Gestalt_

Page 1



ตัวอักษรนับเป็นองค์ประกอบสำ�คัญองค์ประกอบ หนึ่ ง ในการออกแบบเรขศิ ล ป์ โดยเราสามารถ พบเห็นการออกแบบตัวอักษร ได้มากมายในชีวิต ประจำ�วัน และมีผลต่องานออกแบบเรขศิลป์ใน ภาพรวม ดั ง นั้ น งานออกแบบที่ ดี จึ ง ต้ อ งมี ก าร จั ด การที่ดีกับ ตั ว อั ก ษร บ่ อ ยครั้ง ที่ก ารออกแบบ และการจั ด วางตั ว อั ก ษรสร้ า งผลกระทบกั บ กลุ่มเป้าหมายเป็นอันดับแรกก่อนองค์ประกอบอื่น ดังนั้นการพิถีพิถันกับตัวอักษรจึงเป็นเรื่องสำ�คัญที่ นักออกแบบควรใส่ใจ แต่อย่างไรก็ตาม นักออกแบบ บางกลุ่มยังเพิกเฉยไม่ใส่ใจหรือทำ�แบบปล่อยผ่าน โดยเฉพาะกับตัวอักษรภาษาไทย เนือ่ งจากตัวอักษร ภาษาไทยมี ข้ อ จำ � กั ด ในการออกแบบตามมา มากมายไม่ยดื หยุน่ ต่อการนำ�ไปใช้ในการออกแบบ เรขศิลป์มากพอ โดยนักออกแบบบางกลุ่มไม่เพียง แต่ปล่อยผ่านปัญหาเหล่านี้ให้ปรากฎบนผลงาน ออกแบบของตัวเอง แต่เลือกที่จะหลีกเลี่ยงการ ใช้ตัวอักษรภาษาไทยเพื่อเป็นการแก้ปัญหา และ ถึ ง แม้ ว่ า จะมี นั ก ออกแบบบางส่ ว นที่ ไ ด้ ทำ � การ สร้างสรรค์ ดัดแปลง หรือ ประยุกต์ตัวอักษรไทย ใช้ กับ การออกแบบด้ ว ยวิ ธีก ารต่ า ง ๆ บ้ า ง แต่ ก็ ยั ง คงไม่ พ อเพี ย งและไม่ ต อบสนองต่ อ ความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นการกระตุ้นให้ วงการออกแบบเรขศิ ล ป์ เ กิ ด การขั บ เคลื่ อ นและ หารู ป แบบแนวทางใหม่ ใ นการออกแบบรวมถึง ขยายขอบเขตความหลากหลายของแนวทางการ ออกแบบโดยใช้ ตัว อั กษรไทยให้ กว้ า งขึ้ น จึ ง เป็ น เรื่องสำ�คัญที่ไม่ควรมองข้าม โดยหนังสือเล่มนี้ มีหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของการขยายขอบเขตความ หลากหลายโดยการสร้ า งแนวทางการจั ด การ ตัวอักษรภาษาไทยทางเลือกใหม่โดยอาศัยทฤษฎี เกสตั ล ท์ ซึ่ ง เป็ น ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การจั ด ระเบี ย บ การรับรู้ (Perceptual Organization) เป็นทฤษฎี ที่เล่นกับประสบการณ์และพฤติกรรมทางด้านการ มองเห็ น ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการพิ จ ารณางาน ออกแบบเรขศิลป์ของผู้รับสารโดยตรง




ตัวอักษรไทย เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจถึ ง ที่ ม า แนวคิ ด หลั ก การของทั้ ง ภาษาและตั ว อั ก ษร จะส่ ง ผลให้ ก ารวิ จั ย ในเชิ ง ทดลองนี้มีความเป็นไปได้และความน่าเชื่อถือมาก ยิ่งขึ้น โดยโครงการออกแบบเชิงทดลองเพื่อค้นหา แนวทางของรูปแบบและการจัดวางแบบตัวอักษร ไทยโดยอาศัยทฤษฎีเกสตัลท์ในการออกแบบเรข ศิลป์นี้ จะเน้นและมุ่งประเด็นสำ�คัญไปที่รูปแบบ และการจัดวางตัวอักษรไทยทีไ่ ด้จากการค้นคว้าและ ทดลองในการประยุกต์ใช้ให้เกิดความสวยงามลงตัว ซึง่ เหมาะสมกับงานออกแบบเรขศิลป์เท่านัน้ มิใช่การ สร้างทฤษฎีใหม่ในการใช้ตัวอักษรไทยโดยทั่วไป ระบบตั ว อั ก ษรไทยในปั จ จุ บั น ประกอบไปด้ ว ย พยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และ เครื่องหมายวรรคตอน 32 รูป โดยกลุ่มตัวอักษรที่ มีการเปลี่ยนแปลงนับจากอดีตจนถึงปัจจุบันคือ กลุ่มตัวอักษรที่เป็นเครื่องหมายวรรคตอน โดยรูป แบบภายนอกหายไป เช่น สัญลักษณ์ฟองมัน หรือ ตาไก่ แต่วธิ คี ดิ ของเครือ่ งหมายเหล่านี้ยังคงมีอยู่



การจัดเรียงระดับชัน้ ของตัวอักษรภาษไทย แบ่งเป็น 4 ระดับ โดยการวางสระและพยัญชนะจากบนลงล่าง และไม่มีการเว้น วรรคคำ� ดังนี้ ระดับที่ 1 วรรณยุกต์ เอก โท ตรี จัตวา และตัวการันต์ โดยตัวอักษรเหล่านี้จะเลื่อนไปอยู่ระดับที่ 2 ถ้าตำ�แหน่งนั้นไม่มีตัวอักษรอื่น ระดับที่ 2 ไม้หันอากาศ สระอิ อี อึ ไม้ไต่คู้ และนิคหิต ( ํ )

ระดับที่ 3 ก-ฮ อำ� เอ แอ โอ ไอ อะ อา ๆ ฯ

ระดับที่ 4 สระอุ อู และพินทุ (อุ)



1

ปัญหาเรื่อง Shape & Form


รูปแบบของตัวอักษรในภาพรวมมีความซับซ้อน รายละเอียดค่อนข้างเยอะทำ�ให้ไม่ยืดหยุ่นต่อการ ออกแบบ

พยัญชนะไทยมีการจบเส้นหลายแบบ ไม่เหมือน ตัวละตินที่จบแบบลากลงทั้งหมด ทำ�ให้ภาพรวม ของตัวอักษร ดูไม่ไปในทิศทางเดียวกัน


ปัญหาเรื่อง Space 2

เนื่องด้วยระดับการวางตัวอักษรที่แตกต่างกันถึง 4 ระดับ ทำ�ให้เมื่อตัวอักษรบางคู่มาเจอกัน มีการชน หรือซ้อนทับกันเกิดขึ้น


พื้นที่ว่างระหว่างตัวอักษรบางตัวไม่สวยงาม ซึ่ง ปัญหานี้ เป็นผลมาจาก form และตำ�แหน่งของคู่ ทำ�ให้ยากต่อการจัดการพื้นที่ตัวอักษร

พื้ น ที่ สําหรั บ การออกแบบมั ก มี จํากั ด และด้ ว ย การประสมคำ�แต่ละคำ�เกิดจากการใช้ตัวอักษรที่มี ความหลากหลาย ทำ�ให้บางคํายาวไป ต้องตัดคํา


ทิศทางในการอ่าน 3 ตั ว อั ก ษรภาษาไทยรองรั บ การอ่ า นแค่ เ พี ย ง ทิ ศ ทางเดี ย ว คื อ แนวนอน จากซ้ า ยไปขวา เนื่ อ งจากตั ว อั ก ษรไทยมี โ ครงสร้ า งการวางตั ว อักษรแบบเดียวคือ แนวนอน 4 ระดับชั้น ดังนั้น เมื่ อ ตั ว อั ก ษรไม่ เ รี ย งอยู่ ใ นตําแหน่ ง ที่ คุ้ น ชิ น ดั ง กล่ า ว ทําให้ ผู้ อ่ า นเกิ ด ความสั บ สนในการอ่ า น เนื่องจากการประสมคําทําได้ยากขึ้น นอกจากนัน้ ลักษณะทางกายภาพของตัวอักษรไทยจำ�นวนหนึ่ง ไม่ยืดหยุ่นต่อการนำ�มาจัดวางในทิศทางอื่นนอก เหนือไปจากแนวนอน





Headline/Display Type

เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจตรงกั น จำ � เป็ น ต้ อ ง อธิบายเกีย่ วกับ พาดหัว ( Headline/Display ) ซึ่ ง เป็ น จุ ด ประสงค์ ข องตั ว อั ก ษรที่ เ กิ ด จาก แนวทางการจัดการตัวอักษรจากทฤษฎีเกสตัลท์ คือใช้เพือ่ ตกแต่ง หรือเรียกร้องความสนใจ มิใช่ เพื่อเป็นการจัดการตัวอักษรสำ�หรับเนื้อหา หรือ ข้อมูลที่ต้องอ่านจำ�นวนมาก เช่น หนังสือนิยาย บทความ ฯลฯ ตัวอักษรประเภทพาดหัวหรือ display type มี ลักษณะการใช้งานเพื่อตกแต่งหัวเรื่อง หรือจัด เรียงข้อความสั้น ๆ มีรูปทรง โครงสร้างที่มี ลักษณะสะดุดตากว่าปกติ เพื่อทำ�หน้าที่เรียก ร้องความสนใจ ซึง่ มีความแตกต่างจากตัวอักษร ประเภทตัวเนื้อ (text type) ที่ต้องการความ อ่านง่ายมากเป็นพิเศษ เพื่อให้อ่านได้นาน ๆ โดยราบรื่น แม้ใช้ในขนาดเล็ก ๆ แต่ตัวอักษร แบบพาดหัว (display type) เป็นตัวอักษร ประเภทที่ต้องการแสดง “บุคลิก” บางอย่าง อาจเป็นบุคลิกขององค์กร, สินค้าที่โฆษณา, บุคลิกของบุคคล, บุคลิคของกลุ่มเป้าหมาย, อารมณ์หรือเรือ่ งราวทีพ่ าดหัว เป็นต้น ตัวอักษร แบบพาดหัวจึงต้องใหญ่พอที่จะเห็นบุคลิกของ ตัวอักษรได้ ส่วนมากตัวอักษรแบบพาดหัวมัก จะใช้เนื้อที่ความกว้างมากกว่าตัวอักษรที่เป็น เนื้อ โดยอาจเป็นตัวเนื้อธรรมดามาขยายเป็น ตัวอักษรพาดหัว (ถ้าต้องการบุคลิกอย่างนั้น) หรือเอาตัวเนื้อมาปรับปรุงลดขนาดความสูง สระบน, วรรณยุกต์, และลดช่องไฟระหว่าง ตัวพิมพ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่งลง โดยที่เรา สามารถจำ�แนกประเภทของพาดหัว ได้ 2 ประเภท คือ ชุดพาดหัว (ฺbank) และ ชั้นพาดหัว (deck)


1

2

1 ชุดพาดหัว (bank) เป็นพาดหัวที่เป็นตัวอักษรเรียงกัน โดยมีความยาว ไม่เกิน 1 บรรทัด ทำ�ให้ในบางครั้งถูกเรียกว่า “บรรทัด” (line) 2 ชั้นพาดหัว (deck) เป็ น พาดหั ว ที่ เ ป็ น ตั ว อั ก ษรเรี ย งกั น โดยมี ค วาม ยาวเกิน 1 บรรทัด โดยตัวอักษรในแต่ละบรรทัด ไม่จำ�เป็น ที่จะต้องมีขนาดเท่ากัน อาจจะมีบรรทัด ใดบรรทัดหนึ่งใหญ่กว่าขนาดอื่น ๆ เพื่อเป็นการ เพิ่ ม ความน่ า สนใจให้ กั บ งานออกแบบ และ เป็นการจัดลำ�ดับความสำ�คัญของเนื้อหาไปในตัว




แนวคิดและทฤษฎีเกสตัลท์ ในการออกแบบเรขศิ ล ป์ นั ก ออกแบบมี ห น้ า ที่ ออกแบบเพื่อการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็น ผู้ รั บ สาร ซึ่ ง การรั บ สารที่ นั ก ออกแบบต้ อ งการ จะสื่อนั้นจะมีการแปลความหมายตามกระบวน การรับรู้ของผู้รับสาร ต้องผ่านการจัดระเบียบการ รับรู้ (Perceptual Organization) เพื่อเชื่อมโยง สิ่งต่าง ๆ ที่เห็นเข้าไว้ด้วยกัน มาประมวลผลกับ ประสบการณ์ ทัศนคติ และความเชื่อต่าง ๆ ทฤษฎีเ กสตัลท (Gestalt Theory) คือแนวคิด หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดระเบียบการรับรู้ หรือ วิ ธี ก ารที่ ส มองใช้ จั ด การกั บ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น รู ป ภาพ โดยอิ ง จากความจริ ง ที่ว่า การมองเห็ น หรื อ รั บ รู้ ภาพ (Visual Perception) ของมนุษย์ ไม่ได้เป็น การบั น ทึ ก เข้ า สู่ส มองอย่ า งตรงไปตรงมา ภาพ ที่ ม องเห็ น ได้ กั บ ภาพในสมองจึ ง แตกต่ า งกั น กระบวนการทำ�งานในการมองเห็นของมนุษย์ จึง อาจมีการทำ�งานที่ผิดพลาดได้ ดังกรณีของการ เกิดภาพลวงตา




ความสัมพันธ์ของประสบการณ์และ กระบวนการทางสมอง (Isomorphism) Isomorphism คือหลักการที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ ของประสบการณ์ แ ละกระบวนการทางสมอง (The Relationship between experience and brain processes) เช่น เมื่อได้ยินท่วงทำ�นองของ ดนตรีทำ�นองหนึ่งในนั้น กระบวนการทางสมองจะ ค้นหารูปแบบของจังหวะทำ�นองที่มีความเหมือน หรือสอดคล้องกับทำ�นองที่ได้ยิน เกิดการรับรู้ว่า เป็นทำ�นองหรือเพลงอะไร

หลักของเพรกนานซ์ (Laws of Pragnanz) สมองมนุษย์จะแปลงความซับซ้อนให้เป็นความ เรี ย บง่ า ยโดยอั ติ โ นมั ติ ไม่ ว่ า องค์ ป ระกอบจะมี ความกำ�กวมหรือซับซ้อนมากแค่ไหน สมองมีแนว โน้มที่จะจัดระเบียบสิ่งที่มองเห็น จนได้ผลเป็น รูป ทรงที่ดี (Good Figure / Good Gestalt) อย่างอัติ โนมัติ โดยธรรมชาติของมนุย์จะพอใจต่อความ เรี ย บง่ า ยมากกว่ า ความซั บ ซ้ อ น พอใจในการมี ระบบมากกว่าความยุ่งเหยิง โดยการรับรู้นี้จะเป็น โดยอัติโนมัติ และอยู่ในจิตใต้สำ�นึกของมนุษย์


การรับรู้ภาพและพื้นภาพ (Figure-Ground Perception) หลักเบื้องต้นในการรับรู้ของมนุษย์มีการแยกภาพ กับพื้นภาพ (Figure-Ground Relationship) เสมอ โดยภาพ (Figure) คือสิ่งที่ให้ความสนใจที่จะรับรู้ ส่วนพื้นภาพ (Ground) คือสิ่งที่ไม่ได้สนใจหรือว่า คือส่วนที่เป็นพื้นหลัง (Background)

การพิจารณาว่าสิ่งใดคือภาพและพื้นภาพ

การใช้พื้นที่

กล่าวคือหากในภาพมีสองส่วนที่แตกต่างกันส่วน ที่ล้อมรอบใหญ่กว่าอีกส่วนหนึ่ง ส่วนที่เล็กกว่ามี แนวโน้มที่จะมองเห็นเป็นภาพ ส่วนที่ล้อมรอบคือ พื้นภาพ

วิธีการจัดวาง

การกำ � หนดทิ ศ ทางในแนวตั้ ง และแนวนอน (Vertical and Horizontal Orientation) กล่าวคือ หากองค์ประกอบมีการจัดวางตัวในแนวตั้งและ (หรือ) แนวนอน องค์ประกอบนั้นมีแนวโน้มที่จะ มองดูเป็นภาพ


ความเปรียบต่าง (Contrast)

เส้นเค้าโครง (Contour)

องค์ ป ระกอบที่ มี ค วามเปรี ย บต่ า งจากส่ ว นที่ ล้อมรอบ (Surrouding Region) มากที่สุด จะมอง เห็นเป็นภาพ

ภาพจะดูมีเส้นเค้าโครง (Contour) หรือขอบเขต ของภาพ แต่พื้นภาพจะไม่มีระยะและมิติ แม้ว่า ภาพทั้งภาพและพื้นภาพจะอยู่ในระนาบเดียวกัน แต่ภาพมักจะมองดูเหมือนว่าอยู่ใกล้กว่า หรืออีก นัยหนึ่งคือ พื้นภาพจะดูเหมือนอยู่หลังภาพ

ความสมมาตร (Symmetry)

ลำ�ดับก่อนหลัง

องค์ประกอบที่มีลักษณะสมมาตรจะมองเห็นเป็น ภาพ

ผู้ดูไม่สามารถมองเห็นทั้งภาพและพื้นภาพในเวลา เดียวกันได้ ต้องมองเป็นลำ�ดับก่อนหลัง โดยทั้ง ภาพและพื้นภาพสามารถสลับหน้าที่กันได้ (ภาพ กลายเป็ น พื้ น ภาพและพื้ น ภาพกลายเป็ น ภาพ) แล้วแต่ว่าผู้ดูให้ความสนใจอยู่ที่องค์ประกอบใด


หลักการจัดระเบียบการรับรู้ (Laws of Organization in Perceptual Forms) จากแนวคิดทฤษฎีของเกสตัลท์ท่ีว่า ในการมอง เห็นหรือการรับรู้ภาพนั้น จะเกิดการจัดระบบหรือ ระเบียบสิ่งที่มองเห็นอย่างใดอย่างหนึ่งเสียก่อน โดยองค์ประกอบย่อยต่าง ๆ ทีเ่ ข้ามาจะถูกจัดระบบ หรือจัดกลุ่มองค์ประกอบย่อยนั้น ๆ ให้เป็นกลุ่ม (Group) หรือรูปแบบทีม่ คี วามหมาย (Meaning Paytern) จากแนวคิดดังกล่าว Wertheimer (1923) ได้นำ�เสนอถึงหลักการจัดการระเบียบการเรียนรู้ (Laws of Organization in Perceptual Forms) ซึง่ เป็นปัจจัยในการจัดระเบียบหรือการจัดกลุม่ องค์ ประกอบต่าง ๆ ทีท่ �ำ ให้เกิดการรับรูเ้ ป็นกลุม่ หรือ รับรูเ้ ป็นรูปแบบทีม่ คี วามหมาย







The factor of Similarity ปัจจัยจากความคล้ายคลึง หรือ The factor of Similarity ที่อธิบายได้ว่าองค์ประกอบที่มีความ เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันจะถูกรับรู้ว่ามีความ สัมพันธ์เหมือนกันหรือเป็นกลุ่มเดียวกันมากกว่า องค์ประกอบที่ไม่เหมือนกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ระยะห่างระหว่างจุดแต่ละจุดเท่ากัน จะเกิดการรับรู้ จัดทั้งหมดรวมเป็นภาพสี่เหลี่ยม


ระยะห่างของจุดในแนวนอนมีนอ้ ยกว่าจุดในแนวตัง้ จะเกิดการรับรู้แถวเป็นแนวนอน

ระยะห่างของจุดในแนวตัง้ น้อยกว่าระยะห่างของจุด ในแนวนอน ก็จะเกิดการรับรูเ้ ป็นภาพแถวในแนวตัง้


ตำ�แหน่งของหัว

ในการนำ�หลักการนีไ้ ปประยุกต์ใช้ ผูเ้ ขียนได้ท�ำ การ แบ่ ง กลุ่ ม ของตั ว อั ก ษรตามโครงสร้ า งที่ เ ป็ น องค์ ประกอบพื้นฐานที่มีลักษณะใกล้เคียงหรือเหมือน กั น เพื่ อ นำ � ไปทดลองหาความสั ม พั น ธ์ ที่ เ ป็ น ไป ได้ของตัวอักษรในแต่ละกลุ่ม เพราะถึงแม้ว่าตัว อักษรภาษาไทยแต่ละตัวจะเป็นตัวอักษรที่มีระบบ การเขียนไม่คงที่แ ละค่อนข้างมีอัตลักษณ์ในตัว แต่หากพิจารณาแล้ว เราจะเห็นความใกล้เคียง ของตัวอักษรบางกลุ่มอย่างชัดเจน โดยมีเกณฑ์ จำ�แนกประเภทตัวอักษรจากปัจจัยทางกายภาพ ต่าง ๆ ดังนี้

1

หัวอยู่ด้านบนหันเข้า ได้แก่ ย ผ ฝ

หัวอยู่ด้านบนหันออก ได้แก่ ข ฃ ฆ ง ช ท ฑ น บ ป พ ฟ ม ษ ห ฬ


หัวอยู่ด้านล่างหันออก ได้แก่ ภ ฎ ฏ ร ว

หัวอยู่ส่วนกลางหันหัวออก ได้แก่ จ ฐ ฉ ด ต ฒ

หัวอยู่ด้านล่างหันเข้า ได้แก่ ถ ณ ล ส ญ ฌ

หัวอยู่ตรงกลางหันหัวเข้า ได้แก่ ค ศ ฅ อ ฮ


เส้นจบชองตัวอักษร

เส้นจบแบบลากตรงขึ้นบนด้านขวาของตัวอักษร

2

เส้นจบแบบลากตรงลงล่างด้านขวาของตัวอักษร


เส้นจบแบบมีหางเฉียงขึ้นบนขวา ได้แก่ ช ซ ศ ส ฬ

เส้นจบแบบธงสะบัด ได้แก่ ธ ร ฐ

เส้นจบแบบมีหางเฉียงขึ้นทางด้านซ้าย ไม่ขึ้นสุด

เส้นจบแบบ hood เป็นเส้นโค้งด้านบนตัวอักษร


The factor of good Common fate

จากขั้นตอน The factor of Similarity เมื่อได้ กลุ่ม ตั ว อั ก ษรที่มีค วามสั ม พั น ธ์ กัน ทางกายภาพ แล้ว ขัน้ ต่อไปคือการพิจารณาทิศทางการเดินเส้น ในแต่ละโครงสร้างของตัวอักษร จากปัจจัยการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ หมือนกัน หรือ The factor of good common fate ซึง่ มีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1 องค์ประกอบที่มีการเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน จะถู ก รั บ รู้ ว่ า มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น หรื อ เป็ น กลุ่ ม เดียวกัน มากกว่าองค์ประกอบอืน่ ๆ ทีม่ ที ศิ ทางต่าง กัน 2 ปัจจัยการเปลีย่ นแปลงทีเ่ หมือนกัน (The Factor of Common Fate) จะเด่นชัด เมือ่ มีรปู แบบหรือ จังหวะทีแ่ น่นอน หากไม่มปี จั จัยในข้อข้างต้น ก็จะ ทำ�ให้ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบลดลง 3 มีผลต่อการรับรูใ้ นเรือ่ งของภาพและพืน้ ภาพ (Figure and Ground) ในภาพรวมขององค์ประกอบ ที่มีการเคลื่อนที่และไม่เคลื่อนที่ องค์ประกอบที่มี การเคลื่อนที่จะถูกรับรู้ว่าเป็นภาพ (Figure) องค์ ประกอบทีไ่ ม่มกี ารเคลือ่ นทีจ่ ะถูกรับรู้ ว่าเป็นพืน้ ภาพ (Ground)


ผู้เขียนได้นำ�คุณสมบัติจากปัจจัยการเปลี่ยนแปลง ทีเ่ หมือนกัน หรือ The factor of good common fate มาวิเคราะห์ร่วมกับทิศทางการเดินเส้นหรือวิธีการ เขียนตัวอักษรแต่ละตัว จะสังเกตุเห็นได้ว่า แม้จะ เป็ น องค์ ป ระกอบที่ ทำ � หน้ า ที่ ห รื อ อยู่ ตำ � แหน่ ง เดียวกัน วิธีการเดินเส้นของบางองค์ประกอบกลับ ต่างกัน โดยผลจากการทดลองจับคู่ตัวอักษรตาม ความสัมพันธ์ของทิศทาง ทำ�ให้เราทราบถึงความ เป็นไปได้ถึงความสัมพันธ์ของโครงสร้างที่เคลื่อนที่ ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ในตำ � แหน่ ง ที่ ใ กล้ เ คี ย ง กัน เป็นไปได้ที่จะมีความสัมพันธ์ และดูเป็นหนึ่ง เดียวกันได้กลมกลืนมากกว่าองค์ประกอบที่มีการ เคลื่อนที่ในทิศทางที่แตกต่างกัน


The factor of Closure ปัจจัยการปกปิดส่วนไม่สมบูรณ์ หรือ The factor of Closure ได้อธิบายว่า มนุษย์มแี นวโน้มจะรับรู้ โดยการรวมองค์ประกอบต่าง ๆ เป็นภาพ ๆ เดียว และดูมคี วามหมาย มากกว่าทีจ่ ะรับรูอ้ งค์ประกอบ แยกส่วนทีละสิง่ แม้วา่ ภาพนัน้ ๆ จะมีองค์ประกอบ ไม่สมบูรณ์ แต่สมองของมนุษย์ก็สามารถประติด ประต่อองค์ประกอบเหล่านี้ออกมา โดยเติมเต็ม องค์สามารถเติมเต็มส่วนทีข่ าดหายไปแบบอัตโิ นมัติ ให้ภาพที่ไม่สมบูรณ์เกิดเป็นภาพที่มีความหมายได้ โดยมี บ ริ บ ทแวดล้ อ มที่ อิ ง จากประสบการณ์ ที่ผ่านมาเป็นตัวช่วย โดยในการทดลองนี้จะประยุกต์ใช้ปัจจัยการปกปิด ส่วนที่ไม่สมบูรณ์ (The Factor of Closure) ในการ แก้ปัญหาเรื่อง Shape & Form โดนทำ�การลดทอน และตัดบางส่วนของตัวอักษรทิ้ง ทำ�ให้รูปแบบของ ตัวอักษรมีความซับซ้อนน้อยลง เพื่ออำ�นวยความ สะดวกต่อขั้นตอนต่อๆ ไปให้มีความยืดหยุ่นมาก ขึ้น แต่ยังคงไว้ซึ่งความสามารถในการอ่าน (legibility) รวมทั้งคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของตัวอักษรนั้น ๆ

ตัวอักษรภาษาไทยส่วนมาก สามารถอ่านออก ได้ แม้ว่าจะไม่มีเส้นแนวนอนเป็นส่วนประกอบ


ตำ�แหน่งของหัวตัวอักษร เช่น หัวเข้าหรือหัวออก มีผลอย่างมากต่อการจำ�แนกตัวอักษร

ความยาวของส่วนก้าน (stem) ไมค่อยส่งผลต่อ ความสามารถในการอ่าน


ทดลองปิดส่วนล่าง ครึ่งบนของตัวอักษรภาษาไทยคงไว้ซึ่งความสามารถในการอ่านได้มากกว่าครึ่งล่าง


ทดลองปิดส่วนบน


ทดลองปิดส่วนขวา ครึ่งซ้ายของตัวอักษรภาษาไทยคงไว้ซึ่งความสามารถในการอ่านได้มากกว่าครึ่งขวา


ทดลองปิดส่วนซ้าย


The Factor of Good Continuation

ปัจจัยความต่อเนื่อง หรือ The Factor of Good Continuation มีสาระสำ�คัญคือ องค์ประกอบทีด่ มู ี ความต่อเนื่องกัน จะถูกรับรู้ว่ามีความสัมพันธ์กัน หรือเป็นกลุม่ เดียวกัน มากกว่าองค์ประกอบทีไ่ ม่ตอ่ เนื่องกัน โดยหลักการนี้ยังอธิบายในเรื่องของการ รับรูใ้ นเรือ่ งทิศทางของเส้น เช่น จากภาพ 1 จะถูก รับรู้ว่าเป็นเส้นขนานกันสองเส้น และมีรูปสี่เหลี่ยม ข้าวหลามตัดอยูต่ รงกลางแบบภาพ 2 มากกว่าทีจ่ ะ รับรูว้ า่ มันคือตัวอักษร W และ M แบบ 3 เนือ่ งจาก การเดินเส้นแบบ 2 มีความต่อเนื่องทางสายตา มากกว่าแบบ 3 จากทฤษฎีดังข้างต้น สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ กับ การออกแบบและการจัดการตัวอักษรภาษา ไทยได้โดย จากผลการทดลองก่อนหน้านี้ จะเห็น ได้ว่าการเดินเส้นของตัวอักษรภาษาไทยแต่ละตัว มีลักษณะที่ใกล้เคียงกันหลายประการ ไม่ว่าจะ เป็นการเดินเส้นแบบ (ภาพ arch) ที่เกิดจากองค์ ประกอบ หลังคาหรือหมวก (arch/hood) ด้านบน ทั้งจากซ้ายไปขวา และ ขวาไปซ้าย หรือเส้นตั้งที่ เกิดจากองค์ประกอบก้าน (stem) ซึ่งองค์ประกอบ ที่ใกล้เคียงกันดังกล่าว นอกจากจะมีลักษณะทาง กายภาพที่ใกล้เคียงกันแล้ว ยังมีวิธีการเดินเส้น และตำ�แหน่งที่ใกล้เคียงกันอีกด้วย ผู้เขียนจึงมอง เห็นความเป็นไปได้ว่า เมื่อตัวอักษรที่มีลักษณะ ดังกล่าว ถูกจัดเรียงให้อยู่ใกล้ชิดกันจะสามารถ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ให้มีความต่อเนื่อง ลื่นไหล และดูเป็นหนึ่งเดียวกันตามหลักทฤษฎีการรับรู้ที่ ได้อ้างอิงไว้ข้างต้นได้ไม่มากก็น้อย

1


2

3


จากการที่ผู้เขียนได้ทดลองสร้างความต่อเนื่องให้ ตัวอักษร ผลปรากฎว่าตัวอักษรสามารถต่อเนื่อง กันอย่างกลมกลืน ภายใต้ข้อกำ�หนดอย่างใดอย่าง หนึ่งขึ้นไป ดังนี้ 1

2

องค์ประกอบที่สามารถวางซ้อนกันได้อย่างแนบ สนิทเกิน 70% สามารถเป็นองค์ประกอบที่ต่อเนื่อง กันได้ และสามารถรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน

องค์ประกอบที่อยู่ตำ�แหน่งเดียวกัน มีจังหวะ การเดินเส้นที่เท่ากัน สามารถบรรจบหน้า - หลัง กันได้อย่างพอดี

3

4

องค์ประกอบที่สามารถนำ�มาบรรจบกันได้ โดยไม่มี องค์ประกอบอื่น ๆ มากีดขวางหรือคั่นตรงกลาง ระหว่ า งองค์ ป ระกอบทั้ ง สองมากเกิ น ไป(ในที่ นี้ รวมทั้งองค์ประกอบทีม่ องเห็นได้ และมองเห็นไม่ได้ อย่างเช่น space ทีม่ ากเกินไป)

เมื่อองค์ประกอบรวมกันแล้ว จะยังต้องคงไว้ซึ่ง อัตลักษณ์ของตัวอักษรนั้น ๆ อย่างน้อย 50%


ข้อดีของการทำ�ให้ตัวอักษรมีความสัมพันธ์แบบ ต่อเนื่องกัน 1 ทำ�ให้ตัวอักษรที่เรียงกันแบบเดี่ยว ๆ ดูเป็นกลุ่มตัว อักษรชุดเดียวกันมากขึ้น 2 เมื่อกวาดสายตาจะทำ�ให้รวบรวมตัวอักษร และ ประสมคำ�ได้รวดเร็วขึ้น 1

2 3 เป็นการลดจำ�นวนองค์ประกอบในภาพรวมให้ลด ลง เช่น คำ�ว่าทางการโดยปกติจะประกอบไปด้วย 6 องค์ประกอบ 6 ตัวอักษร คือ ท,า,ง,ก,า,ร ในขณะ ที่ ทางการตามภาพ มีเพียง 2 องค์ประกอบ แต่มี ครบ 6 ตัวอักษรเท่ากัน โดยปัจจัยที่ทำ�ให้ผู้อ่าน สามารถอ่านได้เกิดขึ้นจากประสบการณ์เดิม หรือ the factor of past experience ซึ่งจะอธิบาย เพิ่มเติมในภายหลัง



องค์ประกอบ bottom สามารถเชื่อม กับ bottom ของตัวถัดไปได้



องค์ประกอบ hood/arch สามารถเชื่อม กับ hood/arch ของตัวถัดไปได้



องค์ประกอบ stem ทางฝั่งขวา สามารถใช้ พื้นที่ร่วม stem ทางฝั่งซ้ายของตัวถัดไปได้



องค์ประกอบ head ทางฝัง่ ขวา สามารถใช้พน้ื ทีร่ ว่ ม กับ head ทางฝัง่ ซ้ายของตัวถัดไปได้


ปัจจัยจากความใกล้ชิด ( The factor of Proximity )

The factor of Proximity หรือ ปัจจัยจากความ ใกล้ชิด มีหลักการคือ วัตถุหรือองค์ประกอบใด ที่อยู่ใกล้ชิดกันจะถูกรับรู้ว่ามีความสัมพันธ์หรือ เป็นพวกเดียวกันมากกว่าวัตถุที่ถูกจัดเรียงอย่าง กระจัดกระจายหรืออยู่ห่างกัน เช่น การใช้พื้นที่ว่าง ในการเคาะวรรคเพื่อแยกกลุ่มคำ�หรือประโยค เช่น ภาพประกอบตัวอย่างด้นล่าง กล่าวคือ โดยทั่วไป ไม่ว่าจะอ่านภาษาไทยออก หรือเข้าใจภาษาไทย หรือไม่ ก็สามารถรู้ได้ทันทีว่า องค์ประกอบ 1 กับ องค์ประกอบ 2 ของ ฐ ต้องมีความสัมพันธ์กับตัว อักษรด้านบน ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เช่นเดียวกับวิธี การจัดวาง สระ และ วรรณยุกต์ที่อยู่ด้านบนหรือ ล่างตัวอักษรบางตัว สำ�หรับการนำ� The factor of Proximity หรือ ปัจจัย จากความใกล้ชิด มาประยุกต์ใช้กับการตัวอักษร ภาษาไทย คือการใช้หลักการ kerning ให้ตัวอักษร อยู่ใกล้กัน โดยอ้างอิงจากปัจจัยจากความใกล้ ชิด (The Factor of Proximity) ว่าองค์ประกอบที่ อยู่ใกล้ชิดกัน จะถูกรับรู้ว่ามีความสัมพันธ์กันหรือ เป็นกลุ่มเดียวกันมากกว่าองค์ประกอบที่อยู่ห่าง ออกไปเมื่อตัวอักษรในภาพรวมดูมีความสัมพันธ์ เป็นกลุ่มเดียวกัน element ในภาพรวมของงาน ออกแบบจะดูน้อยลง ไม่กระจัดกระจาย รวมทั้ง ยังทำ�ให้ใช้พื้นที่ในการออกแบบน้อยลง ส่งผลให้ สามารถควบคุมการออกแบบได้ง่ายขึ้น


1

2


ปัจจัยจากประสบการณ์เดิม (The Factor of Past Experience) 1 ประสบการณ์เดิมทำ�ให้เกิดการจำ�ได้ (Recognition) 2 ประสบการณ์เดิมจะสามารถบ่งชี้ (Identification) ลักษณะในองค์ประกอบนั้น 3 ประสบการณ์เดิมจะทำ�ให้รบั รูไ้ ด้วา่ องค์ประกอบนัน้ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ยกตัวอย่างเช่น “นางจวนชอบดมดอกนมแมว” ประสบการณ์จะมีส่วนเป็นอย่างมากในการรับรู้ เพือ่ ทีจ่ ะแบ่งคำ�ได้อย่างถูกต้อง และอ่านเป็นความ หมายออกมาได้ เป็น นาง จวน ชอบ ดม ดอก นม แมว หรือในภาษาอังกฤษ คำ�ว่า NOWHERE ทีต่ อ้ ง อ่านว่า NO WHERE ไม่ใช่ NOW HERE การรับรู้ภาพที่มีลักษณะของภาพและพื้นภาพที่ไม่ แยกออกจากกันอย่างเด่นชัด หรือองค์ประกอบของ ภาพไม่สมบูรณ์ อิทธิพลจากปัจจัยการเตรียมการ รับรู้ หรือ The Factor of Objective Set จะสร้า งการรับรูโ้ ดยการจัดกลุม่ ขององค์ประกอบเพือ่ ทีจ่ ะรั บรูว้ า่ อะไรควรอยูต่ รงไหน (What should be there) หากแต่ปจั จัยจากประสบการณ์เดิม (The Factor of Past Experience) จะเป็นปัจจัยสำ�คัญทีท่ �ำ ให้เกิด การรับรู้ได้กว่ากลุ่มขององค์ประกอบนั้นเป็นภาพ อะไร (What is there)


จากภาพ จะรับรู้ว่าเป็นภาพที่สามารถอ่านได้ว่ า “ หลัง ” เพราะประสบการณ์ เ ดิ ม ทำ � ให้ เ กิ ด การจำ�ได้ว่า คำ�ว่าหลังมีหน้าตาอย่างไร และมี การประสมคำ � แบบไหน และลั ก ษณะอย่ า งไร และเมื่ อ รั บ รู้ ว่ า เป็ น ภาพหรื อ คำ � ว่ า อะไรในครั้ ง แรกก็จะเป็นการง่ายในการสร้างการรับรู้คำ�หรือ ภาพนั้นในครั้งต่อไป โดยกระบวนในการรับรู้จะ พยายามจั ดระเบี ยบองค์ ประกอบในภาพ เทียบ เคียงกับประสบการณ์เดิม และรับรูเ้ ป็นภาพหรือคำ� ที่มีความหมายขึ้นมา นอกจากนั้นผู้เขียนได้แบ่งระดับการใช้งานเรียง ตามความสามารถในการอ่าน ตั้งแต่อ่านง่าย คือ ไม่ต้องทำ�ความเข้าใจใหม่ สามารถอ่านได้ทันที ไปจนถึงระดับที่อ่านค่อนข้างยาก ต้องอาศัยเวลา และการเรียนรู้เพิ่มเติมในระดับหนึ่ง โดยอาศัย ปัจจัยจากประสบการณ์เดิมทำ�ให้เกิดการจำ�ได้ (Recognition) และสามารถบ่งชี้ (Identification) ลักษณะของตัวอักษรรวมทั้งบริบทได้ เนื่องจาก ระดับความสามารในการอ่านแปรผกผันต่อความ ยื ด หยุ่ น ในการออกแบบ ยิ่ ง ปรั บ เปลี่ ย นหรื อ ดัดแปลงตัวอักษรให้แปลกไปจากเดิมมากเท่าไหร่ ความสามารถในการอ่านก็จะลดลงไปเท่านั้น แต่ ความสามารถในการอ่านที่ลดลงก็แลกมาซึ่งความ แปลกใหม่และความสวยงาม ทั้งนี้ผลลัพธ์ที่ออก มาก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ออกแบบแต่ละ คนด้วยเช่นกัน
















รายการอ้างอิง นุชนภา อุปลี. การออกแบบโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ . พาดหัวโฆษณา (Headline).[online] 2556 แหล่งที่มา : http://53010125001g12.blogspot. com/2013/02/4-1.html ปริญญา โรจน์อารยานนท์. ความรู้เกี่ยวกับฟอนต์. อะไรทำ�ให้ฟอนต์ไทยอ่านยาก.[online] 2554 แหล่งที่มา : http://www.dbfonts.biz/fontarticle. php?artid=2 ศรีเรือน แก้วกังวาล. ประเภทของตัวอักษร. จิตวิทยาผ่านภาษา. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำ�นัก พิมพ์แพร่พิทยาอินเตอร์เนชันแนล 2519, หน้าที่ 99 นันทา วิทวุฒิศักดิ์. วิวัฒนาการรูปตัวหนังสือไทย สมัยพ่อขุนรามคำ�แหง-สมัยพระนารายณ์. หนังสือและการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์บูรพาสาสน์ 2527, หน้าที่ 82 ขจร สุขพานิช. ต้นกำ�เนิดแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์ ภาษาไทย. อนุสรณ์งานแสดงการพิมพ์ครั้งที่ 2 แห่งประเทศไทย. หน้าที่ 5 นันทา วิทวุฒิศักดิ์. วิวัฒนาการรูปตัวหนังสือไทย สมัยพ่อขุนรามคำ�แหง-สมัยพระนารายณ์. หนังสือและการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์บูรพาสาสน์ 2527, หน้าที่ 82 ประสิทธิ์. กาพย์กลอน. วิธีเขียนตัวอักษรไทย. การเขียนภาคปฎิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชย์ 2518, หน้าที่ 36. ภาณุวัฒน์ อู้สกุลวัฒนา. เสียงที่มองเห็น. ภาพของ ความคิด.[online] 2557 แหล่งที่มา : http://anuthin. org/2014/03/04/เสียงที่มองเห็น_01/ อนันท์ เหล่าเลิศวรกุล. อาจารย์ผู้สอนวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 6 สิงหาคม 2540


อนุทิน วงสรรคกร. การเกิดแบบอักษร. บันทึกบรรยาย ๑๐๑010. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์คัดสรรดีมาก, 2558 หน้าที่ 46. ชวณัฐ สุวรรณ และ ภาณุวัฒน์ อู้สกุลวัฒนา. การเกิดแบบอักษร. บันทึกบรรยาย ๑๐๑010. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์คัดสรรดีมาก, 2558 หน้าที่ 47. ราชบัณฑิตยสถาน. มาตรฐานโครงสร้างตัวอักษร ไทย. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2540. ธนพันธ์ อนันตนุรกั ษ์. การออกแบบตัวอักษรประดิษฐ์ Calligraphy เพื่อการออกแบบปกหนังสือ. 2553. แหล่งที่มา : http://tathanapan.blogspot.com/p/ blog-page_1037.html สมิชฌน์ สมันเลาะ. เรื่องพื้นฐานของนักออกแบบ ตัวอักษร. บันทึกบรรยาย ๑๐๑010. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์คดั สรรดีมาก, 2558 หน้าที่ 29. ประชิด ทิณบุตร. รูปแบบตัวอักษรภาษาไทย. การออกแบบกราฟิก. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์โอเดียนสโตร์,2530 หน้าที่ 39. วรพงศ์ วรชาติอดุ มพงศ์. อักษรประดิษฐ์. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร, 2545. ภาณุวัฒน์ อู้สกุลวัฒนา. อักษรในสำ�นึกของคนไทย. บันทึกบรรยาย ชนิด หน้าตา เผชิญหน้า อักษร. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์คัดสรรดีมาก, 2559 หน้าที่ 123. จิราภา เต็งไตรรัตน์. จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555. หน้าที่ 196

รัจรี นพเกตุ. จิตวิทยาการรับรู้. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์ประกายพรึก, 2540. หน้าที่ 108-111,119-120,123 ปริญญา โรจน์อารยานนท์. ตารางอักษรคล้าย. 2 ธันวาคม 2559 Zakia, Richard D. Perception and imaging : photography, a way of seeing. พิมพ์ครั้งที่ 4 Burlington, MA : สำ�นักพิมพ์ Focal Press, 2556. หน้าที่ 32-33 ,65 W. Lidwell, K. Holden and J. Principles of Design. พิมพ์ครั้งที่ 1 Beverly, MA : สำ�นักพิมพ์ Rockspot, 2547. หน้าที่ 34,98,184 Schiffman Leon G, Kanuk Leslie Lazar. Consumer Behavior. พิมพ์ครั้งที่ 8 New Jersey : สำ�นักพิมพ์ Prentice, 2547 หน้าที่ 189-190 Gregg Berryman. Note on Graphic Design and Visual Communication. พิมพ์ครั้งที่ 1 California : สำ�นักพิมพ์ William Kaufmann, 2534 หน้าที่ 3 Wucius Wong. Principles of Two-Dimensional Design. New York: Wiley, 1972.


ออกแบบและเนื้อหา คนธรัตน์ เตชะไตรศร Khontarat Techatrisorn ติดต่อ khontarat@gmail.com 0870225111 อาจารย์ที่ปรึกษา ตฤศ หริตวร Trid Haritaworn แบบตัวอักษรเนื้อความ Cordia New - Regular แบบตัวอักษรตกแต่ง แบบตัวอักษรจัดทำ�พิเศษ ออกแบบโดย คนธรัตน์ เตชะไตรศร และแบบตัวอักษร DB PuiMake X ออกแบบโดยบริษัท DB FONTS


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.