Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

Page 1

คํานํา การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเปนทั้งศาสตรและศิลป นัก จั ด รายการวิ ท ยุ จึ ง ต อ งใช ทั้ ง หลั ก วิ ช าที่ กํ า หนดไว อ ย า งชั ด เจน ผสมผสานกับ ความสามารถและทัก ษะที่ จะแสดงออกใหเ กิดความ ประทั บใจ สะเทือนใจ หรื อเข าถึงอารมณของผูฟงอยางลึกซึ้ง ตาม วัตถุประสงคของรายการแตละประเภท “คูมือการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง” จึงถือเปนเครื่องมือ อันสําคัญที่จะนําพาใหนักจัดรายการวิทยุและผูสนใจทั่วไป กาวเขาสู โลกของการเปน นัก วิทยุ ที่เ ขา ใจทุกรายละเอีย ด จากประสบการณ ของผูแตงที่สั่งสมมายาวนาน และไมเพียงแตจะทําใหผูอานสามารถ เก็ บข อ มูลความรู ในรู ปแบบที่ ไม ป รากฏบ อยนั กในหนั งสื อเล มใดๆ แล ว หนั ง สื อ เล ม นี้ ยั ง ให แ นวทางในการจั ด รายการวิ ท ยุ เ พื่ อ เด็ ก เยาวชน และครอบครั ว ในรู ป แบบที่ สร า งสรรค และก อ ให เ กิ ด สุ ข ภาวะในสังคมไดอยางนาสนใจ ดังปรากฏในภาคผนวกทายเลมที่ ผู แตงไดสอดแทรกเอาไว จึงหวังวา หนังสือเลมนี้จะอยูขางกายทาน นักวิทยุไดอยางนาภาคภูมิใจ ดร.ธีรารัตน พันทวี 1


สารบัญ หนา บทที่ 1 เรื่องควรรูเกี่ยวกับรายการวิทยุกระจายเสียง 3 - องคประกอบในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 3 - ประเภทรายการวิทยุกระจายเสียง 6 บทที่ 2 การผลิตรายการ 9 - ขั้นตอนการผลิตรายการ 9 - หนาที่และความรับผิดชอบของผูผลิตรายการ 11 - ความรูความสามารถในการเปนผูผลิตรายการ 12 - คุณสมบัติของผูผลิตรายการที่ดี 13 บทที่ 3 การจัดรายการ 14 - หลักเบื้องตนในการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง 14 - หลักการจัดรายการวิทยุแยกตามประเภทของรายการ 17 บทที่ 4 อุปสรรค 20 - ขอจํากัดดานเวลา 20 - การขาดความรูในเรื่องที่นําเสนอ 20

2


หนา - ความไมสมบูรณของหองออกอากาศและเครื่องมือทาง เทคนิค บทที่ 5 จริยธรรมวิชาชีพ - จริยธรรมวิชาชีพนักจัดรายการวิทยุกระจายเสียง - จริยธรรมวิชาชีพนักจัดรายการขาว ภาคผนวก - จริยธรรมวิชาชีพวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว

3

21 22 22 22 24 25


บทที่ 1 เรื่องควรรูเกี่ยวกับรายการวิทยุกระจายเสียง องคประกอบในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง การที่ ร ายการวิ ท ยุร ายการหนึ่ ง จะประสบความสํ า เร็ จ ไดนั้ น ต องอาศัย องค ประกอบหลายอย าง ผูจัดรายการวิทยุ ที่ ประสบความสํ า เร็ จ จึ ง ต อ งศึ ก ษาและทํ า ความเข า ใ จ องคประกอบตางๆ ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงให ถี่ ถ ว น เพราะองค ประกอบแต ล ะส ว นล ว นมี ค วามสํ า คั ญ และ สงผลตอความสําเร็จในการจัดรายการวิทยุทั้งสิ้น 1.ผูฟง หัวใจสําคัญของการผลิตรายการวิทยุ คือ กลุมผูฟงที่เปน เปาหมายของรายการ ซึ่งจะเปนผูตัดสินวา รายการที่เราผลิตนั้น ประสบผลสํา เร็ จหรื อไม ทั้ งนี้ เปน หน าที่ข องผู ผลิ ตรายการ ที่ จะตองคนหาและกําหนดวากลุมผูฟงของเราเปนใคร 4


การกําหนดกลุ ม ผู ฟ ง เป า หมายนี้ ผู ผ ลิ ต รายการควร แสวงหาข อมู ลเจาะจงอย า งลึ กซึ้ ง ถึ งประวั ติ พฤติกรรม และ ทัศนคติของกลุมคนที่เราอยากจัดรายการใหเขาฟง ผูผลิตควร จะต อ งทราบถึ ง อายุ เพศ ระดั บการศึ ก ษา อาชี พ ฐานะทาง เศรษฐกิจ วิถีการดําเนินชีวิตของกลุมผูฟงเปาหมาย เชน เขามัก ฟงรายการวิทยุในชวงเวลาใด หรือเขาอยากฟงรายการแบบไหน ฯลฯ รวมไปถึงวัฒนธรรม ประเพณี ธรรมเนียมปฏิบัติของกลุม ภาษาที่ใชในกลุม และความสนใจเฉพาะกลุม ขอมูลเหลานี้จะ ชวยให สามารถผลิ ตเนื้ อหา และวางแผนการจั ดรายการ เพื่ อ สรางความพึงพอใจและตอบสนองความตองการของกลุมผูฟง ไดดีขึ้น 2.เนื้อหา เนื้อหาของรายการ คื อ เรื่องราวตางๆ ที่ผู จัดรายการ ตองการให กลุมผูฟงเป าหมายได รับฟ ง ซึ่งเนื้อ หาเหล านี้ ตอ ง นํ า เสนอให ส อดคล อ งกั บ ลั ก ษณะและความต อ งการของ กลุ มเ ป า หม าย ที่ เ รา กํ า หน ดไ ว เช น หา กเ รา กํ า หน ด 5


กลุมเปาหมายเปนวัยรุน เนื้อหารายการก็ควรเปนเรื่องที่วัยรุ น ชอบ และสนุกสนาน ไมเปนวิชาการมากเกินไป เพลงที่ใชก็ควร จะเปนเพลงที่มีจังหวะคึกคัก ขณะที่หากกลุมเปาหมายเปนวัย สูงอายุ เนื้อหารายการก็ควรเปนเรื่องที่เหมาะกับวัย ฟงเพลิน ๆ ไมหวือหวาจนเกินไป เชนเดียวกับเพลงที่ใช ก็ควรจะเปนเพลงที่ มีจังหวะสบายๆ ไมเ รงเร าอารมณมากเกิ นไป หรือ เปนเพลงที่ รวมสมัยกับกลุมผูสูงอายุ เปนตน 3.วิธนี ําเสนอ วิ ธี นํ า เสนอ คื อ กระบวนการถ า ยทอดเนื้ อ หาหรื อ เรื่องราวตา งๆ ไปสูผูฟง อยางมีศิลปะ เพราะหากผูจัดรายการ นําเสนอรายการโดยพูดตรงไปตรงมาเปนทางการ เหมือนการ บรรยายในห อ งเรี ย น หรื อ พู ด โดยอ า นตามบท (script) จนเกินไป จะทําใหผูฟงเกิดอาการเบื่อ เทคนิคการพูดนั้น ควรนึก ถึงการพูดเหมือนกับคุยกับเพื่อนสนิทสักหนึ่งคนอยางเปนกันเอง ไมใชพูดเสมือนวา พูดกับคนเปนลานคนพรอมๆกัน

6


ทั้งนี้ การจัดรายการอยางมีศิลปะนั้น เปนคําถามที่ผูจัด ต อ งหาคํ า ตอบเองว า จะทํ า อย า งไรให ผู ฟ ง รั บ ข า วสารหรื อ เรื่องราวตางๆ ไดโดยไมรูสึกตัว พรอมๆ ไปกับที่รูสึกเพลิดเพลิน รื่นเริงบันเทิงใจ ไดรับความรู และไดสรางจินตนาการตามไปดวย ซึ่งผูจัดรายการตองสรางสรรควิธีการนําเสนอใหสอดคลองกับ ลักษณะของกลุมเปาหมาย โดยคํานึงถึงองคประกอบดังตอไปนี้ ภ า ษ า พู ด ผู จั ด ค ว ร ใ ช ภ า ษ า ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กั บ กลุมเปาหมาย เขาใจงาย ดวยประโยคสั้นๆ กะทัดรัด ใหเหมาะ กับสภาพการรับฟงวิทยุของผูฟงโดยทั่วไป ไมควรใชภาษาหยาบ คาย หรือเปนตัวอยางการใชภาษาที่ดูเหมือนวา ไมใหเกียรติผูฟง หรืออาจละเมิดสิทธิสวนบุคคล ซึ่งอาจเขาขายผิดกฎหมายได ลีลาการพูด หลักของการจัดรายการวิทยุขอหนึ่งคือ ไม ควรพูดเหมือ นอา นหนัง สื อ แต ควรพู ดเหมื อนกํ าลั ง พู ดคุ ยกั บ เพื่อนคนหนึ่ง (ยกเวนในกรณีที่เปนรายการขาวหรือบทความ ที่

7


ตองแสดงความนาเชื่อถือ) พรอมทั้งแสดงความจริงใจในน้ําเสียง และไมควรแสดงการดูถูกผูฟง เพลงประกอบ เพลงที่เปดประกอบรายการควรจะทําให รายการน า ฟ ง และเกิ ดความผ อ นคลายรวมถึ ง สามารถสร า ง จินตนาการรวมใหแกผูฟงได ดังนั้น จึงควรเลือกเพลงที่เหมาะ กับเนื้อหา เรื่องราวที่นําเสนอ และรูปแบบรายการ มากกวาเลือก เพลงที่ผูจัดชอบเสียเอง เสี ยงประกอบ เสี ยงที่ ใ ช ใ นรายการอาจเป น เสี ยงที่ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือเกิดขึ้นจากเหตุการณจริง เชน เสียงนก รอง น้ําไหล ฝนตก ฯลฯ รวมไปถึงเสียงที่มีผูบันทึกไวในแผนซีดี เรียบร อยแล ว หรือเสียงประกอบที่ อาจสามารถทําเลี ยนแบบ เสียงตางๆไดภายในหองบันทึกเสียง เพื่อใชประกอบในรายการ ทําใหรายการดูมีสีสันและไมนาเบือ่

8


ความหลากหลายและความเป นเอกภาพ ความมุ ง หมายของการสร า งความหลากหลาย คื อ เพื่อ ไม ใ หผู ฟง เกิ ด อาการเบื่ อ ผู จั ด รายการจึ ง ควรเสนอเรื่ อ งราวให มี ค วาม หลากหลาย โดยนําเอาเนื้อหาที่จะนําเสนอ พรอมภาษาพูด ลีลา การพู ด เพลงประกอบ และเสียงประกอบ มาประยุกต ใช ใ ห รายการเกิดความนา สนใจ ไมซ้ํา ซากจํ าเจ ทั้ง นี้ ตอ งคํ านึ งถึ ง ความเปนเอกภาพ หรือความเปนอันหนึ่งอันเดียวของรายการ ดวย โดยผูจั ดรายการต องดํา เนิ นเรื่อ งราวให สอดคลอ งกั นไป ตลอดทั้ ง รายการ ทั้ ง ยั ง ต อ งสอดคล อ งกั บวั ตถุ ประสงค และ แนวคิดหลัก (Theme) ของรายการดวย ซึ่งผูจัดรายการมีหนาที่ สร า งความสมดุ ล ระหว า งความหลากหลายและความเป น เอกภาพอยางพอเหมาะพอดี อยาใหความหลากหลายทําลาย เอกภาพของรายการไป จนผูฟงแยกไมออกวากําลังฟงรายการ อะไรอยู 4. เวลาออกอากาศ เวลาในการออกอากาศ คือ ปจจัยหนึ่งในการกําหนดวา 9


เราจะผลิตรายการออกมาในรูปแบบใด เพราะเวลาออกอากาศมี ความสัมพันธกับกลุมผูฟงเปนอยางยิ่ง เพราะผูฟงแตละชวงวัย แตละอาชีพ มีวิถีชี วิตในแตละช วงเวลาใน 1 วัน ที่แตกตางกั น เนื่องจากชวงเวลาหนึ่งๆ อาจเปนชวงเวลาของกลุมผูฟงประเภท หนึ่ง ขณะที่อีกชวงเวลาหนึ่งอาจเปนชวงเวลาของกลุมผูฟงอีก ประเภทหนึ่ง เชน ชวงเชา กลุมผูฟงอาจเปนพนักงานในบริษัท ขณะที่ ช ว งกลางคื น กลุ ม ผู ฟ ง อาจเป น กลุ ม พ อ ค า แม ค า รานอาหารหรือคนทํางานกลางคืน เพราะฉะนั้น หากเราไดเวลา ออกอากาศในชวงเชา แลวเราผลิตรายการสารคดีที่เปนวิชาการ เกินไป ก็คงไมมีใครตั้งอกตั้งใจฟง เพราะยังเชาเกินไป ขณะที่เรา ไดเวลาออกอากาศในชวงกลางคืน แลวจัดรายการสําหรับเด็ก ก็ คงไมมีเด็กคนไหนอยูฟง เพราะเขานอนกันหมดแลว เปนตน อยางไรก็ดี สถานีวิทยุฯ มักมีการกําหนดเวลาออกอากาศ ไว เ ป น ที่ เ รี ย บร อ ยแล ว ผู จั ดรายการจึ ง ต อ งผลิ ต รายการโดย คํานึงถึงชวงเวลาในการออกอากาศเปนสําคัญ เพื่อสรางความ สนใจ และความพึงพอใจใหเกิดกับกลุมเปาหมาย โดยกําหนด 10


เนื้อหาและรูปแบบรายการที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมายที่ฟงใน ชวงเวลาดังกลาว 5.การประเมินผล การจะ จั ด รายการวิ ท ยุ ใ ห ป ระส บความสํ า เร็ จ จําเปนตองมีการประเมินผลเพื่อตรวจสอบวา กลุมผูฟงคิดเห็น อยางไรกับรายการของเรา เพื่อที่เราจะนําความคิดเห็นนั้น มา ปรั บ ปรุ ง หรื อ แก ไ ขรายการของเราให ส อดคล อ งกั บ ความ ตองการของกลุมผูฟงมากยิ่งขึ้น โดยวิธีการประเมินที่ใชกันเปน สากล มีอ ยู 2 วิ ธี คื อ การประเมิ นผลอย างไมมี ร ะบบ เช น จดหมายหรือโทรศัพทจากผูฟง การสังเกตจากการพูดคุยของคน ทั่วไป การเขา มามีสว นร วมในรายการของผูฟง ฯลฯ กับ การ ประเมินผลอยางมีระบบ เชน การวิจัยเชิงสํารวจ ตามวิธีการ วิจัยอยางเปนทางการ หรือการใชการสํารวจรายการยอดนิยม (Program Rating) เปนตน

11


ทั้ ง นี้ การประเมิ น ผลทั้ ง 2 ระบบนี้ ผู จั ดรายการอาจ เลื อ กใช ระบบใดระบบหนึ่ ง หรือ เลือ กใช ทั้ ง 2 ระบบก็ ได แต อย า งไรก็ ดี การประเมิ น ผลทั้ ง 2 ระบบ ต า งก็ มีข อ ดี ข อ เสี ย แตกต างกัน แต ประเด็น สํา คัญก็ คือ รายการวิ ท ยุฯ ที่เ ราจัดจะ ประสบความสําเร็จได ตองมีการประเมินผลอยางตอเนื่อง เปน ระยะๆ อยางสม่ําเสมอ ไมใชประเมินผลเพียงครั้งหรือสองครั้ง แลวก็หยุด ไมประเมินอีกเลย ขอดี / ขอเสียของการประเมินผลอยางมีระบบและ ไมมีระบบ การประเมินผลอยางมีระบบ ขอดี - ผลที่ไดมีความแนนอนและใกลเคียงความจริง ขอเสีย - ใชเวลามาก เพราะตองปฏิบัติตามขั้นตอนการ ประเมิน ดังนั้น การประเมิ นแบบนี้ จึงประเมินเพียงป ละ 1-2 ครั้ง

12


การประเมินผลอยางไมมีระบบ ขอดี - ประหยัดเวลา - ทําไดทุกโอกาส และบอยครั้ง ขอเสีย - ความเห็นที่ไดอาจมาจากกลุมที่ไมใชกลุม ผูฟงที่เราตองการจริงๆ - ขอมูลอาจไมเที่ยงตรงและขาดความนาเชื่อถือ ประเภทรายการ รายการวิทยุสามารถแบงไดเปนหลายประเภท และมี เกณฑ ใ นการแบ ง ที่ ห ลากหลาย หากแบ ง ตามลั ก ษณะและ รูปแบบของรายการแลว เราสามารถแบงไดเปนรายการประเภท ตาง ๆ ดังนี้ 1.รายการพูดคุย เปนรูปแบบหนึ่งของรายการวิทยุ ที่นําเสนอเนื้อหาดวย “การพูดคุย” เพียงอยางเดียว โดยการพูดคุยนั้น อาจเปนผูจั ด รายการพูดคุยกับผูฟงโดยตรงหรือโดยออมก็ได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับ 13


จํ า นวนคนที่ พู ด (จํ า นวนผู จั ด รายการ ผู ร ว มรายการ หรือแขกรับเชิญในรายการ) แตละครั้ง รายการพูดคุยสามารถ แบงยอยออกไดเปน 4 ประเภท คือ รายการพูดคุยกับผูฟงโดยตรง เปนรูปแบบการ จั ด รายการที่ สื่ อ ส ารกั บ ผู ฟ งอย า งตรงไ ปตรงมาที่ สุ ด ประหยัดเวลาและคาใชจายที่สุด ขอเสียคือ ถาผูพูดพูดไมเกง อาจสรางความนาเบื่อใหกับผูฟงได รายการสัมภาษณ เปนรายการที่พูดคุยกับผูฟง ทางออม โดยผูฟงจะไดรับประโยชนจากการฟงการสัมภาษณ แล ะ การใ ห สั ม ภาษณ ของผู จั ด รายการแล ะผู เ ข า ร ว ม รายการหรือแขกรับเชิญ รายการสนทนา เปนรายการที่มีลักษณะคลา ย กั บรายการสั มภาษณ แต ตา งกั น ตรงที่ ผู สั มภาษณ ไม ใ ช ผู ตั้ ง คําถามแตเพียงอยางเดียว แตจะรวมแสดงความคิดเห็น และทํา หนาที่ถาม-ตอบไปพรอมๆ กับผูรวมรายการดวย รายการอภิป ราย เปน รายการที่ พูดคุ ยกั บผู ฟง ทางออม ผานทางผูรวมรายการมากกวา 14


2 คน โดยผู ฟงจะได รั บฟ ง ความคิ ดเห็ น ที่แ ตกต า งผ า น ทางการอภิปรายของผูรวมรายการแตละคน 2.รายการสารคดี เป น รายการที่ มุ ง เล า เรื่ อ งราว ให ส าระความรู แต ก็ ส า ม า ร ถ สอดแทรกใ ห ค ว า ม บั น เ ทิ ง ไ ป พ ร อ ม ๆ กั น ไ ด ลักษณะเฉพาะของรายการสารคดี คือ มุ งเจาะจงเรื่องใดเรื่อ ง หนึ่งอยางลึกซึ้ง ดังนั้น จะเห็น วารายการสารคดีโดยสวนใหญ มักนําเสนอเรื่องเพียงเรื่องเดียว แตวิธีการนําเสนออาจมีหลายวิธี คละเคลาผสมผสานกันไป รายการสารคดีสามารถแบงไดเปน 5 ประเภท คือ สารคดีทั่วไป เนื้อหาของสารคดีประเภทนี้มักเปน เรื่ อ งทั่ ว ๆ ไป ไม จํ า เพาะเจาะจง วิ ธี การเสนอ ควรมี ค วาม หลากหลายของเสียง สารคดี เ นื่ อ งในโอกาสพิ เ ศษ เนื้ อ หามั ก เกี่ยวของกับงานเทศกาลพิเศษ หรือบุคคลที่นาสนใจเปนที่รูจัก แกคนทั่วไป และนําเสนอในรูปแบบสารคดี 15


สารคดีเชิงวิเคราะห เนื้อหามักเปนเรื่องเกี่ยวกับ การดํ า รงชี วิ ตของมนุ ษ ย ห รื อ สิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น ๆ ที่ ต อ งเผชิ ญ กั บ ปญหาสิ่ ง แวดล อ ม หรื อ ป ญหาของตั ว เองในทุ กๆ เรื่ อ ง โดย นําเสนอในรูปแบบการวิเคราะหส าเหตุของปญหาตามขอมูลที่ คนพบ หรือ วิเคราะหหาแนวทางแกไขตามขอมูลที่สืบคนมาได และนําเสนอวิธีแกวา หลังจากวิเคราะหแลวจะมีวิธีแกใดบาง ซึ่ง อาจจะเสนอทางแกสัก 2 – 3 วิธี สารคดีเชิงขาว เนื้อหามักเกี่ยวเนื่องมาจากขาวที่ เกิดขึ้นแลว แตขาวนั้นยังมีเงื่อนงํา เรื่องราวยังไมมีขอยุติ ยังเปน ขอสงสัยของคนโดยทั่วไป ผูจัดรายการจะสืบหาสาเหตุเรื่องราว ความเปนมาของขาวนั้นๆ อยางละเอียด แลวนําขอมูลที่ไดมา นํามาวิเคราะหโดยปราศจากอคติเจือปน ขอมูลหรือขาวที่นํามา วิเคราะหนั้นควรเปนไปตามขอเท็จจริงที่พบมา แลวทําการสรุป สิ่งที่เปนเงื่อนงํานั้น วามาจากสาเหตุอะไรบาง และอาจจะสงผล อยางไรไดบา ง เพื่อใหผูฟงได ทราบขอมู ลอย างเจาะลึก และรู สาเหตุ ที่มาที่ไปของขา วที่เ กิดขึ้น เพียงแต วา เรานํา เสนอตาม รูปแบบรายการสารคดีเทานั้น 16


สารคดี ท อ งเที่ ย ว เนื้ อ หาเป น เรื่ อ งของการ เดินทางไปทองเที่ยวตามสถานที่ตางๆ เปนการเลาเรื่องเกี่ยวกับ สถานที่ ท อ งเที่ ยวว า น า สนใจอย า งไร มีประวั ติความเป น มา อยางไร จะเดินทางไปยังสถานที่แหงนั้นไดอยางไร โดยพาหนะ ใดไดบาง คาใชจายควรจะเปนสักเทาไรตอการทองเที่ยวในหนึ่ง ครั้ ง และจะต อ งเตรี ยมตั ว อย า งไรบ า ง สั ม ภาระหรื อ สิ่ ง ของ เครื่องใชเฉพาะตัว จะตองเตรียมอยางไรหรือไม 3.รายการนิตยสารทางอากาศ เป น รายการที่นํ า เสนอเรื่ องราวที่ มีเ นื้ อหาหลากหลาย ผสมผสานไวในรายการเดียว ดวยวิธีการนําเสนอที่หลากหลาย เชนเดียวกัน ถึงกระนั้นก็ดี ในความหลากหลาย ก็ควรจะตองมี แนวทางหลั กหรื อ เอกลั กษณ ข องรายการ เพื่ อ ที่ผู ฟง จะได ไม สับสน วาตกลงนี่เปนรายการอะไรกันแน ซึ่งการวางแนวทางหรือ เอกลักษณนี้ มี 2 วิธี คือ

17


แบ ง โดยเอาผู ฟ ง เป นหลั ก ไม ว า เนื้ อ หาและวิ ธี การ นําเสนอจะเปนอยางไร ตองมีความสอดคลองกับกลุมผูฟง เชน รายการนิตยสารแมบาน รายการนิตยสารสําหรับเด็ก เปนตน แบงโดยเอาเนื้อหาเปนหลัก เชน รายการนิตยสารกีฬา รายการนิตยสารรถยนต เปนตน 4. รายการขาว เปนรายการที่นําเสนอขอเท็จจริง หรือ เหตุการณที่เกิดขึ้นในชวงเวลานั้นๆ เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุหรือได ขอมู ลของเรื่องดัง กลา วแลว จะตองเลื อกประเด็น เนื้ อหาที่จะ นําเสนอเสียกอน แลวจึงลงลึกในประเด็นขาวนั้นวา มีเรื่องที่จะ เสนออยางไร โดยสรุปประเด็นสําคัญไวในยอหนาแรก ยอหนา ถัดมาจึงเปนรายละเอียด และยอหนาตอไปจะเปนรายละเอียด มากขึ้นเรื่อยๆ จนเพียงพอกับเวลากั บการเสนอข าวแต ละขา ว ซึ่งผูจัดรายการจะตองนําเสนอขอเท็จจริงอยางตรงไปตรงมา ไม ใช ค วามคิ ดเห็ น หรื อ ทั ศนะส ว นตั ว มาปะปนกั บเนื้ อ หาข า วที่ นําเสนอ ตองยึดถือจริยธรรมการประกอบอาชีพสื่อมวลชน เปนหลัก 18


บทที่ 2 การผลิตรายการ ขั้นตอนการผลิตรายการ การผลิตรายการวิทยุโดยทั่วไป มีอยู 4 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นเตรียมการ ขั้ น เตรี ยมการนี้ สามารถแบ ง ย อ ยออกได เ ป น อี ก 3 ขั้นตอน คือ 1.1 วางแผน คื อ การกํ า หนดหั ว ข อ ว า จะจั ด รายการเรื่องอะไร มีเนื้อหาอยางไร จะเสนอรายการในรูปแบบ ไหน ผูฟง คื อ ใคร ออกอากาศเวลาไหน ฯลฯ ทั้ งนี้ เพื่ อให เ กิ ด ความชั ด เจน ผู ผ ลิ ตรายการควรเขี ย นออกมาเป น โครงการ นําเสนอรายการ จะชวยใหเห็นภาพของการจัดรายการไดชัดเจน ขึ้น 1.2 การเขียนบท คือ การนําเอาความคิดในขั้น วางแผนมาขยาย และเขี ยนรายละเอี ยดออกมาเป นบทวิทยุ ฯ 19


โดยอาศั ยการคน ควาขอมู ลที่เกี่ยวของกับเนื้อหาที่ตองการจะ นําเสนอมาประกอบกับจินตนาการ 1.3 การเตรียมวัสดุอุปกรณและเสียงประกอบ คือ การจัดเตรี ยมแผนเสียง แผนซีดี เพลงประกอบในรายการ เสียงประกอบตางๆ ตลอดจนจัดหาบุคลากรใหพรอมตามบทที่ กําหนดไว วา ใครทํา หน าที่อะไร มี ใครมารวมรายการบ าง นั ด หมายการสัมภาษณเวลาใด เปนตน ตัวอยาง โครงการนําเสนอรายการ 1. เรื่อง ( เรื่องอะไร เชนเรื่อง “กุหลาบ” ) 2. กลุมเปาหมาย ( เปนใคร เชน แมบาน เกษตรกร ผู ที่ สนใจกุหลาบเปนพิเศษ เปนตน ) 3. วัตถุประสงค ( เพื่ออะไร จะเกิดประโยชนอยางไรตอ ผูฟง )

20


4. หัวขอเรื่อง ( หัวขอที่จะพูดเฉพาะในรายการตอนนี้ เชน “กุหลาบมีกี่พันธุ แตละพันธุมีจุดดี จุดดอย ตางกันอยางไร มีวิธี ปลูกแตกตางกันหรือไมอยางไร เปนตน ) 5. เนื้ อ หารายการ ( สรุ ป เนื้ อ หาที่ จะนํ า เสนอในครั้ ง นี้ อยางยอ ๆ ) 6. รูปแบบรายการ ( จะนําเสนอรายการในรูปแบบใด เชน รายการสัมภาษณ รายการสารคดี รายการนิตยสาร ฯลฯ ผูจัด รายการตองเลือกแบบใดแบบหนึ่ง ) 7. ความยาว ( กี่นาที ) 8. ชื่อรายการ ( ควรตั้งชื่อรายการใหชวนฟง และสื่อสาร ใหผูฟงทราบวาจะไดฟงเนื้อหาเกี่ยวกับอะไรบาง ) 9. ผูดําเนินรายการ ( เปนใคร ) 10. สถานี ที่ อ อกอากาศ (สถานี ชื่ อ อะไร คลื่ น ความถี่ อะไร) 11. วันและเวลาที่ออกอากาศ ( ออกอากาศวันและเวลา ใด เชน เวลา 06.00 – 07.00 น. ทุกวันจันทร-ศุกร หรือ 13.00 –

21


13.30 น. ทุ กวั นเสาร เป นต น หากเปน บทเฉพาะตอนใดตอน หนึ่งก็ใหระบุวันที่ที่ชัดเจนลงไปเลย ) ตัวอยาง โครงการนําเสนอรายการ ชื่อรายการ : คิดสคลับ ตอน หนูเคยพูดไมเพราะหรือเปลา เรื่อง : การพูดไมสุภาพของเด็ก ออกอากาศ : สถานีวิทยุ มก. AM 1107 KHz. วั น จั น ทร ที่ 24 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2551 เวลา 17.00 - 17.10 น. วัตถุประสงค : 1. ใหเด็กเห็นความสําคัญและขอดีของการ พูดบอกไดวาการพูดไมสุภาพมีขอเสียอยางไร 2.ให พอ แม ผู ปกครองรู วิ ธี แ ก ปญหา ว า จะ จั ดการกั บ ลู ก อย า งไรหากพบว า ลู กพู ดไม สุภาพ หัวขอเรื่อง : เด็กพูดไมสุภาพจะแกอยางไร 22


กลุมเปาหมาย : เด็กอายุ 6-9 ขวบ และพอแม ผูปกครอง เนื้อหา : เปนการเลาถึงการพูดไมสุภาพของเด็กซึง่ มี หลายสาเหตุ ทั้ งชว งวัย เพื่ อน สิ่ง แวดลอ ม คนในครอบครั ว ฯลฯ พ อ แม จึ ง ต อ งมี วิ ธี แก ป ญ หาที่ ถู ก ต อ ง เมื่ อ เด็ ก เข า ใจและ ต อ งการการยอมรั บ จากสั ง คม เด็ ก ก็ จ ะ พูดจาไพเราะและถูกกาลเทศะในที่สุด รูปแบบรายการ: สารคดีทั่วไป 1. ยกตั ว อย างป ญหาการพูดไม สุ ภาพของ เด็ก โดยนําเสนอดวยนิทานสั้น ๆ 2. พูด ( แสดง ) ใหเด็กเห็นถึงขอเสียของการ พูดไมสุภาพและขอดีของการพูดสุภาพ โดย ใหเ ด็กเลา เรื่อ งและถ ายทอดประสบการณ ของตัวเอง 3. เสนอแนวทางการแก ปญหาของพอ แม ผู ปกครอง เมื่ อ พบว า ลู กพู ดไม สุ ภ าพ หรื อ พูดคําหยาบ 23


4. สรุ ป การพู ดไม สุ ภ าพของเด็ กเกิ ดจาก หลายสาเหตุ พอแมผูปกครองจึงจําเปนตอง มีวิธีแกปญหาที่ถูกตองและเปนแบบอยางที่ ดี ใ ห กั บ ลู ก เมื่ อ เด็ ก เห็ น แบบอย า งที่ ดี ประกอบกั บ เด็ ก ต อ งการการยอมรั บ จาก เพื่อนและสังคม เขาก็จะพู ดจาไพเราะและ พูดถูกกาลเทศะไดเอง การนําเสนอ : รายการพูดคุยสลับเพลง และเลาเรื่องประกอบ ความยาว : 10 นาที ดําเนินรายการโดย : พี่นอย (นามสมมุต)ิ ****************************************************************** 2. ขั้นซักซอมกอนออกอากาศ เปนการซักซอมการจัดรายการตามรายละเอียดของบท วิทยุ ที่เ ขียนไวทั้ งหมด เพื่อ ให บุคลากรที่ เกี่ ยวขอ งทุ กคนไดทํ า 24


ความเข า ใจร ว มกั น และเพื่ อ หาข อ บกพร อ ง จะได แ ก ไ ขได ทันทวงที 3.ขั้นออกอากาศ เปนขั้นตอนไดดําเนินการตามบทที่ผานการซักซอมและ แกไขมาแลว โดยการออกอากาศนี้ อาจเปนการออกอากาศจริง หรือบันทึกเทปเอาไว แลวนําไปออกอากาศอีกทอดหนึ่งก็ได 4.ขั้นประเมินผล เ ป น ก า ร ติ ด ต า ม ผ ล ห ลั ง จ า ก ก า ร อ อ ก อ า ก า ศ ว า ร า ย ก า ร ที่ ผ ลิ ต ไ ป นั้ น ป ร ะ ส บ ป ญ ห า อ ะ ไ ร บ า ง จะต อ งแก ไ ขอย า งไร หรื อ ผู ฟ ง ต อ งการให เ ป น แบบไหน เพื่อใหรายการประสบความสําเร็จสูงสุด หนาที่และความรับผิดชอบของผูผลิตรายการ ในการผลิตรายการวิทยุทุกรายการ ผูผลิตรายการหรือผู จั ดรายการเป น ผู ที่ มี บทบาทสํ า คั ญอย า งมาก เพราะต อ งทํ า 25


หนาที่เสมือนเปนพอครัวปรุงอาหารใหคนอื่นรับประทาน อาหาร จะมีรสชาติดีหรือไม รายการจะถูกใจผูฟงหรือไม อยางไร ขึ้นอยู กับการทําหนาที่และความรับผิดชอบของผูผลิตรายการนั้นๆ ซึ่ง หน า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของผู ผ ลิ ต รายการวิ ท ยุ ที่ ดี มี ดังตอไปนี้ - กําหนดเนื้อหาสาระ และรูปแบบของรายการในแนวทาง ที่สอดคลองกับกลุมผูฟงเปาหมาย - กํา หนดตัวผู รวมงานในกลุม เชน ผูเ ขียนบท ผูดํา เนิ น รายการ ผูควบคุมเสียง ฯลฯ - รวบรวมเสี ย งประกอบจริ ง เช น การบั น ทึ ก เสี ย ง สัมภาษณนอกสถานที่ การบันทึกเสียงเหตุการณ จริง ฯลฯ - รูจักเลือกเพลงประกอบและเสียงประกอบสําหรับใชใน รายการ - อ า นทบทวนบทวิ ท ยุ ที่ เ ขี ย นเสร็ จ แล ว เพื่ อ พิ จ ารณา ปรับปรุงแกไขหรือดัดแปลงใหเหมาะสม

26


- เตรี ย มวั ส ดุ อุ ป กรณ ต า งๆ ที่ จํ า เป น ต อ งใช ใ นการ ออกอากาศสดหรือรายการบันทึกเทปใหพรอม เชน เตรียมบท วิท ยุ ใ ห ทีมงานทุ กคน จั ดเตรี ยมแผน เสี ยงที่จะใช ประกอบใน รายการใหครบถวน ฯลฯ - ซั ก ซ อ มความเข า ใจและให คํ า แนะนํ า แก ผู ดํ า เนิ น รายการ - ตรวจสอบระบบเสียงภายในห องบั นทึกเสียง ป องกั น หรือแกไขเสียงกองหรือเสียงรบกวน รวมทั้งปรึกษาฝายชางใน การจัดตั้งไมโครโฟน - อธิบายรายละเอียดของบทวิ ทยุ แก เจ าหนา ที่ควบคุ ม เสียง เพื่อซักซอมทําความเขาใจในรายละเอียดตาง ๆ - ควบคุ ม การซ อ มรายการทั้ ง ที่ เ ป น รายการสดและ รายการบั น ทึ กเทป เพื่ อ ดั ดแปลงแก ไ ขให ทุ กสิ่ ง ทุ ก อย า งใน รายการสมบูรณที่สุด - จั ดให มีการซ อ มเพื่ อ จั บเวลาและฝ กฝนให เ กิ ดความ ชํานาญ

27


- ขั้นสุดทาย คือ อํานวยการออกอากาศรายการสดหรือ รายการบันทึกเทป โดยรายการบันทึกเทป อาจตองมีการตัดตอ เสียงใหเหมาะสมกอนออกอากาศดวย ความรูความสามารถของผูผลิตรายการ ในการจัดรายการวิทยุ ผูผลิตรายการหรือผูจัดรายการมี หนาที่ตองรับผิดชอบทั้งดานเนื้อหาสาระของรายการและดาน เทคนิ ค ดั ง นั้ น การจะเป น ผู ผ ลิ ตรายการที่ ดีได จํ า เป น ต อ งมี ความรูความสามารถดังตอไปนี้ ดานเนื้อหา - ผู ผ ลิ ตรายการที่ ดีตอ งสามารถผลิ ตเนื้ อหาสาระของ รายการใหสอดคลองเหมาะสมกับกลุ มผูฟง ซึ่งหมายความว า ตองมีความรูความเขาใจในการวิเคราะหผูรับสาร เชน กลุมผูฟง มี การศึ กษาในระดั บใด ประกอบอาชี พ อะไร เพศอะไร อายุ เทา ไหร เป นตน และสามารถนํ าเอาขอ มูลของกลุมผู ฟงมาใช ประกอบไดอยางเหมาะสม 28


- ผูผลิตรายการที่ดีตอ งมีความรู ความสามารถ ในการ เลือกเนื้อหาสาระและเลือกรูปแบบของรายการ - ผู ผ ลิตรายการที่ ดีตองสามารถอธิ บาย และถ ายทอด ความคิดของตนใหแกผูเขียนบทวิทยุ นําไปเขียนใหเปนเรื่องราว ที่สมบูรณได (ในกรณีที่มีผูอื่นเขียนบทให) - ผูผลิตรายการที่ดีตองเขาใจเทคนิค วิธีการ การใชเครื่อง บันทึ กเสี ยง การผลิ ตเสี ยงประกอบตา งๆ การบัน ทึกเสียงการ สัมภาษณทั้งในและนอกสถานที่ รวมถึงตองมีความสามารถใน การเลือกเสียงประกอบและเพลงประกอบไดอยางเหมาะสม - ผู ผ ลิ ตรายการที่ ดีตอ งสามารถตั ด ต อ เทปที่ จะนํ า มา ออกอากาศหรือประกอบในรายการได ดานเทคนิค ผูผลิตรายการที่ดีตองมีความรูความเขาใจเครื่องมือและ อุปกรณที่เกี่ ยวของกับการกระจายเสียง ทั้งในหองจัดรายการ และในห อ งควบคุ มเสี ยง เช น ในห อ งจั ดรายการ ผู ผ ลิ ตควร จะตองเขาใจเรื่องระบบเสียงและไมโครโฟน สวนในหองควบคุม 29


เสี ยง ผู ผ ลิ ตควรจะต อ งเข า ใจปุ มต า งๆ บนแผงควบคุ มเสี ยง รวมถึงการใชอุปกรณและเครื่องเสียงตางๆ สรุปคุณสมบัติของผูผลิตรายการที่ดี - มีความคิดริเริ่มสรางสรรค กระตือรือรน สนใจสิ่งรอบตัว และใฝรูอยูเสมอ - มีความสามารถในการพู ดอย างเป นกัน เอง ออกเสียง ภาษาไทย หรือภาษาถิ่นไดอยางคลองแคลว ถูกตอง และนาฟง - เขาใจในกระบวนการผลิตรายการวิทยุเปนอยางดี - มีความรูในเรื่องเพลงประกอบ เสียงประกอบ สามารถ ตัดสิ น ใจได วา เนื้อ หาสาระอยา งไรเหมาะกั บผู ฟง และเพลง ประกอบ เสียงประกอบ ประเภทไหนเหมาะกับเนื้อหาเรื่องราว แบบใด - เขาใจวิธีใชอุปกรณตางๆ ไดเปนอยางดี - ตรงตอเวลา - มีการตัดสินใจที่ดี เมื่อเกิดปญหาตองสามารถแกไขได อยางรอบคอบและทันทวงที 30


บทที่ 3 การจัดรายการ หลักเบื้องตนในการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง การจะเปนนักจัดรายการวิทยุที่ดี มีขอพึงปฏิบัติเบื้องตน ดังตอไปนี้ การเตรียมบทวิทยุ (script) ก อ นจั ด รายการวิ ท ยุ ควรมี ก ารเตรี ย มบทวิ ท ยุ แ ต ล ะ รายการและกําหนดประเด็นที่จะพูดคุยลงในบทวิทยุใหเรียบรอย เพราะการกํ า หนดประเด็ น จะทํ า ให เ ราสามารถบริ ห ารเวลา ในการจั ด รายการได อาทิ ลํ า ดั บ ประเด็ น ที่ จ ะพู ด ในแต ละชว งของรายการ จะทํา ใหการจัดรายการเปนระบบ ชั ดเจน และจะทําใหเ รารูวา เหลือเวลาในการพู ดคุยในแตละช วงเป น เวลากี่นาที หรือเหลือเวลามากนอยแคไหนที่จะพูดเพิ่มเติม

31


ลักษณะของบทวิทยุที่ดี คือ - มีเนื้อหาที่ชัดเจน - ลําดับเนื้อเรื่องไดดี - หลีกเลี่ยงภาษาเขียน - ใชภาษาที่เขาใจงาย ชัดเจน สื่อความหมายไดตรง เพื่อ ชวยใหผูฟงจินตนาการภาพไดชัดเจนขึ้น ในบางกรณี หากผู จั ดรายการเปน ผู เตรี ยมบทวิ ทยุ เ อง มักจะเกิ ดป ญหานอย เพราะผู จัดรายการมีความเขา ใจในบท วิทยุนั้นอยูแลว แตในกรณีที่ผูจั ดรายการไมได เปนผูเตรียมบท วิทยุเอง ควรอานและทําความเขาใจบทวิทยุนั้นเสียกอน ซึ่งการ อา นทํ า ความเข าใจกั บบทวิ ท ยุ นั้ น ผู จั ดรายการต อ งสามารถ แยกแยะและสรุ ป ความได เนื่ อ งจากการจั ด รายการไม จําเปนต องพู ดตามบทวิทยุ ทุกคํ าทุกประโยค เพราะจะไมเป น ธรรมชาติ ให ใ ช ก ารทํ า ความเข า ใจในประเด็ น สํ า คั ญ ตั ด รายละเอียดบางเรื่อง หรือบางประโยคที่ไมมีประโยชนตอผูฟง

32


ออกไปได แลวพูดออกมาตามธรรมชาติของเรา จะทําใหการจัด รายการมีชีวิตชีวามากขึ้น การพูด ลักษณะการพูดของนักจัดรายการวิทยุที่ดี ตองออกเสียง ใหชัดเจน สะกดคําใหถูกตอง ออกเสียง ร เรือ และ ล ลิง รวมถึง ตัวควบกล้ําอื่นๆ ใหได เพราะหากพูดผิดไป ความหมายก็ผิดไป ดวย ผู ฟงอาจจําไปใชผิดๆ และระวั งการใชศัพท แสลงบางคํ า เพราะไม ใชว าผูฟง ทุกคนจะเขาใจ ทางที่ ดีควรหลีกเลี่ยงศัพท แสลงเหลานี้ แตหากเผลอพูดไปแลว ก็ควรใหคําอธิบายที่ถูกตอง แกผูฟง และตองพึงระลึกวา การพูดทางวิทยุเปนเสมือนครู ซึ่ง มักจะมีผูเลียนแบบอยูเสมอ นอกเหนือไปจากการพูดใหชัดเจนและถูกตองแลว ลีลา การพูดของนักจัดรายการที่ดี ควรจะตองมีความเปนกันเองกับ ผูฟง มีความสุภาพ ตองไมกังวลกับการอานตามบทวิทยุทุกคํา จนเกินไป เพราะจะทําใหความเปนกันเองลดลง ลีลาการพูดของ 33


เราควรชวนใหติดตามหรือฟงแลวสนุก แตความสนุกนั้นไมใชอยู บนความทุกขของผูอื่น ควรตั้งอยูบนความเหมาะสม โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง ควรดู กลุ ม ผู ฟง ของเราว า มี การศึ กษาระดั บใด เป น ผูใ หญ ห รื อ เด็ ก ถ า กลุ มผู ฟง เป น เด็ กก็ ควรพู ดในภาษาที่ เ ด็ ก เขาใจไดงายและนาติดตาม หากกลุมผูฟงเปนวัยรุนก็ควรพูดใน แบบที่วัยรุนสนใจ หรือหากเปนผูใหญก็ควรพูดใหนาเชื่อถือและ นาสนใจ แตไมควรพูดภาษาที่หยาบคาย สองแงสองงาม หรือ แสดงความกาวราว อันเปนตัวอยางที่ไมดี เปนการปลูกฝงใหใช ความรุนแรงแกปญหา หรือพูดโดยไมคํานึงถึงศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงามของไทย ซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรทําอยางยิ่ง พึงระลึกเอาไววา วิทยุกระจายเสียงไมใชโทรทัศน ผูฟงได ยินเฉพาะเสียงของเรา ไมอาจเห็นภาพปรากฏได ดังนั้น นักจัด รายการวิทยุที่ดี ตองพูดใหผูฟงเห็นภาพ ซึ่งขอแนะนําในการพูด เพื่อใหเห็นภาพ คือ ควรใชคํากริยาวิเศษณอยางเหมาะสม เชน เดินอยางรวดเร็ว กาวชาๆ ยิ้มแหยๆ ลมพัดเบาๆ เคาะประตูดังๆ

34


สองสามครั้ง มองเห็นอยูลิบๆ ฯลฯ คําเหลานี้จะชวยใหผูฟงเกิด จินตนาการ นึกเห็นภาพตามไปดวยได โดยทั่วไป สําหรับรายการที่มีความยาวเกิน 2 นาที นักจัด รายการควรพู ดให ผู ฟง จิ น ตนาการภาพตามไปด ว ยได อ ย า ง ชัดเจน โดยเริ่ มตนควรพูดใหนึ กถึงบรรยากาศหรือภาพกวางๆ แก ผู ฟ ง ก อ น แล ว ค อ ยๆ พู ด เน น โยงเข า สู ป ระเด็ น หลั ก หรื อ เรื่ อ งราวที่ เ ราต อ งการนํ า เสนอ ไม ใ ช เ ริ่ มรายการก็ พุง เข า สู ประเด็นหลักเลย ถาทําเชนนั้น ผูฟงอาจตามเรื่องราวไมทัน และ นึกภาพไม อ อก แต ถาเป น รายการสั้ น ๆ เพี ยง 1 - 2 นาที ก็ จําเปน ตอ งเขา สูประเด็น หลั กโดยเร็ วเพื่อใหทั นภายในเวลาที่ กําหนด ขอพึงระวังในการจัดรายการวิทยุ - อยาพูดออกนอกประเด็นมากเกินไป - อยาพูดเพลินจนลืมดูเวลา

35


การใชเสียง / เพลงประกอบ หลักการในการใชเสียงหรือเพลงประกอบในรายการ คือ ควรเลื อกเสี ยงหรื อเพลงประกอบให เหมาะสมกั บเนื้อ หาหรื อ บรรยากาศรายการและกลุ มผู ฟง ทั้ งในแงข องการเลือ กเสียง ประกอบหรือเพลงที่ ชวยให เกิ ดการสรา งจิน ตนาการของผูฟง การใชเสียงประกอบหรือเพลงบอกเวลา การสรางบรรยากาศ ประกอบเรื่องที่กําลังพูด ฯลฯ ซึ่งทักษะสวนนี้ จําเปนตองอาศัย ประสบการณและการฝกฝนเปนสําคัญ อย า งไรก็ ดี ข อ แนะนํ า สํ า หรั บการใช เ พลงประกอบใน รายการอยางคราวๆ คือ เพลงที่จะใชเปด คั่นสลับการพูดของเรา ควรใช เพลงบรรเลงจะดีกว า ในกรณีตองการใช เพลงเปนฉาก หลัง (background) ในขณะพูด เพลงที่ใชก็ควรใชเพลงบรรเลง เชนกัน ทั้งนี้ เพราะเสียงนักรองจะไดไมมารบกวนการพูดของนัก จัดรายการ และอีกนัยหนึ่ง ยังถือเปนมารยาทที่ไมดี ไมควรทํา หากนักจัดรายการวิทยุพูดทับเสียงรองของนักรองที่กําลังรองอยู เพราะถื อ เป น การทํ า ลายชื่ อ เสี ย งของนั ก ร อ งผู นั้ น ทางอ อ ม 36


นอกจากนี้ ผูฟงที่ชอบเพลงนั้นอยู ก็อาจจะรูสึกไมพอใจนักจัด รายการคนนั้ นได ดั งนั้น เพลงที่จะใช เปดเพื่อเปลี่ ยนชว งเวลา เปลี่ยนฉาก เปลี่ยนประเด็นการพูด หรือใหผูฟงเปลี่ยนอิริยาบถ ควรใช เพลงบรรเลงจะเหมาะสมกว า ทั้งยั งไมควรใชเ พลงที่ มี จังหวะชา หรื อเร็วเกิน ไป เพราะจะเปน การหนวงหรื อกระชาก อารมณ ผู ฟ ง มากเกิ น ไป เราควรเลื อ กเพลงที่ ใ ห ค วามรู สึ ก กระฉับกระเฉง สนุกสนาน จะเหมาะสมกวา ประเภทของเสียงประกอบในรายการ 1. เสี ยงที่ เ กิ ด ขึ้ นในสถานที่ จริ ง หรื อเหตุ ก ารณ ที่ เกิดขึ้นจริง มักใชเสียงประเภทนี้เปนฉากหลัง ในระหวางที่นัก จัดรายการวิทยุกําลังพูดอยูในขณะนั้น ซึ่งแมจะไมใชรายการสด แตก็สามารถสรางอารมณและจินตนาการใหผูฟงรูสึกเสมือนได ฟง รายการสดและอยู ในเหตุการณ นั้ น จริ ง ๆ โดยการไดมาซึ่ ง เสี ย งประกอบประเภทนี้ เราต อ งมี เ ครื่ อ งบั น ทึ ก เสี ย งที่ ดี เพื่อใหไดเสียงที่สมบูรณ และมีคุณภาพสูงสุด 37


2. เสียงที่บันทึกเอาไวเรียบรอยแลว มักจะอยูในรูป แผนเสียงหรือ ซีดี(CD) เสียงประกอบประเภทนี้มักไมมีปญหา เพราะเสียงตางๆ ไดบันทึกเอาไวเรียบรอยแลว เราสามารถหาซื้อ ไดจากรานขายซีดีโดยทั่วไป 3. เสียงที่ทําขึ้นเองในหองสง หองบันทึกเสียงหรือ ในสตูดิโอ เชน เสียงเดินในแบบตางๆ เสียงดื่มน้ํา เทน้ําใสแกว ฯลฯ และเสี ย งสั ง เคราะห ต า งๆ ที่ ใ ช ค อมพิ ว เตอร ส ร า งขึ้ น เสี ย งประกอบประเภทนี้ นั ก จั ด รายการต อ งมี ความรู ค วาม เขาใจและจินตนาการในการใช วาเสียงไหนจะใชเปนเสียงอะไร สื่อถึงอะไร และจะนํามาประกอบเรื่องราวอะไร การมีสวนรวมของผูฟง รายการวิทยุที่ดีนั้น นอกจากการผลิตและจัดรายการใหดี มี คุ ณ ภาพแล ว การเป ด โอกาสให ผู ฟ ง เข า มามี ส ว นร ว มใน รายการก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหรายการมีสีสัน นาสนใจ เปนการ ประเมิ น ผลรายการไปในตั ว และเหนื อ อื่ น ใด คื อ เป น การ 38


ย ก ร ะ ดั บ ก า ร สื่ อ ส า ร แ บ บ ท า ง เ ดี ย ว ห รื อ One-Way Communication ไปสู ก ารสื่ อ สารสองทาง หรื อ Two-Way Communication ใหเราในฐานะนักจัดรายการวิทยุ ไดมีโอกาส พบปะกับผูฟงไดดวย ชองทางที่เปดใหผูฟงไดเขามามีสวนรวมในรายการวิทยุ ในปจจุบันมีมากมายหลายชองทาง ทั้งทางโทรศัพท จดหมาย SMS หรือแมกระทั่งกระทูในอินเตอรเน็ต เฟซบุค ทวิตเตอร ฯลฯ ซึ่ ง ขึ้ น อยู กั บความพร อ มของผู จั ด รายการ และกลุ มผู ฟง ว า สะดวกในชองทางไหน ทั้ ง นี้ หลั ก ในการพบปะพู ด คุ ย กั บ ผู ฟง ผ า นช อ งทางที่ สามารถโต ตอบกัน ได โดยทัน ทีทัน ใด เช น พูดคุ ยทางโทรศัพท นักจัดรายการตองพยายามทําใหผูฟงรูสึกเปนกันเอง พยายาม ทําใหการพูดคุยนั้นๆ เปนไปโดยธรรมชาติ แตหากเปนชองทางที่ ไมสามารถโตตอบไดทันทีทันใด เชน จดหมาย SMS หรือกระทู ในอิ น เตอร เ น็ ต นอกจากพยายามตอบหรื อ อ า นทุ กๆ ความ 39


คิดเห็นที่ผูฟง สงเขามา เพื่อเปนการใหเกียรติ แกผู ฟงแลว ควร พยายามยึดเนื้ อความที่ผู ฟง สง เข ามาเป นหลัก อยา ออกนอก เรื่องหรือบิดเบือนไปจากเนื้อหาเดิมที่ผูฟงสงเขามาจนเลยเถิด เกินไป หลักการจัดรายการวิทยุแยกตามประเภทของรายการ ที่กลาวไปขางตน เปนหลักการจัดรายการวิทยุเบื้องต น แตก็ดังที่ทราบกันวา รายการวิทยุนั้นมีหลากหลายประเภท และ แตละประเภทก็มีลักษณะเฉพาะแตกตางกัน ในหัวขอตอไปนี้ จึง ขอกลาวถึงหลักการจัดรายการวิทยุแยกตามประเภทตางๆ 1.รายการพูดคุย ในกรณี ที่ เ ป น รายการพู ด คุ ย กั บ ผู ฟ ง โดยตรง นั ก จั ด รายการวิทยุอาจมีคนเดียวหรือสองคนก็ได ซึ่งตางก็ มีขอดีและ ขอเสียแตกตา งกัน ไป ในกรณีที่มีนักจัดรายการเพี ยงคนเดียว หลักในการจัดรายการก็ไมมีอะไรมาก นอกจากพูดใหผูฟงรูสึก

40


สนุกและเปนกันเอง โดยใชลีลาการพูดในแบบของเรา ใหผูฟงจับ ตองได ไมควรลอกเลียนแบบลีลาการพูดของคนอื่น สวนใหญที่เกิดปญหา มักเปนรายการที่มีนักจัดรายการ วิทยุสองคน หลายๆ ครั้งที่นักจัดรายการวิทยุสนุกกันเองจนลืม ผูฟง บางก็พูดเร็วเกินไป แยงกันพูด หรือไมก็ใหคนใดคนหนึ่งพูด อยู ค นเดี ยว ในขณะที่ อี กคนเงี ยบเหมื อ นไม ได อ ยู ใ นห อ งจั ด รายการ ลักษณะเหลานี้ไมเปนผลดี สิ่งที่สําคัญสําหรับการจัด รายการสองคนจึงอยูที่การทําความเขาใจ นัดแนะวางแผน แบง จังหวะกันพูดใหสอดรับเหมาะสม รายการที่จัดจะไดมีชีวิตชีวา และนาสนใจ ขอดี/ขอเสียของการจัดรายการคนเดียวและสองคน การจัดคนเดียว - อาจรูสึกเหงา ขาดสีสัน - เปนอิสระกวาการจัดสองคน ไมตองกลัววา ใครจะมาแยงพูด - พูดเขาประเด็นไดเร็วกวา 41


การจัดสองคน - มีปฏิกิริยาระหวางนักจัดรายการดวยกัน เพื่อเพิ่มสีสันใหรายการ และสรางความ เปนกันเองไดดีกวา - ผอนคลายกวาการจัดคนเดียว - พูดเขาประเด็นไดชา เพราะอาจเสียเวลาใน การแบงจังหวะการพูด ส ว นใ นกรณี ที่ เ ป น รายการสั ม ภาษณ รายการ สนทนา หรือรายการอภิปราย ที่มีผูรว มรายการหรือแขกรั บ เชิญ นักจัดรายการต องทํ าการบ านมาเป นอย างดี โดยเตรียม ประ เด็ น ที่ จ ะพู ด คุ ย ในรายการเป น ลํ า ดั บ อย า งชั ด เจน นอกจากนั้ น ในขณะที่จัดรายการ นั กจัดรายการจะตองเปน ผู ควบคุมเวลา เนื้อหา และผูรวมรายการ เชน ในกรณีที่หากผูรวม รายการพูดไมชัด ไมชัดเจน หรือพูดในประเด็นที่ยากแกการทํา ความเข าใจ นั กจัดรายการจะตองเป นผูทําหน าที่ ซักถามหรื อ ชวนคุย เพื่อใหผูฟงเห็นภาพชัดขึ้น รวมถึงตองเปนผูคอยเรียบ เรียงประเด็นจากที่ผูรวมรายการหรือแขกรับเชิญพูดไปแลว มา 42


พูดสรุปใหผูฟงไดทราบ และที่สําคัญคือเมื่อจบรายการ ตองไม ลืมขอบคุณผูรวมรายการหรือแขกรับเชิญ 2.รายการสารคดี รายการสารคดีเป นรายการที่นํา เสนอโดยวิธีเ ลาเรื่องที่ เปนจริง มีหลักฐานอางอิง พิสูจนได ตองไมใชเรื่องที่แตงขึ้น แบ บนวนิ ยาย หรื อบทละคร สว นลีล าการนําเสนอที่ผูจั ดรายการ ตองคนหาลีลาเฉพาะของตัวเอง เพื่อใหรายการมีความนาสนใจ หลักในการจัดรายการสารคดีคือ ควรนําเสนอเปนเรื่องเดียวทั้ง รายการ หรือควรทําใหเนื้อหามีเอกภาพเปนแนวเดียวกัน เพื่อ ที่ ผูฟงจะไดไมสับสน ในกรณีที่เรื่องที่ตองการนําเสนอมีความยาว มากเกิน ไป ผูจั ดควรจั ดแบ งออกอากาศเปน ตอนๆ ไมควรยั ด เยียดมารวมออกอากาศไวในตอนเดียว เพราะจะทําใหเนื้อหา หนักเกินไปจนไมนาฟง ทั้งนี้ มีรายการสารคดีอีกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะ แตกต า งไปจากรายการสารคดี อื่ น ๆ คื อ สารคดี ท อ งเที่ ยว ที่ 43


นอกเหนือจากเปนการบอกใหทราบแลว ยังมีอิทธิพลสงผลให ผูฟงอยากไปสัมผัสสถานที่ทองเที่ยวนั้นๆ ดวยตัวเอง ดังนั้น การ จัดรายการสารคดีทองเที่ยว นอกจากบอกใหทราบถึงลักษณะ ทางกายภาพตางๆ ความประทับใจในการไปเที่ยวชมแลว นักจัด รายการควรระบุรายละเอียดอื่นๆ ใหเปนพื้นฐานสําหรับผูฟงที่ อยากไปสั มผั ส สถานที่ นั้ น ๆ ด ว ย เช น ควรบอกสถานที่ ตั้ง ให ชัดเจน บอกระยะทางจากจุ ดเริ่ มต นถึง จุดสิ้ นสุ ดหรื อสถานที่ ตา งๆ แจกแจงการเดิ นทาง ราคาค ารถโดยสาร เส นทางการ เดินทาง ใหขอมูลวาตองเตรียมอะไรไปบาง ตลอดจนคาใชจาย ในการทองเที่ยวและคาที่พัก ฯลฯ 3.รายการนิตยสารทางอากาศ แมโดยลักษณะของรายการ รายการนิตยสารทางอากาศ จะเปนรายการที่มีความหลากหลายดานเนื้อหา มี หัวขอตางๆ มาผสมผสานกันไวในรายการเดียว แตนักจัดรายการจะตองคัด กรองเนื้อหาที่มีความแตกตางเหลานั้นใหมีจุดรวมเดียวกัน ซึ่ง จุดรวมนั้นตองอยูภายใตเกณฑของกลุมผูฟง วากลุมผูฟงของเรา 44


เปน กลุ มใด เช น กลุ มผู ฟง ของเราเปน แม บา น เราก็ อาจเลือ ก เนื้อหาการทําอาหาร การเย็บปกถักรอย การเลี้ยงลูก ฯลฯ มา นําเสนอในรายการได เพราะเนื้อหาทั้งหมดที่กลาวไป ลวนมีจุด ร ว มเดี ย วกั น คื อ เป น การงานของแม บ า น เช น เดี ย วกั บ การ นํ า เสนอ นั ก จั ด รายการจะต อ งเชื่ อ มโยงเนื้ อ หาที่ มี ค วาม หลากหลายนั้น ใหรวมเปนเนื้อเดียวกัน หรือมีการแบงอยางเปน สัดสวน เพื่อผูฟงจะไดไมสับสน และไมเสียเอกภาพของรายการ 4.รายการขาว หลักในการจัดรายการขาว คือ การนําเสนอขอเท็จจริงที่ เกิดขึ้นในเวลาหนึ่งๆ โดยการเรียบเรียงขอมูลตางๆ เพื่อใหผูฟง ไดเ ห็น ”ความจริง ” บางอยา ง เพราะธรรมชาติ ของข อเท็จจริ ง ไมไดมีแคมุมใดมุมหนึ่งหรือแงใดแงหนึ่งเทานั้น รายการขาวที่ดี จึง ควรนํ าเสนอข อเท็จจริ งในหลายๆ ด าน และนํา เสนออย า ง ตอเนื่ อง เพราะเปนไปไดว า ขา วที่ออกมาในตอนแรกนั้ น อาจ ไมใชขอเท็จจริงทั้งหมด แตอาจเปนเรื่องราวเพียงแงมุมใดแงมุม หนึ่งเทานั้น 45


บทที่ 4 อุปสรรค ไม ว า กิ จการงานใดก็ ต าม ล ว นแล ว แต ต อ งมี อุ ปสรรค ทั้ ง สิ้ น การจั ดรายการวิ ท ยุ ก็เ ช น เดี ยวกั น อุ ป สรรคในการจั ด รายการวิทยุที่พบเห็นทั่วไปมีอยู 3 ประเด็นหลักๆ คือ 1.ขอจํากัดดานเวลา การมีเวลาที่จํากัดเปนอุปสรรคที่นักจัดรายการวิทยุสวน ใหญประสบกัน เชน นั่งจัดรายการอยูดีๆ เหลือบมองอีกที เหลือ เวลาไมพอที่จะพูดให ครบประเด็นที่ตองการนําเสนอ หรือไม ก็ เหลือเวลามากจนไมรูจะหาเรื่องอะไรมาพูดดี อุ ป ส รรคเรื่ อ งเวล านี้ แก ไ ขได ด ว ยการวางแผ น เตรียมพรอมกอนจัดรายการ ไมวาจะเปนการจัดสรรเนื้อหาให พอเหมาะพอดีกับเวลาในการจัดรายการ การซั กซอ มการจั ด 46


รายการเพื่อจับเวลาออกอากาศลวงหนา การเตรียมแผนสํารอง ไว ใ นกรณี เ กิ ดเหตุ การณ ไ ม ค าดคิ ด ระหว า งจั ดรายการ เช น เตรียมเรื่องที่จะพูดในกรณีที่เวลาเหลือมากเกินไป ฯลฯ รวมไป ถึงระหวางการจัดรายการ เราก็ตองมีสติ ควบคุมเนื้อหาใหอยูใน ประเด็นที่ตองการนําเสนอ และคอยดูเวลาอยูตลอด 2. การขาดความรูในเรื่องที่นําเสนอ หลายครั้งในการจัดรายการวิทยุ เราอาจตองพบกับเรื่อง หรือคําศัพทที่เราไมมีความรู ยิ่งเมื่อถูกเวลาบีบบังคับ เราจะยิ่ง ลนลาน วิธีแกไข คือนักจัดรายการวิทยุที่ดี จะตองอานบทวิทยุ ลวงหนากอนการจัดรายการเสมอ และในกรณีที่พบวาเรื่องใน บทวิทยุนั้นเปนเรื่องที่เราไมมีความรูมากอน ไม ควรปลอยผาน เลย แลวใชวิธีอานตามบทวิทยุตอนออกอากาศสด เพราะจะทํา ใหการจัดรายการไมเปนธรรมชาติ ขาดความนาสนใจ และความ นาเชื่อถือ ในกรณีนี้ ควรอานแบบตีความ วาใจความหลักหรือ เนื้อหาหลักของเรื่องนั้นพูดถึงอะไร แลวกําหนดประเด็นที่จะพูด โดยเราสามารถปรับเนื้อหาใหมใหเปนเนื้อหาของเราเองได จะ 47


ทํ า ให พู ดง า ยขึ้ น แต ก็ ค วรยึ ด เนื้ อ หาเดิ ม ไว ใ ห ม ากที่ สุ ด ตั ด บางอยางที่ไมจําเปนออกไป อยาไปยึดติดวาเราตองจดจํา ตอง เข าใจทุ กตั วอั กษรในบทเดิมทั้ งหมด ยกเวน บทวิท ยุที่ เขี ยนไว อยางละเอียดทุกขั้นตอน เพราะเราไมสามารถจดจําไดทุกอยาง ในเวลาที่จํากัด โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องที่เราไมมีความรู สําหรับคํา ศัพท ที่เ ราไมมีความรู ในสถานการณ เฉพาะ หนา เราอาจเลี่ ยงคํา คํานั้น ไป หรือสารภาพวาไม มีความรู ขอ เวลาผูฟงสักครู หรือบอกผูฟงวา คราวหนาจะหาคําตอบมาให หรือ ตอสายถึงผู รูทัน ที หรือ หากมีเ วลา ก็ ควรออกไปหาข อมู ล จากข า งนอกโดยเร็ ว อย า ใช วิ ธี การเดา เพราะจะเป น การให ขอมูลผิดๆ แกผูฟง วิธีแกปญหาในกรณีที่เจอกับเรื่องราว หรือคําศัพทที่เราไม มีความรู ขอแนะนําคือในหองจัดรายการควรมีพจนานุกรมหรือ คอมพิวเตอรเพื่อไวใชหาขอมูลโดยเฉพาะ

48


3.ความไมสมบูรณของหองจัดรายการและอุปกรณ ตางๆ นั ก จั ด รายการมื อ ใหม มั ก ต อ งหงุ ด หงิ ด กั บ เครื่ อ งไม เครื่ อ งมื อ หรือ อุ ปกรณ ตางๆ ในห อ งจัดรายการ ทํ า ให การจั ด รายการนั้ นๆ ติดขั ด ไมประสบความสําเร็จ ซึ่งปญหาดังกลา ว อาจเปนเพราะนักจัดรายการไมมีความรูดานเทคนิคและวิธีใ ช อุปกรณ ในหอ งออกอากาศหรือ หอ งบั นทึ กเสียง หรื ออาจเป น เพราะอุปกรณเครื่องไมเครื่องมือไมไดรับการดูแลรักษาที่ดี ทําให เกิดอาการรวน หรือทํ างานไม เปน ปกติ และเสี ยหายจนสงผล กระทบตอการจัดรายการ ดังนั้ น นอกเหนื อจากการเตรียมตั วให พร อมของนั กจั ด รายการเองแลว นักจัดรายการวิทยุที่ดีควรมีความพรอมในการ ใชอุปกรณและเครื่องมือตางๆ ในหองจัดรายการดวย ทั้งยังควร เรียนรู ฝกฝนวิธีการใชอุปกรณตางๆ ใหช่ําชองเชี่ ยวชาญ และ หมั่ นดู แ ลรั กษาอุปกรณ ตางๆ ใหมีความพร อมสํ าหรับการจั ด รายการอยูเสมอ 49


บทที่ 5 จริยธรรมวิชาชีพ จริยธรรมวิชาชีพนักจัดรายการวิทยุ การเป น นั กจั ด รายการวิ ท ยุ ที่ ดี นั้ น นอกเหนื อ จากจั ด รายการใหดีและมีคุณภาพแลว ยังตองมีจริยธรรมวิชาชีพดวย โดยผูจัดตองระลึกเสมอวา วิทยุกระจายเสียงเปนแบบฉบับอยาง หนึ่งของภาษาที่ผูฟงอาจจะจําไปใชโดยไมรูตัว ผูจัดรายการจึง ควรระมัดระวัง ไมทําใหภาษาวิบัติ ไมใชคําพูดสองแงสองงาม หรือคําหยาบคาย พรอมกันนั้น ตองมีความสํานึกของหนาที่ของ สื่อมวลชนที่ดี คือ ความซื่อสัตยสุจริต ความจริงใจ ความออ น นอมถอมตน ความมี จริ ยธรรม ความหวัง ดีตอ ประชาชน และ ความสํานึกในความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติ จริยธรรมวิชาชีพนักจัดรายการขาว ในบรรดารายการวิท ยุ รายการข าวจั ดเป น รายการที่ มี ลั กษณะเฉพาะตั ว แตกต า งไปจากรายการทั่ ว ๆ ไป คื อ ให 50


ข อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น หรื อ สิ่ ง ที่ พ บเห็ น แก ผู ฟ ง อย า งตรงไปตรงมาและมี ความน า เชื่ อ ถื อ อ า งอิ ง ได นั ก จั ด รายการขาวจึงจําเปนตองมีจริยธรรมวิชาชีพเฉพาะ ดังตอไปนี้ - การรายงานข า วต อ งรายงานแบบเห็ น อย า งไรต อ ง รายงานอย า งนั้ น ไม ควรใส ค วามคิ ดเห็ น หรื อ ความรู สึ กของ ตัวเองเขาไปในเนื้อขาว - ตองเคารพในเรื่องที่เกี่ยวกับศีลธรรมและจริยธรรม ตอง สืบสวนขอเท็จจริงใหมากที่สุดกอนนําเสนอขาวออกไป - หากขาวนั้นเปนกรณีเกี่ยวกับความขัดแยง ควรใหความ เปนธรรมทั้งสองฝาย ไมเลือกนําเสนอขางใดขางหนึ่งโดยเฉพาะ - อยางไรก็ตาม เรื่องบางเรื่องที่ไมเปนประโยชนแกสังคม ก็ไมควรนําเสนอ ไมจําเปนวาสื่อสาธารณะ ตองนําเสนอทุกเรื่อง ตลอดเวลา - เหนื อสิ่ง อื่นใด การทํา งานดานขาว การแสวงหาขา ว และการรายงานขาว ตองมีเสรีภาพ มีอิสระ ไมตกอยูใตอิทธิพล ผูใด แตการใช เสรีภาพนั้ นต องเป นไปอยางมีจริยธรรม ยึ ดถื อ 51


ความถู ก ต อ ง ยึ ด ความเป น อิ ส ระ ยึ ด ถื อ ความเป น ธรรม มี มนุษยธรรม และศีล ธรรมอัน ดีงาม ในการแสวงหาข อเท็ จจริ ง และรายงานขาวสาร การมีจริยธรรม คือการประพฤติปฏิบัติใน สิ่งที่ดีงาม ในการทํ าหนาที่ของสื่อมวลชนที่ดีมีคุณภาพ หาก ผูใดจงใจบิดเบือนขาวสาร บิดเบือนขอเท็จจริง หรือทําตัวตกอยู ใตอิทธิพลของผูหนึ่งผูใด ขาดความเปนธรรมในการรายงานขาว หรือรับสินบน รับสิ่งของอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อครอบงําเสรีภาพ ในการแสวงหาข า ว การรายงานข า ว แปลว า ผู นั้ น ได ทํ า ผิ ด หลักการในการเปนนักสื่อสารมวลชนอยางรายแรง

52


ภาคผนวก

53


จริยธรรมวิชาชีพวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว

 ขอบังคับ วิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว วาดวย จริ ยธรรมในด านการผลิ ตและการเผยแพร รายการทางสถานี วิทยุกระจายเสียง พ.ศ.................

54


คํานํา ด ว ยรั ฐธรรมนู ญแห ง ราชอาณาจั กรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญั ติองค กรจั ดสรรคลื่ น ความถี่ และกํ ากั บกิจการ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งและกิ จ การโทรทั ศ น พ.ศ. ๒๕๔๓ และ พระราชบัญญัติการประกอบกิ จการกระจายเสี ยงและกิจการ โทรทั ศน พ.ศ. ๒๕๕๑ บั ญญั ติเ รื่อ งหนา ที่ที่ องคกรกํ ากั บดู แ ล จ ะ ต อ ง จั ด ทํ า ใ ห มี ม า ต ร ฐ า น ท า ง จ ริ ย ธ ร ร ม ข อ ง สื่ อ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนขึ้นในอนาคต ประกอบกั บ คณะกรรมการชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว เมื่อวันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ไดกําหนดใหชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และ ครอบครั วมีวิ สัยทั ศน ในการ “เปน องค กรนําในการสร างการมี สวนรวม สรางสรรคนวัตกรรมการผลิตรายการวิทยุ เพื่อใหเด็ก เยาวชน และครอบครั ว เปน ผู นํา การเปลี่ ยนแปลงสูสั ง คมสุ ข ภาวะ” ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว รวมกับโครงการ สงเสริมและพัฒนาศักยภาพรายการวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และ ครอบครั ว ส ถานี วิ ท ยุ ไ ทยเพื่ อ เด็ ก และครอบครั ว กรม 55


ประชาสั มพั น ธ ซึ่ ง สนั บสนุ น โดยแผนงานสื่ อ สร า งสุ ข ภาวะ เยาวชน (สสย.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม สุขภาพ (สสส.) ไดตระหนักถึงหนาที่และความรับผิดชอบทาง จริ ยธรรมของสื่ อ มวลชนที่ จํ า เป น จะต อ งจั ดให มีการกํ า หนด จริ ยธรรมวิ ชาชี พที่ ชั ดเจนของตนเองขึ้ น เพื่ อ ใช เ ป น หลั กฐาน อ า งอิ ง การปฏิ บั ติ ห น า ที่ สื่ อ มวลชนอย า งมี ม าตรฐานเป น ที่ ยอมรับของสังคม เปนหลักในการเกื้อหนุนสังคมที่อุดมปญญา เกื้อหนุนสภาพสังคมที่เปนสุข ทั้งยังเปนเกราะแหงเสรีภาพของ สื่อมวลชน ที่จะชวยปกปองคุมครองการทํางานของสื่อมวลชน และรองรับการสนับสนุนสงเสริมใหมีการจัดตั้งองคกรอิสระเพื่อ ทํ า หน า ที่ ค วบคุ ม กั น เองใ นหมู ผู ป ระ กอบวิ ช าชี พ ด า น วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนที่ระบุไวตามกฎหมาย

56


ขอบังคับ วิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว วาดวย จริยธรรมในดานการผลิตและการเผยแพรรายการทาง สถานีวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่อใหผูผลิตและเผยแพรรายการวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีแนวทางการปฏิบัติหนาที่โดยยึดหลักจริยธรรม แหงวิชาชีพอยางเครงครัด เพื่อสรางมาตรฐานการยอมรับ ความ น า เชื่ อ ถื อ และการเสริ มสร า งเนื้ อ หาและรู ป แบบรายการที่ เหมาะสมและสอดคลองกั บความต องการของกลุมเปา หมาย เพื่ อ สร า งการมี ส ว นร ว ม และสร า งสรรค น วั ต กรรมการผลิ ต รายการวิท ยุเ พื่ อใหเ ด็ก เยาวชน และครอบครัว เป น ผูนํ าการ เปลี่ ยนแปลงสู สัง คมสุ ข ภาวะ จึ ง เห็ น ควรใหอ อกข อ บั ง คั บไว ดังนี้คือ ข อ ๑. ข อ บั ง คั บ นี้ เ รี ย กว า “ข อ บั ง คั บ วิ ท ยุ เ พื่ อ เด็ ก เยาวชน และครอบครัว วาดวยจริยธรรมในดานการผลิต และการเผยแพรรายการทางสถานีวิทยุกระจายเสียง พ.ศ ..................” 57


ขอ ๒. ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ เปนตนไป ขอ ๓. ในขอบังคับนี้ วิ ท ยุ เ พื่ อ เด็ ก หมายถึ ง รายการวิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งที่ ออกอากาศโดยมีเนื้อหาเพื่อกลุมเปาหมายที่มีอายุต่ํากวา 18 ป บริบูรณ วิทยุเพื่อเยาวชน หมายถึง รายการวิทยุกระจายเสียงที่ ออกอากาศโดยมีเนื้อหาเพื่อกลุมเปาหมายที่มีอายุตั้งแต 18–25 ปบริบูรณ วิทยุเพื่อครอบครัว หมายถึง รายการวิทยุกระจายเสียง ที่ออกอากาศโดยมีเนื้อหาเพื่อกลุมเปาหมายที่เปนสถาบันทาง สังคมที่เล็กที่สุด ประกอบดวย สามี ภรรยา และบุตร และหมาย 58


รวมถึงสมาชิกที่อยูรวมกันซึ่งยึดโยงเกี่ยวพันกันทั้งในเชิงอารมณ ความรูสึก และความสัมพันธระหวางบุคคลทั้งในเชิงสายโลหิต และในเชิงกฎหมาย รายการทางสถานีวิทยุกระจายเสียง หมายถึง เนื้อหา หรื อ ข อ มู ล ที่ ป รากฏในรู ป แบบที่ พ ร อ มออกอากาศทาง วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง ซึ่ ง ครอบคลุ ม ประเด็ น สํ า คั ญ ที่ ผู ฟ ง หรื อ กลุ มเป า หมายให ความสนใจ โดยหมายรวมถึ ง เนื้ อ หาที่ เ ป น ขอมูลขาวสารหรือการรายงานสถานการณตางๆ ดวย ผูผลิ ตรายการ หมายถึ ง ผูมีหน าที่ สรา งสรรคร ายการ หรื อ ควบคุ ม การสร า งสรรค ร ายการตามรู ป แบบการเสนอ โครงการ เพื่อออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงที่นําเสนอ เนื้อหาเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว

59


ผูเผยแพรรายการ หมายถึ ง ผูนําเสนอรายการ หรือ ผู จัดรายการ หรือผูรายงานขาว ดวยการกระจายเสียงผานคลื่น ความถี่วิทยุที่นําเสนอเนื้อหาเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติที่ผูผลิตรายการและ ผู เ ผยแพร ร ายการต อ งยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติเ พื่ อ รั ก ษาศั กดิ์ ศ รี ความ ถูกตอง และความเหมาะสมของผูประกอบวิชาชีพผูผลิตรายการ และผู เผยแพรร ายการ และใช เป น หลั กเกณฑเ พื่ อ กํ ากั บดู แ ล ผูผลิตรายการและผูเผยแพรรายการใหปฏิบัติตาม ขอ ๔. จริยธรรมดานการเคารพสิทธิและเสรีภาพ ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตอง ปฏิบัติหน าที่ดานการผลิ ตและเผยแพรร ายการ โดยยึ ด หลั กการเคารพตอ หน าที่ สิท ธิ เสรี ภาพของตนเอง และผู อื่ น ดวยความเคารพในหลักเกณทของกฎหมาย สิทธิมนุษยชน และ การไมเลือกปฏิบัติ โดยตองตระหนักถึง ผลกระทบที่อาจมีตอ สภาพจิตใจ สภาพสังคม สภาพแวดลอม และสภาพครอบครัว 60


ของเด็ก เยาวชน และครอบครัว ซึ่งเปนกลุมที่มีลักษณะเฉพาะ และมีความละเอียดออนกวากลุมผูฟงอื่น ๆ ข อ ๕. จริ ย ธรรมด า นการค น หาและรายงาน ขอเท็จจริงที่ถูกตอง ผูผลิตและผูเผยแพร รายการ ต อ งปฏิ บั ติ ห น า ที่ ดา นการผลิ ต และเผยแพร รายการโดยยึดหลักความมุงมั่นในการคนหาและเผยแพรความ จริง ที่ มุงไปสู การรายงานข อมู ลหรือข อเท็จจริง ที่เ กิดขึ้ นอยา ง ถูกต อง ตรงไปตรงมาโดยปราศจากอคติ และคํ านึง ถึงสภาพ จิตใจและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เยาวชน และครอบครัว เปนสําคัญ ขอ ๖. จริยธรรมดานความเปนอิสระและการมีความ เปนธรรม ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตอง ปฏิบัติหนาที่ดานการผลิตและเผยแพรรายการดวยความ เป น อิส ระ ปราศจากความเอนเอียงและดํา รงไว ซึ่ งความเป น กลาง วางตนไมใหตกอยูภายใตอิทธิพลใดๆ ในทุกๆสถานการณ 61


ดวยใจที่ตั้งมั่นอยูในความเปนธรรม โดยคํานึงถึงผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เยาวชน และครอบครัวเปนสําคัญ ขอ ๗ หลักแหงศีลธรรม ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตองตั้งมั่นที่จะพยายามดํารงตนอยูในหลักของศีลหรือขอที่หาม ไมใหปฏิบัติ ดวยการประพฤติปฏิบัติโดยมีธรรมเปนขอยึดปฏิบัติ เพื่ อ ที่จะสามารถเป นแบบอย า งในการดํ า เนิ น ชี วิตให แก ผู อื่ น เฉพาะอยางยิ่งแก เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ขอ ๘ จริยธรรมดานความรับผิดชอบ ผูผลิตและผู เผยแพรรายการ ตองปฏิบัติหนาที่ ผลิตและเผยแพรรายการ ด วยความรั บผิ ดชอบตอ เด็ ก เยาวชน และครอบครัวในระดับที่สูงกวาระดับมาตรฐานที่วิญู ชน หรือผูผลิตและผูเผยแพรรายการทั่วไปพึงยึดถือ ปฏิบัติ และ พรอ มที่จะเยี ยวยาผู เสียหายที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติ หนาที่สื่อมวลชนที่ผิดพลาดอยางเต็มที่ รวมถึงพรอมที่จะไดรับ การตรวจสอบทั้ ง จากภายในและภายนอกองค ก ร หากใน 62


กระบวนการผลิ ต และการเสนอรายการ เมื่ อ ต อ งเชิ ญ เด็ ก เยาวชน หรือ บุคคลในครอบครัว มาเขารวมรายการ ผูผลิตและ ผู เ ผยแพร ร ายการ จะต อ งชี้ แ จงให เ หตุ ผ ล การเชิ ญ เข า ร ว ม รายการ ตลอดจนเนื้อหาและรูปแบบ ของรายการอยางชัดแจง ข อ ๙. จริ ยธรรมด า นการเป นสื่ อที่ ส ร างสุ ขภาวะ ทางการสื่อสารที่ดี ดวยคุณธรรม จริยธรรมที่ดีของผูสงสาร ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตอ งปฏิบัติห นา ที่ใ นการผลิ ตและเผยแพรร ายการ โดยใชการ สื่อสารเพื่อกอใหเกิดความสุขทั้งฝายผูสื่อสารและผูรับสาร จน นําไปสูการสรางทัศนคติและรสนิยมในการรับฟงที่ดี พรอมทั้ ง ชี้แนะทางออกใหแกผูรับสารที่เปนเด็ก เยาวชน และสมาชิกใน ครอบครัวอยางเหมาะสม ขอ ๑๐. จริยธรรมดานการปกปองและคุมครองสิทธิ เด็ ก และเยาวชน ผู ผ ลิ ตและผู เ ผยแพร ร ายการต อ งปฏิ บั ติ หนาที่ผลิตและเผยแพรรายการ ดวยความยึดมั่นในการเปนสื่อที่ 63


ทําหนาที่หลักในการปกปองและคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชนให รอดพนจากการลวงละเมิด ละเลย การนําไปขาย การใชแรงงาน เด็กและการแสวงประโยชนโดยมิชอบในรูปแบบอื่นๆ และเปด พื้นที่ในการคุมครองสิทธิในการมีสวนรวมของเด็กและเยาวชน โดยการแสดงความคิดเห็น แสดงออก การมีผูรับฟง และการมี สวนรวมในการตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบตอตนเอง โดยการ นําเสนอรายการตองคํานึงถึงการสรางแบบอยางที่ถูกตอง ดีงาม ถูกกาลเทศะ หรือไมชี้นําใหมีการลอกเลียนแบบไปในทางที่ไม เหมาะสม ขอ๑๑. จริยธรรมดานการปกปองและคุมครองสิทธิ ครอบครัว ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตองปฏิบัติหนาที่ผลิต และเผยแพรร ายการ ดว ยความยึ ดมั่ นจะพั ฒนาใหครอบครั ว อบอุนเขมแข็ง มีการอบรมเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัวที่ดี และมี ภาวะโภชนาการที่เ หมาะสม ทั้ งยั ง มุง สร างความความรู แ ละ ความเข า ใจร ว มกั นในการปกป อ งและคุมครองสิ ท ธิ เ ด็ กและ เยาวชนในครอบครั ว ให ร อดพ น จากอั น ตรายและการแสวง 64


ประโยชนโดยมิชอบในรูปแบบอื่นๆ และเปดพื้นที่ในการแสดง ความคิดเห็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู สรางการมีสวนรวมในการ ตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบตอครอบครัว

ประกาศ ณ วันที.่ ..............................

65


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.