันไม่เป็ นอย่างที่หวังไว้ เพราะเกิดเหตุการณ์ท่รี ่นุ พี่คนหนึ่งปรี๊ดแตกเรื่องอะไรก็ไม่ร้ แู ล้ วปาขวดน�ำ้ มาทางกลุ่มพวกเราซึ่ง ก�ำลังซ้ อมเต้ นอยู่ ความเยือกเย็นที่พยายามคุมความร้ อนทั้งหมดมันแตกสลายในทันที พอเริ่มเคลียก็เริ่มรุนแรง ตอนนั้นเรา ไม่สนหน้ าอินทร์หน้ าหน้ าพรหมแล้ ว รุ่นพี่กร็ ่นุ พี่ ก็เค้ าท�ำไม่ถูก เราก็เลยจัดไปชุดใหญ่ เค้ าก็จัดกลับเรามาชุดใหญ่เหมือนกัน แต่ไม่ใช่แค่เรานะที่ทะเลาะ เพื่อนคนอื่นก็ทะเลาะเหมือนกัน จนพี่ยุงประธานภาคเข้ ามาหยุดสงคราม และให้ น่ังเป็ นวงกลม เปิ ดใจ ซึ่งไอ้ การเปิ ดใจเนี่ยมันท�ำให้ ย่ิงแย่ เหมือนเป็ นการมาถามว่าท�ำไมไม่ชอบพี่ ถามมาอย่างนี้เราก็ตอบตามตรง ซึ่งมันก็ ยิ่งท�ำให้ อะไรมันแย่ลงไปอีก หลังจากนั้นตลอดสองสัปดาห์ได้ เชื่อว่าไม่มใี ครอยากมาซ้ อมอยากมาท�ำหรอก แต่กต็ ้ องท�ำ เพราะว่าลงเรือล�ำเดียวกันแล้ ว ก็ทนๆ ท�ำให้ มนั เสร็จ จนทุกอย่างผ่านพ้ น และความสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี่ร่นุ น้ องก็จบลงตามส เต็ป ฟังดูอาจจะแย่ หรือมันก็แย่จริงๆ เราก็ไม่ร้ เู หมือนกัน แต่เราก็ไม่ชอบก้ มหัวให้ อะไรก็ตามที่มนั ไม่ค่อยถูกต้ อง ผ่านมาจนขึ้นปี 2 ต้ องขอบอกว่าปี นี้เราตั้งใจไว้ แต่ต้นเทอมว่าเราจะท�ำให้ ได้ ทุนให้ ได้ เพื่อแบ่งเบาภาระพ่อแม่ เรา ตั้งใจเรียนมากกว่าปี 1 มาก เรียกได้ ว่าความทรงจ�ำในปี การศึกษานี้ของเรามีแต่เรื่องเรียนเป็ นหลัก เริ่มจากเทอมแรก จ�ำได้ ว่า ท�ำงานกลุ่มกับคนเก่งคนหนึ่งที่ช่ืออธิสตพร เธอเป็ นคนเรียนเก่งมากๆ และเป็ นคนที่ทำ� งานเนี้ยบ เรียกเป็ นภาษาบ้ านๆ คือ เธอเป๊ ะทุกกระเบียดนิ้ว เราชอบทุกอย่างที่เธอคิดเธอท�ำ เพราะมันถูกจริตในสายตาเราไปเสียหมด เราคิดในใจเลยว่า เราจะ ท�ำแบบเธอให้ ได้ นี่คงเป็ นอีกเหตุผลหนึ่งที่เป็ นสาเหตุให้ เราตั้งใจเรียนในเทอมนี้ แต่เหตุผลหลักๆ คือ พี่สาวเรารับปริญญา แล้ วคือตอนเย็นวันนั้นจะมีงานเลี้ยงประจ�ำครอบครัวก็เหมือนงานรวมญาติน่ันแหละ คือครอบครัวเราจบดีกนั หมด จุฬาฯบ้ าง ธรรมศาสตร์บ้าง แล้ วพี่สาวเราเรียนวารสารศาสตร์ ธรรมศาสตร์ คือชื่อวิชามันก็คล้ ายๆ กัน เพราะฉะนั้นแล้ วเนี่ยก็ต้องถูก เปรียบเทียบเป็ นธรรมดา เราไม่ได้ อายหรอกที่เราเรียกมหาวิทยาลัยเอกชน แต่เราเสียใจแทนพ่อกับแม่ท่ตี ้ องอายเพราะคน อย่างเรา บรรยากาศบนโต๊ะอาหารนั้นเต็มไปด้ วยความสุขและความยินดีกบั พี่สาว แต่อกี มุมเล็กๆ คือมีแต่ความอึมครึมของ เราที่ร้ สู กึ ด้ อยค่า เราจึงตั้งปณิธานเลยว่า เราจะต้ องได้ ทุน เราจะต้ องได้ 4.00 เพื่อพ่อกับแม่ ท�ำให้ ปีสองทั้งปี เราแทบจะไม่ทำ� อะไรนอกจากเรียนๆๆๆ ท�ำงานๆๆๆ กิจกรรมนี่แทบไม่ได้ ทำ� และผลการเรียนเป็ นที่น่าภูมใิ จมากๆ คือเราได้ 4.00 ทั้งสาม เทอม คือเทอม 1 2 และ ซัมเมอร์ และได้ ข้ นึ ไปรับทุนรางวัลเรียนดีท่อี าคาร A3 ถึงแม้ จะไม่ใช่ทุนเต็ม แต่กต็ ้ องบอกว่าเราก็ได้ มาด้ วยความสามารถ เราท�ำเต็มที่ๆ สุดแล้ ว รางวัลเรียนดีคือทุนที่ให้ สำ� หรับคนที่มเี กรดเฉลี่ยเป็ นอันดับ 2 ของแต่ละภาควิชา ปี สองนี้ผ่านไปอย่างหนักหนาสาหัสส�ำหรับเรา เพราะเหมือนเราใช้ พลังเกือบทั้งหมดในร่างกายทุม่ ไปกับการเรียน
ชี วิตและความคิด 134
ได้ ทุนเรียนดีในปี 3 แต่ยังไม่ทนั ได้ พักผ่อนการเรียนปี 3 ก็เริ่มขึ้น อันนี้ต้องขอเตือนอีกรอบเลยว่ามันเป็ นความจริงจากใจของเรา เพราะ ฉะนั้นอย่าได้ โกรธเคืองหรืออะไรเลย เริ่มกันเลยแล้ วกัน การเรียนปี สามเทอมแรกช่วงต้ นเทอมสักสองสัปดาห์แรกก็ไม่ค่อย เท่าไหร่หรอกเพราะให้ วิจารณ์ภาพยนตร์เรื่องต่างๆ ที่เราคิดว่าก็ดี ถ่ายสวย เป็ นอีกมุมมองและเป็ นภาพยนตร์ท่เี ราไม่เคยคิด จะดู แต่พอได้ ร้ จู ักกับค�ำว่า BJ และสารคดีเชิงข่าว ชีวิตของเราก็เปลี่ยนไปแบบหน้ ามือเป็ นหลังมือ เริ่มจากการเสนอประเด็น เสนออย่างไรก็ไม่ผ่าน เสนอไปเถอะ เสนอเข้ าไป คนที่ผ่านบางคนเราก็ไม่เข้ าใจนะว่าท�ำไมเค้ าถึงผ่าน เราไม่เข้ าใจเลยตอนนั้น คือรู้สกึ ท้ อแท้ จนกระทั่งอยากย้ ายภาค คิดจะย้ ายภาคไปปรึกษาหัวหน้ าภาคด้ วย แต่เสียดายที่เราคิดช้ าเพราะมันหมดเขตใน การย้ ายภาค ก็ต้องทนกันต่อไป พอเสนอผ่านกว่าจะเขียนบทผ่าน ลงพื้นที่แต่ละครั้งด้ วยความที่ไม่มปี ระสบการณ์จึงลงแล้ ว ลงอีกลงอยู่น่ัน จนแหล่งข่าวเค้ าเริ่มร�ำคาญ แต่โชคดีท่ไี ด้ ประเด็นไม่ไกลมาก กว่าจะเขียนบทได้ กว่าจะข้ อมูลครบ และกลุ่ม เราก็เป็ นกลุ่มสุดท้ ายที่เสร็จด้ วย โชคดีหรือโชคร้ ายก็ไม่ร้ ู จ�ำได้ ว่าวันสุดท้ ายที่ไปส่งประกวดที่สมาคมหนังสือพิมพ์ฯ เรานั่งอยู่ จนตี 4 แก้ งานอยู่น่ัน ไรท์แผ่นอีก ไม่ไหวเลยตอนนั้น รู้สกึ ชีวิตไม่โอเคมากๆ รวมถึงการรันสตูท่ไี ม่ได้ ร้ เู รื่องอะไรเลย อยู่ๆ ก็ ต้ องมารัน ท�ำผิดบ้ างถูกบ้ าง ความกดดันต่างๆ ที่ได้ รับท�ำให้ ทำ� ไม่ดนี ักหรอก แต่กใ็ ห้ มนั ผ่านๆ ไป เทอมนั้นเป็ นเทอมที่เราไม่ ค่อยประทับใจนัก ยังพักไม่ทนั หายเหนื่อย ด้ วยความที่ร่างกายมันล้ าตั้งแต่ปี 2 อันนี้เราไม่ได้ เวอร์นะ ต้ องมาต่อกับความหนักหน่วงอีก หนึ่งขั้นกับปี 3 เทอม 2 ปี นี้เต็มไปด้ วยอะไรแย่ๆ หลายๆ อย่าง เพราะได้ ทำ� สารคดีเชิงข่าว 3 เรื่อง และงานอื่นๆ อีกแบบนับ ไม่ได้ จ�ำได้ ว่ารู้สกึ แย่ต้งั แต่ต้นเทอม รวมถึงยังท�ำใจไม่ได้ ในหลายๆ เรื่อง เนื่องจากชีวิตไม่เคยต้ องถูกปฏิบตั แิ บบนี้ งานเทอม
เรื่อง เรา เล่า 135
นี้เหมือนเราจ�ำเป็ นต้ องรับบทหนักเป็ นพิเศษ หลายอย่างท�ำให้ เราเครียดมาก รวมถึงความเหนื่อยที่ต้องลงพื้นที่ๆ จ.ชลบุรียัง ดีท่มี เี พื่อนขับรถไปให้ ตอนนั้นเราไม่สบายมากๆ เจ็บคอไปหมด ตัวร้ อนเป็ นไข้ แล้ วก็ไม่ได้ นอน ต้ องตื่นมาตัดต่อสารคดี เนื่องจากต้ องส่งพรุ่งนี้ สภาพจึงไม่ต่างอะไรกับซากศพเดินได้ สกั เท่าไหร่ ยังดีมรี ่นุ พี่ช่ ือพี่บ๊กิ คอยช่วยให้ คำ� ปรึกษา ถ้ าขาดพี่ เค้ าไปเราก็แย่เหมือนกัน แต่ไม่ใช่แค่งานชลบรี เพราะยังมีสารคดีเชิงข่าวอีกตั้งสองเรื่องให้ ทำ� อาจารย์หลายคนหลายความคิดเค้ านู้นชอบ อย่างนี้คนนี้ชอบอย่างนู้น สรุปสารคดีสามเรื่องไม่ได้ มคี วามเหมือน ท�ำแตกต่างกันหมด เราก็เลยจับจุดไม่ค่อยถูก เราเลยท�ำ แบบที่เราคิดว่าโอเค ได้ เท่าไหนเท่านั้น เพราะเราก็ไม่ไหวจริงๆ รู้ไหมว่าเราเครียดมาก เครียดจนระบายกับที่บ้านตลอด จนที่ บ้ านเราก็เครียด ถึงขั้นพาเราไปพบจิตแพทย์ ได้ รับยามาทาน แต่เป็ นแค่ยาลดความดันระดับต�่ำนะ ไม่ใช่ยาคลายเครียดอะไร จิตแพทย์เค้ าก็แนะน�ำดีว่า เราเป็ นบุคคลประเภท perfectionist เราจะไม่ชอบและกลัวเวลาควบคุมอะไรไม่ได้ หมอจึงแนะน�ำ ว่าให้ เราลองไม่แคร์ ไม่สนใจบ้ าง ไม่ว่าคน สัตว์ สิ่งของ หรืองาน หมอบอกให้ เราลองไม่ส่งงานดู ดูสวิ ่าจะเป็ นอย่างไร ตอนนั้น เราจ�ำได้ เลยว่าเราตอบหมอว่า จะบ้ าเหรอ (ฮ่าๆ) แต่หลังจากนั้นเราก็ลองพยายามท�ำ แล้ วเราก็เริ่มพบว่าเราก็เริ่มมีความสุข ขึ้นเรื่อยๆ ไม่ต้องไปสนใจว่าใครจะคิดกับเราอย่างไร ไม่ต้องไปสนใจว่าคนอื่นจะเป็ นอย่างไร หรือแม้ กระทั่งไม่ต้องสนใจ ความรู้สกึ คนอื่น บางทีเราก็สงสัยว่าเราคนใหม่น้ ีกบั คนเดิมอะไรดีกว่ากัน เพราะหลังๆ เราเริ่มไม่สนใจความรู้สกึ ใครมากนัก หมดเทอมสองไปอย่ า งยากล�ำ บากจนถึง ข่ า วดี คื อ เราได้ ผ่ า นเข้ า รอบโครงการประกวดของการท่ อ งเที่ย วแห่ ง ประเทศไทย ได้ เปิ ดประสบการณ์ดๆ ี เราและทีมได้ ไปเกาะช้ าง จังหวัดตราด ได้ เที่ยวที่สวยๆ มากมาย ได้ เปิ ดประสบการณ์ ดีๆ ได้ ทำ� งานแข่งกับเวลา ยอมรับว่าไปแบบไม่มพี ลอตเรื่องอะไรเพราะต้ องการแค่ไปเที่ยวรวมถึงไม่มเี วลาจะมานั่งท�ำงาน ด้ วย เพราะว่าช่วงนั้นกลับมาก็ฝึกงานพอดี งานจึงออกมาได้ เท่าที่จะท�ำได้ ภายในช่วงเวลา แต่กภ็ มู ใิ จที่ได้ ทำ� เต็มความสามารถ ด้ วยทีมของเราเองตั้งแต่เริ่มเข้ าการประกวดจนจบ
เมื่อครั้งไปจังหวัดตราด เพื่อประกวดสารคดีทอ่ งเที่ยว
ชี วิตและความคิด 136
ปิ ดเทอมเป็ นช่วงฝึ กงาน ในการฝึ กงานได้ มโี อกาสไปฝึ กงานที่สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสชี ่อง 3 อสมท. ฝึ กงานที่ รายการโทรทัศน์รายการ “แจ๋ว” เป็ นรายการโทรทัศน์ท่เี น้ นกิน เที่ยว และให้ คำ� แนะน�ำในการประกอบอาชีพสร้ างรายได้ หลายคนอาจจะคิดว่าเอ๊ะเรียนสายข่าวมาท�ำไมมาฝึ กรายการแบบนี้ ตอบได้ เลยว่า รายการนี้ถงึ แม้ จะดูเหมือนไม่ใช่รายการ ข่าว แต่จริงๆ แล้ วมันเป็ นข่าวที่เพิ่มความบันเทิงลงไปด้ วย (พี่บก.เรียกว่า ข่าวแบบสาระบันเทิง) ซึ่งจะแตกต่างจากข่าวหนัก อย่างที่ทุกคนเคยชินกัน และอีกหนึ่งเหตุผลที่เลือกมาฝึ กงานที่น่ีคือชอบรายการที่เกี่ยวกับการพาชิมตามร้ านอาหารและพา เที่ยวตามสถานที่ต่างๆ ปัญหาและอุปสรรคจากการฝึ กงานแบ่งออกเป็ น 2 อย่าง อย่างแรกคือปัญหาเรื่องงาน โดยปัญหานี้ เกิดจากการพูดกันไม่ชัด ไม่เคลียร์ เกิดจากการที่เรายังด้ อยประสบการณ์ แต่ปัญหานี้สามารถแก้ ไขให้ ผ่านไปได้ ด้วยความ พยายาม อย่างปัญหาเรื่องการเขียนข่าว ที่บางครั้งเรายังเขียนไม่หลากหลาย ไม่น่าอ่าน จึงมีวิธกี ารเขียนแบบใหม่ๆ ที่ได้ รับค�ำ แนะน�ำจากพี่ๆ ทีมงาน ท�ำให้ เราสามารถก้ าวผ่านไปได้ ส่วนปัญหาที่สองเป็ นปัญหาที่ยากจะแก้ ไข ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องความหมั่นไส้ กนั บ้ างตามที่ฝึกงาน ซึ่งจริงๆ แล้ วทางเรา ก็แค่ พยายามที่จะแสดงศักยภาพออกมาให้ เห็นอย่ างเต็มที่ไม่ ได้ ต้องการที่จะไปท�ำให้ งานของทีมงานบางคนได้ ถูกน�ำมา เปรียบเทียบ แต่อย่างว่าใจคนไม่แน่ไม่นอน เราไม่สามารถไปบังคับหรือเรียกร้ องให้ เขามาเข้ าใจเรา เราก็พยายามท�ำตัว เหมือนเดิม จนสุดท้ ายเขาก็คงเข้ าใจเราและไม่ค่อยมีปัญหากับเราอีก ส่วนอีกหนึ่งปัญหาพิเศษที่เหมือนไม่ใช่ปัญหาก็คือเวลา ออกหมายแล้ ววันนั้นดันเป็ นหมายร้ านอาหาร 2-3 ร้ านติดๆ กัน จะเกิดปัญหาตรงที่ว่าแต่ละร้ านเขาก็จะน�ำอาหารมาเสิร์ฟ แบบจัดเต็ม จนเราไม่มที ้ องจะใส่ เรียกได้ ว่าอิ่มสุดๆ จนจะอ้ วก แต่กต็ ้ องทานให้ ได้ มากที่สดุ เพื่อที่จะไม่เป็ นการเสียมารยาท แต่กถ็ อื เป็ นอีกหนึ่งความสุขที่เราหาไม่ได้ จากการเรียน ถึงเวลาต้ องตื่นจากความฝันมาเรียนต่อกับปี 4 เทอม 1 เทอมนี้กเ็ ป็ นอีกเทอมที่เราก็ยังปรับตัวไม่ทนั เท่าไหร่ แต่ โชคดีท่ยี ังไม่หนักเท่าเทอมที่แล้ ว แต่ไม่ร้ สู ิ อาจเป็ นเพราะส่วนใหญ่กเ็ ริ่มมีของมีความรู้จากที่ฝึกงานหลายอย่างเปลี่ยนไป อาจ
ฝึ กงานที่รายการ แจ๋ว
เรื่อง เรา เล่า 137
เป็ นเพราะใกล้ จบแล้ ว ทุกคนเลยอยากที่จะก้ าวหน้ าจนลืมอะไรหลายๆ อย่างที่เคยผ่านมาด้ วยกัน แต่พูดมากไม่ได้ หรอก เพราะคนมันเปลี่ยนแปลงเสมอ ทุกคนมีเหตุผลของตัวเอง เราก็แค่ทำ� หน้ าที่ของเราให้ จบไป เพราะอีกไม่ก่อี ดึ ใจเราก็จะได้ เป็ นว่าที่บณ ั ฑิตกับเค้ าเสียที เพราะฉะนั้นปี 4 นี้ไม่ขอพูดอะไรมาก อยากส่งท้ ายเรื่องมากกว่า หลายเรื่องที่ผ่านมาเป็ นประสบการณ์ท่ที ้งั ดีและร้ ายปะปนกันไป บางครั้งเราร้ ายเค้ าดี บางครั้งเราดีเค้ าร้ าย มันก็เป็ น วิถขี องคน แต่อยากขอบคุณทุกอย่างที่ผ่านเข้ ามา ขอบคุณเพื่อน รุ่นน้ อง ครูผ้ ูประสิทธิประสาทวิชาให้ ก้าวมาถึงทุกวันนี้ ขอบคุณทุกความทรงจ�ำที่ทำ� ให้ เป็ นผู้ใหญ่ และที่สำ� คัญอยากบอกว่าพ่อกับแม่เป็ นแรงขับเคลื่อนที่สำ� คัญที่ทำ� ให้ ซากศพเดิน ได้ คนนี้ยังคงตะเกียกตะกายเดินหน้ าต่อไป และจะพยายามคว้ าเกียรตินิยมอันดับ 1 ให้ ได้ อ้ อเกือบลืมไป ค�ำถามช่วงแรกที่ เราถามว่ามันคุ้มค่าเหนื่อยไหม ตอบเลยว่า ไม่แน่ใจ แต่ถ้าถามว่าแนะน�ำน้ องให้ เรียนต่อไหม ตอบเลยว่าถ้ าน้ องอยากเรียน สายข่าวจริงๆ แบบมาจากจิตใจส�ำนึกจริงๆ แนะน�ำให้ เรียน น้ องจะได้ เรียนอย่างเข้ มข้ นกันเลยทีเดียว แต่ถ้าไม่ได้ ชอบไม่ร้ จู ะ เรียนอะไรหรือยังสับสนในตัวเองแบบพี่ตอนปี 1 อยากให้ น้องหันหลังกลับแล้ วไปกรอกภาควิชาอื่น หรือไม่กไ็ ปย้ ายภาคซะ ที่ พูดมาทั้งหมดไม่ใช่ไม่รักภาคนะ แต่อยากให้ ทุกคนได้ เจอในสิ่งที่ชอบ อะไรที่มนั ไม่ใช่กไ็ ม่อยากให้ เหมือนกับเราผู้ซ่ึงเคย ประสบพบเจอ
ชี วิตและความคิด 138
เรื่อง เรา เล่า 139
เรื่องราว เรื่องเล่า กับเราที่ BU อารยา แต้ไพบู ลย์ศักดิ์
“ ขอบคุณหลายๆคนที่ช่วยเหลือ ทัง้ ที่อยู ่กลุ่มเดียวกัน หรือต่างกลุ่ม เราก็ไม่รู้หรอกว่าเราท�ำอะไรให้ใครไม่พอใจรึป่าว ยังไงก็ต้องขอโทษเอาไว้ด้วยนะ ”
เราขอเล่าตัง้ แต่ก่อนเริ่มเข้ามาเรียนที่น่ี หลังจากที่ได้มีการประกาศผลแอดมิดชั่ นไป ก็ทราบว่าตนเองแอด ไม่ติด ก็เลยไปสมัคร BJM ซึ่ งเป็นวารสารอินเตอร์ของธรรมศาสตร์ เข้าฟั งค�ำแนะน�ำของมหาวิทยาลัยอัญสัมชั น (ABAC) และเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ยอมรับว่าตอนที่แอดไม่ติดสับสนมากว่าจะเรียนอะไรดี ไป ABAC ก็รู้สึกว่าที่น่มี ัน ใหญ่โตมาก ไม่เหมาะกับเราแน่ๆ และระหว่างที่ได้มาสมัคร BJM ครอบครัวเลยให้มาสมัครม.กรุ งเทพไว้ด้วยเลย ใจ อยากเรียนวารสาร หรือไม่ก็วิทยุ โทรทัศน์ เพราะชอบเขียน และชอบถ่ายภาพ พี่ท่รี ับสมัครก็เลยแนะน�ำให้เรียน วารสารศาสตร์ เพื่อวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ ก็เลยเลือกสมัครอันนี้ไป เพราะคิดว่าน่าจะได้ทงั้ 2 ทาง และ ก็ตกลงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หลังจากที่ผลสอบ BJM ไม่ผ่าน ก่อนเปิ ดเทอมที่มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ ระหว่างนัน้ รู ้สึกหนักใจมาก จากที่ได้ฟังจากคนอื่นๆเล่ามาว่าที่ม.กรุ งเทพมีแต่คนรวย หยิ่ง และเราคิดว่ามาเรียนที สาขานี้คนเดียวแน่ๆ ก็เลยหาเพื่อนตามกระทู้ในเด็กดี หาเพื่อนที่เรียนเซคชั่ นเดียวกัน ก็ได้เจอกับเพื่อนๆหลายคนเลย และมารู ้ทีหลังว่าแตงกวา(วศินี) อากาเนะ และอุ ่ม ก็มาจากโรงเรียนเดียวเหมือนกัน เริ่มต้ นปี 1 เทอม 1 ทุกคนในภาควารสารศาสตร์เรียนรวมกันหมด เป็ นช่วงเวลาที่ร้ สู กึ ว่าเราก�ำลังเริ่มต้ นใหม่ เจอ กับสิ่งใหม่ๆ เพื่อนใหม่ๆ ประสบการณ์ใหม่ๆ มีแต่ความสนุก รุ่นพี่บอกว่าปี 1 ควรตั้งใจเรียน เก็บเกรดให้ ได้ A จะได้ เป็ น ฐานในปี ต่อๆไป รู้ๆกันอยู่ว่าเด็กที่เรียนนิเทศฯนั้น ต้ องการที่จะหนีวิชาคณิตศาสตร์ แต่กห็ นีไม่พ้น ได้ เรียน 1 ตัว คือวิชา Stat ยอมรับจากใจว่ายากมาก พื้นฐานเดิมจากโรงเรียนเก่าก็เรียนสายศิลป์ ภาษามา หลังจากที่มกี ารสอบมิดเทอมผ่านไปของวิชานี้ ผลสอบออกมาไม่ดี รู้สกึ แย่มาก แต่ไม่ใช่เราคนเดียวที่แย่ อาจารย์ท่สี อนก็เลยเปิ ดติววันเสาร์ก่อนที่จะมีการสอบไฟนอล เราก็ ไปเข้ าร่วมด้ วย และตั้งใจเป็ นอย่างมาก คืนก่อนสอบฝึ กท�ำโจทย์และท่องสูตร เมื่อถึงเวลาสอบเครื่องคิดเลขดันมาพังตอนที่ ก�ำลังคิดข้ อสุดท้ าย รู้สกึ ซวยมาก เลยคิดเองไปเลย แต่ไม่ร้ วู ่าจะถูกหรือไม่ เมื่อประกาศเกรดก็ได้ B+ ก้ ดใี จ สมกับที่ต้งั ใจไว้ และพยายามฝี กท�ำโจทย์ ในเทอมนี้เคยโดดเรียนวิชากฎหมายครั้งหนึ่ง ไปกินอะไรสักอย่างที่ฟิวเจอร์ ตอนแรกตั้งใจว่าจะกลับมาเรียน เพราะ เวลาพักนานมาก แต่สดุ ท้ ายก็ไม่ได้ กลับไปเรียน เอาเพื่อนจากมหาวิทยาลัยอื่นเข้ ามานั่งเรียนด้ วย ประกอบกับวิชานี้ไม่มกี าร เช็คชื่อ คะแนนเก็บก็ทำ� เป็ นกลุ่ม 3 ข้ อ ขอสารภาพเลยว่าให้ เพื่อนที่เรียนกฎหมายโดยตรงเป็ นคนท�ำให้ เวลาสอบก็อ่าน หนังสือไปสอบอย่างเดียว อ่านไม่จบด้ วย สนุกสนานกันมาก เทอมนี้ได้ ทำ� คลิปแบบเกรียนๆลง Youtube 2 ตอน ตอนนั้นไม่ร้ ู วิธกี ารปรับกล้ อง วิธตี ดั ต่อ ก็ถ่ายก็ตดั กันไปมั่วๆ ท�ำกันเป็ นเรื่องเป็ นราว ไร้ สาระ แต่กม็ คี นดู ไม่ร้ วู ่าคนดูมาจากไหน และได้ เต้ นงาน English Funfair อายมาก แต่กต็ ้ องเต้ นเพื่อคะแนน เป็ นงานที่จริงจังนะ มีการซ้ อม กลับมาบ้ านก็ซ้อม ปี 1 เทอม 2 เป็ นภาวะที่เราหยุดยาวกันครึ่งปี เนื่องจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วม รู้สกึ สงสารม.กรุงเทพมากที่ต้องจมน�ำ้ เมื่อน�ำ้ ลด ที่มหาวิทยาลัยก็ได้ จัดกิจกรรม Cleaning Day ให้ นักศึกษาไปร่วมกันท�ำความสะอาด เราก็ได้ เข้ าร่วมด้ วยเช่นกัน มี แจกเสื้อตอนลงทะเบียน ได้ ไปขัดพื้นแถวๆบริเวณถนนหน้ าสนามบาส เหนื่อย ร้ อน แต่กส็ นุกดี ส่วนการเรียนการสอนใน เทอม 2 นั้น ระหว่างที่มหาวิทยาลัยยังคงจัดเตรียมอะไรไม่เสร็จสมบูรณ์ แต่ต้องเปิ ดเทอมแล้ ว จึงให้ เรียนผ่านระบบ WebEX ซึ่งจะคล้ ายกับ Skype เป็ นการรู้ท่สี นุกสนานมาก และได้ ความรู้น้อยมาก ไม่ค้ ุมกับค่าเทอมที่ต้องจ่ายเต็ม การเรียนผ่าน โปรแกรม WebEX มีข้อดีท่เี ชื่อว่าทุกคนต้ องชอบคือจะตื่นตอนไหนก็ได้ ออนไลน์ระบบเข้ ามาให้ ทนั ก็พอ แล้ วจะเปิ ด
เรื่อง เรา เล่า 141
โปรแกรมอื่นไว้ ด้วยก็ได้ จะกินข้ าวหน้ าจอคอมก็ได้ หรือไม่อาบน�ำ้ ก็สามารถเรียนได้ เลย สะดวกสบายที่สดุ แต่เป็ นการเรียน แค่ช่วงสั้นๆเท่านั้น ก็กลับไปเรียนในห้ องเรียนตามปกติ ในเทอมนี้มวี ิชาที่ชอบมากๆอยู่ 1 วิชา คือว่า CA102 เป็ นการเขียน เพื่อการสื่อสาร ส่วนตัวแล้ วเป็ นคนชอบเขียน และได้ ทำ� งานกับกลุ่มเพื่อนที่เป็ นคนเก่ง รู้สกึ ได้ ถงึ ความเป็ นระบบการท�ำงานที่ มีการวางแผน มีเป้ าหมาย และการเปิ ดโอกาสให้ แสดงผลงานได้ อย่างเต็มที่ และทุกคนก็ยอมรับมัน รู้สกึ ดีกบั ตัวรายวิชาและ เพื่อนๆ ส่วนวิชาที่เรียกได้ ว่าไม่ร้ จู ะจัดให้ มาลงเรียนท�ำไมคือวิชาที่ข้ นึ ต้ นด้ วย LB อย่างเทอมนี้เป็ น LB311 ปัจจุบนั ยังคาใจ อยู่ว่าท�ำไมตัวเองถึงได้ C ทั้งที่งานก็ส่งพร้ อมเพื่อน ตอนสอบปากเปล่า สอบเป็ นกลุ่มก็ตอบได้ ทั้งที่เพื่อนบางคนไม่โดนถาม แต่ว่าได้ เกรดมากกว่า แต่ตอนนี้ความรู้สกึ ไม่ได้ ตดิ ใจอะไรแล้ ว ยังมีการสอบแบบ Take Home วิชา JR200 ง่ายมาก แต่ร่นุ พี่ บอกว่ายาก ไม่เห็นจะยาก เทอมนี้กผ็ ่านไปแบบชิลๆ ไม่เครียด ปี 2 เทอม 1 ปี นี้กย็ ังไม่มอี ะไรมากนัก เนื่องจากยังคงมีวิชาที่ไม่ใช่แค่นิเทศฯผสมอยู่ด้วย และ LB อีก 2 วิชา ที่เรียน แล้ วปวดหัว ส่วนวิชาของภาคที่น่าสนใจก็จะเป็ น JR300 ที่เรียนกับอาจารย์บุบผา ซึ่งรุ่นพี่บอกว่าโหด พอเรียนแล้ วไม่เห็นจะ โหดตรงไหนเลย เรียนสนุก รู้เรื่องเข้ าใจ มีงานในห้ องเรียนทุกคาบเพื่อเป็ นคะแนนเก็บ และที่ดใี จมากคือ ได้ คะแนนเต็มคน เดียวในห้ องในการหาคุณค่าของข่าว และช่วงท้ ายๆเทอมอาจารย์กม็ หี ัวข้ อให้ ไปสัมภาษณ์นักข่าวจากส�ำนักข่าวไหนก็ได้ เลยมี โอกาสได้ ไปสัมภาษ์นักข่าวของคมชัดลึก ชื่อพี่แป๋ ม พี่เขาตอบค�ำถามได้ ดมี าก และปัจจุบนั การท�ำข่าวก็ส่วนใหญ่เป็ นในแบบที่ พี่แป๋ มบอกเมื่อ 2 ปี ที่แล้ ว เหมือนท�ำนายอนาคตอย่างไงอย่างงั้น กับวิชา JR301 การเขียนนิตยสาร ส่วนตัวชอบวิชานี้มากๆ ไปลงพื้นที่ไปหาข้ อมูลมาเขียนนิตยสารจริงๆ ครั้งนั้นไปที่ ปาลิโอ เขาใหญ่ เป็ นครั้งแรกที่ได้ ลงพื้นที่ต่างจังหวัด และเป็ นงานที่ ต้ องท�ำคนเดียว รู้สกึ สนุกมาก ร้ อน เหนื่อย และต้ องใช้ ความกล้ าเข้ าไปขอสัมภาษณ์ และตอนที่ปิดเทอมเดือนธันวาคม ก็ได้ จัดทริปไปต่างจังหวัดกับเพื่อนๆ ไปได้ ไกลมาก ไปกันถึงเชียงใหม่ ปี 2 เทอม 2 ในเทอมนี้มเี รียนวิชาถ่ายภาพ ซึ่งรอมานานมาก เมื่อไหร่จะได้ เรียน พอได้ เรียนแล้ วก็ร้ สู กึ ชอบนะ สนุก ดี รู้เทคนิดการถ่ายภาพเบื้องต้ น การปรับกล้ อง ต่างจากเมื่อก่อนที่เราไม่ร้ เู ลยว่าต้ องปรับอย่างไร แต่ตอนนี้กไ็ ด้ ร้ แู ล้ วว่ามัน ควรปรับแบบนี้ เพื่อใช้ กบั การถ่ายในงานที่แตกต่างกันออกไป ได้ เรียนวิชาที่เป็ นเอกของเราตัวแรก อย่าง JR440 ได้ ทำ� สกูป๊ ข่าวในมหาวิทยาลัยครั้งแรก การสอบของวิชานี้ได้ Top ที่ 1 ของเซค และได้ เรียนวิชาภาษาอังกฤษที่เป็ นการเขียนและการอ่าน
ไปสัมภาษณ์พ่ีแป๋ ม (เสื้อเขียว) ที่คมชัดลึก
ชี วิตและความคิด 142
ก็ชอบมากเหมือนกัน ได้ เขียนทุกๆอย่างเป็ นภาษาอังกฤษ เรียนสบายอีกแล้ ว เอากระดาษไปให้ เพื่อนๆช่วยพับนกเพื่อท�ำโปร เจควันเกิดของศิลปิ นเกาหลีท่ชี ่ืนชอบ และยังเป็ นเทอมที่บ้าศิลปิ นเกาหลีมาก วงไหนมาไปหมด ถึงกับไม่เป็ นอันสอบกันเลย เนื่องจากต้ องรีบไปสนามบินเพื่อรับศิลปิ น นั่งท�ำข้ อสอบด้ วยความรวดเร็วและรีบออกไปทันที เพื่อนๆก็ได้ แต่บอกว่า โชคดี นะ หรือแม้ แต่รีบออกจากมหาวิทยาลัยเพื่อไปดูงานแถลงข่าวที่สยามพารากอน ไปกับดิว (วาริธร โพยมรัตน์) วิ่งเข้ าไปซื้อ เก้ าอี้ท่พี ารากอน เพื่อเอามายืนดูศลิ ปิ น เพราะคนเยอะมาก ปี 2 เทอม 3 เทอมที่เรียนซัมเมอร์ เทอมนี้เรียนที่วิทยาเขตกล้ วยน�ำ้ ไทหมดเลยทั้งหมด 2 รายวิชา เรียนช่วง 6 โมง เย็น ถึง 3 ทุม่ อยากบอกว่าร้ านอาหารตามสั่งที่น่ีอร่อยมาก และที่น่ีกร็ ่มรื่น เป็ นสถานที่เล็กๆไม่กว้ างนัก เหมือนเรียนอยู่ โรงเรียน ปี 3 เทอม 1 เป็ นการเริ่มต้ นเรียนภาคปฎิบตั อิ ย่างจริงจัง รวมถึงการเรียนวิชาโทด้ วย วิชาโทเลือกเรียนภาควิชาวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เริ่มเปิ ดมาก็ส่งั งานเลยกับตัวที่เป็ น JR ยอมรับตรงนี้เลย งง ตกใจ อะไร สั่งเลย เร็วมาก จับ กลุ่มหาประเด็น เครียดกันทั้งกลุ่ม เพราะกลัวจะได้ ประเด็นช้ าแล้ วท�ำงานไม่ทนั ส่ง จนเป็ นกลุ่มรองสุดท้ ายที่ผ่านประเด็น ชื่อ เรื่อง ตู้โทรศัพท์สาธารณะ การท�ำงานเมื่อประเด็นผ่านแล้ ว มีการแบ่งหน้ าที่กนั อย่างลงตัวและชัดเจน ในกลุ่มมี หมิว (นันท วัน คุ้มวงษา) ขวัญ (รังสิมากาญจนเกตุ) ตั้ก (เกวลิน สุวรรณดี) อาย (ทิพยรัตน์ มาสาซ้ าย) มีการประสานงานที่แม่นย�ำ ทุก คนมีส่วนร่วมในการท�ำงาน ท�ำให้ ได้ ภาพตามที่ต้องการ ก็ร้ สู กึ สนุกดีนะ พอเรามองจากมุมของเด็ก ปี 4 ที่กำ� ลังจะเรียนจบ ตอนนั้นเราท�ำอะไร ไม่ร้ เู รื่องอะไรเลย วิชา English Speaking for Communication Arts เป็ นวิชาที่สดุ ๆไปเลย อาจารย์ต่าง ชาติให้ จับกลุ่มท�ำละคร ต้ องมีการแต่งตัวแต่งหน้ า และที่สำ� คัญแสดงเป็ นภาษาอังกฤษ ชอบนะ ตัวเราเองเป็ นคนแปลบทเป็ น ภาษาอังกฤษ และก็จะมีคนเขียนร่างบทเป็ นภาษาไทยมาให้ วันที่แสดงก็ถ่ายที่ตกึ SAC สีสนั สดใส แต่ว่าร้ อนมาก การถ่ายท�ำ ผ่านไปด้ วยดี การแต่งตัวแต่งหน้ ายังไม่หมดแค่วิชานี้ ยังมีวิชาผู้ประกาศอีก เรียนกับอาจารย์พ่ีก๊ฟิ อาจารย์น่ารักมาก สอน สนุก ไม่เครียดเลย ได้ ลงมืออ่านข่าวจริงๆในสตูดโิ อ เราก็ได้ อ่านข่าวคู่กบั เมย์ (มาลินี วรรณทอง) เมย์เป็ นคนที่เก่งมาก ก็เลย ให้ เมย์ช่วยสอนออกเสียง เมย์ให้ กำ� ลังใจเต็มที่ว่าท�ำได้ แน่นอน วันสอบอ่านจริงก็ผ่านไปด้ วยดี สอบเสร็จไปกิน Sam ที่ซอยหอ ต่อ หน้ าตาก็ไม่ได้ ลบ ต้ องขอบคุณขนตาปลอมของขวัญด้ วยที่เอื้อเฟื้ อให้ ส่วนวิชาโทคือ BR200 ที่เขาว่ายากกันนักหนา แต่ก ็ ยากจริงๆแหละ กับ BR303 วิชาที่เรียนสบายมากที่สดุ อาจารย์กน็ ่ารัก ให้ ดูหนังเกือบทุกคาบ แอร์กเ็ ย็น ง่วงด้ วย แต่ไม่หลับ นะ ตอนสอบมิดเทอมวิชานี้ง่ายมาก เนื้อหาที่เรียนมีน้อยด้ วย ในเทอมที่ 1 ช่วงที่เกือบจะปิ ดเทอม เราก็ประสบอุบตั เิ หตุรถชน ตอนนั้นเป็ นวันเสาร์ซ่ึงก�ำลังจะออกไปสอบวิชาผู้ ประกาศ เราก็ขาหัก 2 ท่อนหน้ า 1 ท่อนหลัง ไม่เจ็บ แต่ว่าปวดๆร้ อนๆที่ขา ไม่กลัวนะว่าจะเป็ นอะไรรึเปล่า เพราะหมอบอก ว่ายังไงก็ต้องผ่าตัด ระหว่างที่ส่งตัวไปโรงพยาบาลก็ยังมีสติดี โทรรายงานเพื่อนและอาจารย์ว่าขาหัก คงไปสอบไม่ได้ แล้ ว อาจารย์กใ็ ห้ กำ� ลังใจ รักษาตัวให้ หายก่อน เย็นวันนั้นเพื่อนๆก็มาเยี่ยมที่โรงพยาบาล แถมขวัญยังเอาขนตามาให้ อกี เพื่อนๆ น่ารักเป็ นก�ำลังใจให้ ตลอด ก�ำลังใจดีมาก ก็นอนรอผ่าตัดอยู่ 1 สัปดาห์ ขาดเรียนไป 1 เดือนเต็ม ซึ่งเพื่อนๆก็เอาใบลา กับ ใบรับรองแพทย์ไปยื่นให้ กบั อาจารย์แต่ละรายวิชา ตอนนั้นวิชา BR200 ให้ แต่งชุดไทย ถ่ายภาพแล้ วก็บรรยายเกี่ยวกับอะไร สักอย่าง แต่จำ� ไม่ได้ เราก็ถ่าย ใส่ชุดไทยสีฟ้า ขาใส่เฝื อก ถ่ายรูปส่งอาจารย์ เพราะคะแนนส่วนนี้ 10 คะแนนถือว่าเยอะมาก เพื่อนๆกดไลค์กนั ใหญ่เลย เป็ นที่ฮือฮา เมื่อถึงเวลาสอบก็ไปสอบได้ ทนั เพราะขอหมอถอดเฝื อกก่อน ไม่ง้นั ไปสอบไม่ได้ สอบห้ องพิเศษ สอบคนเดียว แต่ไม่เหงา เพราะพักเที่ยงเพื่อนก็มาเยี่ยมที่ห้องเสียงดัง จนอาจารย์ท่หี ้ องต้ องไล่ให้ ออกไป ปี 3 เทอม 2 ขาก็ยังไม่หายดี ต้ องใช้ ไม่คำ�้ เดินไป เป็ นช่วงเวลาที่ลำ� บากมาก แต่เพื่อนๆน่ารักนะ ช่วยเหลือตลอด เทอมนี้เป็ นเทอมที่ผลิตผลงานทั้งหมด 3 เรื่อง 3 รายวิชา ตัวแรก JR443 กลุ่ม 3 คน ประกอบด้ วย หมิว และขวัญ เพื่อส่ง โครงการสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี9 ไปถ่ายท�ำกันถึงจังหวัดอุทยั ธานี ขาก็ยังไม่หาย แบกไม้ คำ�้ ไปด้ วย ได้ พ่อของขวัญขับรถให้
เรื่อง เรา เล่า 143
ประสบอุบตั เิ หตุขาหักตอนปี 3 พอไปถึงสถานที่ทำ� งานก็ไม่ได้ ใช้ ไม้ คำ�้ เพราะไม่สะดวก เลยต้ องพยายามเดินธรรมดา ฝึ กเดินไปด้ วยเลย สนุกดี น้ องๆ และ ชาวบ้ านให้ ความร่วมมือ และเราทั้ง 3 คน ไม่คิดว่าจะได้ มาท�ำงานไกลขนาดนี้ ถือเป็ นประสบการณ์ท่ดี มี าก เรื่องที่ 2 JR302 เป็ นการท�ำสกูป๊ ข่าว และ JR305 เป็ นการท�ำข่าวเชิงสืบสวน สอบสวน พอมานั่งคิดดูแล้ ว เทอมนี้เรางานหนักมาก ไม่ค่อยได้ หยุดเลย งานหนักมากจริงๆ เหนื่อย แต่หยุดไม่ได้ ไหนจะวิชาโทอีก 2 ตัว แต่กไ็ ม่ยาก เรียนสนุก อาจารย์น่ารัก วิชา BR301 เป็ นวิชาเขียนบท บททุกอย่างที่เป็ นบรอดแคสฯ ส่วนตัวเป็ นคนชอบเขียนอยู่แล้ ว อาจารย์ให้ เขียนละครโทรทัศน์จากข่าวที่จับ หมายเลขได้ ในห้ องเรียน เรื่องนี้กถ็ นัดอยู่แล้ ว เพราะในกลุ่มจะมีละครประจ�ำกลุ่ม ที่เป็ นละครอมตะไม่เคยเล่าจบ ในกลุ่มทุก คนจะเล่าเรื่องนี้ได้ และต่อบทกันได้ ไม่มพี ลาด เป็ นเรื่องราวฮาๆที่เกิดขึ้นจากการกินข้ าวที่โรงอาหารหน้ าคณะวิศวะ และก็ ลากยาวมาจนถึงปัจจุบนั เทอมนี้เป็ นเทอมที่ไม่ได้ คาดหวังอะไร แต่กผ็ ่านเข้ ารอบโครงการสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี9 เป็ น 1 ใน 24 ทีมที่ได้ ไปเข้ าค่ายเก็บตัวท�ำสารคดีเชิงข่าวทางโทรทัศน์ และเทอมนี้กไ็ ด้ Run Studio เป็ นครั้งแรก ส่วนเพื่อนๆเคยท�ำกัน มาแล้ ว เราก็ไม่ร้ วู ่าต้ องท�ำยังไง ก็ได้ แต่ทำ� หน้ าที่ของตัวเองให้ ดที ่สี ดุ แล้ วก็ผ่านมันมาได้ ด้วยดี ระหว่างปิ ดภาคเรียนได้ มี โอกาสไปฝึ กงานกับบริษัทบางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้ น จ�ำกัด (มหาชน) หรือช่อง3 เป็ นโอกาสที่ดมี ากๆ ได้ เรียนรู้อะไรหลายๆ อย่าง การเลือกข่าว เขียนข่าวการตัดต่อ หรือแม้ แต่การได้ เพื่อนใหม่ต่างสถาบัน ปี 4 เทอม 1 ต้ องเรียน JR309 ซึ่งเป็ นโปรเจคจบ ท�ำให้ ร้ วู ่าขั้นตอนการผลิตรายการ 1 รายการมีข้นั ตอนอย่างไรบ้ าง โดยมีอาจารย์โบว์ (ภัทราวดี ธีเลอร์) เป็ นที่ปรึกษาในครึ่งเทอมแรก ในส่วนของบทที่ 1 และ 2 บทที่ 1 กว่าจะผ่านไปได้ ต้อง แก้ ถงึ ประมาณ 3 – 4 รอบ ส่วนบทที่ 2 เน้ นการจัดหน้ าเป็ นหลัก และมีจำ� นวนหน้ าเยอะมากที่สดุ ปริ้นไปส่งทีกระดาษที่บ้าน หมดเลย แถมหมึกก็ต้องไปซื้อมาเปลี่ยน หลังๆจึงเริ่มไปปริ้นที่หอสมุดพร้ อมเพื่อนๆ มันเร็วกว่าเยอะ ส่วนครึ่งเทอมหลังของ วิชานี้เป็ นส่วนของโปรดักส์ช่ัน เราก็ได้ เอาเพื่อนๆที่พอมีเวลาว่างไปช่วยถ่าย เพราะถ่ายคนเดียวก็คงไม่ไหว ซึ่งมี ใหม่(คม กฤษ ทองค�ำ) ตุ้ม(บุญรัตน์ ทิตอร่าม) หมิว ขวัญ และดิว ช่วยกันลงพื้นที่ในการถ่ายท�ำ โดยการควบคุมโปรเจคของอาจารย์ เก็ท และในเทอมนี้กต็ ้ องไปเข้ าค่ายโครงการสิงห์สร้ างสรรค์ โดยก่อนที่จะมีการเข้ าค่าย ทางโครงการจะแจกหัวข้ อหลักของ เรื่องที่จะต้ องผลิตมาให้ และคิดประเด็นไปเสนออีกครั้งหนึ่ง เมื่อประเด็นผ่านแล้ วก็เขียนร่างบทเพื่อส่งกลับไปอีก 1-2ครั้ง ก่อนวันเข้ าค่ายจริง ทางกลุ่มของเราก็ได้ ทำ� เรื่องคอนเทนเนอร์มรณะ การถ่ายท�ำเป็ นไปด้ วยดี มีตดิ ขัดบ้ างเล็กน้ อย คือขาตั้ง กล้ องเราไม่มี โดนแหล่งข่าวปฎิเสธเมื่อไปถึงสถานที่แล้ ว ถือว่าเป็ นครั้งแรกที่โดนปฎิเสธ แต่กม็ ีการปรับแก้ กนั ได้ สุดท้ ายการ
ชี วิตและความคิด 144
Export ส่งงานวันสุดท้ าย เกิดปัญหาท�ำให้ เครียดกันทั้งกลุ่ม แต่กผ็ ่านไปได้ ด้วยดี เพราะทุกคนรู้หน้ าที่ท่จี ะต้ องท�ำ เมื่อวัน ประกาศผลมาถึง ซึ่งก็ไม่ได้ คาดหวังอะไรอยู่แล้ ว รางวัลแรกคือเขียนบทยอดเยี่ยม ภูมิใจมาก เมื่อลงเวทีรับรางวัลมาได้ สกั พัก ก็ได้ ยินประกาศชื่อทีมได้ รางวัลตัดต่อยอดเยี่ยมอีกครั้ง เมื่อประกาศผลเข้ ารอบ 8 ทีมสุดท้ าย ก็ตดิ 1 ใน 8 ทีม สุดท้ ายได้ รางวัลชนะเลิศมาแบบงงๆ แต่กด็ ใี จ เป็ นการเปลี่ยนแปลงในชีวิตที่ไม่ได้ คาดหวังอะไรไว้ ล่วงหน้ า ได้ ไปดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น ได้ ผลิตผลงานร่วมกับรายการเรื่องจริงผ่านจอ ถือเป็ นประสบการณ์ท่มี คี ่ามากๆในชีวิต เทอมนี้กม็ วี ิชาที่เรียนไม่เข้ าใจคือ JR306 ข้ อสอบก็ทำ� ไม่ได้ ตอบตามความเข้ าใจที่มี แต่ผลสอบออกมาได้ น่าประทับใจมาก ไม่อยากจะเชื่อ ต้ องขอขอบพระคุณ อาจารย์ณรงศักดิ์ท่เี มตตา ในช่วงท้ ายๆเทอมจะมีการส่งประกวดสายฟ้ าน้ อย จึงต้ องแปลงบทโทรทัศน์ให้ เป็ นบทวิทยุ ซึ่งใน เทอมนี้เรียนการเขียนบทวิทยุ ซึ่งก็ไม่เคยท�ำมาก่อน ก็ต้องศึกษาเอาจากบทวิทยุเก่าๆ รูปแบบการเขียน และน�ำมาปรับใช้ ส่วนวิชาโทเป็ นวิชาสุดท้ ายแล้ ว อาจารย์กป็ ล่อยชิลมาก สามารถไปถ่ายงานอื่นได้ โดยถ่ายรูปมาแจ้ ง หรือมีใบรับรองมายื่น เทอมนี้ต้องขอขอบคุณเพื่อนๆทุกคนมากที่ช่วยเหลือกันมาตลอดจนจบปี 4 เทอม 1 ปี 4 เทอม 2 ตอนนี้เพิ่งเริ่มต้ นเทอมเท่านั้น งานก็ตามนั้นแหละ ส่วนใหญ่เป็ นงานกลุ่มที่ต้องพึ่งพาอาศัยกัน จะได้ จบไปพร้ อมๆกัน พอเราเรียนมาถึงตรงนี้แล้ ว อยากบอกว่าการลงทะเบียนเรียน ได้ ลงเองไม่ก่คี รั้ง นอกนั้นเพื่อนลงให้ หมด เลย อยากขอบคุณมากๆที่ช่วยลงให้ ไม่ใช่ว่าลงไม่ทนั แต่ทำ� ไม่เป็ น ถึงแม้ เวลาจะผ่านไปเร็วมากในเทอมนี้ อีกไม่ก่สี ปั ดาห์เราก็จะเรียนจบปริญญาตรีกนั แล้ ว ต่างคนก็ต้องแยกย้ ายกัน ไปท�ำตามความฝัน 4 ปี ที่ BU มีท้งั ความสนุกสนาม ความเครียด ร้ องไห้ บ้าง และยังมีเรื่องยิบย่อยอีกเยอะ ไม่ว่าจะเป็ นเวลามี เรียนเช้ า เพื่อนที่มาพร้ อมกันประจ�ำก็เป็ น ตั้ก ตั้กก็จะไปยืนรอเข้ าห้ องน�ำ้ ประจ�ำเลย เพราะเราชอบปวดท้ องตอนเช้ า ขอบคุณ หลายๆคนที่ช่วยเหลือ ทั้งที่อยู่กลุ่มเดียวกัน หรือต่างกลุ่ม เราก็ไม่ร้ หู รอกว่าเราท�ำอะไรให้ ใครไม่พอใจรึป่าว ยังไงก็ต้อง ขอโทษเอาไว้ ด้วยนะ
เรื่อง เรา เล่า 145
พัฒนาการของฉัน รชาดา นวลจันทร์
“ ฉันยอมรับเลยว่าฉันเขียนข่าวได้ห่วยมาก ห่วยกว่าเพื่อนคนอื่นๆ แต่ก็ยังพยายามต่อไป ”
ปี 1 เฟรชชี่ น้องใหม่คณะนิเทศศาสตร์ ภาควิชาวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ท่ียัง ไม่รู้จักใครเลยและไม่ค่อยรู ้ระบบอินเตอร์เน็ตของทางมหาวิทยาลัยซั กเท่าไร เวลาจะส่งงานในบางวิชาก็จะพลาดใน หลายๆครัง้ เพราะความไม่รู้ว่าอาจารย์เขาสั่งงานใน BULMS ฉันค่อนข้ างเป็ นคนที่ไม่ค่อยสนใจและติดตามงานซักเท่าไรเหมือนยังไม่มีจุดหมายในชีวิตว่าจะด�ำเนินชีวิตอย่างไร ในมหาวิทยาลัย เป็ นนักศึกษาคนหนึ่งที่ไม่เข้ ากิจกรรมเลย แต่กย็ ังมีชมรมเหมือนคนอื่นเขานะคะ กิจกรรมอื่นที่ทำ� ก็คือการท�ำ กิจกรรมสะสมเพชร ในการเรียนในห้ องแรกๆก็ต้งั ใจเรียนดีแต่หลังๆรู้สกึ เบื่อว่าท�ำไมตอนเรียนมัธยมไม่เห็นเป็ นอย่างนี้เลย ไม่เคยรู้เลย ว่าการเรียนนิเทศศาสตร์ต้องเรียนวิชากฎหมายด้ วยหรอวิชานี้เป็ นวิชาที่ฉันไม่ถนัดเลยแต่มีอยู่วิชาหนึ่งที่ฉันได้ เกรด A คือวิชา สถิติ วิชานี้เป็ นวิชาที่สนุกและตั้งใจเรียนในห้ องมากกว่าวิชาอื่นๆ และนอกจากนี้วิชานี้แหละที่ฉันรอคอยที่จะเรียนคือเกี่ยวกับ นิเทศศาสตร์โดยตรงฉันไม่คิดเลยว่ามันจะยากขนาดนี้ อาจารย์พูดหรือสอนอะไรมาฉันงง สับสน ว่าฉันมาเรียนถูกสายหรือ เปล่า รู้สกึ ยามาก ณ ตอนนั้น เทอมแรกผลสอบออกมาเกรดเฉลี่ยรวมออกมาแค่ สองกว่าๆ รู้สกึ เบื่อว่าท�ำไมเกรดออกมาน้ อย ขนาดนี้ เปิ ดเทอมมาก็ต้งั ใจเรียนแต่กย็ ังท�ำนิสยั เดิมๆอยู่ แต่เทอมนี้มีการเรียนการสอนแบบผ่านอินเตอร์เน็ตคือเราจะเรียน ผ่านหน้ าจอคอม เหมือนกับการเฟซไทม์คุยกันและอาจารย์กจ็ ะสั่งงานผ่านทางนั้น และก็ยังมีวิชาอังกฤษแต่ต้องท�ำ Tell Me More ด้ วยคือต้ องท�ำแบบฝึ กหัดในห้ องคอม จะมีให้ ฝึกพัฒนาการทางด้ านการพูด การฟัง การอ่าน ซึ่งเป็ นแบบฝึ กหัดที่น่า สนใจและสนุกมาก อีกวิชาหนึ่งที่ชอบและสนุกกับมันคือวิชาภาษาอังกฤษ อาจารย์ผ้ ูสอนใจดีมากและสวยสอนเข้ าใจ ชอบตรงที่อาจารย์ ชอบให้ อ่านประโยคในหนังสือให้ หัดออกเสียงซึ่งเป็ นอะไรที่ฉันชอบและถนัดอยู่แล้ วมีกจิ กรรมมาให้ ทำ� กับเพื่อนๆเยอะแยะ เต็มไป และวิชาการจัดการเป็ นอีกวิชาหนึ่งเหมือนกันที่ไม่คิดว่าเรียนนิเทศศาสตร์เนี่ยต้ องมาเรียนการจัดการด้ วยหรอ เรียน ไปท�ำไม ใช้ ทำ� อะไร และวิชานี้กจ็ ะสั่งงานผ่าน BULMS วิชานี้แหละที่ฉันตามงานไม่ทนั และต้ องรีบปั่นงานก่อนจะส่งให้ อาจารย์ อีกวิชาหนึ่งในเทอมนี้คือวิชา JR ตัวแรกของฉัน รู้สกึ ตื่นเต้ นมากที่จะได้ เรียนอะไรที่เกี่ยวกับข่าวซักที จะได้ ร้ ซู ักที ว่าที่มาเรียนอยู่น้ ีฉันจะชอบหรือไม่ชอบ พอเข้ าคลาสอาจารย์เขาก็แนะน�ำตัวและก็บอกว่าการเป็ นนักข่าวต้ องอ่านหนังสือพิมพ์ เยอะๆและดูข่าวเยอะๆ และต้ องเป็ นคนช่างสังเกต ซึ่งในตัวของฉันแทบจะไม่มเี ลย ชีวิตประจ�ำวันดูข่าวอ่านหนังสือพิมพ์บ้าง แต่ไม่ได้ ชอบเป็ นชีวิตจิตใจซะทีเดียว คิดในใจว่ามันไม่ใช่แล้ ว นี่ฉันมาเรียนคณะอะไรเนี่ย ช่างไม่ใช่ตวั เองเลย และอึดอัดมาก ยิ่งถ้ าอาจารย์ให้ ออกไปรายงานอะไรหน้ าห้ องฉันจะตื่นเต้ นมากและไม่อยากออกไปรายงานเลย เกรดของเทอมนี้น่าพอใจมาก เพราะได้ เกรดเฉลี่ยถึง 3.40 เลยทีเดียว ปี 2 เริ่มต้ นเทอมแรกก็เรียนตามปกติวิชาแรกที่เจอก็คือวิชาภาษาอังกฤษ แต่ไม่ได้ ง่ายเหมือนปี ที่แล้ วเลยซึ่งฉันไม่ ถนัดเพราะอาจารย์ให้ ทำ� แบบฝึ กหัดที่ยาก และวิชาการใช้ เหตุผลฉันไม่ชอบยิ่งเรียนยิ่งไม่เข้ าใจ และไม่เข้ าใจว่าเรียนไปท�ำไม เกี่ยวกับนิเทศศาสตร์อย่างไร
เรื่อง เรา เล่า 147
พัฒนาการของฉันในตอนนี้ไม่ได้ ต่างจากปี หนึ่ง ซักเท่าไรยังคงเป็ นเด็กคนเดิมที่ไม่ค่อยสนใจอะไร ไม่ตดิ ตามอะไร ยังมีอกี วิชาหนึ่งเป็ นวิชาการวิจัยอะไรซักอย่าง ซึ่งการที่ฉันงงแล้ ว ก็ย่ิงงงเข้ าไปใหญ่ว่าเรียนไปท�ำไมเมื่อไรจะเข้ าการเรียนของ ภาควิชาซักที บ่นแล้ วบ่นอีก ในที่สดุ ฉันก็ได้ เรียนวิชา JR อีกครั้งจ�ำได้ แม่นเลยว่าอาจารให้ เขียนข่าวและรายงานข่าวหน้ าห้ อง ฉันตื่นเต้ นอีกครั้ง การเขียนข่าวจะเขียนยังไง และเขามีข้นั ตอนอะไรบ้ าง อาจารย์กไ็ ด้ สอนว่าต้ องเขียน Lead ข่าวก่อนนะ ถึงจะ เริ่มเขียนเนื้อเรื่อง คือการเขียนข่าวก็ต้องใช้ ความช�ำนาญด้ วยถึงจะเขียนได้ ดี ฉันยอมรับเลยว่าฉันเขียนข่าวได้ ห่วยมาก ห่วย กว่าเพื่อนคนอื่นๆ แต่กย็ ังพยายามต่อไป และได้ เรียนการท�ำนิตยสารส่งอาจารย์ดฉิ ันเลือกท�ำนิตยสารท่องเที่ยว จังหวัดตราด เกาะช้ าง ขั้นตอนในการท�ำนั้นค่อนข้ างยาก แต่กส็ ำ� เร็จไปด้ วยดีและมีการเรียนการพูดจัดรายการ ได้ เรียนภาษาอังกฤษอีกแล้ วเรียนนิเทศศาสตร์ต้องเรียนภาษาอังกฤษเยอะขนาดนี้เลยเหรอคะและยิ่งเรียนไปก็ย่ิง ยากขึ้นๆเป็ นล�ำดับ รู้สกึ ไม่มีความสุขเลยเพราะเกรดก็ออกมาไม่ดี ยิ่งเรียนยิ่งเครียด และเทอมนี้วิชากฎหมายก็มาอีกแล้ ว ปวดหัวค่ะ เรียนคณะนี้ต้องมีกฎหมายด้ วยเหรอคะ ปี 1ก็เรียนไปแล้ ว ปี สองก็ต้องเรียนอีกแล้ วและก็ยากกว่าปี 1 เกรดก็ออก มาแย่กว่าเดิมเพราะฉันไม่ชอบก็จะไม่สนใจเลย วิชานี้ไม่เช็คชื่อก็เลยไม่เข้ าเพราะไม่ชอบ ฉันค่อนข้ างที่จะเป็ นคนโลกส่วนตัว สูงถ้ าอันไหนไม่ชอบก็จะไม่ฝืนต่อไปผลคะแนนก็เลยออกมาแย่ และก็ได้ เรียนวิชา JR อีกสองตัวค่ะซึ่งท�ำให้ ฉันรู้ว่าการเป็ นนัก ข่าวต้ องมีการเป็ นผู้มบี ุคลิกอยากรู้อยากเห็นผู้ส่อื ข่าวอาจเปรียบเทียบได้ กบั นักสืบ คือ เมื่อมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นย่อมมีความ อยากรู้อยากเห็น สงสัย และสนใจในรายละเอียดต่าง ๆ ของข้ อเท็จจริงที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ ผู้ส่อื ข่าวต้ องเป็ นคนช่างสังเกตใน รายละเอียดปลีกย่อย มีความรอบคอบ พิถพี ิถนั ในการสังเกตรายละเอียดเล็กๆ น้ อยๆ ของข้ อเท็จจริงในเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้น ไม่ละเลยหรือมองข้ ามรายละเอียดหลักหรือส�ำคัญ การมีความไวต่อข่าว ผู้ส่อื ข่าวที่ดคี วรเป็ นผู้ท่มี คี วามสามารถพิเศษในการ รับรู้ในเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นรอบด้ าน เปรียบได้ กบั ผู้มปี ระสาทสัมผัสที่หก คือ สามารถที่จะคาดการณ์ได้ ว่าน่าจะเกิดเหตุการณ์ท่ี น�ำไปสู่การเป็ นข่าวได้ หรือมีทกั ษะที่จะรับทราบได้ อย่างรวดเร็วว่ามีเหตุการณ์อะไรขึ้น มีความสามารถในการท�ำงานอย่าง รวดเร็วและถูกต้ อง เนื่องจากงานสื่อข่าวเป็ นงานที่ต้องแข่งกับเวลา มีไหวพริบปฏิภาณ มีความสามารถในการรักษาหรือ ปกปิ ดความลับ เนื่องจากงานสื่อข่าวเป็ นงานที่ต้องอาศัยแหล่งข่าวในการให้ ข้อมูลข้ อเท็จจริง การเป็ นผู้ท่มี มี นุษยสัมพันธ์ท่ดี ี เนื่องมาจากผู้ส่อื ข่าวต้ องปฏิบตั งิ านด้ วยการติดต่อกับบุคคลหลากหลายประเภท ปี 3 ทุกอย่างเปลี่ยนไปเข้ าการเรียนนักข่าวอย่างเต็มตัว อะไรที่ไม่เคยท�ำต้ องท�ำ อะไรที่ไม่เคยดูต้องดู การท�ำข่าวต้ อง ลงพื้นที่จริง เขียนสคริปข่าวเอง คิดประเด็นเอง และที่สำ� คัญต้ องท�ำสารคดีเชิงข่าว ซึ่งเคยท�ำมาก่อนประสบการณ์ของการท�ำ ข่าวครั้งแรก ตื่นเต้ นว่าเราจะเลือกเอาประเด็นอะไรดีภายในมหาวิทยาลัย ข่าวแรกของฉันคือข่าวที่หอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ เป็ นเรื่องของการเปลี่ยนเวลาเปิ ดปิ ดหอสมุด เพราะเสนอ อาจารย์แล้ วผ่าน ที่หนักที่สดุ คือการเขียนข่าว ต้ องเรียบเรียงค�ำพูดทีละประเด็นว่าอันไหนมาก่อนมาหลัง แต่การถ่ายท�ำไม่ยาก เพราะใช้ สมาร์ทโฟนถ่ายได้ ไม่ยากเท่าไรก็ต้องมี ขนาดภาพ กว้ าง กลาง แคบ เวลาตัดต่อก็เอาขนาดมาสลับกัน พูดถึงเรื่องการตัดต่อข่าวหรืองานอื่นๆ ฉันเป็ นคนที่มพี ้ ืนฐานการตัดต่อมาบ้ างแล้ ว แต่มาเรียนที่น่ีได้ ใช้ โปรแกรมที่ ไม่เคยใช้ อาจารย์กส็ อนวิธกี ารใช้ ฉันชอบการตัดต่อคิดว่ามันน่าสนใจและสนุก และการจับกลุ่มกันท�ำสารคดีเชิงข่าว ได้ ยินมา แล้ วอึ้งว่ามันคืออะไร ท�ำไมต้ องสารคดีเชิงข่าว รู้จักแต่สารคดี รู้จักแต่ข่าว ธรรมดาๆ แต่น่ีเอาสองชื่อมารวมกัน มันจะเป็ น อย่างไร และงานกลุ่มก็เริ่มขึ้น กลุ่มฉันเสนอไปหลายเรื่องก็ยังไม่ผ่าน มาผ่านเรื่อง แท็กซี่คนพิการ ถึงเวลาลงพื้นที่ทำ� งานจริง พวกกลุ่มฉันก็ต้องคิดบทพูดบรรยาย และแหล่งข่าวว่าต้ องเป็ นใครบ้ าง ยอมรับว่าถึงเวลาถ่ายท�ำจริงแสนจะล�ำบาก ต้ องตื่น เช้ าและขึ้นรถแท็กซี่คนพิการแบกกล้ องถ่ายท�ำติดตามพนักงานขับรถของแท็กซี่คนพิการไปทั้งวัน ระหว่างทางก็สมั ภาษณ์และ ถ่ายวีดโิ อไปด้ วย เหนื่อยค่ะ ไม่เคยทุม่ เทและท�ำอะไรแบบนี้ แต่กท็ ำ� ให้ เราได้ พัฒนาตัวเองไปอีกขั้นหนึ่ง
ชี วิตและความคิด 148
ลงพื้นที่ทำ� สารคดีตอนปี 3 และอีกวิชาหนึ่งคือวิชาเรียนเกี่ยวกับการเป็ นผู้ประกาศข่าว อาจารย์ได้ สอนถึงเรื่องการออกเสียง ค�ำควบกล�ำ้ การ แต่งหน้ า และอาจารย์กส็ อนลีลาของการประกาศข่าว ต้ อง รู้จักใช้ นำ�้ เสียงให้ เหมาะสมกับข้ อความที่ประกาศ รักษาระดับเสียง ให้ สม�่ำเสมอ ใส่ชีวิตจิตใจลงไปในน�ำ้ เสียง ปรับแต่งน�ำ้ เสียงให้ น่าฟัง มีจังหวะจะโคนในการอ่าน และในการอ่านออกเสียง ต้ องรู้จักระดับเสียงของตนเองให้ ถ่องแท้ ออกเสียงอักขระวิธี ร, ล ค�ำควบกล�ำ้ ให้ ถูกต้ อง อย่าทอดลมหายใจนานระหว่างค�ำ อย่าอ่านช้ าไป หรือเร็วไป ให้ อ่านออกเสียงอย่างชัดถ้ อยชัดค�ำ อ่านให้ เป็ นธรรมชาติ ปรุงแต่งเสียงบ้ าง ไม่อ่านลากเสียง หรือ เสียงแปร่ง และวันสอบปฏิบตั ขิ องผู้ประกาศข่าวก็มาถึง ฉันตื่นเต้ นมากอ่านผิดอ่านถูก ขออภัยค่ะ หลายครั้งมาก จนโดนหัก คะแนน และการสอบครั้งนี้ทำ� ให้ ฉันรู้ว่าฉันไม่เหมาะกับการเป็ นผู้ประกาศข่าวเลย และอีกวิชาหนึ่งคือวิชา JR305 เป็ นวิชาที่ให้ ทำ� สกูป๊ ข่าว มีการเตรียมประเด็นไว้ นำ� เสนอและประเด็นที่กลุ่มฉันท�ำก็ คือ ตึกร้ าง ซึ่งเป็ นเรื่องเกี่ยวกับความไม่ปลอดภัยของตึกร้ าง อาจจะมีคนติดยาไปอาศัยอยู่ และตึกเสื่อมทรุดโทรมท�ำให้ บ้าน ในละแวกนั้นเกิดอันตรายได้ ได้ ไปลงพื้นที่จริงเขตสาธร เป็ นตึกยูทคิ ทาวเวอร์ ตลอดการถ่ายท�ำนั้นค่อนข้ างอันตรายและ เปลี่ยว ไม่เคยคิดว่าชีวิตต้ องมาท�ำอะไรที่เสี่ยงตายขนาดนี้ และยังมีการอ่านข่าวเปิ ดหน้ าซึ่งก็ต้องใช้ ความจ�ำและความเข้ าใจใน เนื้อข่าวนั้นๆ ถึงจะพูดรายงานข่าวออกมาได้ ดี ปี 4 ปี สุดท้ ายของการเรียน น่าใจหาย ตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่ผ่านมานั้นมีท้งั มิตรภาพจากเพื่อน ความหวังดีจาก อาจารย์ ที่คอยสอนจนท�ำเป็ นทุกอย่างจากที่ทำ� ไม่เป็ นมาก่อน และไม่เคยท�ำมาก่อน เรียกได้ ว่าคิดจริงท�ำจริง และได้ มกี ารท�ำ โปรเจคจบก็คือวิชา JR309 นั่นเองวิชานี้เป็ นวิชาที่ยากเพราะต้ องเป็ น One Man Journalist ท�ำเองทุกอย่างตั้งแต่คิดประเด็น เขียนสคริปท์ เลือกพื้นที่การถ่ายท�ำ ถ่ายท�ำเอง เป็ นพิธกี รเอง ต้ องแสดงความสามารถทุกด้ านออกมาให้ หมด ตอนแรกๆท้ อมาก ท�ำไมอาจารย์ต้องให้ เราท�ำงานนี้คนเดียวคิดว่ามันหนักเกินไปยังไงก็ทำ� ไม่ผ่าน อีกทั้งเล่มจบสาร นิพนธ์ ต้ องหาทฤษฎีท่เี กี่ยวข้ อง งานวิจัย ข่าวที่เกี่ยวข้ อง บทความที่เกี่ยวข้ อง กฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ใช้ เวลาหาในส่วนนี้นาน มาก และทั้งหมดก็จะมีอยู่ 3 บท บทที่1คือความเป็ นมายอมรับค่ะว่าเขียนยากเพราะตอนแรกๆก็ยังไม่ร้ เู หมือนกันว่าเราจะ เล่นประเด็นอะไร แหล่งข่าวก็เคยไปหาเพียงแค่ครั้งเดียวเลยสรุปอะไรไม่ได้ มาก ถึงวันถ่ายท�ำฉันไปถ่ายท�ำทั้งหมด 4 ครั้ง ตอนแรกให้ เพื่อนเป็ นพิธกี รแต่ไม่เวิร์ค ดิฉันเลยต้ องเป็ นพิธกี รเองและงานนี้กถ็ ูกตัดต่อลงเสียงได้ เสร็จสมบูรณ์ ในชื่อรายการ
เรื่ อง เรา เล่า 149
เมื่อโปรเจคจบ 309 เสร็จสิ้น ของดีท่บี ้ านฉัน ตอน กลุ่มชุมชนคนดงตะงาว เรื่องย่อก็คือ จากสองสามีภรรยาที่ดูธรรมดาๆ แต่สามารถเป็ นเสาหลักของ ชุมชน ที่สามารถรวมกลุ่มชาวบ้ านก่อตั้งกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรดอนทอง ที่ประสบความส�ำเร็จในการท�ำผลิตภัณฑ์โอท็อปนั่น คือ ความเกรียบชาวดง และ น�ำ้ ข้ าวโพด ซึ่งได้ มกี ารสอดแทรกหลักด�ำเนินชีวิตแบบชาวบ้ าน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้ นแบบ ในการคัดเรื่องประเด็นนี้ดฉิ ันคิดว่าเป็ นการส่งเสริมในการประกอบอาชีพของชาวบ้ านที่ทำ� ผลิตภัณฑ์โอท็อป และได้ มกี ารสอดแทรกเรื่องการท�ำเศรษฐกิจพอเพียงให้ ผ้ ูชมได้ ตระหนักในเรื่องของการประหยัดและอีกวิชาคือวิชา JR444 เป็ นวิชาที่ต้องจัดรายการวิทยุเองคิดประเด็นเองอีกเช่นเคย และเรื่องของการรันเทอมโปรเจคเป็ นงานที่ต้องอาศัยความ สามัคคีของเพื่อนๆทุกคนในการท�ำงานครั้งนี้ มาพูดถึงการพัฒนาการของตัวฉันเอง จากที่ได้ อยู่ท่มี หาวิทยาลัยกรุงเทพมา ทั้งหมด 4 ปี ท�ำให้ ฉันรู้ว่าการเป็ นนักศึกษามันไม่ง่ายเลยต้ องรู้จักความรับผิดชอบ ต้ องบังคับตัวเองให้ มาเรียนตรงตามเวลา ให้ ได้ เพราะที่น่ีเช็คชื่อจริง หักคะแนนจริง จนมาถึงวันนี้ทำ� ให้ ร้ วู ่าการท�ำงานจริงเขาท�ำกันอย่างไร และที่แน่นอนคือมีความ อดทนและแข็งแกร่งขึ้นกว่าเก่า มีครั้งหนึ่งที่เคยคิดว่าจะดร็อปเพราะยิ่งเรียนก็ย่ิงไม่ชอบท้ อใจมากที่จะฝื นเรียนต่อไป เคยคิดว่าสาขาวารสารศาสตร์ ยังไงก็ไม่ใช่ตวั เรา จนมาถึงจุดๆหนึ่ง มีแรงสู้เพราะพ่อแม่เลยตั้งใจเรียนและสู้อกี ครั้งจนท�ำโปรเจคส�ำเร็จ เป็ นอีกหนึ่ง เหตุการณ์ท่รี ้ สู กึ ภูมใิ จมากที่เราท�ำส�ำเร็จไปอีกขั้น แสดงให้ เห็นศักยภาพตัวเองว่าพร้ อมที่จะเผชิญหน้ ากับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น เตรียมพร้ อมกับสิ่งที่หนักกว่านี้ เรื่องเพื่อนฉันได้ เจอมิตรภาพที่ดี เพื่อนๆทุกคนช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็ นอย่างดี ที่ มหาวิทยาลัยนี้ ให้ ความรู้ ให้ มติ รภาพ ให้ คำ� สอน ให้ การพัฒนาการที่ดมี คี ุณภาพ สมกับเป็ นเพชรเม็ดงามในรั้วมหาวิทยาลัย และยังสร้ างความคิดสร้ างสรรค์ต่างๆให้ กบั ฉัน ให้ ร้ จู ักริเริ่มท�ำสิ่งต่างๆ ท�ำงานต่างๆให้ ออกมามีคุณภาพขอบคุณอาจารย์ ทุกๆท่านที่อบรมสั่งสอนในวิชาต่างๆค่ะ
Part 4
ความสุข
เรื่อง เรา เล่า 153
Happy memories (ความทรงจ�ำที่มีความสุข) รังสิมา กาญจนเกตุ
“ มันมีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นในที่แห่งนี้ ทัง้ ที่น่าจดจ�ำและที่อยากจะลืม ทัง้ ความรักต่อ เพื่อน ความร่วมมือ ให้ก�ำลังใจกัน และนี่แหละ การเรียนที่เราเรียนมาตลอดตัง้ แต่อนุบาล ”
ต้องบอกก่อนเลยว่าจริงๆตอนแรกขวัญก็ไม่ได้ตงั้ ใจว่าจะเข้ามาเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุ งเทพนะ แต่ครัง้ นึง ก็มีโอกาสได้มางาน BU Open House ตอนนัน้ ขวัญจ�ำไม่ได้ว่าปี อะไรมากับโรงเรียนเก่า พอรู ้ว่าจะมางานopen house ที่ม.กรุงเทพ ขวัญก็เลยอยากจะมาดูการเรียนการสอนและเครื่องไม้เครื่องมือคณะนิเทศศาสตร์ซักหน่อย เพราะว่าได้ยินเสียงร�่ำลือมานาน พอได้มาเห็นปุ ๊บกลับบ้านมาคุยกับพ่อแม่เลยว่าอยากเปลี่ยนแผนละ แต่พ่อกับแม่ก็ บอกว่าลอง Admission ดูก่อน ได้หรือไม่ได้ค่อยมาคุยกันอีกที เวลาผ่านไป ประกาศผล admission ปรากฏว่า ขวัญแอดไม่ติด ก็เลยมาสมัครเรียนที่ม.กรุงเทพเลย แต่เรื่องราวต่างๆก็ยังไม่เกิดขึ้นนะ เพราะว่า ช่วงแรกที่ขวัญเข้ ามาเรียน ขวัญไม่มเี พื่อนที่จะเรียนนิเทศด้ วยกันเลย มี แต่เพื่อนเรียนคณะมนุษยศาสตร์ เพราะว่าตอนม.ปลายขวัญและเพื่อนๆเรียนสายศิลป์ -จีนมา เพื่อนๆก็เลยไปเลือกเรียน ด้ านภาษากัน และด้ วยความที่เราไม่มีเพื่อนลงเรียนนิเทศด้ วย ก็เลยตัดสินใจลงเรียนมนุษยศาสตร์ตามเพื่อนไป ซึ่งตอนนั้นก็ ไม่ได้ คิดอะไร แต่พอวันแรกที่เปิ ดเทอมปี 1 ขวัญก็เข้ าไปเรียน แต่พอเข้ าไปแล้ วมันรู้สกึ แบบที่น้ ีไม่ใช่ท่ขี องเราอ่ะ เราตั้งใจไว้ ตั้งแต่แรกอยู่ว่าจะเรียนนิเทศ เราอยากเรียนวะ ก็เลยปรึกษาพ่อกับแม่ย้ายคณะมาเรียนนิเทศ ซึ่งตอนนั้นขวัญเข้ าเรียน มนุษยศาสตร์ไปแค่ 2 วันเอง และอาทิตย์ต่อมาพอท�ำเรื่องย้ ายเสร็จก็เริ่มมาเรียนที่นิเทศเลย ตามจริงแล้ วตอนแรกขวัญก็คิด อยู่ว่าแล้ วจะย้ ายมาเรียนสาขาอะไรละ ..? พอไปนั่งคุยกับพี่ท่รี ับสมัครเขาก็บอกว่าเออเราอยากเรียนเกี่ยวกับเรื่องนี้เราก็ต้อง เรียนวารศาสตร์สิ ก็เลยลง พอเข้ ามาเรียนวันแรกก็กลัวนะ กลัวไม่มเี พื่อน เพราะตอนรับน้ องก็ไม่ได้ มา เพื่อนๆเขาคงจับกลุ่ม ทาความรู้จักกันหมดแล้ วมั่ง เราเข้ าไปจะแปลกรึป่าว แต่กย็ ังดีท่เี พื่อนๆน่ารักและจาเราได้ ว่าเรามาจาก www.dek-d.com ก็ เลยเข้ ากับเพื่อนได้ ง่ายขึ้น มาเข้ าเรื่องเริ่มชีวิตปี 1 กันเลยดีกว่า กว่าจะเริ่มชีวิตนักศึกษาปี 1 ได้ น้ ีเล่ามาซะยาวเลย ตอนปี 1 หลังจากที่ขวัญย้ าย คณะมา ขวัญก็เริ่มมีความสุขมากกว่าที่เรียนคณะมนุษยศาสตร์นะ มันดูได้ เรียน ได้ ทำ� อะไรที่เป็ นตัวเราดี ต้ องบอกก่อนว่า ขวัญไม่ใช่เด็กเรียนที่มุ่งแต่เรียนอย่างเดียว ขวัญเป็ นเด็กกิจกรรมมาตั้งแต่อนุบาล ร้ อง เล่น เต้ น รา มาตลอด ทั้งเรียนทั้งท�ำ กิจกรรม นั่นแหละคือตัวตนจริงๆ เพราะด้ วยความที่เราเป็ นเด็กกิจกรรม แล้ วมีงานCA Game ตอนนั้น เราก็เลยไปเป็ นลีด สาขา แถมได้ แชมป์ ด้ วย ช่วงนั้นก็เข้ ามาซ้ อมลีดอยู่หลายวัน ซ้ อมจนดึก โชคดีท่ตี อนนั้นอยู่หอ ก็เลยไม่ได้ มปี ัญหาเรื่องการ กลับบ้ านอะไร เพราะบ้ านขวัญอยู่ไกลจากมหาวิทยาลัยมาก บ้ านขวัญอยู่สมุทรปราการต้ องใช้ เวลาเดินทางประมาณ2 ชั่วโมง ไม่รวมรถติดนะ ช่วงนั้นก็จะซ้ อมหลีด เขาร่วมกิจกรรมอยู่บ่อยๆ ไม่ว่าจะเป็ นนิเทศสัมพันธ์ งานบายเนีย ฯลฯ แต่กเ็ รียนตาม ปกตินะ แต่ช่วงแรกเกรดขวัญก็ไม่ได้ ดเี ท่าไร เพราะช่วงแรกก็ยังปรับตังเองไม่ค่อยได้ คุ้มตัวเองไม่ได้ ซ้ อมหลีดดึก กินดึก นอนดึก ตื่นสาย ไม่ต้งั ใจเรียนมากนะ ก็เลยท�ำให้ ช่วงแรกๆไม่ค่อยดีเท่าไร แต่เวลาผ่านไปซักพักก็เริ่มปรับตัวได้ เรื่อยๆ จน จบไป1 ปี พอเริ่มเข้ าปี ที่ 2 วิชาที่เรียนส่วนใหญ่กย็ ังคงเป็ นวิชานอกภาคอยู่ มีวิชาภาคแค่ไม่ก่ตี วั แต่เราเองจริงๆก็ไม่ค่อยชอบ พวกคณิตคิดเลขอะไรเท่าไร แต่พอมาเรียนก็ต้องเจอ ก็โอเคเรียนก็เรียน ใจจริงขวัญอยากเรียนวิชาที่แบบเรียนตรงๆซักที เพราะยอมรับเลยว่าไม่อยากเรียนวิชาหลักอะไรพวกนี้แล้ ว เบื่ออ่ะ 5555 และที่สำ� คัญช่วงปี 2นี้เป็ นช่วงแห่งงานเปลี่ยนแปลง จริงๆ เพราะน�ำ้ ท่วม!!! กว่ามหาวิทยาลัยจะเปิ ดเรียนก็หยุดนานมากๆ พอกลับมาเรียนได้ กเ็ รียนไม่เหมือนเดิมเพราะ ห้ องเรียนหลายห้ องน่าจะยังไม่พร้ อมใช้ งาน วิชาเรียนส่วนใหญ่เลยต้ องเรียนหลายกลุ่ม ทั้งคนเยอะ ทั้งไม่ร้ เู รื่อง บางวิชาก็ต้อง เรียนผ่าน Web-ex ซึ่งเป็ นโปรแกรมคล้ าย Skype ที่เราจะเห็นหน้ าอาจารย์ผ้ ูสอนและอาจารย์กเ็ ห็นหน้ าเราเหมือนกันและก็ โต้ ตอบกันผ่านโปรแกรมนั้น ซึ่งบอกตามตรงวุ่นวายมากกก แต่กผ็ ่านช่วงเวลานั้นไปได้ ด้วยดี ก็โอเคนะ 5555 หลังจากนั้นก็มแี ค่เรียนเขียนข่าว เขียนนิตยสารที่แบบเออเราโอเคนะ เราชอบ วิชางานเขียนเพื่อนิตยสารช่วงนั้น อาจารย์เขาก็จะให้ ทุกคนส่งงานเขียนประกวดกันเอง และเกินคาดค่ะ งานขวัญเข้ ารอบ 20 ชิ้นด้ วย งงไปเลยทีเดียว มากกว่า นั้นก็ยังคงท�ำกิจกรรมเหมือนเดิม เข้ าภาค ท�ำงาน CAGame งานบายเนียร์ งานนิเทศสัมพันธ์ ฯลฯ และตอนปี 2 ที่เรียนวิชา เรื่อง เรา เล่า 155
ช่วงเป็ นเชียร์ลีดเดอร์ตอนปี 1 เขียนนิตยสาร อาจารย์เขาก็มใี ห้ ส่งงานเขียนเรียงความเข้ าร่วมประกวดด้ วย แล้ วผลงานขวัญก็ได้ เข้ ารอบ 20 เรื่องสุดท้ ายแล้ ว ตอนนั้นเราก็ดใี จนะ ไม่คิดว่าจะเขียน จะท�ำอะไรได้ หรอก 55555 ก็ถอื ว่าเป็ นเรื่องราวดีๆเหมือนกัน นอกจากนั้นก็ยังมีเรียนวิชาอังกฤษแล้ วอาจารย์กใ็ ห้ จับกลุ่มแสดงละครบ้ าง เต้ นบ้ าง ในงาน English Fun Fair ตอน นั้นก็สนุกดีนะ ได้ ทางานกับเพื่อนๆ เพื่อนๆในกลุ่มก็ดมี าก น่ารัก คอยช่วยเหลืออยู่ตลอด แต่เวลาก็ผ่านไปอย่างเร็ว แป๊ ปๆก็ จบไปอีก 1 ปี แต่กเ็ ป็ นปี สุดท้ ายที่ขวัญได้ อยู่หอนะ เพราะหลังจากที่นำ�้ ท่วม พ่อก็ออกรถให้ ขวัญ เพราะอยากให้ ขวัญขับรถไป กลับ ซึ่งอย่างที่บอกไป ไกลมากกกก วันนึงขับรถมากกว่า 200 โล วันไหนเรียนเช้ านะ โอ๊ย ตื่นออกจากบ้ านแต่เช้ าเลย ถ้ า เรียนบ่ายก็สบายหน่อย ช่วงนั้นก็เหนื่อยนั้น เกือบจะกลับมาอยู่หออีกครั้งแหละ แต่กค็ ่อยๆปรับตัวไป ถึงจะออกจากมอไว แต่่ ถึงบ้ านก็มืดอยู่ดี 555555 เออแล้ วช่วงปี 2 ของ Summer ขวัญก็ได้ ไปลงเรียนวิชาเสรีท่วี ิทยาเขตกล้ วยน�ำ้ ไทกับเพื่อนๆ แต่ เรียนตอนมืดนะ 5555 สนุกมากๆ เรียน 16.30 – 21.00 น. ช่วงนั้นแบบนอนสบาย ตื่นมาอาบน�ำ้ แต่งตัวไปเรียนกลางคืน จริงๆขวัญว่าการเรียนภาคค�่ำนี้กด็ ไี ปอีกแบบนะ ไม่วุ่นวาย คนน้ อย อากาศดี ก็ไปเรียนแบบนี้ตลอดเกือบ 2 เดือนนิดๆ แล้ วก็ กลับมาเรียนที่วิทยาเขตรังสิตเหมือนเดิม ปี ที่ 3 นี้ถอื ได้ ว่าได้ เข้ าเรียนวิชาภาคมากขึ้น ทั้งได้ เข้ าสตูเป็ นครั้งแรก เรียนรู้การใช้ อปุ กรณ์ในสตู ปกติกด็ ูแต่ในทีวี พอได้ มาเรียนรู้มาจับมาใช้ จริงๆ รู้เลยไม่ง่ายนะคะ เริ่มปี 3 มาก็ร้ จู ักกับค�ำว่าคนท�ำข่าวมากขึ้น มีท้งั ท�ำข่าวในมหาวิทยาลัย นอกมหาวิทยาลัย เจอกับอาจารย์ประจาวิชาภาค ก็สนุกดีนะ 5555 ในช่วงปี 3 นี้ขวัญก็ไ่ดโอกาสได้ ไปเข้ าร่วมประกวดกับ โครงการ Sanook See U ! Sanook Smart Reporter โครงการที่จะเฟ้ นการผู้ประกาศพันธุใ์ หม่มาร่วมงานกับสนุกออนไลน์ ตอนแรกขวัญก็ไม่ได้ สนใจอะไรนะ แต่แม่บอกว่าให้ ลองสมัครดูซิ เราเรียนด้ านข่าวก็ลองๆดูไป ขวัญก็เลยกลับมาอัดคลิปวีดิ
ความสุข 156
โอส่งไป ผลปรากฏว่า เข้ ารอบ 24 คนแล้ วก็ได้ ไป Workshop กับทาง Sanook.com , Mix Magazine และ สถานีโทรทัศน์ Spring News ตอนนั้นก็ดใี จนะ ได้ แบบไปเห็นสถานีข่าวจริงๆ ได้ ฝึกประกาศข่าว ฝึ กจับประเด็น ฝึ กทารายการ โอเคเลยอ่ะ การประกวดในครั้งนั้นมันท�ำให้ เราแบบชอบในงานด้ านผู้ประกาศ และพิธกี รมากขึ้นกว่าแต่ก่อนเลย และหลังจากที่ Workshop เสร็จ ขวัญก็ได้ เข้ ารอบ 17 คน ไปแข่งขันตอนที่ลานตรง Siam Discovey ตื่นเต้ นมาd ไม่ได้ หวังเลยว่าจะได้ รางวัลอะไร สรุปขวัญได้ รางวัลชนะเลิศสาขา Sanook Hi-tech ได้ รางวัลจากทางสนุกออนไลน์ และยังได้ ร่วมงานกับทางเว็ปไซต์อกี ด้ ว หลังจากการประกวดจบลง ขวัญก็ต้องปรับตัวอีกครั้ง เพราะต้ องเรียนและท�ำงานไปด้ วย เพราะขวัญได้ เป็ นพิธกี ร รายการ Sanook Box Office เป็ นรายการหนัง บางทีกข็ บั รถมาเรียนตอนเช้ า เรียนเสร็จขับรถมาสนุกเพื่อท�ำงาน ท�ำงานเสร็จ ขับรถกลับมาเรียน เหนื่อยแต่มคี วามสุขและก็ภมู ใิ จนะ เพราะตั้งแต่ข้ นึ ปี 3และได้ รางวัลนี้มา ขวัญไม่ได้ ขอเงินพ่อแม่เลย ขวัญ ท�ำงานทั้งพิธกี ร ทั้งถ่ายแบบ ต่างๆนานา และก็มเี งินเก็บและแบ่งเงินใช้ เองได้ โดยที่ไม่ได้ ขอเงินพ่อแม่มาตั้งแต่ตอนนั้นถึง ตอนนี้ (มกราคม 2558) ก็ปีกว่าแล้ ว ขวัญภูมใิ จมากที่พอจะหาเงินด้ วยตัวเองได้ ขวัญก็เลยตั้งใจทั้งทางานและก็เรียนไปด้ วย หลังจากนั้นขวัญก็มงี านประกวดมาเรื่อยๆ ได้ บ้างไม่ได้ บ้าง ก็ไม่เป็ นไรเพราะทุกเวทีมนั จะสอนให้ ขวัญมีประสบการณ์ข้ นึ เอง คราวนี้เรากลับมาที่เรื่องเรียนบ้ าง หลักๆแล้ วงานแรกที่เจอของการมาเรียนภาควิชาวารสารศาสตร์และเริ่มจริงจังใน วิชาภาค ก็คือ การท�ำสารคดีเชิงข่าว นั้นไง ตอนแรกก็ เออ งง มันคืออะไรหว่า เจองานแรกเข้ าไปถอดใจกันเป็ นแทบๆ แต่ พวกเราก็ส้ มู าด้ วยกันจนผ่านมันไปได้ เป็ นเรื่องๆไป เรื่องแรกที่พวกขวัญทาก็คือ กลุ่ม 5 ตอนนั้นมี หมิว เนย ขวัญ ป้ าตั๊ก และ ก็อาย เรา 5 คนก็หาประเด็นกันแล้ วก็สรุปได้ เรียน “การจัดระเบียบตู้โทรศัพท์สาธารณะ” ก็ร้ จู ักลงพื้นที่กนั หาข้ อมูลกัน
ช่วงประกวดโครงการ Sanook See U ! Snook Smart Reporter
เรื่อง เรา เล่า 157
เหนื่อยนะกับงานแรกของพวกเรา และพอใกล้ ๆจะจบเรื่อง เนยก็มาประสบอุบตั เิ หตุอกี ช่วงนั้นสงสารเพื่อนมากๆ เพราะไม่ คาดคิดกันมาก่อนเลยว่าเนยขาหัก พวกเราเพื่อนๆก็ให้ กำ� ลังใจเนย ไปเยี่ยมเนยที่โรงพยาบาลและก็อวยพรให้ เนยหายไวๆ แล้ วที่สดุ เนยก็หายเป็ นปกติ ดีมากๆเลย นอกจากวิชาที่เราเรียนท�ำสารคดีเชิงข่าวแล้ ว เราก็เรียนทักษะการเป็ นผู้ประกาศข่าว โดยมีอาจารย์พิเศษซึ่งเป็ นผู้ ประกาศจากสถานีโทรทัศน์ TPBS มาสอนมาให้ ความรู้เรื่องการออกเสียง การแต่งหน้ า แต่งตัว ต่างๆนานา พวกเราทุกคน สนุกกันมากๆ เพราะได้ แต่งตัวแต่งหน้ าอ่านข่าว เจอสถานการณ์จริงในการรายงานข่าว การเรียนวิชานี้สำ� หรับขวัญแล้ วมีประ โยชน์มากๆ เพราะขวัญเองเอาไปปรับใช้ กบั การท�ำงานในชีวิตจริงได้ ดี ทั้งในเรื่องการออกเสียงการพูด ถือว่าการเรียนวิชานี้ดี มากๆเลยทีเดียว นอกจากนั้นพวกเราทุกคนยังได้ แบ่งกลุ่มท�ำสถานีข่าวเล็กๆขึ้นมา ข่าวทุกข่าวก็มาจากการลงมือท�ำของพวกเรานี่ แหละ ก็มแี บ่งหน้ าที่กนั ทั้งในส่วนของโปรดิวเซอร์ คนคุมเสียง คุมไฟ คุมเวที คุมกล้ อง ฯลฯ ตอนนั้นก็ลองผิดลองถูกกันไป ตามๆกัน แต่ยังดีท่มี รี ่นุ พี่มาคอยช่วยอยู่บ้าง ช่วงนั้นพวกเราทุกคนรู้จักกับมหาวิทยาลัยดีมาก เพราะต้ องใช้ ชีวิตอยู่ใน มหาวิทยาลัยดึกสุดก็เกือบเที่ยงคืนก็เคยมาแล้ ว เพราะตัดต่องานเพื่อส่งประกวดกัน มันก็สนุกนะแต่มนั ก็เหนื่อยไม่ใช่เล่นเลย นอกจากวิชาในปี 3 แล้ วขวัญยังมีโอกาสได้ ไปช่วยพี่ๆปี 4ท�ำงานด้ วยนะ ไม่ว่าจะเป็ นช่วยเป็ นพิธกี ร เป็ นผู้ส่อื ข่าว ช่วยแสดง MV ในงานของพวกพี่เขา ซึ่งเราก็เต็มใจเพราะมันก็ถอื ว่าเป็ นการฝึ กการท�ำงานเราไปในตัว และยิ่งมากไปกว่านั้น ขวัญยังได้ ไปท�ำหน้ าที่เป็ นพิธกี รรายการเพื่อสังคมสันติสขุ ด้ วยนะ ของช่อง TNN2 เพราะช่วงนั้นขาดผู้ประกาศหรืออะไรยังไงนี้แหละ ก็ โอเคนะได้ ประสบการณ์ท่มี ากกว่าในห้ องเรียนดี หลังจากนั้นพวกขวัญก็ได้ ลงมือผลิตสารคดีกนั อีกแต่คราวนี้ทมี ละ 3 คนนะ สารคดีช้ ินนี้อาจารย์บอกว่าจะส่งประกวดโครงการสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 ซึ่งเมื่อตอนปี 8รุ่นพี่ของเราก็ได้ คว้ าแชมป์ เอาไว้ และคราวนี้กถ็ งึ คราวที่ร่นุ พวกเราจะส่งผลงานเข้ าร่วมประกวดแล้ ว 3 คนในทีมก็จะมี หมิว เนย ขวัญ ทีมของเราตอนแรกก็ ไม่ร้ วู ่าจะท�ำประเด็นอะไร
เมื่อครั้งเป็ นพิธกี รรายการ “ เพื่อสังคมสันติสขุ “
ความสุข 158
แต่สดุ ท้ ายก็สรุปได้ ประเด็นเขาผาแรด ซึ่งไกลมาก พวกเราต้ องไปลงพื้นที่กนั ถึงจ.อุทยั ธานี เป็ นครั้งแรกที่พวกเรา ไปไกลขนาดนั้น พวกเรา 3 คนใช้ เวลา 2 วัน 1 คืนกับการเก็บข้ อมูล เก็บภาพทุกอย่าง เพราะไม่อยากเดินทางกลับไปอีก ซึ่ง การไปลงพื้นที่ครั้งนี้เหนื่อยมากๆ แต่กไ็ ด้ เรียนรู้การท�ำงานที่มากเหมือนกัน หลังจากที่พวกเราลงพื้นที่เสร็จอะไรกันเสร็จก็ กลับมาตัดต่อกัน แต่ต้องบอกก่อนว่า หน้ าที่หลักๆของพวกเราคือ หมิวดูพล็อตเรื่อง ล�ำดับภาพ ตัดต่อ เนยเขียนบท ถ่าย ภาพ และขวัญถ่ายภาพ ลงเสียง ซึ่งเราจะแบ่งหน้ าที่กนั แบบนี้ โดยเรา 3 คนใช้ ช่ ือทีมว่า Tanhin Production และพวกเราก็ส่ง ผลงานเข้ าร่วมประกวดกับโครงการสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 ในชื่อเรื่อง ระเบิดป่ า เขาผาแรด ซึ่งเรา 3 คนแทบจะไม่ได้ หวัง รางวัลอะไรเลย แค่มสี ่งไปก็พอแล้ ว แต่ปรากฏว่า อ้ าว!? เข้ ารอบ 24 ทีมต้ องไปเข้ าค่ายกับทางโครงการ ซึ่งก็งงๆกันแหละ เพราะอย่างที่บอกแทบไม่ได้ หวังอะไรเลย และผลจากที่เราได้ รางวัลจากการประกวด Sanook See U เลยท�ำให้ เราได้ รับรางวัล นักศึกษายอดเยี่ยมอีกด้ วย ก็ดใี จนะ เห็นพ่อแม่ย้ ิมเราก็ภมู ใิ จ ปี 3 นี้เป็ นช่วงเวลาที่มเี รื่องราวเกิดขึ้นเยอะมาก ทั้งออกฝึ กงาน ตอนปิ ดเทอมเกือบ 2 เดือน ได้ ท้งั ประสบการณ์ต่างๆนานา ก็โอเคนะดีมาก ทั้งดีใจเสียใจ ท้ อหมดหวัง ผิดหวัง แต่เราก็ผ่าน มันมาได้ อกี 1 ปี การศึกษา ส่วนปี 4 ปี สุดท้ ายในรั้วมหาวิทยาลัยก็ใจหายนะ แป๊ ปเดียวเองอ่ะ ยังมีความรู้สกึ เหมือนเราเพิ่งวิ่งย้ ายคณะอยู่เลยอ่ะ แต่เพื่อนๆที่มาเรียนด้ วยกันที่น้ ีกจ็ บแค่ 3 ปี ครึ่งกันไปหมดแล้ ว มีแต่เราที่เรียน 4 ปี ปี 4 นี้กม็ ีเรื่องราวเยอะแยะไม่แพ้ ปี 3 เลยละ หลักๆเลยก็การไปเข้ าค่ายโครงการสิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 มันต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 3 แต่เพิ่งได้ มาเข้ าค่ายตอนปี 4 ก็ สนุกดีนะ ทีมTanhin เราท�ำเรื่องคอนเทนเนอร์มรณะ ลงพื้นที่กนั ในช่วงที่อยู่ค่าย 5 วัน 4 คืน ก็แบ่งหน้ าที่กนั เหมือนเดิม และ เหมือนเดิมไม่หวัง ไม่อะไรทั้งนั้น ก็แค่จะท�ำให้ สารคดีน้ ีมปี ระโยชน์ต่อสังคมมากที่สดุ เท่านั้นเอง โดยเราลงพื้นที่ไม่โหด กิน ง่าย นอนไว ไม่เครียด เรา 3 คนพอใจอะไรยังไงก็คือตามนั้น แต่ผลปรากฏว่า พวกเรากลับได้ รางวัลชนะเลิศอ่า งงกันมาก และก็ได้ อกี 2 รางวัลยอดเยี่ยม ซึ่งพวกเรางงมากก คืออยู่ค่ายทุกวันเราก็เออแต่งหน้ าท�ำผมไรงี้ไม่ซีเรียส แต่พอวันประกาศ ผลเราก็ไม่ได้ คิดอะไรอยู่แล้ วไงก็เลยใส่แว่น ไม่สระผมด้ วยแต่ได้ รางวัลเฉยเลย น่าเสียดาย 5555
ได้ รางวัลชนะเลิศสิงห์สร้ างคนทีวีปี 9
เรื่อง เรา เล่า 159
และนอกจากนั้นเราก็ได้ รางวัลไปดูงานที่ไปญี่ปุ่นกันด้ วย ก็สนุกอยู่นะ หนาวมาก ตื่นตาตื่นใจ เพราะการไปญี่ปุ่นครั้ง นี้เป็ นครั้งแรก ได้ เห็นวัฒนธรรมที่ไม่เหมือนกับบ้ านเรา อาหารการกิน การใช้ ชีวิต ถือว่าเป็ นโอกาสที่ดอี ยู่เหมือนกัน หลังจาก นี้เราก็ต้องกลับมาผลิตสารคดีเชิงข่าวอีก 1 เรื่องให้ กบั ทางโครงการ อ่อ ลืมบอกไป ผลงานของพวกเราทั้งเรื่องระเบิดป่ าเขาผา แรต คอนเนอร์มรณะ และอีก 1 ผลงานนั้นจะได้ ออกในรายการเรื่องจริงผ่านจอด้ วย ก็รอดูกนั ไป นอกจากเรื่องนี้แล้ ว เราก็ทำ� งานและก็เรียนปกติ แต่ในเทอมนี้เราเรียนเกี่ยวกับการท�ำสถานีวิทยุ จัดรายการต่างๆ นานา พวกเราทุกคนก็เออ สนุกเลย ลองผิดลองถูกกัน ทั้งจัดสถานีวิทยุ ทั้งสถานีโทรทัศน์ ฯลฯ และหลังจากนี้กเ็ หลือเวลาอีก ไม่ก่สี ปั ดาห์ในการเป็ นนักศึกษาในมหาวิทยาลัยกรุงเทพแล้ ว ใจหายเหมือนกันนะ มันมีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นในที่แห่งนี้ ทั้งที่น่าจดจ�ำและที่อยากจะลืม ทั้งความรักต่อเพื่อน ความร่วมมือ ให้ กำ� ลังใจกัน และนี่แหละการเรียนที่เราเรียนมาตลอดตั้งแต่อนุบาล ถึงแม้ ในชีวิตการเรียนจะมีปัญหาในเรื่อง อะไรต่างๆมามากมาย ชอบหรือไม่ชอบ แต่สดุ ท้ ายนี้ ขวัญก็สามารถพูดได้ อยากเต็มปากว่า ฉันสาเร็จการศึกษาปริญญาตรี จากภาควิชาวารศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพค่ะ :)
ความสุข 160
เรื่อง เรา เล่า 161
ภูมิใจมากค่ะ พลอยระวี แป้นเจริญ
“ ภาควารสารศาสตร์ของเราคนน้อย แต่คุณภาพเรามีเต็มเปี่ ยม ”
ถ้าให้เริ่มเล่าชี วิตตลอด 4 ปี ในรัว้ มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ หรือ Bangkok University (BU) ต้องขอเท้าความ ย้อนถึงความรู ้สึกสมัยมัธยมว่า โดยส่วนตัวแล้วดิฉันคุ้นเคยกับที่น่ี เพราะมีพ่สี าวจบการศึกษาระดับปริญญาตรีถึง 2 คน ท�ำให้ทราบความเป็นไปต่างๆภายในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งนี้มาโดยตลอด รวมถึงรับรู ้ในผลงานและชื่ อเสียง ของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะนิเทศศาสตร์ จึงไม่ใช่ เรื่องแปลกที่เมื่อผลแอดมิทชั่ นออกมาว่าดิฉันสอบ ไม่ติดมหาวิทยาลัยรัฐบาลทัง้ 4 อันดับที่ได้เลือกไว้ ท�ำให้วันต่อมาดิฉันยื่นใบสมัครเข้าเป็นนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพอย่างไม่ลังเล วันแรกของภาคการศึกษาที่ 1 ในฐานะนักศึกษาปี ชั้นปี 1 จ�ำได้ น่ังรถรางภายในมหาวิทยาลัยด้ วยใจตุ่มๆต่อมๆ เพราะไม่ร้ วู ่าคณะนิเทศศาสตร์ต้องลงป้ ายไหน จนสุดท้ ายรถจอดหน้ าคณะและเห็นป้ ายเขียนชื่อ “อาคารนิเทศศาสตร์ คอมเพล็กซ์” จึงท�ำให้ ตดั สินใจลง เดินงงๆอยู่สกั พัก ก็ตดั สินใจยื่นตารางเรียนให้ แม่บ้านดู พร้ อมถามว่าห้ องที่จะเรียนไปทาง ไหน พอดีกบั มีนักศึกษาหญิงคนหนึ่งเดินเข้ ามาทักทาย ท�ำให้ ร้ วู ่าเราเรียนห้ องเดียวกันแล้ วยังภาควิชาเดียวกันด้ วย เธอคือ เพื่อนคนแรกในห้ องเรียน หลังจากนั้นก็ได้ ร้ จู ักเพื่อนใหม่ๆเพิ่มขึ้นอีกหลายคน และคบกันเป็ นเพื่อนสนิทมาจนถึงทุกวันนี้ สมาชิกกลุ่มเรามีท้งั หมด 5 คน ในเรื่องของอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็ นอะไรที่ต่นื ตาตื่นใจส�ำหรับเด็กอย่างดิฉัน เพราะนอกจาก ห้ องเรียนที่ดูดที นั สมัย สถานที่ท่เี ราชอบไปบ่อยๆตอนปี 1 คือหอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ รู้สกึ ว่าคอมพิวเตอร์มไี ว้ รองรับ นักศึกษาจ�ำนวนมาก ไหนจะห้ องดูหนัง หรือที่เรียกทางการว่า ห้ องชมวีดทิ ศั น์อกี แต่ในส่วนของห้ องดูหนัง ดิฉันไม่ประทับใจ เจ้ าหน้ าผู้ดูแลประจ�ำเคาน์เตอร์ให้ บริการ เพราะมักจะพูดจาห้ วนๆ ใส่อารมณ์กบั นักศึกษาบ่อยๆ แรกๆคิดว่าอาจจะเพราะ คนเยอะ แต่พอสังเกตบ่อยๆท�ำให้ เห็นว่า ไม่ว่าจะคนเยอะหรือคนน้ อยเจ้ าหน้ าที่คนนี้กอ็ ารมณ์เสียได้ ตลอดเวลา พูดถึงคนที่ อารมณ์เสียใส่นักศึกษา ท�ำให้ คิดถึงแม่ค้าขายขนมประจ�ำซุ้มบริเวณหลังตึก A5 แม่ค้าชอบอารมณ์เสียหงุดหงิดและพูดจาไม่ดี กับนักศึกษาและดิฉันเป็ นหนึ่งในนักศึกษาที่พบเจอเหตุการณ์แบบนี้บ่อยมาก จึงลองเขียนร้ องเรียนไปทางออนไลน์ เวลา มหาวิทยาลัยให้ ประเมินทุกเทอม ปรากฏว่าเปิ ดมาเทอมใหม่ แม่ค้าคนนี้เปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางดีข้ นึ ก็ไม่แน่ใจว่าทาง มหาวิทยาลัยเป็ นผู้จัดการเรื่องนี้ให้ หรือไม่ ซึ่งถือเป็ นเรื่องที่สร้ างความประทับใจให้ กบั ดิฉันมาก ที่มหาวิทยาลัยไม่มองข้ าม เรื่องเล็กๆน้ อยๆของนักศึกษา เรื่องการเรียนจ�ำได้ ว่าช่วงปี 1 เทอมแรกทางมหาวิทยาลัยจะเป็ นคนก�ำหนดตารางเรียนมาให้ ก็เฉยๆไม่ได้ ร้ สู กึ อะไร มาก แต่จำ� วิชาหนึ่งได้ ข้ นึ ใจว่าเป็ นวิชาแรกที่ทำ� ให้ โดดเรียนกับเพื่อนออกไปนั่งรถรางเล่นรอบมหาวิทยาลัย สาเหตุเพราะวิชา นั้นคือวิชา Statistics มีเนื้อหาค�ำนวณคล้ ายๆคณิตศาสตร์ของมัธยม ซึ่งเป็ นวิชาที่เกลียดและสอบตกบ่อยมาก และเพื่อน สนิทก็มคี วามรู้สกึ เหมือนกัน ถ้ าไม่โดดเรียนออกมาก็จะเข้ าเรียนสายๆ ให้ เหลือแค่ช่ัวโมงสุดท้ ายถึงจะเข้ าเรียน และนั่นเป็ น จุดเปลี่ยนความคิดที่จะไม่โดดเรียนวิชานี้อกี เพราะพอเข้ ามานั่งในห้ องแล้ วอาจารย์ท่สี อนชี้มาทางที่ดฉิ ันนั่งบอกว่าให้ ตอบ ตอนนั้นใจหล่นไปตาตุ่มหน้ าซีด คิดว่าโดนเรียกให้ ตอบ ทั้งๆที่ไม่มคี วามรู้ในหัวเลย แต่ปรากฏว่าอาจารย์เรียกเพื่อนที่น่ังถัด ไปข้ างหลัง เลยท�ำให้ รอดตัวไป แต่กเ็ ป็ นสิ่งที่บอกเราว่า ถ้ ายิ่งหนีกจ็ ะยิ่งไม่ร้ เู รื่อง
เรื่อง เรา เล่า 163
หลังจากวันนั้นเป็ นต้ นมาก็ไม่เคยโดดเรียนวิชา Statistics อีกเลย เป็ นผลท�ำให้ เข้ าใจเนื้อหา การเรียนดีข้ นึ สอบเก็บ คะแนนได้ คะแนนเต็มหรือเกือบเต็มทุกครั้ง และยังสามารถช่วยติวให้ เพื่อนๆในกลุ่มได้ อกี ด้ วย และสุดท้ ายผลการเรียนออก มาในเทอมนั้น ดิฉันสามารถคว้ า A วิชานี้มาได้ ตามที่ต้งั ใจ และเป็ นเรื่องแปลกประหลาดส�ำหรับเด็กที่สอบตกวิชาค�ำนวณ สมัยมัธยมอย่างดิฉันมาก นอกจากวิชา Statistics ดิฉันยังโดดเรียนวิชาพื้นฐานของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ มีเนื้อหาเกี่ยว กับทฤษฎีการสื่อสาร เพราะอาจารย์ไม่เช็คชื่อ ไม่มงี านในห้ องเรียน มีแค่รายงานกลุ่มและสอบ Midterm กับ Final ท�ำให้ ได้ ใจแอบหนีกลับมานอนที่หอบ่อยๆ จนกระทั่งคะแนนสอบ Midterm ที่ออกมาได้ แค่คาบเส้ น คือ 21 เต็ม 40 ท�ำให้ ร้ สู กึ ตัว ว่า ถ้ ายังเรียนแบบนี้อกี อาจจะติด F ได้ ทำ� ให้ ครึ่งเทอมที่เหลือตั้งใจเรียนขึ้นมานิดหน่อย แต่มาลุยทุม่ เทอ่านหนังสื่อสอบตอน Final มั่นใจว่าท�ำข้ อสอบได้ ประมาณ 80% แต่เนื่องจากช่วงต้ นเทอมที่ผ่านมา คะแนนสอบ Midterm ไม่ดเี ลยท�ำให้ วิชานี้ได้ เกรด C+ มา ถัดมาในเทอมที่ 2 นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพทุกคนเจอปัญหาน�ำ้ ท่วมใหญ่ภาคกลาง และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ก็เป็ นหนึ่งในนั้น จ�ำได้ ว่าต้ องเลื่อนการเปิ ดเรียนออกไปเรื่อยๆ จากปิ ดเทอมเล็กแค่ 1 เดือน แต่จากปัญหาตรงนี้ทำ� ให้ ต้อง หยุดเรียนประมาณ 4 เดือนและมหาวิทยาลัยเราก็ถอื โอกาสเข้ าอาเซียนไปโดยปริยาย ตอนนั้นรู้สกึ ไม่ชอบมากเพราะท�ำให้ เวลาเรียน เวลาสอบและเวลาปิ ดเทอมไม่ตรงกับเพื่อนๆมหาวิทยาลัยอื่น และอีกอย่างที่ร้ สู กึ เหนื่อยมากคือการเรียนผ่าน WebEx เป็ นอะไรที่ทุลักทุเลเหลือเกิน สาเหตุเนื่องจากห้ องเรียนและอุปกรณ์การเรียนต่างๆเสียหายจากน�ำ้ ท่วม เลยท�ำให้ นักศึกษาต้ องเรียนแบบออนไลน์ จะอยู่ท่ไี หนก็ได้ ขอแค่คุณเปิ ดกล้ องจากคอมพิวเตอร์พูดคุยออนไลน์กบั อาจารย์ ให้ ตรงตาม แต่ละวิชา เป็ นวิธที ่ที นั สมัยมาก ทั้งยุ่งยากวุ่นวาย ทั้งข�ำๆสนุกสนานผสมกันไป และเกรดในเทอมนี้กอ็ อกมาอยู่ในระดับที่น่า พอใจเช่นเคย ลืมบอกไปว่าตั้งแต่เรียนมหาวิทยาลัยไม่เคยคาดหวังอะไรมากมาย ขอแค่อยู่ในระดับปานกลาง แต่พอเกรดทั้ง 2 เทอมของปี 1 ออกมาเกินคาดหมายท�ำให้ สญ ั ญากับตัวเองว่า จะรักษาผลการเรียนให้ ดแี ละจะคว้ าเกียรตินิยมอันดับ 2 ให้ ได้ นอกจากนี้กไ็ ด้ ร่วมท�ำกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย อย่างการเป็ นสมาชิกชมรมวิทยุกระจายเสียง และได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ น 1 ใน 30 นักจัดรายการของชมรมและรุ่นพี่จะเป็ นคนคอยดูแลให้ คำ� แนะน�ำ พร้ อมจัดอบรมและพาไปดูงานการจัด รายการวิทยุท่แี กรมมี่อกี ด้ วย มาถึงช่วงปี 2 เทอมแรกเป็ นช่วงเปลี่ยนแปลงตัวเองมากถึงมากที่สดุ เพราะลดน�ำ้ หนักตัวลงมาถึง 8 กิโลกรัมและยืด ผมที่เคยหยิกหยองพองฟูกลายเป็ นผมตรง จนเพื่อนๆบางคนจ�ำไม่ได้ เดินผ่านเราไปแบบไม่ทกั ทาย เรื่องนี้เด่นสุดในช่วงปี 2 เทอมแรก เรื่องการเรียนเริ่มสนุกมากยิ่งขึ้น เพราะได้ เริ่มเรียนวิชาที่เกี่ยวกับด้ านวารสารศาสตร์ ทั้งการเขียนข่าว การท�ำวิจัย ด้ านวารสารศาสตร์ ได้ เกรดตามเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ แต่กย็ ังมีอกี 2-3 วิชาที่เรียนแล้ วเบื่อหน่าย แอบโดดบ่อยๆและก็ได้ เกรดไม่ ค่อยสวยมาครอง อย่างพวกวิชาพื้นฐานที่ใช้ รหัสน�ำหน้ าว่า LB เป็ นวิชาที่ปวดหัวจี๊ดตลอด นอกจากนี้ยังมีวิชาการพูด Art of Speaking เป็ นวิชาที่ชอบมากที่สดุ ในปี 2 เพราะทุกสัปดาห์จะได้ ออกไปยืนพูด หน้ าห้ อง เป็ นทักษะที่ถนัดและชอบ อาจจะไม่ได้ โดดเด่นหรือเก่งที่สดุ แต่กถ็ อื ว่าพอจะมีความสามารถอยู่บ้าง ซึ่งในวิชานี้กไ็ ด้ รับค�ำติชมให้ นำ� มาพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา ทั้งเรื่องเสียง บุคลิกและเนื้อหาที่นำ� มาพูด อีกทั้งยังมีวิชาการเขียนบทความ หรือ Article ที่จำ� ได้ ว่าตัวเองเขียนบทความเกี่ยวกับการโดยสารทางรถไฟ
ความสุข 164
ก่อน และ หลัง ยืดผม เรื่องราวที่สำ� คัญและประทับใจที่สดุ ช่วงปี 2 คือการส่งบทความประกวดในโครงการ “นักเขียนมือใหม่ หัวใจวารสาร ครั้งที่ 6” ในหัวข้ อ “มหัศจรรย์วัฒนธรรมไทย” ซึ่งงานของดิฉันได้ ผ่านเข้ ารอบ 20 ผลงานสุดท้ าย แม้ จะไม่ได้ รับรางวัลอะไร แต่กร็ ้ สู กึ ดีใจมาก เพราะอย่างน้ อยๆนี่คืออีกก้ าวที่พิสจู น์ว่าดิฉันมาถูกทาง เลือกเรียนถูกสาย เข้ าสู่ชีวิตนักศึกษาปี 3 แอบวิตกกังวลเล็กน้ อยกับเรื่องเรียน เพราะมีร่นุ พี่บางคนคอยเล่าความยากของการเรียนปี 3 ส�ำคัญที่สดุ คืออาจารย์ท่สี อนอย่างเข้ มข้ น และรู้สกึ ดีใจที่จะได้ เรียนวิชาที่ตรงกับความชอบ ความใฝ่ ฝันมากที่สดุ อย่างวิชาการ ท�ำข่าวโทรทัศน์ วิชาผู้ประกาศ การได้ Run Term Project ได้ ใช้ งานจ�ำลองการออกอากาศรายการข่าวจริงๆ แต่ท่จี ำ� ไม่เคยลืม คงจะเป็ นงานกลุ่มสารคดีเชิงข่าวชิ้นแรกในชีวิต จ�ำได้ ว่าอาจารย์จับกลุ่มให้ 5 คนและให้ สมาชิกช่วยกันหาประเด็นไปเสนอ กลุ่มดิฉันเป็ นกลุ่มสุดท้ ายที่ได้ ประเด็น ช่วงนั้นเครียดมากเวลานอนก็หลับไม่สนิท กินอะไรก็ไม่อร่อย ระบบขับถ่ายร่างกาย รวนหมดค่ะ และประเด็นที่ทำ� เป็ นประเด็นที่อาจารย์ย่ ืนให้ เนื่องจากประเด็นที่เสนอเองผ่าน สุดท้ ายพบว่ามันไม่สามารถท�ำ ต่อได้ เรื่องที่อาจารย์ให้ มาไม่ใช่สารคดีเชิงข่าว แต่เป็ นข่าวประกอบเสียง เป็ นเรื่องราวเกี่ยวกับกลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกอุรพุ งศ์ ซึ่ง ก่อนหน้ าที่กลุ่มดิฉันจะลงพื้นที่ทำ� งาน มีข่าวว่าที่น่ีโดนระเบิด ความรู้สกึ ตอนลงพื้นที่จึงเป็ นอะไรทีหวาดผวา ระแวดระวัง ตลอดเวลา ลงพื้นที่ต้งั แต่ 8 โมงเช้ าถึง 5 ทุม่ แต่กร็ ้ สู กึ สนุกและตื่นเต้ น เริ่มเข้ าใจในสายอาชีพนี้ย่ิงขึ้น พร้ อมๆกับเกิดความ สามัคคีเห็นอกเห็นใจช่วยเหลือกันในกลุ่ม และงานชิ้นนี้ต้องส่งประกวดรางวัลสายฟ้ าน้ อย และวันสุดท้ ายที่หมดเขตส่งผลงาน ทุกคนใน BJ6 รวมทั้งรุ่นพี่ BJ5 ทุกคนวิ่งวุ่นเพื่อให้ ผลงานเสร็จก่อนเที่ยงคืน จ�ำได้ ว่ามีเพื่อนบางกลุ่มเสร็จไม่ทนั ถึงกับ ร้ องไห้ เห็นใจเพื่อนก็เห็นใจ แต่งานกลุ่มดิฉันก็ต้องปั่นต่อให้ เสร็จ เพื่อเอาไปส่งที่สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทยภายใน เที่ยงคืนวันนั้น จ�ำได้ ตดิ ตาติดใจว่าทุกคนช่วยเหลือ สามัคคี ข�ำ ตื่นเต้ นกันหมดทั้งรุ่นพี่ร่นุ น้ อง อีกหนึ่งอย่างที่ประทับใจคือ การ Run Term Project ครั้งแรกในชีวิต มันคือการจ�ำลองออกอากาศสถานีข่าว ดิฉันได้ รับหน้ าที่เป็ นผู้ประกาศข่าวกับเพื่อน อีกคน จ�ำได้ ว่าตื่นเต้ นมาก กลัวเสียงหัวใจจะดังเข้ าไวเลส ในงานนี้มขี ้ อผิดพลาดจุดใหญ่ท่เี กิดจากตัวดิฉันเอง นั่นคือดิฉันอ่าน ข่าวทับไลน์เสียงข่าวที่ลงเสียงไว้ แล้ ว แต่สามารถคุมสติทำ� หน้ าที่ต่อจนจบได้ เพื่อนๆไม่มใี ครโทษใคร คะแนนที่ได้ เป็ นที่พอใจ ของทุกคน
เรื่อง เรา เล่า 165
กลุ่มเพื่อนที่เข้ าแข่งขัน สิงห์สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 มาถึงปี 3 เทอม 2 ก็ต้องท�ำสารคดีเชิงข่าวเหมือนเดิม ครั้งนี้อาจารย์ให้ จบกลุ่มเอง แต่ลดจ�ำนวนสมาชิกลงเหลือก ลุ่มละ 3 คนและต้ องส่งประกวดเวทีสงิ สร้ างสรรค์คนทีวีปี 9 กลุ่ม กลุ่มของดิฉันเสนอเรื่องผลกระทบหลังน�ำ้ มันรั่วที่อ่าวพร้ าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง จ�ำได้ ว่าต้ องอดทน ประหยัด ท�ำงานแข่งกับเวลาทุกครั้ง พวกเราลงพื้นที่กนั 2 ครั้งเป็ นการท�ำงานที่ เหมือนไปผจญภัย ดิฉันใจเย็นมากขึ้น เข้ าอกเข้ ากันในกลุ่มมากขึ้นกว่าเก่า แม้ งานชิ้นนี้จะไม่ได้ รับรางวัลใดๆแต่พวกเราได้ ความรู้ ความสามัคคี ความเข้ าใจกันในกลุ่มมากยิ่งขึ้น แต่แล้ วก็มงี านอีกชิ้นหนึ่งเข้ ามาให้ ต้องส่งประกวดอีกครั้งงานนี้เป็ นของส�ำนักข่าวประชาไท พวกเราเสนอประเด็นเร่ องเกาะเสม็ดไป แต่เป็ นแง่มุมใหม่ และผลปรากฏว่าเราผ่านเข้ ารอบ ซึ่งเราต้ องไปสอบสุมภาษณ์และสุดท้ ายเราก็ได้ ทุน 30,000 บาทส�ำหรับท�ำงานต่อยอดชิ้นนี้ให้ ประชาไท ซึ่งเมื่อได้ มกี ารพูดคุยกับพี่เลี้ยงของทีมท�ำให้ พวกเราตัดสินใจเปลี่ยน ประเด็นจากเกาะเสม็ด ไปสู่เรื่องไฟไหม้ บ่อขยะแพรกษา ซึ่งอยู่ในขอบเขตเรื่องภัยสิ่งแวดล้ อมเหมือนเดิม จากที่คิดว่าเสี่ยง น้ อยลงที่ไหนได้ เสี่ยงอันตรายยิ่งขึ้นกว่าเก่ามาก ซึ่งช่วงเวลาที่ต้องท�ำงานชิ้นนี้เป็ นช่วงที่ต้องฝึ กงานไปด้ วย และดิฉันเลือกฝึ ก ที่ช่อง 7 มันทั้งเหนื่อยและได้ ความรู้อย่างมหาศาลไปพร้ อมๆกัน จากตรงนี้ท้งั ทั้งการฝึ กงานและการได้ ทุนจากประชาไท ท�ำให้ เราเห็นความกว้ างขวาง การเป็ นที่ยอมรับและบุคลากรที่มคี ุณภาพของคณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ กระจาย อยู่ท่วั ในวงการสื่อสามวลชน ส่วนกิจกรรมตอนปี 3 มีโอกาสได้ เป็ นเชียร์ลีดเดอร์ของภาควิชา เพื่อแข่งขันเชียร์ลีดเดอร์ในงาน CA Game 2014 หรืองานแข่งขันกีฬาภายในของคณะนิเทศศาสตร์ จ�ำได้ ว่าซ้ อมหนักมาก เลิกเรียนหรือว่างเมื่อไหร่กต็ ้ องซ้ อมจนถึงดึกดื่น เพื่อนที่เป็ นหัวหน้ าฝึ กซ้ อมโหดสุดๆแต่เราก็เข้ าใจและเต็มใจที่จะท�ำ เมื่อวันแข่งขันจริงมาถึง พวกเราใจฝ่ อทุกคนทั้งกอง เชียร์และเชียร์ลีดเดอร์ เพราะภาควิชาอื่นๆเขาคนเยอะและการแสดงก็อลังการงานสร้ างมากๆ บรรยากาศตอนนั้นเงียบสนิท เมื่อถึงคิวภาควิชาวารสารศาสตร์แสดง พวกเราต้ องฮึดสู้และให้ กำ� ลังใจกัน มองจากสีหน้ าทุกๆคนในงาน รู้วาทุกคนเข้ าใจว่า พวกเราคนน้ อยและเรียนหนัก กิจกรรมด้ านสันทนาการพวกเราไม่ค่อยเก่ง ตอนงานจบเพื่อนๆบางภาควิชาจึงมาช่วยกันบูม ให้ วารสารฯ จุดนี้เป็ นอีกสิ่งที่ประทับว่า เราเป็ นนิเทศศาสตร์ท่มี คี วามสามัคคีกนั
ความสุข 166
เข้ าประกวดสารคดีของส�ำนักข่าวประชาไท แต่แล้ วก็มงี านอีกชิ้นหนึ่งเข้ ามาให้ ต้องส่งประกวดอีกครั้งงานนี้เป็ นของส�ำนักข่าวประชาไท พวกเราเสนอประเด็น เรื่องเกาะเสม็ดไป แต่เป็ นแง่มุมใหม่ และผลปรากฏว่าเราผ่านเข้ ารอบ ซึ่งเราต้ องไปสอบสัมภาษณ์และสุดท้ ายเราก็ได้ ทุน 30,000 บาทส�ำหรับท�ำงานต่อยอดชิ้นนี้ให้ ประชาไท ซึ่งเมื่อได้ มกี ารพูดคุยกับพี่เลี้ยงของทีมท�ำให้ พวกเราตัดสินใจเปลี่ยน ประเด็นจากเกาะเสม็ด ไปสู่เรื่องไฟไหม้ บ่อขยะแพรกษา ซึ่งอยู่ในขอบเขตเรื่องภัยสิ่งแวดล้ อมเหมือนเดิม จากที่คิดว่าเสี่ยง น้ อยลงที่ไหนได้ เสี่ยงอันตรายยิ่งขึ้นกว่าเก่ามาก ซึ่งช่วงเวลาที่ต้องท�ำงานชิ้นนี้เป็ นช่วงที่ต้องฝึ กงานไปด้ วย และดิฉันเลือกฝึ ก ที่ช่อง 7 มันทั้งเหนื่อยและได้ ความรู้อย่างมหาศาลไปพร้ อมๆกัน จากตรงนี้ท้งั ทั้งการฝึ กงานและการได้ ทุนจากประชาไท ท�ำให้ เราเห็นความกว้ างขวาง การเป็ นที่ยอมรับและบุคลากรที่มคี ุณภาพของคณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ กระจาย อยู่ท่วั ในวงการสื่อสามวลชน ส่วนกิจกรรมตอนปี 3 มีโอกาสได้ เป็ นเชียร์ลีดเดอร์ของภาควิชา เพื่อแข่งขันเชียร์ลีดเดอร์ในงาน CA Game 2014 หรืองานแข่งขันกีฬาภายในของคณะนิเทศศาสตร์ จ�ำได้ ว่าซ้ อมหนักมาก เลิกเรียนหรือว่างเมื่อไหร่กต็ ้ องซ้ อมจนถึงดึกดื่น เพื่อนที่เป็ นหัวหน้ าฝึ กซ้ อมโหดสุดๆแต่เราก็เข้ าใจและเต็มใจที่จะท�ำ เมื่อวันแข่งขันจริงมาถึง พวกเราใจฝ่ อทุกคนทั้งกอง เชียร์และเชียร์ลีดเดอร์ เพราะภาควิชาอื่นๆเขาคนเยอะและการแสดงก็อลังการงานสร้ างมากๆ บรรยากาศตอนนั้นเงียบสนิท เมื่อถึงคิวภาควิชาวารสารศาสตร์แสดง พวกเราต้ องฮึดสู้และให้ กำ� ลังใจกัน มองจากสีหน้ าทุกๆคนในงาน รู้วาทุกคนเข้ าใจว่า พวกเราคนน้ อยและเรียนหนัก กิจกรรมด้ านสันทนาการพวกเราไม่ค่อยเก่ง ตอนงานจบเพื่อนๆบางภาควิชาจึงมาช่วยกันบูม ให้ วารสารฯ จุดนี้เป็ นอีกสิ่งที่ประทับว่า เราเป็ นนิเทศศาสตร์ท่มี คี วามสามัคคีกนั
เรื่อง เรา เล่า 167
ช่วงปี 3 เป็ นอะไรที่เหนื่อย ท้ อ เครียด แต่กส็ นุก เพราะเราได้ พบได้ เรียนรู้เรื่องที่แปลกใหม่และตรงกับความชอบ ความฝันมากมาย ทั้งผู้คน โอกาส ความรู้จากอาจารย์ประจ�ำ อาจารย์พิเศษ วิทยากรแต่ละท่านที่แวะเวียนมาให้ ความรู้ แต่ใน ช่วงปี 3 นี้เป็ นช่วงเกรดตก รู้สกึ กังวลและเครียดมาก กลัวจะหลุดจากเกียรตินิยมอันดับ 2 มากแต่สดุ ท้ ายก็ยังสามารถประคับ ประคองเกรดให้ อยู่รอดมาถึง 4 ได้ แบบฉิวเฉียด อีกเรื่องที่สำ� คัญคือยังรู้สกึ ไม่ชินกับอาจารย์ท่ดี ูดุ เข้ มงวดแบบสุดๆ ท�ำให้ กลัวไม่ค่อยกล้ าเข้ าใกล้ อาจารย์ เปิ ดเทอมมาปี 4 เทอม 1 รู้สกึ งงๆ ผสมตื่นเต้ นว่านี่ฉันก�ำลังเรียนปี สุดท้ ายแล้ วนะ อีกไม่ก่เี ดือนจะจบแล้ วต้ องออก ไปท�ำงานแล้ ว เปิ ดเทอมมาอาจารย์ชอบทักว่าแก่ ตอนแรกคิดว่าอาจารย์แซวข�ำๆ แต่พอโดนแซวบ่อยๆ มันท�ำให้ เริ่มส�ำรวจ ตัวเองและเห็นว่า เราแก่ข้ นึ จริงๆ ทั้งรูปร่างภายนอกและความคิดความอ่านรวมทั้งความรู้ เริ่มมีร่นุ น้ องเข้ ามาปรึกษาเรื่อง เรียน จากที่เรารู้สกึ ว่าตัวเองกะโหลกกะลาไปวันๆ ตอนนี้มนี ้ องๆเข้ ามาขอค�ำปรึกษา น้ องเห็นเป็ นที่พ่ึงได้ ท�ำให้ ย้อนคิดถึง ตอนแรกปี 3 แล้ วมองดูร่นุ พี่ปี 4 เราก็คิดแบบนี้ และได้ รับสิ่งดีๆ ได้ รับความช่วยเหลือจากรุ่นพี่เสมอ ท�ำให้ คิดว่าเราก็ต้องให้ ความช่วยเหลือรุ่นน้ องแบบนั้นบ้ าง เรื่องเรียนช่วงปี 4 เทอมแรกค่อนข้ างหนักมาก หนักกว่าปี 3 เพียงแค่พวกเราเริ่มชินและปรับตัวกับการเรียนสุดโหด ได้ แล้ ว จึงไม่ได้ ท้อแท้ หรืองอแงเหมือนตอนปี 3 ในช่วงปี 4 เทอมนี้ดฉิ ันได้ รับมอบหมายหน้ าที่จากอาจารย์มากขึ้น เป็ น Caster โต๊ะข่าวการศึกษา,โต๊ะข่าวสาธารณสุขและโต๊ะข่าวประชาสัมพันธ์ ท�ำหน้ าที่ตรวจข่าวทั้งเนื้อหาและแบบฟอร์ม รีไรท์ ข่าวเพื่อนทั้ง 3 โต๊ะก่อนน�ำส่งอาจารย์ ในขณะเดียวกันก็ต้องท�ำข่าวของตัวเองด้ วย นอกจากข่าวลงเสียงต้ องมีข่าวเปิ ดหน้ า รู้สกึ ได้ ว่ามีความกล้ ามากขึ้น มั่นใจขึ้นเพราะเคยท�ำข่าวเปิ ดหน้ ามาหลายชิ้นและตอนนี้อยู่ปี 4 ท�ำให้ เริ่มคุ้นเคยมากขึ้น หนัก ที่สดุ ในช่วงปี 4 เทอม 1 คือการท�ำ Run Down Radio Term Project ทั้งหมด 6 ชั่วโมงดิฉันรับหน้ าที่น้ ีคนเดียว รวมทั้งเลือก ข่าวและรีไรท์ข่าวให้ เป็ นข่าววิทยุ พักผ่อนน้ อย เป็ นหวัดถึงขั้นงดใช้ เสียง 1 สัปดาห์ และอีกอย่างที่จำ� ขึ้นใจคือ Project จบ JR309 เป็ นงานที่ต้องท�ำคนเดียวทุกอย่าง ความยาวงาน 30 นาที เขียนบทเอง ตัดต่อเอง ท�ำ CG เอง ลงเสียงเอง ท�ำหน้ าปก DVD เอง ท�ำตัว Promote เอง ต้ องบอกว่าทั้งรูปเล่มและตัวคลิปวีดโิ อเราท�ำคนเดียวทั้งหมด และได้ รับแรงช่วยเสริมจาก ครอบครัว อาจารย์และเพื่อน วันที่งานเสร็จ “ภูมใิ จมากค่ะ” และในช่วงนี้กลุ่มของดิฉันได้ รับรางวัลชมเชยจากเวทีสายฟ้ าน้ อย ปี ที่ 10 ในประเภทสารคดีเชิงข่าววิทยุเรื่องเจาะลึกบ่อขยะแพรกษาเป็ นอีกรางวัลที่ภมู ิใจมาก เพราะมันคืออีกก้ าวในสายอาชีพ ที่ดฉิ ันใฝ่ ฝันอยากท�ำในอนาคต มาถึงเทอมสุดท้ ายคือเทอมนี้ ปี 4 เทอม 2 เหลือเวลาเพียงแค่ 6 สัปดาห์พวกเราจะเรียนจบ ดิฉันได้ รับข่าวดีต้งั แต่ ต้ นเทอม นั่นคือรางวัลชนะเลิศคลิปวีดโิ อรณรงค์จริยธรรมและจรรยาบรรณสื่อ แล้ วมีเรื่องไม่เข้ าใจกันหลายเรื่องระหว่างกัน ในกอง บก.BJ6 แต่ต้องขอบคุณหมิวที่เป็ นผู้นำ� ที่ดี และคอยประคับประคองงานส่วนรวมหลายๆอย่าง ยังไม่ร้ วู ่างานที่เหลือ จะเป็ นอย่างไร แต่ม่นั ใจว่าดิฉันสามารถจบได้ ภายในเทอมนี้และจะพยายามประคองเกรดให้ ดที ่สี ดุ อยากขอบคุณอาจารย์หลายท่าน โดยเฉพาะอาจารย์ในภาควิชาวารสารศาสตร์ ที่ฝึกฝน เคี่ยวเข็ญ ฝึ กความอดทนให้ เราพร้ อมรับมือของสนามการท�ำงานในชีวิตจริงได้ เป็ นอย่างดี รวมทั้งรุ่นพี่ท่คี อยเปิ ดโอกาสและผลักดันให้ ร่นุ น้ องเสมอ ทั้งฝั่ง Print และฝั่ง Broadcasting ท�ำให้ ร้ สู กึ เสมอว่าภาควารสารศาสตร์ของเราคนน้ อย แต่คุณภาพเรามีเต็มเปี่ ยม และคงจดจ�ำค�ำที่ ถูกสอนมาตลอดว่า JR ไม่ได้ ต้องได้ ไม่ทนั ต้ องทัน ไม่เสร็จต้ องเสร็จ สุดท้ ายนี้ต้องบอกว่าตลอด 4 ปี ในรั้ว BU Bangkok University ที่น่ีให้ อะไรมากกว่าความรู้ด้านวิชา ให้ โอกาส ให้ อสิ ระ และส่งเสริมให้ นักศึกษาค้ นพบตัวตนของตัวเองจริงๆ ค�ำ เดียวคืออยากบอกคือ “ภูมใิ จและไม่เคยผิดหวังกับ Bangkok University ค่ะ”
ความสุข 168
เรื่อง เรา เล่า 169
ความรู้สึกทัง้ หมดที่มีต่อที่น่ี กรองกาญจน์ วัฒนศรี
“ ชี วิตของเด็กมหาวิทยาลัย มีอะไรมากมายให้เราได้เรียนรู ้กันไปค่ะ ทุกอย่างคือบทเรียนที่ดีมากมาก ”
สวัสดีค่ะดิฉันชื่ อนางสาวกรองกาญจน์ วัฒนศรี ปั จจุ บันเรียนอยู ่ชั้นปี ที่ 4 เข้าสู่ภาคเรียนที่ 2 ของการ เรียนแล้วค่ะ บันทึกฉบับนี้ดิฉันขอรวบรวมเรื่องราวตัง้ แต่ตัดสินใจเข้ามาเรียนที่นี้จนถึงตอนนี้นะค่ะ ทัง้ หมดคือความ รู ้สึกที่มีต่อที่นี้และหลาย อย่าง หลายเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นมันคือความทรงจ�ำดีดีส�ำหรับดิฉันที่คงไม่มีวันลืม ในตอนนั้นจ�ำได้ ว่ามาที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพครั้งแรกเดินทางมาคนเดียวค่ะ ท�ำทุกอย่างเองคนเดียว มาจากต่าง จังหวัดตั้งใจไว้ ว่าจะเข้ าเรียนที่น้ ีเลยไม่สอบเข้ าที่ไหนเลย มุ่งหน้ ามาที่น่ีท่แี รกด้ วยความเชื่อว่าที่น่ีคืออันดับหนึ่งในเรื่องของ การเรียนนิเทศศาสตร์ ตอนได้ เข้ ามาในรั้วแห่งนี้ร้ สู กึ กลัวว่าจะหาเพื่อนไม่ได้ จะมีเพื่อนไหม เราก็ตวั คนเดียว ส่วนใหญ่จะมี กลุ่มเพื่อนกันหมดแล้ ว แต่เพื่อนที่มาตัวคนเดียวเหมือนเราก็มเี ยอะแยะเลยเริ่มท�ำความรู้จักกัน จนมีกลุ่มเพื่อนที่ไปไหนด้ วย กันเรียนด้ วยกัน ช่วงปี หนึ่งเป็ นอะไรที่มคี วามสุขมาก ๆ กับสังคมใหม่ ๆ ได้ เจอสิ่งต่าง ๆ มากมายที่เราไม่เคยเห็น มีเพื่อนจากต่าง ถิ่นต่างที่มาอยู่ด้วยกันท�ำให้ ในช่วงปี หนึ่งปรับตัวได้ ง่ายมากกับการเรียน ปี หนึ่งจะไม่ค่อยมีอะไรมากเพราะเรายังคงเรียนกัน แบบเซตวิชาไม่ค่อยวุ่ยวายในเรื่องของวิชาและตารางเรียน ยังคงสนุกสนานกับเพื่อน ๆ ไม่ค่อยมีวิชาที่ต้องใช้ ความคิดมาก ๆ เพราะส่วนใหญ่เป็ นวิชาพื้นฐาน เข้ าฟังบรรยายมาเรียนในทุกวันทุกคาบและตั้งใจเป็ นอย่างมากท�ำให้ ผลการเรียนดีมากเพราะ เป็ นสิ่งที่เราคิดว่าเราชอบมัน เราสนุกกับมันมีความสุขทุกครั้งที่เข้ าเรียน ซึ่งบางวิชาไม่เคยเข้ าใจเลยตอนเรียนมัธยมนั่นคือ วิชาแสตดเกี่ยวกับการค�ำณวนความถี่ต่าง ๆ แต่ด้วยความที่เราตั้งใจและขยันเลยท�ำให้ วิชาที่ไม่เคยเข้ าใจกลับดูง่ายมากใน สายตาเรา สรุปคือปี หนึ่งชีวิตสวยงามสงบสุขมากค่ะ เมื่อเริ่มเข้ าเรียนในปี สองทุกอย่างยังคงเหมือนเดิมมาเรียนกลับหอ เป็ นปกติเหมือนทุกวัน ๆ ช่วงปี สองก็ยังคง เป็ นการเรียนที่ถอื ว่าสบาย ๆ อยู่ค่ะทุกอย่างยังอยู่ในเกณฑ์ท่เี รียกว่าดีเยี่ยมกับการเรียน แต่กม็ บี างอย่างท�ำให้ เกือบเสียการ เรียนแต่ไม่เสียนะค่ะยังคงแบ่งแยกได้ ว่าอะไรคือหน้ าที่ ช่วงนั้นคือ ติดซีร่ีสเ์ กาหลีมากมากๆ จนไม่หลับไม่นอน นึกแล้ วก็ยังข�ำ ตัวเองอยู่เลยค่ะ เลิกเรียนปุ๊ บรีบกลับห้ องเพื่อจะไปดูซีร่ีส์ ตอนนั้นจ�ำได้ ว่าติดมากจนถึงขั้นนั่งรถไปเชียงรายกับเพื่อนเพื่อที่จะ ไปแม่สายไปซื้อแผ่นซี่ร่ีสเ์ กาหลีหนีภาษีมาเก็บไว้ ดู ได้ มาเยอะแยะหลายแผ่นเลยละค่ะ ฮ่าฮ่า ตอนปี สองในช่วงใกล้ จะเทอมที่ 2 เกิดน�ำ้ ท่วมใหญ่ทำ� ให้ มหาวิทยาลัยปิ ดไปนานมากๆ เปิ ดเทอมมา มหาวิทยาลัย ได้ รับความเสียหายเป็ นอย่างมากเลยท�ำให้ การเรียนการสอนในช่วงนั้นคือ เรียนออนไลน์ รู้สกึ สนุกและชอบมากที่ไม่ต้องเข้ า ห้ องเรียน ฮ่าฮ่า แต่จะล�ำบากตรงการเรียนค่ะ สือสารกันล�ำบากมากเพราะไม่สามารถเรียนได้ ย่างเต็มที่ทำ� ให้ ในช่วงนั้นอาจจะ เกิดการเรียนแบบ มึนงง และสับสนบ้ างนิดหน่อยแต่ทุกอย่างก็ผ่านไปได้ ด้วยดี ในช่วงปี สองยังคงชิลล์ๆกับชีวิตอยู่เลยค่ะและ ตื่นเต้ นมาก รู้สกึ ว่าแป๊ บเดียว เราก็จะขึ้นปี 3 กันแล้ วตอนนั้นดีใจมากที่จะขึ้นปี 3 แต่แอบหวั่น ๆ เพราะได้ ยินค�ำขู่จากพี่ๆว่า ปี 3 คือมหาโหดเลยก็ว่าได้ แต่กไ็ ม่หวั่นค่า ในเมื่อเราเลือกแล้ วและอีก อย่างเรายังไม่ไดรับรู้รสของการเรียนวารสารเลยจะกลัวอะไร ตอนนั้นคิดว่าคงไม่มหาโหดอย่างที่พ่ีๆเขาขู่กนั หรอก เพราะยัง ไงการเรียนทุกอย่างมันก็มยี ากง่ายให้ เราได้ เรียนรู้กนั ไปอยู่แล้ ว อ่อลืมเล่าช่วงเหตุการณ์สำ� คัญค่ะ คือ ตอนปี หนึ่งอ้ วนมากช้ าง น�ำ้ เลยละ อ้ วนกว่าปัจจุบนั มากมาก เกิดชอบผู้ชายค่ะ ฮ่าๆ เลยตั้งใจลดความอ้ วนค่ะ แต่กน็ ะลดแล้ วผอมด้ วยนะช่วงนั้น แต่ ความผอมก็ไม่ได้ ช่วยให้ มคี วามรักเกิดขึ้นได้ ค่ะ เพราะอกหัก เศร้ าไปแป๊ บนึง แค้ นมากท�ำไมเหรอคนอ้ วนคือมีความรักไม่ได้ เลยเหรอ นั่นคือค�ำถามที่ถามมาตลอดตอนตัวเองอ้ วนมาก
เรื่อง เรา เล่า 171
กลุ่มเพื่อนที่คบกันมาตั้งแต่อยู่ปี 1 เรื่องราวในชีวิตของเด็กมหาวิทยาลัยมีอะไรมากมายให้ เราได้ เรียนรู้กนั ไปค่ะ ทุกอย่างคือบทเรียนที่ดมี ากมาก ท�ำให้ เราได้ คิดไม่ว่าจะเกี่ยวกับการเรียนหรือการใช้ ชีวิต ทุกอย่างมันท�ำให้ เราโตขึ้น เหตุการณ์อะไรหลาย ๆ อย่าง ท�ำให้ ได้ เรียนรู้ มันด้ วยตัวเอง ท�ำให้ เรากล้ าที่จะตัดสินใจอะไรได้ โดยไม่ต้องคอยพึ่งคนอื่นเลย และมารู้สกึ ว่าตัวเองก�ำลังจะโตเป็ นผู้ใหญ่ข้ นึ ก็ ในช่วงปี สามนี่แหละ มีเหตุการณ์เยอะแยะมากมายให้ เราได้ เรียนรู้และเข้ าใจชีวิตมากขึ้น เริ่มเข้ าสู่ชีวิตเด็กปี สาม ที่เขาว่ามหาโหด พอเจอกับตัวก็ร้ สู กึ ได้ เลยค่ะว่าเราต้ องเจอกับของจริงได้ แล้ ว ได้ เรียนรู้และ รับรสของความเป็ นบีเจมากขึ้นรู้ตวั ตนเรียนรู้การท�ำงาน การเขียนข่าว ตัดข่าว ท�ำสารคดี คือความรู้ท้งั หมดได้ รับได้ เรียนรู้ใน ช่วงปี สามเกือบทั้งหมด ได้ เรียนรู้ทุกอย่างไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของความอดทนในการท�ำหน้ าที่ของตัวเอง ต้ องรู้จักแบ่งเวลาใน การท�ำงาน ตั้งใจและเต็มที่กบั มัน การเรียนในด้ านนี้ถอื ว่าต้ องมีความพร้ อมอยู่ตลอด ถึงในบางครั้งเราอาจจะไม่เข้ าใจในบางสิ่งบางอย่างว่าเราจะท�ำ ไปท�ำไม ท�ำเพื่ออะไร และมันจะได้ อะไร ตอนนี้เข้ าดีว่าทุกอย่างคือเพื่อตัวเราเองทั้งนั้น ทุกสิ่งที่อาจารย์เขาสอนคือความรู้ท่เี รา ไม่สามารถหาได้ คิดได้ ด้วยตัวเอง เข้ าใจได้ ถงึ ความหวังดีจากอาจารย์ท่พี ยายามเคี่ยวเข็น พร�่ำสอน เพื่อใครก็เพื่อตัวเราเองทุก คน ผลที่ได้ รับคือตัวเราเองทั้งหมด นั้นคือสิ่งที่นักศึกษาบางคนอาจจะยังสงสัยว่า เมื่อมาถึงจุดนี้แล้ วเราเหมาะหรือเปล่ากับ การเรียนในสิ่งนี้ ตอนนี้ยังไม่ทราบหรอกว่าเราใช่รึเปล่า เพราะเรายังไม่ได้ สมั ผัสมันจริงสักเท่าไหร่ ในช่วงปี สามได้ รับความรู้มากมายเยอะจริง ๆ จนบางครั้งเหนื่อย ท้ อ แต่ไม่เคยถึงขั้นร้ องไห้ เพราะคิดว่าแค่น้ ีเอง แค่เรียนรู้มนั ตั้งใจ ถึงเราจะไม่ใช่คนเก่งในสายตาใครหลาย ๆ คน เป็ นแค่จุดหนึ่งซึ่งเป็ นคนอาจจะดูเงียบ ๆ ไม่ค่อย แสดงออกมากนัก แต่ในเมื่อเรารักในสิ่งนี้เลือกที่จะเรียนรู้ส่งิ นี้ ตอนนั้นในช่วงปี สามท�ำให้ ได้ ความคิดเยอะแยะมากมายเกี่ยว กับการใช้ ชีวิตการท�ำงานในอนาคต ตอนนั้นคิดว่าปี สามเป็ นอะไรที่ยากมาก แต่ทุกครั้งที่บ่นให้ แม่ฟังแม่จะคอยบอกตลอดว่า ไม่มอี ะไรที่ง่ายหรอก ในเมื่อเรามีความสุขที่จะท�ำมันเราเต็มที่ในงานที่เราท�ำถึงมันจะผิดบ้ างแต่เราก็ได้ ทุม่ เทจนสุดแล้ ว แค่น้ ี ก็ดที ่สี ดุ แล้ ว
ความสุข 172
การเรียนในช่วงปี สามเป็ นอะไรที่เราคิดว่ามันยากมาก มีเรื่องเกิดขึ้นเยอะมาก ส่วนมากจะเคร่งเครียดกับการเรียน การท�ำงานแข่งกับเวลาเผื่อให้ เราได้ ทำ� งานให้ ทนั ส่งและมีคุณภาพ แต่บางครั้งก็เหนื่อยและท้ อใจด้ วยอะไรหลาย ๆ อย่างที่เข้ า มาพร้ อม ๆ กัน ท�ำให้ ท้อและน้ อยใจตัวเองว่าท�ำไมถึงท�ำอะไรได้ ไม่เก่งเท่าเพื่อนคนอื่น ๆ ท�ำไมเราก็ทำ� ดีท่สี ดุ แล้ วนะท�ำไมถึง ท�ำได้ แค่น้ ีเอง ความคิดเยอะมากเกิดในหัว แต่เราก็ไม่ได้ เครียดกับมันมากสักเท่าไหร่ โดยตอนนั้นช่วงปี สามที่เครียด ๆ ก็มี ก�ำลังใจจากการอ่านข้ อคิดเยอะมากท�ำให้ ได้ คิดอะไรดีดเี ยอะแยะ ท�ำให้ เรามีความอดทนมากขึ้น และคิดว่าจะสนุกกับการ เรียนการงานที่อาจารย์ส่งั ให้ ทำ� ในช่วงปี สามได้ มโี อกาสท�ำงานข่าว การเขียนข่าว ตัดภาพข่าว ลงเสียงต่างมากมายก็สนุกกับ มันอยู่มาก ถึงแม้ ว่าอาจจะยังคงท�ำได้ ไม่ดเี ท่าที่ควรแต่ทุกอย่างที่ทำ� ออกมาคือผลงานของเราพอเอาไปให้ พ่อแม่ดูแค่เขาที่ชม ว่าเราเก่งมันก็หายเหนื่อยแล้ ว ทั้งที่ ๆ เราก็ไม่ได้ เก่งอะไรเลยถ้ าหากเทียบกับคนอื่นแล้ ว ปี สามช่วงปิ ดเทอมมีโอกาสได้ ฝึกงานในสายงานที่เราได้ เรียนรู้มา ได้ ออกไปเจอกับของจริง คือเข้ าใจถึงสิ่งที่อาจารย์ ได้ อย่างแท้ จริงเลยละค่ะ การท�ำงานไม่สามารถรออะไรได้ ทุกอย่างคือต้ องเป๊ ะ ช้ าไม่ได้ รอไม่มี ต้ องมีความพร้ องอยู่ตลอดเวลา ในช่วงที่ฝึกงานนั้นมีส่งิ ที่ให้ ได้ เรียนรู้เยอะมาก ตลอดระยะเวลา 2 เดือนของการฝึ กงาน ตอนเเรกคิดว่าจะเข้ ากับทุกคนได้ ไหม จะเป็ นยังไงบ้ าง ตอนนี้พูดเลยอยากฝึ กสัก 1 ปี สนุกเฮฮาได้ ร้ งู านเยอะได้ ประสบการณ์ได้ เรียนรู้หลายสิ่งหลาย อย่าง ถึงจะไม่ ได้ รับรู้ท้งั หมดมากพอด้ วยระยะเวลาการฝึ กที่น้อยเเต่กไ็ ด้ ร้ จู ักการท�ำงานจริงร่วมกันเเบบเป็ นทีมต้ องมีความเป็ นหนึ่ง สามัคคี ที่สำ� คัญคือต้ องรับฟังกัน คุยกันได้ ในทุก ๆ เรื่องของการท�ำงาน ต้ องน�ำมาเเก้ ไข เป็ นอะไรที่ไม่ยากเเละก็ไม่ง่ายเหมื่อนกัน การท�ำงานนั้นส�ำคัญที่สดุ คือการปรับตัวให้ เข้ ากับสังคม ต้ องเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กรที่ได้ อยู่ เพื่อจะได้ ปรับตัว ท�ำตัว และ วางตัวได้ ถูก ประทับใจคือที่น้ ีได้ สอนให้ เราเป็ นผู้ใหญ่มากขึ้น ต้ องมีการวางตัวให้ ถูก กาลเทศะ การท�ำงานเป็ นทีมมีความ ส�ำคัญมากในการท�ำงานร่วมกับผู้อ่นื จากการที่ได้ เริ่มฝึ กงานมาตั้งแต่ต้นเดือนมิถุนายน มีความรู้สกึ ว่าได้ ใช้ ชีวิตตามเวลาให้ มคี ่ามากมาย ไม่ต้องมาอยู่ใน ห้ องเรียนที่มกี ารฉายเพาเวอร์พอยด์ ต้ องฟังอาจารย์บรรยาย ไม่ต้องมีการควบคุมโดยเวลาเรียน รู้สกึ อย่างได้ ชัดที่จะต้ องมี ความรับผิดชอบมากขึ้นโดยมีหน้ าที่ท่ชี ัดเจน เปรียบเสมือนเราได้ เป็ นส่วนหนึ่งขององค์กรที่เราอยู่และการที่เราต้ องท�ำงาน แข็งกับเวลา ก็ต้องมีความกระตือรือร้ นอยู่ตลอดเวลา เพราะการท�ำข่าวนั้นต้ องมีความพร้ อมอยู่เสมอ ต้ องไปได้ ในทุกที่ทุก แห่งทุกสถานการณ์ เข้ าใจได้ ถงึ ค�ำที่ว่า ‘’ไม่ได้ ต้องได้ ไม่ทนั ต้ องทัน ’’ ก็คราวนี้ และในส่วนเรื่องความรู้ท่ใี ช้ มีท้งั ความรู้เดิม ที่ใช้ ในระหว่างการเรียนและความรู้ใหม่ท่พี ่ึงได้ ร้ ขู ณะท�ำงานจริง ซึ่งความรู้ใหม่เป็ นความรู้ท่ตี ้ องอาศัยประสบการณ์และภูมิ ความรู้ท่ไี ด้ เล่าเรียนมาประกอบกัน เนื่องจากองค์กรที่ไปฝึ กงานอยู่น้ันเป็ นศูนย์ข่าวภาคใต้ ในเขตท้ องถิ่นท�ำให้ งานที่ได้ รับ มอบหมายส่วนใหญ่จะเป็ นการลงพื้นที่ สถานที่จริง ไม่ว่าจะเป็ นการเกิดอุบตั เิ หตุต่าง ๆ การจับกุมผู้ต้องหา ต้ องมีความพร้ อม อยู่ตลอดเวลาในการที่จะออกไปท�ำข่าวกับพี่ ๆ ซึ่งพี่ ๆ ทุกคนต่างก็เป็ นมืออาชีพ มีความว่องไว รอบคอบ ต้ องเขียนข่าวให้ ได้ ภายในเวลาไม่ก่นี าที ต้ องจับประเด็น ท�ำการสัมภาษณ์กนั สด ๆ ตรงสถานที่น้ัน จะช้ าไม่ได้ ต้ องมีความกล้ าที่จะถาม และน�ำ เสนอข่าวออกไปได้ อย่างรวดเร็วและถูกต้ อง ในช่วงปี สามเลยเป็ นอะไรที่ท้าทายมากเพราะเราได้ รับความรู้แบบเต็ม ๆ จากการฝึ กงานนี่แหละและเมื่อในช่วงที่ เราฝึ กงานก็จะคิดขึ้นมาได้ เลยว่า ท�ำไมเราถึงโดนเขี่ยวเข็ญ ท�ำไมเราถึงต้ องท�ำงานอย่างคนที่มคี ุณภาพเพราะความจริงแล้ ว การท�ำงานข่าวเราต้ องท�ำงานแบบเร่งรีบคือต้ องพร้ อมอยู่ตลอดเวลา ต้ องชัดเจนในทุกด้ านจะมั่วแต่รอคอยเชื่องช้ าก็ไม่ได้
เรื่อง เรา เล่า 173
การเรียนในปี สามจึงเป็ นอะไรที่หนักหน่วงมากคือทุกอย่างมารุมอยู่ในตอนนั้น หลังจากฝึ กงานก็เปิ ดเทอมขึ้นปี สี่ ต้ องมาท�ำสารนิพนธ์ส่งอาจารย์ ยิ่งเครียดมาก ๆ ถึงขั้นบนบานศาลกล่าว คือเราก็ ตั้งใจนะแต่มนั ก็คงยังไม่เต็มที่พอแต่เราก็ต้องท�ำให้ มนั ผ่านไปให้ ได้ บอกเลยว่าตอนนั้นเราเครียดมากถึงขั้นบอกแม่ว่าถ้ าเกิด เราไม่ผ่านจะท�ำยังไง แม่กไ็ ม่พูดอะไรบอกแค่ว่า ไม่ผ่านก็ต้องท�ำให้ มนั ผ่านไปให้ ได้ เรานึกถึงพ่อแม่เราเลยมีแรงสู้กบั มันต่อ ไป พยายามไม่เครียดและนั่งท�ำนั่งคิดแบบมีสมาธิหัวเราก็จะพุ่งไปเอง ท�ำให้ มนั ผ่านไปได้ ถงึ จะช้ ากว่าคนอื่นแต่เราก็ทำ� จนมัน เสร็จ เป็ นอะไรที่พูดเลยว่าขนาดกลับบ้ านปิ ดเทอมไปเที่ยวตอนนั้นก็ไม่มคี วามสุขเลยใจคิดแต่เรื่องงานว่ามันจะผ่านไปไหม คือนอนก็เหมือนยังมีอะไรติดค้ างอยู่ในหัว มันเป็ นแบบนั้นจริง เพราะเราเองเป็ นคิดมากกลัวไปทุกอย่างว่ามันจะดีไหมนะ พอ ตอนปี สี่เทอมหนึ่งเกรดออกมาแต่ละตัวคือแบบ...มาก จนตอนนี้ปีสี่เทอมสองแล้ ว คิดอะไรได้ เยอะมากตั้งแต่เรียนมา เข้ าใจถึงอาจารย์ทุกคนที่เคี่ยวเข็ญ นี่ยังน้ อยไปด้ วย ซ�ำ้ นะเราว่า คือกับอาจารย์เราสามารถต่อรองได้ อาจารย์ทา่ นให้ โอกาสเราเสมอ แต่หากเราออกไปท�ำงานจริง ๆ คงไม่มคี ำ� ว่า โอกาสหรอกเกิดเราท�ำผิดพลาดขึ้นมาก็คงแย่มาก ๆ แล้ วชีวิตการท�ำงานไม่มใี ครมานั่งรอและเคี่ยวเข็ญที่จะเอางานจากเรา หรอก มันมีกำ� หนดวันที่ตายตัวอยู่แล้ วด้ วยซ�ำ้ นี่คือสิ่งที่กรอกหูมาตลอดว่า ไม่ได้ ต้องได้ ไม่ทนั ต้ องทันเสร็จแล้ วต้ องดีด้วย อย่าให้ งานที่ไม่มคี ุณภาพออกไปเผยแพร่ ยังคิดอยู่เลยในช่วงตอนเราลงเรียนวิชา JR302 ตอนปี สี่เทอมหนึ่งมีการให้ ทำ� ข่าว ลงเสียง ซึ่งเราต้ องลงเรียนกับเพื่อนบางส่วนที่ลงไม่ทนั และได้ เรียนกับน้ อง ๆ เมื่อครั้งแรกที่ได้ ดูงานของรุ่นน้ องปี 3 บางคน นะคือเฮ้ ย...ไม่ได้ จะว่านะแต่คือมันท�ำให้ เราคิดว่าเราโชคดีมากที่ได้ เรียนใน BJ ได้ โดนเคี่ยวเข็ญมาตลอดอย่างน้ อยเราก็ร้ จู ัก วิธแี ละขั้นตอนการถ่าย การเขียนข่าวการวางล�ำดับเรื่องได้ ดมี าก หากเทียบกับตอนปี สามตอนนั้นเราคิดว่าก็ยังท�ำได้ ดกี ว่านี้นะ เพราะหากไม่มอี าจารย์ท่านหนึ่งเราก็ทำ� ไม่ได้ มาถึงจนทุกวันนี้ รุ่นน้ องพลาดแล้ วละที่เกิดมาหลังรุ่นเรา สรุปโดยรวมการเข้ ามาอยู่ในรั้วบียูน้ ีทำ� ให้ เราได้ เรียนรู้ในทุกอย่างเลยล่ะ ไปเจอบทความอันหนึ่งมาซึ่งคิดว่าเหมาะ มากที่จะน�ำมาสรุปภาพโดยรวมของแต่ละปี ของเราคือ ปี หนึ่ง...กิจกรรมเยอะเรียนเรื่อย ๆ ปี สอง...เริ่มเรียนหนักคิดว่าจะซิ่วดี ไหม ปี สาม...นรกที่ว่าแน่ยังแพ้ เลย ปี สี่...เตรียมจองศาลาวัดให้ ด้วยนะ ข�ำข�ำจ๊ะ ความจริงทุกอย่างมันอยู่ท่ตี วั เราเองทั้งนั้น แหละว่าจะเลือกปฎิบตั ติ วั ยังไง อย่าไปโทษคนอื่น เพราะเราเลือกเองกันมาตั้งแต่ต้นที่จะเรียนที่น่ี ดังนั้นนี่กเ็ ทอมสุดท้ ายแล้ ว ก็ต้องท�ำให้ ดที ่สี ดุ เพราะต่อไปเราอาจจะไม่มโี อกาสได้ ทำ� งานท�ำอะไรแบบนี้อกี แล้ ว ต่อไปคือชีวิตจริงที่เราต้ องออกไปเรียนรู้ เอง ไม่มใี ครคอยบอกคอยติเตือน คอยแย้ งว่านี่มนั ไม่ใช่นะ คิดเอาเองเถอะว่าเราโชคดีขนาดไหนที่ได้ เข้ าเรียนที่น่ี มันท�ำให้ เราแกร่งขึ้นจริง ๆ
ความสุข 174
เรื่อง เรา เล่า 175
บทแถม
สี่ปี กีรติ เอมมาโนชญ์
“ ผมได้อะไรจากที่น่ีมากมายเลยทีเดียว ”
วันเปิ ดเทอมปี หนึ่ง กลางเดือนมิถุนายน 2554...
ในที่สดุ ก็ถงึ วันนี้จนได้ วันที่เราต้ องเปลี่ยนฐานะตัวเองจากเด็กมัธยมปลายนุ่งเสื้อเชิ้ตแขนสั้น ใส่กางเกงสีกากี สวมถุงเท้ าไนล่อน สีนำ�้ ตาล (โรงเรียนเก่าห้ ามใส่ลูกฟูก) และแน่นอนรองเท้ าสีนำ�้ ตาลคู่ใจ มาเป็ นเสื้อเชิ้ตกางเกงสเลดสีดำ� ถุงเท้ าแบบไหนก็ได้ และรองเท้ าผ้ าใบบ้ าง หนังบ้ างตามโอกาส หันไปซ้ ายแลไปขวา ทุกคนแต่งตัวกันดูแฟชั่นจัง หัวทองบ้ าง ซอยผมบ้ าง มีแต่งหน้ าบ้ าง นั่นคนนั้น ใส่แว่นด�ำพร้ อม กับชุดหนังสีดำ� เดินจูงมากับคนที่ขอสันนิษฐานว่าคือแฟนเขาแล้ วกัน ทุกคนดูแฟชั่นนิสต์กนั จัง ลองดูตวั เองสิ แม่ง! อย่างกะ ตาแป๊ ะ พับผ่าซิ!! การเป็ นคนแต่งตัวถูกระเบียบมาตลอดในรั้วโรงเรียนนี่มากลายเป็ นอุปสรรคตอนขึ้นมหาวิทยาลัยจริงๆ เพราะไม่ร้ วู ่าตัวเองแต่งตัวยังไงถึงจะดูดี ธรรมดาตัดสั้นตลอด และมีชุดนักเรียนไว้ ออกรบตลอด เลยไม่ค่อยกังวลเรื่องการ แต่งตัว แต่พอขึ้นมหาวิทยาลัยนี่สิ กลายเป็ นปัญหาระดับชาติไปเลย ไหนจะเรื่องเพื่อนใหม่อกี ? นี่ตลอดสี่ปีที่น่ี กูจะเข้ ากับ ใครเขาได้ ม่งั ฟะเนี่ย ไลฟ์ สไตล์กูเขาจะชอบไหมนะ ดูมวยปล�ำ้ เป็ นนิจ อ่านหนังสือพิมพ์เป็ นกิจวัตร บ้ าการเมืองขนาดหนัก นิยมอารมณ์สนุ ทรีย์ของเพลงยุค 80-90 (อย่ามาคุยเรื่องเพลงของบอดี้สแลม บิ๊กแอส หรือเดอะ สตาร์เชียวนะ กูไม่ร้ ู แต่ถ้า มานันทิดา แก้ วบัวสาย อัสนี-วสันต์ ใหม่ เจริญปุระนี่เข้ ามาเลย) ดูจากไลฟ์ สไตล์ส่วนตัวแล้ ว ช่างแปลกแยกกับสังคมใน มหาวิทยาลัยยิ่งนัก เอาล่ะ จะไปคิดให้ มากหนักสมองไปก็ป่วยการเปล่า วันนี้มาเร็วด้ วยนี่หว่า ขอส�ำรวจหอสมุดของที่น่ีก่อนเลยก็แล้ ว กัน เพราะเราถือคติว่า มหาวิทยาลัยมีหนังสือเยอะ แสดงว่ามหาวิทยาลัยนั้นใส่ใจการศึกษา (คิดได้ ไงวะเรา) ไปดีกว่า
บางที่ สี่ปีต่อจากนี้ ที่น่ีอาจจะเป็ นที่ท่เี ราต้ องมาบ่อยๆก็ได้
มกราคม 2555 นี่เป็ นวันแรกที่มาเรียนอีกครั้ง หลังตบตีกบั น้ องน�ำ้ มาในปลายปี ที่แล้ วอย่างสาหัสสากัน ทุกอย่างในมหาวิทยาลัยยัง เหลือร่องรอยของน้ องน�ำ้ ให้ ดูต่างหน้ าหลายที่ เช่นที่หอสมุดสุรัตน์ อันเป็ นสถานที่ท่ผี มมักจะมาสิงสถิตเป็ นประจ�ำ วันนี้ไฟมืด ทั้งตึก เพราน้ องน�ำ้ เล่นเข้ าไปท�ำลายแผงวงจรไฟฟ้ าจนวายป่ วงไปหมด การมายืมหนังสือแต่ละทีจึงไม่ต่างอะไรกับการมาเดิน ส�ำรวจหาขุมทรัพย์ในเรื่องอินเดียน่า โจนส์ เพราะบางมุมมืดซะจนต้ องยกมือถือขึ้นมาส่องหา (ไม่ได้ เว่อร์ มันคือเรื่องจริง) แล้ วเมื่อแผงวงจรไฟฟ้ าพัง อากาศในหอสมุดที่ปกติเย็นเฉียบ กลายเป็ นร้ อนอบอ้ าวแทน หาหนังสือไป มือหนึ่งต้ องคอย พัดโบกตัวเองไปด้ วย...เป็ นช่วงชีวิตช่วงหนึ่งที่ต้องจดจ�ำ ส่วนเรื่องเรียนต้ องใช้ โปรแกรมอะไรก็ไม่ร้ จู ำ� ไม่ได้ เรียนแบบอินเตอร์เรคทีฟ แบบว่าต้ องเรียนผ่านคอม ซึ่งก็โชคดีท่ี เราไปเรียนที่มหาวิทยาลัย ท�ำให้ ลดการงงงวยไปได้ มากกับไอ้ โปรแกรมนี้ไปได้ เยอะเลยทีเดียวเชียว เขียนมามากพอแล้ ว ท�ำ Tell me more ดีกว่า
เรื่อง เรา เล่า 179
ก่อนเปิ ดเทอม กรกฎาคม 2556 ชายคนหนึ่งก�ำลังนั่งจัดกระเป๋ าเพื่อเตรียมตัวส�ำหรับวันเปิ ดเทอมกับในห้ องนอน ชายคนนั้นรู้สกึ เหมือนกับว่าตัวตน หนึ่งของเขาก�ำลังพูดอะไรบางอย่างให้ ฟัง “ผ่านปี สองไปแบบทุลักทุเลเลยนะ” มันทักเขาด้ วยสีหน้ ายิ้มแย้ มผิดปกติ “จะไม่ให้ ทุลักทุเลได้ ไง ก็เล่นไม่ค่อยส่งงาน แล้ วยังตื่นสายนอนดึกบ่อยซะขนาดนั้นนี่หว่า แถมดรอปบางตัวอีกต่าง หาก” เขาพูดด้ วยเสียงอันดังซึ่งปนไปด้ วยความไม่พอใจ ท�ำให้ ตวั ตนนั้นต้ องเปลี่ยนบทพูดไป แต่ยังคงสีหน้ าระรื่นไว้ “จะเข้ าปี สามแล้ วเหรอ เก่งเนอะเอาตัวรอดมาถึงปี สามได้ ...” “แบบเส้ นยาแดงฝ่ าแปด” เขาชิงพูดก่อนจะซดโอวัลตินไปหนึ่งอึดใหญ่ ท�ำให้ เจ้ าตัวตนนั้นหน้ าเจื่อนไป ก่อนจะเริ่ม พูดใหม่แบบจริงจังอีกครั้ง “สองปี ที่ผ่านมา ท�ำให้ เริ่มรู้แล้ วว่าหนทางสู่การเป็ นนักข่าวตามที่เราฝันไว้ ดูทา่ จะไม่ได้ โรยด้ วยกลีบกุหลาบเลยนะ แต่กลับเต็มไปด้ วยหนามแหลมแทน โดยเฉพาะไอ้ ศพั ท์ Convergence Journalist นี่ร้ สู กึ ว่าจะท�ำให้ ชีวิตมันยากขึ้นนะ” เขา สะอึกไปเล็กน้ อย เพราะค�ำพูดที่มนั พรั่งพรูออกมานั้นเป็ นสิ่งที่เขาเริ่มจะรู้สกึ ตั้งแต่ผ่านพ้ นปี สองมา “ เอ...เราจะยังไปต่อดีไหมวะเหลียง ที่บ้านเราก็ทำ� โรงงานนะเว้ ย จะมาดิ้นรนเรียนวารสารศาสตร์ไปท�ำไมวะ ป๊ าเรา ปูให้ แล้ วนะเว้ ย เปลี่ยนไปเรียนอย่างอื่นดีกว่าไหม? นี่ไงโฆษณาไหม? เผลอจะได้ ใช้ มากกว่าอีวารสารศาสตร์น่ีด้วย หรือจะ เป็ น...” “พอเหอะน่า กูร้ วู ่าก�ำลังท�ำอะไรอยู่และขอยืนยันค�ำเดิมว่ากูยังอยากเป็ นนักข่าวอยู่ มึงจะไสหัวไปไหนก็ไป” “หึหึ แล้ วมึงจะรู้สกึ ” ตัวตนนั้นเดินจากไป แต่คำ� พูดของมันยังฝังอยู่ในใจของชายคนนั้นอยู่ วันสอบวันสุดท้ายของเทอมสอง ปี สาม พฤษภาคม 2557 เราแพ้ ยอมรับเลยว่าไม่เคยรู้สกึ แพ้ อะไรเท่านี้มาก่อน แพ้ ใครที่ไหนน่ะไม่เท่าไหร่ แต่แพ้ ตวั เองนี่สิ มันยิ่งกว่าอะไรดี ตื่น สาย งานไม่ส่ง ไปไม่เคยทันนัดสักครั้ง เฮ่อ...แพ้ จริงๆ เคยบอกตัวเองเหมือนกันว่า ท�ำไมก่อนหน้ านี้ไม่เลือกไปเรียนวารสารศาสตร์ส่งิ พิมพ์นะ ถนัดเขียน ถนัดอ่านไม่ใช่ เหรอ? แล้ วมาทูซ่ ้ ีอยู่ท่นี ่ีทำ� ไม ตัดต่อก็ไม่เป็ น ถ่ายรูปก็แค่ไปวัดไปวา เขียนข่าวก็ผดิ ๆถูกๆ อะไรก็ไม่เป็ นสักอย่าง เคย ประกาศกับตัวเองอย่างภาคภูมใิ จว่า อยากเป็ นนักข่าว วันนี้ความทะยานอยากที่มตี ่ออาชีพนี้มลายหมดสิ้นไปหมดแล้ ว เหลือ แต่ความรู้สกึ ทึ่ว่า รีบๆเรียนมันให้ จบๆไปเถอะวะ จะได้ ไปท�ำโรงงานกะพ่อกูสกั ที ไอ้ อาชีพนี้ไม่เอาอีกแล้ ว อย่างนี้จะไปสู้หน้ าใครได้ ใครถามว่าเรียนเป็ นไง ได้ แต่ย้ ิมๆไปแทนค�ำตอบ เอาจริงๆคือไม่อยากบอกเรื่องเรียนกับ ใครเลย ไม่อยากพูดเรื่องนี้ เช่นกันกับเรื่องข่าวที่แต่ก่อนดูข่าวทุกวัน ตอนนี้แค่เห็นข่าวทีวีกเ็ บือนหน้ าหนีไปทางอื่นดีกว่า ขอ จมกับหนังสือพิมพ์ตรงหน้ านี้ซะดีกว่า แต่พอจมกับมันมากๆ ไอ้ คำ� ถามเดิม มันก็ลอยมาตอกย�ำ้ ซ�ำ้ ๆว่า “ท�ำไมไม่เลือกเรียน วารสารสิ่งพิมพ์?” แพ้ จริงๆ แพ้ หมดรูป แพ้ หมดทางแล้ วจริงๆ แพ้ ภัยตัวเองนี่แหละหนักที่สดุ
บทแถม 180
ช่วงฝึ กงานตอนปี 3 ที่ไทยรัฐทีวี วันสุดท้ายของการฝึ กงานที่ไทยรัฐทีวี 1 สิงหาคม 2557 ใจหาย ผ่านไปแล้ ว เกือบสองเดือนที่มาฝึ กงาน ผ่านไปแล้ ว สนุกจริงๆนะ สนุกเหลือเกิน ขอบคุณนะครับพี่แป๊ ะ พี่ปอ พี่เมย์ พี่แอ้ น พี่ตกุ๊ ตา พี่เกด พี่ไอซ์ พี่ต่าย พี่โอ้ พี่เป็ นหนึ่ง และพี่ทุกคนในไทยรัฐที่ ท�ำให้ 2 เดือนที่ผ่านมาเป็ น 2 เดือนที่สขุ มากๆสุขสุดๆ ท�ำให้ ผมพร้ อมจะเผชิญหน้ าต่อไปในปี สี่ ขอบคุณจริงๆครับ อาทิตย์แรกของเทอมสองปี สี่ มกราคม 2558 ปี สี่แล้ วสินะ ปี สุดท้ ายของเพื่อนๆทุกคน (เว้ นผม เพราะก่อนหน้ านี้ดรอปหลายตัวเกินไปต้ องอยู่ต่อ ฮา!) สิ่งที่เรียก ว่า BJ6 นี่มนั แปะอยู่ท่หี น้ ามาตั้งแต่ปีสาม ปี นี้จะถึงเวลาที่จะต้ องวางลงแล้ วสินะ แม้ จะรู้สกึ ว่าช่วงเวลา 4 ปี ในม.กรุงเทพ ส�ำหรับเรา (นอกจากเรื่องหนังสือและหอสมุดที่ประทับใจไม่ร้ ลู ืม) แล้ ว ก็ไม่มอี ะไรเลยจริงๆ เหมือนตกหลุมด�ำมาพักหนึ่ง แต่ไม่ร้ สู ิ พอคิดอีกทีส่งิ ที่เราได้ จากที่น่ี...ก็คงเหมือนทุกๆคนก็คือ เพื่อน ไม่สนิท ไม่เคยคุยด้ วย บางครั้งผมไม่โผล่หน้ ามาเจอ ซะดึ้อๆ แต่เวลามาทีไร ก็ร้ สู กึ คุ้นเคยทุกที มองไปรอบๆเห็นๆกันก็ร้ สู กึ ดี มีความสุข เสียดายที่ทำ� ตัวเงียบๆ ไม่กล้ าเข้ าไปคุย
เรื่อง เรา เล่า 181
ท�ำให้ ไม่ร้ จู ักกันมากเท่าไหร่ เช่นกันกับอาจารย์ท่อี ยู่มาในสองปี สุดท้ าย (แต่มแี ววเราจะได้ ทดเวลาบาดเจ็บ อยู่ต่อ ฮา!) เป็ น อาจารย์ท่ไี ม่เคยพบไม่เคยเจอมาก่อน และไม่คิดว่าจะได้ เจอด้ วย แต่กต็ ้ องบอกว่า แม้ ผมจะยังตัดต่องานไม่เป็ น ท�ำนู่นท�ำนี่ไม่ เป็ น แต่อาจารย์ทำ� ให้ เรื่องความคิดความอ่านในการมองเรื่องราวต่างๆของผมเปลี่ยนไปมาก ไม่ร้ จู ะขอบคุณดีไหม (ต้ อง ขอบคุณสิ เพราะท่านคืออาจารย์นะเฟ้ ย)
บทแถม 182
สุดท้ ายแม้ ว่า ช่วงเวลาสี่ปีนี้จะให้ ผมไม่มาก แต่เชื่อเถอะว่า ผมได้ อะไรจากที่น่ีมากมายเลยทีเดียวเชียวล่ะคุณ
เรื่อง เรา เล่า 183