บทความทางวิชาหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร

Page 1



คํานํา การรวบรวมบทความวิชาการนี้ เพื่อรวบรวมความรู เนื้อหาสาระที่เปนประโยชนแกผูอาน จัดทําขึ้นโดย นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรเกษตร ชั้นปที่ 4 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง ไดจัดทําขึ้นมา เพื่อใหเปนความรูแกบุคคลที่สนใจตอไป บทความวิชาการเลมนี้ ไดรวบรวมเกี่ยวกับนิเทศศาสตรดานตางๆ เอาไว ไมวาจะเปนหลักการความรูดาน กราฟกสิ่งพิมพ เทคโนโลยีสารสนเทศ โฆษณาประชาสัมพันธ วิทยุ โทรทัศน ภาพยนตรและความรูในเรื่องตางๆ อีกมากมาย ซึ่งนักศึกษาทุกคนไดหาขอมูลที่นาเชื่อถือและไดคัดกรองขอมูลที่เปนประโยชนไวในเลมนี้แลว ทางผู จั ด ทํ า ขอขอบคุ ณ ทุ กข อมู ล ไมว า จะเป น วิท ยานิพ นธ เว็ บ ไซต และผูเ กี่ ย วขอ ง ที่ ทํา ให ไ ดเ กิ ด บทความเลมนี้ และผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูอานทุกคน คณะผูจัดทํา


สารบัญ

เรื่อง กราฟกและสิ่งพิมพ สีกับตราสินคาของธุรกิจเกษตร สื่อสิ่งพิมพในยุคดิจิทัล วิวัฒนาการภาพโฆษณาสิ่งพิมพไทย อินโฟกราฟก สื่อในงานสงเสริมการเกษตรยุคใหม INFOGRAFHIC สื่อทางเลือกรูปแบบใหมของธุรกิจเกษตร สิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปจจัยการสื่อการการตลาดของธุรกิจเกษตรบนสังคมออนไลน Viral Marketing กับการเกษตร การสื่อสารดวยภาพเพื่อพัฒนาเด็กออทิสติก การชวยเหลือสุนัขจรจัดจากสังคมออนไลน การบริโภคสื่อออนไลนของวัยรุนไทยในปจจุบัน กลยุทธรานคาเกษตรออนไลน ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทย ในการสื่อสารผาน Social media การเพิ่มยอดขายสินคาเกษตรดวยคลิปวีดิโอบน Youtube 3G สูมาตรฐานโทรศัพทเคลื่อนที่ในอนาคต (4G,5G) รานคาเกษตรออนไลนบน Facebook ผูทรงอิทธิพลในโลกออนไลนกับพลังการบอกตอ Social Media ทางเลือกสูรานคาออนไลนทางการเกษตร การใช YouTube เพื่อการสงเสริมการเกษตร Facebook ชองทางใหมในการสงเสริมการเกษตร วิทยุ โทรทัศนและภาพยนตร ปจจัยและอิทธิพลที่ทําใหคนไทยดูละครเกาหลี การตูน สื่อในการพัฒนาภาษาอังกฤษของเด็ก ภาพถายกับการสื่อสารทางการเกษตร รายการโทรทัศนทางการเกษตร การสื่อความหมายผาน..ภาพถายเกษตร การถายภาพเพื่อประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงเกษตร ละครโทรทัศนสะทอนวิถีเกษตรกรรม บทบาทรายการโทรทัศนสําหรับเด็กกับการสรางจิตสํานึกสาธารณะ ขาวบันเทิง “สรางสรรค” หรือ “สรางกระแส”

หนา 2 8 13 19 25 30 38 43 49 55 60 66 71 75 81 86 91 96 101 106 112 117 123 128 133 138 144 150 156


สารบัญ(ตอ)

เรื่อง วิทยุ โทรทัศนและภาพยนตร การปรับตัว ละครวิทยุสูยุคดิจิทัล การโฆษณาและประชาสัมพันธ ความสําคัญของธุรกิจการเกษตรกับการสื่อสารประสานงาน การสื่อสารของธุรกิจแฟรนไชส "เซเวน อีเลฟเวน" การสื่อสารแบบกลุมทางการเกษตร โฆษณาแฝง กลยุทธการสื่อสารเขาถึงผูบริโภคอยางแนบเนียน ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) กับธุรกิจเกษตรของคนไทย การประชาสัมพันธเพื่อเพิ่มยอดขายในชวงโปรโมชั่น Ice cream SWENSEN’S สื่อการรณรงคและประชาสัมพันธ ลดการใชถุงพลาสติก ลดโลกรอน การพูดเพื่อการสงเสริมการเกษตร การใชสื่อเพื่อกรณีศึกษาโครงการเทกินผัก นารักกินผลไม การประชาสัมพันธในโรงเรียนกวดวิชา ความคิดสรางสรรคตองานโฆษณา การสื่อสารการตลาด สื่อประชาสัมพันธมีผลตอการตัดสินใจในการซื้อขาวไรซเบอรรี่ สื่อสารชนะใจ เกษตรไทยกาวหนา การเลือกซื้อพื้นที่โฆษณาของนิตยสารในประเทศไทย การโฆษณาและการประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดนครราชสีมา การสื่อสารในการสรางเครือขาย ปอเต็กตึ๊ง “จาเฉย” สื่อกลางในการเสริมสรางความปลอดภัยบนทองถนน กลยุทธการสื่อสารทางการตลาดของธุรกิจฟตเนสในปจจุบัน การสรางสรรคงานโฆษณาทางวิทยุและโทรทัศน การประชาสัมพันธ การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ การประชาสัมพันธการทองเที่ยวเกาหลีใต การรณรงคงดสูบบุหรี่ การสื่อสารการรณรงคโครงการคนไทยไรพุง การสื่อสารเพื่อสรางจิตสํานึกในการทองเที่ยวเชิงนิเวศของเยาวชน กลยุทธตลาดเพลง K-POP รูปแบบการสื่อสารของ Smart Farm การสื่อสารเพื่อการสงเสริมการตลาดของเกษตรอินทรีย การสื่อสารการเกษตรสูเยาวชนโดยสื่อกิจกรรม : บานหอมชื่นของครูธานี ประชาสัมพันธทองเที่ยว “อาวพราว” หลังวิกฤตการณน้ํามันรั่ว

หนา 161 168 173 178 184 189 194 200 205 210 216 221 226 232 237 242 248 253 258 263 270 275 280 287 293 299 305 310 315 321


สารบัญ(ตอ)

เรื่อง อื่นๆ ภาพลักษณอาหารอีสานสะทอนวัฒนธรรม สื่อสูการสรางอัตลักษณที่ปรากฏบนเรือนราง วาทกรรมบทเพลง “เพื่อชีวิต” TBCSD นําเกษตรกรไทย สู…การพัฒนาอยางยั่งยืน วัฒนธรรมแฟนบอลไทยจากอดีตสูปจจุบัน การจับโกหกจากภาษากาย

หนา 328 334 339 344 349 353



2 จิราภา รุง่ โรจน์อารี 54040738

สีกับตราสินค้าของธุรกิจการเกษตร ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันการสื่อสารเป็นสิ่งที่ถือว่ามีบทบาทสาคัญอย่างมากในการดารงชีวิต เพื่อให้มี การติดต่อสื่อสาร การพูดคุย และการส่งข่าวสารผ่านสื่อต่างๆที่ถูกต้องและง่าย จะนาไปสู่ความเข้าใจที่ตรงกัน สีจึงถือว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการสื่อสารผ่านการสื่อความหมายที่สามารถรับรู้ได้ทางความรู้สึก ซึ่งแต่ละสีก็ จะให้ความหมายที่แตกต่างกัน ในทางธุรกิจก็เช่นเดียวกัน สีเป็นส่วนสาคัญที่จะช่วยให้แบรนด์หรือ สินค้า ถูก สื่อสารไปยังผู้บริโภคได้ตรงกับความต้องการขององค์กร ธุรกิจเกษตรถือเป็นธุรกิจประเภทหนึ่งที่มีความจาเป็นในการใช้สีเพื่อสื่อความหมายและอารมณ์ผ่าน ทางโลโก้ หรือตราสินค้า ไม่ว่าจะเป็นของสินค้าหรือองค์กรเพื่อให้มีความน่าเชื่อถือและเป็นที่จดจาของกลุ่ม ผู้บริโภคสินค้าเกษตร การเลือกใช้สีให้ถูกต้องเหมาะสมกับความต้องการของธุรกิจจึงเป็นสิ่งที่ต้องคานึงเพื่อให้ สามารถสื่อสารออกไปสู่ผู้บริโภคได้อย่างถูกต้อง สีกับการสื่อสาร สี ได้ถูกใช้ในการสื่อความหมายแทนสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่เสมอตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในอดีตสีถูกใช้เพื่อ แสดงความเป็นเจ้าของหรือแสดงลาดับชั้นของยศถาบรรดาศักดิ์ แต่ในปั จจุบันสีได้ถูกใช้อย่างกว้างขวางมาก ขึ้นในฐานะตัวแทนของกลุ่มองค์กรและบริษัทต่างๆเพื่อเชิงพาณิชย์มากขึ้น นอกจากนี้สียัง ถูกใช้เพื่อสร้าง บรรยากาศ ถ่ายทอดความรู้สึกและอารมณ์ต่างๆ ในงานสื่อกราฟิกต่างๆ เช่น สีของบรรจุภัณฑ์เครื่องสาอาง และผลิตภัณฑ์อโรมาเทอราปี เป็นต้น สีถือได้ว่าเป็นกุญแจสาคัญ ในการสื่อความหมาย เพราะสีมีแนวโน้มที่ ปรากฏชัดเจนต่อสายตาและมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของมนุษย์ ด้วยความเป็นจริงของธรรมชาติที่มีสีสันสวยงาม ดึงดูดสายตา สร้างความพึงพอใจ ก่อให้เกิดบรรยากาศและอารมณ์ ความรู้สึกตอบสนองต่างๆ จากการศึกษา ทฤษฎีสี ความหมายของสี และจิตวิทยาของสีที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกทาให้พบว่าสีได้เชื่อมโยงความหมาย ความคิด อารมณ์ และความรู้สึกของแต่ละคนกับสิ่ ง ต่ างๆรอบตัวโดยผ่ านประสบการณ์ที่ ไ ด้รับจนเกิดเป็ น ส่วนผสมที่สาคัญต่อการรับรู้และตีความหมายของสี สีกับความรู้สึกของมนุษย์ การวิจัยเกี่ยวกับอิทธิพลของสีกับความรู้สึกของเด็กที่ได้วิจัยขึ้นภายในโรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง โดย ให้ครูแต่งเครื่องแบบเป็นสีน้าตาลเข้ม ต่อจากนั้นจึงให้ครูกลุ่มเดิมแต่งกายชุดสบายๆมีสีสดใส ผลปรากฏว่าเด็ก จะเข้ามาใกล้ชิดสนิทสนมในช่วงที่ครูแต่งชุดธรรมดามากกว่าชุดเครื่องแบบ ในขณะที่สีบางสีก็เป็นสัญลักษณ์ หรือสิ่งที่บ่งบอกถึงความรู้สึกและอารมณ์ต่างๆของสังคมได้ เช่น สีขาวกับสีดา เมื่อนามาแต่งกายจะหมายถึง การไว้ทุกข์และความเศร้าโศก การศึกษาค้ นคว้าของนักจิตวิทยาเกี่ยวกับ อิทธิพลต่อความรู้สึกของมนุ ษย์ สรุปออกมาได้คือ สีใ ห้ ความรู้สึกเกี่ยวกับขนาด โดยสีอ่อนมักทาให้รู้สึกกว้างใหญ่ขึ้น ในขณะที่สีเข้มหรือสีมืดจะทาให้ ดูแล้วรู้สึกแคบ หรือเล็กลงแต่ดูมีน้าหนักมากกว่าสีอ่อน ถัดมาคือสีที่ให้ความรู้สึกเกี่ยวกับความสะอาด โดยสีที่ผสมสีขาวหรือสี นวลๆจะให้ความรู้สึกสะอาดตา น่าใช้ น่าจับต้องมากกว่าสีแท้หรือสีเข้มๆและภาชนะ หรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้สี หลายสี สีที่ให้ความรู้สึกเกี่ยวกับพลัง คือการที่สีแท้ที่ยังไม่ได้ผสมกับสีใดเลยจะให้พลัง มากกว่าสีที่ผสม เช่น


3 จิราภา รุง่ โรจน์อารี 54040738

สีแดงมีพลังมากกว่าสีชมพูที่เกิดจากการผสมระหว่างสีแดงกับสีขาว นอกจากนี้สีร้อนจาพวกสีแดง สีส้ม ก็จะให้ พลังมากกว่าสีเย็นซึ่งคือสีน้าเงิน สีเขียว ด้านถัดมาคือสีที่ให้ความรู้สึกเกี่ยวกับ ความเคลื่อนไหว แต่ละสีจะ สามารถรับรู้ได้ด้วยตาและจิตโดยการมองผิวหน้าของแต่ละสีที่เปล่งประกาย ออกมาในลักษณะของความ สั่นสะเทือนของสี (Vibration) ได้ มีการกาหนดไว้คือ สีน้ าเงิน ให้ค วามรู้สึกสงบ มั่นคง มี แนวโน้ม ที่จ ะ เคลื่อนไหวในตนเอง สีเหลือง ให้ความสดใส ชัดเจน มีแนวโน้มจะเคลื่อนไหวสู่ภายนอกและสีเขียวให้ความ สดใส ร่มเย็น มีแนวโน้มความเคลื่อนไหวเข้าสู่กึ่งกลาง และสุดท้ายคือสีที่ให้ความรู้สึก เกี่ยวกับระยะใกล้ไกล สี แต่ละสีจะให้ความรู้สึกเกี่ยวกับระยะใกล้ไกลต่างกัน แบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะหน้า ได้แก่ สีเหลือง สีส้ม สีแดง ระยะกลาง ได้แก่ สีส้มแดง สีเขียว สีน้าเงิน และระยะหลังสุด ได้แก่ สีม่วง สีม่วงน้าเงิน (โกสุม สายใจ, 2536) บทบาทของสีกับภาคธุรกิจ สีมีบทบาทสาคัญต่อภาคธุรกิจ ทั้งในการออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบสิ่งพิมพ์ การออกแบบโลโก้ การออกแบบเว็บไซต์ รวมถึงอีกหลายๆงานในการออกแบบ สีทุกๆสีมีความสาคัญอย่างมากจึงควรเลือกสีอย่าง ระมัดระวังโดยเฉพาะการออกแบบโลโก้เพราะสีที่ต่างกันเพียงนิดเดียวก็มีผลต่อประสบการณ์ในการจดจาแบ รนด์ที่ต่างกัน อย่างเช่นการใช้สีสดและสว่างจะทาให้โลโก้มีความสะดุดตาเป็นที่สังเกตได้ง่าย แต่ถ้าเลือกใช้ไม่ดี ก็อาจทาให้งานโดยรวมถูกมองข้ามได้ง่าย สถิ ติ ที่ น่ า สนใจเกี่ ย วกั บ สี แ ละ การตลาดของตราสินค้าหรือโลโก้ (Logo) คือสีมีผลต่อการมองเห็น 93% สีสามารถ เพิ่ ม การจดจ าแบรนด์ ไ ด้ ม ากถึ ง 80% และสีสามารถช่วยส่งเสริมการขายได้ถึง 85% (Pam Dyer, 2556)

ที่มา : http://www.socialmediatoday.com/content/ role-color-marketing-infographic


4 จิราภา รุง่ โรจน์อารี 54040738

ในปัจจุบันภาคธุรกิจมีการใช้สีในการออกแบบตราสินค้าหรือ โลโก้ เพื่อสร้างความน่าสนใจหรือ การ จดจาให้แก่ผู้บริโภค TAMADAS (2556) ได้อธิบายการใช้สีกับตราสินค้าไว้ อาทิ บริษัท Coca Cola แบรนด์ที่ถูกวางให้เป็นเครื่องดื่มสาหรับวัยรุ่น เต็มไปด้วยความซ่าและพลัง งานที่ล้นเหลือจนลุกออกมาทาอะไรสนุกๆ ตรา สิน ค้า เลือ กใช้ สี แดงที่ มี นั ยยะของความหลงไหล พลั ง งาน อั นตราย ความ ก้าวร้าว ความอบอุ่น ความร้อน ความตื่นเต้น และความท้าทาย Amazon.com ใช้สีส้มเป็นส่วนหนึ่ง ในตราสินค้า ซึ่งเป็นสีที่จะ พบเห็นได้บ่อยๆในงานที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมหรือความคิดที่ทันสมัย อีก ทั้งยังแสดงถึงความเยาว์วัย ความสนุกสนานและความเป็นกันเอง เข้าถึงได้ ง่า ย โดย Amazon เป็ น ร้ า นค้ า ออนไลน์ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ดในโลก ใช้ ร ะบบ โลจิสติกส์และโมเดลธุรกิจแบบนี้เป็นรายแรกๆ และทุกคนจากทุกมุมโลกสามารถเข้าไปสั่งซื้อสินค้าได้ Subway ร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดชื่อดังเลือกใช้ สีเหลืองในตราสินค้า สีที่ เมื่อถูกใช้ สัญชาตญาณการระวังภัยจะเกิดขึ้น เรามักพบเห็นสีเหลืองในการใช้ ประโยชน์ด้านการจราจร เป็นสัญญาณเตือ นว่ามีสิ่งอันตรายรออยู่ข้างหน้าให้ หลี ก เลี่ ย ง แต่ อี ก ความหมายหนึ่ ง ของสี เ หลื อ ง ก็ คื อ แสงอาทิ ต ย์ ที่ อ บอุ่ น มีมนุษยสัมพันธ์ และช่วยเจริญอาหาร ธนาคารกสิกรไทย ใช้สีเขียวเป็นสีของตราสินค้าประกอบกับ รูปใบไม้จะสื่อ ความหมายเกี่ยวกับการปลูกเงินให้งอกเงย ออกดอกออกผลให้ร่ารวยมากขึ้น ๆโดย สีเขียวเป็นสีที่เกี่ยวข้องกับพืชผล มังสวิรัติ และมักถูกใช้เป็นสัญลักษณ์เพราะแฝงนัยยะ ของการเจริญเติบโตและความสดใหม่ มันยังถูกใช้เพื่อบ่งบอก ความเป็นกลางและความ น่าเชื่อถือ ซึ่งถูกนาไปใช้ในโลกการเงินด้วย อลิอันซ์ เป็นบริษัทสัญ ชาติเยอรมัน ผู้ให้บริการทางการเงินที่ใหญ่ ที่สุ ด ในโลก ใช้ สี น้ าเงิ น เป็ น พื้ น หลั ง ของตราสิ น ค้า ซึ่ ง เป็ น สี ที่ ถู ก ใช้ อ ย่ า ง กว้างขวางในการออกแบบโลโก้สาหรับองค์กร ใช้สื่อถึง ความเป็นมืออาชีพ เอาจริงเอาจัง ความมีศีลธรรม ซื่อสัตย์จริง ใจ นอกจากนั้นยังสื่อถึง ความมี อานาจและความสาเร็จ มักถูกใช้กับสถาบันทางการเงินและหน่วยงานของรัฐ ธนาคารไทยพาณิชย์ ใช้สีม่วงในตราสินค้าซึ่งเป็นสีที่บ่งบอกถึงความ สูง ส่ง หรูหรา ความเฉลียวฉลาด และศักดิ์ศรี ผ่านหน้ าประวัติศาสตร์อัน ยาวนาน แสดงถึงความมั่งคั่งร่ารวย หากมีธุรกิจไหนใช้สีม่วงอาจสื่อเป็นนัยๆ ว่าเราบริการลูกค้าในระดับ Exclusive


5 จิราภา รุง่ โรจน์อารี 54040738

NIKE แบรนด์ที่ขึ้นชื่อของเสื้อผ้า รองเท้าทางกีฬา ใช้ตราสินค้าสีดาที่แสดงถึง ความสันโดษ เจนโลก ในมุมหนึ่งสื่อถึงหลังอานาจ แต่ในด้านการออกแบบ สีขาวดา ถูกใช้ในสื่อหลายประเภทที่ไม่สามารถทางานกับสีได้มากนัก นอกจากนั้นสีดายังเป็น เทรนด์ในการโลโก้แบบสีเดียวอีกด้วย Mamypoko เป็นแบรนด์ของผ้าอ้อมสาเร็จรูปสาหรับเด็ก ตราสินค้า ใช้สีขาว ประกอบ เป็นสีที่สื่อถึงสิ่งบริสุทธิ์ ความสะอาด เรียบง่าย อ่อนเยาว์ เป็นสีที่เป็นกลางที่ สามารถบ่งบอกถึงความบริสุทธิ์ในแฟชั่นและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสุขภาพ สีขาวอาจถูก ใช้บนพื้นหลังที่เป็นสีอื่นๆก็ได้ เพื่อเน้นชื่อองค์กรหรือแบรนด์สินค้าให้โดดเด่นขึ้นมา Herchey’s แบรนด์ที่เป็นที่รู้จักของผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต ตราสินค้าเลือกใช้สีที่ ตรงกับ ความเป็นช็อกโกแลตคือสีน้าตาล ซึ่งอีกนัยของสีน้าตาลคือเป็นสีที่ มีความมั่นคง เด็ดเดี่ยว สุขุม เรียบง่าย แฝงไว้ด้วยความแมน ความเป็นสุภาพบุรุษ ETUDE แบรนด์เครื่องสาอางค์ที่กาลังเป็นที่นิยมใช้สีชมพูในตราสินค้า เป็นสี ที่แสดงออกของความเป็นเพศหญิง มีความอ่อนไหว อ่อนโยน จะไม่ค่อยพบเห็นการ ใช้สีชมพู ในงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับผู้หญิงมากนัก Apple เป็นแบรนด์ที่คนจดจา และมีอิทธิพลอย่างมากใช้สีเทาในตรา สินค้าแสดงถึงความถูกต้อง ความเป็นนวัตกรรม และความมีอิทธิพลของบริษัท โดยในการออกแบบโลโก้ สีเทาสื่อถึงความสมดุล ความร่วมมือ และความเป็น กลาง สีกับธุรกิจการเกษตร ปัจจุ บันธุ รกิจ การเกษตรเกิด ขึ้นมากมาย จึง จาเป็นต้ องมี การสร้ างจุ ดเด่ นของสิ นค้า เพื่อ ให้ธุ รกิ จ สามารถขยายและเติบโตในตลาดที่มีการแข่งขันสูงได้ การคิดสร้างแบรนด์เพื่อให้เป็นที่จดจาของผู้บริโภคจึง เป็นอีกสิ่งที่สาคัญ เมื่อได้แบรนด์ออกมาหนึ่งแบรนด์ก็จาเป็นต้องมีการสร้างโลโก้ หรือตราสินค้าออกมา เพื่อ เน้นแบรนด์นั้นให้ออกสู่สายตาผู้บริโภค มีความโดดเด่น สามารถดึงดูดให้ผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้านั้นได้ ผ่าน การสื่อความหมายของตัวหนังสือ ลวดลาย และที่สาคัญคือสีที่ใช้ จะสามารถมีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค ได้ โดยตัวอย่างตราสินค้าทางธุรกิจการเกษตร ได้แก่


6 จิราภา รุง่ โรจน์อารี 54040738

ซีพี เป็นแบรนด์ภายใต้บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด(มหาชน) เป็นผู้นา ในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารที่มีการดาเนินธุรกิจในลักษณะครบวงจรใน ภาคพื้นเอเซียแปซิฟิก การดาเนินธุรกิจของบริษัทครอบคลุมประเภทของสัตว์บกและ สัตว์น้า ตราสินค้าจะมีการออกแบบเป็นตัวอักษร CP สีแดงบนพื้นเหลือง เพื่อกระตุ้น และเร่งเร้าให้ผู้บริโภคสนใจ (นลินทิพย์ ภัคศรีกุลกาธร, 2552) เบทาโกร ผู้ให้บริ การทางสินค้าอุปโภค บริโภคเช่นเดียวกับซีพี มีการ ออกแบบตราสินค้าโดยเน้นตัวอักษร B สีเขียวสด เชื่อมต่อกันเป็นรูปดอกไม้ ให้ ความรู้สึกมีชีวิตชีวาและความทันสมัย และสื่อถึง ความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน ส่วนตัวอักษรคาว่า “BETAGRO” ขนาดใหญ่ สีเขียวทองที่เป็นฐานรองรับ แสดง ถึงความมั่นคงและเชื่อถือได้ (ASTVผู้จัดการรายวัน, 2550) โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เลือกสีเขียวเพื่อสื่อถึง การเกษตรกรรม เนื่องจากเป็นโครงการที่สนับสนุน เผยแพร่ และพัฒนาทางด้านการเกษตรตามแนว พระราชดาริ (งานประชาสัมพันธ์ฝ่ายเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา, 2551) ดอยค า เป็ น อี ก หนึ่ ง โครงการหลวงของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ตัวหนัง สือ ดอยค าเป็น สีข าว ลัก ษณะตั วหนัง สือ ให้ ความอ่ อนช้อ ยอยู่บ นสี่ เหลี่ย ม ขนมเปียกปูนสีเขียวเพื่อสื่อ ความเป็นไทยและความเป็นสินค้าทางการเกษตร และ สีเหลืองที่สื่อถึงพระมหากษัตริย์ ฟาร์มโชคชัย เป็นธุรกิจฟาร์มโคนมแบบครบวงจร มีการใช้ตราสินค้าสีส้ม ที่ สื่อถึงความเป็นทันสมัยและสีน้าตาลสื่อถึงความเป็นคาวบอย ที่ตรงกับคอนเซ็ปต์ ของ ฟาร์ม จะเห็นได้ว่าถึงแม้จะเป็นสินค้าทางการเกษตร ในการเลือกสีกับตราสิน ค้าที่มี ความแตกต่าง ไม่ไ ด้ จากัดเฉพาะสีเขียวที่สื่อถึงความเป็นธรรมชาติ เพียงอย่างเดียวแต่มีการเลื อกใช้สีอื่นเพื่อสื่อความหมายได้ อีก ด้วย บทสรุป สีมีความสาคัญต่อการสื่อสาร สีต่างกันก็จะให้ความหมายที่แตกต่างกัน ในการสื่อสารจึงจาเป็นต้องใช้ สีให้ถูกตามความหมายเพื่อให้คนเข้าใจในสิ่งที่ต้องการจะสื่อออกมาได้ง่ายขึ้นและในแง่ของการออกแบบเพื่อให้ คนสนใจก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่คนออกแบบจาเป็นต้องใช้สีเพื่อให้ผู้คนให้สนใจในสินค้านั้น เพราะสีก็เป็นอีกหนึ่งสิ่ง ที่สามารถสื่อสารออกมาทาให้ดึงดูดคนได้มากมาย เมื่อผู้ออกแบบสามารถใช้สีให้ตรงตามกับสินค้านั้นๆได้


7 จิราภา รุง่ โรจน์อารี 54040738

เอกสารอ้างอิง โกสุม สายใจ. 2536. สีและการใช้สี. กรุงเทพมหานคร : กุล พริ้นติ้ง. งานประชาสัมพันธ์ฝ่ายเผยแพร่ป ระชาสัมพันธ์โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา. 2551. ความเป็นมา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://kanchanapisek.or.th/kp1/index_th.html (22 พฤศจิกายน 2557) ดอยคา. 2557. การก่อตั้งตราสัญลักษณ์พระราชทาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.doikham.co.th/about.php?id=4 (22 พฤศจิกายน 2557) ธารทิพย์ เสรินทวัฒน์. 2550. ทัศนศิลป์ : การออกแบบพาณิชยศิลป์. กรุงเทพมหานคร : หลักไทช่างพิมพ์. นลินทิพย์ ภัคศรีกุลกาธร. 2552. RTE อาวุธขยายอาณาจักรซีพี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.positioningmag.com/content/rte- (22 พฤศจิกายน 2557) ศิริพร ปีเตอร์. 2549. การออกแบบกราฟิก. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์. ASTVผู้จัดการรายวัน. 2550. เบทาโกรปรับภาพลักษณ์ใหม่. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9500000111060 (22 พฤศจิกายน 2557) Pam Dyer. 2556. The Role of Color in Marketing [INFOGRAPHIC]. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.socialmediatoday.com/content/role-color-marketing-infographic (13 พฤศจิกายน 2557) TAMADAS. 2556. เลือกใช้สีให้เหมาะกับโลโก้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://tamadas.com/logocolor-scheme/ (13 พฤศจิกายน 2557)


8

ฐิตินันท พูลสวัสดิ์ 54040744

สื่อสิ่งพิมพในยุคดิจิทัล บทนํา การสื่อสารมวลชนในยุคปจจุบันเปลี่ยนไปเยอะ จากอดีต เพราะมีเทคโนโลยีที่ล้ําสมัยเขามาทดแทนการ สื่อสารมวลชนแบบเดิมอยางสื่อสิ่งพิมพ แตก็ไมไดหมาย ความวาสื่อสิ่งพิมพจะหายไปจากวงจรของสื่อสารมวลชน ไปหมด แตยังสรางความพึงพอใจใหกลุมผูสนใจที่จะอาน ไดตอบสนองความคิดเห็นของขาวไดเชนเดียวกัน แมวา ยุคการสื่อสารโลกาภิวัฒนจะเขามาเปนเทรนใหมและ กําลังเปนที่นิยมของคนทั่วโลกไดในปจจุบันมีเครื่องมือ การสื่อสารทั้งสื่ออินเตอรเน็ตความเร็วสูงโทรทัศนดิจิตอล ซึ่งกลายเปนสิ่งที่ล้ําสมัยที่สุดในตอนนี้ องคกรสื่อสารมวลชนในหลายๆประเทศทั่วโลก ไดปรับแนวความคิดใหทันตอเทคโนโลยีที่เกิดมาใหมๆ มี การใชเทคโนโลยีสมัยใหมพรอมกับการนําเสนอขาว แนว สี อักษร ของสื่อสิ่งพิมพ ใหสบายตาและมีการนําโฆษณา ที่ใหผูอานไดมีสวนรวมไปกับขาวสารตางๆเพื่อไมใหผูอาน เครียดไปกับขาวจนเกินไป อยางไรก็ตามทิศทางของสื่อสิ่งพิมพก็ไมมีวัน หายไปจากระบบการสื่อสารมวลชนแตจะพัฒนาตัวเองให ทันสมัยและเร็วขึ้น ตอบสนองความตองการของผูสนใจ อานสื่อสิ่งพิมพไดอยางชัดเจนขึ้น

และยังสรางเว็บไซต

ออนไลนเพื่อเขาถึงกลุมผูอานไดมากขึ้นอีกดวย บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ สื่อสิ่งพิมพมีบทบาทที่สําคัญตอการพัฒนา ประเทศเพราะสื่อสิ่งพิมพได เสริมสรางบทบาทพื้นฐาน ดานการศึกษา สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองควบคูกันไป

บางครั้งมีผูกลาววา ความเจริญ ของประเทศใดอาจวัดได จากปริมาณการบริโภคกระดาษของชนในชาตินั้นเปน องคประกอบหนึ่ง (วิชัย พยัคฆโส , 2542) เมื่อเทคโนโลยีทางการพิมพเจริญกาวหนาจนถึง ขั้นมีการ ประดิษฐเครื่องจักรและอุปกรณทางการพิมพที่ ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพิมพจํานวน มากในระยะเวลาอันรวดเร็วทําใหสิ่งพิมพมีบทบาท มากมายในชีวิตประจําวันของมนุษยตั้งแตการใชสื่อ สิ่งพิมพเปนแหลงใหขอมูล ขาวสาร ความรู ความบันเทิง เปนแหลง ขอมูลที่มนุษยใชประกอบการตัดสินใจ ฯลฯ สิ่งพิมพนอกจากจะมีบทบาทอยางมากในชีวิติประจําวัน ระดับบุคคลแลว ยังมีบทบาทอยางมากตอการพัฒนา บานเมือง ตอความเจริญทางเศรษฐกิจ การเมืองและ สังคมดวย (จันทนา ทองประยูร , 2537) พัฒนาการของสื่อสิ่งพิมพ ความเปลี่ยนในดานเทคโนโลยีการสื่อสารนับ เปนปจจัยสําคัญยิ่งสําหรับวงการสื่อที่มีความเกี่ยวของกับ ขาวและ ขาวสาร ซึ่งแมดูเหมือนวา ความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นนี้จะคอยเปนคอยไป แตดวยความแพรหลายไปทั่ว ของเทคโนโลยีการสื่อสารหลากหลายชนิด เชน คอมพิวเตอร ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร โครงขายโทรศัพท อุปกรณภาพ และเสียง ที่มีตอ “ สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม ” (traditional media) เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน มีผลใหเกิดสิ่งที่ เรียกวา “การปฏิวัติแหง ระบบตัวเลข” (digital revolution) ทําใหขอมูลขาวสาร ไม วาจะอยูในรูปลักษณใด เชน ขอความ เสียง รูปภาพ


9

ภาพเคลื่อนไหว หรืองานกราฟก ไดปรับเปลี่ยนใหเปน ภาษาอีกชนิดหนึ่งและปรับใหเปนรูปแบบเดียวกันทั้งหมด คือสามารถอานและสงผานไดอยางรวดเร็วโดยผานเครื่อง คอมพิวเตอรแลวยังสามารถนําเสนอในลักษณะใดก็ได ตามความตองการใชงานของผูใชงานความเปลี่ยนแปลงนี้ ถูกเรี ยกว า “ การทําใหเปน ระบบตัว เลข ” หรือ “ ดิจิไทเซชั่น ” (digitization) ดวยระบบที่มีการทําใหเปนระบบตัวเลขนี่เอง เป น ป จ จั ย สํา คั ญ ประการหนึ่ งที่ ทํา ให เ กิ ด “สื่ อใหม ” (New Media) เกิดขึ้น ซึ่งเปนสื่อที่มีลักษณะเกี่ยวของ

จากสื่อหลักอยาง วิทยุโทรทัศน และสื่อสิ่งพิมพอีกตอไป โดยเทคโนโลยีใหมที่มาแรงที่สุด คงปฏิเสธไมไดวา คือ สื่ออินเทอรเน็ตหรือสื่อออนไลน ดังนั้นสื่อสิ่งพิมพจึงตองมีการพัฒนาใหเขากับยุค ที่ กาวล้ํา ทางสั งคมเป น อย า งมาก จึ ง ทําให สื่ อสิ่ งพิ มพ มีการเปลี่ย นแปลงจากรู ป แบบดั้งเดิมเขาสูรู ป แบบ สื่อออนไลนมากขึ้น ดังนี้ ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ 1. สื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือ

กับระบบตัวเลข เครื่องคอมพิวเตอร และระบบการ

- หนังสือ ( Book ) หนังสือเลมแบง

สะทอนกลับหรือ “ อินเตอรแอคทีฟ ” (interactive)

ออกเปนหลายประเภทตามแตลักษณะของเนื้อหา เชน

คาดวาสื่อใหมจะสามารถตอบสนองความตองการของ

หนังสือนิยาย สารคดี หนังสือเพลง หนังสือการตูน และ

“ ผูแสวงหาขาวสาร ” (seeker) ไดมีประสิทธิภาพมากกวา

ไดถูกพัฒนาใหมาอยูในรูปแบบ e-book

สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม เนื่องจากสื่อใหมไมมีขอจํากัดในดาน

ในปจจุบัน e-book เปนหนังสือหรือ

เวลา (time) และเนื้อที่ (space) เหมือนอยางเคยเปน

เอกสารอิเล็กทรอนิกส ที่ผูอานสามารถอานผานทาง

ขอจํากัดของสื่อมวลชนแบบดั้งเดิมมากอน

อิน เทอรเน็ต มีลักษณะการนําเสนอที่ส อดคลองและ คลายคลึงกับ การอานหนังสือ ทั่วๆไป มีลั กษณะพิเ ศษ คือ สะดวกและรวดเร็ว ในการคนหา และผูอา น สามารถอาน พรอมๆ กัน ไดโ ดยไมตองรอใหอีกฝาย สงคืนหองสมุด เชนเดียวกับหนังสือในหองสมุดทั่วๆ ไป

ภาพที่ 1 สื่อสิ่งพิมพดั้งเดิมกาวเขาสูสื่อสิ่งพิมพยุคใหม ที่มา : http://www.komchadluek.net รูปแบบของสื่อสิ่งพิมพในยุคดิจิทัล เมื่อเทคโนโลยีเขามามีบทบาทในทุกๆดานของ

ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงหนังสือเรียนเขาสูการอาน

สังคมโลก และมีการเปดชองทางการสื่อสารหลากหลาย

หนังสือออนไลน

ขึ้น “ขอมูลขาวสาร” ตางๆมากมาย จึงไมไดมีการนําเสนอ

ที่มา : www.google.com


10

2. สื่อสิ่งพิมพเพื่อเผยแพรขาวสาร

- ตําราเรียน (Textbook) หนังสือเรียนใน ปจจุบันเทคโนโลยีอยางเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับพกพา

- หนังสือพิมพ (Newspapers) เปนสิ่งพิมพ

หรือ Tablet PC เริ่มมีนํามาใชในแวดวงการศึกษาโดยให

ที่เสนอขาว การเคลื่อนไหวใหมๆ ทั้งภายในและภายนอก

นักเรียนใชแทนหนังสือในรูปแบบเดิมมากขึ้น เพราะสามารถ

ประเทศ มีกําหนดการออกที่แนนอนตายตัว หนังสือพิมพ

ชวยประหยัดงบประมาณในการจัดพิมพตําราเรียนได

มักจะพิมพล งในกระดาษสําหรับ พิมพหนังสือพิมพ

สามารถบรรจุหนังสืออิเลคทรอนิคสที่ถูกเก็บไวในรูป

โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคาถูก เมื่อเขาสูยุคเทคโนโลยีหนังสือพิมพ

ดิจิตอลไดเปนจํานวนมาก โดยผูอานสามารถเลือกเลมไหน

แบบดั้งเดิมก็ไดพัฒนาไปเปน “หนังสือพิมพออนไลน” เปน

ขึ้นมาอานกอนก็ได อีกทั้งสามารถแกไขเพิ่มเติมเนื้อหา

การนําขาวสารมาเผยแพรผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งจะมี

ไดตลอดเวลา และสามารถเชื่อมโยงใหผูสอนและผูเรียน

ความรวด และสามารถเขาถึงไดงายมากขึ้น จึงทําใหการ

ติดตอสื่อสารกันผานทางระบบอินเตอรเน็ตไดอีกดวย

รับขาวสารในปจจุบันมีความวองไวตอเหตุการณตางๆ

ระบบการศึกษาไดเปลี่ยนแปลงและพัฒนา

มากมาย

เปนอยางมาก เชน มีการเปดระบบสอนออนไลน หรือ e-Learning ที่เปนการเรียน การสอนในลักษณะหรือการ เรียนรูแบบออนไลน e-Learning เปนการศึกษาเรียนรูผาน เครือขายคอมพิวเตอรอินเทอรเน็ต (Internet) เปนการ เรียนรูดวยตัวเอง ผูเรียนจะไดเรียนตามความสามารถ และความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่ง ประกอบดวย ขอความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดีย

ภาพที่ 4 หนังสื่อพิมพแบบดั้งเดิมเขาสู หนังสือพิมพออนไลน ที่มา : http://www.posttoday.com http://www.ความรูรอบตัว.com/ -นิตยสารและวารสาร (Magazine) เปนสื่อ สิ่งพิมพที่เจาะกลุมเปาหมายเพื่อตอบสนองความตองการ เฉพาะผูบริโภคไดดีกวาหนังสือพิมพ

ภาพที่ 3 ระบบสอนออนไลน หรือ e-Learning ที่มา : http://elearning.it.kmitl.ac.th/

ซึ่งนิตยสารแบบดั้งเดิมนั้นจะมีการตีพิมพ เปนรายปกษ รายเดือน และการออกแบบของนิตยสาร


11

จะออกแบบใหมีความดึงดูด นาสนใจ ตั้งแตปกหนายัน ปกหลัง เพื่อยอดขายของนิตยสาร แตปจจุบันนิตยสารหลายสํานักพิมพได ปรับเปลี่ยนนิตยสารของตนใหเขาสูยุคหนังสืออนไลน

- ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เปนสื่อ สิ่งพิมพใบเดียว ที่เนนการประกาศหรือโฆษณา ลักษณะ การแสดงเนื้อหาเปนขอความที่ผูอาน อานแลวเขาใจงาย - ใบปด (Poster) เปนสื่อสิ่งพิมพโฆษณา

หรือการอานดิจิตอลแม็กกาซีน ที่นอกจากจะมีขอความ

โดยใชปดตามสถานที่ตาง ๆ มีขนาดใหญเปนพิเศษ ซึ่ง

และภาพประกอบแลวยังมีลูกเลนและมัลติมีเดียตางๆ

เนนการนําเสนออยางโดดเดน ดึงดูดความสนใจ

มากมาย ทั้งแกลเลอรี่ภาพ วิดีโอ แอนิเมชั่น หรือลิงค ที่

- แคตตาล็อก (Catalogue) เปนสิ่งพิมพที่

จะชวยใหการอานสนุกขึ้นอยางมากสามารถเปดอาน

มุงเสนอรายละเอียดของสินคาและบริการ มีภาพสินคา มี

ออนไลนไดทนั ที หรือจะดาวนโหลดกลับไปอานแบบ

คําบรรยายประกอบ

ออฟไลนก็ได และมีการจัดจําหนายนิตยสารผานระบบ

สื่อสื่อพิมพเหลานี้ ลวนเปนสื่อที่ใชในการ

ออนไลนที่ส ามารถเลือกซื้อนิตยสารผานเครื่อง

โฆษณาทางการคาทั้งสิ้น ซึ่งปจจุบันการใชสื่อสิ่งพิมพ

อิเล็กทรอนิกสแบบพกพาได ทําใหมีความสะดวกในการ

โฆษณาไดมีการดัดแปลงเพื่อใหครอบคลุมกับการโฆษณา

ซื้อ และสะดวกมากขึ้นในการอาน (อลิสรา คูประสิทธ,

ผานทางอินเตอรเน็ต นั้นคือ -Banner Exchange เปนการตกลงกันตั้ง

2554)

แต 2 เว็บไซตขึ้นไป ในอันที่จะแลกเปลี่ยนแบนเนอร ระหวางกัน โดยนําเอาแบนเนอรของอีกฝายไปแสดงไว บนหนาเว็บไซตของตน

ภาพที่ 6 การเลือกซื้อนิตยสารผานระบบออนไลน ที่มา : http://software.thaiware.com/ 3. สื่อสิงพิมพประเภทโฆษณา - โบรชัวร (Brochure) เปนสื่อสิ่งพิมพที่มี ลักษณะเปน สมุ ดเลมเล็ก ๆ ซึ่งในการแสดงเนื้ อหาจะ เกี่ยวกับโฆษณาสินคา

ภาพที่ 7 ตัวอยาง Banner โฆษณา ที่มา : https://www.seoclerk.com


12

-Pop-Up โฆษณาที่แยกออกเปนหนาเว็บ หนาตางใหม ปรากฏขึ้นพรอมกับเว็บเพจที่มีโฆษณา สินคานั้นๆ

สรุป ปจจุบันเทคโนโลยีเขามามีบทบาทในสังคมทั่ว โลกเปนอยางมาก สื่อดานตางๆจึงตองมีการพัฒนาให ทันสมัย ทันชวงเวลาของสังคม ซึ่งสื่อสิ่งพิมพก็เปนอีกสื่อ หนึ่ง ที่โดนผลกระทบของระบบอินเตอรเน็ตเปนอยาง มาก เพราะสื่อออนไลนสามารถที่เขาถึงไดงาย และ รวดเร็วกวา จึงทําใหสื่อสิ่งพิมพไดรับความนิยมนอยลงไป

ภาพที่ 8 ตัวอยาง โฆษณา Pop-up ที่มา : http://www.mindvalleyinsights.com/ - E-Mail Marketing

ดังนั้นจึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการนําเสนอ โดย การนําคุณลักษณะแบบออนไลนเขามาประยุกตใช ทําให สามารถเขาถึงไดงาย และยังสามารถสรางเปนธุรกิจ ออนไลนไดอีกดวย

การโฆษณาสินคาและบริการโดยผานทาง

อยางไรก็ตาม แมปจจุบันสื่อสิ่งพิมพออนไลนจะ

อีเมล ทําใหสื่อโฆษณาไปถึงกลุมเปาหมายไดพรอมๆกัน

มีอิทธิพลมาก แตสื่อสิ่งพิมพในรูปแบบดั้งเดิมก็ยังคงไดรับ

ทําใหประหยัด เวลา คาใชจายประเด็นของการเลือก

ความนิยมในคนสวนใหญ และยังคงยอมรับไดวาสื่อสิ่งพิมพ

E-Mail ในการโฆษณานั้นจะสามารถกระทําไดก็ตอเมื่อ

ยังคงเปนการสื่อสารที่สําคัญของการสื่อสารมวลชนอยูดี

ไดรับอนุญาตจากลูกคากอน เพื่อไมใหเปนการสงขอมูลที่ ลูกคาไมตองการไปหาลูกคา

บรรณานุกรม กาญจนา แกวเทพ. สื่อใหม สื่อเกา ใจเชื่อมรอย. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัดภาพพิมพ, 2554. 464 หนา สมบัติ สวัสดิ์พล. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ. กรุงเทพฯ : วังอักษร, 2546. 239 หนา.

ภาพที่ 9 จดหมายโฆษณา E-Mail ที่มา : http://www.prosoftemailmarketing.com/

สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. บรรณาธิการสื่อสิ่งพิมพ. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา, 2549. 229 หนา


วิวัฒนาการภาพโฆษณาสิ่งพิมพ์ไทย โฆษณาเก่าๆเป็นสิ่งที่ตรึงใจให้หยุดเพ่งพินิจ พิจารณาครั้งละนานๆเสมอ ความงามของลายเส้น ถ้ อ ยค าส านวนที่ ใ ช้ และประวั ติ ศ าสตร์ สั ง คม เล็กๆน้อยๆที่แฝงอยู่ในโฆษณาแต่ละชิ้น คือเสน่ห์ที่ ทาให้เราสนใจโฆษณานั้นขึ้นมาได้โฆษณามีส่วนช่วย กาหนดอายุเรื่องราวนั้นๆและช่วงสร้างสีสั นในฐานะ รูปประกอบไม่น้อย แรกในสยาม โฆษณาก็ช่วยบอก ให้ทราบว่าเมื่อปีนั้น เคยมีสิ่งนั้นสิ่งนี้ในเมืองไทยแล้ว ดังนั้น โฆษณาเก่าๆ ล้วนประกอบและสอดแทรกไป ด้วยศิลปะหลายด้าน อาทิ เช่น การวาด ซึ่งมีความ สวยงามและละเอียดละอ่อนในตัวเอง การใช้ภาษา ในการโฆษณา บอกให้รู้ถึงสานวนภาษาที่คนในยุค นั้นใช้กัน โฆษณายังช่วยบอกความนิยมของยุคนั้นอีก ด้วยและสาคัญที่ไม่อาจลืมคือ โฆษณาเป็นสิ่งที่บอก ถึงเวลา และสถานที่เกิดหรือตั้งของสิ่งนั้นๆ ทาให้เรา อยากอนุรักษ์ไว้และนามาเผยแพร่ต่อไปให้หลายท่าน จะได้รื้ อฟื้นความทรงจาเก่าๆ สมัย ยั งหนุ่มยังสาว และ รุ่น ปัจจุ บันได้สัมผัส ถึงสื่ อสมัยก่อนเป็ นเช่นไร และมีความแตกต่างกับปัจจุบันมากน้อยเพียงใด การโฆษณาเริ่ มปรากฏอยู่ ในหนั ง สื อ พิม พ์ ฉบับแรกของไทย คือ บางกอกรีคอร์ เดอร์ เมื่อ พ.ศ. 2408 หนังสือพิมพ์เป็นสื่อการโฆษณา ที่ยังมีอยู่ให้ ศึกษา ทาให้สามารถเห็นการโฆษณาในยุคแรกๆได้ว่า

13

ภาพที่ 1 หน้าปกหนังสือพิมพ์บางกอกรีคอร์เดอร์ ที่มา: โฆษณาไทยสมัยแรก เอนก นาวิกมูล

ลักษณะวิวัฒนาการของภาษาไทยที่ใช้ในการโฆษณา มีความแตกต่างจากปัจจุบันอย่างไร งานโฆษณาย่อม เปลี่ยนแปลงไปตามความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้า มาสู่ สั ง คมไทย จึง มี ผ ลให้ ลั ก ษณะและเนื้ อ หางาน โฆษณามี ก ารเปลี่ ย นแปลงมาโดยล าดั บ ทั้ ง ด้ า น รูปแบบและภาษาที่ใช้ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่สาคัญของ ชาติ วิวัฒนาการของงานโฆษณาในหนังสือพิมพ์ไทย ด้ า นอวั จ นภาษาและวั จ นภาษาจากอดี ต จนถึ ง ปัจจุบันเพื่อจะได้ทราบว่างานโฆษณาในหนังสือพิมพ์ ไทยแต่ละยุคจากอดีตถึง ปัจจุบันมีความแตกต่างกัน อย่ า งไร เพื่ อ เป็ น การรวบรวมผลงานโฆษณาใน หนัง สื อพิมพ์ไทยจากอดี ตจนถึงปัจจุบัน ตั้งแต่ส มั ย รัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลที่ 8 การโฆษณาของโลก โฆษณาหมายถึงการป่าวร้องต่างๆ ซึ่งมีทั้ง การตะโกน ประกาศแขวนป้ายและการตีพิมพ์ ใน หนังสือสารานุกรมของ บริตานิกา ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 15 (Advertising) บอกว่า การโฆษณารุ่นแรก เป็น การป่ าวร้ อ งไปตามถนนเพื่ อเรี ย กร้อ งให้ คนสนใจ สินค้าของตน ไม่ว่าข้าวของ ปศุสัตว์ หรือทาส ส่วน


14

โฆษณาที่เป็นตัวเขียนมีอายุราว 3,000 ปีเป็นโฆษณา หรือประกาศจับทาสชื่อ เช็ม (Shem) ที่หลบหนีนาย ไป มีรางวัลนาจับเป็นเหรียญทองแท้ นักโบราณคดี ขุดพบหลักฐานนี้ได้จ ากซากโบราณสถานนครธีบส์ (Thebes) ในประเทศกรี ซ โฆษณาที่ มี ห ลั ก ฐาน ค่อนข้างเห็นได้ชัดคือโฆษณาที่มีการพิมพ์ ราว ค.ศ. 1450 หรือ พ.ศ. 1993 หรือเมื่อ 545 ปีมาแล้ว ตรง กับสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถของไทย โยฮัน กูเตนเบริ์ก (Johannes Gutenberg) ประดิษฐ์ตัว เรี ย งพิ ม พ์ ไ ด้ ส าเร็ จ ท าให้ ส ามารถพิ ม พ์ ห นั ง สื อ ได้ แพร่หลาย พ.ศ. 2200 โฆษณาขายชอกโกแลต และ 2201 ขายชา หลังจากนี้การโฆษณาก็เจริญก้าวหน้า มาโดยตลอด พ.ศ. 2195 หรือเมื่อ 340 กว่าปีมาแล้ว ตรงกับสมัยสมเด็จ พระเจ้าปราสาทของไทย มีการ โฆษณาขายกาแฟในหนั ง สื อ พิ ม พ์ เ ป็ น ครั้ ง แรก (โฆษณาคลาสสิค เอนก นาวิกมูล 2544)

Bradley)ได้ออกหนังสือพิมพ์ภาษาไทยชื่อบางกอกรี คอร์เดอร์ เริ่มแต่ฉบับเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1844 พ.ศ. 2388 หน้า 32 มีประกาศสั้นๆ ชิ้นหนึ่ง จั่วหัว เป็นภาษาอังกฤษว่า Quinine for sale ตามด้วย ภาษาไทย บอกขายยาควินินที่บ้านหมอบรัดเลย์ งาน พิ ม พ์ ใ นยุ ค แรกจะเป็ น ไปในลั ก ษณะประกาศแจ้ ง ความ สาหรับประกาศแจ้งความที่ถือว่าเป็นโฆษณา ชิ้นแรกเท่าที่มีการค้นคว้ากัน และเอเนก นาวิกมูล ได้ลงบันทึกไว้ในหนั งสือ บางกอกรีคอร์เดอร์ ฉบับ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 ในหน้า 32 หรือเมื่อ 157 ปี มาแล้ ว แต่ เมื่ อ ราว พ.ศ. 2402 หมอบรั ด เลย์ อ อกหนั ง สื อ ภาษาอั ง กฤษรายปี ชื่ อ Bangkok Calender หรือปฏิทินบางกอก ข้างในมีภาษาไทย แทรกบ้างเล็กน้อย เช่น คากากับชื่อกษัตริย์ เจ้านาย ขุนนาง หมอบรัดเลย์ ทาหนังสือรายแบบนี้ จนถึง พ.ศ. 2416 (ปีถึงแก่กรรม) จึงเลิก

การพิมพ์และการโฆษณาในประเทศไทย

วิวัฒนาการของภาษาโฆษณาในหนังสือพิมพ์ไทย อาจแบ่งออกโดยประมาณเป็น 8 ยุคตามลักษณะ ของงานโฆษณาได้ดังนี้

การพิมพ์ในเมืองไทยเริ่มมีเมื่อใดแน่ ยังไม่มี หลักฐานชัดเจนเด่นชัดในหนังสือ “ดรุณศึกษา” ของ ฟ.ฮี แ ลร์ ซึ่ ง แต่ ง ตั้ ง แต่ ส มั ย ร.6 กล่ า วว่ า ในสมั ย สมเด็จ พระนารายณ์มหาราช หรือเมื่อราว 300 ปี มาแล้วแต่ก็ไม่มีหลักฐานปรากฏ จนในสมัยรัชกาล ที่ 1 ค.ศ.1769หรือ พ.ศ. 2339 จึงมีการพิมพ์หนังสือ ชื่อ คาสอนคฤศตัง ด้วยภาษาโรมัน (ยังไม่มีตัวพิมพ์ ไทย) ขึ้นที่วัดซังตาครูซธนบุรีและหนังสือฉบับนี้ยังมี ตัวตนหลงเหลืออยู่ จึงพอระบุได้ว่าอย่างน้อยในสมัย รัชกาลที่ 1 เริ่มมีการพิมพ์หนังสือขึ้นบ้างแล้ว แต่ หนังสือพิมพ์นั้นเราเพิ่งมีเมื่อ พ.ศ.2387คือมิชชันนารี ชาวอเมริกัน ชื่อแดน บีช บรัดเลย์ (Dan Beach

1.ยุคตัวอักษรล้วน (พ.ศ.2387-2450) 2.ยุคตัวอักษระแทรกภาพประกอบขนาดเล็ก (พ.ศ.2453-2467) 3.ยุคประดิษฐ์ถ้อยคาเป็นพาดหัว และประดิษฐ์ กรอบโฆษณา (พ.ศ. 2467-2470) 4.ยุคภาพประกอบประเภทรูปถ่าย รูปลายเส้น ประณีต และยุคกาเนิดคาขวัญ (พ.ศ. 2471-2485) 5.ยุคเปลี่ยนแปลงการเขียน (พ.ศ. 2486) 6.ยุครูปประกอบเป็นการ์ตูน (พ.ศ. 2486) 7.ยุคก่อนปัจจุบัน ยุคของรูปถ่ายและเครื่องหมาย


15

การค้า (พ.ศ.2500-2519) 8.ยุคปัจจุบัน โฆษณาสมั ย รั ช กาลที่ 4 ระหว่ า ง พ.ศ. 2394-2411 ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีโฆษณาตีพิมพ์ ชิ้ น แรกของเมื อ งไทย คื อ โฆษณาขายยาควิ นิ น ใน นสพ.บางกอกรีคอร์เดอร์ ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 บางทีประกาศชิ้นนี้ อาจเป็นโฆษณาที่เก่าแก่ ที่สุดของเมืองไทยโฆษณาขายยาควินิน เป็นโฆษณา ภาษาไทย ข้ อ ความโฆษณานั้ น ที่ จ ริ ง มี เ นื้ อ หาต่ อ เนื่ อ งมาจากบทความใหญ่ ที่ ก ล่ า วถึ ง ไข้ จั บ สั่ น อั น สามารถแก้ไขได้ด้วยยาควินิน

ภาพที่ 3 โฆษณารับจ้างพิมพ์หนังสือทั้งภาษาไทย-ฝรั่ง ลง พิมพ์ในหนังสือพิมพ์บางกอก คาเลนเดอร์ ที่มา: โฆษณาไทยสมัยแรก เอนก นาวิกมูล

โฆษณาไทยสมัยรัชกาลที่ 5 ระหว่าง พ.ศ. 2411-2453 มี โ ฆษณาขายน้ าโซดา น้ ามะเน็ ด (เลมอนเนด) และน้ าแข็ ง ของอาร์ น อลดั ค โลส ใน โฆษณาบอกว่ารับทาน้ามะเน็ดรสต่างๆตามสั่ง และ รับประกันว่าจะเก็บไว้ได้นานถึง 2 เดือนต้องสั่งทาไม่ ต่ากว่า 10 โหล ราคาโหลละ 80 เซนต์ ต้องคืนขวด (โฆษณาสมัยแรก เอนก นาวิกมูล 2539)

ภาพที่ 2 โฆษณาชิ้นแรกของไทยขายยาควินิน ที่มา: โฆษณาไทยสมัยแรก เอนก นาวิกมูล

ยั ง มี โ ฆษณาเก่ า แก่ ชิ้ น หนึ่ ง ในสมั ย รั ช กาลที่ 4 คื อ โฆษณารั บ จ้ า งพิ ม พ์ ห นั ง สื อ ทั้ ง ภาษาไทย -ฝรั่ ง โฆษณาขายสมุดต่างๆของโรงพิมพ์คณะมิชชันนารี อเมริ ก า ลงพิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ บางกอก คาเลนเดอร์ ประจาปี พ.ศ.2405 หน้า 114 ลงวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1862 โดยแดน บีช บรัดเลย์ หรือหมอบรัดเลย์ จึงถือได้ว่าในยุคสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นยุคการโฆษณา ที่ตัวอักษร

ภาพที่ 4 โฆษณาขายน้าโซดา น้ามะเน็ด Lemonade และขวดน้ามะเน็ด ที่มา: หนังสือโฆษณาไทยสมัยแรก เอนก นาวิกมูล

โฆษณาที่น่าสนใจอีกชิ้นหนึ่ง เป็นร้านตุงฮับ ก่อตั้งปี พ.ศ. 2429 เป็ น ร้ า นรั บ จ้ า งซั ก เสื้ อ ผ้ า สภาพบุ รุ ษ สุ ภ าพสตรี ชั้ น หนึ่ ง มี ช่ า งซั ก เป็ น ชาวกวางตุ้ ง ให้ ทดลองซักได้ฟรีก่อนด้วย อาจเป็นร้านซักผ้ารุ่นแรกๆ ของไทย


16

นอกจากยังมีจักรยานเริ่มเข้า มาเมืองไทยเมื่อต้น สมัยรัชกาลที่5 แล้วแพร่หลายและฮิตมากโดยเฉพาะ ในหมู่ชนชั้นสูงในตอนปลายรัชกาล ด้านการพิมพ์ มี พิมพ์ดีดสมิธพรีเมียร์ภาษาไทยรุ่นแรกๆสมัยรัชกาลที่ 5 ตัวอักษรมีทั้งหมด 84 แป้นพิมพ์ ก้านพิมพ์จะตีขึ้น ไปข้ างบนเหมือ นคนนอนหงายเขี ย นหนั งสื อ หาก อยากดูว่าการพิมพ์ถูกผิดประการใดก็ต้องผลักแกน ลูกยางใส่กระดาษขึ้นมาดูจึงจะเห็น เอ็ดวิน ฮันเตอร์ แมคฟาร์แลนด์ เป็นผู้ประดิษฐ์พิมพ์ดีดภาษาไทยเป็น คนแรก เขานาพิมพ์ดีดแรกเข้ามาถึงเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2435 ต่ อ มาการพิ ม พ์ ดี ด ยี่ ห้ อ นี้ ไ ด้ ใ ช้ กั น แพร่ ห ลายเป็ น เวลานาน (โฆษณาสมั ย แรก เอนก นาวิก มูล 2539) แสดงให้ เ ห็ น ว่า ในการโฆษณาใน รั ช กาลที่ 5 เริ่ ม ที่ ยุ ค ตั ว อั ก ษระแทรกภาพประกอบ ขนาดเล็ก โฆษณาสมัยรัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2453-2468 เป็นช่วงที่การโฆษณาในประเทศเฟื่องฟูที่สุด มีสินค้า มากขึ้น รูปแบบการโฆษณาก็แตกต่างไปจากเดิม เริ่ม จากการโฆษณาในลักษณะง่ายๆ เขียนถ้อยคาเรียง ๆ กันเป็นพาดหัว ต่อมามีการจัดภาพอย่างมีศิลปะและ ใช้ ค ว าม พิ ถี พิ ถั น เ พิ่ ม ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ ภ า พที่ น าม า ประกอบการโฆษณา เริ่มจากภาพวาด ภาพลายเส้น ภาพถ่ า น ภาพการ์ ตู น เดิ ม ใช้ แ ต่ รู ป บุ ค คล สิ น ค้ า ต่อมาจึงมีภาพอื่นๆ เพิ่มขึ้น เพื่อความสวยงามและ ความเหมาะสมจูงใจผู้อ่าน เช่น โฆษณาขายสบู่เซน ลุก ของห้างขายยาบริติช ดิสเปนซารี (ตรางู) สยาม มวย (พ.ศ. 2456) ดังตัวอย่างในภาพ

ภาพที่ 5 โฆษณาขายสบู่เซนลุก ที่มา: โฆษณาไทยสมัยแรก เอนก นาวิกมูล

โฆษณาขายเสื้อหนาวคอเชิ้ต กับขายยาชุดสาหรับอยู่ ไฟหลังคลอดบุตร ห้างเคโอยามา 15 ธันวาคม พ.ศ. 2458

ภาพที่ 6 โฆษณาขายเสื้อหนาวคอเชิ้ต กับขายยาชุดสาหรับ อยู่ไฟหลังคลอดบุตร ที่มา: โฆษณาไทยสมัยแรก เอนก นาวิกมูล

โฆษณาร้านขายรองเท้า “เซ่งชง” ร้านตัดรองเท้าที่มี ชื่อเสียงสมัยรัชกาลที่ 6 ปัจจุบันก็ยังคงดาเนินกิจการ อยู่ (เยื้องโรงภาพยนตร์เฉลิมกรุง) โฆษณาสมั ย รั ช กาลที่ 7ระหว่ า ง พ.ศ. 2468-2477 โฆษณาเป็นที่รู้จักกันมายาวนานจวบ จนถึง ทุ กวั น นี้ โฆษณาเครื่ อ งดื่ ม โอวัล ติ น ปั จจุ บั น ยัง คงมีจ าหน่า ยอยู่ ช่ ว งรั ช กาลที่ 7 จึง จัด อยู่ ในยุ ค ภาพประกอบประเภทรูปถ่าย รูปลายเส้น ประณีต และยุคกาเนิดคาขวัญ


17

ภาพที่ 7 โฆษณาเครื่องดื่มโอวัลติน ที่มา: นิตยสารนาวิกศาสตร์

โฆษณาสมัยรัชกาลที่ 8 พ.ศ.2477-2489 โฆษณาขายสบู่ลั กซ์ มีแถมไพ่ป๊อกล่อใจคนซื้อด้ว ย ปัจจุบันสบู่ยี่ห้อยังคงมีอยู่

ภาพที่ 8 โฆษณาขายสบู่ลักซ์ ที่มา: โฆษณาไทยสมัยแรก เอนก นาวิกมูล

และเชื่อว่าอีกหนึ่งโฆษณาที่มีชื่อเสียงและได้รับความ นิยมบริโภคมาจนถึงปัจจุบัน คือโฆษณายาสีฟันคอล เกตผสมการ์ดอล มีรูปประกอบภาพการ์ตูนและอยู่ ในยุคของรูปถ่ายและเครื่องหมายการค้า

ภาพที่ 9 โฆษณายาสีฟันคอลเกต ที่มา : โฆษณาคลาสสิค เอนก นาวิกมูล

วิวั ฒ นาการของภาพโฆษณา และถ้อ ยค า สานวนโฆษณาสมัยต่างๆเห็นทีจะไม่ต้องอธิบายและ เปรียบเทียบให้ยืดยาว สรุปให้สั้นที่สุดได้ก็คือ แรกๆใช้ภาษาเรียบๆ ยิ่ ง ภาคภาษาไทย สมั ย รั ช กาลที่ 4 ยิ่ ง เรี ย บใหญ่ เขียนราวกับเขียนข่าวต่อมาภาษาโฆษณาจึงค่อยๆ มี กลเม็ด มีลีลามากขึ้นตามอารมณ์ของสังคมเริ่มตั้งแต่ ประมาณรัชกาลที่ 8 ตอนต้นรัชกาลที่ 9 และแม้ว่า หลั งจากนั้นจะมีสื่ อทั้งวิท ยุโ ทรทัศน์เกิดขึ้น แต่สื่ อ ทางด้ านสิ่ ง พิม พ์ ซึ่ งเป็ น สื่ อ แรกที่ ใ ห้ กาเนิ ดชิ้ น งาน โฆษณาก็ ยั ง พั ฒ นาไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนถึ ง ปั จ จุ บั น โดยเริ่มมีการนาภาพถ่ายและเทคนิคมาใช้ประกอบ กับงานโฆษณา


18

บรรณานุกรม สัญญพงศ์ สุวรรณสิทธิ์.(2545). บนเส้นทาง...ศตวรรษครึ่ง...โฆษณาไทย. สานักพิมพ์บริษัท ........อินโฟเมอร์ เชียมาร์ก จากัด. กรุงเทพมหานคร. เอนก นาวิกมูล.(2539). โฆษณาไทยสมัยแรก.(พิมพ์ครั้งที่2). สานักพิมพ์แสงแดด กรุงเทพมหานคร. เอนก นาวิกมูล. (2544). โฆษณาคลาสสิค.(พิมพ์ครั้งที2่ ).สานักพิมพ์โนรา กรุงเทพมหานคร. เอนก นาวิกมูล.(2550). โฆษณาไทยเล่ม 2 ยุค2470.(พิมพ์ครั้งที่1).สานักพิมพ์สายธาร กรุงเทพมหานคร.


19

บทความวิชาการ พรรณริน สหายลับ 54040768

อินโฟกราฟก สื่อในงานสงเสริมการเกษตรยุคใหม ปจจุบันนี้อินโฟกราฟก (Infographic) ไดเขามามีบทบาทในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ และโฆษณา เปนอยางมาก จุดเดนของอินโฟกราฟก คือสวยงาม เขาใจงาย ไมซับซอน จึงเปนที่นิยมในเวลาอันสั้น ซึ่งที่จริง อินโฟกราฟกที่เราเห็นในปจ จุบัน อาจนับ ไดวาเปนอินโฟกราฟกแบบดิจิตอลสมัยใหม ที่เนนเผยแพรผาน อินเตอรเ น็ต ดิจิตอลมีเ ดีย หรือ เครือ ขายสังคมเปนหลัก เชน เฟสบุค อินสตาแกรม ทวิตเตอร เปนตน (ASTVผูจัดการออนไลน,2556) ที่มาของอินโฟกราฟก ไมมีบันทึกที่ชัดเจนวาอินโฟกราฟกเกิดขึ้น ครั้งแรกเมื่อใด แตหากใหสันนิษฐานอาจจะเริม่ ตั้งแตมนุษยสามารถสื่อสารกันทางการวาดหรือ การเขียน ภาพเขียนผนังถ้ํา ปายสถานที่ตางๆ ภาพประกอบตําราทางการแพทย หรือแมกระทัง่ ปายประกาศจับอาชญากรในสมัยกอนก็อาจจะ สามารถจัดในหมวดของอินโฟกราฟกแบบที่ไม ซับซอนไดเชนกัน (ASTVผูจ ัดการออนไลน,2556) ในยุ ค ของสื่ อ โซเชี ย ลมี เ ดี ย ในป จ จุ บั น อินโฟกราฟกไดรับความนิยมและปรากฏใหเห็นอยู อยางมากมายในชวง 10 ปที่ผานมา แตในความ เปนจริงแลวอินโฟกราฟกมีจุดเริ่มมากวา 150 ป และถูก นํามาใชในงานหนัง สือ พิม พ ตั้ง แตชวงป 1970 โดยหนังสือพิมพซันเดยไทม ประเทศอังกฤษ นําอินโฟกราฟก มาใชเพื่อทําใหขอมูลมีความงาย ตอการตีความโดยผูอาน และนํามาประยุกตใชใน เรื่ อ งราวของข า ว สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ เพื่ อ สร า งความ น า สนใจ ดึ ง ดู ด ผู อ า นในลั ก ษณะของการใช ขอ ความ ภาพถาย และภาพกราฟก ไอคอน กล

ยุทธการใชสีและแบบอักษร ผานระบบแนวคิดที่ เรียกวา Meastro Meastro เป น ระบบที่ ถู ก ออกแบบเพื่ อ พั ฒ นาการนํ า เสนอเรื่ อ งราว ผ า นการทํ า งาน รวมกันทีมงานฝายตางๆ ระดมความคิด ระดม สมองในกลุม การกําหนดขอบเขตเรื่องราวที่จ ะ นําเสนอรว มกันกอ นที่จ ะเริ่ม งานเขียน ผสมกั บ ศิล ปะและการออกแบบ แนวคิดแบบ Meastro ไมใชวิธีก ารนําเสนอที่จะนํามาใชกับเรื่องราวใดก็ ตามตลอดเวลา การออกแบบในแนวคิ ด แบบ Meastro เปนการพัฒนาเทคนิคการนําเสนอเรื่อง ที่มีความสําคัญ ในรูป แบบอินโฟกราฟก ผานการ ทํางานเปนทีมทําใหเรื่องราวมีชีวิตชีวา สรางความ ดึงดูดตอผูอานและสรางยอดการอานใหสูงขึ้น วิธีการแบบ Meastro เหมาะอยางยิ่งกับ สัง คมบริโ ภคสื่ อ ในยุค ปจ จุบัน ยุค สมั ยที่เ รีย กว า “บิ๊กดาตา (Big Data)” ปริมาณขาวสาร ขอมูลที่ ถูกผลิตขึ้นในแตละวันมีปริมาณมากมายมหาศาล ปริม าณขาวสารแปรผกผันกับ เวลาของผูอานใน ฐานะผูบริโภคสื่อที่นอยลง ผูอานที่ตองการขอมูลที่ ครบครับในระยะเวลาที่จํากัด อินโฟกราฟกจึงเปน


20

วิธีการอันหนึ่งที่นําเขามาใช การสรางการนําเสนอ ที่ครบรอบดานสรางการใชพื้นที่บ นหนาสิ่ง พิม พ อยางมีประสิทธิภาพการออกแบบที่มองในมุมคน อาน “Think like a reader” คําถามที่นาจะ เกิดขึ้นระหวางการอาน และการตอบคําถามอยาง รวดเร็ ว ผ า นการอ า นข อ มู ล จากภาพ หั ว เรื่ อ ง แคปชั่นใตภาพ กลอ งขอความ ที่จ ะตอบคําถาม ของผู อา นไดทั นที (ชิน กฤต อุด มลาภไพศาล, 2556) ความหมายและความสํา คัญของอินโฟกราฟก Information Graphic ห รื อ Infographic เปน กราฟก ที่แสดงถึง ข อ มูล หรื อ ความรูผานทางสายตา จุดประสงคคือ การแสดง ขอมูลเนื้อหาที่มีปริมาณมากเขาใจไดยาก มีความ ซั บ ซ อ น ให อ อกมาในรู ป แบบที่ เ ข า ใจง า ยและ รวดเร็วขึ้นไมวาจะเปนรูปภาพหรือแอนิเมชันก็ตาม ซึ่ ง ช ว ยให ผู รั บ สารสามารถเข า ใจรู ป แบบและ แนวโน ม ของข อ มู ล การใช สั ญ ลั ก ษณ ต า ง ๆ มี รูปแบบที่นําเสนอที่นาสนใจกวาการนําเสนอขอมูล ดวยตัวหนังสือทั่ว ๆไป และสามารถอธิบายขอมูล ที่ซับซอนใหเขาใจงายขึ้น ซึ่งเปนยุคที่มีการบริโภค ขอ มูล ขาวสารไดไมจํากัดและไรพ รมแดน มีก าร นํ า ไปใช อ ย า งกว า งขวางในวงการต า ง ๆ เช น วงการธุรกิจ ขาวสารการทองเที่ยว การศึกษา และ ก า ร ค น คว า วิ จั ย ส วน ห นึ่ ง เ ป น ผ ล ม า จ า ก ความกาวหนาทางวิท ยาศาสตร เทคโนโลยี การ คมนาคม คอมพิว เตอร และการสื่ อ สาร ทํ า ให ขอมูลขาวสารที่ตองการจะนําเสนอตองมีรูปแบบที่ ทําใหค นหลายๆชาติ ตา งเพศ ต างวัย สามารถ เขาใจไดงายขึ้น (สุพินดา สุรกิจสัมฤทธิ์,2556) ซึ่ง จากการศึก ษาและรวบรวมขอ มู ล พบว า อินโฟ กราฟกถูกนําไปใชเพื่อวัตถุประสงคตางๆ ดังนี้ 1. เลา Concept ที่ซับซอนใหงาย

2. จัดทํา Persentation/Report 3. อธิบายวิธีกระบวนการทํางาน 4. เปรียบเทียบสถิติ 5. แสดงขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 6. อธิบายความจริง 7. เมื่อคําพูดอยางเดียวใชไมไดผล 8. สรางความตระหนัก 9. บอกตอเรื่องราวดีๆใหกับลูกคา 10. ประกาศรับสมัครงาน นอกจากนี้เมื่อพิจารณาลักษณะของอินโฟ กราฟก ที่เปนการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาที่ซับซอนให เปนรูป แบบภาพที่เ ขาใจงาย จะพบไดวา อินโฟ กราฟกมีขอดีดังตอไปนี้ 1. ปจจุบันเราอยูในยุคที่ขอมูลลนทะลัก จนไมมีเ วลาเพียงพอที่จ ะบริโภคขอมูลทั้งหมดได อินโฟกราฟกเขามามีบทบาทชวยทําใหเราบริโภค ขอมูลไดงายและเร็วขึ้น 2. อินโฟกราฟกเปนศาสตรและศิลปแหง การสื่อสาร เปนการนําขอมูลที่มีความซับซอนมา ทํ า ให เ ข า ใจได ง า ยยิ่ ง ขึ้ น โดยใช ภ าพกราฟ ก ที่ สวยงามเปนตัวชวย 3. การเรี ย นรู ข องมนุ ษ ย แ บ ง ได เ ป น 4 รูป แบบคื อ เรี ย นรู จ ากการดู (Visual) การฟ ง (Auditory) การสัม ผัส (Kinesthetic) และการ อานและเขี ยน (Read/write) ซึ่ง คนกวา 65% ถนัดเรียนรูดวยการดู 4. ในวันหนึ่งคนเราบริโ ภคขอ มูล เทากับ หนั ง สือ พิ ม พ ป ระมาณ 140 เลม แต ไปถึ ง สมอง จริงๆแค 1%จากทั้งหมดเทานั้น 5. 80% ของการทํางานของสมองนั้ น เกี่ยวกับการรับรูและประมวลเปนภาพ 6. คนเราประมวลผลจากการดูรูปภาพได รวดเร็วกวาการอานตัวหนังสือ 60,000 เทา


21

7. ยอดการเข า ชมเว็ บ ไซต ที่ ใ ช อิ น โฟ กราฟก นําเสนอเรื่อ งราวตางๆสูง กวาเว็บ ที่ไมใช 12% โดยเฉลี่ย 8. เนื้อ หาที่เ ปนภาพหรือ อินโฟกราฟก มี อั ต ราการตอบรั บ และแชร จ ากผู ช มมากกว า บทความทั่วไปถึง 30% 9. คุณสมบัติอันโดดเดนของอินโฟกราฟก ในโลกโซเชียลก็คือมันถูกกระจายไปอยางรวดเร็ว ถาตัวอินโฟกราฟกมีคุณภาพเพียงพอ (infographicthailand,2556) โดยสรุป แล วอิ น โฟราฟ ก มี ค วามสํ า คั ญ ดังตอไปนี้ 1. นําเสนอขอ มูล ที่มีป ริม าณมากๆให มี ความกระชั บ และมี ห นทางที่ ทํ า ใหเ ข า ใจข อ มู ล ดังกลาวไดงาย 2. เปดเผยขอมูลหรือทําใหสามารถคนหา ปรากฏการณใหมๆที่เกิดขึ้นไดโดยสะดวก 3.เปนเสมือนเครื่องมือที่ชวยทําใหติดตาม เฝาดูการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตางๆตามวันเวลา ให มีความชัดเจนขึ้น (ปาจรีย สารรัตน,2554) บทบาทของอินโฟกราฟกในยุคปจจุบัน เมื่อ 2 - 3 ปที่ผานมา หากพูดถึงอินโฟ กราฟกที่ถูกกลาวขวัญและมีอทิ ธิพลกับคนไทยมาก ที่สุด (โดยเฉพาะคนกรุงเทพฯ) นาจะยกใหกบั “รูสู Flood” ที่ผลิตโดยคุณธวัชชัย แสงธรรมชัยและ กลุมอาสาสมัครที่รวมกันสรางสรรคอินโฟกราฟกที่ ไมเพียงแตเปนภาพประกอบ แตมาในรูปแบบของ แอนิเมชัน ดวยการนําเสนอในรูปแบบตัวการตูนที่ นารัก สีสันสดใส และการตีเนื้อความในการ นําเสนอเปนตอนๆ ทําใหผรู ับขอมูลรูสกึ เพลิดเพลินไปพรอมๆ กับรับขาวสารในเวลา เดียวกัน (ASTVผูจัดการออนไลน,2556)

อยางไรก็ตามจากการสํารวจสื่อไทยและ สื่อ ตางประเทศ โดยเฉพาะสื่อ หนังสือ พิม พยัก ษ ใหญร ะดับ โลกอยาง นิวยอรก ไทม วอลล สตรีท เจอนั ล พบว า มี ก ารใช อิ น โฟกราฟ ก เพื่ อ การ นํา เสนอในงานขา ว ประเด็ นข า วสํ า คัญ ที่ อ ยู ใ น ความสนใจของคนอานรอบดานทั้ง ตางประเทศ การเมือง กีฬา วิทยาศาสตร ธุรกิจ การเงิน ผูผลิต สื่อมีความเขาใจและสามารถเลือกใชอินโฟกราฟก เพื่อการนําเสนอไดอยางมีประสิทธิภาพ แตเมื่อหัน กลั บ มามองสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ไ ทย การนํ า เอาอิ น โฟ กราฟ ก มาใช ปรากฏอยู บ า งประปรายในกลุ ม หนัง สือ พิ ม พหั วสี หรือ หนัง สือ พิ ม พแ นวประชา นิยม และหนังสือพิมพที่เนนคุณภาพ ลักษณะของ อินโฟกราฟกที่นํามาใชสวนใหญ จะอยูในรูปของ ตาราง กราฟ ไอคอน แผนภาพ ซึ่ ง เป น อิ น โฟ กราฟกพื้นฐาน เนนหนักในทางนําเสนอขอมูลเชิง สถิติ แผนภาพเพื่ อ แสดงโครงสร าง หรื อ แผนที่ แสดงจุดเกิดของเหตุการณแตไมรอบดานในแงของ การนําไปใชเหมือนสื่อตางประเทศ เวนแตนิตยสาร ที่เปนการซื้อลิขสิทธิ์ตางประเทศมาตีพิมพ สื่อใน รูปแบบอินโฟกราฟกมีบทบาทสําคัญในสื่อสิ่งพิมพ สื่อ โทรทัศ น สื่อ ปฏิ สัม พันธต ลอดจนสื่ อ โซเชีย ล มีเดีย โดยเฉพาะ 2 ปที่ผานมาความตองการและ การคนหาขอมูลอินโฟกราฟกในเว็บมีไมต่ํากวา 8 เทาจากเดิม (ชินกฤต อุดมลาภไพศาล, 2556) อินโฟกราฟกกับการเกษตร อินโฟกราฟกเปนสื่อที่เ ขาใจงาย อธิบาย ขอมูลที่ซับซอนไดดวยรูปภาพและเปนสื่อที่ไดรับ ความนิยมมากในโซเชียลมีเดีย โดยถูกนําไปใชใน งานดานตางๆ ภาคเกษตรกรรมก็เชนเดียวกัน ทั้ง ในด า นการโฆษณา ประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ โดยเฉพาะในเรื่ อ งของการส ง เสริ ม การเกษตร ซึ่งเปนการนําความรูและวิทยาการที่


22

ทั น สมั ย ที่ ไ ด ม าจากการค น คิ ด และวิ จั ย ของ นัก วิช าการไปสูเ กษตรกร โดยมีอ งคก รสง เสริ ม การเกษตรเป น ตั ว กลางในการถ า ยทอดและ แพร ก ระจายความรู ดั ง กล า ว การส ง เสริ ม การเกษตรยังเปนการใหการศึกษาแกเกษตรกรใน รูปแบบของการใหก ารศึกษานอกระบบโรงเรียน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการนําขอมูลขาวสารอื่นๆ ที่ เกี่ยวของกับการประกอบอาชีพทางการเกษตรไปสู เกษตรกร โดยเนนรูปแบบการสื่อสารที่เขาใจงาย ไมซับซอน เพื่อใหเกษตรกรนําความรูที่ไดไปใชให เกิดประโยชนสูงสุด (รศ.ดร.ณรงค สมพงษ,2535) อิ น โฟกราฟ ก ทางด า นการเกษตรนั้ น มี บทบาท มาในระยะหนึ่งแลวในโซเชียลมีเดีย เริ่ม จากชวงหลายปกอ น ในทีวีเราจะเห็นโฆษณาที่มี รูปแบบคลายอินโฟกราฟก ซึ่งเปนผูชาย 2คน ทํา อาชีพ เกษตรกรเหมือ นกัน คนหนี่ง ปลูก พืชแบบ ผสมผสาน แตอีกคนหนึ่งปลูกพืชชนิดเดียว แตใน ที่สุดแลว คนที่ป ลูก พืชแบบผสมผสานก็ป ระสบ ความสําเร็จในการประกอบอาชีพมากกวา โฆษณา ตัวนี้ตองการสื่อเรื่องไอเดียในการลงทุนการคิดให รอบคอบและการเผื่อเสนทางเอาไวนั่นเอง ชวย ใหผูช มเขา ใจถึง เรื่อ งราวของการเกษตรไดม าก ยิ่งขึ้น เมื่อนําอินโฟกราฟกมาใชกับงานดานการ สงเสริมการเกษตรชวยใหการเรียนรูจดจําขอมูลได งา ยและรวดเร็ ว ยิ่ง ขึ้ น เพราะมี ป ระเด็ นในการ นําเสนอไมม าก ธรรมชาติของมนุษยเรานั้นรับ รู ขอมูลผานประสาทสัมผัสทางตาหรือการมองเห็น มากถึง 70% และสมองของมนุษยเราถูกออกแบบ มาโดยธรรมชาติใหมีความสามารถในการวิเคราะห ขอ มูล จากประสาทสั ม ผั ส ทางตามากกวา 50% และสามารถประมวลผลขอมูลจากภาพไดเร็วกวา

ขอมูลที่เปนขอความ ดังนั้น อินโฟกราฟกจึงเปน สื่อในงานสงเสริมการเกษตรรูปแบบใหม ที่จะถูก นํามาใชอยางแพรหลายในอนาคต รูปแบบของการแปลงขอมูล เปนภาพในอินโฟ กราฟก สามารถแบงไดเปน 7 ประเภท ซึ่งแตละ รู ป แบบล ว นเป น สิ่ ง ที่ ผู ส ร า งอิ น โฟกราฟ ก ต อ ง เลื อ กใช ใ ห เ หมาะสมตามลั ก ษณะเนื้ อ หา ดั ง นี้ 1. ขาวเดน ประเด็นรอน และสถานการณ วิ ก ฤต เป น อิ น โฟกราฟ ก ที่ ไ ด รั บ การแชร ม ากๆ มักจะเปนประเด็นใหญระดับประเทศ 2. สอน ฮาวทู บอกเลา กลยุ ท ธต า งๆ อยางเปนขั้นเปนตอน 3. ใหความรู สถิติสําคัญ ทางประชากร ตางๆตลอดจนการถายทอดความรูทางวิชาการที่ นาเบื่อ ใหมีสีสัน สนุก และ นาติดตาม 4. บอกเล า ตํ า นานหรื อ วิ วั ฒ นาการ เรื่อ งราวบางอยา ง อาจต อ งถา ยทอดผา นตํ ารา หนาๆ แตดวย อินโฟกราฟกจะชวยทําใหตํานาน เหลานั้นบรรจุอยูในพื้นที่ๆจํากัดไดอยางนาทึ่ง 5. อธิบายผลสํารวจ และ งานวิจัย อินโฟ กราฟก เหมาะที่ สุด ที่จ ะถายทอดงานวิ จัยที่ ดูยุ ง เหยิงไปดวยตัวเลขและขอมูลมหาศาลออกมาเปน แผนภาพสวยๆและทรงพลัง 6.ก ร ะ ตุ น ใ ห เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง พฤติ ก รรม หากได รั บ การแชร ม ากๆในโลก ออนไลน ก็อ าจสรางกระแส จนถึง ขั้นนําพาไปสู การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในโลกออนไลนในที่สุด 7. โปรโมทสินคาและบริการ ชวยใหการ ดึงดูใหสนใจมากขึ้น (OKnation,2556)


23

ภาพแสดงรูปแบบการแปลงขอมูลเปนภาพในอินโฟกราฟก บทสรุป ปจจุบันเราอยูในยุคที่ขอมูลลนทะลักจนไมมีเวลาเพียงพอที่จะบริโภคขอมูลทั้งหมดได ในวันหนึ่ง คนเราบริโภคขอมูลเทากับหนังสือพิมพประมาณ 140 เลมแตไปถึงสมองจริงๆแค 1 เปอรเซ็นตเทานั้น อินโฟ กราฟกจึงเขามามีบทบาทในการสื่อสาร ชวยทําใหเราบริโภคขอมูลไดงายและรวดเร็วยิ่งขึ้น ในภาคเกษตรก็ เชนเดียวกัน การสงเสริมการเกษตรปจจุบัน ตองมีการพัฒนาใหมากขึ้นจากเดิมที่มีการใชสื่อและรูปแบบการ นําเสนอเพียงไมกี่ประเภท ทั้งนี้เพื่อดึงดูดใหกลุมเปาหมายมีความสนใจในขอมูลขาวสารที่ตองการเผยแพรมาก ขึ้น ใหความสําคัญและจดจําเพื่อการนําไปปรับใชตอไป ดังนั้นนักสงเสริมการเกษตรจึงตองมีความเขาใจใน ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ แตล ะประเภทเปนอยางดี ซึ่ง สื่อ ที่เ กี่ยวขอ งกับ การสง เสริม การเกษตรก็มี หลากหลายรูปแบบทั้งสื่อเกาที่มีแตเนื้อหาขอมูลอยางเดียว รวมถึงสื่อใหมในปจจุบัน อยางสื่ออินโฟกราฟก หรือสื่อรูปแบบอื่นๆที่เปนโซเชียลมีเดีย สื่ออินโฟกราฟกจึงอาจเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการนําไปปรับใชกับ เกษตรกร ทําใหเกษตรกรเขาใจไดงายและรวดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อใหเกษตรกรนําความรูที่ไดไปใชในการประกอบ อาชีพใหเกิดประโยชนสูงสุด (รศ.ดร.ณรงค สมพงษ,2535)


24

อางอิง ASTVผูจัดการออนไลน. 2556. มองครบมุม Infographic .[ออนไลน].เขาถึงจาก : http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9560000119023. (วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 OKnation. 2556. Infographicsคืออะไรและนําไปใชงานอยางไร. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=843232 (วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557) คณะทํางานเรื่องการบริหารองคความรูและกองวิจัยและพัฒนางานสงเสริมการเกษตร.2551.คูมือการจัดการ ความรูในงานสงเสริมการเกษตร.กรุงเทพมหานครซฝายรงพิมพ สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร ชินกฤต อุดมลาภไพศาล. 2556. Infographic ทางรอดสื่อสิ่งพิมพ ?.[ออนไลน].เขาถึงจาก : http://blog.nation.ac.th/?p=2790. (วันที่ 8 พฤศจิกายน 2557) ปาจรี ย สารรั ต น . 2554. การออกแบบหนั ง สือ INFOGRAPHIC เรื่ อง ภั ย พิ บัติ ธ รรมชาติ . ปริ ญ ญา ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. รศ.ดร.ณรงค สมพงษ. 2535. สื่อเพื่องานสงเสริมเผยแพร. กรุงเทพมหานึร. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮาส สุพินดา สุรกิจสัมฤทธิ์. 2556. การศึกษารูปแบบการประชาสัมพันธ เรื่อง สิทธิผูพิการ อินโฟกราฟก ของ สํ า นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.). ปริ ญ าวิ ท ยาศาสตร บั ณ ฑิ ต สาขาวิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยาการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง “หลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร”.[ออนไลน].เขาถึงจาก : http://www.kmitl.ac.th/agritech/04093006/3b2.htm. (วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557)


25

บทนํา

INFOGRAFHIC สื่อทางเลือกรูปแบบใหมของธุรกิจเกษตร

ชองทางการสื่อสารในปจจุบันนี้มีมากมายหลายทาง เมื่อโลกเขาสูยุคโลกาภิวัฒน(Globalization) ยุค ที่เต็มไปดวยขอมูลขาวสารและการติดตอสื่อสารที่ไรพรมแดน ดวยการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารใหมีความ ทันสมัยและกาวหนาอยางไมเคยหยุดนิ่งนี้ สงผลใหการดําเนินชีวิตของมนุษยเปลี่ยนแปลงตามไปดวย เราใน ฐานะของผูบริโภคตองรับบทหนักในการรับขอมูลขาวสารที่มีมากขึ้นถึง 5 เทาจากป 2549 โดยใน 1 วินาที อีเมลถูกสง 168 ลานฉบับ มีวิดีโอใหมถูกอัพมากกวา 600 วิดีโอบน YouTube มีการอัพเดท Status บน Facebook มากกวา 695,000 ขอความ และชองทางอื่นๆอีกมากมายที่ไมไดกลาวถึง นี่จึงเปนสาเหตุให ผูบริโภคเลือกที่จะรับเฉพาะขอมูลที่เปนประโยชนและตนสนใจเทานั้น ในฐานะของผูประกอบธุรกิจจึงมีหนาที่ ที่ตองคิดหารูปแบบการสื่อสารใหมๆ เพื่อจูงใจใหผูบริโภคหันมาสนใจสินคาและบริการของตนใหไดมากที่สุด ซึ่งการที่จะอาศัยรูปแบบการโฆษณาเดิมๆ ที่มีอยูตามสื่อสิ่งพิมพหรือสื่อโทรทัศนคงจะไมเพียงพอ เพราะใน ปจจุบันมีอีกหนึ่งชองทางที่ผูบริโภคสามารถเขาถึงไดทุกที่ทุกเวลาเพียงแคปลายนิ้วสัมผัส นั่นก็คือ "สื่อสังคม ออนไลน" เพราะนอกจากจะเขาถึงงายแลวยังสามารถแบงปนขอมูลขาวสารตางๆที่ตนไดรับใหผูอื่นตอไดอีก ดวย ซึ่งในบทความนี้ขอกลาวถึงประเภทของธุรกิจเกษตรที่เล็งเห็นถึงความสําคัญในการใชสังคมออนไลน สําหรับเปนสื่อในการทําการตลาดผานไปยังลูกคาเปาหมายที่บริโภคขอมูลขาวสารผานทางเว็บไซต โดยมีการ ใชรูปแบบสื่อที่กําลังอยูในกระแสสื่อสังคมออนไลนและเปนที่นิยมกันอยูอยางแพรหลายในตอนนี้ดวย นั่นก็คือ สื่อ "อินโฟกราฟกส (Infographic)" สื่อที่เขาถึงไดทุกเพศทุกวัย ใหความรูสึกแปลกใหมทันสมัย มีการดึงดูด ความสนใจดวยการใชภาพสัญญะในการสื่อความหมาย อีกทั้งยังประหยัดเวลาในการทําความเขาใจเพียงแค กวาดตามองก็สามารถประมวลผลขอมูลทั้งหมดได ซึ่งตอบโจทยสําหรับผูบริโภคในยุคไอทีที่ตองการเขาถึง ขอมูลที่ซับซอนในเวลาอันจํากัด อินโฟกราฟก สื่อทางเลือกรูปแบบใหม อินโฟกราฟก (infographic)หรือ อินฟอรเมชันกราฟก (information graphic) คือ การแสดงผล ขอมูลทางสถิติ ความรูทางวิทยาศาสตร หรือความรูอื่นๆที่มีความซับซอนเขาใจยากหรือขอมูลที่มีลักษณะเปน ตัวหนังสือจํานวนมาก มาสรุปเปนใจความสําคัญ และออกแบบในแนวสรางสรรคและนาสนใจ สามารถทํา ความเขาใจไดงายในเวลาอันรวดเร็ว และสามารถสื่อใหผูรับสารเขาใจความหมายของขอมูลทั้งหมดไดโดยไม จําเปนตองมีผูนําเสนอ ซึ่งเปนการออกแบบสารสนเทศที่อยูในรูปของกราฟกที่อาจเปนลายเสน สัญลักษณ กราฟ แผนภู มิ ไดอะแกรม แผนที่ ฯลฯ โดยอิน โฟกราฟกสามารถอธิบ ายกระบวนการตางๆ การจัดทํา Presentation and Report การเปรียบเทียบสถิติ สรางความตระหนักการแสดงขอมูลเพื่อการตัดสินใจ การ โฆษณาสินคาและบริการ หรือแมกระทั่งการประกาศรับสมัครงาน และอื่นๆอีกมากมาย นอกจากอินโฟกราฟกภาพนิ่งที่เราเห็นกันอยางชินตาแลว ยังมีอีกหนึ่งรูปแบบ ซึ่งเปนการตอยอดมา จากอินโฟกราฟฟกและมีความนาสนใจไมแพกัน ก็คือ “วิดีโออินโฟกราฟฟก” (Video Infographic) เปนการ นําเสนอขอมูลในรูปแบบของอินโฟกราฟฟกที่เปนภาพเคลื่อนไหว อีกทั้งยังมีเสียงบรรยายและเสียงดนตรี ประกอบเพิ่มความนาสนใจ เปนการผสมผสานกันระหวาง “วิดีโอ” และ “อินโฟกราฟฟก” ไดอยางลงตัวและ สมบูรณแบบ ทําใหเปนสื่อที่ผูคนนิยมกันมากในสังคมออนไลน (Infographic Thailand. 2556) สื่อ Infograghic คลื่นพลังใหมในยุคออนไลน นักวิจัยและนักการศึกษาหลายทานเห็นตรงกันวา สื่อควรจะปรับตัวเองใหเขากับคน มิใชใหคนปรับตัว เขากับสื่อ ที่กลาวไปเชนนั้นก็เพราะวา ปจจุบันเปนยุคที่มีการแขงขันทางเทคโนโลยีคอนขางมาก สื่อก็ควรตอง


26

ปรั บ ตัว ใหน า สนใจมากขึ้ น ทํ า ให เ ปน จุ ดเด น ทําใหคนสนใจที่จ ะติดตามอาน ซึ่งสื่ออิน โฟกราฟกก็ถือเปน รูปแบบของสื่อที่ผูสงสารนิยมหยิบยกขึ้นมาใช เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพการสื่อสารในปจจุบัน จุดประกาย ความสนใจใหกับผูอาน และสรางความตองการที่จะคนควาหาขอมูลเพิ่มเติมจากสื่ออื่นๆ ไดอีกดวย ซึ่งความ จริงแลว อินโฟกราฟกเปนสื่อที่มีการเริ่มใชเพื่อการสื่อสารขอมูลที่ซับซอนมานานแลว แตเพิ่งมาเริ่มไดรับความ นิยมอยางแพรหลายเมื่อป 2005 เพราะมีแรงผลักดันจากการทํางานรวมกันกับ "เครือขายสังคม" จึงทําให สามารถกระจายขอมูลไดอยางรวดเร็วและงายดายเหมือนไฟลามทุงนั่นเอง ปจจุบันคําวา "อินโฟกราฟก(Infographic)" มีการรายงานสืบคนใน Google มากถึง 14.5 ลานครั้ง (ขอมูล ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2555 ซึ่งเปนจํานวนที่เพิ่มขึ้นถึง 80% ภายในระยะเวลาเพียง 2 ป) แสดงให เห็นถึงความนิยมของสื่อรูปแบบนี้ในโลก Social Network ที่เพิ่มมากขึ้นและมีทีทาวาจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ดวยเหตุผลที่วาคนทั่วไปเลือกที่จะอานขอมูลที่เปนรูปภาพมากกวาขอมูลที่เปนตัวหนังสือถึง 30 เทา พลังของ อินโฟกราฟกจึงมีผลตอการับรูของมนุษยโดยตรง ซึ่งตัวอยางที่มักมีการหยิบยกไปอางอิงอยูเสมอ คือ 90% ของขอมูลที่เขาสูสมองของคนเราคือขอมูลที่เปนรูปภาพ เพราะรูปภาพ ไอคอนกราฟกและสีสันตางๆ มีผลตอ การจดจําของสมองและเราความสนใจไดดีกวา สวนขอมูลที่เปนตัวหนังสือคนเราจะสามารถจําไดมากที่สุด เพียง 20-40% เทานั้น อินโฟกราฟกจึงเปนสื่อทางเลือกที่มีวิธีการนําเสนอขอมูลเชิงสรางสรรคที่นาสนใจมาก อีกวิธีหนึ่ง ที่เราสามารถหยิบยกมาใชเปนกลยุทธในการเผยแพรขอมูลขาวสารไปยังผูรับสารในมุมมองที่แปลก ตา ทันสมัย ทันตอเหตุการณได (คมวิทย สุรชาติ, 2557) ปจจุบันอินโฟกราฟกเปนสื่อที่นิยมกันอยางแพรหลายในสื่อสังคมออนไลน องคกรตาง ๆ ทั้งองคกรที่ แสวงหาผลกําไรและไมแสวงหาผลกําไร ไดเล็งเห็นถึงชองทางในการใหความรู โฆษณาประชาสัมพันธและ เข า ถึ ง ผู อา นได อ ย า งอิ ส ระผ า นช อ งทางนี้ เพราะนอกจากจะเป น สื่ อ ที่ น า สนใจแล ว กระบวนการในการ สรางสรรคสื่อยังใชคาใชจายที่ไมมากอีกดวย และศัพทที่นักอินโฟกราฟกมักใชกับปฏิกิริยาของผูรับสารที่มีตอ สื่อนั้น คือคําวา “จุดติด” เหมือนกับเปนการจุดไฟในทุงนาที่รางวางเปลา เพียงแตจุดไฟเบา ๆ ภายในเวลาไม นานไฟนี้ก็สามารถลามไปทั้งทุงได อินโฟกราฟกเปรียบเสมือนอาวุธทรงอานุภาพ ที่ทําใหผูอานสามารถจดจํา เรื่องราวตางๆ ที่ตองการนําเสนอไดนานกวาการใชเพียงขอความเพียงอยางเดียว สามารถเขาถึงผูอานไดทุกวัย โดยเฉพาะวัยเรียนและวัยทํางานที่สวนใหญมักจะถูกครอบงําดวยเทคโนโลยี และไมชอบที่จะติดตามอาน ขาวสารผานทางหนังสือ การนําอินโฟกราฟกมาใชคงมิใชทางที่สามารถสื่อสารขอมูลทั้งหมดไดอยางครบถวน สมบูรณ แตหากเปนแนวทางในการแกปญหาที่สามารถจุดประกายใหคนเกิดความสนใจในเรื่องที่นําเสนอและ ตองการที่จะคนหารายละเอียดเพิ่มเติมดวยตัวเองในภายหลัง บทบาทของอินโฟกราฟกกับภาคธุรกิจ ความหมายของธุรกิจ (Business) กลาวไดกวางๆวาเปนการกระทําหรือกิจกรรมตาง ๆ ทางดาน เศรษฐกิจและการพาณิชยของมนุษยที่ดําเนินงานเกี่ยวกับสถาบันการผลิต การจําหนาย และการใหบริการ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภค โดยกลุมบุคคลมีการกระทํารวมกันเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายเดียวกัน คือ กําไร หรือรายได ซึ่งธุรกิจสามารถแบงตามลักษณะของกิจกรรมที่กระทําได 8 ประเภท ซึ่งไดแก ธุรกิจ เกษตร(Agriculture) ธุรกิจเหมืองแร(Mineral) ธุรกิจอุตสาหกรรม(Manufacturing) ธุร กิจกอสราง (Cnostruction) ธุรกิจการพาณิชย(Commercial) ธุรกิจการเงิน(Financial) ธุรกิจบริการ(Services) และ ธุรกิจอื่น ๆ เปนที่นอกเหนือไปจากธุรกิจดังกลาวขางตน (สุรนาถ ปูชนียพงศกร, 2551) เมื่อผูประกอบการตัดสินใจดําเนินธุรกิจแลวยอมตองการใหธุรกิจประสบความสําเร็จ โดยไดผลกําไร ตามที่ตองการ ซึ่งในการดําเนินธุรกิจนอกจากจะมีการผลิตสินคาและบริการที่มีคุณภาพแลว ผูประกอบการที่ดี


27

ตองความรับผิดชอบตอสังคม ซื่อสัตยกับลูกคา สังคมและสิ่งแวดลอม ประพฤติปฏิบัติตนถูกตองตามกฎหมาย และการที่ จ ะทํ า ให ผู บ ริ โ ภคได ท ราบถึ ง ข อ มู ล ต า งๆของการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได นั้ น ก็ ต อ งมี ก ารโฆษณาและ ประชาสัมพันธ ซึ่งชองทางในการเผยแพรขอมูลก็มีมากมายหลายทางเชนกัน โดยชองทางหลักที่เราคุนเคยกัน ดีก็คือ สื่อวิทยุโทรทัศนและสื่อสิ่งพิมพ แตในปจจุบันมีชองทางที่เปนตัวเลือกสําคัญอีกชองทางหนึ่ง ซึ่งเปนที่ นิยม เขาถึงงาย และเสียคาใชจายในการเผยแพรสื่อนอยกวา นั่นคือชองทาง "สื่อสังคมออนไลน" สําหรับสื่อ ยอดนิยมที่เขามามีบทบาทในโลกสังคมออนไลนตอนนี้ก็คือ "สื่ออินโฟกราฟก" ซึ่งเปนรูปแบบในสื่อสารและ บอกเลาเรื่องราวตางๆไดอยางอิสระ ไมจํากัด อีกทั้งยังเปนสื่อที่อิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อสินคาของผูบริโภค ซึ่งผลการสํารวจพบวามีผูบริโภคที่ตัดสินใจซื้อสินคาหลังจากไดรับชมสื่ออินโฟกราฟกแนะนําสินคามากถึง 65% และยังพบวาธุรกิจที่นําสื่อดังกลาวมาใชเพื่อนําเสนอโปรโมชั่นและแคมเปญตางๆสามารถเพิ่มยอดขายได เพิ่มขึ้นจากปกติถึง 1 เทาตัว อีกทั้งปจจุบันการติดตอสื่อสารกันในสังคมออนไลนยังเปนกิจกรรมที่กําลังไดรับ ความนิยมอยางสูงในกลุมผูบริโภค ผลการสํารวจพบวาในแตละเดือนผูใชงานอินเทอรเน็ตหมดเวลาไปกับการ เลน Facebook และชมคลิปบน Youtube คิดเปนระยะเวลารวมกันมากถึง 2,900 ลานชั่วโมงตอเดือน สื่อ อินโฟกราฟกก็ไดชื่อวาเปนเครื่องมือสําคัญที่ชวยในการทํา “Viral Marketing” และ “Social Media Marketing” ไมวาจะเปน Facebook, Twitter หรือ Youtube เนื่องจากมีรูปแบบที่เอื้อตอการนําไปแชรตอ ไดอยางสะดวกงายดาย อีกทั้งยังเปนรูปแบบในการนําเสนอที่ชวยเพิ่ม Traffic และเพิ่มความสัมพันธระหวาง แบรนดและผูบริโภคไดอยางดีเยี่ยม ธุรกิจประเภทไหนที่กําลังมองหารูปแบบทําการตลาด หรือนําเสนอขอมูล อยูในเวลานี้ เชื่อวา “Infographic” จะเปนอีกหนึ่งทางเลือกที่นาสนใจและไมควรมองขาม การใชงานสื่ออินโฟ กราฟฟก พบวา มีประโยชนในเชิงธุรกิจและการตลาดในหลากหลายดาน โดยเฉพาะ “การสรางความโดดเดน เพื่อดึงดูดความสนใจของผูชม” รวมไปถึงยังชวยเพิ่มการจดจําของแบรนดของผูบริโภค เพราะวาเปนสื่อ รูปภาพที่เขาถึงงาย เขาใจงาย จดจํางาย อานไดทุกเพศทุกวัยนั่นเอง อีกทั้งยังเปนชองทางที่ผูบริโภคหรือผูรับ สารสามารถสงตอขอมูลไปยังบุคคลอื่นๆ ไดอยางรวดเร็วอีกดวย (ชินกฤต อุดมลาภไพศาล, 2557) บทบาทของอินโฟกราฟกกับภาคธุรกิจเกษตร จากภาคธุรกิจทั้งหมดที่มีการดําเนินกิจกรรมอยูภายในประเทศไทย มีอยูภาคธุรกิจอยูประเภทหนึ่งที่ มีความสําคัญ ซึ่งเปนภาคธุรกิจพื้นฐานและมีอยูมากที่สุดในประเทศไทยคงหนีไมพนภาคธุรกิจเกษตร ภาค ธุรกิจที่เกี่ยวของกับสาขาเกษตรและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งครอบคลุมถึงการผลิตพืช การเลี้ยงสัตว การ เพาะเลี้ยงสัตวและจับสัตวน้ํา รวมทั้งการผลิตปจจัยการผลิตธุรกิจการรวบรวมสินคาจากเกษตรกร การแปร รูป การขายปลีก การขายสง การเก็บรักษา การขนสงสินคาไปสูผูบริโภค และผูใชภายในประเทศและ ตางประเทศ และรวมถึงสินเชื่ออีกดวย จะเห็นไดวาธุรกิจเกษตรมีอาณาเขตครอบคลุมหลายอยาง จึงเกิดการ แขงขันสูง นอกจากจะมีกระบวนการผลิตที่มีคุณภาพแลว ผูประกอบธุรกิจยังตองหากลยุทธใหมๆ ในการทําให ผูบริโภคสนใจและตัดสินใจซื้อสินคาของตน ดวยเหตุนี้สื่อรูปแบบใหมอยางสื่ออินโฟกราฟกจึงเขามามีบทบาท ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ สรางภาพลักษณ และใหความรูกับผูบริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งธุรกิจเกษตรที่ ดําเนินกิจกรรมอยูในประเทศไทยทั้งธุรกิจขนาดใหญและขนาดยอม ก็ไดมีการใหความสําคัญในการนําสื่อ อินโฟกราฟกมาใชเปนสื่อในการใหความรู โฆษณาและประชาสัมพันธธุรกิจ อาทิ ธุรกิจเกษตรขนาดใหญของประเทศอยาง บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) (ซีพีเอฟ) และ บริษัท เบทาโกร จํากัด ทั้งสองธุรกิจนี้เปนธุรกิจเกษตรครบวงจรที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เปนผูนําใน ธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร ซึ่งมีลักษณะการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของธุรกิจที่คลายคลึงกัน คือใน กระบวนการผลิตครอบคลุมตั้งแต การผลิตอาหารสัตว การเพาะพันธสัตว การเลี้ยงสัตวเพื่อการคา การแปร


28

รูปเนื้อสัตวขั้นพื้นฐาน การผลิตสินคาเนื้อสัตวแปรรูป การผลิตผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปคุณภาพเพื่อการ สงออกและจําหนายในประเทศ รวมถึงการดําเนินธุรกิจชองทางการขายผลิตภัณฑตางๆในรูปแบบรานคาปลีก และรานอาหาร แน นอนวาธุ รกิ จครบวงจรขนาดนี้ตองมี ชองทางและรูป แบบการโฆษณาประชาสัมพันธที่ หลากหลายอยางแนนอน ทั้งสื่อโทรทัศน สื่อสิ่งพิมพ และที่นิยมกันในตอนนี้ก็คือสื่อสังคมออนไลน ซึ่งหนึ่งใน รูปแบบสื่อที่ทั้งสองบริษัทนํามาใชเพื่อดึงดูดความสนใจผูบริโภคก็คือ "อินโฟกราฟก" นั่นเอง ตัวอยางสื่ออินโฟกราฟกที่ทางบริษัทซีพีเอฟ เผยแพรทาง Facebook ที่ใชชื่อวา "We are CP" มีดังนี้ สื่ออิ น โฟกราฟ กเรื่ อง "ไก ซีพีโ ตไวไม ใชฮอรโ มน" เปน การอธิบ ายรูป แบบการเลี้ย งไกของซีพีวาเปน วิธีที่มี มาตรฐานและปลอดภัยสําหรับผูบริโภค โดยใชเปนภาพการตูนลายเสนและมีขอความสําคัญบอกขั้นตอนการ เลี้ยงไกของทางบริษัท เพื่อเนนย้ําวาซีพีเลี้ยงไกปลอดฮอรโมนจริงๆ เปนสื่อที่ใชสําหรับสรางความมั่นใจในการ บริโภคสินคาใหกับผูบริโภค ตอมาคือเรื่อง "ซีพีไมมีนโยบายทําธุรกิจผูกขาด" สื่อนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับรูปแบบ การดําเนินของซีพี วาเปนธุรกิจที่มีการพัฒนาอยูตลอดเวลา มีการกระจายรายไดสูผูประกอบการรายยอย และ มีการจัด อบรมใหความรูอยูตลอดเวลา เปนสื่อที่ใชสําหรับ สรางความเขาใจและภาพลักษณที่ดีของบริษัท นอกจากนี้ยังมีสื่ออินโฟกราฟกที่ใชบอกเกี่ยวกับชองทางการติดตอกับบริษัทในเครือทั้งหมดอยาง "7 Call Center ในเครือซีพี"อีกดวย (We are CP, 2557) ตัวอยางของสื่ออินโฟกราฟกที่ทางบริษัทเบทาโกร ไดมีการเผยแพรผานทาง Facebook โดยใชชื่อวา "Betagro Society " สวนใหญจะเปนอินโฟกราฟกเกี่ยวกับเคล็ดลับการเลือกซื้อและนําผลิตภัณฑอาหาร จากเบทาโกรมาเปนวัตถุดิบในการปรุงอาหาร ประโยชนของผลิตภัณฑอาหารประเภทตางๆ ดังนี้ "หมูชิลเพื่อน แทไวใจได" เปนการอธิบายวาหมูชิล(Chilled Pork)คืออะไรและทําไมตองเลือกหมูชิล "วิธีละลายอาหารแช แข็งที่ถูกตอง " "ถนอมเนื้อหมู" กลาวถึง 5 เรื่องเนื้อหมูที่คุณแมบานไมควรมองขาม เพื่อสุขภาพที่ดีของคนใน ครอบครัว "เทคนิคทอดเนื้อสัตวกับน้ํามันกระเด็น" "เคล็ดลับผักๆ"เกี่ยวกับปญหากวนใจเรื่องผัก เคล็ดลับการ เก็บรักษาและปรุงอาหารดวยผัก "ไขไก...เกิดเปนอะไรไดบาง" บอกเกี่ยวกับประโยชนของไขไก "QR CODE บนแพ็ค S-Pure " บอกเกี่ยวกับการสอง QR Code ที่อยูบนแพ็ค S-Pure จะพบขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตผลิตภัณฑดังกลาว ซึ่งอินโฟกราฟกหลากหลายเรื่องราวเหลานี้เปนสื่อสําหรับใหความรูแกผูบริโภคที่แฝง การโฆษณาสินค าไปดว ยในตัว และยัง เปน การสรางความคุน เคยและความเชื่อมั่นในแบรนของผลิตภัณฑ อาหารใหกับผูบริโภคอยางสรางสรรคอีกดวย (Betagro Society, 2557) นอกจากธุรกิจเกษตรรายใหญที่มีการใชสื่ออินโฟกราฟกในการโฆษณาผลิตภัณฑแลว ธุรกิจเกษตร รายยอยเองก็ไมยอมแพเชนกัน มีการใชชองทางสื่อสังคมออนไลนในการขายผลิตภัณฑเกษตรของตนอยาง แพรหลาย ดูไดจากตัวอยาง ธุรกิจฟารมไสเดือนลุงรีย มีการใช Facebook มาเปนชองทางในการสื่อสาร แลว นําสื่ออินโฟกราฟกมาใชเปนสื่อในการใหความรู ตัวอยางเรื่องที่มีการนําเสนอคือ "10 อันดับเหตุผลยอดนิยมใน การริเริ่มเลี้ยงไสเดือน"เปนการบอกขอดีของการเลี้ยงไสเดือนไดอยางครบถวน โดยใชภาพกราฟกนารักๆ เพื่อ ดึงดูดความสนใจผูที่คิดและไมเคยคิดจะเลี้ยงสัตวนารังเกียจชนิดนี้ไดทดลองเลี้ยงกัน อีกเรื่องที่นาสนใจคือ "มี ธาตุอาหารอะไรในมูลไสเดือนบาง"เปนอินโฟกราฟกที่ใหความรูเกี่ยวกับธาตุอาหารที่ดินจะไดรับเมื่อมีการเลี้ยง ไสเดือน (UNCLEREE, 2557) จะเห็นไดวาสื่ออินโฟกราฟกนอกจากจะมีความนาสนใจเขาใจงายกวาสื่อรูปแบบปกติแลว อินโฟ กราฟกยังสามารถเพิ่มคุณคาใหกับสินคาไดอีกดวยดูไดจากตัวอยางของฟารมลุงรีย จะเห็นไดชัดเจนวาถาเปน การขายไสเดือนโดยทั่วไปโดยใชภ าพจริงเพียงอยางเดียว อาจไมเกิดผลแกผูที่ไมสนใจหรือผูที่ไมชอบสัตว ประเภทนี้ แตเมื่อมีการนํามาสรางสรรคเปนภาพการตูนนารักๆ อานงาย สีสันสวยงาม ก็สามารถดึงดูดใหคน


29

สนใจได นอกจากนี้สื่ออินโฟกราฟกในสังคมออนไลนยังสามารถกระจายตอๆไปสูบุคคลอื่นไดอยางงายดายอีก ดวย ประหยัดทั้งเวลา ขั้นตอน และคาใชจายในการโฆษณาอีกดวย บทสรุปของการใชสื่ออินโฟกราฟกกับธุรกิจเกษตร ในยุคแหงการสื่อสารและการพัฒนาอยางไมหยุดนิ่งนี้ สิ่งที่ควบคูตามกันมาก็คือ "การแขงขัน" ในสวน ของภาคธุรกิจที่จะสามารถดําเนินตอไปไดอยางยืนยาวนั้น นอกจากการผลิตสินคาและบริการที่มีคุณภาพแลว จะตองคิดหากลยุทธในนําเสนอสินคาตอผูบริโภคที่มีประสิทธิภาพสูงสุดดวย ซึ่งผูประกอบธุรกิจเกษตรที่ได กลาวในขางตนก็เล็งเห็นถึงความสําคัญในขอนี้เชนกัน จึงมีการหยิบยกรูปแบบของสื่อที่ตอบโจทยกับยุคแหง การสื่อสารในยุคนี้มาใชนั่นก็คือสื่อ "อินโฟกราฟก" ซึ่งเปนอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับผูบริโภคไดเลือกชม โดย นําเสนอผ านช องทางที่ เ ขา ถึ งได งายอย าง "สื่อสังคมออนไลน" ดว ยรูป ลักษณของสื่อที่ทัน สมัย เขาใจงาย ดึงดูดความสนใจไดทุกเพศทุกวัย อีกทั้งยังสามารถกระจายตอๆไปสูบุคคลอื่นไดอยางงายดาย ประหยัดทั้งเวลา ขั้นตอน และคาใชจายในการโฆษณา ดวยเหตุผลนี้อินโฟกราฟกจึงเปนรูปแบบสื่อที่ผูประกอบธุรกิจในปจจุบัน ไมควรมองขามอยางเด็ดขาด เอกสารอางอิง กุ ณ ฑลี รื่ น รมย , เพลิ น ทิ พ ย โกเมศโสภา และ สาวิ ก า อุ ณ หนั น ท . 2549. การติ ด ต อ สื่ อ สารกั บ ลู ก ค า . กรุงเทพฯ: อินโนกราฟกส. คมวิทย สุรชาติ. 2557. INFOGRAFHIC สื่อทางเลือกรูปแบบใหม. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://talung.gimyong.com/index.php?topic=304229.0 ชินกฤต อุดมลาภไพศาล. 2557. การสื่อสารเชิงอินโฟกราฟกในขาวหนังสือพิมพธุรกิจ. บทความวิจัยสาขา นิเทศศาสตรมหาวิทยาลัยเนชั่น. สมบุญ รุจิขจร. 2552. โลกคาปลีกใตเงาซีพี. กรุงเทพฯ: ทิปปง พอยท สุรนาถ ปูชนียพงศกร. 2551. ความหมายและความสําคัญของธุรกิจ. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://krusuranart.com/index.php/2011-11-24-13-35-31/2012-01-19-09-35-55 ศรุตยา วงศวิเชียรชัย. 2547. สรางลูกคาแบรนดดัง. กรุงเทพฯ: Marketeer Betagro Society. 2557. Betagro Infographic. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : https://www.facebook.com/BetagroSociety/photos_stream Infographic Thailand. 2556. Why Infographic. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://www.infographicthailand.com/detail Marketing Opps. 2553. คนรุนใหมเขา Internet กอนตัดสินใจซื้อ. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://www.marketingoops.com/media-ads/consumer-internet/ UNCLEREE. 2557. เกร็ดความรูไสเดือนดิน. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://unclereefarm.wordpress.com/about-us/ We are CP. 2557. CP Infographic. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : https://www.facebook.com/BetagroSociety/photos_stream#!/wearecp?fref=ts


30

สิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน นาย วิษณุ จงอุดมศีล 54040785 บทนํา ในป จ จุ บั น สื่ อ มวลชน ไม ว า จะเป น วิ ท ยุ โทรทั ศ น หรื อ หนั ง สื อ พิ ม พ ต า งก็ มี ค วามสํ า คั ญ กั บ ชีวิตประจําวันของประชาชน จนกลาวไดวา สื่อมวลชนเปรียบเสมือนกระบอกเสียงในการเผยแพรและนําเสนอ สาระตาง ๆ ใหประชาชนไดรับทราบ ไมวาจะเปนการนําเสนอขาวสารของประชาชนใหรัฐบาลไดรับทราบ หรือ การนําเสนอขาวสารของรัฐบาลสูประชาชน ซึ่งในการนําเสนอขาวสารนั้น สื่อมวลชนตองคงไวซึ่งสิทธิเสรีภาพ ของสื่อมวลชนที่พึงมี โดยตั้งอยูบนฐานของความเทาเทียบและเสมอภาคกันของมนุษย โดยความหมายของคําวา “สิทธิ” และ “เสรีภาพ” นั้น มีผูใหความหมายไวมากมาย แตโดยรวมแลว “สิทธิ” และ “เสรีภาพ” หมายถึง อํานาจหรือประโยชนที่จะใชกระทําการสิ่งใด ๆ โดยมีกรอบของกฎหมาย เป น ขอบเขต ซึ่ ง การปกครองระบบประชาธิ ป ไตยนั้ น สิ ทธิ เ สรี ภ าพของประชาชนถือเป น เรื่ องสําคั ญ ซึ่ ง สื่อมวลชน ถือเปนประชาชนเชนกัน ซึ่งมีสิทธิ์ในการพูด เขียน โฆษณา หรืออื่นๆ เพื่อมุงสรางประโยชนใหแก ประชาชน โดยปราศจากการแทรกแซงทางการเมือง (มาลี บุญศิริพันธ,2548) ความเปนมาของสิทธิเสรีภาพหนังสือพิมพ - รัชกาลที่ 5 หนังสือพิมพ ถือไดวามีความสําคัญมาก เพราะในสมัยนั้น หนังสือพิมพ นอกจากใชในการ เผยแพรขาวสารแลว ยังถือเปนเครื่องมือทางการเมืองอีกทางหนึ่ง ทําใหกิจการหนังสือพิมพผุดขึ้นราวกับดอก เห็ด ไมวาจะเปนหนังสือพิมพทั่วไป หรือหนังสือพิมพเฉพาะดาน เชน Siam free Press, Bangkok Time - รัชกาลที่ 6 หนังสือพิมพมีความเฟองฟูมาก เนื่องจากประชาชนเริ่มใหความสนใจเหตุการณบานเมืองมาก ขึ้น ซึ่งหนังสือพิมพเปนสื่อชนิดเดียวในขณะนั้น ประกอบกับเริ่มมีการวิพากษวิจารณสถานการณบานเมือง การทํางานของเหลาขุนนาง รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงทางราชการ ซึ่งไมไดมีการพูดถึงสิทธิเสรีภาพในการ นําเสนอขาวสาร ทําใหบางครั้งหนังสือพิมพก็นําเสนอขาวที่เกินขอบเขตจนถึงขั้นหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ จน รัฐบาลตองออกกฎหมายการพิมพเปนครั้งแรก คือ พรบ.วาดวยสมุด เอกสาร และหนังสือพิมพ พ.ศ. 2465 แต ก็ ไม ได เ ข มงวดมากนั ก เพราะหนั งสื อพิ มพ ก็ยังนําเสนอขาวตามปกติ แตมุงเนน ใหเจาของกิจ การมีความ รับผิดชอบมากขึ้น นอกจากนี้ ยังสามารถสั่งปดโรงพิมพได แตการสั่งปดโรงพิมพนั้น ไมไดมุงหวังเพื่อลิดรอน สิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพในการนําเสนอขางสาร เปนเพียงการลดความปนปวนของการเสนอขาวของ หนังสือพิมพ อีกทั้งไดมีการอนุญาตใหมีการออกหนังสือพิมพและวารสารตามหัวเมืองตาง ๆ มากขึ้น


31

- รัชกาลที่ 7 ชวงนี้ เปนหัวเลี้ยวหัวตอของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เศรษฐกิจตกต่ํา หนังสือพิมพมี การวิ พากษ วิ จ ารณ การทํ า งานของรั ฐ บาลอยางมากขึ้ น รวมถึง เปรีย บเทีย บระบอบการปกครองระหว า ง สมบูรณาญาสิทธิราชยกับประชาธิปไตยตามแบบอยางของประเทศตะวันตก จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลง ระบอบการปกครองในที่สุด ซึ่งสวนหนึ่งมาจากการใชสิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพนั่นเอง แตกลายเปนวา หลังเปลี่ยนการปกครองเปนระบอบประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ.2475 รัฐบาลกลับควบคุมสิทธิเสรีภาพของ นักหนังสือพิมพมากขึ้น ถึงขนาดที่วาแทบจะไมสามารถลงเอยกันไดดวยดี จึงทําใหเกิดปญหากระทบกระทั่ง ระหวางรัฐบาลกับเจาของกิจการหนังสือพิมพ - รัชกาลที่ 8 การเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญของกิจการหนังสือพิมพไดเกิดขึ้น เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงคราม ทํา การรัฐประหารยึดอํานาจจากพระยามโนปกรณนิติธาดา และเปนนายกรัฐมนตรีสมัยแรก จึงเรียกไดวาเปนการ เขาสูยุคมืดของหนังสือพิมพอยางแทจริง โดยหนังสือพิมพทุกฉบับจะตองมีการตรวจขาวกอนการตีพิมพ ซึ่ง เนื้อหาขาวที่ขัดแยงกับรัฐบาลจะไมถูกนําเสนอสูสาธารณะ ถึงขั้นหนักสุด คือสั่งปดสํานักพิมพ เพื่อลิดรอน เสรีภาพในการทํางาน สวนนักหนังสือพิมพที่เขียนขาวขัดแยงก็ถูกจับดวยขอหาตาง ๆ ซึ่งกิจการหนังสือพิมพ จําตองหันเหแนวทางการเขียนขาวเพื่อความอยูรอด จึงทําใหเกิดการนําเสนอขาวสาระเบา หรือ Soft News นอกจากนี้ การเซ็นเซอรขาวไดมีการตรวจสอบอยางเขมขน ถึงขนาดมีการเวนคอลัมนไววางในคอลัมนที่ถูก เซ็นเซอร หรือมีการนําขาวไรสาระมาใสแทนที่ ซึ่งในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 หนังสือพิมพก็ยิ่งไดรับผลกระทบ อยางหนัก เมื่อถูกรัฐบาลใชเปนเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อ หากไมปฏิบัติตามก็จะถูกลงโทษ - รัชกาลที่ 9 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดกลับมาปกครองประเทศอีกครั้ง แตเสรีภาพของหนังสือพิมพก็ยัง ไมดีขึ้น กลับ แยลง ถึงขนาดที่มีการลอบสังหารและจับ กุมนักหนังสือพิมพที่นําเสนอขาวขัดแยงกับ รัฐบาล แมวาในชวง พ.ศ. 2498 – 2500 เสรีภาพของหนังสือพิมพดูเหมือนจะกลับมา แตแลว การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ พ.ศ.2500 ซึ่งเต็มไปดวยความอื้อฉาว จะเปนฉนวนใหเกิดความขัดแยงระหวางหนังสือพิมพกับ รัฐบาลอีกครั้ง เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ยึดอํานาจสําเร็จ ก็ทําการออกกฎหมายควบคุมหนังสือพิมพอยาง เขมงวด คือประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 17 หรือ ปว.17 ซึ่งสามารถเซ็นเซอรหนังสือพิมพรวมถึงปดหนังสือพิมพ ที่เสนอขาวขัดแยงรัฐบาล ทําใหหนังสือพิมพตองเลี่ยงการนําเสนอขาวการเมืองและนําเสนอขาวอื่นๆ รวมถึง เรื่องราวไรสาระ เพื่อความอยูรอดของธุรกิจ เรียกไดวาสถานะของหนังสือพิมพในยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนยุคมืดของหนังสือพิมพอยางแทจริง จนกระทั่งการขึ้นดํารงตําแหนงของจอมพลถนอม กิตติขจร และเหตุการณ 14 ตุลา 2516 ถือเปน 2 เหตุการณที่ทําใหสิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพเบงบานอีกครั้งหลังการครอบงําอยางเขมงวดของรัฐบาล จน บางครั้งก็มากเกินไป จนไดคํานิยามวา “สําลักประชาธิปไตย” ถึงขั้นมีการออกคําเตือนเกี่ยวกับการเสนอ ขาวสารของหนังสือพิมพที่ใชสิทธิเสรีภาพเกินขอบเขต มุงนําเสนอขาวสารที่ไมไดตรวจสอบขอมูลกอนตีพิมพ


32

แตสิทธิเสรีภาพก็อยูไดไมนาน เมื่อความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับขั้วการเมือง และระหวางสื่อมวลชน กันเองที่มีทั้ง “หัวกาวหนา” และ “ขวาตกขอบ” ก็เปนฉนวนทําใหเกิดการจํากัดสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชน มากยิ่งขึ้น ทําใหหนังสือพิมพมีการนําเสนอขาวสารที่นาเบื่อ มีการนําเสนอเรื่องดอยสาระมากขึ้น นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดออกหนังสือพิมพรายวันเพื่อประชาสัมพันธรัฐบาลโดยเฉพาะ ทําใหมองเห็นถึงความสัมพันธของ รั ฐ บาลกั บ สื่ อ มวลชนที่ แ ทบจะเป น ปฏิ ป ก ษ ต อ กั น และด ว ยความสนใจของรั ฐ บาลที่ มี ต อ การเขี ย น วิพากษวิจารณการเมือง ทําใหเกิดหนังสือพิมพธุรกิจเปนฉบับแรก คือ หนังสือพิมพเข็มทิศธุรกิจ ซึ่งภายหลัง เปลี่ยนชื่อเปน “ประชาชาติธุรกิจ” เฉกเชนปจจุบัน จวบจนกระทั่งสมัยรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ซึ่งเศรษฐกิจมีการเติบโต หนังสือพิมพจึง ปรับตัวเองจากสื่อเพื่อสาธารณชนกลายเปนสื่อธุรกิจมากขึ้น แตยังไมทิ้งหนาที่เดิมของตน คือ นําเสนอขาวสาร ที่เปนประโยชน รวมถึงวิพากษวิจารณการทํางานของรัฐบาล แตดวยการที่รัฐบาลมีการบริหารประเทศไม โปรงใส ทําใหสื่อมวลชนกลับมาทําหนาที่ของตนอีกครั้ง จนความสัมพันธระหวางรัฐบาลและสื่อมวลชนเริ่มจืด จาง จนกระทั่ ง เกิ ดการรั ฐ ประหาร หนั ง สื อ พิม พมั กจะเปน สิ่ง แรกที่ ถูก ควบคุ มก อนเสมอ และการสั่ งป ด หนังสือพิมพถือเปนเรื่องที่สามารถทําได ซึ่งหลัง การรั ฐ ประหาร นายอานั น ท ปน ยารชุน ไดถูกแตงตั้งใหเปน นายกรัฐ มนตรี ก็ดูเหมือนวา ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งรั ฐ บาลกั บ สื่ อ มวลชนจะไปได ดี แต ด ว ยทั ศ นคติ ที่ มี ต อ หนั ง สื อ พิ ม พ ไ ทย จึ ง ทํ า ให ความสัมพันธคอยๆจืดจางลง จวบจนสมัยรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร ความสัมพันธก็ยิ่งเขม็งเกลียวมาก ขึ้น ถึงขนาดมีการขูฆานักหนังสือพิมพ รวมถึงการใหผลประโยชนหรือการซื้อตัว และถึงแมจะมีการเรียกรองให ปรับทาทีตอหนังสือพิมพในการเสนอขาวสาร แตก็ไมเปนผล จนกระทั่งเหตุการณ “พฤษภาทมิฬ” ไดเกิดขึ้น ขณะที่สื่ออื่น ๆ มีความสับสนในการนําเสนอขาว แตหนังสือพิมพกลับนําเสนอขอเท็จจริงอยางตอเนื่อง เมื่อเหตุการณสิ้นสุดลง นายอานันท ปนยารชุน จึงไดเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง สิทธิเสรีภาพของ สื่อมวลชนก็กลับมาสูปกติอีกครั้ง โดยเปนไปอยางมีสารประโยชนตอสวนรวม มีความรับผิดชอบตอผูอานและ สังคม แตเมื่อเขาสูรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย ความสัมพันธที่หวานชื่นของสื่อมวลชนกับรัฐบาลก็เริ่มถดถอย ลง แมวาในแงของธุรกิจจะมีการพัฒนาขึ้น แตอุดมคติในการเสนอขาวกลับลดลง ตลอดจนการใชสิทธิเสรีภาพ ที่มากเกินไปของสื่อมวลชน ทําใหประชาชนเริ่มตั้งคําถามเกี่ยวกับจริยธรรมของสื่อมวลชนในการนําเสนอ ขาวสาร ขนาดที่ในการอภิปรานในรัฐสภาไดมีการอภิปรายถึงการทํางานของสื่อมวลชนถึง 5 ชั่วโมงเต็ม ซึ่งจะเห็นไดวา สิทธิเสรีภาพที่หนังสือพิมพใชนั้น เปนปจจัยหลักที่ทําใหรัฐบาลควบคุมการทํางาน นอกจากนี้ สื่อโทรทัศนก็เริ่มที่จะมีความสําคัญมากขึ้น โดยสถานีโทรทัศน “ไอทีวี ทีวีเสรี” ไดถือกําเนิดขึ้น ซึ่ง เปนทางเลือกในการรับขาวสารของประชาชน นอกจากสถานีของหนวยงานรัฐหรือราชการ มีการทําหนาที่ใน การนํ า เสนอข า วสารอย า งเสรี จนได รั บ การยอมรั บ จากประชาชนมากขึ้ น เพราะสามารถเป น ที่ พึ่ ง ของ ประชาชนได ถือไดวาการเกิดขึ้นของสถานีโทรทัศน “ไอทีวี ทีวีเสรี” เปนแรงผลักดันใหหนังสือพิมพตอง ปรับตัวเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของตนเองใหมากขึ้น โดยที่ไมผูกพันกับผลประโยชนทางธุรกิจเฉกเชนอดีต


33

แมวาในสมัยรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา จะไมมีการกลาวถึงการลิดรอนเสรีภาพของสื่อมวลชน แต กลับสั่งถอดรายการทางชอง 11 เพราะไมเปดโอกาสใหตนไดพูดเรื่องราวที่เตรียมเอาไว ซึ่งดวยภาพลักษณของ รัฐบาลหรือสมาชิกพรรคที่ไมคอยจะโปรงใส จึงทําใหเกิดการวิพากษวิจารณของสื่อมวลชนมากขึ้น จนรัฐบาล ตองจํากัดการทํางานของสื่อมวลชน รวมถึงการกลาวโทษสื่อมวลชนที่เสนอขาวในแงลบ ซึ่ง หนังสือพิมพถูก ฟองรองดวยคดีหมิ่นประมาทเปนจํานวนมาก แตหนังสือพิมพก็ถูกสังคมเพงเล็งเกี่ยวกับจริยธรรมและความ รับผิดชอบในการนําเสนอขาวสารเชนกัน ทําใหวงการหนังสือพิมพไทยตองหันมาฟงกันเองมากขึ้น จนการมาของนายทักษิณ ชินวัตร หัวหนาพรรคไทยรักไทยไดเขามาเปนรัฐบาล ซึ่งมีความแยบยลใน การเขาควบคุมและแทรกแซงสื่อ จากการเขาควบคุมกิจการสถานีโทรทัศน “ไอทีวี ทีวีเสรี” ในนามของบริษัท ชินคอรปอเรชั่นฯ ถึงแมจะเปนการครอบครองกิจการกอนเปนนายกรัฐมนตรีก็ตาม แตถือเปนการเปลี่ยน เจตนารมณของสถานี เพราะมี การนํา เสนอขาวตามใบสั่งของเจาของกิจการ ซึ่งสรางความไมพอใจใหกับ พนั กงานฝ า ยข า วเป น จํ า นวนมากถึ งขั้ น ยื่ น ซองขาวลาออก แมวา พ.ต.ท.ทักษิ ณจะยื น ยัน วาตนไม มีสว น เกี่ยวของ แตก็ถือไดวาเปนจุดเริ่มตนของการแทรกแซงสื่อเมื่อตนไดเปนรัฐบาล ถึงแมจะมีการเปลี่ยนรัฐบาลมาเรื่อยๆ แตสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนก็ยังไมไดรับความไววางใจจาก รัฐบาลเทาที่ควร จึงไดมีการรวมตัวกันของสถาบันวิชาการทางดานหนังสือพิมพกับวงการวิชาชีพหนังสือพิมพ เพื่อพัฒนาคุณภาพของหนังสือพิมพและเรียกรองสิทธิเสรีภาพในการนําเสนอขาวสารของหนังสือพิมพอยางถูก ทิศทาง ถือเปนเหตุการณสําคัญในการตอสูเพื่อสิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพอยางแทจริง ซึ่งสิ่งที่สะทอนถึง ความยากลําบากในการตอสูเพื่อเรียกรองในครั้งนี้ คือ ทัศนคติของรัฐบาลทุกสมัยที่มีความคิดวาจะตองควบคุม การนําเสนอขาวใหอยูในกรอบที่ตองการ โดยเฉพาะดานการเมือง และถาหากจะมีการรางกฎหมายเกี่ยวกับ หนังสือพิมพขึ้นมาใหม จําเปนที่จะตองมีการปรึกษากับตัวแทนของหนังสือพิมพตามกฎหมาย ซึ่งการตอสูใน ครั้งนี้ไดรับความสนใจจากทั้งคนในประเทศ รวมถึงองคกรดานสื่อสารมวลชนของตางประเทศ เรียกไดวาเปน แรงสนับสนุนที่สําคัญในการยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนใหหมดไป พัฒนาการของกฎหมายที่เกี่ยวของ ในสวนของกฎหมาย รวมถึงคําสั่งที่เกี่ยวของกับสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนนั้นมีทั้งในสวนที่ควบคุม ลิดรอน รวมถึงการใหอิสระแกสื่อมวลชน ซึ่งสามารถแบงได ดังนี้ (สงวน สุทธิเลิศอรุณ,2542) 1. พรบ.วาดวยสมุด เอกสาร และหนังสือพิมพ พ.ศ.2465 ถือเปนกฎหมายฉบับแรกที่เกี่ยวของกับ หนังสือพิ มพ รวมถึ งการพิ มพตางๆ ซึ่ งมีการออกมาเพื่อหามปรามและควบคุมการใชสิทธิเสรีภาพของสื่อ สิ่งพิมพในชวงรัชกาลที่ 6 โดยไมไดมุงที่จะลิดรอนสิทธิเสรีภาพมากนัก 2. พรบ.การพิมพ พ.ศ.2485 ถือเปนกฎหมายฉบับแรกที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพโดยเฉพาะ โดยไดมีการใหคํา จํากัดความ ขอบังคับ หรือถึงบทบัญญัติเกี่ยวกับการพิมพ รวมถึงสื่อสิ่งพิมพไวอยางครอบคลุม


34

3. ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 17 หรือ ปว.17 ถือไดวาเปนกฎหมายควบคุมสิทธิเสรีภาพของสื่อ สิ่ ง พิ ม พ อ ย า งครอบจั ก รวาล ออกในสมั ย รั ฐ บาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต ซึ่ ง กฎหมายฉบั บ นี้ ทํ า ให เ หล า นักหนังสือพิมพ รวมถึงกิจการสิ่งพิมพตางตกอยูในความหวาดวิตกในการนําเสนอขาวสาร โดยใจความสําคัญ คือการใหอํานาจแกเจาพนักงานการพิมพในการเซ็นเซอร รวมถึงตัดเนื้อหาขาวออกไป 4. คําสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 42 ซึ่งวากันวามีตนฉบับมาจาก ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 17 หรือ ปว.17 แตเขมขนกวา ออกโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู ซึ่งใจความของคําสั่งฉบับนี้ คือการที่ หนังสือพิมพจะตองทําตามคําสั่งของรัฐบาลอยางเครงครัดสงผลใหในระหวาการบังคับใชคําสั่งฉบับนี้ นอกจาก จะไมมีหนังสือพิมพฉบับใหม ๆ เกิดขึ้น ตัวของนักขาวเองก็หวาดกลัวในการนําเสนอขาวสารที่เปนปฏิปกษตอ รัฐบาล จึงทําใหเกิดการเปลี่ยนแนวทางในการเขียนขาว 5. พรบ.จดแจงการพิมพ พ.ศ.2550 ถือเปนบทกฎหมายที่ไดรับการแกไขจาก พรบ.การพิมพ พ.ศ. 2485 โดยมีการเพิ่มในสวนของเนื้อหากฎหมายมากขึ้น เพื่อใหกฎหมายมีความศักดิ์สิทธิ์กวาฉบับกอน ซึ่งใน สวนของเนื้อหาที่เพิ่มขึ้นมา คือ “การสั่งปดกิจการหนังสือพิมพ รวมถึงสื่อสิ่งพิมพอื่น ๆ นั้น จะกระทําไมได” เพราะถือเปนการลิดรอนสิทธิเสรีภาพ จะเห็นไดวา ในสวนของกฎหมายนั้น ไดมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง ตั้งแตฉบับที่ 1 คือ พรบ.วาดวย สมุด เอกสาร และการพิมพ พ.ศ.2465 ที่ออกมาควบคุมการเขียนขาวของหนังสือพิมพในสมัยนั้น สูกฎหมาย ฉบับที่ 2 คือ พรบ.การพิมพ พ.ศ.2485 ที่มีความครอบคลุมเกี่ยวกับการพิมพและหนังสือพิมพ แตเมื่อเขาสูยุค พ.ศ.2500 ก็ไดมีการออกประกาศคําสั่งคณะปฏิวัติที่ 17 หรือ ปว.17 ที่ออกโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต หรือ คําสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 42 หรือ ปร.42 ของ พล.ร.อ.สงัด ชะลออยู ที่มีความเผด็จการ มากขึ้นตามลําดับ ถึงแมวาจะมีการยกเลิกในเวลาตอมา แตก็ทําใหนักหนังสือพิมพไมสามารถใชเสรีภาพได อยางสมบูรณ แตในที่สุด ก็ไดมีการออกกฎหมายขึ้นมาอีกฉบับ คือ พรบ.จดแจงการพิมพ พ.ศ.2550 ซึ่งมีการ เปลี่ยนแปลงเนื้อหาและเพิ่มเติมจาก พรบ.การพิมพ พ.ศ.2485 โดยสิ่งที่สําคัญ คือ ไมสามารถสั่งปดกิจการ หนังสือพิมพได เพราะถือเปนการลิดรอนเสรีภาพของหนังสือพิมพ


35

สภาการหนังสือพิมพแหงชาติ

สภาการหนังสือพิมพแหงชาติ ถือกําเนิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2540 โดยเกิดจากการรวมตัวกัน ของเจาของกิจการหนังสือพิมพและบรรณาธิการหนังสือพิมพฉบับภาษาไทย-อังกฤษ 25 ฉบับ จาก 32 ฉบับ รวมถึงองคกรที่เกี่ยวของกับหนังสือพิมพอีก 10 องคกร โดยไดบัญญัติขอบังคับไว ดังนี้ (พีรพันธ พาลุสุข และ จันทรลักษณ โชติรัตนดิลก,2545) 1. ขอบังคับวาดวยจริยธรรมแหงวิชาชีพหนังสือพิมพ พ.ศ.2541 2. ขอบังคับสภาการหนังสือพิมพแหงชาติ วาดวยวิธีพิจารณาเรื่องราวรองทุกข พ.ศ.2541 ศ.นพ.ประเวศ วะสี กล า วว า โดยหลักสําคัญ ของสภาการหนังสือพิมพแหงชาตินั้น เพื่อใหว งการ หนังสือพิมพไดควบคุมดูแลกันเอง ขณะเดียวกันเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกไดเขารวมเปนคณะกรรมการซึ่ง ประกอบดวย 4 สวน คือ เจาของหรือผูบริหารหรือผูประกอบการ 5 คน, บรรณาธิการหรือตัวแทนจากกอง บรรณาธิการ 5 คน, ผูปฏิบัติงานหนังสือพิมพซึ่งเลือกโดยสมาพันธนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย 4 คน, ผูทรงคุณวุ ฒิ ในสาขาอาชีพต า ง ๆ อี ก 7 คน ในจํานวนนี้เปน ผูทรงคุณวุฒิ ดานหนังสือพิมพซึ่งไมสังกัด หนังสือพิมพใด 2 คน อีกดานที่สําคัญ คือ ความรับผิดชอบทางจริยธรรม เมื่อคณะกรรมการมีคําวินิจฉัยวาสมาชิกหรือผู ประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพในสังกัดสมาชิกละเมิดหรือประพฤติผิดจริยธรรม ก็จะแจงใหหนังสือพิมพฉบับที่ ถูกรองเรียนลงตีพิมพคําวินิจฉัยภาย ใน 7 วัน และอาจแจงใหหนังสือพิมพฉบับนั้นตีพิมพขอความคําขอโทษ ผูเ สี ย หาย ส ว นกรณี มีผู ถูกร องว า ประพฤติ ผิดจริย ธรรมสภาการหนังสือพิมพฯ จะแจงไปยังตน สังกัดเพื่อ ดําเนินการลงโทษแลวแจงผลใหสภาการหนังสือพิมพฯ ทราบโดยเร็ว ในการนี้สภาอาจเผยแพรคําวินิจฉัยตอ สาธารณะได คณะกรรมการยกรางธรรมนูญสภาการหนังสือพิมพแหงชาติจะยกรางขอบังคับตางๆ เพื่อใหมีการ เลือกกรรมการสภาการหนังสือพิมพแหงชาติขึ้นเปนคณะแรกภายใน ระยะเวลา 120 วัน หลังจากนั้นสภาการ หนังสือพิมพฯ จะดําเนินการเพื่อใหมีการควบคุมกันเองในหมูผูประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพตอไป


36

สรุป แมวาในอดีตจนถึงปจจุบัน สิทธิเสรีภาพของสื่อสิ่งพิมพจะไดรับการควบคุมอยูเรื่อยๆ ถึงขั้นมีการสั่ง ปดโรงพิมพและขูฆานักหนังสือพิมพ แตนักหนังสือพิมพก็ยังคงใชชองทางในการนําเสนอขาวสารไดอยางเปน ปกติ และเมื่อไดรับเสรีภาพกลับมา ก็ใชอยางเต็มที่ จนบางครั้งก็เกินความจําเปนซึ่งเมื่อเกินความจําเปน เลย ทําใหถูกรัฐบาลควบคุม เปนวัฏจักรอยูเรื่อยๆ ซึ่งสิ่งนี้ทําใหเกิดการวิพากษวิจารณการทํางานของสื่อสิ่งพิมพ ทําใหเหลานักหนังสือพิมพและเจาของกิจการตองหันกลับมาปรึกษากันเกี่ยวกับจรรยาบรรณในการนําเสนอ ขาวสารที่ถูกตอง และเพื่อควบคุมการทํางาน จึงไดมีการจัดตั้ง “สภาการพิมพแหงชาติ” ขึ้น ทําใหทัศนคติ รวมถึงการทํางานของนักหนังสือพิมพและเจาของกิจการสื่อสิ่งพิมพเปนไปในทิศทางที่ดีขึ้น บรรณานุกรม พีรพันธุ พาลุสุข และ จันทรลักษณ โชติรัตนดิลก. งานสื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวิญูชน, 2545. 312 หนา. มาลี บุญศิริพันธ. เสรีภาพหนังสือพิมพไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ม.ธรรมศาสตร, 2548. 305 หนา. สงวน สุทธิเลิศอรุณ. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายสื่อมวลชน. กรุงเทพฯ: หจก.ทิพยวิสุทธิ์, 2542. 355 หนา.



38

ปัจจัยการสื่อการการตลาดของธุรกิจเกษตรบนสังคมออนไลน์ จักรพันธ์ คาปลิว

บทนา ปัจ จุ บั นเกษตรกรรมของไทยมี การผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพมากขึ้ น แต่ ช่ อ งทางการจั ด จาหน่ายยังไม่กว้างขวางพอการใช้สังคมออนไลน์ จึงเข้ามามีบทบาทในด้านของการขายผลผลิตทาง การเกษตรมากขึ้นทั้งนี้เกษตรกรยังมีความรู้ด้าน การสื่อสารการตลาดบนสังคมออนไลน์ไม่เพียงพอ ดังนั้นบทความเรื่องนี้จึงนาเสนอปัจจัยการสื่อสาร การตลาดบนสั ง คมออนไลน์ ซึ่ ง จะท าให้ เ กษตร เกษตรน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นธุ ร กิ จ ของตั ว เอง ประกอบด้วย 6 ปัจจัย ได้ แก่ (1) ปัจจัยด้านผู้ส่ง สาร สารที่ ใ ช้ จ ะต้ อ งมี ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ และน่ า ไว้ ว างใจ (2) ปั จ จั ย ด้ า นเนื้ อ หาสาร คื อ ข้ อ มู ล ข่าวสารต้องสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า (3) ปัจจัยด้านช่องทางการสื่อสารหรือตัวกลางใน การนาเนื้อหาสารส่งไปยังลูกค้า (4) ปัจจัยด้านผู้รับ สารโดยพิ จ ารณาปั จ จั ย บุ ค คล ปั จ จั ย ด้ า นสั ง คม วั ฒ นธรรม และปั จ จั ย ด้ า นจิ ต วิ ท ยาของผู้ รั บ สารประกอบในการสื่อสาร (5) ปัจจัยด้านผลตอบ กลับ คือ การวัดประสิทธิผลทางการสื่อสาร และ (6) ปัจจัยด้านสิ่งรบกวน คือ สิ่งที่ส่งผลทางลบต่อ การแปลความหมายข้อมูล และทาให้การสื่อสาร การตลาดล้มเหลว ทาไมต้องใช้สังคมออนไลน์ สื่อสังคมออนไลน์ (social media) จะเป็นอีกหนึ่ง ช่องทางทางการตลาดและประชาสัมพันธ์สาหรับ ธุรกิจของไทย แต่จะยังไม่มาแทนที่สื่อการตลาด แบบดั้งเดิมอย่างโทรทัศน์และวิทยุใน

ปัจจุบัน เพราะการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในไทย ณ ปัจ จุบั นยั ง ค่ อ นข้ างจากั ดเมื่อ เที ยบกั บสื่ อดั้ ง เดิ ม เช่น โทรทัศน์และวิทยุ ข้อมูลจากสานักงานสถิติ แห่ง ชาติปี 2552 พบว่า สื่อสัง คมออนไลน์อย่า ง Facebook มีสัดส่วนผู้ใช้ต่อประชากรประมาณ 15%ในขณะที่ครัวเรือนไทยสัดส่วนเกือบ 92% มี โทรทัศน์ ส่งผลให้สื่อโทรทัศน์ยังมีพื้นที่ครอบคลุม มากกว่าแม้จะมีจานวนผู้ใช้น้อยกว่าสื่อดั้งเดิม แต่ เครือข่ายสัง คมออนไลน์มีข้อได้เปรียบมากกว่ าสื่อ โทรทั ศ น์ วิ ท ยุ และหนั ง สื อ พิ ม พ์ ใ นบางแง่ มุ ม ที่สาคัญ โดยเฉพาะการสื่อสารเชิงรุกถึงผู้บริโภคทั้ง ในเรื่องความเร็วและความสามารถในการเข้าถึงได้ ในทุกช่วงเวลาและสถานที่รวมไปถึง การประหยัด ค่าใช้จ่ายสาหรับธุรกิจความรวดเร็วในการเข้าถึง ผู้บริโภคเป็นข้อแตกต่างสาคัญที่ทาให้สื่อเครือข่าย สังคมออนไลน์มีความได้เปรียบ สังคมออนไลน์จะ ยังไม่สามารถเข้ามาแทนที่สื่อดั้งเดิมอย่างโทรทัศน์ และวิทยุ ไ ด้ แต่ ในอนาคตมีแนวโน้มจะมีอิทธิพ ล มากขึ้นเรื่อยๆ คนรุ่นใหม่มีพฤติกรรมการใช้เวลา กับจอโทรทัศน์ ลดลง ความนั ย ประการหนึ่ง ของ พฤติกรรมนี้ คือ ผู้บริโภคยังดูรายการโทรทัศน์ อยู่ แต่ เ ลื อ กที่ จ ะไม่ ซื้ อ โทรทั ศ น์ และจ่ า ยค่ า บริ ก าร เคเบิ ล อี ก ต่ อ ไปอย่ า งไรก็ ต าม ทั้ ง หมดทั้ ง ปวง ย่อมขึ้นอยู่กับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตด้วย สาหรับ ประเทศไทยอาจต้ อ งใช้ เ วลาอี ก พอสมควร โดยเฉพาะในไทยที่หากเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน แล้วจะพบว่าผู้ใช้สื่อเครือข่ายสัง คมออนไลน์ของ ไทยมี จ านวนเติ บ โตสู ง ที่ สุ ด ในอาเซี ย น ทั้ ง นี้ ปัจจุบันผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่าง Facebook ใน ไทยยัง มีสัดส่วนเพียง 15% ของประชากรเท่านั้น


39

ยั ง ค่ อ นข้ า งต่ าเมื่ อ เที ย บกั บ ประเทศอื่ น ๆ ใน อาเซียน เช่น อินโดนีเซีย (15%) ฟิลิปปินส์ (24%) และมาเลเซีย (34%) แต่มีอัตราการเติบโตในช่วง สองปีที่ ผ่ า นมาสู งที่ สุ ดในอาเซี ย น โดยเติ บโตถึ ง เกื อ บ 6,000% ในช่ ว งสองปี ก ว่ า จากประมาณ 168,000 คนในปี 2008 เป็ น กว่ า 10 ล้ า นคนใน ปั จ จุ บั น ส่ ว นหนึ่ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า ยั ง มี โ อกาส เติบโตได้อีกมาก เพราะโครงสร้างพื้นฐานยังคงมี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องอีกทั้งการเติบโตของวัยรุ่น ที่จะมาทดแทนประชากรรุ่น ต่อๆ ไป นอกจากนี้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ ส ร้ า งช่ อ งทางการสื่ อ สารกั บ ผู้บริโภคเฉพาะกลุ่มได้มากกว่า และช่วยให้ธุรกิจ ตอบสนองบริการลูกค้าได้ดียิ่งขึ้นเพราะสามารถ สื่อสารข้อมูลถึงลูกค้าได้เฉพาะกลุ่มมากกว่า พร้อม กับทราบความต้องการของผู้บริโภคแต่ละกลุ่มใน ขณะเดียวกันซึ่งแตกต่างจากสื่อโฆษณาแบบดั้งเดิม ที่ มี ข้ อ จ ากั ด เรื่ อ งค่ า ใช้ จ่ า ยต่ อ เวลาในการท า การตลาด การมุ่ง เน้น ไปในทุ กสิ นค้า และบริ การ ของธุ ร กิ จ จึ ง เป็ น ไปได้ ย าก นอกจากนี้ เมื่ อ เปรียบเทียบกับสื่อดั้งเดิมแล้ว สื่อสังคมออนไลน์มี พื้นที่มากกว่าในการสื่อสารกับผู้บริโภคโดยเฉพาะ สาหรับสินค้าภาคเกษตรที่เกษตรกรจะต้องมีการ ให้ข้ องมู ลที่ ละเอีย ด แหล่ งผลิ ต รวมถึง การตอบ คาถามและคาวิจารณ์ต่างๆ จากผู้บริโภค การใช้เครือ ข่ายสังคมออนไลน์ของธุรกิจเกษตร ปี 2555 ที่ผ่านมามีความเคลื่อนไหวของภาค ธุรกิจสินค้าเกษตรที่เริ่มขยับขยายช่องทางการขาย มาสู่โลกสังคมออนไลน์อย่าง facebook มากขึ้น สื่อสังคมออนไลน์อย่าง Facebook ยังกลายเป็น โอกาสเดียวที่แทบทุกธุรกิจสามารถใช้เป็นช่องทาง ได้ เนื่ องจากการท าเว็ บไซต์ ข องตนเองยั ง อาจมี ค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ต้องมีการพัฒนาออกแบบ และ บ ารุ ง รั ก ษา รวมไปถึ ง ค่ า ท าการตลาดโฆษณา

เพื่อให้ผู้บริโภครู้จักและเข้าถึง ซึ่ง เป็นจุดสาคัญ ที่ แตกต่ า งจากสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ย อดฮิ ต อย่ า ง Facebook เพราะเป็ น รู ป แบบที่ รู้ จั ก กั น อย่ า ง กว้า งขวางอยู่ แล้ ว นั่ นหมายความว่า สิน ค้า และ บริ ก าร ข อ ง ธุ ร กิ จ เ ก ษ ตร ที่ มี หน้ า เ พ จ ข อ ง Facebook อาจจะมีโอกาสที่จะเข้าถึง ได้ง่ายกว่า เพราะมีผู้คนเข้าใช้รูปแบบดังกล่าวเป็นประจาอยู่ ปัจจัยการสื่อสารการตลาดบนโลกออนไลน์ นอกจากการทาการตลาดบนโลกออนไลน์แล้ว ปัจจัยการสื่อสารก็มีส่วนสาคัญที่จะให้เกษตรกรที่ ทาธุรกิจบนโลกออนไลน์ได้สื่อสารไปถึงตัวผู้บริโภค โดยตรงทั้ง นี้จะทาให้ผู้บริโภคเกิดความน่าเชื่อถือ ในตั วเกษตรกรแล้ วเกษตรกรยัง สามารถโต้ ตอบ และยั ง ทราบถึ ง ผลตอบรั บ ได้ อี ก ด้ ว ย โดย แบบจาลองกระบวนการสื่อสารการตลาดแบบมี ปฏิ สั ม พั น ธ์ โดยมี อ งค์ ป ระกอบของการสื่ อ สาร ได้แก่ ผู้ส่งสาร (Source) สาร (Message) ช่อง ทางการสื่อสาร (Channel) ผู้รับสาร (Receiver) ผลตอบกลับ (Feedback) และสิ่งรบกวนในการ สื่ อ สาร (Noise) ซึ่ ง มี ค วามแตกต่ า งจาก กระบวนการสื่อสารแบบดั้ง เดิม และสามารถน า กระบวนการสื่อสารการตลาดนี้มาใช้ในการกาหนด แนวทางการสื่อสารการตลาดให้กับธุรกิจออนไลน์ ได้ดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร (Source) ในการสื่อสารการตลาด ผู้ทาหน้าที่ส่งสาร หรือเป็นผู้เริ่มต้นในการสื่อสาร นั่ น คื อ ตั ว เกษตรกรที่ จ ะท าการส่ ง สารให้ ข้ อ มู ล เกี่ยวกับคุณประโยชน์ จุดดีของสินค้า หรือบริการ โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างความเข้าใจ จูง ใจให้ กับ ลูกค้าโดยผู้ส่ง สารหรือเกษตรกรจะต้ องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้


40

1.1 ทักษะในการสื่อสาร ที่ดีมีความสามารถ ในการเขียน ต้อ งรู้คาศัพท์ การใช้คาที่เข้าใจง่า ย เพราะหารใช้คาบนสังคมออนไลน์อาจจะทาให้เกิด การเข้าใจผิดได้ 1.2 เจตคติของผู้ส่งสารต่อผู้รับสาร หากผู้ ส่งสารไม่มีความจริงใจหรือตั้งใจที่จะทาให้ผู้รับสาร ได้ประโยชน์จากสารแล้ว จะทาให้ มักจะปรากฏให้ ผู้รั บสารทราบไม่ ทางใดก็ท างหนึ่ง จนเกิ ด ความ สงสัยและไม่เชื่อมั่นในตัวผู้ส่งสาร 1.3 ความรู้ในการใช้สื่อบนสังคมออนไลน์ อย่างเช่น facebook และการทาการตลาดเป็น อย่ า งดี จะท าให้ ก ารด าเนิ น กิ จ การบนสั ง คม ออนไลน์นั้นเป็นไปได้อย่างราบรื่น 1.4 อื่ น ๆ เกษตรกรที่ เ ป็ น แอดมิ น จะมี บุคลิกที่ดี ใช้คาสุภาพในการตอบหรือให้ข้อมุลแก่ ลูกค้าที่สอบถาม 2. สาร (Message) ก็คือ ทุกสิ่งที่ ผู้ผลิตได้ทา การสื่ อสารออกไป ในการสื่อ สารการตลาด สาร ได้แก่ ข่าวสารตราสิ นค้า เกษตร หมายถึง ข้อมู ล ข่าวสารที่ เกี่ยวข้อ งกับตราสิ นค้าทั้งหมดที่บริษั ท หรื อ เจ้ า ของตราสิ น ค้ า ส่ ง ไปยั ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า เช่ น เนื้ อ หา เสี ย ง ค าพู ด การกระท า ภาพประกอบ สัญลักษณ์ ดังนั้นในการสื่อสารนักการตลาดควรจะ ให้ความสาคัญกับสาร โดยการกาหนดโครงสร้าง ของสาร ที่ จะท าการสื่อ สารไปยั ง กลุ่ มลู กค้ าเช่ น การเลื อกสรรข้อความ ภาพประกอบ เสีย ง ลีล า และเทคนิ ค การน าเสนอข่ า วสารตราสิ น ค้ า นั้ น จะต้องมีความน่าสนใจและดึงดูดความสนใจลูกค้า 3. ช่องทางการสื่อสาร (Channel) คือ สื่อกลาง ซึ่ง ทาหน้ าที่เป็น ช่องทางในการส่งข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับสินค้า บริการ หรืออื่นๆ ไปยังกลุ่มลูกค้า

เป้าหมาย ช่องทางการสื่อสารบนโลกออนไลน์ เช่น Facebook Twiter เป็น ต้ น ทั้ ง นี้ก ารสื่ อ สาร บนโลกออนไลน์ต้องมีความสามารถในการเข้าถึง กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถสื่อสาร เฉพาะเจาะจงบุคคลได้ สามารถสร้างการโต้ตอบ หรื อปฏิ สัม พัน ธ์ ไ ด้ ทัน ที และและผู้ รับ สารหรื อ อ ผู้บริโภคสามารถเป็นตัวเองเป็นผู้ส่งสารได้ในเวลา 4. ผู้ รั บ สาร (Receiver) หรื อ กลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมายได้แก่ ลูกค้า ลูกค้าที่มีศักยภาพ หรือผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กร ซึ่ง ทาหน้าที่ในการ รับรู้ ข่าวสาร ตราสินค้า ที่ผู้ผลิได้สื่อสารออกไป โดยผู้ ส่งสารต้องคานึงถึงหลักดังต่อไปนี้ 4.1 ทั ก ษะในการรั บ สาร ผู้ รั บ สารต้ อ งมี ความสามารถในการถอดรหั สสาร การท าความ เข้าใจสาร โดย ต้องถอดรหัสบนพื้นฐานของความ เป็นไปได้ ซึ่งต้องมีการนาความรู้ ประสบการณ์เดิม ของตนเข้ามาร่วมพิจารณาด้วย 4.2 เจตคติต่อข้อมูลที่ได้รับหรือต่อผู้ส่งสาร หากผู้รับสารมีความสนใจสารที่ถูกส่งออกมานั้นจะ ส่งผลให้ตนสนใจสารมากขึ้น เมื่อมีข้อสงสัยก็มีการ สอบถาม มีการแลกเปลี่ยนระหว่างกันทาให้ผู้ส่ง สารทราบว่าเข้าใจหรือไม่ อย่างไร และหากผู้รับ สารมีความสนิทสนมกับผู้ส่งสารอยู่แล้วยิ่งจะทาให้ การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่นและสัมฤทธิ์ผล 4.3 ความรู้ หากผู้รับ มีพื้นฐานความรู้ใ น เรื่ อ งที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดอยู่ แ ล้ ว ยิ่ ง จะท าให้ สามารถถอดรหัสสารได้อย่างรวดเร็ว เข้าใจง่ายขึ้น เพลิดเพลินในการรับ สาร ยอมรับสารได้เ ร็วและ ง่ายขึ้น 4.4 อื่ น ๆ คื อ เวลา คื อ ช่ ว งเวลาที่ เหมาะสมในการั บ สาร อารมณ์ คื อ “บุ ค คลจะ เรียนรู้ไ ด้ดีที่สุด เมื่ออยู่ในอารมณ์ที่แจ่มใส ซึ่ง จะ ก่อให้เกิดความพร้อมที่จะเรียน”


41

5. ผลตอบกลับ (Feedback) ในการสื่อสาร การตลาดผลตอบกลั บ อาจจะเป็ น การซื้ อ สิ น ค้ า หรือการไม่ซื้อสินค้าก็ได้ แต่อย่างไรก็ดี การวัดผล ตอบกลับของการสื่อสารการตลาดไม่จาเป็นต้อง เป็ นการซื้ อสิ นค้ าเสมอไป การที่ ลูก ค้า สนใจการ สาธิตสิ นค้า มี การขอตัวอย่ างสินค้ า โทรศัพท์ม า สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสินค้า มาร้านขาย สิ น ค้ า ก็ ถื อ ว่ า เป็ น ผลในเชิ ง บวกของการสื่ อ สาร การตลาดแล้ว 6. สิ่งรบกวน (Noise) ในการสื่อสารการตลาด คืออะไรก็ตามที่ทาให้เกิดผลในทางลบต่อการแปล ความหมายข้ อ มู ลข่ า วสารที่ เ กษตรกรได้ ท าการ ส่ ง ไปยั ง กลุ่ ม เป้ า หมาย เช่ น ข้ อ มู ล ที่ ใ ห้ มี ศั พ ท์ เฉพาะทางด้านการเกษตร หรือข้อมูลที่เราให้นั้น มากเกินไป ข่าวสารที่ได้ทาการสื่อสารสิ่ ง รบกวน ดังกล่าวนี้จะทาให้ผู้บริโภคสับสน และส่งผลให้การ สื่อสารการตลาดล้มเหลวในที่สุด แนวทางการทาการธุรกิจเกษตรบนโลกออนไลน์ ในอนาคต การเติบโตสื่อสังคมออนไลน์ที่มากขึ้น ส่งผลให้ มีการแข่ง ขันทางการตลาดที่ รุนแรงมากขึ้นไปอีก ซึ่ง เกษตรกรที่จะทาธุรกิจเกษตรบนโลกออนไลน์ ต้อ งก้า วตามให้ ทั น ทั้ ง นี้ ใ นอนาคตข้ างหน้า จะมี แนวโน้ มและกระแสที่ น่าจั บตามองอย่ างน้อ ย 4 กระแสที่ธุรกิจควรให้ความสาคัญ 1. การใช้อินเทอร์เน็ตทางโทรศัพท์มือถือจะมี สัดส่วนเพิ่มขึ้น เช่นเดีย วกับจานวนผู้ใช้สื่อสัง คม ออนไลน์อย่าง Facebookในไทยที่มีแต่แนวโน้มที่ จะเพิ่มขึ้น ในช่วงที่ผ่านมาจานวนผู้ใช้ Facebook ในไทยมีอัตราการเพิ่มขึ้นสูงติด 10 อันดับแรกของ โลกและเติบโตเป็นอันดั บหนึ่งในอาเซียนกระแส

การใช้อินเทอร์เน็ตทางโทรศัพท์มือถือดังกล่าวจึง ไม่ได้เพียงส่ง ผลให้สื่อสัง คมออนไลน์จะมีผู้ใช้ชาว ไทยเพิ่มขึ้นเท่านั้นแต่ยัง ผลักดันให้ธุรกิจต่างๆ รุก ทาการตลาดบนมือถือในรูปแบบอื่นๆ มากขึ้นไป อีกเกษตรกรต้องเรียนรู้การใช้แอพพลิเคชั่น เช่น instagram เพื่อสร้างจุดแข็งให้กับธุรกิจของตนเอง 2. ความรวดเร็วของการรับส่ง ข้อมูลที่เพิ่มขึ้น อย่างมากจะส่งผลให้มีการแชร์ข้อมูลประเภทวีดีโอ มากขึ้ น เริ่ ม เห็ น ได้ จ ากการได้ รั บ ความนิ ย มที่ เพิ่มขึ้นอย่างมากของ YouTube อีกทั้งการพัฒนา รูปแบบการสนทนาผ่านวีดีโอที่กลายเป็นคุณสมบัติ พื้ น ฐานของทั้ ง คอมพิ ว เตอร์ แทบเล็ ต และ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เกษตรกรมี ก ารสาธิ ต การท า การเกษตรในรูปแบบวีดีโอเพื่อให้คนที่ติ ดตามได้ เข้าใจและสามารถนาไปสื่อสารได้อีก1ช่องทาง 3. ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ทั้ ง ค าถาม การโต้ ต อบ และ รูปภาพจากผู้ใช้จะเป็นหนึ่งในข้อมูลสาคัญสาหรับ การวางกลยุ ทธ์ข องธุ รกิจ (marketinsight) สื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ อื้ อ อ านวยให้ ธุ ร กิ จ ใกล้ ชิ ด กั บ ผู้บริโภคมากขึ้น เจ้าของธุรกิจจะทราบว่าผู้ บริโภค กล่ า วถึ ง สิ น ค้ า และบริ ก ารรวมถึ ง ตั ว บริ ษั ท ว่ า อย่างไรทั้งในทางบวกและทางลบ ช่วยให้รู้ว่าสินค้า และบริการที่ออกไปนั้นจะประสบความสาเร็จมาก น้อยเพียงใด ขณะเดียวกันธุรกิจจะมีโอกาสให้การ เข้าร่วมสนทนาโต้ตอบ 4. ประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ยและการมี ข้ อ มู ล ที่ เฉพาะเจาะจงจากการใกล้ชิดผู้บริโภคได้มากขึ้น ช่ ว ยให้ ธุ ร กิ จ สามารถตอบสนองความต้ อ งการ ผู้บริโภคได้ละเอียดมากขึ้น (การแข่งขันทางธุรกิจ เกษตรที่ รุ น แรงมากขึ้ น ท าให้ ธุ ร กิ จ พยายาม ตอบสนองความต้ องการผู้บ ริโ ภคให้ ไ ด้ มากที่ สุ ด อิ น เทอร์ เ น็ ต ช่ ว ยประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ยในการท า


42

การตลาดได้ ม ากในการตอบสนองพฤติ ก รรม เฉพาะเจาะจงของผู้บริโภค โดยมีสื่อสังคมออนไลน์ ที่ช่วยให้ธุรกิจมีข้อมูลและสามารถออกแบบสินค้า และบริ ก ารให้ ต รงใจลู ก ค้ า มากขึ้ น เช่ น การ จาหน่ ายผลผลิต ทางการเกษตรที่ลู ก ค้ า สามารถ เลือกเองได้ และสั่งซื้อได้ตามความต้องการ บทสรุป ธุรกิจ เกษตรบนออนไลน์ มีแนวโน้ มที่จ ะ เติบโตมากขึ้นในประเทศไทย ดังนั้นเกษตรกรที่จะ ท าธุ ร กิ จ บนโลกออนไลน์ ค วรมี ค วามเข้ า ใจกั บ ปัจจัยในการสื่อสารการตลาดที่จะมามีส่วนในการ ขับ เคลื่ อนให้ธุ รกิ จ ออนไลน์ เ ป็ นที่ รู้ จัก และได้ รั บ ความนิยม ปัจจัยดังกล่าวประกอบด้วย ปัจจัย ด้าน ผู้ส่งสารจะต้องทาให้ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่น มั่นใจ ในธุรกิจ ปัจจัยด้านเนื้อหาสาร อาทิ ภาพข้อความ การออกแบบ การกาหนดราคา จะต้องมีอิทธิพล ในการจูงใจให้ลูกค้าเกิดการตัดสินใจซื้อ ปัจจัยด้าน ช่องทางการสื่อสารควรมุ่งเน้นการเตรียมระบบให้ มีความรวดเร็ว ปัจจัยด้านผู้ รับสาร ควรทาความ เข้าใจเชิงลึกถึงความคิด แรงจูงใจ และพฤติกรรม ของลูกค้าเป้าหมายเพื่อจะได้กาหนดกลยุทธ์การ สื่ อ สาร ก าร ต ลาด ปั จ จั ย ด้ าน ผลตอบก ลั บ ผู้ ป ระกอบการควรจะมี ก ารวั ด ผลการสื่ อ สาร การตลาดของเว็บไซต์หรือโซเชียวมีเดียต่างๆเพื่อ นามาพัฒนา ปรั บปรุ ง และปัจจั ยด้านสิ่งรบกวน เกษตรกรต้องค้นหาว่าอะไรคือสาเหตุที่ทาให้การ สื่อสารการตลาดของเว็บไซต์ หรือโชเชียวมีเดียไม่ เป็นไปตามเป้าหมาย จากที่กล่าวมาเกษตรกรที่จะ ท าธุ ร กิ จ เกษตรบนออนไลน์ จึ ง ควรตระหนั ก ถึ ง ปัจจัยดังกล่าวข้างต้นเพื่อนามาใช้ในการกาหนดกล ยุทธ์ การสื่อ สารการตลาดให้ป ระสบความสาเร็ จ ต่อไป

อ้างอิง ณัฐ า ฉางชู โ ต. (2553). ปั จ จัย การสื่ อสารการตลาดใน ธุรกิจออนไลน์.บทความ. มหาวิทยลัยกรงทพ, 2553 พรเทพ ชูพันธุ์ และคณะ. (2554). ธุรกิจจะดาเนินอย่างไร ใน สื่ อ สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ . อ อ น ไ ล น์ เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก http://www.scbeic.com ฝากจิต ปาลินทร ลาภจิตร. (2556). หลักการและทฤษฎี ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร . อ อ น ไ ล น์ เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก http://ag.kku.ac.th/Extension/images/136323/info rmation_2_2556.pdf ภิเษก ชัย ริรั นดร์. (2552). กลเม็ด เคล็ด ลับ การตลาด ออนไลน์. กรงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด (มหาชน) วิลาส ฉ่าเลิศวัฒน์และคณะ. (2554) 10กลยุทธ์การตลาด ออนไลน์เขย่าโลก. กรงเทพฯ: บริษัท โปรวิชั่น จากัด


43

Viral Marketing กับการเกษตร

ชญาพร สอนทวี 54040741

บทนา การพัฒนาและก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสารและอินเทอร์เน็ตทาให้โลกในปัจจุบันเปรียบเสมือน โลกที่ไร้พรมแดนที่ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนของโลก

อีกทั้งในช่วงหลายปีที่ผ่านมา

อินเทอร์เน็ตยังก่อให้เกิดสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) ที่ เปรียบเสมือนสังคมของโลกมนุษย์จริงๆที่มีการปฏิสัมพันธ์กัน ทั้งการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น บอกเล่า สิ่งที่ตนเองได้พบหรือได้กระทามาให้เพื่อนที่อยู่ในสังคมออนไลน์ได้รับทราบ ในการนี้ผู้ประกอบการและนักการ ตลาดสามารถใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ดังกล่าวในการทาการตลาดออนไลน์ที่เรียกว่าการตลาดแบบไวรัส ที่มี ลักษณะคล้ายกับการตลาดแบบปากต่อปาก

ซึ่งถือว่าเป็นการตลาดที่มีความน่าเชื่อถือและทรงพลังมากกว่า

การโฆษณาแบบต่างๆที่เคยใช้มา ทั้งนี้ในมุมมองทางการตลาด สินค้าหรือบริการหรือสิ่งที่บอกเล่ากันต่อๆใน ระหว่างเพื่อนหรือบุคคลอื่นในสังคมออนไลน์นี้จะมีพลังและมีน้าหนักในการสร้างความเชื่อถือได้มากกว่าการ โฆษณาจากบริษัทผู้ผลิตสินค้าเอง เพราะเป็นถือว่าการบอกต่อเป็นการแบ่งปันความคิดเห็นหรือประสบการณ์ ตรงจากผู้บริโภคด้วยกันเอง การตลาดแบบไวรัส (Viral Marketing) การตลาดแบบไวรัส (Viral Marketing) หรือการตลาดแบบบอกต่อ มีลักษณะเป็นการแพร่กระจาย ข่าวสารไม่ว่าในทางบวกหรือทางลบระหว่างผู้บริโภคด้วยกันเอง ซึ่งเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดที่สร้างการรับรู้ใน เรื่องของแบรนด์ผลิตภัณฑ์ โดยอาศัยการบอกต่อในวงจรคนรู้จัก การตลาดแบบบอกต่อนี้มีมานานก่อนที่จะมี การนาไปใช้ในอินเทอร์เน็ตหรือสังคมออนไลน์ (อุไรพร ชลสิริรุ่งสกุล , 2553) โดยเรียกกันว่าการตลาดแบบ ปากต่อปากนั่นเอง ส่วนหนึ่งนั้นการบอกต่อเกิดจากลักษณะของสังคมที่มีการแบ่งปันนั่นเอง เช่นเมื่อเราพบสิ่ง ประทับใจก็มักจะบอกต่อเพื่อนๆให้ได้รับรู้ด้วย ทาให้ข้อมูลกระจายและเพื่อนในกลุ่มได้รับรู้กันจนทั่ว ความแพร่หลายของข้อมูลข่าวสารจะกระจายอยู่เพียงในกลุ่มสังคมหนึ่งๆเท่านั้น

แต่

เพราะหากไม่ใช่เรื่องที่

น่าสนใจอย่างแท้จริง การตลาดแบบบอกต่อก็ยากที่จะทาให้ผู้คนรับรู้ได้ในระดับประเทศ และแทบจะเป็นไป ไม่ได้เลยหากเป็นการทาให้ผู้คนรับรู้ในระดับโลก (ภิเษก ชัยนิรันดร์ , 2552) อย่างไรก็ตามอินเทอร์เน็ตทาให้


44

กาแพงแห่งการรับรู้ข่าวสารพังทลายลง และทาให้การติดต่อสื่อสารกับคนทุกมุมโลกเป็นเรื่องที่ง่ายมากจากเดิม ที่รับรู้กันเพียงแค่สังคมเล็กๆ กลายเป็นการรับรับรู้ของสังคมต่างๆหลายๆกลุ่มได้ โดยใช้ระยะเวลาเพียงไม่นาน เดิมทีการทาการตลาดแบบไวรัสนั้น ผู้ประกอบการจะกระทาผ่านอีเมล์เป็นหลัก หรือที่เรียกว่า การ ฟอร์เวิร์ดเมล์ (Forward Mail) ต่อมาในภายหลัง อิทธิพลของการบอกต่อบนโลกอินเทอร์เน็ตก็มีความสามารถ สูงขึ้นตามการพัฒนาของเทคโนโลยีทาให้ผู้บริโภคที่เล่นอินเทอร์เน็ตสามารถบอกต่อเกี่ยวกับสินค้าบริการ หรือ ความบันเทิงที่ชื่นชอบผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ต่างๆ (Social Network) ส่งผลให้สารที่ต้องการสื่อนั้น แพร่กระจายไปได้อย่างรวดเร็วราวกับเชื้อไวรัส จึงเป็นที่มาของคาว่า “Viral Marketing” นั่นเอง ในปัจจุบันองค์กรหลายแห่งซึ่งใช้การตลาดแบบไวรัส ในการประชาสัมพันธ์และโฆษณา อย่างเช่นคลิป การปาโทรศัพท์มือถือซึ่งถือว่าเป็นการทาการตลาดแบบรุนแรง

และผู้ที่ออกความคิดนี้ก็ตระหนักดีว่า

ใน

สังคมไทยมักมีการส่งต่อ หรือบอกต่อ ยิ่งเป็นสิ่งที่เป็นกระแสความนิยมสังคมแล้วด้วยนั้น ย่อมเกิดการส่งต่อ หรือบอกผ่านปากต่อปากอย่างรวดเร็ว หรือแม้กระทั่งการเปิดตัวสินค้า Krispy Kreme ก็ถือว่ามีการใช้ การตลาดแบบบอกต่อ ได้อย่างถูกวิธีเลยทีเดียว โดยมีการประชาสัมพันธ์ไปในสื่อต่างๆ ว่า มีการให้รับประทาน ฟรี 1 ปี สาหรับผู้ที่มาเป็นคนแรก จึงเกิดการกระจายข่าวในหมู่ผู้ที่ได้รับข่าวสารอย่างรวดเร็ว และตรงไปยังผู้ที่ เป็นเป้าหมายลูกค้าสาคัญ โดยที่ไม่ต้องลงทุนไปกับค่าการตลาดอย่างการโฆษณาหรือการจ้างพรีเซนเตอร์ที่มี ชื่อเสียงมาโฆษณาให้กับสินค้าหรือแม้แต่ร้านขนมที่มีชื่ออย่าง After You ซึ่งเกิดจากร้านเล็กๆ ใจกลาง กรุงเทพ ซึ่งเกิดการบอกต่อในเครือข่ายสังคมออนไลน์ เมื่อผู้บริโภคเกิดความประทับใจ การตลาดแบบไวรัส

ยังถือได้ว่ามีความน่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคมากกว่าการทา

โฆษณาในรูปแบบอื่นๆ โดยจากผลการวิจัยของ Nielsen Global Online Consumer Survey (2009) พบว่า ผู้บริโภคเชื่อถือการโฆษณาในสื่อดั้งเดิม (Traditional Media) อาทิ โทรทัศน์ร้อยละ 62 หนังสือพิมพ์ร้อยละ 61 และวิทยุร้อยละ 55 แต่ผู้บริโภคร้อยละ 90 ให้ความเชื่อถือคาแนะนาของบุคคลอื่น โดยจากจานวน ดังกล่าวร้อยละ 70 เลือกเชื่อถือความคิดเห็นที่ได้รับจากสื่อออนไลน์ การตลาดแบบไวรัสเป็นรูปแบบหนึ่งในการทาการตลาดผ่านสื่ออินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้กันใน ต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับผู้บริโภครวมทั้งในประเทศไทยก็ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบันเพราะเป็น การทาการตลาดที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีต้นทุนที่ต่า และมีความน่าเชื่อถือมากกว่าโฆษณาแบบอื่นๆ อีก ทั้งพฤติกรรมการสื่อสารของผู้บริโภคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่แต่ก่อนผู้บริโภคทาได้แค่รับสารเพียง อย่างเดียว

แต่ในปัจจุบันผู้บริโภคสามารถสร้างข่าวสารและกระจายข่าวสารได้ด้วยตัวเองอย่างรวดเร็วผ่าน

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เหตุผลที่ทาให้แบรนด์ต่างๆ เลือกใช้การตลาดแบบบอกต่อ ในการทาการตลาด คือ


45

การปรับตัวให้เข้ากับพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่ทุกวันนี้การโฆษณาชวนเชื่อของแบรนด์ต่างๆ ไม่ทรงพลังเหมือน อย่างเมื่อก่อน เมื่อผู้บริโภคมีทางเลือกที่มากขึ้นทั้งในเรื่องของสินค้าและการใช้สื่อ เพราะฉะนั้น การตลาดแบบ บอกต่อ ที่ใช้คนใกล้ตัวหรือคนรอบๆข้างตัวผู้บริโภคเองเป็นสื่อในการส่งต่อข้อความของแบรนด์ สามารถสร้าง ความน่าเชื่อถือได้มากกว่าโฆษณาชวนเชื่อของแบรนด์ ในมุมของนักการตลาดหรือผู้ประกอบการ ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการสร้างการบอกต่อผ่านสื่อออนไลน์โดย ให้ความสาคัญในการคัดเลือกผู้ทรงอิทธิพลจากวงการต่างๆ เช่นนักแสดง นักการเมืองหรือบล็อกเกอร์ที่ได้รับ ความนิยม โดยให้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ของตราสินค้า จากนั้นให้ทาหน้าที่เป็นผู้วิจารณ์ (Reviewer) ผลิตภัณฑ์ หรือแสดงภาพว่าตนใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ

ผ่านกลุ่มสังคมออนไลน์เพื่อให้ผู้บริโภครู้สึกเชื่อถือและเกิดความ

ต้องการผลิตภัณฑ์ ซึ่งเมื่อผู้บริโภคตัดสินใจทดลองใช้แล้วเกิดความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ ก็จะกระจายข่าวสาร ต่อไปยังเพื่อนหรือบุคคลใกล้ชิดต่อไป สิ่งที่ท้าทายในการทาการตลาดแบบไวรัส คือ ผู้สร้างไม่สามารถบังคับให้เกิดการบอกต่อได้ เพราะ ผู้บริโภคจะเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนให้มีการสื่อสารกระจายออกไป แต่สิ่งที่สามารถทาได้ คือ การ กาหนดตัวเร่งการแพร่ของสารโดยใช้เครื่องมือต่างๆ เช่น E-mail, Youtube, Facebook เป็นต้น เพื่อที่จะเป็น กระบอกเสียงในการกระจายข้อความ หลังจากนั้น ต้องรอติดตามผลของเนื้อหาที่สร้างสรรค์ขึ้นว่า จะได้รับการ ตอบรับและบอกต่อในชุมชนสังคมออนไลน์และออฟไลน์มากน้อยเพียงใด (อุไรพร ชลสิริรุ่งสกุล , 2553) ข้อดีและข้อเสียของการใช้ Viral Marketing ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ (2553) กล่าวว่า การทาการตลาดแบบไวรัส นั้นมีทั้งข้อดีและข้อเสีย เนื่องจาก ผู้ประกอบการหรือนักการตลาดไม่สามารถควบคุมผลลัพธ์ที่แน่นอนได้

หากเกิดข้อผิดพลาดหรือสิ่งที่ไม่พึง

ประสงค์แล้ว เช่น ลูกค้าสามารถตาหนิสินค้าหรือการให้บริการผ่านสื่อสังคมออนไลน์ได้ ดังนั้น ผู้ใช้สื่อต่างๆ ใน การทาการตลาดจะต้องสามารถแก้ปัญหาได้อย่างทันท่วงที

เนื่องจากจะมีการแพร่กระจายข้อมูลได้อย่าง

รวดเร็วและควบคุมยาก ข้อดีของการทาการตลาดแบบไวรัส 1. กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่มี Social Network เป็นสื่อกลางอยู่แล้ว ทาให้ไม่ใช่เรื่องยากที่จะแพร่กระจายข่าวสาร 2. มีน้าหนักในเรื่องของความน่าเชื่อถือมากกว่าโฆษณารูปแบบอื่นๆ ต้องยอมรับว่าตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน เรื่องของปากต่อปากนั้น มีอิทธิพลกับการตัดสินใจมากพอสมควร เช่น ในการตัดสินใจซื้อสินค้า


46

ขั้นตอนในการพิจารณาคือ เลือกหายี่ห้อสินค้า หาข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นั้นๆ สอบถามผู้เชี่ยวชาญ หรือ แม้กระทั่งสอบถามคนที่เรารู้จักในกรณีที่บุคคลผู้นั้นเคยใช้ตราสินค้านั้นหรือใช้งานอยู่ในปัจจุบัน

เพื่อ

ประกอบการตัดสินใจ อย่างในปัจจุบันที่เพิ่มเติมอีกอย่างหนึ่งก็คือ Social Network เมื่อผู้ใช้ได้ทดลองใช้แล้ว นาไปโพสต์ไว้ใน Blog หรือ Social Network เพื่อนของผู้ใช้อาจลองเข้ามาอ่านหรือเปิดดู รวมถึงได้แสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าวสารนั้นๆ

ซึ่งมีความน่าเชื่อถือมากกว่าดูผ่านสื่อหรือโฆษณาจากทางผลิตภัณฑ์นั้นๆ

โดยตรง 3. ต้นทุนต่า ขอเพียงแต่อาศัยความคิดสร้างสรรค์ และ ทักษะในการคิดและสื่อสาร เพียงเท่านี้ ผู้รับ สารก็พร้อมที่จะเป็นผู้ทาหน้าที่กระจายข่าวสารให้คุณได้แล้ว ข้อเสียของการทาการตลาดแบบไวรัส 1. กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว เหรียญย่อมมีสองด้าน ในการกระจายตัวอย่างรวดเร็วนั้น ไม่ใช่ว่าจะไม่ มีข้อเสีย เมื่อมีการกระจายตัวอย่างรวดเร็ว อาจไม่มีการกรองข่าวสารก่อนที่จะรับ ซึ่งถ้าเกิดเป็นข่าวสารที่ไม่ ถูกต้องแล้วนั้น ผู้ได้รับข่าวสาร (เป็นจานวนมาก) ก็จะได้รับทราบข่าวสารหรือโฆษณาเหล่านั้นในทางที่ผิดๆ รวมถึงการแสดงความคิดเห็นของผู้ส่งข่าวสาร ซึ่งอาจเป็นการชักนาไปสู่ความเข้าใจผิด ซึ่งอาจส่งผลอย่าง ร้ายแรงได้เช่นกัน 2. มักเป็นกระแสหรืออยู่ในช่วงระยะเวลาสั้นๆเท่านั้น ข้อเสียอย่างหนึ่งก็คือ มักเป็นการเล่าขาน ในช่วงระยะเวลาไม่นาน มาเร็ว ก็มักจะไปเร็วเสมอ กรณีศึกษา ธุรกิจด้านการเกษตรที่เลือกใช้การตลาดแบบไวรัส

ภาพที่ 1 จีระ “โรส” เนิสเซอรี่ ที่มา https://www.facebook.com/JiraRose

จีระ “โรส” เนิสเซอรี่ ธุรกิจขายพันธุ์กุหลาบ ดาเนินการโดยคุณจีระ ดวงพัตรา คุณจีระ ดาเนินธุรกิจ นี้มากว่า 50 ปี นอกจากขายพันธุ์กุหลาบแล้ว คุณจีระยังเป็นผู้พัฒนากุหลาบสายพันธุ์ใหม่ ๆ อีกหลายสาย


47

พันธุ์ การขายพันธุ์กุหลาบมีทั้งขายที่ไร่ในจังหวัดเชียงใหม่ และขายผ่านอินเตอร์เน็ต คุณจีระได้เข้ามาสัมผัสกับ social network เนื่องจากเป็นช่องทางการขายได้อีกช่องทางหนึ่ง โดยคุณจีระได้เริ่มจากสมัครสมาชิกเว็บไซต์ พันทิป (pantip.com) เป็นแหล่งสื่อสารกับสมาชิกคนอื่นๆ แต่เนื่องจากพันทิปมีข้อจากัดในการห้ามขายสินค้า คุณจีระจึงเลือกเป็นผู้ให้ข้อมูลในการปลูกและคัดเลือกสายพันธุ์กุหลาบ

รวมถึงการช่วยตอบคาถามในการ

แก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการปลูกกุหลาบ เมื่อเวลาผ่านไปการเป็นผู้ให้ความรู้ในสังคมออนไลน์ทาให้สมาชิก คนอื่นๆ ค่อนข้างเชื่อถือและชื่นชมในคุณจีระ จนในที่สุดคุณจีระหรือ Uncle Rose ที่เป็นนามแฝง จึงเป็น เครื่องหมายการค้าได้ด้วยตัวเอง

ในช่วงหลังคุณจีระได้เข้าพันทิปน้อยลง และได้เริ่มดาเนินการขายพันธุ์

กุหลาบผ่าน Facebook โดยจะเน้นการโพสต์รูปสายพันธุ์กุหลาบ และมีการให้ความรู้ การอธิบายถึงสายพันธุ์ รวมถึงการส่งแคตตาล็อกให้ลูกค้า ซึ่งกลุ่มที่เริ่มเข้ามาร่วมกิจกรรมใน Facebook จะตามมาจากพันทิปแล้ว ค่อยๆ ขยายฐานกลุ่มออกไปทาให้มีคนเข้ามาติดต่อกันเป็นจานวนมาก การโต้ตอบกันอย่างทันท่วงทีจะเป็น ข้อดีของการใช้ Facebook การที่ลูกค้าโพสต์ถามก็ได้คาตอบทันใจ อย่างไรก็ตามคุณจีระให้ความสาคัญกับ เรื่องการให้ความรู้ การเปิดโอกาสให้ซักถาม การพัฒนาตัวสินค้าและการนาเข้าสายพันธุ์ใหม่ๆ มาตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ การที่ใช้ social network ทั้ง 2 อย่างจะช่วยให้เกิดการบอกต่อของ กลุ่มผู้รักกุหลาบ และทาให้มีผู้ติดตามในตัวสินค้าที่มาจากลุงจีระ ทาให้เกิดการ review สินค้า และเกิดการ บอกต่อกันไปเรื่อยๆ นับเป็นกลวิธีทางการตลาดแบบไวรัสที่เกิดขึ้นกับสินค้าเกษตร และยังส่งผลให้ยอดขายดี ขึ้น สามารถขายได้กว้างขวางยิ่งกว่าเดิม บทสรุป การสร้างการตลาดแบบไวรัส (Viral Marketing) ให้ประทับใจผู้ชมมากพอที่จะส่งต่อไปนั้นคงจะไม่ ง่ายนัก ผู้ประกอบการต้องมั่นใจว่ามีเนื้อหาที่สร้างสรรค์ และเมื่อนาเสนอสู่เครือข่ายบนสังคมออนไลน์ จะสร้าง การรับรู้ด้านบวกต่อแบรนด์อย่างแท้จริง เพราะการทาการตลาดแบบไวรัสนี้เปรียบเหมือนดาบ 2 คม มีทั้งด้าน บวกและด้านลบ ถ้ากระจายข้อมูลไปสู่ผู้ชมแล้วเป็นด้านบวก ก็จะเกิดผลตอบรับกลับมาอย่างดีเยี่ยม ทั้ง ยอดขายที่เพิ่มขึ้นและการที่เป็นรู้จักของสังคมมากขึ้น แต่ถ้าข้อมูลที่กระจายให้กับผู้ชมแล้วทาให้รู้สึกเป็นลบ ก็ จะเกิดผลเสียจากพลังการบอกต่อในเรื่องลบกับแบรนด์ได้เช่นกัน ผลท้ายที่สุดแล้วจะประสบความสาเร็จหรือไม่นั้น

ซึ่งอาจจะเร็วและแรงกว่าด้านบวกอีกด้วย

ก็ขึ้นอยู่ว่าองค์กรธุรกิจที่นากลยุทธ์การทาการตลาดแบบ

ไวรัสจะสามารถนาไปประยุกต์ได้อย่างสร้างสรรค์กับสินค้าของตนให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ดีเพียงใด


48

แหล่งอ้างอิง กนก เลิศพานิช. (2555). ช่องทางการขายสินค้าเกษตรบนสังคมออนไลน์. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. คณะเทคโนโลยีการเกษตร. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. ณัฐพล ขาวสาลี. (2553). Viral Marketing คืออะไร? สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.nattaphon.com/internet-marketing/24-what-is-viral-marketing.html. ธีรศานต์ สหัสสพาศน์. (2553). เมื่อก๋วยเตี๋ยวเนื้อโกออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.manager.co.th/Cyberbiz/viewNews.aspx?NewsID=953000014228. อุไรพร ชลสิริรุ่งสกุล. (2553). Viral Marketing พลังบอกต่อที่นักการตลาดต้องการ. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.bangkokbiznews.com. Team iMarketing 10.0. (2554). iMarketing 10.0. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น. “Viral Marketing กลยุทธ์การตลาด แบบปากต่อปาก”. (2555). สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2557, จาก http://nanosoft.co.th/maktip71.htm.


49

การสื่อสารด้วยภาพเพื่อพัฒนา เด็กออทิสติก ชิดชนก สังข์จำนงค์ 54040742

กำรที่คนเรำอยู่ร่วมกันจนเกิดเป็นสังคมขึ้นนั้น ย่อมต้องมีกำรเรียนรู้และมีกำรติดต่อสื่อสำรซึ่งกันและ กัน ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นต้องมีภำษำเพื่อใช้ในกำรสื่อสำร ซึ่งภำษำในกำรสื่อสำรนั้นมีหลำยรูปแบบ เช่น กำร สื่อสำรทำงสำยตำ สีหน้ำ ท่ำทำง ภำษำมือกำรสดงออกทำงศิลปะ ภำษำพูด เป็นต้น เพรำะภำษำเป็นเครื่อง ช่วยให้มนุษย์ได้แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น คนเรำนั้นใช้กำรสื่อสำรเพื่อกำรสื่อควำมหมำยกับบุคคลอื่น ตั้งแต่ยัง อยู่ในวัยทำรก เช่น เวลำหิวก็จะส่ง เสียงร้องให้เพื่อสื่อควำมหมำยให้ผู้ เลี้ยงเข้ำใจ ดังนั้นควำมหมำยของกำร สื่ อ สำรก็ คื อ กำรติ ด ต่ อ เพื่ อ กำรสื่ อ ควำมหมำยระหว่ ำ งผู้ ส่ ง ข่ ำ วสำรและผู้ รั บ ข่ ำ วสำร กำรสื่ อ สำรเป็ น กระบวนกำรเกิดขึ้นเป็นปกติ ของคนทุกคนและมีควำมเกี่ยวข้องไปถึงบุคคลอื่น ตลอดจนถึงสังคมที่แต่ละคน เกี่ยวข้องอยู่ ไม่ว่ำจะทำสิ่งใดล้วนต้องอำศัยกำรสื่อสำรเป็นเครื่องมือช่วยให้บรรลุจุด ประสงค์ทั้งสิ้น จะเห็นได้ จำกกำรที่คนพยำยำมคิดค้นและพัฒนำวิธีกำรสื่อสำรมำตั้งแต่สมัยโบรำณ ทั้งภำษำพูด ภำษำเขียน ตลอดจน เครื่องมือหรือเทคนิควิธีกำรต่ำงๆ ล้วนเกิดจำกควำมพยำยำมอย่ ำงสูงของคน หำกกำรสื่อสำรไม่มีควำมสำคัญ และจำเป็นอย่ำงยิ่งแล้วเครื่องมือและวิธีกำรสำหรับกำรสื่อสำรต่ำงๆ เหล่ำนี้ก็คงไม่เกิดขึ้น และพัฒนำมำให้เห็น เหมือนในปัจจุบัน ในสภำพสังคมที่คนจะต้องเกี่ยวข้องกันมำกขึ้นเช่นปัจจุบัน กำรสื่อสำรก็ยิ่งมีควำมสำคัญต่อ บุคคลและสั งคมมำกขึ้น หำกคนในสังคมขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรสื่อสำร ไม่สำมำรถถ่ำยทอดควำมรู้ ควำมคิด หรือทำให้เกิดควำมเข้ำใจระหว่ำ งกันได้ ย่อมจะทำให้เกิดปัญหำต่ำงๆ มำกมำย ปัญหำที่เกิดขึ้นกับ บุคคลและสังคมทุกวันนี้มีอยู่ไม่น้อยที่เป็นสำเหตุมำจำกควำมล้มเหลวของกำรสื่อสำร ภาวะบกพร่องด้านการสื่อสาร เด็กปกติทั่วไปมีพัฒนำกำรทำงภำษำและกำรสื่อสำร เป็นลำดับขั้นตอนตั้งแต่แรกเกิดจำกกำรใช้เสียง สัญลักษณ์ เช่น กำรส่งเสียงร้องเมื่อเปียก หรือเด็กต้องกำรอำหำร กำรยิ้มเพื่อบ่งบอกควำมสบำย ควำมชอบใจ เด็กเริ่มจำเสียงที่สำคัญ เช่น เสียงพ่อแม่ พี่เลี้ยง คนใกล้ชิดแล้วพัฒนำมำเป็นกำรจำแนกเสียงที่ได้ยินว่ำเสียงใด มีควำมหมำย เสียงใดเป็นภำษำพูด เด็กจะมองหน้ำผู้ที่พูดด้วย เรียนรู้บทสนทนำที่ได้ยินเพื่อนำไปสู่กำรเปล่ง เสียง และกำรพูดเป็นคำ พัฒนำกำรทำงภำษำของเด็ก จะเกิดขึ้นเมื่อสมองทำงำนประสำนกันระหว่ำงเสี ยงกับ สิ่งที่เด็กได้ยินแล้วจึงแปลควำมหมำยว่ำ เกิดอะไรขึ้น รอบๆ ตัว ซึ่งเป็นพื้นฐำนกำรเข้ำใจควำมหมำยของเสียง ที่ได้ยิน แล้วพัฒนำไปจนกระทั่งเกิดเป็นกำรเปล่งเสียงพูดคำ วลี ประโยค กำรอ่ำน กำรฟัง กำรเขียน กำรใช้ ไวยำกรณ์ และกำรใช้ สัญลักษณ์ต่ำงๆ ทำงภำษำ (สุพัตรำ ปสังคโท , 2552) แตในสังคมปจจุบันยังมีเด็กอีกกลุ มหนึ่งที่มีพัฒนำกำรทำงภำษำและกำรพูดที่ ไมเปนไปตำมลำดับ ขั้นตอนของพัฒ นำกำร นั่น คือเด็ก ที่มีอำกำรของภำวะออทิ สซึม อำกำร “ออทิส ซึม” เปนกลุ มอำกำรของ ควำมผิดปกติหรือควำมบกพรองของพัฒนำกำรเด็ก ซึ่งจะแสดงลักษณะของควำมผิดปกติหรือควำมบกพรองที่ เดนชัด 3 ดำน คือ มีควำมผิดปกติหรือควำมบกพรองดำนพฤติกรรมและอำรมณ ควำมผิดปกติดำนสังคม และ ควำมผิดปกติดำนภำษำและกำรสื่อสำรหรือกำรพูด เด็กมีอำกำรออทิซึมจะถูก เรียกวำ “เด็กออทิสติก” ซึ่งใน เด็กออทิสติกจะมีลักษณะของควำมผิดปกติบำงอยำงที่แสดงออกเหมือนกัน คือกำรไมมองสบตำกับบุคคลอื่ น


50

ไมตอบสนองตอกำรสัมผัสและกำรสื่อสำรของบุคคลอื่น ไมวำจะเปนกำรสื่อสำรดวยทำทำงหรือกำรสื่อสำรดวย กำรพูด ทำให้เด็กพัฒนำกำรเรียนรู้ กำรสื่อสำรได้ไม่สมบูรณ์เหมือนเด็กทั่วๆ ไป (รจนำ : 2529) ปญหำดำนปฏิสัมพันธ์ กับคนอื่นนับว่ำเป็นปญหำที่สำคัญ เด็กมักเล่ นคนเดียว เล่นของเล่นไมเปน ควำมสนใจสั้น รอคอยไมเปน ทักษะทำงสังคมถือเปนปญหำหลักของเด็กออทิสติก เด็กออทิสติกยังขำดควำม เขำใจกฎเกณฑ์ทำงสังคม กำรสรำงปฏิสัมพันธ์ไม่เปนธรรมชำติ มีพฤติกรรมทำงสังคมไมเหมำะสมกับวัย ไม สนใจสิ่งที่เกิดขึ้นรอบขำงแมบุคคลในครอบครัว มีขอบเขตจำกัดในกำรแสดงออกทำงสี หน้ำและกำรสื่ออำรมณ ที่ไมสอดคลองกับเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น ไมสำมำรถรับรู กำรแสดงอำรมณทำงใบหนำและทำทำง เพรำะเด็กอำน จิตใจคนไมเปน กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนควรเน้ นในเรื่องพัฒนำทักษะทำงสังคม และอำรมณ เพื่อให เด็กออทิสติกมีพัฒนำกำรให้มำกที่สุดตำมศักยภำพของเขำ โดยมีเปำหมำยสูงสุด คือ ใหเขำสำมำรถดำรงชีวิต ไดอยำงอิสระและเปนสมำชิกที่ดคี นหนึ่งของสังคม (เพ็ญแข ลิ่มศิลำ : 2545) เด็กออทิสติกประมำณ 80 % มีควำมบกพรองทำงดำนภำษำและกำรสื่ อควำมหมำยอยำงรุนแรง ควำมผิ ดปกติด ำนภำษำและกำรพูดของเด็กออทิส ติก มีลักษณะเดนจนทำใหครอบครัว ของเด็กออทิส ติก สังเกตเห็นไดกอนปญหำอื่น ๆ โดยเฉพำะเมื่อเด็กอำยุย ำงเขำ 2 ป ซึ่งเด็กปกติพูดไดมำกแลว แตเด็กออทิสติก ยังไมพูดสื่อภำษำไมได ควำมผิดปกติของพฤติกรรมที่ เกี่ยวกับภำษำและกำรพูด และกำรสื่อควำมหมำยที่ เด็ก ออทิสติกแสดงใหเห็นเปนควำมบกพรองทั้งดำนกำรรับรูและเขำใจภำษำและดำนกำรพูดสื่อสำร เด็กออทิสติก เริ่มพูดลำชำกวำเด็กปกติ บำงก็พูดเปนคำ ๆ สวนใหญ่จะเปนกำรพูดเลียนแบบ ทำใหไมสำมำรถพูดโตตอบหรือ สนทนำกับผูอื่นได เด็กไมสำมำรถถำมคำถำมและตอบคำถำมได กำรออกเสียงพูดของเด็กออทิสติกสวนใหญ ออกเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกตไดชัดเจน เมือ่ เทียบกับควำมสำมำรถดำนกำรสื่อสำรแลว เด็กออทิสติก สำมำรถออกเสียงไดดีกวำมำก (รจนำ ทรรทำนนท์ , 2529) เด็กออทิสติกมีพฤติกรรมหลำยอย่ำงที่แสดงให้เห็นถึง กำรเรียนที่มีลักษณะแตกต่ำงจำกเด็กทั่วไป คือ เด็กจะเรียนรู้จำกของจริง รูปภำพจะเป็นภำษำแรกของเด็ก ภำษำพูด จะเป็นภำษำที่สอง หำกเป็นตัวหนังสือ หรือแบบจำลองเด็กจะไม่เข้ำใจ เด็กออทิสติกส่วนใหญ่คิดเป็นภำพไม่คิดเป็นภำษำ เด็กจะรับข้อมูลและเข้ำใจ สิ่งที่มองเห็น ควำมคิดของเด็กออทิสติกเหมือนกับวีดีทัศน์ที่ฉำยอยู่ในควำมคิดคำนึง พัฒนำกำรทำงควำมคิด จะเกิดช้ำกว่ำเด็กปกติ เด็กกลุ่มนี้จะเรียนรู้จำกภำพได้ดีกว่ำคำพูด ซึ่งเป็นจุดเด่นของเด็กออทิสติก (ดุสิต ลิขนะพิชิตกุล , 2545) ควำมบกพร่องทำงด้ำนภำษำของเด็กออทิสติก ทั้งในเรื่องกำรพูดและด้ำนควำมเข้ำใจภำษำทำให้เด็กมี ปัญหำในกำรสื่อสำรหรือสื่อควำมต้องกำรให้ผู้อื่นเข้ำใจ แต่จำกกำรที่เด็กออทิสติกเรียนรู้จำกกำรใช้สำยตำและ กำรจดจำได้ดีจำกกำรปฏิบัติซ้ำๆ เรียนรู้ได้ดีจำกกำรปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นกิจวัตร จำกข้อดีที่กล่ำวมำ กำรฟื้นฟู สมรรถภำพทำงกำรศึกษำ รูปแบบกำรเรียนรู้ของเด็กออทิสติก จึงมุ่งเน้นที่กลวิธีกำรรับรู้ผ่ำนกำรมองเห็นเป็น สำคัญ เพรำะข้อมูลที่เป็นคำพูดเป็นข้อมูลที่อยู่เพียงชั่วครำวและมีควำมยำกลำบำกในกำรจำข้อมูลจะเข้ำมำ และหำยไปอย่ำงรวดเร็ว แต่สิ่งใดก็ตำมที่รับรู้ผ่ำนกำรมองเห็น เช่น ภำษำกำย วัตถุ สิ่งพิมพ์ และรูปภำพ เป็น ต้น จะเป็นข้อมูลที่คงอยู่ได้นำน และสำมำรถย้อนกลับมำดูใหม่ไ ด้ หรือหำกไม่สำมำรถสื่อสำรได้ก็ใช้วิธีแ สดง ควำมต้องกำรทีจ่ ะช่วยบรรลุควำมต้องกำรได้ (สุพัตรำ ปสังคโท , 2552)


51

ความเข้าใจเป็นหัวใจหลักในการช่วยเหลือ ภำวะควำมบกพร่องของเด็กออทิสติกเป็นปัญหำที่สำคัญสำหรับครอบครัว โดยทั่วไปพ่อแม่ก็ยังลังเลที่ จะยอมใหแพทยตรวจและพรอมที่จะยอมรับควำมเปนจริง เพรำะกำรรักษำเด็กออทิสติกหรือเด็กที่มีควำม ต้องกำรพิเศษ ไม่มีใครสำมำรถบอกได้ว่ำ กำรรักษำจะได้ผลมำกนอยเพียงไร และเด็ก จะมีโอกำสหำยหรือ อำกำรดีขึ้นหรือไม อีกทั้งสภำวะแวดล้อมรอบตัวและกำรยอมรับของคนในสังคม อย่ำงไรก็ตำม ครอบครัวหรือพ่อแม่จำเป็นต้องยอมรับและทำควำมเข้ำใจในอำกำรของเด็กออทิสติก เพื่อใหพอแมหรือครอบครัวเตรียมรับสถำนกำรณใหเหมำะสมวำจะวำงแผนรับมือกับกำรเลี้ยงดู เด็กที่มีภำวะ ออทิสติกอยำงไร รวมถึงคอยช่วยเหลือและผลักดันให้เด็กออทิสติกสำมำรถช่วยเหลือตนเองได้และอยู่ร่วมกับ คนอื่นในสังคมได้ (ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขำ, 2548) การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการสื่อสารของเด็กออทิสติก กำรเรียนกำรสอน เป็นกำรสื่อสำรอีกรูปแบบหนึ่ง มีทั้งผู้ส่งสำร อันได้แก่ครูผู้สอนมีสำร คือควำมรู้หรือ ประสบกำรณ์ที่จัดขึ้น ผู้รับสำรคือ ผู้เรียน มีกระบวนกำรเรียนกำรสอน ประกอบด้วยเครื่องมือ สื่อกำรเรียน กำรสอนต่ำงๆ ภำยใต้สถำนกำรณ์ที่จัดขึ้นในห้องเรียน หรือสถำนกำรณ์ที่จัดขึ้นในสถำนที่อื่น และมีจุดหมำย ของหลักสูตรเป็นเครื่องนำทำงจุดมุ่งหมำยของกำรสื่อสำรในกำรเรียนกำรสอนคือ กำรพยำยำมสร้ำงควำม เข้ำใจ ทักษะ ควำมรู้ ควำมคิดต่ำงๆ ร่วมกัน ระหว่ำงผู้ เรียนกับผู้สอน ควำมสำเร็จของกำรเรียนกำรสอน พิจำรณำได้จำกพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไปตำมจุดมุ่งหมำยที่ตั้งไว้แต่ต้น ตำมลักษณะกำรเรียนรู้ นั้นๆ ปัญหำสำคัญของกำรสื่อสำรในกำรเรียนกำรสอนคือ ทำอย่ำงไรจึงจะสำมำรถสร้ำงควำมเข้ำใจระหว่ำงครู กับนักเรียนได้อย่ำงถูกต้อง กำรเรียนรู้ของเด็กออทิสติกนั้น ย่อมแตกต่ำงจำกกำรเรียนรู้ของเด็กปกติทั่วไป ด้วยข้อจำกัดทำงกำร รับรู้ของเด็กออทิสติก ซึ่งจำกกำรที่เด็กออทิสติกจะมีจุดแข็งของกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร จะเป็นกำรสอนที่ สนับสนุนกำรเรียนรู้ของเด็กออทิสติกมำกว่ำกำรสอนแบบอื่น ซึ่งกำรสอนแบบบูรณำกำรนั้น คือ กำรสร้ำง ควำมสัมพันธ์ของกำรเรียนรู้ และสร้ำงควำมหมำยของสิ่งที่เด็กเผชิญในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันเด็กออทิสติกไม่ สำมำรถสื่อสำรกับครูผู้สอน เพื่อน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับ กำรจัดกำรเรียน กำรสอนของเด็ก ซึ่งทำให้เกิดปัญหำ ด้ำนกำรสื่อสำรในกำรเรียนกำรสอนและกำรใช้ชีวิตประจำวันของเด็ก จึงได้มีควำมพยำยำมที่จะนำเอำแนว ทำงกำรเรียนกำรสอนในรูปแบบต่ำงๆ ที่จะช่วยในกำรพัฒนำและส่งเสริมทักษะกำรสื่อสำรของเด็กออทิสติกให้ มีมำกขึ้น เช่น กำรฝึกทักษะกำรสื่อสำรโดยใช้ป้ำยกระดำนสื่อสำร (สุพัตรำ ปสังคโท , 2552) แนวทางการสื่อสารผ่านภาวะบกพร่องของเด็กออทิสติก เด็กออทิสติกจำนวนมำก กำรทำงำนของสมองข้ำงขวำจะดีเกินกว่ำปกติ ทำให้มีควำมสำมำรถพิเศษใน กำรเห็นและกำรจำที่ดีเป็นพิเศษ จะรับรู้จำกกำรเห็นได้ง่ำย และเข้ำใจได้เร็วกว่ำกำรเข้ำใจจำกกำรฟังเสียง นอกจำกนี้ เด็กส่วนใหญ่จะจำเหมือนกำรถ่ำยรูป คือ จำทั้งภำพ ดังนั้นกำรสื่อสำรกับเด็กออทิสติก ถ้ำจะให้ ได้ผลดีก็คือ กำรนำรูปภำพเป็นเครื่องมือในกำรสื่อสำรเพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจอย่ำงชัดเจนและเข้ำใจควำมหมำย ได้อย่ำงถูกต้องตรงประเด็นกับสิ่งที่ต้องสื่อควำมหมำย กำรสอนด้วยกำรมองเห็น (Visual Instruction) เด็กออทิสติกจะได้เรียนรู้จำกกำรใช้สำยตำ นอกจำก กำรมองเห็นจำกสิ่งที่มีอยู่จริงแล้ว รูปภำพจึงเป็นสื่อกำรสอนที่เหมำะสมที่สุด ในกำรใช้ประกอบกำรเรียนกำร สอน ซึ่งจะทำให้เด็กออทิสติกเข้ำถึงบทเรียนได้ง่ำย เรียนรู้ได้เร็วขึ้น เข้ำใจและเห็นภำพชัดเจนขึ้น


52

จำกกำรวิจัยเกี่ยวข้องกับกำรสื่อสำรของเด็กออทิสติก ได้มีกำรศึกษำกำรสื่อสำรโดยใช้ป้ำยกระดำน กำรสื่อสำร เป็นกำรสื่อสำรผ่ำนรูปภำพเชื่อมโยงเป็นเรื่องรำว ทำให้เด็กออทิสติกที่มีลักษณะเด่นในเรื่องของ กำรมองเห็น สำมำรถเข้ำใจสิ่งที่ต้องกำรสื่อสำรผ่ำนรูปภำพได้ง่ำยกว่ำกำรเรียนรู้แบบอื่น (วำสนี วิพัทนะพร , 2552) หลักการเบื้องต้นในการสร้างภาพผ่านป้ายกระดานสื่อสาร กำรสื่อสำรโดยใช้กำรแลกเปลี่ยนรูปภำพ มีหลักง่ำยๆ ในกำรสร้ำงภำพที่ต้องกำรจะสื่อสำร คือ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่ ำงไร กับใคร กับอะไร เป็นหลั กกำรในกำรสร้ำงภำพที่จะช่ว ยให้ เด็กออทิสติก สำมำรถเข้ำใจสิ่งที่ต้องกำรจะสื่อสำรในเรื่องต่ำงๆ ได้ง่ำยขึ้น (วำสนี วิพัทนะพร , 2552)

ภำพที่ 1 แผ่นป้ำยกระดำนสื่อสำร เรื่องกำรกิน ที่มำ : http://www.ser01.com/page/wichakan_autistic11.htm

ประโยชน์ของการสื่อสารแบบป้ายกระดานสื่อสาร 1. ช่วยกระตุ้น การเรี ยนรู้ กำรฝึกทักษะกำรสื่ อสำรโดยใช้ป้ำยกระดำนสื่อสำร เป็นกำรประยุกต์ โปรแกรมช่วยสอน โดยใช้ระบบรูปภำพแลกเปลี่ยนในกำรสื่อสำร มำใช้ในกำรฝึกกำรสื่อสำรให้กับเด็กออทิสติก เพื่อพัฒนำกำรสื่อสำรให้กับเด็กออทิสติก โดยเด็กจะเริ่มเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจำกที่เคยเป็นเพียงผู้ฟัง ต่อมำ ก็จะเป็นผู้เริ่มต้นในกำรสื่อสำร หรือบอกควำมต้องกำรโดยกำรใช้รูปภำพ หรือภำพสัญลักษณ์แลกเปลี่ยนกับสิ่ง ที่เด็กชอบอำจเป็นอำหำร ของเล่น หรือกิจกรรมที่เด็กชอบและต้องกำร ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้เด็กรู้จักที่จะเป็นผู้ เริ่มต้นในกำรสื่อสำรกับผู้อื่นก่อนอย่ำงเป็นธรรมชำติและค่อยเป็นค่อยไป และสำมำรถสร้ำงขึ้นมำได้โดยสร้ำง สิ่งดึงดูดใจเพื่อให้เกิดกำรสื่อสำร แล้วเรียนรู้กำรสื่อสำรด้วยวิธีอื่น เช่น กำรสื่อสำรด้วยภำษำพูด ภำษำเขียน เป็นต้น ซึ่งขั้นต้นจะต้องมีครูและครูผู้ช่วยในกำรสอนชี้แนะ ให้เด็กรู้วิธีกำรแลกเปลี่ยนบัตรภำพกับสิ่งเสริมแรง เมื่อเด็ก สำมำรถปฏิบัติตำมเกณฑ์ที่ตั้งไว้แล้วก็จะพัฒนำขึ้นไปสู่ขั้นตอนที่เพิ่มมำกขึ้น 2. เรียนรู้แบบผสมผสาน กำรฝึกโดยใช้ป้ำยกระดำนสื่อสำรเป็นกำรผสมผสำน กำรปรับพฤติกรรม และหลักกำรสอนโดยใช้ทฤษฎีกำรเสริมแรง เทคนิคกำรชี้แนะและเทคนิคกำรขัดเกลำพฤติกรรมมำรวมกัน เพื่อพัฒนำควำมสำมำรถ ในเรื่องภำษำและกำรสื่อสำรให้กับเด็กออทิสติก โดยมีเป้ำหมำยในกำรฝึกคือให้เด็ก ออทิสติกสำมำรถสื่อสำรกับคนอื่นได้สูงสุดตำมวัย ด้วยวิธีกำรใช้คำพูด กำรแสดงออกด้วยภำษำท่ำทำง หรือ กำรสื่ อสำรจำกกำรฝึกโดยใช้ป้ ำยกระดำนสื่ อสำรเพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจทั้งตัว เด็ก และผู้ที่เด็กสื่ อสำรด้ว ย (สุพัตรำ ปสังคโท , 2552) 3. ปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม กำรใช้กำรสื่อสำรด้ว ยภำพ ยัง เป็นกำรสอนให้เด็กออทิส ติกเรียนรู้ที่จะ ปรับตัวอยู่ร่วมกับคนอื่น สำมำรถสื่อสำรกับผู้อื่น ได้ดีขึ้นและอยู่ร่วมกันในสังคมได้ กำรสื่อภำพด้วยภำพไม่ เพียงแต่ช่วยในกำรพัฒนำทักษะในกำรสื่อสำร ยังส่งผลต่อกำรลดพฤติกรรรมควำมก้ำวร้ำวของเด็กออทิสติก


53

อีกด้วย เนื่องจำกเด็กออทิสติกส่วนหนึ่งมีพฤติกรรมกำรแสดงออกที่ที่ไม่เหมำะสม เช่น กำรตี ตบ โขกศีรษะ ดึงผม หยิก พฤติกรรมเหล่ำนี้เป็นอันตรำยต่อร่ำงกำยของเด็กและเพื่อนร่วมชั้น ซึ่งเป็นปัญหำที่เกิดจำกกำร ปรับตัวในสังคม ด้ำนกำรพูดและกำรสื่อสำร เป็นผลให้เด็กเกิดควำมคับข้องใจได้ง่ำย จึงมีกำรนำรูปภำพมำใช้ สื่อสำรกับเด็กออทิสติกที่มีพฤติกรรมก้ำวร้ำวด้วย เพรำะเป็นที่ทรำบกันดีอยู่แล้วว่ำ รูปภำพช่วยในกำรดึงดูด ควำมสนใจ ช่วยให้เข้ำใจในสิ่งที่อ่ำนได้สมบูรณ์ขึ้น รูปภำพยังสำมำรถเร้ำอำรมณ์หรือเปลี่ยนทัศนคติ ช่วย จัดกำรพฤติกรรมที่ท้ำทำยและพัฒนำกำรควบคุมตนเองที่ดีขึ้น (สุจิรำ สุขเกษม , 2554)

ภำพที่ 2 แผ่นป้ำยกระดำนสื่อสำรสอนคำศัพท์ ที่มำ : http://www.happyhomeclinic.com/yi-usa.htm

จำกลักษณะและพฤติกรรมของเด็กออทิสติกจะมีพัฒนำกำรทำงด้ำนพฤติกรรม อำรมณ์ ด้ำนสังคม ด้ำนภำษำและกำรสื่อสำร ที่แตกต่ำงไปจำกเด็กปกติ ทำให้กำรเรียนรู้เกิดขึ้นได้ช้ำ ดังนั้นผู้สอนควรเลือก วิธีกำรสอนที่เหมำะสมและส่งผลกับพัฒนำกำรของเด็กออทิสติก วิธีกำรสอนที่ใช้กันและได้ผลดี ที่ส่ งเสริม พัฒนำกำรของเด็กออทิสติกเป็นอย่ำงดีคือ กำรสื่อสำรกับเด็กออทิสติกผ่ำนกำรเรียนรู้ด้วยรูปภำพก็ถือเป็นกำร สอนรูปแบบหนึ่ง ที่จะช่วยพัฒนำทักษะกำรสื่อสำรของเด็กออทิสติกที่ง่ำย ไม่เพียงแต่ส่งเสริมพัฒนำทักษะกำร สื่อสำร กำรพูด เพื่อให้เกิดควำมรู้ควำมเข้ำใจระหว่ำงกันแล้ว กำรใช้รูปภำพในกำรสื่อสำรยังช่วยให้เด็ กออทิ สติกเรียนรู้ทักษะกำรอยู่ร่วมกันในสังคม กำรมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นในสังคม และพ่อแม่ของเด็กยังสำมำรถนำ วิธีกำรสื่อสำรด้วยรูปภำพกลับมำสอนเพื่อเพิ่มทักษะกำรสื่อสำรที่บ้ำนได้อีกด้วย แม้ว่ำปั จจุ บัน มีกำรพัฒนำกำรเรี ยนกำรสอนเด็กออทิสติกเพื่อให้ ง่ำยกับครูผู้ส อน และเข้ำกับกำร เรียนรู้ของเด็กออทิสติกอยู่มำกมำย แต่สิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เด็กออทิสติกใช้ชีวิตได้อย่ำงเป็นปกติมำกที่สุด คือ กำรให้ควำมรู้แก่พ่อแม่ ครอบครัว และคนในสังคม รวมถึงกำรมีหลักสูตรสำหรับเด็กออทิสติกที่เน้นไปที่ภำษำ และกำรสื่อสำร ทักษะกำรอ่ำน เช่น ตัว อักษร และกำรนับเลข ทักษะกำรเรียนรู้ เช่น กำรแสดงบทบำทสมมติ หรือกำรพิจำรณำถึงควำมต้องกำรของผู้อื่น ทักษะทำงสังคม เช่น กำรให้ควำมสนใจกับผู้อื่น และกำรแบ่งปัน ทักษะในกำรดำรงชีวิตประจำวันและกำรช่วยเหลือตัวเอง เช่น กำรแต่งตัว หรือกวำดบ้ำน รวมถึงกำรสอน เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไม่เหมำะสม เช่น ควำมก้ำวร้ำว และควำมโกรธเคือง ซึ่งล้วนเป็นพื้นฐำนที่จำเป็นในกำร ดำรงชีวิตต่อไปในภำยภำคหน้ำ


54

บรรณนุกรม ดุสิต ลิขนะพิชิตกุล. 2545. พัฒนำกำรบำบัดเด็กออทิสติก ตำมแนวทำงป้ำหมอเพ็ญแข. กรุงเทพฯ. พิมพ์ดี. ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขำ. 2548. คู่มือออทิสติก สำหรับผู้ปกครอง. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์คุรุสภำลำดพร้ำว เพ็ญแข ลิ่มศิลำ. 2545. คูมือฝกและดูแลเด็กออทิสติกสำหรับผูปกครอง.สมุทรปรำกำร. กรุงเทพฯ. คุรุสภำ ลำดพรำว. รจนำ ทรรทรำนนท และคณะ. 2529. ควำมผิดปกติทำงกำรพูด. กรุงเทพมหำนคร. เรือนแกวกำรพิมพ. วำสนี วิ พั ท นะพร. 2552. กำรสื่ อ สำรกั บ เด็ ก ออทิ ส ติ ก โดยกำรใช้ รู ป ภำพ.[ออนไลน์ ] เข้ ำ ถึ ง ได้ จ ำก: http://www.ser01.com/page/wichakan_autistic11.htm [วันที่ค้นหำข้อมูล: 6 พฤศจิกำยน 2557] สุจิรำ สุขเกษม และคณะ. 2554. ผลของกำรจัดประสบกำรณ์เทคนิคสื่อสำรด้วยภำพที่มีต่อพฤติกรรมควำม ก้ำวร้ำวของเด็กออทิสติก.[ออนไลน์] เข้ำถึงได้จำก: http://www.sedthailand.com/images/introc_1355940749/03pic.pdf [วันที่ค้นหำข้อมูล: 8 พฤศจิกำยน 2557] สุพัตรำ ปสังคโท และคณะ. 2552. กำรฝึกทักษะกำรสื่อสำรในชีวิตประจำวันของเด็กออทิสติกโดยใช้ป้ำย กระดำนสื่อสำร .[ออนไลน์] เข้ำถึงได้จำก: http://gs.rmu.ac.th/rmuj/book/j3_1_005.pdf [วันที่ค้นหำข้อมูล: 10 พฤศจิกำยน 2557]


การช่ วยเหลือสุนัขจรจัดจากสังคมออนไลน์

55

ณริศรา ชมระกา รหัส 54040745*

บทนา ประชากรสุนัขจรจัดในปัจจุบันอาจสร้างความขัดแย้งระหว่างมนุษย์และสัตว์ (นอกจากโรคสัตว์สู่คน) และอาจเป็นปัญหาด้านสวัสดิภาพสัตว์ที่สร้างแรงจูงใจได้อย่างชัดเจน ในหลายๆสถานการณ์ จาเป็นต้องมีการ ระบุถึงปัญหาประชากรสุนัขจรจัด ในปัจจุบันด้วยเหตุผลด้านแรงกดดันสาธารณะ สาธารณสุข และสวัสดิภาพ ของตัวสัตว์เอง ส่งผลให้สุนัขจรจัดยังเป็นปัญหาที่ถูกมองข้ามในสังคม วิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหาประชากร สุนัขจรจัดนี้จะขึ้นอยู่กับชุมชนในท้องถิ่นนั้นๆ ต้องมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทุกระบบอย่างเป็นรูปธรรม(สุนัน ทา ศรีเพ็ง,2548) สุนัขจรจัดปัญหาสังคมที่ถูกมองข้าม สุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงที่หลายคนมองว่าน่ารัก จึงเป็นสัตว์ยอดนิยมที่คนนามาเลี้ยง ซึ่งตามธรรมดาแล้วลูก สุนัขเมื่อแรกเกิดจะน่ารักมาก มีขนปุกปุยฟูรอบตัว ทาให้น่ารักและน่ากอด ขี้ประจบ ชอบเล่นซุกซน และทา ให้คนอยากมีสุนัขไว้เป็นเพื่อน ปัจจุบันมีการเพาะพันธุ์สุนัขขายทั่วไปและเกิดจากการผสมพันธุ์กันเองของสุนัข จนมีมากเกินความต้องการทาให้เกิดเป็นปัญหาสังคม สุนัขหลายตัวถูกทอดทิ้ง สุนัขที่ เราเห็นเดินเกะกะหา อาหารอยู่ตามท้องถนนส่วนมากเป็นลูกสุนัขที่เกิดจากสุนัขจรจัด แต่บางตัวก็เป็นลูกสุนัขบ้านที่เกิดจากสุนัข มี เจ้าของ สุนัขจรจัดเหล่านี้ส่วนมากไม่เคยได้รับการทาหมัน ลูกสุนัขที่เกิดขึ้นในบ้านและที่เจ้าของไม่ต้องการ เลี้ยงก็ถูกนาเอามาปล่อยทิ้ง ส่วนมากแล้วลูกสุ นัขเหล่านี้จะถูกนามาปล่อยแถว ถนน ตลาดหรือวัด แทนที่จะ รับผิดชอบหาที่อยู่ให้กับลูกสุนัข ถ้าไปตลาด ศูนย์การค้า บริเวณที่จอดรถ(สุนันทา ศรีเพ็ง,2548) อาจจะได้พบ สุนัขที่น่าสงสารเหล่านี้ พบกับดวงตาที่อ่อนแสงแสดงความเป็นมิตร เดินเกะกะ รอคอยอาหารเหลือเททิ้งจาก ร้านค้า จากรถเข็นขายอาหาร เดินหาอาหารตามที่ทิ้งขยะ กินแทบทุกอย่างที่ขวางหน้าเพื่อปะทังความหิว และเพื่อความอยู่รอด มันเป็นชีวิตที่ “หมดหวัง” ทั้งนี้เพราะเจ้าของสุนัขที่นาสุนัขมาปล่อยไม่มีความคิด ไม่มี ความกรุณาสงสารและไม่มีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่เกิดขึ้น สุนัขมักจะถูกรถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์วิ่งทับ วิ่ง ชนอยู่เป็นประจา อุบัติเหตุเกิดขึ้นขณะที่วิ่งข้ามถนน นอนหลับอยู่ข้างรถ ใต้รถหรือแม้กระทั่งนอนหลับอยู่บ น ขอบข้างถนนก็ไม่เว้นถูกรถชน ถูกรถทับ สุนัขจรจัดและสุนัขที่ถูกทอดทิ้งเหล่านั้น ต้องเผชิญกับความเจ็บป่วย บาดเจ็บหรือเมื่อเริ่มแก่ตัวลง จากชีวิตที่ต่อสู้เพื่อความอยู่รอด มีร่องรอยบาดแผล ไม่มีขนปุกปุย หน้าตาไม่ น่ารัก ไม่น่ากอดเหมือนเมื่อตอนยังเป็นลูกสุนัข สุนัขจรจัดเหล่านี้ยังเป็นปัญหาที่ถูกมองข้ามอยู่ในปัจจุบัน การช่วยเหลือสุนัขจรจัดผ่านสื่อออนไลน์ การขอความช่วยเหลือสุนัขจรจัดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ยกตัวอย่างจากเพจที่ได้ความสนใจจากกลุ่ม คนรักสุนัข มีการนาข่าวมาแจ้งแก่ลูกเพจที่ติดตามว่า มีสุนัขที่ต้องการความช่วยเหลือ มีอาการเป็นอย่างไร พิกัดของสุนัขตัวที่ต้องการความช่วยเหลืออยู่ที่ใด ผู้ที่ไม่สะดวกแต่อยากทาการช่วยเหลือสุนัขสามารถโอนเงิน เพื่อเข้าไปช่วยเหลือสุนัขตัวนั้นๆได้ จากการรวมกลุ่มของกลุ่มคนรักสุนัข ก่อให้เกิดมูลนิธิ The voice (เสียงจากเรา) โดยมีสโลแกนว่า “เพราะว่าสัตว์พูดไม่ได้เราจึงต้องเป็นเสียงให้กับเขา” นาโดย คุณเก๋ ชลดา เมฆราตรี นางแบบ/นักแสดง และ เป็นประธานมูลนิธิ The voice (เสียงจากเรา)

*ณริศรา ชมระกา รหัสนักศึกษา 54040745 สาขานิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


การช่ วยเหลือสุนัขจรจัดจากสังคมออนไลน์

56

ณริศรา ชมระกา รหัส 54040745*

ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าเพจ The voice (เสียงจากเรา) ที่มา : Facebook/The Voice (เสียงจากเรา) มีการจัดตั้งเพจ The voice (เสียงจากเรา)ขึ้น เพื่อให้กลุ่มคนรัก สุนัขได้ทาการช่วยเหลือ ให้กับสุนัข ในพื้นที่ทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ไม่ได้ทาการช่วยเหลือสุนัขจรจัดเพียงอย่างเดียว สุนัขที่มีเจ้าของ สัตว์เลี้ยงอื่นๆ ทางมูลนิธิก็ยินดีทาการช่วยเหลือด้วยเช่นกัน ในการช่วยเหลือสุนัขแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือแบบเร่งด่วนและแบบไม่เร่งด่วน ในกรณีที่เร่งด่วน ทาง ผู้แจ้งจะต้องระบุเบอร์โทรศัพท์ พิกัดของสุนัข หรือทางใดก็ได้ที่ผู้ติดตามเพจสามารถทาการช่วยเหลือสุนัขได้ อย่างทันถ่วงที เช่น จากกรณีของกูฟฟี่ อาการโคม่าจากการถูกรุมทาร้าย พบภาวะของเกร็ดเลือดต่าต้องได้รับ การถ่ายเลือดอย่างเร่งด่วน จึงประกาศขอรับบริจาคเลือดอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อชีวิตกับกับเจ้ากูฟฟี่ โดยผู้แจ้งได้ ทาการโพสพิกัดของกูฟฟี่ ว่าตอนนี้รอการช่วยเหลืออยู่ ที่โรงพยาบาลสัตนครราชสีมา สาขาสุรนารายณ์ แจ้ง เบอร์โทรศัพท์ของโรงพยาบาล และเบอร์โทรศัพท์เจ้าของสุนัข เพื่อสะดวกและรวดเร็วในการติดต่อและทาการ ช่วยเหลือสุนัข

ภาพที่ 2 ตัวอย่างภาพการขอความช่วยเหลือจากเจ้าของสุนัข ที่มา : Facebook/The Voice (เสียงจากเรา) *ณริศรา ชมระกา รหัสนักศึกษา 54040745 สาขานิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


การช่ วยเหลือสุนัขจรจัดจากสังคมออนไลน์

57

ณริศรา ชมระกา รหัส 54040745*

และในกรณีที่ไม่เร่ งด่ว น การแจ้ งข่าวสารจากทางเพจจะเป็นข่าวประเภท ของความอนุเคราะห์ อุปการะสุนัข ให้ได้มีที่อยู่อาศัย หรือการแจ้งข่าวประเภทประกาศหาสุนัขหาย หรือความคืบหน้าอาการของ สุนัขที่มูลนิธิได้ทาการช่วยเหลือ ร่วมถึงติดตามความเป็นอยู่ของสุนัขที่มีคนใจบุญรับไปอุปการะว่าชีวิตของเขา ดีขึ้น จากแต่ก่อนอย่ างไร ยกตัว อย่างการประกาศหาผู้ ใจบุญอุปการะลู กสุ นัขที่เกิดจากแม่สุ นัขที่มีอาการ บาดเจ็บที่ข้อเท้า ให้ได้มีที่พักเพียงแสนอบอุ่น หรือสามารถบริจาคค่ารักษาและค่าดูแลได้ตามบั ญชีที่ให้ไว้ใน เพจ

ภาพที่ 3 ตัวอย่างภาพการประกาศหาบ้านให้สุนัขจรจัด ที่มา : Facebook/The Voice (เสียงจากเรา) กิจกรรมที่ทางมูลนิธิ The voice (เสียงจากเรา) ก็ไม่ได้มีเท่านี้ ยังมีการจัดทาวัคซีนในสุนัขจรจัด โดย ใช้ชื่อว่า “โครงการทาวัคซีนในน้อง 1,200 ชีวิต” ณ ศูนย์พักพิงสุนัขจรจัด-พลูตาหลวง เพียงบริจาค200 บาท สามารถนามาเป็นค่าวัคซีนให้สุนัขได้ 1 ตัว ร่วมกันสมทบทุนเพื่อเป็นค่าวัคซีนให้ กับสุนัขๆได้มีสุขภาพแข็งแรง ได้รับวัคซีนรวมครบทั้ง 1,200 ชีวิต ตามบัญชีที่ปรากฏในเพจ

ภาพที่ 4 ตัวอย่างการทาโครงการทาวัคซีนให้น้อง 1,200 ชีวิต ที่มา : Facebook/The Voice (เสียงจากเรา) *ณริศรา ชมระกา รหัสนักศึกษา 54040745 สาขานิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


การช่ วยเหลือสุนัขจรจัดจากสังคมออนไลน์

58

ณริศรา ชมระกา รหัส 54040745*

แนวทางและมาตรการแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาจากสุนัขจรจัด เราจึงควรมี แนวทางหรือวิธีการและมาตรการต่างๆ ที่หลายๆ หน่ ว ยงาน ได้ช่ว ยกัน ออกมาพยายามแก้ไข ปัญหาสุ นัขจรจัด กันอย่างเต็มที่ แล้ ว แต่ก็ยังไม่เป็นผลส าเร็จ เท่าที่ควร เพราะมาตรการต่างๆที่นามาใช้นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการแก้ไขปัญหากันที่ปลายเหตุเสียมากกว่า ซึ่ง แนวทางและมาตรการ ในการแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัดให้เป็นระบบและเป็นขั้นเป็นตอนมีแนวทางดังนี้ (ข่าวสัตว์ เลี้ยง, 2557) มาตรการที่ 1. การกรองสุนัขจรจัด ที่ไม่มีเจ้าของออกจากสุนัขที่มีเจ้าของให้ชัดเจน โดยการออก กฎหมายควบคุมรวมถึงบทลงโทษ กับเจ้าของสุนัขที่กระทาผิด เช่น การออกกฎหมาย ห้ามมิให้ผู้เลี้ยงสุนัข ปล่อยสุนัขของตน ออกนอกเคหะสถาน หรือที่สาธารณะโดยเด็ดขาด ถ้าสุนัขก่อความเสียหายแก่ทรัพย์สิน หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดก็ตาม ให้เจ้าของสุนัข ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ ในความเสียหายทั้งหมดที่เกิดขึ้น หาก เจ้าของสุนัขมีความจาเป็นที่จะต้องนาสุนัข ออกนอกเคหะสถาน หรือที่สาธารณะ สุนัขทุกตัวจะต้องอยู่ภายใต้ การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด จากเจ้าของสุนัข หรือผู้ดูแลสุนัขตลอดเวลา เป็นต้น ผลพลอยได้ที่ได้จาก มาตรการนี้มีหลายเรื่องคือ 1) ช่วยลดอุบัติเหตุ ในกรณีที่สุนัขวิ่งตัดหน้ารถ หรือไล่กัดผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ จนอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ 2) ช่วยลดการแพร่ระบาดของโรคพิษสุนัขบ้า 3) ช่วยแก้ไขปัญหาสุนัขอุจจาระ และปัสสาวะ ในที่ๆไม่เหมาะสม ซึ่งอาจก่อความเดือดร้อนกับผู้อื่นได้ 4) ป้องกันสุนัขกัดหรือทาร้ายคน 5) ลด ปัญหาการแพร่ขยายพันธุ์ของสุนัข ซึ่งเป็นต้นเหตุสาคัญของปัญหา มาตรการที่ 2. ให้เจ้าของสุนัขนาสุนัขทุกตัวที่ต้องการจะเลี้ยงไปทาการสักเบอร์หู พร้อมกับขึ้น ทะเบียนตัวและทาประวัติให้เรียบร้อย ซึ่งการขึ้นทะเบียนตัวประวัติสุนัข ยังเป็นการตรวจนับประชากรสุนัขไป ในตัวด้วย จะได้ทราบถึง จานวนสุนัขที่แท้จริงว่ามีอยู่เท่าไหร่ และยังสามารถควบคุม โรคพิษสุนัขบ้า และ โรคติดต่ออื่นๆ ได้ง่ายดายยิ่งขึ้นอีกด้วย โดยการให้ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบคอยตรวจเช็คจากฐานข้อมูลประวัติ ของสุนัข ว่าสุนัขตัวใดบ้างที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้า เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจะได้ทาการ แจ้งเตือน ให้เจ้าของสุนัขนาสุนัขของตนไปรับการฉีดวัคซีนให้เรียบร้อยต่อไป การสักเบอร์หู จะมีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่ามาก ซึ่งต่างกับการฝังไมโครชิพ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายที่สูงมากๆ ถ้า ใช้ วิธีการสักเบอร์หูแทนการฝังไมโครชิพ จะช่วยประหยัดงบประมาณได้มหาศาลเลยที เดียว การเลือกใช้ การสัก เบอร์หูสุนัข พร้อมกับการขึ้นทะเบียนตัวและประวัติสุนัข ก็น่าจะเพียงพอแล้ว เพราะจุดประสงค์ ที่แท้จริงก็ เพื่อ ให้ทราบว่าสุนัขบ้านอยู่ที่ไหน และใครเป็นเจ้าของสุนัขเท่านั้น มาตรการที่ 3. เมื่อกรองสุนัขจรจัด ออกจากสุนัขที่มีเจ้าของได้แล้ว ก็จะเหลือแต่สุนั ขที่เป็นสุนัขจรจัด จริงๆเท่านั้น ขั้นตอนนี้ให้หน่ วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ออกจับสุนัขจรจัดที่ไม่มีเจ้าของทั้งหมด ไปไว้ยัง สถานที่รับเลี้ยงสุนัขจรจัด และให้แยกเลี้ยงสุนัขเพศผู้และสุนัขเพศเมียออกจากกัน เพื่อป้องกันการผสมพันธุ์ กันเองของสุนัข โดยวิธีนี้ จึงไม่ จาเป็นที่จะต้องทาหมันสุนัขแต่อย่างใด และให้เลี้ยงสุนัขจรจัดทั้งหมด จนกว่า จะสิ้นอายุขัย มาตรการที่ 4. จัดให้มีสถานที่และเจ้าหน้าที่ ในการทาโครงการ หาบ้านใหม่ให้สุนัข ซึ่งทุกวันนี้ก็มี โครงการดีๆแบบนี้อยู่บ้างแล้ว เพียงแต่ส่งเสริมให้ดูชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยการคัดเลือกสุนัขที่มีความเหมาะสม *ณริศรา ชมระกา รหัสนักศึกษา 54040745 สาขานิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


การช่ วยเหลือสุนัขจรจัดจากสังคมออนไลน์

59

ณริศรา ชมระกา รหัส 54040745*

ในด้านนิสัยและพฤติกรรมที่ดีให้กับผู้ที่มีความพร้อมในการที่จะขอรับสุนัขไปอุปการะ ควรทาหมันสุนัขทุกตัวที่ เข้าร่วมโครงการนี้ ซึ่งโครงการนี้จะเป็นการช่วยลดจานวนสุนัขจรจัดที่สถานรับเลี้ยงสุนัขจรจัด ต้องรับผิดชอบ ได้ดีอีกทางหนึ่งด้วย มาตรการที่ 5. รณรงค์และขอความร่วมมือ กับเจ้าของสุนัข ให้ทาหมันสุนัขที่ไม่ต้องการจะมีลูก เพื่อ ป้องกันการแพร่ขยายพันธุ์ ของสุนัขโดยไม่ตั้งใจ ส่วนสุนัขที่อยู่ในเคหะสถาน โอกาสที่สุนัขจะออกมาผสมพันธุ์ กันเอง ก็เป็นไปได้ยาก จึงเป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุจริงๆ เมื่อไม่มีการขยายพันธุ์เพิ่มของสุนัขจรจัด สุดท้าย สุนัขจรจัดที่เหลืออยู่ ก็จะค่อยๆ ลดจานวนลง และหมดไปในที่สุด สรุป สุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงที่น่ารัก สามารถเข้ากับมนุษย์ได้ดี ชอบไล่ล่า มีความพยายาม อดทน เฉลียวฉลาด และซื่อสัตย์ โดยธรรมชาติของสุนัขนั้นเป็นสัตว์สังคม ไม่ชอบความโดดเดี่ยว ดังนั้นเมื่อคุณคิดจะเลี้ยงสุนัขสัก ตัว การให้ อาหารอย่ างเดียวคงไม่เพียงพออย่างแน่นอน เพราะสุนัขนั้นมีชีวิต มีหัวใจ และสามารถรับรู้ถึง ความรู้สึกสุข เศร้า เหงา เสียใจ ดีใจ ได้เช่นเดียวกับมนุษย์เรา เมื่อ คุณรับสุนัขมาเลี้ยงแล้ว เขาไม่ได้อยู่กับเรา เพียงแค่ 1 ปีหรือ 2 ปี แต่เขาจะอยู่กับคุณไปนานเป็น 10 ปี ซึ่งนั่นก็หมายความว่า คุณมีสมาชิกในครอบครัว เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งชีวิต ที่ต้องรับผิดชอบ ลองทบทวนดูนะคะว่า คุณพร้อมแล้วหรือยังที่จะดูแลและรับผิดชอบชีวิต สักตัวไปจนชั่วชีวิตของมัน(ปานเทพ รัตนากร,2541) การรับสุ นัขมาเลี้ย งสักตัว เราจ าเป็นต้องดูแลเขาทั้งสุ ขภาพกายและสุขภาพใจ ตัว ของผู้เลี้ยงเอง จาเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อชีวิตสัตว์และสังคม ทั้งในแง่กฎหมาย และคุณธรรม เพื่อสุนัขของคุณจะได้เป็น สัตว์เลี้ยงที่ดีมีคุณภาพ และไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆได้ในภายหลัง บรรณานุกรม สุนันทา ศรีเพ็ง. 2548. สุนัข สัตว์เลี้ยงที่ กทม. ออก”กฎ”ควบคุม. กรุงเทพมหานคร. สานักวิจัยและวิชาการ สานักงานศาลปกครอง กระทรวงยุติธรรม. ปานเทพ รัตนากร.2541. คู่มือคนรักสุนัข. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ผู้จัดการ. ------. แนวทางการปฏิบัติงานสาหรับเจ้าหน้าที่ควบคุมสุนัข. กรุงเทพมหานคร. ราชสมาคมป้องกันการ ทารุณสัตว์ (RSPCA) แห่งประเทศอังกฤษ. ข่ า ว สั ต ว์ เ ลี้ ย ง . 2 5 5 7 . แ น ว ท า ง แ ล ะ ม า ต ร ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า สุ นั ข จ ร จั ด . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ ที่ :http://www.thailanddogshow.com/content (18 พฤศจิกายน 2557) -------. 2557. The voice (เสียงจากเรา). เข้าถึงได้ที่ : https://www.facebook.com/thevoiceforanimals?fref=nf (9 ธันวาคม 2557)

*ณริศรา ชมระกา รหัสนักศึกษา 54040745 สาขานิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


60

นางสาวทัศวรรณ โพธิ์พล 54040754

“การบริโภคสื่อออนไลน์ของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน” ปั จ จุ บั น นี้ สั งคมไทยอยู่ ในยุ ค ของการสื่ อ สารไร้พ รมแดน การไหลบ่ า ของข่ าวสาร วิ ถี ชีวิ ต จากทั่ ว มุม โลก หมุนเวียนแลกเปลี่ยนกันอยู่ทุกวินาที โดยผ่านสื่อต่างๆ ที่ทันสมัยโดยเฉพาะสื่อออนไลน์ที่เป็นกระแสค่านิยม เป็น เครื่องบ่งชี้ความรวดเร็วทันสมัยของกลุ่มคนหรือวัยรุ่นในปัจจุบันเพราะเป็นสื่อที่มีความสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึง ทา ให้กลุ่มคนคุ้นชินกับความสะดวกสบายมิหนาซ้ายังกลายเป็นดาบสองคมที่มีประโยชน์มากมายพร้อมโทษซึ่งสื่อทุกชนิด จึงล้วนเป็นเครื่องมือในการหาประโยชน์ของผู้ที่ต้องการสามารถเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์ในทุกด้าน และแทบทุก คนจึงปฏิเสธไม่ได้ว่า ณ เวลานี้อิทธิพลและค่านิย มของสื่ออาจแทรกซึมเข้ามาในตัวทั้งภายในและภายนอก ภายในต้อง พูดถึงเรื่องจิตใจความคิดที่ผ่านการรับสื่อจนมีกระบวนการของจิตใต้สานึกที่เปลี่ยนไป ชอบเก็บตัว อารมณ์รุนแรง เห็น แก่ประโยชน์ส่วนตัวเพียงเพราะว่าเขาเหล่านั้นบริโภคสื่อที่ไม่ดีมากเกินไปหรือเป็นสิ่งที่ดีแต่ผิดวิธีนั่นเอง ส่วนปัจจัยภาย นอกนั้นเห็นได้ชัดจากองค์รวมของบุคคลที่กล่าวข้างต้นเมื่อได้มาอยู่ร่วมกันมีการแลกเปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ซึ่งกันและกัน สื่อออนไลน์ในยุคปัจจุบัน คาว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์มีผู้ให้ความหมาย ไว้หลากหลาย แต่ในบทความนี้จะใช้ความหมายของ อดิเทพ บุตราช (2553) ซึ่งได้ให้นิยามคาว่าเครือข่าย สังคมออนไลน์ หมายถึง กลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมและ มีการทากิจกรรม ร่วมกันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง อยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์มีการแพร่ขยายออกไปเรื่อยๆ โดยใช้รูปแบบของการ ติดต่อสื่ อสารผ่ านเครื อข่าย อิน เทอร์ เน็ ต มีการสร้างเครือข่ายชุมชนเสมือนบน เครือข่ายคอมพิว เตอร์เพื่อใช้เป็น เครื่องมือสาคัญในการ ติดต่อสื่อสาร การทากิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ ทางด้านการศึกษา ธุรกิจ และความ บันเทิงของคนในสังคม การบริโภคสื่อออนไลน์ ถือว่าปัจจัยหลักในการดารงชีวิตของสังคมในปัจจุบันและเป็นการ สะท้อนถึงอิทธิพลที่มีต่อสื่อ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่ในสังคมและใช้การสื่อสารในการบอกความต้องการของตนเองต่อ ผู้อื่นการสื่อสารหรือสื่อจึงเป็นสื่อกลาง ยิ่งปัจจุบันช่องทางการรับข่าวสารมีอยู่มากมายไม่ว่าจะเป็นสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ อินเตอร์เน็ต หรือสื่อบุคคล ทั้งนี้สื่อในปัจจุบันมีอิทธิพลต่อมนุษย์ในการเลือกรับบริโภคสื่อ ไม่ว่าจะ เป็นสื่อออนไลน์เป็นส่วนใหญ่ เพราะเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงได้รวดเร็ว เปรียบเสมือนเป็นเครื่องมือย่อโลกทาให้กลุ่มคน คุ้นชินกับความสะดวกสบายมิหนาซ้ายังกลายเป็นดาบสองคมที่มีทั้งคุณอนันต์ก็มีโทษมหันต์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมจากอิทธิพลของสื่อนี่เอง เริ่มเด่นชัดขึ้นเมื่อสื่อเหล่านี้เริ่มส่งผลร้ายมากกว่าดีในบางครั้งเพราะมนุษย์มัก มองแต่ประโยชน์ และด้านดีของมันจนมาสะดุดเมื่อได้รับรู้ว่ามันได้ส่งผลร้ายกลับมา ตัวอย่างเช่น การใช้อินเตอร์เน็ตใน การสื่อสารกันในยุคปัจจุบัน ด้วยเครื่องมือที่ทันสมัยตามกระแสวัตถุนิยมค่านิยมใหม่ๆ ซึ่ งกลุ่มวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องมี สมาร์ส โฟนในการบริ โ ภคสื่ อ และรั บสื่ อข่าวสารได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว รวมถึงการแสดงความคิดเห็ นในโลก ออนไลน์ โซเชียลเน็ตเวิร์ค การแชร์รูปภาพ ข้อความ และการโพสภาพและข้อความอันเป็นความพึงพอใจและความ ปรารถนาของบุคคลกลุ่มหนึ่งลงไปมีทั้งประโยชน์และโทษ


61

ภาพที่ 1 ผลสารวจการใช้สื่อ(กรุงเทพโพลล์) ที่มา: สานักข่าว aec-news

พฤติกรรมการใช้สื่อของวัยรุ่น พฤติกรรมของวัยรุ่นกับสื่อปัจจุบัน วัยรุ่นกับสื่อนั้น แทบจะกล่าวได้ว่า เป็นคู่หู คู่ปาก คู่ตา คู่ใจ คู่มือ ของวัยรุ่น กว่า 70 % (อาจจะมากกว่านั้นเสียอีก) การเปิดรับสื่อของวัยรุ่นในเวลาเดียวกัน จะใช้สื่อมากกว่า 1 ประเภท เช่น ฟัง วิทยุพร้อมกับเล่นเกม, เล่น Internet พร้อมกับดูโทรทัศน์, ดูรายการอื่นใดจากสื่ออื่นใด ร่วมกับการ chat ใน Face book, และอื่นๆ ส่วนสาคัญอีกอย่างก็คือ บุคคลที่เป็นต้นแบบในสื่อที่วัยรุ่นสนใจมากเป็นพิเศษ คือ ดารา นักร้อง และ ผู้มีชื่อเสียง ปัจจุบันสื่อออนไลน์และสังคมออนไลน์ เข้ามามีบทบาทกับสัง คมเป็นอย่างมาก ทั้งในเรื่องการทางานและการ ดารงชีวิต เยาวชนก็เป็นกลุ่มหนึ่งที่ใช้สื่อประเภทนี้ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้วันที่ 20 กันยายน ของทุกปี ได้ถูกกาหนดให้เป็นวัน เยาวชนแห่งชาติ ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) จึงได้ทาการสารวจความคิดเห็นของเยาวชนในหัวข้อ ? ชีวิตประจาวันของเยาวชนในยุคสื่อออนไลน์ ? โดยเก็บข้อมูลจากเยาวชนในกรุงเทพฯและปริมณฑล จานวน 1,186 คน พบว่าอุปกรณ์ที่เยาวชนใช้สาหรับการเข้าถึงสื่อออนไลน์ในปัจจุบันมากที่สุดคือ มือถือ/Smart phone ร้อยละ 69.4 รองลงมาคือ Computer / notebook ร้อยละ 25.3 และ Tablet (iPad/Galaxy Tab ฯลฯ) ร้อยละ 5.3 ส่วนเวลาที่ เยาวชนอยู่กับสื่อออนไลน์ / สังคมออนไลน์ เฉลี่ยต่อวันมากที่สุด คือประมาณ 3-4 ชั่วโมงต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 32.6 รองลงมาคือ ประมาณ 1-2ชั่วโมงต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 19.7 และประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 17.1 สาหรับวัตถุประสงค์ในการใช้สื่อออนไลน์ของเยาวชนในปัจจุบันคือ ใช้พูดคุย/chat ร้อยละ 80.6รองลงมาคือดูความ เคลื่ อนไหวของเพื่อนๆ ร้ อยละ 53.4 และติดตามข่าวสารต่างๆ ร้อยละ 49.2ทั้งนี้ เมื่อถามถึงผลการเรียนและ ประสิทธิภาพในการทางานหลังการใช้สื่อออนไลน์ เยาวชนส่วนใหญ่ร้อยละ 66.5 ระบุว่าเรียน/ทางานได้เท่าเดิม และ ร้อยละ 23.3 ระบุว่าเรียน/ทางานดีขึ้น โดยมีเพียงร้อยละ 10.2 ที่ระบุว่า เรียน/ทางานลดลงส่วนการใช้เวลาในการ พูดคุย/ทากิจกรรมร่วมกันกับคนในครอบครัวหลังจากการใช้สื่อออนไลน์เยาวชนส่วนใหญ่ร้อยละ 65.9 ระบุว่าใช้เวลา พูดคุยกันเท่าเดิม รองลงมาร้อยละ 17.3 ระบุว่าพูดคุยกันมากขึ้น และร้อยละ16.8 ระบุว่าพูดคุยกันน้อยลงความเห็นต่อ ประเด็นการติดสื่อออนไลน์ เยาวชนร้อยละ 54.3 ระบุว่าตนเองไม่ได้ติดสื่ อออนไลน์ (เล่นก็ได้ไม่เล่นก็ได้ ไม่ซีเรียส) ขณะที่ร้อยละ 45.7 ยอมรับว่าตนเองติดสื่อออนไลน์ (ต้องเล่นทุกวันและต้องหาเวลา/โอกาสเล่นจนได้) สุดท้ายเมื่อถามถึงประโยชน์ที่ได้จากการใช้สื่อออนไลน์ อันดับแรกเยาวชนระบุว่า รับรู้ข่าวสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และไวกว่าทางทีวี ร้อยละ 32.7 รองลงมาระบุว่า หาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และได้ความรู้เพิ่มเติมร้อยละ19.9 และคุย กับเพื่อน พ่อแม่ ญาติ หรือคนที่อยู่ห่างไกล ได้สะดวก โดยไม่ต้องเสียเงิน ร้อยละ 16.7


62

ชัญญา ลี้ศัตรูพ่าย (2552)ได้กล่าว่า การบริโภคที่ไม่เหมาะสมเป็ นผลมาจากที่กลุ่มนักศึกษาไม่ตระหนักถึง อิทธิพลและผลกระทบของสื่อ น้อยคนมากที่จะตระหนักว่าเนื้อที่สื่อนาเสนอนอกจากจะให้ความบันเทิงความสนุกสนาน เพลิดเพลินแล้ว เนื้อหานั้นเหล่ายังมีอิทธิพลต่อความคิดเห็นและพฤติกรรมโดยไม่รู้ตัวหรือแม้แต่เกมส์ออนไลน์อย่างเกม ที่ออกแบบให้มีการฆ่าคนสะสมแต้ม ปรากฏว่ามีวัยรุ่นที่เล้นแล้วนามาใช้กับชีวิตจริง คือไปฆ่าคนตามที่ปรากฏเป็นข่าว สิ่งนี้เป็นเพราะเยาวชนขาดการตระหนักถึงผลกระทบของสื่อที่มีต่อพฤติกรรมและความคิด ทัศนคติตลอดจนค่านิยม ของการบริโภค ปรารถนา เจริญสุขพาณิชน์ (2545) ได้กล่ าวว่า กระแสของสื่อออนไลน์นั้นเป็นการทาลายสังคมและ วัฒนธรรมสิ่งที่ดีงามของไทยและความรู้สึกนึกคิดอันเป็นธรรมชาติตัวตนจริงๆ รวมถึงบทบาทการดารงชีวิตของวัยรุ่นใน สังคมไทยปัจจุบั นให้เปลี่ ยนไปเกือบสิ้นเชิงความเจริญด้านวัตถุที่มีบทบาทมากขึ้นทาให้วัยรุ่นในสังคมส่ว นใหญ่ถูก ครอบงาด้วยค่านิยมของความของความทันสมัยและอะไรก็ตามที่ผู้คนในเมืองส่วนใหญ่นั้นตั้งกฎเกณฑ์ขึ้นหรือให้การ ยอมรั บ ว่าเป็ น สิ่งที่ถูกต้อง น่ าเชื่อถือ น่ าทาตาม เป็นต้น แบบบรรทัดฐานข้อบังคับให้ทุกคนดาเนินชีวิตอย่างไม่มี ความคิดที่จะปฏิเสธได้ นี่คืออิทธิพลของวัตถุนิยมที่มี ความสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มสังคมวัยรุ่นไทย ยกตัวอย่าง ง่ายๆจากวัฒนธรรมโทรศัพท์มือถือส่วนตัวซึ่งค่อยๆทาตลาดแทรกซึมกลายเป็นของใช้ที่จาเป็นมากจนขาดไม่ได้ในที่สุด ซึ่งในปัจจุบันนี้ทุกๆคน ต้องมีและเมื่อมีก็ต้องขวนขวายพยายามเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือเป็นรุ่นใหม่ๆ อยู่เสมอเพื่อความ มันสมัยทาให้ “โทรศัพท์มือถือ” กับ “วัยรุ่น” ได้กลายเป็นสิ่งคู่กันในยุคปัจจุบันแยกแทบไม่ออกว่าเป็น ความจาเป็น หรือ ความฟุ่มเฟือย ซึ่งสะท้อนภาพปัญหาต่างๆมากมายทั้งในด้านค่าใช้จ่ายเป็นหนี้สิน โดยวั ยรุ่นจะต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการใช้โทรศัพท์มือถือเฉลี่ยแล้วประมาณ เดือนละ 750.92 บาท (ข้อมูลจากสวนดุสิตโพล ในการสารวจความคิดเห็น วัยรุ่นอายุระหว่าง 15-20 ปี ทั้งมีโทรศัพท์มือถือ และพักอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯและปริมณฑล จานวน 1,612 คน ระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2545) ผลกระทบของการใช้สื่อออนไลน์ วัยรุ่นส่วนใหญ่กาลังได้รับผลกระทบทางด้านลบจากสื่อ 3 ประเด็นหลัก คือ 1. การบริโภคนิยม เสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ เนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่มีคุณค่าทางอาหาร เช่น Fastfood ส่งผลต่อการเกิดภาวะอ้วนได้ เพาะบ่มนิสัยบริโภคนิยมจากการนาเสนอสินค้าต่างๆ ทางอินเตอร์เน็ต โทรทัศน์ วิทยุ ฯลฯ มีค่านิยมฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย และใช้เงินอย่างมากไปกับสินค้าต่างๆสร้างความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับรูปร่าง น้าหนัก หรือ การลดความอ้วนเนื่องจากมีสื่อโฆษณาความ “ผอมเพรียว” มากมาย 2. พฤติกรรมทางเพศ มักจะเกิดจากการเลียนแบบสื่อ โดยเฉพาะทีวีเป็นตั วแบบที่สาคัญของการแสดงออก ทางเพศของเด็ก เช่น เพศสัมพันธ์วัยเรียน ล่วงละเมิด หลงในมายาคติทางเพศ เสพติดเซ็กส์ การแต่งตัว การวางตัว กับเพศตรงข้าม กริยาท่าท่าที่เหมาะสม ค่านิยมต่างๆที่มากับละคร เป็นต้น แล้วเด็กก็นาไปปฏิบัติเป็นแบบอย่างถูกยั่วยุ ทางเพศจนขาดการยับยั้งชั่งใจกับเพศตรงข้าม เสี่ยงต่อการถูกล่อลวงในห้องแช็ทและอีเมลล์ 3. ความรุนแรง แนวโน้มด้านบุคลิกและนิสัยเสื่อมถอย เช่น มนุษยสัมพันธ์ต่า โลกส่วนตัวที่สูง ครอบครัวถูก มองข้าม คนแปลกหน้าได้รับไว้วางใจ พฤติกรรมยับยั้งชั่งใจต่อเรื่องที่ไม่ดีต่างๆ ลดลงพฤติกรรมเลียนแบบต่างๆ เช่น การต่อสู้จากเกมส์ มีความชาชินต่อสื่อหลังจากหมกมุ่นกับสื่อเป็นเวลานานเสี่ยงต่อการเข้าไปเล่นพนันออนไลน์เคยชิน


63

กับความรุนแรงผ่านเกมส์ออนไลน์ และเว็บไซท์วิปริตเสี่ยงที่จะขโมยบัตรเครดิตหรือขโมยเงินผู้ปกครองมาใช้เพื่อซื้อ สินค้าออนไลน์ หรือสินค้าที่โฆษณาตามสื่อต่างๆ ในขณะเดียวกันในการบริโภคสื่อออนไลน์ของวัยรุ่น ยังใช้ในลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือแลกเปลี่ยน ความรู้ เกี่ย วกับ การศึกษาหาความรู้ ใน รู ป แบบต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยส่ ว นใหญ่เน้นที่ปริมาณ ของความรู้แต่ไม่มี คุณภาพ และ ข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนกันส่วนมากจะเป็นข้อมูล ส่วนบุคคล การแลกเปลี่ยนรูปภาพ วิดีโอ การส่ง ข้อความ และการพูดคุย นอกจากนั้น Facebook ถือเป็นเครื่องมือ ทางสังคมที่สาคัญและเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วย ให้ คนในสังคมมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เนื่องจากในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทกับการดาเนินชีวิต ประจาวันของคนในสังคม เช่น การทางาน การศึกษา การใช้บริการต่างๆ ล้วนต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้น การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบันจึงไม่ใช่ เรื่องแปลกใหม่อีกต่อไป แต่กลายเป็นสิ่งจาเป็นที่ช่วย อานวยความ สะดวกในการติดต่อ สื่อสาร การแลกเปลี่ยน ข้อมูล การแลกเปลี่ยนความรู้ของคนในสังคมยุคปัจจุบัน การใช้ประโยชน์ของสื่อออนไลน์ ปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์เพิ่ม มากขึ้น มีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อบอกเล่า เรื่องราว ประสบการณ์ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ ผู้ใช้จัดทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่อต่างๆ แล้วนามาแบ่งปันให้ กับเพื่อน และผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนได้ทราบผ่าน ทางเว็บไซต์ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ นอกจากนั้น เว็บไซต์ที่ให้บริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์ยังสามารถ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม (สุภาภรณ์ เพชรสุภา, 2554) ได้แก่ 1. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ตัวตน” เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะใช้นาเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของ ตนเอง ผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือผู้ใช้สามารถเขียน Blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพื่อนในห้องเรียน และสร้าง เครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ขึ้นมาได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์ประเภทนี้คือ myspace.com, hi5.com และ facebook.com เป็น ต้น 2. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ผลงาน” อาจจะเป็นผลงานของกลุ่มหรือผลงานของตัวเอง โดย สามารถนาเสนอใน รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงอาจารย์สอนที่ได้จากการบันทึกในชั้นเรียน เป็นต้น ตัวอย่างเว็บไซต์ ประเภทนี้เช่น YouTube.com, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr.com, Multiply.com เป็นต้น 3. กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ เรื่องเดียวกัน อาจเป็นลักษณะ Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่ เราจะทา Bookmark เว็บไซต์ที่เราชอบ หรือบทความ รายงานที่เกี่ยวข้องกับ การเรียน เก็บไว้ในเครื่องของเรา คนเดียว เราก็สามารถทา Bookmark เก็บไว้บนเว็บไซต์ แทน เพื่อเป็นการแบ่งให้ เพื่อนๆ คนอื่นเข้ามาดูได้ด้วย และเราก็สามารถดูได้ว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก หรือเป็นที่น่าสนใจ โดยดูจาก จานวนตัวเลขที่เว็บไซต์ นั้นถูก Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ Delicious, Digg, Zickr, Duocore.tv เป็นต้น 4. กลุ่มเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม การทางานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่เปิด โอกาสให้ สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถเข้ามานาเสนอ ข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ ได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ WikiPedia ซึ่งเป็นสารานุกรมต่อยอด ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแก้ไข บทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรม ออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และ เหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย จากที่กล่าวมา


64

ทั้งหมด จะเห็นได้เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการพัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ใน การใช้ งานในด้านต่างๆและสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ผลวิจัยพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ ขวัญวิทย์ ตาน้อย (2553) ได้ทาการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีร าชมลคลธัญบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบพฤติกรรมการใช้งาน เครือข่ายสังคมออนไลน์ และเพื่อศึกษาแรงจูงใจที่มีต่อการใช้งานในเครือข่างสังคมออนไลน์ ผลการศึ กษาพบว่า กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ชั้นปีการศึกษาที่ 4 ใช้อุปกรณ์หลักในการติดต่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ใช้ คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ ในการเข้าบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ค 3-4 ชั่วโมง/วัน วังทราย อินทะวัน (2553) ได้ทาการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการบริโภคสื่อประเภทต่างๆของวัยรุ่นในจังหวัด เชียงใหม่ ทาการรวบรวมข้อมูลจาก วัยรุ่นที่อยู่ในช่วงอายุ 12-15 ปี ที่อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่จานวน 400 ราย ผลจาก การศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อหาข้อมูลจากเว็บไซต์เพื่อทาการบ้านหรือทารายงาน มากที่สุด ในด้าน วัตถุประสงค์และประโยชน์ในการรับข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน คิดเป็นร้อยละ 20.25 ใช้ดูทีวีออนไลน์ ฟังเพลง ออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 15.87 ดูข่าวดารา นักร้องที่ชื่นชอบ คิดเป็นร้อยละ 12.15 หาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการ ที่น่าสนใจ คิดเป็นร้อยละ 11.17 หาเพื่อนใหม่เพื่อพูดคุยทางอินเทอร์เน็ต คิดเป็นร้อยละ 5.36 และใช้หาแฟน คิดเป็น ร้อยละ 1.37 ตามลาดับ สื่อออนไลน์เป็นสื่อที่ทันสมัยสะดวกรวดเร็วในการเลือกใช้สื่อโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นที่มีความสมัยต่อการเปิดรับ ข่าวสารมากมายด้วยเทคโนโลยีที่มีทั้งคุณและโทษในการติดต่อสื่อสารวัยรุ่นควรเปิดรับและใช้สื่ออย่างหลากหลาย ตรง กับความสนใจของตนเองมากกว่าเปิดรับตามกระแส และควรนาเอาสิ่งดีๆทีได้จากสื่อมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผ่าน กระบวนการคิด วิเคราะห์ และแยกแยะ เข้าใจธรรมชาติและจุดประสงค์ของสื่อ รวมถึงการรู้จักควบคุมจิตใจของตนเอง ในการรับและใช้สื่อให้เป็นไปอย่างถูก ต้องและเหมาะสม นอกจากนี้วัยรุ่นต้องระมัดระวังการใช้สื่อออนไลน์ ต้องเข้าใจ เข้าถึง ตามทัน และรู้เท่าทันสื่อเช่นเดียวกัน


65

บรรณานุกรม ขวัญวิทย์ ตาน้อย. 2553. พฤติกรรมการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี. ชัญญา ลี้ศัตรูพ่าย. 2552. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคสื่อด้วยปัญญาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขต กรุงเทพมหานคร. สานักกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ. ปรารถนา เจริญสุขพาณิชย์. 2545. วัยรุ่นกับกระแสนิยมใหม่. ศิลปะนิพนธ์ระดับปริญญาตรี ภาควิชาวิจิต ศิลป์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วังทราย อินทะวัง. 2553. พฤติกรรมการบริโภคสื่อประเภทต่างๆของวัยรุ่นในจังหวัดเชียงใหม่. คณะ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ''Social network'' สังคมออนไลน์ (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2557,จาก https://sites.google.com/site/socialnetworksangkhmxxnlin05/karna-khea-ma-chi-niprathesthiy-hrux-kar-chi-ngan-ni-paccuban ความหมายและประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2557,จาก https://smforedu.blogspot.com/2014/02/blog-post.html โพล เผย วัยรุ่นติดสื่อออนไลน์เกินครึ่ง ใช้โปรแกรมแชทมากที่สุด (ออนไลน์) ค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.aecnews.co.th/social/read/1306


66

กลยุทธรานคาเกษตรออนไลน ทิพาวรรณ เมฆหมอก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

บทนํา ในป จ จุ บั น เครื อ ข า ยสั ง คมออนไลน เช น Facebook Twitter Instagram และ เว็บไซตตางๆ นอกจากมีวัตถุประสงค ในการแบ ง ป น ข อ มู ล เช น ข อ ความ ภาพ เสี ย ง วิ ดี โ อต า งๆ ระหวา งผู ใช ด วยกั น ภายในเว็ บไซตนั้ น ๆ แล ว ยั ง สามารถทํ า ธุรกิจออนไลนไดเชนกัน เนื่องดวยเครือขายสังคมออนไลนมี อิทธิพลตอผูคนและสังคมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหธุรกิจตางๆ หันมาใชชองทางนีใ้ นการโฆษณาสินคาและบริการของตนเพื่อให เกิดประโยชนสูงสุดตอแบรนดและขยายโอกาสทางธุรกิจ จุดเดน ที่นาสนใจของสังคมออนไลน คือ รูปแบบการสื่อสารที่ทันสมัย สามารถแพรกระจายขาวสารไดงายและรวดเร็ว เชน การตลาด แบบไวรัส (Viral Marketing) ที่มีตนทุนที่ต่ํา ทั้งยังเขาถึง กลุ ม เป า หมายได ทุ ก ที่ ทุ ก เวลาและทรงอิ ท ธิ พ ลต อ ผู รั บ สาร บทความนี้จะนําเสนอกลยุทธในการทํารานคาออนไลนเพื่อเปน ประโยชนแกผูที่สนใจเครือขายสังคมออนไลน และนักการตลาด ที่กําลังมองหาสื่อแนวใหมที่ทันสมัยและเขาถึงลูกคาไดงาย และ สามารถทําใหลูกคาเลือกซื้อสิ้นคาอยูกับที่ไดโดยไมตองออกจาก บาน โดยเฉพาะดานการเกษตร ที่สามารถใชเครือขายสังคม ออนไลน เปนชองทางใหมในการดําเนินธุรกิจ เพื่อตอบสนอง ความตองการของผูบริโภคยุคใหม เครือขายสังคมออนไลนชองทางธุรกิจใหม โลกสามารถติดตอสื่อสารถึงกันไดโดยทั่วถึง งายขึ้นเพียง แคปลายนิ้วสัมผัส และในปจจุบันทุกคนยังสามารถ เลือกซื้อ สินคา ไดเพียงปลายนิ้วดวยเชนกัน ในสมัยกอนจะลงทุนอะไร สักอยางจําเปนตองมีเงินทุนเปนจํานวนมาก เพื่อที่จะใชในเรื่อง การประชาสัมพันธสินคาและบริการใหเปนที่รูจักแกคนจํานวน มาก และจําเปนตองใชเงินทุนตอเนื่องในการทําใหลูกคายอมรับ ในตั ว สิ น ค า และบริ ก ารนั้ น ๆ แต ใ นช ว งหลายป ที่ ผ า นมา ผูประกอบการรานคาไดหาวิธีที่จะลดเงินทุนลง โดยหาวิธีที่จะ สามารถกระจายขาวและทําใหลูกคารับรูขาวสารไดอยางรวดเร็ว ซึ่งเห็นไดจากการที่รานคาและบริษัทตางๆ มากมายใชเครือขาย สังคมออนไลนในการประชาสัมพันธสินคาและบริการ ทั้งจาก

หนาจอคอมพิวเตอรและแอปพิเคชั่นผานทางสมารทโฟน เชน การสราง Facebook หรือ Instagram ในการโพสรูป วิดีโอ และรายละเอียดของสินคานั้นๆ ลงไป การเปดรานคาออนไลน ทําไดงาย จึงกลายเปนคําตอบแรกของผูประกอบการและนัก โฆษณาที่ถูกหยิบยกมาใชเพื่อเปนชองทางในการเขาถึงผูบริโภค ในปจจุบัน แตจะทําอยางไรที่จะทําใหรานคาเหลานั้นสามารถ อยูรอดบนโลกออนไลนไดอยางยั่งยืนได การโฆษณาออนไลนเปนรูปแบบความพยายามในการให ขอมูลเพื่อกอใหเกิดการรับรู การสรางภาพลักษณที่ดีใหแกธุรกิจ รานคาและกระตุนใหผูบริโภคเกิดการซื้อสินคาหรือบริการ แต ถายังคงใชรูปแบบการโฆษณาออนไลนในแบบเดิมๆ เพียงอยาง เดี ย วคงจะทํ าให เข า ถึง ลู กค า ได ชา และจะลดความสนใจของ ผูบริโภคลงไป จึงตองหาวิธีตางๆ ในการโฆษณาสินคาและ บริการนั้นเพิ่ มเติม ดั งนั้นผู ประกอบการจึงตอ งศึกษาเรื่อ ง กลยุทธตางๆ ที่สามารถทําใหสินคาและบริการเปนที่รูจักในวง กวาง (ณัฏฐา อุยมานะชัย, 2554) คุณลักษณะของการเปนเจาของรานคาออนไลน กอนที่ผูประกอบการจะตัดสินใจเปดรานคาออนไลน ควร จะศึกษาตัวเองกอน วาเหมาะสมหรือมีความพรอมมากนอยแค ไหน โดยพิจารณาไดจากคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1. มีความคิดสรางสรรค สามารถปรับเปลี่ยนสินคาใหมี จุดเดนมากขึ้นเพื่อดึงดูดหรือเรียกรองความสนใจจากลูกคาได 2. เข า ใจพฤติ ก รรมและความต อ งการของลู ก ค า อย า ง แทจริง รูวิธีจูงใจชักนําลูกคาใหเกิดความสนใจในสินคาได 3. ไวตอการเปลี่ยนแปลง เนื่องมาจากการเปดรานคา ออนไลนเปนการสื่อสารทางการตลาดแบบสองทาง ลูกคาจะ สามารถติดตอสื่อสารกับผูขายไดตลอดเวลา เมื่อลูกคาถามถึง ขอมูลสินคาหรือบริการ ผูประกอบการตองสามารถตอบสนอง ลูกคาไดอยางรวดเร็ว 4. มีการประสานงานที่ดี เนื่องจากการที่จะบริการลูกคา ได อย างถู กต องรวดเร็ วผู ป ระกอบการต องมี ความพรอ มที่ จ ะ ใหบริการลูกคาอยูตลอดเวลา เพื่อใหลูกคาเกิดความพอใจสูงสุด 5. มีความเปนมืออาชีพ สามารถทํางานทุกอยางไดอยางมี ประสิท ธิภ าพ รวมถึงสามารถแกไ ขป ญหาเฉพาะหนา ได เป น อยางดี


67

6. เปนผูมีความกระตือรือรน ที่จะติดตามรายละเอียดของ งานตั้งแตตนจนจบ จึงตองเปนผูที่มีพลังในการทํางานสูง ไมวา จะเป น การติด ตามจํ า นวนสิ น ค า และจํ า นวนรายการสิ น ค า ที่ ลูกคาสั่งซื้อ 7. มีวิสัยทัศนที่ดี เปนผูคาดการณอนาคตไดอยางแมนยํา เพราะรานคาออนไลนมีการเปลี่ยนแปลงที่เร็ว ในดานลูกคาและ คูแขงที่จะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งเทคโนโลยีที่ไมหยุดนิ่ง ดังนั้นผูประกอบการจึงตองไมกลัวความเปลี่ยนแปลง และตอง ติดตามการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา กลยุทธรานคาออนไลน เมื่ อ ผู ป ระกอบการมี คุ ณ ลั ก ษณะของการเป น เจ า ของ รานคาออนไลนเรียบรอยแลว จึงตองทําการเรียนรูกลยุทธการ สรางรานคาออนไลนไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งมี 4 กลยุทธ ดวยกัน ดังตอไปนี้ 1. กลยุทธในการสรางแบรนดใหกับรานคาออนไลน 1.1 กลยุ ท ธ ก ารเป น อิ น เตอร แ อคที ฟ คื อ รู จั ก ใช สื่ อ ออนไลนทําใหมีการโตตอบระหวางเว็บไซตกับผูใชที่ชวยทําให เกิดแรงเสริมใหกับรานคาออนไลน หากขาดกลยุทธนี้ รานคาก็ อาจจะย่ําอยูกับที่ แตถาอยากสรางแบรนดรานคาใหเปนที่รูจัก ผูประกอบการตองออกแบบตราสินคาที่ออกแบบมาเพื่อใชกับ รานคาออนไลนนี้โดยเฉพาะ และในการตั้งชื่อรานคาหรือแบ รนด ควรใชชื่อเฉพาะ ถาผูประกอบการตองการใหรานคาหรือ แบรนดเป นที่รู จัก ผูประกอบการจําเปนต องตั้ งชื่อ ใหมี ความ แปลกใหมและเปนที่สะดุดตามากขึ้น ตัวอยางเชน เกษตรไซ เบอร เกษตรออนไลน หรือ เกษตรเดลิเวอรี่ เพื่อเปนการดึงดูด ความสนใจของลูกคา ไมควรใชชื่อทั่วไปที่ทุกคนรูจักกันดีอยูแลว เชน "ร านสินค าเกษตร" ในการตั้ง ชื่อ ในโลกธุรกิ จที่ ไมมี การ แขงขัน ลูกคาคงเขามาซื้อของในรานคาที่มีชื่อทั่วไป แตเมื่อเปน รานคาออนไลนที่มีเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมากจึงตองหันมาใชชื่อ เฉพาะเพื่อใหลูกคาเกิดความสนใจมากขึ้น ผูประกอบการจะไดมี โอกาสในการขายสินคาและบริการไดมากวารานคาที่มีชื่อทั่วไป 1.2 กลยุทธการโฆษณา รานคาออนไลนสวนมากจะใช วิ ธี ก าร ฝากร า นตามเพจดาราดั ง ไม ก็ ใ ช แ บนเนอร หรื อ Pop-up โพสตลงบนหนาเว็บไซตตางๆ ที่มีผูคนเขาชมเปน จํา นวนมาก เพื่ อ วา ลู กค า ที่ส นใจจะได พ บเจอโฆษณานั้น ถ า ผู ป ระกอบการต อ งการที่ จ ะทํ า ให ร า นค า ของตนเป น ที่ รู จั ก

ควรลืมเรื่องการโฆษณาลงบนเว็บไซตตางๆ ไปไดเลย ซึ่งรูปแบบ ของโฆษณาที่กลาวมาขางตน จัดเปนการโฆษณาที่กระตุนความ สนใจของผูบริโภคโดยใชวิธีการขัดจังหวะหรือรบกวนผูบริโภค ซึ่งอาจจะมีโอกาสประสบความสําเร็จไดนอยเนื่องจากกอใหเกิด ความรําคาญ ดังนั้นผูประกอบการตองทําใหสินคาหรือแบรนด ของคุณเปนแหลงขอมูล ที่กลุมลูกคาเปาหมายไมสามารถไปหา ได จ ากที่ อื่ น และอย า ทํ า ให ร า นค า ของคุ ณ เป น จุ ด รวมแหล ง โฆษณาสินคาจากรานอื่น อยางไรก็ตามสื่อโฆษณาออนไลนรูปแบบหนึ่งที่กําลังไดรับ ความนิ ย ม ซึ่ ง สามารถสื่ อ สารไปยั ง กลุ ม ลู ก ค า ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ นั่นก็คือ Viral Marketing หรือ ไวรัสทางการ ตลาด เปนรูปแบบการโฆษณาที่อาศัยการเชื่อมโยงระหวางกัน ในสังคม โดยการสรางกลไกในการใชแรงผลักดันดานความคิด แทนที่ จะนํา เงิน จํานวนมากไปสรางโฆษณาตามหนังสื อพิม พ โทรทัศนหรือตามปายโฆษณาตางๆ รูปแบบไวรัสทางการตลาด จะเปนลักษณะเชิงรุก เปนการทําโฆษณาแบบโจมตี คือการให ลูกคาคุยกันแบบ "ปากตอปาก (Word of Mouth)" ซึ่งอาจ เปนไดทั้งการบอกกลาวตอในแงบวกหรือแงลบก็ได โดยรูปแบบ ของ Viral Marketing มีอยูดวยกัน 3 ลักษณะดังนี้คือ 1) Traditional Viral Marketing เปนรูปแบบ Viral Marketing ดั้งเดิม ตัวอยางเชน นาย ก. ไดรับ e-mail จาก กิจกรรมทางการเกษตร นาย ก. สนใจจึงสง e-mail ตอใหกับ นาย ข. และนาย ข. ไดทําการสงตอ e-mail ใหกับนาย ค. ตอเนื่องไปเรื่อยๆ 2) Commerce Viral Marketing เปนรูปแบบที่บอก ตอกันแลวไดรับผลประโยชน ตัวอยางเชน เว็บไซตตลาดเกษตร ดอทคอม จัดกิจกรรมใหกับผูสมัครสมาชิก e-mail ไดลุนรางวัล ซีดีและหนังสือคูมือเกี่ยวกับเกษตรอินทรียคนละ 2 ชุด และผูที่ บอกตอใหผูโชคดีคนนั้นสมัครสมาชิก ก็จะไดรับรางวัลอีกคนละ 2 ชุดดวย 3) Professional Viral Marketing เปนการสรางขาว โดยการปลอยขาวผานเว็บไซต หรือแชรผานทาง Facebook และ Twitter เพื่อใหเกิดการพูดถึง พูดคุยตอๆ กันอยางตอเนื่อง 1.3 กลยุทธการใชเวลา ซึ่งผูประกอบการตองมีความ รวดเร็ว และตองจํากัดขอบเขตของเวลาในการเปดราน จะรอชา ในการทําการทดสอบ หรือทําวิจัยกลุมยอยไมได ผูประกอบการ ตองเปนรานคารายแรกที่นําเสนอสินคาหรือบริการประเภทนี้


68

เพื่อ จะไดเ ปนรายแรกๆ ที่ เป นที่รู จักของลูกค า และสามารถ เรียกลูกคาไดมากกวา เพราะวาเปนผูเปดรานคานี้เปนรายแรก ลูกคาจึงสามารถหาซื้อสินคาประเภทนี้ไดเพียงรานคานี้เพียง รานคาเดียว การคิดที่จะทําในสิ่งนั้นๆ เปนรายแรกทําใหหมด ปญหาเรื่องคูแขงไดอยางงายดาย 1.4 กลยุทธการเขาถึงใจของลูกคา กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ การที่จะสรางสินคาที่เปนแบรนดที่สองรองจากสินคาเดิมที่มีอยู แล ว ตามท อ งตลาด ป ญ หานี้ เ ป น ป ญ หาที่ ย ากที่ สุ ด ในการทํ า ธุรกิจก็คือการพยายามที่จะเปลี่ยนการรับรูที่มีอยูในใจแลวของ ลูก ค า กลุม เป า หมาย เมื่ อ เกิ ด การรั บ รูอ ย า งฝง แน น ในใจของ ลูกคา ผูประกอบการก็แทบจะเปลี่ยนแปลงการรับรูนั้นไมไดอีก ตอไป และลูกคาสวนมากมักจะไววางใจในผูประกอบการราย แรกที่ เ ป ด ร า นค า นั้ น มากกว า ร า นค า ที่ เ ป ด เป น แบรนด ที่ ส อง (อัล รีส และลอรา รีสอ, 2544) 2. กลยุทธสวนประสมการตลาดรานคาออนไลน ธุรกิจจะตองมีการบริหารที่ผสมผสานเขากับสวนประสม การตลาด (Marketing Mix) ใหมีความเหมาะสมสอดคลอง เพื่อใหธุรกิจประสบความสําเร็จ โดยสวนประสมการตลาดถือวา เป น เครื่ อ งมื อ ทางการตลาดที่ ธุ ร กิ จ สามารถควบคุ ม ได แ ละ ตองการนํ ามาใชเพื่ อตอบสนองความตอ งการของลูกคา โดย เรื่องสวนประสมทางการตลาดถูกสรางขึ้นโดย ศาสตราจารย Jerome McCarthy นั้นก็คือทฤษฎี 4P's ซึ่งไดกลาวถึงปจจัยที่ สําคัญ 4 ประการซึ่งประกอบไดดวย 2.1 สินคา (Product) การซื้อขายสินคาในรานคาออนไลน ลูกคาจะไมสามารถเห็นและทดลองสินคาที่กอนตัดสินใจซื้อได แมสินคาจะดีจริง การคัดเลือกสินคาที่จะขายจึงเปนสิ่งสําคัญ สินค าจะคุณภาพจะดีแ ลวต องมีความโดดเดนของสิ นคา ดว ย เชน "ถั่วขาว Wealthy Healthy ถั่วขาวปนชวยควบคุมน้ําหนัก ดักน้ําตาล" นอกจากนั้นผูประกอบการตองคํานึงการจัดสงสินคา ใหอยูในสภาพที่ดีดวย สามารถไปถึงผูรับไดอยางรวดเร็ว 2.2 ราคา (Price) เปนองคประกอบที่สําคัญเพื่อเปนการ แลกเปลี่ยนสินคาบริการ ดังนั้น ผูประกอบการตองตัดสินใจวา จะกํ า หนดราคาสิ น ค า ดว ยวิ ธี ใด ซึ่ ง จะสอดคล อ งกั นระหว า ง ตนทุนกับกําลังซื้อของลูกคาเพื่อใหไดกําไร อาจจะกําหนดราคา ดวยวิธีบวกจากตนทุน เชน คาดูแลรักษาตางๆ คาเก็บเกี่ยว และ ในการทําธุรกิจรานคาออนไลนจะตัดตนทุนในเรื่องหนารานหรือ

ค า แผงออกไปแต ที่ สํ า คั ญ ต อ งบวกค า จั ด ส ง เข า ไปด ว ย หรื อ อาจจะตั้งราคาเปนเลขคี่ ซึ่งเปนการใชหลักจิตวิทยาโดยการใช ตัวเลขในการดึงดูความสนใจของลูกคา เชน ตั้งราคาที่ 99 บาท แทนที่จะตั้งราคา 100 บาท ซึ่งจะทําใหเห็นวาตัวเลขคี่จะดูราคา ถูกกวา จึ งอาจสง ผลใหลู กค าบอกตอ ราคากั นปากตอ ปากว า "ราคาไมถึงรอย" ทั้งๆ ที่มีราคาตางกันแคบาทเดียว 2.3 ช องทางการจําหน าย (Place) ควรทําใหสินค า สามารถซื้ อหาไดห ลายที่ หรื อทํ าใหสิ นคา อยู ในทํา เลที่ลู กค า จํานวนมากสามารถเขาถึงไดงาย เพื่อตอบสนองตอบสนองลูกคา เปาหมายไดอยางสะดวก โดยการเพิ่มชองทางการจัดจําหนายได โดยการเขาไปฝากขายสินคาตามเว็บไซตสินคาตางๆ ที่รวมกลุม ลูกคาเปาหมายอยู เชน ทางเพจ Facebook ตลาดรวมใจซื้อ ขายสิ น ค า เกษตรทุ ก ชนิ ด และทาง www.taradkaset.com หรือเว็บไซตอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการเกษตร 2.4 การสงเสริมการขาย (Promotion) เปนการสื่อสาร ทางการตลาดเพื่อชวยสงเสริมการขาย โดยอาจอยูในรูปแบบ ของการโฆษณาประชาสัมพันธการทํากิจกรรมรวมสนุกที่มีความ เหมาะสมและเขา ถึง กลุ มลู กค า เป าหมาย โดยทั่ว ไปแล วการ โฆษณาสินคาในรูปแบบนี้นิยมนํามาใชเพื่อการสรางภาพพจน ใหกับรานคาออนไลน เพราะการทํากิจกรรมนั้นจะชวยสราง ความสัมพันธอันดีระหวางรานคากับผูซื้อ อย า งไรก็ ต ามแนวคิ ด ส ว นประสมการตลาดเมื่ อ นํ า มา พิจารณารวมกับการเปดรานคาออนไลนแลว จะเพิ่มปจจัยที่ เกี่ยวของอีก 3 ประการดวยกัน ไดแก 1) ป จ จั ย ทางด า นการให ค วามสนใจส ว นบุ ค คล (Personalize or Personal Interest) เปนการเขาถึงความ ชอบสวนบุคคลนากรสนใจเรื่องใดๆ เปนพิเศษของแตละบุคคล จะทําใหเกิด Brand Loyalty และเกิดการซื้อซ้ํามาในภายหลัง และเนื่องจากบริการอินเตอรเน็ตเปนการสื่อสารแบบ 2 ทาง ที่ สามารถตอบสนองผู ใ ช ไ ด ทั น ที ทํ า ให ส ามารถที่ จ ะนํ า เสนอ บริ ก ารต า งๆ ตามความต อ งการแต ล ะบุ ค คลซึ่ ง เรี ย กว า การตลาดแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One to One Marketing) 2) ป จ จั ย การทํ า การตลาดกั บ กลุ ม เครื อ ข า ย (Personal Network) หรือกลุมคนที่รูจักกันปนสังคมที่มีความ สนใจในเรื่องเดียวกัน ทําการติดตอสื่อสารกันเฉพาะภายในกลุม โดยอาจมีการสนับสนุนดวยกิจกรรมใดๆ เปนการเฉพาะกลุม 3) ปจจัยทางดานขอคิดเห็นหรือคําวิจารณ (Public


69

Commentary) เปนการเปดโอกาศใหลูกคาสามารถเขามา วิจารณและตอบรับแสดงความเห็นจากการเขามาใชสินคาและ บริการ เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงสินคาและการตอบสนอง ความตองการของลูกคาไดดีขึ้น อยางไรก็ตาม การเปดเผยสินคา และบริ ก ารที่ แ ย อ อกไป อาจสง ต อ ยอดขาย ความเชื่ อ มั่ น ใน สิ น ค า ของเราที่ ล ดลง ในขณะที่ ก ารได รั บ คํ า ชมเชยในสิ น ค า บริการของรานคาก็จะเกิด การพูดแบบปากตอปาก (Word of Mouth) ออกไป ทําใหเกิดการซื้อสินคาและบริการของรานคา มากขึ้น 3. กลยุทธ 6 C's ความสําเร็จของการจัดทํารานคาออนไลน หลั ก การในการสร า งความสํ า เร็ จ ในการเป ด ร า นค า ออนไลนใหไดผล และมีประสิทธิภาพนั้น จะประกอบไปดวยสิ่ง สําคัญ 6 ประการ ดังตอไปนี้ 3.1 เนื้อหา (Content) ขอมูลที่นําเสนอบนเว็บไซตหรือ รานคาออนไลนจะตองมีความสดใหมเปนขอมูลที่ถูกตองมีแหลง อางอิงที่ชัดเจน และเนื้อหาควรมีความนาสนใจ เพราะเครือขาย สังคมออนไลนนั้นทํางานอยูตลอดเวลา ทุกคนสามารถเขามา เยี่ยมชมหนารานไดสม่ําเสมอ ถาขอมูลลาชา ไมนาสนใจและไม มีแหลงที่มาของขอมูล จะทําใหมีคนมาเขาชมนอย และอาจจะ ทําใหลดภาพลักษณของสินคาและความไววางใจในรานคาลงไป ดวย 3.2 ชุมชนหรือสังคม (Community) คือ การรวมตัวของ กลุมคนจํานวนหนึ่งที่อยูรวมกันภายใตเว็บไซตหนึ่ง โดยพูดคุย หรือทํากิจกรรมรวมกัน ซึ่งถือวาเปนชองทางการสื่อสารที่สําคัญ รวมถึงไดรับเสียงสะทอนจากลูกคา โดยองคประกอบหลักของ การสราง Community ตามเว็บไซตหรือรานคาออนไลน เชน เว็บบอรด หองสนทนา และคอมเมนต ที่เปน ชองทางที่จ ะ สามารถใหคนในเว็บไซนหรือรานคานั้นไดแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่ง กันและกัน 3.3 การคาขาย (Commerce) คือการซื้อขายผานเว็บไซต หรือรานคาออนไลน ที่ชวยสรางรายไดใหกับเว็บไซตหรือรานคา นั้นได เชน ขอมูลเนื้อหา การคนหาขอมูล ระบบการชําระเงิน ระบบการบันทึกคําสั่งซื้อ และการหาสินคามาขาย โดยการหา สินคามาขายอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน การซื้อสินคามาเก็บไว ใน Stock ซึ่งจะเกิดการยืดหยุนในการบริหารสินคาที่มีอยู อาจ สงผลใหมีความเสี่ยงจากตนทุนราคาสินคา และอีกรูปแบบคือ

การนําสินคาจาก Catalogue มาขาย จะมีลักษณะเปนเหมือน พอคาคนกลาง แตจะไมมีสินคาเก็บไวใน Stock 3.4 การปรับใหเหมาะสม (Customization) คือ รูปแบบ การใหบริการที่สามารถปรับแตงการใชงาน การแสดงสินคาใหมี ความเหมาะสมกับผูใชบริการรานคาออนไลน เชนการจัดตก แตงหนาราน หรือการเก็บขอมูลลูกคาเพื่อการนําเสนอขอมูล ตัวอยางเชน การเก็บขอมูลของลูกคาและนําเสนอสินคาตาม ความตองการ 3.5 การสื่อสาร (Communication) คือชองทางในการ สื่อสารติดตอไปยังผูใชบริการรานคาออนไลน หรือรับเสียง สะทอนจากลูกคา ซึ่งจริงๆ แลวสิ่งที่มีอยูในรานคาออนไลนคือ ขอมูลหรือบริการ ซึ่งเปนเพียงชองทางในการเขาถึงขอมูลหรือ บริการเหลานั้น ประกอบดวย - การสื่อสารระหวางรานคากับลูกคา เปนการฟงเสียง ตอบรับจากลูกคา และเปนการสรางความเชื่อมั่นใหกับลูกคา - การสื่อสารระหวารานคากับรานคา เปนการนําเสนอ ขอ มู ลที่ ม าจากเว็ บไซต อื่น หรื อ การเชื่ อ มโยงระหวา งรา นค า ออนไลน - การสื่ อ สารระหว า งลู ก ค า กั บ ลู ก ค า เป น การแชร ความรู สึ ก ต อ กั น ของลู ก ค า ที่ อ าจส ง ผลต อ การเกิ ด ไวรั ส ทาง การตลาด (Viral Marketing) หรือเปนการพูดตอกันไปแบบปาก ตอปาก บอกตอกันไปเรื่อยๆ 3.6 ความสะดวกสบาย (Convenience) คือ ความ สะดวกสบายที่เกิดขึ้นจากการใชงาน ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการใช งานงาย ซึ่งปจจัยตางๆ ทําใหผูใชงานรานคาออนไลนเกิดความ สะดวกสบาย ประกอบไปดวย - รานคาออนไลนที่ดูงาย ไมดูรกตาจนเกินไป ซึ่งจะ ขึ้นอยูกับองคประกอบตางๆ ของแตละราน เชน การวางรูปแบบ รูปภาพ และขอความอธิบายตางๆ ที่ชัดเจน - สามารถเรี ย นรู ไ ด ง า ย ทํ า ให ลู ก ค า รู สึ ก คุ น เคย โดยเฉพาะกับเว็บไซตตางๆ ที่มีความนิยม หรือมีการใชงานบอย - สามารถจดจําการใชงานไดงายไมยุงยากซับซอนและ มีประสิทธิภาพในการใชงาน - สามารถเขาถึงไดงาย โดยอาจจะแสดง รานคาออนไลนไดโดยผานอุปกรณที่หลากหลาย เชน คอมพิวเตอร สมารทโฟน อาจจะทําเปนแอฟพิเคชั่นสําหรับ


70

รานคาของผูประกอบการโดยเฉพาะ เพื่อใหงายตอการเลือกชม สินคาภายในราน (ภาวุธ พงษวิทยภานุ, 2551) 4. กลยุทธในตรวจสอบภาพลักษณรานคาสม่ําเสมอ การตรวจตราขาวสารบนสื่อออนไลนอยางตอเนื่อง และ สม่ําเสมอเปนสิ่งที่ผูประกอบการรานคาออนไลนไมควรละเลย เปนไปไมไดวาเราจะหามเว็บไซตที่เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน ทั้งหลายไมใหพูดถึงแบรนดของเรา แตคําถามที่ควรถามคือ แลว ผูประกอบการรูหรือไมวา สมาชิกในสังคมออนไลนกําลังพูดถึง แบรนด เราว า อย า งไร ผูป ระกอบการจึ งจํ าเป นต องเขา ไป ตรวจสอบหนารานตามเว็บไซต คอมเมนต เว็บบอรด หรือตาม เพจตางๆ ที่ผูประกอบการไดทําการโฆษณาไว ถาออกมาในแง ลบเราจะเขาไปแกไขปญหานั้นๆ ปรับปรุงสินคาหรือบริการทํา ความเขาใจกับสังคมนั้นอยางไร และหากขอมูลที่พบมีปญหา จริงก็ตองรีบดําเนินการแกไข เพราะขอมูลในสังคมออนไลนแพร ขยายไดเร็วและจํากัดวงไดยาก แตในขณะเดียวกันถาแบรนด ไดรับการยอมรับในโลกออนไลนก็จะไดรับการพูดถึงในดานดี เชนกัน บทสรุป ร า นค า ออนไลน เ ป น ช อ งทางการทํ า ธุ ร กิ จ รู ป แบบใหม สามารถเขากลุมเปาหมายไดเปนอยางดี ดวยวิธีการสื่อสาร ระหวางบุคคลหนึ่งถึงบุคคลหนึ่ง หรือกลุมสังคมหนึ่งกับกลุม สังคมหนึ่ง โดยการกระจายของขอมูลขาวสารที่มีประสิทธิภาพ สูงนี้ ทําใหเกิดการตลาดบนเครือขายสังคมออนไลนขึ้นมา ผาน กลยุทธตางๆ เชน “Viral Marketing” การแพรเชื้อจากผูใชคน หนึ่งสูผูใชอีกคนหนึ่ง ซึ่งแพรขยายเปนวงกวาง ทําใหกลุมลูกคา เปาหมายรูจักสินคาของเราไดรวดเร็วในระยะเวลาสั้น ดังนั้น การที่จะทําใหกลยุทธรานคาออนไลนนั้นประสบความสําเร็จ มิใชเพียงคุณภาพของตัวสินคาหรือผลิตภัณฑเทานั้น แตยังตอง ประกอบด ว ยอี ก หลายป จ จั ย เช น เทคโนโลยี ความรู ความสามารถของผูประกอบการ เปนตน และยังตองคํานึงถึง การกอใหเกิดความรําคาญตอผูบริโภค ซึ่งอาจจะกอใหเกิด ผลเสียมากกวาผลดี

อางอิง ภาวุธ พงษวิทยภานุ และสุธน โรจนอนุสรณ, 2551. e-Marketing เจาะเทคนิคการตลาดออนไลน. พิมพครั้งที่ 1. สมุทรปราการ: พงษวรินการพิมพ. ปวัตน เลาหะวีร, 2553. ชนะคูแขงดวยการตลาด กับ Facebook+Twitter. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: วิตตี้ กรุป. ณัฏฐา อุยมานะชัย, 2554. "สื่อโฆษณาออนไลน แนวทาง จากอดีตสูอนาคต." วารสารนักบริหาร. ปที่ 31 ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) : 167-172. อัล รีส และลอรา รีส, 2544. 11 กฎเหล็กการสราง แบรนดบนอินเตอรเน็ต. ผูแปล สิทธิพร ชื่นชุมจิตร. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มาสเตอรพีค.


71

ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทย ในการสื่อสารผาน Social media Factor of Thai language change in communicate of Social Media นายบัณฑิตสกุล แกวบุญปน รหัส 54040762 หลักสูตรนิเทศศาสตรเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1. บทนํา โลกในป จ จุ บั น มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปใน ทุกๆวัน ทุกๆชวงเวลา ทุกสิ่งก็ตองปรับเปลี่ยนไป ตามการเปลี่ ย นแปลงของโลก ไม เ ว น กระทั้ ง สื่อกลางที่ใชในการติดตอ สื่อสาร และใชในการ เชื่อมโยงของสิ่งตางๆที่เรียกวา “ภาษา” โดยในแต ละทองถิ่น แตละเพศ แตละวัย หรือชวงเวลา ยอม มี ภ า ษ า ที่ แ ตก ต างอ อ ก ไ ป ภา ษ านั้ น มี ก าร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม ยุ ค ส มั ย แ ต ภ า ษ า อ า จ เปลี่ ย นแปลงไปในทางดี หรื อ ไม ดี ก็ เ ป น ไปได ตามแตบุคคลจะเลือกใชอยางไร ในยุคปจจุบันนี้ปญหาการใชภาษาไทยยิ่ง วิกฤติความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งมีปจจัยหนุน นําที่สําคัญนั่นคือความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ กาวล้ําไปอยางรวดเร็ว เราจึงพบการใชภาษาไทย แบบผิด ๆ มากมายจนเกือบจะกลายเปนความคุน ชิ น โดยเฉพาะในกลุ ม วั ย รุ น ยิ่ ง น า เป น ห ว งมาก ที่สุด เปนกลุมที่นิยมใชภาษาที่มีวิวัฒนาการทาง ภาษาที่ เ ฉพาะกลุ ม ซึ่ ง เป น ภาษาที่ เ กื อ บจะไม มี ไวยากรณ โดยเฉพาะอยางยิ่งการติดตอสื่อสารผาน โ ซ เ ชี ย ล มี เ ดี ย ต า ง ๆ ไ ม ว า จ ะ เ ป น Line ,Facebook ,Instagram และอื่นๆอีกมากมาย การใช ภ าษาไทยที่ เ กิ ด จากอิ น เทอร เ น็ ต นั้ น เริ่ ม ลุกลามมาจากการติดตอสื่อสารผานทาง Social media เหลานี้ การสนทนาอันไมมีขีดจํากัดของ ภาษาทําใหเกิดปญหาในสังคมขึ้นมากมาย และใน ขณะเดียวกันก็สรางปญหาใหแกวงการภาษาไทย

ดวย นั่นคือการกรอนคํา และการสรางคําใหมใหมี ความหมายแปลกไปจากเดิม จึงทําใหภาษาไทย ของเราเปลี่ยนแปลงไป สงผลใหเยาวชนยุคหลังใช ภาษาไทยอยางไมถูกตอง 2. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยใน Social media ในการติ ด ต อ สื่ อ สารผ า นทาง Social media นั้นจะมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงของ ภาษาที่เรียกวา “ภาษาวิบัติ” แบงได 3 ลักษณะ ดังนี้ 2.1. รูปแบบการพิมพ รูปแบบของภาษา วิ บั ติ ป ระเภทนี้ ทั้ ง หมดจะเป น คํ า พ อ งเสี ย งที่ นํามาใชผิดหลักของภาษา คนที่ใชภาษาวิบัติเวลา พิ ม พ นั้ น จะพิ ม พ อ าศั ย ความใกล เ คี ย งของตั ว อักษรบนแปนพิมพ นอกจากนี้ก็จะมีการตามเสียง อาน เพราะไมตองการอยูในกรอบหรือ ตองการทํา อะไรที่คิดวาใหม ไมเลียนแบบของเกา ไดแก

ใหม

2.1.1 การพิมพตามเสียงพูด 2.1.2 การสรางรูปการเรียงอักษร

2.2. กลุมรูปแบบของการเปลี่ยนแปลง เสียงอาน รูปแบบของภาษาประเภทนี้ จะเกิดขึ้น เมื่อมีการเปลี่ยนลักษณะเสียงอานไปตามตัวอักษร เกิดจากเพราะตองการลอจากคําที่พิมพ 2.3. กลุมที่เปลี่ยนแปลงความหมาย เปน ลักษณะที่เปลี่ยนแปลงความหมายโดยนําคํา มาใช แทนเพื่ อ ให เ ป น ที่ เ ข า ใจในกลุ ม หรื อ สั ง คมของ ตนเอง


72

3. ปจจัยที่ทําใหภาษาไทยใน Social media เกิดการเปลี่ยนแปลง สาเหตุ ที่ สํ า คั ญ ในการเปลี่ ย นแปลงของ ภาษาวัยรุนที่ใชกันในปจจุบัน เกิดจากปจจัยหลาย ประการ ดังนี้ 3.1. เมื่ อ การติ ดต อผ านเครื อ ขา ย คอมพิวเตอรกลายเปนชองทางใหมในการสื่อสาร ภาษาในยุคนี้จึงแปลกเปลี่ยน เกิดภาษาใหมๆ บาง คํามาจากแปนพิมพที่อยูติดกัน พิมพงายกวาจึงเกิด คําใหมแทนคําเกา 3.2. เพื่อลดความรุนแรงในการใชภาษาที่ ไมสุภาพ 3.3. คํ า ศั พ ท ใ หม ๆ ที่ วั ย รุ น หรื อ คนบาง กลุมนํามาใชจนแพรหลายนั้น ก็เพราะวาคําไทยที่ มี อ ยู เ ดิ ม อาจจะไม ส ามารถสื่ อ ถึ ง ลั ก ษณะและ รายละเอียดของสิ่งที่ตองการจะสื่อสารไดมากพอ คนสงสารก็เลยตองพยามยามคิดคําขึ้นมาใหมให สามารถบอกรายละเอียดและความรูสึกของตนเอง ใหไดมากที่สุด 3.4. การเขียนคําไทยในอินเตอรเน็ต หรือ นิตยสารเพื่อความบันเทิง จะเขียนตามเสียงอาน เพราะไมตองการอยูในกรอบ หรือตองการทําอะไร ที่คิดวาใหม ไมเลียนแบบของเกา นอกจากปจจัยดังกลาวแลวหากพิจารณา ถึงสัจธรรม จะพบวาทุกสิ่งในโลกลวนเปนอนิจจัง วัฏจักรของชีวิตมีเกิด แก เจ็บ ตาย ภาษาก็มีวัฏ จักรชีวิตเชนเดียวกัน ภาษามีเกิด คือ มีการสรางคําใหมๆ ขึ้นมา ภาษามีแก คือ คําที่คิดวาเก เท ในยุคหนึ่ง ก็กลับกลายเปนคําที่ลาสมัยในปจจุบัน ภาษามีเจ็บ คือ ความบกพรองในการใช ภาษา ตองอาศัยการเยียวยารักษา ภาษามี ต าย คื อ คํ า บางคํ า ไม มี ก ารนํ า กลับมาใชอีก 4. ตั ว อย า งการเปลี่ ย นแปลงของภาษาไทยใน Social media

4.1 แปลงเสียงสั้นเสียงยาว อะไร = อาราย ได = ดาย ไมใช = มายชาย ใคร = คราย ทําไม = ทามมาย สัตว = สาด กติกา = กติกู 4.2 แปลงสระ คิดถึง = คิดถุง กวา = กั่ว ไม = มะ แลว = แระ จะ = จา,จิ เพื่อน = เพิ่ล ทํา = ทาม 4.3 แปลงคําควบกล้าํ จริงสิ = จิงดิ จา = จรา เปลา = ปาว,ปะ คา = ครา 4.4 ซ้ําตัวสะกด วาย = วายยยย โอย = โอยยยย ครับ = คาบบบบ รัก = รากกก 4.5 ซ้ําสระ เอา = เอาาาา ,อาววว จา = จราาาา คา = คราาาาา 4.6 เขียนแตกตางจากเดิม ขอบใจ = ขอบจัย อยางไร = ยังงัย เธอ = เทอ จริง = จิง 4.7 เขียนรูปแบบหรือสัญลักษณ ฮาฮาฮา = 555 ยิ้ม =:)


73

ยิ้มขยิบตา = ; ) เบื่อโลก = -_4.8 การแทรกเสียง มึง = มรึง กู = กรู จา = จรา สุดตีน = สุดตรีน 4.9 การกลมกลืนเสียง แมมึง = แมง ดูซิ = ดูดิ โวยวาย = วีน 4.10 การตัดเสียง ซุปเปอรสตาร = ซุปตาร มหาวิทยาลัย = มหาลัย คอนเฟรม = เฟรม พารานอย = นอย โอเค = โอ ,เค สตรอเบอรี่ = สะตอ แนบเนียน = เนียน สวัสดี = หวัดดี 4.11 การกรอนเสียง ใชไหม = ชิมิ แฟน = ฟุบุ กระลอน = หลี ขี้เหร = เหียก ชางทําได = กลานะ เสียว = เซี้ยว กับ = กะ ปอด = ปอด 4.12 ความหมายตางไปจากเดิม ปวดตับ = เครียด กลิ่นตุๆ = เคาลางของการทุจริต เกาเหลา = ไมถูกกัน,ไมกินเสน สิว-สิว = เรื่องขี้ผง งายมาก ซึม = พวกชอบทําไมรูไมชี้ ปอด = ไมกลา กิ๊บ = เจงมากๆ เบๆ = งายๆ หมูๆ

เนิรด งานเขา ยาวไป เนียน วีนแตก เฟรมนะ โดนใจ 5. สรุป

= เด็กเรียน = ไดเรื่องหรือมีเรื่อง = ถึงไหนถึงกัน = ทําไดกลมกลืน = ชอบอาละวาด = ตกลงตามนั้นใชไหม = ประทับใจ

ทุ ก ๆสิ่ ง บนโลกใบนี้ ล ว นแล ว แต มี ก าร เปลี่ ย นแปลง ไม เ ว น แม แ ต ภ าษาที่ เ ราใช ใ นการ ติดตอสื่อสารผานชองทางตางๆเชน Social mediaที่ เ ราได ห ยิ บ ยกมาเป น ตั ว อย า ง สิ่ ง ที่ ดี สิ่ ง หนึ่งคือหากภาษาไทยยังคงมีการเปลี่ยนแปลง นั่น หมายความวาภาษาไทย ยังคงเปนภาษาที่ยังไมสูญ หายไป และถูกใชติดตอสื่อสารอยู แตเราไมควรลืม ที่จะสอนใหเยาวชนยุคใหมเรียนรูถึงภาษาที่ถูกตอง เพราะภาษาไทย มิไดเปนแคเพียงเครื่องมือที่ใชใน การติดตอสื่อสารเทานั้น แตภาษาไทยของเราเปน เอกลักษณ เปนวัฒนธรรม ที่สืบทอดตอกันมาเปน เวลานาน ภาษาไทยจึงมีความสําคัญกับวัยรุนไทย ที่จะเปนอนาคตของชาติตอไป รักษาภาษาไทย ที่ บรรพบุรุษของเราไดสรางไวให และใหภาษาไทย อยูคูกับชาติไทยไปตลอด


74

5. เอกสารอางอิง [1] SO CUTE. (2552). “ภาษาไทย”มรดกทางวัฒนธรรมของไทยที่กําลังถูกทําลาย(ออนไลน). สืบคนจาก : http://sochysocute.blogspot.com/2009/05/blog-post.html. [วันที่สืบคนขอมูล 20/11/57] [2] ขวั ญ ฤทั ย วนาทิ พ ย . (2555). “ภาษากั บ ยุ ค สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นแปลง”(ออนไลน ) . สื บ ค น จาก : http://kbaibua.blogspot.com/ [วันที่สืบคนขอมูล 20/11/57] [3] ศิ ริ พ ร ครองเคหา. (2552). ภาษาไทยกั บ วั ย รุ น (ออนไลน ) .สื บ ค น จาก : http://www.learners.in.th/blogs/posts/309303. [วันที่สืบคนขอมูล 20/11/57] [4] คําแสลง. (ออนไลน ) . สื บค นจาก : http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1923756. [วันที่สืบคนขอมูล 20/11/57]


75

การเพิ่มยอดขายสินค้าเกษตรด้วยคลิปวีดิโอบน Youtube ในปัจจุบันอินเตอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในด้านการติดต่อสื่อสาร การพูดคุย การหาข้อมูล ข่าวสาร ไม่เว้นแต่การทาธุรกิจออนไลน์บนโลกไซเบอร์ ที่สามารถทาได้ง่าย ๆ และประหยัดต้นทุน โดยใช้ เว็บไซต์โซเชี ยลมีเดียต่าง ๆ เข้ามาช่วย เรียกการทาการตลาดแบบนี้ว่า โซเชียลมีเดีย มาร์เก็ตติ้ง (Social Media Marketing) ซึ่งผลสารวจพบว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่ ที่สนใจโฆษณาทางออนไลน์ มีอายุตั้งแต่ 15 – 24 ปี ผู้บริโภคในช่วงอายุอยู่ในช่วงวัยรุ่น ซึ่งเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีและมีความต้องการด้านเทคโนโลยี ยูทูบ (Youtube) ถือเป็นเว็บไซต์ Social Media ในหมวดของมัลติมีเดีย (Multimedia) ซึ่งให้บริการแชร์วีดิโอ ออนไลน์ ค้นหาสะดวก รวดเร็ว ทาให้มีผู้เข้าชมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง และจะเห็นได้ว่าความสนใจของ สินค้าเกษตรในปัจจุบันนั้น มีความต้องการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เช่นกัน โดยการที่จะทาให้สินค้าเกษตรเป็นที่รู้จัก อย่างแพร่หลาย และเพิ่มยอดขายนั้นต้องมีการสร้างกระแสความสนใจ ขยายฐานลูกค้า โดยการทาคลิปวีดิโอ ออนไลน์ ลงเว็บไซด์ Youtube (ภิเษก ชัยนิรันดร์,2553) Youtube Youtube คือ เว็บไซต์ที่แสดงผลวีดีโอใน ลักษณะ Adobe Flash ซึ่งเนื้อหาเป็นวีดิโอที่มี ความหลากหลายไม่ว่าจะเป็ น รายการโทรทัศ น์ มิ ว สิ ก วี ดิ โ อ โฆษณา หรื อ ตั ว อย่ า งภาพยนตร์ เปรี ย บเสมื อ นการนั่ ง ดู โ ทรทั ศ น์ ที่ บ้ า น เพี ย งแต่ ไม่ได้มีตารางออกอากาศอย่างชัดเจน ผู้ใช้สามารถ เลื อ กชมรายการต่ า ง ๆ ด้ ว ยการค้ น หาค าค้ น (Keywork) ที่เกี่ยวข้อง และผู้ใช้สามารถนาวีดิโอ ไปใส่ ไ ว้ ใ นบล็ อ ก หรื อ เว็ บ ไซด์ ไ ด้ ยู ทู บ ยั ง เป็ น ช่ อ งทางที่ ดี ใ นการเรี ย นรู้ วิ ช าการ ทั ก ษะ ความสามารถ บันเทิง ข่าวสารและอื่น ๆ เหมาะ ส าหรั บ การท าตลาดบนสั ง คมออนไลน์ (Social Network) ในการเผยแพร่สิ่งที่เราต้องการให้ผู้อื่น จานวนมากรับรู้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ยิ่งยูทูบได้รับ ความนิ ย มมากเท่ า ไหร่ การที่ เ ราจะเผยแพร่ สิ่ ง ต่างๆ ไปสู่ผู้รับสารได้ง่าย และจะเป็นประโยชน์ใน การทาโฆษณาสินค้า การประชาสัมพันธ์ การร่วม สนุกกิจกรรม รวมถึงการค้าขายเชิงพาณิชย์ได้อีก ด้วย (ศราวุธ ชาติโสม,2555)

ภาพที่ 1 หน้าเว็บไซต์ Youtube ที่มา : ศราวุธ ชาติโสม(2555) การโฆษณาโดยการใช้ Youtube ต้องยอมรับว่าสื่อวีดีโอออนไลน์หรือคลิป โฆษณาเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมาก มี บทบาทมากกับวิถีชีวิตของผู้ รับสาร การใช้วีดีโอ ออนไลน์ ท าโฆษณาท าให้ ง่ า ยในการสร้ า งความ เข้ า ใจเกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า และบริ ก ารของคุ ณ เข้ า ถึ ง


76

กลุ่มเป้าหมายได้รวดเร็ว และยังกระตุ้นให้ผู้รับสาร คลิ ก เข้า มาหาข้ อ มูล เพิ่ ม เติ ม ในเว็ บ ไซต์ โดยเรา สามารถทาการตลาดออนไลน์บน YouTube ได้ใน หลายรูปแบบ เช่น แสดงวีดีโอ YouTube ของคุณ บนเว็ บ ไซต์ พั น ธมิ ต รต่ า งๆ หรื อ แสดงข้ อ ความ โฆษณาบนวี ดี โ อ YouTube ที่ คุ ณ ต้ อ งการ (ศราวุธ ชาติโสม,2555)

ผู้ชมวีดีโอ YouTube ของคุณมากขึ้น ยอดการ View เพิ่มขึ้น ก็จะสร้าง Brand Awareness และ World of Mouth Marketing ทาให้ธุรกิจของคุณ เป็นที่รู้จักกว้างขวางได้อย่างรวดเร็ว (วิญญู กิ่ง หิรัญวัฒนา,2555) Youtube การตลาดแนวใหม่

เครื่ อ งมื อ การสื่ อ สาร

ข้อดีของการโฆษณาบน Youtube V.S. โฆษณา บนทีวี

ภาพที่ 2 Youtube V.S. TV ที่มา : Diejungs(2555) จากการศึกษาพบว่าการทาสื่อโฆษณาด้วย วีดีโ อออนไลน์ ประสบความส าเร็ จ มากกว่า การ โฆษณาในโทรทัศน์ เพราะการรับสารของผู้รับสาร สามารถเข้าถึงสินค้า ด้วยการนาเสนอแบรนด์ด้วย วิธีน่าสนใจ ไม่ใช่การมุ่งเน้นการขายสินค้า โดยจะ สร้างความประทับใจให้กับผู้รับ สารด้วยเนื้อหาที่ เน้นความบันเทิงก่อนแล้วค่อยแฝงชื่อแบรนด์เข้า ไป (1) สามารถเลือกกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน เช่น เพศ ช่วงอายุ หัวข้อความสนใจของผู้ชม และ เนื้ อหาของ YouTube ที่ ต้องการน าข้อความ โฆษณาไปแสดง (2) ค่าโฆษณาน้อย เมื่อเทียบกับ การโฆษณาผ่ านสื่ อโทรทัศน์ ค่าโฆษณาคิดเมื่อมี ผู้ชมโฆษณาบน YouTube เท่านั้น (Pay Per Click and Pay Per View) (3) นอกจากนี้เมื่อ

ภาพที่ 3 สังคมออนไลน์ ที่มา : ศราวุธ ชาติโสม(2555) การวางแผนภายใต้แนวความคิดเดียวกัน โดยใช้เครื่องมือการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายโดย เว็บไซต์ยูทูบนั้นเป็นเครื่องมือทางการตลาด ซึ่งทา ให้ผู้ รับสารเกิดความรู้สึกอยากที่จะใช้สินค้าและ บริการนั้น โดยการเลือกกล่ าวถึงแต่ลักษณะเด่น และละข้ อ ด้ ว ยของสิ น ค้ า และบริ ก ารนั้ น ซึ่ ง ลั ก ษณะของการโฆษณาเพื่ อ สื่ อ สารมวลชน เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสู่มวลชนอย่างกว้างรวดเร็ว โดยใช้การจูงใจจากการชวนเชื่อ และการจูงใจจาก เหตุผลจริงอาศัยหลักจิตวิทยา (ศราวุธ ชาติโสม ,2555)


77

ปัญหาสินค้าเกษตรกับระบบการตลาด 1. ไม่มีการขายตามคุณภาพสินค้า ซึ่งการซื้อขาย นั้ น ในระบบการส่ งออก มีก ารก าหนดราคาตาม คุณภาพ เพราะผู้ซื้อต้องการสินค้าที่มีคุณภาพแต่ ในตลาดเป็นคุณภาพที่คัดกันเอง โดยพ่อค้าขายส่ง หรือพ่อค้าขายปลีกขาดหลักเกณฑ์ที่แน่นอน โดย อาศัย คุณภาพเฉลี่ย หรื อราคาเฉลี่ย ทาให้ ผู้ผ ลิ ต เสียประโยชน์ 2. ขาดหน่วยชั่ง ตวง วัด ที่เป็นมาตรฐานในตลาด ทุกระดับ โดยยึดน้าหนัก หรือภาชนะที่ใช้เฉพาะใน ท้องถิ่น 3. เกษตรกรยังขาดข้อมูลข่าวสารทางการตลาด รั ฐ บาลจึ งต้องจั ดหาให้ แต่ก็ทาได้จ ากัด เพียงแค่ ประกาศราคาสิ น ค้า ทางวิ ท ยุ หรื อ ทางโทรทั ศ น์ เกษตรกรยังรับประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ 4. เนื่องจากเกษตรกรมีสินค้าเหลือขายไม่มาก และกระจัดกระจาย ห่างไกลจากแหล่งซื้อขายหลัก ประกอบกับส่วนใหญ่ขายทันทีหลังเก็บเกี่ยว ทาให้ โอกาสที่เกษตรกรจะขายได้ตามราคาที่ตลาดใน ขณะนั้นมีน้อย

ภาพที่ 4 สินค้าเกษตร ที่มา : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์(2554)

ทั้งนี้การตลาดถือเป็นเรื่องสาคัญที่จะทา ให้สินค้าเกษตร เป็นที่รู้จักและมีราคาที่สูงขึ้น ซึ่ง ระบบการตลาดสินค้าเกษตร มีการเปลี่ยนแปลงที่ เกิ ด ขึ้ น อยู่ ต ลอดเวลา เหตุ ผ ลส าคั ญ คื อ ความ ต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคเปลี่ ย นไป ท าให้ ก ารผลิ ต เปลี่ยนไปด้วย ซึง่ ตามหลักแล้วการตลาดของสินค้า เกษตรนั้นจะประกอบไปด้วย 1. Branding Strategies หรือ การสร้างตรายี่ห้อ สาหรับสินค้าเกษตร 2. พัฒนาสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด โดยการทาการศึกษาความต้องการและการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกค้าอย่างเป็นระบบ 3. แปรรู ป เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม สิ น ค้ า เกษตรมี ข้อจากัดในด้านอายุของสินค้าที่สั้น มีค่าใช้จ่ายใน การเก็บรักษาสูง (ต้องเก็บในห้องควบคุมอุณหภูมิ) รวมทั้งมีการแข่งขันรุนแรงด้านราคา การจะสร้าง มูล ค่าเพิ่มให้ กับสิ นค้าได้ต้องนาสิ นค้ ามาแปรรูป เพื่อให้อายุสินค้ายาวขึ้นและง่ายต่อการสร้างความ แตกต่างให้กับสินค้า 4. สร้ า งกระแสผ่ า นการโฆษณาประชาสั ม พั น ธ์ สินค้าเกษตรก็ไม่ต่างจากสินค้าอุปโภคบริโภคทั่วไป ที่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร โ ฆ ษ ณ า ประชาสั ม พั น ธ์ ม าสร้ า งกระแสความนิ ย มเพื่ อ กระตุ้ น ให้ ต ลาดเติ บ โตแบบ ก้ า วกระโดดได้ อย่างเช่น ภาครัฐเคยมีโครงการรณรงค์ให้ คนดื่ม นม ก็ ช่ ว ยให้ ต ลาดนมเติ บ โ ตขึ้ น อย่ า งมาก (กระทรวจเกษตรและสหกรณ์,2554)


78

สร้างงานโฆษณาสินค้าเกษตรด้วยวีดิโอออนไลน์ การทาโฆษณาสิ น ค้ าเกษตรนั้ น ต้องเน้ น การก าหนดเป้ า หมายของผู้ ช มเน้ น ให้ มี ค วาม น่าสนใจ ทาให้ มีปฏิกิริยาตอบสนองมากขึ้น เกิด การมีส่วนร่วมกับตัวผู้รับสารเอง ออกแบบวีดิโอให้ น่าสนใจโดยอาศัยปัจจัยสาคัญ 2 ปัจจัย (1)ภาพ ต้องสามารถบอกรายละเอียดสินค้าเกษตรได้ ซึ่ง จะทาให้มีความน่าสนใจมากกว่าที่เราจะมาเขียน อธิบายเป็นตัวหนังสือ (2)เสียงหรือคาพูด ใช้คาพูด ที่น่าสนใจหรือประโยคสาคัญ จะช่วยให้รับสารคน จดจาคลิปวีดิโอของเราได้มากขึ้น ต้องเป็นประโยค ที่ จ าง่ า ย สั้ น ๆ มี ค วามกระชั บ เข้ า ใจง่ า ยและ ปัจจัยอื่น ๆ ที่จะทาให้เกิดความรู้สึกน่าสนใจ หลักการโฆษณาด้วยการสร้างแบรนด์และ ขยายธุรกิจด้วยตนเองของเกษตรกร คือ (1)เขียน รายละเอียดของสินค้า ด้านคุณภาพ ราคา ความ สะดวกในการซื้อหาเพื่อประโยชน์แก่ผู้รับสาร และ ตอบข้ อ สงสั ย ในตั ว สิ น ค้ า เอง (2)โน้ ม น้ า วจิ ต ใจ ลูกค้าให้มีความต้องการอยากซื้อสินค้า อาจจะชวน เชื่อ (3)เหตุผลของการใช้สินค้าเกษตร อธิบายเชิง คุ ณ ภาพ การเลื อ กสิ น ค้ า ประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ (4)จูงใจ ด้วยโปรโมชั่นต่าง ๆ ลดราคา หรือมีของ แถม เพื่อดึงดูดความสนใจ

การสร้างคลิปวิดีโอสินค้าเกษตรเพื่อโฆษณา สินค้าเกษตรนั้นมีความหลากหลาย แบ่ง ได้หลายประเภท ฉะนั้นการทาคลิปวีดิโอต้องสื่อให้ เห็ น ถึ ง ความเป็ น เกษตรในตั ว สิ น ค้ า โดยมี ก าร วางแผนในการถ่ า ยท า วางโครงเรื่ อ ง เตรี ย ม อุป กรณ์ใ นการถ่ า ยท า ซึ่ง การถ่ า ยทานั้ น ต้อ งดึ ง

ความเป็นเกษตรที่อยู่ ในตัว สิ นค้า เจาะตัว สิ นค้ า เป็ น ส่ ว น ๆ ให้ น่ า สนใจ มี ก ารถ่ า ยในมุ ม กว้ า ง (Long Shot) มุมแคบ(Medium Shot) และแบบ ใกล้วัตถุ(Close Up) โดยใช้สื่อกราฟิกดีไซน์เพิ่ม ความน่ า สนใจดึ ง ดู ด ผู้ รั บ สารที่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม วั ย รุ่ น ด้วยความสดใส ไม่น่าเบื่อ ทันสมัย ซึ่งการลงเสียง ต้ อ งใช้ ภ าษาที่ ก ระชั บ บอกถึ ง ตั ว สิ น ค้ า อย่ า ง ชัดเจนเพื่อเป็นการเพิ่มอรรสในการรับชมคลิวีดิโอ (สมเจตน์ เมฆพายัพ,2552) สร้าง Brand Channel เอกลักษณ์สินค้าเกษตร

ภาพที่ 5 ตัวอย่าง Channel งานวิจัยสินค้าเกษตร ที่มา : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2555) เป็นเหมือนช่องทีวีส่วนตัวแบรนด์ของเรา อั ป โหลด(Upload)คลิ ป วี ดี โ อต่ า งๆ จั ด ท าให้ ค น ทั่วไปและลูกค้าดูได้เรื่อย ๆ สามารถอัปโหลดคลิป ลงไปเยอะได้เท่าต้องการ(ไม่จากัดพื้นที่) สามารถ เปิ ด ดู ไ ด้ ต ลอดเวลา ผู้ รั บ สารจะทราบความ เคลื่อนไหวตลอดเวลา Youtube Channel จะมี ปุ่ ม "Subscribe"ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ เ ช่ น เดี ย วกั บ ปุ่ ม "Like" ของ Facebook.com เมื่อคนดูคลิปแล้ว ถู ก ใจจะคลิ ก ปุ่ ม นี้ เมื่ อ อั ป โหลดคลิ ป ครั้ ง ต่ อ ไป คลิปดังกล่าวก็จะถูกส่งไปให้คนนั้นทราบและเปิดดู ได้ทันที สามารถโฆษณาเป็นภาพเคลื่อนไหว มีทั้ง ภาพ เสียงและข้อความ โดยการเพิ่มความสวยงาม


79

ให้กับหน้าแชนแนล เพื่อสร้ างความแตกต่างจาก ช่องอื่น สร้างป้ายโฆษณา (Banner) ในส่วนบน ของหน้าแชนแนล การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์หรือ ส่ว นต่าง ๆ ได้ เพิ่มทางเลื อกให้กับ ผู้ ชมและเป็น การเชื่ อ มโยงธุ ร กิ จ ในเครื อ การเกษตรได้ และ กาหนดให้ เล่ น วี ดิโ อทัน ทีเ มื่อเข้ าสู้ ห น้ าแชนแนล (ศราวุธ ชาติโสม,2555) ใช้ Keyword เพื่อง่ายต่อการค้นหา การใช้ Tag หรือป้ายกากับ ให้เป็น ประโยชน์เพื่อการค้นหา การติด Tag เพื่อช่วย สร้ างโอกาสในการถูกค้น หานั้น ก็เป็ น หนึ่งในกล ยุทธ์สาคัญที่ไม่ควรมองข้าม ยูทูบจะวิเคราะห์วีดิโอ จาก ชื่ อ ค าอธิ บ ายและ Tag ดั ง นั้ น เราต้ อ งหา คาค้นที่ดีที่สุด นิ ยมใช้ที่สุด หรือนึกออกง่ายที่สุ ด ให้ครอบคลุม จะเพิ่มโอกาสในการเข้าชมคลิปวีดิโอ ของเราให้สูงขึ้น โดยเราควรตั้งชื่อคลิปวีดิโอโดยมี ค าค้ น นั้ น อยู่ ด้ ว ย เพราะอั น ดั บ การค้ น หานั้ น มี ผลกระทบโดยตรงต่อการเปิดดูคลิป ซึ่งเมื่อถึงตอน จะอัพโหลดคลิปจะมีช่องให้ใส่คาที่ต้องการ ให้ผู้รับ สารค้นหามาเจอคลิปวีดิโอของเรา การติด Tag จะ ทาให้การค้นหาง่ายขึ้น การเลือกเข้าชมคลิปวีดิ โอ ของเราก็จะมากขึ้น (ศราวุธ ชาติโสม,2555)

ภาพที่ 6 การใช้ Keyword ค้นหา ที่มา : พิชชา เอมสะอาด(2557)

สรุป อย่ า งไรก็ ต าม โซเชี ย ลมี เ ดี ย (Social Media) ก็ยังเป็นสื่อสาคัญที่มีความหลากหลายใน ด้านต่าง ๆ ซึ่งการสื่อสารผ่านสังคมออนไลน์ได้รับ ความนิ ย มมากขึ้ น ส่ ง ผลให้ ก ารตลาดและการ โฆษณาในโซเชียลมีเดียมีการเจริญเติบโต รูปแบบ จะมีค วามหลากหลาย เพราะมี การพั ฒ นาอย่า ง ต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลให้ นั ก โฆษณาท าการคิ ด ค้ น สร้างสรรค์สื่อใหม่ๆ มากขึ้น และเพื่อส่งเสริมสินค้า เกษตรให้ ไ ด้ รั บ ความสนใจอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การ โฆษณาในช่องทางนี้ก็จะช่วยให้ คนรุ่นใหม่ที่คิดว่า สินค้าเกษตรเป็นเรื่องไกล สามารถได้เข้าถึงได้ง่าย และสะดวกรวดเร็ว หันมาสนใจสินค้าเกษตร และ ถือเป็นการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรอีกด้วย


80

เอกสารอ้างอิง การจัดการความรู้สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2556. ความสาคัญของสื่อโทรทัศน์. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :http://km.opsmoac.go.th/ewt_news.php?nid=618& filename=index. (19 กุมภาพันธ์ 2557) สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์. 2543. ธุรกิจเกษตรเบื้องต้น. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สมเจตน์ เมฆพายัพ. 2552. 3P กับการผลิตรายการโทรทัศน์. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.gotoknow.org/posts/124467. (19 กุมภาพันธ์ 2557) ศราวุธ ชาติโสม. 2555. Youtube Marketing. กรุงเทพมหานคร: Dream&Passion. Evans, L.L. 2555. สร้างโอกาส วางกลยุทธ์ การตลาดยุค Social Media. วิญญู กิ่งหิรัญวัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ทีเอส อินเตอร์พริ้นท์.


81

3G สูมาตรฐานโทรศัพทเคลื่อนที่ในอนาคต (4G,5G) ประเทศไทยประสบปญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนผานเขาสูการใชงานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 หรือ 3G (3rd Generation mobile telecommunications) จนกระทั่ง คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ไดจัดใหมีการประมูลคลื่นความถี่ 2.1GHz เพื่อทํา โครงขาย 3G ในประเทศไทย กสทช. ถือวาเปนวัน 3G ครั้งแรกของประเทศไทย และเปนวันที่ตองจารึกใน ประวัติศาสตรของวงการโทรคมนาคมเพราะเปนการเปลีย่ นผานเทคโนโลยีจากยุค 2G สูยุค 3G (กสทช, 2555) แตอยางไรก็ตามการประมูลดังกลาวก็ไดสรางความเห็นที่แตกตางกันของคนในสังคมวามีความเหมาะสม คุมคา ตอประโยชนที่ประเทศชาติจะไดรับหรือไม? ในขณะที่ในประเทศไทยกําลัง จะเขาสูยุค 3G แตสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ไดประกาศใชงานเครือขาย 4G เรียบรอยแลว บทความนี้ จึงจะนําทานผูอานมา รูจัก เกี่ยวกับ มาตรฐานโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคตางๆและความสําคัญในการทํางานของแตละระบบ เชน การ เปลี่ยนจากระบบ 2G เปน 3G นั้นถือเปนพัฒนาการกาวสําคัญ เพราะไดสงผลใหความเร็วในการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตผานโทรศัพทเคลื่อนทีม่ ีความเร็วสูงกวาเดิมขึ้นอยางมาก ในขณะที่การเปลี่ยนจาก 3G เปน 4G จะ มีความสําคัญนอยกวาเนื่องจากจะใชระยะเวลาในการเปลี่ยนผานไดรวดเร็วกวาการเปลี่ยนแปลงจากยุค 2G มาเปน 3G ควบคูกับ 4G โดย 4G นั้น จะใชงานในเมืองหรือทางพื้นที่เศรษฐกิจที่มีความตองการใชงานสื่อสาร ขอมูลสูง มาตรฐานยุค 3G (IMT-2000) สูยุค 4G กอ นที่จ ะมาถึง ยุค 3G นั้น เราไดผานยุ ค 1G เริ่ม ตั้ง แตยุคแรกที่มีโ ทรศัพ ทเ คลื่อ นที่เปนระบบ อนาล็อก (Analog) และมีการแบงความถี่ออกมาเปนชองเล็กๆ ในยุคนี้สามารถใชงานทางดานเสียง (Voice) ไดเพียงอยางเดียว ยุค 2G เปลี่ยนจากการสื่อสารแบบอนาล็อกมาเปนดิจิตอลแทนทําใหมีการใชงานดานขอมูล (DATA) เพิ่มขึ้น ยุค 2.5 EDGE มีการใชเทคโนโลยี GPRS ซึ่งมีความสามารถในการรับ-สงขอมูลไดมากกวา ประมาณ 3 เทา สวนยุค 3G นั้น โทรศัพทเคลื่อนที่สามารถรับ-สงขอมูลในความเร็วสูงโดยจะเนนการเชื่อมตอ แบบ Wireless ดวยความเร็วสูง ทําใหมีบริการมัลติมีเดียไดอยางสมบูรณแบบ และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (พิทวัส กัลยา และเจริญชัย บวรธรรมรัตน, 2551) 3G เปนมาตรฐานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาเพื่อแทนที่ระบบโทรศัพท 2G ซึ่ง 3G นั้นไดรับการพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน IMT-2000 (International Mobile Telecommunications IMT-2000) ที่สหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศกําหนดและประกาศใชมาตั้งแต ค.ศ. 1985 โดยมีกรอบ นโยบายเกี่ยวกับ IMT-2000 คือเปนโครงขายโทรคมนาคมที่สามารถหลอมรวมการใหบริการไดหลากหลายทั้ง การติดตอสื่อสารทางเสียง ขอมูล อินเทอรเน็ต และมัลติมีเดียโดยมีผูใชงานในลักษณะประจําที่หรือเคลื่อนที่ โดยสามารถสรุปสาระสําคัญของ มาตรฐาน IMT-2000 (วิกิพีเดีย, 2555) ไดดังนี้

พูลผล ปุราเพ็ญ 54040774


82

มาตรฐาน IMT-2000 1. พื้นฐานที่สามารถรองรับบริการตางๆ เชน บริการประจําที่ บริการเคลื่อนที่ สื่อสารดวยเสียง รับสง ขอมูลเขาถึงอินเทอรเน็ต มัลติมีเดีย จะตองเปนไปในทางเดียวกัน คือสามารถโอนถาย สงตอ ซึ่งขอมูลไปยัง อุปกรณโทรคมนาคมอื่นที่สามารถรับสงขอมูลได 2. โครงขายขามแดน (Global Roaming) สามารถใชอุปกรณเดียวในทุกพื้นที่ทั่วโลก 3. ความตอเนื่องการสื่อสาร (Seamless Delivery Service) สามารถใชงานไดอยางตอเนื่องแมจะมี การเคลื่อนที่แลวเกิดการเปลี่ยนแปลงของสถานีรับสงสัญญาณ 4. อัตราความเร็วการรับสงขอมูล (Transmission Rate) ขณะประจําที่หรือความเร็วเทาการเดิน สามารถรับสงขอมูลไดอยางนอย 2Mbps ขณะเคลื่อนที่ดวยความเร็วระดับยานพาหนะ สามารถรับสงขอมูล อยางนอย 384kbps และในทุกสภาพการใชงาน มีความสามารถในการรับสงขอมูลสูงสุด 14.4Mbps ขอกําหนดมาตรฐาน IMT-2000 จึงเปนมาตรฐานขั้นต่ําสําหรับโครงขาย 3G หากแตผูประกอบการแต ละรายก็สามารถพัฒนา หรือออกแบบมาตรฐานทางเทคนิคในสวนของการเชื่อมตอวิทยุ (Radio Interface) ซึ่งก็ใชแตกตางกันไปในแตละประเทศทําใหมีความเร็วที่แตกตางกัน สําหรับประเทศไทยก็ขึ้นอยูกับผูประกอบการแตละรายซึ่งประมูลคลื่น 3G ยาน 2.1GHz ไดตาม ประกาศ กสทช. วาดวยหลักเกณฑและวิธีการอนุญาตใหใชคลื่นความถี่สําหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่ สากล ยาน 2.1GHz พ.ศ. 2555 ผูประกอบการก็มีอิสระในการเลือกวาจะพัฒนาโครงขายโทรศัพท 3G ของ ตนเองดวยมาตรฐานทางเทคนิคในสวนของการเชื่อมตอวิทยุใด แตคุณภาพของความเร็วและบริการตองไมต่ํา กวามาตรฐาน IMT-2000 และที่ กสทช. กําหนด เชน 3.9G จะใหความเร็วในการเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดสูงถึง 42Mbps (เมกะบิต/วินาที) (กสทช, 2555) มาตรฐาน 3G สู 4G และ5G 4G มาตรฐานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 4 หรือ 4G นั้น เปนมาตรฐานที่พัฒนาตอจาก 3G โดย 4G จะใหความเร็วสูงยิ่งในการเชื่อตออินเทอรเน็ต (Mobile ultra-broadband Internet access) สําหรับ เครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา (Laptops with USB Wireless modems) สมารทโฟน และอุปกรณเคลื่อนที่ ตางๆ (Other mobile devices) สําหรับการใชงานแอพพลิเคชั่นตางๆไดอยางรวดเร็ว (En.Wikipedia.org, 2012a) เชน การทองเว็บ, วีดีโอคอนเฟอรเรนซ การถายทอดสดแบบ Live Broadcast แบบ Real-time การ รักษาโรคทางไกล (Telemedicine) และรวมไปถึงการชมภาพยนตรความละเอียดสูงบนเครือขายอินเทอรเน็ต (iT24Hrs, 2555) ซึ่ ง ในป จ จุบั นเครื่ อ งคอมพิวเตอรแบบพกพา สมารท โฟนและอุป กรณเ คลื่อนที่ตางๆ ก็ สามารถรองรับการใชงาน 4G ไดแลว ทําใหการเชื่อมตออินเทอรเน็ตมีความเร็วในการรับ-สงขอมูลทีส่ ูงกวาการ เชื่อมตอผาน Wi-Fi ดวย โดยจะเร็วกวา 3G เดิมประมาณ 5-7 เทา พูลผล ปุราเพ็ญ 54040774


83

ปจจุบันมีระบบ 4G ที่ใช งานในเชิงพาณิชย อยู 2 ระบบคือ (1) มาตรฐาน Mobile WiMAX (2) มาตรฐาน Long Term Evolution (LTE) สําหรับมาตรฐานทางเทคนิคในสวนของการเชื่อมตอวิทยุนั้น ผูประกอบการแตละรายก็สามารถเลือกใชไดตามตองการวาจะใชมาตรฐาน WiMax หรือ LTE-Advanced (En.Wikipedia.org, 2012a) สําหรับประเทศไทยไดมีการทดลอง 4G ที่ความถี่ 2.3GHz และ 1800 MHz ทั้งในมาตรฐาน Wimax และ LTE ดีแทคไดเปดผลการทดสอบ 4G บนคลื่น 1800 MHz จํานวน 20 MHz โดยการทดสอบมี 2 พื้นที่ คือ สยามสแควร และดีแทคเฮาส ผลการทดสอบปรากฏวา ความเร็วการใชงานดาวนโหลดทําไดสูงสุดถึง 150 Mbps และอัปโหลดทําไดสูงสุดถึง 50 Mbps หรือเร็วกวา 3G ประมาณ 5 เทา และเร็วกวา 2G ประมาณกวา 200 เทา พรอมมั่นใจจะเปดบริการ 3G ครอบคลุมประชากร รอยละ 50 ภายใน 1 ป การทดสอบดังกลาวเปน การเตรียมความพรอม เพื่อพัฒนาคุณภาพเครือขายและอุปกรณที่ทันสมัยซึ่งสามารถทําการอัปเกรดเครือขาย ทั่วประเทศจาก 3G เปน 4G ไดอยางรวดเร็ว “เพียงแคนําการด 4G เขาไปติดตั้งในตูสัญญาณที่เพิ่งลงทุนเน็ต เวิรดใหมไปจะใชเวลาไมเกิน 15 นาที เทานั้นก็สามารถใหบริการได” (ASTVผูจัดการออนไลน. 2555) กรรมการ กสทช. บางท านกล าวว ามีแนวความคิดจะเปดประมูลคลื่นความถี่ยาน 2.3GHz เพื่อ ใหบริการ 4G LTE (Advanced) ภายในปนี้ ซึ่งจะตองรอใหแผนจัดเรียกคืนคลื่นความถี่ (Reframing) เสร็จ กอนเพราะปจจุบันผูถือครองคลื่นความถี่ยานดังกลาวเปนหนวยงานรัฐวิสาหกิจ และกองทัพ (iT24Hrs, 2555) การเกิดขึ้นของบริการโทรศัพท 4G ในประเทศไทยจึงมิใชเปนเพียงกุศโลบายในการสรางภาพทางการตลาด หากแตเ ป นเรื่ อ งจริ ง ที่ เ กิ ดขึ้ น จากพื้ นฐานทางทรัพ ยากรความถี่คลื่นวิท ยุ ความพรอ มของอุ ตสาหกรรม โทรคมนาคมทั้งในสวนของเทคโนโลยีเครือขาย การจัดสรรความถี่ในระดับนานาชาติและแรงผลักดันทางตลาด ของทั่วโลกที่มีตอการพัฒนาทั้งเครือขายและเครื่องลูกขาย การใชงานความถี่วิทยุยาน 2.1 กิกะเฮิรตซเพื่อ ใหบริการ 4G ก็มิใชเรื่องที่เกิดเร็วเกินไปเนื่องจากทั่วโลกมีผูใหบริการยักษใหญที่จะสงผลตอการพัฒนาตลอด หวงโซของธุรกิจการใหบริการโทรคมนาคม (Ecosystem) และมีความเปนไปไดวาเราจะไดเห็นการประชัน กําลังเปดใหบริการเครือขาย 4G เปนกาวตอยอดจากการใหบริการ 3G ที่เปนอยูในปจจุบัน โดยครั้งนี้จะไมมี เหตุปจจัยใดๆ มาทําใหการยกระดับสาธารณูปโภคดานการสื่อสารไรสายของประเทศไทยตองสะดุดลงอีกอยาง แนนอน (ไพโรจน ไววานิชกิจ, 2556) 5G มาตรฐานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 5 หรือ 5G นั้นเปนชื่อเรียกในบทความทางวิชาการบาง บทความ หรือโครงการวิจัยโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยุดถัดจากยุค 4G/IMT-Advanced standards ซึ่ง 4G นั้นไดเริ่มเปดใหบริการในบางประเทศมาตั้งแต พ.ศ. 2554 อยางไรก็ตามในปจจุบัน คําวา “5G” นั้น ยังไมได รับการประกาศใชอยางเปนทางการทัง้ ในสวนของขอกําหนดของมาตรฐาน และเอกสารทางการใดๆทีเ่ กี่ยวของ กับมาตรฐานทางดานโทรคมนาคม เชนองคกร 3GPP (Third Generation Partnership Project) เปนอีก องคกรทีกําหนดมาตรฐานดานโทรคมนาคม มาตรฐานโครงขายหลังจากยุค 4G นั้น ยังอยูในกระบวนการ กําหนดมาตรฐานอยางเปนทางการแตในปจจุบันนี้ ยังไมมีการพิจารณา 5G เปนยุคของโทรศัพทเคลื่อนที่ยุค

พูลผล ปุราเพ็ญ 54040774


84

ใหม (New mobile generations) แต บ างแนวคิด อาจจะจั ดให อ ยู ในภายใตร ม ของมาตรฐาน 4G (En.wikipedia, 2012b)

ภาพที่ 1 เปรียบเทียบความเร็วในแตละโครงขายโทรศัพทในแตละยุค ที่มา: http://sudhakarreddymr.files.wordpress.com/2011/06/ data_table_thumb.png?w=648&h=377/. เนื่องจากมาตรฐานทางเทคนิคของ 2G 3G และ 4G มีความแตกตางกันหลายมาตรฐานดังที่กลาว มาแลวขางตน ซึ่งแตละมาตรฐานก็ใหความเร็ วที่แตกตางกัน จากตารางแมจ ะเห็นวาความเร็วในการรับสง ขอมูลจะเพิ่มสูงขึ้นอยางกาวกระโดดจากยุค 2.5G มาเปนยุค 3G 4G รวมถึง 5G ในอนาคต แตก็ตองไมลืมวา เมื่อความเร็วสูงขึ้น แอพพลิเคชั่นตางๆ ที่พัฒนามาก็ใชทรัพยากรของเครือขายที่สูงตามไปดวย (เชน การสง วีดีโอที่มีความละเอียดและความคมชัดของภาพสูงขึ้น) รวมถึงสภาพแวดลอมในแตละพื้นที่จึงทําใหความเร็วที่ ไดจริงอาจไมเปนไปตามทฤษฏีดังตารางที่หยิบยกมาแสดงนี้ ซึ่งผูเขียนก็เห็นดวยจากการทดลองใชงานดวย ตนเองวามันเปนจริงเชนนั้นจริงๆ ทายที่สุดแลว เมื่อผูใชสวนใหญอยูในสภาพแวดลอมของยุค 3G 4G หรือ 5G จริงๆก็อาจจะรูสึกวามันไมไดเร็วอยางที่คิด เพราะใจของมนุษยเรานั้น มีความตองการความเร็วที่มากขึ้นไปอีก ไมมีที่สิ้นสุด อนาคตประเทศไทยจาก 3G สูโครงขาย 4G และ 5G เมื่อวิเคราะหถึงแนวโนมโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ 4G ในประเทศไทย อาจจะเปนชวงเปลี่ยนผาน ไปสูโครงขายดังกลาวไดในระยะเวลาอันรวดเร็วกวาโครงขาย 3G เนื่องจาก กสทช. ไดบทเรียนจากการเปด ประมูล 3G มาแลว ในอนาคตเมื่อมีเครือขาย 4G ครอบคลุมทั่วประเทศ และมีคาบริการทีถูกลงเราก็อาจจะไม ตองจายคาโทรศัพท จายแตคาใชบริการขอมูล (Data) หรืออินเทอรเน็ตเพียงอยางเดียว ซึ่งเมื่อถึงเวลานั้น คา ใชบริการก็ควรจะต่ําอยางมาก เนื่องจากการทํางานของ 4G อยูบนมาตรฐานของไอพี (IP) (อุปกรณแตละตัว พูลผล ปุราเพ็ญ 54040774


85

เชน เครื่องคอมพิวเตอรพกพา, สมารทโฟน, กลอง ฯลฯ ทุกเครื่อง ก็จะมีหมายเลข IPV6 ของตัวเอง) เรา สามารถสื่ อ สารในลั ก ษณะของการสนทนาในลั ก ษณะของไอพี โ ฟน หรื อ ผ า นแอพพลิ เ คชั่ น ต า งๆทาง อินเทอรเน็ตไดโดยตรง เชน Skype, MSN, Google+, Facebook ฯลฯอยางไรก็ตามสิ่งที่สําคัญเหนือสิ่งอื่นใด จากการมีโ ครงข ายดั งกลาว ก็ คือ การใช ประโยชน จากโครงขายอย างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผ ล เพื่อ ยกระดับ คุณภาพชีวิต คุณภาพการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจของคนในสัง คม ลดความเหลือ มล้ําทาง ดิจิตอล (Digital Divide) ของคนในสังคม ตามเจตนารมณของการใชคลื่นความถี่อันเปนทรัพยากรของชาติซึ่ง ระบุไวในบทบั ญ ญั ติของรั ฐธรรมนู ญ รวมถึ ง การเชื่อ มโยงเครื อ ขายเขา กับ ระบบวิ ท ยุสื่อ สารเพื่อ รองรั บ สถานการณฉุกเฉินและภัยพิบัติที่สําคัญในระดับชาติ เอกสารอางอิง กสทช. 2555. ถึงเวลา 3G ประเทศไทย บนคลื่นความถี; 2.1GHz. กรุงเทพฯ: สํานักงาน กสทช. คณะกรรมการมาตรฐาน กทช. 2548. มาตรฐานและเทคโนโลยีของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3. กรุงเทพฯ: สํานักงาน กทช. พิทวัส กัลยา และ เจริญชัย บวรธรรมรัตน . 2551. Evolution to 3G Mobile Technology. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://www.ee.eng.chula.ac.th/ (วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557), วิกิพีเดีย. 2555. 3จี. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/3_จี/. (วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557), วิกิพีเดีย. 2555. 4จี. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/4_จี/. (วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557), ไพโรจน ไววานิชกิจ. (2556). 4G Thailand การกาวเดินของพัฒนาการทางเทคโนโลยีสื่อสารไทย. เซมิคอนดักเตอรอิเล็กทรอนิกส. ASTV ผูจัดการออนไลน. 2555. ดีแทคโชวผลทดสอบ 4G เร็วกวา 3G 5 เทา. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://www.manager.co.th/CBiZReview/ViewNews.aspx?NewsID=9550000136900/ (วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557) En.Wikipedia.org. 2012a. 4G. [Online]. Available: http://en.wikipedia.org/wiki/4G/. (Accessed date: November 4, 2014). En.Wikipedia.org. 2012b. 5G. [Online]. Available: http://en.wikipedia.org/wiki/5G/. (Accessed date: November 4, 2014). iT24Hrs. 2555. เจาะลึกการทดลอง 4G ในไทย. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://www.it24hrs.com/2012/4g-technical-trialthailand/? fb_action_ids=445449912167558&fb_action_types=og.likes&fb_source=aggregation&fb _aggregation_id=288381481237582/. (วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557)

พูลผล ปุราเพ็ญ 54040774


1

นางสาว ฟารีดา ร่วมวงค์ 54040775* 86

ร้านค้าเกษตรออนไลน์ บน Facebook บทนา การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายออนไลน์ หรือ Social Network หรือเครือข่ายออนไลน์ ให้เป็นแหล่งทาธุรกิจบนโลกอินเตอร์เน็ตนั้นมีมา นานแล้ ว ในรู ป แบบที่ แ ตกต่ า งกั น ไปขึ้ น กั บ ผู้ ใ ช้ ง านเองว่ า จะประยุ ก ต์ ใ ช้ ง าน Social Network อย่างไรให้เหมาะสมกับธุรกิจที่มีอยู่ สาเหตุสาคัญก็คือ ระบบของ Social Network เป็นเครือข่ายที่สามารถเชื่อมโยงทุกคนๆ เข้าหา กันได้ โดยการยอมรับเป็นเพื่อน (Friend) จึงทา ให้มีเพื่อนเพิ่มขึ้นได้มากมาย ซึ่งหากประยุกต์ใช้ งาน Social Network ให้เป็นร้านค้าออนไลน์จะ มีฐ านลู ก ค้า ที่ อ ยู่ บ นเครื อ ข่ ายเดี ย วกัน จ านวน มากที่ ทุ ก คนสามารถเชื่ อ มโยงเข้ า ถึ ง กั น เมื่ อ กล่าวถึง Social Network ยอดนิยมอันดับหนึ่ง ก็ต้องเป็น Facebook ที่มีจานวนบัญชีผู้ใช้งาน มากกว่า 700 ล้านคน เฉพาะในประเทศไทยเอง ก็ มี ผู้ ใ ช้ ง านมากกว่ า 11 ล้ า นคน จากจ านวน ผู้ ใ ช้ ง านอิ น เตอร์ เ น็ ต โดยรวมที่ 22 ล้ า นคน สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความนิ ย มใช้ ง าน Social Network อย่าง Facebook แค่ภายในประเทศ ยังมีผู้ ใช้งานเป็น ครึ่ งหนึ่ งของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ทั้งหมด และแน่นอนว่าแนวโน้มต้องสูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างแน่นอน (ชนะ เทศทอง,2556) 1. Social Network คืออะไร อัน ดับ แรกเรามาทาความรู้จั กกับคาว่า Social Network หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์กันก่อน จริงๆแล้ว Social Network ยังไม่ได้มีคาศัพท์ที่

ถู ก บั ญ ญั ติ เ ป็ น ภาษาไทย แต่ โ ดยรวมแล้ ว คื อ เว็บ ไซต์ที่ ผู้ ใ ช้งานสามารถที่ จะเขีย นบทความ เรื่องที่สนใจ กิจกรรมต่างๆ รูปภาพและวีดีโอบน เว็บไซต์ แล้ ว แชร์ข้อมูล นี้ให้ บุคคลอื่นที่ใช้งาน เว็บไซต์บนเครือข่ายเดียวกันรับทราบถึงสิ่งที่เรา ต้องการสื่อสารออกไป อีกทั้งยังสามารถสื่ อสาร กั น ไปมาระหว่ า งผู้ ใ ช้ ง านด้ ว ยกั น เอง ผ่ า น เครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต จึ ง ท าให้ เ ว็ บ Social Network สร้างประโยชน์ให้กับผู้ใช้งานได้อย่าง มากมาย (ชนะ เทศทอง,2556) ข้อดี Social Network สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา 2. สุดยอด Social Network ส่วนFacebookเป็นเว็บไซต์ Social Network ที่ มี จุ ด เริ่ ม จากกลุ่ ม นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ฮาวาร์ด โดย Mark Zuckerberg(มาร์ก ซักเคอร์ เบิร์ก) และกลุ่มเพื่อนที่จะสร้างเครือข่ายสาหรับ กลุ่ ม เพื่ อ นนั ก ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ได้ แ ชร์ เรื่องราว ภาพ กิจกรรมให้เพื่อนนักศึกษาด้วยกัน รับทราบ แต่เครือข่ายที่มาร์ก ซักเคอร์เบิร์กและ ผองเพื่อนสร้างขึ้นมานี้กลับได้รับความนิยมไปถึง มหาวิทยาลัยชั้นนาอื่นๆ รวมไปถึงบุคคลทั่วไป ปัจจุบัน Facebook มีผู้ใช้งานมากกว่า 700 ล้านคน ทาให้มาร์กซักเคอร์เบิร์ก กลายเป็นมหา เศรษฐีพันล้าน (เหรียญสหรัฐ) ในวัยเพียงแค่ 23 ปี เฉพาะในประเทศไทยเองก็มีผู้ใช้งานมากกว่า 11 ล้ า นคน จากจ านวนผู้ ใ ช้ ง านอิ น เตอร์ เ น็ ต โดยรวมที่ 22 ล้านคน (ชนะ เทศทอง,2556)

*นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร สาขาวิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.


2

3. ระบบการสื่ อ สารบนเครื อ ข่ า ยของ Facebook เมื่อเรามีบัญชีผู้ใช้งานและเพื่อนๆ บน Facebook แล้ ว ทุกกิ จ กรรมที่เ ราโพสต์บ น Facebook จะส่งไปยังเพื่อนๆ ทั้งหมดของเรา ท าให้ เ มื่ อ เรามี ก ารอั พ เดตข้ อ มู ล การโพสต์ ข้อความ การเขียนบันทึก การอัพโหลดรูปภาพ อัพโหลดวีดีโอจะถูกส่งไปแสดงยัง News Feed หรือข่าวใหม่บน Facebook จะทาให้เพื่อนของ เรารั บ ทราบถึ ง การอั พ เดตต่ า งๆ นี้ ในทาง กลับกันเมื่อเพื่อนเราอัพเดตข้อมูลอะไรก็ตามบน Facebook ของเขา การอัพเดตนั้นจะแสดงบน News Feed ของเราด้วยเช่นกันทั้งนี้ทั้งนั้นการ อั พ เดตต่ า งๆ นั้ น เป็ น เพี ย งการแจ้ ง ให้ ท ราบ เท่านั้น เราจะสนใจมีส่วนร่วมไปกับการอัพเดต นั้น (คอมเมนต์ พูดคุย) หรือไม่สนใจเพิกเฉยก็ได้ ไม่ได้เป็นการแจ้งเตือนให้ดู น่าราคาญ ส่วนนี้จึง เป็นจุดเด่นอย่างหนึ่งของ Facebook ซึ่งต่างกับ เว็ บ Social Network อื่ น ๆ (ชนะ เทศทอง ,2556)

ภาพที่ 1: ระบบพื้นฐานที่เชื่อมโยงเข้าหากัน ที่มา: https://www.facebook.com

87

4. การประยุกต์ใช้งาน Facebook เพื่อการค้า วิธีการสื่อสารบน Facebook จึงทาให้สามารถ ประยุกต์ใช้งาน Facebook ให้เป็นช่องทาง การค้า สร้างแบรนด์สินค้าและสื่อสารการตลาด ได้ อ ย่ า งง่ า ย โดยการเปิ ด ร้ า นค้ า ขายสิ น ค้ า ออนไลน์มีข้อดี ดังนี้ 4.1 เพิ่มช่องทางในการทาเงิน อิน เทอร์เ น็ ตมี ผู้ ใช้ บริ ก ารจ านวนมาก ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ ง่ า ยและ ก ลั่ น ก ร อ ง ก า ร เ ข้ า ถึ ง ลู ก ค้ า ไ ด้ ต ร ง ต า ม กลุ่ ม เป้ า หมาย จั ด เป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางที่ มี ประสิทธิภาพ และครอบคลุมลูกค้าได้ในทุกพื้นที่ 4.2 การลงทุนที่ไม่สูง หลายคนที่ ช อบเล่ น อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น ชี วิ ต สามารถน าอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ ใ ช้ อ ยู่ เ พิ่ ม เป็ น รายได้ โดยการหาสิ น ค้ ามาวางขายในร้ านค้ า ออนไลน์ ไ ด้ ห รื อ เจ้ า ของกิ จ การที่ มี สิ น ค้ า และ เว็บไซต์ของตนเองก็สามารถนาของไปวางขาย บนตลาดออนไลน์ได้ ซึ่งจะจ่ายค่าวางสินค้าเพียง เล็ กน้ อ ย หรื อ จะเปิ ด ร้า นค้า ออนไลน์เ ป็ นของ ตัวเอง อาจจะต้องจ่ายค่าพื้นที่หรือค่าบริการ แต่ ก็คิดแล้วยังถูกกว่าการเช่าแผงลอย เช่าอาคาร หรือห้างร้าน อยู่มาก 4.3 การลงทุนที่ไม่เสี่ยง สินค้าที่นามาวางขาย จะถูกนามาวาง เฉพาะข้อมูล และภาพ ซึ่งเราไม่จาเป็นต้องซื้อ สินค้ามาสต๊อกไว้จานวนมาก ลูกค้าจะสั่งของมา ก่อน แล้ว ค่อยซื้อและจัดส่ง จึงไม่เสี่ยงในเรื่อง


3

ของสินค้าล้นสต๊อก แต่จะต้องหมั่นเช็คสินค้าให้ มีเมื่อลูกค้าสั่ง 4.4 การทางานที่ใช้บุคลากรน้อย สามารถทางานได้ทั้งหมดเพียงคนเดียว ทั้งหาสินค้ามาวางขาย รับการสั่งซื้อ ติดตามการ ชาระเงิน ส่งสินค้า และแจ้งการส่งสินค้า ส่วนที่ สาคัญจะมีระบบตัวแทนรับชาระค่าสินค้าที่ ช่วย ดูแลเงินได้แค่ใช้นิ้วคลิก 4.5ระบ บสนั บสนุ นที่ ส ะดว กแล ะ ปลอดภัย ปัจจุบันจะมีตัวแทนในการรับชาระค่า สินค้า ที่ลูกค้าสามารถชาระเงินได้หลายช่องทาง มีความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย การติดต่อ ลูกค้าสามารถทาได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งสามารถ ส่งสินค้าและเช็คสถานะสินค้า ได้ผ่านระบบของ ไปรษณีย์ไทย 4.6 ทางเลือกใหม่เพิ่มลูกค้าให้มากขึ้น ส าหรั บ สิ น ค้าคุ ณภาพที่ลู กค้าคุ้ น เคย การขาย สินค้าบนอินเทอร์เน็ต จะช่วยให้ลูกค้าสามารถ เปรี ย บเทีย บราคาสิ น ค้าระหว่างร้ านต่า งๆ ได้ สินค้าส่วนใหญ่จะลดราคามากกว่าซื้อจากหน้า ร้ านทั่ว ไป เพราะไม่มี ค่าการจั ดจ าหน่าย และ สะดวกกับการจัดส่งสินค้าถึงบ้าน ไม่ต้องออกไป ตากแดดให้ร้อน (ปิยะ นากสงค์, 2553) เพียงแค่สร้างบัญชีผู้ใช้งาน Facebook ขึ้ น มาเป็ น ของตั ว เอง จากนั้ น หาเพื่ อ นให้ ไ ด้ จานวนมาก แล้วก็ส่งสารข้อความประชาสัมพันธ์ เรื่องราวต่างๆ ถึงเพื่อนบน Facebook เป็นการ โฆษณา ใช้ทุนน้อยมากๆ แทบจะไม่มีค่าใช้จ่าย

88

ใดๆ เลย อีกทั้งบัญชีผู้ใช้งาน Facebook ก็มี จานวนมหาศาล ยิ่งหาเพื่อนได้ มากเท่าไรการ สื่ อ สารจะถู ก ส่ ง ออกไปได้ ม ากขึ้ น ตามจ านวน เพื่อนที่มีเท่านั้นอีกทั้งถ้าในรายชื่อเพื่อนๆ มีการ คอมเมนต์ในสิ่งที่ถูกสื่อสารออกไป การอั พเดตนี้ จะถูกส่งต่อไปยังเพื่อนของเพื่อนได้อีก เรียกได้ ว่าถูกส่งต่อไปยังบุคคลอื่นได้ดียิ่งกว่าแชร์ลูกโซ่ อีกด้วย 5. การเปลี่ยน Facebook ให้เป็นร้านค้า เกษตรออนไลน์ ร้านค้าเกษตรออนไลน์บน Facebook ซึ่งสามารถทาได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ 5.1 หน้า Facebook ทั่วไป การประยุกต์ใช้งาน Facebook ให้เป็น ร้านค้าเกษตรออนไลน์ สามารถท าได้โ ดยง่า ย และลงตัว ในส่วนรูปภาพสินค้าเกษตร สามารถ อัพโหลดสินค้าได้ไม่จากัด ในแต่ล ะรูปภาพเรา ยังให้ข้อมูลของสินค้าประเภทนั้นเพิ่มเติมได้อีก ลูกค้าก็ส ามารถคอมเมนต์สอบถามถึงสินค้าใน รูปภาพนั้นโดยตรงเช่ นกัน รูปแบบการใช้งาน เหมือน Facebook ปกติทั่วไปเพียงใช้เพื่อ การค้า โ ดย ในปั จ จุ บั น มี เกษต ร กร ได้ ใ ช้ Facebook เป็นร้านค้าเกษตรออนไลน์ เพิ่ม ช่ อ งทางในการจ าหน่ า ยสิ น ค้ า เกษตร ได้ แ ก่ เกษตรกรทาธุรกิจส่วนตัว


4

ภาพที่ 2: ตัวอย่าง Facebook หน้าปกติ จาหน่ายพันธุ์ตะไคร้ ที่มา:https://www.facebook.com/lemomg rass/thai 5.2 Page บน Facebook นอกจากหน้าปกติของ Facebook แล้ว ยั ง มี เ ครื่ อ งมื อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น มาอี ก นั่ น ก็ คื อ Page ยกตัวอย่างก็เหมือนกับการที่เกษตรกรสมัยใหม่ ที่ส ร้างเว็บ ไซต์ไว้แล้ ว ให้กลุ่ มคนที่ต้องการซื้อ ขายสินค้าทางการเกษตรเข้ามาติดตาม หรือนา สินค้าทางการเกษตรที่มีผู้ต้องการซื้อขายเข้าไป ขาย ข้อดีของ Page ก็คือ จะสามารถรับสมาชิก ได้ไม่จากัดจานวน ข้อความที่โพสต์โดยเจ้าของ Page จะถูกส่งถึงสมาชิกทุกคน สมาชิกทุกคน สามารถโพสต์ข้อความติดต่อกับเจ้าของ Page ได้ ทั้ ง ยั ง มี ก ารแจ้ ง สถิ ติ ต่ า งๆ ได้ รั บ ทราบถึ ง ความเคลื่อนไหวถึงแม้จะไม่ได้เป็นสมาชิกของ Page ร้านค้าออนไลน์ หรือไม่ได้เป็นผู้ใช้งาน Facebook ก็ส ามารถเข้ามาดู และเยี่ยมชม Page ร้านค้าออนไลน์ที่สร้างขึ้นได้เช่นกัน ดังนั้น

89

Page จึงเป็นเหมือนเว็บไซต์ร้านค้าแห่งหนึ่ง เมื่อ มี URL ของร้านค้า ไม่ว่าใครก็สามารถเข้ามาดู ได้ จึงต้องให้ข้อมูลการติดต่อไว้ เช่น อีเมล์หรือ เบอร์โ ทรศั พท์ ลู กค้า ที่ไม่ได้เป็ นสมาชิก Page ร้านค้า และไม่ได้เป็นผู้ใช้งาน Facebook ก็ สามารถติดต่อซื้อสินค้าได้อยู่ดี โดยในปัจจุบันมีร้านค้าเกษตรรายใหญ่ และร้ า นค้ า กลุ่ ม เกษตรกรรายย่ อ ย ใช้ Page Facebook เ พื่ อ ท า ธุ ร กิ จ ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร ออนไลน์ ดังนี้ -ร้านค้าเกษตรรายใหญ่ เช่น ซี.พี. ใช้ Page Facebook เหมาะกับการเผยแพร่ กิ จ กรรม เน้ น เพื่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ สิ น ค้ า ทางการเกษตรผ่านรูปแบบกิจกรรมขององค์กร ให้ลูกค้าได้รู้จักแบรนด์ของสินค้าเกษตร

ภาพที่ 3: ตัวอย่าง Page Facebook ข้าวตราฉัตร จุดประสงค์เพื่อการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของ องค์กร เพื่อให้รู้จักแบรนด์ของข้าว ซี.พี. ที่มา:https://www.facebook.com/KhaoTra Chat?fref=ts


90

5

- ร้านค้ากลุ่มเกษตรกรรายย่อย ได้แก่ SMEs ย่อมาจาก Small and Medium Enterprises ธุรกิจทั่วไปเป็นเจ้าของ ดาเนินการ โดยเจ้ า ของเองมี ต้ น ทุ น ในการด าเนิ น งานต่ า และมี พ นั ก งานจ านวนไม่ ม าก เหมาะกั บ เกษตรกรทั่ ว ไปสามารถน าสิ น ค้ า เกษตรมา จาหน่ายบน Page Facebook ให้ลูกค้าได้สั่งซื้อ

สื่อสารถึงกลุ่มลูกค้าบน Facebook ได้ทั้งใน ลักษณะหน้าปกติและ Page ของ Facebook บรรณานุกรม ชนะ เทศทอง. เปิ ด ร้ า นออนไลน์ บ น

Facebook 4th Edition. นนทบุรี: ไอดีซีฯ, 2556. 360 หน้า. ธุร กิจ ขนาดย่ อม. (ออนไลน์ ). แหล่ ง ที่ม า: http://novabizz.com/business /ธุ ร กิ จ ข น า ด ย่ อ ม . htm.(23 พฤศจิกายน 2557)

ปิยะ นากสงค์. เปิดร้านขายของออนไลน์. ภาพที่ 4: ตัวอย่าง Page Facebook จาหน่าย ตะไคร้ ที่มา:https://www.facebook.com/RiChmC anthr?fref=ts บทสรุป หากมองในแง่ ข องการเปิ ด ร้ า นค้ า ออนไลน์ จะเห็นได้ว่า Social Network มี บทบาทในสังคมปัจจุบัน มีคนใช้เป็นจานวนมาก และยังใช้ Facebook ทาธุรกิจออนไลน์ ธุรกิจ เกษตรก็ต้องมีการใช้ Facebook เพื่อให้ลูกค้า สามารถเข้ า ถึ ง ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา โดย Facebook สามารถจ าหน่ า ย สร้ า งแบรนด์ สิ น ค้ า และ

กรุ ง เทพฯ: ดรี ม แอนด์ แพชชั่ น , 2553. 256 หน้า.


91

ผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์กับ พลังการบอกต่อ The influence of the world online with mouth the world นางสาววราลักษณ์ ทรงชัยพรรณา 54040780

บทนำ มีคาสองคา ซึ่งปัจจุบันเข้ามาเกี่ย วข้ อ งกั บ ชีวิตประจาวันของคนรุ่นใหม่ในเกื อ บจะทุ ก วงการ คื อ ค าว่ า Social Media และ Social Network ซึ่งคนที่อยู่ในวั ย ท างานปั จ จุ บั น น้ อ ยคนนั ก ที่ จ ะ ไม่ได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับ 2 คานี้ เพราะทั้ ง สองค านี้ มา พร้ อ มกั บ ควา มก้ า วหน้ า ของเทคโน โล ยี คอมพิวเตอร์และเครือข่าย ซึ่งปัจจุ บั น เราสามารถ อ่ า น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ผ่ า น ทางอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ เ ร า เรี ย กว่ า หนั ง สื อ พิ มพ์ อ อนไลน์ ดู ห นั ง ผ่ า นทา ง อินเทอร์เน็ต ขายสินค้าผ่านทางอินเทอร์ เ น็ ต เรี ย น หนังสือผ่านทางอินเทอร์เน็ ต นอกจากนั้ น เรายั ง สามารถนาเอารูปภาพ วีดิโอ ของเราเผยแพร่ ท าง อิ น เทอร์ เ น็ ต ให้ ผู้ ค นในสั ง คมออนไลน์ ( Online Community) ได้ชมได้ ดั ง นั้ น การเผยแพร่ สื่ อ ใน รู ป แบ บต่ า งๆดั งกล่ า วเ ข้ า ไ ปใน เครื อข่ า ย อินเทอร์เน็ต จึงเป็นที่มาของค าว่ า Social Media และ Social Network สื่ อ ออน ไลน์ นั บ เป็ น เครื่ อ งมื อ ส า คั ญ ที่ นักการตลาดยุคใหม่ใช้เป็นช่ อ งทางในการสื่ อ สาร ข้อมูลของสินค้า และบริ ก าร เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โ ภคเกิ ด การรับรู้ การยอมรั บ และความรู้ สึ ก ผู ก พั น กั บ แบ รน ด์ (ภาวุ ธ พงษวิ ท ยภา นุ ,2551) เนื่ อ งด้ ว ย

พฤติกรรมของผู้บริโภคในปัจจุบันที่มีก ารประกอบ กิจกรรมต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตสูงขึ้นในแทบทุก กิจกรรมหลัก โดยข้อมูลจากผลวิ จั ย Connections Panel ของ Initiative (กนกกาญจน์ ประจงแสง ศรี และ สุรสีห์ ประมุข, 2556) ได้สรุป ผลว่ า ในปี 2555 ผู้บริโภคทั่ว ไปที่ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต อย่ า งน้ อ ย สัปดาห์ละหนึ่งครั้งมีจานวนเพิ่ มขึ้ น ถึ ง ร้ อ ยละ 39 จากเดิมที่มีสัดส่วนร้อยละ 28 นอกจากนั้ น ด้ ว ย ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ มี ร า คา ถู ก เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ สื่ อ โฆษณาแบบดั้ ง เดิ ม (Traditional Media) และ การแพร่กระจายข่าวสารที่เป็น ไปได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว การสร้ า งแบรนด์ บ นสื่ อ ออน ไลน์ จึ ง กลา ยเป็ น ช่องทางที่มีประสิทธิภาพเป็นอย่างยิ่ง

ภำพที่ 1 ภาพสื่อบน Social Media ที่มำ : www.jaisabai.com (2557)


92

สื่ อ ออน ไลน์ ส่ ง ผลให้ พ ฤติ ก ร ร มกา ร ตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคเปลี่ยนไป ผู้ บ ริ โ ภคเริ่ มให้ ความเชื่อถือในโฆษณาน้ อ ยลง แต่ จ ะน าข้ อ มู ล ที่ ได้รับจากโฆษณามาประกอบกับข้อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ จาก บท วิ จ า ร ณ์ ( Review) หรื อ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น (Comment) จากบล็อก (Blog) เว็ บ บอร์ ด (Web Board) หรือทางสังคมออนไลน์ (Social Media) โดย Nielsen Global Online Consumer Survey ได้ ศึ ก ษาทั ศ นคติ ข องผู้ บ ริ โ ภคต่ อ ความ เชื่อถือในสื่อโฆษณา ผลปรากฏว่า การตลาดแบบ บอกต่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้ น ให้ ผู้ บ ริ โ ภคเกิ ด การตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการได้สูงที่สุด คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 51 โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู้ บ ริ โ ภคจ ะ ตั ด สิ น ใจซื้ อ สิ น ค้ า ได้ ง่ า ยและรวดเร็ ว หากได้ รั บ ข้อมูลจากผู้ทรงอิทธิพลที่มีความน่าเชื่อถือ

ผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อออนไลน์ ผู้ ท รงอิ ท ธิ พ ล ( Influencer) คื อ บุ ค คล หรื อ กลุ่ ม บุ ค คล ที่ เ ป็ น แหล่ ง อ่ า งอิ ง ข้ อ มู ล ของ ผู้บริโภค ในการกาหนดค่ า นิ ย ม (Value) ทั ศ นคติ (Attitude) และพฤติ ก รรม (Behavior)หรื อ อย่ า ง ใดอย่างหนึ่ง (Shiffman & kanuk,2004) ส าหรั บ ผู้ทรงอิทธิ พลในสื่ อ ออนไลน์ หมายถึ ง การใช้ ผู้ มี อิ ท ธิ พ ลด้ า น ควา มคิ ด ใน สื่ อ ออน ไลน์ ใ ห้ เ ป็ น ผู้เผยแพร่ของข้อมูลสินค้าและบริ ก ารออกไปในวง กว้าง โดย (เสรี วงศ์มณฑา,2542) ได้แบ่ ง ประเภท ของบุคคลที่นักการตลาดเลือกใช้เป็นผู้ ท รงอิ ท ธิ พล ไว้ ปร ะเภทแรกคื อ กา รใช้ บุ ค คลที่ มีชื่ อ เสี ย ง (Celebrities) โดยกลุ่ มคนประเภทนี้ จ ะมี อ านาจ ดึงดูดใจให้ผู้บริโ ภคคล้ อ ยตามและแนวโน้ มใจให้ ผู้บริโภคเลียนแบบพฤติ ก รรมการใช้ ผ ลิ ต ภั ณฑ์ ไ ด้ โดยง่าย เช่น การใช้ นั ก แสดง นางแบบ นั ก กี ฬ า

บุ ค คลในชนชั้ น สู ง ของสั ง คม เป็ น ต้ น และหาก บุ ค คลที่ มีชื่ อ เสี ย งเหล่ า นี้ มีป ระสบการณ์ ก ารใช้ ผลิตภัณฑ์มาก่อน ก็จะยิ่งทาให้ผู้บริโภครู้สึก เชื่ อ ถื อ เพิ่มขึ้น วิธีการหนึ่งที่ตราสินค้านิยมใช้ในการสร้ า ง กระแสกับผู้บริโภค โดยผ่านบุคคลที่มีชื่ อ เสี ย งก็ คื อ การนาเรื่องที่ไม่เคยเปิ ด เผยหรื อ เป็ น เรื่ อ งลั บ ของ บุ ค คลที่ มีชื่ อ เสี ย งมา โยงเข้ า กั บ ตราสิ น ค้ า และ นาเสนอไปยังผู้บริโภค อาทิ Gucci น าเสนอภาพ ลักลอบถ่ายของผู้ที่มีชื่อเสียงในขณะกาลังใช้ ผลิตภัณฑ์ของ Gucci ผ่ า นทางสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เป็นต้น (ณัฏฐา อุ่ยมานะชัย,2555) นอกจา กนั้ น ยั ง มี ก า รใช้ ผู้ เ ชี่ ย วชาญใน วิชาชีพต่างๆ ที่มีความสอดคล้องกับผลิ ต ภั ณฑ์ แ ละ มีอิทธิพลมากเพียงพอในการโน้ มน้ า วใจผู้ บ ริ โ ภค (Expertise) เช่ น โฆษณา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ รั ก ษา ผิวหน้า ใช้นายแพทย์ ส มิ ท ธิ์ อารยะสกุ ล แพทย์ เฉพาะทางด้า นผิ ว หนั ง นั ก ร้ อ งและพิ ธี ก ร เป็ น ผู้ ทร ง อิ ท ธิ พล ใ น ก ลุ่ ม วั ย รุ่ น ห รื ออ า จ จ ะ ใ ช้ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Authorities) ที่เป็นนักวิ ช าการหรื อ ผู้ ที่ มีค วามรู้ ค วามสามารถที่ มีอิ ท ธิ พลต่ อ การใช้ ผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคได้ โดยหากให้กลุ่ มผู้ บ ริ โ ภค มีโอกาสเปรียบเทียบความคิ ด ของตนกั บ ความคิ ด ของกลุ่ มผู้ ท รงอิ ท ธิ พลเกี่ ย วกั บ ประสบการณ์ ใ ช้ สินค้าก็จะยิ่ ง ช่ ว ยให้ ผู้ บ ริ โ ภครู้ สึ ก ถึ ง ความมี ส่ ว น ร่วมและจะยิ่งเกิดความน่าเชื่ อ ถื อ และมี พฤติ ก รรม คล้อยตามผู้ ท รงอิ ท ธิ พลเพิ่ มขึ้ น มากด้ ว ยเช่ น กั น หรือนอกจากนั้นในบางกรณีอาจใช้บุคคลธรรมดาที่ มี อิ ท ธิ พลที่ จ ะท าให้ ผู้ ติ ด ตาม (Follower) รู้ สึ ก เชื่อถือและคล้อยตามผู้ทรงอิทธิพล โดยอาจแบ่ ง ผู้ ทรงอิทธิพลที่เป็นบุคคลหรือกลุ่มบุ ค คลทั่ ว ไปได้ 3 ประเภท ดั ง นี้ (สมคิ ด อเนกทวี ผ ล และ ภั ช ภิ ชิ ฤกษ์สิรินุกูล,2552)


93

1. บุคคลทั่วไปที่มีความสนใจเรื่ อ งใดเรื่ อ ง หนึ่งแล้ว ถ่ า ยทอดและแบ่ ง ปั น เรื่ อ งราวที่ ต นเอง สนใจ จ นกร ะทั่ ง มี อิ ท ธิ พ ลกั บ ผู้ อื่ น ( Amateur Reviewer) เช่น บล็ อ กเกอร์ แ นะน าการเลื อ กใช้ เครื่องสาอาง แฟชั่น ด้วยการใช้ภาษาที่แฝงไปด้ ว ย ความจริงใจ เข้าใจง่ายและเป็ น กั น เอง จึ ง ท าให้ มี ผู้ติดตามเพิ่มขึ้นเป็นจานวนมาก

ภำพที่ 2 ตัวอย่างผู้ทรงอิทธิพล (Influencer) ที่ เกี่ยวกับความสวยความงามจากรายการ“โมเมพา เพลิน” 2. ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ข อ ง บุ ค ค ล ที่ มี ประสบการณ์ ก ารใช้ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารประเภท เดียวกัน (User Group) โดยมั ก ใช้ เ ว็ บ บอร์ ด หรื อ สร้างกลุ่มทางเฟชบุ๊ค เพื่อ ใช้ เ ป็ น พื้ น ที่ แ สดงความ คิดเห็น โดยกระแสของกลุ่มคนจานวนมากเหล่ า นี้ ได้มีอิทธิพลต่อผู้ อ่ า นรายการอื่ น ๆด้ ว ย เช่ น เว็ บ บอร์ด BMW Society เป็นต้น 3. กลุ่มลูกค้าที่มีทัศนคติในแง่ลบต่อสินค้า หรือบริการแล้วใช้พื้นที่ในสังคมออนไลน์เพื่อ

ระบายความขับข้องใจของตนเองเพื่อตัก เตือนหรือ เป็นวิทยาทานให้กับผู้บริโภครายอื่นๆ (Customer Complaint) เช่น เว็บพันทิป นอกจากนั้นเว็บไซต์ Klout (n.d.) ได้ แ บ่ ง เกณฑ์ในการวัด ความมี อิ ท ธิ พลในสั ง คมออนไลน์ ออกมาเป็น 3 ประเด็น ได้แก่ ผู้ทรงอิ ท ธิ พลคนนั้ น มีจานวนคนที่เ ข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม หรื อ แลกเปลี่ ย น ความคิ ด เห็ น กั บ ผู้ ท รงอิ ท ธิ พลมากน้ อ ยเพี ย งใด (True reach) ความคิ ด เห็ น ที่ ผู้ ท รงอิ ท ธิ พ ล นาเสนอมีการนาไปพูดคุยต่อในสั ง คมวงกว้ า งมาก น้อยเพียงใด (Amplification) และปั จ จั ย ในด้ า น ของความถี่ในการน าเสนอข้ อ มู ล และการโต้ ต อบ ข้อมูลกับบุคคลอื่ น มี มากน้ อ ยเพี ย งใด (Network Impact) ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะช่วยให้ นั ก การตลาด สา มา รถคั ด เลื อ กผู้ ท รงอิ ท ธิ พลที่ คุ้ ม ค่ า และมี ประสิทธิภาพมากที่สุด

พลั ง กำรบอกต่ อ ในสื่ อ ออนไลน์ ( Viral Marketing) กา รท ากา รตลา ดแบบบอกต่ อ ( Viral Marketing) เป็นกลยุทธ์การตลาดในลั ก ษณะการ เผยแพร่ข้อมูล ข่ า วสาร โดยใช้ ค นเป็ น สื่ อ กลางที่ ช่วยกระจายข้อมูลข่าวสารให้กับตราสิน ค้ า ซึ่ ง เมื่ อ นากลยุทธ์ดังกล่าวมาประกอบเข้ากับประสิ ท ธิ ภ าพ การกระจายข้อมูลข่าวสารบนสื่ อ ออนไลน์ โดยใช้ สื่อสังคมออนไลน์เป็นสื่อกลาง ยิ่งช่ ว ยเสริ มให้ ก าร ส่ ง ต่ อ ของข่ า วสา รเป็ น ไปได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และ กว้างขวางมากขึ้น


94

ภำพที่ 3 ภาพแสดงการแพร่กระจายข้อมูลข่าวสาร แบบปากต่อปาก (Viral Marketing) ที่มำ : about.sogoodweb.com (2557) นอกจากนั้นกลยุทธ์การตลาดดั ง กล่ า วยั ง ถือได้ว่ามีความน่าเชื่อถือและได้รับการยอมรั บ จาก ผู้บริโภคมากกว่ า การท าโฆษณาในรู ป แบบอื่ น ๆ โดยจา กผลวิ จั ย ของ Nielsen Global Online Consumer Survey (2009) พบว่าผู้บริโภคเชื่อถือ โฆษณาแบบดั้ ง เดิ ม (Traditional Media) อา ทิ โทรทัศน์ร้อยละ 62 หนังสือพิมพ์ ร้ อ ยละ 61 และ วิทยุร้อยละ 55 แต่ผู้บริ โ ภคร้ อ ยละ 90 ให้ ค วาม เชื่อถือคาแนะนาของบุคคลอื่น ทั้งนี้ ผู้ บ ริ โ ภคร้ อ ย ละ 70 เลื อ กเชื่ อ ถื อ ความคิ ด เห็ น ที่ ไ ด้ รั บ จากสื่ อ ออนไลน์ นอกจากนั้นการท าการตลาดแบบบอก ต่อในสื่อออนไลน์ ยังเป็นกลยุทธ์ที่นั ก การตลาดไม่ จ า เป็ น ต้ อ งใช้ เ งิ น ลงทุ น มา กเท่ า กั บ กา ร ท า การตลาดในรูปแบบเดิ ม แต่ ต้ อ งหั น มามุ่ ง เน้ น ให้ ควา มส าคั ญ กั บ กา รคั ด เลื อ กผู้ ท รงอิ ท ธิ พ ลที่ มี ประสิทธิภาพ และคานึงถึงความถู ก ต้ อ งและความ น่าเชื่อถือของข้อมู ล ข่ า วสารประกอบกั น เพื่ อ ให้ ข้อมูลที่นาเสนอสามารถสื่ อ สารเรื่ อ งราวของตรา สินค้าไปสู่ผู้บริโภคให้ได้ตามที่ ค าดหวั ง (วั ฒ นี ภู ว ทิศ,2554)

ผู้บริโภคส่วนใหญ่มักให้ความเชื่อถื อ ข้ อ มู ล ที่ได้รับจากกลุ่มผู้ทรงอิทธิพลเป็นอย่างมาก เพราะ เชื่อมั่นว่าข้อมูลที่ได้รับเป็นข้อมูลจากผู้ บ ริ โ ภคด้ ว ย กั น เอง (Peer to Peer) หรื อ จากผู้ เ ชี่ ย วชา ญ (Expert to peer) ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มากกว่ า ตน และคิ ด ว่ า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ ไม่ ใ ช่ ก า รโฆษณา โดย เจ้าของสินค้าและบริการ จึ ง ยิ น ดี ที่ จ ะเปิ ด รั บ โดย ปราศจากอคติ ซึ่ ง รู ป แบบการตั ด สิ น ใจซื้ อ สิ น ค้ า ของผู้บริโภคในยุคออนไลน์ โดยทั่ ว ไปมั ก เริ่ มเมื่ อ ผู้บริโภคได้รับข้อมูลจากสื่อโฆษณาต่ า งๆ จากนั้ น ผู้ บ ริ โ ภคจะค้ น หาข้ อ มู ล ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ชุ มชุ น (Community Web) หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networks) เพื่ อ สอบถาม แลกเปลี่ ย น ข้อมูลและพูดคุยเรื่ อ งที่ ต นเองสนใจ พร้ อ มทั้ ง รั บ ความคิดเห็นจากผู้ทรงอิทธิพลเพื่อประมวลผลและ ตีความก่อน ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกซื้อ และบริ ก าร ตามคาบอกกล่าวของผู้ทรงอิทธิพล ในอีกกรณี ห นึ่ ง ผู้บริโภคอาจมีความเชื่ อ ถื อ ผู้ ท รงอิ ท ธิ พลที่ ต นชื่ น ชอบนั้น ใช้สินค้าหรือบริการใดต่อตนเองก็ต้ อ งการ ที่จะใช้สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารนั้ น พร้ อ มทั้ ง ยิ น ดี ที่ จ ะ บอกต่อไปยังคนใกล้ชิดด้วย ในมุมของนักการตลาดหรือผู้ประกอบการ ส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ วิ ธี ก ารสร้ า งการบอกต่ อ ผ่ า นสื่ อ ออนไลน์ โดยให้ความสาคัญ ในการคั ด เลื อ กผู้ ท รง อิ ท ธิ พ ล จ า ก วง กา ร ต่ า ง ๆ เช่ น นั ก แส ด ง นักการเมืองหรือบล็อกเกอร์ที่ได้รับความนิ ย ม โดย ให้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ของตราสินค้า จากนั้น ให้ ท า หน้าที่เป็นผู้ วิ จ ารณ์ (Reviewer) ผลิ ต ภั ณฑ์ ห รื อ แสดงภาพว่าตนใช้ผลิตภัณฑ์ นั้ น ๆ ผ่ า นกลุ่ มสั ง คม ออนไลน์ เพื่อให้ผู้บริโภครู้สึกเชื่อถื อ และเกิ ด ความ ต้องการผลิตภัณฑ์ ซึ่งเมื่อผู้บริโภคตัดสิ น ใจทดลอง ใช้แล้วเกิดความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ ก็ จ ะกระจาย


95

ข่าวสารไปยังเพื่อนหรือบุคคลใกล้ชิดต่อ ไป (พี ร พล กีรติธนากาญจน์,2553)

บทสรุป การสร้า งกระแสโน้ มน้ า วใจผู้ บ ริ โ ภคใน ปัจจุบัน หากใช้เพียงการโฆษณาในวิ ถี ดั้ ง เดิ มตาม ธรรมเนียมปฏิ บั ติ อาจไม่ เ พี ย งพอและไม่ ต รงกั บ ความต้องการของผู้บริโภคในยุ ค ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสา ร ได้ ต ลอดเวลา สื่ อ ออนไลน์ จึ ง กลายเป็ น ช่ อ งทางอั น ทรงประสิ ท ธิ ภ าพในกา ร เข้าถึงข้อมูล และช่ ว ยอ านวยความสะดวกให้ กั บ ผู้บริโภค แม้ ว่ า ความเชื่ อ ถื อ ของผู้ บ ริ โ ภคที่ มีต่ อ โฆษณาในสื่ อ หลั ก อาจลดลง แต่ ใ นทางกลั บ กั น ผู้บริโภคหันมาให้ความสาคัญกับข้อมู ล ที่ ไ ด้ รั บ จาก บุคคลที่มีความน่าเชื่อถือในโลกออนไลน์ ก่ อ นการ ตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการมากขึ้น ผู้ทรงอิ ท ธิ พล ในสื่อออนไลน์จึงกลายเป็ น เครื่ อ งมื อ การตลาดที่ ตราสินค้าต้องแสวงหา เพื่อใช้เ ป็ น สื่ อ กลางในการ ติดต่อกับผู้บ ริ โ ภค อย่ า งไรก็ ดี ก ารเลื อ กใช้ ผู้ ท รง อิทธิพลควรคานึงถึงช่วงเวลา ภาพลั ก ษณ์ ข องตรา สินค้าและเทคนิ ค ที่ ใ ช้ ใ นการสื่ อ สารกั บ ผู้ บ ริ โ ภค ด้วย เพราะสิ่งที่ผู้บริโภคยุคนี้ต้อ งการมากที่ สุ ด คื อ ความน่าเชื่อถือและความเชื่อใจ ซึ่งหาไม่ ไ ด้ ง่ า ยนั ก จากงานโฆษณาในรูปแบบเดิม...

บรรณำนุกรม เสรี วงศ์มณฑา. 2542. การวิเคราะห์พฤติกรรม ผู้บริโภค.กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์. พีรพล กีรติธนากาญจน์. 2553. สื่อนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ภาวุธ พงษวิทยภานุ และ สุธนโรจน์อนุสรณ์. 2551. E-Marketing เจาะเทคนิคการตลาด ออนไลน์. กรุงเทพฯ: ตลาด ดอท คอม. วัฒนี ภูวทิศ. 2554. การใช้ประโยชน์จากสื่อ สังคมออนไลน์และผลกระทบเชิงจริยธรรมใน การนาเสนอข่าวสารของผู้สื่อข่าว. วารสารนัก บริหาร,31(1),116-174.

กนกกาญจน์ ประจงแสงศรี และ สุรสีห์ ประมุข. 2556,12 พฤษภาคม. เจาะพฤติกรรม ผู้บริโภคบนสื่อออนไลน์. ณัฏฐา อุ่ยมานะชัย และ ธิดา ตันพงศธร. 2555. อินสตาแกรมในการตลาดแบบบอกต่อ. วารสารนักบริหาร,32(4),3-9.


96

Social Media ทางเลือกสูรานคาออนไลนทางการเกษตร บทนํา พ า ณิ ช ย อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ( Electronic Commerce) หรือที่เรียกวา อีคอมเมิรซ(e-Commerce) เป น การดํ า เนิ น การซื้ อ ขายสิ น ค า และบริ ก ารด ว ยสื่ อ อิเ ล็ กทรอนิ กส ผ า นระบบเครื อข า ยคอมพิ ว เตอร หรื อ อินเทอรเน็ต พูดใหเขาใจงายๆ ก็คือการซื้อขายกันแบบ ออนไลนนั่นเอง การคาในรูปแบบ e-Commerce นั้น จะช ว ยให การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เป น ไปได อย า งรวดเร็ว ลด ต น ทุ น และกระบวนการดํ า เนิ น งานให น อ ยลง เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการใหบริการลูกคาไดอยางทั่วถึง ขยาย ตลาดได ก ว า ง สามารถซื้ อ ขายได ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา (กรมพัฒนาธุรกิจการคา, 2557, 7) นอกจากนี้การจัดตั้ง รานคาบนอินเตอรเน็ตนั้นไมจําเปนตองเปดหนารานใน โลกจริง ทําใหประหยัดคาใชจายในการตั้งราน ตกแตง สถานที่ รวมทั้ งค าใชจายในการเก็บ สิน คา และในสว น ของผูประกอบการที่มีหนารานในโลกจริง การเปดราน ออนไลนยังชวยเพิ่มชองทางการจัดจําหนายเขาถึงลูกคา เ ป า ห ม า ย อี ก ทั้ ง ยั ง เ ป น เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ส ร า ง คว าม สั ม พั น ธ เ นื่ อ งจ าก ส า มา รถ ทํ า กา รโ ต ต อ บ (Interactive) กับลูกคาไดอยางรวดเร็วและตลอดเวลา (ผุสดี เรืองทอง, 2545, 2-3) Social Media ถือเปนอีกรูปแบบหนึ่งของธุรกิจ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ที่แตกตางไปจากการคาในอดีต จากแตเดิมที่นักการตลาดมักมอบสารการตลาดออกไป แบบขางเดียว โดยหวังวาจะสามารถเปลี่ยนพฤติกรรม หรือสรางความชื่นชอบในแบรนดของสินคาหรือบริการ ของตนได แตในยุคที่เราสามารถคนควาหาขอมูลตางๆ ผานโลกออนไลน โอกาสที่จะเชื่อตามสื่อเดิมมีนอยลง เรา จะเชื่อคําบอกเลาจากผูใกลชิดที่ใชแบรนดนั้นจริง เชน

เพื่อน, คนรูจัก หรือผูทรงอิทธิพลทางการตลาดมากกวา ทําใหกิจการจะไมสามารถควบคุมทิศทางของสื่อเหมือน อยางที่เคยเปนมากอน (ภิเษก ชัยนิรันดร, 2553, 3) การ นําเอา Social Media มาใชในธุรกิจ จึงเปนชองทางใน การเพิ่มรายไดอีกชองทางหนึ่ง นอกเหนือจากการบริการ ทั่วไป ดานลูกคาก็จะไดรับประโยชนในการใชบริการที่มี ความสะดวกรวดเร็ว ไมมีขอจํากัดในการเปดใหบริการ ลูกคา เนื่องจากสามารถเปดบริการไดตลอด 24 ชั่วโมง ถือเปนการอํานวยความสะดวกตอลูกคาเปนอยางมาก (เจษฎาภรณ ศรศรีเกิด, 2555, 2) Social Media ชวยขายไดอยางไร Social Media คือ สื่อดิจิทัลที่ไดรับการขนาน นามจากนักการตลาดทั่วโลกวา เปนเครื่องมือที่ทรงพลัง แ ล ะ มี อิ ท ธิ พ ล ต อ ผู บ ริ โ ภ ค ใ น ทุ ก ก ลุ ม ( อุ ไ ร พ ร ชลสิริรุงสกุล, 2554, 118) การใชงานสื่อ Social Media ตางๆ ไมวาจะเปน Facebook, Twitter, Instagram หรือ YouTube เขา มาชวยเพิ่มชองทางการขายและการตลาด เนื่องจากสื่อ เหลานี้สามารถเขาถึงคนจํานวนมากไดงาย และรวดเร็ว สามารถโตตอบระหวางกันไดทันที เพียงแคกดปุม Like หรือ Share ก็สามารถเผยแพรขอมูลตอไปไดไมสิ้นสุด นั บ เป น เครื่ อ งมื อ ที่ คุ ม ค า และช ว ยประหยั ด ตนทุนไดมาก เพราะมีผูใชงานเปนจํานวนมาก และเพิ่ม จํานวนขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการลงโฆษณาผานสื่อประเภทนี้ จะสามารถผานสายตาผูใชไดมาก นอกจากการกด Like หรือ Share แลว การโพสตขอความตางๆ รูปถาย วิดีโอ ที่เปนประโยชนตอรานคาอยางสม่ําเสมอก็จะชวยทําใหมี ยอดขายเพิ่มขึ้นได (กรมพัฒนาธุรกิจการคา, 2557, 7)


97

Social Media ที่ใชงานกันในปจจุบันแบง ออกเปนหลายประเภท ซึ่งจะขอสรุปเปนประเภทใหญๆ ดังนี้ คือ 1. Blog มาจากคํ า เต็ มว า WeBlog เปน เครื่องมือสื่อสารที่ใชงานบนเว็บไซตมีลักษณะเหมือนกับ เว็บบอรด ผูใช Blog สามารถเขียนบทความของตนเอง และเผยแพรลงบนอินเทอรเน็ตไดโดยงาย Blog เปด โอกาสใหบุคคลที่มีความสามารถในดานตางๆ เผยแพร ความรูดวยการเขียนไดอยางเสรี ตัวอยางเว็บไซตที่เปน Blog เชน wordpress และ blogger.com เปนตน 2. Social Networking หรือเครือขายสังคม เป น รู ป แบบของเว็ บ ไซตในการสร า งเครื อข า ยสังคมใน อินเทอรเน็ต เพื่อใหผูใชเขียนและอธิบายความสนใจหรือ กิจกรรมที่ทํา เพื่อเชื่อมโยงความสนใจและกิจกรรมกับ ผูอื่นในเครือขายสังคมดวยการสนทนาออนไลน การสง ขอความ การสงอีเมล การอัพโหลดวิดีโอ เพลง รูปถาย เพื่ อ แบ ง ป น กั บ สมาชิ ก ในสั ง คมออนไลน เป น ต น เครือขายสังคมที่เปนที่นิยมในปจจุบัน เชน Facebook และ LinkedIn นอกจากนี้ยังมี Social Network ผาน แอพพลิเคชั่นบนมือถือ ซึ่งเปนที่นิยมอยางมากในยุคสมัย นี้ เช น Line และ Instagram เป น ต น โดย Instagram ถูกนํ าไปใชในทางธุร กิจ เพื่อเพิ่มยอดขาย สรางแบรนด และบริหารความสัมพันธลูกคาซึ่งไดรับความนิยมในทาง ธุรกิจเพิ่มมากขึ้น 3. Micro Blog เปนรูปแบบหนึ่งของ Blog ที่ จํ า กั ด ขนาดของข อ ความที่ เ ขี ย น ผู ใ ช ส ามารถเขี ย น ขอความไดสั้นๆ ตัวอยางของ Micro Blog เชน Twitter และ tumblr เปน 4 . Media Sharing เ ป น เ ว็ บ ไ ซ ต ที่ ใ ห ผู ใ ช สามารถอั พ โหลดรู ป ภาพแฟ ม ข อ มู ล หรื อ วิ ดี โ อเพื่ อ แบ ง ป น ให กั บ สมาชิ ก หรื อ เผยแพร ต อ สาธารณชน

ตัวอยางเว็บไซตที่เปน Media Sharing เชน Youtube, Flickr, Slideshare และ 4shared เปนตน จากประเภทของ Social Media ที่กลาวมา มี คุ ณ สมบั ติ ที่ แ ตกต า งกั น การนํ า ไปใช จึ ง ควรเลื อ กให เหมาะสมกับสินคาและบริการของตน

ภ า พที่ 1 ส ถิ ติ กา รใ ช งา นโ ซ เชี ยล มี เ ดี ยใ นก ลุ ม ผูประกอบการธุรกิจ ที่มา : http://www.idea.co.th/social-media-marKe ting/ Social Media กับตลาด Long Tail The Long Tail หรือทฤษฎีหางยาว เปนทฤษฎี ที่ใชอธิบายขอมูลทางสถิติซึ่งมีมานานแลวแต กลับมาโดง ดังอีกครั้งเมื่อ Chris Anderson บรรณาธิการนิตยสาร WIRED ไดเขียนบทความชื่อ "The Long Tail" ขึ้น โดย นํามาอธิ บ ายปรากฏการณในธุร กิ จ อี คอมเมิร ซที่กํ าลั ง เฟองฟูในปจจุบัน


98

Chris Anderson ไดตั้งขอสังเกตวา ตลาดกําลัง จะยายตัวเองจากตลาดที่มียอดขายสูง (Mass Market) ไปสู ต ลาดที่ มี ค วามต อ งการเฉพาะแต ย อดขายไม ม าก (Niche Market) อั น เนื่ อ งมาจากศั ก ยภาพของอี คอมเมิรซ ที่เขาถึงและรวบรวมความตองการเฉพาะเล็กๆ น อ ยๆ เข า ไว ด ว ยกั น จนทํ า ให เ กิ ด กํ า ไรขึ้ น มาได (อนันตา อินทรอักษร, 2556)

ตัวอยางสินคาที่มีความตองการเฉพาะ กะทิไทย “เมอริโต”(MeritO) เปนกะทิเกษตรอินทรียไทยเจาแรก ที่ ไ ด รั บ เครื่ อ งหมายโลโก อ อร แ กนิ ค มี ก ารใช Social Media โดยใช Instagram ในการอัพเดตขอมูลของตัว สินคาและสถานที่ที่จัดจําหนายอยูเรื่อยๆ ทําใหกลุมผูซื้อ ที่สนใจในอาหารเพื่อสุขภาพ รูจักแบรนดมากขึ้น และยัง เปนการกระตุนการขายอีกดวย

ภาพที่ 3 อินสตาแกรมกะทิไทย “เมอริโต”(MeritO) ที่มา : www.instawebgram.com/i/MeritorGanic ภาพที่ 2 ตัวอยางกราฟ Long Tail ที่มา : http://www.longtail.com/about.html เราใช Social Media เพื่อใชกับตลาด Long Tail เพราะเปนการลงทุนที่แทบจะไมมีคาใชจาย เราคง ไมยินดีที่จะใชทรัพยากรจํานวนมากเพื่อสื่อสารการตลาด ผานชองทางโทรทัศน,หนังสือพิมพ, หรือสื่อมวลชนระดับ อื่น ๆ เหมื อนการสาดกระสุน ไปอยางไรทิศทาง ขณะที่ จํานวนลูกคายังคงมีจํานวนนอย เราคงยินดีมากกวาใน การค น หากลุ ม ลู ก ค า ที่ อ าจกํ า ลั ง พู ด ถึ ง เรา (ภิ เ ษก ชัยนิรันดร, 25553, 18) และจากการที่อินเตอรเน็ตเขามามีบทบาทมาก ขึ้ น จนเกิ ด เป น ตลาดออนไลน ที่ มี ผู เ ข า ถึ ง ได อ ย า ง หลากหลาย ผู ค า สามารถวางขายสิ น ค า ที่ มี ลั ก ษณะ เฉพาะตัวไดโดยมีกลุมผูซื้อที่เหมาะสมในการเขารานทํา ใหสินคาที่เคยขายไมได สามารถขายไดเปนกอบเปนกํา เมื่อดูจ ากกราฟ สิ นค า ที่อยู สว นหางแมจ ะมีผู นิ ยมนอย แตก็ยังสามารถขายได

Social Media กับความสามารถทางธุรกิจ การใช Social Media นั้นไมเพียงแตเปนการ โฆษณาข อ มู ล สิ น ค า หรื อ บริ ก าร หรื อ การช ว ยเพิ่ ม ยอดขายนั้น เปน เพีย งสว นหนึ่งของเปาหมายในการใช Social Media ท าง ธุ รกิ จ ซึ่ งแ บ งอ อ ก ได เ ป น ดั ง นี้ (ภิเษก ชัยนิรันดร, 25553, 34-42) 1. เพื่อเพิ่มยอดขาย การใช Social Media เปน อีกหนึ่งหนทางในการเพิ่มยอดขาย ตัวอยางแคมเปญที่ ประสบความสําเร็จ อาทิเชน Domino Pizza UK เปดเผยวาเมื่ อกลางป 2553 มี ผูติดตามใน Facebook กว า 36,000 ราย การใช Foursquare ในการทํ า โปรโมชั่น มีสวนชวยเพิ่มยอดขายออนไลน ซึ่งมีสัดสวน อ ยู ที่ 32% จ า ก ย อ ด ข า ย ใ น ทุ ก ช อ ง ท า ง ร ว ม กั น (อุไรพร ชลสิริรุงสกุล, 2554, 123)


99

2. เพื่อเพิ่มการรับรูแบรนด คือการพยายามให ลูกคาเขามามีสวนรวมกับกิจกรรมทางการตลาดหรือการ เขาไปพูดคุยกับแบรนดอยางเปนกันเอง 3. เพื่อเปนการประชาสัมพันธ บริษัทแสนสิริ ใช Twitter ในการแจ งข าวประชาสัมพั นธ ไมวา จะเปน กิ จ กรรมทางการตลาดที่ เ กิ ด ขึ้ น แจ ง ข า วในป จ จุ บั น นอกจากนี้แสนสิริจะมีการใชทําวีดีโอสั้นๆ ซึ่งอาจจะเปน โฆษณา หรื อ การพาเยี่ ย มชมโครงการ การให ข อ มู ล ขาวสาร 4. เพื่อทราบฟดแบ็กจากลูกคา ทําใหเราทราบ ถึง สิ่ ง ที่ ต อ งพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง ในสิ น ค า หรื อ บริ ห ารให ดี ยิ่งขึ้น ตรงกับความตองการของผูบริโภค 5.เพื่อเพิ่มจํานวนคนเขาเว็บไซต การใช Social Media เพื่อเชื่อมตอเขามายังเว็บไซตหลักนั้นยังทําให เป น การเพิ่ ม จํ า นวนลิ ง ค เพราะผู ที่ อ า นบทความจาก Social Media ตางๆจะแนะนําไปยังเพื่อนๆ อีกทําใหอับ ดับของผลการคนหาจากเสิรชเอ็นจิ้นอยูในอันดับตนๆซึ่ง ทําใหมีจํานวนคนเขามายังเว็บไซตสูงขึ้นตามไปดวย 6.เพื่อสรางการเปนผูนําทางความคิด เนื่องจาก Social Media โดยเฉพาะบล็อกนั้น คอนขางใชงาย ตาง จากเว็ บไซต เดิมๆในอดีต ทําใหผูที่มีความเชี่ยวชาญใน สาขาตางๆที่แตเดิมไมมีพื้นที่สําหรับพวกเขาในการแสดง ความคิ ด และเมื่ อ พวกเขาได เ ขี ย นเนื้ อ หาที่ ใ ห ค วามรู (ภิเษก ชัยนิรันดร, 25553, 34-42) เมื่ อ เราทราบเป า หมายของการใช Social Media ทําใหสามารถเลือกใชไดอยางเหมาะสมกับธุรกิจ มากที่สุด Social Media ทา งเ ลื อ กสู ร า น ค า ออน ไ ลน ท า ง การเกษตร ธุรกิจทางการเกษตรสามารถใช Social Media เปนชองทางการตลาดชองทางหนึ่ง อาทิเชน

1. ตลาดเกษตรรว มใจ ใช Facebook เป น ชองทางในการโฆษณาสินคาสําหรับผูที่ตองการขายสินคา ทางการเกษตรรวมไปถึ ง ผู ที่ ส นใจซื้ อ ผลผลิ ต ทางการ เกษตรอีกดวย

ภาพที่ 4 Facebook ขายสินคาเกษตรออนไลน ที่มา : http://www.facebook.com/SuxKhaySinkha Kestr 2. ร า นเกษตรอิ น ทรี ย ใช Twitter ในการ โฆษณาสินคาเกษตรอินทรีย และมีการใหขอมูลขาวสาร เกษตรอินทรียรวมดวย

ภาพที่ 5 ทวิตเตอรขายสินคาเกษตรอินทรีย ที่มา : https://twitter.com/taradkaset 3. เพียว ผลิตภัณฑอาหารเสริมสําหรับพืช มีการ ใช Facebook ในการโฆษณาสินคา ไมวาจะเปนขอมูล ของสิน คา สถานที่จัดจําหนาย กิจ กรรมคืน กําไรใหกับ ลูกคา สวนลดตางๆ นอกจากนี้ เพียว ยังมีการทําวิดีโอ สาธิตการใชผลิตภัณฑผานทาง Youtube อีกดวย


100

บรรณานุกรม

ภาพที่ 6 Facebook ผลิตภัณฑเพียว ที่มา : http://www.facebook.com/Kasetpurepure

ภาพที่ 7 Youtube สาธิตการใชผลิตภัณฑเพียว ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=DS68y Z25GsY การทํ า ธุ ร กิ จ ด า นการเกษตร ไม ว า จะเป น เกษตรกรหรือนักธุรกิจสามารถใช Social Media มาชวย ในการทํ า ธุ ร กิ จ ซึ่ ง เป น การประหยั ด ต น ทุ น สามารถ ทํา งานแทนพนั กงานขายได เป ดหน า ร า นได ตลอด 24 ชั่วโมง และเปนประโยชนตอผูซื้อ ในดานความสะดวก รวดเร็วที่ไมตองไปถึงรานคาก็สามารถซื้อสินคาเองได บทสรุป ป จ จุ บั น ก า ร ทํ า พ า ณิ ช ย อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส (Electronic Commerce) มีการนําสื่อสังคมออนไลน (Social Media) เขามาเปนชองทางในการตลาด ซึ่งเปน การเพิ่ ม ยอดขาย ลดค า ใช จ า ยลง สามารถเข าถึง กลุ ม ลูกคาไดอยางทั่วถึงและนับเปนการลงทุนที่คุมคา ผู ป ระกอบการทางการเกษตรเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสําคัญในการใช Social Media ใหเกิดประโยชนตอ ธุรกิจทางการเกษตร จึงเริ่มมีการใชสื่อออนไลนกันอยาง แพรหลายมากขึ้น ซึ่งในอนาคตจะมีสวนชวยในธุรกิจเปน อยางมาก

กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค า . 2557. คู มื อ ลั ด เป ด ร า นค า ออนไลนไดดวยตัวคุณ. [ออนไลน]. เขาถึง จาก : www.dbp.go.th. (วั น ที่ 30 ตุ ล าคม 2557). เจษฎาภรณ ศรศรี เ กิ ด . ป จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ การ ตั ด สิ น ใจเลื อ กซื้ อ สิ น ค า ผ า นโซเชี ย ลมี เ ดี ย ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม . เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต . มหาวิทยาลัยเชียงใหม; 2555. ผุ ส ดี เรื อ งทอง. กลยุ ท ธ ก า รสื่ อ สารกา ร ตลา ด ความรู ทั ศ น ค ติ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ผูบริโภคตอราน หนังสือออนไลน. วิ ท ยานิ พ นธ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. จุ ฬ า ล ง ก ร ณ มหาวิทยาลัย; 2545. ภิ เ ษก ชั ย นิ รั น ดร . การตลาดแนว ใหม ผ า น Social Media. กรุง เทพมหานคร: ซี เอ็ ดยู เ คชั่ น ; 2553. สิ ริ กุ ล หอสถิ ต ย กุ ล . ความต อ งการซื้ อ สิ น ค า ละ บริ ก ารผ า นระบบอิ น เทอร เ น็ ต ของผู ใ ช อิ น เทอร เ น็ ต ในประเทศไทย. วิ ท ยานิ พ นธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย เชียงใหม; 2543. อนัน ตา อิน ทรอักษร. 2556. ทฤษฎีหางยาว (The Long Tail) พ ลั ง แ ห ง ป จ เ จ ก นิ ย ม . [ออนไลน].เขาถึงจาก : http://www.Tcdc connect.com/content/KnowWhat/39 82. (วันที่ 30 ตุลาคม 2557). อุ ไ รพร ชลสิ ริ รุ ง สกุ ล . DIGITAL MARKETING ไ อ เ ดี ย ลั ด ป ฏิ วั ติ ก า ร ต ล า ด . กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพธุรกิจ; 2554. นางสาววลัญชลักษณ ถาวรศักดิ์สุธี 54040781 สาขานิเทศศาสตรเกษตร


101

การใช้ YouTube เพื่อการส่งเสริมการเกษตร ศรราม รัตนอมรเลิศ 54040786*

บทนา การสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์นั้น เป็นช่องทางการสื่ อสารที่ ส าคัญ และมี บทบาทต่อ สังคมที่กาลังเปลี่ยนวิธีการติดต่อสื่อสารไปจากรูป แบบเดิม เนื่องจากผู้คนมีการใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบ การ สื่ อ สารข้ อ มู ล ด้ ว ยรู ป แบบเก่ า ๆ อาจไม่ ส ามารถ รองรับความต้องการการสื่อสารข้อมู ลของมนุษย์ได้ ส่ ง ผลให้ สื่ อ กระแสหลั ก ทั้ ง หนั ง สื อ พิ ม พ์ วารสาร นิตยสาร โทรทัศน์และวิทยุ ต่างหันมาให้ความสาคัญ และน าเสนอข้ อ มู ล ข่ า วสารผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์กันมากขึ้น ท าให้สั งคมทุกวันนี้กลายเป็น สังคมแห่งยุคข่าวสารและมีความแคบลง เนื่องจาก การติดต่อกันทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ ทาให้เกิด การรับรู้ได้ในทันที สื่อสังคมออนไลน์ คือ สื่อที่ผู้ส่งสารแบ่งปัน สาร ซึ่ ง อยู่ ใ นรู ป แบบต่ า งๆ ไปยั ง ผู้ รั บ สารผ่ า น เครือข่ายออนไลน์ โดยสามารถโต้ตอบ กันระหว่างผู้ ส่งสารและผู้รับสาร หรือผู้รับสารด้วยกันเอง

ภาพที่ 1 ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน์ที่แบ่งเป็นประเภท ต่างๆ และเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องในแต่ละประเภท ที่ ม า : http://www.flickr.com/photos/fredca vazza/ 2564571564/

ประเภทของสื่อออนไลน์ 1. บล็อก (Blogging) บล็อกมาจาก Web + Log แล้วย่อเหลือ Blog คือ ประเภทของระบบการจัดการ เนื้อหา ที่อานวยความสะดวกให้ผู้เขียน บล็อกเผย แพร่และแบ่งปันบทความของตนเอง โดยบทความที่ โพสต์ลงบล็อก เป็นการแสดงความคิดเห็นส่วนตัว ของผู้ เ ขี ย นบล็ อ ก ซึ่ ง จุ ด เด่ น ของบล็ อ ก คื อ การ สื่อสารถึงกันอย่างเป็นกันเอง ระหว่างผู้เขียนและ ผู้อ่านบล็อกผ่าน ซึ่ง Blogger (www.blogger.com) และ WordPress (wordpress.com) เป็ น สองเว็ บ ไซต์ที่ผู้คนนิยม เข้าไปสร้างบล็อกของตนเอง 2. ทวิ ต เตอร์ แ ละไมโครบล็ อ ก (Twitter and Micro blogging) คือ รูปแบบหนึ่งของบล็อกที่มีการ จากัด ขนาดของการโพสต์ในแต่ละครั้ง ซึ่งทวิตเตอร์ เป็นไมโครบล็อกที่ จากัดการโพสต์แต่ละครั้งพิมพ์ได้ ไม่เกิน 140 ตัวอักษร ในปัจจุบัน ทวิตเตอร์เป็นที่ นิ ยมใช้งานของผู้คน เพราะใช้งานง่าย และใช้เวลาไม่ มากนัก รวมทั้งเป็นที่นิยมขององค์กรต่างๆ ที่ใช้ทวิต เตอร์ในการแจ้งกิจกรรมต่างๆ และความเคลื่อนไหว ของธุรกิจ เพื่อไม่ให้ขาดการติดต่อกับสังคม ซึ่งหาก ต้องการมีบัญชี (Account) สาหรับทวิตเตอร์สามารถ เข้าไปสมัครได้ที่เว็บไซต์ของ Twitter (twitter.com) 3. เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking) คือ เว็บไซต์ที่ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารกับเพื่อนทั้งที่ รู้ จั ก มาก่ อ น หรื อ รู้ จั ก ภายหลั ง ทางออนไลน์ ซึ่ ง เว็ บ ไซต์ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ แ ต่ ล ะแห่ ง มี คุณลักษณะแตกต่างกันออกไป แต่ส่วนประกอบหลัก ที่ มี เ หมื อ นกั น คื อ โปรไฟล์ (Profiles - เพื่ อ แสดง

* นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร สาขาวิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.


102

ข้ อ มู ล ส่ ว นตั ว ของเจ้ า ของบั ญ ชี ) การเชื่ อ มต่ อ (Connecting - เพื่อสร้างเพื่อนกับคนที่รู้จักและไม่ รู้จักทาง ออนไลน์) และการส่งข้อความ (Messaging - อาจเป็นข้อความ ส่วนตัว หรือข้อความสาธารณะ) เป็ น ต้ น โดยมี Facebook (www.facebook.com) เป็นเว็บไซต์เครือข่า ยสั งคม ออนไลน์ที่ได้รับความ นิยมสูงสุดในปัจจุบัน 4. การแบ่งปันสื่อทางออนไลน์ (Media Sharing) เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการแบ่งเป็นสื่อทางออนไลน์ เป็น เว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้สามารถทาการอัพโหลดไฟล์สื่อผสม (Multimedia) ขึ้ น สู่ เ ว็ บ ไซต์ เพื่ อ แบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล แก่ ผู้ใช้ทั่วไป ซึ่งในปัจจุบันได้รับความนิยมมาก เพราะ ด้วยความที่เป็นสื่อผสมเอง ไม่ว่าจะเป็นรูปสไลด์หรือ วิ ดี โ อ รวมทั้ ง การใช้ ง านง่ า ยขึ้ น ของกล้ อ งดิ จิ ต อล และกล้องวิดีโอ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่นามาสู่การได้ไฟล์ สื่อผสมแบบต่างๆออกมา เว็บไซต์ประเภทนี้ที่ได้รับ ความนิ ย ม คื อ YouTube (www.youtube.com สาหรับแบ่งปันไฟล์วีดีโอ), flickr (www.flickr.com - สาหรั บ แบ่ งปั น ไฟล์ รู ป ) และ slideshare (www. slideshare.net - สาหรับแบ่งปันไฟล์พรีเซนเตชั่น) YouTube คืออะไร ? YouTube เป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่ได้สร้าง ปรา กฏการณ์การประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์ สร้างชื่อเสียงจากการใช้เป็นอย่างมาก โดยยูทูบนั้น เป็ น เว็ บ ไซต์ ที่ ใ ห้ ผู้ ใ ช้ ง านสามารถอั พ โหลด, ดาวน์ โหลด และแลกเปลี่ยนคลิปวิดีโอผ่านทางเว็บไซต์ ซึ่ง YouTube ได้ ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2548 ซึ่งยูทูบนั้นอยู่ในธุรกิจการดาเนินงานหรือเป็น เจ้าของโดย Google ที่มีสโลแกน

เพื่ อ กระตุ้ น จูง ใจว่า “Broadcast Yourself” วิ ดี โ อ ในยู ทู บ นั้ น สามารถดู ไ ด้ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ยู ทู บ โดยตรง หรือเปิดดูได้จากเว็บไซต์ทั่วไป ที่มีการนารหัสไปใส่ เชื่อมโยงกลับมาที่เว็บไซต์ของยูทูบเองได้อีกด้วย ซึ่ง เห็นได้ตามเว็บบอร์ด บล็อก หรือเว็บไซต์ต่างๆ YouTube กับสังคมโลก YouTube กลายเป็ น เว็ บ 2.0 ชั้ น น าของ อันดับต้นๆ ของโลก กลายเป็นเว็บไซต์วีดีโอที่ใหญ่ ที่สุดในโลก เรียกได้ว่ามีอิทธิพลต่อผู้คนจานวนหลาย ล้านคนทั่วโลก สามารถตอบสนองความพึงพอใจแก่ ผู้ใช้บริการได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นความต้องการ การเผยแพร่ตัวตน (Identity Network) การเผยแพร่ ผลงาน (Interesting Network) หรือเป็นการค้นหา ข้ อ มู ล ที่ มี ค วามสนใจเฉพาะกลุ่ ม (wikipedia) จน กลายเป็ น สื่ อ อั น ทรงพลั ง ในการกระจายข้ อ มู ล ข่าวสารในรูปแบบวีดีโอออนไลน์ที่มีเนื้อหาที่เข้าถึงได้ ง่ า ยโดยไม่ ต้ อ งค านึ ง อุ ป สรรคทางภาษา นี่ จึ ง เป็ น เหตุ ผ ลว่ า ท าไมวิ ดี โ อออนไลน์ อ ย่ า ง YouTube ถึ ง ได้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งต่ อ เนื่ อ งไม่ ว่ า จะเป็ น การ ให้ บ ริ ก ารข่ า วสารต่ า งๆในต่ า งประเทศ การใช้ YouTube ใ น เ ชิ ง ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ อ ย่ า ง ประธานาธิบดีบารัก โอบามา แห่งสหรัฐ หรือการ เผยแพร่ข่าวสารของพระสันตะปาปา รวมไปถึงการ โฆษณาที่ปัจจุบันเริ่มได้รับความนิยม จนเกิดกระแส การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่มีต่อวงการโฆษณาและ การประชาสั ม พั น ธ์ ใ นโลกไซเบอร์ อ ย่ า งหลี ก เลี่ ย ง ไม่ได้


103

ภาพที่ 2 ภาพแสดงข้อมูลสถิติที่น่าสนใจของ YouTube ที่มา : www.compete.com

ปัจจุบันโลกไซเบอร์กลายเป็นชุมชนเสมือน ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยการติ ด ต่ อ สื่ อ สารในรู ป แบบวิ ดี โ อ ออนไลน์และนี่จึงเป็นสื่อทางเลือกของนักที่สามารถ สร้า งชิ้ น งานการโฆษณาและการประชาสั มพั นธ์ ที่ สร้ า งสรรค์ ม ากขึ้ น กว่ า การท าผ่ า นสื่ อ แบบดั้ ง เดิ ม วิดี โ อออนไลน์ จึ ง ได้ รั บ ความนิ ยมเพื่ อน าไปใช้ เ ป็ น ช่ อ งทางในการโฆษณาประชาสั ม พั น ธ์ สิ น ค้ า และ บริการต่างๆ ผ่ านเครื อข่ายอิ นเทอร์ เน็ตเพราะสื่ อ โฆษณาวิดีโอออนไลน์ สามารถดึงดูดความสนใจจาก ลู ก ค้ า กลุ่ ม เป้ า หมายได้ เ ป็ น อย่ า งดี ให้ ค วามรู้ สึ ก สมจริงกว่า การโฆษณาแบบเดิ ม ที่ มี เฉพาะรูป ภาพ และข้อความ จาก ข้ อมู ล ก าร ศึ ก ษ าวิ จั ย ข อง Justin Gibbons และ Matthew Halfin 2008 ที่ศึกษาการ ท าโฆษณาผ่ า นวิ ดี โ อออนไลน์ โดยเลื อ กเว็ บ ไซต์ YouTube ในการศึกษา โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบ

เจาะลึ ก เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจถึ ง พฤติ ก รรมการใช้ และ แนวความคิด ทัศนคติ รวมไปถึงปัจจัยต่างๆที่นาไปสู่ การใช้ ง านวิ ดี โ อออนไลน์ ใ นเชิ ง โฆษณา จากการ ศึ ก ษาดั ง กล่ า วพบว่ า ปั จ จุ บั น มี ค นเข้ า ใช้ เว็ บ ไซต์ YouTube มากถึง 1 ล้านครั้งต่อวันและมีคลิปวิดีโอ มากถึง 73 ล้านคลิป และพบว่าสาเหตุที่ทาให้ผู้คน หลงใหลและเป็นสาวกของเว็บไซต์ YouTube ได้แก่ การดูรายการทีวีย้อนหลัง การดูคลิปวิดีโอแปลกๆ เพื่อความบันเทิง และการเลือกดูสิ่งต่างๆ ตามความ ต้องการและสะดวกแก่เวลา โดยผู้ใช้ YouTube มี ทั ศ นคติ ห รื อ ความคิ ด เห็ น ว่ า เว็ บ ไซต์ ดั ง กล่ า ว เปรีย บเสมื อนทีวี เครื่อ งที่ สองของพวกเขา เพราะ สามารถเลื อ กรั บ ชมได้ ใ นที่ พั ก อาศั ย และสามารถ เลื อ กรั บ ชมรายการต่ า งๆ ตามที่ ส มาชิ ก ในบ้ า น ต้องการ อีกทั้งยังสามารถย้อนดูรายการย้อนหลังได้ อีกด้วย ประกอบกับไม่มีข้อจากัดเกี่ยวกับช่วงเวลา สามารถดูได้ไม่จากัดเวลา จนทาให้วิดีโอออนไลน์ ของ YouTube เป็นที่ชื่นชอบและได้รับความนิยม อย่างมาก โดยผู้ใช้มองว่าเป็นเว็บไซต์ที่มี วิดีโอคลิปที่ เป็นสาระความรู้มากมายอีกทั้งยังมีคลิปตลกๆ หรือ คลิปแปลกๆให้ชวนค้นหา แต่ ถึ ง อย่ า งไรจากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งผู้ ใ ช้ YouTube ยั ง คงให้ ค วามคิ ด เห็ น ว่ า การใช้ วิ ดี โ อ ออนไลน์อาจยังไม่สามารถทดแทนการดูทีวี หรือการ รับชมวิดีโอโดยปกติได้ เนื่องจากความสะดวกสบาย ประสิท ธิ ภ าพในการรับ ชม รวมไปถึ งคุ ณ ภาพของ เนื้อหาที่แตกต่างกัน แต่ผู้รับชมยังมีความคิดเห็นว่า คลิ ป วิ ดี โ อออนไลน์ ดั ง กล่ า วยั ง จะเป็ น ทางเลื อ กที่ ได้ รั บ ความนิ ย มเพราะสามารถเข้ า ถึ ง เนื้ อ หาแบบ เฉพาะทางเพื่อตอบสนองความต้องการเฉพาะบุคคล


104

การใช้วิดีโอออนไลน์ในประเทศไทยนั้น คน ไทยเองก็ นิ ย มชมชอบการดู วิ ดี โ อออนไลน์ เ ช่ น กั น โดยเฉพาะเว็บไซต์ YouTube เป็นเว็บที่ครองใจคน ไทยที่นิยมชมชอบวิดีโอออนไลน์ไม่แพ้ชาวอเมริกัน เช่นกัน ทั้งนี้ การหาความสุขสนุกสนานจากการชม วิดีโอออนไลน์นั้นก็จะต้องคานึงถึงข้อดีและข้อเสียที่ จะได้รับด้วย ทาไมต้องใช้ YouTube ในการส่งเสริมการเกษตร ปัจจุบันนี้ ต้องยอมรับว่า สื่อสังคมออนไลน์ เป็นที่นิยมกันแพร่หลายกันทั่วโลกและมีแนวโน้มจะ ขยายในวงกว้างในสังคมไทย จะสังเกตเห็นว่าได้ จาก การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในหน่วยงาน องค์กรต่างๆทั้ง ภาครัฐและเอกชน ต่างให้ความสนใจและมีการตอบ รับของผู้คนที่อยู่ในสังคมไทยเป็นอย่างดี อีกทั้งยังมี แนวโน้ ม จะใช้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลายทั้ ง ในด้ า นการ พัฒนาบุคลากร การศึกษา ด้านธุรกิจและการตลาด ซึ่งอาจจะพัฒนาเป็นสื่อหลักได้ในอนาคตอันใกล้นี้ อย่างแน่นอน ในขณะเดียวกันการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ใน งานส่งเสริมการเกษตร โดยมีกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยงานหนึ่ง ที่ได้นามาเป็นสื่อนาในการพัฒนา บุคลากร เพื่อที่จะทาหน้าที่ให้นักส่งเสริมการเกษตร ได้ทาการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการเกษตรแก่พี่น้องเกษตรกร กลุ่ม อาชีพทางการเกษตร ชุมชนเกษตร และบุคลากรที่ ปฏิบัติงานอยู่ใ นภูมิภาค อีกทั้งยัง ได้เปิดห้องเรียน ทางสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ที่ เ รี ย กว่ า หลั ก สู ต รการ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ส ม ร ร ถ น ะ นั ก วิ ช า ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม การเกษตร โดยมี ก ารผลิ ต สื่ อ และจั ด ท าบทเรี ย น รูปแบบออนไลน์ (e–learning) เพื่อการเรียนรู้ด้วย

ตนเอง โดยเปิดโอกาสให้นั กส่งเสริมการเกษตร ที่ บรรจุใหม่สมัครเรียนด้วย แต่ข้อสาคัญ ผู้เกี่ยวข้อง กับการดาเนินงาน ด้านการผลิตสื่อทางออนไลน์ ยังมีความจาเป็นที่ต้อง ได้รับการพัฒนา ได้แก่ ด้านการสร้างและทาความ เข้าใจกับบุคลากรทุกระดับ การพัฒนาการเข้าถึงของ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ รวมทั้ ง การพั ฒ นาระบบทาง Internet ที่ติดตั้งในองค์กรหรือในหน่วยงานต้องมี ความพร้อมอยู่ตลอดเวลา ในขณะเดียวกันต้องมีการ ปรับปรุงและพัฒนาด้านตัวเนื้อข้อมูล ข่าวสาร อาจ จะรวมไปถึงองค์ความรู้ ที่จะนามาแบ่งปันและแลก เปลี่ยน จาเป็นต้องมีเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์เชิง สร้างสรรค์ ต่อบุคคลเป้าหมายและผู้รับการบริการ ที่ จะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว พร้อมมี การพั ฒ นาไปถึ ง การน าเอาองค์ ค วามรู้ ด้ า นการ ส่งเสริมการเกษตร ไปใช้ในการพัฒนาการประกอบ อาชีพด้านการเกษตรต่อไป ยกตั ว อย่ า งเช่ น ในเว็ บ ไซต์ ข องศู น ย์ วิ ท ย บริการเพื่อส่ งเสริม การเกษตร (agritechescdoae .wix.com/escdoae) จ ะ มี ก า ร ใ ช้ สื่ อ วิ ดี ทั ศ น์ ที่ เผยแพร่บน YouTube เป็นสื่อกลางในการส่งเสริม การเกษตรสู่เกษตรกรหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น การ ลดต้นทุนการผลิต การขยายพันธุ์พืช การควบคุม ศัตรูพืช เป็นต้น


105

YouTube เพื่อการส่งเสริมการเกษตร เนื่องจากความรู้ใ หม่ ๆ สามารถเกิ ดขึ้น ได้ ตลอดเวลาในสังคม การถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ จาเป็นต้องใช้วิธีการเผยแพร่ที่สะดวกและรวดเร็ว ดังนั้นการเผยแพร่ในสังคมออนไลน์ เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ ช่วยในการสื่อสารไปสู่ประชาชนได้อย่างรวดเร็ว ซึ่ง สื่อวิดีโอเป็นสื่อที่ใช้ศึกษาเรียนรู้แล้ว เกิดความเข้าใจ ได้ ง่ า ย และ YouTube เป็ น แหล่ ง วิ ดี โ อออนไลน์ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย สามารถ แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ และสามารถ กระจายข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว โดยการแชร์หรือนา ลิงค์ไปโพสได้ตามที่ต่างๆ ซึ่ ง การใช้ YouTube ใน ด้านการส่งเสริมการเกษตรก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้ 1. ช่วยสร้างแรงจูงใจและดึงดูดความสนใจในการ เรียนรู้ของเกษตรกรหรือกลุ่มเป้าหมาย 2. ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ สามารถเข้าใจเนื้อหาได้ ง่าย และจดจาได้ดี เพราะสามารถรับรู้ได้ทั้งภาพและ เสียง 3. สามารถทบทวนความรู้ได้ซ้าๆ ตามต้องการ โดยไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลา 4. ใช้งานง่าย สามารถค้นหาได้ง่ายจากเว็บไซต์ YouTube (www.youtube.com) ห รื อ Google (www.google.com) 5. ส่งเสริมให้เกษตรกรหรือกลุ่มเป้าหมาย ได้ฝึก คิ ด หาทางแก้ ปั ญ หาแบบพึ่ ง ตนเอง เรี ย นรู้ ด้ ว ย ตนเอง และเป็ น สิ่ ง กระตุ้ น ให้ เ กษตรกรค้ น คว้ า หา ความรู้เพิ่มเติม เพื่อการเพิ่มผลผลิตให้มีปริมาณมาก และมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการเตรียมพร้อม รับมือกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

สรุป YouTube คือ เว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถ อัพโหลด, ดาวน์โหลด และแลกเปลี่ยนคลิปวิดีโอผ่าน ทางเว็บไซต์ ซึ่งเป็นเว็บไซต์วีดีโอที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นที่ชื่นชอบและได้รับความนิยมอย่างมาก โดย ผู้ ใ ช้ ม องว่ า เป็ น เว็ บ ไซต์ ที่ มี วิ ดี โ อคลิ ป ที่ เ ป็ น สาระ ความรูแ้ ละให้ความบันเทิงมากมาย สามารถเข้าถึงได้ ง่ายโดยไม่ต้องคานึงอุปสรรคทางภาษา การใช้ YouTube เป็ น สื่ อ ในการส่ ง เสริ ม การเกษตร ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกการใช้สื่อให้เกิด ประสิ ท ธิ ภ าพในการกระจายข้ อ มู ล ข่ า วสารและ วิธีการไปสู่เกษตรกร กลุ่มเป้าหมาย หรือเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมการเกษตร อีกทั้งยังเป็นการฝึกให้ เกษตรกร หรือกลุ่มเป้าหมายเกิดกระบวนการเรียนรู้และพึ่งพา ตนเองในการแก้ปัญหา ซึ่งการฝึกให้เกษตรกรเรียนรู้ ด้วยตนเอง ก็จะเป็นผลดีต่อตัวเกษตรกรในระยะยาว อีกด้วย เอกสารอ้างอิง ณัฐกร สงคราม. 2552. มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ สื่อในงาน ส่ ง เสริ ม การเกษตรยุ ค ไอที . กรุ ง เทพมหานคร: สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง พั ช รภรณ์ ไกรชุ ม พล. 2556. ทั ศ นคติ แ ละพฤติ ก รรมการ สื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในการสร้างชื่อ เสียง กรณีศึกษายูทูบ (Youtube). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิ ชิ ต วิ จิ ต รบุ ญ ยรั ก ษ์ . 2554. สื่ อ สั ง คมออนไลน์ สื่ อ แห่ ง อนาคต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. เศรษฐพงค์ มะลิ สุ ว รรณ. 2554. ยู ทู บ (YouTube) วิ ดี โ อ ออนไลน์ สื่ อ เพื่ อ สร้ า งสรรค์ ห รื อ เพื่ อ ท าลายล้ า ง. กรุงเทพมหานคร: กองบัญชาการกองทัพไทย


106

Facebook ช่องทางใหม่ในการส่งเสริมการเกษตร ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนไทย เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย มี รู ป แบบการให้ บ ริ การที่ห ลากหลายมากยิ่ งขึ้ น สามารถใช้ ง านได้ ง่ ายและสะดวกรวดเร็ ว ซึ่ ง มี ผ ลมาจาก smartphone ในท้องตลาดมีราคาถูก อีกทั้งเครือข่าย 3G พัฒนาครอบคลุมทั่วประเทศ หน่วยงานของรัฐ เอกชนและกลุ่มเกษตรกรจังหวัดต่างๆ มีการใช้ช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ในการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยน ความรู้ และใช้ในการส่งเสริมการเกษตรมากขึ้น การใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคแรกเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมี ลักษณะการนาเสนอข้อมูลทางเดียว เนื่องจากผู้จัดทาเว็บไซต์จะทาหน้าที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหรือนาเสนอเนื้อหา ให้กับผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว ผู้ใช้งานไม่สามารถโต้ตอบข้อมูลบนเว็บไซต์ได้ ต่อมาในยุคที่สอง เรียกว่า Web 2.0 เป็นการเน้นให้อินเทอร์เน็ตที่มีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมในการ โต้ตอบข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ สามารถสร้างข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน การเติบโตของอินเทอร์เน็ต ทาให้ เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่ (Social Networks) ซึ่งเป็นสังคมออนไลน์ที่ช่วยให้ คนสามารถทา ความรู้จัก พูดคุยและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านต่างๆ ได้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมาก ที่สุดในโลกและในประเทศไทยคงหนีไม่พ้น Facebook ซึ่งในประเทศไทยมีผู้ใช้งานถึง 28 ล้านคน ได้รับความ สนใจจากกลุ่มคนทุกเพศทุกวัย และรวมไปถึงกลุ่มเกษตรกร มีก ารจัดตั้งเพจใน Facebook จานวนมากเพื่อ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ปรึกษาปัญหาการเพาะปลูก และใช้เป็นช่องทางในการส่งเสริมการเกษตรอีก ทางหนึ่ง โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) คืออะไร โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) คือเครือข่ายสังคมออนไลน์ หรือการที่ ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตคน หนึ่ง เชื่อมโยงกับเพื่อนอีกนับสิบ รวมไปถึงเพื่อนของเพื่อนอีกนั บร้อย ผ่านผู้ให้บริการด้านโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) บนอินเตอร์เน็ต เช่น Facebook, Blogger, Hi5, Twitter หรือ Tagged เป็นต้น Facebook เป็นรูปแบบเว็บ โซเชียลเน็ตเวิร์คเว็บไซต์ (Social Network Website) คือเว็บไซต์ที่ สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นสังคมออนไลน์โดยเฉพาะ มีจุดเด่นที่การแชร์คอนเท้นต์ ทั้งข้อความ รูปภาพ และวีดีโอ บาง เว็บรวมไปถึงบทความ เพลง และลิ้งค์ นอกจากนั้นยังมีฟังก์ชั่นในการแสดงความรู้สึก หรือมีส่วนร่วม เช่น การ กดไลค์ (Like) การโหวต การอภิปราย (Discuss) และการแสดงความคิดเห็น เป็นต้น (พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์ ,2554) Facebook สังคมออนไลน์ยอดนิยม Facebook เป็นสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์อีกรูปแบบหนึ่งที่สังคมมนุษย์นามาใช้ประโยชน์หลักเพื่อ การติดต่อสื่อสารกับเพื่อนหรือคนรู้ จักและเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน Facebook มีจุด กาเนิดเริ่มต้นและพัฒนาโดย นาย Mark Zuckerberg นักศึกษามหาวิทยาลัย Harvard ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ วัน ที่ 4 กุมภาพัน ธ์ ค.ศ.2004 ซึ่งในระยะเริ่มแรกของ Facebook นั้น มีจุด ประสงค์ ห ลั ก เพื่อ การ ติดต่อสื่อสารระหว่างเพื่อนในมหาวิทยาลัย เท่านั้น ต่อมาได้ขยายขอบข่ายการติดต่อเชื่อมโยงข่าวสารไปสู่


107

สถานศึกษารอบ ๆ จนมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็นจานวนมากและเพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ภายในเวลาเพียง 1 ปี สามารถสร้ า งมวลสมาชิ ก เครื อ ข่ า ยที่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาในสถานศึ ก ษาและมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า ง ๆ ทั่ ว ประเทศ สหรัฐอเมริกา ในช่วงเวลานั้น e - Mail address เป็นช่องทางในการสื่อสารของแต่ละบุคคลที่นิยมกันอย่าง กว้างขวาง ต่อมาภายหลัง Facebook ได้เปิดบริการเชื่อมโยงกลุ่มเครือข่ายจาก e-Mail address เข้าด้วยกัน เพื่อความสะดวกในการสื่อสารในช่วงปี ค.ศ.2006 (วิกิพีเดีย,2557) ในประเทศไทย Facebook ได้รับความนิยมอย่างสูง จากสถิติ โซเชียลอิงค์ (it 24 ชั่วโมง,2557) ระบุ ปัจจุบันคนไทยใช้ Facebook เป็นอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีจานวนผู้ใช้งานมากถึง 28 ล้านคน คิดเป็น 42% ของประชากรทั้งประเทศไทย

ภาพที่ 1 อันดับโลกผู้ใช้ Facebook ที่มา : http://www.it24hrs.com

ภาพที่ 2 อันดับผู้ให้ Facebook ใน อาเซียน ที่มา : http://www.it24hrs.com

ถ้าหากเปรียบเทียบในกลุ่มประเทศอาเซียน ไทยอยู่อันดับที่ 3 รองจาก อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์ โดยรวมแล้วผู้ใช้ Facebook ในประเทศในกลุ่มอาเซียนมีประมาณ 170,740,000 ราย ลักษณะสังคมเกษตรของประเทศไทย อาชีพเกษตรกรเป็นอาชีพดั้งเดิม นับตั้งแต่บรรพบุรุษ เป็นอาชีพที่สาคัญเป็นรากฐานในการสร้างสังคม และเศรษฐกิจของประเทศ การเกษตรหมายถึง วิธีการประกอบอาชีพของมนุษย์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์ รวมถึงการทาผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์ไปใช้ประโยชน์สูงสุด การทาการเกษตรของไทยนั้น มี วิวัฒนาการมาตั้งแต่อดีต ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก การเกษตรจึงเป็นแหล่งรายได้ และสร้างอาชีพที่สาคัญของประชากรไทย สินค้าเกษตรเป็นสินค้าส่งออกที่นารายได้เข้าประเทศจานวนมาก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ลักษณะของสังคมเกษตรในสมัยก่อนจะเป็นแบบสังคมหมู่ มีการช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน มี ก ารติ ด ต่ อ พบปะพู ด คุ ย กั น แต่ใ นปั จ จุ บั น สั ง คมเกษตรเริ่ ม เปลี่ ยนแปลงไปเนื่ อ งจากมี เ ทคโนโลยี ที่ สะดวกสบายเข้ามาทาให้การติดต่อสื่อสารในสังคมเปลี่ยนไป กล่าวคือการพูดคุยแบบพบหน้ากันน้อยลง มีการ ใช้โทรศัพท์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในการพูดคุยมากขึ้น การช่วยเหลือแบบพึ่งพากันเริ่มลดลงและมีการ นาเครื่องจักรเข้ามาใช้ทางานแทนคนมากขึ้น (นพพร ชุบทอง,2554)


108

Facebook กับ การส่งเสริมการเกษตร การสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาการเกษตร สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า รวมทั้ง สร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศด้วย ยิ่งในปัจจุบันที่สถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ทุก ขณะ การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วทันต่ อเหตุการณ์มากขึ้น (สิน พันธุ์พินิจ,2544) Facebook จึงเป็นสื่ออีก ช่องทางหนึ่งที่นามาใช้ในการส่งเสริมการเกษตร Facebook มีบทบาทมากขึ้นในการติดต่อสื่อสารของคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็ นภาครัฐ เอกชน หรือ ภาคการเกษตร ในส่วนของภาคการเกษตร Facebook เข้ามามีบทบาทมากขึ้น โดยมีกลุ่มนักวิชาการ บุคคล กรทางด้านการเกษตร และเกษตรกร รวมกลุ่มก่อตั้งเพจบน Facebook เพื่อประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. เพื่อการติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเกษตรด้านต่างๆ เช่น ติดตามสถานการณ์น้า โรคระบาด ในพื้นที่ต่างๆ ราคาพืชผลทางการเกษตร อ่านข่าว ตรวจสอบราคาสินค้า ฯลฯ 2. เพื่อเป็นช่องทางในการแจ้งปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น แบ่งปันข้อมูลหรือปัญหาที่พบเจอและวิธีการ แก้ปัญหา อาทิเช่น แจ้งปัญหาการเกิดโรคระบาดในแต่ละพื้นที่ แลกเปลี่ยนปัญหาที่พบเจอในพื้นที่ ตนกับ เกษตรกรในกลุ่มที่พบเจอปัญหาเดียวกัน 3. เพื่อแลกเปลี่ยน นวัตกรรม เทคโนโลยี พืชพันธุ์ ความรู้ด้านวิชาทางการเกษตร แก่เกษตรกรในกลุ่ม ละบุคคลที่สนใจ เช่น แชร์เทคนิคการทาน้าหมักชีวะภาพ การปลูกพืช หรือเสนอพันธุ์พืชใหม่ๆ ที่ทาให้ได้ผล ผลิตที่สูงขึ้น 4. เพื่อสร้างกลุ่มเครือข่ายต่างๆ เช่น กลุ่มเครือข่ายชาวสวนยาง รวมกลุ่มเพื่อเพิ่มการต่อรองในการซื้อ ขายผลผลิต หรือรวมกลุ่มกันเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ตัวอย่างกลุ่มส่งเสริมการเกษตรบน Facebook 1. สวนผักคนเมือง

ภาพที่ 3 เพจสวนผักคนเมือง ที่มา:https://www.facebook.com/thaicityfarm

จัดตั้งขึ้นโดยมูลนิธิกสิกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย) และภาคีเครือข่าย ภายใต้การสนับสนุนทุนของ สานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมเสริมสุขภาพ (สสส.) เมื่อปี พ.ศ. 2553 เพจ ‘สวนผักคนเมือง’ เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้คนเมืองทาการเกษตรด้วยการปลูกผักสวนครัวไว้ รับประทานเอง ซึ่งนอกจากจะช่วยแก้ปัญหาด้านสุขภาพ ทาให้คนเมืองมีอาหารปลอดภัยไว้บริโภคแล้ว ยังมี ส่วนช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และพึ่งพาตนเองด้านอาหารได้มากขึ้น โดยใช้เพจเป็นช่องทางในการเผยแพร่


109

ความรู้ ข่ า วสารและแนะน าวิ ธี ก ารปลู ก ผั ก บนพื้ น ที่ จ ากั ด โดยมี ตั ว อย่ า งการปลู ก ผั ก ในเมื อ งที่ ประสบ ความสาเร็จจากกลุ่มสมาชิก เช่น การปลูกผักชีในล้อรถยนต์เก่า การปลูกหัวไชเท้าในตะกร้าผ้า เพจ ‘สวนผักคนเมือง’ จึงถือเป็นสังคมออนไลน์ภาคเกษตรขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่มีผู้ใช้ Facebook เข้ามาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาเกษตร แนะนาความรู้ และวิธีการปลูกผักต่อกันมากมาย ปัจจุบันเพจ ดังกล่าวมีผู้กด ‘ถูกใจ’ กว่า 118,472 คน (19 พ.ย. 57 ) 2. มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ

ภาพที่ 4 เพจมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ที่มา : https://www.facebook.com/agrinature.or.th

จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดย ดร.วิ วั ฒ น์ ศั ล ยก าธร หรื อ อาจารย์ ยั ก ษ์ ประธานมู ล นิ ธิ ก สิ ก รรมธรรมชาติ เป็ น นักวิชาการผู้มีบทบาทส่งเสริมกสิกรรมธรรมชาติและทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เพจ ‘มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ’ ให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการทาเกษตร รณรงค์และส่งเสริมให้ เกษตรกรหั นมาทาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเองตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั ว ฯ (เศรษฐกิจพอเพียง) แล้วยังเป็นพื้นที่เผยแพร่ข่าวสารและชักชวนผู้คนในโลกออนไลน์เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของ มูลนิธิ ปัจจุบันเพจ ‘มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ’ มีผู้กด ‘ถูกใจ’ กว่า 101,020 คน (19 พ.ย. 57 ) 3. เกษตรพอเพียงคลับ

ภาพที่ 5 เพจเกษตรพอเพียงคลับ.คอม ที่มา : https://www.facebook.com/ pages/เกษตร พอเพียงคลับคอม/335256716556240?fref=ts จัดตั้งขึ้นโดยเว็บไซต์เกษตรพอเพียงคลับ.คอม (http://www.kasetporpeangclub.com) เพื่อเป็น ช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลของเว็บไซต์ ซึ่งเป็นเว็บไซต์เกษตรครบวงจรที่ให้ความรู้ด้านการเกษตร เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร แจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ โดยมีเว็บบอร์ดเป็นตลาดกลางให้สมาชิกซื้อขายสินค้าเกษตร เพจก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555


110

เพจ ‘เกษตรพอเพียงคลับ.คอม’ เป็นเพจที่นาเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์หรือแนวคิดทางการเกษตร ของบุคคลตัวอย่าง เช่น มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ เจ้าของแนวคิดเกษตรธรรมชาติ , แนะนาวิธีห่มดิน, วิธีการเพาะ เห็ดฟางจากต้นกล้วย, การเลี้ยงกบในขวดพลาสติก, การปลูกถั่วลิสงในสวนยาง, การทาน้าหมักชีวภาพ, สูตร ทาน้ายาอเนกประสงค์, การทาน้าส้มสายชูแท้จากสับปะรด ฯลฯ เพจ ‘เกษตรพอเพียงคลับ.คอม’ มีผู้กด ‘ถูกใจ’ กว่า 34,250 คน (19 พ.ย. 57 ) สรุปและเสนอแนะ การสื่อสารในปัจจุบันมีความก้าวหน้าและง่ายต่อการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน การพัฒนาการเกษตร โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่าง Facebook นั้นถือเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะสามารถเข้าถึงตัวเกษตรกรได้ง่าย และสะดวกรวดเร็วขึ้น สามารถเข้าถึงปัญหาและแก้ปัญหาได้อย่างฉับไว แต่อย่างไรก็ตามการที่จะให้เกษตรกร ยอมรั บ สื่ อสั ง คมออนไลน์ อ ย่ าง Facebook นั้ น ยัง คงต้ อ งท าความเข้ า ใจ แนะน าและท าการส่ ง เสริ ม ให้ เกษตรกรรู้จักและยอมรับให้มากกว่าในปัจจุบัน โดยอาจเริ่มทาการส่งเสริมกับกลุ่มผู้นาชุมชนก่อนเพื่อให้กลุ่ ม ดังกล่าวใช้เป็นช่องทางในการติดต่อกับเจ้าหน้าที่พัฒนาการเกษตร จากนั้นจึงทาการส่งเสริมในกลุ่มเกษตรและ ลูกหลานเกษตรกร ทั้งนี้ทางภาครัฐต้องพัฒนาระบบโครงข่ายอินเทอร์เน็ตให้มีความเสถียรและครอบคลุมทั่ว ประเทศ บรรณานุกรม นพพร ชุบทอง. 2554. Social Network กับการพัฒนาการเกษตร. วารสารวิชาการส่งเสริมและนิเทศ ศาสตร์เกษตร. ปีที่ 7. ฉบับที่ 2 : 66 - 76 นิพนธ์ ใจปลื้ม,บรรพต ณ ป้อมเพรช. 2535. การส่งเสริมการเกษตรในประเทศที่กาลังพัฒนา. กรุงเทพมหานคร. วสี ภูเต็มเกียรติ. เกษตร(ผ่าน)เฟสบุ๊ค” : พื้นที่เพาะปลูกและค่านิยมใหม่ที่ไม่ได้จากัดอยู่บนไร่นา ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สานักข่าวอิศรา (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.isranews.org/community/comm-slide/item/19143-Kasetfacebook.html ZX (15 พฤศจิกายน 57) วิกิพีเดีย สารนุกรมเสรี. เฟซบุ๊ก. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/wiki/เฟซบุ๊ก พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์. 2554. สื่อสังคมออนไลน์ : สื่อแห่งอนาคต. วารสารนักบริหาร. ปีที่ 31. ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม) สิน พันธุ์พินิจ. 2544. การส่งเสริมการเกษตร. บริษัท รวมสาส์น (1977) จากัด. กรุงเทพมหานคร. It 24 ชั่วโมง. Thailand Zocial Awards 2014 เผยสถิติบนโลกออนไลน์และพฤติกรรมการใช้ Social Network ของไทย (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.it24hrs.com/2014/thai-socialnetwork-2014/ (15 พฤศจิกายน 57) นางสาวสุชีรา สุโอดี 54040791



112

กชกร ชัยอิสรากร 54040722

ปัจจัยและอิทธิพลที่ทำให้คนไทยดูละครเกำหลี วัช รา น่ ว มเทีย บ (2551) ได้กล่ าวว่า ใน ยุ คสื่ อสารที่ ไร้ พรมแดนก่ อให้ เกิด การแลกเปลี่ ยน สินค้าและวัฒนธรรม จากซีกโลกหนึ่งไปอีกซีกโลกหนึ่ง โดยเริ่ ม จากกระแสทางตะวั น ตก แต่ ใ นปั จ จุ บั น กระแสเอเชียกลับเป็นจุดสนใจและมาแรงเป็นอย่าง มาก โดยเฉพาะประเทศเกาหลี ไม่ว่าจะเป็น เพลง ศิลปิน หรือแม้แต่ละครก็ตาม ละครเกาหลีเริ่มเป็นที่ นิยมในประเทศไทยเมื่อในปี 2550 ซึ่งละครเกาหลี ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งมากในประเทศไทย คื อ เพลงรักในสายลมหนาว (Autumn in my heart) หลังจากนั้นต่อด้วย จอมนางแห่งวังหลวง (แดจังกึม), สะดุดรักที่พักใจ (Full House) , เจ้าหญิงวุ่นวายกับ เจ้าชายเย็นชา (Princess House) ซึ่งละครเกาหลี เหล่านี้ได้รับความนิยมและมีเรตติ้งที่สูงมาก และทาให้ คนเริ่มหันมาติดตามละครเกาหลีกันมากขึ้น เรียกว่าเป็น เกาหลีฟีเวอร์เลยก็ว่าได้ ประเภทของละครเกำหลีที่คนไทยชอบ เนตรนาภา อินทโชติ (2551) ได้กล่าวว่า ละครเกาหลีนั้นมีอยู่หลายประเภท ซึ่งไม่ว่าจะเป็น แบบไหนก็ทาให้คนดูอินแล้วอยากจะติดตาม เพราะ ละครเกาหลีมีการเลือกฉาก บทละคร ให้เหมาะสม กับตัวละครเป็นอย่างมาก มีความพิถีพิถันในการทา ละครทุ กขั้น ตอน ซึ่งละครเกาหลี ที่คนไทยนิยมดู สามารถแบ่งประเภทได้ดังนี้ 1. ประเภทโรแมนติก ละครเกาหลีโรแมนติก เป็นอันดับแรกที่คนไทยชอบดู เพราะสามารถรู้สึกถึง ความรักของคู่พระเอก-นางเอก รวมถึงฉาก บรรยากาศ และบทละคร ทาให้คนดูรู้สึกถึงความประทับใจอิน ถึงบทบาทที่นั กแสดงสื่ อ ออกมาได้ รวมถึ งละคร โรแมนติกของเกาหลีนั้น ไม่มีการแก่งแย่งกัน สร้าง ให้ผู้ชายเป็นสุภาพบุรุษ ให้เกียรติผู้ ห ญิง ทาให้ คนดู

รู้สึ กประทั บใจกับหนั งประเภทโรแมนติกเป็นอย่าง มาก 2. ประเภทแนวตลกขบขัน และคอมเมดี้ เป็นละครอีกประเภทที่คนชื่นชอบ ถึงแม้จะเป็น ละครตลก แต่ก็ยังแทรกเนื้อหาสาระ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมของประเทศเกาหลีผ่านทางการ แต่งกาย ฉาก เอาไว้อีกด้วย ทาให้คนดูนอกจากจะ รู้สึกผ่อนคลายแล้วยังได้สาระที่สอดแทรกเอาไว้อีก ด้วย 3. Action ละครแนว Action ก็ เ ป็ น อีก หนึ่งประเภทที่ คนชอบ เพราะเทคนิ คต่ างๆมี ความสมจริง ไม่ว่าจะเป็นเสียงประกอบ (sound effect) ฉากบู๊ ก็ทาให้ตื่นเต้นและอยากให้ติดตามต่อไป 4. จบหักมุม/ประหลาดใจ ละครประเภทนี้ เป็นที่ชื่นชอบของใครหลายคน เพราะเนื้ อเรื่ อ ง ต่อไปได้หรือเดาเหตุการณ์แล้วไม่เป็นอย่างที่คิด คนดู ต้องลุ้นตามตลอดทั้งเรื่อง มีเนื้อหาที่น่าสนใจ จึงทา ให้ละครที่จบแบบหักมุมได้รับความนิยมมาก ปัจจัยที่ทำให้คนไทยหันไปดูละครเกำหลี สริดา เตจ๊ะสา (2551) ได้กล่าวว่า ปัจจัยที่ ทาให้คนดูละครเกาหลีได้มีอยู่หลายปัจจัยด้วยกัน ซึ่ง สามารถแบ่งได้เป็น ดังนี้ 1. บทและเนื้ อหาสาระของละคร เพราะ ละครเกาหลีไม่นาเสนอเกี่ยวกับความรุนแรงในละคร มากนัก เน้นความรักที่มาด้วยความเสน่หา ไม่มีการ แก่งแย่งชิงดีกัน สอดแทรกวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณีของเกาหลีลงไปในเนื้อหาสาระ การดาเนิน เนื้อหาไม่ได้มีปมเพียงด้านเดียว จึงทาให้มีความน่าติดตาม และเข้าถึงได้ไม่ยาก เนื้อหากระชับไม่ยืดเยื้อจนน่าเบื่อ เนื้อหาบทพูดมีความละเอียดอ่อนในกาสร้างสรรค์ คาพูด ซึ่งเนื้อหาสาระนั้น เป็นส่วนประกอบสาคัญที่ ทาให้คนรับชมละครเกาหลี


113

กชกร ชัยอิสรากร 54040722

2. ดาราและนักแสดงนา เป็นอีกหนึ่งปัจจัย ที่ทาให้ คนดูล ะครเกาหลี เพราะถ้าเป็น นั ก แสดง ที่ตนเองชื่นชอบหรือ ติดตามผลงานอยู่แล้ว ก็ยิ่งทา ให้สนใจละครมากยิ่งขึ้น และถ้าได้นักร้องที่มีชื่อเสียง มาเป็นนักแสดงนาละครก็จะเพิ่มจานวนคนดูได้อย่าง ไม่อยาก เพราะฉะนั้น นักแสดงนาก็เป็นอีกปัจจัยที่ จะทาให้คนสนใจในละครหรือไม่ 3. ใช้เวลาว่างในการพักผ่อน คนจานวน มากดูละครเพื่อเป็นการพักผ่อนในช่วงวันหยุด ซึ่ง ละคร ของเกาหลีนั้นมีให้รับชมหลากหลายประเภท และมีเนื้อหาสาระที่ดีเวลารับชมจึงเกิดความผ่อนคลาย และเพลิดเพลินเวลาที่ได้รับชมละครเกาหลี 4 .ได้รับชมโฆษณาตัวอย่างจากโทรทัศน์ มี คนจานวนไม่น้อยที่พอได้รับชมตัวอย่างโฆษณาจาก โทรทัศน์แล้วรู้สึกถึงความน่าติดตาม ไม่ว่าจะเป็นการ ดาเนินเรื่องหรือเทคนิคในการตัดที่สร้างจุดสนใจที่ทา ให้ผู้ชมรู้สึกถึงความน่าสนใจและอยากรับชมในละคร 5. บรรยากาศและสถานที่ถ่ายทา อีกหนึ่ง ปัจจัยที่คนจะสนใจ ถ้าได้สถานที่สวยๆ บรรยากาศ ดีๆ และเหมาะสมกับเนื้อหาในฉากนั้น จะทาให้หนัง มีแรงดึงดูดคนดูและน่าติดตามมากยิ่งขึ้น และถือว่า เป็นการเผยแพร่การท่องเที่ยวของประเทศเกาหลี ไป ด้ว ยในตัว ยิ่ งคนติดตามมากเท่ าไหร่ สถานที่ ก็ยิ่ง ได้รับความนิยมมากขึ้นเท่านั้น 6. เพลงประกอบละคร เพลงประกอบก็เป็น สิ่งสาคัญในการเลือกชมละครเกาหลี เพราะ เพลงทา ให้ผู้ชมอินและคล้อยตามละครได้ สามารถสื่ออารมณ์ ของตัวละครได้ดี ยิ่งถ้าเพลงนั้นเป็นเพลงที่มีความหมาย ที่ซึ้ง เหมาะกับเหตุการณ์ในละคร คนก็จะชื่นชอบ และติดตามทั้งเพลงทั้งละคร สถิติปัจจัยด้ำนองค์ประกอบของละคร สริดา เตจ๊ะสา (2551) ได้ศึกษา ปัจจัยด้าน องค์ประกอบทีมีผลต่อการเลือกชมละครเกาหลีทาง โทรทัศน์ ซึ่งได้ทาแบบสอบถามในเขตเทศบาลนคร

เชียงใหม่เป็นจานวน200คน โดยเรียงลาดับคะแนน ค่าเฉลี่ยได้ ดังนี้ ปัจจัย ด้ำนองค์ประกอบ

ค่ำเฉลี่ย กำรเลือกชม

1.บทและเนื้อหาสาระ ของบทละคร 2. ดาราและนักแสดงนา 3. ใช้เวลาว่างในการ พักผ่อน 4.ได้รับชมโฆษณา ตัวอย่างจากโทรทัศน์ 5. บรรยากาศและ สถานที่ถ่ายทา 6. เพลงประกอบละคร

4.25 (มาก) 4.03 (มาก) 4.01 (มาก) 3.84 (มาก) 3.72 (มาก) 3.69 (มาก)

สถิติกำรเลือกรับชมละคร สริดา เตจ๊ะสา (2551) ได้สารวจความ นิยมของละครเกาหลีในไทย ซึ่งได้ทาแบบสอบถามใน เขตเทศบาลนครเชี ย งใหม่ เ ป็ น จานวน 200 คน สามารถหาค่าร้อยละ ได้ ดังนี้ ชื่อละคร 1.สะดุดรักที่พักใจ (Full House)

ควำมนิยม (ร้อยละ) 52.5

2.เจ้าหญิงวุ่นวายกับเจ้าชาย เย็นชา (Princess Hours)

50.0

3.รักหมดใจยัยกะหล่อน (My Girl)

43.0

ที่มำตำรำง1และ2: วิทยานิพนธ์ “ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการเลือกชมละครเกาหลีทางโทรทัศน์ของผู้ชมใน เขตเทศบาลนครเชียงใหม่” (2551)


114

กชกร ชัยอิสรากร 54040722

บริ โ ภคอาหารอาหารและซื้ อ สิ่ ง ของจากประเทศ เกาหลี ซึ่ง พฤติกรรมเหล่ านี้ เกิด ขึ้นจากการได้รับ อิทธิพลของการรับชมละครเกาหลีแทบทั้งสิ้น

รูปที่ 1 ภาพ 3 ลาดับละครที่ได้รับความนิยมในเขต เทศบาลนครเชี ย งใหม่ อิทธิพลของสื่อละครเกำหลี เนตรนภา อินทโชติ (2551) ได้กล่าวไว้ว่า ประเทศเกาหลีนั้นเป็นประเทศที่เป็นชาตินิยมสูงมาก คิดที่จะพัฒนาประเทศของและเผยแพร่วัฒนธรรมของ ตนเองอยู่เสมอ ทางรัฐบาลก็ได้ให้ความสาคัญในจุดนี้ จึงใช้กลยุทธ์หลายอย่างเพื่อให้ คนได้รู้จั กประเทศ เกาหลีมากยิ่งขึ้น ซึ่งหนึ่งในวิธีนั้นก็คือ การใช้ “สื่อ” ในการเผยแพร่วัฒนธรรมของตัวเอง ซึ่งเป็นวิธี ท่ี ประสบความสาเร็จเป็ น อย่ า งมาก เพราะทุ ก วั น นี้ หลายๆประเทศก็รู้จักประเทศเกาหลีเพราะได้รับชม ผ่ า นทางละคร ไม่ เ ว้ น แม้ แ ต่ ป ระเทศไทยจะ สังเกตเห็น ได้ ว่าละครเกาหลีส่วนใหญ่เวลาได้มาฉายที่ ไทยเสี ย งตอบรั บ จะอยู่ ใ นระดั บ ที่ ดี ม ากเสมอ นอกจากนี้ อิทธิ พลของละครเกาหลี ทาให้คนไทย จานวนไม่น้ อยที่เ กิด เกิ ดพฤติกรรมตอบสนองต่อ สื่อเกาหลีมาก นั่นคือ การแต่งตัวเลียนแบบแฟชั่นตามตัว ละครที่ตัวเองชอบ สนใจเรียนรู้ภาษาเกาหลี อยาก ไปท่องเที่ยวเกาหลีเพราะรับชมละครแล้วบรรยากาศสวย มีการจัดทาทัวร์ไปเที่ยวชมฉากถ่ายหนังในเรื่องต่างๆ ศึกษาเรียนรู้วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมของเกาหลี

ผู้มอี ิทธิพลในกำรรับชมละครเกำหลี สริดา เตจ๊ะสา (2551) ได้กล่าวว่า ในการ รับชมละครเกาหลีนั้น การได้รับอิทธิพลจากคนรอบ ข้างก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่จะทาให้คนติดตามมากยิ่งขึ้น ซึ่งผู้มีอิทธิพลในการรับชมละครเกาหลี มีดังนี้ 1. เลือกที่จะรับชมด้วยตัวเอง เพราะชอบดู และติดตามละครเกาหลีอยู่แล้ว 2. เพื่อนมีอิทธิพลต่อการรับชมละครเกาหลี ที่เพื่อนมีอิทธิพลเพราะมีการเล่าสู่กันฟัง หรือเพื่อน แนะนาละครเกาหลี ว่ า มี เ รื่ อ งไหนน่ า สนใจ จึ ง ทา ให้เกิดความสนใจที่อยากจะติดตาม 3. คนรัก/ครอบครัว มีอิทธิพลต่อการเลือก ชมละครเกาหลี เพราะ ได้มีการเล่าสู่กันฟังหรือเวลา คนในครอบครัวเปิดดูก็คอยได้รับชมตามคนรักหรือ ครอบครัว จึงเกิดการติดตามเองในที่สุด 4. อิทธิพลจากสื่อโทรทัศน์มีอิทธิพลต่อการ เลือกชมละครเกาหลี เห็นจากตัวอย่างโฆษณาหรือ การเห็ นสปอตโฆษณาทางที วี จึงเกิด ความสนใจ ที่จ ะรับชมละครในเรื่องนั้นๆ อิทธิพลละครเกำหลีที่มีต่อทัศนคติเกี่ยวกับ กำรเรียนรู้ค่ำนิยมส่งเสริมสังคม เนตรนภา อินทโชติ (2551) ได้กล่าวไว้ว่า คนที่ดูละครเกาหลีนั้น จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับทัศนคติ ส่งเสริมสังคมในด้านต่างๆ เพราะละครเกาหลีนั้นมี การสอดแทรกสิ่งดีๆเอาไว้ในบทละครมากมายหลาย อย่าง ซึ่งอิทธิพลของละครเกาหลีทาให้มีทัศนคติเกี่ยวกับ ส่งเสริมสังคม ดังนี้ 1. ทาให้ เ ป็ น คนอ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตน ละคร เกาหลีทุกเรื่อง จะให้นักแสดงนาเรื่องเป็นคนอ่อนน้อม ถ่อมตน ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวกับพวกผู้ใหญ่ เชื่อฟัง


115

กชกร ชัยอิสรากร 54040722

และปฏิบัติตามคาสอนของผู้ใหญ่ตลอด คนที่ได้รับชม จึงมีทัศนคติที่ดีแล้วจึงนาไปทาตาม 2. ทาให้ เ ป็ น คนเอาจริ ง เอาจั ง เพราะตั ว ละครไม่ ว่ า จะเป็ น พระเอก นางเอก หรื อ แม้ แ ต่ ตั ว ละครอื่ น ๆก็ ต่ า งมี ค วามมุ่ ง มั่ น และทุ่ ม เท ในการทางาน และตัวละครก็สะท้อนออกมาให้เห็น ว่าคนที่ขยัน เอาจริงเอาจัง จะประสบความสาเร็จใน การทางาน ที่สาคัญยังให้เห็นถึงมุมมองการใช้ชีวิต ของคนเกาหลีว่าเป็นคนจริงจังมากขนาดไหน 3. ทาให้เป็นคนแสวงหาความรู้ เพราะเวลา ดูละครเกาหลีถ้าเราเจออะไรที่แปลกใหม่หรือสนใจ ในสถานที่ในเรื่ อง ก็จะค้นหา ค้นคว้าในเรื่ องนั้นๆ นอกจากนี้ การดูล ะครเกาหลีทาให้เราอยากเรียนรู้ ภาษาเกาหลี จึ งเกิดการขวนขวายแสวงหาความรู้ เพิ่มเติมอยู่ 4. มีความทะเยอทะยานมากขึ้น ในตัวละคร ของประเทศเกาหลีนั้นจะไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรคง่ายๆ จะมุ่งมั่นทาจนสาเร็จ ไม่ว่าจะมีปัญหามากมายขนาด ไหน ก็จะฝ่าฟันจนประสบความสาเร็จ นอกจากนี้ยัง เป็นการสะท้อนคนในประเทศเกาหลีเองอีกด้วยว่ามี ความมุ่งมั่น มากแค่ไหน คนที่ได้ดูล ะครเกาหลีเมื่อ เห็นจุดนี้ ก็จะเกิดแรงผลักดันในการทางานต่อไป 5. ทาให้เป็นคนสุภาพอ่อนโยน ละครเกาหลี นั้นไม่มีการใช้ความรุนแรงมากนัก จะเน้นไปทางใช้ เหตุผลและหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาด้วยสติ ไม่ ใช้กาลังในการตัดสินใจ จึงไม่มีการซึ มซับพฤติกรรม ความรุนแรง และละครเกาหลีทสี่ ื่อออกมานั้น ตัวละคร จะมีความสุภาพและมีความอ่อนโยนต่อพ่อแม่เป็น อย่ างมาก จึงไม่แปลกที่คนชมละครเกาหลีแล้วจะ ได้รับทัศนคติที่ดีในด้านนี้มา อิทธิพลของละครเกำหลีที่มีผลกระทบต่อ สังคม ถึงแม้ว่าอิทธิพลของละครเกาหลีจะทาให้คน รู้จักเกาหลีดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม

ประเพณี ความเจริญของประเทศ นับว่าการเผยแพร่ สิ่ งต่างๆผ่ านสื่ อที่ ประเทศเกาหลี ได้ทานั้นประสบ ผลสาเร็จเป็นอย่างมาก แต่เพราะอิทธิพลของเกาหลี ที่ดังไปทั่วเอเชีย ทาให้มีผลกระทบต่อชาติอื่นๆด้วย เช่นกัน เพราะยิ่งเกาหลีมีอิทธิพลต่อประเทศอื่นมาก แค่ไหน ก็จะเกิดพฤติกรรมเลียนแบบทุกอย่าง ไม่ว่า จะเป็นเรื่องของแฟชั่น อาหารการกิน วัฒนธรรมต่าง แม้แต่ในประเทศไทยเอง ก็จะสังเกตเห็นได้ว่า คนที่ ได้รับชมหรือติดตามละครเกาหลีอยู่เสมอๆ จะเป็น คนที่ชอบใช้สินค้าของประเทศเกาหลี ไม่ว่าจะเป็น เครื่องสาอาง มือถือ การแต่งกายแฟชั่น จนบางครั้ง ก็มีกระแสต่อต้านคนที่ชื่นชอบผลงานทางเกาหลีเกิดขึ้น เช่น 1. โดนกล่าวหาว่าเป็นพวกไม่รักชาติ เพราะ เป็ น คนที่ ช่ื น ชอบเกาหลี จะถู ก มองว่ า เป็ น คนที่ ไม่ สนใจบ้านเมืองของตนเอง สนใจแต่เกาหลี ไม่เคย ติดตามสิ่งต่างๆในบ้านเมืองของตนเอง 2. การแต่งตัวเลียนแบบเกาหลี คนที่ดูละคร เกาหลีนั้น มักจะแต่งตัวแฟชั่นตามละครที่ตัวเองได้ดู จึ ง ถู ก วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ บ่ อ ยครั้ ง ว่ า ไม่ แ ต่ ง กายให้ เหมาะสมกับประเทศ แต่งตัวเลียนแบบแต่เกาหลี ทั้งๆที่การแต่งตัวตามประเทศของตัวเองก็มีเอกลักษณ์ที่ดี 3. ตกเป็นทาสประเทศเกาหลี คนที่ชื่นชอบ ละครเกาหลี มักจะเคยได้ยินประโยคนี้อยู่บ่อยๆ ว่า ตกเป็นทาสของประเทศเกาหลีไปแล้ว ไม่ว่าจะใช้ อะไรก็เป็นสินค้าที่เห็นจากละคร เช่น เครื่องสาอาง ยี่ห้อโทรศัพท์ เสื้อผ้า เวลาดูละครเห็นฉากสวยๆ ก็ อยากจะไปเกาหลีตามรอยละครที่ตนได้ดูมา ทาให้ คนที่รักประเทศมักไม่พอใจ เพราะบางอย่างใน ประเทศของตนเองก็มีเช่น กัน แต่ กลั บ ไม่ส นใจ กลับไปใช้ของแต่ประเทศเกาหลี 4. พวกติ่งเกาหลีคือคนที่ใช้เวลาว่างหมดไป กับเรื่องไม่มีประโยชน์ คนส่วนมากจะมองว่าคนที่ดู ละครเกาหลีนั้นเป็นการใช้เวลาที่ไม่มีประโยชน์ เอา แต่นั่งดูละครจนหมดวัน ไม่ยอมทาอะไร ซึ่งเหตุการณ์ที่


116

กชกร ชัยอิสรากร 54040722

กล่าวมานั้น ล้วนเกิดมาจากอิทธิพลของสื่อที่ต้องการให้ ทุกคนรู้จักประเทศเกาหลีแทบทั้งสิ้น สาเหตุที่คนส่วนใหญ่นิยมดูละครเกาหลีนั้น เพราะละครเกาหลีมีความหลากหลายในบทละคร ไม่ ซ้าซากจาเจ มีความสมจริงในการถ่ายทา ดูแล้ว คล้ อยตามกับบทบาทนั้น ๆ เนื้อหาสาระน่ าสนใจ สามารถดูแล้วเข้าใจได้ง่าย มีการสร้างสรรค์คาพูด และหานั ก แสดงที่เหมาะสมกับ บทบาทนั้ น ได้ดี สถานที่ถ่ายทามีความสวยงามและก็มีผลที่จะทาให้ คนดูชื่นชอบมากยิ่งขึ้น ซึ่งต้องยอมรับว่าละครเกาหลี นั้นทาออกมาได้ดีมาก เรียบเรียงเรื่องราวเนื้อหาได้ ดี แ ละมี ก ารสอดแทรกวั ฒ นธรรมต่ า งๆได้ อ ย่ า ง กลมกลืน แม้แต่คนที่ไม่เคยได้ติดตามมาก่อนพอมี โอกาสได้ดูสปอตโฆษณาหรือมีคนแนะนาให้ รั บชม ก็ ชื่ น ชอบและหั น ไปดู ล ะครเกาหลีกันเป็นจานวน มาก ซึ่งสาเหตุหลักๆที่คนหันไปรับชมละครเกาหลีก็ เกิดจากอิทธิพลของสื่อนั่นเอง ถึงแม้ว่า ตอนนี้ คนจะนิ ย มติ ดตามละคร เกาหลีเป็นจานวนมาก ไม่เว้นแม้แต่ในประเทศไทย เอง แต่ก็ใช่ว่าประเทศไทยจะสู้เกาหลีไม่ได้ เพียงแต่ คนไทยยังยึดติดกับบทละครเดิมๆ ซ้าไปมา ทาให้คน หันไปดูละครเกาหลีเพราะมีเนื้อหาชวนติดตาม และ มีบทใหม่ๆมาให้ดูเสมอ ถ้าคนไทยกล้าที่จะลองริเริ่ม สิ่งใหม่ๆโดยไม่ยึดติดเรตติ้ง กล้าที่จะทาละครแนว ใหม่ไม่ใช่สร้างละครแต่แนวเดิมๆ พิถีพิถันและกล้า ลงทุนการถ่ายทา สร้ างความสมจริ งให้ กับเนื้อหา สอดแทรกวัฒนธรรมที่ดีของประเทศไทยลงไป ไม่ เน้ น การใช้ความรุ น แรงหรื อ ไม่ แสดงอะไรที่สื่ อ ไป ในทางที่ไม่ดี สร้างสรรค์บทละครแนวใหม่ให้มีความ ทันสมัย และมีเอกลั กษณ์เฉพาะตัว สะท้อนปัญหา สังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน สร้างปมหรือปัญหาของตัว ละครให้ชัดเจน ทาการโปรโมทอย่างเหมาะสมแต่ ละช่ว งเวลาและความต่ อเนื่ อง แค่นี้ คนก็จ ะมาดู ละครไทยมากขึ้น เพราะมีบทใหม่ๆให้ น่าติดตามอยู่

เสมอ ถ้าคนไทยสนใจเรื่องบทละครสักนิด สร้างมิติ ให้กับตัวละครมากขึ้น รับรองได้ว่าไม่แพ้ประเทศ เกาหลีอย่างแน่นอน บรรณำนุกรม เนตรนภา อินทโชติ. 2551. “ละครเกาหลีทางโทรทัศน์ กับทัศนคติและพฤติกรรมของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร.” นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วัชรา น่วมเทียบ. 2551. “ปัจจัยที่มีผลต่อความ นิยมของผู้ชมโทรทัศน์จากประเทศเกาหลี .” ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย รามคาแหง. สิรดา เตจ๊ะสา. 2551. “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การเลือกชมละครเกาหลีทางโทรทัศน์ของ ผู้ชมในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ .” ศิลปศาตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ .


117

การตูน สื่อในการพัฒนาภาษาอังกฤษของเด็ก การตูนเปนสื่อการเรียนรูอีกรูปแบบหนึ่งที่ เด็กๆ ชื่นชอบเปนอยางมาก ดวยความนารักมีสีสัน สวยงาม และเรื่องราวที่ชวนติดตาม ทําใหการตูน เปนสื่อที่ครองใจเด็กๆ ทุกยุคทุกสมัย ยิ่งการตูนใน ยุคปจจุบันยังพัฒนาจากการตูนภาพนิ่งมาเปน ภาพเคลื่อนไหว การใชการตูนเพื่อเปนสื่อการ จัดการเรียนรู จึงเปนเรื่องที่นาสนใจในการนํามา พัฒนาสื่อประกอบการเรียนรูในบทเรียนตางๆ ตามความเหมาะสมของเนื้อหาและระดับชั้นของ ผูเรียน ความหมายการตูน การตูนในการเรียนการสอน มีบทบาทใน ชีวิตประจําวัน จึงมีผูสนใจศึกษา และให ความหมายของการตูนไวดังนี้ การตูนคือภาพวาดงาย ๆ ที่มีแบบเฉพาะตัว ไมเหมือน ภาพธรรมดาทั่วไป ภาพการตูนอาจมี รูปรางที่เกินความเปนจริงหรือลดรายละเอียดที่ไม จําเปนออก เพื่อจุดมุงหมายในการบรรยายการ แสดงออกมุงใหเกิดความตลกขบขัน ลอเลียน เสียดสีการเมืองและสังคม ตลอดจนใชในการ โฆษณาประชาสัมพันธใหหนาสนใจยิ่งขึ้น นอกจากนั้นอาจจะใชประกอบการเลาเรื่องบันเทิง คดี สารคดีไดอีกดวย และที่สําคัญก็คือใช ประกอบการเรียนการสอน ภาพวาดนี้อาจจะเปน ตอนเดียวจบหรือเปนเรื่องสั้นๆ 2-3 ตอน (ไพเราะ เรืองศิริ, 2524 ) การตูน คือ รูปภาพหรือสัญลักษณที่เกิด จากการวาด เพื่อสรางความตลกขบขัน สื่ อ ความหมาย หรือลอเลียนสังคม ซึ่งอาจมีลักษณะ เกินความจริง เพื่อถายทอดอารมณ หรือแสดง

แนวคิดตาง ๆ เพื่อใหเกิดความเขาใจการตูน นอกจากเปนเรื่องราว หรือกรอบสั้น ๆ ในหนังสือ แลว ปจจุบันการตูนนิยมสรางเปนภาพเคลื่อนไหว เพื่อใหเกิดความเขาใจมากขึ้น แตสําหรับการตูนที่ นําเสนอเรื่องราวในหนังสือนิยมสรางสําหรับการ เรียนรูในดานภาษา เพิ่มทักษะการอานไปในตัวได ดวย (http://kunlanut1997.wordpress.com) ปญหาการใชภาษาอังกฤษ เมื่อภาษาอังกฤษถูกกําหนดใหเปน “ภาษากลาง ” ในการสื่อสารระหวาง 10 ชาติ อาเซียน ทําใหหลายฝายออกมาแสดงความเปน หวงกับปญหาการใช “ภาษาอังกฤษ ” ของคนไทย เพราะเมื่อดูจากผลสํารวจของสํานักตาง ๆ ลวนแต ชี้ชัดตรงกันวา “ภาษาอังกฤษ ” ของเราสูเพื่อน บานในอาเซียนไมได และอยูใน “ระดับต่ํามาก ” บางก็วาต่ํากวาอินโดนีเซีย เวียดนาม หรือแมแต “แพ” ลาว ก็มีเพราะเราไมเคยเปนเมืองขึ้นของ ใคร? หรือเพราะเราไมใสใจที่จะพัฒนาทักษะภาษา ไมเคยสนใจวาเพื่อนบานเราเขาไปถึงไหนแลวกัน แน? เหลือเวลาอีกไมมากนักสําหรับการเตรียมตัว รับมือกอนการเปดเสรีอาเซียน เราตองเริ่มเปดหู เปดตาเรียนรูเพื่อนบานใหมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ ตองพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของเราใหทัดเทียม และสามารถแขงขันกับตางชาติได เพื่อหาโอกาส ใหม ๆใหกับตัวเอง หรืออยางนอยก็เพื่อเปนเกราะ ปองกันไมใหเราเสียโอกาสที่ควรจะเปนของเรา เชน งานที่ควรจะเปนของเรา แตเรากลับถูก “กําจัดจุดออน” รับตางชาติเขามาทําแทน เพราะ ตางชาติมีศักยภาพมากกวาในอัตราคาจางที่เทากัน

น.ส. ขวัญฤทัย สายมา รหัสนักศึกษา 54040729


118

และคนไทยอาจ หางานยากขึ้น หรืออาจตกงาน เอาไดงายๆ เมื่อเทียบสัดสวนการใชภาษาอังกฤษ สื่อสารของประเทศในอาเซียน พบวา คนไทยที่ สื่อสารดวยภาษาอังกฤษไดมีเพียง 10 % เทานั้น ซึ่งทําใหไทยอยูในอันดับที่ 8 จาก 10 ประเทศ อีกขอมูลที่ยืนยันวา ไทยอยูในสถานการณ ที่นาเปนหวงคือ การจัดอันดับของ English Proficiency Index (EFI) ที่แบงระดับทักษะ ภาษาอังกฤษออกเปน 5 ระดับ คือ ระดับสูงมาก ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดับต่ํา และระดับต่ํา มาก ปรากฏวา ประเทศไทยถูกจัดอยูใน “ระดับต่ํา มาก” ทั้งยังอยูในลําดับที่ต่ํากวาอินโดนีเซียและ เวียดนามเสียอีก ขอมูลเหลานี้แสดงใหเห็นวา หากเรายังเฉย อยู ไมพัฒนาตัวเอง อนาคตอาจรั้งทายทุกประเทศ ในอาเซียนเลยก็ได ดร.สมเกียรติ ออนวิมล กลาว ไววา ภาษาเปนทักษะ เรียนรูไดดวยการฝกฝน ใช มาก ๆ ใชบอย ๆ เทานั้นเอง ถาขยันเรียนก็ใช ภาษาอังกฤษไดในเวลาไมนาน ภาษาอังกฤษ เรียน ไมยาก สําหรับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ปเดียวก็ สามารถพัฒนาทักษะภาษาได…ถาตองการพัฒนา (http://th.jobsdb.com)

ภาพที่ 1 การจัดอันดับการศึกษาไทยป 2556 ที่มา : http://www.sjworldedu.com

ภาพที่ 2 การจัดคะแนนTOEFL ที่มา : https://www.tlcthai.com การตูนเพื่อการพัฒนาภาษาอังกฤษ การตูนเปนเครื่องมือชวยในการสอน ภาษาอังกฤษอยางหนึ่งไดเปนอยางดี เด็กจะมี ความชอบเปนอยางมาก เพราะตามธรรมดานั้น เด็กชอบดูการตูน ชอบอานอะไรที่ขําขันอยูแลว ยิ่ง ไดเรียนภาษาอังกฤษจากสิ่งที่ตนชอบอยูแลวก็จะ ทําใหบทเรียนนั้นมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น ดวยความ นารักของการตูน ซึ่งมักจะใชภาษาพูดที่คมคาย และเปนธรรมชาติ ประกอบกับรูปภาพที่แสดง อากัปกิริยา ก็จะทําใหนักเรียนจดจําสิ่งที่เรียนได เปนอยางดี เมื่อลองพิจารณาถึงขอดีของการตูน แลว เราจะพบวาภาษาที่ใชในการตูนมักจะเปน ภาษาพูดที่เขาใจงายใชในชีวิตประจําวัน ภาพที่ใช มักเปนภาพที่งายและใหความหมายชัดเจน สะทอนวัฒนธรรมของสังคมในหลายแงมุม ทําให เด็กไดเรียนรูถึงวัฒนธรรมกับการเรียน ภาษาอังกฤษควบคูกันไปดวย การตูนเปนสิ่งที่เด็ก ชอบอาน ชอบดู จึงใชสอนเด็กไดดีมีเนื้อหาที่สั้นได ใจความ เด็กสามารถเขาใจไดอยางรวดเร็ว เมื่อ เปนดังนี้เราจะพบวาการตูนสามารถชวยในการ สอนภาษาอังกฤษไดเปนอยางดี จากปญหาคะแนนเด็กไทยอยูเกือบอันดับ รั้งทายอาเซียน จึงทําใหครูผูสอนตางพยายาม เสาะหาวิธีการสอนและเนื้อหาตางๆที่สามารถเพิ่ม บรรยากาศในหองเรียนในชั้นเรียนใหสนุกสนาน


119

แปลกใหม เพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก พรอมกับ เสริมสรางการใชภาษาอังกฤษไดจริง วิธีการหนึ่งที่ ชวยใหเด็กไดเรียนรูและมีแรงจูงใจในการเรียน คือ การใชสื่อที่เปนภาพการตูน เปนสื่อการเรียนการ สอนที่เขาถึงไดงาย อีกทั้งองคประกอบดานภาพ และเนื้อหาทางภาษาที่หลากหลาย สวนเนื้อหา จากภาพการตูนสามารถนํามาปรับใชใหเหมาะสม กับนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางภาษาที่ตางกันได และยังสามารถปรับเนื้อหาเพื่อพัฒนาทักษะทาง ภาษาผานกิจกรรม ในการนําภาพการตูนมาใชเพื่อการสอน ความหมาย ภาพการตูนจากเรื่องตางๆจาก หนังสือพิมพ สามารถเลือกแลวนํามาใชในชั้นเรียน เพื่อชวยใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะและเพิ่มความ เขาใจในการตีความหมายของภาษาอังกฤษโดยเชื่อ วา การใชภาพการตูนเปนแหลงขอมูลนี้จะชวยให นักเรียนสนุกสนานกับการหาและอธิบาย ความหมายโดยที่ปรากฏในภาพการตูนเรื่องตางๆ การเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนไดพัฒนา ทักษะและความเขาใจความหมายจึงมีขั้นตอนที่ เนนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตางๆที่เปด โอกาสใหนักเรียนไดศึกษาความหมายเพิ่มดวย ตนเอง การใชบทสนทนาจากภาพการตูนในการ เรียนภาษานั้นยังเปนแนวทางการเรียนการสอน หนึ่งที่สามารถชวยใหนักเรียนไดเรียนรูคําศัพทที่ หลากหลายมากขึ้น ภาพการตูนนั้นเปน แหลงขอมูลที่ใชสอนเนื้อหาตางๆ การเรียนจาก การตูนจึงสามารถชวยนักเรียนไดพัฒนาความรู ทางดานศัพทและประโยค พรอมกับเรียน วัฒนธรรมของเจาของภาษาที่สอดแทรกไปพรอมๆ กัน โดยเฉพาะคําศัพทที่ใชจริงในการสนทนาของ เจาของภาษาและการรูคําศัพทเปนสิ่งหนึ่งที่สําคัญ และเปนประโยชนตอนักเรียน เพราะวาถานักเรียน รูคําศัพทก็สามารถที่จะเขาใจภาษาไดดีขึ้นและนํา คําศัพทไปใชในการสื่อสารไดอยางถูกตอง

ผูสอนสามารถสรางกิจกรรมสําหรับพัฒนา คําศัพทของนักเรียน โดยเริ่มจากการสรางรายการ คําศัพทตางๆ ที่ปรากฏในภาพการตูนที่เรียน จากนั้นผูสอนพยายามปอนคําถามที่เกี่ยวของ เพื่อใหผูเรียนเดาความหมายของคําศัพทโดยสังเกต จากภาพการตูนที่ปรากฏ กิจกรรมตอมาอาจเปนในรูปแบบที่นักเรียน หัดใชคําศัพทที่เรียนไป นํามาแตงประโยคใหได ใจความ นอกจากนั้นแลวผูสอนสามารถสอน คําศัพทไดโดยการจัดหมวดหมูคําศัพทตาม ประเภท เพื่อชวยใหผูเรียนสามารถรูคําศัพทอยาง เปนหมวดหมู ผูสอนยังสามารถชวยใหนักเรียนรูจัก คําศัพทได โดยเลือกคําศัพทหรือสํานวนที่สําคัญตอ การเขาใจใจความที่สําคัญของเรื่องราวในภาพ การตูน ตัวอยางสื่อการตูน สื่อการตูนในการพัฒนาภาษาอังกฤษของ เด็กสามารถสื่อไดในสื่อทุกประเภท เชน 1. หนังสือ การตูนเปนภาพนิ่งถือวา เครื่องมือชวยในการสอนภาษาอังกฤษ ทําใหเด็ก เกิดความสนใจและเกิดการจดจําไดเปนอยางดี ตัวอยาง หนังสือสนทนาภาษาอังกฤษใน ชีวิตประจําวัน เปนการใช ประโยคที่งายๆไม ซับซอน พรอมทั้งคําอธิบายความหมาย และแปล คําศัพทใหเปนที่เรียบรอย เพื่อเสริมความเขาใจให ดียิ่งขึ้น (ผูเขียน กองบรรณาธิการเอ็มไอเอส , 2557)

ภาพที่ 3 หนังสือสนทนาภาษาอังกฤษ ที่มา : https://www.naiin.com


120

2. วีดีโอ เปนภาพเคลื่อนไหว มีสีสัน สวยงามจึงทําใหดึงดูดความสนใจจากเด็กในการ เรียนไดเพิ่มมากขึ้น ตัวอยาง วีดีโอ สอนหนูนอยสนทนา ภาษาอังกฤษ ไมวาจะเปนการทํากิจวัตรประจําวัน ตลอดจนกิจกรรมอื่นๆ ซึ่งจะทําใหนองๆ ซึมซับ และคุนเคยกับภาษาอังกฤษจนสามารถสนทนาได อยางเปนธรรมชาติ(ผูแตง กองบรรณาธิการเอ็มไอ เอส, 2556)

ที่มา : http://market.onlineoops.com 4. สื่อชวยสอน CAI (Computer Assisted Instruction)เปนสื่อคอมพิวเตอรสําเร็จรูป ในการ ประยุกต คอมพิวเตอรมาชวยในการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อ ดึงดูดความสนใจ ของผูเรียน และกระตุนให เกิดความตองการที่จะ เรียนรู ตัวอยาง VCD เกงภาษาอังกฤษตั้งแตพูดได รวบรวมคําศัพทและประโยคงายๆ จากสิ่งที่อยูใกล ตัว ซึ่งพบบอยในชีวิตประจําและประโยค ผาน ภาพประกอบสีสันสดใส สอดคลองกับความ ตองการและความสนใจของเด็กเปนอยางดี (ผูเขียน วราลี สิทธิจินดาวงศ ,อิสรียแจมขํา , ดุจ เดือนกลั่นคูวัด, 2556)

ภาพที่ 4 วีดีโอสอนบทสนทนา ที่มา : http://m.youtube.com /watch?v=xKlKW1apVJw 3.สื่อมัลติมีเดีย เปนสื่อ แบบผสมผสาน ขอความ ภาพนิ่ง กราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีทัศน เขาดวยกัน (http://kungsaychon.wordpress.com) ตัวอยาง สื่อ ประกอบการพูด ในการสอน ภาษาอังกฤษ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียน ของนักเรียน เพื่อใหนาสนใจ นาติดตาม และงาย ตอการสื่อความหมาย เนนใหบทเรียนมีลักษณะ การโตตอบมีปฏิสัมพันธผูเรียนมากขึ้น (ผูผลิต นายยงยุทธ เดชะพงค, 2556)

ภาพที่ 5 สื่อมัลติมีเดีย

ภาพที่ 6VCD สอนภาษาอังกฤษ ที่มา : http://www.phanpha.com การวิจัยดานสื่อการตูน 1. รัชดาวร รณ คงสัตย (2555) ไดทําการ ศึกษาเรื่อง บทบา ทของภาพ ยนตรก ารตู น ภาษาอังกฤษตอการสอนภาษาอังกฤษของเด็ก ไทย ในวัยกอนประถมกับกลุมตัวอยางทั้งหมด 10 คน เปนเด็กในวัยกอนประถมอายุ 4-7 ปนักเรียนจาก โรงเรียนอุดมวิทยาอําเภอบานโปงจังหวัดราชบุรี จํานวน 5 คน เปนกลุมควบคุม และนอกชั้นเรียน จํานวน 5 คนเปนกลุมทดลอง ผลการศึกษาพบวา คะแนนการสอ บใน ทักษะการฟง - พูดและการเขียนของกลุม ควบคุม ซึ่งสอนดวยวิธีสอนดวยวิธีเดิมของโรงเรียนทักษะ การพูด คะแนนเฉลี่ย 5.091 และทักษะการเขียน คะแนนเฉลี่ย 8.379 และคะแนนการสอบในทักษะ การฟง - พูดและการเขียนของกลุมทดลองซึ่งสอน


121

ดวยสื่อภาพยนตรการตูนภาษาอังกฤษเรื่องเมซี่ ทักษะการพูด คะแนนเฉลี่ย 5.618และทักษะการ เขียนคะแนนเฉลี่ย 11.426 ผลการวิเคราะหขางตนแสดงใหเห็น ผล สัมฤทธิ์ ของบทบาทของภาพยนตรการตูน ภาษาอังกฤษตอเด็กไทยในวัยกอนประถมโดยใช บทเรียนและวิธีสอนที่สรางขึ้นเองโดยผูวิจัย นักเรียนในกลุมทดลองมีผลการเรียนที่มาก กวา กลุมควบคุม 2. ธิดารัตน พูลเชื้อ (2551) ไดทําการ ศึกษาเรื่อง การใชสื่อมัลติมีเดียการตูนแอนิเมชัน เพื่อประกอบการเรียนคําศัพทภาษาอังกฤษในวัน สําคัญโดยมุงประสบการณภาษาของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5ที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตางกันกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน เทศบาลบานปากคลองตําบลทาประดูอําเภอเมือง จังหวัดระยองจํานวน 15 คน ผลการศึกษาพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เปรียบ เทียบ กอนและหลังเรียนโดยใชสื่อมัลติมีเดียการตูน แอนิเมชันเพื่อประกอบการเรียนคําศัพท ภาษาอังกฤษในวันสําคัญ คะแนนเฉลี่ยกอนเรียน 80.87 และคะแนนหลังเรียน 86.42 ผลการศึกษา เปนที่ พึงพอใจของนักเรียนที่ ใชสื่อมัลติมีเดียการตูนแอนิเมชันเพื่อประกอบ การเรียนคําศัพทภาษาอังกฤษในวันสําคัญ พิจารณาในภาพรวมความพึงพอใจของนักเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.54อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด 3. เอกพันธ กลมพุก (2555) ไดทําการ ศึกษาเรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนรูวิชา ภาษาอังกฤษ ตามแนวทฤษฎีธรรมชาติรวมกับสื่อ การตูนวอลทดิสนีย สําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 กับนักเรียนโรงเรียนชุมชน 15 บานเนินสวาง สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีการศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลก จํานวน 25 คน ผลการศึกษาพบวา แผนการจัดการเรียนรู ตามแนวทฤษฎีธรรมชาติรวมกับสื่อการตูนวอลท ดิสนีย มีความเหมาะสมอยูในระดับมาก และมี

ประสิทธิภาพ กอนเรียน 81.76 หลังเรียน 97.68 สูงกวาเกณฑ 80 ผลการเปรียบเทียบความสามารถดานการ ฟงและการพูด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษโดยใชการสอนตามแนว ทฤษฎีธรรมชาติรวมกับสื่อการตูนวอลทดิสนีย ระหวางกอนเรียนและหลังเรียน พบวา ความสามารถดานการฟงและการพูดของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (www.sl.ac.th/htm) การวิจัยดังกลาวสามารถสรุปไดวา การนํา ภาพการตูนมาใชในการเรียนสอนภาษาอังกฤษ นั้น ชวยสงเสริมกระบวนการคิด การเขาใจในการเรียน ภาษา อังกฤษ และพัฒนาทักษะ การวิเคราะหใน ดานตางๆของนักเรียน สรุป จากปญหาการใชภาษาอังกฤษของ เด็กไทยในปจจุบัน ซึ่งตองเตรียมตัวในการเปดเสรี อาเซียนในอนาคตอาจารยผูสอนรวมถึงทาน ผูปกครอง จึงควรไดจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ การพัฒนาทักษะวิชาภาษาอังกฤษ ดวยการใช สื่อ การตูนชวยเสริมสรางพัฒนาการใหกับเด็ก วัยแหง การเรียนรู วัยแหงการจดจําดวยความนารักของ การตูน ใชภาษาที่เขาใจงายทําใหเด็กสามารถ เขาใจไดอยางรวดเร็ว


122

บรรณานุกรม กิดานันท มลิทอง. สื่อมัลติมีเดีย. (ออนไลน) . เขาถึงได จาก http://kungsaychon.wordpress.com /home/.(2พ.ย.57) ธิดารัตน พูลเชื้อ. 2551. การใชสื่อมัลติมีเดียการตูน แอนิเมชันเพื่อประกอบการเรียนคําศัพท ภาษาอังกฤษในวันสําคัญ. ระยอง: สํานักพิมพ วัฒนาพานิช . นิรนาม. ภาษาอังกฤษของคนไทย อยูตรงไหนในอาเซี . ยน (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://th.jobsdb.com /th/articles/%E0%B8%AD%E0%. (3พ.ย.57). นิรนาม. ความหมายการตูน. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://kunlanut1997.wordpress.com/2012/08/ 23/%E0%B8%84%E0%B8%A7. (3พ.ย.57) ประพัฒนพงศ เสนาฤทธิ์. 2546. การจัดการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษที่มุงเนนทักษะ. กรุงเทพฯ: โรง พิมพคุรุสภาลาดพราว. ไพเราะ เรืองศิริ. 2524. ความหมายของการตูน. กรุงเทพฯ: หจก. อรุณการพิมพ. รัชดาวรรณ คงสัตย. 2555. รายงานวิจัยบทบาทของ ภาพยนตรการตูนภาษาอังกฤษตอการสอน ภาษาอังกฤษของเด็กไทยในวัยกอนประถม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. เอกพันธ กลมพุก. การพัฒนาการจัดการเรียนรูวิชา ภาษาอังกฤษ ตามแนวทฤษฎีธรรมชาติรวมกับสื่อ การตูนวอลทดิสนีย. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://www.sl.ac.th/html_edu/sl/ temp_emp_research/380.pdf. (2พ.ย.57)


123 นายฉันทวัฒน์ แซ่กู้ 54040740

ภาพถ่ายกับการสื่อสารทางการเกษตร บทนา เมื่อพิจารณาการใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ทั้ง 5 ของมนุ ษ ย์ คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น และผิ ว หนั ง จะพบว่ า มนุษย์เราใช้ตามองเห็นและรับรู้สารเป็นอันดับต้นๆ แม้ ขณะนอนหลับจิตใต้สานึกยังจินตนาการออกมาเป็นภาพ ในความฝัน ดังนั้น หากจะกล่าวว่าภาพมีความสาคัญมาก เป็นอันดับหนึ่งต่อกระบวนการสื่อสารก็น่าจะกล่าวเป็น เช่ น นั้ น ได้ เห็ น ได้ จ ากการน าภาพมาใช้ ป ระกอบสื่ อ หลากหลายชนิด โดยเฉพาะภาพถ่ายที่นอกจากจะดึงดู ด ความสนใจของผู้ พบเห็ น ได้ดีแล้ ว ยั งสามารถถ่ายทอด หรื อ สื่ อ ความหมายได้ อ ย่ า งชั ด เจน รวดเร็ ว ลดความ สลับซับซ้อน ช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น ดังคากล่าวที่ว่า “ภาพ หนึ่งภาพ มีความหมายมากกว่าคาพูดหรือการเขียนนับ พันคา” (A picture is worth a thousand words) หรือ “สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น การถ่ายภาพไม่เพียงแต่ เป็นการบันทึกเรื่องราวที่เกิดขึ้น แต่เป็นทั้งศาสตร์และ ศิ ล ป์ ที่ ลึ ก ซึ้ ง เพื่ อ สื่ อ ความหมาย ความรู้ สึ ก อารมณ์ รวมทั้งทัศนคติ ภาพถ่ายจึงมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิต ไม่ว่าจะ เป็ นการสื่อสารในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งการทางานใน แวดวงต่างๆ อย่ างงานด้านการเกษตร ซึ่งภาพถ่ายก็มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การด าเนิ น ชี วิ ต และชี วิ ต ประจ าวั น ของ เกษตรกร สร้ า งแบบอย่ า ง แนวความคิด เป็ น ที่ จ ดจ า หรื อทาให้ เกิดการเปลี่ ยนแปลงและเรีย นรู้ ในสิ่ งใหม่ได้ เช่น เกษตรกรเห็นภาพถ่ายวิธีทาการเกษตรที่ถูกต้อง ก็ เห็ น ภาพ เปลี่ ย นแปลงแนวคิ ด การเรี ย นรู้ ใ หม่ ๆ และ ปฏิบัติตามตัวอย่างภาพถ่ายที่พบ ทาให้ภาพถ่ายถือได้ว่า

มีอิทธิพลต่อการสื่อสารและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ เกษตรกรได้เป็นอย่างดี บทบาทของภาพถ่ายกับการสื่อสาร การถ่ า ยภาพนั้ น ถื อ เป็ น การสื่ อ สารชนิ ด หนึ่ ง และมีบทบาทต่อการนาไปใช้ในการสื่ อสารโดยตรงต่อ ผู้รับสาร สามารถบอกเล่าเรื่องราวได้หลากหลายรูปแบบ เป็ น องค์ ป ระกอบพื้ น ฐานที่มี อ ยู่ ในสื่ ออื่ น ๆ ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึงปัจจุบัน ภาพถ่ายนั้นยังสามารถช่วยบันทึก บอก เล่าเรื่องราวและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากมีความเป็น รูปธรรมที่สามารถอธิบายความหมายได้ด้วยตัวเอง และ ช่ว ยอธิ บ ายสิ่ ง ที่ เ ป็น นามธรรมให้ เ ข้ า ใจได้ ง่า ยขึ้ น และ ชัดเจนยิ่งขึ้น บทบาทของภาพถ่ายกับการสื่อสารสามารถ สรุปออกเป็นด้านต่างๆ ได้ดังนี้ 1. ใช้ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล เรื่ อ งราวต่ า งๆเพื่ อ เป็ น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการ สืบค้นเรื่องราวของคนรุ่นหลัง

ภาพที่ 1 บันทึกข้อมูลเพื่อเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่มา : world.kapook.com/pin/


124

2. ใช้ บ อกหรื อ อธิ บ ายเรื่ อ งราว เหตุ ก ารณ์ ที่ เกิดขึ้น โดยเป็นภาพในหนังสือพิมพ์ วารสาร โทรทัศน์ที่ เสนอข่าว

ภาพที่ 4 ใช้เพื่อแสดงความรูส้ ึกนึกคิดของบุคคล ที่มา : manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID

ภาพที่ 2 ใช้บอกหรืออธิบายเรื่องราว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ที่มา : nationchannel.com/pdf/KLE_B.jpg

5. ใช้เพื่อการศึกษาและประกอบสื่อการเรียนรู้ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สิ่งพิมพ์ วีดิทัศน์ ฯลฯ ซึ่งล้วนแล้วแต่ มีภาพเป็นส่วนประกอบที่สาคัญเสมอ

3. ใช้เพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ดึงดูดความ สนใจผู้บริโ ภคหรื อกลุ่ มเป้าหมายให้อยากใช้สินค้าและ บริ ก ารหรื อ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า งๆ รวมทั้ ง สร้ า ง ภาพลักษณ์ให้กับองค์กรเพื่อเป็นที่จดจาของผู้บริโภค ภาพที่ 5 ใช้เพื่อการศึกษาและประกอบสื่อการเรียนรู้ ที่มา : http://sumeth.orgfree.com/

6. ใช้เพื่อแสดงตัว ตนหรือเป็นหลั กฐานทาง กฎหมาย รวมทั้งใช้ในการตัดสิ นเกมกีฬาที่ไม่ส ามารถ ตัดสินผลด้วยตาเปล่า ภาพที่ 3 ใช้เพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ที่มา : .postjung.com/picpost/data/242

4. ใช้ เ พื่ อ แสดงความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ของบุ ค คล ภาพถ่ายในลักษณะนี้ถือเป็นผลงานศิลปะที่มีคุณค่า ซึ่ง ช่ า งภาพพยายามที่ จ ะถ่ า ยทอดความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ของ ตนเองให้ผู้ดูเกิดอารมณ์และความรู้สึกคล้อยตาม

ภาพที่ 6 ใช้เป็นหลักฐานในการตัดสิน ที่มา : http://i2.cdn.turner.com/cnn/dam


125

7. ใช้เพื่อสร้างความบันเทิง เพลิด เพลินใจแก่ผู้ พบเห็น เช่น ภาพดอกไม้ สถานที่ วิวทิวทัศน์ ที่แสดงถึง ความสวยงาม ภาพจากนิตยสาร หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ ที่ใช้ในการเล่าเรื่องราวความบันเทิง

ภาพที่ 7 ใช้เพื่อสร้างความรูส้ ึกเพลิดเพลินใจ ที่มา : http://i471.photobucket.com/albums

8. การใช้ภ าพถ่ายเพื่อการค้น คว้าหรือเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ทางวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง สามารถบั น ทึ ก ได้ ละเอี ย ดกว่าที่ ส ายตามองเห็ น เช่น ภาพเชื้อ โรค ภาพ แมลง หรื อสัตว์ตัว เล็ กๆ ที่มองเห็ นด้ว ยตาเปล่าไม่เห็ น ภาพลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชพรรณชนิดต่างๆ

ภาพที่ 8 ใช้เพื่อการค้นคว้าหรือเก็บรวบรวมข้อมูล ที่มา : homeidea.in.th/wp-content

แนวคิดในการสื่อสารผ่านภาพถ่าย การถ่ายภาพถือ เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่เกี่ยวกับ การมองหาและสร้างภาพ ซึ่งเป็นศิลปะในการมองภาพ เพื่อเปิดช่องทางให้ช่างภาพ สิ่งที่ท้าทายช่างภาพ คือ การ ถ่ายภาพวัตถุที่ธรรมดาให้ไม่ธรรมดา นอกจากนี้ยังต้องรู้

องค์ประกอบศิ ล ป์ต่างๆ ไม่ว่า จะเป็น ขนาด โทนสี การจัดองค์ประกอบภาพ รูปร่าง แสง การถ่ายภาพเพื่อการสื่อสารที่ดี ต้องมีการมอง ภาพและการสร้างภาพที่สร้างสรรค์ และเน้นให้รับรู้และ รู้สึกต่อภาพที่มองเห็นในขณะนั้น อันจะทาให้ภาพถ่ายมี ชีวิต สามารถเล่าเรื่องราว ถ่ายทอดอารมณ์ให้กับผู้ที่ได้ มองเห็นว่า ภาพนี้ต้องการจะสื่ออะไรกับผู้ที่มองเห็น ภาพแต่ละภาพที่ได้ดังมีคุณค่าและมีความงามทางด้าน ศิ ล ปะอี ก ด้ ว ย และมุ ม มองหรื อ การมองภาพควรมี ที่ หลากหลาย เพราะบางครั้งแม้สถานที่เดียวกัน ยังมองไม่ เหมือนกัน ซึ่งมีผลทาให้เกิดอารมณ์ของภาพต่างกัน ได้อีก ด้วย นอกจากนี้ ในการท าหน้ า ที่ ส่ ง สาร แม้ ว่ า ตัวอักษรจะสามารถใช้ในการสื่ อสารข้อมูลต่างๆ ไปยัง ผู้รับให้เข้าใจได้ แต่ข้อมูลเหล่านั้นจะชัดเจนและมีผลต่อ การรั บ รู้ ม ากขึ้ น หากได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากภาพถ่ า ย เนื่องจากภาพที่ใช้ประกอบนั้นจะช่วยสร้างจินตนาการ ให้แก่ผู้อ่าน อิทธิพลของภาพถ่าย อิทธิพลของการถ่ายภาพนั้นสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ 1. อิทธิพลของภาพถ่ายต่อการดารงชีวิต สื่อมวลชนประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ตลอดจน สื่อที่ใช้ในการเผยแพร่โฆษณาต่างๆ นิยมใช้ภาพถ่ายกั น มาก บรรดาหนั ง สื อ พิ ม พ์ นิ ต ยสาร หนั ง สื อ ลงพิ ม พ์ ภาพถ่ายในแต่ล ะฉบับก็พิมพ์ภาพถ่ายเกือบจะทุกหน้า นอกจากนั้นยังมีพวกเอกสารเผยแพร่ โฆษณาประเภท แผ่นพับ โปสเตอร์ ก็นิยมใช้ภาพถ่ายเพื่อการเผยแพร่และ โฆษณา ดังนั้นภาพถ่ายจึงปรากฏแก่สายตาประชาชนอยู่ เสมอ ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ภาพเหล่ านี้ อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ


126

1) ภาพที่เสนอเรื่องราวอย่างใดอย่าง หนึ่ ง เช่ น ภาพข่ า ว สารคดี ซึ่ ง มุ่ ง สื่ อ สารเรื่ อ งราวอั น ปรากฏอยู่ ในภาพ จั ดเป็ น ภาพที่ มีอิท ธิพ ลต่อ ผู้ อ่า นทั้ ง โดยตรงและทางอ้ อมต่อ ผู้ อ่ านแล้ ว ทาให้ เกิ ดการรับ รู้ สังเกตหรือพินิจพิจาณาได้นานๆ เนื่องจากภาพถ่ายเป็น ภาพนิ่ งที่ส ามารถทบทวนได้ สิ่ งต่างๆเหล่ านี้ เมื่อได้พบ เห็นโดยเฉพาะอย่างยิ่งได้เห็นบ่อยๆ ก็จะเป็นที่จดจาและ เป็นอิทธิพลต่อผู้อ่านอีกด้วย เช่น การแต่งกายของผู้คน ลักษณะที่แสดงความเป็นอยู่สภาพแวดล้อมต่างๆ เป็นต้น 2) ภาพประเภทให้ความรู้หรือความคิด ที่เกี่ยวกับชีวิต เป็นการเผยแพร่ ที่ให้คาแนะนาเรื่องต่างๆ แก่ประชาชนโดยตรง และมีอิทธิพลต่อผู้อ่านโดยตรง เช่น ค าแนะน าเกี่ ย วกั บ การศึ ก ษา ค าแนะน าเกี่ ย วกั บ โภชนาการ ภาพอุปกรณ์การศึกษา เป็นต้น ซึ่งสามารถ เห็นและตีความได้โดยตรง ไม่มีความซับซ้อน ดังนั้นจึงทา ให้มีอิทธิพลต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ภาพทั้งสองประเภทในข้างต้นนั้น ถือว่า เน้ น เกี่ ย วกั บ ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ แ ละเป็ น ภาพถ่ า ยที่ มี อิทธิพลต่อการดารงชีวิตมากที่สุด 2. อิทธิพลของภาพถ่ายต่อแนวความคิด โ ด ย ภ า พ ถ่ า ย นั้ น เ น้ น ท า ง ด้ า น แนวความคิดเป็ น ส่ว นใหญ่ สร้ างความคุ้นเคย จูงใจ มี ศิลปะ เน้นความงามเป็นหลัก ทาให้เกิดแนวความคิดว่า ทุกสิ่งย่อมสวยงาม สร้างบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆ ให้ น่าสนใจ ก่อให้เกิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างต้องมีความสวยงาม จนปฏิ บั ติ เ ป็ น ความเคยชิ น มี ร สนิ ย มที่ ดี หากพบเห็ น อะไรไม่ ง ามก็ จ ะขั ด กั บ ความรู้ สึ ก ของตนเอง ดั ง นั้ น ภาพถ่ า ยมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ แนวความคิ ด ซึ่ ง ในบางเรื่ อ ง ประชาชนอาจจะยังรับไม่ได้ ขัดกับความรู้สึก แต่พอเห็น ในภาพบ่อยเข้าก็จะเกิดความรู้สึกเคยชินและระยะต่อไป ก็กลายเป็นสิ่งที่ปกติธรรมดา เช่น การเสนอภาพสิ่งใดสิ่ง หนึ่งที่คิดว่าน่ าเกลีย ดและเป็นเรื่องไม่งาม แต่พอเสนอ บ่อยเข้าคนก็อาจจะรับได้และยอมรับว่ากลายเป็นเรื่อง

ปกติและเป็นสิ่งสวยงาม ก็เท่ากับว่าทาให้สังคมเปลี่ยน ทัศนคติและแนวความคิดได้ ประโยชน์ของภาพถ่ายกับการสื่อสารทางการเกษตร การถ่ายภาพนั้น มีหลายประเภท เช่น การ ถ่ายภาพสารคดี การถ่ายภาพเพื่อประชาสัมพันธ์ การ ถ่ายภาพเพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน การถ่ายภาพข่าว และการถ่ายภาพในเชิงเกษตร การถ่ายภาพในทุกแขนง ทุกประเภทนั้น เน้น การสื่ อสารที่ผ่ านอารมณ์ส ามารถเข้าใจในเจตนารมณ์ ของผู้ที่ถ่ายภาพ การเกษตรก็เช่นกัน ปัจจุบัน การเกษตร เริ่มมีการพัฒนายิ่งขึ้นจึงจาเป็นต้องมีเทคโนโลยีเข้ามามี บทบาทในเกษตร ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจเกษตร หรือการ ทดลองในด้านการพัฒนา ภาพถ่ายจึงเป็นสื่อที่สามารถใช้ ประโยชน์ต่างๆมากมาย ดังนี้ 1. สื่ อ การเรีย นรู้ ถ่ายทอดความรู้ แก่เ กษตรกร เพราะสามารถบอกถึงวิธีการ การดาเนินงาน เห็นเป็น รูปธรรมได้ชัดเจน ทาให้เกิดความน่าสนใจ เช่น การสาธิต วิธีการต่างๆ บันทึกเก็บไว้เป็นขั้นตอน 2. การใช้ภาพเพื่อช่วยส่งเสริม สร้างภาพลักษณ์ ให้ภาคการเกษตรให้เป็นที่สนใจมากขึ้น และเป็นที่รู้จักใน วงกว้างและแพร่หลาย

ภาพที่ 9 การใช้ภาพถ่ายเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพืชและแมลง ที่มา : www.oknation.net/blog/print.php?id=883484


127

3. การใช้ภาพถ่ายสะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ ของ เกษตรกร ว่ามีความเป็นอยู่อย่างไร หรือแม้กระทั่งปัญหา ที่เกิดขึ้นต่างๆ ที่ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องจริงของสังคม 4. สะท้อนความคิด เปลี่ยนแปลงทัศนคติที่ดีทาง ความคิด เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆ ความเชื่อ แม้จะ ใช้เวลานานแต่ก็สามารถทาได้

ภาพที่ 10 การใช้ภาพถ่ายเพื่อสะท้อนปัญหาของเกษตร ที่มา : files.wordpress.com/2009/09/

ภาพถ่ายกับการสื่อสารทางการเกษตรจึงมีส่วน เกี่ ย วข้ อ งกั น ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ช่ ว ยเสริ ม สร้ า ง ภาพลั ก ษณ์ ใ ห้ ภ าคการเกษตร สะท้ อ นบทบาทหน้ า ที่ ส่งเสริมและเผยแพร่ ทาให้เห็นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ อีก ทั้งยังปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์แ ละทัศนคติให้ชัดเจนมาก ขึ้น ภาพถ่ายกับการสื่อสารทางการเกษตรนั้น ยังสามารถ เป็นองค์ความรู้แก่เกษตรกร ให้เข้ าใจ กระบวนการหรือ วิธีการในการดาเนินงานทางการเกษตรให้ดียิ่งขึ้น และยัง สามารถสร้ า งภาพลั ก ษณ์ แ ละเป็ น การสื่ อ สาร สื่ อ ความหมายที่ดีให้ กับผู้ ที่พบเห็ น ว่าการเกษตรของไทย หรือเกษตรกรนั้นก็เป็นอาชีพที่น่าสนใจไม่แพ้อาชีพอื่นๆ

สรุป ภาพถ่ า ยได้ ถู ก น ามาใช้ ใ นการสื่ อ สารรู ป แบบ ต่างๆ อย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุที่สามารถช่วยให้ผู้ส่งสาร ประหยัดเวลา อธิบายได้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ในด้านผู้รับ สารเองก็ใช้เวลาน้อย และเพิ่มความน่าสนใจ สามารถ ถ่ายทอดและสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน ภาพถ่ายยังมี อิทธิพลต่อการดาเนินชีวิต อิทธิพลต่อแนวความคิดต่อ ผู้รับสาร ดังนั้น ภาพถ่ายกับการสื่อสารทางการเกษตร ถื อ ว่ า เ ป็ น สิ่ ง ส า คั ญ ม า ก ใ น ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความเชื่อ ทัศนคติ ไปในทางบวก อีกทั้งยังสามารถเป็นสื่อในการเรียนรู้ สร้างภาพลักษณ์ ที่ดี สะท้อนชีวิตความเป็ นอยู่ทางการเกษตร ให้มีความ น่าสนใจ สร้างคุณค่า และเพิ่มมูลค่าให้กับภาคการเกษตร ต่อไปในอนาคต...

บรรณานุกรม กนกรัตน์ ยศไกร. 2551. การถ่ายภาพเพื่อการสื่อสาร Photography for Communication. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น. ณัฐกร สงคราม. 2557. การถ่ายภาพ : เทคนิคและการ นาไปใช้เพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จากัด. นิพนธ์ ศุขปรีดี และคณะ. 2546. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ภาพนิ่งและภาพยนตร์. พิมพ์ครั้งที่ 16. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.


128

รายการโทรทัศน์ทางการเกษตร การติดต่อสื่อสารเป็นความต้องการและเป็นความจาเป็นอย่างหนึ่งของมนุษย์ในการดาเนินชีวิต อยู่ในสังคมด้วยดี วัตถุประสงค์ในการสื่อสารของมนุษย์นั้นมีอยู่หลายประการที่สาคัญประการหนึ่งซึ่งเชื่อถือกัน ว่าเป็นความต้องการพื้นฐานในการติดต่อสื่อสารของมนุษย์ คือความต้องการรับรู้เรื่องราว ข่าวสารต่างๆที่ เกิดขึ้นรอบตัว รวมทั้งการแลกเปลี่ย นข่าวสารความรู้ หรือ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งการ รายงานเหตุ ก ารณ์ ห รื อ ส่ ง ผ่ า นข้ อ มู ล นี้ จ ะกระท าได้ โ ดยผ่ า นสื่ อ ต่ า งๆ ได้ แ ก่ สื่ อ ค าพู ด สื่ อ สิ่ งพิ ม พ์ สื่ อ วิทยุ กระจายเสี ย ง และสื่ อวิทยุ โ ทรทัศน์ เป็นต้น โดยเหตุที่วิทยุโ ทรทัศน์เป็นสื่ อมวลชนที่มีลั กษณะและ คุณสมบัติที่ได้เปรียบสื่ออื่นๆ เพราะเป็นสื่อที่สามารถส่งสารถึงผู้รับได้อย่างรวดเร็ว และส่งได้ทั้งภาพและเสียง ในเวลาเดียวกัน ดังนั้น การจัดการวิทยุโทรทัศน์จึงคานึงถึงคุณลักษณะดังกล่าวนี้ และจัดรายการให้สอดคล้อง กับความต้องการของผู้รับสารให้มากที่สุด (สุปรีดี สุวรรณบูรณ์,2555) หน้าที่ของวิทยุโทรทัศน์และรูปแบบรายการ การเสนอข่าวสาร วิทยุโทรทัศน์มีความจาเป็น เนื่องจากจะทาให้ผู้รับสาร รับรู้ข่าวสารได้อย่าง รวดเร็ว มีความน่าเชื่อถือ เป็นการนาเสนอด้วยด้วยภาพ และเสียง จึงทาให้การนาเสนอข่าวทางวิทยุ โทรทัศน์ ความน่าเชื่อถือของข่าว เหมือนได้ร่วมอยู่ในเหตุการณ์ได้สัมผัสเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากภาพข่าว นอกจากนั้น ผู้รายงานข่าวทางโทรทัศน์ยังมีผล ต่อความน่าเชื่อถือของข่าวอีกด้วย จากการใช้น้าเสียง ภาษา การแต่งกาย กิริยาท่าทาง แสดงความคิดเห็น เป็นเวทีแสดงความคิดเห็น เปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็น เป็น ช่องทางในการร้องทุกข์ของประชาชน เพื่อให้มีความรู้สึกปัญหาเหล่านั้น เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ๆ หลายครั้ง ที่ปัญหาเหล่านี้ได้รับการแก้ไขและสนองตอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแสดงความคิดเห็นหรือการตั้ง ประเด็นคาถามในรายการสามารถเป็นตัวกระตุ้นให้สังคมมีปฏิกิริยาต่อเรื่องนั้นได้และนอกจากนี้ การแสดง ความคิดเห็น ของสื่อมวลชนอาจนาไปสู่ การโน้มน้าวชักจู งใจได้ ถ้ามีการนาเสนอตามหลัก และยุทธวิธีที่ เหมาะสมตามแนวคิดของทฤษฏีการโน้มน้าวใจได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหา สาระ ประเด็น และเรื่องราวที่นาเสนอ การโน้ มน้าวชักจูงใจรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโ ทรทัศน์มักเป็นการนาเสนอ ในรูปแบบของการ ประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์ หรือโน้มน้าวให้ประชาชนมีคิดคล้อยตามในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง เช่น การรณรงค์ไม่ให้ ใช้สารเคมีให้การกาจัดศัตรูพืช เป็นต้น ให้ ความรู้ และการศึกษา หน้าที่ในการให้ ความรู้และการศึกษาเป็นบทบาทที่ส าคัญยิ่งของ วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์เนื่องจากการศึกษาเป็น รากฐานเบื้องต้น ของการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน สื่อมวลชนมีหน้าที่ในการให้ความรู้และการศึกษาแก่ประชาชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นเครื่องมือ ที่เข้ามาช่วยถ่ายทอดวิชาความรู้ ทั้งความรู้ที่มีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน และการประกอบ อาชีพ ตลอดจนวิทยาการใหม่ ๆ จากรายการวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ โดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียน สามารถนาความรู้และการศึกษาไปถึงกลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างทั่วถึง รวดเร็ว โดยการเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ เหมาะสมต่อการเรียนรู้ และรับรู้ ทาให้การเผยแพร่ความรู้และการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การให้ความบันเทิง การให้ความบันเทิง เป็นบทบาทเพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน เพื่อประเทืองอารมณ์ ผ่อนคลายความตึงเครียด และเพื่อการกระตุ้นจินตนาการด้านต่าง ๆ รายการบันเทิง โดยทั่วไป เมื่อมองอย่างผิวเผิน มักเป็นรายการที่มุ่งให้ความบันเทิง แต่เพียงอย่างเดียว หากแท้จริงแล้ว เรายัง ได้รับความรู้ และข้อคิด ที่เป็นประโยชน์ที่แฝงอยู่จากรายการเหล่านั้นด้วย ซึ่ ง รู ป แบบของรายการโทรทั ศ น์ ที่ น าเสนอก็ มี ค วามหลากหลาย เพื่ อ เพิ่ ม ความน่ า สนใจให้ เกษตรกรอยากรั บ ความรู้ ข้ อ มู ล ข่ า วสานนั้ น ๆมากขึ้ น โดยรู ป แบบของรายการโทรทั ศ น์ แบ่ ง ออกเป็ น 14 รูปแบบ ได้แก่ รายการพุดคุย รายการสนทนา รายการอภิปราย รายการสัมภาษณ์ รายการสาธิตและ


129

ทดลอง รายการข่าว รายการสารคดี รายการละคร รายการสาระละคร รายการเพลง รายการนิตยสาร รายการ-ปกิณกะ รายการเกมโชว์ และรายการสปอต ตามความเหมาะสมของเนื้อหารายการที่จะนาเสนอ (อรรถพร ฤทธิเกิดม,2547) พฤติกรรมการรับชมรายการโทรทัศน์ของเกษตรกร 1. ลักษณะการรับชมโทรทัศน์ของเกษตรกร ส่วนใหญ่ไม่ได้ดูโทรทัศน์อย่างสม่าเสมอ บางคน นานๆได้ดู ครั้ ง เนื่ อ งจากวิ ทยุ โ ทรทัศ น์ มีข้ อจ ากัด ในการใช้ ห ลายประการ เช่ นมีร าคาที่ แพงเกิ นไป และ เนื่องจากชนบทขาดกระแสไฟฟ้าจึงเป็นอุปสรรคต่อการชมรายการวิทยุโทรทัศน์อย่างยิ่ง ยิ่ง กว่านั้นต้องใช้เสา อากาศสูงๆจึงมีราคาแพงมาก ดังนั้นผู้ที่มีกาลังทรัพย์มากพอจึงจะมีโอกาสซื้อเครื่องรับโทรทัศน์ได้ อย่างไม่มี ความเดือดร้อน 2. โอกาสในการเปิดรับข้อมูล ส่วนใหญ่ชาวชนบททั่วไปมักดูโทรทัศน์ในวันสุดสัปดาห์ วันเสาร์ อาทิตย์ที่ว่างงาน หรือไม่ก็เป็นวันที่เดินทางเข้าเมืองโดยอาศัยดูร้านค้าในเมืองบ้างเป็นครั้งคราว ส่วนเวลาดึก ดื่นชาวชนบทมักจะไม่นิยมออกนอกบ้าน เพราะไม่สะดวกและอาจเกิดอันตราได้ โดยสรุปแล้ ว เกษตรกรมี เวลาดูโทรทัศน์ที่ไม่แน่นอนเป็นส่วนมาก โอกาสที่เกษตรกรจะดูโทรทัศน์ก็มีน้อย อาจเป็นเพราะเกษตรกรส่วน ใหญ่ไม่มีเครื่องโทรทัศน์เป็นของตนเองก็ได้ และอาจเกิดความไม่สะดวกในการดูโทรทัศน์ก็เป็นได้ แต่ถ้าหาก เกษตรกรจะดูโทรทัศน์ มักจะดูในช่วงเวลา 17.00 ถึง 21.00 น. มากกว่าเวลาอื่น 3. ความชอบส่วนบุคคล เกษตรกรที่เป็นเพศชายชอบดูรายการกีฬาเป็นอันดับหนึ่ง รายการ บั น เทิง รายการข่ าว และรายการโฆษณาสิ นค้า รองลงมาตามล าดับ ส่ ว นรายการที่เ กี่ยวกับศาสนาและ วัฒนธรรมส่วนใหญ่จะรู้สึกเฉยๆ ส่วนเกษตรกรที่เป็นเพศหญิงมักชอบรายการบั นเทิงทั่วไปมากที่สุด รองลงไป คือรายการข่าว รายการกีฬา รายการที่เกี่ยวกับศาสนาและวัฒนธรรม รายการโฆษณาสินค้าตามลาดับ ดังนั้น รายการที่เกษตรกรเพศชายและเพศหญิงชอบรับชมและมีความชื่นชอบเหมือนกันคือ รายการประเภทกีฬา และรายการบันเทิง ส่วนรายการอื่นที่ให้สาระความรู้แ ละรายการที่เป็นประโยชน์ต่อการดารงชีวิตยังไม่ได้รับ ความนิยมมากนัก 4. ช่วงเวลาในการรับชมโทรทัศน์ เกษตรกรทั่วไปโดยส่วนใหญ่ จะพักผ่อนนอนหลับแต่หัวค่า แต่ส่วนใหญ่รายการโทรทัศจะแพร่ภาพตั้งแต่เย็นจนดึก เวลาการดูโทรทัศน์ของชาวชนบทจึงไม่ค่อยสอดคล้อง กับการจัดรายการโทรทัศน์ที่ทากันอยู่ในปัจจุบัน (วิภา อุตมฉันท์,2538) หลักการจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อเกษตรกร จากการศึก ษาถึ ง สภาพการจั ด รายการวิท ยุ โ ทรทัศ น์ เพื่ อ การเกษตรในปั จ จุบั น ที่ส ถานี วิ ท ยุ โทรทัศน์ต่างๆ ได้ผลิตรายการที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรมากขึ้นที่ โดยใช้ประโยชน์จากสื่อวิทยุโทรทัศน์ เพราะจะช่วยในการพัฒนาอาชีพเกษตรกร รวมถึงการให้ข่าวสาร ความรู้และความบันเทิงที่เป็นประโยชน์ต่อ เกษตรกร โดยการจั ด รายการวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ เ พื่ อ เกษตรกรควรค านึ ง ถึ ง องค์ ป ระกอบดั ง ต่ อ ไปนี้ ได้ แ ก่ วัตถุประสงค์ของการจัดรายการ เนื้อหาสาระของรายการ รูปแบบของการนาเสนอ และเวลาในการนาเสนอ 1. วัตถุประสงค์ของการจัดรายการ เกษตรกรเป็นกลุ่มผู้รับที่อยู่กระจัดกระจายกัน พื้นฐาน การศึกษาของเกษตรกรโดยเฉลี่ ย จะมีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา เกษตรกรบางภาคโดยเฉพาะ ภาคเหนือจะอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้อัตราที่สูงมากกว่าภาคอื่นๆ เมื่อมีอาชีพ เกษตรกรก็มิได้มีโอกาสได้เล่า เรีย นวิชาชีพจากที่ใด เพราะการประกอบอาชีพเป็นไปในลั กษณะการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ โอกาสที่ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเข้าไปให้ความรู้ก็มีน้อยมาก ดังนั้น จุดประสงค์หลักของการจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อ เกษตรกรจึงควรไปเป็น ในลักษณะให้ความรู้ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่ออาชีพและการดารงชีวิตอยู่อย่างมี ความสุขตามอัตภาพ เพื่อมุง่ พัฒนาอาชีพเกษตรกรให้สูงขึ้น โดยการนาความรู้ที่ได้จากการรับชม ไปใช้ให้เกิด-


130

ประโยชน์ และวัตถุประสงค์อีกอย่างหนึ่งในการจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อเกษตรกร ควรมีจุดมุ่งเน้นการให้ ข่าวสารเพื่อให้เกษตรกรได้ความรู้ความเป็นไปของบ้านเมือง นอกจากนั้น ในเรื่องของความบันเทิงก็เป็นสิ่ง สาคัญ เพราะเกษตรกรส่วนใหญ่ทางานหนัก จาเป็นต้องการการผ่อนคลายความตรึงเครียดจากการทางาน วัตถุประสงค์ของการจัดรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อเกษตรกรจึงเน้นในเรื่องของข่าวสารความรู้และความบันเทิง 2. เนื้อหาสาระของรายการ เกษตรกรมักจะสนใจสิ่งที่ใกล้ตัวในชีวิตประจาวัน หรือเรื่องที่ เกี่ยวกับอาชีพการเกษตรกรรมทุกประเภท เช่น กิจกรรมต่างๆทางการเกษตร ได้แก่ การปลูกชีพไร่แบบใหม่ การใช้เครื่องมือทางการเกษตรสมัยใหม่ การอนุรักษ์ดิน การอนุรักษ์น้า การประดิษฐ์เครื่องมือใหม่ๆหรือแม้แต่ การเสนอวิชาชีพเกษตรกรตัวออย่างที่ได้รับรางวัล นอกจากนั้น ผู้จัดรายการควรพิจารณาความเหมาะสมของ เทศกาลหรือฤดูของเกษตรกรรมด้วย เช่น เมื่อใดควรเสนอเนื้อหาสารถเกี่ยวกับเกษตรกรรมด้านใดและเรื่องใด เช่น ฤดูร้องเป็นฤดูของการปลูกทุเรียน ปลูกมะม่วง เนื้อหาสาระของรายการก็ควรเสนอเรื่องเกี่ยวกับทุเรียน และมะม่วง หรือถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับการทานา ก็ต้องพิจารณาว่าเดือนใดเป็นเดือนที่จะลงกล้าปลูกข้าว ใส่ปุ๋ย การป้องกันศัตรูพืช ตลอดจนการรายงานการพยากรณ์อากาศก็เป็นเรื่องที่เกษตรกรให้ความสนใจ เพราะมีผล ต่อผลผลิ ตของเกษตรกร เช่น การเตือนเกษตรกรให้ รู้ถึงสภาพอากาศประจาวัน เนื้อหาสาระเหล่านี้เป็น ประโยชน์ต่อการเกษตรทั้งสิ้น นอกจากเนื้อหาสาระที่เป็นความรู้ที่เกี่ยวกับอาชีพโดยตรงแล้ว และเนื้อหา สาระอื่นๆ เช่น ข่าวในพระราชสานัก ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวทางการตลาดของเกษตร นอกจากนั้น สาหรับ เนื้อหาของการจัดรายการบันเทิง ควรเป็นรายการบันเทิงเบาสมองที่ให้ความบันเทิงอย่างแท้จริง 3. รูปแบบการนาเสนอ ต้องเลือกให้เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาของรายการ เช่น รายการ ประเภทความรู้อาจนาเสนอในรูปแบบของสารคดี การสาธิต การอภิปราย นิตยสาร รายการประเภทข่าว อาจนาเสนอในรูปแบบการอ่านข่าว การรายงานข่าว การสัมภาษณ์ ส่วนรายการบันเทิง นิยมดูภาพยนตร์ไทย ละคร รายการตลก รายการเพลงประเภทเพลงลูกทุ่ง เพลงพื้นบ้าน เป็นต้น 4. เวลาในการนาเสนอ เกษตรกรเป็นผู้ที่มักตื่นแต่เช้าและนอนหัวค่า กลางวันเป็นเวลาทางาน ซึ่งส่ ว นใหญ่จ ะออกไปทางานในท้องที่น อกบ้าน จะมีที่อยู่กับบ้านบ้าง แต่ก็ไม่อยู่ตลอดเวลาและเสมอไป โอกาสที่เกษตรกรจะได้ดูโทรทัศน์จึงมักจะเป็นเวลาที่เกษตรกรเหนื่อยกลับมา ต้องการหาเวลาพักผ่อนหา ความเพลิ ด เพลิ น ใจ เพื่อ พิ จ ารณาจากสภาพชี วิ ตของเกษตรกรแล้ ว จึ งน่ า จะเป็ น เครื่ อ งพิจ ารณาได้ ว่ า ช่วงเวลาในการจัดรายการโทรทัศน์เพื่อเกษตรกร คือ ช่วงเวลาเช้าตรู่ ระหว่าง 05.00 ถึง 06.00 น. และ ช่วงเวลาหัวค่า ระหว่าง 17.00 ถึง 21.00 น. เพราะเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการรับชมรายการของเกษตรกร (นภาภรณ์ อัจฉริยะกุล,2533) รายการโทรทัศน์ทางการเกษตรในปัจจุบัน ปัจจุบัน รายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรก็เข้ามาบทบาทมากขึ้น ทั้งการเผยแพร่ผ่าน ระบบดิจิตอลทีวี ระบบสัญญาณดาวเทียมและเคเบิลทีวี ต่างก็เป็นสื่อกลางที่พัฒนาขึ้น ในการช่วยส่งสัญญาณ ทั้ ง ภาพและเสี ย งไปยั ง ผู้ รั บ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ซึ่ ง ในการผลิ ต รายการโทรทั ศ น์ ท างการเกษตร มี วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ข่าว เนื้อหาสาระ ความรู้ และวิทยาการ ใหม่ๆ ตลอดจนเทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้กับเกษตรกร และผู้ที่สนใจทางด้านการเกษตร โดยปัจจุบันมีรายการ โทรทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรมากมายให้เลือกรับชม และมีรูปแบบการนาเสนอที่น่าสนใจแตกต่างกันตาม ความเหมาะสม เช่น รายการเกษตรไทยน่ารู้ ทางช่อง5 รายการเพื่อนเกษตร ทางช่อง7 และรายการเกษตรทา กิน ทางช่องระวังภัย


131

ภาพที่ 1 รายการเกษตรไทยน่ารู้ ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=bQddFI3fGBU

ภาพที่ 2 รายการเพื่อนเกษตร ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=5J-c3hJX13s

ภาพที่ 3 รายการเกษตรทากิน ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=oGG7N8irXjQ ตัวอย่างรายการโทรทัศน์ทางการเกษตรที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับต้นๆ เช่น รายการ เกษตร Hot news ทางช่อง3 เป็นรายการที่ให้ความรู้ ข่าวสารที่เกี่ยวกับเกษตรกรรมในทุกๆด้าน ซึ่งจะให้ประโยชน์ ทั้งการประกอบอาชีพตลอดจนการดารงชีวิต มีเนื้อหาสาระที่หลากหลายทันต่อเหตุการณ์ โดยรูปแบบการ นาเสนอมีความน่าสนใจ ผสมผสานการนาเสนอหลากหลายรูปแบบ เช่น ในช่วงแรกของรายการ จะนาเสนอใน รูปแบบของเนื้อหาข่าว ให้ความรู้ ทางการเกษตรและจะเปลี่ยนหัวข้อในการนาเสนอในทุกๆครั้ง ที่ออกอากาศ เกษตรกรหรือผู้รับชมได้รับความรู้ใหม่ๆที่น่าติดตาม ในช่วงท้ายของรายการ มีชื่อว่า เกษตรโลกเกษตรเรา มุ่งเน้นให้ความรู้ และให้ทราบถึงสถานการณ์การเกษตรของไทย เทคโนโลยีใหม่ๆ และเน้นย้าในการสนับสนุน ให้ คนรุ่ น หลั งหั น มาสนใจและให้ ความส าคัญกับการเกษตร จึงมีความจาเป็นต้องสร้างแรงจูงใจและมีสื่ อ ประกอบที่สนุกสนานและน่าสนใจ เช่น ท่าเต้น เพลง หรือคาพูดที่โดดเด่น เข้าใจง่ายก็จะทาให้เกษตรกรหรือ ผู้ชมเกิดการเรียนรู้และซึมซับข้อมูลเหล่านั้น และวันเวลาที่ออกอากาศ คือ ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 16.10 น. ถือว่าอยู่ใกล้ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการรับชมรายการของเกษตรกร ก็จะทาให้เกษตรกรสามารถ ติดตามรายการได้อย่างต่อเนื่อง


132

ภาพที่ 4 รายการเกษตรHotnews ที่มา : http://www.thaitv3.com ดังนั้น ด้วยเทคโนโลยียุคใหม่ที่ก้าวล้ามากขึ้นทุกวัน ล้วนสร้างขึ้นมาเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในทุกๆด้าน จนบางครั้งเราอาจมองข้ามจุดเล็กๆที่ยิ่งใหญ่ ก็คือเกษตรกรไทยของเรา เมื่อเรามีความรู้ ความเข้าใจในเทคโนโลยีที่มีการพัฒนานี้แล้ว เราก็สามารถที่จะนามาสรรสร้างและพัฒนาเกษตรกรไทย ไม่ว่า จะเป็นความรู้ทางด้านสาขาอาชีพของเกษตรกรโดยตรง หรือการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความบันเทิงต่างๆ ที่ เป็นประโยชน์ไปสู่เกษตรกรที่อยู่ในชนบท โดยผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ ที่เป็นสื่อกลางส่งเสริมให้การติดต่อสื่อสาร มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ให้เกษตรกรไทยมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมถึงเป็นการยกระดับอาชีพเกษตรกรให้ มีความรู้ความสามารถในการทาเกษตรกรรมและสร้างผลิตผลที่มีคุณภาพให้กับคนไทยต่อไป บรรณานุกรม นภาภรณ์ อัจฉริยะกุล และคณะ. 2533. การจัดรายการวิทยุโทรทัศน์. เล่มที่ 3 พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิภา อุตมฉันท์. 2538. การผลิตสื่อโทรทัศน์และวีดีทัศน์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุปรีดี สุวรรณบูรณ์. 2555. การสื่อสารผ่านสื่อ. (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : http://WWW.IPESP.AC.TH/LEARNING/THAI/CHAPTER9-1.HTML (15 พฤศจิกายน 2557) อรรถพร ฤทธิเกิด. 2547. การผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการสอนและการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ : งานตาราและเอกสารการพิมพ์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง. นางสาว โชติมน กิจเลิศสกุลวงศ์ หลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร รหัส 54040743


133

1

นำงสำวนำฝน ทับแว่ว รหัสนักศึกษำ 54040761 *

กำรสื่อควำมหมำยผ่ำน..ภำพถ่ำยเกษตร บทนำ

ควำมสำคัญของกำรถ่ำยเพื่อกำรสื่อสำร

กนกรั ต น์ ยศไกร (2550) ได้ ก ล่ า วว่ า ศิลปะ คือ สิ่งที่มีอยู่ภายในจิตสานึกของมนุษย์ทุก คน เป็นสิ่งที่ซ่อนเร้นที่ปรากฏขึ้นได้ ในยามที่เรา นั้นเกิดความพอใจอย่างแท้จ ริงและปรารถนาจะ สะท้อนความพึงพอใจนั้นออกมาในรูปแบบต่างๆ .. การถ่ายภาพ จึงมิได้เป็นเพียงการยกกล้องขึ้นมา เล็ง แล้วกดชัตเตอร์ให้กล้องบันทึกภาพโดยยัง มิได้ ดึงเอาศิล ปะที่อยู่ภายในจิตส านึก มาร่ วมกับงาน ถ่ายภาพนั้นด้วย ประวัติการถ่ายภาพกว่า 160 ปี ที่ ผ่ า นมา เป็ น การเกิ ด ขึ้ น ของการวิ วั ฒ นาการ อธิ บ ายเล่ า ความด้ว ยภาพ ที่ มิไ ด้ส นใจเพีย งการ ประดิษฐ์และการพัฒนาตัวสื่อเท่านั้น แต่ได้อธิบาย การเติบโตของการตัว สื่ อที่มีความส าคัญในสังคม วัฒ นธรรม และจิ ตวิ ท ยา เพื่อ ที่ จ ะท าให้ นั ก การ สื่ อ สารเข้ า ใจปรากฏการณ์ เ กี่ ย วกั บ ภาพถ่ า ย เนื่องจากวิชาการถ่ายภาพเพื่อการสื่อสารนี้ เป็น ศาสตร์ที่ให้ความสาคัญกับการสื่อความหมายด้วย ภาพเป็ น หลั ก จึ ง ต้ อ งท าความเข้ า ใจบริ บ ทที่ เกี่ยวข้องกับภาพถ่ายนั้นๆ ในขณะที่ให้ความสาคัญ กั บ เทคโนโลยี ด้ า นกล้ อ งและอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ รองลงมา โดยกาหนดให้ บ ทบาทของเทคโนโลยี เป็ น เพี ย งเครื่ อ งมื อ เพื่ อ ท าให้ ก ารสื่ อ สารนั้ น ๆ บรรลุ ผ ล และตรงตามความต้ อ งการของแต่ ล ะ บุคคล ทั้งด้านผลงาน ด้านความรู้และเสริมสร้าง ความสามารถของผู้ศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพให้ ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งเป้าหมายเอาไว้

“ภาพหนึ่ง ภาพ แทนค าพู ดนั บ ล้ านค า” คากล่ าวนี้ให้ ความส าคั ญยิ่งนักภาพถ่ายเพื่อการ สื่อสาร เพราะภาพเป็นการสื่อสารแบบไม่ต้องคุย (non-verbal communication) อี ก ทั้ ง ใ ห้ ความหมายแทนการสื่ อ สารด้ ว ยค าพู ด (verbal communication) น อ ก จ า ก นี้ ภ า พ ยั ง สื่ อ ความหมายได้มากกว่าคาพูด เนื่องจากภาพมีผ ล ต่ อ การกระตุ้ น การรั บ รู้ ด้ ว ยการมองเห็ น ซึ่ ง มี ประสิ ท ธิ ผ ลดี ก ว่ า การรั บ รู้ ด้ ว ยด้ ว ยการฟั ง การ สื่อสารด้วยภาพนี้แบ่งตามขนาดของผู้ร่วมสื่อสาร ดังนี้ 1. ระดับบุคคล เป็นการเก็บบันทึก ภาพ ของตนเองตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันแทนความทรง จาที่มีอยู่ 2. ระดับครอบครัว เพื่อนฝูง ภาพถ่ายมี ความส าคัญ ต่อการสื่ อสารระหว่างกันทั้ง ในด้า น การเตือนความจาในความสัมพันธ์ที่มีร่วมกัน 3. ร ะ ดั บ สั ง ค ม ทั่ ว ไ ป ที่ มี ผู้ รั บ ส ำ ร ภำพถ่ ำ ยเป็ น สื่ อ ไม่ว่ า จะเป็ นหนั ง สื อ นิ ตยสาร ภาพถ่ายเช้ามามีบทบาทเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสาคัญ กั บ เศรษฐกิ จ พบว่ า ภาพถ่ า ยเป็ น ส่ ว นส าคั ญ ใน กระบวนการส่งเสริมการขายหรือที่เราเรียกว่า การ ถ่ายภาพโฆษณา เป็นการสื่อสารกับผู้บริโภคหรือมี ความหมายผ่านสัญลักษณ์ต่างๆ

*นักศึกษำหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร สำขำวิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


134

ทำไมภำพถ่ำยถึงสื่อควำมหมำยได้ด้วยตัวมันเอง โดยไร้ตัวหนังสือ? ศิลปะในการถ่ายภาพประกอบด้วยศิลปะ ในการมองภาพองค์ประกอบศิลป์ และการมองหา และสร้ างภาพ ซึ่งเป็ นศิล ปะในการมองภาพเป็น การเอาชนะความคิดล่วงหน้า เพื่อเปิดช่องทางให้ ช่ า งภาพมี พื้ น ที่ ก ารสื่ อ สารภาพที่ มี ค วามคิ ด สร้างสรรค์ อย่างไรก็ตามสิ่งที่ท้าทายช่างภาพ คือ การถ่ า ยภ าพวั ต ถุ ที่ ธ รรมดาให้ ไ ม่ ธ รรมดา นอกจากนี้องค์ประกอบศิลป์ประกอบด้วย น้าหนัก (ในที่นี้ได้แก่ โทนขาวดา พื้นผิ ว สี ขนาด รูปร่าง และความสว่าง) และทาให้ ความเปรี ยบต่างของ วัตถุอยู่ด้วยกันได้ เช่น ความหยาบอยู่ร่วมกับเรียบ ความสว่างอยู่ร่วมความมืด เส้นตรงอยู่ร่วมกับเส้น โค้ง และสิ่งเล็กๆอยู่ร่วมกับสิ่งที่ใหญ่ๆ เป็นต้น การถ่า ยภาพสื่ อสารได้ ดี ต้องมีก ารมอง ภาพและการสร้างภาพที่สร้างสรรค์ เริ่ มจากการ ค้น ภาพ ซึ่ งเป็ น การฝึ กการมองภาพให้ มี จ านวน มาก พร้อมกับทาลายแนวคิดล่วงหน้า และเน้นให้ รับรู้และรู้สึกต่อภาพที่มองเห็นในขณะนั้น อันจะ ท าให้ ภ าพถ่ า ยมี ชี วิ ต สามารถเล่ า เรื่ อ งราว ถ่ า ยทอดอารมณ์ ใ ห้ กั บ ผู้ ที่ ไ ด้ ม องเห็ น ว่ า ภาพนี้ ต้องการจะสื่ออะไรกับผู้ที่มองเห็น เมื่อเรากาลังลั่น ชัต เตอร์ ไม่ ค วรหลี ก เลี่ ย งจากความรู้ สึ ก อื่ นๆ ที่ เกิดขึ้น แต่ควรมีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อภาพที่มองเห็น นอกจากนี้อาจสร้างสรรค์ภ าพจากการมองเพียง บางส่วนหรือการมองทั้งหมด การมองในบริบทที่ เกี่ยวข้อง และการหาความสั มพัน ธ์ ที่แปลก เพื่อ สื่อสารความรู้สึกจินตนาการของผู้ถ่ายภาพออกมา กับภาพถ่ายนั้นๆ ทาให้ภาพถ่ายน่าสนใจมากขึ้น

กำรมองเพื่อกำรสร้ำงภำพถ่ำย ทำได้อย่ำงไร? “ยิ่งคุณ มองมากเท่า ไร คุณ ก็จะค้น พบ ภาพมากขึ้นเท่านั้น” จากคากล่าวข้างต้น เป็นการให้แนวคิดแก่ ช่างภาพว่า ควรหมั่นมองภาพเพื่อสร้างภาพถ่าย เพราะวิวหนึ่งๆ มีมุมมองหลายมุม เช่น ด้านขวา ซ้าย บน ล่าง หรือเวลาที่แตกต่างกัน ซึ่งมีผลทาให้ เกิดอารมณ์ของภาพต่างกัน ดังนั้นผู้ ที่ฝึ กจะเป็น ช่างภาพควรตระหนักไว้เสมอว่า การมองวิวสักที่ หนึ่ง ควรมองหลายๆมุมมอง เพราะการที่เรามอง อยู่มุมเดียว เราอาจพลาดโอกาสที่จะมองภาพดีๆ อีกมาก นอกจากนี้การฝึกการพัฒนาการมองและ การกลั่ น กรองภาพ ยั ง มี ป ระโยชน์ ต่ อ การรั บ รู้ เกี่ยวกับภาพมากขึ้น อันจะส่งผลต่อการถ่ายภาพที่ ได้จานวนภาพที่มากขึ้นด้วย การฝึกการมองภาพหากมองตามสิ่งที่คิด ไว้ล่วงหน้าหรือสิ่งที่เคยจดจาในอดีต จะเป็นการ บั่นทอนความคิดสร้างสรรค์ในการถ่ายภาพ

ภำพที่ 1.1 การมองเพื่อการสร้างภาพถ่าย เช่ น ภาพของต้ น ไม้ ก้ อ นหิ น รถยนต์ ตึ ก ไว้ ล่วงหน้า ด้วยการหลีกเลี่ยงการมองวัตถุเพียงโดดๆ หากแต่มองให้หาความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกับสิ่ง รอบข้างด้วย เช่น ต้นไม้กับทะเล ก้อนหินกับน้าตก


135

รถยนต์กับถนนหรือบรรยากาศแถวนั้น การฝึกการ มองเช่ น นี้ เ ป็ น การเพิ่ ม ความหลากหลายของ มุมมองมากขึ้นทาให้เราได้รับรางวัลชีวิต จากการๆ ได้ชื่นชมกับสิ่งรอบข้างที่มีความสวยงามมากกว่า แต่ก่อนที่เคยมองผ่านๆ เท่านั้น ภำพถ่ำยกับSocial Media เกี่ยวข้องกันได้ อย่ำงไร? ปั จ จุ บั น สื่ อ ออนไลน์ ใ นสั ง คมมี ม ากมาย เพราะเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารได้ พั ฒ นาขึ้ น ท าให้ สามารถติ ด ต่อ สื่ อสารได้ร วดเร็ ว สะดวกขึ้ น เช่ น facebook , twitter , Instagram เป็นต้น

ก็ยังมีมากมายตามโลก Social เช่น การถ่ายภาพ แล้วลงFacebook , Instagram เพื่อแสดงให้ผู้อื่น รู้ว่าตนเองทาอะไร ที่ไหน อย่างไร นักพัฒนาเว็บ ไซด์ ต่ า งๆก็ ไ ด้ น ารู ป ภาพมาใช้ ใ นเว็ บ บอร์ ด ของ ตนเองเพื่อทาให้เนื้อหาน่าสนใจขึ้น แต่ที่เราสังเกต ได้ชัดเจน ปัจจุบันภาพถ่ายถือว่าสาคัญในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นรูปถ่ายสินค้าออนไลน์ รูปภาพโฆษณา สิ นค้ าต่ างๆ รู ปถ่า ยที่ ให้ ข้ อคิ ด สอดแทรกค าคม เพื่อเจตนาไว้ให้ผู้พบเห็นสามารถเข้าใจไว้ เตือนสติ หรือ เพราะรูปภาพสามารถเข้าใจได้ง่ายกว่าเนื้อหา สะดุดตา และเป็นที่น่าสนใจ

ภำพที่1.3 ภาพคติคาสอนในสื่อ Social Media

ภำพที่ 1.2 สื่อ Social Media ข่ า วสารจึ ง มี ทั้ ง จริ ง และไม่ จ ริ ง ปะปนกั น ออกไป ข่าวสารที่เราเห็นในสื่อออนไลน์ต่างๆ ก็มีทั้งข่าว ที่มาจากเว็บต่างๆกระทู้ที่เกิดจากการเข้าไปแสดงก ความคิดเห็น เช่น กระทู้ในพันทิป นอกจากนี้ที่เรา เห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจนคื อ รู ป ภาพต่ า งๆที่ อ ยู่ ใ นสื่ อ ออนไลน์ แ ต่ ล ะประเภท ภาพในแต่ ล ะภาพนั้ น ก็ เพราะประกอบกับเนื้อหาให้ดูชัดเจนและทาให้ผู้ที่ พบเห็นเข้าใจเนื้อหาได้มากขึ้น นอกจากนี้ภาพถ่าย

ภำพถ่ำยเกี่ยวข้องกับกำรเกษตรได้อย่ำงไร? การถ่ า ยภาพนั้ น มี ห ลายประเภท เช่ น ก า ร ถ่ า ย ภ า พ ส า ร ค ดี ก า ร ถ่ า ย ภ า พ เ พื่ อ ประชาสัมพันธ์ การถ่ายภาพโฆษณา การถ่ายภาพ แฟชั่ น การถ่ า ยภาพเสนอข้ อเท็ จ จริ ง และการ ถ่ายภาพในเชิงเกษตร การถ่ายภาพในทุกแขนง ทุกประเภท นั้น เน้ น การสื่ อ สารที่ ผ่ า นอารมณ์ ส ามารถเข้ า ใจใน เจตนารมณ์ของผู้ที่ถ่ายภาพ การเกษตรก็เช่นกัน ปั จ จุ บั น การเกษตรเริ่ ม มี ก ารพั ฒ นายิ่ ง ขึ้ น จึ ง


136

จ าเป็ น ต้ อ งมี เ ทคโนโลยี เ ข้ า มามี บ ทบาทในเชิ ง เกษตร ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจเกษตร หรือการทดลอง ในด้านการพัฒ นา ภาพถ่ายจึ งเป็ น สื่ อที่ ส ามารถ ส่งผ่านความรู้สึกไปยังเกษตรหรือผู้พบเห็นได้ง่าย มากขึ้ น เช่ น การถ่ า ยภาพวิ ถี ชี วิ ต เพื่ อ สะท้ อ น อารมณ์ถึงในอาชีพการเกษตร การถ่ายภาพแสดง ถึงปัญหาในการประกอบอาชีพ อุทุกภัยต่างๆที่เกิด จากธรรมชาติ และวิวทิวทัศน์ต่างๆ น อ ก จ า ก ภ า พ ใ น ลั ก ษ ณ ะ แ บ บ นี้ การเกษตรยั งอาศัย กล้ องในการศึกษาหาความรู้ เพื่อถ่ายภาพเพื่อใช้ในการศึกษาไม่ว่าจะเป็นเซลล์ พืชหรือลักษณะการประกอบอาชีพ ภาพถ่ายจึงถือ ว่าเป็นศาสตร์ที่มีบทบาทในทุกด้านและทุกแขนง แล้วแต่การนาไปใช้ กำรสื่อควำมหมำยผ่ำนภำพถ่ำยทำงกำรเกษตร? คุณรู้หรือไม่ว่า การถ่ายภาพในแต่ละครั้ง จ าเป็ น ต้ อ งมี แ ต่ ค รี เ อทภาพออกมาก่ อ น เพื่ อ ก าหนดแนวทางให้ ภ าพที่ เ ราต้ อ งการสื่ อ สารไป ในทางที่เราก าหนดไว้ เพื่ อให้ ภ าพสามารถแทน สัญญาณต่างๆ เพื่อสื่อความหมาย โดยหลักๆจะมี การวิเคราะห์ภาพดังนี้ รู ป แ บบ เป็ น วิ ธี ก ารสร้ า งภาพ ทาง การเกษตรขึ้ น มาจะต้ อ งประกอบด้ ว ยต าแหน่ ง กล้ อ งหรื อ ตาแหน่ ง ที่ แ สดงความสั มพั น ธ์ ของหั ว เรื่องกับภาพเพื่อบรรจุอยู่ในภาพ เนือหำ ในการสื่อความหมายภาพเราต้อง ตั้งข้อสั น นิ ษฐานไว้ก่อนว่า ทุกสิ่ งในกรอบภาพมี ความหมายในตัวมันเอง เช่น

1. ประธำนภำพ ควรสั ง เกตว่ า บุ ค คลที่ เป็นเกษตรกรในภาพกาลังทาอะไรอยู่ เช่น ชาวนา กาลั งดานา คนงานกาลั งแบกอ้อย ควรสั งเกตใน ครบทุ ก อากั ป กิ ริ ย า เพื่ อ ความเข้ า ใจต่ อ การสื่ อ ความหมาย 2. แสง คื อ ต้ น ก าเนิ ด แห่ ง การถ่ า ยภาพ เป็นปัจจัยสาคัญของการถ่ายภาพ ถ้าไม่มีแสงนัก ถ่ายภาพก็ไม่สามารถถ่ายภาพได้ เราจัดแสงหรือ อาจดูแสงให้เข้ากับการถ่ายภาพด้วย เช่น ควบคุม ปริมานแสงโดยการเลื อ กถ่า ยภาพในเวลาที่แสง พอดี เพื่อให้ ถ่ายภาพออกมาให้สวย ไม่มีแสงมาก เกินไป แสงอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ แสงที่ เกิดจากธรรมชาติ เช่น แสงจากพระอาทิตย์ หรือ แสงดวงจันทร์ กับแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แสง จากไฟฟ้า แสงจากเทียน แสงจากตะเกียง 3. กำรจัดฉำก สามารถอธิบายได้ด้วยตัว มันเอง การจัดฉากแบ่งเป็นการจัดฉากหน้า และ ฉากหลัง ภาพที่เกี่ยวกับการเกษตรนั้นอาจไม่ต้อง จัดฉากอะไรมาก เพราะบางครั้งประธานในภาพ สามารถสื่อความหมายได้ด้วยตัวมันเอง อาจมี BG ที่ประกอบเพื่อให้ภาพดูครบสมบูรณ์มากขึ้น เช่น ท้องฟ้า กระท่อมปลายนา ควาย เป็นต้น กำรใช้สีของภำพ สีถือว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่ สาคัญรองจากแสงเลยก็ว่าได้ สีที่เรามองเห็นอยู่มี สองประเภท คือ สีที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ และ สีที่ มนุษย์สร้างขึ้น การใช้โทนสีต่างๆ ภายในภาพก็สามารถ สื่อความหมายที่แตกต่างกัน สีโทนร้อนบ่งบอกถึง ความตื่นเต้น ก่อให้เกิดพลั ง ในขณะที่สี โ ทนเย็น เป็นการสื่อถึงความเร้นลับ เงียบขรึม เมื่อนาโทนสี


137

สองอันนี้มารวมในภาพเดียวกันหรือใช้ตัดสีกันเป็น การสื่อถึงความสนุกสนาน ตื่นเต้น ชวนมอง ต่าง จากสีโทนเดียวให้อารมณ์ที่ลึกซึ้งมากกว่า ถ้าเป็ น ภาพที่เกี่ย วกับ เนื้ อหาการเกษตร อาจใช้โทนสีออกแนวโทนเย็นก็จะให้รู้ถึงความสงบ ร่มรื่นของธรรมชาติ แต่ก็อาจไม่จาเป็นต้องเป็นสี โทนเดียวก็ได้ อาจใช้สีที่ตัดกันของแต่ละวัตถุ เช่น ต้นไม้ ก้อนหิน แม่น้า หรือ แม้กระทั่งการแต่งกาย ของประธานภาพ เพื่อให้ภาพที่ดีที่สุด

บทสรุป การถ่ า ยภาพเป็ น การปฏิ บั ติ การอย่ า ง หนึ่งของมนุษย์ ที่กล่าวไว้ว่ากล้ องถ่ายภาพทาให้ เราได้สังเกตและมีความสุขกับโลกของเรามากขึ้น ดังนั้นการถ่ายภาพเป็นการเพิ่มความสนุกให้ชีวิต ด้วยการชื่นชมความงามบนโลกเรา ภาพทุกภาพมี ชีวิต มีเรื่องราว การถ่ายภาพเป็นการเปิดโอกาสให้ มนุษย์รู้จักมองสิ่งต่างๆรอบตัวมากขึ้น แม้ว่าจะได้ ภาพที่ ไ ม่ ส วยเด่ น มากนั ก แต่ ก็ ส ามารถบอก ความหมายและคุณค่าได้ในตัวของมันเอง ขึ้นอยู่ กับว่าเราต้องการที่จะสร้างสรรค์ภาพออกมาแบบ ไหน ต้องการที่จะสื่ออะไรให้กับผู้รับสาร บรรณำนุกรม

ภำพที่ 1.4 การถ่ายภาพเชิงเกษตร

กนกรั ต น์ ยศไกร. 2550. การถ่า ยภาพเพื่ อ การสื่ อ สาร. กรุ ง เทพฯ: ทริ ป เพิ้ ล เอ็ดดูเคชั่น. อานวยพร บุญจารัส . 2538. ศิลปะแห่งการ ถ่ายภาพ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2553. Photo&Life. 100 เ ท ค นิ ค ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ภ า พ . ก รุ ง เ ท พ ฯ : Photo&Life House. ศรชั ย บุต รแก้ ว . 2556. การพั ฒ นารู ป แบบ การคิดในการออกแบบภาพเพื่อสื่ อ ความหมาย. กรุ ง เทพฯ: สาขาวิ ช า เ ท ค โ น โ ล ยี เ ท ค นิ ค ศึ ก ษ า มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอม เกล้าพระนครเหนือ.


พัชรินทร์ รอดแตง13854040770

การถ่ายภาพเพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร บทนา การท่องเที่ยวในประเทศไทยปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ การท่องเที่ยวใน แหล่ งวัฒ นธรรม และการท่องเที่ย วตามความสนใจพิเศษ ซึ่งการท่องเที่ยวในแหล่ งธรรมชาตินั้นมีการท่องเที่ยวที่ น่าสนใจอีกรูปแบบหนึ่งประกอบอยู่ด้วย ซึ่งก็คือ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร แต่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้นยังไม่เป็นที่ แพร่หลายมากนักในหมู่นักท่องเที่ยว จึงต้องมีการจัดการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรในประเทศไทยมากขึ้น เพราะเป็ น การท่องเที่ย วภายในประเทศไทย ทารายได้ให้ แก่เกษตรกรเพื่ อนาไปหมุนเวียนในการประกอบอาชี พ เกษตรกรรม รวมถึงเป็นการช่วยฟื้นฟูและอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยให้มีอยู่ไปถึงเยาวชนรุ่นหลังต่อไป ทั้งนี้หากต้องการให้การประชาสัมพันธ์เกิดประสิทธิสูงสุด จึงต้องใช้สื่อการประชาสัมพันธ์หลายรูปแบบ เพื่อให้เกิดการ กระจายข่าวสารออกไปมากที่สุด และสื่อประชาสัมพันธ์ที่ใช้ส่วนใหญ่ต้องมีภาพถ่ายเพื่อใช้ประกอบความเข้าใจของผู้รับ สาร ให้เกิดความเข้าใจที่ดี ดังนั้นจึงต้องเลือกสรรภาพถ่ายที่ดี มีองค์ประกอบภาพที่ชัดเจน สวยงาม เพื่อเป็นสิ่งดึงดูด ความสนใจของนักท่องเที่ยว ดังนั้นในบทความนี้จะกล่าวถึงการถ่ายภาพที่ถูกต้องเพื่อนาไปใช้ในการประชาสัมพันธ์การ ท่องเทีย่ วเชิงเกษตรว่าควรใช้หลักการใด และนาไปประยุกต์ใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์แบบใดได้อีกด้วย

การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวที่นาเอาวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี การประกอบ อาชีพของเกษตรกร ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มาผสมผสาน ด้วยระบบการบริหารการจัดทรัพยากรที่เกิดจากการมีส่วน ร่ว มของชุ ม ชน อั น ก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยองค์ ค วามรู้ ของเกษตรกรน าไปสู่ ก ารถ่ า ยทอด ภูมิ ปั ญ ญา และ เทคโนโลยีการเกษตรแก่นักท่องเที่ยวและผู้สนใจทั่วไป การเดินทางท่องเที่ยวไปยังพื้นที่ชุมชนเกษตรกรรม สวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุ น ไพร ฟาร์ ม ปศุ สั ต ว์ และสั ต ว์ เ ลี้ ย งแหล่ ง เพาะเลี้ ยงสั ต ว์ น้ าต่ า ง ๆ สถานที่ ร าชการ ตลอดจน สถาบั น การศึก ษาที่มีงานวิจั ย และพัฒ นาเทคโนโลยี การผลิ ตทางการเกษตร ที่ทันสมัย เพื่อชื่นชมความสวยงาม ความสาเร็จและเพลิดเพลินในกิจกรรมทางการเกษตรในลักษณะต่าง ๆ ได้ความรู้ ได้ประสบการณ์ใหม่ ๆ บนพื้นฐาน ความรับผิดชอบ และมีจิตสานึกต่อการรักษาสภาพแวดล้อมของสถานที่นั้น ซึ่งการท่องเที่ยวเชิงเกษตรยังเป็นทางเลือก ใหม่ของนักเดินทาง เพราะจะได้ทั้งความสนุกสนาน เพลิดเพลินและ สามารถนาความรู้กลับไปประยุกต์ใช้เพื่อประกอบ อาชีพ ได้ ทาให้ ได้หวนกลับ ไปค้นหาเรียนรู้เข้าใจและมีความภาคภูมิใจ ในอาชีพเกษตรกรรมซึ่งเป็นคุณค่าภายใต้ แนวคิด ปรัชญาองค์ความรู้ภูมิปัญญา ของบรรพบุรุษเกษตรไทย จะได้สัมผัสกับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวชนบท ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมรูปแบบกิจกรรมและการประกอบอาชีพทางการเกษตรที่หลากหลายทั้งวิถีชีวิตแบบ ดั้งเดิม จะถึงการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ามกลางทัศนียภาพธรรมชาติที่สวยงาม อีกทั้งปัจจุบันยังได้รับการส่งเสริมจาก


139

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มากยิ่งขึ้น ได้มีการจัดทาโครงการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอีกครั้ง จากก่อนนี้เคยมีการส่งเสริม พอสมควร แต่ผลที่เป็นรูปธรรมของหน่วยงานดูไม่ชัดเจนนัก แต่สาหรับโครงการล่าสุดเน้นเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยว กับ แหล่ งท่องเที่ย วหลั กต่างๆ ของแต่ล ะจั งหวัดนั้น ที่เป็นแหล่ งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แล้ ว เชื่อมต่อไปยังแหล่ ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อเพิ่มทางเลือกในการสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรอย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นให้มีสิ่งอานวยความ สะดวก ทั้งโครงสร้างพื้นฐานที่จะเป็นองค์ความรู้ การให้บริการ ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร พร้อมจาหน่ายแก่ นักท่องเที่ยวด้วย (เทิดชาย ช่วยบารุง,2553)

หลักการถ่ายภาพเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร การถ่ายภาพเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้น มักเป็นการถ่ายภาพสถานที่ภายในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆเพื่อสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีของสถานที่ท่องเที่ยว และใช้ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว ดังนั้นจึงต้องอาศัยเทคนิคการถ่ายภาพ ทัศนียภาพหรือที่เรียกว่า landscape เข้ามาช่วยเพื่อให้ได้ ภาพที่สวยงาม มีความน่าสนใจ การถ่าย landscape มี หลักการดังนี้คือ (จิรชนม์ ฉ่าแสง, 2556) 1.แสง แสงที่เหมาะสมสาหรับการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์ นอกเหนือช่วงเวลาที่ฟูาเปลี่ยนสี ในยามพระอาทิตย์ขึ้น-ตก ก็คือแสงเฉียง ๆ ของยามเช้า และบ่ายแก่ ๆ ในทิศทางตาม แสง เนื่องจากแสงลักษณะนี้จะทาให้ภาพวิวทิวทัศน์ดูมีมิติ สวยงาม ทาให้ภาพถ่ายที่เป็นสื่อสองมิติอันแบนราบดูมีมิติที่ สามหรือความลึกเกิดขึ้น แก่ผู้ชมภาพได้ การให้เวลากับ สถานที่ก็เป็นสิ่งสาคัญ ทั้งนี้เพื่อที่จะได้สารวจว่าจุดเด่นของ สถานที่นั้นมีจุดเด่นอยู่ตรงไหน

ภาพที่ 1 แสงยามเช้า ที่มา http://www.pixpros.net

แสงเข้าทางด้านไหน และจัดองค์ประกอบอย่างไร ให้ภาพนั้นออกมามีความสวยงาม 2.การปรับค่ากล้อง โดยทั่วไปแล้วการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์ไม่ค่อยมีเทคนิคอะไรที่ซับซ้อน เพียงเน้นให้ภาพมีความคมชัด และสีสันที่ สดใสเป็นหลัก และเป็นภาพในลักษณะที่ต้องการช่วงความชัดค่อนข้างมากเป็นพิเศษ คือมีความชัดตั้งแต่ฉากหน้าไปจน ฉากหลังที่เป็นทิวเขาหรือท้องฟูา ดังนั้นการฝึกการควบคุมช่วงความชัดให้ได้ตามใจต้องการจึงเป็นสิ่งสาคัญ ปัจจัยแรกที่ส่งผลโดยตรงต่อช่วงความชัดก็คือ ช่องรับแสง หรือ เอฟนัมเบอร์ (F-STOP) การใช้ช่องรับแสง กว้าง ระหว่าง f/1.4 – f/4 จะส่งผลให้มีช่วงความชัดเกิดขึ้นน้อยอย่างที่เรียกกันว่า "ชัดตื้น" คือมีความชัดเกิดขึ้นเฉพาะ


140

ในบริเวณจุดโฟกัสเท่านั้น ที่ไกลออกไปก็จะเบลอ ตรงกันข้ามกับการใช้ช่องรับแสงแคบ ตั้งแต่ f/11 ขึ้นไปที่จะส่งผลให้ มีช่วงความชัดเกิดขึ้นมาก อย่างที่เรียกกันว่า "ชัดลึก" ซึ่งเหมาะสาหรับการถ่ายภาพทิวทัศน์มากกว่า ปัจจัยตัวที่สองที่มีผลต่อช่วงความชัดก็คือ ตาแหน่งในการโฟกัสภาพ ลักษณะในการเกิดช่วงความชัดของภาพ จะมีระยะเกิดขึ้นหน้าจุดโฟกัสหนึ่งส่วน และเกิดหลังจุดโฟกัสสองส่วน เป็นอัตราส่วน 1:2 อย่างนี้เสมอ หากทาความ เข้าใจเรื่องนี้ได้ทะลุปรุโปร่งแล้ว จะทาให้เราสามารถสร้างช่วงความชัดที่เพียงพอต่อความต้องการ โดยการใช้เพียงช่อง รับแสงกลาง ๆ เท่านั้น ไม่จาเป็นต้องใช้ช่องรับแสงแคบ ๆ เสมอไป การโฟกัสภาพไปที่ระยะทางหนึ่งในสามของภาพนี้มี ชื่อเรียกว่า "Hyper Focus"

ภาพที่ 2 ตัวอย่างภาพชัดลึก ที่มา http://www.pixpros.net

ภาพที่ 3 ตัวอย่างภาพ Hyper Focus ที่มา http://infos2technos.blogspot.com

3.การใช้อุปกรณ์เสริม การถ่ายภาพ landscape นั้นส่วนใหญ่ต้องการให้ภาพที่ได้เกิดความสวยงามและมีความชัดของภาพมาก จึงมี อุปกรณ์เสริมที่นิยมใช้กัน ดังนี้ -ขาตั้งกล้อง ยังคงเป็นคาตอบสุดท้ายสาหรับนักถ่ายภาพผู้ฝักใฝุในคุณภาพสูงสุดอยู่ดี โดยเฉพาะในสภาพแสง ช่ว งเช้า ๆ หรือเย็ น ๆ ซึ่งมีป ริมาณและความเข้มของแสงน้อย เป็นเรื่องปกติที่จะให้ความไวชัตเตอร์ต่าถึงต่ามาก ประกอบกับที่ต้องใช้ช่องรับแสงแคบ ระบบลดความสั่นไหวในตัวกล้องหรือเลนส์จึงไม่อาจช่วยได้ทุกครั้งไป ขาตั้งกล้อง จึงนับเป็นอุปกรณ์ถ่ายภาพที่ผู้หลงใหลการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์จะ ขาดเสียมิได้ สาหรับขาตั้งกล้องที่ดีในการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์ คือขาตั้งกล้องขนาดใหญ่และมีน้าหนักค่อนข้างมาก ขาตั้ง ขนาดใหญ่และหนักจะทาให้กล้องมีความมั่นคงและนิ่ งสนิทจริง แม้เมื่อมีลมปะทะ แม้ในยามที่ต้องตั้งกล้องไว้กลางลา ธาร หรือแม้ต้องปักรับรับแรงกระแทกของคลื่นลมริมหาดทราย -ฟิลเตอร์โพลาไรซ์ (Polarizing Filter) หน้าที่หลักของฟิลเตอร์ชนิดนี้คือ การตัดแสงโพลาไรซ์ หรือก็คือ แสง สะท้อนสีขาว ๆ ที่เกิดบนวัตถุที่มีผิวเรียบหรือมันวาว เช่น ผิวน้า ใบไม้ที่มีความมัน กระจก ฯลฯ โดยสวมฟิลเตอร์ โพลาไรซ์ไว้หน้าเลนส์ หมุนหาตาแหน่งที่จะตัดแสงสะท้อนออกไปในปริมาณที่พอใจ ซึ่งผลของการใช้ฟิลเตอร์ชนิดนี้ สามารถสังเกตได้ทันทีจากในช่องเล็งภาพ จึงเป็นเรื่องง่ายในการใช้งานและประหยัดเวลากว่าการมาแก้ไขในภายหลัง


141

ภาพที่ 4 ภาพตัวอย่างการใช้ ฟิลเตอร์โพลาไรซ์ ที่มา http://archiwum.allegro.pl/

รูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์ที่ใช้ในการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร สื่อประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้น มีความสาคัญมากเพราะปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอยู่ ในช่วงที่มีการส่งเสริม จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้กลับมามีความนิยมอีกครั้ง การกระจายข่าวสารให้เกิดความ ทั่วถึงจึงต้องใช้การประชาสัมพันธ์เข้ามาช่วยเพื่อให้กลุ่มเปูาหมายเกิดความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน สื่อประชาสัมพันธ์แต่ ละรูปแบบจึงต้องใช้ภาพถ่ายของสถานที่ท่องเที่ยวเป็นหลัก เพื่อใช้ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจ การ นาภาพถ่ายไปประยุกต์ใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ แบ่งได้ดังนี้ 1)

สื่อสิ่งพิมพ์ (โปสเตอร์ แผ่นพับ โบรชัวร์) สื่อที่ผลิตขึ้นโดยนาเสนอสาระข่าว ความบันเทิง ที่มีรูปแบบ การนาเสนอ ที่โดดเด่น สะดุดตา และสร้างความสนใจให้กับผู้อ่าน

ภาพที่ 5 ตัวอย่างสื่อสิ่งพิมพ์ ปูายบิลบอร์ด, โปสเตอร์ ที่มา http://www.eugenegoesthailand.com

จากภาพตัวอย่างปูายบิลบอร์ด คือภาพที่ถ่ายมุมกว้างเพื่อให้เห็นบรรยากาศของตลาดน้าได้อย่างชัดเจนและทา ให้ภาพดูมีมิติมากขึ้น มีการเน้นส่วนของพื้นน้าเป็นส่วนมากเพื่อใช้สาหรับจัดวางข้อความ ส่วนโปสเตอร์วังน้าเขียวใช้ ภาพสวนดอกไม้ที่จัดแสดงเป็นรูปผีเสื้อ เพื่อสื่อถึงความสดใส มีชีวิ ตชีวา และมีการเว้นส่วนของพื้นท้องฟูา เพื่อใช้ สาหรับจัดวางข้อความ ทาให้อ่านง่ายสบายตา 2) สื่อออนไลน์ การนาภาพถ่ายไปประกอบประชาสัมพันธ์ผ่านโลกออนไลน์เพราะในปัจจุบันอินเตอร์เน็ตมี บทบาทส าคัญกับ ประชาชนเป็ น อย่ างมาก จึ งเป็นอี กช่องทางที่ทาให้ การประชาสั มพันธ์ เกิดขึ้น อย่างรวดเร็ว และ กว้างขวาง


142

ที่มา http://www.jimthompsonfarm.com ภาพที่ 6 เว็บไซต์ จิม ทอมป์สัน ฟาร์ม

จากภาพตัวอย่าง คือ จิม ทอมป์สัน ฟาร์ม ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ตั้งอยู่ในอาเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชสีมา มีความเป็นธรรมชาติและบรรยากาศที่สวยงาม มีแหล่งเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการเกษตรของเกษตร มี กิจกรรมต่างๆให้นักท่องเที่ยวได้ร่วมสนุกและรวมถึงการเลือกซื้อผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ ซึ่งทาง จิม ทอมป์สัน ฟาร์ม ก็ได้ใช้การประชาสัมพันธ์หลากหลายช่องทางเพื่อให้นักท่องเที่ ยวเกิดความสนใจในสถานที่และอยาก เดินทางมาเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นการใช้สื่อโปสเตอร์ ปูายโฆษณา และหลักๆคือเว็บไซต์ ซึ่ งทาง จิม ทอมป์สัน ฟาร์ม ใช้ ภาพถ่ายจากสถานที่จ ริ ง บรรยากาศ และภาพการทากิจกรรมของนักท่องเที่ยวมาโพสต์ล งในเว็บไซต์ ซึ่งเป็นการ ประชาสัมพันธ์ที่ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้ดี จึงทาให้ จิม ทอมป์สัน ฟาร์ม เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มี ชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวในหมู่มาก

สรุป การนาภาพถ่ายมาประยุกต์ใช้เป็น สื่อประชาสัมพันธ์มีข้อดี คือ ทาให้ช่วยดึงดูด ความสนใจของนักท่องเที่ยว เมื่อนักท่องเที่ยวได้เห็นภาพที่ถ่ายจากสถานที่จริงจะเกิดความสนใจและอยากเดินทางไปท่องเที่ยวมากกว่าการเห็นเพียง คาบรรยายที่เป็นลายลักษณ์อักษรเพียงอย่างเดียว สื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรแต่ละรูปแบบจึงต้องมีการ เพิ่มรูปภาพลงไปเพื่อดึงดูดความสนใจและทาให้สื่อสามารถอธิบายความหมายได้เป็นรูปธรรมมากขึ้น เพราะภาพถ่าย นั้นไม่ว่าจะเป็นภาพถ่ายชนิดใดก็ตาม เช่น ภาพถ่ายใกล้ ภาพทิวทัศน์ ภาพผลผลิตทางการเกษตร และภาพลักษณะอื่น ๆ อีกหลายรูปแบบ ไม่มีข้อกาหนดตายตัว ซึ่งเกี่ยวข้องทั้ง คน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ไม่ได้จากัดขอบเขตในการ นาไปใช้งาน จึงสามารถนาภาพถ่ายและเทคนิคต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อีก แต่การ ใช้ภาพถ่ายมาเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ก็มีข้อจากัด เช่น การตกแต่งภาพจนเกินจริง ภาพถ่ายไม่เป็นปัจจุบัน และภาพถ่าย กับสถานที่จริงเป็นคนละสถานที่กัน ก็จะทาให้นักท่องเที่ยวเกิดทัศนคติในแง่ลบกับสถานที่ท่องเที่ยวนั้นๆ จนเกิดกระแส การบอกต่อ ซึ่งอาจส่งผลเสียกับทางสถานที่ท่องเที่ยวทาให้ไม่มีนักท่องเที่ยวเดินทางไปเที่ยวได้เช่นกัน


143

บรรณานุกรม กนกรัตน์ ยศไกร. 2550. การถ่ายภาพเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น. จิรชนม์ ฉ่าแสง. 2556. การถ่ายภาพเบื้องต้น. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://where-photo.blogspot.com/ (20 พฤศจิกายน 2557) เทิดชาย ช่วยบารุง. 2553. การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุราษฎร์ธานี : การวิจัยฐานทรัพยากรเกษตรสู่การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. เสรี วงษ์มณฑา. 2544. เกษตรท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: หจก.เอ็ม ไอ ที พริ้นติ้ง.


144

ละครโทรทัศน์สะท้อนวิถีเกษตรกรรม ลัดดาวรรณ สุขแก้ว 54040779 บนโลกที่มีผู้คนเพิ่มจานวนขึ้นอย่างมากมาย ความแตกต่างทางความคิดและความเป็นอยู่ย่อมสูงขึ้น เพื่อให้เกิดการดารงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขและเรียบร้อยนั้น ผู้คนจึงต้องอาศัยการสื่อสารทั้งภายในสังคมที่ ตนเองอยู่ และการเปิดรับข้อมูลข่าวสารจากสังคมภายนอก การสื่อสารจึงเป็นสิ่งจาเป็นต่อการดารงชีวิตและ การอยูรอดของสังคม ตลอดจนเป็นปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงสังคมในด้านต่างๆ สังคมไทยกาลังก้าวเข้าสู่ยุคสังคมแห่งการสื่อสาร บนพื้นฐานของอิเล็กทรอนิกส์ที่เจริญก้าวหน้า ผลักดัน ให้กลายเป็นสิ่งสาคัญในสังคม พลังของการสื่อสารมีมากมายจนสามารถทาลายเส้นแบ่งเขตแดนทางด้าน เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ตลอดจนวิถีชีวิต ทาให้ผู้คนในสังคมเกิดความเข้าใจและรับรู้สารที่ส่งไปในมาตรฐาน เดียวกัน ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถส่งข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในด้านต่า งๆทั่วโลกอย่างไร้พรหมแดน เห็นได้ชัดว่าการพัฒนาสังคมในยุคแห่งการสื่อสารนั้นมีความเจริญที่รวดเร็วและมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างไม่มี ที่สิ้นสุด สื่อมีความสาคัญกับสังคมอย่างไร? “สื่อ” ถือเป็นกระจกสะท้อนสภาพของสังคม เปรียบเสมือนเครื่องมือที่มีบทบาทสาคัญต่ อการสร้างค่านิยม

เจตคติ การรับรู้ของประชาชนในสังคม และมียังผลต่อการสร้างภาพลักษณ์ของประเทศชาติ สื่อนาเสนอข้อมูล ข่ า วสารออกมาในลั ก ษณะใด สภาพสั ง คมย่ อ มแสดงออกมาในลั ก ษณะนั้ น เช่ น กั น ยกตั ว อย่ า งเช่ น ถ้ า ประเทศไทยมีการใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงาม เผยแพร่ ออกสู่สายตาชาวโลกในรูปแบบของสื่อ ก็จะนาไปสู่การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศไทยในสายตาของคน ต่างชาติ(สร อักษรสกุล, 2555) ในปัจจุบันสื่อที่มีการขยายตัวอย่างกว้างขวาง และเข้าถึงผู้รับสื่อได้มากที่สุดคือ “สื่อโทรทัศน์” เนื่องจาก สามารถเข้าถึงผู้คนทุกเพศทุกวัยทุกสถานที่ทุกเวลาอย่างไม่จากัดมากกว่าสื่อทุกชนิด เป็นสื่อสาธารณะที่ จาเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม สื่อโทรทัศน์มิได้เป็นไปเพื่อความบันเทิงภายในบ้านเท่านั้น แต่เราต้อง ตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อผู้ชมโดยเฉพาะเด็กๆ จาเป็น ที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับสื่อโทรทัศน์ ไม่ว่าจะเป็น หน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้อง ภาคธุรกิจในแวดวงโทรทัศน์ (ผู้ผลิตรายการ สถานี สปอนเซอร์ ) รวมไปถึง ผู้บริโภคสื่อคือ พ่อแม่ผู้ปกครองต้องเข้ามามีส่วนในการพิจารณาควบคุมดูแลรายการโทรทัศน์ให้มีเนื้อหา


145

ที่เหมาะสมกับเด็กและร่วมกันหาแนวทางในการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ดีๆมีประโยชน์สาหรับเด็ก ก็จะเป็น การเลือกใช้ประโยชน์จากสื่อโทรทัศน์อย่างชาญฉลาด สถานการณ์สื่อโทรทัศน์ในสังคมปัจจุบัน บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ (2552) ได้ศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับชมโทรทัศน์และความต้องการของเด็กที่มี ต่อรายการโทรทัศน์ ผลปรากฏว่าคนไทยดูโทรทัศน์โดยเฉลี่ยแล้วมากกว่าวันละ 3-4 ชั่วโมง ซึ่งแน่นอนว่า อิทธิพลที่มาพร้อมกับสื่อโทรทัศน์ย่อมมีผลต่อความคิดต่างๆ ของประชาชนคนไทยมากที่สุด โดยเฉพาะเด็กและ เยาวชน ซึ่งใช้เวลาในการดูโทรทัศน์มากกว่าทุกวัย สื่อโทรทัศน์มีอิทธิพลและเกี่ยวข้อ งกับเด็ก โดยเฉพาะตั้งแต่วัย เด็กจนถึงเยาวชน ดังนั้น การร่วมกัน “สร้าง” และ “ปั้น” ให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณค่า จึงหมายรวมถึงการร่วมกันดูแลสื่อโทรทัศน์ให้เป็นสื่อสีขาว ที่เด็กๆเข้าถึงได้อย่างบริสุทธิ์ สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆอย่างสร้างสรรค์ นอกจากนี้ยังมีการจัดทาโครงการเพื่อเด็กไทย ใส่ใจสื่อ (Child’s Media Monitor) ขึ้น เพื่อร่วมเฝ้าระวัง รายการโทรทัศน์สาหรับเด็ก และโฆษณาในรายการโทรทัศน์สาหรับเด็กว่ามีเนื้อหาที่เหมาะสมกับเด็กหรือไม่ เพียงใด เพื่อนาไปสู่การให้คาแนะนาที่สร้ างสรรค์กับผู้ผลิตรายการและสถานี อันจะเป็นแนวทางให้เกิดความ ร่วมมือในการสร้างเนื้อหาในรายการโทรทัศน์ที่เป็นประโยชน์ต่อเด็กและเสริมสร้างพัฒนาการที่ดี อันจะนาไปสู่ การพัฒนาเด็กอย่างยั่งยืนต่อไป (บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ, 2552) ละครโทรทัศน์ การสื่อสารที่สามารถแสดงออกทางความคิดเพื่อให้ผู้รับสารได้เข้าใจมากที่สุดคือการแสดงให้เห็นทั้ง ภาพที่เหมือนจริง เสียงที่คมชัด บทบาทของการสื่อสารที่ทาให้ผู้รับสารเกิดการเข้าถึงและปฏิบัติตามได้มาก ที่สุด นั่นก็คือการผลิต “ละครโทรทัศน์ ” ที่จะทาให้ผู้คนหันมาสนใจและจดจาในรายละเอี ยดต่างๆ ทั้งยัง ก่อให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบตามมา ละครโทรทัศน์ที่ผลิตตามกระแสหรือเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม จะเป็นตัวสะท้อนความเป็นอยู่ อีกทั้งยังเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงสภาพสังคมและยังส่งผลต่อพฤติกรรมของ ผู้คนในสังคม หากละครดีสังคมก็จะดีตาม ละครยังสามารถถ่ายทอดหรือบอกเล่าเรื่องราวทางสังคม, วิถีชีวิต ความเป็นอยู่,

ความเชื่อของผู้คนในยุคสมัยต่างๆ,

ประวัติศาสตร์และสภาพแวดล้อมของชาติพันธุ์นั้นๆ

ยกตัวอย่างเช่น ละครเรื่อง สี่แผ่นดินของไทยที่นอกจากจะเล่าชีวิตความเป็นอยู่ของแม่พลอยตัวเอกของเรื่อง แล้วนั้น เนื้อเรื่องยังสะท้อนถึงแนวคิด, ประเพณี, ค่านิยมของชาวไทยในยุคสมัยรัชกาลที่ 4-7 ได้อย่างชัดเจน ละครไม่เพียงแต่จะมีแหล่งกาเนิดมาจากความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์เท่านั้น แต่ละครยังมีอิท ธิพลอย่างมหาศาล ต่อมนุษย์และสังคม


146

ปัจจุบนั ละครโทรทัศน์จะถูกผลิตเพื่อผู้ชมที่เป็นผู้ใหญ่และเน้นความบันเทิง ทั้งยังมีความรุนแรงในเนื้อหา ภาษาและการกระทา ดังนั้นละครโทรทัศน์จึงควรนาเสนอเพื่อเยาวชนด้วย และเสนอเนื้อหาใหม่ๆ เกี่ยวกับ เยาวชน มีนักแสดงและทีมงานที่สร้างสรรค์งานเพื่อเยาวชนรวมถึงเสนอภาพลักษณ์ของตัวละครที่เกี่ยวกับ เยาวชนในละครโทรทัศน์ละครโทรทัศน์เพื่อเยาวชนสามารถพัฒนาสังคมไทย โดยสื่อสารเรื่องของเยาวชนผ่าน สื่อละครในทางบวกให้มาก เพราะการนาเสนอเรื่องที่ดีของเยาวชนผ่านสื่อละครสามารถเป็นแนวทางการ พัฒนาเยาวชน รวมถึงเป็นการพัฒนาสังคมไทยในที่สุด (ยูมาริน, 2556) ละครโทรทัศน์สร้างสรรค์สังคม การผลิ ต ละครโทรทั ศ น์ เ พื่อ สร้ า งสรรค์สั ง คมนั้น ต้ องเริ่ ม ต้น ตั้ ง แต่ ก ระบวนการการเขี ย นบทละคร โทรทัศน์

การสร้างสรรค์บทละครแบบเขียนขึ้นใหม่ มีแรงบันดาลใจจากสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว สภาพสังคม

เหตุการณ์ปัจจุบัน และโจทย์จากทางผู้อานวยการผลิต การดัดแปลงบทประพั นธ์มาเป็นบทละคร ต้องยึด โครงเรื่องและแก่นเรื่องเดิม โดยมีการสร้างเนื้อหาและตัวละครเพิ่มเติมจากบทละครให้เพียงพอกับการนาไป ผลิตกระบวนการเขียนบท ประกอบด้วยการสร้างแรงบันดาลใจ การอ่านบทประพันธ์ การหาข้อมูลเขียน โครงเรื่อง เรื่องย่อแบบละเอียด ลาดับฉาก และบทแสดง (นราพร สังข์ชัย, 2552) ละครโทรทัศน์ที่เราเห็นเป็นส่วนมากในปัจจุบันนั้นค่อนข้างเป็นละครที่ผลิตตามกระแสสังคม ยิ่งใน สังคมมีกระแสในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ผู้คนให้ความสนใจมากๆ ผู้ผลิตละครโทรทัศน์ก็จะนาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น มาผลิตเป็นละคร เพื่อเกาะกระแสตามไปด้วย อีกทั้งยังได้รับผลพลอยได้จากความสนใจของผู้ชม รวมไปถึงการ นาละครโทรทัศน์มาทาใหม่ซ้าแล้วซ้าเล่า เพื่อตอกย้าสิ่งที่ต้องการสื่อสารกับสังคม โดยปรับรูปแบบไปตาม ความเหมาะสมกับยุ คปั จจุ บัน แต่จ ะเห็ นได้ว่ าสิ่ งหนึ่งที่ ไม่ เปลี่ย นแปลงมากนั ก คือ การดารงไว้ ซึ่ ง วิ ถี ชีวิ ต แบบดั้งเดิมของตัวละคร การสร้างสรรค์ผลงานที่จะนาเสนอวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม นั่นก็คือ “วิถีเกษตรกรรม” ซึ่งเป็นละครที่ผลิตขึ้นมาเพื่อสะท้อนให้เห็นการใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ละครโทรทัศน์สะท้อนวิถีเกษตรกรรม เราจะสังเกตได้ว่าละครโทรทัศน์ในปัจจุบันล้วนแล้วแต่จะนาเสนอวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การเป็นอยู่ของตัวละคร พื้นฐานอาชีพของตัวละครที่ล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับการเกษตร ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญของ สังคมไทยมาตั้งแต่อดีต ได้แก่ การทานา การทาสวนทาไร่ รวมไปถึงอาชีพการทาประมง สิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ สอดแทรกอยู่ในเนื้อหาของละครโทรทัศน์ในปัจจุบัน เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีและปลูกฝังวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมให้แก่ เด็กและเยาวชน


147

การให้ความสาคัญกับการแสดงออกถึงค่านิยมที่ดีในยุคก่อนๆ เพื่อสืบสานวิถีชีวิตเกษตรดั้งเดิมนั้น เป็นสิ่งที่ผู้เขียนบทละครโทรทัศน์ในปัจจุบันกาลังให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก และล้วนแล้วแต่เป็นละคร โทรทัศน์ที่ได้รับการการันตีจากผู้ชมว่าเป็นละครสร้างสรรค์สังคม อาทิเช่น ละครเรื่อง “ผู้ใหญ่ลีกับนางมา” ที่มี เนื้อหาเกี่ยวกับการทาการเกษตรแบบพอเพียง จากชายผู้มีใจรักในการทานา และใฝ่รู้ใฝ่เรียนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ของตนเอง และทาหน้าที่เป็นผู้ใหญ่บ้านผู้ถ่ายทอดวิถีเกษตรกรรมแบบพอเพียงให้แก่ชาวบ้านในชุมชน ด้วย เนื้อเรื่องที่มีความเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยวิถีชีวิตของเกษตรกรที่ดี ตระหนักและให้ความสาคัญต่ออาชีพและ ความเป็นอยู่ในสังคม ทาให้ ละครเรื่องนี้ ได้รับการขนานนามว่าเป็นละครที่สะท้อนวิถีชีวิตการเกษตรแบบ พอเพียงออกมาได้ชัดเจน และเป็นที่จดจาของเด็กและเยาวชนได้ดี (ภาพที่ 1)

ภาพที่ 1 ละครเรื่องผู้ใหญ่ลีกับนางมา ที่มา : http://hilight.kapook.com/view/39116 ละครเรื่อง “ในสวนขวัญ” สะท้อนวิถีชีวิตของชายหนุ่มผู้รักอาชีพการทาสวนเป็นชีวิตจิตใจ ถึงแม้จะมี ธุรกิจพันล้านรอคอยอยู่ แต่เขาเลือกที่จะทาธุรกิจการจัดสวน และลงมือปลูกต้นไม้ทุกต้นด้วยมือของเขาเอง ใช้ชีวิตบนความพอเพียง รวมไปถึงตัวละครผู้เป็นย่าที่ใช้คุณธรรมจริยธรรมในการถ่ายทอดบทบาทให้แก่ คน ในสังคมเรื่องการดารงชีวิตแบบเรียบง่าย และอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ใช้ชีวิตแบบชาวบ้านทั่วไป แม้จะอยู่ใน สังคมที่มีการแข่งขันทางธุรกิจที่สูง (ภาพที่ 2)

ภาพที่ 2 ละครเรื่องในสวนขวัญ ที่มา : http://www.showwallpaper.com/search.php?ในสวนขวัญ


148

ละครเรื่อง “กระบือบาล” เรื่องของชายหนุ่มเรียนจบใหม่ที่ยอมทิ้งธุรกิจของตระกูลมาใช้ชีวิตข้าราชการ กรมปศุสัตว์ เน้นหนักเรื่องการอนุรักษ์ควาย มีความผูกพันกับควาย ถึงกระทั่งว่ายอมนาเงินส่วนตัวมาลงกับ โครงการอนุ รัก ษ์ก ระบือ ไม่ เ ว้น แม้ ก ระทั่ง ภารกิ จต่ อต้ านรถไถที่คิ ดจะเข้ ามาแย่ ง อาชีพ ของควาย จนเขา กลายเป็นวีรบุรุษ กระบือบาล หรือผู้อภิบาลควายที่ใครต่อใครต่างชื่นชมในอุดมการณ์การอนุรักษ์ควายของเขา (ภาพที่ 3)

ภาพที่ 3 ละครเรื่องกระบือบาล ที่มา : http://movie.sanook.com/gallery/gallery/31818/124579/ การสร้างสรรค์สังคมในโลกยุคสังคมแห่งการสื่อสารบนพื้นฐานของอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็ว ผู้คนใช้เวลาในการดูละครโทรทัศน์มากกว่าการอ่านหนังสือต่างๆ จะเห็นได้ว่า ปัจจุบันมีการผลิต ละครน้าเน่าที่มีเนื้อหารุนแรง ก่อให้เกิดพฤติกรรมด้านลบแก่ผู้คนในสังคมมากกว่าการผลิตละครน้าดี ที่จะ สะท้อนวิถีเกษตรกรรม เพื่อสร้างสรรค์สังคมที่ดีนั้น สื่อจึงต้องมีบทบาทในการรับผิดชอบต่อสังคม ผู้ผลิตละคร โทรทัศน์จึงควรให้ความสาคัญกับการผลิตละครเพื่อปลูกฝังค่านิยมที่เหมาะสมให้แก่เด็กและเยาวชนของเรา และเพื่อให้คนในสังคมเกิดพฤติกรรมการเลียนแบบในด้านที่ ดีอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตละคร ที่สามารถสะท้อนวิถีชีวิตการเกษตรที่เป็นรากฐานของสังคมไทยมาช้านาน เพื่อสืบสานวิถีชีวิตดั้งเดิม เพื่อให้ เด็กและเยาวชนเติบโตมาพร้อมกับจิตใต้สานึกในการรักความเป็นไทย รักความเป็นเกษตรกรไทย และเพื่อให้ ผู้คนในสังคมได้ตระหนักถึงความสาคัญ ของวิถีชีวิตเกษตรกรรม แม้ว่าโลกของเราจะพัฒ นาได้อย่างรวดเร็ว เพียงใดก็ตาม


149

เอกสารอ้างอิง นราพร สังข์ชัย. บทละครไทยกระบวนการสร้างสรรค์และเทคนิค . วารสารหอการค้าไทย. ปีที่29. ฉบับที่3 : มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย; 2552 บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. 2552. พฤติกรรมการเปิดรับชมโทรทัศน์และความต้องการของเด็กที่มีต่อรายการ โทรทัศน์. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก :

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=556993

(6 พฤศจิกายน 2557) ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก. กันตนา 45 ปี. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์สุดจิตออฟเซต; 2539 ยูมาริน. 2556. ละครไทยชี้นาปัญหาสังคมภายใต้ความรุนแรง. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.aecnews.co.th/interview/read/19 (18 พฤศจิกายน 2557) วรวรรณ จันทร์ภูชงค์. 2551. สื่อโทรทัศน์. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://blog.prachyanun.com/view.php?article_id=225 (18 พฤศจิกายน 2557) สร อักษรสกุล. 2555. สื่อกับบทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคมไทย. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1341539605 (1 พฤศจิกายน 2557) อานาจ เย็นสบาย. ภูมิปัญญาและละครไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒประสานมิตร: กรุงเทพมหานคร; 2544


150

นางสาวศศิธร ผดุงเดช 54040787

บทบาทรายการโทรทัศนสําหรับเด็กกับการสรางจิตสํานึกสาธารณะ บทนํา สื่อมวลชนในยุคปจจุบันนี้ไมวาจะเปนหนังสือพิมพ ภาพยนตร วิทยุโทรทัศนและสื่ออินเตอเน็ตลวน แลวแตมีอิทธิพลในวงกวาง โดยเฉพาะผลกระทบที่เกิดขึ้นแกเยาวชนทั้งการเลียนแบบและสรางคานิยมดาน ความรุนแรงมักจะมีตัวอยางออกมาใหเห็นอยูเสมอ ในขณะเดียวกันก็มีสื่อมวลชนอีกจํานวนหนึ่งที่มีผลงาน สรางสรรค สงเสริมการเรียนรู การมีสวนรวมในสังคมสื่อสารมวลชนจึงถือวามีศักยภาพอยางยิ่งในการสงเสริม จิตสํานึกสาธารณะใหแกเยาวชน รายการโทรทั ศ น สํ า หรั บ เด็ ก เป น รายการโทรทั ศ น ที่ ถู ก ผลิ ต ขึ้ น โดยมี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ให ผู ช ม กลุมเปาหมายที่เปนเด็กไดชม เนื้อหาสาระของรายการมักถูกผลิตใหสอดคลองกับความสนใจของเด็ก โดยมัก ประกอบดวยโดยใหความรู โดยการปลูกฝงทัศนคติ และคานิยมตางๆรวมทั้งการฝกทักษะบางอยาง การให บทเรียนในการดําเนินชีวิตในสังคม รวมไปถึงความบันเทิงในรูปแบบตางๆ ซึ่งในบางครั้งกอสรางจิตสํานึก สาธารณะใหแกเด็ก (มนัสวินี จันทะเลิศ:2548) ในปจจุบันรายการโทรทัศนมักถูกจําแนกเปนประเภทตางๆโดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ซึ่งประเภทรายการที่เหมาะสําหรับเด็กและเยาวชน จะมีสัญลักษณใน 2 ลักษณะคือ ทางซายมือเปนชองสี่เหลี่ยมสีเขียว มีสัญลักษณรูปจิ๊กซอวอยูภายใน ทาง ขวามือมีตัวอักษร ป อีกแถวหนึ่งมีตัวเลขไทย ๓ และเครื่องหมาย +ใชสําหรับ รายการที่ผลิตขึ้นสําหรับเด็กในวัย 3-5 ป

ทางซายมือเปนชองสี่เหลี่ยมสีเขียว มีสัญลักษณรูปเด็กยิ้มอยูภายใน ทาง ขวามือมีตัวอักษร ด อีกแถวหนึ่งมีตัวเลขไทย ๖ และเครื่องหมาย +ใชสําหรับรายการที่ผลิตขึ้นสําหรับเด็กในวัย 6-12 ป

(คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ; 2550)


151

ผลกระทบจากโทรทัศนตอเด็ก มนุษยนั้นยอมเรียนรูการเลียนแบบ เปนขบวนการขั้นพื้นฐานของมนุษยเด็กที่จะเรียนรู กิน เดิน และ ทําตามอยางพอแมกระบวนการนี้จะตอเนื่องไปจนโตในทํานองเดียวกันภาพที่เด็กเห็นจากโทรทัศนลวนมีผลซึม ซับเปนแบบอยางทั้งสิ้น โทรทัศนจะมีผลตอเด็กมาเพียงใดขึ้นอยูกับหลายปจจัย ไดแก ระยะเวลาที่ดู อายุและ พื้นฐานบุคลิกภาพของเด็ก การปลอยใหเด็กดูคนเดียว หรือดูกับผูใหญและพอแมไดพูดคุยอธิบายใหลูกเขาใจ หรือไม มี ห ลากหลายเรื่ องทั้ งสิ่ ง ดี และไม ดี โ ดยในป จ จุบั น มีง านวิจั ย มากมายที่ชี้ ใหเห็ น ผลกระทบจากสื่ อ โทรทัศนที่สงผลทางลบตอเด็กทั้งในดานความรุนแรง ที่มีฉากฆาตกรรมเด็กเด็กที่ดูความรุนแรงในโทรทัศนจะ คิดว าสิ่ งเหล านี้ สามารถทํา รา ยฆ าคนไดจ ริงๆโดยไมผิดอะไร ในดานสิ่งเสพติด โทรทัศนมักฉายภาพดารา นักแสดงที่มีพฤติกรรมการเสพสิ่งเสพติด เชน ดื่มเหลา สูบบุหรี่ ซึ่งเด็กๆจะซึมซับและเลียนแบบถัดมาก็จะมีอีก ดานคือดานโฆษณา การที่สื่อโฆษณาเกินความจริงทําใหเด็กอยากไดของที่ไมจําเปน จิตสํานึกสาธารณะ จิตสํานึกสาธารณะเปนการรูและคํานึงถึงที่เปนสวนรวมรวมกันและผูอื่นที่รวมสัมพันธกันเปนกลุม เดียวกัน การกําหนดกลุมสังคม การกําหนดกลุมสาธารณะดวยเกณฑตางๆ ทําใหเกิดจิตสํานึกในกลุมตางชนิด กั น เช น จิ ต สํ า นึ กทางเชื้ อชาติ หรื อทางชนชั้ น ซึ่งมีส าระเดีย วกัน คือ บุคคลมีความรูสึกคํานึ งถึงจิตสํานึ ก สาธารณะเปนกาวแรก“ความเปนพลเมือง”คุณธรรมของพลเมืองซึ่งเปนหัวใจของการขับเคลื่อนขบวนการ คุณธรรมตองเริ่มจาศรัทธาที่อุทิศตนและเสียสละใหผูอื่นในสังคม บทบาทรายการโทรทัศนสําหรับเด็กกับการสรางจิตสํานึกสาธารณะ ลักษณะเนื้อหารายการโทรทัศนที่สัมพันธกับการสรางจิตสํานึกสาธารณะใหกับเยาวชนสวนใหญ รายการเด็กจะสรางจิตสํานึกสาธารณะใน 2 ประเด็นหลักคือ การสรางสิ่งที่เปนประโยชนกับสาธารณชนโดย เนนความสามัคคีและการใหอภัยกันรวมทั้งชวยเหลือผูที่ออนแอกวาโดยไมหวังผลตอบแทนบทบาทรายการ โทรทัศนในการสรางจิตสํานึกสาธารณะใหแกเยาวชนผูผลิตรายการโทรทัศนสําหรับเด็กเนนบทบาทรายการใน การสอนใหเด็กเรียนรูทักษะชีวิตเปนหลักโดยใหความคิดเห็นวาจิตสํานึกสาธารณะควรถายทอดผานรายการ การตูนและใหเด็กทํากิจกรรมที่ดีตอสังคมทัศนะของเยาวชนเด็กวัยเรียนจะเห็นวา รายการโทรทัศนสําหรับเด็ก สวนใหญจะมีการปลูกฝงใหชวยเหลือผูอื่น แบงปนความรู สวนเด็กวัยรุนเห็นวารายการโทรทัศนสําหรับเด็ก สวนใหญสอนใหเด็กเรียนรูการอยูรวมกัน ชวยเหลือกัน และรูจักการชวยกันแกปญหาเด็กจะมีทัศนะเกี่ยวกับ จิตสํานึกสาธารณะที่หลากหลายขึ้นอยูกับประสบการณของแตละคน (อุษา บิ้กกิ้นส; 2551)


152

รายการโทรทัศนสําหรับเด็กที่สรางจิตสํานึกสาธารณะประเภทการตูนเพื่อศึกษาบทบาทของรายการ โทรทัศนในการสรางจิตสํานึกสาธารณะใหแกเยาวชนซึ่งมีผลงานวิจัยไดเก็บขอมูลในเชิงคุณภาพมีเนื้อหาสาระ ดังนี้ 1.กรณีศึกษา : โดเรมอน

ภาพที่ 1 โดเรมอน (http://lomabin.exteen.com/20140215/entry) เนื้อหาหลักและประเด็นที่นําเสนอ ตอนนี้นําเสนอที่โดเรมอนทําผิดจึงตองเสียของวิเศษใหกับ เพื่อนๆของโนบิตะนั่นคือมิโดราซึ่งเปน ตัวแทนของโดเรมอนสามารถใหของวิเศษแกคนอื่นไดเหมือนโดเรมอน แตเกิดปญหาขึ้นกับเหลามินิโดราใหของ วิเศษแลวสรางปญหาใหกับของตางๆนาๆจนเจาของมินิโดราไบออกจากบานไปแตแลวไปเจอกับเด็กผูหญิงซึ่ง หลงทางกับแมเหลามินิโดรา ชวยกันตามหาแมจนเจอ ซึ่งถือวาเปนการทําประโยชนเหมือนกัน หากใชถูกวิธี ชวยเสริมการคิดและจิตสํานึกสาธารณะ เนื้อเรื่องสามารถชวยใหขอคิดเราควรตองทําอะไรดวยตนเองไมควรพึ่งพาผูอื่นโดยไมจําเปนเกิจินตนา การใหมๆในเรื่องที่ไดชม เชนโดเรมอนนําของวิเศษมาชวยในสถานการณตางๆ ความเหมาะสมของเนื้อหาสําหรับเด็ก เนื้อหาดูแลวเขาใจไดงายและมีความเหมาะสมกับเด็ก


153

2.กรณีศึกษา : รายการทุงแสงตะวัน

ภาพที่ 2 รายการทุงแสงตะวัน (http://pttinternet.pttplc.com/greenglobe/2551/media-02.html) เนื้อหาหลักและประเด็นที่นําเสนอ "ทุงแสงตะวัน" เปนรายการที่บุกเบิกประเด็นสิ่งแวดลอมเพื่อเยาวชนมาตั้งแตปลายป 2534 ในชวงที่ กระแสเรื่องสิ่งแวดลอมกอตัวขึ้นไมนาน โดยมุงเนนใหความรูทั้งเรื่องสิ่งแวดลอมและความบันเทิง ทําใหผูชม กลุมเปาหมายที่เปนเยาวชนสามารถเขาใจเนื้อหาไดงาย 17 ปของการดําเนินงาน "ทุงแสงตะวัน" ไดมีสวนรวม สรางบรรทัดฐานใหมของรายการสําหรับเด็กและเยาวชน มีเนื้อหาสาระสอดคลองกับสถานการณสิ่งแวดลอม ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ชวยเสริมการคิดและจิตสํานึกสาธารณะ ใหความสนใจ เกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติ และใหความสําคัญในการสงเสริม ใหเด็กเยาวชนทั้งใน เมืองและชนบท ไดเรียนรูและสัมผัสธรรมชาติมากขึ้น

ความเหมาะสมของเนื้อหาสําหรับเด็ก


154

มีความเหมาะสมมากและชวยปลูกจําสํานึกไดดี

3 กรณีศึกษา:.โคนัน

ภาพที่ 3 โคนัน (http://pantip.com/topic/30204335) เนื้อหาหลักและประเด็นที่นําเสนอ การตูนญี่ปุนเสนอจบในตอนเปนเรื่องราวที่สืบเสาะหาความจริงในคดีตางๆของโคนันในการคลีคลาย คดีตางๆใหกับทางตํารวจเปนการหาสาเหตุการตายของผูชายคนหนึ่งและโดยการสังเกตหาเหตุผลตางๆและมี ความรอบรูในเรื่องตางๆทําใหสามารถสืบหาคนรายในที่สุด ชวยเสริมการคิดและจิตสํานึกสาธารณะ ชวยใหเด็กๆคิดและเกิดจินตนาการตามประเด็นที่นําเสนอโดยติดตามการแกปมปญหาตาเนื้อเรื่อง และคิดตามวาหากเปนตัวเด็กๆเองจะสามารถแกไขปญหาที่เกิดขึ้นอยางไรและชวยใหเด็กคิดตามการดําเนิน เรื่องวาการหาความจริงวาเปนไดมากนอยเพียงใดทําใหเด็กไดดูเกิดจินตนาการตามที่โคนันไดพูด จากการสืบ หาความจริงในเรื่องและสาเหตุตางๆในคดีนั้นๆ


155

ความเหมาะสมของเนื้อหาสําหรับเด็ก เนื้อหาบางสวนเปนเรื่องที่ใชคําอธิบายยากแกการเขาใจของเด็กวาขั้นตอนการแกไขปมปญหาทํา อยางไร และเปนไปอยางมีขั้นตอน ทําใหอาจไมสามารถเขาใจในประเด็นตางๆทีนําเสนอไดทั้งหมดแตนําเสนอ ไดดีเหมาะสมกับเด็ก

สรุป อยางไรก็ตามจะเห็นไดวา รายการโทรทัศนสําหรับเด็กนั้นยังมีการนําเสนอความรุนแรงโดยเนนฉาก การตอสู ในรูปแบบของการตูนและภาพยนตรการตูน เด็กสามารถเรียนรูพฤติกรรมไดในการสังเกตและชม ภาพยนตรจากโทรทัศน หากผูปกไมครองไมดูแลเอาใจใสใหคําแนะนําในระหวางเด็กชมรายการเด็กอาจคิดวา การแกไขปญหาสังคมนั้นตองใชความรุนแรงและตองทําลายลางกันเทานั้นแตรายการโทรทัศนสําหรับเด็กสวน ใหญจะเนนใหเด็กเรียนรูทักษะชีวิตเปนหลัก โดยมีความรูรอบตัวมีความคิดสรางสรรค ชางสังเกตปลูกฝงใหมี คุณธรรมจริยธรรม ดํารงชีวิตใหเหมาะสมตามชวงวัยและการเรียนรูทั้งในและนอกหองเรียนแตผูปกครองพอ แมควรใหคําแนะนําเด็กอยางถูกวิธีเพราะบางรายการเด็กยังไมสามารถเรียนรูและคิดไดเอง

เอกสารอางอิง อุษา บิ้กกิ้นส. (2551). บทบาทรายการโทรทัศนสําหรับเด็กกับการสรางจิตสํานึกสาธารณะ.กรุงเทพฯ: คณะนิเทศ ศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. ศุภางค จันทวานิช. (2542). สื่อกับเด็กเยาชนประเทศไทย. กรุงเทพฯ :มหาลัยสุโชทัยธรรมาธิราช. นารากร ติยายน. (2556).การวิเคราะหรายการโทรทัศนสําหรับเด็ก.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตยคณะนิเทศ ศาสตร.กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.


156

บทความวิชาการ ขาวบันเทิง “สรางสรรค” หรือ “สรางกระแส” สรรเสริญ กูใหญ บทนํา ปจจุบันสื่อมวลชน เริ่มเขามามีบทบาทในการดําเนินชีวิตของผูคนในสังคมมากขึ้นตามยุคสมัยแหง ขอมูลขาวสาร ทําใหขาวสารกลายเปนตัวแปรที่มีอทิ ธิพลตอมนุษยเปนอยางมาก ทัง้ ในดาน สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ความตองการขาวสารจึงมีเพิ่มมากขึ้นตามภาวการณของประเทศและของโลก ดวย ยุคสมัยนี้เทคโนโลยีทางการสือ่ สารมีความกาวล้ําอยางตอเนือ่ ง สะดวกและรวดเร็ว เปนเครื่องมือทีส่ ําคัญใน การนําขาวสารไปสูประชาชน ผานชองทางการสื่อสารตางๆ อาทิ หนังสือพิมพ โทรทัศน วิทยุ อินเทอรเน็ต เปนตน ซึ่งชองทางเหลานี้ สามารถเขาถึงประชาชนอยางครอบคลุมในทุกพื้นที่ ทําใหขาวสารมีความสําคัญใน ตัวของมันเอง กลายเปนปจจัยที่มนุษยสวนใหญปรารถนาทีจ่ ะบริโภคขาวสารอยางสม่ําเสมอ ความหมายและรูปแบบของขาว ขาว หมายถึง ความเปนจริงทีส่ มบูรณ (Completely true) เปนเรื่องราวหรือเหตุการณทเี่ กิดขึ้นจาก อดีตสูปจ จุบันอยางมีความสัมพันธตอเนื่อง รวมถึงขอคิดเห็นดวย ดังนั้น สิ่งที่ถูกบันทึกในเนื้อขาว ตองเปน ขอเท็จจริงที่ยืนยันไดไมวาอีกกีป่ ขางหนา ดังนั้น ขอเท็จจริงจะเปนเท็จหรือสมมุติขึ้นเองหาไดไม เรื่องราว เหลานั้นบางครั้งอาจสงผลกระทบตอคนหมูมากทั้งระดับทองถิ่น หรือ ระดับประเทศ หรือมลมนุษยในโลก และเมือ่ ปรากฏเปนขาวสารสูสาธารณชน สามารถกอใหเกิดความเขาใจในตัวมันเองได (พิศิษย ชวาลาธวัช ,2543) เนื่องจากขาวแตละประเภทจะมีรปู แบบการสื่อขาวและการเขียนขาวที่เปนลักษณะเฉพาะตัว (ยงยุทธ รักษาศรี,2541) ไดมีการจําแนกขาวตามประเภทเนื้อหาของขาว สามารถแบงไดดังนี้ “ขาวในพระราชสํานัก” เปนขาวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบรมวงศานุวงศ ตามลําดับขั้น “ขาวการเมือง” เปนขาวเกี่ยวกับการบริหารงานของรัฐบาล ขาวเกี่ยวกับพรรคการเมือง ขาวเกี่ยวกับ การปฏิบัตงิ านของหนวยงานรัฐ “ขาวเศรษฐกิจ” เปนขาวเกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ อุตสาหกรรม การเงิน และการธนาคาร การ สงออกสินคา และแรงงาน เปนตน “ขาวการเกษตร” เปนขาวเกี่ยวกับเกษตรกร พืชผักผลไม ราคาสินคา ผลิตผลทางการเกษตร ปริมาณ การขาย วิธีการเกษตรแบบตางๆ เปนตน “ขาวการศึกษา ศิลปะ และวัฒนธรรม” เปนขาวเกี่ยวกับระบบการทํางานและการบริหารงานของ สถานศึกษาในทุกระดับ การรายงานความกาวหนา และความเคลื่อนไหวในวงการศึกษาในทุกๆดาน เปนตน


157

“ขาววิทยาศาสตรและวิจัย” เปนเรือ่ งเกี่ยวกับการคนควาวิจัย การคนพบในศาสตรตางๆ “ขาวสังคมและสตรี” เปนเรื่องราวเกี่ยวของกับตัวบุคคลที่มคี วามเดนและดังในสังคม ซึง่ จะนํามา เขียนในรูของขาวและคอลัมภโดยเฉพาะ “ขาวกีฬา” สวนใหญเปนการรายงานรายละเอียดของเกมการแขงขันกีฬา และผลของการแขงขันกีฬา นานาประเภท “ขาวสิ่งแวดลอม” มักเปนขาวสภาพแวดลอมในปจจุบันและอนาคต นอกจากนี้ยังมีเรื่องของ ทรัพยากรประเภทตางๆ ที่คนพบและนําออกมาใช “ขาวเทคโนโลยี และคอมพิวเตอร” มักเปนขาวเกี่ยวกับการคิดคน พัฒนาความกาวหนาของ เทคโนโลยีดานตางๆ เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร โปรแกรมประยุกต โทรศัพทเคลือ่ นที่ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก อินเทอรเน็ต เปนตน “ขาวบันเทิง” เปนการรายงานขาวในวงการบันเทิง ทั้งในภาพยนตร ดนตรี หนังสือ ศิลปกรรม วิทยุ โทรทัศน วิทยุกระจายเสียง และการละคร เปนตน บทบาทการนําเสนอขาวบันเทิง ซึ่งผูเ ขียนขอหยิบยกประเด็นของการนําเสนอ “ขาวบันเทิง” ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดยมีรูปแบบการ นําเสนอดวยกันอยูส องดาน คือ บทบาทของความสรางสรรค และ บทบาทของการสรางกระแส ซึง่ เกิดเปน กระแสวิพากษวิจารณการทํางานของสื่อมวลชนอยูบอ ยครั้ง เหตุใดถึงนําเสนอแตขาวไมสรางสรรค และเพราะ อะไรขาวที่สรางสรรคกลับไมเปนที่นิยมของคนในสังคม ขาวสรางสรรคกับคนโลกสวย เมื่อพูดถึงขาวบันเทิงที่ดูสรางสรรค จรรโลงสังคม หลายคนก็คงนึกไมออกวา มีรูปแบบการ นําเสนออยางไร และขาวใดบางที่พอจะเปนขาวสรางสรรค หรือสรางประโยชนแกสังคมได ซึ่งความเปนจริง แลว ขาวบันเทิงทีส่ รางสรรค ก็มีใหเห็นแทบทุกวัน แตกลับถูกเรียกรองจากบุคคลบางกลุมในสังคม ให สื่อมวลชนนําเสนอขาวทีส่ รางสรรคบาง แตกลับไมเปนทีส่ นใจของประชาชน เพราะตัวขาวคอนขางเงียบ ไมมี สีสัน เทาขาวจําพวกที่เรียกกันวา “ประเด็นรอน หรือ ประเด็นฉาวโฉ” กลับไดรับความสนใจจากคนในสังคม เปนอยางมาก ขาวบันเทิงที่ดสู รางสรรคสังคมจึงถูกบดบังลงไป โดยรูปแบบขาวบันเทิงทีส่ รางสรรค ก็มกี ารพูด ถึงดวยกันหลายประเด็น ซึ่งแบงออกไดดังนี้ 1) ประเด็นขาวเกี่ยวกับผลงาน ไดแก การกลาวถึงผลงานของดารา ศิลปน นักรอง นักแสดง และประเด็นที่เกี่ยวกับการแกปญ  หาในการทํางานของดารา ศิลปน นักรอง นักแสดง ตลอดจนประเด็นเรื่อง ความใฝฝน ทิศทางในอนาคตของธุรกิจหรือการสรางสรรคผลงาน รวมทัง้ การนําเสนอเกี่ยวกับเทคนิคการผลิต เชน “ทองเนื้อเกา เจง ควารางวัลละครตางประเทศยอดเยี่ยม ดรามา เฟสติวัล อิน โตเกียว 2014” (มติชน ,2557) ซึ่งหลายคนคงรูจ ักละครเรื่องนี้เปนอยางดี ถึงผลงานการแสดง และบทบาทที่สะทอนและใหแงคิดกับ สังคมไทย โดยยังสรางชื่อเสียงใหกับวงการละครของเมืองไทยอีกดวย


158

2) ประเด็นขาวทางธุรกิจอุตสาหกรรมทางศิลปวัฒนธรรม และทางบันเทิง ไดแก การขยาย องคกร การเปดธุรกิจใหม การทําธุรกิจระหวางประเทศดานศิลปวัฒนธรรมและบันเทิง เชน “ตั้งวง ผงาด เขา ฉาย-ชิงรางวัล เทศกาลหนังนานาชาติเบอรลิน” (ไทยรัฐ,2556) ภาพยนตรเรื่อง ตั้งวง อํานวยการสรางโดย สํานักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย ไดรับเลือกใหฉายในเทศกาลภาพยนตรนานาชาติ เบอรลินครั้งที่63 สราง ชื่อเสียงใหกบั วงการภาพยนตรไทยและยังไดเผยแพรวัฒนธรรมของประเทศไทยอีกดวย 3) ประเด็นขาวเกี่ยวกับผลของงานทีม่ ีตอสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางแรงบันดาลใจ หรือการเปนแบบอยางที่ดีใหกบั เด็กและเยาวชน เชน “เอเอฟ8 รวมปลูกจิตสํานึกรักษธรรมชาติ สรางฝาย ชะลอน้ํา” (ไทยรัฐ,2555) ซึ่งการสรางฝายชะลอน้ําตามรอยพอ เปนการปลูกฝงใหเยาวชนรักษธรรมชาติ และ สนใจทํากันเปนแบบอยางตามแบบศิลปนที่ตนชื่นชอบ สรางสรรคไมรุง ขอมุงสรางกระแส ปจจุบันขาวบันเทิง เปนขาวที่มีความตองการของผูบริโภคในสังคมไทยเปนอันดับตนๆก็วาได โดยสังเกตไดจากการเติบโตของสํานักขาวที่เพิ่มมากขึ้น มีการมุงเนนเจาะตลาดขาวบันเทิงโดยเฉพาะในหลายๆ บริษัท อาทิ ทีวีพลู สยามดารา เปนตน ซึ่งหลายบริษทั ก็เริ่มหันมาเอาดีทางดานขาวบันเทิงกันยกใหญ การ แขงขันทางดานขอมูลขาวสารของขาวบันเทิง จึงมีอัตราทีส่ ูงขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งหลายสํานักขาว ก็เริม่ เล็งเห็น ความตองการของสังคมไทยแลววา ไมปรารถนากับการเสพขาวบันเทิงที่ดสู รางสรรค จรรโลงสังคม แตกลับ ชอบเสพขาวที่มีความรุนแรงของขาว หรือที่เรียกกันวา “ประเด็นรอน ประเด็นฉาว” ซึ่งการนําเสนอขาวใน ทํานองนี้ จะตองนําเสนออยางเปนจริง มีแหลงขอมูลที่เชื่อถือได และระวังเรื่องการใชภาษาในการนําเสนอขาว อยางเครงครัด ประเด็นนีเ้ สี่ยงตอการละเมิดสิทธิสวนบุคคล เปนอยางมาก เมือ่ กลาที่จะนําเสนอ ตองกลาทีจ่ ะ รับผิดชอบ โดยประเด็นขาวบันเทิงที่กอใหเกิดกระแส และความสนใจจากสังคม สามารถแบงออกไดดังนี้ 1) ประเด็นในเรือ่ งสวนตัว ซึ่งเปนเรื่องราวสวนตัวในชีวิตของดารา นักแสดง ศิลปน ใน ชีวิตประจําวัน ซึ่งผูคนใหความสนใจกันมาก ทัง้ คนที่ชอบในศิลปน ดาราคนนั้นๆ หรือคนทั่วไปก็ใหความสนใจ ไมแพกัน โดยประเด็นในเรื่องสวนตัวก็มีดวยกันดังตอไปนี้ ประเด็นเรื่องของชูสาวดารา เชน การแอบแตงงาน การแอบหมั้น การแอบจด ทะเบียน การมีพฤติกรรมรักรวมเพศ การเปนเด็กเสี่ย หรือขายตัว เปนตน อาทิ “เตา สมชาย แอบพาสาวจด ทะเบียน หึ่งฝายหญิงทองแลว” (ผูจัดการ,2552) ประเด็นเรื่องยาเสพติด ของดารา นักรอง ศิลปน นักแสดง เชน การคายาเสพติด การเสพยาเสพติด เปนตน อาทิ “เผย เสก โลโซ ติดยาไอซ – แมพรอมพี่ ขอเลื่อนปปส.” (เดลินิวส,2554) ประเด็นเรื่องการทําศัลยกรรมรางกายของดารา นักรอง ศิลปน นักแสดง เปนตน อาทิ “เอมมี่ ยืดอกอวดเตาใหม เผย ฮาเวิรด หวงกวาเดิม” (เดลินิวส,2557) ประเด็นเรื่องการทะเลาะวิวาทของดารา นักรอง ศิลปน นักแสดง อาทิ “บี เจ็บจน จุก! ซัดหนัก โย เปดปมธุรกิจเจง (ไทยรัฐ,2557)


159

2) ประเด็นรอน หรือ ประเด็นฉาวโฉ เชน นางแบบโชวเตานมระหวางเดินแบบ ดาราแตงตัว โปไปรวมงานประกาศรางวัล ทองกอนแตง การทําแทง ภาพหลุดคลิปหลุด ภาพตกแตงหรือรีทัช เปนตน อาทิ “เจมี่ จัดใหใสตะปง โชวแคม มั่นใจไมมีอะไรแพลม!” (ผูจัดการ,2557) “ภาพหลุดหนาคลายพระเอกดัง เลนจ้ําจี้ ปอป ฐากูร-เจมสจิ โตพัลวัน (ทีวีพูล,2557) “แคขาวลือ ชมพู ยันไมไดทอง ทานับเดือนรอ” (เอ็มไทย,2557) “ออม ปดเปนสาวคลิปออนแฟนมีSex ยันถูกตัดตอรูป” (ไอเอ็นเอ็น,2557) แมขาวประเด็นเหลานี้จะมีคุณคาขาวสูง ผูอานเกิดความอยากรูอยากเห็นใหความสนใจ คอยติดตาม แตเปนประเด็นที่สมุ เสี่ยงการละเมิดสิทธิของบุคคล และการผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพของสือ่ มวลชน รวมทัง้ การเปนตัวอยางที่ไมดีใหกับสังคม โดยเฉพาะอยางยิง่ ของเด็กและเยาวชน แตเพื่อการแขงขัน การตลาดสื่อ หรือเพื่อผลประโยชนทางธุรกิจก็ตาม จึงมีการนําเสนอขาวประเภทนี้ ออกมาใหเห็นอยางตอเนือ่ ง กอใหเกิด กระแสในทางลบ เกิดการวิพากษวิจารณของสังคม ซึ่งหลายสํานักขาว ยอมแลกชื่อเสียงกับผลประโยชนเลย ทีเดียว ขอบเขตขาว จํากัดดวยกฎหมาย เมื่อมีการนําเสนอขาวที่ไมสรางสรรค บางขาวก็ไมเปนความจริง สวนใหญเพื่อการสรางกระแส หรือ เพื่อผลประโยชนใดๆก็ตาม ซึ่งการนําเสนอขาวประเด็นนี้ จะมีการพาดหัวขาวที่คอนขางรุนแรง ใชภาษาที่ กาวราว รุนแรง หยาบคาย หรือแมแตลามก เพื่อสรางสีสันใหกับขาว หรือเพื่อความสนใจในตัวขาวก็ตาม แต การนําเสนอขาวแบบนี้ ก็สงผลกระทบทางจิตใจตอผูตกเปนขาว หรือแมกระทั่งผูที่ชื่นชอบในศิลปน ดารา นักแสดง คนนั้นๆ ทําใหเกิดความไมพอใจ และเกิดกระแสวิพากษวิจารณในสังคม ถึงจรรณยาบรรณการ นําเสนอขาวของสื่อมวลชน ซึง่ ในบางกรณีก็พอจะอดทนยอมรับได แตสําหรับกรณีขาว ที่ไมเปนความจริง สงผลกระทบตอชื่อเสียง ทรัพยสินเงินทอง หรือหนาตาทางสังคม เกินกวาการจะอดทนยอมรับ จึงมีการ ดําเนินคดีทางกฎหมายกับสื่อนั้นๆตามมา “ไฟไหมหมดตัว เจี๊ยบ เตรียมแกผาหาเงินอีกรอบ” (ซุปเปอรบันเทิง,2556) ในกรณีพาดหัวขาวลักษณะนี้ ถือเปนการหมิ่นประมาท หรือการใหราย จะมีความผิดทางอาญา ใน ความผิดฐานหมิ่นประมาท “ผูใดใสความผูอื่นตอบุคคลที่สาม โดยประการทีจ่ ะทําใหผอู ื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดู หมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผูนั้นกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไม เกินสองพันบาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ” (มาตรา 326) (ดรุณี หิรัญรักษ,2538)


160

ตัวอยางบทลงโทษฐานหมิ่นประมาท อาทิ “ศาลสัง่ จําคุก บวย-เอ หมิ่น ไผวันพอยท คนละ2เดือน-ปรับ2หมื่น” (กระปุก,2557) “ศาลสัง่ ปรับเว็บเมเนเจอร2แสน จําคุกคอลัมนิสตแตใหรอลงอาญา ฐานหมิ่น ปุกลุก ฝนทิพย” (มติชน,2557) ดังนั้น การนําเสนอขาวควรนําเสนอดวยความ “เที่ยงธรรม” อยางตรงไปตรงมา ไมนําเสนอขาวที่ไม เปนความจริงหรือไมมีหลักฐาน เพียงเพื่อสรางกระแส หรืออคติใดก็ตาม อาจสงผลตอชื่อเสียงและมีโทษทาง กฎหมายสําหรับผูนําเสนอขาวนั้นๆเองดวย สรุป ขาวบันเทิง “สรางสรรค” หรือ “สรางกระแส” นั้น คงเห็นไดอยางชัดเจนวา ขาวบันเทิงในปจจุบัน คอนขางนําเสนอขาวในดานของการสรางกระแส มากกวาความสรางสรรค ดวยผลพวงความนิยมการบริโภค ขาวบันเทิงของสังคมไทยในปจจุบัน ชอบการบริโภคขาวที่เปนประเด็นรอน ขาวฉาวโฉ ประเด็นที่ตกเปน กระแสของสังคม มากกวาขาวที่มีความสรางสรรค จรรโลงสังคม ทําใหสอื่ มวลชนขาวบันเทิง ตองปรับตัวเพื่อ รับกับกระแสสังคม และความตองการของมนุษย เพื่อความอยูรอดของบริษัท แตกลับถูกสังคมวิพากษวิจารณ การนําเสนอขาว ที่ไมมีความสรางสรรค เพราะตอบสนองความตองการของสังคมจนเกินไป สื่อมวลชนขาว บันเทิงควรมีการนําเสนอขาวทั้ง2ดานอยางเทาเทียม ไมคํานึงถึงความตองการของกลุมใดกลุมหนึ่งเปนหลัก นําเสนอแตความจริงที่เชื่อถือได และไมขุดคุยเรื่องสวนตัวของบุคคลในวงการบันเทิง ซึ่งเปนการละเมิดสิทธิ สวนบุคคล รูจ ักการใหเกียรติและเคารพการทํางานของกันและกัน หากมีการละเมิดสิทธิ ควรมีการดําเนินคดี กับสือ่ นั้นๆอยางจริงจัง เพื่อใหเปนบทเรียน และลดปญหาการนําเสนอขาวที่ไมเปนความจริง การใหราย และ เสื่อมเสียชื่อเสียงของคนในวงการบันเทิง


161

การปรับตัว ละครวิทยุส่ ู ยุคดิจิทัล บทนา ปั จจุบนั ความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มีบทบาทและอิทธิพล กับประชาชนเป็ นส่วนมาก ไม่ว่าจะเป็ นด้านข่าวสาร ความรู ้ และความบันเทิง วิทยุกระจายเสี ยงนับว่าเป็ น สื่ อ ที่มี อิ ทธิ พลสู ง เนื่ อ งจากวิทยุกระจายเสี ยงสามารถเข้าถึงประชาชนได้ทุกระดับชั้น ทุกเพศ ทุกวัย ทุก สภาพท้องถิ่ น ไม่ จากัดความรู ้และระดับการศึกษาตลอดระยะเวลาในรับฟั ง จึงเป็ นที่นิยมของประชาชน โดยทั่ว ไป โดยเฉพาะรายการที่ ใ ห้ ค วามบัน เทิ ง และเป็ นที่ นิ ย มในสมั ย อดี ต คงหนี ไ ม่ พ ้น ละคร วิทยุกระจายเสียง ที่เน้นศิลปะการแสดงเป็ นหลัก แต่ปัจจุบนั ละครวิทยุโทรทัศน์เข้ามามีบทบาทและได้รับ ความนิ ยมในสังคมไทยเพราะเป็ นสื่ อ ที่มีท้ งั ภาพและเสี ยง ทาให้กระแสนิ ยมละครวิทยุกระจายเสี ยงลด น้อยลง ปั จจุบนั ละครวิทยุจึงมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับยุคดิจิตอลโดยมีการพัฒนาการออกอากาศใน รู ปแบบของละครวิทยุกระจายเสี ยงออนไลน์ เพื่อ ขยายการเข้าถึ งกลุ่ ม เป้ าหมายและการช่ วยกันอนุ รักษ์ ศิลปะการแสดงที่คลาสสิคของละครวิทยุกระจายเสียงไม่ให้ลบเลือนจางหายไป

เสน่ ห์ละครวิทยุกระจายเสี ยง ละครวิทยุกระจายเสียงเป็ นการเสนอเรื่ องราวโดยใช้การแสดงด้วย คาพูด ดนตรี และเสี ยงประกอบ ให้ผฟู ้ ังสามารถเห็นภาพพจน์ เหตุการณ์ ท่าทาง มีความรู ้สึกและคล้อยตาม โดยสัมผัสเสี ยงเพียงอย่างเดียว ละครวิทยุกระจายเสี ยงจึงมี มนต์เสน่ ห์ต่อ ผูท้ ี่รักการฟั งอย่างต่อ เนื่ อ ง นามาเสนอออกเป็ นบทละครและ ถ่ายทอดผ่านนักแสดงที่เต็มไปด้วยความสามารถในการสวมบทบาทตัวละครได้อย่างเหมาะสม ประกอบกับ มีเทคนิคต่างๆเข้ามาช่วยเป็ นการเพิม่ สีสนั โดยเฉพาะเรื่ องของเสียงซึ่งขาดไม่ได้ เป็ นการสร้างจินตนาการได้ ดี หรื อแสดงความรู ้สึกต่างๆ สาหรับละครวิทยุกระจายเสี ยงนั้นประกอบไปด้วย 1) เสี ยงพูด คือเสี ยงที่ตวั ละครเจรจาโต้ตอบกัน หรื อแสดงความรู ้สึก 2) เสี ยงเพลง คือเสี ยงที่นามาใช้เหตุผลต่างๆ 3.เสี ยงประกอบ คือเสียงต่างๆที่นามาใช้ประกอบเกี่ยวกับฉาก การเคลื่อนไหว และบอกเหตุการณ์ต่างๆ เสียงประกอบทั้งสาม ส่วนเข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม ผูฟ้ ั งจะเกิดการคล้อยตาม เชื่อถือ อยากรู ้ อยากติดตาม สร้างจิตนาการหรื อ มโนภาพ และควรนาเสนอเรื่ องราวที่ใกล้ตวั ในสิ่งที่คนส่วนใหญ่สนใจ (ชัยวิชิต อติศพั ท์,2542)


162

การแสดงในรู ปแบบละครวิทยุกระจายเสียงนอกจากมีอิทธิพลในด้านการบันเทิงโดยเฉพาะแล้วยังมีอิทธิพล ที่ใช้เป็ นเครื่ องมือในการต้านภัยของประเทศและสนับสนุ นสิ่ งดีงามเกิดในสังคม อย่างเช่นในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม เคยใช้ละครวิทยุกระจายเสี ยงเป็ นเครื่ องมือต่อต้านคอมมิวนิ สต์ และผูก้ ่อการร้าง ป้ องกันอาชญากรรม ปราบปรามป้ องกันและต่อ ต้านยาเสพติดให้โทษ โดยการชี้ แจงแก่ ประชาชนที่อ ยู่ ห่างไกลความเจริ ญให้รู้สิ่งที่จาเป็ นแก่ชีวติ ถือได้วา่ เป็ นวิธีการนาสื่ อซึ่ งมีเรื่ องราวเนื้ อหาและความบันเทิงที่ มีประโยชน์แก่ประชาชน (อุบลรัตน์ ศิริยวุ ศักดิ์,2555) ละครวิทยุกระจายเสี ยงประเทศไทยเริ่ มดาเนิ นการออกอากาศที่ศาลาแดง เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 โดยละครวิทยุกระจายเสี ยงในสมัยแรกๆเจ้าหน้าที่ของสถานี จะเป็ นผูแ้ สดงเอง ซึ่ งเริ่ มจากการ แทรกบทเจรจา สลับกับมโหรี ในละครราประเภทต่างๆ ละครวิทยุกระจายเสี ยงปั จจุบนั มี วิวฒั นาการมาจาก ศิลปะการแสดงในยุคก่อนแล้วมีการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบให้เข้ากับยุคสมัย (ศิวะพร หงษ์จินดาเกศ,2537)

รูปแบบละครวิทยุยคุ ดิจติ อล อิ นเตอร์ เน็ ตถู กพัฒนาให้มีความเสถี ยร ความเร็ ว รวมทั้งราคาถู ก ละครวิทยุกระจายเสี ยงมี การ ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโดยปรับตัวมาอยูใ่ นรู ปแบบของสังคมออนไลน์ ถึงแม้ยงั คง ขั้นตอนการผลิตในลักษณะแนวเดิมๆอยู่ ก็ปรับจากออกอากาศแบบธรรมดาให้กลายเป็ นยุคดิจิตอล โดยมี การออกอากาศในรู ปแบบวิทยุอ อนไลน์ เพื่อ เป็ นการเพิ่มช่ อ งทางให้กับผูบ้ ริ โภค เป็ นทางเลือ กให้ละคร วิทยุกระจายเสียงคงอยูต่ ่อไป ในยุคแรกที่เริ่ มให้บริ การออนไลน์ จุดประสงค์หลักเพื่อต้องการทาเว็บไซต์ที่รวบรวมข้อ มูลทุก อย่างมาให้บริ การผูฟ้ ั งผ่านทางอินเตอร์ เน็ต เนื่ องจากเชื่ อว่าประชาชนทัว่ ไปบางครั้งไม่สะดวกในการฟั ง ดังนั้นการให้บริ การวิทยุอ อนไลน์จึงเป็ นอี กช่อ งทางหนึ่ งที่จะมาส่ งเสริ ม การให้บริ การวิทยุออนไลน์ให้ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างครอบคลุมมากขึ้น ในขณะเดียวกันเป็ นการช่วยลดช่องว่างในการเข้าถึง สื่อวิทยุอีกอย่างหนึ่ง ปั จ จุบ ันได้มี การบริ ห ารงานโดยนาละครวิท ยุก ระจายเสี ย งออกอากาศในอดี ต เฉพาะในสถานี วิทยุกระจายเสียงในระบบ เอ.เอ็ม. ได้มีการพัฒนาโดยนาเสนอในรู ปแบบละครวิทยุออนไลน์สามารถดาวน์ โหลดได้ง่ายๆ ละครวิทยุออนไลน์ เกิดขึ้นครั้งแรก คือ คณะมิตรประสานการแสดง มศว. โดยการก่อตั้งของ ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ธี ร บุญฤทธิ์ ควรหาเวชศิษ ฐ์ เริ่ ม จากโครงการฟื้ นฟูล ะครวิทยุ ให้ก ับผูท้ ี่ สนใจและ นักศึกษา ของสานักงานสื่ อวิทยุและเทคโนโลยีการศึกษา มศว. ประสานมิตร ซึ่ งเรื่ องส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องที่ เกี่ยวกับตานานพื้นบ้านและเรื่ องราวประวัติศาสตร์ เพราะเป็ นการสื บสานและสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม


163

หลังจากนั้นไม่นานก็เริ่ มมีละครวิทยุกระจายเสียงในระบบออนไลน์เพิม่ ขึ้นเป็ นจานวนมาก เช่น ณัฐธาภิรมย์ รังสิมนั ต์ สยามฮา ฟังธรรม.com ธรรมะออนไลน์ เป็ นต้น พร้อมทั้งออกอากาศทางสถานี วิทยุกระจายเสี ยง ในระบบ เอฟ.เอ็ม. โดยมิได้ถูกจากัดออกอากาศเฉพาะสถานีวทิ ยุกระจายเสียงระบบ เอ.เอ็ม. เท่านั้น ทาให้มี กลุ่มผูฟ้ ั งโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่ นที่ไม่เคยฟั งละครวิทยุกระจายเสี ยงมาก่ อน ได้มีโอกาสฟั งจากการออนไลน์ โดยเรื่ องที่ฟังส่ วนมากของวัยรุ่ นจะเป็ นแนวเกี่ยวกับละครผี ซึ่ งละครวิทยุสามารถเกิดอรรถรสจากการฟั ง และสร้างจินตนาการจากเสียงที่ได้ยนิ

1.คณะรังสิ มนั ต์ ที่มา : รู ปที่ 1 http//www.rungsimun.com

3.ฟังธรรม.com ที่มา : รู ปที่ 3 http//www.ฟังธรรม.com

2.ยาใหญ่เพลงไทย ที่มา : รู ปที่ 2 http//www.yumyai1.com

4.ธรรมะออนไลน์ ที่มา : รู ปที่ 4 http//www.thaiware.com

ภาพที่ 1 ตัวอย่างละครวิทยุกระจายเสี ยงออนไลน์ปัจจุบนั


164

การปรับตัวสู่ ยุคดิจติ อลของละครวิทยุ ไทย ละครวิท ยุเ ข้า สู่ ป ระเทศไทยเมื่ อ ราว 50 ปี ที่ แ ล้ว ซึ่ งในยุค นั้ น ยัง ไม่ มี เ ครื่ อ งรั บ โทรทัศ น์ อ ย่า ง แพร่ หลาย วิทยุกระจายเสี ยงเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของประชาชนทัว่ ไป ซึ่ งในระยะเริ่ มต้นของ การนาเสนอละครวิทยุตอ้ งนาผูพ้ ากย์ทุกคนมาพากย์ในห้องส่ ง รวมทั้งดนตรี ประกอบก็ใช้นักดนตรี ท้ งั วง เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ เพราะว่ายังไม่มีระบบการบันทึกเสี ยงล่วงหน้า ผูแ้ สดงทุกคนต้องใช้ความสามารถอย่าง แท้จริ ง โดยมีคณะละครวิทยุในยุคแรกๆ คือ คณะจารุ กนก คณะวัฒนารมย์ ในยุคต่อมาก็จะมีคณะกันตนา คณะผาสุกวัฒนารมย์ คณะมิตรมงคล ออกอากาศทางสถานีวทิ ยุเสียงสามยอด ต่อมามีระบบการบันทึกเสียงจึงสามารถส่งเทปบันทึกเสียงไปยังสถานี วิทยุกระจายเสี ยงต่างจังหวัด จึงทาให้ละครวิทยุได้รับความนิยมมากยิง่ ขึ้นในระหว่างปี 2500-2515 ซึ่ งถือได้ว่าเป็ นยุคที่ละครวิทยุเฟื่ องฟู โดยมีคณะละครวิทยุที่มีชื่อเสียงในยุคต่อมาคือ คณะแก้วฟ้ า คณะนีลิกานนท์ คณะเสนี ย ์ บุษปะเกศ คณะเกศ ทิพย์ เมื่อมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่ อสาร มีการจัดตั้งสถานี วิทยุโทรทัศน์โดยหน่ วยงานต่างๆ จึงมีการนาบทประพันธ์ของนักเขียนชื่อดังมาสร้างเป็ นละครโทรทัศน์ รวมทั้งการเขียนบทเพื่อ การแสดง ละครโทรทัศน์ข้ ึนโดยเฉพาะ จึงทาให้ละครโทรทัศน์ได้รับความนิยมในยุคต่อมา เพราะสามารถมองเห็นได้ ทั้งภาพจากนักแสดงและเสียงพูดเสียงดนตรี ประกอบ จึงทาให้ละครวิทยุเสื่อมความนิ ยมลง แต่ก็ยงั คงมีคณะ ละครวิท ยุที่ ด าเนิ น กิ จ การมาจนถึ ง ปั จ จุ บ ัน เช่ น คณะเกศทิ พ ย์ และ คณะนี ลิ ก านนท์ ซึ่ ง ในปั จ จุ บ ัน มี ความก้าวหน้าถึงขั้นดาว์นโหลดละครวิทยุทางอินเตอร์เน็ต

ภาพที่ 2 ตัวอย่างการแสดงละครวิทยุกระจายเสี ยง (ที่มา : www.oknation.net)


165

ในปั จจุบนั การพัฒนาละครวิทยุกระจายเสียงสู่ยคุ ดิจิตอลสามารถพัฒนาได้ในหลายลักษณะโดยใน ที่น้ ี ขอนาเสนอวิธีการที่เรี ยกว่า “พอดแคสต์” (Podcast) ซึ่ งมีชื่อเต็มว่า Podcasting ซึ่ งมาจากคาว่า POD คือ Personal on demand ส่ วน Cast คือ Broadcasting จึงมีความหมายถึงสื่ อในรู ป ของภาพและเสี ยง ที่นามา เผยแพร่ ให้รู้รับสารสามารถเลือกได้ตามความต้องการทั้งเนื้อหา เวลา และสถานที่ที่จะรับฟั ง ปั จจุบนั มีอยู่ 2 ประเภท คือ 1) Podcast ธรรมดา ซึ่ งเป็ น Podcast ที่เป็ นเสี ยงอย่างเดี ยว รู ปแบบของ file เป็ น mp3 2) Vodcast (Video Podcast) ซึ่ งเป็ น podcast มีการเพิ่มลูกเล่นใช้ภาพประกอบเสี ยง หรื อ คาบรรยาย เช่น ทา เป็ น sliede show ประกอบเสี ยง รู ปแบบของ file เป็ น mp4 เป็ นการโชว์ชื่อคณะพากย์พากเสี ยง ชื่อเรื่ อง แต่ ไม่ ไ ด้เป็ นภาพเคลื่ อ นไหวแต่อ ย่างใด podcast เป็ นที่ตอ้ งการเผยแพร่ สาหรับวิทยุ ละครวิทยุถือเป็ นการ กระจายเสี ยงของเรื่ องเฉพาะที่สนใจอยากฟั งมาเก็บไว้ในเครื่ อ ง ซึ่ งสามารถรับสื่ อเวลาไหนก็ไ ด้ สาหรับ บริ การ “พอดแคสต์” จะเกี่ ยวกับเทคโนโลยีหนึ่ งถื อ ว่าเป็ นกลไกสาคัญนั้นก็คือ RSS (Really Simple Syndication ) เป็ นบริ การบนเว็บไซด์ภาษา XML ใช้สาหรับดึงเว็บต่างๆมาแสดงบนหน้าเว็บเพจ เทคโนโลยี ดังกล่าวจะช่วยทาให้ข่าวสารที่อยูใ่ นรู ปของบริ การพอดแคสต์บนเว็บไซต์ต่างๆ ถูกรวบรวมและส่งให้กบั ผูท้ ี่ สนใจได้อย่างง่ายดาย โดยผูใ้ ช้เพียงแค่คลิกลิงค์ก็จะแสดงรายละเอียดในเว็บต้นฉบับนั้นๆ ถือได้ว่าเป็ นวิธี หนึ่ งที่ ช่วยให้ละครวิทยุกระจายเสี ย งสามารถอยู่ไ ด้ โดยปรั บสภาพเป็ นไปตามยุคที่มีก ารเปลี่ ยนแปลง podcast รู ปแบบ mp3 และ vodcast รู ปแบบ mp4 ก็ไม่ได้แต่ได้กนั แต่อย่างเป็ นเพียงเพิม่ ทางเลือกในกลุ่มผูฟ้ ั ง ที่ยงั คิดถึง ละครวิทยุ ได้มีการรับฟังและสามารถเก็บบันทึกไว้ฟังในเวลาอื่นได้ อย่างไรก็ตามละครวิทยุกระจายเสียงการแสดงสดก็ยงั มีการออกอากาศในระบบ เอ.เอ็ม แต่มีน้อยลง เพราะกลุ่มเป้ าหมายของคนต่างจังหวัดก็ยงั ติดตามอยู่ และปั จจุบนั ก็ขยายกลุ่มเป้ าหมายให้มากขึ้น จึงปรับตัว มาอยูใ่ นรู ปแบบ วิทยุ เอฟ.เอ็ม และ วิทยุออนไลน์ ซึ่งอยูใ่ นการบันทึกไว้ล่วงหน้า การรับฟังจึงไม่มีเวลาเป็ น ตัวกาหนด และเพิม่ ช่องทางให้กบั ผูท้ ี่สนใจอีกทางหนึ่ ง ละครวิทยุจึงต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับยุคปั จจุบนั เพือ่ ไม่ให้ละครวิทยุหยุดความก้าวหน้าแค่ในหน้าปั ด

บทสรุป การปรับตัวละครวิทยุกระจายเสียงสู่มิติใหม่ของยุคดิจิตอล โดยเฉพาะการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร มาใช้ในการอนุ รักษ์ศิลปะละครวิทยุกระจายเสี ยงให้ดาเนิ นต่อได้ เพื่อเป็ นการย้าเตือนให้ บุคคลทัว่ ไป เห็นถึงคุณค่าของศิลปะการแสดงที่ถือได้วา่ เป็ นรากฐานของการแสดงที่ดี ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ไม่ให้สูญหายไปกับกาลเวลา เช่นเดียวกับการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงแขนงต่างๆ ให้เป็ นมรดกของประเทศ ไทย ไม่วา่ จะเป็ นเพลงลูกทุ่ง ลิเก เพลงฉ่ อย ลาตัด ฯลฯ รวมทั้งศิลปะการแสดงพื้นบ้านต่างๆ ไม่ให้ถูกมอง ห้ามไปจากสังคม


166

เอกสารอ้างอิง ชัยวิชิต อติศพั ท์. (2542). คู่มือเจ้ าหน้ าที่รายการวิทยุกระจายเสี ยงและวิทยุโทรทัศน์ . กรุ งเทพฯ : กรมประชาสัมพันธ์. ธีรบุญฤทธิ์ ควรหาเวชศิษฐ์ . โครงการฟื้ นฟูละครวิทยุ. เข้าถึงได้จากเว็บ: www.mitrprasarn.com (19 พฤศจิกายน 2557). รังสิ วุฒิ ทับทิมทอง, “การสื่ อสารเพื่อถ่ ายทอดความรู้ และอุดมการณ์ ชาตินิยมสู่ ร่ ุ นใหม่ ผ่ านละครวิทยุอิง ประวัติศาสตร์ คณะรั งสิ มันต์ ” (วิทยานิ พนธ์มหาบัณฑิต สาขานิ เทศศาสตรพัฒนาการ คณะนิ เทศ ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549). ศิ ว ะพร หงส์ จิ น ดาเกศ. “วิ ถี ชี วิ ต ประจ าวั น ที่ แ สดงออกทางวาทกรรมในละครวิ ท ยุ ค ณะเกศทิ พ ย์ ” (วิทยานิ พนธ์มหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่ อ สารมวลชน คณะนิ เทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย , 2537) เศรษฐพงศ์ ศรี ส ารคาม. PODCAST หนึ่ ง ในกุญ แจแห่ ง ความส าเร็ จ ของสื่ อใหม่ . เข้าถึ ง ได้จ ากเว็บ : www.torakom.com. (วันที่11 พฤศจิกายน 2557). อุบลรัตน์ ศิริยวุ ศักดิ์. 2544. ประวัติวิทยุในประเทศไทย. เข้าถึงได้จากเว็บ : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=464669 (19 พฤศจิกายน 2557).

นางสาวอุบลวรรณ ราศรี 54040796



168

ความสาคัญของธุรกิจการเกษตรกับการสื่อสารประสานงาน ปัจจุบันประเทศไทยนำเทคโนโลยีมำใช้ในกำรเกษตรมำกขึ้น เพื่อรูปแบบกำรค้ำแบบเก็งกำไร ทำให้ มองข้ำมควำมส ำคัญของธุร กิจ กำรเกษตรกั บ กำรสื่อสำรประสำนงำนลดน้อยลง ส่งผลกระทบกั บผลผลิต ทำงกำรเกษตรมีประสิทธิภำพไม่ดีเท่ำที่ควร เพรำะกำรสื่อสำรประสำนงำนในเชิงธุรกิจกำรเกษตรจะทำให้ เข้ำใจระหว่ำงผู้ผลิต ผู้จำหน่ำย และผู้บริโภค ในเรื่องของควำมต้องกำรสินค้ำเกษตร ธุรกิจกำรเกษตรเป็นส่วน หนึ่งของเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย เกษตรกรซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ที่สุดของประเทศ และเป็นผู้ใช้ปัจจัย กำรผลิตผลิตเป็นสินค้ำเกษตรออกมำให้คนในประเทศได้บริโภค คนกลำงที่ทำธุรกิจต่อเนื่องจำกเกษตรกร ซึ่ง ธุรกิจต่อเนื่องนี้ประกอบด้วย ผู้จัดหำ โรงงำนแปรรูป ตัวแทน ผู้ค้ำส่ง ผู้ค้ำปลีกในรูปแบบต่ำงๆ และผู้ส่งออก นอกจำกนี้ยังมีธุรกิจอื่นและหน่วยงำนของรัฐ ที่ต้องให้กำรสนับสนุน และกำรสื่อสำรประสำนงำนเพื่อให้กำร ดำเนินธุรกิจกำรเกษตรเป็นไปอย่ำงรำบรื่น ศิณีย์ สังข์รัศมี (2530) ได้อ้ำงถึง ธุรกิจกำรเกษตร ในควำมหมำยของศำสตรำจำรย์ John H. Davis & Ray Goldberg หมำยถึง กำรดำเนินงำนทั้งหลำยที่เกี่ยวกับกำรผลิตและกำรจัดจำหน่ำยปัจจัยกำรผลิตสินค้ำ เกษตร กิจกรรมกำรผลิต กำรเก็บรักษำ กำรแปรรูปและกำรจัดจำหน่ำยสินค้ำเกษตร ผลิตผลพลอยได้จำก สินค้ำเกษตร จีรเกียรติ อภิบุญโยภำส และคณะ (2546) ได้กล่ำวว่ำ ธุรกิจกำรเกษตรนั้นมีควำมสำคัญต่อเศรษฐกิจ ของประเทศ เนื่องจำกธุรกิ จกำรเกษตรเกี่ยวข้องกับส่วนกำรเกษตร อุตสำหกรรมแปรรูป และกำรสื่อสำร ประสำนงำน ซึ่งจะต้องมีกำรลงทุนกำรผลิต ตลอดจนก่อให้เกิดกำรใช้แรงงำนของประเทศ นอกจำกนี้ธุรกิจ กำรเกษตรจะมีควำมสำคัญต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง คื อบุคคลทั่วไป และนักธุรกิจ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของทั้งสำขำ กำรเกษตรและอุตสำหกรรม โดยแบ่งควำมสำคัญ 3 ประกำร คือ 1. ความส าคัญ ของธุ รกิ จการเกษตรต่อ เศรษฐกิ จของประเทศ สำมำรถพิจ ำรณำได้ จ ำก ปรำกฏกำรณ์ทั่วไปของโลกที่ว่ำ กำรเกษตรเป็นแหล่งอำหำรที่สำคัญของมนุษย์ กำรเกษตรเป็นแหล่งรำยได้ และเป็นแหล่งแรงงำน ทั้งในภำคเกษตรและอุตสำหกรรมที่สำคัญ สำหรับเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นกำร เปลี่ยนแปลงในระบบธุรกิจกำรเกษตร จะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและประชำกรของประเทศ 2. ความสาคัญของธุรกิจการเกษตรต่อบุคคลทั่วไป จำกควำมเป็นจริงที่ทุ กคนในโลกต้องกิน อำหำร ดัง นั้นกำรผลิต กำรแปรรูป กำรตลำด ของระบบธุรกิจกำรเกษตร จึงเป็นกำรดำเนินงำนทำงธุรกิ จ กำรเกษตรที่จะตอบสนองต่อควำมต้องกำรบริโภคของบุคคลทั่วไป ไม่ว่ำจะเป็นกำรผลิตพืช เช่น ข้ำว พืช ผัก ผลไม้ หรือกำรเลี้ยงสัตว์ สุกร และสัตว์ปีก โค กระบือ ตลอดจนกำรแปรรูป เพื่อให้ตรงตำมควำมต้องกำร ของผู้บริโภค


169

3. ความสาคัญของธุรกิจการเกษตรต่อนักธุรกิจ นักธุรกิจในที่นี้ หมำยถึง เกษตรกรผู้ผลิตรวมไป ถึงผู้ประกอบกำรในแต่ละขั้นตอนของระบบธุรกิจกำรเกษตร นักธุรกิจเหล่ำนี้จะต้องทรำบควำมเคลื่อนไหว ต่ำงๆ รำคำของสินค้ำและปัจจัยกำรผลิตอยู่ตลอดเวลำ จึงจะสำมำรถดำเนินธุรกิจให้อยู่ได้ เพื่อที่จะปรับตัว ทำงด้ำนกำรผลิตให้ตรงกับควำมต้องกำรของตลำด ซึ่งจะเห็นว่ำข้อมูลและข่ำวสำรทำงด้ำนกำรผลิต รำคำ และ ควำมต้องกำรของตลำดเป็นสิ่งที่นัก ธุรกิจจะต้องให้ควำมสนใจเป็นพิเศษ เพื่อที่จะได้จัดซื้อและดำเนินกำร ทำงด้ำนกำรขำยให้พอดีกัน จะได้ไม่ ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยเกินควำมจำเป็น อันจะเป็นกำรลดค่ ำเสียโอกำสของ เงินทุนที่ลงไป ในปัจจุบันวิธีกำรจัดจำหน่ำยสินค้ำเกษตรได้เปลี่ยนแปลงไปมำก ผู้จัดจำหน่ำยจำเป็นต้องปรับตัวและ พัฒนำสินค้ำให้ตรงกับควำมต้องกำรของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลำ เช่น กำรจัดคุณภำพและมำตรฐำน สินค้ำ เพื่อตอบสนองผู้บริโภคที่มีรำยได้ในระดับที่แตกต่ำงกัน กำรบรรจุภัณฑ์สินค้ำเพื่อให้อยู่ในลักษณะจูงใจ และเป็นที่สนใจของผู้บริโภค กำรโฆษณำและส่งเสริมกำรขำยเพื่อให้ผู้บริโภคได้ทรำบถึงตัวสินค้ำและเกิดควำม สนใจในผลิตภัณฑ์และยี่ห้อของผู้จำหน่ำย ตลอดจนกำรจัดวำงสินค้ำเพื่อกำรจำหน่ำยและกำรแสดงสินค้ำให้ เป็นที่รู้จักและเป็นที่สนใจแก่บุคคลโดยทั่วไปด้วย ผู้ผลิตและผู้จัดจำหน่ำยปัจจัยกำรผลิตต้องทรำบว่ำ เกษตรกรต้องกำรปัจจัยกำรผลิตชนิดใดและมี ลักษณะอย่ำงไรก่อน จึงจะทำกำรผลิตหรือสั่งเข้ำมำ มิฉะนั้นจะไม่สำมำรถที่จะจำหน่ำยปัจจัยกำรผลิตนั้นได้ เกษตรกรก็เช่นเดียวกัน ก่อนที่จะผลิตพืชหรือสัตว์ชนิดใด ก็ต้องทรำบลักษณะควำมต้องกำรของผู้บริโภค และ เมื่อผลิตสินค้ำออกมำแล้ว จะต้องมีผู้รวบรวมมำรับซื้อเพื่อส่ง ขำยต่อไปให้กับผู้แปรรูป ผู้ค้ำส่งหรือผู้ส่งออก นอกจำกจะมีข้อตกลงโดยตรงกับคนกลำงเหล่ำนั้น บำงโรงงำนอำจให้ตัวแทนจำหน่ำยขำยให้ แต่บำงโรงงำน อำจดำเนินกำรเอง โดยขำยให้กับผู้ค้ำส่งและผู้ค้ำปลีกรำยใหญ่ เช่น ซูเปอร์มำร์เก็ตซึ่งเป็นผู้ค้ำปลีก ก็จะขำย สินค้ำต่อไปสู่ผู้บ ริโ ภค จึง เห็นได้ว่ำ มี ก ำรท ำงำนกั นอย่ำงเชื่อมโยง และชี้ให้เ ห็นควำมสัม พันธ์ของธุร กิ จ กำรเกษตรกับกำรสื่อสำรประสำนงำน ดังต่อไปนี้ สมคิด ทักษิณำวิสุทธิ์ (2548) ได้กล่ำวถึง ควำมสำคัญของธุรกิจกำรเกษตรกับกำรสื่อสำรประสำนงำน จะช่วยให้สำมำรถดำเนินกำรได้สะดวกและมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น โดยที่แยกออกมำจำกฝ่ำยดำเนินกำร ได้แก่ 6 ระบบย่อยด้วยกัน คือ ระบบย่อยปัจจัยกำรผลิตสินค้ำเกษตร ระบบย่อยกำรผลิตสินค้ำเกษตร ระบบย่อยกำร จัดหำสินค้ำเกษตร ระบบย่อยกำรแปรรูป/เก็บรักษำสินค้ำเกษตร ระบบย่อยกำรจัดจำหน่ำยสินค้ำเกษตร และ ระบบย่อยกำรส่งออกสินค้ำเกษตร มำเป็นฝ่ำยสื่อสำรประสำนงำนและไม่จำเป็นที่จะต้องทำธุรกิจในตัวสินค้ำ นั้นแต่จ ะช่วยในด้ ำนกำรเจรจำสัญ ญำทำงกำรตลำดที่ จ ะตกลงกั น ซึ่ง ในที่ นี้ จ ะขอกล่ ำวถึง ฝ่ำ ยสื่อสำร ประสำนงำนเท่ำนั้น ฝ่ายสื่อสารประสานงาน โดยปกติ ธุรกิจจะไปได้ดีต้องได้รับกำรสนับสนุนจำกฝ่ำยต่ำงๆ ทั้งภำครัฐ และเอกชน อำจรวมทั้งองค์กรระหว่ำงประเทศด้วย ในกรณีกำรเกษตรก็เช่นกัน รัฐให้กำรสนับสนุนในหลำยๆ ด้ำน นับตั้ง แต่ กำรวิจัยและค้นคว้ำทดลอง กำรพัฒ นำก ำลังคนโดยกำรให้ก ำรศึก ษำ กำรส่งเสริมกำรผลิต


170

ด้ว ยกำรฝึ ก อบรม กำรสนับ สนุน ปั จ จั ยกำรผลิต หรือ กำรเงิ นบำงส่ ว น กำรปกป้อ งจำกกำรแข่ง ขั นจำก ต่ำงประเทศ รวมทั้งกำรให้ข่ำวสำร ส่วนภำคเอกชนอำจสนับสนุนกำรเงินในรูปเงินกู้ กำรขนส่ง คลังสินค้ำและ ข้อมูลข่ำวสำร และปกป้องตนเองจำกปัจจัยภำยนอก ในรูปของสมำคมหรือชมรมกำรค้ำที่ผู้ทำธุรกิ จโดยตรง ร่วมกันก่อตั้งขึ้นมำ โดยเฉพำะในระดับผู้แปรรูปและคนกลำงในระดับขำยส่ง ขำยปลีกและส่งออก ส่วนใน ระดับเกษตรกรนั้นเป็นแบบสถำบันเกษตรกร เช่น สหกรณ์กำรเกษตรและกลุ่มเกษตรกร เพื่อกำรควบคุมกัน และกันในกำรทำธุรกิจ กำรให้ข่ำวสำรและรับข่ำวสำรจำกส่วนรำชกำร เป็นที่พบปะกันระหว่ำงสมำชิก ร่วมกัน แก้ปัญหำในกำรดำเนินธุรกิจต่ำงๆ ที่เกิดขึ้น ในบำงกรณีก็ได้รับกำรสนับสนุนจำกองค์กรระหว่ำงประเทศโดย ผ่ำนหน่วยงำนของรัฐ สถำบันเกษตรกรหรือสมำคมกำรค้ำแล้วแต่กรณี อย่ำงเช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงำนรำชกำรไทยประเภทกระทรวง ได้รับกำรสถำปนำเมื่อ วันที่ 1 เมษำยน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำง ต่อเนื่องจนมำสู่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปัจจุบัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับกำรเกษตรกรรม กำรจัดหำแหล่งน้ำและพัฒนำ ระบบชลประทำน ส่งเสริมและพัฒนำเกษตรกร ส่งเสริมและพัฒนำระบบสหกรณ์ รวมตลอดทั้งกระบวนกำร ผลิตและสินค้ำเกษตรกรรม และรำชกำรอื่นที่กฎหมำยกำหนดให้เป็นอำนำจหน้ำที่ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์หรือส่วนรำชกำรที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีหน่วยงำนในสังกัดหลำยหน่วยงำน แต่ใน ที่นี้ขอกล่ำวเพียงหนึ่งหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องกับฝ่ำยสื่อสำรประสำนงำนอย่ำงชัดเจน คือ กรมส่งเสริมการเกษตร 1.1 เป็นหน่วยงำนหลักในกำรศึกษำวิจัย และพัฒนำงำนด้ำนกำรส่งเสริมกำรเกษตรและกำร ถ่ำยทอดเทคโนโลยีเพื่อให้ได้มำซึ่งผลิตผล สินค้ำและบริกำรทำงกำรเกษตรที่มีคุณภำพ 1.2 จัดกำรส่งเสริมและพัฒนำครอบครัว และสถำบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง พึ่งพำตนเองได้ สำมำรถดำเนินกำรแข่งขันได้อย่ำงเป็นธรรม และยั่งยืน 1.3 เสริม สร้ำงให้ป ระชำชนมี ส่วนร่วม เพื่ อส่ง เสริม และพั ฒ นำวิส ำหกิ จ ชุม ชนให้มี ขี ด ควำมสำมำรถในกำรผลิ ต และแข่ ง ขั น ในกำรผลิ ต สิ น ค้ ำ และบริ ก ำร ทำงกำรเกษตรได้ ตำมแนวทำง เศรษฐกิจพอเพียง 1.4 ดำเนินกำรป้อ งกั น แก้ไขปั ญหำควำมต้องกำรของเกษตรกร ชุม ชนเกษตรกรอย่ำง พอเพี ย ง และบรรเทำภั ยธรรมชำติ ฟื้ น ฟู ห ลั ง เกิ ด ควำมเสีย หำยต่ อกิ จ กรรมทำงกำรเกษตร ทุ ก ระดั บ อย่ำงบูรณำกำร


171

ซึ่งกรมส่งเสริมกำรเกษตรได้จัดเป็นโครงกำรด้ำนกำรเตรียมควำมพร้อมของเกษตรกรในกำรผลิตสินค้ำ กำรเกษตรในหลำยๆโครงกำร ดังเช่น โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน เป็นโครงกำรเตรียมควำม พร้อมและส่งเสริมให้ผลไม้ไทย ทั้ง 4 ชนิด คือ ทุเรียน มังคุด ลำไย และมะม่วง รวมถึงเกษตรกรให้มีควำมรู้ที่ พร้อมจะยกระดับมำตรฐำนกำรผลิตที่สูงขึ้นจำกระดับเดิม (GAP) ให้ได้มำตรฐำนระดับอำเซียน (ASEAN GAP) ซึ่งฝ่ำยสื่อสำรประสำนงำนจะเข้ำไปช่วยในด้ำนกำรจัดกิจ กรรมและวิธีกำรดำเนินงำน โดยมีก ำรจัดอบรม เจ้ำหน้ำที่กำรเกษตรเพื่อส่งไปเป็นวิทยำกรให้กับเกษตรกรได้ถ่ำยทอดควำมรู้ และช่วยส่งเสริมพร้อมบริกำร พัฒนำคุณภำพสินค้ำต่อไป มีหน่วยงำนของรัฐ สถำบันกำรศึกษำ สถำบันกำรเงิน ผู้ประกอบกำรขนส่ง คลังสินค้ำ สมำคมกำรค้ำ และอื่นๆ เช่น กรมปศุสัตว์ ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร กระทรวงพำณิชย์ ฯลฯ เข้ำมำช่วย ในกำรตัดสินใจ ถ้ำกำรตัดสินใจที่ผิดนั้น ย่อมกระทบกระเทื อนผู้ประกอบธุรกิจรำยอื่นที่อยู่ ในธุรกิจประเภท เดียวกันอีกด้วย จึงเห็นได้ว่ำ ฝ่ำยสื่อสำรประสำนงำนนั้น มีควำมจำเป็นต่อกำรพัฒนำธุรกิจภำยในประเทศให้มี ประสิทธิภำพยิ่งขึ้น ดังนั้นธุรกิจกำรเกษตรจึงมีควำมสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ บุคคลทั่วไป และนักธุรกิจ เพรำะเป็น แหล่งอำหำรและปัจจัยในกำรครองชีพรวมถึง แหล่งทำธุรกิจของมนุษย์ มีควำมสำคัญต่อเศรษฐกิจ ทั้งในแง่ มูลค่ำผลิตภัณฑ์ประชำชำติ แหล่งเงินตรำต่ำงประเทศ และสร้ำงธุรกิจต่อเนื่องภำยในประเทศ โครงสร้ำงธุรกิจ เกษตรแบ่งเป็น 2 ฝ่ำย ฝ่ำยดำเนินกำรของประเทศไทยมี 6 ระบบย่อย ได้แก่ ปัจจัยกำรผลิต กำรผลิตสินค้ำ เกษตร กำรจัดหำ กำรแปรรูป /เก็บรัก ษำ กำรจัดจำหน่ำยและกำรส่งออก และธุรกิจกำรเกษตรย่อมต้องมี ควำมสัมพันธ์ต่อฝ่ำยสื่อสำรประสำนงำน มีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่ง ที่ให้กำรสนับสนุนและอำนวยควำมสะดวก ต่ำงๆ มีทั้งเอกชนและรัฐ ต้องให้กำรบริกำรที่เต็มใจ มูลค่ำธุรกิจเกษตรชี้ให้เห็นกำรเปลี่ยนกำรเกษตรจำกแบบ เพื่อเลี้ยงตนเองมำเป็นแบบกำรค้ำมำกขึ้น ทำให้นึกถึงควำมสำคัญของธุรกิจกำรเกษตรลดลง มีกำรซื้อและใช้ ปัจจัยกำรผลิตมำกขึ้น เพื่อผลิตให้ได้สินค้ำที่มี คุณภำพตรงกับควำมต้องกำรทั้งเพื่อกำรบริโภคสดและกำร แปรรูป ทำให้กำรส่งออกสินค้ำเกษตรแปรรูปมำกขึ้น จึงเกิดผลกระทบต่อสินค้ำเกษตรที่ผลิตได้ไม่ดีเท่ำที่ควร อย่ำงไรก็ตำม หำกมีผู้สนใจศึกษำและประกอบอำชีพธุรกิจกำรเกษตรที่คำนึงถึงควำมสำคัญของธุรกิจ กำรเกษตรกับกำรสื่อ สำรประสำนงำนเพิ่ม มำกขึ้น รวมถึงในด้ำนอื่นๆด้วย เชื่อได้ว่ำในอนำคตประเทศไทย ย่อมต้องมีผลผลิตทำงกำรเกษตรที่มีคุณภำพและประสิทธิภำพที่ดีขึ้นไปสู่ประชำคมอำเซียนได้อย่ำงแน่นอน


172

บรรณานุกรม จี ร เกี ย รติ อภิ บุ ญ โยภำส และคณะ. 2546. ความรู้ ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ การเกษตร. มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช.

นนทบุ รี :

ศิณีย์ สังข์รัศมี . 2530. ธุรกิจการเกษตร. กรุงเทพฯ: ภำคบริหำรธุรกิจเกษตร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง. สมคิด ทักษิณำวิสุทธิ์ . 2548. ธุรกิจเกษตรเบื้องต้น . จตุจักร กรุงเทพฯ: ภำควิชำเศรษฐศำสตร์เกษตรและ ทรัพยำกร คณะเศรษฐศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์.

น.ส. กรัณฑรัตน์ โต๊ะการิม (54040724) น.ศ. นิเทศศาสตร์เกษตร ผู้เขียนบทความวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (25/11/57)


173

การสื่อสารของธุรกิจแฟรนไชส์ "เซเว่น อีเลฟเว่น" กฤษติยา สวนพรหม 54040725 บทนา ปัจจุบันประชากรในประเทศไทยส่วนใหญ่จะอยู่ในภาวะที่ต้องเร่งรีบแข่งกับเวลาทาให้ต้องการความ สะดวกและรวดเร็วในการดาเนินชีวิตในแต่ละวัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่เกิดจากขนาดของครัวเรือนที่มีขนาดเล็กลง ประชากรที่อาศัยอยู่คนเดียวและคู่สมรสที่ไม่มีบุตรมีเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีแนวโน้มที่จะทาอาหารเองลดลง นิยมซื้ออาหารสาเร็จรูปหรือรับประทานอาหารนอกบ้านแทน ดังนั้นทางเลือกหลักของประชากรในยุคนี้จึงหนี ไม่พ้นร้านสะดวกซื้อ ซึ่งถ้ากล่าวถึงร้านสะดวกซื้อที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภคนั้นคือ “เซเว่น อีเลฟเว่น” เซเว่น อีเลฟเว่น ธุรกิจแฟรนไชส์อันดับหนึ่งของประเทศไทย ที่สามารถครองใจผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบัน สิ่งสาคัญที่ทาให้เซเว่น อีเลฟเว่น เป็นที่หนึ่งนั้น คงเป็นเพราะความสะดวกและความรวดเร็วที่ ผู้บริโภคได้รับการบริการ อีกทั้งยังมีสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพพร้อมที่ จะให้บริการ มีความทันสมัย สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทยที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงความสะดวกในเรื่องของการชาระค่าสาธารณูปโภค ทุกประเภท ได้แก่ ค่าน้า ค่าไฟฟ้า โทรศัพท์ และค่าบริการจากบัตรผ่อนสินค้าประเภทต่างๆ ที่เป็นที่นิยมอย่าง มากเพราะทาให้ผู้บริโภคประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ทั้งยังรับชาระตลอด 24 ชั่วโมง ทาให้ เซเว่น อีเลฟเว่น มีสาขากระจายทั่วทั้งภูมิภาค จึงเป็นธุรกิจหนึ่งที่ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ซื้อแฟรนไชส์เพื่อเปิด ให้บริการ ที่มาของธุรกิจแฟรนไชส์ ธุรกิจ แฟรนไชส์ เป็น ธุรกิจที่ มี การให้สิทธิและส่วนการครอบครองการบริหารจัดการและการจัด จาหน่ายทั้งหมดในมือของผู้ที่ได้รับกรรมสิทธิ์ โดยการออกขายสิทธิ์ที่ได้รับสัมปทาน รวมทั้งขายชื่อของกิจการ ระบบการทางานของตัวเองให้ผู้อื่น และทาให้มีแบบแผนในการจัดการไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่ง ในการขยายตลาดและช่ อ งทางการจั ด จ าหน่ า ยของธุ ร กิ จ ผ่ า นผู้ ป ระกอบการอิ ส ระโดยบริ ษั ท จะให้ สิ ท ธิ เครื่องหมายการค้าและวิธีการในการทาธุรกิจที่จะถ่ายทอดให้ในรูปแบบของการทางาน เพื่อที่จะให้การดาเนิน ธุรกิจในทุกๆสาขาอยู่ในมาตรฐานเดียวกันตามต้นแบบของบริษัท ธุรกิจแฟรนไชส์ ใ นประเทศไทยมี การริเริ่มมากกว่า 20 ปี เริ่มตั้ งแต่ปีพ.ศ. 2526 ธุร กิจแรกๆ ที่ พยายามผลักดันการขยายงานโดยใช้รูปแบบแฟรนไชส์ เป็นธุรกิจด้านอาหารและร้านค้าแบบมินิมาร์ท แม้ว่าใน ช่วงแรกจะมีปัญหาในเรื่องความเข้าใจที่ถูกต้องของสิทธิ ที่มักให้แฟรนไชส์เป็นผู้ลงทุน ที่เน้นทาธุรกิจแบบซื้อ เพื่อการลงทุน ไม่มีการมองถึงการสร้างธุรกิจของตนเอง ทาให้เ กิดปัญหาจากการจัดการธุรกิจก็ตาม แต่ ธุรกิจแฟรนไชส์ก็ยังเป็นหนึ่งในธุรกิจที่ผู้ประกอบการจานวนไม่น้อยยังให้ความสนใจ อาจเพราะเป็นธุรกิจที่มี สูตรสาเร็จในการบริหารการจัดการทั้งทางด้านการผลิตและระบบการบริหารที่ครบครัน อีกทั้งยังคุ้มค่ากับการ ลงทุน


174

องค์ประกอบของ “เซเว่น อีเลฟเว่น” การเริ่มทาธุรกิจในแต่ละอย่างนั้น เกิดจากหลากหลายองค์ประกอบมาประกอบกันจนมาเป็นธุรกิจได้ รวมถึงธุรกิจแฟรนไชส์ก็เช่นเดียวกัน โดยองค์ประกอบของธุรกิจแฟรนไชส์ “เซเว่น อีเลฟเว่น” มี 4 ประการ ดังนี้ 1. ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) (CP ALLPUBLIC COMPANY LIMITED) บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2531 เป็นบริษัทหลักในกลุ่มธุรกิจการตลาดและ การจัดจาหน่ายของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ประกอบธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้านค้าสะดวกซื้อภายใต้ เครื่องหมายการค้า 7-Eleven ในประเทศไทย นอกจากนี้ยังประกอบธุรกิจต่างๆ ที่เป็นการสนับสนุนธุรกิจหลัก เช่น ธุรกิจเป็นตัวแทนรับชาระค่าสินค้าและบริการ (บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จากัด) ธุรกิจผลิตและจาหน่าย อาหารแช่แข็งและเบเกอรี่ (บริษัท ซี.พี. ค้าปลีกและการตลาด จากัด) ธุรกิจจาหน่ายและซ่อมแซมอุปกรณ์ค้า ปลีก (บริษัท รีเทลลิงค์ (ไทยแลนด์) จากัด) ธุรกิจให้บริการชาระค่าสินค้าและบริการผ่า นบัตรสมาร์ทการ์ด (บริษัท ไทยสมาร์ทคาร์ด จากัด) ธุรกิจให้บริการด้านระบบสารสนเทศ (บริษัท โกซอฟท์ (ประเทศไทย) จากัด) ธุรกิจบริการขนส่งและกระจายสินค้า (บริษัท ไดนามิค แมนเนจเม้นท์ จากัด) ธุรกิจให้บริการด้านการตลาด (บริษัท เอ็ม เอ เอ็ม ฮาร์ท จากัด) ธุรกิจโรงเรี ยนอาชีวะศึกษาด้านค้าปลีก (บริษัท ศึกษาภิวัฒน์ จากัด) และ ธุรกิจการจัดฝึกอบรมการจัดการสัมมนาทางวิชาการทางธุรกิจ (บริษัท ปัญญธารา จากัด) เป็นต้น 2. ผู้ประกอบการ “เซเว่น อีเลฟเว่น” เซเว่ น อี เ ลฟเว่ น มี ผู้ ป ระกอบการ 2 ประเภทคื อ ผู้ ป ระกอบการที่ เ ป็ น บุ ค ลากรของบริ ษั ท และ ผู้ประกอบการที่ซื้อแฟรนไชส์ ซึ่งถ้าเป็นผู้ประกอบการของบริษัทองค์กรจะเป็นผู้ดาเนินการเองทุกขั้นตอน แต่ ถ้าเป็นผู้ประกอบการที่ซื้อแฟรนไชส์จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 2.1 เป็นบุคคลที่สามารถจัดตั้งนิติบุคคล จดทะเบียนในประเทศไทยได้ 2.2 บริหารร้านโดยตนเองพร้อมกับมีบุคลากรที่มีความสามารถ 2.3 บุคลากรสามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และมาตรฐานของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด 2.4 มีความพร้อมของเงินลงทุน 3. สินค้า “เซเว่น อีเลฟเว่น” จัดจาหน่าย สินค้าอุปโภคบริโภค และการให้บริการต่างๆ สินค้าที่ทาง เซเว่น อีเลฟเว่น นามาจาหน่าย นั้น ก็ จ ะเป็ น สิ นค้ า อุ ปโภคบริโ ภคต่า งๆ จุด เด่ นของที่ นี่ค งจะเป็ น ในเรื่ อ งของการจั ด เรี ย งสิ นค้ า ให้ต รงกั บ กลุ่มเป้าหมาย โดยจะเน้นอาหารและเครื่องดื่มเป็นหลัก อีกทั้งเวลาของการเปิดให้บริการที่เปิดตลอด 24 ชม. จึงสนองความต้องการของกลุ่มผู้ บริโภคได้เป็นอย่างดี 4. ผู้บริโภค “เซเว่น อีเลฟเว่น” ผู้ที่ใช้ประโยชน์จากสินค้าหรือบริการขั้นสุดท้าย เพื่อตอบสนองความต้องการโดยตรงของบุคคลผู้นั้น โดยทั่วไป ผลที่ได้รับจากการบริโภคคือ อรรถประโยชน์หรือความพอใจ ผู้บริโภคอาจจะเป็นปัจเจกบุคคล กลุ่ม บุคคล ครัวเรือน เป็นต้น


175

กระบวนการการสื่อสารของ “เซเว่น อีเลฟเว่น” การสื่อสาร กระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างบุ คคลต่อบุคคลหรือบุคคลต่อกลุ่ม ที่ ใช้ สัญลักษณ์ สัญญาณ หรือพฤติกรรมเพื่อความเข้าใจตรงกัน การสื่อสารนั้นมีการนิยามความหมายของคานี้ไว้ อย่างมากมาย อย่างเช่น วิลเบอร์ ชแรมม์ (Wilber Schramm) ให้ความหมายว่า การสื่อสาร คือการมีความ เข้าใจร่วมกัน ต่อเครื่องหมายที่แสดงข่าวสาร, ยอร์จ เอ มิลเลอร์ (Goorge A. Miller) ให้ความหมายว่า การ สื่อสารเป็นการถ่ายทอดข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง รวมถึง จอร์เกน รอย และเกกอรี เบทสัน (Jurgen Ruesch and Gregory Bateson) ก็ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสื่อสารไม่ใช่การถ่ายทอดข่าวสารด้วยภาษาพูด และเขียนโดยมีเจตนาชัดเจนเท่านั้น แต่หมายถึงพฤติกรรมทุกอย่า งที่บุคคลหนึ่งกระทา แล้วส่งผลให้บุคคลอื่น เกิดความเข้าใจ (ศิริวรรณ อนันต์โท, 2553) และด้วยมุมมองความคิดและความเข้าใจในคาจากัดความของการสื่อสารนั้น มีความแตกต่างกันจึงทา ให้มีหลากหลายทฤษฏีที่เกิดขึ้นมาเพื่ออธิบายกระบวนการการสื่อสารนี้อย่างมากมาย เช่น ทฤษฏีการสื่อสาร ทางเดียวเชิงเส้นตรง คล็อด อี. แชนนัน (Claude E.Shannon) และวอร์เรนวีเวอร์ (Warren Weaver) การสื่อสารที่เริ่มด้วยผู้ส่งซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลทาหน้าที่ส่งเนื้อหาข่าวสารเพื่อส่งไปยังผู้รับ โดยผ่านทางเครื่องส่ง หรือตัวถ่ายทอดในลักษณะของสัญญาณที่ถูกส่งไปในช่องทางต่าง ๆ กันแล้วแต่ลักษณะของการส่งสัญญาณแต่ ละประเภท เมื่อทางฝ่ายผู้ได้รับสัญญาณแล้ว สัญญาณที่ได้รับจะถูกปรับให้เหมาะสมกับเครื่องรับหรือการรับ เพื่อทาการแปลสัญญาณให้เป็นเนื้อหาข่าวสารนั้นอีกครั้งหนึ่งให้ตรงกับที่ผู้ส่งสารส่งมาก ในขั้นนี้เนื้อหาที่รับจะ ไปถึงจุดหมายปลายทางคือ ผู้รับตามที่ตองการ แต่ในบางครั้งสัญญาณที่สงไปอาจถูกรบกวนหรืออาจมีบางสิ่ง บางอยางมาขัดขวางสัญญาณนั้น ทาให้สัญญาณที่สงไปกับสัญญาณที่ไดรับมีความแตกตางกันเป็นเหตุให้เนื้อ หาขาวสารที่สงจากแหล่งข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทางอาจผิดเพี้ยนไปนับเป็นความล้มเหลวของการส่งสารนี้ ทฤษฏีการสื่อสารเชิงวงกลมของออสกูดและชแรมม์ ไม่เน้นแต่องค์ประกอบของการสื่อสารเท่านั้น แต่รวมถึง พฤติกรรมของทั้งผู้ส่งและผู้รับด้วยโดยที่แบบจาลองการสื่อสารเชิงวงกลมนี้จะมีลักษณะของการสื่อสารสอง ทางซึ่งตรงกันข้างอย่างเห็นได้ขัดกับการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนนันและวีเวอร์ ข้อแตกต่างอีก ประการคือในขณะที่ความสนใจของแชนนันและวีเวอร์อยู่ที่ช่องทางการติดต่อระหว่างผู้ส่งและผู้รับ แต่ออสกูด และชแรมม์ ไ ด้ มุ่ ง พิ จ ารณาและเฉพาะพฤติ ก รรมของผู้ ส่ ง และผู้ รั บ ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่ มี ส่ ว นส าคั ญ มากที่ สุ ด ใน กระบวนการสื่อสาร อย่างไรก็ตามถึงแม้ทฤษฎีการสื่อสารจะมีอยู่มากมาย แต่ทฤษฎีที่ได้รับการยอมรับจากคนทั่วโลกมาก ที่สุดนั้นก็คือ กระบวนการสื่อสาร SMCR ของเบอร์โล (Berlo) เดวิด เค เบอร์โล (David K. Berlo) เป็นผู้คิดกระบวนการของการติดต่อสื่อสารไว้ในลักษณะรู ป แบบจาลอง SMCR อันประกอบด้วยหลักการสื่อสารมีปัจจัยพื้นฐานอยู่ 4 ประการ ตามหลักทฤษฎี “SMCR” ซึ่งหมายถึง


176

S (Source) คือผู้ที่ทาหน้าที่ส่งสาร M (Message) คือสาร หรือข้อมูลข่าวสาร (Information) C (Channel) คือช่องทาง หรือสื่อ (Media) R (Receiver) คือผู้รับสาร

ที่มา : http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111pic/mc111_03_07.gif

และหากมองในมุ มมองของกระบวนการการสื่อสารของธุรกิจแฟรนไชส์อย่างเซเว่น อีเลฟเว่น ที่ สามารถทาให้ผู้ประกอบการรายย่อยให้ความสนใจในธุรกิจนี้ตามแบบจาลอง S M C R ของเบอร์โลแล้วจะ สามารถจาแนกได้ ดังนี้ S (Source) คือ บริษัท CP ALL ทาการขยายกิจการให้กว้างขึ้นโดยใช้ระบบแฟรนไชส์ หรือการให้ อนุญาต สิทธิช่วง ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้สนใจ สามารถเข้ามาบริหารกิจการที่คุ้มค่าต่อการลงทุนอย่างเปิดกว้าง M (Message) คือ ร้านสะดวกซื้อ เซเว่น อีเลฟเว่น เป็นกิจการค้าปลีกในลักษณะร้านอิ่มสะดวก ซึ่ง ดาเนินธุรกิจจัดจาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค และการให้บริการต่างๆเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความพึงพอใจสูงสุด โดยเฉพาะเซเว่น อีเลฟเว่นนั้นมีฐานความนิยมอยู่แล้วในการใช้บริการทาให้ผู้ประกอบการไม่ต้องสร้างความ นิยมใหม่ อีกทั้งยังมีทีมงานในการช่วยพิจารณาความคุ้มค่าในการลงทุนอีกด้วย C (Channel) คือ การโฆษณาของ เซเว่น อีเลฟเว่น มีการโฆษณา ผ่านสื่อต่างๆ ทั้ง วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และหนังสือนิตยสารชั้นนาต่างๆ ให้ผู้ประกอบการมี ความเข้าใจและจดจาเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของ เซเว่น อีเลฟเว่น รวมทั้งยังมีการโปรโมทธุรกิจแฟรนไชส์เซเว่น อีเลฟเว่นผ่านเว็บไซต์ franchiserthailand.com เพื่ อ ให้ ผู้ ป ระกอบการที่ ส นใจเริ่ ม ท าธุ ร กิ จ ได้ รู้ ข้อมูลในการทาธุรกิจเบื้องต้น R (Receiver) คือ ผู้ประกอบการ เซเว่น อีเลฟเว่น นั้นมีผู้ประกอบการ 2 ประเภทคือ ผู้ประกอบการ ที่เป็นบุคลากรของบริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) และผู้ประกอบการทั่วไปที่มาซื้อแฟรนไชส์เพื่อนาไปสร้าง


177

ธุรกิจ ซึ่งผู้ประกอบการนั้นก็คือผู้ตัดสินใจในการซื้อธุรกิจแฟรนไชส์เพื่อขยายผลประกอบการทางการตลาด ให้กับบริษัท CP ALL ต่อไป F (Feedback) คือ ผู้บริโภค การที่มีผู้บริโภคใช้บริการร้านสะดวกซื้อ เซเว่น อีเลฟเว่น มากขึ้นส่วน หนึ่งเพราะสะดวก รวดเร็ว มี ความมั่นใจในคุณภาพของสินค้า และคิดว่าราคา มีความยุติธรรม พนักงาน ให้บริการดี มีสินค้าที่หลากหลายทั้งสินค้าอุปโภคและบริโภค สรุป ในอนาคตของธุรกิจแฟรนไชส์เซเว่น อีเลฟเว่น มีแนวโน้มที่จะมีการขยายสาขาเพิ่มขึ้น เนื่องจากบาง พื้นที่ของชุมชนยังไม่มีบริการร้านสะดวกซื้อ ผู้ประกอบการหรือบริษัทอาจเล็งเห็นแนวทางในการให้บริการเพื่อ รองรับความต้องการผู้บริโภคอย่างทั่วถึง อีกทั้งในเรื่องสินค้าในเซเว่น อีเลฟเว่นอาจมีบริการมากขึ้น เช่น อาหารจานด่วน ผลไม้สด ของหวาน เป็นต้น และในปัจจุบันทางเซเว่น อีเลฟเว่นได้มีการทดลองให้บริการ อาหารจานด่วนหรือ All meal ขึ้น เพื่อตอบรับผู้บริโภคที่ต้องการรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ รวดเร็ว รสชาติดี มีที่ให้นั่งรับประทานอาหารได้ ซึ่งมีสาขาตัวอย่างที่สาขาประชาสงเคราะห์ 23 และคาดว่าจะมีหากมี ผลตอบรับที่ดี อาจมีการขยายไปในสาขาอื่นๆในอนาคตอีกด้วย เอกสารอ้างอิง ทศ คณนาพร. (2549). คัมภีร์ธุรกิจค้าปลีกยุคใหม่. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บลูพริ้น ดีซายน์ ธานี ปิติสุข. (2536). เส้นทางใหม่ของการทาธุรกิจแฟรนไชส์. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บิ๊กบุ๊ค สานักกิจกรรมสื่อสารองค์กร เครือเจริญโภคภัณฑ์. ซีพี ออลล์ ชู "นวัตกรรม" เน้นกลยุทธ์ "Food&Differentiate". [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.baanjomyut.com/library/communication_theory/03_2.html (วันที่ค้นข้อมูล: 13 พฤศจิกายน 2557) คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. The success story of 7-eleven. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.scribd.com/doc/40712079/16/Supply-Chain-Management (วันทีค่ ้นข้อมูล : 13 พฤศจิกายน 2557)


178

การสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตร การสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตร ถือเป็ นสิ่ งสาคัญในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มทาง การเกษตร ในการสื่ อสารแต่ละครั้งนั้นจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีรูปแบบในการสื่ อสาร เพื่อช่วยให้การรับส่ ง สารนั้นเป็ นไปได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ได้ต้ งั ไว้ ดังนั้น กลุ่มทางการเกษตร จะต้องเข้าถึงการสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตรในรู ปแบบต่างๆ และนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มของ ตนเองให้ได้มากที่สุด

การสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตร เป็ นการสื่ อสารโดยมีเจ้าหน้าที่ส่งเสริ มหรื อพัฒนากรทาการสื่ อสารกับเกษตรกรหลายๆรายพร้อมกัน โดย การอภิปรายพูดคุยกับเกษตรกรจานวนมากโดยตรง เพื่อเสริ มสร้างความรู ้ ความเข้าใจ หรื อแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นพร้อมกันในหมู่คนที่พบปะกันนั้น

รู ปแบบการสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตร 1. การประชุม จัดขึ้นเพื่อแนะนาเกี่ยวกับความรู ้หรื อข้อปฏิบตั ิใหม่ๆ รวมทั้งการรับฟังความคิดเห็นเพื่อ ต้องการทราบปัญหาและความต้องการของเกษตรกร 2. การบรรยาย เป็ นการถ่ายทอดความรู ้แก่กลุ่มเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความหมายในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งอันจะเป็ น ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและการปฏิบตั ิต่อไป 3. การฝึ กอบรม เป็ นการให้ความรู ้อย่างเป็ นระบบเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของเกษตรกร 4. การทัศนศึกษา เป็ นการทาให้เกษตรกรได้รับรู ้จากการได้พบเห็นและเรี ยนรู ้ส่ิ งที่เป็ นจริ งที่ตนได้พบมา 5. การสาธิตวิธี เป็ นการสอนความชานาญให้กบั กลุ่มเป้ าหมายในวิธีปฏิบตั ิ เพื่อนาไปพัฒนาขีด ความสามารถในการประกอบการระดับสู งขึ้น 6. การสาธิตผล เป็ นการสอนให้เกษตรกรรับรู ้เหตุผลและความจาเป็ นว่าทาไมจึงต้องปฏิบตั ิ เพราะเป็ นการ มุ่งพิสูจน์ให้กลุ่มเป้ าหมายได้เห็นและยอมรับวิธีการใหม่ๆ การติดต่อสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตรนั้นมีขอ้ ดีคือการส่ งสารถึงบุคคลหลายคนได้คราวเดียวกันและ สามารถทราบถึงปฏิกิริยาโต้ตอบ แต่มีขอ้ จากัดคือถ้ากลุ่มขนาดใหญ่ข้ ึนจะลดประสิ ทธิภาพการสื่ อสารลง และปฏิกิริยาโต้ตอบก็จะน้อยลงด้วย


179

กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรเป็ นบุคคลผูป้ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ นหลักจานวนไม่นอ้ ยกว่า30คน และมี วัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาจร่ วมกันจัดตั้งเป็ นกลุ่ม เกษตรกรและจดทะเบียนจัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาฯ เช่นการจัดตั้ง กลุ่มเกษตรกรที่ทานา ทาไร่ ทาสวน ประมง เลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรรมประเภทอื่นๆ วิธีการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรตามขั้นตอนดังนี้ 1. การรวบรวมเกษตรกร เกษตรกรต้องเป็ นบุคคลธรรมดาบรรลุนิติภาวะและมีสัญชาติไทย มี จานวนไม่นอ้ ยกว่า 30 คน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประเภทเดียวกันและมีภูมิลาเนาในท้องที่เดียวกัน และ ยินยอมที่จะปฏิบตั ิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเกษตรกรและข้อบังคับที่ร่วมกันกาหนดขึ้นโดยเคร่ งครัด 2. การเตรี ยมการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร ต้องเลือกบุคคลจากที่ประชุมจานวนไม่นอ้ ยกว่า 7 คน เป็ น คณะผูก้ ่อการเพื่อร่ างข้อบังคับของกลุ่มเกษตรกร 3. จัดประชุมเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์ของกลุ่มเกษตรกรและพิจารณาร่ างข้อบังคับของกลุ่ม เกษตรกรในการจัดประชุมทุกครั้ง 4. สานักงานสหกรณ์จงั หวัดท้องที่จดั ส่ งเอกสารการขอจดทะเบียนกลุ่มเกษตรกรให้นายทะเบียน กลุ่มเกษตรกรประจาจังหวัดแห่งท้องที่ที่จะจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร 5. การดาเนินการหลังจากได้รับจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีสถานภาพ เป็ นสมาชิกตั้งแต่วนั ที่นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจาจังหวัดแห่งท้องที่รับจดทะเบียน และได้ชาระค่าหุ น้ ค่าธรรมเนียม แรกเข้าตามจานวนที่กาหนดครบถ้วนคณะผูก้ ่อการต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่ครั้งแรก ภายใน 90 วัน นับแต่วนั รับใบทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร

การสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตร : กรณี ศึกษา โครงการพัฒนาเครื อข่ายกลุ่มอาชีพเกษตรกรใน จังหวัดลพบุรี โดยมีกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มสตรี สหกรณ์ในจังหวัดลพบุรี ได้จดั ตั้งกลุ่มอาชีพสหกรณ์ จังหวัดลพบุรีข้ ึน เพื่อเป็ นการช่วยเหลือสมาชิกเครื อข่ายกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น การจัดหาช่องทางการจาหน่าย สิ นค้าและผลิตภัณฑ์ให้แก่สมาชิก สามารถฝากขายสิ นค้า ผลิตภัณฑ์ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร หรื อร้านค้า อื่นๆได้ และเป็ นการเพิ่มช่องทาง ทางการตลาดให้กบั กลุ่มเกษตรกร โดยมีการติดต่อสื่ อสารระหว่างกลุ่ม คือกลุ่มเกษตรกรจะเป็ นผูก้ าหนดรู ปแบบการสื่ อสารเพื่อให้เกิดการยอมรับระหว่างกลุ่ม


180

โดยมีสื่อบุคคลที่มีความรู ้ คือกลุ่มอาชีพสหกรณ์จงั หวัดลพบุรี เป็ นผูเ้ ชื่อมโยงการติดต่อสื่ อสารเพื่อให้ กิจกรรมประสบความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ได้ต้ งั ไว้ จากการวิเคราะห์โครงการพัฒนาเครื อข่ายกลุ่มอาชีพเกษตรกรในจังหวัดลพบุรีกบั รู ปแบบการสื่ อสารทาง การเกษตรแบบกลุ่มพบว่า มีการใช้การสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตรเพียง 3 รู ปแบบดังนี้ การฝึ กอบรม และการสาธิตวิธี โดยที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวแต๋ นน้ าแตงโมลพบุรี ได้สาธิตวิธีการทา ข้าว แต๋ นน้ าแตงโม ให้กบั กลุ่มเกษตรกรที่มาเข้าร่ วม พร้อมทั้งให้ความรู ้เกี่ยวกับระบบการจัดการภายในกลุ่ม เกษตรกร ซึ่งประสบความสาเร็ จและสามารถนามาเป็ นแบบอย่างให้กบั กลุ่มเกษตรกรรายอื่นได้นาไปใช้โดย กลุ่มสตรี สหกรณ์บา้ นโพธิ์เก้าต้น ได้เชื่อมโยงกับ กลุ่มปลาส้มฟัก “ป้ าแอ๊ว” , กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวแต๋ น น้ าแตงโมลพบุรี ซึ่งกลุ่มอาชีพสหกรณ์จงั หวัดลพบุรีเป็ นผูจ้ ดั กิจกรรมนี้ข้ ึน

ภาพกิจกรรมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวแต๋ นน้ าแตงโมลพบุรี แลกเปลี่ยนความรู ้เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ภายในกลุ่มให้กบั กลุ่มสมาชิกสหกรณ์จงั หวัดลพบุรี


181

การจัดประชุ ม ในการจัดกิจกรรมตั้งตลาดขายสิ นค้าเฉพาะกิจนั้น จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการจัดประชุม เพื่อทราบถึงความต้องการของกลุ่มเกษตรกรเครื อข่ายภายในกลุ่มสหกรณ์จงั หวัดลพบุรี และให้เกิดการ ยอมรับข้อตกลงระหว่างกลุ่ม ซึ่งการจัดกิจกรรมตั้งตลาดขายสิ นค้าเฉพาะกิจ มีเครื อข่ายกลุ่มอาชีพสหกรณ์ จังหวัดลพบุรีร่วมกับสานักงานสหกรณ์จงั หวัดลพบุรี ได้ประสานหน่วยราชการและสถานประกอบการเพื่อ เพิ่มช่องทางการจาหน่ายสิ นค้าให้กบั สมาชิกสหกรณ์จงั หวัดลพบุรี

ภาพบรรยากาศการประชุมระหว่างกลุ่มสหกรณ์จงั หวัดลพบุรีกบั กลุ่ม เกษตรกรเครื อข่ายที่เป็ นสมาชิก

การจาหน่ายสิ นค้า ณ บริ เวณโรงอาหารอาคาร ๑ และ ๒ บริ ษทั เอ็นเอ็มบีมินีแบ ลพบุรี อิเลคทรอนิคส์ ประเทศไทย จากัด


182

การสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตร เป็ นการสื่ อสารเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มทางการเกษตร โดยมีรูปแบบ ในการสื่ อสารที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถสื่ อสารกับบุคคลหลายคนได้ในคราวเดียวกัน และสามารถมีปฏิกิริยา โต้ตอบ เพื่อให้ทราบถึงความต้องการและเข้าถึงการสื่ อสารอย่างเห็นได้ชดั เช่น การสาธิตวิธีในโครงการ พัฒนาเครื อข่ายกลุ่มอาชีพเกษตรกรในจังหวัดลพบุรี ได้มีการสาธิตวิธีทาข้าวแต๋ นน้ าแตงโมให้กบั กลุ่ม เกษตรกรที่มาร่ วมกิจกรรม และให้ความรู ้เกี่ยวกับการจัดการระหว่างกลุ่ม ซึ่งการสื่ อสารที่ใช้น้ ีจะเห็นได้วา่ กลุ่มเกษตรกรที่มาร่ วมกิจกรรม จะได้รับความรู ้จากการสาธิต และได้เรี ยนรู ้วิธีการทาข้าวแต๋ นน้ าแตงโมจาก ผูท้ ี่มีความรู ้ และเมื่อได้รับความรู ้แล้ว ก็จะเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ้กนั เกิดขึ้น จึงทาให้การสื่ อสารแบบ กลุ่มทางการเกษตร เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบกัน จนทาให้การสื่ อสารแบบกลุ่มทางการเกษตรนั้น ประสบ ความสาเร็ จ และสมบูรณ์แบบตามวัตถุประสงค์


183

เอกสารอ้ างอิง ปรัชญา เวสารัชช์ . 2530. สื่ อสารเพื่อการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่14. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช กิติมา สุ รสนธิ . 2541. ความรู ้ทางการสื่ อสาร. พิมพ์ครั้งที่3. กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สานักงานสหกรณ์จงั หวัดลพบุรี. 2556. การพัฒนากลุ่มเครื อข่ายอาชีพจังหวัดลพบุรี.(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก http://webhost.cpd.go.th/lopburi คณะปฏิวตั ิ. 2515. การจัดตั้งกลุ่มทางการเกษตร.(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก http://www.nonsaad-waengyai.go.th/UserFiles/File/Prakad/d20.pdf


184

โฆษณาแฝง กลยุทธ์การสื่อสารเข้าถึงผู้บริโภคอย่างแนบเนียน นายคุณานนต์ จินดาสมุทร์ รหัสนักศึกษา 54040731 หลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

บทนา ในปัจจุบันการทําตลาดของสินค้าและธุรกิจบริการจําเป็นที่จะต้องหาช่องทางในการสื่อสารเพื่อเข้าถึง ผู้บริโภคและกลุ่มเป้าหมายให้ได้ มากที่สุด โดยอาศัยช่องทางการสื่อ สารที่มีอยู่อย่างหลากหลายเพื่อทําให้ ผู้บริโภค เกิดการรับรู้จดจําตราสินค้าจนกระทั่งสามารถกระตุ้นให้เ กิดพฤติกรรมการซื้อ สิ่งเหล่านี้เรียกว่าเป็น กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (Integrated Marketing Communication) คือ การประสม ประสานเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดโดยใช้ทุกเครื่องมือของการจูงใจที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดการรับรู้ข่าวสาร และภาพลักษณ์ที่ สอดคล้องกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมุ่งไปยังกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดผลตามที่มุ่งหวัง (เสรี วงษ์มณฑา, 2542) ในปัจจุบันการทําโฆษณาที่กําลังได้รับความนิยม คือ การนําตราหรือสัญลักษณ์สินค้า สอดแทรกเข้าไปเป็นส่วนหนึ่ง ในสื่ อต่างๆเพื่อให้ผู้รับสารหรือกลุ่มเป้าหมายได้รับรู้และซึมซับเข้าไปอย่าง แนบเนียนที่สุด ซึ่งสิ่งเหล่านี้เรียกว่า การโฆษณาแฝง โดยมีจุดเริ่มต้นจากสินค้าประเภทขนมขบเคี้ยว เอ็ม แอนด์เอ็ม (M&M) ที่เข้าไปเกี่ยวข้องในภาพยนตร์ เรื่อง E.T. The Extra-Terrestrial ทําให้บริษัทมียอดขาย เพิ่มขึ้น 80% เมื่อผู้คนเริ่มเคยชินกับการโฆษณาแบบตรงๆ เช่นนี้ กลยุทธ์การโฆษณาแฝงก็ได้รับความนิยมขึ้นมา แทนที่ เป็นการโฆษณาที่แฝงไปกับเนื้อหาของรายการต่างๆ ทั้งละคร เกมโชว์ ทอล์คโชว์ ข่า วประจําวันหรือ รายการวาไรตี้อื่นๆ เพื่อสร้างการรับรู้ Brand สินค้าที่ต้องการโฆษณาให้เข้าถึงผู้บริโภคอย่างแนบเนียน ไม่ กระโตกกระตาก ผู้บริโภคยังคงรู้สึกสนุกสนานกับรายการนั้นๆ ตามปกติ ไม่ได้รู้สึกอึดอัดรําคาญใจเพราะสินค้า เหล่านั้นถูกจัดให้กลมกลืนไปกับเนื้อเรื่องและพล็อตเรื่องอย่างลงตัวนั่นเอง ในบทความนี้กล่าวถึง กลยุทธ์การโฆษณาแฝงที่อยู่ในสื่อต่างๆ และผลกระทบในหลายๆ มิติ การที่ ผู้บริโภคได้ทราบถึงกลยุทธ์เพื่อที่จะไม่ถูกเอาเปรียบ และให้การโฆษณาเข้าสู่กระบวนการที่ถูกต้องต่อไป สาเหตุหลักทีท่ าให้เกิดโฆษณาแฝง 1) พฤติกรรมการเลี่ยงการเปิดรับชมโฆษณา จากการใช้เทคโนโลยียุคแรกคือการกดรีโมทหนีโฆษณา ยุคสองคือการเกิดขึ้นของ ipTv เครื่องบันทึกรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลที่สามารถเลือกดู รายการใด เวลาไหน และสามารถตัดหรือข้าม เนื้อหาโฆษณาได้ 2) เพื่อลดต้นทุนการโฆษณาของเจ้าของสินค้า เนื่องจากเจ้าของสินค้าและบริการค้นพบว่า ประสิทธิภาพของโฆษณาตรงๆ ที่ทําเป็น ภาพยนตร์โฆษณาความยาว 15-30 วินาที ที่ฉายออกอากาศในช่วงเวลาโฆษณานั้น ไม่น่าจะมีประสิทธิภาพใน การสร้าง โน้มน้าวใจ หรือเชื้อเชิญให้เกิดพฤติกรรมซื้อได้มากเท่าใดในขณะที่โฆษณาตรงนั้น ขายอย่างโจ่งแจ้ง


185

แต่โฆษณาแฝงสามารถขายแบบแนบเนียนได้ ผู้ชมรู้สึกว่ากําลังโดนสื่อสารเพื่อจะขายสินค้า ระดับการปฏิเสธ จึงมีน้อยกว่ามาก 3) เพื่อลดต้นทุน และเพิ่มรายได้พิเศษของผู้ผลิตหรือสถานี เนื่องจากโฆษณา ถูกนําไปใช้ใน 2 ลักษณะ แรก คือ ผู้ผลิตรายการใช้เพิ่มอํานาจต่อรองในการ ขายโฆษณาในระยะยาวต่อเจ้าของสินค้า โดยขายเป็นแพ็คเกจ เช่น ซื้อโฆษณาตรงก็จะแถมโฆษณาแฝงด้วย วิธีการต่างๆ เพื่อดึงดูดใจเจ้าของสินค้า สองคือ ผู้ผลิตรายการ หรือผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ สามารถสร้างรายได้พิเศษ จากการขายโฆษณาแฝงในรายการโทรทัศน์ได้อย่างมาก ซึ่งเป็นรายได้ที่ไม่จําเป็นต้องถูกตรวจสอบเม็ดเงิน โฆษณาแฝงที่ไม่เข้ากระบวนการตรวจสอบนี้ จึงมีผู้ ที่ได้รับผลประโยชน์คือ ผู้ ผลิ ตรายการและช่องสถานี ตลอดจน ดารา ผู้ประกาศข่าว บางคนที่รับหน้าที่เป็นพรีเซ็นเตอร์ช่วยบอกขายข่าวไปในตัว กลยุทธ์การสื่อสารเข้าถึงผู้บริโภคอย่างแนบเนียน มีทั้งหมด 5 วิธีการหลัก เรียงตามระดับความง่ายที่สังเกตเห็นได้ คือ 1) การแฝงผ่านสปอตสั้น หรือ VTR ทั้งก่อนและหลังละครจบ โฆษณาแฝงประเภทนี้พบได้บ่อย เมื่อ โฆษณาปกติจบลง ก็จะเข้าสู่รายการ แต่ก่อนที่จะได้ชมรายการก็จะมีโฆษณาสั้นๆ คั่นอยู่ มักปรากฏเป็น ภาพนิ่งของตราสินค้าหรือบริการ และมีเสียงบรรยายว่า “สนับสนุนรายการโดย” (ดังภาพที่ 1) 2) การแฝงผ่านกราฟิกที่เป็นภาพคัตเอ้าท์สลับระหว่างฉาก โดยเฉพาะในละครซิทคอม ที่เมื่อมีการ สลับระหว่างฉากต่างๆ จะมีภาพคัตเอ้าท์ปรากฏให้เห็น โดยในคัตเอาท์ดังกล่าวจะมีตราสินค้าปรากฏอยู่ เช่น การสลับฉากระหว่างกลางวันกับกลางคืน การสลับระหว่างฉากในสตูดิโอกับฉากภายนอก ฯลฯ โ ฆษณาแฝง แบบนี้สังเกตไม่ยาก (ดังภาพที่ 2) 3) แฝงวัตถุ มักเป็นแผ่นป้ายชื่อ/ตรา/สัญลักษณ์สินค้าหรือบริการ หรือใช้ตัววัตถุสินค้า/ผลิตภัณฑ์นั้น จริงๆ เช่นแก้วกาแฟ โน้ตบุ๊ค เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือฉากร้านค้า ป้ายรถเมล์ในละครซิทคอม แม้กระทั่งสถานที่ เช่นร้านอาหาร โรงพยาบาล สถานบริการ เพื่อเป็นฉากหรือสถานที่ของเนื้อหารายการขณะนั้นๆ ด้วย (ดังภาพ ที่ 3)

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ที่มา : ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา (2557)

ภาพที่ 3


186

4) การแฝงบุคคล เป็นกําหนดให้นักแสดงมีการหยิบ จับ สวม และใช้สินค้า เช่น นักแสดงทุกคนใน ละครบางเรื่องอาจใช้เฉพาะโทรศัพท์มือถือหรือแทบเล็ตบางยี่ห้อเพียงอย่างเดียว ซึ่งขัดกับชีวิตจริงที่คนใน สังคมมักใช้โทรศัพท์มือถือหรือแทบเล็ตที่แตกต่างยี่ห้อกัน บางรายการก็ให้พิธีกรหรือนักแสดงสวมเสื้อที่สกรีน ตราสินค้า (ดังภาพที่ 4) 5) แฝงเนื้อหา คือโฆษณาที่แฝงมากับ “บท” ด้วยการแสดงให้เห็นชื่อสินค้าผลิตภัณฑ์นั้นๆ ขึ้นมาซึ่งมี ความเกี่ยวข้องกับส่วนเนื้อหารายการขณะนั้นๆอย่างมีนัยสําคัญการแฝงในเนื้อหามีการดึงเอาภาพลักษณ์ของ ตัวสินค้าที่เจ้าของสินค้าประสงค์จะสื่อสารกับผู้รับสารมาแฝงกับเนื้อหาของละครโดยจงใจให้สินค้า ได้รับความ สนใจจากผู้ชมเป็นพิเศษ (ดังภาพที่ 5)

ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ที่มา : ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา (2557) แนวทางในการควบคุมปริมาณการโฆษณาในไทย โดยสามารถสรุปแนวทางในการแก้ปัญหาโฆษณาในประเทศไทยได้ดังนี้ 1) กฏหมายควบคุมปริมาณการโฆษณาในไทย กฎหมายควบคุมปริมาณการโฆษณาปัจจุบัน ยึดตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 กําหนดให้กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ที่ใช้คลื่น ความถี่และดําเนินกิจการธุรกิจ มาตรา 23 ระบุว่า “กําหนดการโฆษณาและการบริการธุรกิจได้ไม่เกินชั่วโมง ละ 12 นาทีครึ่ง โดยเมื่อรวมเวลาโฆษณาตลอดทั้งวันเฉลี่ยแล้วต้องไม่เกินชั่วโมงละ 10 นาที”นั่นหมายความ ว่าหากสถานีโทรทัศน์ฟรีทีวี ออกอากาศ 24 ชั่วโมงต่อวัน ก็จะมีโฆษณาได้ 240 นาที หรือ 4 ชั่วโมง (มาจาก 10นาทีx24ชั่วโมง = 240 นาที) เป็นต้น 2) หลักการแก้ปัญหา ในการแก้ปัญหาโฆษณาแฝงก็คือ “ไม่ควรมีโฆษณาแฝง.” ซึ่งยืนอยู่บนหลักการพื้นฐาน 3 ข้อคือ 2.1) ความโปร่งใส (transparency) – เพื่อที่จะแน่ใจได้ว่ากระบวนการสนับสนุนของสินค้า และบริการในสื่อเป็นไปอย่างโปร่งใส หลักการข้อนี้เพื่อปกป้องระบบการค้าเสรี เป็นธรรม ในระบบ อุตสาหกรรมสื่อ พูดง่ายๆ ก็คือ ป้องกันการคอร์รัปชั่นในวงการโฆษณาและสื่อมวลชน เพราะปัญหาของการ โฆษณาแฝงก็คือการจ่ายเงินติดสินบน เงินนอกระบบภาษีอากร จ่ายตรงถึงตัวผู้ผลิต ไม่หักภาษี ไม่มีใบเสร็จ ฯลฯ


187

2.2) การแยกเนื้อหากับโฆษณา (separation) - เพื่อที่จะแน่ใจได้ว่าการสนับสนุนของสินค้า และบริการจะต้องแยกออกจากกันอย่างชัดเจนกับเนื้อหารายการ และเพื่อรักษาไว้ถึงความแตกต่างระหว่าง การโฆษณาสินค้าและการสนับสนุนรายการ หลักการนี้เพื่อปกป้องผู้ชม 2.3) ความเป็นอิสระของบรรณาธิการ (editorial independence) เพื่อที่จะแน่ใจได้ว่า ผู้ผลิตรายการหรือผู้เผยแพร่เนื้อหาจะคงไว้ซึ่งอํานาจในการผลิต คัดเลือก นําเสนอเนื้อหารายการ ไม่ตกอยู่ ภายใต้ผู้สนับสนุนรายการ และเพื่อที่จะแน่ใจว่าเนื้อหารายการมิได้ถูกบิดเบือนดัดแปลงไปโดยเป้าประสงค์ทาง การค้า 3) แนวทางในการแก้ปัญหาโฆษณาแฝง 3.1) โฆษณาแฝง ไม่ควรปรากฏในรายการประเภทข่าว และรายการเด็กและเยาวชนโดย เด็ดขาด เพราะเป็นรายการที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อข้อเท็จจริง ความรับรู้ของประชาชน สําหรับรายการเด็ก เนื่องจากยังไม่มีวิจารณญาณเพียงพอในการแยกแยะเนื้อหาออกจากโฆษณาได้ และเป็นวัยที่มีผลกระทบสูงต่อ โฆษณา 3.2) สําหรับรายการที่มีโฆษณาแฝงมาก โดยเฉพาะรายการบันเทิง หรือสาระบันเทิงเช่น ละคร ภาพยนตร์ ซิทคอม เกมโชว์ โชว์ แมกาซีน หรือวาไรตี้ คอยกํา กับดูแลโฆษณาแฝงให้มีน้อยที่สุด ไม่เอา เปรียบผู้บริโภค 3.3) ในแนวทางการควบคุม ควรมีบทลงโทษ ปรับ หากพบว่ามีโฆษณาแฝงในรายการที่ห้าม (ข่าวและรายการเด็ก) โดยให้ สคบ. ใช้อํานาจที่มี สั่งปรับไปที่สถานี เพื่อให้สถานีกระตือรือร้นในการไปควบคุม อย่างเคร่งครัดต่อผู้ผลิต ผู้ซื้อ ผู้เช่าเวลา 3.4) การโฆษณาแฝง หากมีในเนื้อหารายการ ควรส่งสัญญาณเพื่อแสดงให้ผู้ชมรับทราบด้วย ข้อความหรือสัญลักษณ์อื่นใดว่า เป็นโฆษณา และควรนับว่าเป็นการโฆษณา ที่จะถูกนับรวมเวลาในปริมาณการ โฆษณาที่กฏหมายกําหนด 3.5) ในการโฆษณาแฝงผ่านสื่อ ควรแจ้งข้อมูลทางการเงินหรือผลตอบแทนอื่นใดที่เกิดขึ้น ระหว่างกระบวนการต่อสารธารณะ เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้ สรุปและข้อเสนอแนะ กลยุทธ์โฆษณาแฝงดังกล่าว สะท้อนให้เห็นว่า เจ้าของสินค้าและบริการมีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้ผลิต สื่อ แทนที่ผู้ชมจะได้เสพสื่ออย่างรื่นรมย์ แต่กลับต้องมานั่งดูโฆษณาแฝงอีกไม่รู้เท่าไหร่ ทั้งที่โฆษณาทั่วไปเราก็ รับชมกันหลายนาทีแล้ว กลายเป็นผู้ผลิตสื่อเอาเปรียบผู้ชมในทางอ้อม หรือแทนที่จะได้ชมรายการโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ที่สร้างสรรค์ แปลกใหม่ และพัฒนาวงการบันเทิง แต่เรากลับได้ชมละครที่มีเนื้อหาเดิมๆ ฉาก คล้ายๆ กัน หรือบทเหมือนๆ เรื่องที่ผ่านๆ มา ไร้รสนิยม และไม่มีความคิดสร้างสรรค์ เพราะผู้ผลิตสื่อเอาใจ เจ้าของสินค้ามากกว่าผู้ชม นี่เป็นผลร้ายจากโฆษณาแฝงที่ผู้ชมอาจไม่รู้ตัว การแก้ไขปัญหาเรื่องโฆษณาแฝง จําเป็นที่จะต้องคํานึงถึงผลกระทบในหลายๆ มิติ ผู้บริโภคย่อม ต้องการรายการที่มีคุณภาพดีๆ เจ้าของสินค้าก็ต้องการลงโฆษณาสินค้าในอัตราที่เป็นธรรม ไม่แพงจนเกินไป ผู้ผลิตต้องการกําไรและความมีอิสระในความคิดสร้างสรรค์ ไม่ต้องถูกแทรกแซงจากอํานาจเม็ดเงินโฆษณา


188

เอกสารอ้างอิง ธาม เชื้อสถาปนศิริ, นักวิชาการ 2552 โครงการศึกษาเฝ้าระวังสื่อและพัฒนาการเรียนรู้เท่าทันสื่อ เพื่อสุขภาวะของ สังคม (มีเดีย มอนิเตอร์) ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา 2557. รู้จักกับ “โฆษณาแฝง” ในวงการโทรทัศน์-ภาพยนตร์ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://phirakan.blogspot.com/2014/09/blog-post_23.html เสรี วงษ์มณฑา. (2542ก). การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์มและไซ เท็กซ์. เสรี วงษ์มณฑา. (2542ข). กลยุทธ์การตลาด: การวางแผนการตลาด. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์ม.


189

ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) กับธุรกิจเกษตรของคนไทย จรินทร ผลวาทิพย

(พิพัฒน, 2553) ซีเอสอารเปนที่รูจักกันมาก ขึ้นจากการทํากิจกรรมทางดานสังคมขององคก ร ตางๆ สําหรับประเทศไทยมีกระแสตื่นตัวในดานซี เอสอารกันมาก มีการใหรางวัลซีเอสอารประจําป มีการอบรมสัมมนาซีเอสอารกันมากขึ้น เนื่องจาก แนวคิ ดนี้ ทํ า ให ไ ด รั บ ประโยชน ทั้ ง รู ป ธรรมและ นามธรรมใหกับบริษัท หางราน และ สังคม ชุมชน หรือจะเรียกอีกอยางวา ไดผลประโยชนรวมกันทั้ง ผูผลิตและผูบริโภค โดยผานการจัดกิจกรรม หรือ รูปแบบอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกองคก ร โดย คํานึงถึงความรับผิดชอบตอสวนรวมเปนสําคัญ ประเด็นความรับ ผิดชอบตอ สั ง คมเกิดขึ้ น และขยายออกไปจากในอดีตมาก ขอบเขตดา น ความรับผิดชอบตอสังคม ไดแก การศึกษา สุขภาพ ความปลอดภัยในการทํางาน ที่อยูอาศัย มลภาวะ การอนุรักษสิ่งแวดลอม เปนตน CSR มาจาก Corporate Social Responsibility คือ แนวคิ ด ขององค ก รในการ ดําเนินกิจกรรม การวางแผน การตัดสินใจ การ สื่อสารประชาสัมพันธ การบริหารจัดการ และการ ดํ า เนิ น การที่ คํ า นึ ง ผลกระทบต อ สั ง คมและ สิ่ ง แวดล อ ม โดยอาจสอดแทรกเรื่ อ งนี้ ไ ว ใ น กระบวนการประกอบธุรกิจ เชน กระบวนการผลิต หรือการบริการ การดูแลบุคลากรในองคการและ ครอบครั ว รวมไปถึ ง การดู แ ลชุ ม ชนและสั ง คม โดยรอบ นอกจากนี้ CSR ในหลายองคการเปนการ ตั้ง เงื่อ นไขใหกับ ผูมีสวนไดสวนเสีย อันหมายถึง ลูก คา คูคา ผูล งทุน รัฐบาล และองคก ารพัฒ นา ชุมชน รวมกันดูแลรับผิดชอบสังคมดวย ลักษณะของซีเอสอาร ซี เ อสอาร มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ สํ า คั ญ อยู 6 ประการ คือ ตอ งมีใบอนุญ าตใหดําเนินการ เปน การลงทุ น ระยะยาว เป น พาหะในการบรรลุ เปาประสงคและชื่อ เสียง เปนกิจ กรรมที่ชวยให

องค ก รพ น จากการโจมตี เป น เศรษฐกิ จ และ ความคิดสรางสรรค และเปนการขัดกันของถอยคํา 1) องคก รจะทํา ซี เ อสอาร ไ ด นั้น จํ า เป น จะตองมีฉันทานุมัติของชุม ชนที่มีสวนไดสวนเสีย โดยเฉพาะผูที่ไดรับผลกระทบจากการดําเนินงาน ขององคกร และไดรับฉันทานุมัติจากรัฐบาลที่ยินดี ใหองคกรไดดําเนินการโครงการซีเอสอารได 2) ซีเอสอารเปนกิจกรรมที่ตองมีการสั่งสม ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการกระทํ า จะอยู ใ นระยะยาว องคกรไมสามารถที่จะทุมเงินโครงการแลวใหผูคน ยอมรับไดในชั่วขามคืน 3) ซีเอสอารเปนเสมือนพาหนะที่จะนําพา องคกรใหบรรลุเปาหมายและความมีชื่อเสียงที่ดีได ความภักดีของลูกคาที่มั่นคง ลูกคาไววางใจ ลูกจาง พนั ก งานก็ จ ะมี ค วามภาคภู มิ ใ จและเกิ ด ความ ผูกพันธกับองคกร และความสัมพันธกับรัฐบาลที่ดี 4) ซีเอสอารเปนกิจกรรมที่ชวยใหองคก ร รอดพนจากการเปดโปงในเรื่องตางๆ ที่จ ะสงผล กระทบทางลบแกองคกร หรือชวยใหรอดพนจาก ความเสี่ยงตา งๆ เป นเสมื อ นเกราะปอ งกัน การ คุกคามจากภายนอกใหกับองคกร 5) ซีเอสอารขององคกรควรจะเสริมพื้นฐาน ของเศรษฐกิจชุมชนใหมีความเขมแข็งมากขึ้น ให ชุมชนสามารถดํารงอยูได เมื่อสังคมรอบขางดํารง อยูไดแลวปญหาที่จะเกิดขึ้นและสงผลตอองคกรก็ จะลดนอยลง 6) ซี เ อสอาร เ ปน การขั ดกั น ของถอ ยคํ า (Oxymoron) ความมั่ง คั่ง กับ ผูถือหุน แตการจะ เพิ่มความมั่งคั่งใหกับผูถือหุนไดอยางยั่งยืน จะตอง มีซีเอสอารเปนองคประกอบสําคัญเสมอ แนวคิดความรับผิดชอบตอสังคมแบบดั้งเดิม จะมองวาธุร กิจ มีห นาที่ ที่จ ะตอ งทําความพอใจ ใหกับนักลงทุนและผูถือหุน สวนที่นอกเหนือไปจาก นั้นมันเกินขอบเขตของธุรกิจ ถึงแมวาปจจุบันยังมี


190

ความคิ ด ทํ านองนี้ อ ยู แต ห ลายๆองค ก รก็ ไ ด ใ ห ความสําคัญกับความรับผิดชอบตอสังคม อยางไรก็ ตามผูบ ริห ารจะตอ งสร างความสมดุล ใหเ กิดขึ้ น ระหวางธุรกิจและสังคม ประโยชน ข องความรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คมของ องคกร (วรพรรณ, 2555) ปจจัยที่ทําใหความรับผิดชอบตอสังคมของ องค ก รได รั บ ความสนใจจากองค ก รต า งๆ ใน ประเทศไทย เพราะชวยเพิ่มความสามารถในเชิง การแขงขัน (Competitive Advantage) ใหแก หน ว ยงานได ช ว ยเพิ่ ม มู ล ค า เพิ่ ม ในด า นความ นาเชื่อ ถือ และภาพลัก ษณตอ ผูมีสวนไดสวนเสีย ประโยชนในดานการกูยืมเงินขององคกร ชวยเพิ่ม ประสิท ธิภาพและชวยประหยัดคาใชจาย รวมทั้ง ประโยชนใ นการสรา งแบรนด ในการสร างตรา สินคาและเปนเรื่องของการกําหนดตําแหนง ของ แบรนด (Brand Positioning) อยางไรก็ดีกระแส ความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรในเมืองไทย ก็ ไดถูกจุดประกายขึ้นอยางเปนรูปธรรมในป 2549 และไดถูกบรรจุเปนแนวปฏิบัติที่ผนวกเขากับการ ดําเนินธุร กิจ นอกเหนือไปจากการดําเนินความ รั บ ผิ ด ชอ บ ต อ สั ง ค ม ใ น รู ป แ บ บ ที่ อ ยู น อ ก กระบวนการทางธุรกิจ เชน การบริจาค หรือการ อาสาชวยเหลือสังคมเชนที่ผานมา สถาบันไทยพัฒน (2549 : ยอหนาที่ 1) ได กลาวถึง ประโยชนขององคก รที่นําแนวคิดความ รับผิดชอบตอสังคมไปปฏิบัติ จะเกิดผลลัพธทั้งใน สวนรูปธรรม (Tangible) ที่จับตองไดและในสวน นามธรรม (Intangible) ที่จับตองไมได จากผูที่อยู ในองคกร ไดแก ผูถือหุนและพนักงาน และจากผูมี สวนเกี่ยวของกับองคกรโดยตรงและโดยออม ดังนี้ 1. ประโยชนที่เปนรูปธรรม ในแงของผูถือ หุนหรือเจาของกิจการ ราคาหุนมีเสถียรภาพและมี มูลคาในอัตราที่สูงกวาเกณฑเฉลี่ย เนื่องจากเปนที่ ตองการของนักลงทุน ปจจุบันเงินลงทุนในธุรกิจที่ มีความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่ง เรียกกันเฉพาะวา SRI (Social Responsibility Investing) นั้นมี มูลคาเกิน 2 ลานลานเหรียญสหรัฐ และมีแนวโนม

เพิ่ม มากขึ้นเรื่อ ยๆ เปนโอกาสที่อ งคก รสามารถ เขาถึง แหลง ทุนไดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทําใหตนทุน ทางการเงิ น มี แ นวโน ม ที่ ต่ํ ากว า เกณฑ ป กติ ข อง ตลาด ในแงของพนักงาน เกิดความภาคภูมิใจใน การทํางานรวมกับองคกร ไดรับ ความสุขจากการ ปฏิบัติงานในหนาที่ นอกเหนือจากผลตอบแทนใน รู ป ตั ว เงิ น ทํ า ให อ งค ก รสามารถที่ จ ะชั ก ชวน บุ ค ลากรที่ มี คุ ณ ภาพและรั ก ษาพนั ก งานที่ มี ความสามารถไวได องค ก รสร า งรายได แ ละส ว นแบ ง ตลาด เพิ่ม ขึ้น จากการที่ลูก คาพิจ ารณาเลือกซื้อ สินคา และบริการจากองคกรที่มีความรับผิดชอบตอสังคม และไมทําลายสิ่งแวดลอม เชน การบริจาครายได สวนหนึ่ง ตอทุก ๆ การซื้อ ผลิตภัณฑในแตล ะครั้ง ใหแกมูลนิธิตางๆ ฯลฯ กิจกรรมเพื่อสังคมนั้นยังกอใหเกิดประโยชน รูปธรรมมี 8 ประการ ดังนี้ 1.1 เพิ่มพูนกําไรใหสูงขึ้นตอเนื่องคณะวิจัย ของมหาวิท ยาลัยฮารวารดในสหรัฐ พบวา โดย เฉลี่ยแลวบริษัทที่ดําเนินความรับผิดชอบตอสังคม จะมีการเติบโตของยอดขายและกําไรมากถึง 4 เทา ภายในเวลา 10 ป และมี จํ า นวนพนั ก งานที่ กระตือ รือรนเพิ่มมากขึ้น 8 เทา ในขณะที่ธุรกิจ กองทุ น รวมก็ มี ก ารสร า งดั ช นี เ กี่ ย วกั บ ความ รั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คมขึ้ น มาเป น การเฉพาะใน หลายประเทศ เช น Dow Jones Group Sustainability Index ในนิวยอรค และ FTSE 4 Good Index ในลอนดอน ซึ่งพบวา กองทุนรวมที่ ใสใจกับเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรนี้ มียอดมูลคากองทุนเพิ่มขึ้นรวดเร็วกวากองทุนอื่น 1.2 ลดตนทุนแลวเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทํางาน เพราะกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมทํา ใหเกิดความตระหนักทั้งองคกรในการใชทรัพยากร อยางมีคุณภาพ 1.3 ส ง เสริม ภาพลั ก ษณ ตราสิ น ค า และ ชื่อ เสียงบริษัท เพราะความเชื่อ ถือ ของผูบ ริโ ภค และสังคมมีตอบริษัทจะเพิ่มขึ้นจากกิจกรรมความ


191

รับ ผิด ชอบต อ สั ง คมอยา งเห็ นไดชั ด โดยเฉพาะ ความสามารถในการสื่อสารกับสื่อและเอ็นจีโอ ซึ่ง มีอิทธิพลสูงตอสังคม การแสดงออกอยางตั้งใจวา บริ ษั ท ได พ ยายามช ว ยเหลื อ สั ง คมจะทํ า ให เ กิ ด ความเขาใจที่ดีมากขึ้น 1.4 การเพิ่มยอดขายและความภั ก ดีของ ผูบริโภค ผูบริโภคปจจุบันนี้ไมใชแคตองการซื้อแค สิน ค า คุ ณ ภาพดี ราคาถูก และปลอดภั ย เท า นั้ น แตเขาอยากจะรูเพิ่มเติมวา สินคาและบริการนั้น กอความเสียหายแกสังคมและโลกแคไหน การวิจัย ของสหภาพยุโรป พบวา 1 ใน 5 ของประชากร ยุโรปยินดีจายคาสินคาที่เพิ่มขึ้นสําหรับสินคาที่มี ความรับผิดชอบตอสังคมสูงกวา 1.5 เพิ่ม ความสามารถทางการผลิต และ คุณภาพสินคาของบริษัทที่ดําเนินกิจกรรมความ รับผิดชอบตอสังคม จะมีบรรยากาศทํางานภายใน ที่ ดี ขึ้ น และทํ า ให พ นั ก งานมี ส ว นร ว มในการ ตัดสินใจมากขึ้น ทําใหคุณภาพสินคาและบริการ เปนที่พึงพอใจของลูกคามากขึ้น 1.6 พนัก งานจะพึง พอใจและเปลี่ยนงาน นอ ยลง มีผ ลงานวิจั ยที่ พ บวา ร อ ยละ 78 ของ พนักงานโดยเฉลี่ยทั่วโลกพึงพอใจจากการทํางาน ภายใตบ ริษัท ที่มีชื่อเสียงและจริยธรรมที่โดดเดน คงจะไมมีพ นัก งานคนใดพึง พอใจกับ การทํางาน ภายใตบ ริษัท ที่มีชื่อเสียงและจริยธรรมที่โดดเดน เพราะการทํางานนั้นเกี่ยวของกับคุณคาความเชื่อ ใจดวย ตัวอยางเชน บริษัท Novo Nordick ใน นอรเวยไดมีความรับผิดชอบตอสังคมในการสราง แรงจูงใจดวยการเนนคุณคาของการทํางานในกลุม พนั ก งานบริ ษั ท ทั้ ง หมด พบว า ตั ว เลขการ เปลี่ยนแปลงงานลดลงรอยละ 5 อยางตอเนื่อง 1.7 ลดความประมาทเลิ น เล อ เกี่ ย วกั บ กฎหมาย ความรับผิดชอบตอสังคมจะทําใหบริษัท ปฎิ บั ติ ม ากกว า ที่ ร ะบุ ไ ว ใ นระเบี ย บหรื อ กติ ก า ของรัฐ ทําใหโ อกาสที่จ ะกระทําความผิดเพราะ เผลอเรอหรื อ ประมาท จึ ง เป น ไปได ต่ํ า มาก แมกระทั่งในกรณีเกิดอุบัติเหตุ เพราะวาบริษัทได แสดงความโปร ง ใสในความรับ ผิดชอบตอ สัง คม

เอาไว เ ต็ ม ที่ แ ล ว ทํ า ใหค วามเสี่ย งที่ จ ะต อ งเสี ย คาปรับ หรือถูกเลนงานดวยขอกฎหมายมีนอยลง 1.8 สรา งความไดเ ปรีย บในธุร กิ จ ความ รับผิดชอบตอสังคมกําลังกลายเปนวัฒนธรรมและ คุณคาใหมของโลก ซึ่งประเทศพัฒนาแลวทั่วโลก ตางถือเปนมาตฐาน ซึ่งไมเพียงแตจะมีการเปลี่ยน กติ ก าและกฎหมายเทา นั้ น หากยั ง เรีย กร อ งให บริ ษั ท ต า งๆ เข ม งวดกั บ ตั ว เอง ซึ่ ง เท า กั บ เป ด โอกาสให ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คมกลายเป น ชอ งทางในการสร า งโอกาสทางธุร กิจ ใหม ๆ ให เหนือคูแขง ซึ่ง เชื่อ มโยงเขากับภาพลักษณสินคา ยอดขาย และผลกําไรในที่สุด 2. ประโยชนที่ เ ปนนามธรรม องคก ร สามารถไดรับประโยชนจากการวางตําแหนงตรา ผลิตภัณฑ (Brand Positioning) ใหอยูในใจของ ลูกคาเปนอันดับตนๆ ในประเภทสินคาหรือบริการ นั้นๆ โดยการดําเนินความรับผิดชอบตอสังคมของ องคกร รวมกับ การทําตลาดผลิตภัณฑ เชน ราน กาแฟที่รั บ ซื้ อ เมล็ ดกาแฟในท อ งถิ่น หรื อ จากไร กาแฟที่ใชเกษตรอินทรีย เปนตน นอกจากนี้ องคกรยังสามารถจัดทํารายงาน ของกิจการที่เรียกวา Sustainability Report ซึ่ง หนวยงาน Global Reporting Initiative (GRI) เปน ผูวางกรอบและแนวทางไว เพื่ อ ใช เ ผยแพร กิจกรรมทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ขององคกร ยกตัวอยางจากหนวยงานธุรกิจเกษตรที่ดํา เนิน กิจกรรมเพื่อสังคม 1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ ธ.ก.ส. (จิรประภา และประยูร, 2552 ไดรวบรวม) ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณก ารเกษตร (ธ.ก.ส.) มุงใหความชวยเหลือทางการเงิน เพื่อ สงเสริม อาชีพการเกษตรหรือการดําเนินงานของ เกษตรกร กลุมเกษตรกร หรือสหกรณการเกษตร ตลอดจนสงเสริมใหเกษตรกร กลุมเกษตรกร หรือ สหกรณการเกษตร สามารถประกอบอาชีพอยาง อื่นๆที่เกี่ยวของเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได


192

ใหแก ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งใหบริการรับฝาก เงิน เชนเดียวกับธนาคารพาณิชยทั่วไปอีกดวย ผลการดําเนินงานกิจกรรม CSR ประโยชน ที่ เ ปนรู ป ธรรม เกษตรกรและ ชุมชน มีความพอเพียงมั่นคง เปนสุขในการดําเนิน ชีวิตและการประกอบอาชีพการเกษตร โดย ธ.ก.ส. สนับสนุนตนแบบการเรียนรูใหแกเ กษตรกรและ ชุมชน ผานศูนยเ รียนรูเ พื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ พอเพียงตนแบบ ธ.ก.ส. และชุมชนตนแบบตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พนั ก งานเป นบุ คลากรที่ เ ก ง เปน คนดี มี คุณธรรม มีความสุขในการดําเนินชีวิตผานการ ดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ประโยชนที่เปนนามธรรม องคกร ธ.ก.ส. เปนสถาบันการเงินที่มีชื่อเสียง มีความมั่นคง และ ยั่งยืน ดวยวิธีการมุง เนนใหเ กษตรกรและชุมชน เปนศูนยกลางการพัฒนา แกปญหาของชุมชนตาม ภูมิสังคม เพาะบมพนักงานใหเปนนักการธนาคาร และนักพัฒนาชนบทมืออาชีพ และเปนคนดีของ สังคมนั่นคือ การพัฒนาสู องคกรยั่งยืน บนฐาน พอเพียง (http://www.baac.or.th/csr2011/?content= document&content_id=4&menu=1) 2. บริษัท แอดวานซ อะโกร จํา กัด (มหาชน) เปนผูป ระกอบการอุตสาหกรรมเยื่อ กระดาษ และกระดาษพิมพเขียนคุณภาพสูงของ คนไทย มีความมุง มั่นในการผลิตสินคาคุณภาพ ระดับโลกภายใตตราสินคา “Double A” เพื่อ สนั บ สนุ น ความเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศ ควบคูกับการเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นใหกับสังคม และสิ่งแวดลอมในทุกๆ ดาน ในดานสังคม บริษัทยึดแนวทางปฏิบัติใน ฐานะของการเปนสมาชิกที่ดีของชุมชนและสังคม ดวยกิจกรรมหลากหลายที่มีประโยชน นอกจากนี้ ยังชวยพัฒนาทองถิ่นโดยทําการสรางรายไดใหแก ทองถิ่น ซึ่งเกื้อกูลกันระหวางทองถิ่น และโรงงาน ถือ เปนป จ จัยสํา คัญ ในการพัฒ นาประเทศอยา ง ยั่ง ยืน ดวยการสง เสริม ใหเ กษตรกรในทอ งถิ่ น

โดยรอบ และที่หางไกลออกไปทําการเพาะปลู ก ตนไมเพื่อนํามาใชเปนวัตถุดิบ คิดเปนมูลคาถึงปละ กวา 2,000 ลานบาท โดยการรักษาสภาพแวดลอมใหยั่งยืน และ การพัฒนาเศรษฐกิจเปนเรื่องที่ประสานใหเกื้อกูล ซึ่งกันและกันได เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ของคนในสังคม ภายใตแนวคิด ดังกลาวกลายเปน จุดเริ่มตนนํามาซึ่ง การสรางสรรคกิจ กรรมตางๆ ทั้งในดานสังคม และสิ่งแวดลอม อาทิ โครงการดั๊บเบิ้ล เอ เลานิทานใหนองฟง โครงการปลูกไม ปลูกปญญา 80 โรงเรียน โครงการปนนิทานแดนอง โครงการคนหาสุดยอดนักเลานิทานรุนจิ๋ว โครงการปลูกไมเสริมรายได โครงการ ดั๊บเบิ้ล เอ ดีไซน คอนเทสต ผลจากการดําเนินงานกิจกรรม (CSR) ประโยชนที่เปนรูปธรรม ผลประโยชนโ ดย ตรงที่ทางบริษัทจะไดรับ คือ “การไดรับวัตถุดิบ หลัก (ตนกระดาษ) ที่ ใชในกระบวนการผลิ ต กระดาษ และเยื่อ กระดาษ” สงผลใหมีวัตถุดิบ เพียงพอที่จะนํามาใชในกระบวนการผลิต และยัง ทําใหบ ริษัท สามารถลดปริม าณการนําเขาตนไม จากตางประเทศไดอีกทางหนึ่ง ประโยชนที่เปนนามธรรม เกิดประโยชนใน เชิ ง การเสริ ม สร า งภาพลั ก ษณ (Corporate Image) จากการที่บริษัทไดรับรางวัลการจัดการ สิ่ ง แวดล อ ม และชุ ม ชนดี เ ด น และรางวั ล คณะกรรมการไตรภาคีดีในการกํากับดูแลโรงไฟฟา ที่เขารวมโครงการสงเสริมผูผลิตไฟฟารายเล็กที่ใช พลังงานหมุนเวียน (SPP) จากกระทรวงพลังงาน (http://mba.nida.ac.th/cec/images/stories/ cecpic/magazine/02/15_dubble%20a%20s tudent1.pdf) 3. บริษั ท เจริญ โภคภั ณ ฑอ าหาร จํ า กั ด (มหาชน) ไดมีการดําเนินงานดานCSR เชน โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันนักเรียน โครงการนี้มีรูป แบบที่เนนการใหความรูเกี่ยวกับ การบริห ารจัดการการเลี้ยงไก ไข การสนับ สนุ น


193

พัน ธุ ไก รุ น แรก อาหารสั ตว และการดู แ ลอย า ง ใกลชิดจากสัตวบาลของบริษัทตลอดระยะเวลาการ เลี้ยงไกไขในแตละรุน (ไก 1 รุน ใชระยะเวลาเลี้ยง 14 เดือน) เพื่อใหเด็กนักเรียนสามารถสรางผลผลิต ไขไกในโรงเรียนไดสําเร็จ โดยนําผลผลิต สวนหนึ่ง มาประกอบเปนอาหารกลางวัน และนําบางสวน ออกจําหนาย เพื่อหารายไดมาจัดสรรเปนคาใชจาย ดํ า เนิ น โครงการ ให ส ามารถดํ า เนิ น ไปได อ ย า ง ตอ เนื่อ งสํา หรั บ นัก เรี ยนในรุ นตอ ๆไป ซึ่ ง แตล ะ โรงเรียนตองจัดทํา “หลักสูตรทองถิ่น” วาดวยการ เลี้ยงไกไขในโรงเรียนดวย ผลการดําเนินงาน CSR ประโยชน ที่ เ ป น รู ป ธรรม พบว า มี ภ าวะ โภชนาการที่ดีขึ้น คือ สามารถลดปญหาภาวะ ทุพ โภชนาการของนั ก เรีย น โดยวั ดจากน้ํา หนั ก ต อ สวนสูงซึ่งอยูในชวงเฉลี่ย 4-9% จากเดิมเฉลี่ยอยูที่ 20-25% และโรงเรียนกวา 90% ในโครงการ สามารถจั ดสรรรายได เปน ค าอาหาร กลางวั น นักเรียนได และยังมีรายไดสะสมจากการเลี้ยงใน แตละรุน เปนกองทุนสําหรับดําเนินการโครงการ ตอ ไปไดอ ย างต อ เนื่อ ง ด า นผลการเลี้ ยงไกข อง นักเรียนนั้นมีมาตรฐานใกลเคียงกับมาตรฐานของ บริษัท นอกจากนี้ พบวาเยาวชนและผูปกครอง มี ทัศนคติที่ดีตออาชีพเกษตรกร วาไมใชอาชีพที่ต่ํา ตอ ยหากแต มีคุณค า และสามารถใชเ ลี้ย งชีพ ได อยางมั่นคง ถามีวิชาการและการจัดการที่ดี ประโยชนที่เปนนามธรรม เกิดภาพลักษณที่ดี ตอองคกรมีผลตอความเชื่อ มั่นของผูมีสวนไดเสีย ของบริษัท ซึ่งหมายความรวมถึง ผูถือหุน ผูลงทุน ผูขายสินคาและบริการใหแกบริษัท ผูซื้อสินคาและ รับ บริ ก ารจากบริ ษั ท และเปน ป จ จั ยหนึ่ ง ที่ มี ความสําคัญตอความสําเร็จขององคกร (http://old.cpfworldwide.com/th/csr/healt h_consumer_care_lunch.aspx) สรุป การดําเนินกลยุทธความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ขององค ก ร จึง เปนการดําเนินงานที่เ ปน ประโยชน ตอ ทั้ ง 2 ฝ า ย เพราะกลยุ ท ธ ค วาม

รับผิดชอบตอ สังคมขององคกร นอกจากจะสราง ประโยชนใหแกสาธารณชนสวนรวมแลว ยัง ชวย พัฒนาชุมชนและทองถิ่น ยกระดับคุณภาพชีวิตให ดี ขึ้ น แล ว ยั ง มี ป ระโยชน ต อ องค ก รทางด า น ภาพลักษณและทัศนคติที่ดีตอตราสินคา เปนการ ลดต น ทุ น เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการทํ า งาน ตระหนั ก ถึ ง การใช ท รั พ ยากรอย า งมี คุ ณ ภาพ รวมทั้งอาจสงผลไปถึงยอดขายสินคาอีกดวย บรรณานุกรม จิรประภา อัครบวร และประยูร อัครบวร. 2552. ความรับผิดชอบตอสังคม. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจา นุเบกษา. พิพัฒน นนทนาธรณ. 2553. การจัดการความ รับผิดชอบตอสังคมขององคกร. พิมพครั้ง ที่ 1 กรุงเทพฯ : ธิงค บียอนด บุคส จํากัด วรพรรณ เอื้ออาภรณ. 2555. DNR CSR แบบ ไทยๆ ตามกระแสโลก. พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : เซจ อินเตอรเนชั่นแนล. โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันนักเรียน [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://old.cpf worldwide.com/th/csr/health_consu mer_care_lunch.aspx (14 พฤศจิกายน 2557) ผลการดําเนินงานตามแผน CSR ป 2554. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://www. baac.or.th/csr2011/?content=docum ent&content_id=4&menu=1 (14 พฤศจิกายน 2557) วสุพงศ ศรีสุภมาส. Double A การบริหาร “ของเสีย” ไมให “เสียของ” [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://mba.nida.ac.th/ cec/images/stories/cecpic/magazine/ 02/15_dubble%20a%20student1.pdf (14 พฤศจิกายน 2557)


จิดาภา ในยะนา

194 54040735

การประชาสัมพันธ์เพื่อเพิ่มยอดขายในช่วงโปรโมชั่น Ice cream SWENSEN’S จากสภาวะอากาศร้อนประเมินว่าสิ้นปีนี้ตลาดไอศกรีมใน กลุ่มพรีเมียม แมส ซึ่งมีจาหน่ายผ่านช่องทางค้าปลีก, คีย์ออส มูลค่าประมาณ 5,000 ล้านบาท ซึ่งตลาดนี้ไอศกรีมสเวนเซ่นส์เป็น ผู้นาด้วยส่วนแบ่งสูงสุดถึง 70% ส่วนที่เหลือเป็นรายอื่นๆ อีกเช่น ฮาเก้น-ดาส, ครีม แอนด์ ฟัดจ์, โคลสโตน เป็นต้น จากสภาวะ อากาศทาให้คาดว่าการตลาดน่าจะเติบโตได้ประมาณ 10-15% ภาพที่ 1 ร้านไอศครีมสเวนเซ่น ทีม่ า www.weloveswensen’s.com (พ.ศ.2554)

บริษัทได้วางเป้าหมายการขยายสาขา ด้วยการเปิดให้ได้ปีละ 20 สาขา หรือให้ได้ 100 สาขาภายใน 5 ปีจากนี้ ไป ใช้งบฯ ลงทุนสาขาละ 6-10 ล้านบาท จากที่จะมีสาขาเพิ่มเป็น 260 แห่งภายในสิ้นปีนี้ เพื่อให้ครอบคลุม ตลาด เข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย มีให้ลูกค้าได้เห็นและใช้บริการได้ครบทุกห้างสรรพสินค้า อีกทั้งเป็นการรองรับ การรุกตลาด ของแบรนด์ต่างประเทศ หลังเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ปี 2558 ที่คาดว่าจะมีเข้า มาเปิดตัวค่อนข้างมาก แต่บริษัทมีความเชื่อมั่นว่าแบรนด์มีความแข็งแกร่ง และเป็นไอศกรีมระดับพรีเมียมที่ใช้ วัตถุดิบ ปรุงแต่งรสชาติให้ถูกลิ้นคนไทย สาหรับสาขาในต่างประเทศที่บริษัทได้รับสิทธิ์บริหารอยู่ ขณะนี้เปิด ดาเนินการโดยแฟรนไชส์ ในอาเซียนทุกประเทศ และศึกษาในการเข้าไปเปิดสาขาในประเทศพม่า เพราะเริ่มมี ชาวต่างชาติเข้าไปดาเนินธุรกิจ และทางานมากขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าจะเริ่มดาเนินการได้ไตรมาส 3 ปีหน้า ส่วนที่ อินเดีย ปัจจุบันมี 8 สาขา ตั้งเป้าภายใน 3 ปีจากนี้ไปจะเพิ่มเป็น 70-80 สาขา อย่างไรก็ตาม บริษัทตัง้ เป้า ยอดขายในปี 2560 ไว้ที่ 6,000 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นเกือบ 100% เมื่อเทียบกับปีนี้ที่ตั้งเป้ายอดขายไว้ 3,300 ล้านบาท เติบโตขึ้นไม่น้อยกว่า 20% ยอดขายไอศกรีม สเวนเซ่นส์ ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้เติบโตถึง 30% ถือว่าเติบโตได้อย่างโดดเด่น ในรอบ 18 ปี จากปกติที่ยอดขายไอศกรีมของสเวนเซ่นส์ในช่วงนี้จะมีอัตราเติบโตประมาณ 15% ทั้งนี้ ผลจาก โฆษณาประชาสัมพันธ์ที่โดดเด่นเจาะทุกกลุ่มเป้าหมายของตลาด ดังนั้นจึงเป็นที่น่าสนใจว่าสเวนเซ่นส์ได้ทา การโฆษณาประชาสัมพันธ์อย่างไรจึงส่งผลให้มีสัดส่วนการตลาดได้ถึง70%


จิดาภา ในยะนา

195 54040735

การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ - การจัดทาภาพยนตร์โฆษณาโดยจ้างนักแสดงที่ได้รับความนิยม ชมชอบในช่วงนั้นเพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้บริโภคสนใจในตัวของ ผลิตภัณฑ์ เช่น ชาคริต - วุ้นเส้น ดาราคู่รักชื่อดังมาเป็นพรีเซ็น เตอร์ให้กับโปรโมชั่นมะม่วงอกร่องทอง เก่ง เมธัส The Voice ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์โฆษณาโปรโมชั่นมะม่วงอกร่องทอง 3 พิธีกรอารมณ์ดี ไก่ สมพล ตั๊ก บริบูรณ์ และอ้น ศรีพรรณ ก็ได้ เป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับโปรโมชั่นแฮปปี้ซันเดย์ ถือได้ว่าประสบ ผลสาเร็จให้การเพิ่มยอดขายเป็นอย่างดี

ภาพที่ 2 พิธีการพรีเซ็นเตอร์ ที่มา www.weloveswensen’s.com (พ.ศ.2557)

การประชาสัมพันธ์ผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค - แน่นอนว่ากระแสโซเชียลกาลังมาแรงในขณะนี้ การจัดกิจกรรมบนหน้า Facebook fanpage อัปเดท ข่าวสารของทาง swensen’s ผ่านทางโซเชียลเน็ตเวิร์คง่าย สะดวก และรวดเร็วครอบคลุมถึงทุกกลุ่ม ของผู้บริโภค เช่น Facebook Intragram หน้าเว็ปต่างๆ

ภาพ ที่ 3 หน้า Facebook fanpage ที่มา www.facebook/swensen.com (พ.ศ.2557)

กิจกรรมบน Facebook fanpage นั้นมีมากมาย เช่น เมื่อลูกค้าซื้อบัตรสมาชิกสเวนเซ่นส์แล้วไปนา ทะเบียนในเฟสบุ๊คจะได้รับไอศครีมฟรีทันที 1 ลูก หรือ การสุ่มจากทางร้านคือในหางบิลของผู้โชคดีจะมีรหัส ได้รับฟรีไอศครีมบานาโบ๊ทฟรีเมื่อลูกค้าตอบแบบสอบถามและประเมินภายในเฟสบุ๊คสาเร็จ และมีการอัฟเดท กิจกรรมข่าวสารกับผู้บริโภคอยู่เป็นประจา


จิดาภา ในยะนา

196 54040735

การประชาสัมพันธ์ในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ - แต่ละแบรนด์มีความตื่นตัวเกิดการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ในส่วนของMarketing สเวนเซ่นนั้นก็มีความ คึกคักมากมายเช่นเดียวกันมีการแข่งขันในรูปแบบสื่อ โปรโมชั่นส่วนลด และการบริการที่พึงพอใจ 100%ให้แก่ลกู ค้า การประชาสัมพันธ์ในรูปแบบสื่ออาทิเช่น ป้ายบิลบอร์ด สื่อเคลื่อนที่ ใบปลิวแผ่น พับ สื่อภายในร้าน

ภาพที่ 4 สื่อเคลื่อนที่ ที่มา www.facebook/swensen.com (พ.ศ.2557)

ภาพที่ 5 บิลบอร์ด ที่มา www.facebook/swensen.com (พ.ศ.2557)

การประชาสัมพันธ์ผ่านโปรโมชั่นตามฤดูกาล - โปรโมชั่น ไอศกรีมมะม่วง สาหรับช่วงหน้าร้อน ภายใต้แคมเปญ "แมงโก้ เซนเซชั่น" ได้รับการตอบ รับเป็นอย่างดี จากการที่เมนูของไอศกรีมมะม่วงมีเมนูให้เลือกหลากหลายประกอบด้วยเมนูไอศกรีม 4 เมนู และเครื่องดื่มประเภทปั่น 1 เมนู สาเหตุที่ไม่นาเมนูทั้งหมดมาเปิดตัวพร้อมกัน เพราะไม่ ต้องการให้ลูกค้ามีตัวเลือกมากเกินไป และทาให้ตัดสินใจยาก แต่แบ่งนาเสนอเป็นสองช่วง เพื่อสร้าง ความสดใหม่ให้กับแบรนด์และลูกค้า รวมถึงการใช้ท็อปปิ้งใหม่ที่แตกต่างไปจากปีก่อนหน้ามาสร้าง ความพิเศษ อาทิ มะพร้าวอ่อน ไวท์ ครีม ซอส บราวนี่เครป วาฟเฟิล เป็นต้น อีกทั้งยังได้รับแรง หนุนจากการที่แคมเปญนีใ้ ช้ชาคริต - วุ้นเส้น ดาราคู่รักชื่อดังมาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับแคมเปญนี้อีก ด้วย ปัจจุบันคู่แข่งของสเวนเซ่นส์ไม่เพียงแค่แบรนด์ไอศกรีมด้วยกันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงกลุ่มไลท์ ฟู้ด หรืออาหารว่างอย่างกาแฟ เบเกอรี่ ชานม ฯลฯ ซึ่งเซ็กเมนต์ของอาฟเตอร์มีลในช่วงนี้มีการ ขยายตัวกว้างขึ้น ทาให้สเวนเซ่นส์ต้องมีการพัฒนาโปรดักต์ใหม่ ๆ รวมถึงขยายไลน์ไปยังกลุ่ม เครื่องดื่ม หรือเบเกอรี่ ที่รับประทานคู่กับไอศกรีมมากขึ้น อาทิ บราวนี่ และวาฟเฟิล ในส่วนของ การแข่งขันกับแบรนด์ไอศกรีมในตลาดกับแบรนด์ใหม่ ๆ ที่เข้ามา เชื่อว่าเป็นสิ่งที่ดีที่ทาให้ตลาดมี ความคึกคักโดยความพิเศษในช่วงหน้าร้อนนี้ สเวนเซ่นส์ขอแนะนา 9 เมนูใหม่ Mango Sensation Sundae 9 เมนูใหม่ ซึ่งมีให้เลือกทั้งแบบไอศกรีม และสมูทตี้ เพื่อเอาใจคนรักมะม่วงกันเต็มที่ ได้แก่ Mango Boat, Mango Brownie, Mango on-the-go, Mango Crepe, Mango Hurricane, Mango Smoothie, Summer Mango, Mango Waffle และ Mango Sensation เพราะทุกๆ ปี มีแฟนคลับรอคอยการกลับมาของไอศกรีมมะม่วงแสนอร่อยจากสเวนเซ่นส์ ซึ่งการันตีว่าไอศกรีม มะม่วง ทาจากเนื้อมะม่วงอกร่องทองแท้ๆ ที่ให้กลิ่นหอมไม่เหมือนใคร และรสหวานนุ่มละมุนลิ้นที่


จิดาภา ในยะนา

197 54040735

เป็นลักษณะเฉพาะ ผสมผสานกับเนื้อไอศกรีมคุณภาพเยี่ยมระดับโลก ที่จะพบได้เฉพาะที่สเวนเซ่นส์ เท่านั้น

ภาพที่ 6 Mango Sensation Sundae ที่มา www.facebook/swensen.com (พ.ศ.2557)

ภาพที่ 7 เค้กไอศกรีม ที่มา www.minorfood.com (พ.ศ.2557)

ภาคการเกษตร - สเวนเซ่นได้มีส่วนช่วยภาคการเกษตรของประเทศไทยในเรื่องของผลไม้ที่มีในทุกช่วงโปรโมชั่นคือ กล้วยและแคนตาลูป และมีผลไม้อื่นๆในช่วงฤดูกาลนั้นๆที่ทาง Marketing จะจับนามาเป็นลูกเล่น บนไอศครีมเพื่อเพิ่มเสน่ห์ของความเป็นไทยให้คงอยู่ เช่นมะม่วงอกร่องทอง ทุเรียนหมอนทอง มะพร้าวอ่อน ขนุน ลูกชิด ข้าวโพด ในแต่ละเดือนการสั่งซื้อกล้วยของแต่ละร้านจะมีปริมาณมากถึง 40 กิโลกรัม สเวนเซ่นมีสาขามากถึง 263 สาขาจึงใช้กล้วยเป็นปริมาณมากและรวมถึงโปรโมชั่น มะม่วงในช่วงฤดูร้อนที่ใช่มะม่วงอกร่องทองแท้จากสวน จึงมีส่วนช่วยชาวสวนผลไม้ของไทยไว้ได มากทีเดียว Mango Sensation Sundae ของสเวนเซ่นส์ ถือได้ว่าเป็นเมนูยอดฮิตประจาหน้าร้อน มียอดการสั่งสูงมากในทุกวัน ตลอดระยะเวลาที่จัดโปรโมชั่น งบประมาณประมาณการประชาสัมพันธ์ - ด้านประชาสัมพันธ์กิจกรรมการตลาดล่าสุดเป็นแคมเปญ แฮปปี้ ซันเดย์ มีให้เลือก 6 รสชาติ ครอบคลุมทุกกลุ่มลูกค้า ราคา 59 บาท พร้อมทั้งจัดทาภาพยนตร์โฆษณาเพื่อสร้างการรับรู้ ใช้ งบประมาณ 30 ล้านบาท ตั้งเป้ายอดขายเฉพาะแคมเปญนี้ไว้ที่ 700 ล้านบาท และในช่วงปลายปียัง เตรียมกิจกรรมสาหรับเทศกาลต่างๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายอีกด้วย โดยทั้งปีบริษัทใช้งบประมาณด้าน การตลาดรวม 150 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 10% เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว - ด้วยงบฯการตลาด 150 ล้านบาท เพิ่มจากปีที่แล้วทีใ่ ช้ 130 ล้านบาทยอดขายปีนี้สเวนเซ่นส์ตั้งเป้า 4,000 ล้านบาท หรือเติบโต 15-20% จากปีที่แล้ว แบ่งเป็นรายได้จากสาขาเดิมและการขยายสาขา ใหม่ ภายในปีนี้คาดว่าจะเปิดครบ 275 สาขา จากปัจจุบันมี 263 สาขา ส่วนใหญ่จะขยายผ่านแฟรน ไชส์ตามพื้นที่ต่างจังหวัด เนื่องจากพื้นที่ในกรุงเทพฯค่อนข้างเต็ม โดยปัจจุบัน สเวนเซ่นส์เข้าไปเปิดใน


จิดาภา ในยะนา

198 54040735

ศูนย์การค้าเกือบทุกแห่งแล้ว ทาให้การขยายตัวในกรุงเทพฯ วันนี้ส่วนใหญ่จึงขยายไปตามคอมมิวนิตี้ มอลล์ที่เปิดใหม่ สาหรับสเวนเซ่นส์มีกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ในครอบคลุมและเข้าถึงผู้บริโภคทั้งในเมือง นอกเมือง และสาขาต่างๆที่กาลังจะเปิดขยายอีกมากมายให้มีความแข็งแกร่ง เป็นที่นิยม และกระจายแผนการ ประชาสัมพันธ์เข้าสู่ร้านทั่วทุกสาขาในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นสื่อแผ่นพับใบปลิวภายในร้าน ป้ายแสตนดี้ โปรโมชั่นประจาร้าน ป้ายบิลบอร์ดตามสี่แยกมุมเมือง สื่อเคลื่อนที่ หลักในการออกแคมเปญต่าง ๆ เพื่อสร้าง ความแปลกใหม่ให้กับตลาดอยู่เสมอ ในปีนคี้ าดว่าจะมีเปิดตัว 5-7 แคมเปญ นอกจากนี้ยังเน้นบริการที่สร้าง ประสบการณ์ให้กับลูกค้า รวมถึงการประชาสัมพันธ์ไปยังผู้บริโภคผ่านช่องทางที่เป็นแมส อย่างภาพยนตร์ โฆษณา หรือช่องทางโซเชียลมีเดีย เพื่อเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นและคนทางาน โดยยังเน้นสื่อทีวีเป็นช่องทางหลัก เนื่องจากสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้มากที่สุด


จิดาภา ในยะนา

199 54040735

อ้างอิง วิทยา สินทราพรรณทร. 2557. สเวนเซ่นโกยยอดหน้าร้อน.(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : www.prachachat.net/new-detail.php?newsid (12 พฤศจิกายน 2557) วิทยา สินทราพรรณทร. 2554. ไอศกรีมยอดขายพรุ่งกระฉูดรับหน้าร้อน.(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : www.matichon.co.th/new-deteil.php (12 พฤศจิกายน 2557) วิรัช ลภิรัตนกุล. 2535. ความหมายของการประชาสัมพันธ์.(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : http://www.l3nr.org/posts/403177 (12 พฤศจิกายน 2557)


200

สื่อการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ ลดการใช้ถุงพลาสติก ลดโลกร้อน กรณีศึกษาโครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 2553 โลกของเราทุกวันนี้ สิ่งแวดล้อมมีการเปลีย่ นแปลงไปเป็นอย่างมาก การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก ที่เกิดจากกิจกรรม ของมนุษย์ทาให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ ในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น เป็น เหตุให้เกิดภาวะเรือนกระจกรุนแรงกว่าที่ควรจะเป็นตามธรรมชาติ และส่งผลให้อณ ุ หภูมิพื้นผิวโลกสูงขึน้ ที่เรียกว่า“ภาวะโลก ร้อน”ปัจจุบันปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์นั้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตของเสีย ได้แก่ มูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้าเสีย การย่อยสลาย ตลอดจนการใช้สารเคมี เป็นต้น โดย ถุงพลาสติกเป็นตัวการหนึ่งที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน แนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาดังกล่าวก็คือสร้างการมีส่วนร่วมในการ ลดใช้ถุงพลาสติกของประชาชนเพื่อลดการเผาพลาญเชื้อเพลิงและปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้มากที่สุด เพื่อต่อเวลา ให้กับโลกใบนีย้ าวนานยิ่งขึ้น ถุงพลาสติกกับภัยอันใกล้ตัว ถุงพลาสติกที่เราใช้ใส่อาหารผลิตจากพลาสติก การผลิตถุงพลาสติกสามารถทาได้อย่างรวดเร็วในปริมาณมาก และ ต้นทุนต่า การใช้งานส่วนใหญ่เป็นการใช้เพียงครั้งเดียว โดยเฉพาะถุงขนาดเล็กที่หลังจากการใช้งานแล้วจะถูกนาไปทิ้งจะเป็น ภาระในการจัดเก็บ และจัดการย่อยสลายเป็นอย่างมาก เนื่องจากคุณลักษณะที่เบาบาง และมีปริมาณมากปะปนกับมูลฝอย ประเภทอื่นๆ จึงทาให้เป็นอุปสรรคในการจัดเก็บมากยิ่งขึ้น ถุงพลาสติกศัตรูร้ายทาลายโลก ต้นเหตุสาคัญของโลกมาจากมนุษย์ ผ่านกิจกรรมทีเ่ ผาผลาญเชื้อเพลิงและส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ขึ้นสู่ชั้น บรรยากาศมากเกินความสามารถของโลกที่จะสะท้อนความร้อนจากพื้นโลกออกไปนอกโลกได้ทัน ผลคือ เกิดการเปลี่ยนแปลง สภาวะอากาศอย่างรุนแรงทั่วโลก ซึ่งล้วนแต่เป็นผลกระทบระดับมหันตภัยทั้งสิ้น เช่น พายุหมุนที่เกิดถี่ และรุนแรงมากขึ้น ระดับน้าทะเลทีส่ ูงขึ้นจากการละลายของน้าแข็งขั้วโลก สภาพอากาศที่แปรปรวน ฤดูกาล และวงจรการเกษตรเปลีย่ นแปลง โรคระบาดใหม่ๆ เป็นต้น ถุงพลาสติกส่งผลโลกร้อนจากปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั่วไปในปุจจุบันมีมากกว่า 40,000ตัน/วัน เฉพาะใน กรุงเทพมหานคร มีขยะที่เก็บได้ 8,500ตัน/วัน เป็นขยะจากถุงพลาสติก 1,500ตัน/วัน ทาให้มีค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บถึง 1.78 ล้านบาทต่อวัน และหากพูดถึงถุงพลาสติกเป็นปัญหาสิ่งแว้ดล้อมหนึ่งของโลกนับวันยิ่งมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น จนทาให้เกิด ปัญหาด้านจัดเก็บและกาจัดขยะ ถุงพลาสติกจานวนมากถูกทิ้งปะปนกับขยะจาพวกอื่นๆ เมื่อนาไปฝังจะต้องใช้พื้นที่และระยะ เวลานานในการย่อยสลาย และสารปรุงแต่งหรือสารประกอบที่ใช้ในการผลิตถุงพลาสติกรั่วไหลอาจจะส่งผลกระทบต่อแห่งน้า และดิน เป็นอันตรายต่อสัตว์ พืช และคน หากนาพลาสติกจาพวกPVC มาเผาจะก่อให้เกิดมลพิษในอากาศและเป็นต้นต่อทาให้ เกิดปัญหาโลกร้อนในปัจจุบัน ถึงเวลาแล้ว ที่เราต้องช่วย “การลดใช้ถุงพลาสติก” การลดใช้ถุงพลาสติกสามารถทาได้หลายวิธี โดยมี 3แนวทางที่ทุกคนทาได้ เพื่อช่ายท้องถิ่นและรัฐบาลประหยัด ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บและการกาจัดขยะและช่วยลดผลกระทบต่อสิง่ แว้ดล้อมที่ทุกคนสามารถเริ่มต้นได้โดย ปรับเปลี่ยน


201

พฤติกรรมใหม่ ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้วางแนวทางการลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก ผ่านสโลแกนง่ายๆ “3R ช่วยเยียวยาถุงล้นโลก” R1 : Reduce คือ ลดการใช้ หรือป้องกันให้มีขยะเกิดขึ้นน้อยที่สดุ เช่น เลือกใช้ถุงผ้า หรือตะกร้าเมื่อเวลาซื้อของ ช่วยลดการใช้ถุงพลาสติก R2 : Reuse คือ ใช้ซ้าอย่างคุ้มค่า เมื่อจาเป็นต้องหาถุงใส่ของ มองหาถุงพลาสติกใบเก่าทีได้จากการจับจ่ายครั้งที่ แล้ว นามาใช้ได้อีกหลายๆครั้ง ช่วยลดการทิ้งถุงพลาสติกได้ R3 : Recycle คือ นาวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ เมื่อนาไปขายต่อโรงงานผลิตพลาสติก จะสามารถนามาผลิตเป็น สินค้าอื่นๆได้

รูปที่ 1 : 3R : Reduce Reuse Recycle การรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก : โครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 2553

รูปที่ 2 : โครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 2553 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จึงจัดทาโครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 2553 ในระหว่างวันคุ้มครองโลก (22 เมษายน 2553) ถึง วันสิ่งแวดล้อมโลก (5 มิถุนายน 2553) เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในเรื่องการลดการใช้ถงุ พลาสติก เพื่อลดภาวะโลกร้อน รวมถึงสร้างความ ตระหนักให้กับผู้ที่มสี ่วนร่วมในการก่อให้เกิดขยะถุงพลาสติกได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคไปในทางที่ไม่ก่อให้เกิดขยะ จากถุงพลาสติกอย่างไม่จาเป็น โดยหัวใจสาคัญในการขับเคลื่อนโครงการรณรงค์ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 2553 ได้แก่ ภาคประชาชน สามารถช่วยลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกได้โดยตรง โดยเริ่มจากครอบครัว คุณพ่อ คุณแม่ สามารถฝึกให้ลูกๆ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการใช้ถุงพลาสติกซ้า ถุงพลาสติกหนึ่งใบสามารถใช้ได้เป็นปี รวมทั้งพยายาม ปลูกฝังให้ลูกหลานใช้ถุงผ้า ปิ่นโตหรือภาชนะบรรจุภัณฑ์ทสี่ ามารถล้างทาความสะอาดได้ เพื่อช่วยกันลดการใช้ถุงพลาสติก เป็นการเรียนรูด้ ้วยการปฏิบัตจิ ริง หน่วยงานราชการ เป็นแบบอย่างที่ดีในการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ด้วย


202

การกาหนดมาตรการในหน่วยงานอย่างจริงจัง และ ห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อ เป็นกลไกสาคัญในการส่งเสริมแนวคิด ลดการใช้ถุงพลาสติก เพราะทั้งห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซื้อหรือร้านอาหารต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่ใช้ถุงพลาสติกเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ สาหรับใส่สินค้าเพื่อรองรับความสะดวกสบายให้แก่ลูกค้าทั้งสิ้น หากมีมาตรการสอบถามลูกค้าในการเลือกใช้ถุงพลาสติก เปลี่ยนมาใช้ถุงผ้า หรือถุงพลาสติกที่ย่อยสลายได้ หรือใช้ถุงพลาสติกใบใหญ่ใบเดียว หรือส่งเสริมให้ใช้ถุงพลาสติกซ้า ก็ สามารถช่วยลดปริมาณขยะถุงพลาสติกลงได้มากทีเดียว (กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม, 2553) สื่อการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข่าวสารและการรณรงค์ลดใช้ถุงผ้า ลดโลกร้อน การประชาสัมพันธ์ หมายถึง รูปแบบหนึ่งของการติดต่อสื่อสารเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริงจาก สถาบันหรือหน่วยงานหนึ่งไปสู่กลุม่ เป้าหมายโดยมีการวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์และดาเนินการเพือ่ บอกกล่าวให้ทราบ ให้ เข้าใจถูกต้อง ตลอดจนเพื่อสร้างชือ่ เสียงและภาพลักษณ์ที่ดี อันจะนาไปสู่การสนับสนุนและการได้รับความร่วมมือจาก กลุ่มเป้าหมาย การรณรงค์ (Campaign) หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่แนวคิดที่ผู้รณรงค์ตอ้ งการ ไปสู่เป้าหมายของการ รับรู้ หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้การรณรงค์เป็นการดาเนินการที่ต้องกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน ระยะเวลาดาเนินการ งบประมาณ ไว้อย่างชัดเจน และควรรวมถึงการประเมินผล การรณรงค์ด้วยว่าบรรลุตาม เป้าหมายทีต่ ั้งไว้หรือไม่ (พจน์ ใจชาญสุขกิจ,2557) ในปัจจุบันการประชาสัมพันธ์และรณรงค์เรื่องของการลดใช้ถุงพลาสติก ได้มหี ลายหน่วยงานเข้ามาจัดทากิจกรรม การรณรงค์ต่างๆ อาทิเช่น บริษัทิ CP ALL, 7eleven, Tesco Lotus, Top Super market เพื่อกระตุ้นให้เกิดจิตสานึกแก่ ประชาชนโดยทั่วไปนั้นมีการดาเนินงานในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะการรณรงค์ลดใช้ถุงพลาสติก ลดโลกร้อน มีการใช้สื่อเพื่อ การรณรงค์ หลากหลายชนิด ซึ่งได้แก่ สปอตทีวี สารคดี การผลิตโสตทัศนูปกรณ์ และสิ่งพิมพ์ต่างๆ รวมทั้งการเผยแพร่ผ่าน สื่อมวลชนทั้งด้านหนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ การใช้สื่อในการรณรงค์และประชาสัมพันธ์การให้ข่าวสารแก่ประชาชนของโครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลด โลกร้อน ปี 2553 1. สื่อบุคคล บุคคลซึ่งทาหน้าที่ให้ข้อมูล อาทิโฆษกประจากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของหน่วยงานพรีเซ็นเตอร์สินค้าหรือหน่วยงาน หรือการเลือกสื่อบุคคลเป็นพรีเซ็นเตอร์ จากกลุ่มดารา นักร้อง ศิลปินหรือผู้มี ชื่อเสียงในสังคม

รูปที่ 3 : ภาพงานแถลงข่าว

รูปที่ 4 : ศิลปิน Girly Berry


203

2. สื่อสิ่งพิมพ์ คู่มือให้ความรู้

3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อินเทอร์เน็ต

รูปที่6 : การประชาสัมพันธ์ผ่านสือ่ อินเตอร์เน็ต รูปที่5 : คู่มือบันทึก 4. สื่อมวลชน สื่อกลางทีน่ าข่าวสารข้อมูลไปสู่มหาชน เช่น หนังสือพิมพ์ และวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งผูส้ ื่อสารจะต้องซื้อเนื้อที่ และเวลา จึงจะสามารถควบคุมได้

รูปที่ 7 : การประชาสัมพันธ์ผ่านหนังสือพิมพ์ ผลดาเนินการการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก : โครงการ45วัน รวมพลังลดถุงพลาสติกลดโลกร้อน ปี 2553 จากการดาเนินโครงการ 45 วันฯ ในปี 2552 ที่ผ่านมา สามารถลดการใช้ถุงพลาสติกได้ 4,400,000 ใบ และเป็นที่ น่ายินดีอย่างยิ่งที่การจัดโครงการ 45 วันฯ ในปี 2553 ซึ่ง สส. ตั้งเป้าในการลดถุงพลาสติกไว้ที่จานวน 8 ล้านใบนั้นประสบ ความความสาเร็จอย่างมาก โดยสามารถลดถุงพลาสติกได้ถึง 12,732,061 ใบ โดยแสดงให้เห็นว่าปี 2553 นี้สามารถลดการใช้ ถุงพลาสติกได้มากกว่าปี 2552 ถึง 8,332,061 ใบ หรือ สามารถลดถุงพลาสติกได้เพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่าจากปี 2552 อันเป็นผล จากความร่วมมือของภาคีเครือข่ายห้างร้านต่างๆ ผลสรุปปริมาณการลดถุงพลาสติกจากเครือข่ายผู้ประกอบการ ห้างสรรพสินค้า และร้านสะดวกซือ้ ที่เข้าร่วมโครงการและสามารถลดได้ (หนังสือพิมพ์มติชน,2553) สรุป ในปัจจุบัน ภาวะโลกร้อนถือเป็นปัญหาใหญ่สาหรับเราในตอนนี้ โดยเกิดจากหลายๆสาเหตุ โดยหนึ่งในนั้นคือการเผา ไหม้ทาลายถุงพลาสติก และตามมาด้วยปัญหาอีกมากมาย ดังนั้น กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทาโครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 2553 เพื่อสร้างกระแส


204

สังคมที่สามารถก่อให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในเรื่องของการสร้างจิตสานึกและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในเรื่องของการลดปริมาณขยะถุงพลาสติก เพื่อลดภาวะโลกร้อน เพื่อให้ ความรู้แก่ประชาชนผู้บริโภคเรื่องการลดใช้ถุงพลาสติก โดยใช้สื่อและกิจกรรมที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เช่น สื่อบุคคล โดยมีดารา นักร้องมาเป็นพรีเซ็นเตอร์ สื่อสิ่งพิมพ์ โดยจัดทาคู่มือให้ความรู้ และบันทึกกิจกรรมในแต่ละวัน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อินเทอร์เน็ต เป็นการประชาสัมพันธ์โครงการผ่านเว็บไซต์ และสื่อมวลชน สื่อกลางที่นาข่าวสารข้อมูลไปสู่มหาชน และได้วางแนวทางการ ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก ผ่านสโลแกนง่ายๆ 3R ช่วยเยียวยาถุงล้นโลก เพื่อสร้างความตระหนักกระแสความตื่นตัวใน สังคมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเรื่องของการลดขยะจากถุงพลาสติก เพื่อลดภาวะโลกร้อนอย่างจริงจังในสังคมไทย

อ้างอิง กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม. 2553. โครงการ 45 วัน รวมพลัง ลด ถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 53 (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.opdcacademy.com/index.php?option=com_content&task=view&id=2421&Itemid=28 (10 พฤศจิกายน 2557) ฐิตินันท์ ศรีสถิต. 2554. โลกใบเขียวของคิ้วหนา. พิมพ์ครั้งที่ 1. มูลนิธิโลกสีเขียว. กรุงเทพ. พจน์ ใจชาญสุขกิจ. 2557.ทฤษฎีการสื่อสาร (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www2.ect.go.th/ ระบบผูป้ ระสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา. 2553. โครงการ 45 วัน รวมพลัง ลดถุงพลาสติก ลดโลกร้อน ปี 53 (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.cplo.soc.go.th/ หนังสือพิมพ์มติชน. 2553. ลดใช้ถุงพลาสติกทะลุเป้ากว่า 12 ล้านใบ เดอะมอลล์ ครองแชมป์มากสุด (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1275977325 (20 พฤศจิกายน 2557) อุดม เชยกีวงศ์. 2555. ภาวะโลกร้อน. พิมพ์ครั้งที่ 1. สานักพิมพ์แสงดาว. กรุงเทพ.

น.ส.จิดาภา พินิตภูวดล รหัส 54040736


205

การพูดเพือ่ การส่ งเสริมการเกษตร

น.ส.จุฑาทิตย์ เยกิจ 54040739

ด้านการเกษตร และดนตรี ไทยได้กล่าวไว้วา่ “ปากมี

บทนํา การสื่ อสารมี ความหมายกว้าง ครอบคลุม เกี่ ย วข้อ งกับ ชี วิ ต และสั ง คมมนุ ษ ย์ใ นทุ ก ๆเรื่ อง นัก วิ ช าการด้า นการสื่ อ การจึ ง ให้ ค วามหมายไว้ ต่ า งๆกั น ตามแง่ มุ ม ที่ แ ต่ ล ะคนพิ จ ารณาให้ ความสํา คัญ นอกจากนั้น สภาพสั ง คมปั จ จุ บ ัน ที่ บุ ค คลจะต้อ งเกี่ ย วกัน มากขึ้ น การสื่ อ สารยิ่ ง มี ความสําคัญต่อบุคคลและสังคมมากขึ้น หากบุคคล ในสังคมขาดความรู ้ ความเข้าใจในการสื่ อสาร ไม่ สามารถถ่ า ยทอดความรู ้ ค วามคิ ด หรื อ ทํา ให้เ กิ ด ความเข้าใจระหว่างกันได้ ย่อมจะทําให้เกิดปั ญหา ต่าง ๆ มากมาย ปั ญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคลและสังคม ทุ ก วัน นี้ มี อ ยู่มี ไ ม่ น้อ ยที่ เ ป็ นสาเหตุ ม าจากความ ล้มเหลวของการสื่ อสาร ดังนั้นการสื่ อสารจึ งเป็ น เรื่ องสําคัญที่จาํ เป็ นต้องศึกษาให้เข้าใจ การพู ด เป็ นวิ ธี การสื่ อความหมายที่ มี บ ท บ า ท สํ า คั ญ แ ล ะ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ชี วิ ต ประจํา วัน มากที่ สุ ด คนจํา เป็ นต้อ งใช้ค าํ พู ด เพื่ อ ให้ บ รรลุ ว ัต ถุ ป ระสงค์ เช่ น การพู ด เพื่ อ ให้ กําลังใจ แสดงความเห็ น ใจ ปลอบโยน โน้มน้า ว จิตใจ ชักจูง หรื อสอนให้ความรู ้ เป็ นต้น ปกติคนเรา จะใช้เวลาเพื่อการพูดการสนทนาติดต่อซึ่ งกันและ กันในกิจวัตรประจําวัน บางคนอาจจะคิดว่าการพูด นั้น เป็ นเรื่ อ งง่ า ย ใคร ๆ ก็ พู ด ได้แ ต่ จ ะมี บ างคน เท่านั้นทีพดู เป็ น อุทิศ นาคสวัสดิ์ (2520) ปรมาจารย์

ความสําคัญสําหรับพูดก็จริ ง แต่คาํ พูดที่หลุดออกมา จากปากนั้นมีความสําคัญยิง่ กว่ามากนัก” และ “อย่า ลืม…คําพูดจะออกมาก็เพราะสมองของเราสั่ง และ สมองของเราจะสั่งได้ดีก็ต่อเมื่อมันมี ความรู ้ และ ประสบการณ์ต่าง ๆ สะสมไว้มากมายเท่านั้น” จาก คําพูดดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า คนที่พดู เป็ น พูดได้ดี จะต้องหมัน่ ศึกษาหาความรู ้และประสบการณ์ไว้ให้ มากที่ สุด และต้องฝึ กฝนตนเองให้มีปฏิ ภ านไหว พริ บ สามารถแก้ไขปั ญหา และเหตุการเฉพาะหน้า ได้อย่างทันท่วงที ความหมายของการพูดเพือ่ การส่ งเสริมการเกษตร ความหมายของการพู ด เพื่ อ การส่ ง เสริ ม การเกษตร พิจารณาจากความหมายที่ มีผูน้ ิ ยายไว้ ดังนี้ 1. การพูด (ชมรมวาทศิลป์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ นทร) ,2556 การพูดหมายถึง การใช้ ถ้อยคํา นํ้าเสี ยง รวมทั้งกิริยาอาการถ่ายทอดความรู ้ ความคิดและความรู ้สึกของผูพ้ ดู ให้ผฟู ้ ั งได้รับรู ้และ เกิ ดการตอบสนอง หรื อการพูด คือ กระบวนการ สื่ อสารความคิดจากคนหนึ่ งไปยังอีกคนหนึ่ งหรื อ กลุ่มหนึ่ง โดยมีน้ าํ เสี ยงและอากัปกิริยาเป็ นสื่ อ หรื อ การพูด คือการแสดงออกถึงอารมณ์และความรู ้สึก โดยใช้ภ าษาและเสี ย งสื่ อ ความหมายการพูด เป็ น เครื่ องมือสื่ อสารที่มีอานุ ภาพมากที่สุดในโลก การ


206

น.ส.จุฑาทิตย์ เยกิจ 54040739

พูดเป็ นสัญลักษณ์แห่ งความเข้าใจระหว่างมนุษย์กบั

ในงานส่ งเสริ มการเกษตร จึ งสามารถนํามาใช้ใน

มนุษย์

รู ปแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 2. ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร พู ด เ พื่ อ ก า ร

1. การพูดอย่างไม่เป็ นทางการ เป็ นการ

ประชาสัมพันธ์ ระบุว่าไว้ว่า การพูดเพื่อให้ผูฟ้ ั งมี

สื่ อสารด้วยวาจาระหว่างบุคคลภายในองค์กร เช่ น

ความเข้าใจอันดีต่อองค์กรกิจการ เกิดความเลื่อมใส

การพูด คุ ย สนทนาระหว่างบุ คลากรในหน่ ว ยงาน

ศรั ท ธา และมี ท ั ศ นคติ ที่ ดี ต่ อ องค์ ก ารกิ จ การ

หรื อการติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งหั ว หน้ า งานกั บ

ตลอดจนการพูดเพื่อแก้ไขความเข้าใจผิดต่าง ๆ ให้

บุคลากร เป็ นต้น หรื อเป็ นการพูดคุ ยอย่างไม่เป็ น

กลายเป็ นความเข้าใจที่ถูกต้อง ตรงกับความเป็ นจริ ง

ทางการระหว่า งนัก ส่ ง เสริ มการเกษตรกับ บุ ค คล

ดัง นั้น การพู ด ในงานส่ ง เสริ ม การเกษตร

เป้ าหมาย การประชาสัมพันธ์โดยใช้การพูดด้วยวิธี

หมายถึง การใช้ถอ้ ยคํา นํ้าเสี ยง และอากัปกิริยา เพื่อ

นี้ จึ งเป็ นวิธี ก ารที่ ไ ด้ผลดี เพราะความคุ น้ เคยเป็ น

ถ่ า ยทอดความรู ้ ความคิ ด และความรู ้ สึ ก เพื่ อ ให้

กัน เอง ทํา ให้เกิ ดความรู ้ ความเข้าใจในองค์กรได้

เกษตรกรหรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องมีความรู ้ความเข้าใจอันดี

เป็ นอย่างดี

และถูกต้องต่อองค์กรและงานส่ งเสริ มการเกษตร

2.

การพูด ในที่ ชุมชน เป็ นการพูด ใน

เกิ ด ความเลื่ อ มใส ศรั ท ธา และมี ท ัศ นคติ ที่ ดี ต่ อ

ลัก ษณะที่ เ ป็ นทางการต่ อ หน้า บุ ค คลจํา นวนมาก

องค์กรและงานส่ งเสริ มการเกษตร

เป็ นการพูดในที่ สาธารณะหรื อชุ มนุ มชนในวาระ

รูปแบบการพูดเพือ่ การส่ งเสริมการเกษตร

หรื อ โอกาศต่ า ง ๆ เพื่ อ เป็ นการสร้ า งความเข้า ใจ

การพูด จัด เป็ นสื่ อ ประเภทคํา พูด (spoken

ความรู ้ ยกย่อง และยินดี ตลอดจนความเห็นอกเห็น

media)

ใจในเรื่ องราวต่าง ๆ ซึ่ งผูพ้ ูดสามารถใช้วิธีการพูด

เนื่ องจากเป็ นการสื่ อสารด้วยวาจาหรื อคําพูด หรื อ

ในที่ชุมชนในรู ปแบบต่าง ๆ เช่ นการพูดในฐานะ

ท่าทางประกอบ นํ้าเสี ยง แววตา หรื อสี หน้า ซึ่ งทํา

พิธีกรของการจัดกิจกรรมพิเศษ หน่ วยงานส่ งเสริ ม

ให้เกิ ดความเข้าใจมากขึ้ น การพูด หรื อคําพูดเป็ น

การเกษตรอาจจะจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การจัดวัน

หนึ่ งในสื่ อที่ จ าํ เป็ นในการประชาสัมพัน ธ์ ซึ่ งนัก

หรื อสัปดาห์พิเศษ การจัดงานนิทรรศการ การแสดง

ส่ งเสริ มการเกษตรต้องใช้อยู่เสมอ และเนื่ องจาก

สิ นค้า การประชุ มทางวิชาการ ในการจัดกิ จกรรม

การพูดเพื่อการส่ งเสริ มการเกษตร มีวตั ถุประสงค์

พิเ ศษต่ าง ๆ นี้ นัก ส่ ง เสริ มการเกษตรอาจจะต้อง

เพื่อบอกกล่าวให้ทราบและเข้าใจ หรื อเพื่อชี้ ชวน

เป็ นพิธีกร ซึ่ งหมายถึงผูก้ ล่าวแทนเพื่อประสานงาน

word)

หรื อสื่ อส่ วนบุคคล (personal

หรื อโน้มน้าวใจ และเพื่อจรรโลงใจ ดังนั้น การพูด


207

น.ส.จุฑาทิตย์ เยกิจ 54040739

เชื่อมโยงกิจกรรมระหว่างผูพ้ ูด และผูฟ้ ั ง ให้ดาํ เนิ น

หน้ า กัน (face to face) ซึ่ งมี ข ้อ ดี ต่ อ งานส่ ง เสริ ม

ไปอย่างต่อเนื่องและมีระเบียบ

การเกษตรดังนี้

3. การบรรยายสรุ ป โดยผูบ้ รรยายสรุ ปจะ

1.ประหยัดและสามารถที่จะใช้ประโยชน์

เป็ นผูม้ ี ความรู ้ ในเรื่ องที่ จะพูดเป็ นอย่างดี เพื่อเป็ น

ทันที ที่ตอ้ งการ การพูดเป็ นการใช้สื่อจากคําพูดที่

การอธิ บายให้ผูฟ้ ั งมี ความรู ้ ความเข้าใจในเรื่ องใด

มนุ ษ ย์ส ามารถพู ด ทุ ก คนจึ ง ไม่ ต ้อ งลงทุ น ซื้ อ หา

เรื่ องหนึ่งอย่างกว้าง ๆ ในช่วงระยะเวลาที่จาํ กัด เช่น

เหมื อ นสื่ อบางประเภทจึ ง เป็ นการประหยั ด

สํ า นั ก ง า น เ ก ษ ต ร จั ง ห วั ด แ ห่ ง ห นึ่ ง ป ร ะ ส บ

นอกจากนั้น การพูดยังสามารถนํามาใช้ประโยชน์

ความสํ า เร็ จ ในการดํา เนิ น งานจนได้ รั บ รางวัล

ในงานส่ งเสริ มการเกษตรได้ทนั ทีที่ตอ้ งการ

ชนะเลิศระดับประเทศจากกรมส่ งเสริ มการเกษตร

2.ก่ อ ให้ เ กิ ดความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ในงาน

เมื่อมีบุคลากรจากหน่วยงานอื่นมาดูงานนักส่ งเสริ ม

ส่ งเสริ มการเกษตรด้วยการพูดคุยสนทนาแบบพบ

การเกษตรของสํา นัก งานเกษตรจัง หวัด นั้น อาจ

ห น้ า กั น ใ ห้ ผู ้ พู ด แ ล ะ ผู ้ ฟั ง เ ห็ น ห น้ า เ ห็ น ต า

ได้รับมอบหมายให้เป็ นผูบ้ รรยายสรุ ปโดยการชี้แจง

อากัปกิริยาท่าทางซึ่ งกันและกันบุคลิกลักษณะลีลา

ถึงเกี่ยวกับระบบและการดําเนิ นงานของหน่วยงาน

ท่วงทํานองการพูดและนํ้าเสี ยงของผูพ้ ูดมีอิทธิ พล

อย่ า งย่ อ ๆ ก่ อ นที่ จ ะพาผู ้ ดู ง านเดิ นเยี่ ย มชม

ในการชักจูงกระตุน้ เร้าความสนใจ หรื อก่อให้เกิ ด

หน่วยงานเป็ นต้น

ความประทับใจสนิ ทสนมเป็ นกันเองได้ง่าย ดังนั้น

4. การประชุม เป็ นการระดมความคิดเห็น

จึงสามารถก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การปรึ กษาหารื อ หรื ออาจ

3.สื่ อสารสองทางที่ สามารถโต้ต อบทัน ที

เป็ นการประชุ ม ชี้ แจงเรื่ องราวต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ

ทั้งผูพ้ ดู และผูฟ้ ังมีโอกาสพบหน้าและโต้ตอบกันได้

นโยบายหลัก การและแนวทางในการปฏิ บ ัติง าน

ทันที ต่างได้เห็นปฏิกิริยาของกันและกัน ทําให้การ

เช่น การประชุมประจําเดื อนของสํานักงานเกษตร

พูดในงานส่ งเสริ มการเกษตรเข้าใจได้ง่ายสะดวก

อําเภอ (District Monthly Meeting :DMM) เป็ นต้น

และรวดเร็ วหากมีสิ่งใดยังไม่เข้าใจอาจจะถามตอบ

ข้ อดีของการพูดในการส่ งเสริมการเกษตร

กันได้ทนั ทีจนสามารถทําความเข้าใจได้ในขณะนั้น

การพู ด ไม่ ว่ า จะเป็ นการพู ด แบบไม่ เ ป็ น

4.สามารถปรับเนื้ อหาทันที เนื่ องจากผูพ้ ูด

ทางการ การพูดในที่ ชุมชน ตลอดจนการบรรยาย

และผูฟ้ ั งมีโอกาสพบหน้าและสามารถโต้ตอบกัน

สรุ ปและการประชุ ม เป็ นการพูดสื่ อสารแบบพบ

ได้ทนั ทีดงั นั้นหากเนื้ อหาข่าวสารเรื่ องราวที่กาํ ลัง พูด อยู่น้ ัน ไม่ เ หมาะสมผูพ้ ูด สามารถปรั บ เนื้ อ หา


208

น.ส.จุฑาทิตย์ เยกิจ 54040739

ข่าวสาร เรื่ องราวที่กาํ ลังพูดอยู่น้ นั ให้เหมาะสมกับ ผูฟ้ ังได้ทนั ที ข้ อจํากัดการพูดในการส่ งเสริมการเกษตร 1. ขาดความคงทนถาวร เมื่อพูดเสร็ จก็ผา่ น เลยไปผู ้ฟั ง ไม่ มี โ อกาสฟั ง ซํ้ าหรื อไม่ ส ามารถ

หลักสํ าคัญสํ าหรับการพูดในการส่ งเสริมการเกษตร หลักสําคัญสําหรับการพูดในการส่ งเสริ ม การเกษตร มีดงั นี้ 1. คึกษาค้นคว้าเรื่ องราวที่จะพูดให้เข้าใจ อย่างถ่องแท้ รวมทั้งวิเคราะห์กลุ่มผูฟ้ ังด้วย

ย้อ นกลับ มาทบทวนทํา ความเข้า ใจใหม่ ไ ด้ ไ ม่

2 .จัดเรี ยงลําดับความคิดเรื่ องที่จะพูด

เหมือนสื่ อที่เป็ นข้อเขียนหรื อสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่สามารถ

3. เตรี ยมตัวให้พร้อมก่อนขึ้นพูด

ย้อนกลับ มาทบทวนหรื ออ่านใหม่จนเข้าใจได้

4. พูดอย่างเป็ นธรรมชาติ ด้วยความมัน่ ใจ

2. ขอบข่ายไม่กว้างขวาง การพูดเป็ นการ

ไม่ลงั เล กระตือรื อร้นและไม่ประหม่า

สื่ อ สารที่ มี ข อบข่ า ยการครอบคลุ ม (coverage)ไม่

5.พูดด้วยภาษาที่ฟังเข้าใจง่ายชัดเจน

กว้างขวางนักครอบคลุมประชาชนเป้ าหมายได้นอ้ ย

6.มีลีลาจังหวะในการพูดที่ดี เน้นเสี ยงหนัก

หากมีประชาชนเป้ าหมายมีมากเกินขอบเขตอํานาจ การ ครอบคลุมแล้วก็อาจจะไม่สะดวกที่จะพูดหรื อ พูดแล้วอาจไม่ได้ผล

เบาที่ควรเน้น 7.

ใช้ท่ า ทางประกอบการพูด อย่า ง

เหมาะสม มีชีวิตชีวา

3. ขึ้นกับความสามารถของผูพ้ ูด หากผูพ้ ูด

8. ประสานสายตากับผูฟ้ ังในขณะที่พดู

ขาดทักษะหรื อความสามารถการพูดอาจจะล้มเหลว

9. รักษาระยะเวลาที่พดู ให้ตรงตามเวลา

ได้ เช่ น มี ข อ้ บกพร่ อ งในนํ้า เสี ย งที่ พูด หรื อ พูด อู ้อ้ ี

หลักการพูดของนักส่ งเสริมการเกษตร

หรื อรัวจนฟั งไม่ทนั หรื อพูดวกวนลําดับเรื่ องไม่ดีก็

การที่ เ จ้ า หน้ า ที่ ส่ ง เสริ มการเกษตรหา

อาจทําให้ผฟู ้ ังไม่อยากฟังหรื อฟังแล้วไม่เข้าใจก็ได้

โอกาสไปพบเกษตรกรที่ บ ้ า นหรื อไร่ นา จะ

4. ไม่ เ หมาะกั บ เนื้ อหาเชิ งนามธรรม

ก่ อ ให้เ กิ ด ผลดี ห ลายประการ อาทิ ได้เ ห็ น สภาพ

เรื่ องราวที่ซบั ซ้อนหรื อเป็ นนามธรรมไม่เหมาะที่จะ

ความเป็ นจริ ง สภาพทางเศรษฐกิจและฐานะความ

ประชาสัมพันธ์โดยการพูดเพราะการพูดเพียงอย่าง

เป็ นอยู่ ตลอดจนได้ทราบสภาพปั ญหาที่แท้จริ งของ

เดี ย วไม่ อ าจทํา ให้ ผู ้ฟั ง เข้า ใจหรื อไม่ เ ห็ น ภาพ

เกษตรแต่ละคน อีกทั้งเกษตรกรนั้น ๆ ก็พร้อมที่จะ

เรื่ องราว ชัดเจนเพียงพอที่จะสร้างความเข้าใจได้

เปิ ดเผยสภาพความเป็ นจริ งเจ้า หน้ า ที่ ส่ ง เสริ ม การเกษตรมากกว่าขณะอยู่กับกลุ่ มอื่ น ๆ เพื่อให้


209

น.ส.จุฑาทิตย์ เยกิจ 54040739

การเยี่ ย มเยี ย นเกษตรกรประสบผลสํ า เร็ จ ตาม

สามารถปรั บ เนื้ อหาทั น ที เ หมาะกั บ การชึ้ แจง

จุดมุ่งหมาย ควรยึดหลักการพูดดังนี้

เผยแพร่ ท้ งั นี้ ข้ ึนอยู่กบั ความสามารถของผูพ้ ูดและ

1. การใช้คาํ พูดที่เหมาะสม ควรเริ่ มต้นด้วย

ไม่เหมาะกับเนื้อหาเชิงนามธรรม

ไมตรี และนอบน้อมและจงหลีกเลี่ยงการโต้แย้ง มี การคิดก่อนพูดเสมอ การใช้คาํ พูดควรคิดไตร่ ตรอง ให้ ร อบคอบก่ อ น และเคารพความคิ ด ของผูร้ ่ ว ม สนทนาบ้าง ไม่ผกู ขาดการพูดเพียงคนเดียว 2. การเป็ นนักฟั งที่ดีดว้ ยเช่ นกัน ฟั งด้วยหู และด้วยตา แน่ นอนว่าเราต้องใช้หูฟังผูอ้ ื่นพูด แต่ที่ ต้ อ งใช้ ต าด้ ว ยก็ เ พื่ อ จะสั ง เกตุ สี หน้ า ท่ า ทาง

อ้างอิง ทินวัฒน์ มฤคพิทกั ษ์.พูดได้ พูดเป็ น.กรุ งเทพฯ โอ.เอส. พริ้ นติ้ง เฮ้าส์, 2526. วิจิตร อาวะกุล. การประชาสั มพันธ์ หลักและวิธี

อากัปกิริยาของผูพ้ ูดในขณะนั้นด้วย และควรสร้าง

ปฏิบัติ. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษทั

บรรยากาศให้สอดคล้องกับผูพ้ ดู ไม่ทาํ ตาเหม่อลอย

สํานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2522.

เฉยเมย หรื อกั ด เล็ บ ฯลฯ แต่ ค วรแสดงกิ ริ ยา

วีระ อรัญมงคล. หลักการประชาสั มพันธ์ .กรุ งเทพฯ

ประกอบการฟัง เช่นพยักหน้า หรื อการรับรู ้ดว้ ยตา สรุป การพูดเพื่อการส่ งเสริ มการเกษตรเป็ นการ ใช้ถ ้อ ยคํา นํ้า เสี ย งและอากัป กิ ริ ย า เพื่ อ ถ่ า ยทอด ความรู ้ความคิดและความรู ้สึก เพื่อให้เกษตรกรหรื อ ผูท้ ี่เกี่ ยวข้อง มีความรู ้ ความเข้าใจอันดี และถูกต้อง เกิ ด ความเลื่ อ มใสศรั ท ธาและมี ท ัศ นคติ ที่ ดี ต่ อ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ ก ษ ต ร โ ด ย มี วัตถุประสงค์เพื่อบอกกล่าวให้ทราบและเข้าใจเพื่อ ชี้ ชวนหรื อโน้ ม น้ า วใจและเพื่ อ จรรโลงใจซึ่ งมี รู ปแบบใช้ ก ารพู ด เพื่ อ การส่ ง เสริ มการเกษตร ต้ อ งการก่ อ ให้ เ กิ ด ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี เ ป็ นการ ติ ด ต่ อ สื่ อสารสองทางที่ ส ามารถโต้ ต อบทัน ที

:โรงพิมพ์สุดจิตออฟเซท, 2538. อุทิศ นาคสวัสดิ์. ศิลปการพูด.กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ อักษรเจริ ญทัศน์,2520.


นางสาว ณัฎฐยา อาวรณ์ 210 ธรรม นิเทศศาสตร์ เกษตร ปี 4 รหัส54040746

บทความ เรื่องการใช้ สื่อเพือ่ กรณีศึกษาโครงการเท่ กนิ ผัก น่ ารักกินผลไม้ บทนา สุ ขภาพเป็ นสิ่ งที่ จาเป็ นสาหรับมนุ ษย์ วิธีที่ง่ายที่สุดคือ การหันมาเปลี่ยนลักษณะในการบริ โภคของ ตนเอง เริ่ มตนด้วยการกินผัก ผักนานาชนิ ดล้วนทรงคุณค่า ประกอบด้วยวิตามิน และเกลือแร่ อยูเ่ ป็ นจานวนมาก พืชผักบางชนิ ดก็เป็ นสมุนไพรที่ช่วยรักษา และป้ องกันโรคต่างๆให้กบั ร่ างกายของเราได้เป็ นอย่างดีเพราะฉะนั้น จึ งควรหัน มากิ นผัก เพื่ อสุ ขภาพที่ ดี และควรส่ งเสริ ม ให้เด็ก ๆหันมากิ นผัก แทนอาหารขยะ เพื่ อเด็ก ๆจะได้มี ร่ างกายที่แข็งแรง เพราะเด็กเป็ นวัยที่กาลังจะเจริ ญเติบโต และสารอาหารจะได้เข้าไปช่ วยซ่ อมแซ่ มส่ วนที่สึก หรอได้ดี อาหารที่ประกอบด้วยพืชผักของไทยเราล้วนแล้วแต่มีคุณค่าทั้งสิ้ น ทุกวันนี้ ประชาชนหลายๆกลุ่มมี รสนิยมในการบริ โภคอาหารที่ผดิ ๆ พ่อแม่หลายท่านอาจจะเลี้ยงดูบุตรหลานของตนเองโดยมีความเชื่อว่าการให้ ลูกของตนเองรับประทานอาหารจาพวก หมู เห็ด เป็ ด ไก่ นั้นเป็ นสิ่ งที่ดีมีคุณค่าต่อร่ างกายของบุตรหลาน คนจน ในอดี ตมักจะเลี้ยงดูบุตรหลานด้วยพืชผักผลไม้ ส่ วน หมู เห็ด เป็ ด ไก่ นั้นนานๆทีถึงจะได้กินสักครั้ง แต่ถา้ เรา ได้รับเฉพาะโปรตีนโดยไม่ได้รับสารอาหารอื่นๆเข้าไปด้วย ร่ างกายก็ไม่สามารถนาโปรตีนไปใช้ได้อย่างเต็มที่ ทาให้คุณค่าทางอาหารที่เราต้องการพลอยลดน้อยลงไปด้วย จากสถิติเด็กไทยในปั จจุบนั กินผักน้อย วันละ186 กรั ม ต่ อ วัน เท่ านั้น ขณะที่ อ งค์ก รอนามัย โลกแนะน าให้ กิ น วัน ละ400 กรั ม เหตุ น้ ี ทางส านัก งานกองทุ น สนับ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ได้ร่วมมื อ กับ มู ล นิ ธิ ก องทุ น การศึ ก ษาเพื่ อ การพัฒ นา (EFD) ท า โครงการ "เท่กินผัก น่ารักกินผลไม้" เพื่อกระตุน้ ให้เด็กนักเรี ยนในโรงเรี ยนกินผักผลไม้ เพื่อรณรงค์และส่ งเสริ ม ให้เด็กๆสนใจและหันมาบริ โภคผัก การใช้การสื่ อสารผ่านการรณรงค์เพื่อให้เด็กกินผักโดยการจัดกิจกรรมต่างๆ และรณรงค์ภายในโรงเรี ยน มีการทาโปสเตอร์รณรงค์ให้เด็กๆและเยาวชนกินผัก 1. ความสาคัญของผักต่ อเด็ก ในปั จจุบนั เด็กๆหลายคนไม่ยอมรับประทานอาหารที่มีผกั เป็ นองค์ประกอบ เรามักพบว่าเด็กเล็กๆไม่ ยอมรับประทานผักส่ วนใหญ่จะรับประทานแต่เนื้อหมู เนื้อไก่ ทาให้เกิดปัญหาท้องผูกตามมา เวลาเข้าห้องน้ าแต่ ละครั้งก็นงั่ นานกว่าจะถ่ายอุจจาระออกมาได้ แถมบางคนยังอุจจาระแข็งมาก ถ่ายเสร็ จก็ร้องไห้เพราะว่าเจ็บก้น บางคนถ่ายไม่ออกหลายวันก็ตอ้ งใช้การสวนทวารเข้ามาช่วย สิ่ งเหล่านี้ ลว้ นแต่เป็ นโทษที่เกิ ดจากการไม่กินผัก ของเด็กๆ เราเชื่อว่าพ่อแม่หลายคนคงจะไม่อยากเห็นลูกหลานของตนถ่ายไม่ออกอย่างแน่นอน พืช ผัก ผลไม้ แต่ ละชนิ ดนั้น ล้วนแต่มีองค์ประกอบของ เกลือแร่ และวิตามินชนิดต่างๆอยูเ่ ป็ นจานวนมาก ซึ่ งวิตามิน และเกลือ แร่ เหล่ านี้ ล้วนแต่เป็ นองค์ป ระกอบของเอนไซม์ ที่ ใช้ในกระบวนการเผาผลาญพลัง งานทั้งสิ้ น ดังนั้น การ รับประทานผักหลายๆชนิ ดย่อมจะส่ งผลดี ต่อร่ างกายของมนุ ษย์ เพราะจะทาให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่าง เต็มที่ นอกจากนี้ ส่วนประกอบที่สาคัญของผักและผลไม้ ก็คือ เส้นใยอาหารหรื อไฟเบอร์ เส้นใยอาหารเป็ นสิ่ งที่ ช่วยให้มนุ ษย์สามารถขับถ่ายได้ดี ช่วยป้ องกันอาการท้องผูก และอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับลาไส้ได้เป็ นอย่างดี


211

จากการศึ ก ษาของนัก วิจยั หลายท่ าน พบว่า เส้ น ใยอาหารนอกจากจะช่ วยให้ถ่ ายสะดวกแล้วยังมี คุ ณ ค่ าอี ก นานัปการ เพราะยังช่วยการลดไขมันในเส้นเลือดเป็ นไปได้อย่างดีไม่เกิดโรคอ้วน ทุกวันนี้ เราจะพบว่าเริ่ มมีคน หลายกลุ่ ม ที่ หั น มารณรงค์ ใ ห้ ป ระชาชนในสั ง คมหั น มาทานผัก มากขึ้ น โดยเฉพาะเด็ ก ๆ ทุ ก คนที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการบริ โภคอาหารของตนเองมักจะพบว่าสุ ขภาพดีข้ ึน สมองปลอดโปร่ งไม่เซื่ องซึ ม เหมือนเมื่อก่อน ไม่เป็ นโรคอ้วน และสุ ขภาพแข็งแรงขึ้น ( กมล เลิศรัตน์ , 2553 ) 2. สถานการณ์การบริโภคผักของเด็ก จากรายงานขององค์การอนามัยโลก ได้แนะนาว่าอาหารจะช่วยป้ องกันโรคและลดความเสี่ ยงต่อการเกิด โรค ช่วยชะลอความแก่ เพิ่มความจา ป้ องกันโรคหัวใจและเพิ่มระบบภูมิคุม้ กันได้น้ นั จะต้องกินผักและผลไม้ให้ ได้ 5 ส่ วนต่อวัน หรื อวันละ 400 กรัมต่อวัน ซึ่งประกอบด้วยผลไม้มากกว่าครึ่ งหนึ่งของปริ มาณอาหารที่ทานเข้า ไป จากรายงานของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.)ได้กล่าวถึงผลการสารวจสุ ขภาพ และสถานการณ์ดา้ นสุ ขภาวะอาหารของคนไทยปี 2551-2552 คนไทยอยูใ่ นเกณท์น่าเป็ นห่วง บริ โภคผักน้อย เด็กอายุเฉลี่ย2-14 ปี กินผักผลไม้ลดลง ไม่ถึง2 ช้อนจากขั้นต่า 12ช้อนตามหลักของกรมอนามัย เด็กวัย 6-14ปี ที่ บริ โภคผักเพียงพอตามข้อแนะนาต่อวัน มีเพียงร้อยละ5 อีกทั้งเยาวชนอายุ15 ปี ขึ้นไป 4 ใน 5 มีการกินผักผลไม้ที่ ไม่เพียงพอโดยเฉลี่ยผูช้ ายกินอยูท่ ี่วนั ละ 268 กรัมและผูห้ ญิง 283 กรัม และพฤติกรรมการกินผักของคนไทยยิง่ อายุมากขึ้นยิง่ กินผักน้อยลง 3. การรณรงค์ การบริโภคผักในเด็ก สานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) ได้ร่วมมือกับมูลนิ ธิกองทุนการศึกษาเพื่อ การพัฒนา (EFD) เป็ นหน่วยงานที่ใส่ ใจการกินผักของเด็กเข้ามาช่วยพัฒนาส่ งเสริ มการกินผัก ปลูกฝังการกิน ผัก ผลไม้ แนวใหม่ให้เด็ก โดยจัดทา “โครงการ เท่กินผัก น่ ารักกิ นผลไม้” เพื่อกระตุน้ ให้เด็กนักเรี ยนในโรงเรี ยน กินผักผลไม้ ขณะเดียวกันก็เป็ นการกระตุน้ ให้นกั เรี ยนได้ทากิจกรรมเสริ มเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ โครงการ เท่ห์กินผัก น่ารักกินผลไม้ ได้ดาเนินงานในเรื่ องอาหารปลอดภัยในโรงเรี ยนซึ่ งมีเป้ าหมาย 10 ปี ในการเพิ่มอัตราการบริ โภคผักและผลไม้อย่างเพียงพอตามคาแนะนา 400 กรัมต่อวัน โดยส่ งเสริ มให้นกั เรี ยน ในโรงเรี ยนได้กินผักผลไม้ที่สะอาด ปลอดภัยจากสารพิษในปริ มาณ 400 กรัมต่อวัน เพื่อที่จะได้รับสารอาหาร และวิตามิ นที่เพียงพอต่อการเจริ ญเติ บโตทางร่ างการและสมอง ลดอัตราเสี่ ยงต่อการเป็ นโรคต่างๆและได้รับ ความรู ้ ในการเลื อกกิ นผักผลไม้ที่ปลอดภัย รวมทั้งกระตุน้ ให้เกิ ดกระบวนการเรี ยนรู้เรื่ องประโยชน์การกิ นผัก ผลไม้ผ่านการลงมือทากิ จกรรมด้วยตนเอง โดยมีครู ทาหน้าที่เป็ นพี่เลี้ ยงในการออกแบบกิ จกรรมและอานวย ความสะดวก เพื่อให้เด็กเกิดกระบวนการเรี ยนรู้จากภายในใจและสมองของตนเอง และสร้างกิจกรรมที่กระตุน้ ให้เด็กได้มีโอกาสรับประทานผักให้มากขึ้น เช่น กิจกรรมบ้านน่ าอยูเ่ มนูผกั ปลอดสาร กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้ า กิจกรรมเพาะถัว่ งอกเพื่อสุ ขภาพ กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีกิจกรรมพัฒนาเมนูผกั ผลไม้ ซึ่ งจัด


212

อย่างต่อเนื่ องภายในโรงเรี ยน ได้แก่ กิ จกรรมเที่ยงวันฉันมีสุข ให้นกั เรี ยนและแม่ครัวร่ วมกันจัดทาเมนู อาหาร กลางวันให้มี ค วามหลากหลาย มี ผกั และผลไม้เป็ นส่ วนประกอบส าคัญ แล้วน ามาปรุ งให้ถู ก สุ ข อนามัย กิ จ กรรมสเปเชี่ ยลเดย์ จัดให้มีในทุกวันศุกร์ แรกของเดือน นักเรี ยนจะทานผักและผลไม้ร่วมกับคุณครู บางครั้งก็มี ผูป้ กครองมาร่ วมด้วย มีการประกวดเมนูอาหารผัก พร้อมกับการเสวนาให้ความรู้เกี่ยวโภชนาการด้วย ช่วยสร้าง ความรู ้ความเข้าใจ ความตระหนัก และปรับพฤติกรรมเรื่ อง การกิ นผักผลไม้ที่ปลอดภัย 400 กรัมต่อวันและส่ ง เริ มกระบวนการเรี ยนรู ้เรื่ องการกิ นผักผลไม้ 400 กรัมต่อวันโดยลงมือทากิ จกรรมด้วยตนเอง สร้างและพัฒนา ศัก ยภาพกลุ่ ม แกนน าท าโครงการในโรงเรี ย นให้เกิ ดความเข้ม แข็งสามารถดาเนิ น โครงการและผลัก ดันให้ นักเรี ยนเปลี่ ยนพฤติ กรรมการกิ นผักผลไม้ 400 กรัมต่อวัน จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรี ยนที่ เอื้ อต่อการกิ นผัก ผลไม้ ส่ งเสริ มแกนนาผูป้ กครองและชุมชนให้เป็ นแหล่งผลิตผักผลไม้ปลอดสารพิษให้โรงเรี ยนและครอบครัว 4. สื่ อรณรงค์ การบริโภคผัก 4.1 โลโก้ โครงการ “เท่กินผัก น่ารักกินผลไม้” ได้มีการดาเนินกิจกรรมรณรงค์เพื่อกระตุน้ ให้เด็กนักเรี ยนใน โรงเรี ยนหันมาบริ โภคผักและผลไม้มากขึ้น โดยมีการใช้สื่อในการรณรงค์หลากหลายรู ปแบบ อาทิ

4.2 โปสเตอร์ รณรงค์ที่มุ่งให้ความรู ้แก่กลุ่มเป้ าหมายในพื้นที่โรงเรี ยนมีหลากหลายแบบ อาทิเช่น โปสเตอร์ให้ ข้อมูลความรู ้ต่างๆในเรื่ องประโยชน์ที่ได้จากผักผลไม้ต่างๆ , ผักผลไม้กินแค่ไหนจึงจะพอดี , ผักผลไม้ยา อายุวฒั นะจากธรรมชาติ, ผักผลไม้แหล่งใยอาหาร เพื่อให้เด็กๆและเยาวชนได้อ่านเสริ มสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับประโยชน์ต่างๆในการกินผัก


213

4.3 หนังสื อ รณรงค์เรื่ องผักผลไม้ เพื่อเป็ นข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับประโยชน์ของผักผลไม้ซ่ ึงเด็กสามารถ อ่านและทาความเข้าใจได้ง่ายอย่างลึกซึ้ ง หรื อที่โครงการใช้ชื่อว่า พาสปอร์ ตความรู้

4.4 สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ โครงการได้มีการใช้เครื อข่ายสังคมออนไลน์ในรู ปแบบ facebook ไว้ในการเผยแพร่ ขอ้ มูล ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับโครงการเท่กนั ผัก น่ารักกินผลไม้ โดยมีคุณครู เป็ นผูด้ ูแลและเผยแพร่ กิจกรรมข่าวสารต่างๆเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อโครงการและผูเ้ ข้ามาชมในเพจ Facebook

4.5 สื่ อกิจกรรม โครงการได้มีการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์การกินผักและผลไม้ จัดการแสดงเต้นผักผลไม้ ประกวดแต่งตัวจากผักผลไม้ กิจกรรมจัดการแสดงข้อมูลวิชาการให้ความรู้เกี่ยวกับผักผลไม้และผลงานของ เด็กๆ กิจกรรมประกวดเมนูอาหารผักและผลไม้ เพื่อให้เด็กมีความสนุกสนานในการร่ วมเข้ากิจกรรมและเห็น ความสาคัญของการบริ โภคผักผลไม้ดว้ ยตนเอง

การแสดงเต้นผักผลไม้ กิจกรรมให้ความรู ้เรื่ องผักผลไม้ ประกวดเมนูผกั ผลไม้ ประกวดแต่งตัวจากผักผลไม้


214

จัดการแสดงข้อมูลวิชาการให้ความรู ้เกี่ยวกับผักผลไม้

เดินรณรงค์ให้กินผัก

กิจกรรมเที่ยงวันฉันมีสุข

5. ผลจากการรณรงค์ จากการใช้ สื่อ การรณรงค์การบริ โภคผักและผลไม้ในกลุ่มเด็กและเยาวชนของโครงการ เท่กินผัก น่ารักกินผลไม้ได้มี การติดตามผลการรณรงค์พบว่า นักเรี ยนร้อยละ 80 ได้รับความรู้ความเข้าใจประโยชน์และตระหนักเรื่ องการกิน ผักผลไม้มากขึ้นโดยผ่านกระบวนการเรี ยนรู้จากการลงมือทาด้วยตนเอง นักเรี ยนร้อยละ 80 กินผักผลไม้ 400 กรัมต่อวัน และมีแปลงเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรี ยน และอาหารกลางวันมีเมนูผกั ผลไม้ที่ดึงดูดใจนักเรี ยนให้ กินผักมากขึ้นทาให้เด็กๆรู ้สึกอร่ อยกับการกินผักผลไม้สร้างค่านิยมรักสุ ขภาพให้เกิดขึ้นในโรงเรี ยน บทสรุ ป โครงการ เท่กินผัก น่ารักกินผลไม้ สนับสนุนให้เด็กกินผักและผลไม้ซ่ ึ งมีประโยชน์ต่อการเจริ ญเติบโต ในส่ วนของเด็กที่กินผักและผลไม้อยูแ่ ล้ว เราก็เพิ่มความรู้เรื่ องของคุณค่าทางโภชนาการเข้าไปเสริ ม ส่ วนเด็กที่ ไม่ชอบกินเราก็มุ่งหวังให้โครงการนี้ช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กให้กินผักและผลไม้มาก และเพื่อสนับสนุน นโยบายและกรอบยุทธศาสตร์ ของ สสส. ในเรื่ องอาหารปลอดภัยในโรงเรี ยน ถู กต้องตามโภชนาการ เพื่อให้ ได้รับสารอาหารและวิตามินที่เพียงพอต่อการเจริ ญเติบโตทางร่ างกายและสมอง ในการเพิ่มอัตราการบริ โภคผัก และผลไม้อย่างเพียงพอตามคาแนะนาขององค์การอนามัยโลก คือ 400 กรัมหรื อ 12 ช้อนโต๊ะต่อวัน โดยมีสื่อ ต่างๆที่ช่วยทาให้เด็กๆและเยาวชนได้เข้าใจมากขึ้น อาทิเช่นโปสเตอร์ ให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับประโยชน์ผกั ผลไม้ หนังสื อเรื่ องผักผลไม้ในนั้นก็จะมีเนื้ อหาที่ให้ขอ้ มูลความรู้ต่างๆเกี่ยวกับประโยชน์ของผักผลไม้ช่วยสร้างความ เข้าใจและส่ งเสริ มให้เด็กๆกิ นผักผลไม้และที่ ส าคัญก็ มีสื่ อกิ จกรรมต่างๆ อาทิ เช่ น กิ จกรรมเพาะเห็ ดนางฟ้ า กิจกรรมเพาะถัว่ งอกเพื่อสุ ขภาพ กิจกรรมประกวดเมนูอาหารผัก กิจกรรมบ้านน่าอยูเ่ มนูผกั ปลอดสาร กิจกรรม จัด การแสดงข้อ มู ล วิช าการให้ ค วามรู ้ เกี่ ย วกับ ผัก ผลไม้ กิ จกรรมเดิ น รณรงค์และการแสดงต่ างๆที่ ใ ห้เด็ก ๆ สนุกสนานในการร่ วมทากิจกรรม


215

เอกสารอ้างอิง กมล เลิศรัตน์ และคณะ . 2553. เพื่อการบริ โภคผักและผลไม้ บนเส้ นทางสู่คุณภาพชีวิตสุขภาพที่ดี.ขอนแก่น: โรงพิมพ์ คลังนานาวิทยา คู่มือเท่ กนิ ผัก น่ ารักกินผลไม้ (ออนไลน์) เข้ าถึงได้ จาก : www.edfthai.org/.../คูม่ ือเท่ห์กินผัก-Complete. ข้ อมูลโครงการเท่ กนิ ผัก น่ ารักกินผลไม้ จาก สสส. (ออนไลน์) เข้ าถึงได้ จาก: http://www.thaihealth.or.th/Content/23399ปลูกฝั งการกินผักผลไม้ แนวใหม่ให้ เด็ก.html เพจเฟสบุ๊ค “เท่ กนิ ผัก น่ ารักกินผลไม้ ”และรูปภาพ .(ออนไลน์) เข้ าถึงได้ จาก :

https://th-th.facebook.com/greatfruitsgoodveggiesd


216

การประชาสั มพันธ์ ในโรงเรียนกวดวิชา การเรี ยนในระดับอุดมศึกษาในปัจจุบนั นั้นมีการแข่งขันกันสู งขึ้นในการสอบเข้าตามมหาวิทยาลัยต่างๆ จึงทาให้นกั เรี ยนในระดับอุดมศึกษานั้นต้องการเรี ยนเพิ่มเติมในโรงเรี ยนกวดวิชาต่างๆซึ่ งในปั จจุบนั ก็มีโรงเรี ยน กวดวิชาต่างๆนั้นเกิ ดขึ้นมามากมาย แต่มีเพียงอยู่ไม่กี่แห่ งเท่านั้นที่มีนกั เรี ยนสนใจเรี ยน จึงมีความสนใจว่าใน โรงเรี ยนกวดวิชานั้นมีการสอนและมีเทคนิ คอย่างไรในการสร้างความสนใจให้นกั เรี ยนให้มาเรี ยนในโรงเรี ยน กวดวิชาของตนเองได้ อย่างที่ทราบกันดีวา่ ธุ รกิจโรงเรี ยนกวดวิชานั้นมีพฒั นาการมาจากครู หรื ออาจารย์ที่มีเทคนิคการสอนที่ ยอดเยีย่ ม ดังนั้นอาจารย์คนใดที่เปิ ดสอนพิเศษให้นกั เรี ยนเพื่อเตรี ยมเข้าสอบมหาวิทยาลัยรัฐบาล และมีนกั เรี ยน ที่มาเรี ยนสามารถเข้ามหาวิทยาลัยรัฐบาลได้เป็ นจานวนมาก อาจารย์คนนั้นๆก็จะมีชื่อเสี ยงแบบบอกกันปากต่อ ปาก และหลายคนมี การเปิ ดทาธุ รกิ จโรงเรี ยนกวดวิชาอย่างจริ งจัง ตั้งแต่สมัยที่มีการสอบเอ็นทรานซ์ วันนี้ โรงเรี ยนกวดวิชาจึงเป็ นธุ รกิจที่กลายร่ างไปในหลายรู ปแบบ ตั้งแต่จากที่อาจารย์กวดวิชาจะสอนด้วยตัวเองตาม บ้าน จนมาเปิ ดเป็ นโรงเรี ยนกวดวิชาเป็ นกิจจะลักษณะ และกลายมาเป็ นสอนด้วยวิดิโอ

สื่ อทีใ่ ช้ ในการประชาสั มพันธ์ โรงเรียนกวดวิชา 1.สื่ อบุคคล อาจารย์ สอนทีม่ ชี ื่อเสี ยง อาจารย์อุไรวรรณ ศิวะกุล หรื ออาจารย์อุ๊ เคมีเจ้าของโรงเรี ยนกวดวิชาวรรณสรณ์ Pure chem Center

ภาพที่1 อาจารย์อุไรวรรณ ศิวะกุล ที่มา : http://www.chem-ou.com/home


217

ปิ ง เจริ ญศิริวฒั น์ หรื อ "อาจารย์ปิง" สถาบันกวดวิชาดาว้องก์ (Da’vance)

ภาพที่2 ปิ ง เจริ ญศิริวฒั น์ ที่มา : http://www.davance.com

ภาพที่3 ลูกกอล์ฟ-คณาธิป สุ นทรรักษ์ ที่มา : http://campus.sanook.com/1369304/ “คณาธิป สุ นทรรักษ์” เจ้าของและผูอ้ านวยการโรงเรี ยนสอนภาษาอังกฤษ Angkriz


218

สื่ อสิ่ งพิมพ์

สาหรับการใช้สื่อสิ่ งพิมพ์ในโรงเรี ยนกวดวิชานั้น มีมากมายหลายแบบแตกต่างกันไป และสาหรับสื่ อสิ่ งพิมพ์ นั้นมักจะถูกติดไว้ที่หน้าสถาบันกวดวิชานั้นๆ หรื อตามที่ต่างๆใกล้ๆกับบริ เวณสถาบันกวดวิชา โดนการใช้สื่อ สิ่ งพิมพ์น้ นั เป็ นการดึงดูดหรื อชักจูงให้นกั เรี ยนสดใจเรี ยน เพราะว่ามีการลงรายละเอียดไม่มากแต่สามรถเข้าใจ ได้ง่ายและมีสีสันสะดุดตาตามการออกแบบของแต่ละโรงเรี ยน

สื่ ออินเตอร์ เน็ต

สาหรับในการใช้สื่ออินเตอร์ เน็ตเพื่อเป็ นการประชาสัมพันธ์ของโรงเรี ยนกวดวิชานั้นๆแล้ว สื่ ออินเตอร์ เน็ตยัง สามรถทาให้นกั เรี ยนสนใจในโรงเรี ยนกวดวิชามากขึ้น เพราะมีการประชาสัมพันธ์ถึงข่าวต่างๆ คอร์สที่จะเปิ ด สอน ค่าเรี ยน ทุกๆสิ่ งอย่างรวมอยูใ่ นเว็บไซต์ได้อย่างครบถ้วนอยูแ่ ล้ว


219

สรุป เทคนิคที่ส่งผลต่อการเข้าเรี ยนโรงเรี ยนกวดวิชาของเด็กนักเรี ยนสมัยนี้เป็ นจานวนมากนั้นเกิดมา จาก การประชาสัมพันธ์ตนเองของโรงเรี ยนกวดวิชา โดยใช้อาจารย์ที่มีชื่อเสี ยงนั้นมาสอนหรื ออาจารย์ที่สอน ประจาโรงเรี ยนกวดวิชานั้นมีเทคนิควิธีการสอนที่ทาให้เด็กนักเรี ยนนั้นสามารถเข้าใจได้ง่ายและรวดเร็ ว รวมถึง การมีสถิติที่นกั เรี ยนของโรงเรี นกวดวิชานั้นๆมีการสอบติดมหาวิทยาลัยของรัฐบาลได้ หรื อสอบติดคณะที่ดงั ๆ และยากๆได้เป็ นจานวนมาก จึงเป็ นการบอกเล่ากันปากต่อปาก นอกจากนี้เทคนิควิธีการสอนจะช่วยให้นกั เรี ยน ตัดสิ นใจเลือกเรี ยนได้ง่ายขึ้น

-


220

อ้างอิง โรงเรี ยนสอนภาษาอังกฤษ Angkriz(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก:http://www.angkriz.com/ สถาบันกวดวิชาวรรณสรณ์(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก :http://www.chem-ou.com/home สถาบันกวดวิชาDa’vance(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก :http://www.davance.com โรงเรี ยนกวดวิชา high-speed math center(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก :http://www.highspeedmaths.com/about


221

ความคิดสร้างสรรค์ต่องานโฆษณา บทนา ในปั จ จุ บั น การโฆษณานั้ น เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ต่ อ การ ดาเนินธุรกิจต่างๆ ซึ่งโฆษณานั้นมีผลต่อรายได้ทาง ธุ ร กิ จ และจ าเป็ น ต้ อ งท าสื่ อ โฆษณาให้ มี ค วาม น่าสนใจของสินค้าหรือบริการนั้นๆ โฆษณานั้นช่วย ให้ผู้พบเห็นได้รับข้อมูลข่าวสาร เพิ่มทางเลือกให้แก่ ผู้บริโภค ช่วยกระตุ้นการขายให้กับธุรกิจของเรา ใน การออกแบบโฆษณาให้ดึงดูดความสนใจนั้นควรจะ มีความคิดสร้างสรรค์ในการทาโฆษณาเพื่อให้ได้รับ ความสนใจต่อประชาชนทั่ว ไปหรื อต่อผู้ ที่พบเห็ น โฆษณานั้น ความสาคัญของการโฆษณา 1. โฆษณาช่วยให้ข้อมูลข่าวสาร การให้ข้อมูลข่าวสารคือหน้าที่หลักของสื่อ โฆษณาเลยก็ว่าได้ เพราะเมื่อบริษัทออกสินค้าหรือ บริ ก ารใหม่ ๆ การกระจายข่าวสารข้อมู ล ความรู้ เกี่ยวผลิตภัณฑ์ถือเป็นสิ่งสาคัญอันดับแรกที่ต้องทา การโฆษณาจึ ง เข้ า มามี บ ทบาทในทั น ที เพราะ สามารถกระจายข้อมูลและส่งสารไปยังผู้บริโภคได้ ครั้งละมาก ๆ ต่อจานวนการเผยแพร่หนึ่งครั้ง 2. โฆษณาเพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้บริโภค การที่มีสินค้าหรือบริการมีลักษณะเดียว กัน หรือคล้ ายกัน อยู่ ในตลาดเป็ น จานวนมาก การ แข่ ง ขั น จึ ง สู ง ขึ้ น ตามไปด้ ว ย ผู้ บ ริ โ ภคมี ท างเลื อ ก เยอะขึ้ น ในการเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ประเภทที่ เ รี ย กว่ า “สินค้าทดแทนได้” การโฆษณาจึงช่วยสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขันกับคู่ต่อสู้ทางการค้าได้เป็น อย่างดี 3. โฆษณาสร้างความทรงจาตราสินค้า โ ฆ ษ ณ า ที่ น า เ ส น อ อ อ ก ไ ป ด้ ว ย ก า ร สร้างสรรค์ที่ดี มีความถี่ในการนาเสนอ และเข้าถึง ผู้บริโภคมากพอ สามารถทาให้ผู้บริโภคจดจาสินค้า ของเราได้เป็นอย่างดี 4. โฆษณาช่วยกระตุ้นการขายสินค้าอย่างสม่าเสมอ การที่ผู้บริโภครับข่าวสารจากโฆษณาอย่าง สม่ าเสมอมี ส่ ว นช่ ว ยสร้ า งความทรงจ าที่ ดี ใ ห้ กั บ ผู้บริโภค ทาให้ผู้บริโภคหันมาใช้สินค้าของเราเป็น ประจ าและต่อเนื่อง ซึ่งจะทาให้เกิดความภักดีใน

ตราสินค้าของเราหรือ Brand Loyalty ขึ้น ซึ่งเป็น ส่วนสาคัญในการทาการตลาด 5. โฆษณาช่วยแก้ไขปัญหาทางการตลาด สิ นค้าบางประเภทมี จุดอ่อนอยู่ ในตัว เมื่ อ เทียบกับคู่แข่งแบบด้านต่อด้านโฆษณาสามารถส่วน ช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หานี้ ไ ด้ โดยน าเสนอคุ ณ สมบั ติ ข้ อ ได้เปรียบบางส่วนที่สินค้าของคู่แข่งไม่มี และช่ว ย แก้ ไข ภ า พ ลั ก ษณ์ ที่ ไม่ ดี ข อ งสิ นค้ า ให้ ออ ก สู่ สาธารณชนด้วย เช่น โซดายี่ห้อหนึ่งที่ถูกมองว่ามี ความซ่าสู้อีกยี่ห้อไม่ได้ 6. โฆษณาทาให้เกิดความต้องการของสินค้าในทันที หมายถึงเมื่อผู้บริโภคได้รับชมโฆษณาสินค้า หรือบริการของเราแล้วมีปฏิกิริยาหรือTake Action ต้องการใช้สินค้าของเราขึ้นมานั่นหมายความว่าการ ทาการโฆษณาประสบความสาเร็จไปส่วนหนึ่งแล้ว คือ สามารถขายสิ นค้ า และบริ ก ารออกไปได้ และ น ามาซึ่ ง เม็ ด เงิ น เข้ า สู่ บ ริ ษั ท ของเรา สิ่ ง นี้ คื อ จุดมุ่งหมายสูงสุดในการทาโฆษณา ลักษณะของการโฆษณา 1 . ก า ร โ ฆ ษ ณ า เ ป็ น ก า ร เ ส น อ ข า ย ความคิด สินค้าและบริการ โดยใช้วิธีการจูงใจให้ ผู้ บ ริ โ ภค เกิ ด ความพอใจเกิ ด ทั ศ นคติ ที่ ดี อั น จะ นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในการซื้อสินค้า 2. การโฆษณาต้องระบุผู้สนับสนุนหรือตัวผู้ โฆษณา ซึ่ ง มี ผ ลคว ามเชื่ อ ถื อ ของผู้ บ ริ โ ภ ค ของผู้ บริโ ภค สร้างความเชื่อมั่นและแสดงให้ เห็ น ว่ า เป็ น การโฆษณาสิ น ค้ า (advertising)มิ ใ ช่ เป็ น การโฆษณาชวนเชื่อ (propaganda) 3. การโฆษณาต้องจ่ ายค่าตอบแทนในการ โฆษณาในสื่ อ ต่ า งๆ เช่ น วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง หนังสื อพิมพ์ วิทยุโ ทรทัศน์ วารสารและนิตยสาร เป็นต้น ดังนั้น ผู้โฆษณาจะต้องมีงบประมาณ เพื่อ การโฆษณาสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ด้วย องค์ประกอบของการโฆษณา 1. ผู้โฆษณา (advertiser) คื อ เจ้ า ของสิ น ค้ า เจ้ า ของบริ ก าร ซึ่ ง จะต้องประสานกับงานด้านการตลาดของหน่วยงาน นั้ น โฆษณาทุ ก ชิ้ น จะต้ อ งปรากฏตั ว ผู้ โ ฆษณาให้


222

ชัดเจน และผู้โฆษณาจะต้องรับผิดชอบ ค่าใช้จ่าย ใน การโฆษณาทั้งหมด 2. สื่อโฆษณา (advertising) คือ สื่ อที่ผู้ โฆษณาเลื อกใช้ในการเผยแพร่ งานโฆษณาไปยั ง กลุ่ ม บริ โ ภคเป้ า หมาย เช่ น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น สื่อโฆษณาเป็น เครื่ องมือส าคัญที่น าโฆษณาไปยังกลุ่ ผู้ บริ โ ภค สื่ อ โฆษณาแบ่ง เป็นประเภทต่าง ๆตามความเหมาะสม ของสิ น ค้ า ที่ ต้ อ งการน าเสนอ นั ก โฆษณาแบ่ ง สื่ อ โฆษณาเป็น 3 ประเภท คือ 2.1 สื่อโฆษณาประเภทสิ่งพิมพ์ (print Media) เป็ น การโฆษณาโดยใช้ตัว หนั งสื อเป็ น ตั ว ก ล า ง ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม คิ ด ไ ป สู่ ป ร ะ ช า ช น ได้แก่ โปสเตอร์ หนังสือพิมพ์รายวัน หนังสือพิมพ์ ราย คู่ มื อ ก ารใช้ สิ น ค้ า แบบตั ว อ ย่ า งสิ น ค้ า (catalogs) เป็นต้น 2.2 สื่อโฆษณาประเภทกระจายเสียงและ แพร่ภ าพ ( broadcasting media) เป็นการ โฆษณาโดยใช้เสียง ภาพ หรือตัวอักษร 2.3 สื่อโฆษณาประเภทอื่น ๆ หมายถึง สื่อโฆษณาอื่น ๆ นอกเหนือจาก สื่อที่กล่าวแล้วข้างต้น เช่น ภาพยนตร์ อินเทอร์ เนต สื่อที่ใช้โฆษณาที่จุดขาย รวมถึงสื่อโฆษณา นอกสถานที่ เ ช่ น ป้ า ยโฆษณา ที่ ติ ด รถโดยสาร ประจาทางหรือรถแท็กซี่ ป้ายราคาสินค้า ธง ราว แผ่นป้ายต่าง ๆ ที่ติดตั้งไว้ตามอาคารสูง ๆ หรื อ ตามสี่ แ ยก ป้ า ยโฆษณาที่ ป้ า ยรถประจ า ทาง หรือติดไว้ ณ ที่พักผู้โดยสาร ป้ายโฆษณารอบ ๆ สนามกีฬาเมื่อมีการแข่งขันกีฬานัดสาคัญ ๆ เป็น ต้น 3. กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย(consumer) บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป ที่ รั บ ส า ร เ กี่ ย ว กั บ ง า น โฆษณา ซึ่งหากเกิดความรู้สึกถูกใจ ชื่นชมหรือ ชอบสินค้าหรือบริการ จะนาไปสู่การตัดสินใจเลือก ซื้อสินค้าหรือบริการได้ ในทางโฆษณากลุ่มผู้บริโภค เป้าหมายจะหมายรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือบริการ

หลักการสร้างสรรค์งานโฆษณา "ความคิดสร้างสรรค์ มาจากการเปลี่ยนวิธี รับรู้วิธีมองสิ่งต่างๆ เป็นผลให้วิธีคิดเปลี่ยนไปโดย อัตโนมัติ" ชี วิ ตป ร ะจ า วั น มั ก ไ ม่ ส่ ง เส ริ ม ใ ห้ เ ร า สร้างสรรค์ เรามักกลัวการเปลี่ยนแปลง และหาก เราต้องคิดอะไรสร้างสรรค์ทุกครั้งที่จะทานข้าว ชีวิต คงจะล าบากมาก แต่งานที่ส ร้างสรรค์ ก็ทาให้ ผู้ ดู ตื่ น เต้ น และประทั บ ใจ ส าหรั บ นั ก ออกแบบและ ศิลปินแล้ว ความคิดสร้างสรรค์ เป็นเหมือนหน้าที่ เลยทีเดียว ตัวอย่างการออกแบบสร้างสรรค์งานโฆษณา งานโฆษณา เป็ น งานที่ ต้ อ งใช้ ค วามคิ ด สร้ า งสรรค้ (Creativity) การสร้ า งสรรค์ ง าน โฆษณาที่ดีควรกาหนดวัตถุประสงค์ในการ โฆษณา แ ล ะ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ต ล า ด โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก AIDA MODEL ซึ่งทาให้เกิดผล 4 ประการ ดังนี้ 1. สะดุดตา การโฆษณาที่ ดี ต้ อ งสามารถดึ ง ดู ด ความสนใจ เป็ น สิ่ ง แรกที่ ง านโฆษณาควรมี เป็ น การวั ด ความรู้สึกครั้งแรกในการเห็นงานโฆษณา

ภาพที่ 1 โฆษณา Sleepiness is stronger than you. ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

2. ความสนใจ โฆษณาต้องเน้นให้ผู้บริโภคเห็นถึงผลประโยชน์ ที่ จะได้รับจากสินค้าหรือบริการ เพื่อทาให้เกิด ความ สนใจติดตาม


223

เป็ น การอุ ป มาถึ ง ความปลอดภั ย ในการใช้ ถุ ง ยาง อนามัย

ภาพที่ 2 โฆษณา Colgate. ที่มา http://becuo.com/colgate-toothpaste-advertisement

3. ความปรารถนา การเสนอจุ ด ขายที่ ชั ด เจนแสดงให้ เ ห็ น ความ แตกต่ า ง ของการมีสิ น ค้ า กั บ การไม่ มี สิ น ค้ า หรื อ ความแตกต่าง จากสิ น ค้าประเภทเดีย วกัน ทาให้ ผู้บริโภคเกิด ความต้องการใน สินค้าหรือบริการนั้น

ภาพที่ 5 โฆษณา ถุงยางอนามัย ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

ภาพที่ 3 โฆษณา KFC ที่มา http://www.deviantart.com/morelikethis/artists/ 289432276

ภาพที่ 6 โฆษณาปุ๋ยตราเรือใบ ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

2. การใช้ภาพเหนือจริง ( Surrealism ) จากตัวอย่างโฆษณาปุ๋ยตราเรือใบได้มีภาพโฆษณา ต้ น มะพร้ า วที่ มี ข นาดเล็ ก แต่ ส ามารถออกผลที่ มี ขนาดใหญ่คือ ใช้ปุ๋ยยี่ห้อนี้ทาให้ได้ผลผลิตที่เร็วกว่า ปกติ

4. การกระทา การโฆษณาต้ อ งเชิ ญ ชวนให้ ผู้ บ ริ โ ภคกลุ่ ม เป้ า หมายเกิดพฤติกรรมการตอบสนอง(Action) โดย การซื้อสินค้าหรือใช้บริการ

3. การสร้างความคิดผิดปกติจากของจริง ( Violating Reality ) จากตัวอย่างโฆษณารองเท้าScholl ซึ่งมีภาพ รองเท้า Scholl นั้นที่ยึดเกาะกับพื้นได้ดี ขนาดคน ตกท่อไปแล้วยังเกาะได้ เป็นการกล่าวถึงคุณภาพ ของรองเท้าที่ยึดเกาะได้ดี

ภาพที่ 4 โฆษณา stayonsearch ที่มา http://www.stayonsearch.com/

ภาพที่ 7 โฆษณา รองเท้าScholl ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

รู ปแบบการน าเสนอความคิด สร้ า งสรรค์ใ นงาน โฆษณา 1. การอุปมาทางการเห็น ( Visual Metaphor ) จากตัวอย่างโฆษณาถุงยางอนามัย โฆษณาตัวนี้ได้ กล่าวไว้ว่า “ให้ไล่คู่ขาของคุณกลับไปใช้ Fowin ซะ ไม่อย่างนั้นผลไม้ยังจะมีประโยชน์ซะกว่า” ซึง่

4. การรวมเข้ากัน ของ สิ่งของสองสิ่งที่ไม่ เกี่ยวข้องกัน ( Morphing Blending and Merging) จากภาพโฆษณาKingstella ซึ่งมีภาพดอกไม้คลุม รองเท้า ซึ่งกล่าวถึง คุณภาพของเสปรย์ปรับอากาศ ทีข่ นาดกลิ่นของรองเท้าก็ยังสู้ไม่ได้


224

ภาพที่ 8 โฆษณา Flower Power ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

7. ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ ( Unusual Size ) จากภาพตัวอย่างโฆษณาSAMSUNG เป็นภาพสุนัข ที่มีขนาดหัวผิดปกติ เปรียบเทียบถึง กล้องยี่ห้อนี้มี ความสามารถซูมได้ถึง 24 เท่า

5. การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย (Subjective Camera ) จากข้ า งต้ น โฆษณาข่า ว CNN เป็ น ภาพของคน 2 คนที่กาลังดูข่าวซึ่งมีข้อความเรื่องขโมยขึ้นบ้านและ มีขโมยเข้ามาในบ้าน ซึ่งเปรียบถึงความรวดเร็วของ การเสนอข่าว CNN ภาพที่ 9 โฆษณา samsung ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

แนวทางการคิดไอเดียงานโฆษณาแบบสร้างสรรค์ ในทางโฆษณา ความสร้างสรรค์ คือ การสื่อสารด้วย วิธีที่ใหม่ = แปลก + สื่อสารได้จริง ในทางวิช า ออกแบบทั่วๆไป ก็คือ ใหม่ + เวิร์ค ยกตัวอย่าง เช่น ภาพที่ 9 โฆษณาข่าว CNN ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

6. การล้อเลียน ( Visual Parodies ) จากภาพตัวอย่างเป็น โฆษณาของบริษัทแลกเปลี่ยน สกุลเงิน ซึ่งมีการล้อเลียนภาพวาดบนธนบัตร โดย เปรี ย บความอ้ ว นคื อ รั บ ก าไรที่ ม ากขึ้ น จากการ แลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา เปรี ย บเที ย บถึ ง การมา แลกเปลี่ ย นสกุ ล เงิ น ที่ นี่ จ ะได้ รั บ เงิ น ในการ แลกเปลี่ยนทีม่ ากขึ้น

ภาพที่ 9 โฆษณา gain more ที่มา http://etcserv.pnru.ac.th/pcc/Newnat/Ad2.html

เราเขียนวงกลมหนึ่งวงในกระดาษ ให้เวลา 1 นาที เขียนออกมาให้เยอะที่สุดว่าวงกลมนี้เป็น อะไรได้บ้าง ยกตัวอย่างคาตอบที่พบบ่อยๆ ตา แก้วน้า ดวงอาทิตย์ หน้าคน เหรียญ ตัวโอ เลข 0 ฯลฯ จากคาตอบ เราจะสังเกตว่าเรามักจะหยิบ สิ่งที่ใกล้ตัวเราไปเป็นคาตอบ บ่อยครั้งที่คาตอบของ เราจะซ้ ากั บ คนอื่ น ๆ เนื่ อ งจากว่ า ทุ ก คนต่ า งก็ มี “การรับรู้” ที่คล้ายๆกัน เราจะสร้างสรรค์ได้ ก็ ต่อเมื่อเรา “ปรับเปลี่ยนการรับรู้ ” ของเรา การ ปรับเปลี่ยนการรับรู้มีวิธีการหลายอย่าง แต่วิธีการที่


225

ง่ายที่สุด คือให้เรานึกถึงสิ่งที่ไม่เกี่ยวของกับวงกลม ก่อน แล้วนึกย้อนกลับมา เช่น - นึกถึงหวี เราก็นึกว่าวงกลมเป็ นเป็นแกนม้วนผม - นึกถึงอาหาร เราก็นึกว่าวงกลมเป็นไข่ขาวไข่แดง - นึกถึงเครื่องใช้ไฟฟ้า เราก็นึกว่าวงกลมเป็นสวิตช์ เปิดปิด - นึกถึงดาวเทียม เราก็นึกว่าวงกลมเป็นวงโคจร - นึกถึงแซนวิชต์ เราก็นึกว่าวงกลมคือครึ่งวงกลม สองอันต่อกัน ด้วยวิธีการนี้เราสามารถมองวงกลมเป็นสิ่งต่างๆได้ หลายร้อยพันอย่าง

อีกตัว อย่างหนึ่ง สมมติว่าให้เราออกแบบ โปสเตอร์งานแสดงโอเปร่างานหนึ่ง เมื่ออ่านโจทย์ เราเกือบทุกคนก็คิดเป็ น ภาพนักร้ องโอเปร่ ากาลั ง ร้องเพลงบนเวที ความคิดนั้นไม่สร้างสรรค์เพราะไม่ ใหม่ ทีนี้เราลองมาคิดแบบสร้างสรรค์ดูบ้าง เริ่มจากนึกไปถึงไส้กรอก เราก็นึกไปถึงการ กิน การอ้าปาก แทนที่เราจะทาเป็นรูป คนบนเวที ร้องเพลง เราก็ทาโปสเตอร์เป็นรูปคนดูกาลังอ้าปาก เหวอ สื่ อว่า โอเปร่ าครั้ งนี้ มัน เจ๋ งมาก จนคนดูอ้ า ปากค้าง เรานึกไปเรื่องบอลลูน เราก็อาจจะทาเป็น รู ป บอลลู น แตก หรื อ แก้ ว แตก หรื อ ท าเป็ น รู ป ตัวอั กษรที่เป็ นชื่องานกาลังแตกเป็ นเสี่ย งๆ สื่ อว่า นักร้องมีเสียงร้องที่ทรงพลังมากๆ

เรามักใช้เวลาไม่น านนั กในการคิดไอเดี ย ใหม่ๆ แต่ขั้นตอนสาคัญคือการเลือกไอเดียที่สื่อสาร

ได้ตรงจุด สื่อแล้วผู้ชมเข้าใจ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้ ประสบการณ์พอสมควร สรุป การโฆษณานั้น เพื่อช่วยให้ข้อมูลข่าวสาร เพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้บริโภค สร้างความทรงจาแก่ ตราสินค้า แก้ไขปัญหาทางการตลาด และช่วยให้ เกิ ด ความต้ อ งการต่ อ ผู้ บ ริ โ ภค โดยการที่ ท าให้ โฆษณาดึ งดู ด ความสนใจนั้ น ต้อ งมี ก ารออกแบบ โฆษณาที่มีความคิดสร้างสรรค์ คือ ทาให้ โ ฆษณา สะดุดตา มีความน่าสนใจติดตาม แสดงให้เห็นความ แตกต่ า งของสิ น ค้ า และให้ ผู้ บ ริ โ ภคเกิ ด การ ตอบสนองต่อโฆษณาของเรา ขั้นตอนสาคัญในการ ทาโฆษณา คือการเลื อกไอเดียที่สื่ อสารได้ตรงจุ ด สื่ อ แล้ ว ผู้ ช มเข้ า ใจ ซึ่ ง เป็ น ขั้ น ตอนที่ ต้ อ งใช้ ประสบการณ์พอสมควร วิธี ที่เราจะตัดสินว่าไอเดีย ที่เราคิดว่าตรงตามวัตถุประสงค์หรือไม่ คือลองเล่า ให้ ค นอื่ น ฟั ง ถ้ า เล่ า แล้ ว คนอื่ น เข้ า ใจได้ ทั น ที ก็ เป็นไปได้สูงว่าไอเดียนั้นจะสื่อสารได้ เอกสารอ้างอิง เสรี วงษ์มณฑา. 2536. การโฆษณาเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : อมรการพิมพ์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์. 2540. การโฆษณาและการ ส่งเสริมการตลาด. กรุงเทพมหานคร : ดวงกมล สมัย รุ่งนภา พิตรปรีชา. 2537. องค์ประกอบของการ โฆษณาในหลักการโฆษณาและประชาสัมพันธ์. พิมพ์ครั้งที่ 10. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

นาย ธัชทฤต ธัญญเจริญ 54040748


226 ั ันธ์มผ ื่ สารการตลาด สอ ื่ ประชาสมพ ิ ใจในการซอ ื้ ข้าวไรซเ์ บอร์ร ี่ การสอ ี ลต่อการต ัดสน บทนา ในสังคมปั จจุบันมีผลผลิตทางการเกษตร พันธุข ์ ้าวมากมายหลายชนิด โดยชนิดของข ้าวแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทใหญ่ๆ ได ้แก่ ข ้าวหอมมะลิ ข ้าวขาว ข ้าวเหนียว และข ้าวเพือ ่ สุขภาพ ตัวอย่างของข ้าวเพือ ่ สุขภาพ ชนิดนีก ้ ็เช่น ข ้าวกล ้อง ข ้าวหอมมะลิแดง ข ้าวมันปู ข ้าวไรซ์เบอร์รี่ ซึง่ ข ้าวพวกนี้ จะเป็ นข ้าวทีย ่ ังไม่ได ้ผ่านการ ขัดสี ข ้าวจึงยังคงคุณค่าของวิตามินและกากไยไว ้สูง ซึง่ ปั จจุบันเป็ นทีน ่ ย ิ มกันมาก ขึน ้ ในหมู่คนรักสุขภาพ ่ นี้ ข ้าวไรซ์เ บอร์รี่ เป็ นหนึ่งในข ้าวชนิดไม่ขัด สี ที่มม ี านานตัง้ แต่อ ดีต แต่ไ ม่ค่อ ยได ้รับ ความนิยม ถ ้าพูด ถึงชือ อาจจะยังไม่คุ ้นหูกัน แต่ถ ้าหากเรียกว่า ข ้าวก่า ทุกคนอาจรู ้จักดี ซึง่ ข ้าวไรซ์เบอร์รน ี่ ี้ เป็ นพันธุข ์ ้าวทีป ่ รับปรุง ี ่วงดา หรือแดงก่า ซึง่ สีม่ว ง พันธุม ์ าจากข ้าวก่า ข ้าวก่า คือข ้าวเหนียวดา เรียกตามลัก ษณะสีของเมล็ ดทีม ่ ส ี ม ทีป ่ รากฏขึน ้ บนส่วนของต ้นข ้าว เกิดจากรงควัตถุแอนโทไซยานิน โดยมีองค์ประกอบเรียกว่า แอนโทไซยานิดน ี มีตัง้ แต่ สีแดง จนถึง สีมว่ ง ม่วงแดง สาหรับในข ้าวสิง่ ทีท ่ าให ้เกิดสี เป็ นสีแดงก่า คือ cyanidin-3-glucoside และ peonidin-3-glucoside ยังสามารถพิสจ ู น์ได ้ว่าในข ้าวก่า มีสารแอนโทไซยานิดน ี และมีสารแกมม่าโอริโซ นอล ทีส ่ ามารถใช ้บาบัดโรคได ้ดี กับคนทีเ่ ป็ นแผลในกระเพาะอาหาร มะเร็ งทางเดินอาหาร สามารถในการ ่ งของการเกิดโรคหลอด-เลือดตีบ มีคณ ุ สมบัตใิ นการต ้านการ Oxidation ยับยัง้ เซลล์มะเร็งปอดได ้ ลดความเสีย คล ้ายกับสารต ้านอนุมูลอิสระ ทีม ่ อ ี ยูต ่ ามธรรมชาติ เช่น วิตามิน เอ และ ซี และมีความสามารถในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ การผลิตเซลล์ใหม่เพิม ่ การตอบสนองของระบบภูมค ิ ุ ้มกันต่อสิง่ แปลกปลอม ช่วยป้ องกันโรคหัวใจ ลดคอเรสเตอรอล ลดน้ าตาล อีกทัง้ ยังมีเหล็ก และแมกนีเซียมทีด ่ ูดซึมได ้ดี ในปริมาณสูงกว่าข ้าวอืน ่ ๆ อีกด ้วย ่ สาร ประชาสัมพันธ์ ให ้แก่ผู ้บริโ ภคได ้ทราบถึงประโยชน์เหล่านี้ด ้วยหลั กการตลาดแบบ หากปั จจุบันมีการสือ บูรณาการทางด ้านนิเทศศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็ นการ โฆษณา การขายโดยบุคคล การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริม การขาย การใช ้กลยุทธ์ในด ้านต่างๆ จะทาให ้ข ้าวไรซ์เบอร์รเี่ ป็ นทีน ่ ย ิ มแพร่หลายมากขึน ้ บทความนี้ จะกล่าวถึง ่ สารการตลาดทีจ ่ าร เรือ ่ งการสือ ่ ะเข ้ามามีบทบาท ทาให ้รู ้จักข ้าวไรซ์เบอร์รี่ หรือข ้าวกา่ สารพันธุใ์ หม่เพือ ่ นาไปสูก ้ ข ้าวไรซ์เบอร์รม ตัดสินใจซือ ี่ าบริโภคมากยิง่ ขึน ้ ื่ สารการตลาดเพือ ิ ใจ การสอ ่ การต ัดสน หากพูด ถึงธุรกิจ และผลิต ภั ณฑ์ใ หม่ๆ ตามท ้องตลาด สิง่ ที่ขาดไม่ไ ด ้ที่เ ป็ นส่ว นส่ง ผลท าให ้สิง่ นั ้น ่ สารทางการตลาด ซึง่ จะเป็ นสิง่ ทีผ ประสบความสาเร็ จคือ กลยุทธ์ทางการตลาด กระบวนการสือ ่ ลั กดันธุรกิจ เหล่า นั น ้ ไปยังเป้ าหมายที่เ ราตั ง้ ไว ้ได ้ ในบทความนี้ของยกตั ว อย่า ง2กรณี ค ือ กลยุท ธ์ก ารตลาด 4P

และ

่ สารส่งเสริมการตลาด กระบวนการสือ 1.

กลยุท ธ์ก ารตลาดแบบ 4P

เป็ นกลยุท ธ์ก ารตลาดที่ส ามารถเข ้าใจง่ า ยและนาไปประยุก ต์ใ ช ้ได ้จริง

ประกอบด ้วย 1.1 Product คือ ผลิตภัณฑ์หรือตัวสินค ้าของธุรกิจนั น ้ ๆ ซึง่ เราจะต ้องบอกให ้ได ้ว่าอะไรคือผลิตภัณฑ์ ่ สารให ้ลูกค ้าได ้รับรู ้ ของเราและอะไรคือจุดเด่นของของผลิตภัณฑ์ทต ี่ ้องการจะสือ 1.2 Price คือ ราคาเราจะต ้องรู ้ว่าราคาทีเ่ หมาะสมทีล ่ ก ู ค ้าจะยอมจ่ายเพือ ่ ผลิตภัณฑ์ของเรา 1.3 Place คือ สถานที่ ซึง่ เราจะนาผลิตภัณฑ์ของเราไปวางจาหน่าย ซึง่ เราต ้องรู ้ก่อนว่ากลุ่มลูกค ้า เป้ าหมายของเราเป็ นใครมีพฤติกรรมอย่างไร ซึง่ การวางตาแหน่งทีด ่ น ี ัน ้ ย่อมส่งผลดีตอ ่ ยอดขายตามมา 1.4 Promotion คือ การส่งเสริมสินค ้า กล่าวคือ เมือ ่ เราวางจาหน่ายสินค ้าของเราได ้แล ้วก็ยอ ่ มต ้องมี ปั จจัยทีจ ่ ะช่วยส่งเสริมให ้สินค ้าของเรามียอดขายทีด ่ แ ี ละเป็ นทีร่ ู ้จักของลูกค ้าเราเป็ นอย่างดี ดังนั น ้ จึงต ้องมีการ ่ สารและดึงดูดให ้ลูกค ้าเข ้ามาหาสินค ้าของเรามากขึน ส่งเสริมนีเ้ กิดขึน ้ เพือ ่ สือ ้


่ สารส่งเสริมการตลาด (The Promotional Elements) 2. กระบวนการสือ

227

การส่งเสริมการตลาด (Promotion) เป็ นองค์ประกอบหนึง่ ของส่วนประสมการตลาด ซึง่ ส่วนประสมของ การส่งเสริมการตลาดทีก ่ ล่าวถึง (Promotional Mix) ประกอบด ้วย การโฆษณา การขายโดยบุคคล การส่งเสริม การขายการประชาสัมพันธ์ และการตลาดทางตรง ่ สารทีไ่ ม่ใช่บค 2.1 การโฆษณา หมายถึง รูปแบบการจ่ายเงินของการสือ ุ คลเกีย ่ วกับสินค ้าบริการ ้ พืน องค์การ โดยระบุผู ้สนับสนุน การจ่ายเงินคือการจ่ายเงินซือ ้ ทีก ่ ารโฆษณา นอกจากนั น ้ การโฆษณายังรวมถึง ่ มวลชน (Mass Media) เช่น โทรทัศน์ วิทยุซงึ่ ถือเป็ นการสสือ ่ สารโดยไม่ใช ้บุคคล และไม่สามารถรับการ สือ โต ้ตอบ หรือ ตอบสนองโดยทันทีทันใด ่ สารระหว่างผู ้ขายกับผู ้ซือ ้ แบบ 2 ทาง มีวัตถุประสงค์ 2.2 การขายโดยบุคคล หมายถึง เป็ นการสือ ่ มัน ้ สินค ้า เพือ ่ สร ้างสรรค์ความชอบสินค ้า ความเชือ ่ ในสินค ้าและซือ 2.3 การประชาสัมพันธ์ เป็ นการสร ้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับกลุ่มสารธารณชน หรือชุมชน การประชาสัมพันธ์เป็ นการสร ้างภาพพจน์ขององค์การ ซึง่ เป็ นจุดมุง่ หมายระยะยาว 2.4 การส่งเสริมการขาย เป็ นการกระตุ ้นยอดขายภายใน 1 สัปดาห์ถ ้าทาบ่อยๆจะทาให ้เสียภาพพจน์ ของสินค ้า บริษัทส่วนใหญ่ได ้ทาการส่งเสริมการขาย ได ้แก่ ลด แลก แจก แถม หรือ ชิงโชค เป็ นต ้น ่ สารถึงลูกค ้าโดยตรง เพือ 2.5 การตลาดทางตรง ใช ้การติดต่อสือ ่ สร ้างการตอบสนองจากลูกค ้า เช่น ้ สินค ้าการขอข ้อมูลเพิม การสัง่ ซือ ่ เติม การเยีย ่ มร ้านค ้า เป็ นต ้น ตัวอย่างตาราง ส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด

่ สารการตลาดแบบบูรณาการ.(ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี .การสือ http://www.udru.ac.th/website/attachments/elearning/07/20.pdf


228 ื้ ของผูบ ปัจจ ัยทีม ่ อ ี ท ิ ธิพลต่อพฤติกรรมการซอ ้ ริโภค ้ เอง ผู ้ซือ ้ มีความแตกต่างในเรือ 1. ปั จจัยทีเ่ กิดจากตัวผู ้ซือ ่ ง เพศ อายุ รายได ้ สถานภาพของครอบครัว ้ ทีแ และอาชีพ โดยความแตกต่างในปั จจัย เหล่านีท ้ าให ้เกิดพฤติกรรมการซือ ่ ตกต่างกันออกไป 2. ปั จจัยด ้านจิตวิทยา ความต ้องการและแรงจูงใจ โดย A.H. Maslow ได ้กล่าวไว ้ใน Hierarchy of ้ นัน Needs อย่างน่าสนใจว่า ความต ้องการของผู ้ซือ ้ ต ้องการตอบสนองในเรือ ่ งของด ้านร่างกาย, ความปลอดภัย, ื่ เสียง ความต ้องการให ้สังคมยอมรับ, ต ้องการมีฐานทีเ่ ด่น และต ้องการประสบผลสาเร็จในชีวต ิ มีชอ ้ และการบริการลูกค ้าสัมพันธ์นัน 2.1 การรับรู ้ (Perception) การรับรู ้มีผลกับการกระตุ ้นการซือ ้ ควรทา ความเข ้าใจในลักษณะการรับรู ้ของกลุม ่ ตลาดเป้ าหมาย ต่างๆ เช่น กลุม ่ ของสินค ้าสาหรับเด็ก, สาหรับกลุม ่ คนที่ อยูใ่ นวัยทางาน และกลุ่มของผู ้สูงอาย หลังจากนั น ้ องค์กรสามารถเลือกข ้อมูล ข่าวสารทีเ่ หมาะสมกลุ่มตลาด เป้ าหมายจะรับรู ้ได ้ง่าย 2.2 ทัศนคติ (Attitude) ควรสร ้างทัศนคติทด ี่ ี กับภาพพจน์ขององค์กรพนั กงานขายและสินค ้าหรือบริการ ่ ลาด จะประสบความสาเร็จได ้นั น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผู ้ประกอบการทีผ ่ ลิตสินค ้าใด ๆทีใ่ หม่ออกสูต ้ จะ ต ้องสร ้าง ้ ให ้เกิดการยอมรับในตลาด ทัศนคติทด ี่ ใี ห ้กับผู ้ซือ ้ คนเหล่า นี้ม บ นอกจากปั จจัยดั ง กล่า วยัง มีก ลุ่ม บุค คลที่เ ข ้ามาเกีย ่ วข ้องใน กระบวนการซือ ี ทบาทในการ ้ โดยสามารถแยกกลุม ้ ออกเป็ น 5 กลุม ตัดสินใจซือ ่ บุคคลทีเ่ ข ้ามาเกีย ่ วข ้องในกระบวนการซือ ่ 1. ผู ้ริเริม ่ (Initiator) ส่วนมากแล ้วจะเป็ นผู ้ใช ้ (Users) เป็ นผู ้เสนอแนวความคิด ให ้แนวทางหรือ อธิบายบอกเล่าให ้ฟั งเกีย ่ วกับตัวสินค ้าหรือบริการ ้ โน ้มเอียง ตามความ 2. ผู ้มีอท ิ ธิพล (Influencer)เป็ นผู ้ทีม ่ อ ี านาจในการชักจูงหรือชักชวนให ้ผู ้ซือ ต ้องการได ้ ในกระบวนการตัดสินใจ ้ สินค ้าหรือไม่ 3. ผู ้ตัดสินใจ (Peciders) คือผู ้พิจารณาขัน ้ สุดท ้ายว่าจะมีการซือ ้ 4. ผู ้อนุมต ั ิ (Approvers) คือบุคคลทีอ ่ นุมต ั ใิ ห ้เกิดการซือขึน ้ ้ (Buyer) คือบุคคลทีไ่ ปซือ ้ สินค ้านัน 5. ผู ้ซือ ้ อาจเข ้ามาเกีย ่ วข ้องหรือไม่เกีย ่ วข ้องในกระบวนการ ตัดสินใจ ้ ของผู ้บริโภค ก็เป็ นส่วนสาคัญเช่นกันทีจ สาหรับในส่วนของการเปลีย ่ นแปลงลักษณะการซือ ่ ะเป็ นแนว ่ สารต่างๆ โดยพฤติกรรมการซือ ้ ในสังคมไทยมีลักษณะเปลีย ทางการกาหนดแผนการสือ ่ นแปลงไปอย่างเห็น ชัดเจนมีดังนี้ ้ (Size and Quantity) 1.การเปลีย ่ นแปลงปริมาณการซือ ้ สินค ้าต่าง ๆ มีขนาดลดลงในแต่ละครัง้ ทีซ ื้ โดยจะเป็ นการ เนือ ่ งจากเป็ นครอบครัวเดียวมากขึน ้ ปริมาณการซือ ่ อ ้ ซือปริมาณทีน ่ ้อยลง แต่เน ้นคุณภาพมากขึน ้ ้ (Changing in Buying location)ทาเลทีต 2. การเปลีย ่ นแปลงทาเลซือ ่ งั ้ ขององค์กรโดยเฉพาะร ้านค ้ามี ้ สินค ้าหรือบริการ ความสาคัญมากขึน ้ กับการซือ ้ มากขึน 3. ต ้องการความสะดวกสบายในการซือ ้ (Conveniences)สินค ้าหรือบริการนัน ้ ต ้องการความ ้ สะดวกสบายในการซือ ้ สินค ้าโดยการบริการตัวเองเพิม ้ จะมีความสนใจมากขึน ้ 4. การซือ ่ ขึน ้ (Selp-Services)ผู ้ซือ ้ เพราะสามารถซือ สินค ้าได ้ในราคายุตธิ รรมมากขึน ้ ่ (Credit Required)ผู ้ซือ ้ มีความสนใจมากขึน ้ สินค ้าและบริการโดยการผ่อนชาระ 5. การใช ้สินเชือ ้ ในการซือ 6. ผู ้บริโภคต ้องการสินค ้าทีม ่ ค ี วามพิเศษเฉพาะตัวมาใช ้งานเพือ ่ สนองความต ้องการความพึงพอใจ ของลูกค ้า ในแต่ละประเภท ข้าวไรซเ์ บอรี่ เป็ นข ้าวสายพันธุใ์ หม่ได ้มาจากการผสมข ้ามพันธุร์ ะหว่างข ้าวเจ ้า หอมนิล ข ้าวกา่ กับข ้าวขาว ดอกมะลิ 105 จากการพัฒนาพันธุข ์ ้าวพิเศษ โดยศูนย์วท ิ ยาศาสตร์ข ้าวฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพือ ่ ให ้ได ้เมล็ด พันธุท ์ ม ี่ ค ี ณ ุ ภาพดี และให ้ประโยชน์สงู สุดแก่ผู ้บริโภค เมล็ดพันธุท ์ ไี่ ด ้จะถูกแจกจ่ายให ้กับเกษตรกรทีเ่ ข ้าร่วม โครงการ เป็ นผู ้ปลูกและดูแลรักษา ซึง่ ต ้องอยูใ่ นพืน ้ ทีภ ่ ม ู ป ิ ระเทศและภูมอ ิ ากาศที่เหมาะสม โดยส่วนมากจะอยู่


229

ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย เพือ ่ ให ้ได ้ข ้าวทีม ่ ค ี ุณสมบัตด ิ ี ครบถ ้วนตามลักษณะพันธุ์ ทาให ้ได ้ข ้าวไรซ์ เบอรีเ่ มล็ ดเรียวยาว สีม่วงเข ้ม มีกลิน ่ หอมมะลิ น่ารับประทาน คุณสมบัตเิ ด่นทางด ้านโภชนาการของข ้าวไรซ์ เบอรี่ คือมีสารต ้านอนุมล ู อิสระสูง มีดัชนีน้ าตาลต่า-ปานกลาง ซึง่ นอกจากจะมีสารต ้านอนุมล ู อิสระมาก ข ้าวไรซ์ เบอร์รย ี่ งั มีสารอาหารและประโยชน์ อีกมากมายคือ 1.โอเมกา -3 กรดไขมันจาเป็ น มีบทบาทสาคัญต่อโครงสร ้างและการทางานของสมอง ตับและระบบประสาท ลดระดับโคเลสเตอรอล 2.ธาตุสงั กะสี สังเคราะห์โปรตีน สร ้างคอลลาเจน รักษาสิวป้ องกันผมร่วง กระตุ ้นรากผม 3. ธาตุเหล็ก สร ้างและจ่ายพลังงานในร่างกาย เป็ นส่วนประกอบของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง และเป็ น ส่วนประกอบของเอนไซม์ซงึ่ เกีย ่ วข ้องกับการใช ้ออกซิเจนในร่างกายและสมอง ่ งของโรคทีเ่ กีย 4. วิตามินอี ชะลอความแก่ ผิวพรรณสดใส ลดอัตราเสีย ่ วกับหลอดเลือด สมองและหัวใจ ทาให ้ปอดทางานดีขน ึ้ 5. วิตามินบี1 จาเป็ นต่อการทางานของสมอง ระบบประสาทระบบย่อยป้ องกันโรคเหน็ บชา ่ งต่อการเกิดมะเร็ง บารุงสายตา 6. ชะลอความแก่ ลดความเสีย ่ ม บารุงการไหลเวียนของเลือดในเส ้นเลือดฝอยทีต 7. ลูทน ี ป้ องกันจอประสาทตาเสือ ่ า 8. โพลิฟีนอล ทาลายฤทธิข ์ องอนุมล ู อิสระ ป้ องกันการเกิดโรคมะเร็งได ้ 9. แทนนิน แก ้ท ้องร่วง แก ้บิด สมานแผล แผลเปื่ อย 10.แกมมา โอไรซานอล ลดระดับคอเรสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในหลอดเลือด ทาให ้เลือดหมุนเวียนไป ่ งของโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสือ ่ ม เลีย ้ งอวัยวะได ้อย่างเป็ นปกติ ลดอัตราเสีย 11. เส ้นใยอาหาร ช่วยลดระดับไขมันและโคเลสเตอรอล ป้ องกันโรคหัวใจ ควบคุมน้ าหนัก ช่วยระบบขับถ่าย ่ งต่อการเป็ นโรคมะเร็ง ทางการแพทย์ นอกจากจะใช ้รับประทานเพือ ่ เสริมสร ้างสุขภาพทีด ่ ี ลดความเสีย ยังนาไปใช ้ท าผลิต ภัณ ฑ์อ าหารโภชนาการบ าบัด อีก ด ้วย เพราะประโยชน์ข องข ้าวไรซ์เ บอร์รี่ม ีม ากขนาดนี้ ปั จจุบันจึงมีหน่วยงานการผลิตข ้าวต่างๆ ทีจ ่ ัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่อย่าง ข ้าวไรซ์เบอร์รี่ จัดการตลาดโดย ้สื ่ การรณรงค์ ผ่านแผนการใช อประชาสัมพันธ์ไปในทางการนาเสนอประโยชน์ ของข ้าวไรซ์เบอร์รี่ ผ่านรูปแบบ กระบวนการส่งเสริม การตลาด เช่น การโฆษณา การขายโดยบุค คล การประชาสั ม พั นธ์ จั ด ตั ง้ คลั บ คนรั ก ่ สิง่ พิม พ์ เช่น การท า สุขภาพ รวมไปถึงการจัด นิท รรศการ และการขายแบบจั ด โปรโมชั่น ตั ว อย่า งผ่า น สือ หนังสือ ชุดสร ้างธุรกิจSME ลงในนิตยาสาร ลงหนั งสือพิมพ์ เพือ ่ มีจุดประสงค์ให ้สินค ้า เป็ นทีแ ่ พร่หลายและ ให ้มีคนรู ้จักมากยิง่ ขึน ้ ข ้าวไรซ์เบอร์ยังมีการแปรรูปเป็ นสินค ้าในรูปแบบอืน ่ อีกด ้วย เช่น น้ ามันราข ้าว ข ้าวตัง ิ ้าวไรซ์เบอร์รี่ ขนมครกไรซ์เบอร์รี่ คุ๊กกีข ไรซ์เบอร์รี่ ซูซข ้ ้าวไรซ์เบอร์รี่ ข ้าวไรซ์เบอร์รอ ี่ บกรอบ และอืน ่ ๆอีก ่ ้ มากมาย การสือสารการตลาดนั น ้ มีผลต่อการตัดสินใจในการซือข ้าวไรซ์เบอร์รเี่ ป็ นอย่างมาก เพราะอดีตที่ ่ สารทางการตลาด ไม่มก ิ ค ้า ขาดการสือ ่ สารจากผู ้ผลิตไปสู่ผู ้บริโภค ผ่านมา ขาดสารสือ ี ารประชาสัมพันธ์สน ้ ่ าของข ้าวชนิดนี้ จึงทาให ้ไม่กล ้าตัดสินใจเลือกซือ รูปแบบ ทาให ้หลายๆคน ไม่ทราบถึงประโยชน์ และ ทีม ่ สารทางการตลาดแบบใช ้สือ ่ ต่างๆในการนาเสนอจึงจาเป็ นมาก ซึง่ ในปั จจุบน การสือ ั ทีม ่ ต ี ัวอย่างให ้เห็นดังนี้

ื่ สงิ่ พิมพ์ หน ังสอ ื นิตยสาร การโฆษณาผ่านสอ โฆษณาทางหน า้ หนั งสื อ พิ ม พ์ นิ ต ยสารนี้ จ ะสื่ อ เข า้ ถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายที่ ม ี ลั ก ษณะเฉพาะได ้ เพราะนิตยสารจะเสนอเนือ ้ หาสาระเป็ นทีห ่ น ้าสนใจของกลุม ่ เป้ าหมายกลุม ่ ใดกลุม ่ หนึง่ โดยเฉพาะ

ิ ค้าโดยการจ ัดโครงงานและมหกรรม จาหน่ายข้าว การนาเสนอสน เป็ นการเสนอสินค ้าหรือความคิดให ้แก่ผู ้คนทั่วไปได ้พบเห็ น เพือ ่ ให ้ผู ้ทีค ่ าดว่าจะเป็ นลูกค ้ามีโอกาสพบ ้ สินค ้า นอกจากนีย เห็นและตัดสินใจซือ ้ งั เป็ นการปลูกฝั่ งค่านิยมหรือสร ้างความเป็ นเอกลักษณ์ให ้กับร ้านค ้าด ้วย


้ ลิตภ ัณฑ์ขา้ วไรสเ์ บอร์รใี่ นการดึงดูดลูกค้า ธุรกิจอาหารควบคุมนา้ หน ัก ใชผ

230

ใช ้กลยุทธ์ดงึ ดูดลูกค ้าให ้เกิดความรู ้สึกสบายใจ ในการเลือกรับประทาน เพราะได ้รับประทานอาหารที่ มีประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มเป้ าหมายของธุรกิจ จึงทาให ้เกิด ความไว ้วางใจทีเ่ ลือกทานอาหารเพือ ่ สุขภาพ ้ สินค ้าด ้วยความสบายใจ ไม่รู ้สึกวิตกกังวล อย่างแท ้จริง ทาให ้ลูกค ้าสามารถมารับบริการและเลือกซือ

ิ ค้าในรูปแบบสน ิ ค้าใหม่ๆทีท การจาหน่ายสน ่ าจากข้าวไรสเ์ บอร์ร ี่ การแปรรูปสินค ้าให ้แปลกใหม่ เปลีย ่ นไปจากเดิม ทาให ้เกิดจุดเด่นและ เป็ นจุดสนใจของสินค ้ามากขึน ้ ลดความจาเจและซ้าซาก สามารถเพิม ่ เป้ าหมายกลุ่มการตลาด ของผู ้บริโภคได ้จากเดิม เช่น ผลิตภัณฑ์ข ้าว ้ เพียงอย่า งเดียว แต่พ อมีก ารปรั บ ปรุ งเป็ นขนมหรือ คุ๊ก กี้ใ ส่ ที่เ หมาะสม เฉพาะกั บ กลุ่ม แม่บ ้าน ที่เ ลือ กซือ ผลิตภัณฑ์ทด ี่ งึ ดูดความสนใจ จึง ทาให ้เด็ กๆอาจจะสนใจทีจ ่ ะทานและยังมีขนมทีม ่ ป ี ระโยชน์ทาให ้ผู ้ปกครอง ไว ้วางใจได ้อีกด ้วย

ั ันธ์โดยการขายตรงและจ ัดโปรโมชน ่ั การตลาดประชาสมพ ่ ถือ แก่ผู ้ซือ ้ มากกว่า การรับมาขาย การจาหน่ายแบบผู ้ผลิตมาขายสินค ้าโดยตรง ทาให ้เกิดความน่าเชือ ่ สารทางตรงกับเกษตรกร จะสามารถบอกประโยชน์ และ ตอบคาถามให ้กับ ผ่านพ่อค ้าคนกลาง เพราะการสือ ่ ให ้ส่วนลด ถือเป็ นการกระตุ ้นยอดขายได ้ดี เพราะ ผู ้ทีส ่ นใจได ้ถูกต ้อง และตรงมากทีส ่ ุด ส่วนการจัดโปรโมชัน ้ สินค ้าและบริการในปริมาณมากกว่าปกติในช่วงเวลาทีไ่ ม่น่าจะเป็ นไปได ้ นอกจากจะเป็ นแรงจูงใจให ้ผู ้บริโภคซือ แล ้ว ยังเป็ นตัวช่วยระบายสินค ้าค ้างสต็อกหรือใกล ้หมดอายุได ้อีกด ้วย เรียกได ้ว่าแม ้จะไม่ได ้กาไรมากเท่าทีค ่ วร แต่อย่างน ้อยก็อาจไม่ขาดทุน ทัง้ นีก ้ ารให ้ส่วนลดถือเป็ นส่วนประกอบสาคัญของกลยุทธ์ด ้านราคาเกือบทัง้ หมด


231

เอกสารอ้างอิง

ื่ สารการตลาด ่ จิตต์ แจ ้งเจนกิจ. (2546). IMC&Marketing communications :กลยุทธ์การสอ ชืน กรุงเทพฯ บริษัท ทิปปิ้ ง พอยท์ จากัด บ ้านทรายทอง. 2550.จากข ้าวกา่ ไร ้คนสนใจสู่ ไรซ์เบอร์รี่ ธัญพืชต ้านอนุมล ู อิสระ.(ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://variety.teenee.com/foodforbrain/1841.html(ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) ไทยรัฐออนไลน์.2556.คาร์โบไฮเดรตสุขภาพโภชนาการ”สู ้อ ้วน”.(ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://www.thairath.co.th/content/371324(ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) บริษัท สีนล ิ ไรซ์ จากัด.ข ้าวกล ้องไรซ์เบอร์รเี่ พือ ่ สุขภาพ.(ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://www.sininrice.com/insight.html(ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) ASTVผู ้จัดการออนไลน์.2555.ข ้าวกา่ อาหารบารุงสมองภูมป ิ ั ญญาทีถ ่ ก ู มองข ้าม.(ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews (ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) Infoknowhow.2556.กลยุทธ์การตลาด 4P.(ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: https://infoknowhow.wordpress.com/2013/04/29/4p/(ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ.(ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี .การสือ http://www.udru.ac.th/website/attachments/elearning/07/20.pdf (ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) ้ ของผู ้บริโภค. สานักบรรณสารมหาวิทยาลัยวงษ์ ชวลิตกุล.2556.ปั จจัยทีม ่ อ ี ท ิ ธิพลต่อพฤติกรรมการซือ (ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://library.vu.ac.th/km/?p=696#sthash.U2P3n30K.dpuf (ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) โครงการ การจัดการทาเส ้นทางท่องเทีย ่ วเชิงเกษตร.2555.ข ้าวไรซ์เบอรี่ คุณไพโรจน์ เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ. (ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://agriculture.pbru.ac.th/LocalAgroTour/?page_id=254 (ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) ชมรมเกษตรอินทรียป ์ ลอดสารพิษบ ้านหนองปลาไหล.2557.ข ้าวหอมต ้านมะเร็งต ้านอนุมล ู อิสระสูง. (ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://riceberryy.blogspot.com(ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) SMEมีแวว.ไทยรัฐออนไลน์2557.ต่อยอดธุรกิจค ้าข ้าวด ้วยคุกกี-้ พายข ้าวหลามไรซ์เบอร์ร.ี่ (ออนไลน์)เข ้าถึงได ้จาก: http://www.thairath.co.th/content/401844 (ค ้นคว ้าข ้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2557) นางสาวณั ฐพร แขมคา รหัสนักศึกษา 54040749 ้ ปี ท4 นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์เกษตรชัน ี่


Communication & Agricultural

232

ณัฐวุฒิ ฤทธิ์บุญ 54040750

สื่อสารชนะใจ เกษตรไทยก้าวหน้า ประเทศไทยได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น อู่ ข้ า วอู่ น้ า เป็ น แหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ และแหล่ ง ผลิ ต ผลทางการเกษตรที่ ห ลากหลาย เรียกได้ว่าเป็นครัวของโลก ปัจจุบัน ประเทศไทยมีการพัฒนาเข้าสู่อุตสาหกรรมอาหารเพื่อการส่งออกและจ้าหน่าย ในประเทศอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมซึ่งประชากรส่วนใหญ่มีความ ช้านาญด้านเกษตรกรรมไม่ว่าจะเป็น กสิกรรม ปศุสัตว์ และการประมง ดังนันรายได้ส่วนใหญ่ของประเทศจึงมาจาก ภาคการเกษตรเป็ น หลั ก และจากข้อมูล ทางเศรษฐกิจในปี 2555 พบว่า ประเทศไทยมีมูล ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ (GDP) ในภาคการเกษตรโดยประมาณ 1 ล้านล้านบาท มูลค่าการส่งออกภาคเกษตรประมาณ 560,000 ล้านบาท มูลค่าการส่งออกอาหารโดยประมาณ 500,000 ล้านบาท คิดเป็น 2.3 % ของมูลค่าส่งออกอาหารของโลก แต่ อ ย่ า งไรก็ต ามหากเราพิ จ ารณาในด้ านการผลิ ต จะพบว่ า ประเทศไทยถึ งแม้จ ะมีที่ ดิน ที่ใ ช้ในการท้ า การเกษตรประมาณ 132 ล้านไร่ แต่ผลผลิตต่อไร่ของพืชต่าง ๆ ถือว่าอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่้า ดังนันการเพิ่มปริมาณ ผลผลิ ตทางการเกษตรจึ งเป็ น สิ่ งส้ าคัญ ในการพัฒ นาภาคการเกษตรของประเทศ ทังนี การที่จะเพิ่มผลผลิ ตทาง การเกษตรจ้าเป็นต้องค้านึงถึงปัจจัยต่าง ๆ หลายประการ โดยเฉพาะเรื่องของการสื่อสารในการให้ความรู้กับเกษตรกร ที่ต้องมีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และท้า ให้เห็นถึงผลต่าง ๆ ที่จะตามมา โดยจะต้องอาศัยการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพของนักส่งเสริมการเกษตร เพื่อให้ประสบผลความส้าเร็จ ซึ่งจะเป็นการพัฒนาภาคการเกษตรของไทย ต่อไป "การสื่อสาร” ถือเป็นสิ่งส้าคัญที่จะท้าให้สิ่งต่าง ๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา ในด้านการเกษตร ก็เช่นกัน แต่การจะสื่อสารทีท่ ้าให้เกิดผลส้าเร็จนันจะต้องท้าให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ และน้าไปปฏิบัติตาม จึงถือว่า การสื่อสารนันมีประสิทธิภาพ โดยยุทธวิธีการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจตามที่ สนอง ปัญญาฤกษ์ ได้กล่าวไว้ มี หลักการ 8 ประการดังต่อไปนี 1. การเตรียม “สาร” ที่จะสื่อ ล้าดับแรกต้องรู้ก่อนว่า “เราก้าลังท้าสิ่งนีเพื่ออะไร” เพราะการที่เรารู้จุดประสงค์อย่างแน่ชัด จะช่วยให้สามารถ เดินไปตามแนวทางที่วางไว้ได้อย่างถูกต้อง ไม่เบี่ยงเบนหรือหันเห เมื่อมีสิ่งที่เข้ามาขัดจังหวะเกิดขึน กล่าวคือ “สาร” ที่จะสื่อเพื่อความเข้าใจนันจะต้องตรงประเด็น เป็นข้อความที่กระชับ โดยสิ่งที่จะช่วยตรวจสอบในการเตรียมสาร มีดังนี 1.1 ประเด็นส้าคัญของเรื่องคืออะไร 1.2 ท้าขึนเพื่อใคร 1.3 จะสื่อความเข้าใจด้วยวิธีใด 1.4 เวลาที่เหมาะสมแก่การสื่อความเข้าใจนันควรเป็นเวลาใด 1.5 สถานที่ใดเหมาะสมที่สุด 1.6 ได้แสดงประเด็นส้าคัญของเรื่องอย่างกระจ่างชัดเจนหรือไม่ 1.7 มีนัยที่แฝงเร้นอยู่หรือไม่


233

1.8 ข้อเท็จจริงถูกต้องหรือไม่ 1.9 จะต้องมีการปฏิบัติอย่างชัดเจนหรือไม่ 1.10 มีข้อมูลที่อีกฝ่ายหนึ่งต้องการพร้อมแล้วหรือไม่ เช่นเดียวกับนักส่งเสริมการเกษตรที่จะต้องเตรียมข้อมูลต่าง ๆ ให้มีความถูกต้อง ชัดเจน และมีความเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นช่องทางที่จะใช้ในการสื่อสาร วัน เวลา สถานที่ และประเด็นที่จะสื่อสาร 2. เตรียมตัวเองให้พร้อม ผู้ส่งสารควรเตรียมตัวเองให้พร้อม เช่น การเตรียมข้อมูลที่จะพูด และผู้ส่งสารนันจะต้องร้าลึกไว้เสมอว่ า ทุกครัง ที่เอ่ยค้าพูดออกไปเท่ากับเป็นการเสนอตัวเอง การสื่อความหมายด้วยภาษากายสามารถท้าได้ดีกว่าการเอ่ยออกมาเป็น ค้า พู ด และมั น ยั ง เท่ า กั บ เป็ น การประกาศให้ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ งรั บ รู้ ว่ า เราเป็ น คนแบบใด มี ค วามนั บ ถื อตั ว เองหรื อ ไม่ เพราะฉะนันจะต้องพยายามถ่ายทอดความเข้าใจนี ด้วยการสร้างความมั่นใจให้กับตัวเองก่อน 3. ทาการติดต่อกับอีกฝ่ายหนึ่ง ในการติดต่อสื่อสาร ผู้ส่งสารควรดึงความสนใจจากผู้รับสาร โดยวิธีการที่จะสามารถเรียกความสนใจจากผู้รับสารมี ดังนี 3.1 ขอร้องให้เขาสนใจ 3.2 สร้างอารมณ์ขันให้เกิดขึน 3.3 ประสานสายตา 3.4 พูดในเรื่องที่อีกฝ่ายหนึ่งมีความสนใจ 3.5 มองให้เห็นภาพ 3.6 สร้างความหนักแน่นในน้าเสียง 3.7 แสดงความหมายผ่านภาษากาย 3.8 แสดงถึงบุคลิกลักษณะที่น่าประทับใจ 4. เตรียมตัวฝ่ายรับสาร ถ้าสิ่งที่จะสื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้นันเป็นเรื่องที่น่าตกใจ หรือเป็นเรื่องที่ผู้ฟังไม่คาดคิดหรือเตรียมพร้อมที่จะรับฟัง ผู้ที่จะสื่อสารควรสละเวลาเพื่อช่วยให้อีกฝ่ายหนึ่ง เตรียมพร้อมที่จะรับฟังเสียก่อน โดยมีวิธีการดังนี 4.1 เริ่มต้นด้วยการเอ่ยถึงประโยชน์ที่ผู้ฟังจะได้รับ 4.2 ตรวจสอบว่าผู้รับสารเต็มใจที่จะรับฟัง 4.3 การเตือนให้ผู้รับสารทราบล่วงหน้าว่าเรื่องที่จะพูดนันมีความส้าคัญ 4.4 ใช้วิธีตังค้าถามเพื่อเรียกร้องความสนใจและความใคร่รู้ให้เกิดขึน 5. การส่งสาร ขณะที่ผู้ส่งสารด้าเนินการไปตามกระบวนการของการถ่ายทอดสารอยู่นัน จะต้องระลึกไว้เสมอว่าสิ่งที่ก้าลังสื่อ ความเข้าใจอยู่นันคืออะไร และจงเลือกใช้ภาษาที่ง่าย หลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลรายละเอียดที่ไม่จ้าเป็น เพื่อช่วยให้ ผู้รับฟังมีความเข้าใจดีขึน ขณะเดียวกันนันก็จะต้องถ่ายทอดสิ่งที่ก้าลังพูดเข้าไปให้ถึงอารมณ์ กล่าวคือผู้ส่งสารจะต้อง


234

5.1 พูดแต่พอได้ยิน 5.2 ระมัดระวังในการใช้น้าเสียงสูง ต่้า 5.3 จับสังเกตหรือตอบสนองต่อสัญญาณที่บอกถึงความสับสน ความไม่เข้าใจ หรือความไม่สนใจ 5.4 หยุดเว้นระยะเพื่อรับฟังค้าถามและ ค้าตอบเพื่อความเข้าใจที่กระจ่างชัดเจน 5.5 สรุปข้อความเพื่อให้เกิดความเข้าใจดีขึน 5.6 จงพูดกับ “เขา” มิใช่เพียงพูดให้ฟัง 5.7 เปลี่ยนวิธีเสียใหม่ ถ้าวิธีที่ใช้ไม่ได้ผล 6. รับฟังและทาความเข้าใจกับคาตอบ การเป็นผู้รับฟังที่ดีนันเป็นสิ่งจ้าเป็นอย่างยิ่งส้าหรับการสื่อความเข้าใจระหว่างกัน เพราะมันมิใช่เป็นเพียงแค่การ “ไม่พูด” เท่านัน แต่มันยังเป็นการให้ความสนใจต่อผู้พูด แต่ก็ต้องระมัดระวังสิ่งต่างๆ ซึ่งได้แก่ 6.1 การเปลี่ยนเรื่องพูดเมื่อได้รับค้าตอบที่ไม่พอใจหรือไม่เห็นด้วย 6.2 การให้ความสนใจกับรายละเอียดมากว่าประเด็นส้าคัญ 6.3 หมกมุ่นกับปัญหาของตนเองจนไม่สนใจกับสิ่งที่อีกฝ่ายหนึ่งพูด 6.4 พยายามเอาชนะอีกฝ่ายหนึ่งให้จงได้ ไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของอีกฝ่ายหนึ่งด้วยความยุติธรรม 7. ปิดการสนทนา บ่อยครังที่เราจะพบว่าการสนทนาด้าเนินไปอย่างน่าเบื่อหน่าย มีผลในการท้าลายมากกว่าการสร้างสรรค์ หรือไม่ก็ บรรลุ เป้ าหมายง่ายเกิน ไป ในกรณีเช่น นี ผู้ ที่ท้าการส่ งสารหรือผู้ พูดต้องหาทางยุติการสนทนาลงด้ว ยวิธีการอัน เหมาะสม 8. ติดตามผล ในการสื่อสารนันจะต้องมีการติดตามผลก็เพื่อเป็นการประเมิน ว่า “สาร” ที่ส่งไปยังผู้รับสารบรรลุตามเป้าหมาย ที่ได้ตังไว้หรือไม่ ถ้าการสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ตังไว้ ถือว่าการสื่อสารนันมีประสิทธิภาพ (สนอง ปัญญาฤกษ์, 2555) อย่างไรก็ตาม จากหลักการสื่อเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่กล่าวมาแล้วนัน ผู้ส่งสารต้องท้าความเข้าใจในตัวผู้รับสาร ในเบืองต้นก่อน เช่น ความสามารถในการรับฟัง และความแตกต่างในแต่ละกลุ่มว่ามีลักษณะอย่างไร ความสามารถในการรับฟัง การรับฟังเป็นสิ่งที่มีความหมายมากกว่าการ ได้ยิน ทังนีเพราะการได้ยินก็คือการรับรู้ในข้อมูลต่าง ๆ ที่ส่งผ่าน เข้ามา แต่การรับฟังเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยสติปัญญาและกระบวนการทางอารมณ์กับความรู้สึก เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือ ในการถอดรหัสความหมาย จะต้องใช้ทังร่างกาย สติปัญญา และผลกระทบที่เกิดขึนกับอารมณ์มาแสวงหาความหมาย และความเข้าใจ การรับฟังอย่างมีประสิทธิภาพจะเกิดขึน เมื่อผู้ รับฟังมีความเข้าใจในข้อมูลที่อีกฝ่ายส่งมาให้อย่าง ถูกต้อง แต่เป็นที่น่าเสียดายอยู่บ้างที่มีน้อยคนนักจะกระท้าตนเป็นนักฟังที่ดี โดย 75% ของค้าพูดที่กล่าวออกมาถูก ละเลยหรือถ้าไม่เข้าใจผิดก็อาจถูกลืมเลือนไปในเวลาอันรวดเร็ว


235

ที่มา: หนังสื่อสือ่ สารชนะใจคน

การรับฟังอย่างมีประสิทธิภาพมิใช่การไม่แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ แต่การเป็นผู้ฟังที่ดีนันจะต้องประกอบไปด้วย - มีเหตุผลที่จะรับฟัง - แสดงออกถึงความสนใจ - ใช้ความเงียบและการตังค้าถามที่ไม่บ่อยครังนักเข้ามาช่วย - กระตุ้นให้อีกฝ่ายหนึ่งอยู่ในอารมณ์อยากพูด - ไม่ตัดสินใด ๆ ทังสิน - รอเวลาก่อนที่จะให้ค้าตอบ - สามารถที่จะกล่าวซ้าค้าพูดของอีกฝ่ายหนึ่งได้อย่างถูกต้อง - สามารถทบทวนค้าพูดของอีกฝ่ายหนึ่ง ด้วยการใช้ค้าพูดของตนเอง - พร้อมที่จะให้ค้าตอบ - พร้อมที่จะอ่านให้ลึกซึงถึงความหมายที่แฝงอยู่ในค้าพูดของอีกฝ่ายหนึ่ง อนึ่งในกระบวนการของการสื่อสารต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าบุคคลมีความแตกต่างกัน ดังนันปัจจัยการท้างานที่ ส้าคัญอีกประการหนึ่งที่จะให้งานบรรลุผลส้าเร็จได้ ก็คือกลุ่มผู้ดู ผู้ฟัง ซึ่งเป็นเป้าหมายส้าคัญที่ผู้สื่อสารทุกคนต้อง ตระหนัก โดยการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายก่อนทุกครัง ซึ่งในการส่งเสริมการเกษตรที่ผู้รับสารคือเกษตรกร และเรา สามารถจ้าแนกความแตกต่างของเกษตรกรออกได้เป็น 5 กลุ่ม ความแตกต่างของเกษตร 1. ผู้น้าการเปลี่ยนแปลง (Innovators) เป็นผู้ที่น้าความคิดใหม่ไปปฏิบัติ เป็นกลุ่มที่พร้อมจะยอมรับการ เปลี่ยนแปลง ใฝ่หาความรู้อยู่เสมอ ส่วนใหญ่มีการศึกษาสูง ฐานะดี มีโอกาสมากกว่าผู้อื่น 2. กลุ่มยอมท้าตามเร็ว (Early Adopters) เป็นผู้ที่เกี่ยวพันและมีความเป็นคนท้องถิ่นมาก ได้รับการนับ ถือจากคนในชุมชนให้เป็นผู้น้าแนวคิด มีเหตุผลและทัศนคติที่ดีต่อการเปลี่ยนแปลง 3. พวกยอมท้าตาม (Early Majority) กลุ่มนีถือเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดที่ยอมรับ เทคโนโลยีใหม่ได้เร็วกว่า คนอื่นค่อนข้างมีการศึกษา เป็นตัวกลางระหว่างกลุ่มที่ยอมรับเร็วและกลุ่มที่ยอมรับช้า 4. กลุ่มยอมรับช้า (Late Majority) กลุ่มนีจะรับเทคโนโลยีใหม่ทีหลังและช้ากว่ากลุ่มอื่น ยอมรับเพราะ ความจ้าเป็นทางเศรษฐกิจ สังคมและความกดดันจากรอบข้าง หวั่นวิตกต่อการเสียประโยชน์ 5. กลุ่มล้าหลัง (Laggard) เป็นกลุ่มสุดท้ายที่ยอมรับแนวความคิดใหม่ ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นพวกที่มีอายุมาก ยึดมั่นอยู่กับขนบธรรมเนียมอย่างเหนียวแน่น การศึกษาน้อย เกียจคร้าน เฉื่อยชา


236

ฉะนันในการสื่อสารกับเกษตรกร นอกจากนักส่งเสริมการเกษตรจะต้องมีพืนฐานที่ดี มีความรู้ความสามารถ และ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเกษตรอย่างแท้จริง รู้จักการยุทธวิธีการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจแล้วนัน ยังจะต้อง ค้านึงถึงความสามารถในการรับฟัง ลักษณะกลุ่มเป้าหมายที่จะท้าการสื่อสาร ว่ามีบุคลิก ลักษณะอย่างไร เพื่อที่จะได้ เลือกวิธีการสื่อ สารที่มีความเหมาะสม และท้าให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายตามที่ผู้ส่งสารได้ตังไว้ เรียกได้ว่าเป็นการสื่อสารที่ชนะใจ และท้าให้เกิดการพัฒนาทางด้านการเกษตรของไทยต่อไปในอนาคต

บรรณานุกรม คณะกรรมการวิ ช าภาษาไทยเพื่ อ การสื่ อ สาร (2556). ภาษาไทยเพื่ อ การสื่ อ สาร. กรุ ง เทพมหานคร: ศูนย์วิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง .ทฤษฎีการสื่อสารและการผลิต สื่อเพื่อพัฒนาการเกษตร. (ออนไลน์) เข้าถึงได้ : http://www.kmitl.ac.th/agritech/04091002/2b.htm (18 พฤศจิกายน 2557) สนอง ปัญญาฤกษ์. (2555). สื่อสารชนะใจคน. กรุงเทพมหานคร: MINIBEAR PUBLISHING. สิน พันธุ์พินิจ. (2544). การส่งเสริมการเกษตร (AGICULTURAL EXTENSION EDUCATION). กรุงเทพมหานคร. อักษรพิทยา. ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร.ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร. (ออนไลน์) เข้าถึงได้ : http://www.oae.go.th (18 พฤศจิกายน 2557)


237

การเลือกซื้อพื้นที่โฆษณาของนิตยสารในประเทศไทย นิตยสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ในชีวิตประจาวัน ที่ให้ทั้งความรู้ ความบันเทิง และเสนอแนวทางแก่ ผู้อ่าน ซึ่งผู้อ่านสามารถเปิดรับข่าวสารจาก นิตยสารได้ตลอดเวลา ภายในนิตยสารจะมี โฆษณาต่างๆ แฝงอยู่ภายในเล่มมากมาย โดยผู้ โฆษณา หรือบริษัทโฆษณา นิยมซื้อพื้นที่โฆษณา ในนิตยสาร เพราะนิตยสารสามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายได้เฉพาะเจาะจง ผู้โฆษณาสามารถ เลือกได้ว่าจะลงโฆษณาในหน้าใดหรือส่วนใดของ นิตยสาร เพื่อที่จะได้นาเสนอโฆษณาตามความ สนใจของผู้อ่านหรือเลือกเฉพาะกลุ่ม ทั้งเพศชาย , เพศหญิง , วัยรุ่น , ผู้สูงอายุ เป็นต้น ในปัจจุบัน อุตสาหกรรมนิตยสารมีการเจริญเติบโตและ ก้าวหน้ามากขึ้น โดยสมาคมนิตยสารแห่งประเทศ ไทย (2557) ได้ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสื่อ นิตยสารและแนวโน้มผู้อ่านนิตยสารในปัจจุบัน พบว่า รายได้ส่วนใหญ่ได้รับจากการโฆษณาถึง 67 % และจานวนของบริษัทที่เป็นผู้โฆษณา เพิ่มขึ้น ดังนั้นนิตยสารจึงมีความสาคัญต่อการเป็น สื่อโฆษณาในท้องถิ่นสาหรับธุรกิจค้าปลีกจานวน มาก และมักจะถูกใช้โดยบริษัทที่เป็นผู้โฆษณาใน ระดับประเทศอีกด้วย คานิยามของนิตยสาร ในวงการสื่อสิ่งพิมพ์ได้มีการให้คานิยาม ของนิตยสารไว้อย่างชัดเจน ความหมายของ นิตยสารตามที่ได้ระบุไว้ในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 วิกิพีเดีย สารานุกรม และคานิยามของนักวิชาการหลาย ท่าน คือ สื่อสิ่งพิมพ์ทางด้านวารสารศาสตร์ ที่มี เนื้อหาประเภทเดียวกันหรือหลากหลายประเภท

รวมไว้ในเล่มเดียว เนื้อหามีความน่าสนใจ มุ่งให้ ความรู้ ความบันเทิง และเสนอแนวทางแก่ผู้อ่าน ซึ่งมีกาหนดระยะเวลาออกจาหน่ายแน่นอน เช่น รายปักษ์ , รายเดือน เป็นต้น ไม่สามารถออกเร็ว เกินสัปดาห์ละ 1 ฉบับ โดยต้องคานึงถึงความ ต้องการและรสนิยมการรับรู้ข่าวสารของ กลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก แนวคิดของนิตยสารจึง หมายรวมถึงแหล่งรวบรวมสาระเนื้อหาที่มีความ หลากหลายและทันสมัย อันประกอบด้วยงาน เขียนประเภทต่างๆ ทั้งข่าว บทความ เรื่องสั้น สารคดี คอลัมน์ประจา และข้อเขียนอื่นอีกหลาย ลักษณะที่กาลังได้รับความสนใจจากกลุ่มผู้อ่านใน ช่วงเวลานั้น รวมทั้งภาพประกอบงานเขียนที่มี ความสวยงามและโฆษณารวมอยู่ในเล่มเดียวกัน อย่างมีระบบ ประเภทของนิตยสาร ดรุณี หิรัญรักษ์ (2530) ได้แบ่งประเภท ของนิตยสาร โดยจาแนกตามลักษณะเนื้อหาและ กลุ่มผู้อ่าน ดังนี้ 1.นิตยสารทั่วไป ( General Magazine) เป็นนิตยสารที่มีเนื้อหาสาหรับผู้อ่าน ทั่วไป ซึ่งปัจจุบันมีน้อยลงในตลาดนิตยสาร เพราะไม่สามารถแข่งขันกับนิตยสารเฉพาะด้านได้ ที่ยังคงจาหน่ายอยู่ในท้องตลาด คือ นิตยสารสรร สาระ 2. นิตยสารเฉพาะกลุ่มผู้บริโภคหรือ เฉพาะด้าน ( Specialized Magazine) เป็น นิตยสารที่มีเนื้อหาเฉพาะด้านสาหรับผู้บริโภค กลุ่มต่างๆ ที่มีความสนใจแตกต่างกัน ทั้งด้าน ผู้หญิง , ผู้ชาย , วัยรุ่น , ดนตรี , การท่องเที่ยว ,


238

ศิลปวัฒนธรรม , การเลี้ยงสัตว์ , บ้านและการ ตกแต่งสวน , สุขภาพ , อาหาร , เทคโนโลยี , วิทยาศาสตร์ , รถยนต์ , กีฬา ,การเกษตร เป็นต้น โดยอาศัยหลักการตลาด เช่น นิตยสารแพรว , นิตยสารขวัญเรือน , นิตยสารคู่สร้างคู่สม , นิตยสารเอฟเอชเอ็ม ( FHM), นิตยสารแม่บ้าน , นิตยสารไลฟ์แอนด์โฮม ( Life and Home) นิตยสารเกษตรกรก้าวหน้า เป็นต้น 3. นิตยสารสมาคม ( Association Magazine) เป็นนิตยสารที่พิมพ์จาหน่ายโดย สมาคม สถาบัน หรือมูลนิธิต่างๆ มุ่งเสนอเนื้อหา เกี่ยวกับกิจกรรม ข่าวสารความเคลื่อนไหวของ สมาคม สถาบันหรือมูลนิธินั้นๆ ส่วนใหญ่เป็น เนื้อหาที่สมาชิกสนใจ เช่น แพทยสภา , วิศวกร สถาน, สมาคมสถาปนิกสยาม , สมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย , สมาคม คอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย , สมาคมชาวสวน มะม่วงไทย เป็นต้น 4. นิตยสารวิชาชีพ ( Professional Magazine) เป็นนิตยสารที่มีเนื้อหาเฉพาะด้าน แวดวงวิชาชีพเฉพาะด้าน เช่น วิชาชีพแพทย์ , พยาบาล, ครู, ทนายความ, วิศวกร, เกษตรกร เป็นต้น หรืออาจจัดเป็นวารสารทางวิชาการ (academic journal) 5. นิตยสารการประชาสัมพันธ์ (Public Relation Magazine) มีจุดประสงค์ที่จะมุ่ง นาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับองค์กร หน่วยงาน หรือ สินค้าและบริการ เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีและ ส่งเสริมภาพลักษณ์ขององค์กรและสินค้าหรือ บริการ ส่วนใหญ่นิตยสารประเภทนี้มักแจกฟรี มากกว่าจัดจาหน่ายให้ลูกค้าหรือสมาชิก จัดทาใน รูปแบบจดหมายข่าว ( newsletter) วารสาร

หน่วยงาน ( house journals) หรือนิตยสาร บริษัท (company magazine) เช่น นิตยสารน้า ก๊อกของการประปานครหลวง , นิตยสารฟีลกู๊ด (feel good) สาหรับลูกค้าของบริษัทดีแทค , นิตยสารสวัสดีของบริษัทการบินไทย ,นิตยสาร แอคชีฟ (Achieve) ของบริษัทแอมเวย์ เป็นต้น 6. นิตยสารของหนังสือพิมพ์ (Newspaper Magazine) เป็นนิตยสารที่แทรก อยู่ในหนังสือพิมพ์ เช่น นิตยสารซุกซนนิตยสาร ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ , นิตยสารเนชั่นสุด สัปดาห์นิตยสารของหนังสือพิมพ์เนชั่น , นิตยสาร กายใจนิตยสารของหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ เป็นต้น การเลือกซื้อพื้นที่โฆษณาในนิตยสาร การตัดใจเลือกซื้อพื้นที่โฆษณาใน นิตยสาร จะต้องคานึงถึงปัจจัยใน 5 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ต้นทุน (Cost) ต้นทุนการโฆษณาใน นิตยสารแตกต่างกันตามจานวนผู้อ่านที่นิตยสาร เข้าถึงและความสามารถในการเลือกสรร กลุ่มเป้าหมาย การโฆษณาในนิตยสารที่มีการ พิมพ์จาหน่ายจานวนมากจะมีต้นสูงมาก เช่น โฆษณาเต็มหน้าสี่สีในนิตยสารคู่สร้างคู่สม ปี 2013 มีราคา 200,000 บาท และตาแหน่งที่ได้รับ ความนิยมสูงคือ ปกหลังนอก มีราคา 300 ,000 บาท เป็นต้น โดยนิตยสารส่วนใหญ่จะเน้นไปที่ ประสิทธิภาพในการเข้าถึงกลุ่มผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม ต่อต้นทุนในการผลิต แต่บริษัทที่มีงบประมาณที่ จากัดจะคานึงถึงต้นทุนที่แท้จริงของพื้นที่โฆษณา ในนิตยสารและต้นทุนในการผลิตโฆษณาอย่าง รอบคอบ (ตวงลาภ เปี่ยมอยู่สุข , 2555)


239

2. ขนาดของโฆษณา/ตาแหน่งใน นิตยสาร พื้นที่โฆษณามักจะถูกขายตามพื้นฐาน ของหน่วยพื้นที่ เช่น เต็มหน้า ครึ่งหน้า และหนึ่ง ในสี่ของหน้า หรือนิตยสารบางฉบับจะกาหนด อัตราตามคอลัมน์นิ้ว โดยโฆษณายิ่งมีขนาดใหญ่ เท่าใดค่าใช้จ่ายยิ่งสูงขึ้นเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทที่เป็นผู้โฆษณาจานวนมากใช้การโฆษณา แบบเต็มหน้า เพราะสามารถดึงดูดความสนใจ และจานวนผู้อ่านได้มากกว่า เช่น การโฆษณา ผลิตภัณฑ์ข้าวไรซ์เบอร์รี่บรรจุถุงขนาดเต็มหน้าใน นิตยสารชีวจิต เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้รักสุขภาพ , การ โฆษณาผลิตภัณฑ์แอนลีนขนาดครึ่งหน้าใน นิตยสารรักลูก เพื่อเข้าถึงกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ โดย ตวงลาภ เปี่ยมอยู่สุข ได้ศึกษาการผลิตนิตยสาร และการซื้อพื้นที่โฆษณาเพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้า พบว่าโฆษณาแบบเต็มหน้าจะมีผู้อ่านมากกว่า โฆษณาแบบครึ่งหน้าถึง 30 % (ตวงลาภ เปี่ยมอยู่ สุข , 2555) 3. จานวนและความถี่ของการโฆษณา นิตยสารมักไม่มีประสิทธิภาพเทียบเท่าสื่ออื่นๆ ใน ด้านการเข้าถึงและความถี่ โดยสมาคมนิตยสาร แห่งประเทศไทยได้ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสื่อ นิตยสารและแนวโน้มผู้อ่านนิตยสาร พบว่าในหนึ่ง เดือน วัยผู้ใหญ่ประมาณ 70 % ในประเทศไทย อ่านนิตยสารสาหรับผู้บริโภคไม่เกินสองฉบับ ซึ่ง จะพบได้ว่าความถี่ในการเข้าถึงสื่อโฆษณาผ่าน นิตยสารมีน้อยมาก โดยบริษัทที่เป็นผู้โฆษณา จานวนมากพยายามสร้างความถี่ด้วยการซื้อพื้นที่ โฆษณาในนิตยสารหลายๆ ฉบับ หรือหลายๆ นิตยสาร เพื่อเป็นการกระตุ้นความถี่ของโฆษณา (ตวงลาภ เปี่ยมอยู่สุข , 2555)

4. รูปแบบการพิมพ์ที่เลือก (ตาม ภูมิศาสตร์หรือประชากรศาสตร์) เป็นการนาเสนอ โดยเลือกพิมพ์ตามความสนใจของผู้อ่าน เนื่องจาก นิตยสารจานวนมาก จะนาเสนอข้อมูลให้แก่ บริษัทที่เป็นผู้โฆษณาในด้านการเลือกสรรทั้งด้าน ภูมิศาสตร์และประชากรศาสตร์ การเลือกสรร ด้านประชากรศาสตร์( Demographic Selectivity) หรือความสามารถในการเข้าถึงกลุ่ม ประชากรศาสตร์โดยเฉพาะ สามารถทาได้สองวิธี คือ วิธีที่หนึ่ง นิตยสารส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่ กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะ ซึ่งอาศัยเนื้อหาใน นิตยสารเป็นหลัก เจาะเนื้อหาไปยังกลุ่มของผู้อ่าน ทั้งเพศหญิง เพศชาย วัยรุ่น ผู้สูงอายุ เป็นต้น วิธีที่ สอง คือใช้รูปแบบการพิมพ์ที่พิเศษ การตีพิมพ์ ด้วยรูปแบบที่แตกต่างกันเพื่อเจาะกลุ่มตลาดที่ แตกต่างกัน เช่น การพิมพ์สี่สี , การทาอักษรและ ภาพนูน เป็นต้น การเลือกสรรด้านภูมิศาสตร์ (Geographic Selectivity) คือการเปิดโอกาสให้ บริษัทที่เป็นผู้โฆษณามุ่งเน้นโฆษณาในเมือง หรือ ภูมิภาคหลักๆ โดยการใช้นิตยสารเจาะกลุ่มพื้นที่ เฉพาะ เปิดโอกาสให้บริษัทที่เป็นผู้โฆษณามี ทางเลือกในการเข้าถึงพื้นที่ที่ต้องการ เช่น นิตยสารTravel3sixty ของสายการบินไทยแอร์เอ เอเชีย, นิตยสารล่องใต้เป็นนิตยสารท่องเที่ยวของ ชาวใต้และคนไทยทุกภูมิภาค , นิตยสารทางอีศาน เป็นนิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไทย ทุกภูมิภาค เป็นต้น โดย (เทวินทร์ บุญศรี , 2550 อ้างในอา วิณ อินทรังษี ,2555) ได้ศึกษา พบว่าการตีพิมพ์ ตามกลุ่มประชากรศาสตร์และภูมิศาสตร์ บริษัทที่ เป็นผู้โฆษณาสามารถซื้อพื้นที่โฆษณาโดยสามารถ เข้าถึงพื้นที่เป้าหมายของตนได้ และยังได้


240

ภาพลักษณ์ที่ดีแก่บริษัทผู้โฆษณาอีกด้วย ซึ่งการ ตีพิมพ์ในรูปแบบตามภูมิศาสตร์หรือ ประชากรศาสตร์จะช่วยลดต้นทุนในการโฆษณา และสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตามที่ต้องการได้ (อาวิณ อินทรังษี , 2555) 5. อัตราค่าโฆษณา ( Advertising Rate) สาหรับนิตยสารอาจจะแตกต่างกันตาม ช่วงเวลาที่ซื้อสื่อ และจานวนเงินที่จ่ายไปในแต่ละ ช่วงเวลา บริษัทที่เป็นผู้โฆษณาที่ทาสัญญาซื้อสื่อ บ่อยครั้งมากกว่า มักจะมีค่าใช้จ่ายต่ากว่าและ ได้รับส่วนลดโดยคิดจากปริมาณจานวนรวมของ สื่อที่ซื้อภายในปีที่ทาสัญญาตามจานวนเงิน ทาให้ บริษัทที่เป็นผู้โฆษณาสามารถประหยัดเงินจาก การซื้อโฆษณาในนิตยสารได้ ซึ่งราคาการซื้อพื้นที่ โฆษณาในนิตยสารสามารถศึกษาได้จาก ตัวอย่าง อัตราค่าโฆษณาของนิตยสารในประเทศไทยในปี 2557 เช่น อัตราค่าโฆษณาของนิตยสารไลฟ์ แอนด์โฮม (Life and Home) เป็นนิตยสารบ้าน และการตกแต่งรายเดือน สองภาษา (ไทย – อังกฤษ) ที่ได้รับความนิยมสูงสุดจากผู้อ่านทั่ว ประเทศนานกว่า 20 ปี วางตลาดทุกวันที่ 1 ของ เดือน อัตราค่าโฆษณาประจาปี 2557 ปกหลังนอก 150,000 บาท ปกหลังใน 90,000 บาท หน้า 3,5,7,9 (ขวา) 110,000 บาท หน้า 2,4,6,8,10 (ซ้าย) 95,000 บาท ตรงข้ามสารบัญ 1,2 85,000 บาท ตรงข้ามโต๊ะบก. และทีมงาน 85,000 บาท ตรงข้าม Moment & Trend 85,000 บาท หน้าทั่วไป 70,000 บาท **ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %

ที่มา : www.thailandmagazinedirectory.com

และอัตราค่าโฆษณาของนิตยสารคู่สร้างคู่สม นิตยสารรายปักษ์ วางตลาดทุกวันที่ 1 , 10, 20 ของทุกเดือน เป็นนิตยสารที่มุ่งส่งเสริมชีวิต ครอบครัวและสังคม อัตราค่าโฆษณาประจาปี 2557 ปกหน้าใน 177,000 บาท ปกหลังนอก 220,000 บาท ขนาดเต็มหน้าบรู๊ฟสี่สีหน้า 3 163,000 บาท ขนาดเต็มหน้าบรู๊ฟสี่สีหน้า 4,5,6 151,000 บาท บรู๊ฟสี่สีซ้าย (เต็มหน้า) 123,000 บาท บรู๊ฟสี่สีซ้ายพิเศษ (เต็มหน้า 135,000 บาท 30,58,86) บรู๊ฟสี่สีขวา (เต็มหน้า) 135,000 บาท ขาวดา (เต็มหน้า) 82,000 บาท Strip ad ขาวดาใต้คอลัมน์คู่สม 45,000 บาท กับราศี (ไม่มีส่วนลด) DISCOUNT (ยกเว้นตาแหน่ง ทุกอัตราลด 15% Strip ad)

ที่มา : www.thailandmagazinedirectory.com ทั้งนี้ โฆษณาสามารถผลิตหรือโฆษณา โดยใช้ภาพขาวดา หรือใช้ภาพข่าวดาร่วมกับสี หนึ่งสี หรือใช้ภาพสี่สี ยิ่งใช้สีในโฆษณามากขึ้น เท่าใด ค่าใช้จ่ายจะยิ่งสูงขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของต้นทุนการพิมพ์ โดยเฉลี่ยโฆษณาสี่สีจะต้นทุน สูงกว่าโฆษณาขาวดา 30 % บริษัทที่เป็นผู้โฆษณา มักชอบโฆษณาด้วยภาพสี เพราะสามารถทาให้ เกิดการมองเห็นที่มากกว่า และสามารถดึงดูด ความสนใจได้ดีกว่า (ขวัญตา ปางสี , 2557) สรุป นิตยสารมีบทบาทที่สาคัญมากต่อการ เป็นสื่อโฆษณา เพราะเป็นสื่อที่สามารถเลือกสรร สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและตลาดเฉพาะได้ ประเภทของนิตยสารมี หกประเภท ซึ่งนิตยสาร แต่ละประเภทสามารถจัดเนื้อหาและสร้างสิ่ง


241

ดึงดูดความสนใจจากผู้อ่านได้ การเลือกซื้อพื้นที่ โฆษณาในนิตยสารแต่ละประเภท จะต้องคานึงถึง ปัจจัยในหลายๆ ด้านไม่ว่าจะเป็น ต้นทุนในการ ผลิตนิตยสาร ต้นทุนในการโฆษณา ขนาดของ โฆษณา ตาแหน่งของโฆษณาในนิตยสาร รูปแบบ การพิมพ์ทั้งด้านประชากรศาสตร์หรือด้าน ภูมิศาสตร์ จานวนความถี่ของการโฆษณา และ อัตราค่าโฆษณา ซึ่งการเลือกซื้อพื้นที่โฆษณาใน นิตยสารจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องมีการตัดสินใจ อย่างรอบคอบ เพื่อประสิทธิภาพให้การเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการและผลประโยชน์ที่ได้รับ จากการลงทุนซื้อพื้นที่โฆษณาในแต่ละครั้ง บทบรรณานุกรม กมล ชัยวัฒน์. 2557. การส่งเสริมการตลาด. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล. ขวัญตา ปางสี. 2557. อัตราค่าโฆษณาของ นิตยสารไทย. [ออนไลน์] สืบค้นจาก : http://www.thailandmagazinedirec tory.com/images./co.2455fgihk01c. [7 พฤศจิกายน 2557]

บรูพา. คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคม ศาสตร์. พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน. 2542. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด. ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. 2547. การโฆษณา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ท็อป จากัด. สมาคมนิตยสารแห่งประเทศไทย. 2557. พฤติกรรมการบริโภคสื่อนิตยสารและ แนวโน้มผู้อ่านนิตยสารในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ เสรี วงษ์มณฑา. 2540. การโฆษณาเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพฯ

: บริษัท A.N. การพิมพ์.

อาวิณ อินทรังษี. 2555. การกาหนดสื่อแฝง ในนิตยสาร. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัย ศิลปากร. คณะมัณฑนศิลป์

ดรุณี หิรัญรักษ์. 2530. นิตยสาร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ตวงลาภ เปี่ยมอยู่สุข. 2555. การผลิตนิตยสาร และการซื้อพื้นที่โฆษณาเพื่อเข้าถึงกลุ่ม ลูกค้า. ปริญญานิพนธ์. มหาวิทยาลัย

นางสาวตวงมาศ ทองคุปต์ 54040752 นิเทศศาสตร์เกษตรปี 4


242

การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดนครราชสีมา บทนา “การท่องเที่ยวเชิงเกษตร” เป็นรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวที่น่าสนใจ และได้รวบรวมวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี การประกอบอาชีพของเกษตรกร และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มาผสมผสาน ด้วยระบบการบริหารการจัด ทรัพยากรที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชน จึงก่อให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรขึ้น ซึ่งปัจจุบันนั้นการเติบโตของ ระบบสื่อสารมีไปอย่างกว้างไกล และครอบคลุมทุกพื้นที่ ทาให้การสื่อสารจากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ จาเป็นต้องอยู่ในที่เดียวกัน หรือในเหตุการณ์เดียวกัน ดังนั้นการท่องเที่ยวเชิงเกษตรจึงจาเป็น ต้องพึ่งการโฆษณาและ การประชาสั มพัน ธ์ที่ดี เพื่อให้ การท่องเที่ย วนั้ นมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น และนาไปสู่ การพัฒ นาให้ เป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่มีคุณภาพต่อไป การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในปัจจุบันการท่องเที่ยวคือการเดินทางเพื่อพักผ่อนหย่อนใจหรือเพื่อความสนุกสนานตื่นเต้นหรือเพื่อหา ความรู้ แต่เมื่อการท่องเที่ยวนั้นรวมเข้ากับการเกษตร จึงเกิดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรขึ้น ซึ่งการท่องเที่ยวเชิงเกษตร นั้นคือการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นทางด้านการเรียนรู้วิถีเกษตรกรรมของชาวชนบท โดยเน้นการมีส่วนร่วมของนักท่องเที่ยว ในการดาเนินกิจกรรมให้เกิดการเรียนรู้ด้านการเกษตรและวิถีการดารงชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเป็นการนาเอา ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดการเรียนรู้มาทาให้เกิดประโยชน์ก่อให้เกิดรายได้ต่อชุมชน และตัวเกษตรกร การท่องเที่ยวเชิง เกษตร จะเป็ น การอนุ รั กษ์ค วบคู่ไปกับ การท่อ งเที่ยวเพื่ อไม่ ให้ เกิ ดผลกระทบต่อ ชุมชนและผลกระทบต่ อสภาพ สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) จึงเล็งเห็นความสาคัญและประสงค์ให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้วิถีชีวิต การเกษตรที่จะนาไปสู่ความยั่งยืนทั้งมิติเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป ให้นักท่องเที่ยวเกิดความ เพลิดเพลินและได้ศึกษาหาความรู้ทั้งในเชิงวิชาการและประสบการณ์ใหม่ๆอันเกี่ยวข้องกับการเกษตร เช่น การศึกษา วัฒนธรรมการเกษตร วิถีชีวิตของชุมชนการเกษตร การเรียนรู้ขั้นตอนการเกษตร การสาธิตการประกอบอาชีพทางการ เกษตร ให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม มีการฝึกอบรมให้ความรู้ทางการเกษตรและภูมิปัญญาชาวบ้าน การชื่นชมความงามในแหล่งเกษตรกรรม รวมไปถึงการซื้อสินค้าและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ทั้งหมดนี้นักท่องเที่ยว จะได้รับความรู้และความเข้าใจ บนพื้นฐานความรับผิดชอบและความมีจิตสานึกต่อการรักษาสภาพแวดล้อมของ สถานที่นั้น ปัจจุบันประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีศักยภาพอยู่เป็นจานวนมาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศ ไทยจึงได้คัดสรรแหล่งการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีศักยภาพของจังหวัดนครราชสีมา เพื่อเป็นฐานข้อมูลการท่องเที่ยว เชิงเกษตร และเป็นทางเลือกใหม่แก่นักท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีจานวน 2 แหล่ง คือ 1.) สวนลุงไกรและ 2.) สวนลุงโชค ซึ่งสอดคล้องนโยบายด้านการพัฒนาการเกษตรของจังหวัดนครราชสีมา “ศูนย์กลางการพัฒนาเศรษฐกิจ การผลิต สินค้าเกษตร และการท่องเที่ยว”(การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2557) กรณีศึกษาที่1 : สวนของลุงไกร การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสวนของลุงไกร ชมน้อย นั้นเริ่มจากอดีตการเป็นช่างเทคนิคที่เดินทางไปทางานต่าง แดนมาครึ่งค่อนโลก ได้กลับมาพัฒนาผืนแผ่นดินเกิดให้เกิดเป็นมูลค่า จากการเรียนรู้วิธีคิดแบบการจัดการอย่างยั่งยืน ลุงไกรจึงเริ่มต้นระบบสวนเกษตรอินทรีย์ที่ปลูกผักสลัดเมืองหนาวแบบปลอดสารเคมีร้อยเปอร์เซ็นต์ เป็นเจ้าแรกในวัง น้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งประสบความสาเร็จและอยู่ได้อย่างยั่งยืน จนใครๆ ต่างก็ขนานนามคุณลุงว่า ‘ปราชญ์ เดินดิน’ ซึ่งสมัยก่อนนั้นลุงไกรยังคงปลูกข้าวโพด และพืชเชิงเดี่ยวอื่นๆ ที่มีผลทาให้ดินเสื่อมคุณภาพ ลุงไกรจึงหันมา


243

ศึกษาและทดลองการปลูกผักสลัดเมืองหนาว ซึ่งปัจจุบันได้กลายเป็นสินค้าที่ต้องการของท้องตลาดอย่างมาก ผักสลัด ที่ลุงไกรหยอดเมล็ดลงไปนั้นเปี่ยมด้วยความเข้าใจ แต่ไม่ใช่เข้าใจเพียงผักสลัด แต่ทว่ายังเข้าใจถึงเพื่อนร่วมโลกที่ แวดล้อมอยู่รอบๆ “นกกระจิบและนกกระจอกมาช่วยดูแลกินวัชพืช กินแมลง กินหนอน แม้แต่ลม ก็ยังช่วยพัดแมลง ออกไป แม้แมลงจะกินผัก แต่ก็กินจุลินทรีย์ไปด้วย”,“ผักมีตั้งหลายแปลง ก็แบ่งๆ ให้แมลงกินบ้างไม่เห็นเป็นไร แมลง ทุกชนิดไม่ได้มาทุกฤดูและไม่ได้กินผักสลัดทุกชนิด เราเลือกผักมาปลูกในฤดูที่แมลงชนิดนั้นๆ ไม่ชอบ ไม่ต้องทาร้ายกัน ด้วยเคมี” ลุงไกรเล่าถึงกระบวนการเกษตรที่อยู่ร่วมกันกับระบบนิเวศอย่างสันติและกลมกลืน เพราะมนุษย์ไม่ใช่ เจ้าของโลกใบนี้ แต่เราเป็น “ผู้อาศัย” ร่วมกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อีกทั้งลุงไกรยังศึกษาและสารวจความต้องการของตลาด อยู่เสมอ หากมีผักชนิดใดที่กาลังเป็นที่นิยมสูงในท้องตลาด ลุงไกรจะหันไปศึกษาผักชนิดใหม่อื่นๆ เพื่อไม่ให้ซ้ากับ ตลาดนั้นและจาหน่ายผักชนิดใหม่ในฐานะผู้นาตลาดคนหนึ่ง ซึ่งนอกเหนือจากในฐานะที่เป็นเกษตรกรแล้ว ลุงไกรยัง จัดการให้สวนเป็นศูนย์กลางการจาหน่ายผักผลไม้จากเกษตรกรท้องถิ่นในราคายุติธรรมต่อผู้ปลูกและผู้ซื้ออีกด้วย ผัก สดๆ ของที่นี่ถูกส่งไปยังบริษัทและร้านอาหารขนาดใหญ่ทั่วประเทศไทย ทั้งผักกาดแก้ว ครอส เรดโอ๊ก กรีนโอ๊ก บัต เตอร์เฮด สลัดใบแดง หัวบีทรูท มะเขือเทศราชินี และผักอีกนานาชนิด ยุคเริ่มแรกที่ลุงไกรปลูกสลัด คนในแถบอีสาน ไม่รับประทานผักของลุงไกรเลยกลับกลายเป็นคนกรุงเทพฯที่ให้ความสนใจกันมาก เพราะคนอีสานกลัว “ผิดกระบูน” หรือกลัวแสลงนั่น เอง เพราะผักสลัดเมืองหนาวเป็นผักชนิดใหม่ที่ยังไม่เคยลอง ลุงไกรเล่นกีตาร์ร้องเพลงให้ผักฟัง ควบคู่กันไป คุณลุงเชื่อว่าเป็นอีกปัจจัยที่ทาให้ผักโตและงามดี คุณลุงจึงได้รับขนามนามอีกชื่อว่า “ปราชญ์ศิลปิน ” ความพิเศษของสวนลุงไกรคือ ไม่ใช่แค่ปลูกเป็น แต่ต้องเข้าใจธรรมชาติของผักและปัจจัยแวดล้อมต่างๆ เมื่อเข้าใจแล้ว ก็จะไม่มีความจาเป็นที่ต้องใช้ยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีใดๆ ทั้งสิ้น ซึ่งลุงไกรไม่ได้คิดค่าใช้จ่ายใดๆในการมาเรียนรู้ กรณีศึกษาที่2 : สวนของลุงโชค การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสวนลุงโชค หรือ โชคดี ปรโลกานนท์ สวนของลุงโชคนั้นได้เริ่มจากความล้มเหลวใน การทาพืชไร่ที่ปลูกจาหน่ายเพื่อการเกษตร จึงหันมาปลูกเพื่อบริโภคเอง พลิกความล้มเหลวที่เกือบถึงขั้นล้มละลาย ใช้ เวลาตรึกตรองคิดถึงสาเหตุแห่งความจริงของชีวิต “เงินทองคือมายา ข้าวปลาคือของจริง” ข้อคิดที่ถูกพิสูจน์หลังจาก เหตุการณ์นั้น ด้วยความรู้ที่มีอยู่เดิมจากการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ลุงโชคจึงนาความรู้ด้าน วนเกษตรเกี่ยวกับไม้หลายระดับทั้งไม้ชั้นบน ชั้นกลาง ชั้นล่าง และเหง้าไม้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยหากใครได้ก้าว เข้ามายังสวนลุงโชค ตั้งอยู่บริเวณเขาแผงม้า อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา จะเห็นสวนไผ่ที่เรียงรายอยู่อย่าง เป็นระเบียบ นั่นไม่ใช่เพื่อความสวยงามแต่เพื่อยึดหน้าดินและกันลมที่อาจทาให้เกิดไฟปุาขึ้น และเนื่องจากบริเวณเขา แผงม้าแห่งนี้ มีการถางปุาเพื่อทาไร่เลื่อนลอยเป็นจานวนมากลุงโชคจึงเป็น แกนนา ในการฟื้นฟูปุาวังน้าเขียวและเขา แผงม้าให้กลับมาอุดมสมบรูณ์ จนกลายเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของฝูงกระทิง จวบจนปัจจุบัน นอกจากลุงโชคจะเป็นนัก ฟื้นฟูตัวจริงแล้ว ยังเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยว เยาวชน และบุคคลทั่วไปที่รักธรรมชาติเข้ามาสัมผัส แลกเปลี่ยน และ ศึกษาดูงานในเรื่องการเกษตรที่สอดคล้องกับแนวคิดการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน พื้นที่ภายในสวนถูกแบ่งเพื่อการ เรียนรู้ออกเป็นส่วนต่างๆ คือ อาคารเรียนรู้ แหล่งน้าจากบ่อเก็บกักน้า บ่อเลี้ยงปลา แปลงนา สวนผลไม้ผสมผสาน สวนสมุนไพร แปลงปลูกไม้ประดับและเพาะขยายพันธุ์ แปลงปลูกไม้ปุา และยังมีกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องไม้ไผ่ ไม้ใช้ สอย ระบบวนเกษตร เรียนรู้สีธรรมชาติผ่านกิจกรรมทาผ้ามัดย้อม เรียนรู้การนาสมุนไพรมาทาลูกประคบ เรียนรู้การ เพาะเห็ด และการผลิตก้อนเห็ดเป็นต้น ซึ่งภายในสวนของลุงโชคนั้นนักท่องเที่ยวสามารถเดินเที่ยวศึกษาหาความรู้เอง ได้ผ่าน 8 สถานี ที่ให้ข้อคิดและความรู้เกี่ยวกับระบบวนเกษตรและให้เข้าใจถึงวิถีธรรมชาติอย่างแท้จริง อาทิเช่น เรื่อง ดิน เรื่องปุา เรื่องน้า เรื่องการแปรรูปผลผลิตจากพรรณไม้ เรื่องการจัดสมดุลของพรรณไม้แบบวนเกษตร เรื่องวิถีชีวิต แบบชาวนา เรื่องคุณค่าของพลังงาน และเรื่องสุขภาพ เป็นต้น


244

การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดนครราชสีมา การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์เป็นกิจกรรมสื่อสารมวลชนที่เกิดขึ้น เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภค มีพฤติกรรมอัน เอื้อ อานวยต่อความเจริญของธุรกิจ การขายสินค้าหรือบริการ โดยอาศัยจากเหตุผล ซึ่งมีทั้งกลยุทธ์ จริงและเหตุผล สมมติ การกระทาทั้งสิ้น ทั้งหลาย ทั้งปวง ที่เกิดจากการวางแผนล่วงหน้า ในการที่จะสร้างความเข้าใจกับ สาธารณชน ที่เกี่ยวข้องเพื่อก่อให้เกิดทัศนคติที่ดี ภาพพจน์ที่ดี อันจะนาไปสู่สัมพันธภาพที่ดีระหว่างหน่วยงานและสาธารณชนที่ เกี่ยวข้อง ก่อให้เกิดการสนับสนุนและความร่วมมือกันเป็นอย่างดี(เสรี วงษ์มณฑา, 2557) เนื่องจากการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของจังหวัดนครราชสีมานั้นจะไม่เป็นที่นิยม และจะไม่เป็นที่รู้จักกันอย่าง แพร่หลายเลยหากขาดการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ที่ดี ซึ่งการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ที่ดีนั้นจึงกลายมา เป็นตัวแปรหลักสาคัญโดยผ่านสื่อต่างๆ ที่จะเป็นตัวชักจูงผู้คนต่างๆ มากมายให้ได้รู้จัก และเกิดความน่าสนใจที่จะมา ท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา ดังนั้นการท่องเที่ยวต่างๆจึงได้มีการใช้สื่อโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ที่ แตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสม เพื่อให้สถานที่นั้นๆมีความน่าสนใจมากขึ้น ดังเช่นสวนของลุงไกร ได้มีการใช้ สื่อโฆษณาและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรของตนดังนี้คือ 1. ปูายประชาสัมพันธ์ - ปูายประชาสัมพันธ์อาหารสวนลุงไกร (ภาพที่ 1) เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การบริการอาหารในสวนลุงไกร

ภาพที่ 1 ปูายประชาสัมพันธ์อาหารสวนลุงไกร (แหล่งที่มา : https://www.facebook.com/Wangnamkeawvillage)

2. สื่อโซเชียล Social Network - www.agoda.com ในชื่อว่า “วังน้าเขียว วิลเลจ(สวนลุงไกร)” (ภาพที่ 2) เพื่อใช้ในระบบการจองที่พัก มี ภาษาให้เลือกอ่าน 36 ภาษา

ภาพที่ 2 agoda สวนลุงไกร (แหล่งที่มา : http://www.agoda.com/th-th/wangnamkeaw-village-suan-lung-kai/hotel/khao-yai-th.html)

- facebook ชื่อ “วังน้าเขียว วิลเลจ สวนลุงไกร” หรือ www.facebook.com/Wangnamkeawvillage (ภาพที่ 3) เพื่อเป็นศูนย์กลางของข้อมูลและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสวนลุงไกร


245

ภาพที่ 3 facebook สวนลุงไกร (แหล่งที่มา : https://www.facebook.com/Wangnamkeawvillage)

และการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรของสวนลุงโชคมีดังนี้ 1. ปูายประชาสัมพันธ์ - ปูายประชาสัมพันธ์เชิญชวนการเข้าค่ายสวนลุงโชค (ภาพที่ 4)

ภาพที่ 4 ปูายประชาสัมพันธ์เชิญชวนการเข้าค่ายสวนลุงโชค (แหล่งที่มา : https://th-th.facebook.com/GruopConserve)

- ปูายประชาสัมพันธ์ต้อนรับนักท่องเที่ยวสวนลุงโชค (ภาพที่ 5)

ภาพที่ 5 ปูายประชาสัมพันธ์ต้อนรับนักท่องเที่ยวสวนลุงโชค (แหล่งที่มา : https://th-th.facebook.com/GruopConserve)

- ปูายประชาสัมพันธ์แนะนานักท่องเที่ยวสวนลุงโชค (ภาพที่ 6) เพื่อแนะนากิจกรรมที่น่าสนใจ อาทิเช่น เรื่อง ดิน เรื่องปุา เรื่องน้า เรื่องการแปรรูปผลผลิตจากพรรณไม้ เรื่องการจัดสมดุลของพรรณไม้แบบวนเกษตร เรื่องวิถีชีวิต แบบชาวนา เรื่องคุณค่าของพลังงาน และเรื่องสุขภาพ เป็นต้น


246

ภาพที่ 6 ปูายประชาสัมพันธ์แนะนานักท่องเที่ยวสวนลุงโชค (แหล่งที่มา : https://th-th.facebook.com/GruopConserve)

2. สื่อโซเชียล Social Network - facebook ชื่ อ “มู ล นิ ธิ เ กษตรเพื่ อ การพึ่ ง ตนเองและสิ่ ง แวดล้ อ มท้ อ งถิ่ น -สวนลุ ง โชค” หรื อ www.facebook.com/Loongchoke (ภาพที่ 7) เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมค่ายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในสวน ลุงโชค

ภาพที่ 7 facebook สวนลุงโชค (แหล่งที่มา : https://th-th.facebook.com/GruopConserve)

- www.thailandoutdoor.com สวนลุงโชค วังน้าเขียว (ภาพที่ 8) เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์บรรยากาศใน การจัดกิจกรรมค่ายต่างๆ

ภาพที่ 8 ThailandOutdoor Park & Camp สวนลุงโชค

(แหล่งที่มา : www.thailandoutdoor.com/camp/Camp/Wangnamkeaw.html) การโฆษณาและการประชาสั ม พั น ธ์ก ารท่ องเที่ ย วเชิ ง เกษตรทั้ง ของลุ ง ไกรและลุ งโชคนั้ น ได้ ใ ช้ สื่ อ ปู า ย ประชาสัมพันธ์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งได้มีการสอดคล้องกับงานวิจัยของสมลักษณ์ พงษ์นาค(2552) ที่ชี้ว่านักท่องเที่ยวเมือง นครราชสีมามีความสนใจในสื่อปูายประชาสัมพันธ์มาก และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของธนาคาร ฉายชูผล(2552) ที่ ได้มีการวิจัยถึงภาพรวมความเห็นจากการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ด้านสื่อประเภท ปูายประชาสัมพันธ์พบว่า ภาพต้องมีความสวยงามและจัดวางในตาแหน่งของภาพที่น่าสนใจ ขนาดของภาพและ


247

ตัวหนังสือต้องมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและเหมาะสมกับระยะการอ่านไม่ใหญ่ไม่เล็กจนเกินไป รูปแบบตัวอักษรต้อง ชัดเจนและอ่านง่าย การใช้สีในการออกแบบสื่อโทนสีที่ใช้ต้องสอดคล้องและผสมผสานอย่างกลมกลืนกับองค์ประกอบ อื่นๆ ด้านการจัดวางองค์ประกอบสอดคล้องกับทิศทางการอ่านโดยลาดับความสาคัญขององค์ประกอบจากมากไปหา น้อย บทสรุป โดยรวมแล้วเราจะเห็นได้ว่าการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้นนอกจากจะเป็นการท่องเที่ยวที่ได้สัมผัสกับธรรมชาติ ได้สัมผัสกับวิถีชีวิต ของชุมชนแล้ว ยังเป็นการท่องเที่ยวที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของประเทศไทย นับว่าเป็นการ ท่องเที่ยวที่ปลูกจิตสานึกให้กับนักท่องเที่ยว และยังเป็นการกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวเข้าใจ เข้าถึงความเป็นเกษตรได้ดี ยิ่งขึ้น ซึ่งสถานที่ท่องเที่ยวนั้น จะเป็นเพียงสถานที่ที่หนึ่งเท่านั้น หากคนหมู่มากไม่ทราบว่ามีสถานที่นั้นๆ อยู่จริง โดย ขาดการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ที่ดี ดังนั้นการสื่อสารที่ดีที่สุด ที่จะทาให้สถานที่หนึ่งกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ที่น่าสนใจ นั่นคือการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ ซึ่งวิธีในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์นั้นมีหลากหลายวิธีแต่ วิธีที่ได้รับความนิยมมากคือสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทสื่อปูายประชาสัมพันธ์ และสื่อโซเชียล เพราะสื่อที่กล่าวมานั้นมีความ ครอบคลุม รวดเร็วและทั่วถึง แต่การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์นั้นไม่ได้ทาให้สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรน่าสนใจ เพียงอย่างเดียว แต่ยังช่วยทาให้เกิดการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้นต่อไป อ้างอิง (References) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. 2557. ท่องเที่ยวเชิงเกษตรสีเขียว. [Online]. Available : https://7greens.tourismthailand.org/images/download/files/th/12.pdf [14/11/57]. สมลักษณ์ พงษ์นาค. 2552. “โครงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา”. ศิลปะ นิ พ นธ์ ป ริ ญ ญากรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต วิ ช าออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. เสรี วงษ์มณฑา. 2557. การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์. [Online]. Available : http://sumintra5555.blogspot.com/ [27/11/57]. ธนาคาร ฉายชูผล. 2552. “โครงการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา”.ศิลปนิพนธ์ ปริญญากรรมศาสตรบัณฑิต วิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.


248

การสื่อสารในการสร้างเครือข่าย ปอเต็กตึ๊ง

ภาพที่ 1 ที่ทำกำรมูลนิธิปอเต็กตึ้ง (แหล่งที่มา : http://pohtecktung.org/index.php?option=com _content&view=article&id=131&Itemid=133) บทนา สังคมในปัจจุบันแม้เรำจะมองว่ำนี่คือยุคของโลกโลกำภิวัตน์ ยุคที่เจริญไปด้วยเทคโนโลยี วัตถุต่ำงๆ มำกมำยที่สร้ำงขึ้นมำเพื่อสำนวยควำมสะดวกแก่ผู้คนแต่เหมือนว่ำเมื่อได้รับควำมสะดวกสบำยที่มำกเกินไปทำ ให้หลงลืมหรือไม่ได้ทำตัวให้พัฒนำตำมโลกปัจจุบัน ประมำท ขำดสติ กำรยับยั้งชั่งใจ อีกมำกมำยที่ส่งผลให้เกิด กำรสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต แม้ว่ำจะมีเทคโนโลยีที่นำสมัยแต่ก็ไม่สำมำรถลดกำรเกิดอุบัติเหตุลงได้จึงมีคน หลำยกลุ่มมำกมำยที่รวมตัวกันเพื่อช่วยบรรเทำสำธำรณภัยต่ำงๆแล้วที่เรำได้ยินกันอยู่บ่อ ยนั่นคือ อำสำมูลนิธิ ปอเต็กตึ๊ง และเป็นที่ยอมรับต่อสำธำรณชน ว่ำเป็นองค์กำรกุศลชั้นนำ ครอบคลุมวงจรชีวิตทั้ง เกิด แก่ เจ็บ ตำย นั้น เรำมีอุดมกำรณ์โดยยึดถือสัญลักษณ์ที่อ่ำนว่ำ “เสียง” เป็นหลัก คำนี้แปลได้หลำยอย่ำง ควำมเก่งกล้ำ ก็ ไ ด้ ควำมช ำนำญเชี่ ย วชำญก็ ไ ด้ ควำมคุ้ น เคยก็ ไ ด้ ใจดี ก็ เ รี ย ก “เซี ย งซิ ม ” แต่ เ อำอย่ ำ งตรงตั ว ง่ำยๆ “เสียง” ก็คือ “ทำบุญกุศล” หน่วยงานอาสามูลนิธปิ อเต็กตึ๊ง ปัจจุบันนี้ กำรบำเพ็ญกุศลสำธำรณประโยชน์ต่ำงๆ ตำมวัตถุประสงค์ของมูลนิธิฯ ได้ขยำยขอบข่ำย งำนไปอย่ำงกว้ำงขวำงทั่วประเทศ ทำให้มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง เป็นองค์กรกำรกุศล สัง คมสงเครำะห์ขนำดใหญ่มี ผลงำนกำรช่วยเหลือบรรเทำทุกข์เอื้ออำนวยประโยชน์ สุขแก่เพื่อนมนุษย์ผู้ตกทุกข์ได้ยำกจำกภัยพิบัติต่ำงๆ อย่ำงครบวงจรชีวิต คือ เกิด แก่ เจ็บ และกำรตำย โดยไม่จำกัดชั้น วรรณะ เชื้อชำติ ศำสนำ เพศ และวัย เป็น ที่ป ระจั ก ษ์ ชื่น ชมจำกจำกผู้ มี กุ ศ ลจิ ตทั้ ง หลำยทั้ ง ในและนอกประเทศโดย เฉพำะอย่ ำ งยิ่ ง นอกจำกจะมี โรงพยำบำลหัวเฉี ยวซึ่งเป็นโรงพยำบำลทั่วไปที่ทันสมั ยตำมมำตรฐำน ขนำดใหญ่ สูง 22 ชั้น ที่สำมำรถ ช่วยเหลือรักษำพยำบำลผู้ป่วยทุกสำขำโรคเพื่อ ให้กำรสงเครำะห์ส่งเสริมกำรศึกษำอันเป็นปัจจัยสำคัญในกำร พัฒนำคุณภำพชีวิต ของคนในชำติ ให้มีประสิทธิผลและกว้ำงขวำงมำกขึ้น มูลนิธิฯ ได้ปรับปรุงขยำยวิทยำลัย หัวเฉียวให้เป็นมหำวิทยำลัย โดยได้รับพระมหำกรุณำธิคุณจำกพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯ ทรงโปรดเกล้ำฯ พระรำชทำนชื่อให้ว่ำ “มหำวิทยำลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” (จิระศักดิ์ ติ๊บอ้ำย/2553)


249

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นการประเมินสถานการณ์ ในระยะแรกเรียกกันว่ำ หน่วยกู้ภัย ซึ่งยังติดปำกกันถึงทุกวันนี้แม้จะเปลี่ยนชื่อมำแล้วนำนแสน นำน ไม่ เว้นแม้แต่เจ้ำหน้ำที่บ้ำนเมือง ทั้งเจ้ำพนักงำนตำรวจทหำร หรือ เจ้ำหน้ำที่กรมป้องกันและบรรเทำสำ ธำรณภัยไม่ว่ำจะเรียกขำนในนำมใดหน้ำที่ของ พวกเขำก็คงเดิมกล่ำวคือ 1.ตรวจดูสภำพแวดล้อมที่เกิดเหตุว่ำมีควำมปลอดภัยหรือไม่ ถ้ำไม่ ปลอดภัย ไม่ควรเสี่ยงอันตรำยเข้ำ ไปช่วยเหลือ 2.แจ้งเหตุ/ขอควำมช่วยเหลือหน่วยงำนที่ชำนำญเฉพำะโดยให้กำร ข้อมูล -มีเหตุกำรณ์อะไรเกิดขึ้น/สถำนกำรณ์เป็นอย่ำงไร -สถำนที่เกิดเหตุ -จำนวนผู้บำดเจ็บ/สภำพผู้บำดเจ็บ -ชื่อผู้แจ้งเบอร์โทรศัพท์ติดต่อกลับ เพื่อสอบถำมข้อมูลเพิ่มเติม ภาพที่ 2 รถพยำบำลช่วยชีวิตขั้นสูง 3.ประเมินควำมรุนแรงของกำรบำดเจ็บ โดยตรวจ (อ้างอิง : ธงชัย นกอยู่/2557) -ระดับควำมรู้สึกตัว (รู้สึกตัวดี / ซึม / รู้สึกตัวบ้ำง ไม่รู้สึกตัว บ้ำง) -ทำงเดินหำยใจและกำรหำยใจ ลักษณะและอัตรำกำรหำยใน -ชีพจร ลักษณะกำรเต้น และจำนวนครั้ง -กำรบำดเจ็บ (กระดูกหัก บำดแผล ฯลฯ) หรือกำรเจ็บป่วยอื่นที่ ดำเนินอยู่ 4.ให้กำรปฐมพยำบำล ภาพที่ 3 ศูนย์วิทยุกรุงเทพฯ -กำรช่วยฟื้นคืนชีพชั้นพื้นฐำน (อ้างอิง : ธงชัย นกอยู่/2556) -กำรห้ำมเลือด/กำรทำแผล -กำรเคลื่อนย้ำย/กำรนำส่งโรงพยำบำล กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น มีควำมสำคัญอย่ำงยิ่งต่อกำรรักษำชีวิตผู้ป่วยหรือผู้บำดเจ็บ 5.ก ำร น ำผู้ บ ำด เจ็ บ ณ ที่ เ กิ ด เ หตุ ส่ ง สถำน พ ยำบำลเพื่ อ เ ยี ย ว ยำช่ ว ยชี วิ ต มี บุ ค ลำก ร และ อุ ป กรณ์ พร้ อ ม สำมำรถด ำเนิ น กำรช่ ว ยชี วิ ต ณ จุด เกิ ด เหตุ หรื อ น ำส่ ง โรงพยำบำล ซึ่ ง มู ล นิ ธิ ฯ มี ทั้ง รถพยำบำลช่วยชีวิตขั้นสูง (รถAdvance) ในนำมหัวเฉียวพิทักษ์ชีพประจำที่โรงพยำบำลหัวเฉียว และ กู้ชีพ ขั้นพื้ นฐำน (รถ Basic) ในนำม ป่ อเต็กตึ๊ ง พิ ทักษ์ ชีพ ขึ้น กับแผนกบรรเทำสำธำรณภัย ฯ (จิ ระศั กดิ์ ติ๊ บ อ้ำย/2553) การสื่อสารเพื่อการสร้างเครือข่าย กำรสื่อสำรเพื่อกำรสร้ำงเครือข่ำยมีหลำกหลำยรูปแบบ บทบำทของกำรสื่อสำรที่มีต่อเครือข่ ำยนั้น อำจพิจำรณำได้ในหลำย 3 รูปแบบ รูปแบบที่แรก คือกำรพิจำรณำบทบำทแบบทั่วไปของกำรสื่อ สำรที่มีต่อ เครือข่ำย รูปแบบที่สอง เครือข่ำยนั้นมีวงจรชีวิตเป็นช่วงๆ ดังนั้น บทบำทของกำรสื่อสำรในแต่ละช่วงชีวิตของ เครือข่ำยจึง อำจจะมีบทบำทเฉพำะ รูปแบบที่สำม บทบำทของกำรสื่อสำรกับตำแหน่ง ต่ำงๆในโครงสร้ำ ง เครือข่ำยในทุกเครือข่ำยจะมีโครงสร้ำงของบุคคลหรือกลุ่มย่อยที่ทำหน้ำที่ต่ำงๆกัน ดัง นั้น กำรสื่อสำรของ บุคคล/กลุ่มคนในแต่ละบทบำทจึงอำจจะแตกต่ำงกันไปด้วย ฉะนั้นรูปแบบที่สำมใกล้เคียงกับกำรสื่อสำรเพื่ อ กำรสร้ำงเครือข่ำยปอเต็กตึ้งมำกที่สุด (ชูพงศ์ พิพัฒน์ไชยศิริ/2552)


250

ภาพ 4 โครงสร้ำงของเครือข่ำยและพันธมิตร (อ้างอิง : นันทยำ กัลป์ยำศิริ และอภิชำต พงศ์ศรีหดุลชัย/กำรสร้ำงเครือข่ำยกำร สื่อสำรเพื่อกำรพัฒนำกำรส่งเสริม กำรเกษตร/2553)

บทบาทของการสื่อสารกับตาแหน่งต่างๆในโครงสร้างเครือข่ายมูลนิธิปอเต็กตึ้งพิจารณาจะมีการ สื่อสาร เพื่อสร้างเครือข่ายในรูปแบบ บทบาทของการสื่อสารกับตาแหน่งต่างๆในโครงสร้างเครือข่ายในทุก เครือข่ายโดย โครงสร้างของเครือข่ายและพันธมิตร ซึ่งมีองค์ประกอบดังนี้ บทบำทของกำรสื่อสำรที่มีต่อเครือข่ำยในแบบทั่วๆไป ต่อมำได้ลงรำยละเอียดว่ำ ตัวแปรเรื่องวงจร ของเครือข่ำยก็อำจจะเข้ำมำเกี่ยวข้องกับบทบำทเฉพำะของกำรสื่อสำรในเครือข่ำยในลำดับสุดท้ำยนี้ อีกตัว แปรหนึ่ง ที่จะมำเกี่ยวข้องกับบทบำทกำรสื่อสำรในเครือข่ำยก็คือ ตำแหน่ ง ต่ำงๆหน้ำที่ของแต่ละบุคคลใน โครงสร้ำงของเครือข่ำย อย่ำงไรก็ตำม กำรระบุตำแหน่งต่ำงๆนั้นก็มีนัยยะสืบเนื่องต่อมำว่ ำตำแหน่งต่ำงๆนั้น เป็นกำรกำหนดภำรกิจที่ตำแหน่งนั้นต้องรับผิดชอบ และเชื่อมโยงมำถึงประเภทของกำรสื่อสำรที่ตำแหน่งนั้น ต้องกำร (กมลรัฐ อินทรทัศน์/2557) ในงำนอำสำมูลนิธิปอเต็ กตึ๊ง มีกำรสื่อสำรโดยใช้โครงสร้ำงของเครือข่ำยและพันธมิตร โดยพิจำรณำ “โครงสร้ำง” ของเครือข่ำยนั้นแบ่งออกได้ 4 ส่วน 1.ขนำดของเครือข่ำย : จะเป็นตัวกำหนดเรื่องรูปแบบกำรจัดวำงโครงสร้ำงและบริหำรกำรจัดกำร 2.ส่วนประกอบย่อย : คือกำรแบ่งทีมอยู่ในทุกๆพื้นที่แต่ละเขต แต่ละจังหวัด ทุกๆพื้นที่ 3.ตำแหน่ง : เรำจำเป็นต้องรู้ว่ำในแต่ละจังหวัดในแต่ละพื้นที่ มีผู้ปฏิบัติงำนในตำแหน่งใดบ้ำง จำนวนกี่คน 4.เส้นสำย : ในโครงสร้ำงเครือข่ำยนั้นจะมีเส้นสำยอยู่ 2 เส้นประกอบควบคู่กันไป (4.1) เส้นสำยสัมพันธ์ คือควำมสัมพันธ์ระหว่ำงหน่วยงำนในแต่ละเขต แต่ละจังหวัดมี กำรเกื้อหนุนกันในกำรทำงำน (4.2) เส้นสำยกำรสื่อสำร กำรติดต่อสื่อสำรกันระหว่ำงตำแหน่ง ติดต่อกันภำยในและ ภำยนอกเครือข่ำย เช่นเจ้ำหน้ำที่ตำรวจ สำยตรวจ ผู้พบเห็นเหตุกำรณ์ ผู้แจ้งเหตุ กำรสื่อสำรเพื่อสร้ำงเครือข่ำยของมูลนิธิปอเต็กตึ้ง ได้มีควำมใกล้เคียงกับ บทบำทของกำรสื่อสำรกับ ตำแหน่ง ต่ำงๆในโครงสร้ำงเครือข่ำยโดย ระบุตำแหน่ง ตำมโครงสร้ำงของเครือข่ำยและพันธมิตรโดยระบุ ตำแหน่งดังต่อไปนี้ ตาแหน่งที่ 1 ศูนย์กลางของเครือข่าย (สตาร์/star) เนื่ องจำกเครื อ ข่ำ ยเป็ นรู ป แบบกำรจัด ควำมสัม พัน ธ์ ของผู้ค น ดั ง นั้น “ต ำแหน่ง ที่ เป็ น ศูน ย์ กลำง เครือข่ำย” เป็นดำว หรือ สตำร์ ประจำกลุ่ม ก็คือตำแหน่งที่มี “เส้นสำยควำมสัมพันธ์จำกสมำชิกคนอื่นๆ”พุ่ง


251

เข้ำมำหำมำกที่สุด ตำแหน่งนี้อำจเป็นหัวหน้ำเครือข่ำย ประธำนเครือข่ำย แกนนำ ในมูลนิธิปอเต็ก ตึ๊ง มี ศูนย์กลำงเครือข่ำยอยู่ที่ ศูนย์วิทยุกรุงเทพฯ ตั้งอยู่ บน ถนนเจ้ำคำรพบรรจบกับถนนพลับ พลำไชย แขวงป้อม ปรำบฯ ศูนย์วิทยุกรุงเทพ ของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง เป็นศูนย์ประสำนงำนที่ตั้งขึ้นเพื่อกำรติดต่องำนระหว่ำงแผนก บรรเทำสำธำรณภัย (กู้ภัย-กู้ชีพ) ศูนย์หัวเฉียวพิทักษ์ชีพ อำสำสมัครมูลนิธิฯ สมำคมบรรเทำสำธำรณภัยแห่ง ประเทศไทย และ สมำคมจีน/มูลนิธิต่ำง ๆ ทั่วประเทศ ประสำนกับหน่วยงำนรำชกำร และสื่อมวลชนทุกแขนง เพื่อสื่อสำรประสำนกำรให้ควำมช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ และสั่งกำร ให้ชุดปฏิบัติกำรหน่วยกู้ภัย - กู้ชีพ ออก ปฏิบัติหน้ำที่โดยเร่งด่วนตลอด 24 ชั่วโมง ศูนย์วิทยุกรุง เทพเป็นศูนย์สั่ง กำรและรับแจ้งเหตุ ในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหำนครและปริมณฑล มีลูกข่ำยประมำณ 6,000 คน กรณีมีผู้บำดเจ็บและเสียชีวิต จะประสำนแจ้ง หน่วยกู้ชีพ-กู้ภัย มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง และอำสำสมัครของมูลนิธิฯ ทั้ง ในเขต กรุงเทพมหำนครและปริมฑณทั้ง 6 จังหวัดได้แก่ อยุธยำ , อ่ำงทอง , สิงห์บุรี , ลพบุรี , นครนำยก , สระบุรี มีกำลังอำสำสมัครทั้งหมด 3,454 คน ให้ ก ำรสนั บ สนุ น กรณี มี เ หตุ เ พลิ ง ไหม้ จะประสำนแจ้ ง อำสำสมั ค รบรรเทำสำธำรณภั ย ในเขต บก.น. เหนือ , ใต้ , ธน อำสำสมัครมีประมำณ 2,000 คน ให้กำรช่วยเหลือตรวจสอบเหตุในเบื้องต้น ตาแหน่งที่ 2 ผู้ประสานงาน/ ติดต่อสื่อสาร (liaison) ทำหน้ำที่ในกำรติดต่อสื่อสำร ซึ่งเป็นตำแหน่งที่สำคัญอีกตำแหน่งหนึ่งเนื่องจำกกำรติดต่อสื่อสำรนั้น เป็นเสมือน “เส้นใยประสำท” ของเครือข่ำยหำกเส้นประสำทอักเสบหรือพิกำร เครือข่ำยก็จะเป็นอัมพำต เช่น มูลนิธิปอเต็กตึ๊งมีศูนย์กลำงเครือที่ศูนย์วิทยุกรุงเทพฯที่มีช่องทำงกำรติดต่อทำงวิทยุสื่อสำร ช่อง 1 ควำมถี่ 168.275 MHz. สำหรับเรียกขำน ช่อง 2 ควำมถี่ 168.475 MHz. ใช้ประสำนงำนระหว่ำงลูกข่ำยขณะปฏิบัติงำน ทางโทรศัพท์ : 02-226-4444-8 E-Mail : Krungthep89@hotmail.com เหตุที่รับแจ้ง 1.อุบัติเหตุ เหตุมีผู้เสียชีวิต เหตุเพลิงไหม้ เหตุอุทกภัย และเหตุภัยพิบัติต่ำงๆ 2.ช่วยเหลือสัตว์ เช่น งูเข้ำบ้ำน แมว,สุนัขตกท่อ ติดหลังคำ ติดรั้วบ้ำน เป็นต้น 3.ลืมกุญแจไว้ภำยในบ้ำน รถยนต์ รถเสีย น้ำมันหมด ยำงแตก 4.ตำรวจขอควำมร่วมมือค้นหำของกลำง ของมีค่ำเกี่ยวข้องกับคดี ที่จมน้ำ (ดำน้ำหำของกลำง) 5.โครงกำรเมำไม่ขับ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งส่งกลับบ้ำน 6.อื่น ๆ เช่น สอบถำมเส้นทำง แจ้งไฟฟ้ำขัดข้อง ท่อประปำแตก เป็นต้น ตาแหน่งที่ 3 ชุมสายย่อย/โหนด (Node) ในกรณีที่เครือข่ำยมีขนำดใหญ่หรือครอบคลุมพื้นที่กว้ำงขวำงมำกๆ เนื่องจำกศูนย์กลำงเป็นมนุษย์ ธรรมดำ จึงต้องมีทั้งข้อจำกัดเรื่องเวลำและพื้นที่อำจทำให้ติดต่อสื่อสำรกับสมำชิกไม่ทั่วถึง ในลักษณะแบบนี้ก็ จำเป็นต้องมี “ชุมสำยย่อยๆ” มำทำหน้ำที่ประสำนงำนเป็นตัวกลำงระหว่ำงสมำชิกแต่ละกลุ่มกับศูนย์กลำง และผู้ประสำนงำนในกลุ่มของอำสำมูลนิธิปอเต็กตึ๊งมีขนำดที่ใหญ่จึงต้อ งสร้ำงส่วนย่อยต่ำงๆที่แบ่งออกไปตำม พื้นที่ของแต่ละเขตแต่ละจังหวัดเพื่อประสำนงำนและปฏิบัติหน้ำที่ได้อย่ำงรวดเร็ว ทำให้ลดอัตรำกำรเสียชีวิต ได้ส่วนหนึ่ง


252

ตาแหน่งที่ 4 สมาชิก (Member) นับเป็นส่วนที่สำคัญสำหรับกำรดำรงอยู่และควำมเข็มแข็งของเครือข่ำยเช่นเดียวกัน แม้จะดูตำแหน่ง ปกติธรรมดำก็ตำม ทั้ งนี้เพรำะเครือข่ำยที่ เข้มแข็ง ก็ ต้องกำรมี สมำชิกที่มีค วำมกระตื อรือร้น ขยัน มีจิตใจ เอื้อเฟื้อต่อสังคม ลักษณะของสมำชิกในเครือข่ำยนั้น จะแตกต่ำงจำกสมำชิกในกลุ่ม /องค์กร กล่ำวคือ สมำชิก แต่ละคนสำมำรถมีเส้นสำยควำมสัมพันธ์และเส้นสำยกำรสื่อสำรได้หลำยๆระดับ ทั้งกำรสัมพันธ์กับศูนย์กลำง/ ผู้ประสำนงำน/ชุมสำยย่อย/หรือกับสมำชิกกันเอง และยิ่งสมำชิกมีเส้นสำยควำมสัมพันธ์และกำรติดต่อสื่อสำร มำกเท่ำใด ก็จะเปรียบเสมือนกำรสำนสอดกำรอย่ำงหนำแน่นทำให้มีควำมเข้มแข็ง ที่จะรับรองกับอุบัติเหตุ ฯลฯ เผชิญปัญหำกับอุปสรรคต่ำงๆได้อย่ำงดี (นันทยำ กัลป์ยำศิริ และอภิชำต พงศ์ศรีหดุลชัย/2553) สรุป กำรสื่อสำรเพื่อสร้ำงเครือข่ำยมูลนิธิปอเต็กตึ๊ง ก็เป็นกำรสื่อสำรที่มีหลำกหลำยรูปแบบหลำยบทบำท โดยมีรูปแบบบทบำทของกำรสื่อสำรกับตำแหน่งต่ำงๆในโครงสร้ำงเครือข่ำยโดย โครงสร้ำงของเครือข่ำยและ พันธมิตร ที่มีควำมใกล้เคียงกับระบบกำรสื่อสำรมำกที่สุดและมูลนิธิปอเต็กตึ้งเป็น เครือข่ำยที่ใหญ่และมั่นคงที่ ต้องมีศูนย์กลำงใหญ่ที่คอยรับข้อมูลของอุบัติเหตุต่ำงๆและให้ผู้ประสำนงำน ประสำยกับชุมสำยที่อยู่ละแวก ใกล้เคียงกับพื้นที่ของอุบัติเหตุนั้นๆ เมื่อชุมสำยได้รับรำยงำนแล้วก็ออกปฏิบัติ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพร้อมกับ สมำชิก อำสำมูลนิธิปอเต็กตึ๊ง อยู่คอยดูแลบรรเทำสำธำรณภัยต่ำงๆมำช้ำนำน ปัจจุบันยังมีคงมีเพิ่มเติมมำกขึ้น จะมองเห็นได้อย่ำงชัดเจนว่ำในกำรทำงำนของอำสำปอเต็กตึ๊ง นั้นอำศัยใช้ทุกๆช่องทำงในกำรสื่อสำรเช่นกำร สื่อสำรทำงวิทยุสื่อสำร กำรแจ้งเหตุหรือพื้นที่อันตรำยผ่ำนทำงเว็บ กำรประสำนงำนของควำมช่วยเหลือจำก หน่วยงำนของภำครัฐและเอกชน อื่นๆ ถือว่ำเป็นผลดีที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยมำกขึ้น ไม่ใช่แต่เพียงกำรสื่อสำร เท่ำนั้น เทคโนโลยียังส่งผลถึงอุปกรณ์กำรช่วยผู้ประสบอุบัติเหตุเช่นเครื่องตัดถ่ำง รถพยำบำลเคลื่อนที่ ฯลฯ ทำให้รวดเร็วมำกขึ้นสำมำรถลดอัตรำกำรเสียชีวิตได้ แม้ว่ำจะมีจะมีเทคโนโลยีที่มำกเพียงในหรือมีเทคโนโลยีที่ล้ำสมัย แต่ผู้คนยังไม่ให้ควำมสำคัญของ อุบัติเหตุยังใช้ชีวิตอยู่บนควำมประมำท ขำดสติยั้งคิดก็คงไม่เทคโนโลยีชิ้นไหนที่สำมำรถทำให้ชีวิตที่สูญเสียไป นั้นคืนกลับมำได้เหมือนเดิม เอกสารอ้างอิง กมลรัฐ อินทรทัศน์ (2547)“กำรสื่อสำรกับกำรพัฒนำกำรเกษตร” เอกสำรกำรสอนชุดวิชำกำรสื่อสำรกับกำร พัฒนำ,สำขำวิชำนิเทศศำสตร์นนทบุรี : มหำวิทยำลัยสุโททัยธรรมำธิรำช. ชูพงศ์ พิพัฒน์ไชยศิริ. (2552) “เครือข่ำยและกระบวณกำรสื่อสำรของคณะอนุกรรมกำรขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียง”วิทยำนิพนธ์ ปริญญำมหำบัณฑิต คณะนิเทศศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. นันทยำ กัลป์ยำศิริ และอภิชำต พงศ์ศรีหดุลชัย . (2553) “กำรสร้ำงเครือข่ำยกำรสื่อสำรเพื่อกำรพัฒนำกำร ส่งเสริมกำรเกษตร”ประมวลสำระชุดวิชำกำรสื่อสำรเพื่อกำรพัฒนำกำรส่งเสริมกำรเกษตร สำขำส่งเสริมกำรเกษตรและสหกรณ์นนทบุรี : มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช. ประวัติมูลนิธิปอเต็กตึ๊ง . [ออลไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://pohtecktung.org/index.php?option=com _content&view=article&id=131&Itemid=133 (วันที่ : 10 พฤศจิกำยน 2556). นำยธงชัย นกอยู่ รหัส 54040756


253

“จ่าเฉย” สื่อกลางในการเสริมสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน ธันย์ชนก อุดมพูนสิน 54040757 * บทนา จากสภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง รวมถึงปริมาณของยานพาหนะในกรุงเทพมหานครที่ เพิ่มมากขึ้น สภาพการจราจรอยู่ในสภาพวิกฤตเป็นปัญหาที่ สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน เนื่องมาจาก ปัจจัยหลายประการ แต่สาเหตุสาคัญที่สุดคือการที่ผู้ขับขี่ขาดวินัยจราจร ทาให้เกิดการฝ่าฝืนกฎจราจร และกีด ขวางการจราจร ผลกระทบที่ตามมาจากปัญหา ดังกล่าวไม่เพียงสร้างความยากลาบากในการเดินทางของคน กรุงเทพมหานคร เท่านั้น แต่ยังก่อปัญหาด้านอื่น อาทิ การสูญเสียสภาพแวดล้อมที่ดีไป การสูญเสียทรัพย์สิน และปัญหาอุบัติเหตุที่นามาสู่การสูญเสียชีวิต เมื่อพิจารณาถึงสาเหตุของปัญหาอุบัติเหตุและการไม่ขับรถตาม กฎจราจรโดยถ่องแท้แล้ว ปรากฏว่าอุบัติเหตุจราจรทางบกเกิดจากพฤติกรรมหรือการกระทาของคนเป็นส่วน ใหญ่ จึงมีการรณรงค์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการเชิ ญชวน การสร้างความเข้าใจอันดี เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วม ใจสาหรับการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องความปลอดภัยในการจราจร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการ รณรงค์กันในช่วงเทศกาลเป็นหลัก ด้วยมาตรการต่างๆ ไม่ช่วยลดปัญหาอุบัติเหตุเท่าที่ควร ผู้รู้จึงคิดรูปแบบอื่น ที่จะนามาใช้รณรงค์ประชาสัมพันธ์ด้านความปลอดภัยให้เป็นที่น่าสนใจและมีผลตอบรับที่ดี จึงเป็นที่มาของ “สัญลักษณ์จ่าเฉย” ซึ่งเป็นชื่อเรียกของหุ่นตารวจจราจร โดยเปิดตัวขึ้นใน พ.ศ. 2551 เพื่อแบ่งเบาภารกิจของ เจ้าหน้าที่ตารวจจราจร ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากโรงพยาบาลวิภ าวดี มอบให้กองบัญ ชาการ ต ารวจนครบาล น าไปประจ าไว้ จุ ด ต่ า งๆ เพื่ อ ป้ อ งปรามผู้ ขั บ ขี่ ร ถไม่ ให้ ก ระท าผิ ด และลดอุ บั ติ เหตุ จ าก การจราจร

ภาพที่ 1 การจราจรติดขัด ที่มา : http://neckermann.nl/

รูปแบบของจ่าเฉย ปัจจุบันมีการผลิตสัญลักษณ์จา่ เฉย ออกมาตามความต้องการของการนาไปใช้งาน และยังมีการพัฒนา อยู่ตลอดเวลา มีหลายรูปแบบประกอบด้วย *นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร สาขาวิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.


254

1. จ่าเฉย เป็นหุ่นสัญลักษณ์แทนตารวจจราจร ที่มีทั้งแบบเต็มตัวและครึ่งตัว ในท่าทางต่างๆ ซึ่งใน ความต้องการของผู้ผลิตนั้นก็ไม่ได้ต้องการให้เหมือนคนจริง ต้องการสร้างเป็นหุ่นจ่าแก่ๆ ใจดี รูปร่างหน้าตาจึง เป็นหุ่นอย่างชัดเจนตรงที่ปากกว้าง สีตัวสีเขียวๆ และเครือ่ งแบบที่มีถุงมือยาวถึงศอก ที่มายืนปฏิบัติงานอยู่ เท่านั้น 2. จ่าเข้ม มีการพัฒนาให้เหมือนตารวจจริงๆ มากยิ่งขึ้น โดยมีใบหน้าเคร่งขรึมไม่ใจดีเหมือนจ่าเฉย อยู่ในท่าทางจริงจัง สร้างขึ้นเพื่อเป็นเสมือนเจ้าหน้าที่ตารวจจราจรปรามการกระทาผิด ให้ผู้ใช้รถใช้ถนนเกรง กลัวต่อการฝ่าฝืนกฎจราจร 3. จ่ายิ้ม เกิดขึ้นพร้อมๆ กับโครงการตารวจจราจรยิ้ม ที่ผ้าปิดปากของตารวจจราจรเป็นรูปยิ้มนั่นเอง การผลิตจ่ายิ้มออกมาเป็นเจตนาเดียวกันกับตารวจจราจรยิ้ม การที่ตารวจต้องการสื่อสารถึงความเป็นมิตรต่อ ประชาชน จ่ายิ้มจะเป็นตัวแทนของตารวจที่มีหน้าที่อานวยความสะดวกหรือการเตือนให้ระมัดระวัง 4. จ่าเคน จ่าติ๊ก เกิดขึ้น จากแนวคิดที่การรณรงค์ของหน่วยงานต่างๆ มีการใช้ศิลปินดารามาเป็น ตัวแทนและได้รับผลตอบรับที่ดี จ่าเฉยเปรียบเสมือนดาราของกองบัญชาการตารวจนครบาล จะมีการปรับ รูปร่างหน้าตาที่ปรับแล้วจะมีการทาให้หน้าตาคล้ายกับพระเอกชื่อดัง เคน ธีรเดช วงศ์พัวพัน และติ๊ก เจษฎา ภรณ์ ผลดี ด้วย 5. จ่าเฉยอัจฉริยะ ถือเป็นหุ่นที่มีพัฒนาการล่าสุด ที่แตกต่างไปจากเดิมของสัญ ลักษณ์จ่าเฉย การ เปิดตัวจ่าเฉยอัจฉริยะ ครั้งนี้ภายใต้โครงการตรวจจับการกระทาผิดกฎจราจรโดยอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัยบนท้องถนน จะมีส่วนช่วยในการทางานของเจ้าหน้าที่ตารวจจราจรมากขึ้น เนื่องจากจะมีการนา กล้องวิดีโอ และกล้องตรวจจับความเร็วมาติดตั้งในสัญลักษณ์จ่าเฉยให้มีประสิทธิภาพในการทางานมากยิ่งขึ้น

กลยุทธ์ในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สู่ “สัญลักษณ์จ่าเฉย” จากการศึกษางานวิจัยของ ชรัมพร จิตต์โกศล (2547) “กระบวนการประชาสัมพันธ์รณรงค์โครงการ ลดอุ บั ติ เหตุ ท างการจราจรของเครือ ข่ ายลดอุ บั ติ เหตุ ” พบว่ า กลยุ ท ธ์ในการรณรงค์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ข อง โครงการฯ มีหลายรูปแบบประกอบด้วย 1. กลยุทธ์ด้านการใช้สื่อ เช่น การใช้สัญลักษณ์ตารวจผสมกับบุคคลที่มีชื่อเสียง ได้แก่ จ่าเคน จ่าติ๊ก เป็นต้น


255

2. กลยุทธ์ด้านการใช้สาร ได้แก่ การใช้สัญลักษณ์ตารวจที่แสดงถึงผู้รักษาความปลอดภัยมาอ้างอิง 3. กลยุทธ์ด้านคนหรือองค์การ คือ ใช้องค์กรหรือสานักงานตารวจในการประชาสัมพันธ์ และเป็น สัญลักษณ์ของโครงการ จ่าเฉยสื่อกลางการเสริมสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน การสื่อสารด้วยสัญลักษณ์จ่าเฉย เพื่อการเสริมสร้างและรณรงค์ด้านความปลอดภัยในการจราจรบน ท้องถนน พบว่าสัญลักษณ์จ่าเฉยเป็นความต้องการนาเสนอตัวแบบ คือ การที่บุคคลเกิดการเรียนรู้จากการ สังเกตพฤติกรรมของบุคคลอื่นแล้วสร้างความคิดว่าจะสร้างพฤติกรรมใหม่ ซึ่งในความคิดนี้ถูกใส่รหัสเก็บข้อมูล ไว้เป็นเครื่องชี้แนะการแสดงพฤติกรรมของตน เพราะบุคคลสามารถเรียนรู้จากตัวแบบได้ว่าต้องทาอะไร อย่าง น้อยในรูปแบบที่ใกล้เคียงกัน เมื่ อบุคคลสังเกตพฤติกรรมของตัวแบบถึงแม้ยังไม่ได้ตอบสนองออกมาเป็น พฤติกรรมภายนอก แต่เขาสามารถสะสมการตอบสนองจากตัวแบบได้ 2 ลักษณะ คือ เป็นภาพและเป็นภาษา การเรีย นรู้ที่ เกิ ด ขึ้ น ภายใต้ เงื่อ นไขนี้ ผู้ สั งเกตต้ อ งการสั งเกตอย่ างชั ด เจนและหลายๆครั้ง เพื่ อ ให้ เกิ ด การ ตอบสนองอย่างถูกต้อง หลังการนาเสนอตัวแบบได้รับการใส่รหัสภาพหรือคาเพื่อเป็นตัวแทนของความจาแล้ว ก็ทาหน้าที่เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้และสร้างพฤติกรรมใหม่ต่อไป 1. หน้าที่สร้างพฤติกรรมใหม่ คือ ต้องการให้ผู้ใช้รถใช้ถนนที่ฝ่าฝืนกฎจราจร ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใหม่ ในการเรียนรู้จากตัวแบบ คือ สัญลักษณ์จ่าเฉย ส่งผลให้เกิดความตระหนักของผู้ขับขี่ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎ จราจรดังกล่าว ลด ละ เลิก การทาพฤติกรรมเหล่านั้น 2. หน้าที่ในการเสริมสร้างพฤติกรรมที่ดีอยู่แล้ วให้ดีขึ้น กรณีนี้เป็นพฤติกรรมที่เคยทาหรือปฏิบัติตาม กฎจราจรอยู่แล้ว แต่ขาดทักษะ หรือขาดสติไปบ้าง การมีสัญลักษณ์จ่าเฉยเป็นตัวแบบจะช่วยให้ไม่เกิดความ ประมาทในการใช้รถใช้ถนน นอกจากจะช่วยให้เกิดความตระหนักแล้วยังเป็นการทาให้ผู้ที่ปฏิบัติถูกต้องอยู่ แล้วปฏิบัติตอ่ ไป 3. ทาหน้าที่ยับยั้งการเกิดพฤติกรรม ในกรณีที่ไม่เคยปฏิบัติผิดกฎจราจรและเป็นผู้ที่ขับรถถูกต้องแต่ อาจเห็นผู้ที่ขับผิดกฎหรือทาตัวเป็นตัวอย่างไม่ดีแล้วเกิดอยากทาตาม การที่มีสัญลักษณ์จ่าเฉยเป็นตัวแบบจะ ช่วยให้ระงับความคิดหรือพฤติกรรมนั้น และทาให้คงความถูกต้องที่ตนปฏิบัติดีอยู่แล้ว อีกทั้งยังสามารถเป็น แบบอย่างในการปฏิบัติสาหรับผู้อื่นได้อีกด้วย

ภาพที่ 2 จ่าเฉย ทีม่ า : http://www.lomography.co.th/ magazine/ lifestyle/2013/02/27/227112


256

ผลได้-ผลเสีย จ่าเฉยสื่อกลางในการเสริมสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน สัญลักษณ์จ่าเฉย ช่วยป้องกันและลดอุบัติเหตุการจราจรให้น้อยลง แต่ในทางกลับกันก็ยังมีผลเสีย ไม่ ว่าจะเป็นการดูถูกว่าเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ โดยไม่เกิดประโยชน์ รูปร่างหน้าตาหน้าเกลียดน่ากลัว ซึ่ง ทาให้ตกใจเมื่อพบเห็นเวลากลางคืน จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปร่างหน้าตาของสัญลักษณ์จ่าเฉยกลายเป็นที่มา ของสัญ ลักษณ์ จ่าเฉยในแบบต่อๆ มา ปั ญ หาด้านงบประมาณการสนับสนุนจัดทาไม่เพี ยงพอ และยังขาด งบประมาณในการดูแลการซ่อมแซม ซึ่งผู้ดูแลคือเจ้าหน้าที่ตารวจจราจร ดังนั้น หากมีผู้ให้การสนับสนุนมาก ขึ้น การผลิตสัญลักษณ์จ่าเฉยมีมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จ่าเฉยอัจฉริยะ ที่มีการติดกล้องเข้าไป ค่าใช้จ่ายใน การผลิตต่อตัวก็สูงมากขึ้นด้วย ซึ่งรัฐบาลยังไม่ได้มีนโยบายหรืองบประมาณสนับสนุน ด้านการรณรงค์ด้าน ความปลอดภัยโดยตรง จึงต้องอาศัยการสนับสนุนจากหน่วยงานเอกชนซึ่งยัง อยู่ระหว่างการหารือ เพื่อให้ มาร่วมสนับสนุนมากขึ้น ปัญหาต่อมาในเรื่องความเป็นมืออาชีพในการสื่อสารของตารวจ มักใช้ความสัมพันธ์ ส่วนตัวในการสื่อสาร ไม่ได้มี การคิดเรื่องผลการสื่อสารเท่าที่ควร หลายครั้งการต้องการสื่อสารอย่างหนึ่ง สื่อมวลชนนาเสนอการสื่อสารอีกอย่างหนึ่ง อาจทาให้การสื่อสารบางอย่างไม่ได้ผล ปัญ หาสุดท้ายคือ การ สื่ อ สารในสั ง คมออนไลน์ ที่ เรี ย กว่ า Social Network เช่ น Facebook Twitter พบว่ า การสื่ อ สารด้ ว ย สัญลักษณ์จ่าเฉย ไม่ได้มีการใช้เครื่องมือการสื่อสารเหล่านี้ให้เป็นประโยชน์ ผู้ศึกษาได้มีการค้นหา Facebook ของสัญลักษณ์จ่าเฉย ไม่มีใครทราบว่า Facebook สัญลักษณ์จ่าเฉยที่มีนั้น ใครเป็นผู้ทาและเป็นผู้ตอบคาถาม ดังนั้น กองบัญชาการตารวจนครบาลต้องมองหาช่องทางการสื่อสารใหม่ที่เป็นที่น่าสนใจ และมีอิทธิพลต่อ กลุ่มเป้าหมายในยุคสังคมออนไลน์มาใช้ประโยชน์ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลด้านการสื่อสารมากกว่าในปัจจุบัน

ภาพที่ 3 จ่าเฉย ทีม่ า : http://www.majorpolice.com/product/police/police/police_full_02.html

สรุป จ่าเฉย หุ่นตารวจสื่อกลางในการรักษาความปลอดภัยบนท้องถนน เมื่อผู้ขับขี่พบเห็นจะทาให้ตระหนัก และปฏิบัติตามกฎจราจร โดยใช้กลยุทธ์ด้านการใช้สื่อ กลยุทธ์ด้านการใช้สาร และกลยุทธ์ด้านคนหรือองค์การ ในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ของสัญลักษณ์จ่าเฉย การรณรงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวนั้น กลับทาให้ผู้ใช้รถใช้ถนนไม่ได้ตระหนักตาม สิ่งที่ผู้คิดและเจ้าหน้าที่ตารวจจราจรต้องการสื่อสาร จึงต้องมีการปรับกลยุทธ์เป็นการติดกล้องถ่ายภาพและจับ


257

ปรับ ควบคู่ไปด้วย ดังนั้น การปลูกฝังวินัยในการจราจร การปฏิบัติตามกฎหมายเป็นสิ่งที่ต้องเริ่มตั้งแต่เยาวชน ในโรงเรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการใช้สัญลักษณ์จ่าเฉย เพื่อการรณรงค์ด้านความปลอดภัยในการจราจร ทุก คนให้ ค วามเห็ น ตรงกั น ที่ ว่ า เด็ ก มี ส่ ว นส าคั ญ ในการเริ่ ม ปลู ก ฝั งความรู้ ทั ศ นคติ ที่ ดี ต่ อ การปฏิ บั ติ หลาย หน่วยงานที่ทาการรณรงค์จึงมุ่งไปที่โรงเรียน เนื่องจากไม่สามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผู้ใหญ่ได้ง่ายนัก การสร้างความแข็ งแรง และความเชื่อ ที่ ถูกต้ อ งให้ กับ เด็ ก จะเป็ น สิ่งที่ ได้ผ ลมากกว่า แต่เป็ น เรื่องที่ ต้ อ งใช้ เวลานานและต่อเนื่อง หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือภาคเอกชน มักให้ความสาคัญ ในการ รณรงค์ด้านความปลอดภัยในการจราจรช่วงเทศกาล เช่น ปีใหม่ สงกรานต์เท่านั้น ซึ่งในความเป็นจริงแล้วการ รณรงค์ด้านการป้องกันอุบัติเหตุต้องกระทาอย่างต่อเนื่องตลอดปี

เอกสารอ้างอิง งามพิศ สัตย์สงวน. 2545. พฤติกรรมจราจร ในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น. จณิ ส ตา ขาวศิ ริ. 2555. กลยุ ท ธ์ก ารสื่ อ สารด้ วยสั ญ ลั ก ษณ์ จ่าเฉย เพื่ อ การรณรงค์ ด้ านความปลอดภั ย ใน การจราจรของกองบัญชาการตารวจนครบาล. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . วิทยา ชาติบัญชาชัย. 2547. การรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุจราจรไม่ได้เสมอไป. กรุงเทพมหานคร : สานักงาน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ชรัมพร จิตต์โกศล. 2547. กระบวนการประชาสัมพันธ์โครงการลดอุบัติเหตุทางการจราจรของเครือข่ายลด อุบั ติเหตุ . วิท ยานิ พ นธ์ปริญ ญามหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชานิเทศศาสตร์พั ฒ นาการ คณะนิ เทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


258

กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดของธุรกิจฟิตเนสในปัจจุบัน ธีรศานต์ จันเรืองศรี 54040758 บทนา

จากการให้การส่งเสริมของภาครัฐบาลในเรื่องของการออกกาลังกายทาให้เกิดกระแสความนิ ย มในการให้ ความสาคัญต่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะคนในกรุงเทพมหานครที่เป็นเมื อ งใหญ่ วิ ถี ชี วิ ต ในแต่ ล ะวั น มี ค วามเร่ ง รีบทาให้ไม่มีเวลาและสถานที่ในการไปออกกาลังกายจึงทาให้เกิดธุรกิจบริการด้า นสถานที่ ใ นการออกก าลั ง กายที่ เรียกว่าฟิตเนสเซ็นเตอร์และในปัจจุบันได้รับความนิยมจากประชาชนในกรุงเทพมหานครเป็ น อย่ า งมากและมี ก าร ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ด้วยกลยุทธ์ทางด้านการโฆษณาของฟิตเนสท าให้ มีก ารเติ บ โตทางด้ า นธุ ร กิ จ อย่ า งรวดเร็ ว ด้วยแผนการโฆษณาในกลยุทธ์ทางด้านต่า งๆ มาใช้ในการดึงดูดลูกค้าให้มาสมัค รเป็ น สมาชิ ก ฟิ ต เนสเซ็ น เตอร์ ข อง ตนเองให้มากขึ้น อุตสาหกรรมการให้บริการสถานออกกาลังกายในไทย ในอุ ต สา หกรรมของการ ให้ บ ริ ก ารสถาน ออกก า ลั ง กายในประเทศ จาก รายงา นประจ าปี บ ริ ษั ท แคลิฟอร์เนียร์ว้าวเอ็กซ์พีเรียนซ์จากัด (มหาชน)ให้จาแนกตามลักษณะการให้บริการออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1. สโมสร (Mega Club) เป็นศูนย์ออกกาลังกายที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่มีกีฬาเกือ บทุ ก ประเภทไม่ ว่ า จะเป็ น กีฬากลางแจ้งหรือกีฬาในอาคารมีห้องอาหารค่าธรรมเนียมแรกเข้าและค่าธรรมเนียมรายเดือนค่ อ นข้ า งสู ง เช่ น ราช กรีฑาสโมสรสปอร์ตคลับ และสโมสรราชพฤกษ์ เป็นต้น 2. ศูนย์กีฬา (Multi - Sports Center) เป็นศูนย์ออกกาลังกายขนาดปานกลางโดยมากจะอยู่ ใ นโรงแรม หรืออาคารสานักงานขนาดใหญ่มีกีฬากลางแจ้งและในอาคารบางประเภทไว้บริการโดยมีค่าธรรมเนียมแรกเข้ า และ รายเดือนค่อนข้างสูงเช่นสปอร์ตซิตี้ (Sports City) เป็นต้น 3. ฟิตเนสเซ็นเตอร์ (Fitness Center) เป็ น ศู น ย์ อ อกก าลั ง กายที่ มีข นาดเล็ ก เน้ น การออกก าลั ง กาย เฉพาะและให้ความสาคัญกับความสะดวกสบายในการเดินทางและมีการคิ ด ค่ า บริ ก ารที่ ห ลากหลายตามประเภท ของกี ฬ าที่ เ ลื อ กใช้ บ ริ ก ารมี ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นแหล่ ง ชุ มชนต่ า งๆนิ ย มตั้ ง ในศู น ย์ ก ารค้ า และอาคาร ส านั ก งานเช่ น แคลิฟอร์เนียร์ว้าวเอ็กซ์พีเรียนซ์ (California WowXperience), ฟิตเนสเฟิรสท์ (Fitness First) เป็นต้น 4. ศูนย์บริการเฉพาะ (Niche Club) เป็นศูนย์บริการเฉพาะที่รวมการออกกาลังกายเฉพาะส่ ว นและการ ควบคุมน้าหนัก จะมี ก ลุ่ มลู ก ค้ า ที่ เ ฉพาะเจาะจงเช่ น บอดี้ เ ชพ (Body Shape), ฟิ ล ลิ ป เวน (Phillip Wein),มารี ฟ รานซ์บอดี้ไลน์ (Marie France Body Line)เป็นต้น

*นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร สาขาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.


259

ภาพที่ 1 สถานที่ออกกาลังกาย ที่มา ศูนย์กีฬา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2557) การแบ่งขนาดของฟิตเนสเซ็น เตอร์ การแบ่งขนาดของฟิตเนสเซ็นเตอร์ในประเทศไทยใช้เ กณฑ์ ที่จ ะใช้ในการแบ่งนั้นจะใช้วิธรการโดยการนับ จานวนสาขาของฟิตเนสเซนเตอร์แบ่งได้ดังนี้ 1. ฟิตเนสเซ็นเตอร์ขนาดใหญ่ (Large SizeFitness Center)มีจานวนสาขาตั้ ง แต่ 10 สาขาขึ้ น ไปฟิ ต เน สเซ็นเตอร์ที่มีขนาดใหญ่เช่นแคลิฟอร์เนียร์ว้าวเอ็ ก ซ์ พีเ รี ย นซ์ (California Wow Xperience) มี ทั้ ง หมด10 สาขา, ฟิตเนเฟิร์สท (Fitness First) มีทั้งหมด 15สาขาเป็นต้น 2. ฟิตเนสเซ็นเตอร์ขนาดกลาง (MediumSize Fitness Center) มีจานวนสาขาตั้งแต่ 5-9 สาขาเช่ น สลิ ม เมอร์เวิร์ล (Slimmer World) มีทั้งหมด 5 สาขาเป็นต้น 3. ฟิตเนสเซ็นเตอร์ขนาดเล็ ก (Small SizeFitness Center) มี จ านวนสาขาอยู่ ร ะหว่ า ง 1-5 สาขาเช่ น นาวส์ฟิตเนส (Nows Fitness) มีทั้งหมด 2 สาขาเป็นต้น 4. ฟิตเนสเซ็นเตอร์เฉพาะองค์ ก ร (OrganizationFitness Center) เป็ น การจั ด สวั ส ดิ ก ารขององค์ ก รใน ด้านการกีฬาให้กับพนักงานในองค์กรนั้นเองส่วนใหญ่เป็นลักษณะขององค์ ก รขนาดใหญ่ ที่ มีฐ านะทางการเงิ น ที่ ดี โดยสมาชิกส่วนใหญ่เป็นบุคลากรภายในองค์กรและครอบครัวจะมีเพียงสาขาเดียวและตั้งอยู่ในอาคารหรื อ ที่ ท าการ องค์กรนั้นๆ


260

ปัจจัยสาคัญที่ต้องคานึงถึงในการสื่อ สารการตลาดต่ อธุร กิจฟิ ตเนส Duncan (2002, 126) ได้เสนอแบบจาลองกระบวนการสื่อสารการตลาดแบบมีปฏิสั มพันธ์ โดยมี องค์ประกอบของการสื่อสาร ได้แ ก่ ผู้ส่งสาร (Source) สาร (Message) ช่องทางการสื่อ สาร (Channel) ผู้รับสาร (Receiver) ผลตอบกลับ (Feedback) และสิ่งรบกวนกระบวนการสื่อสารการตลาดนี้ มาใช้ในการกาหนดแนว ทางการสื่อสารการตลาดให้กับธุรกิจฟิตเนสได้ดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร (Source) ในการสอื่ สารการตลาดผู้ทาหน้าที่ส่งสาร หรือเป็นผู้เริ่ มต้นในการสื่อสาร คือ บริษัท เจ้าของตราสินค้า หรือบริษัทตัวแทนโฆษณา เป็นผู้มีหน้าที่ ในที่นี้คือบริษัทของฟิตเนส 2. สาร (Message) ก็คือ ทุกสิ่งที่ ผู้ส่งสารได้ทาการสื่อ สารออกไป ในการสื่อสารการตลาดของฟิตเนส ได้แก่ ข่าวสารของสินค้าและโปรโมชั่นต่างๆ ของฟิตเนส 3. ช่องทางการสื่อ สาร (Channel) คือ สื่อกลาง (Media or Medium) ซึ่งหน้าที่เป็นช่อ งทางในการส่ง ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสินค้า บริการ หรืออื่นๆให้แก่บริษัท ฟิต เนส ไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เช่นจดหมาย วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ เป็นต้น 4. ผู้รับสาร (Receiver) หรือกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย(Target Audience) ในที่นี้ ได้แก่ ลูกค้า กลุ่มคนที่รัก สุขภาพ กลุ่มบุคคลที่สนใจในเรื่องของการออกกาลังกาย บุคคลที่ต้องการลดความอ้วน เป็นต้น 5. ผลตอบกลับ (Feedback) ในการสื่อสารการตลาดผลตอบกลั บอาจจะเป็น การซื้อสินค้า หรือการไม่ซื้อ สินค้าก็ได้ แต่จะรวมไปถึงการมาใช้บริการ การเป็นสมาชิกในฟิตเนส เป็นต้น กลยุทธ์โฆษณาการตลาดของฟิ ตเนสเซนเตอร์ 1. กลยุทธ์โฆษณาทางด้านผลิตภัณฑ์/บริ ก าร (Product/Service Strategy) ปั จ จุ บั น การสื่ อ สารทาง การตลาดของฟิตเนสนั้น มีการโฆษณาชวนเชื่อผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น ทีวี โซเชี ย ล โดยเฉพาะการขายผลิ ต ภั ณฑ์ เครื่องออกกาลังกายของฟิตเนส

ภาพที่ 2 โฆษณาขายอุปกรณ์ออกกาลังกาย ที่มา บริษัท ทีวี ไดเร็ค จากัด (มหาชน) (2557)


261

2. กลยุทธ์โฆษณาทางด้านราคา (Pricing Strategy) ทางฟิ ต เนสได้ มีก ลยุ ท ธ์ โ ฆษณาทางด้ า นราคาดี เช่น มีการให้กดไลท์เพจ หรือแชร์เพจ ของสถานที่ ฟิต เนส เพื่ อ ได้ ส่ ว นลดของราคา ทั้ ง นี้ เ ป็ น กลยุ ท ธ์ ท างด้ า น โฆษณาไปในตัวและกลยุทธ์ด้านราคา เพื่อจะเป็นสิ่งโน้มน้าวจิตใจของคนทั่วไปให้หันมามีการเข้าฟิตเนสในราคาที่ มี ส่วนลด (ดังรูปที่ 3)

ภาพที่ 3 แฟนเพจฟิตเนสเซนเตอร์ ที่มา Infinity Fitness & Spa Intercontinental (2557) 3. กลยุทธ์โฆษณาทางด้านทาเลที่ตั้ง (Place/LocationStrategy) สถานที่ ตั้ ง ของฟิ ต เนสเซ็ น เตอร์ มี 6 ประเภทคืออาคารสานักงานอาคารพาณิชย์ห้างสรรพสินค้าและศูนย์การค้าโรงแรมตั้งเดี่ยวๆและในหมู่ บ้ า นจั ด สรร มีรายละเอียดดังนี้ จากการวิเคราะห์ ก ลยุ ท ธ์ ด้ า นท าเลที่ ตั้ ง ที่ ฟิต เนสเซ็ น เตอร์ พบว่ า ฟิ ต เนสเซ็ น เตอร์ ใ นประเทศไทยให้ ความสาคัญกับทาเลที่ตั้งที่อยูในอาคารสานักงานรวมถึงในห้างสรรพสินค้าและศู น ย์ ก ารค้ า เป็ น ส่ ว นใหญ่ บ างแห่ ง เลือกใช้ทาเลที่ตั้งที่มีความแตกต่างออกไปเช่นคลากแฮทช์เลือกใช้ทาเลที่ ตั้งในโรงแรมและในหมู่ บ้ า นจั ด สรรขนาด ใหญ่เช่นหมู่บ้านมณียามาสเตอร์พีชฟิตเนสเซ็นเตอร์ขนาดเล็กที่มีสาขาเดีย วเช่ น ปิ ย รมย์ ส ปอร์ ต คลั บ เลื อ กใช้ ท าเล ที่ตั้งแบบตั้งเดี่ยว (StandAlone) และฟิตเนสเซ็นเตอร์เฉพาะองค์กรมักจะตั้งอยู่ในบริเวณที่ อ งค์ ก รนั้ น ตั้ ง อยู่ เ ช่ น ยู นิ ลีเวอร์ฟิตเนสเซ็นเตอร์ตั้งอยู่ในอาคารสานักงานใหญ่ตึก เอสซีบี ปาร์คพลาซ่าและในโรงงานที่ลาดกระบั งเป็นต้น 4.กลยุทธ์ ก ารโฆษณาด้ า นพนั ก งาน (People Strategy) เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี กั บ เรื่ อ งของพนั ก งานใน ฟิตเนสเซนเตอร์ หรือเทรนเนอร์ฟิตเนส ที่ทุกคนต้องมีกล้ามหุ่นดี มีบุคลิกที่น่ า ดึ ง ดู ด ด้ ว ยกล้ า มเนื้ อ ที่ ล่ าท าให้ พี่ที่ สนใจแกคนทั่วไปและเป็นแรงกระตุ้นให้หนุ่มๆในปัจจุบันอยากมีการออกกาลังการเพื่อที่จะมีหุ่น แบบเทรนเนอร์ ฟิต เนส ( WE Fitness Society (วี ฟิตเนส โซไซตี้)

ภาพที่ 4 เทรนเนอร์ฟิตเนส ที่มา we fitness society (2557)


262

สรุป เนื่องจากสังคมไทยในปัจจุบัน เป็นสังคมการทางานแข่งกับเวลา และคนส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ หั น มาออกก าลั ง กายดูแลสุขภาพและปัจจัยหลายๆอย่างที่ทาให้ไม่มีเวลาดูแลตัวเอง ประกอบกับ ทางภาครัฐได้ มีก ารประชาสั มพั น ธ์ เกี่ยวกับการออกกาลังกายให้กับประชาชน เพื่อส่งเสริมให้การออกกาลังกายเป็นที่นิ ย มเนื่ อ งจากคนไทยปั จ จุ บั น มี ภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วนและการขาดการออกกาลังการ ซึ่งเป็นสิ่งทีน่ าไปสู่การเติบโตของสถานที่ อ อกก าลั ง กาย และ ฟิตเนสก็สามารถตีตลาดการออกกาลังกายได้อย่างลงตัวด้วยกลยุทธ์โฆษณาประชาสั มพั น ธ์ ของการตลาดฟิ ต เนส ทาให้อัตราการเติบโตของธุรกิจฟิตเนสเติบโตได้อย่างรวดรวด ซึ่งการประชาสัมพั น ธ์ ใ นการตลาดของฟิ ต เนสนี้ เ อง จึงนามาสู่ผลสาริดทางการตลาดของคนปัจจุบัน และเชื่อว่าการประชาสั มพั น ธ์ ข องธุ ร กิ จ ฟิ ต เนสจะต้ อ งเติ บ โตได้ อย่างรวดเร็วในอนาคต บรรณานุกรม ชยพล ชื่นจิตร. (2550). เวชศาสตร์การกีฬาบูรณาการ (Integrative Sports Medicine) จาก FIIS บริษัท ไวทัลไลฟ์ คอร์ปอเรชั่น จากัด บรรเทิง เกิดปรางค์. (2541) การเสริ ม สร้ า งสมรรถภาพทางกาย.กรุ ง เทพฯ : ศู น ย์ ส่ ง เสริ มวิ ช าการ. (2549). รายงาน ประจาปี บริษัท แคลิฟอร์เนียร์ว้าวเอ็กซ์พี เรียนซ์ จากัด (มหาชน). บริษัท ทีวี ไดเร็ค จากัด (มหาชน). โฆษณาขายอุปกรณ์ออกกาลังกาย. 2557. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : http://www.tvdirect.tv. [11 พฤศจิกายน 2557]. ศิริรัตน์ หิรัญรัตน์ (2554). วิทยาศาสตร์การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย. ศูนย์กีฬา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโรฒ. ภาพศู น ย์ กี ฬ า มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวโรฒ. 2557. [ออนไลน์ ] . เข้าถึง ได้จาก : http://sport.swu.ac.th/map03.html. [11 พฤศจิกายน 2557]. สุทธิมาน สมาธิ. (2549). วิทยานิพนธ์เรื่อง ปัจจัยการส่งเสริมการตลาดที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การตั ดสิ น ใจเป็ น สมาชิ ก ของ ศูนย์สุขภาพในเขตกรุ ง เทพมหานคร. ศิ ล ปศาสตรมหาบั ณฑิ ต (บริ ห ารการกี ฬ า) บั ณฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยมหิดล. Infinity Fitness & Spa Intercontinental. ฟิตเนสเซ็นเตอร์. 2557. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : https://www.facebook.com/icinfinityfitness. [11 พฤศจิกายน 2557]. We fitness society. WE FITNESS CLUB. 2557. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : http://www.wefitnesssociety.com/website-update. [11 พฤศจิกายน 2557].


263

การสร้างสรรค์งานโฆษณาทางวิทยุและโทรทัศน์ นางสาวปัณณพร บุญส่ง 54040765 บทนา โฆษณา (Advertising) เป็นสื่อสร้างสรรค์ซึ่งเป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูลจากผู้โฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย นัก ออกแบบสร้างสรรค์งานโฆษณาหรือที่เรียกว่า Creative นั้นต้องถ่ายทอดข่าวสาร ข้อเท็จจริง เป็นสื่อสร้างสรรค์ซึ่งเป็น สื่อกลางในการส่งข้อมูลจากผู้โฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับเทคนิควิธีการนาเสนอที่ดี สามารถสร้างความ เข้าใจ และสร้างการจดจาให้แก่ผู้บริโภคได้ ในสถานการณ์ปัจจุบันโฆษณาเป็นเครื่องมือสาคัญของสังคมบริโภค ที่สาคัญ มีการทาการตลาดแบบผสมผสานหรือ IMC (Integrated Marketing Communication) เพื่อการขายสินค้าและ บริการ โดยอาศัยสื่อโฆษณาที่หลากหลายสามารถเข้าถึงผู้คนอื่นได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นสื่อวิทยุที่มีการนาเสนอรูปแบบ ต่างๆ เช่น รูปแบบรายการวิทยุ รูปแบบสปอตโฆษณา ล้วนแต่เป็นสิ่งสาคัญยิ่งที่ทาให้สินค้าหรือบริการนั้นน่าสนใจและ นาไปสู่การตัดสินใจซื้อเพื่อการบริโภค สื่อโทรทัศน์เป็นสื่อที่เข้าถึงได้ง่ายที่สุด จะรับชมได้จากทางฟรีทีวี ช่องเคเบิ้ล ต่างๆล้วนเป็นสื่อบันเทิงที่มีคนอยากดูมากที่สุด เช่นสื่อภาพยนตร์โฆษณาบางเรื่องที่มีเรื่องราวสะท้อนสังคมกลายเป็นสิ่ง ที่คนนาไปพูดถึงกลายเป็นกระแสโฆษณา เป็นการกระตุ้นความสนใจในสินค้าหรือผลิตภัณฑ์นั้น ดังนั้นการโฆษณาใน ปัจจุบันจึงมีการพัฒนาตัวจากอดีตสู่ยุคดิจิตอล มีการพัฒนาเพื่อทาให้เกิดความน่าสนใจ นักสร้างสรรค์งานโฆษณาต้อง สรรหากลยุทธ์การสร้างสรรค์โฆษณา (Creative Strategy) ให้เป็นสื่อที่คนอยากดูมากขึ้น และเป็นผลงานโฆษณาที่ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฉะนั้นวิธีการสร้างสรรค์งานโฆษณาจะต้องมีหลักและกลยุทธ์ที่สาคัญดังนี้

การสร้างสรรค์งานโฆษณา อเนก นาวิกมูล (2538) ได้สรุปการสร้างสรรค์งานโฆษณาประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ 1. การทาความเข้าใจโจทย์ (Understand the Assignment) ผู้สร้างสรรค์งานโฆษณามีบทบาทที่สาคัญ ประการแรกคือ การเขียนคาโฆษณาและภาพประกอบ (Copywriting and Art Direction) เนื่องจากการสร้างสรรค์ งานโฆษณา มีการแข่งขันที่รุนแรงมาก ดังนั้นการทาความเข้าใจในงานที่ได้รับมาจึงมีบทบาทสาคัญในการสร้างสรรค์ งานขั้นต่อไป เพื่อให้ได้มาซึ่งงานตามความต้องการของลูกค้าหรือบริษัทผู้ว่าจ้าง 2. การศึกษาหาข้อมูล (Begin Background Research) การหาข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นในการสร้างสรรค์งาน ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายทราบถึงความแตกต่างของสินค้า 2 ยี่ห้อ ทาไมผู้บริโภคจึงเลือกแบบนี้ และยิ่งมี ข้อมูลประกอบมากเท่าไรก็จะช่วยให้สร้างสรรค์ความคิดใหม่ๆ ได้เป็นรูปธรรมมากขึ้น - ตลาด เพื่อให้ทราบสถานการณ์การแข่งขัน คู่แข่งทางตรง คู่แข่งทางอ้อม และภาพลักษณ์ของตัวสินค้าใน ตลาดว่าเป็นอย่างไร


264

- บริษัทหรือสินค้าต้องรู้จักบริษัทและความเป็นมายอดขายที่ตั้งเป้าไว้ การตั้งราคาและกาไรของบริษัท ลักษณะการกระจายสินค้า ภาพลักษณ์ของบริษัทในสายตาของผู้บริโภค คุณสมบัติหรือลักษณะของสินค้าที่สามารถ นามาใช้เป็นจุดเด่นในการโฆษณา - ผู้บริโภค ต้องพยายามศึกษาเกี่ยวกับผู้มีแนวโน้มที่จะเป็นลูกค้ากลุ่มเป้าหมายโดยจะต้องหาข้อมูลของลูกค้า โดยรวมเพื่อที่จะหากลุ่มที่จะซื้อหรือใช้สินค้า ผู้ใช้สินค้า คู่แข่ง ผู้ไม่ใช้สินค้าซึ่งจะเป็นต้องศึกษาถึงลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ (Demographic Characteristics) ได้แก่ อายุ เพศ รายได้ ระดับการศึกษา อาชีพ แต่ลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ยังไม่เพียงพอ จะต้องศึกษาลักษณะทางจิตวิทยา (Psychographic Characteristics) ด้วย ได้แก่ บุคลิกภาพ ความคิดเห็น ความสนใจและรูปแบบการดาเนินชีวิต พฤติกรรมการบริโภค ปัญหาของผู้บริโภค 3. การพัฒนากลยุทธ์ (Develop Strategy) การโฆษณาเป็นการสื่อสารที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้มีผลต่อผู้รับ สาร จึงต้องมีการให้ความสาคัญกับกลุ่มเป้าหมาย สิ่งที่จะพูดหรือภาพที่จะสื่อจะต้องโน้มน้าวใจให้ผู้บริโภคเกิดความ สนใจและซื้อสินค้า 4. การหาแนวความคิดสร้างสรรค์ (Search for Creative Concept) ขั้นต่อไปคือการสร้างความคิดเกี่ยวกับ การผลิตโฆษณา การหาแนวคิดหลักที่จะให้กลยุทธ์ที่นาเสนอเป็นที่จดจา และดึงดูดความสนใจ 5. การคิดหาวิธีหรือรูปแบบการนาเสนอ (Figure Out The Execution Details) การนาเสนอ ความคิด สร้างสรรค์ (Execution) เป็นกระบวนการสร้างสรรค์ในทุกรายละเอียดของงานโฆษณา ซึ่งเป็นแนวทางในการนา ความคิดหลักมานาเสนอให้เป็นภาพที่ชัดเจนขึ้น 6. การผลิตงานโฆษณา (Produce The Advertisement) เป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนการออกอากาศหรือการ พิมพ์ที่จะมีวิธีการทางเทคนิคต่างๆ เช่น การพิมพ์ การถ่ายทา เป็นต้น

กลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณา การกาหนดกลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณา เป็นเคล็ดลับที่นามาเป็นจุดขายเพื่อสร้างจุดเด่นให้กับสินค้า สร้างสรรค์โฆษณาที่ดีซึ่งตรงประเด็น ง่าย ชัดเจนและบรรลุวัตถุประสงค์ในการสื่อสารไปสู่กลุ่มเป้าหมาย จนสามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคได้ เสรี วงษ์มณฑา (2540) ได้ให้ความเห็นถึงปัจจัยในการพิจารณาเพื่อกาหนดกลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณา ดังนี้ 1. ทาโฆษณาไปทาไม (Why do we advertising?) เพื่อกาหนดจุดมุ่งหมายของการโฆษณา (Purpose of advertising) เป็นการสร้างอารมณ์ต่างๆ (Mood) เพื่อกระตุ้นผู้บริโภคให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ เช่น อารมณ์อยาก รับประทาน (Eating Mood) อารมณ์อยากเล่น (Playing Mood) อารมณ์อยากนอน (Sleeping Mood) เป็นต้น สาเหตุที่ต้องตอบด้วยกิริยา เพราะหลักการของการโฆษณาจะต้องสร้างความพร้อมของอารมณ์ (Mood)เพื่อกระตุ้น ผู้บริโภคให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ 2. ใครคือกลุ่มเป้าหมาย (Who is the target group?) คาตอบของคาถามนี้คือ การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target group) ในการโฆษณาจะต้องทราบว่าจะสื่อสารกับใครที่เป็นผู้รับข่าวสาร และต้องทราบถึงกลุ่มต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อ ได้แก่ ผู้ซื้อ (Buyer) ผู้มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ (Influencer) ผู้ใช้ (User) ผู้มีบทบาท


265

ในการให้โฆษณาได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย (Gatekeeper) และผู้ตัดสินใจให้ซื้อ (Decision Maker) เพื่อให้สามารถสื่อสาร ไปได้ตรงกับพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย 3. ใช้จุดขายอะไร (What is the selling point?) จุดขายด้านจิตวิทยาและกายภาพประกอบด้วยจุดเด่น (Feature) และผลประโยชน์ (Benefit) ของสินค้า ในการโฆษณาจะต้องมุ่งขายผลประโยชน์ของสินค้า (Product’s benefit) ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ไม่ใช่ขายจุดเด่นของสินค้า (Product’s feature) จุดเด่นของสินค้ามีไว้เพื่อสนับสนุนจุด ขายให้น่าเชื่อถือ ผลประโยชน์ของตัวสินค้า (Product’s benefit) 4. จะให้การสนับสนุนอย่างไร (How should we support the selling point?) คาตอบของคาถามนี้ คือ การสนับสนุนด้วยข้อเท็จจริง ด้วยบริบท หรือลูกเล่นในการออกแบบโฆษณา ดังนั้นจึงแบ่งการสนับสนุนจุดขายได้เป็น ดังนี้คือ การสนับสนุนจุดขายให้น่าเชื่อถือด้วยข้อเท็จจริง (Factual support) ผู้บริโภคสามารถเข้าใจง่าย รับรู้ได้ รวดเร็ว เป็นการโฆษณาแบบมุ่งขาย (Hard sell) สามารถทาได้ง่าย ชัดเจน ใช้งบประมาณไม่มาก แต่จะมีจุดอ่อนที่ คู่แข่งขันสามารถทาตามได้ง่าย การสนับสนุนให้น่าเชื่อถือด้วยบริบท (สิ่งที่มีอยู่โดยรอบ) (Contextual support) การ สนับสนุนด้วยบริบท อาจจะเป็นการใช้สภาพแวดล้อมโยงเข้ามาหาสิ่งที่เราต้องการโฆษณาอย่างนี้จะมีความสวยงาม ขึ้นแต่จะยากต่อการเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างจุดขายที่เรานามาขายและสิ่งที่จะนามาประกอบการสนับสนุนจุดขาย โดยใช้ลูกเล่นของการโฆษณา (Executional support) คือการใช้ภาพ หรือคาพูดซึ่งเป็นลูกเล่นของการโฆษณา สนับสนุนจุดขายโดยไม่ต้องอธิบาย เมื่อผู้ชมชมแล้วสามารถทราบได้ทันทีว่าจุดขายคืออะไร เป็นสิ่งที่ทาได้ยากที่สุด มี ภาพพจน์แรงที่สุด และเป็นวิธีที่ทาให้โฆษณาได้รับรางวัลมากที่สุด 5. บุคลิกภาพตราสินค้าเป็นอย่างไร (What is the brand personality) คาตอบของคาถามนี้ก็คือการกาหนด บุคลิกตราสินค้าคาว่าบุคลิกภาพตราสินค้า (Brand personality) เป็นลักษณะของสินค้าที่ทาให้ผู้บริโภคคาดหวังว่าจะ ได้อะไรจากการใช้สินค้า 6. โอกาสจากสื่อเป็นอย่างไร (What is the media opportunity?) การกาหนดโอกาสการเปิดรับข่าวสาร ซึง่ หมายถึงช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่งที่สภาพสมองและจิตใจของผู้บริโภคจะเปิดรับข่าวสารได้ดีที่สุด โดยต้องใช้คาถามที่ว่า ที่ไหน (Where?) เมื่อใด (When?) และภายใต้สถานการณ์อะไร (Under what circumstances?) สถาพร หาญพาณิ ช (2546) ได้ให้ความสาคัญในการสร้างสรรค์งานโฆษณาไว้ว่างานโฆษณาที่มีคุณภาพ สามารถสร้างความแปลกใหม่ โดยใช้ความรู้ เหตุผล จินตนาการสร้างเอกลักษณ์และแนวความคิดที่เหมาะสม สร้าง ความรู้สึกต่อเนื่องและแสดงความแตกต่างระหว่างความคิดของนักโฆษณาได้ ประเด็นสาคัญในการสร้างสรรค์งาน โฆษณา มีดังนี้ 1. การวิเคราะห์ลักษณะของผู้รับข่าวสาร (Audience Characteristics) ซึ่งอาจเป็นผู้ฟัง ผู้อ่านหรือผู้ชมที่เป็น กลุ่มเป้าหมายในการโฆษณา เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคโดยศึกษา พฤติกรรมผู้บริโภค(Consumer Behavior) ผลิตภัณฑ์(Product)และคู่แข่งขัน(Competitor) 2. การกาหนดวัตถุประสงค์ในการโฆษณา(Creative Objective) สามารถกาหนดโดยถือเกณฑ์ 3 ด้านคือ วัตถุประสงค์ด้านการตลาด (Marketing Objective) โดยมุ่งที่จะกระตุ้นยอดขายจากผู้บริโภค พ่อค้าปลีก ตัวแทน จาหน่ายหรือพนักงานขาย วัตถุประสงค์ด้านพฤติกรรม(Action Objective)เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดการตอบสนอง เช่น การทดลองใช้ การตัดสินใจซื้อหรือการซื้อในปริมาณที่มากขึ้น


266

3. แนวความคิดในการโฆษณา(Advertising Concept) เป็นสิ่งสาคัญที่สุด เพื่อดึงดูดความสนใจสร้างปฏิกิริยา และทาให้ สินค้ามีความแตกต่างจากคู่แข่งขันได้แก่ จุดขายที่เป็ นเอกลักษณ์ในการค้นหา โดยการค้นหาคุณสมบัติ ผลประโยชน์และจุดเด่นของสินค้าหรือบริการ เพื่อชี้ให้เห็นว่ามีความเหนือกว่าคู่แข่งขันอย่างไร เช่นความปลอดภัย ความคงทน ความสะดวก ความประหยัด การกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ นั่นหมายถึงการกาหนดตาแหน่งของสินค้า และบริการที่มีคุณค่าต่อจิตใจของผู้บริโภคและเป็นคุณสมบัติที่ผู้บริโภคยอมรับได้ รวมทั้งยังมีลักษณะที่แตกต่างจากคู่ แข่งขันด้วยการกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์อาจกาหนดได้จากราคากลุ่มเป้าหมาย ส่วนผสมผลประโยชน์ หรือลาดับชั้น ของผลิตภัณฑ์ และที่ส าคัญอีกที่นักทาโฆษณาต้องคานึง คือ การจูงใจในการโฆษณา (Advertising Appeals) หมายถึง หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการโฆษณาเพื่อให้ เกิดการตอบสนองหรือสร้างอิทธิพลต่อความรู้สึ กของผู้บริโ ภค ความรู้สึกของ ผู้บริโภคที่มีต่อสินค้าหรือบริการ ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ดังนี้ การจูงใจด้านเหตุผล คือลักษณะที่นาไปใช้ประโยชน์ได้ จริง เหตุผลในการเป็นเจ้าของสินค้า โดยเนื้อหามุ่งที่ข้อเท็จจริงการเรียนรู้ หลักเหตุผลในการจูงใจ เช่น รูปลักษณ์ ข้อดี ราคา ความนิยม การจูงใจด้านอารมณ์ คือเน้นการให้ข่าวสารที่มิได้มุ่งขายสินค้าโดยตรง เป็นการสร้างภาพพจน์ การ ตอบสนองความรู้ สึ กหรื อทัศนคติ เช่น การตอบสนองด้ านความปลอดภัย ความรักในครอบครัว หรือ การประสบ ความสาเร็จในชีวิต (เกศินี บัวดิศ.2550) ปัจจุบันนี้สื่อที่ได้รับความนิยมที่สุดคือ สื่อโทรทัศน์( Television) รองลงคือสื่อวิทยุ นับจากเวลาที่เข้าสู่ตลาด เพราะสื่อนาเสนอข้อมูลข่าวสารและความบันเทิงมาสู่สังคมและกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันของผู้บริโภคทั่วไป เพราะมีความหลากหลายของสถานีในยุคดิจิตอล ในปัจจุบันสถานีโทรทัศน์ประเภทไม่ต้องจ่ายเงิน(Free Television) เป็นที่นิยมของกลุ่มเป้าหมายทุกระดับอายุและสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่อาศัยอยู่ทั่วประเทศ นอกจากนี้ อัตราการครอบคลุมของสื่อโทรทัศน์กว้างขวางทั่วประเทศ ทาให้สื่อโทรทัศน์เป็นที่นิยมดังนั้นการวางแผนสื่อโฆษณาใช้ เป็นช่องทางนาเสนอขายสินค้า ยกตัวอย่าง โฆษณาไทยประกันชีวิต ที่มีหลักการสร้างสรรค์โฆษณาให้มีความน่าสนใจ โดยยึดหลักจากเค้าโครงจากเรื่องจริง ในชื่อ ‘Unsung Hero’ ซึ่งมีเนื้อเรื่องที่เล่าเรื่องชีวิตผู้ชายวัยทางานคนหนึ่งที่ เลือกช่วยเหลือผู้คนในสังคมโดยไม่หวังผลตอบแทน และมีคาถามถึงผลตอบแทนในสิ่งที่เขาทา

ภาพที่1 ตัวอย่างภาพโฆษณาไทยประกันชีวิต ‘Unsung Hero’ ที่มา : http://www.beartai.com/video/14892


267

โดยบริษัทไทยประกันชีวิตมีหลักการทาโฆษณา คือ หนังโฆษณาของไทยประกันชีวิตทุกเรื่อง ต้องคิดจาก พื้นฐานเรื่องความรักและคุณค่าของชีวิต สร้างแรงบันดาลใจ โดยอิงกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในแต่ละยุคสมัย คา ว่า “Unsung Hero” ซึ่งมีความหมายว่า ปิดทองหลังพระเกิดจากการมองว่าสังคมปัจจุบันเป็นสังคมที่มีโลกส่วนตัว ค่อนข้างสูง เป็นสังคมที่ก้มหน้าก้มตาไม่ค่อยสนใจคนรอบข้าง จึงอยากกระตุกให้คนหันมาสนใจคนรอบข้าง เห็นคุณค่า ของการทาความดีโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน วิธีคิดงานของหนังโฆษณาไทยประกันชีวิตทุกชิ้นมี 2 ข้อ คือ 1. Relevant เป็นการเชื่อมโยงกับแบรนด์ 2. Unrelevant เป็นการสร้างอารมณ์ร่วมในโฆษณา ทาให้ผู้ชมเกิดอารมณ์คล้อยตามให้ถึงที่สุดแต่สุดท้ายก็ดึงให้ผู้ชม กลับมาที่ประสบการณ์ร่วมและกลับมาปิดท้ายที่แบรนด์ ภาพยนตร์โฆษณาตัวนี้มีการเผยแพร่ทาง Youtube ก่อน โทรทัศน์เป็นส่วนหนึ่งของแผนการวางมีเดียที่ระยะหลังไทยประกันชีวิตจะอาศัยช่องทางโซเชียลมีเดียให้เข้ามาช่วย โดย TVC แต่ละตัว จะไม่มีการวางช่วงเวลาอย่างแน่นอนว่าจะเผยแพร่ทางโซเชียลก่อนออกอากาศจริงกี่วัน สามารถ ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ในช่วงเวลานั้นๆ คุณดวงเดือน คงคาสวัสดิ์ ผู้อานวยการฝ่ายกลุ่มสื่อสารองค์กร บริษัท ไทย ประกันชีวิต จากัดได้สรุปกับ Brand Buffet ว่าภาพยนตร์โฆษณาตัวนี้ถือเป็นการเริ่ม Refreshing Brand 72 ปีของ ไทยประกันชีวิต ที่ร่วมกับ Brand Union Bangkok ทาให้มีคาแร็กเตอร์ ผู้ชายอบอุ่น ทันสมัย สมาร์ท มีสาระ และ มั่นคงซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงสาคัญ 5 ประการ 1.Brand Essence ที่เพิ่มขึ้นคือ “บุกเบิกและผลักดันศักยภาพของทุก ชีวิต” ที่จับต้องได้มากขึ้น มาผนวกกับของเดิมคือ คุณค่าของชีวิต (Value of Life) 2.สีน้าเงินบนโลโก้ เปลี่ยนเป็นสีฟ้า เซลูเลียน(ฟ้าทะเลใส) ทาให้ดูเด็กและทันสมัยมากขึ้น 3.อักษรบนโลโก้ เน้นคาว่า “ไทยประกัน” เติมที่เน้นที่ “ไทย” เพราะคนมักติดปากคา 2-3 พยางค์ 4.โลโก้เปลี่ยนจากสี่เหลี่ยมจัตุรัสมาเป็นสี่เหลี่ยมเปียกปูน ที่มีมุมคล้ายหอกบ่งบอก ถึง “ผู้บุกเบิก พุ่งไปข้างหน้า” 5.สโลแกน “คิด เคียงข้าง ทุกชีวิต” เพื่อตอบโจทย์ Brand Essence (ภาพที่ 2)

ภาพที่2 ภาพตัวอย่างโลโก้ บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด ที่มา : http://www.brandbuffet.in.th/2014/04/unsung-hero-thai-life-insurance


268

ในการทาสื่อโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงนั้น จะมีข้อจากัดหลายประกายเช่น ข้อจากัดด้านเวลาออกอากาศ ความจ ากัดของผู้ ได้รับ ประโยชน์ จากการโฆษณาสินค้าและบริการ ความหลากหลายของเนื้อหา ดังนั้นผู้ผ ลิตต้อง คานึงถึงผลตอบรับ ของผู้บริโภคมากที่สุด แต่สื่อโฆษณาทางวิทยุมีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่าสื่อโทรทัศน์ สามารถครอบคลุม เจาะจงกลุ่มเป้าหมายได้ชัดเจนทั้งสถานีวิทยุตามภาคหรือจังหวั ดต่างๆหรือแม้แต่รายการต่างๆในสถานีวิทยุนั้นๆ ส่วน ข้อจากัดที่แน่นอนคือมีแต่เสียงไม่มีภาพ อัตราสื่อไม่เป็นมาตรฐาน และกระตุ้นความสนใจของลูกค้าเป้าหมายได้น้อย เพราะฉะนั้นสื่อวิทยุจึงมักนิยมใช้ควบคู่ไปกับสื่อประเภทอื่นๆ หรือใช้เตือนความจา การโฆษณาส่งเสริมการขายช่วง สั้นๆ ควรใช้สื่อโทรทัศน์หรือสื่อวิทยุเพื่อทาให้ผู้บริโภคสนใจและเกิดแรงจูงใจในการซื้อสินค้ามากขึ้น ทางบริษัทไทย ประกันชีวิตได้เสนอโฆษณาทั้งในสื่อวิทยุและโทรทัศน์ แต่ในทางโทรทัศน์นั้นจะมีความยาวถึง 3 นาที ในสื่อวิทยุจะให้มี ความยาวเพียง 30วินาทีถึง1นาทีเท่านั้น เนื้อหาที่นาเสนอต้องกระชับ ผู้ฟังสามารถจับใจความได้อย่างรวดเร็ว

สรุป จากกลยุทธ์และวิธีการสร้างสรรค์งานโฆษณาที่กล่าวมา มีปัจจัยที่สาคัญคือ ยุทธศาสตร์ทางความคิด (Idea Strategy) ซึ่งเป็นแนวความคิดของผู้โฆษณา เกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่ปรากฏออกมา ทั้งรูปภาพ คาพูด และจุดเร้า ความสนใจที่สินค้าหรือบริการนั้นมีจนเป็นเหตุให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าหรือบริการนั้นๆ อย่างไรก็ตามกลยุทธ์การสร้างสรรค์ งานโฆษณาต่างๆที่จะนามาใช้อาจมีตัวแปรหรือปัจจัยอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการสื่อสาร เทคโนโลยี อิทธิพลต่างๆที่ เข้าแทรกซ้อนที่อาจมีทั้งผลดีและผลเสียกับสินค้าหรือบริการ การที่จะให้กลยุทธ์นั้นประสบความสาเร็จที่ดีได้นั้นคงต้อง อาศัยข้อมูลหลายๆด้าน จากแหล่งข้อมูลข้าวสารที่กว้างขวางในทุกสื่อ เพื่อที่จะได้งานโฆษณาที่เกิดจากการสร้างสรรค์ จากความคิดที่คงตราตรึงผู้บริโภคสินค้าหรือใช้บริการ เหมือนดังที่นักโฆษณา นักการตลาดได้ทากันการพัฒนาออกมา จนเป็นโฆษณาที่ได้รับการยอมรับจากสังคม


269

เอกสารอ้างอิง เกศินี บัวดิศ. (2550). การสื่อสารโน้มน้าวใจ. ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชฎัชศรีสะเกษ นิวัติ วงศ์พรหมปรีดา. (2536). โฆษณาอย่างไรชนะใจผู้ซื้อ. กรุงเทพฯ : บริษัท เดอะเสิร์ชเชอร์ จากัด พัชรี รุจิรัตนมณี. (2544). “กลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณาทางสิ่งพิมพ์ของโครงการ Amazing Thailand 2000-2001.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการโฆษณา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาพร หาญพานิช. (2546). “การนาเสนอความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งพิมพ์โฆษณา.” วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เสรี วงษ์มณฑา. (2540). การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย. กรุงเทพฯ : บริษัท ดวงกมลสมัย จากัด. อดิศักดิ์ ลิ้มปรุงพัฒนกิจ. (2556). ภูมิทัศน์สื่อใหม่. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ดับเบิ้ลพีเอส(ประเทศไทย). http://www.beartai.com/video/14892 (วันที่ 4 ธันวาคม 2557) http://www.brandbuffet.in.th/2014/04/unsung-hero-thai-life-insurance (วันที่ 4 ธันวาคม 2557)


270

การประชาสัมพันธ

การทองเที่ยวเชิง อนุรักษ บทนํา

ตลอดระยะเวลาที ่ผ า นมาการทอ งเที ่ย ว ของไทยไดเ จริญ เฟองฟูรุด หนามาตามลํา ดับ เปน ผลใหรายไดหมุนเวียนมีมูลคานับแสนลานบาท ซึ่ง สง ผลดีต อ เศษฐกิจ โดยรวมของประเทศ การ พัฒ นาการทอ งเที ่ย วในทิศ ทางที ่ป ระสานการ พัฒนากับการอนุรักษไดมีความพยายามดําเนินการ มาโดยตลอด โดยการวางกลยุท ธใ นการพัฒ นา ภายใตแผนพัฒ นาที่ดําเนิน การอยางรอบคอบตรง ตามหลักวิชาภายใตแนวทาง “การพัฒนาคูอนุรักษ เพื ่อ พิท ัก ษก ารทอ งเที ่ย วไทย” (กองวางแผน โครงการ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2540) เป น ที่ ย อมรั บ กั น ว า การท อ งเที่ ย วเป น อุตสาหกรรม (Industry) ที่ทํารายไดใหกับประเทศมาก ที่สุด ยิ่งวิทยาการทางเทคโนโลยีมีความกาวหนามาก อยางไร ก็ยิ่งทําใหอุตสาหกรรมการทองเที่ยวมีบทบาท มากเทานั้น (นิศา ชัชกุล, 2557) การประชาสัม พัน ธก ารทอ งเที่ย วจึง เปน ปจ จัย สํ า คัญ อยา งหนึ ่ง ที ่จ ะทํ า ใหก ารทอ งเที ่ย ว ประสบความสําเร็จ เพราะเปนการสื่อสารระหวาง ผู ผ ลิต และผู บ ริโ ภค เพื ่อ ใหข อ มูล ขา วสารที ่เ ปน ประโยชนเกี่ยวกับสินคาและบริการ ราคา สถานที่ จัดจําหนาย (นิศา ชัชกุล, 2557) แตใ นการดํ า เนิน การที ่ผ า นมาแนวทาง ตางๆเหลานั้นยังไมสามารถปฏิบัติไดผลดวยสาเหตุ หลายประการ คือ ความสับ สนในการพัฒ นา ระหวา งความตอ งการทางเศรษฐกิจ และการ

อนุรักษ การขาดการจัดรูป แบบการทองเที่ย วและ การประชาสัมพันธที่เหมาะสม การทองเที่ยว การทองเที่ยว(Tourism) คือ กิจกรรมการ เดิน ทางจากจุด หนึ่ง ไปยัง อีก จุด หนึ่ง ซึ่ง นับ ตั้ง แต จุด เริ่ม ตน จนถึง ปลายทางจะตอ งประกอบดว ย 3 ประการเปน อยา งนอ ย คือ เดิน ทาง การพัก คา ง แรมและการกิน อาหารนอกบา น เปน การใชเ วลา วา งของมนุษ ยเ พื ่อ แสวงหาความสุข และความ เพลิดเพลิน จากแหลงทองเที่ยวที่ไปเยือนเปน การ ชว ยผอ นคลายความเหน็ด เหนื ่อ ยเมื ่อ ยลา และ ความเครียด ทําใหสุขภาพทางกายและจิตใจสดชื่น ดีขึ้น พรอมที่จะกลับไปเผชิญกับภารกิจตางๆ และ การดํา รงชีวิต ที่จํา เจไดอ ยา งมีป ระสิท ธิภ าพ การ ทอ ง เ ที ่ย ว เ ปด โ อ ก า ส ใ หม ีก า ร ศึก ษ า เ รีย น รู ประสบการณค วามแปลกใหมต ลอดเวลาการ เดินทาง ชวยเพิ่มพูนประสบการณชีวิตในดานตางๆ และเขาใจสภาพแวดลอมของแหลงทองเที่ย วที่ไป เยือ นดีขึ้น ซึ่ง เทา กับ เปน การเพิ่ม จิต สํา นึก ที ่มีต อ สิ่งแวดลอม หากการจัดการแหลงทองเที่ยวมีระบบ ที ่ด ี จะสามารถใชเ ปน เครื ่อ งมือ ในการอนุร ัก ษ สิ่งแวดลอมของแหลงทองเที่ยวและบริเวณโดยรอบ ไ ด ซึ ่ง เ รื ่อ ง นี ้ใ น อ ดีต ไ มไ ดส น ใ จ กัน ม า ก นัก จนกระทั่ง กระแสการทอ งเที่ย วเชิง นิเ วศในระดับ โลกไดเขา มามีบ ทบาทในประเทศไทย หลายฝา ย เริ่มมองเห็นคุณคาของการทองเที่ยวตอการอนุรักษ สิ่ง แวดลอ มมากขึ้น ตามลํา ดับ การทอ งเที่ย วเปน กลไกธรรมชาติที่กอใหเกิดการปฏิสัมพัน ธระหวา ง นักทองเที่ย วกับชุมชนทองถิ่น เปดโอกาสใหมีการ เรีย นรูวัฒ นธรรมของแตล ะฝา ยดีขึ้น และนํา ไปสู ความเขาใจและมีมิตรภาพที่ดีตอกัน การทองเที่ยว กอ ใหเ กิด รายไดก ารไหลเวีย นของเศรษฐกิจ และ การจางงานทั้งในระดับทองถิ่นภูมิภาคและประเทศ โดยรวม(นิศา ชัชกุล, 2557)


271

การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เปนการทองเที่ยวที่ชวยรักษาธรรมชาติไม ทําลายสิ่งแวดลอม พรอมทั้งไดรับความสุขจากการ เดินทาง คือการทองเที่ยวแบบ Ecotourism หรือ Green Travel ซึ่งเหมาะกับสภาวะของโลกใน ป จ จุ บัน ที่ เ ราควรร ว มมื อ กั น ประหยั ดพลั งงานและ รักษาสิ่งแวดลอม การทองเที่ย วแบบ Ecotourism หรือ Green Travel มีทั้งการเที่ยวชมธรรมชาติและ ศึ ก ษาเรื่ อ งราวของสรรพชี วิ ต เช น เดิ น เที่ ย วบน เสนทางศึกษาธรรมชาติภายในเขตอุทยานแหงชาติ เดินปาระยะไกล ดูนก ดูผีเสื้อ ดูพรรณไม รวมถึงการ ทองเที่ยวเชิงเกษตร เชน การเที่ยวชมฟารมปศุสัตว ไร องุ น เปน ต น (การท องเที่ย วแห งประเทศไทย (สํานักงานใหญ) ,2557) การประชาสัมพันธ การประชาสัมพันธ(Public Relation) เปนการ ติดตอสื่อสารจากองคการไปสูสาธารณชนที่เกี่ยวของ รวมถึ ง รั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น และประชามติ จ าก สาธารณชนที่ มีตอองค การ โดยมีวั ตถุ ป ระสงคเพื่อ สร า งความเชื่ อ ถื อ ภาพลั ก ษณ ความรู และแก ไ ข ขอผิดพลาดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะถูกใชเพื่อสงเสริม ผลิ ต ภั ณฑ บุ คลากร สถานที่ แนวคิ ดและกิจ กรรม การดํ า เนิ น งานต า งๆ ขององค ก าร เช น ธุ ร กิ จ การค า ใช การประชาสั มพัน ธ เ พื่ อเป น การฟน ความ สนใจของลู ก ค า ต อ สิ น ค า ที่ ต กต่ํ า ลง การใช ก าร ประชาสัมพันธของประเทศในการดึงดูดนักทองเที่ยว หรื อนั กลงทุ น เพื่ อให เ ข า มาท องเที่ ย วหรื อลงทุน ใน ประเทศ หรือการที่บริษัทใชการประชาสัมพันธเพื่อ จั ด การกั บ วิ กฤติ ที่ เ กิ ดขึ้ น จากความเข า ใจผิด ในตั ว สินคาของผูใชสินคา เปนตน การท องเที่ ย วเชิ งอนุ รั กษ เ ป น หนึ่ ง ในส ว น ประสมของการสื่อสารทางการตลาดซึ่งมีความสําคัญ อย า งหนึ่ ง ขององค ก ารที่ น อกเหนื อ จากการ โฆษณาการขายโดยพนักงานขาย และการสงเสริม การขายทั้งนี้ องคการอาจอยูในรูปของบริษัท หาง

ราน สมาคมหรือหนวยงานตางๆอันเปนสวนหนึ่งใน ระบบสังคมซึ่งมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน องคการ จะไม ส ามารถอยู ใ นสั ง คมได ห รื อ อยู ไ ด ย ากหาก ปร าศ จ าก กา ร ยอ ม รั บ แล ะ คว า มเ ข า ใ จจ า ก สาธารณชนซึ่งเปนสวนหนึ่งในสังคมดังนั้นจึงจําเปน ที่องคการตองใหความสนใจตอการทําความเขาใจ และสรางความสัมพันธอันดีกับสาธารณชนโดยผาน สื่ อ ต า งๆโดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ส าธารณชนมี ทัศนคติ ความเชื่อหรือมุมมองที่ดีตอองคการ อันจะ สงผลตอการดําเนินงานอยางราบรื่นในระยะยาวของ องคการ (ประภาศรี สวัสดิ์อําไพรักษ, 2557) หลักการประชาสัมพันธ เนื่ องจากสิ่ งที่ใช ในการประชาสั มพันธ มี อยู มากมายหลายชนิดดวยกัน ฉะนั้นผูที่จะตัดสินใจเลือก สื่ออะไรมาใชจะตองพิจารณาใหรอบคอบเสียกอน วาจะ เหมาะสมและช ว ยให บ รรลุ เ ป า หมายหรื อไม การ พิจารณาเลือกสื่อมาใชนั้นควรจะคํานึงถึงลักษณะของ สื่อที่แตกตางกัน ดังนี้ 1. ดานเนื้อที่–เวลา (Space – Time) สิ่งพิมพ รูปภาพ เปนสื่อที่คํานึงถึงเฉพาะดาน “ เนื้อที่ ” การพูดทาง โทรศัพท วิทยุ คํานึงเฉพาะดาน “ เวลา ” ส วนการติ ดต อธรรมดา โทรทั ศน และภาพยนต นั้ น คํานึงถึง “ เนื้อที่ – เวลา ” 2. การมี ส ว นร ว มของประชาชนเป า หมาย (Audience's participation) หากจะรียงลําดับสื่อที่ ประชาชนเปาหมาย ไดมีสวนรวมมากที่สุดไปยังนอย ที่สุด สามารถเรียงไดดังนี้ การสนทนาระหวางบุคคล กลุมอภิปราย การประชุมที่ไมเปนทางการ โทรศั พท การประชุ ม ที่ เ ป น ทางการภาพยนตร เ สี ย งในฟ ล ม โทรทัศน วิทยุกระจายเสียง โทรเลข จดหมายโตตอบ ระหวางบุคคล ( ทั้งสวนตัวและกึ่งราชการ ) จดหมาย ติดต อทั่ วไป ( จดหมายราชการหรื อที่ มีรู ปแบบเป น ทางการ ) หนังสือพิมพ ใบประกาศและภาพโฆษณา นิตยสาร หนังสือ


272

3. ดานความเร็ว (Speed) สื่อที่มีความเร็วมาก ที่สุดคือ วิทยุและโทรทัศน และสื่อที่ชาที่สุด คือ พวก หนังสือ ลักษณะเหลานี้อาจกลาวไดวา หากเปนการ ติ ด ต อ เผยแพร ข า วความเคลื่ อ นไหว ก็ ต อ งอาศั ย ความเร็ ว สู ง แต ห ากข า วสารใดที่ ต อ งการให ประชาชนเปาหมายไดศึกษาวิเคราะหอยางละเอียดก็ ตองใชสื่อที่มีความเร็วต่ํา 4. ดา นความคงทน (Permanence) หนังสือ จัดไดวาเปน สื่อที่มีความคงทนถาวรมากกวาสื่อใด ๆ วิทยุและโทรทัศนจัดเปน สื่อที่มีความคงทนนอย ที่สุด (กระจอกขาว, 2557) หลักของการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ 1. เปนการทองเที่ยวที่ไมกอใหเกิดความเสื่อม โทรมทางสภาพแวดล อม ไม ว าจะเป นน้ํ าเสี ย ขยะ ตลอดจนการคมนาคม 2. ก อให เกิ ดประโยชน ในระยะยาวแก ทรั พยากร ชุ มชนในท องถิ่ น และอุ ตสาหกรรมการ ทองเที่ยว สวนหนึ่งของรายไดควรยอนไปสูการอนุรักษ 3. การจัดประสบการณใหนักทองเที่ยวเปน การศึกษาดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมสภาพสังคมและ วัฒนธรรมทองถิ่น ควรสนับสนุนใหนักทองเที่ยวมีความ รับผิดชอบทั้งดานคุณธรรมจริยธรรมและพฤติกรรมของ ตนเองที่ มี ต อ สภาพแวดล อ มทางธรรมชาติ และ วัฒนธรรมในชุมชนที่เปนแหลงทองเที่ยว 4. ในการสร างหรื อการจั ดการใดๆ ควร ยอมรับในขอจํากัดของสถานภาพแหลงทองเที่ยวตาม ลักษณะที่ เป นอยู หากมี การพั ฒนาหรือเปลี่ ยนแปลง ควรเปนไปเพื่อใหทัศนียภาพของทองถิ่นดีขึ้นตลอดจน การลงทุ น ทางด า นการท อ งเที่ ย วก็ เ ป น ไปเพื่ อ น สนับสนุนเศรษฐกิจและกิจกรรมตางๆในทองถิ่น ไมพึ่ง การลงทุนของตางชาติซึ่งเปนการลดการไหลออกของ รายไดไปยังตางประเทศ 5. ในการวางแผน ตั ดสิ นใจและดํ าเนินการ งานตลอดจนการควบคุ ม ควรให คนในท องถิ่งมีสวน ร ว มมากที่ สุ ด มิ ใ ช เ ป น เพี ย งเป า หมายของการ

ทองเที่ยวและใหบุคคลภายนอกมาคิดและตัดสินใจ เพียงฝายเดียวเพราะจะไมเปนไปตามความตองการ ของคนในทองถิ่นอยางแทจริง 6. ผูประกอบการทองเที่ยวมีบทบาทสําคัญใน การอนุ รั กษ การท องเที่ ยวให มีคุ ณภาพยั่ งยื น หรือไม เพียงใด การทําธุรกิจโดยมุงทํากําไรสูงสุดในระยะสั้น นํา เที่ยวก็สามารถเก็บเกี่ยวผลประโยชนจากการทองเที่ยว ได ตราบนานเท านานถ ามี การจั ดทํ าธุ รกิ จที่ ถู กต อง เหมาะสม นั บตั้ งแต การใช วั ส ดุ ที่ ไม ทํ าลาย สภาพแวดลอมและสามารถนํามาใชใหมได 7. มี การจั ดการและควบคุ มจํ านวนของ นั กท องเที่ ย วให อยู ในระดั บ ที่ เหมาะสมและไม เกิ น ความสามารถของชุมชนในทองถิ่นและระบบนิเวศของ แหล งท องเที่ ย วจะรองรั บได อี กทั้ งมี นั กท องเที่ ย ว สม่ํ าเสมอตลอดทั้งปไม ใช มี เฉพาะฤดู กาล เพื่ อสร าง ความมั่นคงใหกับผูที่ทํางานในอุตสาหกรรมนี้ (วรรณพร วณิชชานุกร และคณะ, 2542) วิธีการประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ คือ การนําเรื่อง การทองเที่ย วเชิงอนุรักษ เข ามาปรั บใช ในการประชาสั มพั นธ จากการที่ กล าว ขางตนในดานตางๆ เชน บนเว็ปไซต โปสเตอร แผนพับ เพื่อเปนการสื่อสารระหวางผูผลิตและผูบริโภค เพื่อให ขอมูลขาวสารที่เ ปน ประโยชนเกี่ ย วกับ การบริการ ราคา สถานที่ในมุมมองของนักสื่อสารการตลาดหรือ นั ก โฆษณามองว า การทํ า โฆษณาเป น เสมื อ นการ สรางมูลคาใหกับการทองเที่ยวในระยะยาว และชวย ทําใหการทองเที่ ย วเชิงอนุรักษเ กิด “แรงกระตุน ” สามารถรั ก ษามู ล ค า ในสายตาผู บ ริ โ ภคได อ ย า ง ต อ เนื่ อ ง เช น การโฆษณา ของ ททท.หรื อ การ ทองเที่ยวแหงประเทศไทยบนโทรทัศน หรือ วิทยุ ในการดําเนินการประชาสัมพันธตองอาศัย วิธีการ กระบวนการตางๆ อาจเปนวิธีการเดียวหรือ หลายๆ วิธีรวมกันโดยวิธีการในการประชาสัมพันธอาจ มีรูปแบบตางๆ ดังนี้


273

1. การออกข าวประชาสั มพั นธ (Publicity) วัตถุประสงคพื้นฐานของการออกขาวที่มุงตลาดคือ เพื่ อก อ ให เ กิ ด ความตระหนั ก ในตราสิ น ค า ส ง เสริ ม ทัศนคติที่ดีตอบริษัทและตราสินคาของบริษัท 2. ก า ร บ ริ ก า ร ข า ว ส า ร ( Information service) คือ การใหขาวสาร การแจงแถลงความจริง ใหรูขอเท็จจริงในเรื่องตางๆ 3. การโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) เปนการโฆษณาที่มุงประโยชนของตนฝายเดียว มี จุดประสงคเพื่อโนมนาวความคิดและจูงใจดวยวิธีการ ตางๆ 4. การจูงใจ (Persuasion) เปนลักษณะของ การชักจูงลูกคาใหมีพฤติกรรมตามที่บริษัทตองการ 5. การกระตุนเตือน (Motivation) จะมี ลั ก ษณะคล า ยคลึ ง กั บ การจู ง ใจ แต ก ารกระตุ น นี้ สามารถใชเพื่อใหลูกคามีพฤติกรรมตามที่ตองการ ขอดี/ขอเสีย ของการประชาสัมพันธการทองเที่ยว เชิงอนุรักษ ขอดี 1. ความนาเชื่อถือ(creditability) การประชาสัมพันธ สามารถใหความเชื่อถือไดมากกวา การโฆษณา เพราะผู ได รั บสารประชาสั มพั นธ ย อม ตระหนักดีกวา 2. สามารถเขาถึงกลุมเฉพาะได (ability to reach specific groups) 3. การสร า งภาพลั ก ษณ ( imagebuilding) การใช ก ารประชาสั ม พั น ธ ที่ ดี มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จะ นํ า ไปสู ก ารเสริ ม สร า งภาพลั ก ษณ ใ นทางบวก (positive image) ใหกับหนวยงาน หรือบริษัทได เปนอยางดี ขอเสีย 1. การประชาสัมพันธบางครั้งมีความเปนไปได ที่วา ไมทําหนาที่อยางสมบูรณตามกระบวนการสื่อสาร กลาวคือ ขาวสารอาจถึงผูรับ แตผูรับไมสามารถทราบ แหลงตนตอของขางสารนั้นได

2. กา รทํ า ปร ะช า สั ม พั น ธ บา งครั้ งไ ม สอดคลองสัมพันธกับแผนงาน อันเปนเหตุอันเกิด จากการบริหารที่ผิดพลาด ขาดการประสานงานกัน ผลที่เกิดขึ้นจึงมีทิศทางที่ไมตอเนื่องสนับสนุน (การสื่อสารการตลาด, 2557) ตั ว อย า ง การประชาสั ม พั น ธ ก ารท อ งเที่ ย วเชิ ง อนุรักษ

สถานทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่ ปาเขาภูหลวง วังน้ําเขียว นครราชสีมา มีการประชาสัมพันธ ทาง เว็ ป ว า ที่ นี่ มี ทั้ ง ที่ พั ก อาหาร กิ จ กรรมต า งๆ โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ท า ง การเกษตร/OTOP สถานที่เที่ยวที่นาสนใจใกลเคียง ประวั ติ แล ะ ข อ มู ล การเ ดิ น ทา ง พร อมทั้ ง มี ภาพประกอบเพื่ อ เพิ่ ม ความน า สนใจ ในการ ประชาสัมพันธ (สถานทองเที่ยวเชิงอนุรักษปาเขาภู หลวง, 2557) วิเคราะห สถานทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่ ปาเขาภูหลวง ทําการประชาสัมพัน ธโดยใช วิ ธีการประชาสัมพันธ การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ การจะตัดสินใจเลือก นําสื่อ อะไรมาใชจะตองพิจารณาใหรอบคอบเสียกอน วาจะ เหมาะสมและชวยใหบรรลุเปาหมายหรือไม โดยที่นี่มี การประชาสัมพันธทางเว็ป และบอกถึงสิ่งที่จะไดพบ จากการมาเที่ ยวที่ นี่ ว ามี อะไรบ าง มี ภาพประกอบใน เว็บไซต ชวนใหเห็นภาพ


274

สรุป

การทองเที่ยวเชิงอนุรักษเปนการทองเที่ยวที่ คํานึงถึงผลประโยชนของธุรกิจทองเที่ยวในระยะยาว จึงตองมี การอนุรั กษ สภาพสิ่งแวดล อมและวัฒนธร มของชุ ม ชนที่ เ ป น แหล ง ท อ งเที่ ย วให มี ผ ลกระทบ ในทางลบนอยที่สุด และทองถิ่น ยังไดรับ โยชน จาก อุตสาหกรรมการทองเที่ยว การประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ในเรื่องของการประชาสัมพันธ มีผลอยางมากตอการ ทองเที่ย วในแต ล ะพื้ นที่ ของแต ล ะจั งหวั ด จึงมีการ แขงขันในธุรกิจการทองเที่ยวเกิดขึ้น อยูที่วาสถานที่ ท อ งเที่ ย ว ไหนมี ค ว าม น า ส มใจกว า กั น หรื อ ตอบสนองความต อ งการของผู ค นได ดี เช น มี กิ จ กรรมให ทํ า หลากหลาย สถานที่ พั ก น า อยู ร า นอาหารอร อ ย และสถานที่ ทองเที่ ย วในระแวก ใ ก ล เ คี ย ง น า ส น ใ จ ทั้ ง ห ม ด นี้ ขึ้ น อ ยู กั บ ก า ร ประชาสัมพันธในแตละสถานที่ การที่จะทําใหการประชาสัมพันธสําเร็จผล หรื อ บรรลุ เ ป า หมาย ได นั้ น ต อ งใช หลั ก การการ ประชาสั มพั นธ คือ หลักดา นเนื้อที่-เวลา หลักการ ประชาสั ม พั น ธ หลัก การมี ส ว นร ว มของประชาชน หลั ก ความเร็ ว หลักความคงทน ดั งที่ กล า วขา งต น โดยนํ า มาใช ร ว มกั บ วิ ธี ก ารประชาสั ม พั น ธ ก าร ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เพื่อใหมีประสิธิภาพมากขึ้น จะ ทํ าให ป ระสบผลสํ าเร็ จ ในการประชาสั มพั น ธ การ ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ

เอกสารอางอิง

กองวางแผนโครงการ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. สรุปนโยบายการทองเที่ยวเชิงนิเวศ. 2540. กระจอกขาว. การประชาสัมพันธ. 2557.(ออนไลน). เขาถึงจาก : http://www.oknation.net /blog/print.php?id=292121. (22 พฤศจิกายน 2557) การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (สํานักงานใหญ). 2557. การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ. (ออนไลน) เขาถึงจาก : http://thai.tourismthailand.org สถานที่ ทองเที่ยวและกิจกรรม/ประเภทกิจกรรม ทองเที่ยว/ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ. (22 พฤศจิกายน 2557) การสื่อสารการตลาด. 2557. (ออนไลน) เขาถึงจาก : http://free4marketingad.blogspot.com /2012/03/blog-post_09.html. (22 พฤศจิกายน 2557) วรรณพร วณิชชานุกร และคณะ. การทองเที่ยว เชิงอนุรักษ. กรุงเทพมหานคร : กรมสงเสริม และเผยแพร กรมสงเสริมคุณภาสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ สิ่งแวดลอม, 2542. นิศา ชัชกุล. อุตสาหกรรมการทองเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : บริษัททวี.พริ้นทจาํ กัด, 2557. ประภาศรี สวัสดิ์อําไพรักษ. 2557. (ออนไลน) เขาถึง จาก : http://www.stou.ac.th/stouonline/ lom/data/sms/market/Unit8/SUBM2/ U822-1.htm. (22 พฤศจิกายน 2557) สถานทองเที่ยวเชิงอนุรักษปาเขาภูหลวง. 2557.(ออนไลน) เขาถึงจาก:http://www.wangnamkheo.com /phuluang.htm (22 พฤศจิกายน 2557)

นาย ปยะภาค คุณียพันธุ 54040766


การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเกาหลีใต้

275

บทนำ�

ภาพที่ 1 จุดคล้องกุญแจคู่รัก ณ หอคอย N SEOUL TOWER ที่มา : http://travel.mthai.com/wp-content/uploads/2013/02/seoul-loc.jpg

วิถีชีวิตคนไทยในทุกวันนี้มีความเกี่ยวข้องและใกล้ชิดกับ ประเทศเกาหลีใต้มากเข้าไปทุกทีโดยที่เราไม่รู้ตัว เรามีสินค้าชั้น นำ�ที่ผลิตจากเกาหลีใต้เข้ามาใช้สอยมากมายไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า, โทรศัพท์มือถือ , ดารา-นักร้อง-ละครเกาหลี ก็ ดังพอๆ กับเสื้อผ้า เครื่องสำ�อางค์ หรือแม้แต่เวลาเราเปิดโทร ทั ศ น์ ขึ้ น มาก็ ยั ง มี ล ะครเกาหลี ม าฉายให้ ดู จ นคนไทยประทั บ ใจฉากและวิ ว ทิ ว ทั ศ น์ จ นต้ อ งตามไปท่ อ งเที่ ย วที่ ป ระเทศเกาหลี

ข้อมูลพื้นฐาน จากกรุงเทพฯ เดินทางไปเกาหลีใต้ใช้เวลาเดินทางเพียง 5 ชั่วโมงครึ่ง ที่เกาหลีใต้มีสถานที่ท่องเที่ยวสวยงามมากมาย เช่น ภูเขาสี่ฤดู โซรัคซาน ที่ได้ชื่อว่าเป็นสวิสเซอร์แลนด์ของเกาหลี เลยทีเดียว, พระราชวังโบราณเคียงบก เป็นพระราชวังไม้เก่า แก่ที่สวยงามน่าเยี่ยมชม, ย้อนรอยละครดัง Winter Love Song ที่ เกาะนามิเป็นเกาะรูปใบไม้สวยงาม, อาบน้�ำ แร่สไตล์ เกาหลี สดชื่น เพิ่มเลือดลมให้ไหลเวียน, พักผ่อนแบบชาว เกาหลีที่ หอคอย N ชมวิวทิวทัศน์รอบกรุงโซลและพิพิธภัณฑ์ หมี Teddy Bear มีชื่อ โดยมีตุ๊กตาหมีเป็นตัวแทนเล่าเรื่อราว วัฒนธรรม ประเพณี รวมถึงประวัติต่างๆ ของชาวเกาหลี, สนุก

ภาพที่ 2 บรรยากาศตอนกลางคืนของประเทศเกาหลี ที่มา : http://wisehouseinter.com/userfiles/Korea%20view.JPG

สุดคุ้ม ไปดีสนีย์เกาหลี หรือสวนสนุกเอเวอร์แลนด์ มีเครื่อง เล่นมากมายไม่แพ้ที่อื่น, ช๊อปจุใจที่ย่านสุดฮิปเมียงดง มีสินค้า สไตล์ เ กาหลี ใ ห้ เ ลื อ กจนลานตาบรรดานั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทย ต่ า งพากั น หลั่ ง ไหลนำ � เงิ น บาทไทยไปใช้ จ่ า ยกั น ปี ล ะมากมาย นอกจากนี้ รั ฐ บาลเกาหลี ยั ง มี น โยบายรณรงค์ ใ ห้ ค นต่ า งชาติ มาเที่ยวประเทศและได้ทำ�การส่งเสริมการท่องเที่ยวในทุกรูป แบบเตรี ย มตั ว ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น เจ้ า บ้ า นที่ ดี มี ไ มตรี จิ ต มิ ต รภาพ ต่ อ ผู้ ม าเยื อ นที่ นี่ เ พื่ อ ช่ ว ยพยุ ง เศรษฐกิ จ ประเทศกั น โดยใน ปี2556นั้นมีคนไทยไปเกาหลีจำ�นวนถึง387,441คนเลยทีเดียว


ปัจจัยส่งเสริมการท่องเที่ยว

276

ปัจจุบันการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชนในแขนงต่างๆนั้นมีความหลากหลายค่อนข้างมาก และรูปแบบการประชาสัมพันธ์ก็มี ความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์มีทั้งเพื่อสร้างความนิยมให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนเพื่อปกป้องและ รักษาชื่อเสียงสถาบัน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ภายในเพื่อดึงดูดความสนใจ เพื่อสร้างความเชื่อถือ เพื่อสร้างสรรค์ความเข้าใจ เป็นต้น ปัจจัยการส่งเสริมการท่องเที่ยวประเทศเกาหลีปัจจัยแร เวลาเราฟั ง เพลงเกาหลี ใ นเบื้ อ งต้ น ก็ จ ะแค่ ทำ � นองเพราะดี กก็ คื อ ละครของประเทศเกาหลี นั้ น มี จุ ด ดึ ง ดู ด ผู้ ช มประการ แต่ ไ ม่ รู้ ว่ า เนื้ อ หากล่ า วถึ ง อะไรแต่ พ อถึ ง จุ ด หนึ่ ง คนก็ อ าจจะ หนึ่งจากฉากและสถานที่ถ่ายทำ�สถานที่ที่แปลกตาแตกต่าง อยากรู้ความหมายก็ไปสืบมาว่า คำ�นี้แปลว่า ฉันรักคุณ คำ�นี้ ไปจากบ้ า นเรานั้ น ก็ ส ามารถทำ � ให้ ผู้ ช มสนใจติ ด ตามละคร แปลว่า ขอโทษ คำ�นี้แปลว่า คิดถึง และพอถึงจุดหนึ่งมันก็ถึง ละครเกาหลีมีความมากมายหลากหลายของฉากและสถาน ระดับที่ไม่อยากรู้แค่งูๆปลาๆ อยากเรียนภาษาเกาหลีกันไป ที่ฉากในละครจะไม่เน้นเมืองหลวงแต่จะนำ�เสนอบรรยากาศ เลยหรืออยากจะไปเที่ยวประเทศเกาหลีเลยก็มีซึ่งพอถึงตรงนี้ สภาพบ้ า นเรื อ นผู้ ค นของเมื อ งต่ า งจั ง หวั ด ที่ มี ทิ ว ทั ศ น์ มันก็จะเป็นกระบวนการเผยแพร่ที่แท้จริงภาษาเป็นเรื่องของ สวยงามตามธรรมชาติ ทำ � ให้ ผู้ ช มรู้ สึ ก คล้ า ยได้ ไ ปเที่ ย วใน วัฒนธรรมซึ่งพูดกันตามจริงมันยากและลึกที่สุดแล้วเพราะต้อง สถานที่ เ หล่ า นั้ น จริ ง ๆจึ ง สามารถสร้ า งความเพลิ ด เพลิ น ได้ ใช้เวลาและความอุตสาหะดังนั้นไม่ต้องพูดถึงในระดับผิวเผิน เป็ น อย่ า งมากนอกจากนี้ สิ่ ง สำ � คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง คื อ ละคร อย่างการท่องเที่ยว เขาได้เห็นวังเกาหลีการแต่งตัวแบบโบราณ เกาหลีได้มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมของคนไว้ในละครอีกด้วย แล้วประทับใจอยากจะไปเยือนที่ตรงนั้นบางคนอาจจะอยาก สื่อละครเป็นแค่ใบเบิกทางให้กระบวนการประชาสัมพันธ์ ไปแค่ ไ ด้ ไ ปเห็ น ด้ ว ยตาบางคนก็ อ าจจะถึ ง ระดั บ อยากมี ก าร ทำ�งานได้ง่ายขึ้น ซึ่งผลที่ได้นั้นถือว่าประสบความสำ�เร็จค่อน ศึกษาก็มีสรุปว่าจริงๆสื่อละครอาจจะมีผลต่อทัศนคติของผู้ชม ข้างมาก การสอดแทรกวัฒนธรรมเกาหลีไปกับละครซึ่งมันเป็น ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับคนๆนั้นด้วยแต่ถ้าดูภาพรวมจากจุดเริ่มต้น ความบันเทิงระดับเข้าถึงได้ง่ายและทุกระดับชนชั้นเป็นการ ที่หนังหรือละครเกาหลีเข้ามาในประเทศไทยประมาณ 4 – 5 ปูทางอย่างดี ผู้ชมก็พร้อมที่จะอยากรู้จักเกาหลีมากขึ้น เพื่อ ปี นับถึงวันนี้ก็นับได้ว่าสำ�เร็จมากเพราะเปิดหน้าหนังสือพิมพ์ ที่ จ ะเข้ า ใจและสั ม ผั ส ความบั น เทิ ง ได้ ม ากขึ้ น จากผลงานชิ้ น ก็มี ทัวร์ไปเกาหลี หลายมหาวิทยาลัยก็เปิดสอนภาษาเกาหลี เดียวกันซึ่งมันก็เป็นกำ�ไรแก่ตัวผู้ชมเอง เช่น ยกตัวอย่างง่ายๆ

ภาพที่ 3 โปสเตอร์ละครและศิลปินเกาหลี ที่มา : http://korea.tlcthai.com/wp-content/uploads/2014/09/10636012_630.jpg

ปัจจัยอีกประการหนึ่งน่าจะเป็นสื่อมวลชนได้เข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาประเทศและการดำ�เนินชีวิตของคนไทยอย่าง มากสื่อมวลชนเป็นสื่อสาธารณะอย่างหนึ่งที่มีความสำ�คัญต่อบทบาททางการกระจายข้อมูลข่าวสารเนื่องจากสื่อมวลชนมี ลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งนั่นคือมีความสามารถในการเผยแพร่ข่าวสารไปถึงผู้รับสารได้อย่างรวดเร็วและถึงกลุ่มผู้รับสารจำ�นวน มากสื่อมวลชนมีความเติบโตขึ้นเพราะเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าการขยายตัวของเมืองใหญ่หรือเมืองหลวงการศึกษาของประชากรที่ เพิ่มสูงขึ้นและทำ�ให้เกิดรายได้ที่สูงขึ้น ในบรรดาสื่อมวลชนประเภทต่างๆโทรทัศน์นับได้ว่าเป็นสื่อมวลชนประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมและความสนใจจาก ประชาชนทุกระดับ เนื่องจากโทรทัศน์เป็นสื่อมวลชนที่น�ำ เสนอทั้งภาพและเสียงและจัดได้ว่าโทรทัศน์เป็นสื่อที่เข้าถึงประชาชน ได้มากที่สุดพร้อมทั้งเป็นสื่อที่มีอิทธิพลต่อประชาชนโดยตรงต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้สูงขึ้นได้ โทรทัศน์ สามารถนำ�เสนอเหตุการณ์ต่างๆสู่สาธารณชนได้อย่างชัดเจนและสมจริงที่สุดรายการต่างๆที่แพร่ภาพผ่านทางโทรทัศน์นั้นก็ มีหลากหลายประเภท เช่น ข่าว สารคดี เกมโชว์ ละคร ฯลฯ ซึ่งรายการที่ถือได้ว่าได้รับความสนใจจากคนส่วนใหญ่คือ ละคร โทรทัศน์เพราะละครโทรทัศน์เป็นการนำ�เรื่องราวความเป็นจริงในสังคมมาเสนอ โดยอาศัยตัวแสดงที่เป็นผู้ถ่ายทอดบทบาทนั้นๆ ให้ผู้ชมได้รับรู้เมื่อผู้ชมรับรู้ก็จะเกิดปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งที่ได้เห็นได้ชมจากรายการโทรทัศน์ความสัมพันธ์จึงเกิดขึ้น


277

การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเกาหลี การประชาสัมพันธ์ประเทศเกาหลีในประเทศไทยนั้น มี อ งค์ ก รที่ มี ค วามสำ � คั ญ ต่ อ ประเทศสาธารณรั ฐ เกาหลี ด้านการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว คือ องค์การส่ง เสริมการท่องเที่ยวเกาหลี (Korea Tourism Organization) องค์กรนี้เป็นองค์กรที่สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม และการท่องเที่ยว องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาหลี ก่อตั้งในประเทศไทยมาเป็นระยะเวลานานกว่า 20 ปี และมีบทบาทในด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการท่อง เที่ ย วให้ กั บ ประเทศสาธารณรั ฐ เกาหลี ใ นประเทศไทย ซึ่ ง เป็ น รู ป แบบหลั ก ของการประชาสั ม พั น ธ์ อ งค์ ก าร ส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาหลีมีทั้งหมด 5 ลักษณะคือ

ภาพที่ 4 บรรยากาศหิมะตก ณ หอคอย N SEOUL TOWER ที่มา : http://paradiseintheworld.com/wp-content/uploads/2012/02/N-seoul-tower.jpg

1) สนับสนุนและแนะนำ�จุดท่องเที่ยวใหม่ๆทั้งในรูปแบบของการศึกษาดูงานและการท่องเที่ยวทั่วไป 2) แนะนำ�วิธีการทำ�การตลาดให้กับบริษัททัวร์ 3) ให้การสนับสนุนในการให้ของชำ�ร่วย 4) อำ�นวยความสะดวกในการประสานงานให้กับนักท่องเที่ยว 5) จัดงานและกิจกรรมต่างๆ เช่น จัดประชุมนิทรรศการ Expo ระดับใหญ่ๆ , Film Festival การประกวดภาพถ่าย เป็นต้น จากบทบาทขององค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาหลีดัง กล่าววิเคราะห์ได้ว่ารัฐบาลเกาหลีได้มีการวางรากฐานและ บริ ห ารจั ด การด้ า นการประชาสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ส่ ง ผลต่ อ การส่ ง เสริ ม ให้ ป ระเทศเกาหลี เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ของประเทศต่ า งๆมาก ยิ่ ง ขึ้ น และด้ ว ยแรงผลั ก ดั น ที่ ดี ที่ มี ก ารให้ ร างวั ล แก่ บ ริ ษั ท ทั ว ร์ ที่ ทำ � ยอดได้ ร วมทั้ ง การนำ � เสนอประเทศเกาหลี ใ ห้ เ ป็ น ประเทศท่ อ งเที่ ย วในอั น ดั บ ต้ น ๆตลอดจนความสั ม พั น ธ์

ที่ ดี ข องประเทศไทยและประเทศเกาหลี ที่ มี ม าแต่ ส มั ย สงครามเกาหลี ที่ ป ระเทศไทยได้ มี ส่ ว นช่ ว ยเหลื อ โดยการ ส่ ง ทหารไปช่ ว ยรบจึ ง ทำ � ให้ เ กิ ด ความสั ม พั น ธ์ แ ละความ เข้าใจที่ดีต่อกันและด้วยเหตุนี้ทำ�ให้การเดินทางไปประเทศ เกาหลี ไ ม่ จำ � เป็ น ต้ อ งขอวี ซ่ า เพื่ อ เข้ า ประเทศซึ่ ง เป็ น การ อำ � นวยความสะดวกต่ อ การเลื อ กเดิ น ทางไปยั ง ประเทศนี้

ด้านการประชาสัมพันธ์ของประเทศไทยก็มีองค์กรที่มีส่วนในการประชาสัมพันธ์เช่นเดียวกับประเทศสาธารณรัฐเกาหลี นั่นคือการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) บทบาทหน้าที่ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยถือได้ว่ามีบทบาทสำ�คัญใน การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับประเทศไทยเพื่อที่จะประชาสัมพันธ์ประเทศให้เป็นที่รู้จักของต่างชาติหรือ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้แก่นักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมาประเทศไทยแต่ด้วยการประชาสัมพันธ์ของประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใน ขณะนี้ได้มีการนำ�อุตสาหกรรมบันเทิงมามีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์ประเทศจึงทำ�ให้ประเทศไทยต้องหันมาให้ความสนใจ


กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของเกาหลีใต้

278

การประชาสัมพันธ์และบทบาทหน้าที่ขององค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาหลีรวมไปถึงการได้รับการสนับสนุนที่ดีจาก หน่วยงานภาครัฐทำ�ให้ประเทศเกาหลีกลายเป็นประเทศที่มีภาพลักษณ์ที่ดีและเป็นประเทศที่เป็นที่รู้จักของประเทศอื่นๆองค์การ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาหลีได้ใช้กลยุทธ์ต่างๆที่หลากหลายในการโปรโมทการท่องเที่ยวประเทศเกาหลีดังนี้ 1. การประชาสัมพันธ์ทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่นักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ซึมซับวัฒนธรรมด้านต่าง ด้านอาหาร เมนู อาหาร ได้แก่ แป้งผัดซอสเผ็ด หมูย่างเกาหลี ข้าวยำ� และกิมจิ เป็นวัฒนธรรมการกิน 5 หมู่ 5 สีของอาหารเนื่องจากชีวิตความ เป็นอยู่ของคนเกาหลีนั้นถูกแฝงไว้ด้วยหลักธรรมชาติแห่งเต๋าและขงจื้อทำ�ให้อาหารที่กินมีสีหลากหลาย ทั้งแดง เขียว ดำ� ขาว เหลือง สามารถบ่งบอกได้ถึงความสมดุลและประโยชน์ที่จะได้รับจากการทานอาหาร คนเกาหลีมักชอบทานอาหารรสจัด หรือ อาหารดองจากพริกเผ็ดๆแต่นั้นก็เป็นภูมิปัญญาในการปรับสมดุลอุณหภูมิของร่างกายเมื่อถึงฤดูหนาวชาวเกาหลีมีวัฒนธรรมการ กินจะไม่ยกถ้วยข้าวขึ้นมาทานหรือจะเป็นการทานอาหารด้วยมือทั้งสองข้างก็ไม่นิยมปฏิบัติด้วยเช่นกัน คนเกาหลีมักทานอาหาร ด้วยมือขวาข้างเดียวโดยจะทานข้าวและซุปด้วยช้อนและกับข้าวด้วยตะเกียบสลับกันไปถ้ามากันหลายคนจะยกแก้วให้ผู้อื่นรินน้�ำ ให้ และผู้อื่นก็จะรินให้เรา การได้ไปทานอาหารแบบพื้นเมืองทำ�ให้ได้สัมผัสเรียนรู้วัฒนธรรมการกินแบบชาวเกาหลีไปด้วย ด้าน ชุดประจำ�ชาติ ได้ให้นักท่องเที่ยวได้ลองใส่ชุดประจำ�ชาติถ่ายรูปเป็นที่ระลึกทั้งหญิงและชายได้รู้จักการแต่งกาย และเครื่องแต่ง กายในแบบของชาวเกาหลีเพื่อจะเผยแพร่วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย ด้านสมุนไพรรักษาโรค ได้แก่ โสม เป็นตำ�รายาแผนโบราณ ของเกาหลีที่มีสรรพคุณทางยารักษาโรค ด้านประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญมักเป็นโบราณสถานที่มีประวัติความเป็นมา ยาวนาน เช่น พระราชวังเคียงบ็อคได้รู้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของราชวงศ์เกาหลีเมื่อครั้งยังเป็นระบบจักรพรรดิ หรือศาสน สถานรู้เกี่ยวกับการนับถือศาสนา การบูชาเทพ ของเซ่นไหว้ เป็นต้น ไปพร้อมกับการท่องเที่ยวที่นั้นด้วย 2. การประชาสัมพันธ์โดยนำ�กระแสความนิยมของอุตสาหกรรมบันเทิงมาเป็นตัวดึงดูดการท่องเที่ยวให้แฟนละครได้มาสัมผัสกับ บรรยากาศของสถานที่ถ่ายทำ�จริง

ภาพที่ 5 พระราชวังเคียงบ็อค อาหารและชุดประจำ�ชาติเกาหลี สะพานสายรุ้ง รูปปั้นคู่รักจากละคร Winter Love Song ที่มา : http://www.biz.co.th/images/catalog_images/1410862445.jpg


279

สรุป

คนไทยในปัจจุบันเดินทางไปเที่ยวเกาหลีมากขึ้นเพราะทั้งแฟชั่นการแต่งตัว ค่านิยมต่างๆอีกทั้งอุตสาหกรรม บันเทิงเกาหลีที่เข้าถึงคนไทยมากขึ้น และเกาหลีก็เป็นประเทศที่อยู่ไม่ไกลจากประเทศไทยมากนัก การเดินทางก็ ใช้เวลาไม่นาน ที่ส�ำ คัญสำ�หรับคนไทยไม่ต้องทำ�วีซ่า ทำ�ให้สามารถเดินทางเข้าประเทศเกาหลีได้ง่ายขึ้น อีกทั้งการ ที่ทั้งสองประเทศมีความผูกพัน และมีสัมพันธ์ไมตรีที่ดีต่อกันมาอย่างยาวนาน จึงทำ�ให้คนไทยไปเที่ยวเกาหลีกัน มากขึ้น “การนำ�อุตสาหกรรมบันเทิงมามีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์ประเทศจึงทำ�ให้ประเทศไทยต้องหันมา ให้ความสนใจในประเด็นดังกล่าวซึ่ง ประเทศเกาหลีใต้ได้รับการสนับสนุนที่ดีจากรัฐบาลในการช่วยผลักดันให้ ประเทศเป็นที่รู้จักของต่างประเทศมากยิ่งขึ้นและประเทศไทยเองก็ได้รับการสนับสนุนที่ดีจากรัฐบาลเช่นเดียวกัน ซึ่งตอนนี้พยายามคิดถึงความเกี่ยวข้องของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์และโชคดีที่มี เกาหลีเป็นตัวอย่างว่าเค้าทำ�ได้ เค้าทำ�สองเรื่องให้เป็นเรื่องเดียวกันได้ แต่เรายังทำ�ไม่ได้”

บรรณานุกรม อลิสา วิทวัสกุล.2549.“การประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีผ่านละครโทรทัศน์แดจังกึม จอมนางแห่งวังหลวง”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส้ม มินโฮ.2553.เกาหลีสุดที่รัก.กรุงเทพฯ:ซันมูนทรี พี่วุฒิ และ พี่เคท.2551.ไปเองได้ จ่ายน้อยกว่า เที่ยวมากกว่า สไตล์ พี่วุฒิ&พี่เคท:เกาหลี.กรุงเทพฯ:Prit@me

นางสาวพรปวีณ์ อินสว่าง 54040767


280

พิชญา กางทอง 54040772 การรณรงคงดสูบบุหรี่

ปจจุบันนี้ ปญ หาเรื่องบุหรี่ สง ผลกระทบตอสังคมไทยหลากหลายรูปแบบทั้งปญ หาในระยะสั้นและ ระยะยาว กอเกิดเปนปญ หาสุขภาพและสัง คม บุหรี่ไมใชสินคาธรรมดา ปญ หาจากการสูบบุหรี่นั้นมีมูลคา มหาศาลมากกวาผลประโยชนที่เกิดจากการผลิต การขาย และการจัดเก็บรายไดของรัฐ การผลิต ขาย และ บริโภคยาสูบนี้กอผลสุทธิเปนทางลบตอดานเศรษฐกิจและสังคม ไมใชแคเพียงพิษจากสารในบุหรี่ ปญหาพิษ ภัยจากยาสูบนี้ ยังครอบคลุมถึงการทํารายรางกายโดยควันบุหรี่ (กลุมสงเสริมสนับสนุนวิชาการ สํานักควบคุม การบริโภคยาสูบกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2554) สถานการณบุหรี่ทั่วโลก มีการประมาณกันวาทั่วโลกมีผูสูบุหรี่ประมาณ 1,300 ลานคน จาก 1 ใน 3 ของประกรโลก จํานวนผู สูบบุหรี่สูง สุดอยู ในกลุมประเทศแปซิฟกตะวัน ตก ปจจุบันมีผู เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ 5 ลานคนตอป ถ า แนวโนมของการสูบบุหรี่ยังคงเดิม ในอีก 20 – 30 ปขางหนา คาดหมายวาจะมีผูสูบบุหรี่เสียชีวิตสูงถึง 10 ลาน คนตอป โดยครึ่งหนึ่งเสียชีวิตในชวงวัยกลางคน ผูสูบบุหรี่ในแถบเอเชียจะเสียชีวิตเพิ่มขึ้น 4 เทามากกวาใน แถบประเทศที่พัฒนาแลว ทั่วโลกกลุมวัยรุนอายุ 10 – 24 ป มีประมาณ 1.8 ลานคน ซึ่งจํานวนนี้รอยละ 85 อยูในประเทศกําลัง พัฒนา เปนเหยื่อของบริษัทบุหรี่ ขอมูลจากการสํารวจทั่วโลก พบวาเยาวชนที่ติดบุหรี่สวนใหญจะเริ่มสูบกอน อายุ 18 ป จาก 1 ใน 4 เริ่มทดลองสูบกอนอายุ 10 ป ยิ่งทดลองสูบเมื่ออายุนอย ยิ่งมีโอกาสติดมากและเลิก ยาก ครึ่งหนึ่งของผูที่สูบบุหรี่ตอไปโดยไมหยุดจะเสียชีวิตกอนวัยอันควรโดยเฉลี่ย 15 ป (คทา บัณฑิตานุกูล, 2556) สถานการณบุหรี่ในประเทศไทย การสูบบุหรี่สรางปญหาความยากจน ปญ หาเศรษฐกิจ และบุหรี่ยัง เปนปจจัยเสี่ยงของการเสียชีวิต อันดับที่สามของคนไทย รองจากเพศสัมพันธที่ไมปลอดภัยและการดื่มสุรา สําหรับในประเทศไทย ผูสูบบุหรี่เปนจํานวน 10.6 ลานคน (20.6% ของประชากรไทย) เฉลี่ยวันละ 11 มวน เทากับสูบบุหรี่ 105.6 ลานครั้งตอวัน ผูเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ 42,000 คน ตอป ปจจุบันจากการ สํารวจของสํานักงานสถิติแหง ชาติป พ.ศ. 2547 ในกลุมประชากรอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไปพบวา จํานวนผูสูบ บุหรี่เปนประจําลดลงจาก 10.6 ลานคนในป พ.ศ. 2544 เปน 9.6 ลานคน คิดเปนสัดสวนจากประชากร เพศ ชายสูบรอยละ 37.2 และเพศหญิงรอยละ 2.1 คิดเปนอัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง 18:1 โดยสวนใหญซึ่ง เปนจํานวน 4.66 ลานคนเปนกลุมอายุมากกวา 40 ป และเปนกลุมเยาวชนอายุต่ํากวา 24 ปประมาณ 1.26


281

พิชญา กางทอง 54040772 ลานคน ทั้ง นี้เปน ผูจบการศึกษาระดับประถมศึกษาและต่ํากวา 6.2 ลานคนคิดเปนรอยละ 64 ผูที่มีอาชีพ รับจางเกษตรกรรมและประมงมีอัตราการสูบบุหรี่ที่สูงสุดทั้งเพศหญิงและชาย โดยเมื่อรวมอาชีพคนงานรับจาง เกษตร ประมง ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและเครื่องจักรโรงงานรวม 7.12 ลานคน คิดเปนรอยละ 74 ของผูสูบบุหรี่ทั้งหมด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีผูสูบบุหรี่มากที่สุดคือ 3.5 ลานคน ภาคกลาง 2.0 ลานคน ภาคเหนือ 1.89 ลานคน ภาคใต 1.36 ลานคน และกรุงเทพฯ 858,420 คน ทั้งนี้เมื่อคิดเปนอัตราการสูบบุหรี่แลว กรุงเทพฯมี อัตราการสูบบุหรี่ต่ําที่สุด (รอยละ 12.8) ในขณะที่ภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตราการสูบบุหรี่ สูงสุด (รอยละ 22.5 และ 22.2 ตามลําดับ) ผูที่สูบบุหรี่ประจํารอยละ 72.9 สูบนอยกวา 10 มวนตอวันและ รอยละ 24.8 สูบระหวาง 11-24 มวนตอวัน และรอยละ 65.6 ของผูที่สูบบุหรี่เปนประจําติดบุหรี่ก อนอายุ 19 ป โดยรอยละ 92 ติดบุหรี่กอนอายุ 24 ป และรอยละ 8 ของผูติดบุหรี่ทั้งหมดติดหลังอายุ 25 ป วัยรุนไทยกับการสูบบุหรี่ จากการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติพบวา มีเยาวชนอายุต่ํากวา 24 ป ที่สูบบุหรี่ประจําและแบบครั้งคราว รวม 1,705,526 คน โดยเยาวชนที่มีอายุ 11 – 14 ป สูบบุหรี่ 7,176 คน เยาวชนที่มีอายุ 15 – 19 ป สูบบุหรี่ 451,526 คน เยาวชนที่มีอายุ 20 – 24 ป สูบบุหรี่เปนประจํา 1,246,785 คน เยาวชนที่มีอายุต่ํากวา 19 ป ติดบุหรี่แลวกวา 458,740 คน ตามสถิติประมาณหนึ่งในสามของเยาวชนที่ สูบบุหรี่ตอไปโดยไมเลิกจะเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ (วิไลวรรณ วิริยะไชโย, 2550) โทษของบุหรี่ การสูบบุหรี่เปนสาเหตุของโรคที่ทําใหสมรรถภาพการทํางานของรางกายเสื่อมลงและเสียชีวิตกอนวัย อันสมควร โทษจากบุหรี่เกิดจากสารประกอบในควันบุหรี่ ควันบุหรี่จะมีสารประกอบตางๆ มากกวา 4,000 ชนิด สารประกอบเหลานี้บางชนิดมีคุณสมบัติใหโทษตอรางกาย สารแตละชนิดสามารถกอโรคไดแตกตางกัน ไป พบวามีสารมากกวา 50 ชนิดในควันบุหรี่ที่ทําใหเกิดโรคมะเร็งในสัตวและในคน การสูบบุหรี่เพียง 1 ซองตอ วัน ผูสูบจะตองสูบบุหรี่มากกวา 70,000 ครั้งตอป ทําใหเนื้อเยื่อในชองปาก จมูก ชองคอ และหลอดลมสัมผัส กับควันบุหรี่ตลอดเวลา เนื้อเยื่อที่สัมผัสกับควันบุหรี่โดยตรงจะมีโอกาสเปนมะเร็งมากกวา เชน เนื้อเยื่อของ หลอดลม สําหรับอวัยวะอื่นๆ ที่ไมสัมผัสควันบุหรี่จะมีโอกาสเปนโรคมะเร็งจากสารในควันบุหรี่ที่ถูกดูดซึมผาน กระแสเลือด มีการศึกษาวิจัยมากมายที่แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางการสูบบุหรี่กับการเกิดโรคตางๆ ผูสูบ บุหรี่แตละรายจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคจากบุหรี่แตกตางกัน ซึ่ง ขึ้นกับระยะเวลาที่สูบ ปริมาณที่สูบ ลักษณะพันธุกรรม การมีปจจัยเสี่ยงอื่นๆ รวมดวย บุหรี่เปนตนเหตุของโรคดังตอไปนี้


282

พิชญา กางทอง 54040772 โรคระบบหัวใจและหลอดเลือดจากบุหรี่ การสูบบุหรี่เปนสาเหตุสําคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจแข็งตัว

(atherosclerosis) การสูบเพียงวันละ 4 มวนเปนประจําพบวาสามารถเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจได สําหรับผูสูบบุหรี่โดยที่มีปจจัยเสี่ยงอื่นๆในการเกิดโรคนี้ เชน โรคความดันโลหิตสูง, โรคไขมันในเลือดสูง พบวา จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะทําใหเกิดโรคมากขึ้น โรคปอดจากบุหรี่ บุหรี่เปนสาเหตุของโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) การสูบบุหรี่เปนสาเหตุ ที่สําคัญของโรคมะเร็งปอด ผูที่สูบบุหรี่เพียงวันละ 1 ซองจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งปอดมากกวาผูที่ ไมสูบบุหรี่ 10 เทา สําหรับผูที่สูบบุหรี่วันละ 2 ซองจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งมากกวาผูที่ไมสูบบุหรี่ 25 เทา นอกจากนี้ยังพบอาการไอเรื้อรัง เสมหะมากและหายใจไมสะดวกในผูสูบบุหรี่ เมื่อตรวจการทํางานของ ปอด (pulmonary function test) จะพบความผิดปกติไดมากกวาแมผูสูบนั้นจะอายุนอยก็ตาม โรคระบบทางเดินอาหารจากบุหรี่ ในผูที่สูบบุหรี่เปนประจําจะพบวามีโอกาสเกิดแผลที่กระเพาะ อาหารและลําไสเล็กสวนตน การสูบบุหรี่จะทําใหแผลหายชาและทําใหยายับยั้งการหลั่งกรดบางชนิดทํางาน ไดผลไมดี การสูบบุหรี่เปนสาเหตุสําคัญของโรคมะเร็งกลองเสียง มะเร็งชองปากและหลอดอาหาร และถามี การดื่มแอลกอฮอลรวมดวยโอกาสเสี่ยงจะเพิ่มขึ้น หลังจากที่เลิกสูบบุหรี่แลวโอกาสเสี่ยงตอมะเร็งกลุมนี้จะ ลดลงอยางรวดเร็วและเมื่อเลิกไดนาน 15 ป พบวาโอกาสเสี่ยงจะเทากับผูที่ไมสูบบุหรี่ ผลตอการตั้งครรภ การสูบบุหรี่ทําใหโอกาสที่จะตั้งครรภยากขึ้น ผูหญิงที่ตั้งครรภและสูบบุหรี่จะทําให ทารกมีน้ําหนักแรกคลอดนอยกวาทารกปกติประมาณ 170 กรัม นอกจากนี้การสูบบุหรี่ยังเพิ่มโอกาสเสี่ยงของ การเกิดภาวะแทรกซอนในการตั้งครรภ เชน รกเกาะต่ํา รกลอกตัวกอนกําหนด ทารกคลอดกอนกําหนด เปน ตน นอกจากนั้นยังทําใหเกิดโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในผูชาย และโรคผิวหนังเหี่ยวยนกอนวัยอีกดวย (ศูนยบริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพทแหงชาติ, 2557) การรณรงคงดสูบบุหรี่ วัตถุประสงคสําคัญของการรณรงคเพื่อการไมสูบบุหรี่ คือ เพื่อสรางความตื่นตัว แรงจูงใจ และคานิยม ที่ไมสูบบุหรี่ใหประชนชนและเยาวชนทั่วไปมีความรูความเขาใจเรื่องพิษภัยของบุหรี่ ลดปญหาสังคม เนื่องจาก การสูบบุหรี่เปนจุดเริ่มตนของการกอปญหาสังคมอื่นๆ รวมถึงเพื่อใหผูสูบบุหรี่ตระหนักถึงโทษของบุหรี่ที่จะ สงผลตอสุขภาพของทั้งผูสูบ บุคคลรอบขาง และบุคคลใกลชิด ทําใหคนไทยมีสุขภาพที่ยั่งยืน โดยทุกภาคสวน รวมกันนํากลวิธีในการสื่อสารมาใชในการรณรงคได ดังนี้ 1. การรณรงคงดสูบบุหรี่ผานสื่อ โดยการนําขาวสารที่ตองการประชาสัมพันธโดยการนําสื่อมาใชใน การประชาสัมพันธ ซึ่งเปนสื่อที่สามารถถายทอดขาวสารเพื่อการประชาสัมพันธสูคนจํานวนมากพรอมกันใน เวลาเดียวกันอยางรวดเร็ว สื่อที่ใชในการรณรงคงดสูบบุหรี่อาจแบงตามคุณลักษณะของสื่อได 5 ประเภท คือ


283

พิชญา กางทอง 54040772 หนั ง สือ พิ ม พ นิ ตยสาร วิ ทยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ทยุ โ ทรทั ศ น และภาพยนตร ซึ่ ง แต ล ะสื่ อ ในการรณรงค จ ะมี

คุณลักษณะเฉพาะ การเลือกใชสื่อในการรณรงคตองพิจารณาขอดีและขอจํากัดของสื่อแตละประเภทตาม กลุมเปาหมายที่ตองการรณรงค ตัวอยางการรณรงคง ดสูบบุหรี่ เชน การรณรงคงดสูบบุหรี่โดยใชโปสเตอร รูปภาพ “Gun คีบมันไว อยาใหหลุดมือ”ที่สื่อความหมายถึงมือที่ถือบุหรี่อยูก็เหมือนปนที่แสดงถึงสัญลักษณ ความอันตรายทั้งตอตนเองและบุคคลอื่น การรณรงคสื่อผานวิทยุโทรทัศนโดยใชการโฆษณาโดยใชเด็กสูบบุหรี่ เตือนใหผูใหญ “ไมดีแลวสูบทําไม” เปนการเตือนตัวเองกอนสูบ ซึ่งเปนการรณรงคตอตานผูใหญทั้งหลายไมให สูบบุหรี่ โฆษณาหนากากของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่รณรงคใหทุกที่ปลอด บุหรี่ เปนตน 2. การรณรงคผานสื่อกิจกรรม เปนสื่อที่มีความหมาย มีขอบเขตกวางที่สามารถสื่อความรูสึกนึกคิด ความรู อารมณ และเรื่องราวขาวสารไดมากมายหลายรูปแบบ สื่อกิจกรรมที่นํามาใชในการรณรงค เชน การ จัดกิจกรรมประกวดแขงขันทําหนังสั้นรณรงคใหวัยรุนไทยตระหนักถึงโทษของบุหรี่ ที่มีผลตอตนเองและผูอื่น เสนอในรู ปแบบของภาพยนตร สั้ น หรื อ สารคดี เพื่ อ ชิ ง รางวั ล ไม ว า จะจั ด โดยหนว ยงานของภาครั ฐ หรื อ ภาคเอกชน สถานีวิทยุรวมกับรายการตางๆ สวนใหญสื่อกิจกรรมจะเนนรณรงคไปที่กลุมนักเรียน นักศึกษา ที่ อายุไมเกิน 24 ป นอกจากสื่อกิจกรรมจะสรางสรรคใหทุกคนตระหนักถึงภัยรายของบุหรี่แลว ยั งเปนการเปด โอกาสใหเยาวชนที่เขารวมกิจกรรมไดใชเวลาวางใหเปนประโยชน ไมหมกมุน คิดทดลองบุหรี่หรือสารเสพติด และสรางประสบการณอีกดวย การจัดกิจกรรมใหสุขศึกษาเกี่ยวกับบุหรี่และสุขภาพโดยจัดกิจกรรมใหบุคลากร สาธารณสุขแนะนํา ใหความรู ขอมูลขาวสารแกสังคมถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่ จะทําใหประชาชนตื่นตัวถึงพิษ ภัยของการสูบบุหรี่ ผลเสียตอสุขภาพทั้งตอตนเองและคนรอบขาง การจัดกิจกรรมใหสุขศึกษาในระบบ โดย การจัดกิจกรรมนอกหลักสูตรตั้งแตนักเรียนชั้นอนุบาล เพื่อปลูกฝง คานิยมและใหความรูแกเด็ก เชน มูลนิธิ รณรงคงดสูบบุหรี่ไดจัดทํา “โครงการ เด็กคือดวงใจ” รณรงคใหงดสูบบุหรี่ที่ที่มีเด็กอยู และใหเด็กเขามารวม กิจกรรมเปน ผูรณรงค ใหบ านเลิกบุ หรี่ การดําเนินการไดมี การผลิต สื่อชนิดต างๆ สมุ ดระบายสี เพลงเด็ ก แจกจ า ยเพื่ อ แลกเปลี่ ย นประสบการณ ใ นการทํ า กิ จ กรรมรณรงค ง ดสู บ บุ ห รี่ กั บ เด็ ก อนุ บ าล เป น ต น 3. การรณรงคโดยใชมาตรการทางกฎหมาย เปนการรณรงคโดยบังคับใชกฎหมาย เชน การออก พ.ร.บ. คุมครองสุขภาพผูไมสูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใชโดยใหสถานที่สาธารณะตางๆ จัดเปนเขตปลอด บุหรี่ ลาสุดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2540 ไดกําหนดใหสถานที่ราชการ สํานักงาน และที่ทํางานตางๆ ในขณะทําการหรือใหบริการเปนเขตปลอดบุหรี่ดวย แลวยังมีกําหนดใหมีการพิมพคําเตือน บนซองบุหรี่ใหเทากับรอยละ 25 ของดานหนาและดานหลังซอง รวมทั้งกําหนดขนาดตัวอักษรดวย เชนคําวา “การสูบบุหรี่ทําใหสมรรถภาพทางเพศเสื่อม” “การสูบบุหรี่คือการตายผอนสง” “การสูบบุหรี่สามารถฆาคุณ ใหต ายได ”พิม พด วยสีข าวบนพื้น สีดํ า และกํา หนดตํ าแหน ง คํ าเตือ นใหอยู ที่ส วนบนสุด ของซอง การออก


284

พิชญา กางทอง 54040772 กฎหมายเปดเผยสวนประกอบที่ใชในการผลิตบุหรี่ เพื่อกําหนดรายละเอียดของการแจงสวนประกอบของสาร ปรุงแตงในบุหรี่เปนรายยี่หอ การขึ้นภาษีบุหรี่ โดยเก็บภาษีบุหรี่เพิ่มขึ้นปละหาพันลานบาท ทําใหยอดขายบุหรี่ ลดลงสามพันลานมวน ซึ่งเปนการปองกันเยาวชนไทยไมใหเสพติดบุหรี่ถึงสามแสนคน ทําใหเยาวชนติดบุหรี่ นอยลง (ประกิต วาทีสาธกกิจ, 2556) จากการรณรงคงดสูบบุหรี่ ปองกันผูสูบบุหรี่รายใหม เด็กและเยาวชนที่คิดจะเริ่มตนหรือเขาถึงการสูบ บุหรี่ และผูสูบบุหรี่ตองการเลิกบุหรี่ ไมวาจะเปนการรณรงคผานสื่อมวลชน การรณรงคผานสื่อกิจกรรม และ การรณรงคโดยใชมาตราทางกฎหมาย ลวนทําใหสถานการณการควบคุมการบริโภคยาสูบเปนไปในทิศทางที่ดี ขึ้น ผูสู บบุ หรี่ มีจํ านวนลดลง สถานการณ การสู บบุ หรี่ หรื อป ญ หาด านสุขภาพอัน เนื่ องจากการสูบ บุห รี่ ในประเทศไทยในปจจุบันเปนไปในทิศทางที่ดีขึ้น ยุทธศาสตรเสริมเพื่อการรณรงคไมสูบบุหรี่ นอกจากนี้การรณรงคเพื่อการไมสูบบุหรี่ คือ ยังมียุทธศาสตรที่สําคัญรองรับ คือ การรณรงคใหเกิด มาตรการทางกฎหมาย มาตรการทางสังคม มาตรการทางภาษี การสรางความตื่นตัว และการสรางเครือขายใน การรณรงค บุหรี่เปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญปญหาหนึ่งทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทย การสูบบุหรี่เปน ประจํ า สร า งอั น ตรายหลายประการตอ สุ ข ภาพ และประเทศ การรณรงคเ ริ่ ม จากคนในครอบครั ว ที่ เ ป น แบบอยางที่ดีในการไมสูบบุหรี่ใหแกลูกหลาน คนในชุมชน รวมกันตระหนักรณรงคไมสูบ ทราบถึงพิษภัยราย ของบุหรี่ ภาครัฐและเอกชนรวมกันสรางสื่อรณรงคเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ โดยใชสื่อวิทยุ โทรทัศน สื่อ กิจกรรม สื่อสิ่งพิมพตางๆ รวมถึงการโฆษณาและประชาสัมพันธ ในการเลือกใชสื่อในการรณรงคตองคํานึงถึง ความเหมาะสมของแตละกลุมเปาหมาย สื่อมวลชนก็มีผลสําคัญตอการรณรงคควบคุมการบริโภคยาสูบ เพราะ สื่อมวลชนเปรียบเสมือนตัวขับเคลื่อนการรณรงคใหเกิดความทั่วถึงแกประชาชน กลุมเปาหมาย สะทอนพิษภัย จากบุหรี่ใหเห็นชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงสื่อมวลชนมีอํานาจกดดันใหรัฐบาลเรงออกกฎหมายมาเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงของตลาดบุหรี่ในประเทศ สรางความตื่นตัวในเรื่องบุหรี่กับประชาชนทุกระดับ การรณรงคโดยใช บุคคลที่เปนที่รูจักและชื่นชอบของประชาชนเขามาสรางแรงจูงใจในการรณรงคย้ําเตือนสังคมใหตระหนักถึง อันตรายของบุหรี่ สรางกิจกรรมใหเยาวชนเขารวมเพื่อกระตุนไมใหเขาไปลิ้มลองบุหรี่ (ประกิต วาทีสาธกกิจ, 2553) ความรวมมือคือการแกไขปญหา ถาทางภาครัฐและเอกชนยังแสวงหาผลกําไรในการดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการบริโภคยาสูบ การรณรงค เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบจะไมประสบผลสําเร็จ และยัง เป นปญ หาในสัง คม ทั้ง ดานสุขภาพจนถึง ดา น


285

พิชญา กางทอง 54040772 เศรษฐกิจ การดําเนินนโยบายควบคุมตองเปนไปอยางจริงจังและตอเนื่อง เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอประชนในวง กวางครอบคลุมทุกจังหวัดในประเทศไทย ถาความตองการในประเทศและตางประเทศยังมีอยูจํานวนมาก การ ยกเลิกใหปลูกยาสูบ และปรับเปลี่ยนอาชีพสง เสริมใหชาวไรหันไปปลูกพืชอยางอื่นทดแทนนั้นทําไดยาก ผูที่ เกี่ยวของกับขบวนการยาสูบยังมีเปนจํานวนมากเชนกัน ทั้งชาวไรผูปลูก โรงบม บริษัทจําหนายปจจัยการผลิต ตางๆ ยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ถาทางภาครัฐไมเอาจริง โดยโรงงานยาสูบอาศัยขออางในนําเสนอวาการสูบบุหรี่เปน ของใหมทาทายใหทดลอง และอาศัยขออางในการคลายความเครียดที่เกิดขึ้นในปจจุบัน การรณรงคตองเริ่ม จากการปลู ก จิ ต สํ า นึ ก ให แ ก เ ยาวชน ระบุ ใ ห เ ห็ น ว า บุ ห รี่ มี อั น ตรายเป น โทษต อ ร า งกาย ทั้ ง มะเร็ ง ปอด ถุงลมโปงพองเรื้อรัง หัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงจากเสนเลือด หัวใจตีบ และอัมพาตจากเสนเลือดสมอง สวนภาค การเกษตรตองชวยกันรณรงคถายทอดการพัฒนาหาพันธุและเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาเผยแพรความรูความ เขาใจในการปลูกพืชที่ถูกตอง เพื่อลดการนําเขาใบยาสูบหรือผลิตภัณฑจากยาสูบ และไมสงเสริมการสงออกใบ ยาสูบ ซึ่งสงผลเสียตอสุขภาพของประชาชน โดยการรวมมือกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพาณิชย และภาคเอกชนเขามามีบทบาทในดานงานวิจัยและพัฒนาพืชทางเศรษฐกิจมากขึ้น รวมกับหนวยงานภาครัฐที่ เกี่ยวของรวมมือกันใหความรูเกี่ยวกับการปลูกพืชที่เปนประโยชนและสรางรายไดแกเกษตรกรทดแทนยาสูบ เพื่อใหการรณรงคควบคุมการบริโภคยาสูบผลเกิดเปนรูปธรรมในอนาคต (สุริยัน แพรสี, 2557) บุหรี่เปนสาเหตุการตายที่สําคัญของประชากรโลก นอกจากทําลายสุขภาพแลว ยังทําใหประชาชน

สูญ เสียรายไดจากการสูบบุหรี่ การรณรงคเพื่อปองกัน และลดจํ านวนผูสูบ บุหรี่ รวมถึง การชว ยเหลือและ สนับสนุนใหผูสูบเลิกบุหรี่ไดสําเร็จ จึงเปนเปาหมายหลักที่จะชวยลดอัตราความเจ็บปวยและการตายจากโรคที่ มีสาเหตุจากการสูบบุหรี่ การเลิกสูบบุหรี่เปนสิ่งที่ผูเลิกสูบตองใชความพยายาม ความตั้งใจ และตองอาศัยการ สนับสนุนจากบุคคลใกลชิดใหกําลังใจ ตัวผูเลิกสูบบุหรี่ตองมีความเด็ดเดี่ยว จริงจัง อดทน การนึกถึงบุคคลที่รัก ก็จะเปนอีกหนึ่งแรงผลักดันที่ทําใหสามารถเลิกบุหรี่ไดสําเร็จ ทุกวัน นี้ สื่ อและขา วสารของการรณรงค ควบคุมการบริ โภคยาสู บ มีค วามทันสมัยมากขึ้ น แตการ รณรงคจะประสบผลสําเร็จไมไดเลยถาขาดความรวมมือรวมใจกันของทุกคนในสังคมที่ชวยกันแกปญหา รวมถึง ครอบครัวที่เปนแรงผลักดัน ที่เปนเครือขายสําคัญที่ทําใหการรณรงคขยายขอบขายไปอยางกวางขวางและเกิด ผลสําเร็จเปนสังคมปลอดบุหรี่


286

พิชญา กางทอง 54040772 เอกสารอางอิง กลุมสงเสริมสนับสนุนวิชาการ สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2554. แผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติ พ.ศ. 2553-2557. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท ไนซ เอิรธ ดีไซน จํากัด. ประกิต วาทีสาธกกิจ. 2553. ขอมูลบุหรี่และสุขภาพสําหรับสถานศึกษา. พิมพครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: หาง หุนสวนจํากัดรักษพิมพ. สุริยัน แพรสี. 2557. คูมือดําเนินงานการควบคุมการบริโภคยาสูบโดยเอาพื้นทีเ่ ปนตัวตั้ง. กรุงเทพฯ: สํานัก สนับสนุนสุขภาวะชุมชน. คทา บัณฑิตานุกูล. 2556. สถิติการสูบบุหรี่. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : www.thaihp.org/index2.php?option=showfile&tbl=home&id=79/ (11 พฤศจิกายน 2557) วิไลวรรณ วิริยะไชโย. 2550. สถานการณการสูบบุหรี่. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://medinfo.psu.ac.th/tobacco/ (11 พฤศจิกายน 2557) ศูนยบริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพทแหงชาติ. 2557. โทษจากบุหรี่. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thailandquitline.or.th/ (13 พฤศจิกายน 2557) ประกิต วาทีสาธกกิจ. 2556. การรณรงคเพื่อการไมสูบบุหรี่. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.healthcarethai.com/ (13 พฤศจิกายน 2557)


287

การสื่ อสารการรณรงค์ โครงการคนไทยไร้ พงุ นางสาวภาวิดา พรายกระสิ นธุ์ รหัสนักศึกษา 54040776 หลักสู ตร นิเทศศาสตร์เกษตร ชั้นปี 4 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ในปั จจุบนั คนไทยถึง 1 ใน 3 อยู่ในภาวะ “ อ้วนลงพุง” เพราะผลพวงของวิถีชีวิตสมัยใหม่ที่มี พฤติกรรมการกิ นที่ทาร้ ายสุ ขภาพ และขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ ยวกับโภชนาการ อีกทั้งยังขาดการออก กาลังกาย ซึ่ งถื อเป็ นมหันตภัยเงี ยบที่ทาร้ ายสุ ขภาพของคนไทยอย่างร้ายแรง สานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้าง เสริ มสุ ขภาพ (สสส.) จึงมุ่งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริ โภค ผ่านการสื่ อสารผ่านสื่ อตามช่องทางต่างๆ ซึ่ งถือว่าเป็ น การสื่ อสารการรณรงค์ที่ส่งเสริ มให้คนไทยมีสุขภาพดีข้ ึนและลดภาวะเสี่ ยงจากการเป็ นโรคอ้วน สถานการณ์คนอ้วนในไทย สถานการณ์โรคอ้วนในประเทศไทย ปี 2550 พบว่า คนไทยที่กาลังเผชิญกับโรคอ้วนมีจานวนสู งถึง 10.2 ล้านคน หรื อคิดเป็ น 35% ของจานวนประชากรที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ซึ่ งส่ วนใหญ่พบว่าอยูใ่ นเขตเมืองถึง 30% แต่ สิ่ งที่สาคัญคือ “เด็กไทย” กาลังประสบภาวะโรคอ้วน ซึ่ งคาดว่าในอีก 6 ปี ข้างหน้า จานวนของเด็กที่มีน้ าหนักเกินจะ เพิ่มขึ้นถึง 1 ใน 5 ของเด็กก่อนวัยเรี ยน ทาให้เกิดเด็กที่มีน้ าหนักเกินเพิ่มขึ้นถึง 20% ภาวะโรคอ้วนในประเทศไทย มี แนวโน้มจะขยายตัวเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต จากผลการสารวจสุ ขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่ างกายในปี 2552 พบ คนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปมากกว่า 1 ใน 3 อยู่ในภาวะน้ าหนักเกิ นและอ้วนเพิ่มขึ้นสองเท่าตัว เมื่อเทียบกับในช่ วง 2 ทศวรรษที่ผา่ นมา (ปี 2534-2552) และหากเปรี ยบเทียบในระดับภูมิภาคพบว่า คนไทยอ้วนสู งสุ ดเป็ นอันดับ 2 จาก ทั้งหมด 10 ประเทศอาเซี ยน รองจากประเทศมาเลเซี ยและรายงานสุ ขภาพคนไทย ปี 2557 ยังระบุอีกว่า โรคอ้วนถือ เป็ นสาเหตุให้เจ็บป่ วยและเสี ยชี วิตก่อนวันอันควรจากโรคไม่ติดต่อเรื้ อรัง (Non-communicable Diseases :NCDs) เช่น เบาหวาน ความดันโลหิ ตสู ง โรคตับ โรคมะเร็ ง โรคเกี่ยวกับถุงน้ าดี โรคซึ มเศร้า ภาวะหายใจลาบากและหยุดหายใจ ขณะหลับ และโรคข้อเข่าเสื่ อม เป็ นต้น และคนอ้วนมี โอกาสเป็ นโรคเหล่ านี้ มากกว่าคนปกติ 2-3 เท่าเลยทีเดี ยว ( ศิรินทิพย์ อิสาสะวิน , 2553)

โครงการคนไทยไร้ พงุ โครงการคนไทยไร้ พุงได้มีจุดเริ่ มต้นจากการเห็ นสถานการณ์ คนอ้วนในประเทศที่นาไปสู่ โรค ต่างๆที่ตามมา สานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) และองค์การกระจายเสี ยงและแพร่ ภาพ สาธารณะแห่ งประเทศไทย (ส.ส.ท.)จึงได้เล็งเห็นการดาเนิ นกิ จกรรมการรณรงค์เพื่อลดจานวนคนอ้วนในประเทศ ไทยผ่านโครงการคนไทยไร้ พุง โดยโครงการได้ดาเนิ นการสื่ อสารรณรงค์ระบุว่าผลการสารวจล่าสุ ดพบคนไทยมี ปั ญหาภาวะโภชนาการเกิน และกลายเป็ นโรคอ้วนเพิ่มสู งมากที่สุดในรอบ 10 ปี โดยเด็กแรกเกิ ด – 12 ปี อ้วนลงพุง


288

ร้ อยละ 40 รองลงมา คือ ช่ วงอายุ 40 – 50 ปี อ้วนเพิ่มขึ้ นเกื อบ 2 เท่า จากผลรายงานการสารวจภาวะอ้วนลงพุงใน ประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปทัว่ ประเทศใน ปี 2550 ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข พบภาวะอ้วนลงพุงในเพศ ชายร้อยละ 24 และเพศหญิงร้อยละ 61.5 และ ผลสารวจล่าสุ ดคนไทยในปั จจุบนั พบว่ากลุ่มที่มีปัญหามากที่สุดอยูใ่ น วัยทางาน และเป็ นผูห้ ญิง ถึงร้อยละ 48 วัตถุ ประสงค์ หลักในการดาเนิ นงานโครงการมี 2 ประเด็นสาคัญ คือ 1).เพื่อพัฒนาสื่ อรายการ โทรทัศน์ ที่ สามารถส่ งผลให้ เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงในเชิ งสุ ขภาวะได้จริ ง และ 2).เพื่ อสร้ างความเข้าใจ ทัศนคติ จิตสานึก ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเชิ งบวกที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี กลุ่ มเป้ าหมายหลั กของโครงการในระยะแรกได้มุ่ งดาเนิ นการสื่ อสารรณรงค์ในกลุ่ มเด็กและ เยาวชน ซึ่ งผลการดาเนิ นงานได้สะท้อนให้เห็นว่าปั ญหาโรคอ้วนเป็ นปั ญหาสาคัญของทุกกลุ่มอาชี พที่นาโรคต่างๆ ตามมา กลุ่มเป้ าหมายหลักของโครงการจึงได้มามุ่งเน้นที่กลุ่มคนวัยทางาน อาทิเช่นองค์กร สถานประกอบการต่างๆ อาทิ ออฟฟิ ศ โรงงาน โรงเรี ยน โรงพยาบาล สถานที่ราชการ อบต. ฯลฯ ที่มีความต้องการปรับเปลี่ยนองค์กรของ ตน ให้เป็ นองค์กรต้นแบบ ลดพุง ลดโรค ทั้งในด้านการเลือกบริ โภคอาหารที่ถูกโภชนาการ (healthy food) และการ มีกิจกรรมทางกาย (physical activity) ที่เพียงพอ และพนักงานในองค์กรที่อยู่ในสถานประกอบการต่างๆ เนื่องจาก ประชากรกลุ่มวัยทางาน เป็ นผูม้ ีบทบาทสาคัญทั้งในเชิ งเศรษฐกิ จ เชิ งสังคม ซึ่ งถือเป็ นกลุ่มหลักในการสร้างรายได้ และมีอิทธิ พลกับบุคคลที่อยูใ่ นครอบครัวมากที่สุด การสื่ อสารการรณรงค์ โครงการคนไทยไร้ พุง การรณรงค์ เป็ นกระบวนการสื่ อสารที่ มีการวางแผนในการใช้สื่ อต่างๆภายในระยะเวลาที่ ก าหนดอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ อีกทั้งยังต้องมีการออกแบบสื่ อให้เนื้ อหาสาระที่จะบรรลุให้มีความรู้ ความสนใจ ตระหนัก การโน้มน้าว ใจ และการรณรงค์ คื อใช้สื่ อต่ างๆ ใช้เทคนิ คต่ างๆ เจตนาให้คนเห็ นคล้อยตามการรณรงค์ วางแผนกลุ่ มเป้ าหมาย องค์ประกอบของการสื่ อสารในการรณรงค์ประกอบด้วย 4 อย่างคือ ผูส้ ่ งสาร (Sender/Source) สาร (Message) ช่องทางการ สื่ อสาร (Channel) และผูร้ ับสาร (Receiver) รู ้จกั กันในชื่อแบบจาลอง S-M-C-R (จิราภรณ์ สุ ทธิวรเศรษฐ์, 2554) สื่ อการรณรงค์ในโครงการคนไทยไร้พุงถือเป็ นองค์ประกอบสาคัญของการสื่ อสารในโครงการคนไทยไร้พุงได้ มีการใช้สื่อเพื่อการรณรงค์ในหลากหลายรู ปแบบ อาทิเช่น 1. สื่ อกิจกรรม สื่ อกิจกรรมเป็ นสื่ อการสอนมีความหมายกว้างขวาง ครอบคลุมทั้งวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการต่าง ๆ ที่นามา เพื่อถ่ายทอดความรู ้และประสบการณ์ให้กบั ผูเ้ รี ยน กิจกรรมหรื อวิธีการ นับเป็ นสื่ อการสอนที่มีศกั ยภาพสู งต่อการ เรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ทาให้บทเรี ยนดาเนิ นไปอย่างสนุกสนาน น่าสนใจ ผูเ้ รี ยนทุกคนมีโอกาสร่ วมในกิจกรรมตลอดเวลา การใช้วธิ ี การหรื อกิจกรรมเพื่อการเรี ยนการสอนอาจต้องใช้วสั ดุ อุปกรณ์เข้ามาช่วย เพื่อส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้ได้ดี ยิง่ ขึ้น (ศูนย์รวมสื่ อ,2554) โครงการคนไทยไร้พุงได้มีการใช้สื่อกิจกรรมเพื่อการสื่ อสารรณรงค์ อาทิเช่น กิจกรรมการ


289

ออกบูทในสถานที่ต่างๆภายใต้หวั ข้อ “สุ ขพอดี ชีวิตดีพอ” เริ่ มต้นวันนี้ที่ตวั คุณ และการจัดประชุมและฝึ กอบรม สาหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงาน ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ด้านโภชนาการ ชื่อกิจกรรม “มหานครแห่ งสุ ขภาพ”

แผนภาพที่ 1 : สื่ อกิจกรรมการออกบูท

แผนภาพที่ 2 : สื่ อกิจกรรมการจัดประชุมและฝึ กอบรม

2. สื่ อบุคคล สื่ อบุคคลเป็ นการสื่ อสารกับผูร้ ับสารแบบเผชิญหน้าทั้งแบบการสนทนาหรื อการประชุม สื่ อบุคคลทาให้เกิดผล ดีคือ สามารถนาข่าวที่ตอ้ งการเผยแพร่ ไปสู่ ผรู ้ ับสารได้โดยตรง โดยเครื อข่ายคนไทยไร้พุงร่ วมกับศูนย์เรี ยนรู้สุขภาวะ ในการจัดกิจกรรม Health Check-Up หรื อ “ทดสอบความฟิ ตเพิม่ คุณภาพชีวติ ด้วยหลัก 3 อ. ”

แผนภาพที่ 3 : สื่ อบุคคลให้ความรู ้


290

3. สื่ อโสตทัศน์ สื่ อโสตทัศน์เป็ นการประชาสัมพันธ์ทางการสื่ อสารอีกรู้แบบหนึ่งโดยเป็ นสื่ อที่สามารถดึงดูดความสนใจได้ เป็ นอย่างดีอีกช่องทาง เนื่ องจากให้ท้ งั เสี ยงภาพนิ่ ง และภาพเคลื่อนไหว อาทิเช่น โครงการคนไทยไร้พุงใช้การสื่ อสาร ผ่าน Facebookในชื่อ คนไทยไร้พุง,ลดพุง ลดโรค และการสื่ อสารผ่านช่องทาง YouTube ใช้เป็ นสื่ อในการเผยแพร่ ใน รู ปแบบคลิปวีดีโอ รู ปแบบ DVD ซึ่ งเป็ นวิธีแนะนาการออกกาลังกาย และยังมีรายการโทรทัศน์ซ่ ึ งเป็ นสื่ อที่สาคัญอีก ช่องทางหนึ่ง เช่น รายการ THE FIREM 2 องค์การซ่อนอ้วน ทางช่อง Thaipbs

แผนภาพที่ 4 : สื่ อโสตทัศน์ผา่ นช่องทาง Facebook

แผนภาพที่ 5 : สื่ อโสตทัศน์ผา่ นช่องทาง YouTube

แผนภาพที่ 6 : สื่ อโสตทัศน์ผา่ นรู ปแบบ DVD

แผนภาพที่ 7 : สื่ อโสตทัศน์ผา่ นรู ปแบบรายการโทรทัศน์


291

4. สื่ อสิ งพิมพ์ สื่ อสิ่ งพิ มพ์เป็ นสื่ อที่ ช่ วยในการเผยแพร่ ได้อย่างกว้างขวาง และเป็ นที่นิยมใช้มากที่สุ ดอีกสื่ อหนึ่ ง เพราะ นอกจากสะดวกแล้วยังเป็ นการประหยัดงบประมาณได้อย่างมากและสามารถเก็บไว้ได้เป็ นระยะเวลานาน เช่ น มีการ ผลิตแผ่นพับและคู่มือเพื่อเป็ นสื่ อออกเผยแพร่ เรื่ อง หลักการ 3 อ. ต้านภัยไร้พุง,พิชิตอ้วน พิชิตพุง,โรงเรี ยนไร้พุง ใน กทม. และการใช้ภาพ Poster เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ในการเผยแพร่ อาทิเช่ น ลดพุงอย่างไรให้ได้ผล,ปรับเปลี่ยนการบริ โภค อาหาร เป็ นต้น (ชนเมศ มีทองหลาง.2541).

แผนภาพที่ 7 : สื่ อสิ่ งพิมพ์รูปแบบคู่มือ

แผนภาพที่ 8 : สื่ อสิ่ งพิมพ์รูปแบบแผ่นพับ

แผนภาพที่ 9 : สื่ อสิ่ งพิมพ์รูปแบบ Poster

บทสรุ ป การสื่ อสารมีบทบาทสาคัญในการรณรงค์เพื่อส่ งเสริ มทางด้านสุ ขภาพให้คนไทยไร้พุง ไร้โรค ซึ่ งใน

กระบวนการสื่ อสารถื อว่า ช่ องทางการสื่ อสารของสื่ อทุก ประเภทมีส่ วนส าคัญอย่า งมากในการรณรงค์ข อง โครงการคนไทยไร้ พุ ง จึ ง มี ก ารบู รณาการสื่ อออกมาหลากหลายประเภทในการรณรงค์ท้ งั สื่ อ บุ ค คล สื่ อ กิจกรรม สื่ อโสตทัศน์ และสื่ อสิ่ งพิมพ์ เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริ โภคอาหารและหันมา ช่วยกันส่ งเสริ มการออกกาลังกายเพื่อนาไปสู่ สุขภาพที่ดีข้ ึน


292

เอกสารอ้างอิง ชนเมศ มีทองหลาง. (2541). ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับสื่ อสิ่ งพิมพ์ . (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก https://chonamat.wordpress.com สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.). สื่ อเผยแพร่ ความรู้ . (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : http://www.raipoong.com/content/detail.php?slug=media&page_size=full_width ศูนย์รวมสื่ อ . 2554. ความหมายของสื่ อ. (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : http://203.172.238.228/plan/km1/?name=research&file=readresearch&id=4 ศิรินทิพย์ อิสาสะวิน. 2553. เครือข่ ายคนไทยไร้ พุง. (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : http://www.thaihealth.or.th/Content/2491.html จิราภรณ์ สุ ทธิวรเศรษฐ์. 2554. สื่ อสารพัฒนาการ . (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก : http://devcomru7.blogspot.com/2011/09/blog-post_21.html


293

การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของเยาวชน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศกาลังได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งในขณะที่กาลังได้รับความนิยมนั้น ในทางกลับกันธรรมชาติก็ถูกทาลายลงไปด้วย เนื่องจากการกระทาที่ไร้จิตสานึกของมนุษย์ สังคมในปัจจุบัน ผู้ใหญ่ไม่เพียงแต่จะละเลยการปลูกฝังจิตสานึกที่ดีให้กบั เยาวชน แต่ยังสร้างจิตสานึกทีผ่ ิดให้กับเยาวชนอีกด้วย ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ การมองเห็นภาพการกระทาที่ไม่ดีงามของผู้ใหญ่ซ้าแล้วซ้าอีก เช่น การทุจริตคอรัปชั่น การใช้และทาลายทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่รู้คุณค่า เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จึงเป็นตัวอย่างให้กับเยาวชน จนขาด จิตสานึกแห่งความดีงาม และขาดจริยธรรมในสังคมเช่นทุกวันนี้ การเร่งปลูกฝังจิตสานึกในเรื่องที่ดี และลด เงื่อนไขที่จะนาไปสู่การปลูกฝังสิ่งผิดๆให้กับเยาวชนจึงเป็นสิ่งที่สังคมต้องช่วยกันเร่งแก้ไข

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ คือ การท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางไปยังแหล่งธรรมชาติ และแหล่งวัฒนธรรมอย่างมีความรับผิดชอบโดยไม่ก่อให้เกิดการรบกวนหรือความเสียหายแก่ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีการให้ความรู้และการสื่อความหมายกระตุ้นให้เกิดจิตสานึกด้านการอนุรักษ์ ศึกษา เรียนรู้ และเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพ พืชพรรณ และสัตว์ป่า ตลอดจนลักษณะทางวัฒนธรรม ที่ปรากฏใน แหล่งธรรมชาตินั้น อีกทั้งช่วยสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ ที่ส่งผลให้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมเกิดประโยชน์ต่อชุมชนอีกด้วย การท่องเที่ยวเชิงนิเวศจึงเป็นการท่องเที่ยวไปยังแหล่งธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเรียนรู้ทาความเข้าใจกับพัฒนาการทางวัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมด้วยความ ระมัดระวังไม่ให้เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศ ในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ ชาวบ้านในท้องถิ่นได้รับประโยชน์โดยตรงจากการอนุรักษ์ธรรมชาติแวดล้อม ภายใต้หลักการ "คนที่ดูแลรักษา ทรัพยากรย่อมสมควรได้รับประโยชน์จากการดูแลรักษานั้น" รูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อาทิเช่น กิจกรรมการเดินป่า ,กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ ,กิจกรรมส่องนก กิจกรรมศึกษาเที่ยวถ้า ,กิจกรรมศึกษาท้องฟ้า และดาราศาสตร์ ,กิจกรรมพายเรือ ,กิจกรรมดาน้าชมปะการังกิจกรรมปีนเขา ,กิจกรรมขี่จักรยานตามเส้นทาง ธรรมชาติ ,กิจกรรมล่องแพ ,กิจกรรมเที่ยวน้าตก เป็นต้น (อุดม เชยกีวงศ์ ,2548)


294

รูปที่ 1 : รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สถานการณ์ของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในปัจจุบันพบว่าการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็นการท่องเที่ยวแบบ ยั่งยืนรูปแบบหนึ่งซึ่งกาลังได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวมากขึ้นตามลาดับ จะเห็นได้จากสถิติจานวน นักท่องเที่ยวที่เดินทางไปตามสถานที่ต่างๆที่จัดอยู่ในกลุ่มของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในแต่ละปีเพิ่มจานวนมาก ขึ้นเรื่อยๆ และได้รับการส่งเสริมจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ให้เป็นหนึ่งในกลยุทธ์การจัดการ การท่องเที่ยวตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยว 2541 – 2546

โดยประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการจัดงานสัมมนา

ท่องเที่ยวเชิงนิเวศนานาชาติ 2545 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ และในปี 2546 การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทยได้จัดให้มีกิจกรรมต่างๆเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างชัดเจน (การดา ร่วมพุ่ม และอุไร คงคาหลวง ,2553) อย่างไรก็ตามการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในปัจจุบันยังประสบปัญหาสาคัญ คือ พฤติกรรมอันไม่พึง ประสงค์ของนักท่องเที่ยวบางกลุ่มที่ไม่ให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม ทั้งในแหล่งท่องเที่ยวที่มีการจัดการแล้วจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กรมป่า ไม้ หรือชาวบ้านที่อยู่ในเขตแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่ยังไม่ได้รับการจัดการอย่างมี ระบบซึ่งเสี่ยงต่อการถูกบุกรุกทาลายจากนักท่องเที่ยว การที่นักท่องเที่ยวยังคงมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ไม่ สอดคล้องกับการอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ส่วนสาคัญคือการขาดจิตสานึกร่วมกันในการหวงแหนและ ระลึกว่าแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเหล่านั้นเป็นทรัพยากรอันมีค่า เป็นสมบัติของส่วนรวม ซึ่งต้องการการดูแล รักษาจากบุคคลที่เข้าไปเกี่ยวข้อง ทั้งนักท่องเที่ยว ชาวบ้าน บริษัทนาเที่ยว และหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง


295

จิตสานึก จิตสานึกคือ เป็นสภาพที่รู้ตัวว่าคือใคร อยู่ที่ไหน ต้องการอะไร หรือกาลังรู้สึกอย่างไรต่อสิ่งใด เมื่อ แสดงพฤติกรรมอะไรออกไปก็แสดงออกไปตามหลักเหตุและผล แสดงตามแรงผลักดันจากภายนอก สอดคล้อง กับหลักแห่งความเป็นจริง (principle of reality) จิตสานึกเป็นระดับเหตุผลภายในใจ ที่ส่งผลต่อการ แสดงออกในพฤติกรรมต่างๆ โดยเลือกแล้วว่าจะทาหรือไม่ทาอะไร เป็นการระลึกรู้ได้เกี่ยวกับตาแหน่งหน้าที่ ของตัวเองในโครงสร้างสังคม ดังที่เราจะได้ยินบ่อย ๆ ว่าจิตสานึกแห่งความเป็นครู จิตสานึกของพลเมือง จิตสานึกสาธารณะ จิตสานึกของการเป็นคนดี จิตสานึกรักสิ่งแวดล้อม จิตสานึกจึงเกี่ยวโยงกับคุณธรรม และ จริยธรรมของบุคคลนั่นเอง (ดาวแม่ไก่ ,2556) การที่บุคคลจะมีคุณธรรม มีจิตสานึกที่ดี จาต้องมีการอบรมสั่ง สอนหรือซึมซับประสบการณ์จากครอบครัวหรือสังคมรอบตัว และผ่านการกระทาจนเป็นสันดานแห่งความดี หรือจิตสานึกนั่นเอง อยู่ๆจะให้มีจิตสานึกเกิดขึ้นเองคงจะเป็นไปได้ยาก ฉะนั้นควรสร้างจิตสานึกตั้งแต่ในวัย เด็กโดยมีตัวอย่างที่ดีขัดเกลาให้โตเป็นผู้ใหญ่ที่มีจิตสานึกที่ดี จากสถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ขาดจิตสานึก ทาให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อม สภาพเสื่อมโทรมจนสถานที่ท่องเที่ยวด้อยคุณค่าลง เศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศถดถอย ชาวบ้านที่อยู่ ในเขตแหล่งท่องท่องเที่ยวขาดรายได้ ดังนั้นการให้ความรู้ความเข้าใจและการสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่นักท่องเที่ยวผู้มาเยือน ตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้องจึงจาเป็นอย่างยิ่ง เช่น ชุมชน เจ้าหน้าที่ดูแลทรัพยากรการท่องเที่ยว ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยว มัคคุเทศก์ เป็นต้น (การดา ร่วมพุ่ม และอุไร คงคาหลวง ,2553)

การสื่อสารเพื่อการสร้างจิตสานึก การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสานึก คือ กระบวนการที่วางแผนการสื่อสารอย่างเป็นขั้นตอน เพื่อส่งเสริมให้ เกิดจิตสานึกที่ดี หรือเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น โดยใช้การสื่อสารในรูปแบบต่างๆให้เกิดมุมมองใหม่ๆ ทัศนคติใหม่ๆ เพื่อให้มีการแสดงออกของพฤติกรรมที่เหมาะสม หากมีการเริ่มปลูกฝังจิตสานึกที่ดีตั้งแต่ยังเป็น เยาวชนที่เปรียบเสมือนผ้าขาว ก็จะเป็นพลังสาคัญที่จะขับเคลื่อนสังคมไทยในอนาคต (ชัท เมืองโคตร ,2553) การสื่อสารที่สร้างจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีการใช้การสื่อสารหลายรูปแบบเพื่อสร้าง จิตสานึกให้กับเยาวชน อาทิเช่น สื่อมวลชน สื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น


296

สื่อมวลชน เป็นสื่อกลางที่นาข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศไปสู่เยาวชน โดยผ่านทาง สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่ออินเตอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ เป็นต้น ซึ่งผู้สื่อสารจะต้องซื้อเนื้อที่และเวลา จึงจะสามารถเผยแพร่ข่าวสารต่างๆได้

รูปที่ 2 : วิดีโอการท่องเที่ยวเชิงนิเวศผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต สื่อบุคคล เป็นการสื่อสารกับผู้รับสารแบบเผชิญหน้าทั้งแบบสนทนาราบุคคลหรือสนทนากลุ่ม สื่อ บุคคลสามารถนาข่าวสารไปสู่ผู้รับสารได้โดยตรง ผู้ส่งสารจะมีความรู้ด้านการปลูกจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิง นิเวศเป็นอย่างดี มีการสนทนาโต้ตอบกันได้ทันทีหากมีข้อสงสัยในขณะนั้น ดังนั้นสื่อบุคคลสามารถโน้มน้าวใจ ทาให้เกิดจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้

รูปที่ 3 : การให้ความรู้โดยสื่อบุคคล


297

สื่อสิ่งพิมพ์ มีการสื่อสารถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การสร้างจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดย ใช้รูปภาพประกอบ มีเนื้อหาที่สั้นกระชับ เข้าใจง่าย ทาให้ดึงดูดความสนใจของเยาวชนได้เป็นอย่างดี อาทิเช่น โปสเตอร์ แผ่นพับ เป็นต้น สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อที่เผยแพร่ได้อย่างกว้างขวาง เป็นสื่อนิยมใช้มากอีกหนึ่งสื่อเพราะ ทั้งสะดวกและประหยัดงบประมาณ เป็นสื่อที่สามารถเก็บไว้ได้เป็นเวลานาน

รูปที่ 4 : สื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบโปสเตอร์ ได้มีการวิจัยเรื่อง การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของเยาวชน โดยได้ ทาการศึกษาว่าสื่อชนิดใดที่มีบทบาทต่อการสร้างจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศมากที่สุด จากการสารวจ เยาวชนตอบสนองกับสื่อ 2 ชนิดมากที่สุด คือ สื่อมวลชน และสื่อบุคคล เมื่อเปรียบเทียบระหว่างสื่อมวลชนกับ สื่อบุคคลในการให้ข้อมูล การจดจาเนื้อหาเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศพบว่ากลุ่มตัวอย่างเห็นว่าสื่อมวลชน สามารถทาได้ดีกว่าสื่อบุคคล แต่ถ้าเป็นการโน้มน้าวใจให้เกิดจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สื่อบุคคลจะ สามารถทาได้ดีกว่าสื่อมวลชน (การดา ร่วมพุ่ม และอุไร คงคาหลวง ,2553) บทสรุป เนื่องจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทาให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลายลงอย่างช้าๆ โดยการกระทาของ มนุษย์ที่ขาดจิตสานึกที่ดี จึงจาเป็นที่จะต้องใช้การสื่อสารในรูปแบบต่างๆเข้ามาแก้ไขเพื่อให้มนุษย์ได้ซึมซับสิ่ง ที่ดีและก่อให้เกิดจิตสานึกที่ดี จาเป็นตองเริ่มปลูกฝังตั้งแต่ยังเป็นเยาวชน ผลที่ได้คือเยาวชนมีการเปิดรับ ข่าวสารจากสื่อมวลชนมากที่สุด แต่สื่อมวลชนก็ยังไม่สามารถโน้มน้าวในให้เกิดจิตสานึกได้ ในขณะที่สื่อบุคคล สามารถให้ข้อมูลข่าวสารพร้อมกับการโน้มน้าวในไปด้วย เพราะฉะนั้นสื่อบุคคลสามารถทาได้ดีที่สุดในการ ปลูกฝังจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ


298

เอกสารอ้างอิง อุดม เชยกีวงศ์ และคณะ. 2548. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ: แสงดาว ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์. 2533. การสื่อสารระหว่างบุคคล. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: รุ่งแสงการพิมพ์ การดา ร่วมพุ่ม และอุไร คงคาหลวง. 2553. “การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสานึกในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของเยา ชน.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ดาวแม่ไก่. 2553. จิตสานึกคืออะไร. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=59807 ชัท เมืองโคตร. 2553. การสือ่ สารเพื่อพัฒนาพฤติกรรมและสังคม. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/353888

ผู้จัดทา รุจิรา พงษ์หนองโน นิเทศศาสตร์เกษตร 54040778


299

กลยุทธตลาดเพลง K-POP บทนํา ปจจุบันกระแสความนิยมเกาหลี หรือ Korean Wave ไดแพรขยายไปทั่วทั้งเอเชีย จากเดิมที่เกาหลีใต เปนเพียงประเทศเล็กๆ ที่มีวัฒนธรรมไมโดดเดนเทากับประเทศเพื่อนบานอยางจีน หรือญี่ปุนที่มีตนทุนทาง วัฒนธรรมสูง แตเกาหลีใตไดพยายามประชาสัมพันธตัวเอง และเผยแพรวัฒนธรรมใหเปนที่รูจักแพรหลายไป ทั่วเอเชีย โดยเฉพาะอยางยิ่งการแปลงตนทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยูใหเปนสินคาทางวัฒนธรรมผานการวางแผน ยุทธศาสตร มีการเตรียมความพรอมที่ชัดเจนและจริงจัง จนกลายเปนแบรนดสินคา วัฒนธรรมที่มีศัก ยภาพ อยางยิ่งในการเจาะตลาด ตางประเทศ สรางรายไดเขาประเทศไดอยางมหาศาล โดยหนึ่งในวิธีการเจาะตลาด ตางประเทศของเกาหลีใตที่จะตองกลาวถึงคือ กระแส K-POP เปนที่ทราบกันดีวา ตลาดบันเทิงเอเชียในยุค ปจจุบันเต็มไปดวยศิลปน /นักรองชาวเกาหลี (Idol) ไมวาจะเปนศิลปนเดี่ยวหรือกลุม และเปนที่นิยมอยางถึง ขีดสุดในระยะเวลา 5 ถึง 10 ปที่ผานมา จัดเปนผลผลิตชั้นยอดของเกาหลีใตที่พัฒนาใหศิลปนเหลานี้กลายเปน “แบรนดทางวัฒนธรรม” จึงมีคําถามเกิดขึ้นวา เกาหลีใตทําไดอยางไรถึงสามารถสราง ปรากฏการณ K-POP Fever ขึ้นในทวีปเอเชีย (ธเนศ เจยเสนานนท, 2557), (สุธีรา เดชนครินทร, 2557) กลยุทธทําการตลาดเพลง K-POP การทองเที่ยวแหงประเทศไทย กลาวถึงกระแสเกาหลี หรือที่รูจักกันวา ฮันยู (Hallyu) Unlimited Free Image and File Hosting at Media Fire เกิดขึ้นในชวงปลายทศวรรษ 1990 หมายความถึงกระแส ความนิยมเกาหลีที่คอยๆ คืบคลานมายังภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งถือเปน ปรากฏการณ ที่เหนือความคาดหมายของนักวิชาการหรือบรรดาสื่อมวลชน เพราะเปน ปรากฏการณ ทาง วัฒนธรรมขามชาติที่ขามพนอิทธิพลท างเศรษฐกิจการเมืองและสังคมของชาติมหาอํานาจ เชน สหรัฐอเมริกา ทามกลางกระแสโลกาภิวัฒนในโลกยุคดิจิตอล (ผูจัดการ 360 องศา รายสัปดาห, 2552) สําหรับเกาหลีใตแลวตลาดเอเชียเปนตลาดขนาดใหญที่มีมูลคาการคามหาศาล ทั้งจีน ญี่ปุน และ ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเ ฉียงใต ดังนั้น ตลาดเอเชียจึงเปนเหมือนแหลงขุมทรัพยขนาดใหญของ เกาหลีใต โดยขอมูลจาก The Korea Creative Content Agency (KOCCA) ระบุวา ในป 2009 เกาหลีใตทํา รายไดจากการสงออก K-POP ไปยังญี่ปุนคิดเปนมูลคา 21.6 ลานเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 92.9 จาก มูลคาการสงออกในป 2008 ในขณะที่การสงออกไปยังประเทศจีนในป 2009 คิดเปนมูลคา 2.4 ลานเหรียญ สหรัฐ เพิ่มขึ้นรอยละ 28.5 จากป 2008 สวนการสงออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใตในป 2009 คิดเปนมูลคา 6.4 ลานเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 149.6 จากป 2008 และมีแนวโนมขยายตัวอยางตอเนื่องในปตอๆ ไป (ธเนศ เจยเสนานนท, 2557)


300

กลยุทธตลาดเพลง K-POP ในการสงเสริมเพลงสูตางประเทศ ในตลาดเพลง ตลาดเพลง K-POP ถือไดวามีอิทธิพลกับหลายประเทศทั่วโลก ความสําเร็จที่เกิดขึ้นนั้น เนื่องจากเกาหลีใตมีกลยุทธในการทําการตลาดทีส่ ามารถสรุปได 9ขอ ดังนี้ 1. การสรางจุดขาย คายเพลงตางๆ จะพิจารณาแนวโนมความตองการของผูฟงในตลาดเพลงทั้งในและตางประเทศแลวนํา ขอมูลดังกลาวมาใชประกอบการแตงเพลง รวมทั้งการออกแบบทาเตน ตอมาทีมงานจะนํามาคัดเลือกเพื่อให เหมาะกับนักรองแตละคน ซึ่งที่ผานมาเกาหลีใตประสบความสําเร็จอยางยิ่งในการแตงเพลงและออกแบบทา เตนที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลาย เชน เพลง Nobody ของ Wonder Girls ซึ่งเปนเพลงที่ทั้งเนื้อรองและ ทาเตนไดรับความนิยมไปทั่วโลกเลยทีเดียว และนอกจากนี้ยังมีเพลง Tell me your wish หรือ Genie ของ Girls’Generation (Galio, 2551) 2. การจัดจําหนาย โดยทั่วไปการจัดจําหนายเพลงมี 2 ชองทาง คือ การจําหนายแบบปกติ (Physical Sale) เชน CD ทั้ง แบบ Single และอัลบัม้ เพลง มิวสิควิดโี อในรูปแบบ DVD เปนตน และการจําหนายแบบดิจิตัล (Digital Sale) เชน การดาวนโหลดเพลงผานเว็บไซตเพลงออนไลน (Online Music) และการดาวนโหลดผานโทรศัพทมือถือ (Mobile Music) สําหรับเกาหลีใตนั้นจัดจําหนายทั้งสองรูปแบบ โดยบริษัทหรือคายเพลงขนาดใหญ เชน บริษัท JYP Entertainment บริษัท YG Entertainment และบริษัท SM Entertainment จะเปนผูผลิตและ จัดจําหนายเอง แตแนวโนมสัดสวนการจําหนายในรูปแบบดิจิตัลเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เนื่องจากไดรับความ นิยมควบคูกันกับยอดจําหนายโทรศัพทมือถือที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหยอดการดาวนโหลดเพลงผานโทรศัพทมือถือ เพิ่มขึ้นตามไปดวย โดยบริษัทคายเพลงจะทําสั ญญาซื้อขายลิขสิทธิ์กับบริษัทผูใหบริการเครือขาย โทรศัพทมือถือ ปจจุบันบริษัทผูใหบริการดาวนโหลดเพลงผานมือถือและเพลงออนไลนที่เปนที่นิยมทั้งใน เกาหลีและในอีกหลายประเทศทั่วโลก มีอยู 2 บริษัท ไดแก LG Telecom เปดเว็บไซตชอ่ื MusicOn และ บริษัท SK Telecom เปดเว็บไซตชอ่ื MelOn และนอกจากจะผลิตเพลงและจําหนายไปยังผูบริโภคโดยตรง แลว ยังมีการผลิตเพลงเพื่อใชในภาพยนตร และสื่อบันเทิงชนิดอื่นดวย 3. การสงเสริมการขาย การนํา K-POP โดยเริ่มจากการเจาะตลาดเอเชีย จนทําใหเกิดกระแส Korean Fever ขึ้นในหลาย ประเทศในเอเชีย สิ่งที่เปนกลไกสําคัญที่สุดคือ การสงเสริมการขาย จัดเปนสุดยอดทางการตลาดของเกาหลีใต ในยุคนี้ ซึ่งการสงเสริมการขายของเพลงเกาหลีจะอยูในรูปแบบการประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ เชน โทรทัศน วิทยุ สื่อสิ่งพิมพตางๆ รวมไปถึงสื่อออนไลน เพื่ อเปนการโปรโมท ศิลปน (Idol) ในชวงกอนที่ผลงานเพลงจะ ออกวางจําหนาย รวมทั้งการเปดตัวในงานตางๆ รวมทั้งการจัดทัวรคอนเสิรตเพื่อโปรโมทศิลปน(Idol) และงาน เพลงใหเปนที่รูจักทั้งในและตางประเทศโดยเฉพาะประเทศในแถบเอเชีย อีกทั้งบริษัทหรือคายเพลงตางๆ ยินยอมใหนักรองในสังกัดตนเองเขารวมรายการวาไรตี้ ทั้งเปนพิธีกรและแขกรับเชิญ เชน รายการ Star King ที่มีศิลปน (Idol) รับเชิญมาเปนกรรมการพิจารณาความสามารถของผูเขาแขงขันจากทางบาน รายการ


301

We got Married ที่นํา ศิลปน (Idol) แตละคนมาทดลองใชชีวิตรวมกันเหมือนคูแ ตงงาน รายการเพลง Inkigayo เปนตน รวมทั้งการเปนพรีเซนเตอรโฆษณา เพราะนอกจากจะเปนการโปรโมทที่ดีแลว บริษัทยัง ไดรับสวนแบงรายไดจากคาตัวของศิลปน(Idol) lแตละคนดวย มีการเปดเผยตัวเลขคาจางศิลปน(Idol) ของ เกาหลีที่เปนพรีเซนเตอรโฆษณาในป 2554 ซึ่งมีมูลคาสูงมาก ยกตัวอยางเชน Rain และ Bigbang คาจางอยูที่ 1-1.5 ลานเหรียญสหรัฐ 2PM Girl Generation ลี เฮียว ริ และวง 2NE1 คาจางจะอยูที่ 8-9 แสนเหรียญ สหรัฐ เปนตน นอกจากนี้ยังเปนการประชาสัมพันธที่มีปร ะสิทธิภาพอยางหนึ่งในการขยายฐาน แฟนเพลงออกไปทั่วเอเชียอีก ดวย รายการตางๆ เหลานี้ไดออกฉายไปยังประเทศตางๆ ทั่วเอเชียและไดรับความนิยมเปนอยางมาก (ธเนศ เจยเสนานนท, 2557) 4. การใชละครเกาหลี เชน แดจังกึม, จูมง ที่ทําใหคนมากมายรูจักกับวัฒนธรรมของชนชาติเกาหลีโบราณ และอาหารเกาหลี ที่ชวยเปดประตูการทองเที่ยวในประเทศเกาหลี ทําใหอาหารเกาหลีเปนที่นิยมในตางประเทศชวยสรางรายได จากการสงออกสินคาวัตถุดิบ 5. การใชวัฒนธรรมทางดนตรี เค-ปอป (K-pop) ไซ (เจาของเพลง กังนัมสไตล ) กลายเปนศิลปนที่ดังไปทั่วโลก ทําใหศิลปนกลุมทั้งชายอยาง ทูพเี อ็ม (2PM), ซูเปอรจูเนียร และหญิงอยาง Girl Generation , 2NE1 ทัวรคอนเสิรตทั่วโลก ทําใหเกิดกระแสคลั่ง ไคลดนตรี เค-ปอป (K-pop) ไปทั่วโลก

6. การใชความที่คนเกาหลีนั้นมีความเปนชาตินิยมสูงจึงใชและสนับสนุนสินคาของเกาหลี ทําใหสินคาหลายอยางจากแบรนด เกาหลีอยาง ซัมซุง ฮุนได LG กลายเปนสัญ ลักษณของเกาหลีไป แลว และที่สําคัญคือ การรวมมือกันของคนเกาหลีทําใหบริษัทเหลานี้สามารถแขงขันกับบริษัทยักษใหญทั่วโลก ไดอยางสูสีกันมาก


302

7. การดึงเอาขอดีของวัฒนธรรมโปรโมทใหเปนที่รูจัก ชวยสรางภาพลักษณที่ดีของคนในประเทศ ที่ชวยดึงดูดใหนักทองเที่ยว นักลงทุน และ เปนการสราง คานิยม-บริโภคนิยม-วัตถุนิยม ในการเสพสินคาทางวัฒนธรรม (Culture Product) จนทําใหมีคนตางชาติหัน มาเรียนภาษาเกาหลีมากขึ้น 8. การสรางจุดขายใหมๆ ทางวัฒนธรรมอยางตอเนือ่ ง อยางเพลง กังนัมสไตล ที่ฮิตขามป หรือการสรางวัฒนธรรมใหม ๆ อยางทาเตนนารักๆ ที่ชื่อวา คิโยมิ ออกมาเรื่อยๆ การแตงตัวเทรนดใหม และเทรนดโบราณของชุดประจําชาติ ทั้งเสื้อผา หนาผม นั้นทําใหเกิด การเพิ่มมูลคาใหสินคาที่ปอนเขาสูตลาด 9. การใชเทคโนโลยีอยาง Youtube , และสื่อสังคมออนไลนตางๆ อยาง Facebook มาใช เปนการสรางกระแสคลื่นวัฒนธรรม (Culture Product) ของวัฒนธรรม เค-ปอป,ละคร,ภาพยนตร เกาหลี และอาหารเกาหลี ใหกระจายไปทั่วโลก ไดอยางไมมีขอบเขต (อนุสรณ เมืองศรี, 2557) แนวทางการสรางศิลปน (Idol) โดยทั่วไปนักรองเกาหลีสามารถแบงออกไดสองกลุมใหญ ไดแก กลุมแรก เปนนักรองที่เนนเพียงการ รองเพลงอยางเดียว ซึ่งยังไมไดรับความนิยมเทากลุมที่สอง คือ นักรอง หรือที่เรียกกันติดปากวา ไอดอล(Idol) นักรองกลุมนี้เปนที่นิยมอยางมากทั้งในเกาหลีใตและในตางประเทศ เพราะนอกจากรูปรางหนาตาที่ดีแลว นักรองเหลานี้ยังมีความสามารถดานการรองเพลงและการเตนอีกดวย ซึ่งบริษัทหรือคายเพลงยักษใหญของ เกาหลีใหความสําคัญกับการสรางและพัฒนาศิลปน(Idol) เปนอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งบริษัทยักษใหญ 3 บริษัท คือ - บริษัท JYP Entertainment ผูสราง Rain, 2PM, 2AM, Wonder Girls, Got7 ฯลฯ - บริษัท YG Entertainment ผูสราง Seven, Big Bang, 2NE1, Winner ฯลฯ - บริษัท SM Entertainment ผูสราง TVXQ , Super Junior, Girls’ Generation, Shinee, F(X), EXO ฯลฯ ซึ่งทั้งสามบริษัทมีแนวทางการสรางและพัฒน าศิลปน (Idol) ที่มีความคลายคลึงกันอยางมาก พอสรุป ไดดังนี้ 1. การฝกฝน / ฝกซอมที่เขมงวด หลังจากผานการคัดเลือกจากบริษัท หรือคายเพลงแลว กอนที่จะเซ็น สัญญาเปดตัว (debut) เปน นักรองอาชีพนั้น เหลานักรองฝกหัดจะตองใหความสําคัญกับการฝกฝนตนเอง โดยชวงเวลาการฝกฝนคอนขาง ยาวนานตั้งแต 2-4 ปขึ้นไป เปนการฝกฝนตั้งแต การรองเพลง การเตน การฝกฝนภาษาตางประเทศ รวมทั้ง ฝกการแสดง (acting) พรอมไปกับการเสริมสรางความแข็งแกรงของรางกาย เชน การออกกําลังกายเสริมสราง กลามเนื้อ เพื่อทําใหรูปรางดูดี มีบุคลิกที่ดี ซึ่งจะมีสวนชวยใหการแสดงบนเวทีมีความโดดเดนยิ่งขึ้น หลังจาก การฝกซอมอยางเต็มที่ก็จะมีการทดสอบทักษะดานตางๆ เปนระยะ เพื่อดูความพรอม และทดสอบการแสดง


303

บนเวทีโดยมีผูเขา ชมจํานวนหนึ่ง ซึ่งตองทําใหไดตามมาตรฐานที่ตั้งเอาไวซึ่งคอนขางสูง การแขงขันระหวาง นักรองฝกหัดดวยกันจึงสูงตามไปดวย หากใครทําไดไมดีก็จะตองถูกคัดออกไป ดังนั้น นักรองฝกหัดจะตอง ขยันฝกซอมและทุมเทอยางหนักเพื่อความอยูรอด เมื่อบริษัทเห็นวา นักรองฝกหัดมีความพรอมแลวก็จะเปดตัว ครั้งแรก(debut) เปนนักรองอาชีพ โดยการจะพิจารณาใหเปนนักรองเดี่ยวหรือกลุมนั้นขึ้นอยูกับการตัดสินใจ ของบริษัทซึ่งจะต องผานการวิเคราะหผลดีผลเสียที่ บริษัทจะไดรับจากนักรองผูนั้นอยางละเอียดถี่ถวน แต หลังจากไดเปนนักรองอาชีพแลวการฝกซอมก็ยังตองดําเนินตอไป และจะทวีความเขมงวดมากขึ้นกวาเดิม โดยเฉลี่ยแลวศิลปน(Idol) จะใชเวลาฝกซอมวันละไมต่ํากวา 8 ชั่วโมงเลยทีเดียว 2. การปลูกฝงนิสัยความเปนมืออาชีพ ความเปนมืออาชีพนั้นเปนสิ่งที่ ศิลปน(Idol) ทุกคนจะตองมี โดยเฉพาะอยางยิ่งความมีระเบียบวินัย มี ความรับผิดชอบ ทั้งการตรงตอเวลา การมีสัมมาคารวะ ความขยัน อดทนและทุมเทในการฝกซอม รวมทั้งการ ปรับเปลี่ยนอุปนิสัยการรับประทานอาหารเพื่อรักษารูปราง เปนตน สิ่งตางๆ เหลานี้ลวนมีความสําคัญตอกา ร เปนศิลปน (Idol) แทบทั้งสิ้ น ซึ่งบริษัทตางๆ ไดปลูกฝงให ศิลปน (Idol) แตละคนเขาใจสิ่งเหลานี้ ทั้งนี้เพื่อ ความสําเร็จของแตละคน ซึ่งหมายถึงผลกําไรของบริษัทดวย 3. การสรางภาพลักษณที่ดี ภาพลักษณที่ดี เชน ความออนนอมถอมตน ไมเยอหยิ่ง มีความจริงใจ เปนสุภาพบุรุษ ไมมีเรื่องอื้อฉาว และดูแลเอาใจใสแฟนคลับ เปนตน สิ่งเหลานี้ลวนมีความสําคัญอยางยิ่งตอ ศิลปน(Idol) เพราะภาพลักษณที่ดี จะทําใหเปนที่นิยมมากขึ้น บริษัทยักษใหญจึงระมัดระวังเป นอยางมากในการดูแล และควบคุมพฤติกรรมของ เหลาศิลปน(Idol) ในสังกัดอยางเขมงวด (ธเนศ เจยเสนานนท, 2557) บทสรุป จากแนวทางกลยุทธการเจาะตลาด เพลง K-POP ขางตน จะเห็นไดวาเกาหลีใตมีการวางการตลาด ตางๆ ไวเปนอยางดี เปนแนวทางเบื้องตนในการพัฒนาอุตสาหกรรมเ พลงของเกาหลีใตใหเปนที่นิยมในเอเชีย และอาจขยายวงกวางไปยังทวีปอื่นๆ ทั่วโลกไดในอนาคต ทั้งนี้เนื่องมาจากกลยุทธที่ไดวางไวทั้ง 9 ขอคือ การ สรางจุดขาย การจัดจําหนาย การสงเสริมการขาย การใชละครเกาหลี การใชวัฒนธรรมทางดนตรี การใชความ ที่เกาหลีเปนชาตินิย มสูง การดึงเอาขอดีของวัฒนธรรมโปรโมทใหเปนที่รูจัก การสรางจุดขายใหมๆ ทาง วัฒนธรรมอยางตอเนื่อง และการใชเทคโนโลยีที่มีอยูใหเกิดประโยชนอยางสูงสุด รวมไปถึง แนวทางที่ทาง บริษัทเพลงนั้นนํามาสรางศิลปน (Idol) ซึ่ง กลยุทธที่กลาวมานี้ ทําใหเกาหลีใตเปนประเทศตนๆ ที่ผูคนจะ กลาวถึง ทั้งในเรื่องของการทองเที่ยวของประเทศ อาหารเกาหลีใต รวมทั้งบุคลากรของประเทศที่มีชื่อเสียง ทั้งหมดนี้ สะทอนให เห็นไดวาเกาหลีใตมีกลยุทธการวางแผนการตลาดที่ดี มาก ดวยการนําสิ่งที่มีอยู ภายในประเทศมาสรางใหเกิดประโยชนอยางสูงสุดแกประเทศของตนเอง


304

เอกสารอางอิง ธเนศ เจยเสนานนท. 2557. กลยุทธการเจาะตลาดเอเชียของ K-POP/Strategy for K-POP spread in Asia. (ออนไลน)เขาถึงไดจาก : www.creativeokmd.com (18 พฤศจิกายน 2554) อนุสรณ เมืองศรี. 2557. เจาะกลยุทธรอยลาน เค–ปอป กับตลาดวัฒนธรรม Culture Marketing. (ออนไลน) เขาถึงไดจาก : http://blogpanya.com (18 พฤศจิกายน 2554) Galio. 2551. เบื้องหลังความสําเร็จแหกระแส K-POP กับมนตรา 3 ประการ. (ออนไลน)เขาถึงไดจาก : http://forums.soshifanclub.com/index.php?showtopic=24772 (18 พฤศจิกายน 2554) สุธีรา เดชนครินทร. 2557. กลยุทธการตลาดกับกระแส J-Pop & K-Pop. (ออนไลน)เขาถึงไดจาก : Culture http://www.hu.ac.th/academic/article/Mk/J-Pop%20&%20K-Pop%20 Cultur.htm (18 พฤศจิกายน 2554) ผูจัดการ 360 องศา รายสัปดาห. 2552. K-POP ผงาดเกาหลีพันธุแรงแซง J-POP. (ออนไลน)เขาถึงไดจาก : http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9520000068677 (18 พฤศจิกายน 2554)

นางสาววารินทร ชูเลิศ 54040783 หลักสูตรนิเทศศาสตรเกษตร


305 นางสาวหทัยชนก อินทร์ ขุนจิต 54040792 1

รูปแบบการสื่อสารของ Smart Farm บทนา ในอดีตการท าการเกษตรจะเป็ น การท า เพี ย งในครั ว เรื อ นไม่ ไ ด้ ท าเพื่ อ เป็ น ธุ ร กิ จ แต่ ใ น ปั จ จุ บั น ประชากร เพิ่ ม มากขึ้ น ท าให้ เ กิ ด ควา ม ต้ อ งกา ร ทา งกา ร เกษตร เพิ่ ม มา กขึ้ น ท า ให้ การเกษตร จึ ง ถู ก พั ฒ น าให้ มี ร ะบบการบริ ห า ร จั ด กา ร ที่ มี ปร ะ สิ ท ธิ ภา พสู ง ขึ้ น เพื่ อ คว า ม สะดวกสบายและสา มาร ถผลิ ต สิ น ค้ า ทา งกา ร เกษตรให้เพียงพอต่อความต้ อ งการของตลาด แต่ สาหรับการเกษตรในประเทศไทยยังประสบปั ญ หา หลายด้าน ในมิ ติ ข องประสิ ท ธิ ภ าพของคุ ณภาพ สินค้า การจัดการที่ดี และการโปรโมทสินค้า ยัง อยู่ ในเกณฑ์ที่ไม่สูงและรายได้ เ กษตรกรมี อั ต ราเฉลี่ ย ต่า เนื่องจากเกษตรกรไม่มีความรู้เพียงพอการขาด ข้อมูลเชิงลึกด้านการตลาดสาหรับวางแผนการผลิ ต ร วมทั้ ง ควา มรู้ ใ น กา ร ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร ที่ มี คุณภาพสูงความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและเป็ น มิ ต ร ต่อสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญ หาดั ง กล่ า วสะท้ อ นว่ า อาชี พ เกษตรกรยั ง ขาดการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น โดยเฉพาะการสร้ า งความเข้ มแข็ ง ให้ ส ามาร ถ พึ่งตนเองได้ในระยะยาว ในยุคที่การติดต่อสื่อสารพัฒนาไปมากท า ให้มีการประยุกต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ นด้ า นต่ า งๆ เช่ น การค้นหาข้ อ มู ล การพู ด คุ ย ผ่ า นสื่ อ ไร้ ส าย ภาค การเกษตรก็เช่นเดียวกันต้องนาเทคโนโลยีเ หล่ า นั้ น มาช่วยเพื่อให้การเกษตรมี ก ารบริ ห ารจั ด การ ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพและสามารถผลิ ต สิ น ค้ า ทางกา ร เกษตรที่มีคุณภาพได้ กรมส่ ง เสริ มการเกษตรและ กระทร วงเกษตรและสหกรณ์ จึ ง ได้ เ ริ่ ม แนวคิ ด ฟาร์มอัจฉริยะหรือเกษตรแม่นยาสู ง ขึ้ น เพื่ อ พั ฒ นา ศักยภาพของเกษตรกร

แนวคิดหลัก Smart farm แนวคิ ด หลั ก ของสมาร์ ท ฟาร์ ม คื อ การ ปร ะยุ ก ต์ ใช้ เ ทคโ น โลยี อิ เล็ ก ทร อ นิ ก ส์ แ ล ะ คอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการพั ฒ นาทั้ ง ห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน (Supply Chain) ของกระบวนการผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร ไป จนถึ ง ผู้ บ ริ โ ภค (From Farmer to Market) เพื่ อ ยกร ะดั บ ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ลดต้ น ทุ น รวมทั้งพัฒนามาตรฐานสิ น ค้ า ซึ่ ง ครอบคลุ มด้ า น กา ร ตลา ดที่ เ น้ น ควา มส า คั ญ ของ การ สร้ า ง มู ล ค่ า เ พิ่ ม ผ่ า น กา ร ส่ งเสริ ม ตร า สิ น ค้ า ไท ย (Branding) และยกระดั บ ควา มน่ า เชื่ อ ถื อ ของ สิ น ค้ า โดยยึ ด มาตรฐา นสากล ในกา รก าหน ด คุณภาพ รวมถึงการใช้ เทคโนโลยี ในระบบการ สืบค้นย้อนกลับ (Traceability) ซึ่ ง เป็ น การสร้ า ง ความมั่ น ใจในสิ น ค้ า ให้ กั บ ผู้ ซื้ อ ได้ อี ก ทางหนึ่ ง นอกจากนั้นยังรวมถึงการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสร้างเรื่องราว (Story) เพื่ อ เพิ่ มมู ล ค่ า ให้ กั บ สินค้า ตลอดจนการใช้ ป ระโยชน์ จ ากเครื อ ข่ า ย สังคมออนไลน์ (Social Network) เป็ น สื่ อ ในการ สร้างตราสินค้าและพัฒนาความสั มพั น ธ์ กั บ ลู ก ค้ า โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่ น ใหม่ (ยุ ค ล ลิ้ มแหลมทอง, 2555)

หลักการ Smart farm หลั ก การส าคั ญ ในการพั ฒ นา “สมาร์ ท ฟาร์ม ” คือการสร้างองค์ความรู้ ให้ กั บ เกษตรกร อาทิ การประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สมัยใหม่ ผสมผสานกับภูมิปัญญาชาวบ้าน การท า การเกษตรตามปรัชญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ความรู้ ด้ า น บั ญ ชี ต้ น ทุ น อ า ชี พต ล อด จ น ก า ร เ พิ่ ม


306

ความสามารถและช่องทางการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ที่ทันเหตุ ก ารณ์ แ ละความรู้ ใ ห้ ห ลากหลายมิ ติ ที่ เกี่ ย วข้ อ งผ่ า นฐานข้ อ มู ล ชุ มชน ด้ า นการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไ ด้ ป รั บ ยุ ท ธศาสตร์ ใหม่ เ พื่ อ ยกระดั บ ภา คกา รเกษตร ไท ยว่ า ด้ ว ย รู ป แบบ "สมาร์ ท ฟา ร์ ม " (smart farm) หรื อ เกษตรแม่นยาสู ง ดั ง นั้ น สมาร์ ท ฟาร์ ม หมายถึ ง บุคคลที่มีความภูมิใจในการเป็ น เกษตรกร มี ค วาม รอบรู้ในระบบการผลิตด้านการเกษตรแต่ ล ะสาขา มี ค วามสามารถในการวิ เ คราะห์ เชื่ อ มโยงและ บริหารจัดการการผลิตและการตลาด โดยใช้ ข้ อ มู ล ประกอบการตัดสินใจ คานึง ถึ ง คุ ณภาพและความ ปลอดภัยของผู้บริโภค สังคมและสิ่งแวดล้อม ต่อไปเกษตรกรจะรู้จัก การใช้ ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ปร ะกอบกา ร ตั ด สิ น ใจและเป็ น คน ที่ รู้ จั ก ใช้ เทคโน โลยี เ พื่ อ ลดปั ญ หา เรื่ อ งของแร งงา น นอกจา กนี้ ยั ง เป็ น คนที่ เ น้ น กา รผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี คุณภาพมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และเป็ น มิ ต ร กับสิ่งแวดล้อม สมาร์ทฟาร์มจะเป็ น การพั ฒ นาคน พั ฒ นาตั ว เกษตร กรเอง เพรา ะถ้ า คนมี คุ ณภา พ เข้าใจงานที่ตัวเองทา ทุกสิ่งทุ ก อย่ า งก็ จ ะสามารถ แก้ปัญหาและจัดการได้ "วิธีการคือ การพัฒนาจากสิ่ ง ที่ เ กษตรกร ดาเนินการอยู่แล้ว โดยใช้ อ งค์ ค วามรู้ เทคโนโลยี เข้าไปเสริม ปัจจุบันเจ้าหน้าที่กาลังมี ก ารสรุ ป และ การรวบรวมข้ อ มู ล โดยเจ้ า หน้ า ที่ ข องกระทรวง เกษตรและสหกรณ์จะต้องเข้ า ไปหาเกษตรกรเป็ น รายคน เพื่อแนะนาการแก้ปัญหาต่ า งๆ และเสนอ แนวคิดในสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของตลา ด เพื่อให้แก้ปัญหาในปัจจุบันได้ ขณะนี้เจ้าหน้า ที่ ข อง กระทรวงเกษตรฯ เร่งปรับแผนในการท างาน ต้ อ ง มีความรู้ และเข้าใจเกษตรกรของตั ว เองในแต่ ล ะ พื้นที่ว่าขณะนี้ เ กษตรกรแต่ ค น แต่ ล ะกลุ่ มแต่ ล ะ จังหวัดมีผลผลิ ต อย่ า งไร ปั ญ หาของสิ น ค้ า แต่ ล ะ ชนิดเป็นอย่างไร โดยก่อนที่ผลผลิต จะออกสู่ ต ลาด

เจ้าหน้าที่จะเข้าต้องเข้าไปดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่ อ ให้ กระบวนการผลิ ต มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเจ้ า หน้ า ที่ กระทรวงเกษตรฯ จะต้องทาหน้า ที่ เ ป็ น ผู้ เ ชื่ อ มโยง ด้ า น ก า ร ต ล า ด ใ ห้ แ ก่ เ ก ษ ต ร ก ร อี ก ด้ ว ย นอกเหนือจากภารกิจ หลั ก ของกระทรวงพาณิ ช ย์ นอกจากนี้จะมีการเชื่ อ มโยงกั บ ศู น ย์ วิ จั ย ของกรมต่ า งๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมไปถึ ง การน าข้ อ มู ล จากส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตรมาวางแผนการผลิต ซึ่งกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ จะดึงข้อมูลจากส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตรมาตั้ ง เป็ น ศู น ย์ ที่ ก ระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เพื่อให้เป็นศู น ย์ ก ลางด้ า นข้ อ มู ล ที่ ส าคั ญ (ยุคล ลิ้มแหลมทอง,2555)

ภาพที่ 1 Smart farm

ปัจจัยการทาฟาร์มอัจฉริยะหรือเกษตร แม่นยาสูง ดังนั้นในการเริ่มต้นทาฟาร์มอัจฉริยะจึงมี สิ่งที่ควรพิจารณา 3 ประการ ดังนี้ 1. มีข้อมูลที่บ่งชี้ว่า สภาพล้ อ มรอบในไร่ นา รวมทั้ง ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ มีค วามแตกต่ า งกั น แต่ ล ะ พื้นที่ย่อ ยๆในไร่ น า รวมทั้ ง ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ มี ค วาม แตกต่างกันแต่ละพื้นที่ย่อยๆในไร่นานั้น จริ ง ๆหรื อ


307

มี ค วามแตกต่ า งระหว่ า งไร่ น าของเรา กั บ ไร่ น า ข้างเคียงในภูมิภาคเดียวกัน อย่ า งค่ อ นข้ า งชั ด เจน ยกตัวอย่าง ไร่องุ่น กรานมอนเต้ ได้ มีก ารท าวิ จั ย เพื่อพัฒนาให้เป็นไร่องุ่น อั จ ฉริ ย ะ โดยไร่ อ งุ่ น จะมี กา ร ปลู ก องุ่ น พั น ธุ์ ที่ ต้ อ งกา รความเย็ น และ แสงแดดนั้ น อยู่ ในบริ เ วณใกล้ กั บ เชิ ง เขา ซึ่ ง จะ ได้รับแสงแดดน้ อ ยกว่ า และมี อุ ณหภู มิน้ อ ยกว่ า โดยองุ่นพั น ธุ์ ที่ ต้ อ งการแสงแดดมาก จะปลู ก ใน บริเวณในที่ที่ไม่มีเงาเนินเขา 2. เมื่อเรามีความเชื่อว่าความแตกต่ า งนั้ น มีจริงแล้ว เรายังจะต้องสามารถระบุความแตกต่ า ง นั้ น ตลอดจนค านวณหาข้ อ มู ล เชิ ง ปริ มาณของ ความแตกต่างเหล่านั้นให้ได้ อาจไม่ จ าเป็ น ต้ อ งใช้ เทคโนโลยี ใ หม่ ที่ มี ค วา มไฮ เทคล้ าอนาคต ภู มิ ปั ญ ญา ชาวบ้ า นก็ ส ามา รถน า มาสู่ ข้ อ มู ล นั้ น ได้ เพี ย งแต่ เทคโนโลยี ก า รร ะบุ พิ กั ด ร วมไปถึ ง เทคโนโลยี ป ระมวลผล จะช่ ว ยท าให้ เ ข้ า ถึ ง และ เข้าใจในปริมาณความแตกต่างนั้นได้ง่ายและดีขึ้น 3. เมื่อ ระบุ ใ นความแตกต่ า งในแง่ ต่ า งๆ ของพื้นที่ย่อยในฟาร์ม และไร่นาได้ แ ล้ ว เราต้ อ งมี ความสามารถ ในการจั ด การกั บ ความแตกต่ า ง เหล่านั้น เช่น หากเราทราบว่า วัชพืชมีการกระจั ด กระจายตัวในไร่อย่างไร การพ่น ยาปราบวั ช พื ช ก็ ควรมีการกระจั ด กระจายตั ว ในรู ป แบบเดี ย วกั น แทนที่ จ ะให้ เ ท่ า ๆกั น ทั้ ง พื้ น ที่ หรื อ ควา มอุ ด ม สมบูรณ์มีความแตกต่างกันอย่างไร เก ษ ตร แ ม่ น ย า สู ง ส า มา ร ถน า ไ ป ประยุกต์ใช้กับวิธีการทาเกษตรกรรมได้ทุ ก แบบ ไม่ ว่าการเกษตรแบบนั้น จะมี ก ารเก็ บ เกี่ ย วปี ล ะครั้ ง หรือปีละหลายครั้ง ขนาดของฟาร์ มหรื อ ไร่ น าจะ เล็กหรือจะใหญ่ ลักษณะของการเพาะปลู ก จะเป็ น แบบชนิดเดียวหรือแบบผสมผสาน พัน ธุ์ พืช จะเป็ น แบบธรรมชาติหรือดัดแปลงพั น ธุ์ ก รรม การให้ น้ า

จะเป็นแบบธรรมชาติ ห รื อ ใช้ ร ะบบรดน้ า รวมทั้ ง ปรัชญาของฟาร์มหรือไร่นาที่กาหนดให้เ ป็ น เกษตร อินทรีย์หรือเกษตรเคมี เกษตรแม่นยาสูงจึง ยึ ด หลั ก ทางสายกลางที่ผันเปลี่ยนต้นทุนหรือ(Input)ให้ เ ป็ น ผลผลิตหรือ(Output)ที่มีประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด โดย คานึงถึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน(ธีร เกี ย รติ์ เกิ ด เจริญ, 2555)

การสื่อสารใน Smart farmer การสื่ อ สารใน Smart farmer มี ค วา ม จาเป็นอย่างยิ่งเพราะการสื่ อ สารที่ ดี จ ะท าให้ เ กิ ด กา ร ด า เนิ น งา น ของ สมา ร์ ท ฟา ร์ ม เมอร์ ที่ มี ประสิทธิภาพ การใช้การสื่อสารในการด าเนิ น งาน ของสมาร์ทฟาร์เมอร์มมีหลากหลายรู ป แบบ อาทิ 1. Smart Officer คื อ การจั ด เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ซึ่ ง มี อ งค์ ค วา มรู้ ท า งวิ ช าการ และนโยบา ย สามารถนาเทคโนโลยีใช้ ส นั บ สนุ น เกษตรกร โดย ชี้นาเกษตรกรตามแนวทางการพัฒนาที่เป็นมิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม อาทิ เศร ษฐกิ จ สี เ ขี ย ว ( Green Economy) และระบบการผลิ ต ทางการเกษตรให้ ปลอดวั ส ดุ เ หลื อ ใช้ (Zero Waste Agriculture) ซึ่ ง กา รก้ า วสู่ ก า ร เป็ น “Smart Officer”ของ เจ้าหน้าที่หมายถึ ง การปรั บ กระบวนการท า งาน โดยเริ่มจากการทาความเข้า ใจอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ถึ ง ชนิ ด และปริมาณผลผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรของแต่ ล ะพื้ น ที่ รวมทั้ ง ปั ญ หา ของสิ น ค้ า แต่ ล ะชนิ ด เป็ น ต้ น นอกจากนั้นยังต้องสามารถเชื่ อ มโยงกั บ ศู น ย์ วิ จั ย ของเครือข่ายหน่วยงานในกระทรวงเกษตรฯ และ ข้ อ มู ล จากส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร โดย นามาวางแผนด้านการผลิตให้กับเกษตรกรได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะจากศูนย์ ข้ อ มู ล เกษตรที่ จะมีการจัดตั้งขึ้นซึ่งจะช่วยให้เจ้าหน้าที่ได้รับ ข้ อ มู ล


308

ทุกด้า น รวมไปถึ ง ทิ ศ ทางและนโยบายต่ า งๆ ที่ เกี่ยวข้องอย่างรวดเร็ว เพื่อให้สามารถแก้ ไ ขปั ญ หา ของเกษตร กรได้ ทั น กา ร(ธี ร เกี ย รติ์ เกิ ด เจริ ญ , 2555)

ภาพที่ 3 ศูนย์ข้อมูลช่วยเหลือผลิตผลทางการ เกษตร 3.สื่อสารผ่าน facebook เป็นการสื่ อ สาร ระหว่างผู้ที่สนใจกับเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ ด้ า นฟาร์ ม อัจฉริยะ ทางเจ้ า หน้ า ที่ มีส าระดี ๆหน้ า รู้ ก็ น ามา เผยแพร่ ผ่ า น สู่ facebook เพื่ อ แบ่ ง ปั น ความรู้ ใหม่ๆให้กับผู้ที่สนใจ

ภาพที่ 2 Smart Officer 2. การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ข้ อ มู ล เกษตร ( War Room) เพื่ อ เชื่ อ มโยงข้ อ มู ล จากทุ ก ภาคส่ ว นให้ ครอบคลุ มทั้ ง ในด้ า นของแหล่ ง ผลิ ต ฤดู ก าลที่ ผลผลิ ต ออกสู่ ต ลา ด ปริ มา ณผลผลิ ต สภา พ ภูมิอากาศรวมทั้งราคาสินค้าทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น นอกจากนั้ น ในระดั บ ท้ อ งที่ ยั ง มี เ กษตร และสหกรณ์จังหวัดมี ก ารจั ด ท าแผนพั ฒ นาระดั บ จังหวั ด โดยรวบรวมข้ อ มู ล โซนนิ่ ง สิ น ค้ า เกษตร ทะเบี ย นเกษตร กร ที่ ตั้ ง ฟาร์ ม แหล่ ง รวบรวม ผลผลิต/กระจายสินค้า ตลาดภายในและภายนอก จังหวั ด แหล่ ง แปรรู ป ต้ น ทุ น ราคา การตลาด สภาพดิน และแหล่งน้า เป็นต้ น เพื่ อ วางแผนโซน นิ่งสินค้าเกษตร พร้อ มทั้ ง น าข้ อ มู ล ไปเผยแพร่ ต่ อ เกษตรกร

ภาพที่ 4 Facebook เกษตรอัจฉริยะ 4.สื่อบุคคล โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐมีบทบาท สาคัญมากเพราะคอยเป็ น เพื่ อ นคู่ คิ ด ให้ ค วามรู้ กั บ เกษตรกรที่ต้องการข้อมูลข่าวสารในการท าฟาร์ ม อัจฉริยะ 5.สื่อกิจกรรม มี ก ารจั ด สั มมนาวิ ช าการ เกษตรอัจฉริยะ มุ่งเน้นการแลกเปลี่ ย นเทคโนโลยี ระหว่างองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่ มีค วามรู้ ใ น ด้านเทคโนโลยี พร้อมกับเครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย และ ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเจ้าของฟาร์ ม และเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


309

สรุป เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่ มีก าร ทาเกษตรกรรมอาชี พคนส่ ว นใหญ่ ใ นประเทศนี้ ยังคงตั้งอยู่บนคาว่า ทรัพย์ในดินสินในน้า มาตั้ ง แต่ ไหนแต่ไร ถึงแม้ภาพของอาชีพเกษตรกรจะดู ไ ม่ น่ า รื่นรมย์นัก กับคาว่า หลัง สู้ ฟ้า หน้ า สู้ ดิ น แต่ ที่ จ ริ ง อีกไม่นานเทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทมากขึ้ น ไม่ ว่ า จ ะเป็ น คอมพิ ว เตอร์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ไอที สื่อสาร เซนเซอร์ เทคโนโลยีชีวภาพ รวมทั้ ง นาโน เทคโนโลยี จะเข้ามาช่วยในการเปลี่ ย นแปลงกา ร ทาเกษตรและฟาร์ มเกษตรทั้ ง หลาย ให้ ก ลายมา เป็นแผ่นดินสุดไฮเทค และทาให้ฟาร์มธรรมดาเป็ น ฟาร์มอัจฉริยะหรือเรียกอีกอย่างคือ เกษตรแม่ น ย า สูง การเกษตรแม่นยาสู ง เป็ น การท าเกษตรที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยสามาร ถปรั บ กา รใช้ ทรัพยากรให้สอดคล้องกับสภาพของพื้ น ที่ รวมไป ถึงการดูแลอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและแม่ น ย า แต่ เกษตรกรยังขาดความรู้ใ นเรื่ อ งการน าเทคโนโลยี การ ปรั บ ใช้ ห า รใช้ ท าเกษตรแม่ น ย าสู ง ดั ง นั้ น เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมีบทบาทที่ ส าคั ญ มาก เพราะต้ อ งแนะน าการท าเกษตรที่ เ ป็ น มิ ต รต้ อ ง สิ่งแวดล้อมการที่นักส่ง เสริ มให้ ข้ อ แนะน าหรื อ ให้ ความรู้ ดั ง นั้ น การสื่ อ สารระหว่ า งเกษตรกรกั บ เจ้าหน้าที่จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ต้ อ งมี ค วามส าคั ญ ในระดั บ หนึ่งเพราะเจ้าหน้ า ที่ จ ะต้ อ งท ายั ง ไงให้ เ กษตรกร เข้าใจในกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรที่ มีคุ ณภาพ และประหยัดต้นทุน ถ้าเกษตรกรได้รับคาแนะน าที่ ถู ก ต้ อ งก็ ก่ อ ให้ เ กิ ด การ ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร ที่ มี ประสิทธิภาพอย่างแน่นอน

เอกสารอ้างอิง ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ. 2555. ฟาร์มอัจฉริยะ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ ส.เอเซียเพรส (1989) ฤทัยชนก จริงจิตร. 2556.เจาะลึก “Smart Farmer” แค่แนวคิดใหม่ หรือจะพลิก โฉมการเกษตรไทย.[ออนไลน์].เข้าถึง ได้ จาก : http://www.qsds.go.th [12 พฤศจิกายน 2557] ยุคล ลิ้มแหลมทอง.แนวทางการขับเคลื่ อน นโยบายSmart Farmer และSmart Officer.2555.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : http://www.opsmoac.go.th [12 พฤศจิกายน 2557] กิติมา สุรสนธิ. 2548. ความรู้ทางการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จามจุรีโปรดักท์ ณรงค์ สมพงษ์. 2535. สื่อเพื่องานส่งเสริม


การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมการตลาดของเกษตรอินทรีย์ บทนา ประเทศไทยของเราเป็ น ประเทศที่ ค่ อ นข้ า งมี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ า นการเกษตรมี ผลผลิ ต ทางการเกษตรมากมายทั้ ง บริ โ ภค ภายในประเทศ และส่งออกต่างประเทศ และหาก เราใช้สารเคมี หรือ ปุ๋ยเคมี ในปริม าณมากๆเป็น เวลานาน จะทาให้ท รัพย์กรดินของประเทศเรามี ความเสื่อมโทรม และผลผลิตไม่ ดีเท่ าที่ควร อาจ ส่ง ผลต่อภาพรวมทางด้านการเกษตร ทั้ งรสชาติ ของผลผลิต ปริมาณของผลผลิต และคุณประโยชน์ ของผลผลิต จึงนามาซึ่งการสงเสริมการตลาด การ ใช้ปุ๋ย อินทรี และการปลูก ผัก ปลอดสารพิ ษเพื่ อ รักษาคุณภาพและความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ภาพในประเทศ การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมการตลาดการ ใช้ปุ๋ยอินทรี ย์ และการปลูก ผักปลอดสารพิษเป็น การให้ ค วามรู้ แ ละเผยแพร่ วิ ธี ก ารในการท า การเกษตร โดยมีการอธิบายถึงผลเสียของการใช้ ปุ๋ยเคมี สารเคมี ทั้งยาฆ่าแมลง และยาเร่งผลผลิต เป็นต้ น และอธิบ ายถึง ประโยชน์ ห ากเกษตรกร เปลี่ยนการทาเกษตรกรรมจากปุ๋ยเคมี มาเป็นการ ใช้ปุ๋ยอินทรี และเลือกการใช้วิธีการกาจัดศัตรูพืช โดยวิ ธี ท างธรรมชาติ เช่ น สารสกั ด จากพื ช ใช้ เทคนิคตัวห้าตัวเบียน เป็นต้น ในการทาการเกษตร แบบอิ น ทรี ย์ นี้ นอกจากจะท าให้ ผ ลผลิ ต ที่ ไ ด้ ปลอดภัย ไร้ ส ารเคมี แ ล้ ว ยั ง เป็ น ที่ ต้อ งการของ ตลาดทั้ ง ภายในและต่ า งประเทศ ในราคาที่ ค่อนข้างสูงอีกด้วย ในการรณรงค์การใช้ปุ๋ยอินทรี เพื่อโน้มน้าวในเกษตรกรและให้ความรู้ทางวิชาการ แก่เกษตรกรในครั้งนี้ จะประกอบไปด้วยเรื่องของ การปลูก พืชแบบเกษตรอินทรีย์ และวิธีก ารปลูก พืชแบบเกษตรอินทรีย์ รวมถึงประโยชน์และผลที่ คาดว่าจะได้รับจากการที่เกษตรกรผู้ที่สนใจรองนา ความรู้ท างวิชาการในเรื่อ งของการปลูก พืชแบบ เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ ที่ ไ ด้ ร ณ ร ง ค์ น า ไ ป ใ ช้ ใ น ชีวิตประจาวัน หรือใช้เพื่อหาเลี้ยงชีพ

นาย อนรรฆวี หาญอยู่คุ้ม 310 หลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร ชั้นปีที่ 4 รหัส 54040793

การทาเกษตรโดยใช้สารเคมีสู่การทาเกษตร อินทรีย์ การใช้ทรัพยากรดินโดยไม่คานึงถึงผลเสีย ของ ปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ ก่อให้เกิดความไม่สมดุลใน แร่ ธ าตุ แ ละกายภาพของดิ น ท าให้ สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี ประโยชน์ใ นดิ น นั้น สูญ หาย และไร้ ส มรรถภาพ ความไม่สมดุลนี้เป็นอันตรายยิ่งกระบวนการนี้เมื่อ เกิ ด ขึ้ น แล้ ว จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง ผื น ดิ น ที่ ถู ก ผลาญไปนั้ น ได้ สู ญ เสี ย ความสามารถในการดูดซับแร่ธาตุ ทาให้ผลผลิตมี แร่ธาตุ วิตามิน และพลังชีวิตต่าเป็นผลให้เกิดการ ขาดแคลนธาตุอาหารรองในพืช พืชจะอ่อนแอ ขาด ภูมิ ต้านทานโรคและท าให้ก ารคุก คามของแมลง และเชื้ อ โรคเกิ ด ขึ้ น ได้ ง่ า ยซึ่ ง จะน าไปสู่ ก ารใช้ สารเคมี ฆ่ าแมลงและเชื้ อราเพิ่ม ขึ้ น ดิ น ที่ เ สื่ อ ม คุณภาพนั้น จะเร่ง การเจริญเติบ โตของวัชพืชให้ แข่ ง กั บ พื ช เกษตร และน าไปสู่ ก ารใช้ ส ารเคมี สังเคราะห์กาจัดวัชพืช ข้อบกพร่องเช่นนี้ก่อให้เกิด วิกฤติในห่วงโซ่อาหาร และระบบการเกษตรของ เราซึ่งทาให้เกิดปัญหาทางสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม อย่างยิ่ง ในโลกปัจจุบันประเทศไทยนาเข้าสารเคมี สังเคราะห์ท างการเกษตรเป็นเงินปีละ 4-5 หมื่ น ล้านบาท เกษตรกรต้องซื้อปัจ จัยการผลิตที่ เ ป็น สารเคมีสังเคราะห์ในการเพาะปลูกทาให้การลงทุน สูง และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องขณะที่ราคาผลผลิตใน รอบยี่สิ บ ปี ไม่ ได้สูง ขึ้นตามสัดส่ว นของต้นทุ น ที่ สูงขึ้นนั้นมี ผลทาให้เกษตรกรขาดทุน มีหนี้สินล้น พ้ น ตั ว เกษตรอิ น ทรี ย์ จ ะเป็ น หนทางของการ แก้ปัญหาเหล่านั้นได้ (สถาพร ซ้อนสุข. 2552)


311

เกษตรอินทรีย์ดีอย่างไร ผลผลิตที่ได้จากการทาเกษตรอินทรีย์จะมี รสชาติที่ดี สีสวย น้าหนักดี เก็บไว้ได้นาน มีคุณค่า ทางโภชนาการ เพิ่มผลผลิตสูงขึ้น ต้นทุนการผลิต ต่ า เพื่ อ เศรษฐกิ จ ที่ ดี ก ว่ า ให้ คุ ณ ภาพชี วิ ต และ สุข ภาพจิ ต ที่ ดี ก ว่ า ให้ พื้ น ดิ นอุ ด มสมบู ร ณ์ และ สุดท้ ายคือ ให้สิ่งแวดล้อ มที่ดีกว่า ผลิตผลเกษตร อินทรีย์จะมีรูปร่างสมส่วนตามธรรมชาติ สีสวยเป็น ปกติ มีก ลิ่นหอมตามธรรมชาติ มี โ ครงสร้างของ เนื้อ นุ่ม กรอบ แน่น มีรสชาติที่ดี ไม่มีสารตกค้าง เก็บรักษาได้นาน และให้สารอาหารและ พลังงาน ชี วิ ต ที่ ดี ที่ สุ ด นอกจากประโยชน์ ท างตรงจาก ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ แ ล้ ว เกษตรอิ น ทรีย์ ยั ง มี ป ระโยชน์ ทางอ้อมอีก มากมาย เช่น อนุรัก ษ์และปรับ ปรุ ง สิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมให้อุดมสมบูรณ์ ลดต้นทุน การผลิต ทาให้เกษตรกรมีกาไรมากขึ้น ผลผลิตที่ ได้ มี ร าคาสู ง กว่ า ผลผลิ ต จากปุ๋ ย เคมี ผลผลิ ต ปลอดภัยต่อผู้บริโ ภค เป็นต้น (สถาพร ซ้อนสุข . 2552) วิธีการหรือหลักการในการทาเกษตรอินทรีย์ ก า ร ท า เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ เ ป็ น ร ะ บ บ การเกษตรที่ยึดหลักการ 4 ไม่ คือ ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ไม่ ใช้ ส ารป้ องกั น และก าจั ด ศั ต รูพื ช ไม่ ใช้ ส ารเคมี ก าจั ด วั ช พื ช และไม่ ใ ช้ ฮ อร์ โ มนกระตุ้ น การ เจริญ เติบ โตของพืช โดยไม่มี การเผาตอซัง ใช้ปุ๋ย คอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ มีการใช้วิธี ระบบการปลูกพืชผสมผสานหลายชนิดเกื้อกูลกัน ซึ่ ง สามารถสรุ ป ได้ ว่ า ไม่ มี ก ารใช้ ส ารเคมี ใ น กระบวนการผลิต มีก ารปลูกพืชหมุ นเวียน ใช้ปุ๋ย อินทรีย์ประเภทต่างๆ ในการบารุงรักษาความอุดม สมบูรณ์ของดิน และควบคุมแมลงด้วยวิธีธรรมชาติ และที่สาคัญต้องห้ามใช้พันธุ์พืชหรือสัตว์ที่เกิดจาก การตัดต่อพันธุกรรม เพราะไม่ แน่ใจว่า พันธุ์พืช หรือสัตว์ที่ดัดแปลงพันธุกรรมจะปลอดภัยหรือไม่ ตัวอย่างเช่น กว่าจะรู้ว่าบุหรี่มีอั นตรายต่อมนุษย์ และเป็ นสาเหตุให้ ก่ อ โรคมะเร็ ง ต้ อ งใช้เ วลาใน การศึกษาถึงร้อยปี จึงทราบว่าบุหรี่เป็นสาเกตุของ

การเกิดโรคมะเร็ง ทาไมจึงห้ามใช้ปุ๋ยเคมี หลายคน เชื่อว่าปุ๋ยเคมีไม่น่าจะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค แต่ ปุ๋ย เคมี โ ดยเฉพาะปุ๋ ยไนเตรทตกค้ างในผั ก หรื อ ปนเปื้อนในแหล่งน้าใต้ดิน ถ้าเราบริโภคไนเตรท เข้าไปสารดังกล่าวจะแปรรูปเป็นไนเตรท โดยไนเต รทเป็นสารก่ อมะเร็ง ในกระเพาะอาหาร ดับ ไต และกระเพาะปัสสาวะ ดังนั้น ในประเทศที่พัฒนา แล้วจึงได้มีการกาหนดปริมาณสารไนเตรทตกค้าง ในผัก และน้ าดื่ ม ไว้ ด้ว ย นอกเหนื อ จากการเกิ ด โรคมะเร็ง กั บ มนุษย์เ ป็นจ านวนมาก ในประเทศ ออสเตรเลียมี ก ารศึก ษามานานกว่า 12ปี พบว่า อาหารอินทรีย์มี วิตามินซี ธาตุเหล็ก และธาตุอื่นๆ มากกว่ า อาหารที่ ผ ลิ ต จากปุ๋ ย เคมี โ ดยทั่ ว ไป นอกจากนั้นยัง พบว่าผัก อินทรีย์มี ร สชาติที่ห วาน กรอบกว่าผักเคมีอีกด้วย (วรพร สังเนตร. 2552) ปัญหาและอุปสรรคของการเกษตรอินทรีย์ไทย ด้านการผลิตและการส่งเสริมการตลาด การเกษตรทางเลือกมีหลากหลายรูปแบบ หนึ่งในนั้นคือเกษตรอินทรีย์ ซึ่งมีจุดเริ่มต้นมาจาก ประเทศในทวีปยุโ รปที่ ประสบปัญ หาจากการท า การเกษตรเคมี ม าก่ อนจึง ก่ อให้เ กิ ดกระแสความ สนใจในการเกษตรทางเลื อ กที่ ส ามารถลด ผลกระทบจากกระบวนการผลิ ต ได้ ส าหรั บ การเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยมีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2535 และมี ก ารพัฒ นาอย่างต่อเนื่อ ง จนถึ ง ปั จ จุ บั น แต่ ก็ ยั ง ไม่ ป ระสบผลส าเร็ จ เท่าที่ควร เนื่องจากเกิดปัญหาทั้งในด้านการผลิต และการส่งเสริมการตลาด สาเหตุ ที่ ท าให้ ต ลาดเกษตรอิ น ทรี ย์ ไ ม่ ประสบความส าเร็ จ สามารถอธิ บ ายได้ ด้ ว ย แนวคิด “ความล้มเหลวของตลาด” 1. การมี อานาจเหนือตลาด (market power) ของเกษตรกร เนื่องจากยังมีอุปทาน หรือจ านวนเกษตรกรและพื้นที่เ กษตรอินทรีย์ไม่ มาก


312

2. ผลกระทบภายนอก (Externalities) การที่ ระบบการผลิตแบบเกษตรเคมี มีผลกระทบ ภายนอก การผลิตด้วยเกษตรอินทรีย์ที่คานึงถึง ผลกระทบภายนอกโดยเอาต้น ทุ นทางสัง คมมา รวมเข้ากั บต้นทุนการผลิต ทาให้ต้องมีก ารจ้าง แรงงานมาดูแลมากขึ้นทดแทนกับการไม่ใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีก าจัดศัตรูพื ช จึง ทาให้ราคาสินค้า เกษตรอินทรีย์สูงกว่าสินค้าอื่น ๆ มากถึง 30-60 % 3. ควา ม ไม่ ส ม บู รณ์ ขอ ง ข้ อ มู ล (Imperfect information) ผู้ บ ริ โ ภคมี ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ เกษตรอิ น ทรี ย์ แ ละ ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์น้อยมาก จึงไม่ตระหนัก ถึงความส าคัญ และไม่นิยมบริโภคสินค้าเกษตร อินทรีย์เท่าใดนัก สาหรับแนวทางในการแก้ปัญหา เพื่อการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์นั้น จาเป็นที่จะต้อง อาศั ย ความร่ ว มมื อ ทั้ ง จากภาครั ฐ และเอกชน (เกษตรกรและผู้ บ ริ โ ภค) เพื่ อ สร้ า งเสริ ม ความรู้ ความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของเกษตร อินทรีย์ และคุณประโยชน์ของการเกษตรอินทรีย์ ในแง่ที่ช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและไม่เป็น อันตรายต่อผู้บริโภค เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนา คุณภาพทรัพยากรและสิ่ง แวดล้อมรวมทั้งพัฒ นา คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนในประเทศอี ก ด้ ว ย (วรพร สังเนตร. 2552) ช่องทางการจาหน่ายผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ในประเทศไทย ตลาดเกษตรอินทรีย์น่าจะ เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2533-2534 โดยกระแส ความตื่ น ตั ว ด้ า นสุ ข ภาพและสิ่ ง แวดล้ อ มของ ผู้ บ ริ โ ภค โดยเฉพาะการบริ โ ภค "อาหารเพื่ อ สุขภาพ" ที่ผู้บริโภคตื่นตัวเกี่ยวกับความเชื่อมโยง ของการรัก ษาสุขภาพและการบริ โ ภค อาหารที่ ปลอดภัยและมีประโยชน์ จนทาให้ "ธุรกิจอาหาร สุ ข ภาพ" เกิ ด ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ซึ่ ง ท าให้ ต ลาด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กษตรอิ น ทรี ย์ ไ ด้ เ ริ่ ม เปิ ด ตั ว ขึ้ น โดย ร้านค้าแรกๆ ที่ เ ปิดดาเนินการ คื อ ร้านกรีนการ์ เดน ในช่วงหลังจากนั้น คือระหว่างปี พ.ศ. 253540 ถือได้ว่าเป็นยุคทองของ ร้านสุขภาพ ประมาณ

ว่า มีร้านค้าขนาดเล็กที่จาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหาร สุขภาพทั่วประเทศไม่น้อยกว่า 100 ร้าน (วรพร สังเนตร. 2552) รูปแบบและช่องทางตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย รูปแบบของการตลาดเกษตรอินทรีย์ใน ประเทศไทยสามารถจาแนกได้เป็น 4 รูปแบบดังนี้ 1. การตลาดระบบสมาชิก เป็นรูปแบบการตลาด ที่เก่าแก่ทสี่ ุดของขบวนการเกษตรอินทรีย์ ที่ เชื่อมต่อโดยตรงระหว่างเกษตรกรผู้ผลิตและ ผู้บริโภค เช่น ระบบ TEIKEI ในประเทศญี่ปุ่น หรือ ระบบ Community Support Agriculture (CSA) และระบบ BOX ในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ระบบตลาดนี้มหี ลักการพื้นฐานว่า ผู้บริโภคตกลง กับเกษตรกรผูผ้ ลิต ในการซื้อผลผลิตเกษตร อินทรีย์ทผี่ ลิตได้ตามฤดูกาล โดยผูบ้ ริโภคจะชาระ เงินล่วงหน้าให้กับเกษตรกร หลังจากเก็บเกี่ยว ผลผลิตจะถูกจัดส่งไป ณ จุดกระจายย่อยตามที่ตก ลง แล้วสมาชิกผูบ้ ริโภคที่อยู่ในละแวกใกล้เคียงจะ เป็นผู้มารับผลผลิตด้วยตนเอง การตลาดระบบนี้ เกษตรกรจะมีหลักประกันทาง เศรษฐกิจ และมี โอกาสในการสือ่ สารโดยตรงกับผูบ้ ริโภค ส่วน ผู้บริโภคเองก็สามารถไป เยี่ยมเยือนฟาร์ม เกษตรกร เพื่อดูการผลิต หรือช่วยเกษตรกรทางาน ในฟาร์มก็ได้ การตลาดในระบบนี้มผี ลดี ในแง่ของ ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างเกษตรกรผูผ้ ลิตและ ผู้บริโภค แต่ข้อจากัดก็คือ เกษตรกรต้องมีฟาร์มที่ อยู่ไม่ห่างจากเมืองใหญ่มากนัก และจาเป็นต้องมี รถยนต์สาหรับใช้ในการขนส่งเอง นอกจากนี้ การตลาดระบบสมาชิกใช้ได้กับฟาร์มที่ปลูกผัก เกษตรอินทรียเ์ ป็นหลัก (แต่กอ็ าจมีผลผลิตอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ข้าว ไม้ผล ไข่ไก่) ในขณะที่เกษตรกร อินทรีย์ทผี่ ลิตข้าว ธัญพืช หรืออาหารแปรรูป จะ ไม่สามารถใช้การตลาดในระบบนี้ได้ ในประเทศ ไทย มีกลุ่มผู้ผลิตไม่กกี่ ลุม่ ที่จัดการตลาดในระบบนี้


313

เช่น ชมรมผูผ้ ลิตเกษตรอินทรีย์ สุพรรณบุรี กลุม่ เยาวชนเกษตรอินทรีย์แม่ทา เชียงใหม่ 2. ตลาดนัด ส่วนใหญ่จะอยู่ใน ท้องถิ่นหรือหัว เมืองใหญ่ในต่างจังหวัด โดยส่วนมากมักจัดใน สถานที่ที่มผี ู้บริโภคอยู่หนาแน่น เช่น โรงพยาบาล ในเขตสถานที่ราชการ หรืออาจเป็นที่ว่าง ที่ ผู้บริโภคสะดวกในการมาหาซื้อผลผลิต ตลาดนัดนี้ มักจะเปิดเฉพาะวันที่แน่นอน แต่ไม่เปิดทุกวัน เช่น ทุกวันศุกร์ หรือวันเสาร์ โดยมากจะเปิดขายเพียง ครึ่งวัน หรืออาจนานทัง้ วันเลยก็ได้ โดยผู้ผลิตต้อง มีมาจากหลากหลายกลุ่ม เพื่อจะได้มผี ลผลิตที่ หลากหลายมาจาหน่าย ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ใน ประเทศไทยที่น่าสนใจ คือ ที่ กาดนัดเกษตร อินทรีย์ ที่ตลาดเจเจ เชียงใหม่, ตลาดเขียว สุรินทร์ , ตลาดเขียว ยโสธร เป็นต้น 3. การตลาดช่องทางเฉพาะ เป็นการตลาดที่ ดาเนินการโดยผู้ประกอบการที่มีนโยบายในด้าน เกษตรอินทรีย์ อาหารสุขภาพและผลิตภัณฑ์เพือ่ สิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน สามารถดาเนินการได้หลาย รูปแบบ เช่น ร้านขายผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม หรือซูเปอร์มาร์เก็ตเกษตรอินทรีย์ การตลาดในลักษณะนี้สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ มากกว่าการตลาดระบบสมาชิก และมีผลผลิตที่ หลากหลายจากเกษตรกรทีม่ ีความเชี่ยวชาญในการ ผลิตเฉพาะทาง รวมทั้งอาจมีการแปรรู ผลิตภัณฑ์ แบบง่ายๆ มากกว่าด้วย ตัวอย่างของการตลาด เฉพาะทางในประเทศไทย คือ ร้านนาวิลิต, ร้านเล มอนฟาร์ม, ร้านไทสบาย เป็นต้น 4. การตลาดทั่วไป ในหลายประเทศที่ตลาด เกษตรอินทรีย์ได้พฒ ั นาไประดับหนึง่ จะพบว่า ช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์จะ ขยายไปสู่ระบบตลาดทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน โมเดิร์นเทรด ที่เป็นซูเปอร์มาร์เก็ตและ ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ ที่เป็นเช่นนี้เพราะ เมื่อ ความต้องการผลิตภัณฑ์เริ่มขยายตัวชัดเจน ผู้

ประการค้าปลีกในตลาดทั่วไปย่อมเห็นโอกาส ในทางการค้า และปรับตัวเพื่อดึงส่วนแบ่ง การตลาด และสร้างภาพพจน์ให้กบั หน่วยงานของ ตน การเข้ามาของตลาดประเภทนีจ้ ะทาให้เกิดการ แข่งขันกันในตลาดมากขึ้น โดยเฉพาะการริเริ่มหา ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทั้งจากภายในประเทศหรือ ต่างประเทศ รวมไปถึงการแข่งขันทางราคาด้วย (เสรี วงษ์มณฑา. 2540:25) แผนส่งเสริมตลาดสินค้าอินทรีย์ กระทรวงพาณิชย์ ได้เริ่มดาเนินการสร้าง ความร่ ว มมื อ กั บ ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ อิ น ทรี ย์ โดย ร่วมกับสามพราน ริเวอร์ไซด์ จัดกิจกรรมเยี่ยมชม แหล่ง ผลิตสินค้าและบริก ารเกษตรอินทรีย์ เพื่อ ส่ง เสริม แนวทางการสร้ า งเครื อข่ า ยกลุ่ม สิ น ค้ า อิ น ทรี ย์ แ ละเชื่ อ มโยงตลาดในระดั บ ภู มิ ภ าค ตลอดจนขยายช่องทางการจัดจาหน่ายรูปแบบใหม่ ให้แก่เกษตรกรและผูป้ ระกอบการ ควบคู่ไปกับการ สร้างการรับ รู้เ กี่ยวกั บ ประโยชน์ ของการบริโ ภค สินค้าอินทรีย์ ทั้ง ในด้านสุขภาพและการอนุรัก ษ์ สิ่งแวดล้อม เพื่อกระตุ้นการบริโ ภคให้ขยายไปยัง กลุ่มเป้าหมายที่กว้างขวางมากขึ้น โดยสนั บ สนุ น แนวทางในการสร้ า ง เครือข่ายธุร กิ จอินทรีย์เ ข้ม แข็ง โดยส่งเสริม ให้มี การพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านอินทรีย์แก่ ผู้ ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งได้ เ ข้ า มาเรี ย นรู้ แ ละเข้ า ใจ เรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับสินค้าอินทรีย์มากขึ้น ทั้งใน แง่ของการผลิต การแปรรูป การจ าหน่ าย และ บริการต่างๆ อย่างครบวงจร และยังจะได้สัมผัสกับ บรรยากาศตลาดสุ ขใจซึ่ง เป็นตลาดนัดสีเ ขียว มี การจาหน่ายสินค้าอินทรีย์และสินค้าจากธรรมชาติ นานาชนิด จึงเป็นทางเลือกที่สะดวกสบายสาหรับ ผู้ที่ รัก สุขภาพและห่วงใยสิ่ง แวดล้อม (เสรี วงษ์ มณฑา. 2540:25)


314

การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร จะใช้ ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารทุ ก รู ป แบบที่ เหมาะสมกั บ ผู้ บ ริ โ ภคกลุ่ ม นั้ น หรื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ผู้บริโภคเปิดรับ (Exposure) ทุกรูปแบบ รูปแบบ ต่าง ๆ ของ IMC ซึ่งตัวอย่าง รูปแบบเหล่านี้อาจจะ ไม่ครบถ้วนตามรูปแบบของ IMC แต่เป็นรูปแบบที่ นิย มใช้ กั น มาก เพราะว่า ความคิ ด ทางวิ ช าการ ใหม่ๆ จะเกิดขึ้นเสมอโดยมีรายละเอียดดังนี้ (เสรี วงษ์มณฑา. 2540:25) 1. การโฆษณา 2. การขายโดยใช้พนักงาน 3. การส่งเสริมการขาย 4. การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ 5. การตลาดทางตรง กลุ่มข้าวอินทรีย์สุพรรณบุรี เกิ ด จากการรวมตั ว ของเกษตรกรที่ ท า การเกษตรโดยใช้สารพิษสารเคมี จนทาให้เกิดการ เจ็ บ ป่ ว ย เ กิ ด ห นี้ สิ นมา กม าย ท า ให้ มี กา ร ปรั บ เป ลี่ ยน พ ฤติ ก ร รม ก าร ท า กา ร เก ษต ร โดยเฉพาะนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง ได้เรียนรู้การ ทาการเกษตรอินทรีย์ จากแหล่ง การเรียนรู้ต่างๆ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ มี ก ารทดลองเรี ยนรู้ใ นการท าการเกษตรโดยใช้ แปลงนา 41ไร่ ของตนเองเป็นแปลงทดลอง เมื่ อ ประสบความส าเร็ จ จึง ถ่ายทอดความรู้ให้ เ พื่อ น เกษตรกร และเป็นศูนย์การเรียนเศรษฐกิจพอเพียง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี กลุ่ม ข้าวอิ นทรีย์สุพ รรณบุรี ได้มี ก ารนา หลั ก การสื่ อ สารทางการตลาดมาปรั บ ใช้ โดย ยกตั ว อย่ า งเช่ น การโฆษณา ได้ มี ก ารโฆษณา แนะนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้ Facebook และเป็นอีก หนึ่งช่องทางในการขายอีกด้วย และมีการส่งเสริม การขายโดยมีการให้ความรู้ทางด้านเกษตรอินทรีย์ และ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ เพื่ อ เป็นการดึง ดูด ลูกค้าให้สนใจในตัวสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ มายิ่งขึ้น และมี ก ารขายโดยใช้ ก ารตลาดทางตรง โดยั้ ง สามารถซื่อสินค้าทั้ง ตามท้องตลาดภายในจังหวัด

และยังสามารถสั่งซื้อผลิตภัณฑ์ ทาง Facebook โดยมีบริการจัดส่งทางไปรษณีย์ไทย ทั่วประเทศ

สรุป การส่งเสริมการตลาดเป็นการส่งเสริมที่มี ความส าคั ญ ต่ อ ระบบการท าเกษตรอิ น ทรี ย์ ใ น ประเทศไทย เพราะการตลาดและการทาเกษตร อินทรีย์ในประเทศไทยยัง มีน้อยมากและยังไม่ได้ เป็ นที่ ยอมรั บ และให้ ความสนใจเท่ าที่ ควร การ ส่ง เสริม การตลาดจึง สามารถช่วยให้เกษตรกรมี ความสนใจในเกษตรอินทรีย์มากยิ่งขึ้น และยังช่วย เพิ่มช่องทางทางการผลิต การตลาดให้กับ ระบบ เกษตรอินทรีย์อีกด้วย อ้างอิง วรพร สังมเนตร, สภาพการตลาดของ พืชผักกินใบในภาคกลาง. คณะสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล , 2552. สถาพร ซ้อนสุข. การศึกษาศักยภาพการ ผลิตผักอินทรีย์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552. เสรี วงษ์มณฑา. 2540:25. การสื่อสาร การตลาดแบบครบวงจร. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า http://www.impressionconsult.com/web/in dex.php/articles/341-imc-integratedmarketing-communication.html. 23 พฤศจิกายน 2557


315

กำรสือ่ สำรกำรเกษตรสูเ่ ยำวชนโดยสือ่ กิจกรรม : บ้ำนหอมชื่นของครูธำนี บทนำ บทควำมนี้ได้นำเสนอเกี่ ยวกับ กำรสื่อสำรทำง กำรเกษตรสู่เยำวชนรุ่นใหม่ โดยสอดแทรกทักษะ ทำงด้ำนกำรเกษตรผ่ำนสื่อกิจกรรม เช่น กำรสอน วิธีกำรดำนำ กำรฝัดข้ำวว่ำกว่ำจะได้ข้ำวมำแต่ละ เมล็ดชำวนำมีควำมลำบำกมำกแค่ไหน กำรสอนให้ เด็กได้รู้ถึง คุณค่ำของเมล็ด ข้ำว กำรสอนเด็กเก็ บ ผักบุ้งในแปลง กำรเก็บไข่ไก่ในเล้ำไก่เพื่อ จะนำมำ ประกอบอำหำรในตอนกลำงวั น และอื่ น ๆ ซึ่ ง กิจ กรรมเหล่ำ นี้ได้ยึดแนวเศรษฐกิ จพอเพียงเป็น หลักเพื่อคงไว้ซึ่งกำรสอนให้เด็กและเยำวชนรุน่ ใหม่ เห็นคุณค่ำของวิถีชีวิตและควำมเป็นอยู่ของชำวนำ และได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตแบบไทย อีกทั้ง เยำวชนยัง ได้สัม ผัส กั บ ธรรมชำติและสิ่ง แวดล้อ มที่ ห ำไม่ ได้ จำกในห้องเรียนที่จะช่วยเสริมทักษะและทัศนคติที่ ดีให้แก่เด็กและเยำวชนในด้ำนต่ำงๆอีกด้วย

กำรใช้สื่อกิจกรรมเพื่อส่งเสริมกำรเกษตร : บ้ำนหอมชื่นของครูธำนี อำชี พหลัก ของคนไทยส่ว นใหญ่ จ ะประกอบ อำชีพทำงด้ำนเกษตรกรรม ทำไร่ ท ำสวน ท ำนำ โดยกำรท ำนำเป็นอำชีพรำกเง้ำของคนไทยและ บรรพบุรุษได้ถ่ำยทอดวิถีชีวิตกำรทำนำให้มำยังคน รุ่ น หลั ง แต่ ใ นขณะที่ สั ง คมไทยในยุ ค ปั จ จุ บั น มี เทคโนโลยีที่ มีควำมทันสมัยอำชีพกำรทำนำจึง ไม่ เป็นที่น่ำสนใจของคนในยุคปัจจุบัน คนรุ่นใหม่จึง ไม่ ค่ อ ยเห็ น คุ ณ ค่ ำ ของกำรท ำนำรวมถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ควำมเป็นอยู่ของชำวนำที่ ยึดถือ วิถีชีวิตเศรษฐกิ จ พอเพียงเป็นหลักเพรำะฉะนั้นเรำควรปลูกฝังอำชีพ กำรทำนำให้กับเยำวชนรุ่นใหม่โดยจะใช้กำรสือ่ สำร ผ่ำนสื่อกิจกรรมหรือกระบวนกำรที่กำหนดขึ้นเพื่อ

เสริม สร้ำงประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ให้เ ด็ก ได้ ฝึก ทัก ษะกระบวนกำรคิด และทัศนคติ เพื่อที่ ป ลูก ฝัง ให้ กั บ เด็ ก และเยำวชนที่ อยำกจะเรีย นรู้ วิ ถีชี วิ ต อำชีพชำวนำ บ้ำนหอมชื่นของครูธำนีเป็นสถำนที่ให้เด็กและ เยำวชนได้มำเปิดโลกกว้ำงในกำรได้เรียนรู้วิถีชีวิต ควำมเป็ น อยู่ แ บบไทย ซึ่ ง เป็ น ผลดี ที่ เ ด็ ก และ เยำวชนได้มำสัมผัสกับธรรมชำติที่แท้จริงและยังได้ เรี ยนรู้กั บ กำรอยู่ร่ วมกั นในสั ง คมรวมไปถึ ง กำร ดำรงชีวิตที่อยู่อย่ำงพอเพียง ให้เด็กและเยำวชนได้ รู้เห็นคุณค่ำของทรัพยำกรธรรมชำติ รู้จักกำรอยู่ ร่วมกับผู้อื่น รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบ่งปันซึ่งกันและ กัน มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นถึงคุณค่ำ ของวัฒ นธรรมของควำมเป็นไทย ครูธำนีจะคอย ปลูก ฝัง ให้เ ด็ก ๆได้ รู้จั ก วิถี ชีวิ ตควำมเป็น อยู่ ของ ชำวนำและรู้ถึงคุณค่ำของเมล็ดข้ำวว่ำกว่ำจะได้มำ แต่ละเมล็ดต้องผ่ำนกระบวนกำรอะไรมำบ้ำงโดยที่ ครูธำนีจ ะสื่อสำรผ่ำนสื่อกิ จกรรมโดยที่จ ะให้เด็ก และเยำวชนได้ลงมือปฏิบัติจริง กำรที่ให้เด็กได้ลง มือปฏิบัติจริง จะท ำให้เด็ก มีกำรพัฒ นำส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยทั้ ง ในด้ำน พัฒ นำสมอง พัฒ นำด้ำน จิตใจ สุขภำพทำงอำรมณ์ที่ดี มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ ควำมเข้ ำ ใจทำงด้ ำ นสิ่ ง แวดล้ อ ม กำรที่ ไ ด้ มี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่นและได้เรียนรู้ถึงวัฒนธรรม ของบุคคลและสังคม กำรใช้สื่อกิจกรรมที่บ้ำนหอมชื่น ครูธำนีเป็นสื่อ บุคคลหรือคนที่ถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์กำร ท ำนำและกิ จ กรรมต่ ำงๆให้เ ด็ก ๆได้รั บ รู้ และได้ เข้ำใจถึงวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่แบบชำวบ้ำน กำรอยู่


316

อย่ำงพอเพียง โดยที่ครูธำนีจะแบ่งเป็นฐำนกำรทำ กิจกรรมเพื่อที่จะสื่อสำรให้เด็กๆได้รับรู้และมีควำม เข้ำใจถึงวัตถุประสงค์ของกำรทำกิจกรรมในแต่ละ ฐำนนั้นว่ำ กำรได้เข้ำทำกิจกรรมในแต่ละฐำนเด็กๆ นั้นได้ควำมรู้หรือได้ข้อคิดอะไรบ้ำง สื่อกิจกรรมที่ บ้ำนหอมชื่นของครูธำนี จะมี กิ จกรรมดำนำเป็น หลัก เพรำะจุดประสงค์ของครูธำนี คือ อยำกให้ เด็ก ๆและเยำวชนรุ่นใหม่ ได้รับ รู้ถึง วิถีชีวิต ควำม เป็นอยู่ของชำวนำและรู้จักคุณค่ำของเมล็ดข้ำว สื่อ กิจกรรมที่บ้ำนหอมชื่นจะประกอบไปด้วย กิจกรรม ดำนำปลู ก ข้ำ ว กิ จ กรรมกำรฝั ด ข้ำ ว กิ จ กรรมขี่ ควำย กิ จ กรรมเก็ บ ไข่ ไ ก่ กิ จ กรรมท ำอำหำร กิจกรรมดูแลพืชผักสวนครัว กิจ กรรมพำยเรือชม ชวน กิจกรรมปั้นดินเหนียว กิจกรรมนั่งรถกระแทะ ชมวิ ว สื่ อ กิ จ กรรมเป็ น กำรให้ เ ด็ ก ได้ ล องลงมื อ ปฏิบัติจริงจึงทำให้เด็กได้ทำควำมเข้ำใจได้ง่ำยและ เรียนรู้ ได้อย่ ำงรวดเร็ว และสื่ อ กิ จ กรรมจะท ำให้ เด็ ก ๆได้ รั บ รู้ ถึ ง คุ ณ ค่ ำ ของกำรท ำกิ จ กรรมและ มิตรภำพที่แท้จริง สื่อกิจกรรม คือ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำร สอนเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ป ระสบกำรณ์ ห รื อ เรี ย นรู้ เนื้อหำบทเรียนด้วย กำรดู กำรฟัง กำรสังเกต กำร ทดลอง กำรสัมผัส จับต้องด้วยตนเอง รวมถึงกำร ร่ ว มแสดงควำมคิ ด เห็ น ท ำให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ ประสบกำรณ์แปลกใหม่ด้วยควำมเพลิดเพลินบำง กิจกรรมอำจใช้สื่อวัสดุห รืออุปกรณ์เข้ำมำช่วยใน กำรถ่ำยทอดควำมรู้เพื่อ ให้ผู้เรียนรับ รู้และเรียนรู้ เนื้ อ หำสำระในกิ จ กรรมได้ ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น สื่ อ กิจกรรมบ้ำนหอมชื่นของครูธำนี ประกอบไปด้วย กิจ กรรมกำรด ำนำปลูก ข้ำ ว โดยให้ เ ด็ก และ เยำวชนได้ม ำลองดำนำปลูก ข้ำวด้วยตัวเอง ซึ่ง ก็ เป็นกิจกรรมที่ทำให้เด็กได้รับประสบกำรณ์ทแี่ ปลก ใหม่ ได้ลองทำสิ่งที่ไม่เคยทำ ได้ลองทำอะไรที่ท้ ำ ทำยและเป็นกิ จกรรมที่ ห ำไม่ ได้จำกในห้อ งเรียน

ทำให้เด็กและเยำวชนมีพัฒนำกำรที่ดีและยัง ทำให้ เด็กเกิดควำมภำคภูมิใจในตัวเองว่ำตนก็สำมำรถทำ ได้ จึงทำให้เด็กได้รู้ถึง คุณค่ำของเมล็ดข้ำวที่ปลูก ว่ ำ กว่ ำ จะได้ ข้ ำ วมำแต่ ล ะเมล็ ด ชำวนำมี ค วำม ลำบำกมำกแค่ไหนและจะต้องผ่ำนหลำยกำรบวน กำรกว่ำที่จะได้เมล็ดข้ำว ครูธำนีสอนให้เด็กได้รู้ถึง คุณค่ำของเมล็ดข้ำว

ภำพที่ 1 กำรดำนำปลูกข้ำว กิจ กรรมกำรฝั ด ข้ำ ว เป็น ภู มิ ปั ญ ญำของคน สมัยก่อนเพื่อจะแยกเมล็ดข้ำวและเปลือกข้ำวออก จำกกั น ทำงบ้ำนหอมชื่นก็ ให้เ ด็กและเยำวชนได้ ลองลงมือปฏิบัติกิจกรรมให้เด็กได้ลองเรียนรู้กำร แยกเมล็ดข้ำวเพื่อที่เด็กจะได้มีควำมเข้ำใจกำรฝัด ข้ำวมำกยิ่งขึ้น

ภำพที่ 2 กำรฝัดข้ำวเพื่อคัดแยกเปลือกข้ำว กิจกรรมกำรขี่ควำย เป็นกิจกรรมที่สอนให้เด็ก และเยำวชนได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตธรรมชำติของสัตว์ สอนกำรสื่อสำรง่ำยๆที่ เ กี่ ยวกั บ ควำย เช่น ยอๆ


317

แปลว่ำนั่งลง ครูธำนี สอนให้เ ด็กมี ควำมกล้ำที่ จ ะ แสดงออก และลองท ำสิ่ง ที่ แปลกๆใหม่ ๆ กำรขี่ ควำยในครั้ง แรกของชีวิต ทำให้เด็ก ๆมีควำมสนุก ตื่นเต้นอยำกที่จะเรียนรู้และลองทำกิจกรรมใหม่ๆ

ภำพที่ 5 นั่งรถกระแทะชมวิว ข้อดีของสื่อกิจกรรมกำรเกษตร

ภำพที่ 3 กำรขี่ควำย ให้เด็กได้รู้ถึงธรรมชำติของ สัตว์ กิจกรรมดูแลพืชผักสวนครัว เป็นกิจกรรมที่ครู ธำนีให้เด็กๆได้ดูแลรดน้ำแปลงผัก และครูธำนีได้ สอนวิ ธีก ำรเก็ บ ผั ก ที่ ถูก ต้อ งเพื่ อ ที่ จ ะให้เ ด็ก ๆได้ ทดลองเก็บผักและดูแลแปลงผักด้วยตัวเอง

ภำพที่ 4 กำรดูแลพืชผักสวนครัว กิจ กรรมนั่ง รถกระแทะชมวิว เป็นกิจกรรมที่ให้ เด็กๆได้ล องนั่งรถกระแทะชมวิวรอบๆบริเ วณวัด และทุ่ง นำ โดยจะมีกิ จกรรมที่ ทำให้เด็กๆตื่นเต้น คือ กำรให้เ ด็ก ๆได้มำทดลองขับ รถกระแทะด้วย ตัวเองแต่มีคนขับคอยบังคับทิศทำงให้ กิจกรรมนี้ เป็นกิจกรรมที่ให้เด็ กๆได้ลองสิ่งที่แปลกใหม่และ ทำให้เด็กๆเกิดควำมตื่นเต้นอยู่ตลอดเวลำ

สื่ อ กิ จ กรรมที่ มี คุ ณ ค่ ำ และให้ ป ระโยชน์ ต่ อ สำธำรณะจะต้องสำมำรถที่จะประยุกต์สื่อกิจกรรม ให้เข้ำกับสถำนกำรณ์ต่ำงๆที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้ สื่อกิ จ กรรมสำมำรถกระตุ้นและเร่ง เร้ำให้มี ก ำร กระท ำเนื่ อ งจำกกำรได้ เ ห็ น กำรได้ ยิ น กำร อภิปรำยและกำรกระทำ โดยที่จะเปิดโอกำสให้เด็ก และเยำวชนมีกำรพัฒนำศักยภำพของกำรเป็นผู้นำ เพื่อที่จะให้ได้เรียนรู้ถึงปัญหำและอุปสรรค์ต่ำงๆใน ระหว่ำงกำรทำกิจกรรม สื่อกิจกรรมกับกำรพัฒนำเด็กและเยำวชน  กิจกรรมสู่กำรพัฒนำศักยภำพเด็กและเยำวชน กำรพัฒ นำศัก ยภำพจะช่วยเสริม สร้ำงเด็ก ใน ด้ำนสติปั ญ ญำและควำมสำมำรถในกำรท ำงำน กำรจั ดกิ จ กรรมกำรเรี ยนรู้ภ ำยในกลุ่ ม เด็ก และ เยำวชนโดยครูธำนีจะจัดกิจกรรมที่ ช่วยเสริมสร้ำง ควำมสำมัคคีและประสบกำรณ์ที่แปลกใหม่ ให้เด็ก และเยำวชนได้เ รียนรู้โดยกำรเข้ำร่วมทำกิจกรรม กั บ ผู้ อื่ น สำมำรถคิ ด และตั ด สิ น ใจว่ ำ สิ่ ง ไหนดี หรือไม่ ดี เด็ก และเยำวชนจะสำมำรถพัฒ นำเต็ม ตำมศักยภำพได้จะต้องรับกำรพัฒนำอย่ำงครบองค์ รวม คือ เด็ก และเยำวชนจะต้องได้รับกำรพัฒนำ ครบทุ ก ด้ำน ได้แ ก่ ด้ำ นสติปั ญ ญำ ด้ำนอำรมณ์ และด้ำนสังคม ไปพร้อมๆกันโดยไม่ละเว้นด้ำนใด ด้ำนหนึ่ง ( พรรณี เสมอภำค, 2552 )


318

ปลูกจิตสำนึกที่ดีโดยสื่อกิจกรรม กำรสอนเด็กและเยำวชนทำนำเป็นหนึ่งของสื่อ กิจกรรม กำรให้เด็กและเยำวชนได้เรีย นรู้วิถีชีวิต ของชำวนำและให้ ล งมื อ ปฏิ บั ติด้ วยตั วเอง เพื่ อ มุ่งหวังให้เด็กได้เรียนรู้ ถึงทัศนคติ เห็นคุณค่ำของ เมล็ด ข้ำวและควำมส ำคัญ ของชำวนำ กำรปลู ก จิตสำนึก ที่ดีให้เด็กและเยำวชนได้รัก สิ่ง แวดล้อม ธรรมชำติจะทำให้เด็กนั้นมีควำมคิดและทัศนคติที่ ดี เป็นคนที่มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้คนรอบข้ำง และกำรใช้สื่อกิจกรรมยังเป็นกำรปลูกฝังให้เด็กๆ อยู่อย่ำงวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง  เปิ ด โอกำสให้ เ ด็ ก ได้ เ รี ย นรู้ กั บ กิ จ กรรม ธรรมชำติ ในอดีตเด็กๆเคยได้รับควำมสุขและได้มีโอกำส กำรเรียนรู้และสัมผัสกับธรรมชำติมำกกว่ำปัจจุบัน ไม่ว่ำจะเป็นกำรเดินบนทำงเท้ำ สวนสำธำรณะ แต่ ในยุ ค ปั จ จุ บั น เด็ ก ๆไม่ ค่ อ ยได้ สั ม ผั ส กั บ โลก ธรรมชำติอย่ำงแท้จริง โดยเฉพำะเด็กที่อยู่ในเมือง จะมี ข อบเขตที่ จ ำกั ด กั บ กำรที่ จ ะเรี ย นรู้ กั บ สิ่งแวดล้อมทำงธรรมชำติ โดยผู้ปกครองส่วนใหญ่ก็ เปิดโอกำสให้เด็กและเยำวชนมำเรียนรู้กิจกรรมที่ อยู่กับธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมเพรำะพัฒนำกำร ของเด็ ก มี ค วำมส ำคั ญ มำกกั บ สิ่ ง ที่ อ ยู่ ร อบๆตั ว ได้แก่ ธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม สิ่งที่อยู่รอบๆตัว เหล่ำนี้จะส่งผลดีให้กับเด็กในกำรที่จะพัฒนำสมอง เสริมสร้ำงควำมคิด และสติปัญญำที่ดีรวมไปถึงกำร พัฒ นำศัก ยภำพทั้ งในด้ำนร่ำงกำย กำรวิเครำะห์ และกำรประเมิ น ผล กำรที่ ค รู ธ ำนี ใ ห้ เ ด็ ก และ เยำวชนได้มำเรียนรู้กิจกรรมนอกห้องเรียนที่บ้ำน หอมชื่นเป็นกำรเปิดโอกำสที่ดีทีให้เด็กได้สัมผัสกับ กำรอยู่แบบธรรมชำติและทำกิ จ กรรมต่ำงๆมำก ยิ่งขึ้น 

สื่อกิจกรรมกับวิถีชีวิตของเยำวชน สังคมมีควำมคำดหวังกับเด็กบนพื้นฐำนวิถีชีวิต ควำมเชื่อ วัฒนธรรม และกำรให้คุณค่ำต่ำงๆ กำร ที่คูธำนีใช้สื่อกิจกรรมกำรเกษตรในกำรพัฒนำเด็ก และเยำวชนซึ่งก็ล้วนจะก่อผลที่ดีให้กับตัวของเด็ก ไม่ว่ำจะเป็น กิจกรรมกำรปั้นดินเหนียว โดยวิถีชีวิต ของเด็ก ก็ จ ะชอบหยิบ ชอบจับ สิ่ ง ของเป็น เรื่อ ง ธรรมดำ กำรที่จะใช้สื่อกิจกรรมพัฒนำเด็กครูธำนี ได้เข้ำถึงวิถีชีวิตของเด็กว่ำเด็กเป็นวัยที่กำลังอยำก รู้อยำกเห็น อยำกที่จะลองสิ่งที่แปลกใหม่อยู่เสมอ ครูธำนีให้เด็กได้ลองทำกิจกรรมจริงจึงทำให้เด็กนัน้ ได้ ฝึ ก ทั ก ษะต่ ำ งๆในกำรเรี ย นรู้ กิ จ กรรม สื่ อ กิจกรรมจะช่วยให้เด็ก และเยำวชนมี ส มำธิ ควำม อดทนตลอดถึงกำรมีทัศนคติและจิตใจที่ดี 

ภำพที่ 6 กิจกรรมปั้นดินเหนียว ครูธำนีได้ใช้สื่อกิจกรรมในกำรสั่งสอนเด็กและ เยำวชนให้เป็นคนดี มีควำมคิดดี ไม่เห็นแก่ตัว มี ควำมรับ ผิดชอบต่อ สิ่งที่ ก ระทำ เป็นคนที่มี จิตใจ สำธำรณะ ดั ง นั้ น สื่ อ กิ จ กรรม ของครู ธ ำนี มี ควำมส ำคั ญ กั บ วิถีชี วิตของเด็ ก และเยำวชนเป็ น อย่ำงมำกเพรำะกำรใช้สื่อกิจกรรมจะทำให้เด็กนั้น ได้ลงมือปฏิบัติได้ทำกิจกรรมจริง จึงทำให้เด็กและ เยำวชนมีได้เข้ำถึงควำมรู้และควำมเข้ำใจได้ง่ำย


319

และเยำวชน เรียกว่ำ กำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทำง ธรรมชำติด้วยวิธีให้ควำมรู้ ปลูกฟัง ทัศนคติที่ดีให้ เด็กและเยำวชนที่ปฏิบัติกิจกรรมโดยเริ่มตั้งแต่วัย เด็ก

ภำพที่ 7 กิจกรรมพำยเรือชมธรรมชำติ  อยู่ อ ย่ ำ งพอเพี ย งมี ป ระโยชน์ ต่ อ เด็ ก และ เยำวชน เด็ก ที่ มี ควำมเป็น อยู่อ ย่ำงพอเพี ย งจะดำเนิ น ชีวิ ต อย่ ำ งพอประมำณ มี เ หตุ มี ผ ล รอบคอบ มี คุณธรรมในกำรปฏิบัติตนและกำรตัดสินใจ ไม่เอำ เปรียบผู้อื่น ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ครูธำนีสอนให้ เด็ ก และเยำวชนรู้จั ก กำรใช้ท รั พ ยำกรที่ มี อยู่ ไ ด้ อย่ำงคุ้มค่ำ และเก็บดูแลรักษำเป็นอย่ำงดี ครูธำนี สอนให้เ ด็ก รู้จัก พอเพี ยงมี ก ำรวำงแผนกำรเรียน หรือกำรทำกิจกรรมต่ำงๆได้ดี เป็นเด็กที่รู้ทันกำร เปลี่ยนแปลงของสภำพแวดล้อ มทำงสังคม และ สำมำรถยอมรับและปรับตัวเพื่อที่จะอยู่ในสังคมกับ ผู้อื่นได้อย่ำงมีควำมสุข  สื่อกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กำรที่ครูธำนีจัดกิจกรรมให้เด็กได้ทดลองดำนำ ด้วยตนเองเป็นกำรเรียนรู้เ กี่ยวกับธรรมชำติและ สังเกตสิ่งต่ำงๆที่อยู่รอบๆตัวทำให้เด็กและเยำวชน ได้เรียนรู้พัฒนำสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มี ชีวิตที่ จับ ต้องได้ และจับ ต้ อ งไม่ ไ ด้ เช่น สัตว์ พื ช อำกำศ สิ่งเหล่ำนี้จะมีอิทธิพลและส่งผลชีวิตควำม เป็ น อยู่ ข องคน เพรำะกำรด ำรงชี วิต จะต้ อ งพึ่ ง สิ่งแวดล้อม ดังนั้น กำรใช้สื่อกิจกรรมของครูธำนี ในกำรอนุรัก ษ์สิ่ง แวดล้อมก่ อ ให้เ กิ ดผลดีกั บ เด็ก และเยำวชนที่จะมำเรียนรู้เพรำะทุกๆสื่อกิจกรรม ทำงกำรเกษตรจะสร้ำงเสริมประโยชน์ให้ กับ เด็ก

ภำพที่ 8 ลุยโคลนลงไปดำนำ  สื่อกิจกรรมที่ดีให้อะไรกับเด็กและเยำวชน สื่อกิจกรรมทำงกำรเกษตรสอนให้เด็กได้ลองลง มือปฏิบัติจริง กิจกรรมกำรเกษตรสอนให้เด็กและ เยำวชนได้เรียนรู้สิ่งที่แปลกใหม่ได้ให้เด็กทดลองทำ กิจกรรมแบบที่ไม่เคยทำมำก่อน เช่น เก็บไข่ไก่ ฝัด ข้ ำ ว ด ำนำ เก็ บ พื ช ผั ก สวนครั ว กิ จ กรรมทำง กำรเกษตรสอนให้เด็กให้มีควำมกล้ำที่จะแสดงออก ทั้งด้ำนควำมรู้ เจตคติและทักษะกำรผสมผสำน สื่อ กิ จ กรรมจะมี ก ำรก ำหนดเงื่ อ นไขส ำหรั บ กำร ประกอบกิ จ กรรมไว้อ ย่ำงชัดเจนเพื่ อที่ ส ำมำรถ สัง เกตพฤติก รรมของเด็ก และเยำวชนไว้ได้อย่ำง ชัดเจน กำรจัดกิจกรรมต้องใช้เวลำที่เหมำะสมกับ กิ จ กรรมที่ จัด เพื่อที่ ให้เ ด็ก และเยำวชนได้ ศึก ษำ เรี ย นรู้ แ ละท ำกิ จ กรรมต่ ำ งๆได้ อ ย่ ำ งพอดี สื่ อ กิจกรรมที่ดีต้องมีแนวทำงควำมคิดสร้ำงสรรค์และ ก่อให้เ กิ ดประโยชน์แก่ เ ด็กและเยำวชน (วิจิตร ศรีสอ้ำน, 2535)  สิ่งที่เด็กและเยำวชนได้จำกกำรทำกิจกรรม สิ่งที่เยำวชนได้จำกกำรลงมือทำกิจกรรมอย่ำง แรก คือ ได้รอยยิ้มและประสบกำรณ์ใหม่ๆ ได้รู้ถึง


320

วิถีชีวิตอย่ำงที่ไม่เคยได้สัมผัสมำก่อน ได้มิตรภำพ ควำมจริงใจกำรคนรอบข้ำงให้เด็กได้เรียนรู้ที่จะอยู่ ร่วมกั บ ผู้อื่น ได้ช่วยเหลือ ตัวเองและสุดท้ ำยเด็ก และเยำวชนได้รับ ควำมรู้ถึง คุณค่ำของเมล็ดข้ำว และคุณค่ำของอำชีพชำวนำ

บรรณำนุกรม พรรณี เสมอภำค. 2552. เกษตรอินทรีย์สู่ สำกลสำหรับกลุม่ เด็กและเยำวชน.

บทสรุป

กรุงเทพฯ : ยโสธร : มูลนิธิสำยใย

กำรสื่ อ สำรโดยใช้ สื่ อ กิ จ กรรมกั บ เด็ ก และ เยำวชนเป็ น กิ จ กรรมกำรสื่ อ สำรที่ ท ำให้ เ ด็ ก ได้ เข้ำใจได้ง่ำยและรวดเร็วกว่ำเรียนในห้องเรียน สื่อ กิจกรรมเป็นสื่อที่ทำให้เด็กและเยำวชนได้ทดลอง ลงมือที่ จะปฏิบัติจริง ทำให้เ ด็กมี ควำมสนใจที่ จ ะ เรียนรู้สิ่ง แปลกใหม่ อ ยู่เ สมอ กำรใช้สื่อ กิ จ กรรม เข้ำถึงวิถีชีวิตของควำมเป็นเด็ก เพรำะเด็กเป็นวัยที่ กำลังอยำกรู้อยำกลอง ซึ่งก็เป็นเรื่องที่ดีในสอนเด็ก ให้เด็กมีทัศนคติที่ดี มีควำมอดทนอดกลั้นรวมไปถึง กำรมี ส ติ ปั ญ ญำในกำรที่ แ ก้ ไ ขปั ญ หำเองได้ ใ น อนำคต รวมทั้งปลูกฝังให้เด็กและเยำวชนยึดหลัก และดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

แผ่นดิน. วิจิตร ศรีสอ้ำน. 2535. บทบำทสื่อสำรมวล ชนในกำรพั ฒ นำเด็ ก . กรุ ง เทพ : พัฒนำกำรศึกษำอบรมและกำรเลีย้ ง ดูเด็ก. สิริยำกร พุกกะเวส. 2555. ทำนำอินทรีย์ สำหรับ คนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ : อุ้ม. น้ำเมฆ. 2557. ชำวนำใจดี. (ออนไลน์). เข้ำถึงได้จำก : http://www.thairath.co.th/con tent/393103. 7พฤศจิกำยน 2557 โรงเรียนเพลินพัฒนำ. 2557. เรียนรู้วิถี ชำวนำรู้คุณค่ำเมล็ดข้ำว.(ออนไลน์). เข้ำถึงได้จำก : http://www.plearnpattana.ac.t h/m465/index.php?option=co m_content&task=view&id=361 7&Itemid=66. 7พฤศจิกำยน2557

น.ส. อำภำภัทร บัวสว่ำง 54040794 นิเทศศำสตร์เกษตร ปี 4


321 นางสาว อารยา เผ่าพันธุ์ดี 54040795

ประชาสัมพันธ์ ท่องเทีย่ ว “อ่าวพร้ าว” หลังวิกฤตการณ์ นา้ มันรั่ว บทนา การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ดาํ เนินควบคู่กบั การพัฒนาแหล่งพลังงานนํ้ามันเพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการที่ เพิ่มมากขึ้น การขนส่ งนํ้ามันทางทะเลจึงมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น แต่ปัญหาการรั่ วไหลของ นํ้ามันในทะเลที่สืบเนื่องมาจากการขนส่ งนํ้ามันทางทะเลสามารถเกิดขึ้นได้เช่นกัน ในช่วงสิ บปี ที่ผา่ นมาได้เกิด เหตุการณ์น้ าํ มันรั่วไหลระดับชาติหลายครั้ง จากเหตุการณ์ท่ออ่อนส่ งนํ้ามันดิบขนาด 16 นิ้ ว ของบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) รั่วกลางทะเลใกล้ชายฝั่งมาบตาพุด จ.ระยอง ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2556 ปริ มาณการรั่วไหลอยู่ประมาณ 50,000-70,000 ลิ ตร ห่ างจากชายฝั่ งมาบตาพุดไปทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ ประมาณ 20 กิ โลเมตรโดยมีน้ าํ มันดิ บส่ วนที่เหลือหรื อหลุดรอดจากการทําให้กระจายตัวโดยสารสลายคราบ นํ้ามันได้เคลื่อนตัวขึ้นที่อ่าวพร้าว ซึ่ งอยูท่ างทิศตะวันตกของเกาะเสม็ด (รายงานวิจยั การรับรู้ผลกระทบและการ จัดการวิกฤติน้ าํ มันรั่วลงทะเล บริ เวณอ่าวพร้ าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง , 2556) คราบนํ้ามันดิ บดังกล่ าว ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ ของระบบนิ เวศทางทะเลทั้งในระยะสั้นและระยะยาว นอกจากนี้ ยงั อาจส่ งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยและประกอบอาชีพในบริ เวณดังกล่าว รวมถึงความเสี ยหายของธุ รกิจการ ท่องเที่ยวทั้งผลกระทบโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่ งอาจก่อความเสี ยหายทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ งแวดล้อม ของประเทศชาติเป็ นมูลค่ามหาศาล จึงมีความจําเป็ นที่จะต้องมีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้นกั ท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีความมัน่ ใจว่าทางผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้มีการฟื้ นฟูระบบนิ เวศที่ได้รับความเสี ยหายจน กลับเข้าสู่ สภาวะปกติ ในส่ วนของการประชาสัมพันธ์โดยบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) มีการ กระตุน้ และยํ้าภาพลักษณ์การใช้แผนหรื อมาตรการการจัดการคราบนํ้ามัน มาตรการการเยียวยา โดยประกาศ ความรั บผิดชอบต่อความเสี ยหายที่ เกิ ดขึ้ น ดังนั้นจึงเป็ นที่น่าสนใจว่า บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ทาํ การประชาสัมพันธ์ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไร มีผลต่อภาพลักษณ์ องค์กรและหน่วยงานอย่างไรบ้าง

ภาพที่ 1 อ่าวพร้าว หมู่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ที่มาwww.thailovetrip.com (2557)


322

การประชาสั มพันธ์ การประสัมพันธ์ หมายถึง การสื่ อสาร ความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริ งต่างๆ ไปสู่ กลุ่มประชาชน เป็ น การเสริ มสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชนเป้ าหมาย และประชาชนที่เกี่ ยวข้อง เพื่อหวังผลให้ความร่ วมมือ สนับสนุ นจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่ วยเสริ มสร้าง ภาพลักษณ์ ที่ดีให้กบั หน่ วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทําให้ประชาชนเกิ ดความเลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่ วยงาน ตลอดจนค้น หาและกํา จัด แหล่ ง เข้า ใจผิ ด ช่ ว ยลบล้า งปั ญ หา เพื่ อ สร้ า งความสํา เร็ จ ในการดํา เนิ น งานของ หน่วยงานนั้น (วิรัช ลภิรัตนกุล , 2540) 1. การประชาสัมพันธ์ช่วยส่ งเสริ มภาพลักษณ์และสร้างค่านิ ยมของหน่ วยงานได้ดีข้ ึน หมายถึง การ สร้างความรู ้สึกประทับใจที่บุคคลหลาย ๆ กลุ่มมีต่อหน่วยงานนั้น ๆ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั กลุ่มชนเหล่านี้ เผยแพร่ ช้ ีแจงข่าวสารให้ประชาชนเห็นคุณความดีให้เกิดความเลื่อมใสและสร้างความผูกพันทางใจ 2. การประชาสัมพันธ์ช่วยป้ องกันรักษาชื่อเสี ยงของหน่วยงาน หมายถึง มีการพัฒนาปรับปรุ งตัวเอง ให้ ตรงกับความต้องการของประชาชนแล้วโอกาสที่ประชาชนจะได้รับความไม่สะดวก เกิ ดความเข้าใจผิด หรื อ มองในแง่ร้ายซึ่ งจะเป็ นผลในการนําไปวิพากษ์วิจารณ์ให้เกิดเสี ยชื่อเสี ยงย่อมไม่มี หรื อมีนอ้ ยมากเพราะเรา ได้ ตรวจสอบความคิดเห็นทัศนคติของประชาชนและทําการปรับปรุ งอยูเ่ สมอ 3. การประชาสัมพันธ์ ช่วยสร้ างความเข้าใจที่ถูกต้อง ทําให้เกิ ดความร่ วมมือกับหน่ วยงานและฝ่ าย บริ หาร เพราะ การประชาสัมพันธ์เป็ นการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างฝ่ ายบริ หารกับบุคคลที่เกี่ ยวข้อง ด้วย การให้ข่าวสารข้อเท็จจริ งและความถูกต้อง มิได้เป็ นการจูงใจหรื อการโฆษณาชวนเชื่ อด้วยกลวาจา ย่อมทําให้ เกิดความร่ วมมือร่ วมใจกับฝ่ ายบริ หารขึ้น 4. การประชาสัมพันธ์ช่วยการขายและการตลาด การประชาสัมพันธ์เป็ นการปูพ้ืนค่านิยม ทัศนคติที่ดี ให้เกิ ดกับหน่ วยงานเมื่อประชาชนมีค่านิ ยม ความรู้สึกที่ดีแล้วก็มีใจพร้อมที่จะรับฟังข่าวสาร การโฆษณา ซึ่ ง เป็ นแรงกระตุน้ ให้เกิ ดความต้องการการประชาสัมพันธ์ ยงั มีการตรวจสอบทัศนคติ ความคิดเห็น ค่านิ ยมของ กลุ่มเป้ าหมาย รู ปแบบการประชาสั มพันธ์ ในกรณี “อ่าวพร้ าว” 1. การประชาสัมพันธ์ทางสื่ อมวลชน เป็ นสื่ อที่สามารถถ่ายทอดข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์สู่ คน จํานวนมากพร้ อมกันในเวลาเดี ยวกันอย่างรวดเร็ ว สื่ อวิทยุโทรทัศน์ จัดเป็ นสื่ อที่มีประสิ ทธิ ภาพในการสื่ อสาร มากที่ สุ ด เนื่ องจากสามารถเห็ นภาพเคลื่ อ นไหวและได้ยิน เสี ย ง ทําให้ก ารรั บ รู้ เป็ นไปอย่า งชัดเจนและมี ประสิ ทธิ ภาพยิ่ง ตัวอย่างเช่น การโฆษณาประชาสัมพันธ์ โดยความร่ วมมือของทางบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิ คอล จํากัด (มหาชน) และองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดระยอง ได้จดั ทําภาพยนตร์ โฆษณาชุด "Better Samed" ขึ้น


323

เพื่อสร้างความเชื่อมัน่ ว่า เกาะเสม็ดวันนี้ดีข้ ึนแล้ว และยังมีหลายอ่าวที่ไม่ได้รับผลกระทบ อยากเชิญชวนคนไทย ให้ไ ปเที่ ย วเกาะเสม็ดอี ก ครั้ ง ส่ ง ผลให้เกิ ดความเชื่ อมัน่ ในวงกว้า งว่า ทางผูท้ ี่ เกี่ ย วข้องไม่ ไ ด้น่ิ ง นอนใจต่ อ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และมีการฟื้ นฟูในส่ วนที่ได้รับความเสี ยหายอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งทําให้การท่องเที่ยวในอ่าวพร้าว มีความคึกคักขึ้นและช่วยให้วถิ ีชีวติ ของผูค้ นธุรกิจต่างๆ บนเกาะเสม็ดกลับมามีชีวติ ชีวาเหมือนเดิมอีกครั้ง

ภาพที่ 2 โฆษณา Better Samed “เราไปเที่ยวเสม็ดกันเถอะ” ที่มา www.youtube.com(2013) 2. การประชาสัมพันธ์ทางสื่ อสิ่ งพิมพ์ เป็ นสื่ อในการประชาสัมพันธ์ที่หน่วยงานเป็ นผูผ้ ลิตและเผยแพร่ ไปสู่ กลุ่มเป้ าหมาย ด้วยวัตถุประสงค์ในการผลิตและรู ปแบบของสิ่ งพิมพ์ที่แตกต่างกันออกไป ตัวอย่างเช่นการ ทําโปสเตอร์ เชิญชวนท่องเที่ยวเกาะเสม็ดจังหวัดระยองโดยการประชาสัมพันธ์ผา่ นป้ ายโฆษณาขนาดใหญ่ทาง บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดระยองเป็ นผูร้ ับผิดชอบจัดทํา ขึ้น เป็ นการประชาสัมพันธ์สําหรับผูท้ ี่เดินทางผ่านเส้นทางบายพาส 36ส่ งผลให้การท่องเที่ยวอ่าวพร้าวที่ได้รับ การฟื้ นฟูจากวิกฤตการณ์น้ าํ มันรั่วได้รับความน่าเชื่อถือยิง่ ขึ้น

ภาพที่ 3 โปสเตอร์ เชิญชวนท่องเที่ยว “รวมใจไทยเที่ยวเสม็ด” ที่มา ส่ วนสื่ อสารและกิจการเพื่อสังคมพื้นที่ระยอง บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) (2556) 3. การประชาสัมพันธ์โดยอาศัยการจัดกิจกรรมปัจจุบนั สื่ อนี้มีความหมายขยายขอบเขตกว้างขวางไปถึง กิจกรรมที่สามารถสื่ อความรู ้สึกนึ กคิด ความรู้ อารมณ์ และเรื่ องราวข่าวสารไปสู่ กลุ่มเป้ าหมายได้ สื่ อประเภท กิ จกรรมมีได้มากมายหลายรู ปแบบสื่ อกิ จกรรมนี้ สามารถปรับปรุ งดัดแปลง แก้ไขให้ยืดหยุ่น เหมาะสมกับ โอกาสและสถานการณ์ได้ง่ายดังตัวอย่างดังนี้


324

การจัดกิจกรรมBig Cleaning Day“รวมพลังชาวไทย ใส่ ใจธรรมชาติ คืนทรายขาวสะอาดสู่ อ่าวพร้าว” การเดิ นหน้าฟื้ นฟูและเยียวยาให้เกาะเสม็ดกลับมาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศอย่างยัง่ ยืน โดยเป็ นกิจกรรมที่ เชิญชวนผูท้ ี่สนใจเข้าร่ วมเป็ นส่ วนหนึ่งในการฟื้ นฟูระบบนิเวศของชายหาดอ่าวพร้าวให้กลับมาอุดมสมบูรณ์อีก ครั้ง มีการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐ เอกชน อาสาสมัคร จิตอาสา ศิลปิ นนักแสดง และชาวบ้านท้องถิ่น มีกิจกรรม การซับคราบนํ้ามัน การปลูกปะการังโดยรายการบอก 9 เล่าสิ บได้ไปถ่ายทําในช่ วง บอก 9 ทัว่ ทิศ และมีการ สัมภาษณ์นายวิชิต ชาตไพสิ ฐ ผูว้ ่าราชการจังหวัดระยอง เพื่อตอกยํ้าถึงความมัน่ ใจการกลับคืนสู่ ธรรมชาติของ อ่าวพร้าว ส่ งผลให้เกิดความเชื่อมัน่ ในส่ วนของการจัดการคราบนํ้ามันออกจากหาดและทําให้อ่าวพร้าวมีจาํ นวน นักท่องเที่ยวคึกคักอีกครั้ง

ภาพที่ 4 กิจกรรมBig Cleaning Day กับทางรายการบอก 9 เล่าสิ บ ที่มา ส่ วนสื่ อสารและกิจการเพื่อสังคมพื้นที่ระยอง บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) (2556) นอกจากนี้ บริ ษทั ปิ โตรเลี ยม เคมิคอล จํากัด (มหาชน) พร้ อมด้วยกรมอุทยานแห่ งชาติ สัตว์ป่าและ พรรณพืชรวมถึงจังหวัดระยอง ร่ วมจัดงาน “วอเตอร์ สปอร์ ต เดย์” กีฬาสี ทางนํ้าเช่น โปโลนํ้าบานาน่าโบ๊ท โดย ศิ ล ปิ นดาราชั้น นํา อาทิ แพนเค้ก เขมนิ จ เต๋ า สมชายเต้ นัน ทศัย เจ จิ น ตัย และเคน ภู ภู มิ ณ อ่ า วพร้ า ว เพื่ อ ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้นกั ท่องเที่ยวทั้งต่างชาติและไทยได้มาท่องเที่ยวเกาะเสม็ดในฤดูการท่องเที่ยวปี ใหม่ซ่ ึ งเป็ นการสร้ างความเชื่ อมัน่ ให้กบั การฟื้ นฟูระบบนิเวศอ่าวพร้าวว่ากลับเข้าสู่ สภาวะปกติแล้ว พร้อมที่จะ ต้อนรับนักท่องเที่ยวอีกครั้งโดยมีผทู ้ ี่ให้ความสนใจร่ วมกิจกรรมนี้ เป็ นจํานวนมากทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ

ภาพที่ 5 กิจกรรม วอเตอร์ สปอร์ ต เดย์ ที่มาwww.newswit.com (2556)


325

สมาคมนักเรี ยนเก่าวชิ ราวุธ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ บริ ษทั อสทม จํากัด (มหาชน) นําสาวงาม 18 คนที่เข้ารอบสุ ดท้ายในการประกวดนางสาวไทย ประจําปี 2556 ทํากิจกรรม ปล่อยพันธุ์ปลาและปลูกปะการัง พร้อมพิสูจน์วา่ การจัดการฟื้ นฟูระบบนิเวศ ความสะอาดและความสวยงามที่กลับคืนสู่ อ่าวพร้าว อีกครั้งหลังเหตุ การ์ ณนํ้ามันรั่วสู่ ทะเลส่ งให้ระบบนิเวศทางทะเลมีความอุดมสมบูรณ์ข้ ึน ประการังที่ได้รับความเสี ยหายถูกปลูก ทดแทน ทําให้สัตว์น้ าํ มีที่อยูอ่ าศัยเช่นเดิม

ภาพที่ 6 กิจกรรม ปล่อยพันธุ์ปลาและปลูกปะการัง ของผูเ้ ข้าประกวดนางสาวไทย 18 คนสุ ดท้าย จาก www.newswit.com (2556) จากเหตุการณ์ น้ าํ มันรั่ว หน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องมีการพัฒนาแผนในการจัดการปั ญหา โดยประสานงาน ร่ วมกับหลายภาคส่ วน รวมทั้งในส่ วนของประชาชนผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย เพื่อให้การจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น ได้รับ ผลกระทบน้อยที่สุดและได้รับการจัดการอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รวมไปถึงการประชาสัมพันธ์ผา่ นช่องทางต่างๆ มีการจัดทําโฆษณาชุด Better Samed “เราไปเที่ยวเสม็ดกันเถอะ”การประชาสัมสัมพันธ์ดว้ ยป้ ายโฆษณาขนาด ใหญ่ เ ชิ ญ ชวนท่ อ งเที่ ย วเสม็ ด บริ เ วณเส้ น ทางบายพาส 36การประชาสั ม พัน ธ์ โ ดยอาศัย การจัด กิ จ กรรม BigCleaning Day กับทางรายการบอก 9 เล่าสิ บกิจกรรมวอเตอร์ สปอต เดย์ กิจกรรมการปล่อยพันธุ์ปลาและ ปลูกประการังของผูเ้ ข้าประกวดนางสาวไทยซึ่ งจากการประชาสัมพันธ์ขา้ งต้นส่ งผลให้การท่องเที่ยวในอ่าว พร้าวและเกาะเสม็ดมีแนวโน้มที่ดีข้ ึน จํานวนนักเที่ยวมีมากขึ้น โดยทางบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และทางองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดระยองยังมีการวางแผนฟื้ นฟูระบบนิ เวศให้กลับมามีความอุดม สมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง และทําให้อ่าวพร้าว เกาะเสม็ดน่าท่องเที่ยวอีกครั้ง


326

แหล่งอ้างอิง “การรับรู ้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ าํ มันรั่วลงทะเล บริ เวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง”. (2556). สื บค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.slideshare.net/thiraw/ss-25753773 “สัญญาณเตือนจากอ่าวพร้าว พิษนํ้ามันกระทบนิเวศทะเล”.(2556).สื บค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.thaipost.net/sunday/250813/78319 วิรัช ลภิรัตนกุล. (2540). การประชาสัมพันธ์.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เสกสรร สายสี สด. (2549). ระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี . “Better samedเราไปเที่ยวเสม็ดกันเถอะ”. (2556). สื บค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2557 จากhttps://www.youtube.com/watch?v=oiAFEXEnj7E “Big Cleaning Day”.(2556).ส่ วนสื่ อสารและกิจการเพื่อสังคมพื้นที่ระยอง บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน).



328

ภาพลักษณอาหารอีสานสะทอนวัฒนธรรม กมลวรรณ สุขวิพัฒน 54040723 บทนํา

ที่ใดใดในโลกลว นมีวัฒนธรรมของตนเอง ทั้งที่อยูอาศัย ดนตรี ศิลปะ การแสดง ลวนแลวแตเปน วัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ วัฒนธรรมของที่หนึ่งอาจจะเปนเรื่องแปลกของอีกที่ จนบางครั้งกลายเปนเรื่องเลา ชวนหัวของบางคน หากไมมีความเขาใจเรียนรูวัฒนธรรมอื่น ก็อาจทําใหเขาใจผิดได อาหารก็เปนอีกอยางหนึ่ง ที่เปนเอกลักษณ แสดงออกถึงวัฒนธรรมของแตละทองถิ่น วัฒนธรรมอาหารไทยจึงมีความหลากหลาย เกิด จากการปรุงแตงอาหารดวยวิธีตางๆ กอใหเกิดวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม สืบทอดสูลูกหลาน ความรูเกี่ยวกับอาหารไมใช สัญชาตญาณอัตโนมัติตามธรรมชาติแตเปนประสบการณจากการปฏิบัติ ธรรมเนี ย มประเพณี ของครอบครั ว และของสังคมที่ มีวัฒ นธรรมเดีย วกัน ยึด ถือ หรือ ปฏิบั ติอ ยู (ประหยั ด สายวิเชียร, 2547) ในแตละทองถิ่นของไทย จะมีอาหารประจําถิ่นที่เรียกวา อาหารพื้นบาน อาหารพื้นบาน ไทย หมายถึ ง อาหารที่ ป ระชาชนคนไทยบริโ ภคอยูในชีวิตประจําวัน และบริโภคในโอกาสตางๆ ทั้งจาก ธรรมชาติทามกลางนิเวศที่แวดลอมอยู และจากการผลิตขึ้นมาเอง เชน การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว หรือจาก การซื้อขายแลกเปลี่ยน โดยมีกรรมวิธีในการทําเปนเอกลักษณ รวมทั้งรสชาติที่เฉพาะถิ่นแตกตางกันไป ซึ่ง อาหารพื้นบานไทยมีคุณลักษณะโดยรวมที่สามารถจําแนกดังที่ กมลาภรณ คงสุขวิวัฒน (2548) ไดกลาวไว คือ 1) อาหารพื้นบานไทยเปนอาหารที่บริโภคในชีวิตประจําวันและโอกาสพิเศษ 2) อาหารพื้นบานไทยเปนอาหารที่มีการประกอบดวยวัตถุดิบและเครื่องปรุงรสที่มีภายในทองถิ่น 3) อาหารพื้นบานไทยเปนอาหารที่มีกรรมวิธีการปรุงแบบเรียบงายไปจนถึงความซับซอน และวิธีการ ปรุงจะคงไวซึ่งรสชาติแบบธรรมชาติ 4) อาหารพื้นบานไทยมีกระบวนการและเทคนิคในการทําใหอาหารสุกหลายรูปแบบ 5) อาหารพื้นบานไทยมีกระบวนการและกรรมวิธีในการที่จะถนอมอาหารหลายรูปแบบ 6) อาหารพื้นบานไทยมีวิธีประกอบอาหารที่สอดคลองกับฤดูกาลและระบบนิเวศ ทั้งยังเปนอาหารที่มี ความเชื่อมโยงกับสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ดังจะเห็นไดจากอาหารพื้นบานในแตละภาคทั้ง 4 ภาคของไทยที่มีเอกลักษณของตนเองนั้น มีความ แตกตางกั นทั้งชนิด ลักษณะอาหาร เครื่องปรุงอาหาร สว นประกอบอาหาร รสชาติ และกรรมวิธีการปรุง อาหารที่หลากหลาย (กองการแพทยทางเลือก, 2551) ตัวอยาง เชน เครื่องปรุงรสในวัฒนธรรมไทยภาคกลาง จะมีการใชน้ําตาลเล็กนอยเพื่อตัดรสในอาหารคาว สวนอาหารหวานบางอยางจะใชเกลือเล็กนอย เชน ในกะทิ ที่หยอดหนาเตาสวน หรือขาวเหนียวมูล จะผสมเกลือเล็กนอยเพื่อชวยใหรสกลมกลอมขึ้น ภาคเหนือไมใช น้ําตาลในการปรุงรสอาหารคาวเลย สวนอาหารหวานมีรสออน ซึ่งคนภาคกลางมากินจะบอกวารสจืด สวนใน ภาคใตและภาคอีสาน อาหารคาวจะมีรสเขมขน กวาภาคเหนือ แตที่คลายกับ ภาคเหนือคือไมใชน้ําตาลใน อาหารคาว สวนอาหารหวานของภาคอีสานมีรสไมหวานจัดเชนเดียวกัน สวนภาคใตจะหวานกวาภาคเหนือ และภาคอีสานเล็กนอย (ประหยัด สายวิเชียร, 2547) อาหารพื้นบานเดนๆ ของชาวไทยในแตละภาคไดแก ภาคกลาง มีอาหารหลายประเภท เชน ประเภท แกง มีแกงเผ็ด แกงสม แกงปา แกงคั่ว ประเภททอดและผัด ประเภทยํา และตมยํา สวนของหวานนับวามีมาก ทําใหทราบวาชาวไทยภาคกลางนิยมอาหารหวานมากกวาชาวไทยถิ่นอื่นๆ แหลงขนมหวานที่มีชื่อเสียง คือ


329

เพชรบุรี ภาคเหนือ มีอาหารที่รูจักกันดีไดแก แกงแค แกงออม ไสอั่ว น้ําพริกอองน้ําพริกหนุม ผักกาดจอ ลาบ แหนม แกงฮังเล แกงโฮะ ขาวซอย และขนมจีนน้ําเงี้ยว อาหารหวานไมนิยมใสกะทิ เชน ขาวแตน ขนมเทียน ขนมทั้งสองนี้เปนสัญลักษณของทองถิ่น ภาคอีสานอาหารพื้นบาน ลาบ ตมยํา ขาวตมมัด ไสกรอก ซุบหนอไม แจว น้ําพริกปลารา ไกยาง ภาคใต กลาวกันวาชาวไทยภาคใตนิยมอาหารรสเผ็ดจัด มีอาหารบางชนิดที่มีรสจัด เชน แกงไตปลา แกงเหลือง บางชนิดใชเวลามากเพราะเครื่องมาก เชน ขาวยํา จนมีคํากลาวเปรียบเทียบวา “ยุงเหมือนหมวดขาวยํา” ขนมจีนน้ํายาก็เปนอาหารที่มีชื่อรับประทานกับผักสดหลายชนิด (เสนหา บุณยรักษ, 2527) วิถีชีวิตกับการบริโภคของชาวอีสาน บูรณเชน สุขคุม และ ธนพล วิยาสิงห (2556) ไดกลาวถึงสิ่งหนึ่งที่ชาวอีสานถือวาสําคัญอยางยิ่งก็คือ อาหารที่รับประทานประจําวัน ชาวอีสานถือวาอาหารเปนสิ่งจําเปนมากกวาอยางอื่น ดังจะเห็นไดจากผญา ภาษิตพื้นบานอีสานที่กลาวไววา “ทุกขบมีเสื้อผา ฝาเฮือนดีพอลี้อยู ทุกขบมีขาวอยูทอง สินอนลี้อยูบเปน” (จารุบุตร เรืองสุวรรณ, 2527) หมายความวา ความทุกขที่เกิดจากการไมมีเสื้อผาสวมใสนั้น ถาฝาบานยังดีก็พอ ซอนตัวอยูได แตถาความทุกขที่เกิดจากการหิวอาหารนั้น จะหลบอยูที่ไหนก็ยังหิวเหมือนเดิม ไมอาจหลบเลี่ยง ไปได ผญาบทนี้สะทอนใหเห็นวา ชาวบานอีสานใหความสําคัญของอาหารมากกวาปจจัยสี่ดานอื่นๆ อาจกลาว ไดวาการบริโภคอาหารมีความสําคัญเปนอันดับแรกสําหรับชาวอีสาน ดังนั้น เมื่อมีการเลือกทําเลที่ตั้งหมูบาน ของชาวอีสาน ปจจัยสําคัญที่สุดตองมีแหลงน้ําหรือหนองน้ําใหญอยูใกล เพราะชาวบานจะไดอาศัยแหลงน้ํา ดังกลาวเปนแหลงอาหารที่นํามาบริโภคในชีวิตประจําวัน แหลงอาหารที่สําคัญของชาวอีสาน มีอยู 2 แหลง ไดแก แหลงอาหารที่ผลิตขึ้นเอง และแหลงอาหารตามธรรมชาติ อาหารที่ผลิตขึ้นเองที่สําคัญก็จะพืชสําคัญของ ประเทศไทยหลายอันดับ ซึ่งมีอยูทั่วไปตามทองที่ตางๆ เชน ขาวนาป ซึ่งถือไดวาเปนอาหารหลักของคนไทย และมันสําปะรังมีสัดสวนกวาครึ่งหนึ่งของประเทศ อาหารตามธรรมชาติที่นํามาบริโภคสวนใหญชาวอีสานจะ เก็บหาไดจากแหลงอาหารที่มีตามธรรมชาติ (เครือวัลย หุตานุวัตร, 2528) เชน ปาซึ่งมีสัตวปาชนิดตางๆ เชน นก หนู พังพอน กระตาย กิ้งกา แมลงตางๆ ตลอดจนอาหารประเภทผัก เชน เห็ด หัวมัน ดอกกระเจียวบาน หนอไม เปนตน สวนในที่ไรนา มีผักชนิดตางๆ ผลไม สัตวและแมลงที่ใชเปนอาหารไดเชนกัน นอกจากนี้ใน แมน้ํา ลําธาร หวย หนอง บึง ซึ่งมีน้ําขังตลอดปชาวบานสามารถจับสัตวน้ํา เก็บพืชที่ขึ้นอยูตามแหลงดังกลาว มาเปนอาหารไดทุกฤดูกาล จะเห็นไดวาอาหารตามแหลงธรรมชาติของชาวอีสานในอดีตมีอยางเพียงพอตลอด ทั้งป ทั้งนี้เพราะพื้นที่โดยทั่วไปมีทรัพยากรปาไมอยูอยางสมบูรณ เปนเหตุใหมีสัตวปา และพืชผักนานาชนิดที่ ชาวบานสามารถเก็บหามาเปนอาหารบริโภคในชีวิตประจําวันไดในปริมาณที่เพียงพอ นอกจากนี้ชาวบานทุก คนมีสิทธิ์ในการจับสัตวจากแหลงตางๆ และเก็บพืชผักในปาไดทุกแหง เนื่องจากอดีตพื้นที่ปาและลําน้ําไมมีผู ถือกรรมสิทธิ์หวงหาม และอาหารจากที่ไร ที่นาของคนอื่น เจาของก็ไมหวงหามอยางที่เปนอยูในปจ จุบัน เพราะชาวบานสวนใหญลวนเปนญาติพี่นอง และผูเคารพนับถือกัน สิ่งตางๆ ที่ไดกลาวมาแลวลวนเปนอาหาร ตามแหลงธรรมชาติ ที่มีอยูทั่วไปในพื้นที่ภาคอีสาน ซึ่งมีมาตั้งแตอดีตและยังปรากฏใหเห็นอยูในปจจุบัน แตมี จํานวนลดลงมาก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยาและสิ่งที่นํามาจากธรรมชาติไมมีการทดแทนคืน กลับธรรมชาติ อาหารพื้นบานอีสาน การปรุงอาหารของชาวอีสานมีภาวะที่สอดคลองกับธรรมชาติในแตละฤดูกาล อาหารพื้นบานอีสานที่ บริโภคในชีวิตประจําวันจําแนกตามวิธีปรุงพบวามีอาหารหลายประเภท ไดแก ลาบ กอย จ้ํา จุ หมก อู เอาะ


330

ออม แกง ตม ซุบ เผา กี่ ปง ยาง รม ดอง คั่ว ลวก นึ่ง ตํา แจว ปน เมี่ยง ชาวชนบทอีสานไมนิยมปรุงอาหาร รสมัน รสหวาน ดั งนั้น การปรุงอาหารจึ งไมนิยมใสน้ํามัน และน้ําตาล การประกอบอาหารของชาวอีสานมี ขั้นตอนอยางงายๆ ไมพิถีพิถันในเรื่องสีสัน ความประณีตหรือความงดงามของการจัดสํารับกับขาว แตจะให ความสําคัญในเรื่องรสชาติอาหารและความอรอย (ประชิด สกุณะพัฒน และ อุดม เชยกีวงศ, 2548) ลักษณะเฉพาะหรือลักษณะเดนของอาหารพื้นบานอีสาน (เพ็ญจิต โยสีดา, 2549) 1) รสชาติ ถาเปนอาหารประเภทลาบ กอย สมตํา จะมีรสจัด โดยเฉพาะรสเผ็ด เปรี้ยว เค็ม(นัว) พอดี สวนอาหารหวาน อาหารวางไมนิยมมันจัด หวานจัด 2) เครื่องปรุงรส นิยมใชสิ่งที่มีอยูในครัวเรือน เชน เกลือและปลาราเปนเครื่องปรุงสําหรับรสเค็ม(นัว) ถารสเปรี้ยวนิยมใชผักที่มีตามธรรมชาติ เชน ผักติ้ว(ผักแตว) ผักสมพอดี(ใบกระเจี๊ยบ) ผักออบแอบ ลูกกะสัง (หมากสัง) ใบมะขามออน 3) สวนประกอบของเครื่องปรุงรส อาหารพื้นบานบางชนิดไมนิยมใชกระเทียมเปนสวนประกอบของ เครื่องปรุง เชน ตําแตง หรือแกงออม บางอยางไมใชกระเทียมจะใชหอมแหงหรือหอมสดแทน 4) ไมนิยมใชกะทิเปนหลักในการประกอบอาหาร และไมชอบอาหารที่มันจัด หรือหวานจัด ถึงแมจะ เปนอาหารหวานหรือขนมก็ตาม 5) สัดสวนในการปรุงอาหารไมไดกําหนดแนนอนตายตัว สวนมากจะใชความชํานาญ เชน ไดกลิ่นก็ ทราบไดวาอาหารชนิดนั้นจะมีรสเปรี้ยว เค็ม จืด หรือไหมเกรียม หรือมีรสขม ก็สามารถบอกไดโดยไมตองชิม 6) ลักษณะอาหารที่ปรุงเสร็จแลว ถาเปนแกงจะมีน้ําพอขลุกขลิกไมใชน้ํามาก นิยมใชผักหลายๆ ชนิด ปรุงในอาหาร เชน แกงออมชนิดตางๆ หอหมก และน้ําพริก ตางๆ ตองปรุงไมใหมีน้ํามาก นอกจากอาหาร จําพวกตม แกง ที่ตองการซดน้ําโดยเฉพาะ เชน ตมไกใบมะขามออน 7) ชาวบานมีความเชื่อเรื่องชื่ออาหารและพืชผักที่นํามาประกอบอาหารในงานตางๆ เชน ในงานมงคล งานแตงงานและเลี้ยงพระ จะเลือกชื่ออาหารที่เปนสิริมงคล กับตนเองและผูมารวมงาน เชน อาหารประเภท ลาบ มีชื่อที่บงความหมายถึงความมีโชคลาภ หรือหอหมก เชื่อวา ถาประกอบอาหารชนิดนี้ขึ้นจะทําใหมีความ สามัคคีรักใครปรองดองกัน (ดังสํานวนที่วา เออออหอหมก) 8) ลักษณะวิธีการรับประทาน สวนใหญจะนิยมปูเสื่อนั่งกับพื้นรวมรับประทานอาหารกันระหวาง ครอบครัว พอแม พี่ นอง โดยจัดขาวใสถวยจาน มีถาดรองรับเปนสํารับอาหาร เรียกวา “พาขาว” สําหรับพา ขาวนั้นก็ใชตามฐานะของครอบครัว เชน ไมไผสานขัดเปนลวดลายสวยงามหรือใชไมเนื้อแข็งกลึงอยางสวยงาม บางทําดวยหวาย บางทําดวยไมและหวาย ถามีขารองรับยกขึ้นเหนือระดับพื้นก็เรียก “โตกพาขาว” ชาวอีสานนิยมบริโภคขาวเหนียวเปนอาหารหลัก เพราะขาวเหนียวรับประทานแลวจะรูสึกอิ่มทอง มากกวาและอยูไดนาน ทําใหไมหิวบอย ประหยัดในการหาอาหาร ดังที่กลาววาภาคอีสานนั้นมีความแหงแลง วัตถุดิบประกอบอาหารนั้นจึงหาไดยากในภาคอีสาน ประกอบกับเหตุผลสําคัญที่ชาวอีสานบริโภคขาวเหนียว เพราะเปนพันธุขาวที่เหมาะกับดินและน้ําในเขตที่ราบสูงมากกวาที่ราบลุม อาหารอีสานสวนใหญจึงปรุงให เหมาะสมที่จะใชรับประทานเปนกับขาวเฉพาะกับขาวเหนียวจิ้มเทานั้น วิธีปรุงอาหารพื้นบานอีสานมีหลายวิธีดังที่กลาวขางตน ดังนั้นตํารับอาหารพื้นบานของภาคอีสาน จึงมี ความหลากหลายและรูปแบบที่นารับประทานมาก ในบรรดาตํารับอาหารภาคอีสานนั้น สิ่งที่ขาดไมไดคือ น้ําปลารา ปลาราหรือปลาแดกในวัฒนธรรมอีสานเปนอาหารหลักที่ขาดไมไดและเครื่องปรุงรสที่สําคัญที่สุดจน ถือเปนหนึ่งในวิญญาณหาของความเปนอีสาน (วิญญาณหาของอีสานไดแก ขาวเหนียว ลาบ สมตํา หมอรํา ปลารา) ครอบครัวชาวอีสานสวนมากจะทําปลารากินเอง ปลาราแบบดั้งเดิมตามตํารับชาวอีสานคือ ปลารา ขาวคั่ว และปลารารํา ปลาราขาวคั่วไดจากปลาหมักเกลือที่ใสขาวคั่วมีลักษณะแฉะ เนื้อออนนุม มีสีเหลืองเขม


331

และมีกลิ่นหอม ปลาที่ใชเปนปลาขนาดกลาง สวนปลาราไดจากปลาหมักเกลือใสรํา หรือรําผสมขาวคั่ว มี ลักษณะเปนสีคล้ํา ปลามีลักษณะเปนตัวเนื้อไมอิ่มมาก มีกลิ่นรุนแรงกวา ปลาราขาวคั่วที่ใชเปนปลาขนาดเล็ก ชาวอีส านสว นใหญ จํานิ ยมปลาร ารํ ามากกวา ซึ่งปลาราเปนวิธีถนอมอาหารอยางหนึ่งของชาวอีสาน การ รับประทานอาหารทุกมื้อของชาวอีสาน ปลารามีบทบาทมากในรูปแบบอาหารหลัก และเครื่องปรุงหลัก ปลา ราใหพลังงาน โดยใหคุณค าสารอาหารและเปนอาหารที่กระตุนรางกายใหเจริญอาหารใหกระฉับกระเฉง กระตือรือรนไมเฉื่อยชา และพลังงานที่ไดมาเกิดมากนอยขึ้นอยูกับวิธีการนําปลารามาปรุงเปนอาหารและ เครื่องปรุงของปลารา น้ําปลาราจึงมีบทบาทตอการประกอบอาหารเกือบทุกตํารับของอาหารอีสานก็วาได ซึ่ง ทําใหกลายเปนสัญลักษณและอาหารเดนที่ทุกคนตองรูจัก (จารุวรรณ ธรรมวัตร, 2543) กรรมวิธีการปรุงอาหาร อรชร พรประเสริฐ (2537) ไดศึกษาวิธีปรุงอาหารของชาวสานจังหวัดอุบลราชธานี ศรีษะเกษ ยโสธร และอํานาจเจริญ มีวิธีการปรุงอาหารหลายแบบ สวนใหญเปนวิธีที่เรียบงาย สะดวกรวดเร็ว และมีรสชาติ แตกตางกันไป ดังจะกลาวถึงวิธีปรุงอาหารบางชนิด ดังนี้ 1) แกง เปนวิธีการปรุงอาหารที่มีน้ําเปนสวนประกอบ และรสชาติอาหารจะเขมขนและมีรสเผ็ดเปน หลัก เครื่องปรุงที่ใช คือ พริกแหง เกลือ หอม กระเทียม ตะไคร อาจมีเครื่องเทศชนิดแหง(spices) น้ําแกงจะ เปนสีแดงออนหรือสีสม ผักที่ใสแกงนิยมใสผักชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียว เชน มะเขือ หนอไม เปนตน 2) ออม มีลักษณะเหมือนแกงไมใสกะทิ ใสผักหลายๆชนิด เนื้อสัตวทุกชนิดสามารถนํามาทําแกงออม ไดทั้งสิ้น แตที่นิยมจะเปนออมกบ สีของออมจะเปนสีคล้ําเกือบดํา ปรุงรสออกเค็มดวยน้ําปลารา 3) ปน เปนเครื่องจิ้มชนิดหนึ่ง สวนประกอบหลัก ไดแก พริกโขลกละเอียดผสมดวยเนื้อปลายางโขลก ละเอียด ปรุงรสดวยน้ําปลารา นิยมใชเนื้อสัตว เชน ปลา กบ เขียด ไขมดแดง เห็ดตางๆ 4) แจว เปนเครื่องเสริมรสอาหารทุกมื้อ และทุกบานเรือน ใชน้ําปลาราละลายกับพริกปน หรือพริก สด อาจใชหอม กระเทียม มะเขือเทศเผา ลงโขลกหยาบๆ ผสมกันก็จะไดแจวแบบตางๆ นอกจากนี้ยังมีการนํา เนื้อสัตว เชน ปลาแหง เนื้อปลารา โขลกผสมลงในแจว เรียกวาแจวบอง สําหรับจิ้มกับขาวเหนียว ลั กษณะอาหารและกรรมวิ ธี การปรุงอาหารของชาวอีส าน จะพั ฒ นามาจากการใชผักจิ้มกับ แจ ว จากนั้นจึงพัฒนาพลิกแพลงนําเครื่องปรุง เครื่องเทศ เนื้อสัตวมาผสม ออกมาเปนอาหารนานาชนิด ทุกชนิดจะ มีวิธีทํางา ยๆ ไมพิถีพิถันประดิดประดอยในเรื่องของความสวยงาม แตเนนความสะดวก รวดเร็ว และงา ย ขณะเดียวกันก็จะไดรสชาติอาหารที่ถูกปาก อาหารอีสาน ผานความเชื่อและประเพณี อรชร พรประเสริฐ (2537) ไดศึกษาอาหารในวิถีชีวิตประจําวันของชาวบาน ที่เปนขอหาม สําหรับ บุคคลบางภาวะ ชาวบานเรียกขอหามนี้วา “ขะลํา” ขะลําเปนขอหามบุคคลบางภาวะในการบริโภคอาหาร บางอยาง หากพนภาวะนั้นไปแลวก็บริโภคได ไดแก (ปทมาภรณ รัตนบุรี, 2555) เด็กที่กําลังปวยอยูจะหาม เด็กกินอาหารสุกๆ ดิบๆ ของหมักดอง หามเด็กกินเครื่องในสัตวเพราะจะดื้อ หามเด็กกินฝรั่ง ถั่วฝกยาวเพราะ ทําใหไขขึ้นสูง หามหญิงมีครรภกินของหวาน ไข หามหญิงหลังคลอดกินพริก ความเชื่อดานการบริโภคอาหาร ของชาวอีสานที่กลาวมาขางตน มีทั้งที่เปนประโยชนและกอใหเกิดโทษหากพิจาณาตามหลักโภชนาการ แต หากพิจารณาบนพื้นฐานของภูมิปญญาที่สืบทอดกันมา ผานประสบการณ การทดลองใช ปรับเปลี่ยนจนเกิด เปนขอหามในการกินอาหารประเภทตางๆ ซึ่งยังไมมีขอพิสูจนอยางแนชัดในทางวิทยาศาสตร แตหากพิจารณา ดวยหลักการแพทยทางตะวันออก จะพบวามีขอมูลสอดคลองหลายประการ เชน เด็กหามกินฝรั่ง ถั่วฝกยาว


332

เพราะยอยยากทําใหเกิดความรอนในรางกายเพิ่มขึ้น หญิงตั้งครรภหามกินไขมันมาก เพราะทําใหน้ําหนักตัว ขึ้นมากเกินไป ทําใหเด็กคลอดยาก ปทมาภรณ รัตนบุรี (2555) ไดศึกษาการบริโภคอาหารของชาวอีสาน มีประเด็นความเชื่อเกี่ยวกับการ บริโภคอาหารของชาวอีสาน ภูมิปญญาที่มาพรอมกับความเชื่อ ที่บางคนอาจคิดวาเปนเรื่องงมงายแตที่จริงแลว บรรพบุรุษอยากสื่อสารทางออมโดยอาศัยความเชื่อ มากกวาที่จะสั่งสอนตรงๆ ใหคนรุนหลัง เพื่อใหเห็นคุณคา ของอาหารโดยสอดแทรกความเชื่อไวในประเพณี เชน ประเพณีบุญขาวจี่ ขาวจี่คือขาวเหนียวปนคลุกเกลือ เล็กนอยเอาไปปงไฟ ใหเหลืองกรอบ แลวเอาไปชุบไขเจียวที่ปรุงรสไว จากนั้นนําไปปงอีกครั้ง ใหสุกทั่วกัน ประเพณีบุญขาวจี่ เปนประเพณีที่สืบทอดมาถึงปจจุบัน เปนงานบุญที่จัดขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นฤดูกาลเก็บเกี่ยว มีการนําขาวจี่ไปถวายพระที่วัด เพราะถือวา ขาวใหมมีความบริสุทธิ์ ความหอม หากไดเอาขาวจี่ไปถวายพระก็ เชื่อวาจะสรางความเปนสิริมงคลใหกับชีวิตและครอบครัว หากเพาะปลูกขาวในปตอไปทําใหไดขาวดีและ ปริมาณมากถือเปนประเพณีที่ทําใหคนเห็นคุณคาของขาว บริโภคและปฏิบัติตอขาวในฐานะที่เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ นอกจากนั้นวันงานยังมีลูกหลานที่อยูไกลจะเดินทางกลับมารวมพิธี ทําใหครอบครัวไดมีเวลาอยูดวยกัน ทั้งยังมี งานบุญพระเวส มีการนําเครื่องสังเวย ขาวพันกอน ขาวพันกอน คือ ขาวเหนียวที่ปนเปนกอนกลมๆ ขนาดเทา มะขามปอ มีจํานวนพันกอนเทาคาถาพัน แลวนําไปเสียบไมไผที่เหลาเปนซี่เล็กๆ รอยอัน อันละสิบกอน แลว นําไปเสียบใสทอนกลวย ทอนละสิบไม เมื่อถึงวันแห ก็นํามารวมกันที่วัด ถึงเวลาแหตองชวยกันถือพรอมทั้ง ขาวตอกดอกไม ผูนําขบวนแหจะกลาวคําบูชา อาหารที่เกี่ยวกับความเชื่อและประเพณีของชาวบาน ไมเปน ความเชื่อที่เครงครัดหรือขอหามที่รุนแรง เปนเพียงแนวปฏิบัติเนนความเรียบงายสมถะ เนนความสามัคคี ปรองดองมากกวาเนนตัวอาหาร ไมมีลักษณะสังคมบริโภค เปนแนวปฏิบัติที่ควรมีการสืบทอด เพื่อใหเกิดความ สมดุลกับคนในเมืองที่เนนวัตถุนิยมเปนหลัก บทสรุป

ชาวอีสานเปนผูที่กินอาหารไดงาย มักรับประทานไดทุกอยาง เนื่องจากภาคอีสาน มีสภาพพื้นที่สวน ใหญแหงแลง เปนที่ราบสูง ขาดความอุดมสมบูรณกวาภาคอื่นๆ เพื่อการดํารงอยูของชีวิตในการปรับตัวให สอดคลองกับธรรมชาติ ชาวอีสานจึงรูจักแสวงหาสิ่งตางๆ ที่รับประทานไดในทองถิ่น นํามาดัดแปลง รับประทาน หรือประกอบเปนอาหาร อาหารอีสานจะปรุงแตงขึ้นจากสวนประกอบจากแหลงอาหารธรรมชาติ ของท องถิ่ น อี ส าน ด ว ยสภาพภู มิศาสตร ของภาคอีส านจึ ง มีผ ลตออาหารการกิน ของคนทองถิ่ น อยางมาก วัตถุดิบที่นํามาประกอบอาหารจึงหาไดตามธรรมชาติเปนสวนใหญ และจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนไปตลอดป ตามวัตถุดิบที่หาไดตามฤดูกาล บรรพบุรุษของชาวอีสานจึงใชภูมิปญญาในการเลือกทําเลที่อยูอาศัย โดย คํานึงถึงแหลงที่สามารถหาอาหารไดตามธรรมชาติและเพื่อใหมีอาหารเพียงพอบริโภคตลอดทั้งป ชาวอีสานมีพื้นฐานความคิดสําคัญเกี่ยวกับการผลิตอาหาร คือ ผลิตใหเพียงพอตอการบริโภค มีเหลือ แบงปนใหญาติพี่นอง เพื่อนบานและทําบุญ รวมทั้งมีวัฒนธรรมทองถิ่นที่กําหนดใหกินอาหารบางประเภท เพื่อใหเกิดประโยชนตอรางกายและมีขอหามหรือขอขะลํา หามไมใหกินอาหารบางประเภทที่จะเกิดโทษตอรางกาย อาหารอีสานที่กลาวถึงขางตน มิใชเปนเพียงปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิตเทานั้น แตยังสามารถใช เพื่อการสื่อสารไดอีกดวย อาหารของชาวอีสานจะบอกเลาความเปนมาของคนอีสาน สะทอนใหเห็นแหลง อาหาร การปรุงอาหาร วิถีการบริโภคและประเพณีของชาวอีสาน ไดเปนอยางดี อีกทั้งอาหารอีสานยังเปนสิ่งที่ ใชอธิบายความรูสึกนึกคิดของคนอีสาน เปนสื่อกลางของความเชื่อ ความสัมพันธระหวางคนกับสิ่งลึกลับ และ คนกับธรรมชาติ เชน อาหารที่ใชในพิธีกรรมตางๆ ฉะนั้น การกินอาหารมิใชเพียงการสนองตามความตองการ ทางดานรางกาย แตยังสะทอนใหเห็นถึงวัฒนธรรมความเปนอยูของคนในสังคมนั้นอีกดวย


333

เอกสารอางอิง กมลาภรณ คงสุขวิวัฒน. 2548. อาหารพื้นบานไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคกรรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. กองการแพทยทางเลือก. 2551. ตําราวิชาการอาหารเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพฯ: สํานักงานกิจการโรงพิมพ องคการสงเคราะหทหารผานศึก. เครือวัลย หุตานุวัตร. 2528. การประกอบอาหารของชาวอีสาน. ขอนแกน : คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2528. จารุบุตร เรืองสุวรรณ. 2527. ของดีอีสาน. กรุงเทพ : สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. จารุวรรณ ธรรมวัตร. 2530. คติชาวบานอีสาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอักษรวัฒนา. บูร ณ เ ชน สุ ขคุ ม และ ธนพล วิ ย าสิงห . 2556. “วัฒ นธรรมอาหารพื้น บานของกลุมชาติพัน ธุกูย จังหวัด ศรีสะเกษ.” มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. ปทมาภรณ รัตนบุรี. 2555. “การศึกษาการบริโภคอาหารของชาวอีสานตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสตรและศิลปะแหงชีวิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. ประชิด สกุณะพัฒน และ อุดม เชยกีวงศ. 2548. ของดี 4 ภาค ชุดภาคอีสาน(ตะวันออกเฉียงเหนือ). กรุงเทพฯ: ภูมิปญญา. ประหยัด สายวิเชียร. 2547. อาหารวัฒนธรรมและสุขภาพ. เชียงใหม: นพบุรีการพิมพ. เพ็ญจิต โยสีดา. 2549. รวมสุดยอดอาหารอีสาน แซบอีหลี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คอมมา. อรชร พรประเสริ ฐ . 2537. “ภู มิปญ ญาชาวบาน : กรณีพืช ผักและกรรมวิธีป รุงอาหารของชาวอีส าน.” สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ.


334

สื่อสูการสรางอัตลักษณที่ปรากฏบนเรือนราง บุญสิริ ชูศรี 54040763*

เมื่อกลาวถึงคําวา “รอยสัก” ผูคนทั่วไปมักจะนึก ถึงรูปภาพ ลวดลาย ตัวหนังสือ ตัวอักษรอักขระ ตัวเลข ฯลฯ ในรูปแบบตาง ๆที่มีความหมายรวมถึง สีสันที่หลากหลายแตกตางกันไปตามความตองการ ของผูที่มาทําการสัก ซึ่งการสักรูปรอยใหปรากฏบน เรื อนร างของบุ คคลนั้ นถื อได ว าเป นวั ฒนธรรมของ มนุษยที่เกิดขึ้นมาชานานดวยจุดมุงหมายที่แตกตาง กันไปในแตละสังคมอาทิเชน ทําการสักดวยความเชื่อ เพื่อใหผลทางดานไสยศาสตรที่จะนํามาซึ่งความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ของรอยสักในการสรางอํานาจ และ ความยํ าเกรงหรื อบ างก็ ทําการสั กขึ้ นเพื่ อพิ ธีกรรม ทางศาสนาหรื อขนบธรรมเนียมประเพณีตามความ นิยมของแตละทองถิ่นโดยมีประเภทของการสักไดแก เพื่อความอยูยงคงกระพัน เมตตามหานิยม ฯลฯหรือ แมกระทั่งการสักในปจจุบันที่ทําการสักจากความชื่น ชอบ เปนตนทั้งนี้ไมวาผูที่ทําการสักจะกระทําดวย จุดมุงหมายใดก็ตามรอยสักยอมแฝงไวซึ่งความหมาย ของสัญลักษณหรืออาจไรซึ่งความหมายแตทวารอย สักยังทําใหเกิดความงามทางดานศิลปะที่ปรากฏบน เรือนรางอีกทั้งยังเปนที่ตองตาตองใจตอผูที่พบเห็น และผูที่มีรอยสักเองอีกดวย รอยสักกับสังคมไทยในสมัยเกา รอยสั กกั บสั งคมไทยในสมั ยเกาสําหรั บประเทศ ไทยในการคนควาหาหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องการสักนั้น เปนไปไดยากเนื่องจากไมมีหลักฐานหรือลายลักษณ อักษรอันใดที่สามารถชี้ใหเห็นถึงเรื่องของการสักได อย างชั ดเจนแต สั นนิ ษฐานว าการสั กยั นต นั้ นมี มา ตั้งแตสมัยสุโขทัยดวยความเชื่อที่วาการสักยันตจะทํา ใหแคลวคลาดอยูยงคงกระพันชาตรีชายไทยในสมัย นั้นจึงนิยมสักยันตกันแทบทุกคนเพราะเปนสมัยที่มี การสูรบอยูตลอดเวลา

รอยสักกับสังคมไทยในปจจุบัน ป จ จุ บั น จะได เ ห็ น ว า เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงใน ระบบเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และการสื่อสารคมนาคม ที่สงผลตอการทําลายในเรื่องของมิติเชิงพื้นที่ และ เวลา เปนเหตุใหเกิดการติดตอสัมพันธกัน เขมขน มากขึ้น ในการหยิบยืมผสมผสานทางวัฒนธรรมที่ เกิดขึ้นอยางซับซอน และหลากหลายนํามาซึ่งการ สงผลกระทบตอจิตสํานึกจึงเกิดการสรางความหมาย ใหม ให กั บ การสร างอั ต ลั กษณ ที่ มาพร อมกั บ การ นําเสนอคานิยมทางวัฒนธรรม แบบแผนชีวิตแบบ ใหมที่เกิดขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทาง สังคม สื่อสูการสรางอัตลักษณบนเรือนราง การรับสื่อทุกชนิดคือวัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับ การให ความหมายโดยเฉพาะการให ความหมาย รวมกันซึ่งถูกปลูกฝงในรูปแบบการศึกษาสมัยใหมมี การสรางคุณคาการใหความหมายผานการกลั่นกรอง ทางสั ง คมและวั ฒ นธรรมในรู ป ของมั ล ติ มี เ ดี ย อินเตอรเน็ตและเผยแพรในรูปแบบวาทกรรมที่มา จากสื่อโฆษณา โทรทัศน วิทยุ สื่อสิ่งพิมพตาง ๆรวม ไปถึงหนังสือและตําราแบบเรียนตาง ๆทั้งหมดนี้เปน ความสั ม พั น ธ ที่ ส ร า งขึ้ น จนเป น ส ว นหนึ่ ง ใน ชีวิตประจําวันนํามาซึ่งอัตลักษณจากรอยสักที่ตนพึง ปรารถนาใหปรากฏอยูบนรางกาย ดังตอไปนี้

*นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรเกษตรสาขาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.


335

1. อัตลักษณจากสื่อบุคคล ซึ่งจะเปนสื่ออยาง หนึ่ งที่ ทํ าให ผู ที่ สั กตั ดสิ นใจสั ก และมี อิ ทธิ พลต อ ความคิ ดอย างมากในการตั ดสิ นใจ ทั้ งนี้ ขึ้ นอยูกั บ กระบวนการทางความคิด ความเชื่อของแตละบุคคล ที่จะสรางอัตลักษณใหปรากฏบนรางกายจากรอยสัก โดยอัตลั กษณ จากรอยสักมีความหลากหลาย และ เลื่อนไหลไปกับบริบทของการมีปฏิสัมพันธระหวาง บุคคลหนึ่ง ๆ ภายในสังคม เชน เพื่อน คนรัก และ ครอบครัว 2. อัตลักษณจากสื่ออินเทอรเน็ตพบวาผูที่สักได เห็นสื่อหรือโฆษณาตาง ๆที่ไมอาจจะปฏิเสธไดถึง วั ฒนธรรมรอยสั กที่ มี เพิ่ มมากขึ้ นจึ งทํ าให เกิดปฏิกิริยาการตอบสนองของสังคมตอผูที่สักซึ่งจะ เห็ นได ว าปจจั ยจากการคิ ดและการสร างสรรค ของ รอยสักที่ปรากฏบนรางกายของผูที่สักคือปจจัยจาก สื่ออี กรู ปแบบหนึ่ งที่ สะท อนให เห็ นถึ งการสรางอัต ลักษณของรอยสักที่ปรากฏบนรางกายหากพิจารณา คุณสมบัติของสื่อหนังสือพิมพ นิตยสาร ภาพยนตร วิ ทยุ โทรทั ศน ที่เกี่ ยวข องกั บการรอยสั กแล วพบว า วัฒนธรรมที่สื่ อสรางขึ้นมานั้นเปนพลังแข็งแกรงใน กระบวนการสร างทางสั งคมที่ มี ส วนช วยสร างอั ต ลักษณทางวัฒนธรรมซึ่งความกาวหนาทางเทคโนโลยี และการติดตอสื่อสารที่ไรพรหมแดน 3. อัตลักษณจากสื่อสิ่งพิมพนิตยสารพบวาซึ่งใน บางกรณีผูที่สักไดหาแบบของลวดลายมาจากที่อื่นมา เปนแบบใหผูสักเนื่องจากตองการลวดลายที่ตนชอบ แตไมสามารถหาไดในหนังสือรูปภาพลายสักตามราน สั ก ทั่ ว ไปเช น รู ป สั ญ ลั ก ษณ ป ระจํ า ครอบครั ว สัญลักษณของกิจการบุคคลที่มีความหมายตอตนเอง เปนตน 4. อัตลักษณจากหนังสือลายสักในรานเปนการรับ จากสื่ออีกรูปแบบหนึ่งเปนสื่อที่ผูสักใหความสําคัญ เปนอันดับแรกเมื่อตัดสินใจสั กเพราะลวดลายสักที่ ปรากฏนั้ นเปรี ยบเสมื อนหั วใจสํ าคั ญในการสร าง แรงจูงใจใหกับผูที่มาสัก และถือเปนสื่อที่สําคัญใน การสรางแรงจูงใจในการสักซึ่งในรานสักทุกรานจะมี หนั งสื อให เลื อกดู ลายสั กที่ แสดงตั วอย างลวดลาย จํ านวนมากมี ความหมายที่ หลากหลายดู โดดเด น

สะดุดตาในการเลือกลวดลายตาง ๆของผูที่ สั ก สวนมากจะขึ้นอยูกับความชอบความตองการและ ความพอใจสวนตัวมีเพียงบางสวนเทานั้นที่ไดรับการ แนะนํ าจากผู สั กในการเลื อกลวดลายตามหนั งสื อ รูปภาพลายสั กของรานสั กซึ่ งจะมี ทั้งงานกราฟฟ ก งานญี่ปุน งานลงเงา ลงสีใหผูที่สักไดเลือกกันตาม ความพอใจซึ่งเปนหนังสือรูปภาพลายสักที่นาแบบมา จากต างประเทศมี การแลกเปลี่ ยนระหว างร านสั ก ดวยกันหรือเปนลวดลายที่ผูสักวาดขึ้นมาเองมีแตผูที่ สักจะนิยมเลือกลวดลายในหนังสือรูปภาพลาย สักของรานสักเปนสวนใหญ แนวคิดการสรางอัตการสรางอัตลักษณบนเรือนราง สามารถจํ าแนกการสั กเป นแนวคิ ด โดยแยก ออกเปนการสักที่มีแนวคิดเดียวกันและการสักที่มี แนวคิดที่แตกตางกันออกไป แบงออกเปน 2 กลุม ใหญ ดังนี้ ดานความเชื่อ การสั ก ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ความเชื่ อ มี ค วาม ประสงคของการสักดวยเหตุผลทางเวทมนตคาถา เพื่อความแข็งแกรงของจิตใจเปนการสักที่มาจาก แรงจูงใจที่เชื่อวาเปนความศักดิ์สิทธิ์ผูที่สักมักจะมี ความเชื่อวาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มองไมเห็นเปนความเชื่อ ทาง ดานไสยศาสตรและสักเพราะความเชื่อในดาน เมตตามหานิยมโดยความเชื่อนั้นสามารถถายทอด ออกมาเปนลวดลายติดตัวซึ่งสามารถปกปองและ คุ ม ครองตนเองอยู ต ล อดเวล าพร อ มทั้ ง ให ความหมายกับรอยสักของตนเองวาเปนเครื่องยึด เหนี่ยวจิตใจเพื่อเตือนสติใหกระทําความดีทําใหมี ความอดทนและอดกลั้นตอการคิดหรือทําความชั่ว เพราะเชื่อวารอยสักจะดลบันดาลสิ่งที่ดีใหกับตน โดยจะเป น การสั ก หรื อ การจํ า อั ก ขระเลขยั น ต ที่ ปรากฏอยูในระบบความเชื่อทางดานไสยศาสตรซึ่ง มีมาชานานแลว


336

ดานสังคม สําหรับการสักเพื่อความประสงคดานสังคม นั้นพบวา จะเปน การสักเพื่อความประสงค ที่เกิด จากสังคมหรือบุคคลรอบขาง โดยมีความประสงค ที่ แตกต างกั น ออกไป เช น เป น การอยู ร ว มกัน ใน สังคมความมีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออกทาง ความคิดการใชชีวิตบ งบอกถึงรสนิยมของตนเอง ตองการเปนที่สนใจของคนอื่นรวมไปถึงการสักเพื่อ เป น การรวมกลุ ม ซึ่ ง จะมี ค วามประสงค อ ย า งใด อย า งหนึ่ ง โดยต อ งมี เ ครื่ อ งหมายหรื อ สั ญ ลั ก ษณ หรือคติที่ใชเปนตัวแทนของกลุมนั้นเพื่อใหสมาชิก ของกลุมไดยึดถือปฏิบัติและเพื่อสรางความเหนียว แนนมั่นคงใหแกความสัมพันธระหวางสมาชิก รูปแบบการสรางอัตลักษณบนเรือนราง วิ วั ฒ นาการในการสั กลวดลายมี มากมายการ พัฒนาเรื่องของสีและวัสดุอุปกรณที่ใชในการสัก ทํา ใหคุณภาพของการสักมีความโดดเดนและสวยงาม มากยิ่งขึ้นแตรอยสักจะเปนมงคลหรือไมนั้น ขึ้นอยู กับสัญลักษณของรูปนั้น ๆและอวัยวะสวนตาง ๆ ของรางกายที่สักซึ่งตําแหนงที่คนนิยมสักกัน คือ แขน แผนหลัง บริเวณหัวไหล ขา ตนคอ และสวนที่ ลับของรางกายซึ่งไมมีใครมองเห็นไดนอกจากคนรัก ที่มีความสัมพันธใกลชิดกับผูที่สักมากที่สุด ดังนั้น รอยสักตาง ๆ สามารถใชเพื่อสื่อความหมาย และอัต ลักษณของผูที่สักได

1. การสักตามความเชื่อ รูปแบบการสักตามมีความเชื่อมาแตโบราณซึ่ง รอยสักตาง ๆ สามารถสื่อไดทั้งความใคร ความเชื่อ ดานจิตวิญญาณ ความรัก เครื่องรางของขลังหรือ เป น เพี ย งแค ก ารสื่ อ ข อ ความอย า งหนึ่ ง เท า นั้ น สามารถแบงออกเปน 4 ประเภท คือ 1.1 สักลวดลาย เปนการสักลวดลายตาง ๆ ดวย หมึกที่มีสวนผสมแตกตางกันไปตามตาราของแตละ อาจารย ห รื อ แต ล ะสํ า นั ก ลวดลายนิ ย มสั ก ที่ สวนมากจะมีความคลายคลึงกันซึ่งอาจจะแตกตาง กันบางที่รายละเอียดของลายนั้น ๆ ดังนี้ 1.1.1 รูปสัตวเปนการสักเนื่องจากความชื่นชอบ เกี่ยวกับสัตวที่มีอานุภาพ มีความดุราย ปราดเปรียว และสงางาม 1.1.2 รูปเทพยดาหรือเทพเจาเปนการสักตาม ความเชื่อในลัทธิศาสนา เชน รอยสักตามความเชื่อใน ศาสนา 1.1.3 รูปยันตเปนการสักที่เปนรูปทรงสี่เหลี่ยม ที่มีตัวอักขระลงคาถาอาคมกํากับ 1.1.4 รูปสักสัญลักษณเปนการสักรูปสัญลักษณที่ ใชในการสื่อความหมาย เชน หยินหยาง 1.1.5 รูปอื่น ๆ เชน ดอกไม หญิงสาว หัวใจ เปนตน 1.2 สักอักขระพบวาอักขระสวนใหญจะสักเปน อักษรขอมหรือที่เรียกวาภาษาบาลีหรือจะสักเปน ภาษาอื่น ๆ การสักและการปลุกเสกเปนพระคาถา 108หรือพระคาถาหัวใจ108สําหรับการสักอักขระ นั้ น มี ค วามประสงค ที่ สํ า คั ญ เพื่ อ ให มี อ านุ ภ าพ ศั กดิ์ สิ ทธิ์ ตามความเชื่ อหรื อเพื่ อให รู สึ กว าตนเอง ปลอดภัยและอยูใกลกับสิ่งนั้น ๆซึ่งอาจจะเปนการ ลงอาคมกํากับเพื่อใหเกิความขลังตามตาราของแต ละอาจารยหรือแตละสํานักที่ยึดถือกันมา คือ 1.2.1 สักเฉพาะอักขระเทานั้น 1.2.2 สักอักขระกํากับรูปภาพเปนชุดเดียวกัน


337

1.3 สักน้ํามัน สวนใหญจะเปนน้ํามันวาน108 ซึ่ง มีผลทางดานเมตตามหาเสนหซึ่งเปนที่นิยมมากใน ปจจุบันเพราะไมเห็นรอยสักเหมือนการสักแบบหมึก เพียง 2-3 วัน รอยสักจะจางหายไป และไมเปน ป ญหาหาต องการลบรอยสั กออกภายหลั งเมื่ อไม ตองการซึ่งทัศนคติของสังคมไทยในบางชนชั้นมักจะ มองดูคนที่มีรอยสักเปนผูมีการศึกษานอยหรือเปน นักเลง และไมเปนที่ยอมรับในสังคมของคนชั้นกลาง และชั้นสูงเปนสาเหตุที่ทาใหผูสนใจการสักหันไปใช วิธีการสักดวยนามันแทนการสักลวดลายดวยหมึก ลวดลายที่ นิ ย มสั ก จะเกี่ ย วกั บ เมตตาค า ขายการ เจรจาประกอบธุรกิจ เชน ยันต สาลิกา ยันตจิ้งจก ยันตเมตตาและอื่น ๆ 1.4 สักตัวเลขสําหรับในการสักลวดลายเปนตัวเลข แบบตาง ๆ นั้นจะมีความหมายแฝงอยูในตัวเลข ทั้งสิ้น เนื่องจากตัวเลขเปนสิ่งที่มนุษยคิดคนขึ้นจึง กลายเปนพื้นฐานความเชื่อที่นาสนใจของตนเอไมวา จะเปนความเชื่อของตัวเลขจีนความเชื่อของตัวเลขอา รบิกความเชื่อของตัวเลขตามหลักศาสนาและความ เชื่อของตัวเลขไทย ซึ่งเปนความเชื่อที่แตกตางกันไป เชน เลข ๙ ของตัวเลขไทยหมายถึง คุณแหงมรรค ๔ ผล ๔ พระนิพพาน ๑ หมายถึง คุณแหงพระเกตุแต เลข 9 ของตัวเลขอารบิกกลับมีความหมายวา ญาณ การหยั่งรู นักบวช การมีอายุยืนและตัวเลข 9 ใน ศาสตร จี นหมายถึ งยั่ งยื นเป นต น สามารถแบ ง ออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1.4.1 สักเฉพาะตัวเลขเทานั้น 1.4.2 สักตัวเลขกากับรูปภาพเปนชุดเดียวกัน 2. การสักตามแบบสมัยใหม เปนการสักโดยใช เครื่ องไฟฟ าเป นการประยุกต การสักแบบยุคโบราณเขากับเทคโนโลยีสมัยใหมซึ่ง ไม ผิ ดกฎเกณฑ ใด ๆเพราะสมั ยโบราณไม ได มี ขอกําหนดในการขึ้นรูปรอยสักวาจะตองเปนการสัก ที่ ใชเข็มทิ่มลงไปบนเนื้อเทานั้นดังนั้นในการสักแบบ เครื่ องไฟฟ าจึ งเป นที่ นิยมในปจจุบันเพราะมีความ สวยงามและมีสีสันดูมีชีวิตชีวามากกวาการสักแบบ

เข็ มซึ่ งเครื่องสั กไฟฟาที่ใชนั้ นมีกระปุกบรรจุสี อยู ดานบนหัวเข็มที่คลายกับการทํางานของเครื่องจักร เย็บผาทําใหสามารถสรางสรรคลวดลายและภาพสัก ที่สวยงามคมชัดไดอยางลงตัวนักสักสามารถเลนสีได ตามใจชอบภาพที่ ออกมาเหมื อนกั บ วาดภาพบน กระดาษ ผูสักจะไมรูสึกเจ็บปวดเหมือนกับการสัก แบบยุคโบราณ ลวดลายตาง ๆไดออกแบบตามความคิดสรางสรรค จินตนาการอารมณความรูสึกของผูสัก หรือของ ผูออกแบบลวดลายรวมไปถึงตลอดจนลวดลายที่ผูสัก ไดนาเขามาหรือจากการลอกเลียนแบบดังนั้นจึงเห็น ไดวาลวดลายสักแตละแบบที่มีตามแบบสมัยใหมนี้มี อยูเปนจานวนมากใหผูสักไดเลือกและเพื่อเปนการ ตอบสนองจามความต อ งการที่ เ ป น ตั ว เลื อ กที่ หลากหลายรูปแบบของผูที่ตองการสักแบงออกเปน 8 ประเภท ดังนี้ 2.1 สไตลเหนือจินตนาการมีลักษณะรูปแบบการ สักที่มี การผสมผสานหลายรูปแบบซึ่ งเปนภาพใน จินตนาการหรือในเทพนิยายจากการศึกษา พบวาผู ที่สักรูปแบบนี้จะชอบสิ่งที่นาอัศจรรยนาคนหาและ เปนสิ่งที่เหลือเชื่ อในอานาจที่ ไม สามารถมองเห็ น ลายที่สักได และยึดติดกับลวดลาย มักมีการศึกษา ลวดลายกอนสักเสมอ 2.2 สไตลลายเสนมีลักษณะรูปแบบการสักที่มี ลักษณะเปนลวดลายเชน เถาวัลย ใบไม หรือลาย กราฟก จากการศึกษาพบวาผูที่สักรูปแบบนี้จะมี ความชอบในอิสระและธรรมชาติมักจะไมยึดติดกับ สิ่งใดสิ่งหนึ่งแตชอบในความงามของธรรมชาติและ ลวดลายไมมีการศึกษาลวดลายกอนสัก 2.3 สไตลความเหมือนจริงมีลักษณะรูปแบบการ สั ก ที่ มี ลั ก ษณะเป น ภาพเหมื อ นลงแสงเงาจาก การศึ ก ษาพบว า ผู ที่ สั ก รู ป แบบนี้ มี ค วามชอบ เนื่องจากเปนภาพเสมือนจริงของสิ่งตาง ๆเป น บุคคลที่ใหความสําคัญกับรายละเอียดรอบตัวและสิ่ง รอบขางแตเปนรอยสักที่ใหความสําคัญกับลายเสน แสง และเงาของลวดลายนั้น ๆ มักจะนําลวดลายสัก ที่ตองการสักมาใหผูสักทําการสักดูกอน


338

2.4 สไตล ญี่ ปุนการสั กรู ปแบบนี้จะมี ลักษณะ รู ป แบบการสั ก เป น ลวดลายที่ บ ง บอกความเป น ตะวันออก เชน ปลาคารฟ มังกร จากการศึกษา พบวา ผูที่สักรูปแบบนี้จะไมชอบสรางความโดดเดน หรือเปนจุดเดนแกใครเนื่องจากการสักลวดลายที่คน นิยมสักสวนใหญเปนรอยสักที่แสดงสัญลักษณกลุม ที่กาลังไดรับความนิยมแสดงใหเห็นวาเปนคนที่ทัน ตอกระแสแฟชั่นและกําลังเปนที่นิยมในขณะนั้น 2.5 สไตล ตัวหนั งสื อซึ่ งการสั กรู ปแบบนี้จะมี ลั ก ษณะของรู ป แบบการสั ก เป น ตั ว อั ก ษรที่ มี ความหมายหรือไมมีความหมายก็ไดบางทีก็อานไมรู เรื่ องจากการศึ กษาพบว าผู ที่สั กสไตล นี้ มีความชื่ น ชอบความหมายของลายสั ก ด ว ยการแสดงทาง ตัวอักษรเปนคนที่เปดเผยและจริงใจใหความสําคัญ กับครอบครัวเพื่อนและคนที่ตนเองรัก 2.6 สไตลนามธรรมในการสักรูปแบบที่มีลักษณะ รู ป แบบการสั กมี ลั กษณะเป น ลวดลายนามธรรม รวมถึงเฉพาะกลุม เชน ฮิปฮอป จากการศึกษาพบวา ผูที่สักสไตลนี้มีความชื่นชอบการอยูรวมกันเปนกลุม ในสังคมชอบการเขาสังคมชอบเปนจุดเดน และ แสดงความชื่ น ชอบของตนเองต อ ผู อื่ น ได อ ย า ง เปดเผยเพื่อบงบอกถึงสิ่งที่ตนเองชอบ 2.7 สไตล พังค การสั กรู ปแบบสไตล พังคจะมี ลักษณะรูปแบบการสักที่ตะไมเนนสีสันของลายสัก สวนใหญจะเปนสีดําสําหรับผูที่สักสไตลนี้มีความชื่น ชอบความลึ กลั บ ชอบในความแปลกแยกไม ช อบ ความวุนวายคนเยอะไมชอบอยูรวมกันเปนกลุม และ ไมสนใจสังคมรอบขางนิยมความเจ็บปวด และชื่น ชอบความแปลกใหม มั ก จะออกแบบลวดลายที่ ตองการสักดวยตนเอง 2.8 สไตล ร็ อคมี ลั กษณะรู ปแบบรอยสั กจะมี ลักษณะใกลเคียงกับสไตลพังคแตจะมีความเหมือน จริงมากกวาผูที่สักรูปแบบนี้จะมีความชื่นชอบความ นาคนหาของลวดลายแตเปนพี่ผูแสดงความชื่นชอบ ไดอย างชั ดเจนแตใหความสนใจกับบุคคลรอบขาง และมั ก จะออกแบบลวดลายด ว ยตนเองแต จ ะ สอบถามความคิดเห็นของผูอื่น

สรุป สื่อ มิไดมีอิทธิพลที่ทรงพลัง และอํานาจตอการทํา การสักเพียงปจจัยเดียวไดอยางฉับพลันทั้งนี้ขึ้นอยูกับ กระบวนการทางความคิด ความเชื่อ ของแตละบุคคล ที่จะสรางอัตลักษณใหปรากฏบนเรือนรางจากรอยสัก โดยอัตลักษณจากรอยสักมีความหลากหลาย และ เลื่อนไหลไปกับบริบทของการมีปฏิสัมพันธระหวาง บุคคลหนึ่ง ๆภายในสังคมนอกจากนี้รอยสักเปนสื่อใน การแถลงการณที่จะประกาศจุดยืนโดยการตอตาน ตอรอง และปฏิเสธการครอบงําของมายาคติจากวาท กรรมเดิมดวยการนิยมรอยสักในเรื่องของความงาม ทางดานศิลปะที่ปรากฏบนรางกายซึ่งถื อเป นกลุ ม วัฒนธรรมยอยหนึ่งที่สะทอนใหเห็นถึงวิถีชีวิตของ กลุมบุคคลที่มีรอยสักในสังคมไทยรวมสมัยแตทว า การนิยมสรางอัตลักษณจากรอยสักทายที่สุดก็มิอาจ หลุดพน และปฏิเสธจากการครอบงําของวาทกรรมนี้ ไดถึงแมจะมีการตอตานปฏิเสธ และตอรองที่จะ สรางอัตลักษณจากรอยสักใหปรากฏอยูบนเรือนราง ของตน แตละบุคคลก็ตาม เอกสารอ้ างอิง บุญฑริกกา กาญจนะ. 2556. การสรางอัต ลั ก ษณ บ นเรื อ นร า งของผู ห ญิ ง ใน ภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทย. เชียงราย : มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พจมาน นิตยใหม. 2550. การสรางอัตลักษณ ที่ ป รา กฎ บน เรื อ นร าง ขอ งต น. เชียงใหม : มหาวิทยาเชียงใหม. พิมพรรณ รัตนวิเชียรผูตองขัง. 2541. ปจจัยที่ เกี่ยวของกับรอยสักของผูตองขัง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.


339

วาทกรรมบทเพลง “เพือ่ ชีวติ ” เพลงเพื่อชีวติ ถือเป็ นหนึ่งในวัฒนธรรมที่ ผู ้ แ ต่ ง ส ร้ างหรื อผลิ ตขึ้ น เพื่ อ ใ ช้ เ ป็ นพื้ นที่ สาธารณะในการสื่ อสารความคิดและอุดมการณ์ ของตนผ่า นบทเพลง โดยได้รั บ อิ ท ธิ พ ลในการ แต่ ง เพลงจากบริ บทแวดล้ อ มทั้ งทางสั ง คม เศรษฐกิ จ และการเมือง ทาให้กระบวนการสร้าง หรื อการผลิ ตของเพลงเพื่ อชี วิต ต้องปรับเปลี่ ยน ตามช่ ว งเวลาต่ า งๆ ด้ว ยเช่ น กัน วาทกรรมหลัก ของเพลงเพื่อชี วิตคือ การเรี ยกร้องประชาธิ ปไตย แบบเต็มใบที่มีความเท่าเทียมและความยุติธรรม ในสัง คม ทั้ง ด้านชนชั้น เชื้ อชาติ เศรษฐกิ จและ ก า ร จั ด ส ร ร ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ บทเพลงเพื่ อ ชี วิ ต เกิ ด จาก ความกดดันทางการเมื องผูแ้ ต่งไม่ได้พิถีพิถนั ใน เรื่ องของท านอง แต่ เ พลงเพื่ อ ชี วิ ต ผู ้แ ต่ ง เน้ น เนื้ อหาในเพลงเป็ นสาคัญ เพื่อสะท้อนชี วิตความ เป็ นอยู่ข องผูค้ นในสั ง คมให้เห็ นถึ ง ปั ญหาทาง การเมื อ ง ปั ญ หาสั ง คม ความรั ก ธรรมะ และ

บันทึกเก็บเรื่ องราวต่างๆ ที่ได้พบเจอและถ่ายทอด อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของตนเองผ่านตัวอักษร เพื่ อสื่ อสารให้อีก ฝ่ ายได้รับรู้ ภาษาในบทเพลง เพื่อชี วิตก็เช่ นเดียวกันเป็ นการสื่ อสารอีกรู ปแบบ หนึ่ งที่มนุ ษย์ใช้ถ่ายทอดความคิ ดในแง่ มุมต่างๆ ของตนเอง ประกอบกับสุ นทรี ยภาพทางอารมณ์ และความละเอี ย ดอ่ อ นของมนุ ษ ย์ ท าให้ม นุ ษ ย์ เรี ยงถ้อยร้ อยความคิดของตนเองผสมผสานกับ ทานอง จังหวะและดนตรี ทาให้เกิ ดความไพเราะ ตลอดจนสื่ ออารมณ์ ความรู้สึกนึ กคิดของผูเ้ ขียน บทเพลงไปยังผูฟ้ ั งเพลงได้อย่างลึกซึ้ ง นอกจาก เพลงจะเป็ นการใช้ภาษาเพื่อสื่ ออารมณ์ความรู้สึก นึกคิดของมนุ ษย์ ยังสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตใน ด้า นต่ างๆ อาทิ ค่า นิ ย ม ความเชื่ อ ประเพณี ข อง มนุษย์ดว้ ย ดังตัวอย่าง เช่น “ราคาข้า วมันไม่ค่อยดี จะให้มีความหวังทางใด ดู ส ดใสเท่ า ลอ็ต เตอรี่ เงิ น ทองแม้ไ ม่ ค่ อ ยจะมี กระเบียดกระเสี ยร กระเสื อกกระสน ขวนขวาย เลขหมายเด็ดๆ ตามโพยตามเคล็ด ตามวัดตามวา

ปรั ช ญา วงดนตรี เพื่ อ ชี วิ ต วงแรกคื อ “วง

เทวดาขอให้ช่วยลูกด้วย”

คาราวาน” และต่ อ มาก็ เ ป็ นต้น แบบให้ ก ับ ผู้ที่

(เพลง เทวดาถ้าจะแย่ วงคาราบาว)

สนใจในแนวเพลงเพื่อชี วิต เพลงเพื่อชี วิตในยุค นั้นมี มากกว่า 200 เพลง เนื้ อหาในบทเพลงคาบ

(สาวิตรี พฤษชีวะ, 2550)

เกี่ยวระหว่างการสะท้อนปั ญหาบ้านเมืองและการ

จากข้อความข้างต้น ทาให้เห็นว่าบทเพลงเพื่อชีวิต

แสดงอุ ดมคติ ใ นแบบสั ง คมนิ ย มเป็ นส่ ว นใหญ่

นั้น นอกจากจะมี การใช้ภาษาสื่ อความหมายได้

(จุลสารประกอบงานลารึ ก 14 ตุลา, 2544) จะเห็น

อย่า งลึ ก ซึ้ งกิ นใจ ยังสะท้อนให้เห็ นวิถี ชีวิตของ

ภาษาได้ว่า เป็ นเครื่ องมื อที่ ม นุ ษ ย์ใ ช้สื่ อสาร จด


340

คนไทยในด้านของความเชื่อเกี่ยวกับ สิ่ งศักดิ์สิทธิ์

ให้สังคมไทยเต็มไปด้วยการแข่งขันและต่อสู้เพื่อ

อีกด้วย

เอาชี วิ ต รอดในสั ง คมที่ ก าลัง ปรั บ เปลี่ ย นไปสู่

ยุควาทกรรมบทเพลงเพือ่ ชีวติ

สังคมแบบทุนนิ ยมอย่างรวดเร็ ว ทาให้เพลงเพื่อ ชีวติ กล่าวถึงการปกครองที่มีความเท่าเทียมและมี

ณัฏฐณิ ชา นันตา ( 2550) ได้แบ่งช่วงของ

ความยุ ติ ธ รรมในสั ง คม โดยมี เ นื้ อ หาทางด้า น

เพลงเพื่อชี วิตตามบริ บททางการเมืองและสังคม

เศรษฐกิ จทั้งที่เกิ ดกับกลุ่ มคนชนชั้นล่ างและชน

ออกเป็ น 4 ช่วง คือ

ชั้นกลาง ด้ว ยการบรรยายสภาพความอยากจน

1.ช่ วงประชาธิปไตยครึ่ งใบ (พ.ศ. 25252530) ด้ านการเมือง ช่ วงเวลาดังกล่าวเป็ นบริ บท ทางก ารเมื องที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การประ สาน ประโยชน์ วาทกรรมที่ ถูกสร้ างขึ้นผ่านบทเพลง ในช่ วงเวลานี้ จึ ง เป็ นการเรี ย กร้ องการปกครอง

และการต่อสู้ในการดารงชี วิตจากคนกลุ่ มต่ างๆ ซึ่ งเพลง“ตายหยังเขีย ด” ของพงษ์เทพ กระโดน ชานาญ สามารถบรรยายสภาพปั ญหาเศรษฐกิ จ ของคนกลุ่มต่างๆในสังคม ณ ช่วงนั้นได้เป็ นอย่าง ดี

แบบประชาธิ ปไตยอย่ า งแท้ จ ริ งที่ เ ป็ นการ

“กรรมกรอยู่ ใ นโรงงาน สู้ ท นกัด ฟั น ก็ ท างาน

ปกครองของประชาชน โดยประชาชนและเพื่ อ

เคร่ งเครี ยด นั ก ศึ ก ษาทั้ งนายทุ น น้ อ ย มี ทุ น

ประชาชน ซึ่ งมี ป ระเด็ น ที่ ก ล่ า วถึ ง ในบทเพลง

กระจ้อ ยก็ นับ วัน แห้ง เหี ย ด ทหารต ารวจทั้ง ครู

อาทิการเลือกตั้งและผูน้ าที่มาจากการเลือกตั้ง การ

ผูน้ ้อย ต้องเดินหน้าจ๋ อยเป็ นบ๋ อยบิลเลียด ชาวนา

เสี ยดสี เรื่ องทหาร นักการเมือง และนโยบายการ

เกาะด้ามเคียวเป็ นมัน กาจอบกาขวานจนมือแตก

ด าเนิ นงานของรั ฐ บาลเป็ นต้ น เช่ น เพลง

ละเอียด”

ประชาธิปไตย (2529) วงคาราบาว

ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากทุ น นิ ย ม การขายแรงงานยัง

“อย่างผูน้ าต้องมาจากการเลื อกตั้ง ใครอยากเป็ น

ประเทศตะวันออก ค่ านิ ยมการผ่อนจ่ าย การตก

บ้างยกมือขึ้น

งาน ปัญหาเด็กสลัมและเด็กเรร่ อน ปั ญหาขอทาน

ให้ ป ระชาชนมี สิ ท ธิ์ ออกเสี ย ง ผูม้ ากุ ม บัง เหี ย น ชีวติ ประชาชน”

ปั ญ หาโสเภณี ฯลฯ ปั ญ หาสั ง คมและปั ญ หา เศรษฐกิ จมีความเชื่ อโยงกัน เช่ นความยากจนจึง ท าให้ ผู้ห ญิ ง จ านวนมากหั น มารั บ อาชี พ ขาย

ด้ านเศรษฐกิจ ช่ วงแรกเกิ ดภาวะวิกฤติเศรษฐกิ จ

บริ การทางเพศจนเกิ ดปั ญหาสัง คม ดังเช่ นเพลง

ตกต่ า ทั่ว โลก ส่ ว นช่ ว งกลางถึ ง ปลายเป็ นช่ ว ง

“นางงานตูก้ ระจก” วงคาราบาว ซึ่ งเรี ยกร้องความ

หลัง่ ไหลเข้ามาแบบเศรษฐกิจแบบทุนนิ ยม ส่ งผล

เท่าเทียมและความยุติธรรมในสังคม


341

“ช้ าเพราะความที่เธอจน นี่ หรื อคนสังคมรังเกี ยจ ช่ ว ยผู ้ช ายระบายความเครี ยด สิ บ ร้ อ ยพัน ยัน

หลายหลาก สิ บร้ อ ยพัน หมื่ น แสนล้ า น มี มื อ

รัฐมนตรี ”

“ปี ศาจ” เข็นฆ่าให้ลม้ หายตายจาก”

การเรี ยกร้ อ งความเท่ า เทียมและความยุ ติ ธ รรม

ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ ประเด็ น ที่ ส าคัญ อี ก

จากนานาชาติ ด้วยการปลุ กกระแสไทยช่ วยไทย

ประเด็น คือการเรี ยกร้องประชาธิ ปไตยในมิติดา้ น

และตี แ ผ่ ก ารเอารั ด เอาเปรี ยบจากต่ า งชาติ จึ ง

ก า ร จั ด ส ร ร ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ โ ด ย เ ฉ พ า ะ

เกิ ด ขึ้ นผ่ า นบทเพลงเพื่ อ ชี วิ ต ของวงคาราบาว

ทรัพยากรธรรมชาติ บทเพลงเพื่อชีวิตจึงเกี่ยวข้อง

เพลง “เมดอินไทยแลนด์”

กับวาทกรรมนี้เป็ นจานวนมาก ทั้งการเสี ยดสี การ

“เมดอินไทยแลนด์ แดนไทยทาเอง จะร้ องราทา เพลงก็ล้ าลึ กลี ลา ฝรั่งแอบชอบใจ แต่คนไทยไม่ เห็นค่า กลัวน้อยหน้าว่า คุณค่านิยมไม่ทนั สมัย” (ณัฏฐณิ ชา นันตา , 2550) 2.

ประชาธิ ปไตยดั ง ว่ า เพื่ อ นร่ วมอุ ด มการณ์

ท างานของรั ฐ บาลและข้า ราชการ รวมทั้ง ร่ ว ม ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ค น ใ น สั ง ค ม หั น ม า อ นุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ดังเช่นเพลง เป่ าบุน้ จิ้นกับคนตัดไม้ (2537) วงคาราบาว “เมื่อคนตัดไม้ได้อานาจป่ า เครื่ องเลื่ อยไฟฟ้ าถึ ง

ช่ วงประชาธิ ป ไตยเต็ ม ใบแบบ

เวลาทางาน เมื่ อคนตัดไม้ไ ด้เป็ นรัฐบาล ผมคิ ด

เศรษฐกิจ เฟื่ องฟู (พ.ศ.2531 - 2539) ด้ า น

ผมค้าน ผมท้วง ผมเถี ยง กระผมไม่ไว้วางใจ ป่ า

การเมือง เพลงเพื่อชี วิตที่ปรากฏในการเมืองช่ วง

ไม้เป็ นสมบัติของส่ วนรวม จึงเป็ นการมิบงั ควร ที่

นั้ น คื อ ก า ร เ รี ย ก ร้ อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง แ บ บ

จะให้ใครถือสิ ทธิ์ แต่เพียงผูเ้ ดียว”

ประชาธิ ปไตยเต็มใบ เป็ นช่ วงพฤษภาทมิฬในปี 2535 โดยบทเพลงจะกล่ า วถึ ง การเรี ยกร้ อ ง

(ณัฏฐณิ ชา นันตา , 2550)

ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ที่ ท วี ค ว า ม รุ น แ ร ง ขึ้ น จ า ก

3. ช่ วงประชาธิ ป ไตยเต็ ม ใบกั บ ภาวะ

ประชาธิ ปไตยครึ่ งใบ เนื่ องจากแปลผันตรงตาม

เศรษฐกิจฟองสบู่แตก (2540 - 2543) ด้านเศรฐกิจ

ความรุ น แรงของสถานการณ์ ท างการเมื อ งใน

ภาวะเศรษฐกิ จในช่ วงเวลาดังกล่าว ทาให้เกิ ดผล

ขณะนั้น เช่ น การใช้ค าว่า “ปี ศาจ” ในการเรี ย ก

กระทบต่อชีวิตความเป็ นอยูข่ องประชาชนเป็ นวง

นายกรัฐมนตรี ในเพลง “หวัง” (2534) ของ พงษ์

กว้าง ความยากจนและการต่อสู้เพื่อการดารงชีวิต

สิ ทธิ์ คัมภีร์

อยูไ่ ด้ในสภาวะฟองสบู่แตก ส่ งผลให้วงการเพลง

“ชั่วชี วิต คิ ดหวัง ตั้ง ใจไว้ม าก ประชาธิ ป ไตยใน ภายภาค เต็ ม ใบที่ เ ต็ ม ร้ อย จึ ง ออกตามหา

เพื่อ ชี วิต ได้เพิ่ ม แนวเพลงที่ เกี่ ย วข้องกับ การให้ กาลังใจในการต่อสู้อีก มิติใหม่ที่เพิ่มขึ้ น คือการ


342

นาเสนอแนวคิ ดและการต่ อสู ้ ข องการเมื องภาค

“เมื่อสมภารเซ้งโบสถ์ให้กบั เจ๊ก ชื่ อว่าเถ้าแก่เสก

ประชาชน โดยเฉพาะชนชั้นล่ า งที่ ถู ก เอารั ดเอา

เจ้าสัวเมืองสิ งค์ ถูกกฎหมายชอบธรรมมันก็จริ ง

เปรี ยบ สาเหตุหลักเกิดจากการรวมตัวเรี ยกร้องขอ

แต่สิ่งที่ไม่เหลือคือความศรัธา….ศรัธา…”

ความเป็ นธรรมและขอให้รัฐบาลแก้ไขปั ญหาของ กลุ่มสมัชชาคนจนตั้งแต่ปี 2528 บทเพลงเพื่อชีวิต ในช่ ว งนั้น จึ ง กล่ า วถึ ง สภาพปั ญ หาสั ง คมและ เศรษฐกิจ รวมทั้งข้อเสนอแนะในการแก้ไขปั ญหา ด้วยแนวคิ ดชาติ นิย มและเศรษฐกิ จพอเพี ย ง ดั่ง

ปั จจุ บ ั น ยุ ค สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นไปเหตุ ก ารณ์ ท าง การเมืองได้ลดความรุ นแรงลง เพลงเพื่อชี วิตจึงมี การปรั บ เปลี่ ย นเนื้ อ หาให้มี ค วามนุ่ ม นวล แนว เพลงหลากหลายมากยิง่ ขึ้น

เช่นเพลง “จันทร์ฉาย” (2540) วงคาราบาว

(ณัฏฐณิ ชา นันตา , 2550)

“พึ่งตัวเองยังดี ก ว่า สมัชชาของเราคนจน ย่าบน

สรุ ป

หนทางยางไกล มุ่งไปล่ะไม่เคยพร่ าบ่น รวมพลัง

เพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็ นแค่กระบอกเสี ยง

อี ส านรั ก ถิ่ น รั ก ผืนแผ่นดิ นแห้ง แล้งดิ้ นรน ทวง

ให้ ก ั บ ประชาชนหรื อพื้ น ที่ ส าธารณะในการ

ผูแ้ ทนให้กลับไปแก้ไข ให้พระจันทร์ เฉิ ดฉายรับรู้

สื่ อสารความคิ ด และอุ ด มการณ์ เ ท่ า นั้ น แต่

จากเบื้องบน” (ณัฏฐณิ ชา นันตา , 2550) 4. ช่ ว ง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย เ ต็ ม ใ บ แ บ บ เศรษฐกิจประชานนิยม (2544 – 2550) เพลงเพื่อ ชี วิ ต ทางการเมื อ งในช่ ว งนี้ เป็ นการเรี ยกร้ อ ง ประชาธิ ป ไตยที่ มี ค วามเป็ นธรรมและความ ถูกต้อง อันเกิ ดจากแนวทางการบริ หารงานแบบ ทัก ษิ โณมิ ก ส์ ที่ ใ นช่ วงหลัง พบหลัก ฐานว่า เป็ น แนวทางซึ้ งเอื้อประโยชน์ต่อตนเองและพวกพ้อง ศิลปิ นเพลงเพื่อชี วิตจึงแต่งบทเพลงที่เกี่ยวข้องจึง มีเนื้ อหาในการตี แผ่ผลกระทบของนโยบายและ ต่อต้าน ดัง่ เช่ น เพลง “สมภารเซ้งโบสถ์” (2549) วงคาราบาว

เปรี ยบเสมื อ นจดหมายเหตุ ที่ ค อยจดบั น ทึ ก เรื่ องราว ประวัติสาสตร์ ทางการเมือง สังคมและ เศรษฐกิ จ ในเหตุ ก ารณ์ ส าคัญ ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ นใน ช่วงเวลาที่ผ่านมาได้เป็ นอย่างดี เนื้ อหาของเพลง เพื่ อ ชี วิ ต ในแต่ ร ะยุค ยัง สามารถบอกได้ถึ ง การ ดารงชี วิตความเป็ นอยู่ของคนในห้วงเวลาที่ผ่าน มาได้อย่างลึกซึ้ ง เมื่อไหร่ ที่เราได้เปิ ดบทเพลงนั้น ขึ้นมา เราก็ยงั คงจะได้รับกลิ่นไอของอดีตที่ยงั คง หอมอบอวนอยูใ่ นบทเพลง ดนตรี ที่กาลังบรรเลง และเสี ยงคนกาลังขับขาน บางบทเพลงก็สะท้อน ให้ เ ห็ น ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ความวุ่ น วาย บ้า งก็ แ สดงถึ ง ความหวาดกลัว ความสุ ขทุกข์ ความรักชาติและ ความรู้สึกต่างๆอีกมากมายที่ผแู้ ต่งต้องการจะสื่ อ ออกมาในขณะที่กาลังบรรจงคัดสรรคา เรี ยบเรี ยง


343

ถ้ อ ยร้ อ ยค าออกมาเป็ นภาษากวี กลั่ น กลอง ความรู ้ สึกของเหตุการณ์ ที่ผแู ้ ต่งได้พบเจอออกมา

บรรณานุกรรม

เป็ นบทเพลง เพื่ อที่ จะสื่ อสารให้ผูฟ้ ั ง ได้รับรู้ ถึ ง เหตุ การณ์ และความรู ้ สึกที่ผูแ้ ต่งกาลังรู ้ สึกอยู่ใน

ณัฏฐณิ ชา นันตา . 2550. “วาทกรรมเพลง

ขณะนั้น บทเพลงเพื่อชีวติ เป็ นเพลงที่ฟังง่ายเข้าใจ

เพื่อชีวติ ในบริ บทการเมืองไทย”. วิทยานิพนธ์

ง่ายไม่สับซ้อนเนื้อหาตรงไปตรงมา ทาให้รู้สึกว่า

หลักสู ตรปริ ญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะ

บทเพลงเพื่อชีวิตเป็ นบทเพลงที่จริ งใจ มีกลิ่นของ

รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความหนักแน่นอยูใ่ นบทเพลง บทเพลงเพื่อชีวิตมี การน าเส นอความจริ งผ่ า นบทเพล งอย่ า ง ตรงไปตรงมา แม้สิ่งเหล่ านั้นจะผ่านมาเนิ นนาน แต่สิ่งที่อยูใ่ นบทเพลงก็ยงั คงอยู่สืบไป จะเห็นได้ ว่าวาทกรรมต่างๆที่ผแู ้ ต่งได้สื่อผ่านบทเพลงเพื่อ

สาวิตรี พฤษชีวะ. 2550. “การศึกษา วิเคราะห์บทเพลงเพื่อชีวิตของวงคาราบาว”. วิทยานิพนธ์บณั ฑิตปรัชญาศิลปะศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ชี วิ ต นั้ นล้ ว น แล้ ว มี แ ต่ สิ่ ง ที่ เกิ ดขึ้ นจริ งทั้ ง

เชาว์วจั น์ พาณิ ชย์เสรี วศิ ิษฐ์ . 2552. “การ

เหตุ ก ารณ์ ที่ ห อมหวานและเหตุ ก ารณ์ อ ัน แสน

สื่ อสารทางการเมืองผ่านบทเพลงของยืนยง โอภา

เจ็บปวดที่จะทาให้เวลาที่เราเปิ ดฟั งมันเมื่อใดจะ

กุล และวงคาราบาวในช่วงปี พ.ศ. 2524-2552.

ยังคงรู้สึกเหมือนได้ หวนย้อนวันวานกลับไปใน

ดุษฎีนิพนธ์ หลักสู ตรปรัชยาดุษฎีบณั ฑิต(สื่ อ

อดี ตอยู่ใ นจุ ดที่ เคยผ่า นพบมาแล้ว บทเพลงเพื่อ

การเมือง) วิทยาลัยสื่ อสารการเมือง มหาวทยาลัย

ชีวติ ไม่ได้เป็ นแค่เพียงกล่องเก็บความทรงจาเพียง

เกริ ก

เท่านั้น แต่ยงั สามารถสร้ างจิ ตสานึ กและค่านิ ยม

จุลสารประกอบงานราลึก 25 ปี 14 ตุ ลา

ในสังคม ในยามที่บา้ นเมืองมีความแตกแยกเพลง

รวบรวมและจัดทาโดยกลุ่ ม ศิลปวัฒนธรรมเพื่อ

เพื่ อ ชี วิ ต ก็ ย ัง เป็ นสื่ อกลางในการสร้ า งความ

ชีวติ ใช้เป็ นเอกสารประกอบการเสวนา “เส้นทาง

ปรองดอง เพลงเพื่อชี วิตเป็ นเพลงที่เอาเรื่ องราว

เพลงเพื่อชีวติ ” ในงานราลึก 25 ปี 14 ตุลา .2544

ชี วิตของคนและสังคมมาเล่าผ่านบทกวีที่เติมแต่ง ด้วยทานองอันหนักแน่ นเหตุน้ ีจึงได้ชื่อว่า “เพลง เพื่อชีวติ ”


344

TBCSD นาเกษตรกรไทย สู่…การพัฒนาอย่างยั่งยืน

ประเทศจะพัฒนาได้ต้องเริ่มต้นจากการอยู่ดีมีสุขของประชาชน ทั้งในเรื่องของความต้องการพื้นฐาน ระบบ สาธารณูปโภค การส่งเสริมสุขภาพการศึกษา และความเป็นอยู่ในชีวิตประจาวัน ซึ่งการตอบสนองความต้องการเหล่านี้โดย ภาครัฐอาจกระทาได้ไม่ทั่วถึง เนื่องด้วยปัจจัยต่างๆ ด้วยเหตุนี้เององค์กรภาคธุรกิจซึ่งเล็งเห็นถึงความสาคัญของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะการพึ่งพาตนเอง ให้มีทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้หาเลี้ยงตน อีกทั้งการมีสุขภาพ ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ เพื่อที่จะสามารถประกอบกิจกรรมต่างๆ อันก่อประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติได้ ซึ่งรวมความไปถึงการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการดูแลสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม เพื่อคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของท้องถิ่น สมาชิกองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนจึงได้ริเริ่มกิจกรรมและโครงการ เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชน และพัฒนาองค์ความรู้ที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต อันจะทาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนและองค์กรภาคธุรกิจ เติมเต็มความต้องการพื้นฐานของชุมชน และสามารถต่อ ยอดในการเพิ่มศักยภาพด้านอื่นๆ ต่อไปได้

(เรียบเรียง : นายภิรายุ เจียมศุภกิตต์ รหัสนักศึกษา 54040777)


345

องค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Thailand Business Council for Sustainable Development : TBCSD) ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2536 โดยเกิดจากการรวมตัวของกลุ่มนักธุรกิจชั้นนา โดยมีคุณอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธานองค์กรฯ โดยมีเป้าหมายในการเสริมสร้างจิตสานึกให้องค์กรภาคธรุกิจ ดาเนินควบคู่ไปกับ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน และแสดงบทบาทความรับ ผิดชอบต่อสังคม โดยมีสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทยทาหน้าที่เป็น สานักงานเลขานุการองค์กรฯ ในปัจจุบันมีสมาชิกซึ่งเป็นองค์กรธุรกิจชั้นนาครอบคลุมทุกกลุ่ม ธุรกิจของไทย การก่อตั้ง TBCSD 1. ส่งเสริมแนวคิด “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ในกลุ่มผู้นาธุรกิจ 2. ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเข้าไปมีบทบาทในการกาหนดนโยบายด้าน สิ่งแวดล้อมอันจะนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 3. ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเข้าไปมีบทบาทในการป้องกันและแก้ปัญหาสิง่ แวดล้อมของประเทศ 4. เสริมสร้างจิตสานึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมให้แก่องค์กรในภาคธุรกิจ โดยเน้นการให้สนับสนุนความคิดริเริ่มที่มุ่งปรับปรุง คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ ริเริ่มสร้างสรรค์ การดาเนินงานของ TBCSD มุ่งมั่นสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมบนแนวความคิด ของ “การดาเนินธุรกิจ จาเป็นต้องมีการจัดการที่ดีควบคู่ไปกับการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม” โดยเริ่ม จากการพัฒนาตนเองเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีในการบริหารจัดการทั้งในด้านการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต อาทิ การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวด การส่งเสริมสินค้าและบริการเชิงนิเวศ การใช้มาตรการอนุรักษ์พลังงาน การ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดการใช้ทรัพยากร ลดการเกิดของเสียและลดการผลาญทาลายระบบนิเวศ ตลอดจนการสร้าง ศักยภาพทางความคิดให้แก่พนักงาน ผ่านการดาเนินงานในโครงการและกิจกรรมในหลายรูปแบบ รวมความถึงการรับผิดชอบ ต่อสังคม โดยส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในระดับชุมชน ท้องถิ่นและพัฒนาศักยภาพเยาวชน เพื่อสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่และสร้าง สังคมไทยที่มีความเข็มแข็งอย่างยั่งยืนต่อไป


346

โครงการขององค์กรธุรกิจเพื่อพัฒนาการเกษตร โครงการลุฟฟาล่า จัดตั้งโดย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน)ร่วมกับสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสาอาง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นนาความรู้เรื่องเครื่องสาอางสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ในการ สร้างงานและรายได้อันจะก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชุมชนมาบตาพุด จ.ระยอง โครงการปลกูรอยยิ้มกับกระดาษจากคันนา ดาเนินงานโดย บริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ (1991) จากัด (มหาชน) เป็นการ สร้างบทบาทสาคัญให้แก่คันนา ซึ่งปกติไม่ถูกใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ ให้กลายเป็นแหล่งสร้างงาน เพิ่มรายได้เสริมให้แก่ ครอบครัวเกษตรกรกว่า 1 ล้านครอบครัวซึ่งโครงการดังกล่าว ทาให้บริษัทฯ ได้รับ รางวัลAsianCSR Awards ในปี 2554 ใน ฐานะองค์กรที่ช่วยขจัดความยากจนในเอเชีย ในขณะที่ บริษัท วีนิไทย จากัด (มหาชน) มีการดาเนินโครงการ เพื่อพัฒนาและสร้างอาชีพให้กับชุมชน ได้แก่ โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพชุมชน กลุ่มแม่บ้านชุมชนมาบข่า-มาบในเทศบาลเมืองมาบตาพุด โดยส่งเสริมการทาดอกไม้ ประดิษฐ์จากผ้าใยบัว เพื่อทาเป็นพวงหรีด โดยโครงการเหล่านี้ นอกจากจะสร้างอาชีพให้ชุมชนแล้ว ยังเป็นการลดปริมาณขยะ ด้วยการนากลับมาใช้ใหม่ (Reuse) อันเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมอีกทางหนึ่งด้วย และจากแนวคิดของการ “ร่วมอยู่…ร่วมเจริญ” ของกลุ่มมิตรผล ก่อให้เกิดโครงการต่าง ๆ เพื่อให้ชาวไร่อ้อยมีรายได้ และผลกาไรที่ดีขึ้น เช่นโครงการหมู่บ้านเพิ่มผลผลิต ริเริ่มตั้งแต่ปี 2547 ที่ส่งเสริมให้เกษตรกรนาความรู้เกี่ยวกับการจัดการไร่ อ้อยอย่างครบวงจร ผ่านการเรียนรู้เกี่ยวกับการไถ่กลบอินทรียวัตถุ (ซากอ้อย) เพื่อปรับปรุงคุณภาพดิน ส่งเสริมการสร้างบ่อ เก็บกักน้าไว้ใช้ในยามแล้งและใช้ระบบหยด/น้าฝอยเพื่อประหยัดน้า โดยหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าวจะเป็นศูนย์กลาง เรียนรู้ให้แก่ชุมชนอื่น ๆ ซึ่งปัจจุบันขยายผลได้มากกว่า 3,738 ราย ใน 196 หมู่บ้าน ครอบคลุมพื้นที่ 95,567 ไร่ นอกจากนี้ ยังประสานความร่วมมือกับหอการค้าไทย ในโครงการ 1 บริษัท 1 ชุมชน โดยคัดเลือกชุมชนเกษตรกรรมในเขตส่งเสริมการ ปลูกอ้อย ภายใต้โครงการหมู่บ้านเพิ่มผลผลิตของโรงงานน้าตาลใน จ.ชัยภูมิ ขอนแก่น และกาฬสินธุ์ เป็นชุมชนนาร่อง แล้ว สนับสนุนให้ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่นรวมถึงจัดการระบบชลประทานเพื่อเพิ่มผลผลิตส่งเสริมการเลี้ยงปลา ปลูกผัก สวนครัวและไม้ผลริมขอบสระพักน้าและอบรมเรื่องการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายของครัวเรือน จนทาให้ชาวไร่อ้อยในพื้นที่ กว่า 3,700 ราย สามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าของรายได้เดิม


347

ผลการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้ดาเนินโครงการการส่งเสริมการปลูก และขยายผลการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก โดย บริษัทปตท. จากัด (มหาชน) เพื่อการอนุรักษ์ดิน และน้าในพื้นที่ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ไทย-สหภาพพม่า ตั้งแต่ปี 2539 และมุ่งขยายผลไปยังพื้นที่ ต่างๆ ด้วยการจัดประกวดประเภทการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้า และประเภทผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝก ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2549-ปัจจุบัน อีกทั้งร่วมสร้างสวนสมุนไพรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารจ.ระยอง ให้เป็นแหล่ง รวบรวมพันธุ์สมุนไพรมากกว่า 20,000 ต้น หรือกว่า 260 ชนิด โดยจัดกลุ่มจาแนกตามสรรพคุณการรักษาตามคัมภีร์ยาไทย โบราณ 20 กลุ่มอาการไว้อย่างสวยงามและเปิดให้บุคคลทั่วไปได้เข้าเยี่ยมชมโดยมีมัคคุเทศก์บรรยายตลอดเส้นทาง อีกทั้งยัง ร่วมกับชุมชนและเทศบาลเมืองมาบตาพุด และเทศบาลเมืองบ้านฉาง จัดกิจกรรม โครงการระยองเมืองสีเขียว โดยปลูกต้นไม้ ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน และโรงงานของกลุ่ม ปตท. เพื่อร่วมกันเพิ่มพื้นที่สีเขียวในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และ ลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการประกอบอุตสาหกรรมในพื้นที่

ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้เกษตรกรลดการเผาไร่อ้อยในการเก็บเกี่ยว โดยจัดทาคู่มือ “แนวทางลดการเผาในไร่อ้อย”เพื่อ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับเกษตรกรไร่อ้อยในทุกภูมิภาค - ร่วมกับอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร และสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย ดาเนินโครงการอุทยานฯ สีเขียวด้วยพระบารมี เพื่อส่งเสริมการปลูกต้นไม้ในแนวทางใหม่ที่มีการบารุงรักษา ต้นไม้ภายหลังการปลูกอย่างบูรณาการต้นไม้ที่ปลูกจึงสามารถเอื้อประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน การปรับปรุงพื้นที่ ของ ศูนย์ราชการุณย์สภากาชาดไทย เพื่อรองรับการเข้ามาใช้ประโยชน์ของกลุ่มคนที่หลากหลาย และทาการเปิดพื้นที่ ชายหาดเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และมีสวนไม้มงคล สวนสมุนไพรเพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาเรียนรู้ด้านระบบนิเวศและ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยยึดหลักการบริหารจัดการแบบ Eco-efficiency เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศูนย์สุขภาพสาหรับบุคคลทั่วไปและผู้สูงอายุ และศูนย์ฝึกอบรมของหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน การพัฒนาโรงไฟฟ้าชุมชนในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อแก้ปัญหาที่ระบบสายส่งกระแสไฟฟ้าไม่สามารถเข้าถึง โดย ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านพลังงานทางเลือกให้แก่ชุมชน และยังสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและดูแล รักษา ตลอดจนบริหารจัดการในรูปแบบกลุ่มหรือสหกรณ์ อันจะส่งผลให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป


348

บทส่งท้าย

จากการดาเนินกิจกรรมและโครงการต่ าง ๆ ของ TBCSE แสดงให้เห็นว่าองค์กรภาคธุรกิจ ไม่ได้มุ่งหวังเพียงผลกาไร แต่ยังเล็งเห็นถึงความสาคัญของการพัฒนาเกษตรกรไทย ให้มีการพัฒนา อย่างยั่งยืน โดยสามารถพึ่งพาตนเองได้ และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและสังคมใน ด้านต่าง ๆ ด้วยความใส่ใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในระดับชุมชนซึ่งถือเป็นหน่วยที่ เล็กที่สุดและเป็นกาลังสาคัญที่จะขับเคลื่อนให้ ประเทศพัฒนาได้อย่างมีศักยภาพทัดเทียมนานา ประเทศได้ต่อไป

เอกสารอ้างอิง องค์กรธุรกิจเพือ่ การพัฒนาอย่างยั่งยืน. 2554. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.tei.or.th/tbcsd (25 พฤศจิกายน 2557) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมออนไลน์. 2556. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://library.dip.go.th/Industrial%20Innovation/www/innonew0-01.html (25ตุลาคม 2556)


349

วัฒนธรรมแฟนบอลไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน บทนา ในยุคราชสานัก อัง กฤษ ชนชั้นสูง จะเป็น กลุ่มที่นิยมเล่นกีฬาฟุตบอล จากนั้นจึงเริ่มถ่ายเท มาสู่ก ลุ่ม ชนชั้นกลางในยุคราชส านัก สู่ส ามั ญ ชน และมามีบทบาทมากที่สุดในยุคอุ ตสาหกรรมการ สร้างผู้เล่นและผู้ชมซึ่ง ชนชั้นที่มี ศักยภาพในการ ครอบครองและแปลงรูป ทุนกลายเป็นชนชั้นที่ มี อานาจเหนือกว่าในการเล่นและเชียร์กีฬาประเภท นี้ สาหรับแฟนบอลไทยนั้น เพิ่ ง จะปรากฏ ชัดเจนขึ้นมาในช่วงปี พ.ศ.2550 ทั้ งๆ ที่ ไทยลีก ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2539 โดยช่วงเริ่มต้นก่อตั้งไทยลีก แฟนบอล 3 สโมสร คือ เมืองทองฯ ชลบุรีฯ และ ท่าเรือฯ เป็นสโมสรที่มีแฟนบอลจานวนมากและมี ลั ก ษณะเฉพาะตั ว ของแต่ ล ะสโมสรที่ ค่ อ นข้ า ง ชัดเจน มีลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมแฟนในแต่ ละสโมสรที่ต่างกันไป แม้กระทั่งสโมสรเดียวกันก็ เริ่ม ที่ จ ะมี แฟนบอลหลายๆ กลุ่ม แตกแขนงแยก ย่อยออกมาอย่า งเช่นแฟนเมื อ งทองฯที่ เ ริ่ม จาก แฟนกลุ่ม “อุ ลตร้าเมืองทอง” แต่ต่อมาก็มี กลุ่ม “N-zone” ปรากฏขึ้นมาแฟนชลบุรีฯ ที่ มี แฟน บอลหลายกลุ่มเช่น กลุ่ม “The Sh@rk Power” และกลุ่ม “ฉลามกรุง” หรือแฟนท่าเรือฯ ที่มีกลุ่ม “โซนดี” ที่มีลักษณะต่างออกไปจากแฟนท่าเรือฯ กลุ่ ม อื่ น ๆ ปรากฏขึ้ น มา แฟนบอลแต่ ล ะกลุ่ ม เหล่านี้ล้วนแต่มีลักษณะที่แตกต่างกันไป (ทั้งต่าง สโมสรและกระทั่ง ในสโมสรเดียวกั น) ทั้ง ในด้าน การแสดงออกในสนาม ธรรมเนียมปฏิบัติ เ พลง เชียร์ที่ใช้ ความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม หรือมุมมองทีม่ ี ต่อสโมสรการปรากฏขึ้นมาของกลุ่มแฟนต่างๆ นี้ เป็นเครื่องชี้ให้เ ห็นว่าการเป็นแฟนบอลนั้นไม่ ใช่ กิจกรรมที่ตายตัวแต่มีความหลากหลายของความ เป็นแฟนที่ ไม่จาเป็นจะต้องขึ้นอยู่กับสโมสรเพียง ด้ า นเดี ย ว ซึ่ ง ขึ้ น อยู่ กั บ ตั ว แฟนเองด้ ว ยจาก ปรากฏการณ์ดังกล่าวเห็นว่าความหลากหลายของ กลุ่มแฟนนี้เกิดขึ้น

วัฒนธรรมแฟนบอลไทย ฟุตบอลไทยนั้นมีการสนับสนุนของรัฐบาล รวมทั้งแฟนบอลทั้งหลายที่ให้ความร่วมมือในการ ร่ ว มกิ จ กรรมการเผยแพร่ วั ฒ นธรรมฟุ ต บอลที่ เกิ ด ขึ้ น ในเมื อ งไทยรวมถึ ง ใช้ ก ลยุ ท ธ์ ท างด้ า น สื่อมวลชนในแบบต่างๆ ส่ง ผลให้พฤติก รรมของ แฟนบอลเปลี่ย นไปในทางที่ ดี ท าให้วั ฒ นธรรม ฟุตบอลไทยสามารถก้าวสู่สากลได้ในอีกไม่ช้า โดย มีปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. การถ่ายทอดสดผ่านฟรีทีวี นับตั้งแต่ สถานีโทรทั ศน์ในประเทศไทย เริ่มมีการถ่ายทอดการแข่งขันฟุตบอลโลกเป็นครั้ง แรกเมื่ อ พ.ศ. 2509 ความสนใจในฟุ ต บอล ต่างประเทศก็ ได้ก ลายมาเป็นกระแสความนิย ม หลักในสังคมไทยเรือ่ ยมา โดยเฉพาะผ่านการรับชม ทางโทรทัศน์แต่ในช่วงไม่กี่ ปีม านี้ โดยเฉพาะครึ่ง หลังของปี พ.ศ. 2552 การแข่งขันฟุตบอลสโมสร ไทยเริ่มได้รับ ความนิยมมากขึ้นอย่างรวดเร็วจาก ฤดู ก าลแข่ ง ขั น 2551 ซึ่ ง มี เ พี ย งบางสโมสร อย่ า งเช่ น ชลบุ รี ฯ หรื อ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค (ไฟฟ้า-อยุธยา) เท่านั้นที่ มี ผู้ชมจานวนอยู่ในหลัก พันคน ความเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดเกิดขึ้น ระหว่างฤดูกาล 2552 ที่ในช่วงต้นฤดูกาล (มีนาคม - มิถุนายน) การแข่งขันระดับไทยพรีเมียร์ลีกยังมี ผู้ช มเพี ย งเฉลี่ ยนั ด ละ 1,936 คน ขณะที่ ป ลาย ฤดูก าล (กั นยายน - ตุล าคม) ยอดผู้ชมพุ่ง สูง ขึ้น เป็นเฉลี่ยนัดละ 4,904 คนคิดเป็นจานวนผู้เข้าชม ตลอดทั้ ง ฤดู ก าลประมาณ 984,000 คนซึ่ ง ใน ปัจจุบันประเทศไทยยกระดับฟุตบอลให้ขึ้นมาเป็น กีฬาชั้นนาของประเทศไปเรียบร้อย แน่นอน ย่อมมี ฐานแฟนบอลที่สูงตามไปด้วยจากหน้ามือเป็นหลัง มือ จนการชมฟุตบอลไม่ได้เป็นการชมฟุตบอลอีก ต่อไป เนื่องจากมีก ารรวมกลุ่มของแฟนบอลของ ทีมต่างๆ จับกลุ่มอยู่กันเป็นครอบครัว พี่น้องมีการ ติดต่อสื่อสารกันทางโลกออนไลน์เพื่อเป็นการสร้าง ศรัท ธาในกลุ่ ม กองเชี ยร์กั นเอง ฉะนั้น การเชีย ร์ ฟุตบอลไทยในปัจจุบันจึงมีความเข้มข้นและดุเดือด ที่ไม่แพ้ต่างประเทศ


350

(ภาพที่ 1 การถ่ายทอดสดผ่านฟรีทีวี) 2. การทากิจกรรมเชียร์ อันที่จริง”แฟนคลับ”ของฟุตบอลไทยนั้น เดิ ม มี ม าก่ อ นบ้ า งแล้ ว แต่ ว่ า การด าเนิ น ของ กิจกรรมแฟนบอลเป็นการดาเนินการจากตัวสโมสร โดยตรงและไม่ได้มีการดาเนินการต่อเนื่องหรือมี บทบาทสาคัญเหมือนอย่างที่แฟนบอลดาเนินการ กันเอง จึงไม่สามารถสร้างศรัทธาในแฟนบอลได้ใน ขณะนั้น ในปี แ รกๆที่ ”ไทยพรี เ มี ย ร์ ลี ก ” ก าเนิ ด ขึ้นมานั้น ยัง ไม่ มี ก ารสนับ สนุนในส่ว นของแฟน บอลอย่างเต็ม ที่จึงยังไม่ เป็นที่ นิยมของแฟนบอล ชาวไทย ไม่ มี ก ารโปรโมตเท่ าที่ ควร ไม่ มี ก ารพูด ปากต่อปากของแฟนบอล จะมีเ พียงโฆษณาสั้นๆ และการถ่ายทอดทางฟรีที วีช่อ งที่คนไม่ ค่อยนิยม เท่านั้น การมี ผู้ ช มจ านวนมากที่ ติ ด ตามอย่ า ง ต่อเนื่องก็ ยัง ไม่ ส ามารถเป็นเครื่องยืนยันว่าแฟน บอลมีส่วนร่วมในการกาเนิดขึ้นมาของวัฒนธรรม แฟนบอลไทยได้ ประเด็นดังกล่าวเกี่ยวข้องอยู่กับ การพิจ ารณาวัฒ นธรรมแฟนบอลไทยในฐานะที่ เป็นวัฒ นธรรมมวลชน ซึ่ง ข้อ ถกเถียงส าคัญ ของ การศึ ก ษาวัฒ นธรรมมวลชนอยู่ ที่ ว่า วั ฒ นธรรม มวลชนนั้นเป็นวัฒนธรรมของมวลชนอย่างที่พวก เขาต้องการจริงๆ หรือว่ามวลชนนั้นเป็นเพียงเหยื่อ ภาพที่ 2 ภาพกิจกรรมการเชียร์) ที่ ถู ก ล่ อลวงให้ เ ข้า ใจว่า มี เ สรี ภ าพไปเองเท่ า นั้ น ปรากฏการณ์ที่ทาให้ผู้เขียนเห็นว่าแฟนบอลมีส่วน ร่วมในการเกิดขึ้นมาของวัฒนธรรม กิจกรรมที่แฟนบอลไทยทาร่วมกันในวัน แข่งขันนั้นไม่ใช่แค่การเข้าชมในสนาม แต่พวกเขา มีกิจกรรมนอกสนามที่ท าร่วมกันเป็นจานวนมาก

ซึ่ ง กิ จ กรรมต่ า งๆ ในวั น แข่ ง ขั น นี้ เ ป็ น เสมื อ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการเกิ ด ขึ้ น มาของชุ มชนแฟน โดยทั่วไปแล้วการแข่งขันฟุตบอลระบบลีกจะมีการ แข่ง ขัน 2 แบบคือนัดเหย้าซึ่ง แข่ง ที่ส นามประจ า ของแต่ละสโมสร และนัดเยือนซึ่งเป็นการเดินทาง ไปแข่งขันที่สนามของฝ่ายตรงข้าม โดยเฉลี่ยแล้ว ในช่วงฤดูกาลแข่งขันปกติจะมีนัดเหย้าประมาณ 2 ครั้ ง และนั ด เยื อ นอี ก ประมาณ 2 ครั้ ง ต่ อ เดื อ น ส่วนมากจะเป็นวันเสาร์หรืออาทิ ตย์ อย่างที่ มีวลี อธิบายถึง ความรู้สึก ของแฟนบอลซึ่งเฝ้ารอให้วัน แข่งขันมาถึงว่า “When Saturday comes” ด้วยเหตุผ ลเรื่องการเดินทางท าให้แฟน บอลส่ วนใหญ่เ ลื อกชมการแข่ง ขั นนั ดเหย้ าเป็ น หลักการแข่งขันนัดเหย้าจึงเป็นกิจกรรมหลักที่แฟน บอลท าร่ ว มกั น ในวั น แข่ ง ขั น มากที่ สุ ด ตา ม ความหมายของนัดเหย้าในภาษาอังกฤษที่ใช้คาว่า home ซึ่งหมายถึงบ้าน แม้ว่าการแข่งขันฟุตบอล แต่ ละครั้ง กิ นเวลาตั้ง แต่ เริ่ม จนจบประมาณ 2 ชั่วโมง แต่สาหรับแฟนบอลส่วนใหญ่ แล้วพวกเขา ใช้ เ วลาในการท ากิ จ กรรมในฐานะแฟนบอล มากกว่านั้น แฟนบอลจะมาที่ส นามก่ อนเริ่มการ แข่ ง ขั น ประมาณ 1-2 ชั่ ว โมงหรื อ บางคนอาจ มากกว่า บริเวณรอบๆ สนามฟุตบอลทุกแห่งจะมี ร้ า นค้ า ทั้ ง ที่ เป็ น แผงลอยหรื อ ร้ า นถาวรตั้ ง อยู่ จานวนมากขายอาหารรวมถึงเครื่องดื่มทั้งที่มีและ ไม่มีแอลกอฮอล์ ทาให้พื้นที่รอบๆ สนามถูกใช้เป็น ที่พบปะของแฟนบอล บางสนามมีโต๊ะ-เก้าอี้ให้นั่ง บางสนามก็จะใช้การนั่งกับพื้นหรือปูเสื่อ แฟนบอล แต่ละกลุ่ม จะมาที่ส นามก่ อนเริ่ม การแข่ง ขันเพื่อ ร่วมสังสรรค์ดื่มกิน แม้ว่าแกนกลางของกิจกรรมจะ อยู่ที่ชมการแข่งขันฟุตบอลแต่เอาเข้าจริงแล้วพื้นที่ ในการสานสัมพันธ์ระหว่างแฟนบอลนั้นไม่ไ ด้อยู่ที่ บนอัฒจันทร์ บนอัฒจันทร์นั้นพวกเขาแทบจะไม่ได้


351

พูดคุ ยกั น กิ จ กรรมที่ ท าจะไปตกอยู่ กั บ การร้อ ง เพลงเชียร์และลุ้นไปกั บการแข่ง ขันเสียเป็นหลัก กิจกรรมต่างๆ นอกสนาม เช่น การสังสรรค์ก่อน และหลัง การแข่ง ขัน รวมถึง การเดินทางร่วมกั น เป็ น พื้ น ที่ สื่ อ สารที่ ส าคั ญ ที่ ท าให้ เ กิ ด ความเป็ น ชุมชนแฟนขึ้น แม้ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าความเป็น ชุมชนแฟนเริ่มต้นมาจากความสนใจในการแข่งขัน ฟุตบอลแต่พื้นที่ สาคัญซึ่งก่ อให้เกิ ดชุมชนแฟนได้ นั้นก็คือกิจกรรมต่างๆ ที่แฟนบอลทาร่วมกัน ซึ่งก็ ไม่ใช่แค่ในวันแข่งขัน แต่ยังรวมไปถึงกิจกรรมนอก วันแข่งขันและกิจกรรมในโลกออนไลน์ด้วย 3. การใช้สัญลักษณ์ ดัง ที่ ก ล่าวไปแล้วว่าแฟนบอลของแต่ล ะ สโมสรนั้นไม่ได้มีกลุ่มเดียว ปฏิบัติการที่ สาคัญใน กระบวนการบริ โ ภคของแฟนบอลไทยคื อ การ รวมตัวกันเป็น “แฟนคลับ/กลุ่มแฟน” โดยแฟน บอลแต่ละกลุ่มจะมีการรวมตัวเป็นกลุ่มก้อนอย่าง ชัดเจน แต่ละกลุ่ม จะมีสถานที่นัดหมายประจามี ช่ อ งทางการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร มี สั ญ ลั ก ษณ์ ใ นการ แสดงออก (เช่นเสื้อ เพลงเชียร์หรือธง) และธรรม เนียมปฏิบัติของแต่ละกลุ่มที่ต่างๆ กันไปรวมถึงมี การทากิจกรรมร่วมกันเป็นประจาทั้งในวันที่มีการ แข่งขันและนอกวันแข่ง ขันยิ่ง เมื่อ พิ จารณาความ แตกต่างของกลุ่มแฟนแต่ละกลุ่มในสโมสรเดียวกัน จะยิ่งเห็นได้อย่างชัดเจนว่าการเป็นแฟนบอลนั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กั บสโมสรเพี ยงด้านเดียวแต่ผูกอยู่กั บ การเป็นกลุ่มแฟนด้วย แฟนบอลกลุ่ม หลักๆ ของ เมืองทองฯ มีอ ยู่สองกลุ่มคื อ “อุ ลตร้าเมืองทอง” และ “N-zone” โดยกลุ่ม อุ ล ตร้า เมื อ งทองจะ ประกอบไปด้วยเพศหญิงและชาย หลากหลายช่วง อายุ มีการแสดงออกที่เป็นระบบระเบียบ เน้นการ ร้องเพลงเชียร์ตลอดการแข่ง ขันอย่างที่ พ วกเขา เรียกตัวเองว่าเป็น “อารยชนคนเมืองทอง” ซึ่งต่าง ไปจากกลุ่ม N-zone ที่สมาชิก ส่วนใหญ่เป็นเพศ ชายมีการส่งเสียงรบกวนฝ่ายตรงข้ามควบคู่ไปกับ การร้องเพลงเชียร์และมีลักษณะที่ดูดุดันมากกว่า ส่วนสโมสรชลบุรีฯ มีกลุ่มแฟนหลักๆ สองกลุ่มคือ “The Sh@rk Power”และ “ฉลามกรุง” โดย

สมาชิกของกลุ่ม The Sh@rk Power ส่วนมากจะ เป็นคนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดชลบุรี ส่วนสมาชิกของ ฉลามกรุ ง จะมาจากจั ง หวั ด อื่ น ๆ โดยเฉพาะ กรุง เทพฯ และปริม ณฑล ขณะที่ ส โมสรท่ าเรือฯ นั้นแฟนบอลโดยทั่วไปจะมีลักษณะการแสดงออก ที่ดุดันจนมั กจะถูกกล่าวถึงในแง่ของความรุนแรง ขณะที่ แ ฟนท่ า เรื อ ฯ กลุ่ ม “โซนดี ”จะมี ก าร แสดงออกที่ไม่ดุดันมากนักแต่จะเน้นการร้องเพลง เชียร์เป็นหลักเสียมากกว่า ความแตกต่างระหว่าง แฟนแต่ละกลุ่มในสโมสรเดียวกันเหล่ านี้แสดงให้ เห็นถึงการก่อตัวขึ้นมาของ “ชุมชนแฟน”ที่ เป็นไป ตามลักษณะของแฟนบอลเองมากกว่าจะขึ้นอยู่กับ สโมสรเพียงด้านเดียว รวมถึงตระเตรียมอุปกรณ์ ส าหรับ ใช้ป ระกอบการเชียร์ในสนาม เนื่องจาก พวกเขาต้องมาที่สนามเหย้าอย่างเป็นกิจวัตร แฟน บอลแต่ละกลุ่มจึงจะมีที่ประจาเป็นของตนเอง

(ภาพที่ 3 การใช้สัญลักษณ์เป็นตราสโมสร) 4. การรวมกลุ่มนอกสนาม แฟนฟุตบอลไม่ได้เพียงรวมตัวกันเพื่อชม การแข่งขันเท่านั้น แต่พวกเขายังมีกิจกรรมจานวน มากที่ ท าในนามของแฟนบอลทั้ ง กิ จ กรรมในวั น แข่งขันที่เกิดขึ้นรอบๆ สนามในช่วงก่อนและหลัง การแข่ ง ขั นกิ จ กรรมนอกวั นแข่ง ขั นที่ เ กิ ด ขึ้น ใน ชีวิ ตประจ าวั น รวมถึ ง กิ จ กรรมในโลกออนไลน์ กิจกรรมเหล่านี้มีทั้ง ที่เกี่ยวข้องกับฟุตบอลและไม่เกี่ยวกับฟุตบอลเลย แฟนบอลบางคนบอกว่า เขาไม่ ได้เ ป็น แฟนบอล เฉพาะในสนาม แต่นอกสนามเขาก็เป็นแฟนบอล ด้วย บางคนบอกว่าเขามีกิจกรรมร่วมกับแฟนบอล ทั้งเจ็ดวันต่อสัปดาห์ หลายครั้งที่พบว่าการแข่งขัน ใน สน าม ที่ ค วร จะ เป็ น “สิ น ค้ า ”ที่ พ วก เข า


352

“บริโภค” กลับถูกให้ความสาคัญน้อยกว่ากิจกรรม ที่พวกเขา“ผลิต” ขึ้นมาเพื่อทาร่วมกันเสียด้วยซ้า ไม่เฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกั บฟุตบอล เท่านั้น กิจกรรมที่ไม่ เกี่ยวข้อ งกับ ฟุตบอลเลยก็ มี จานวนมากไม่แพ้กัน แฟนเกือบทุกกลุ่มจะมีการจัด กิจกรรมค้างแรมในลักษณะ “ค่าย” เป็นประจาปี ละ 1-2 ครั้ง โดยมั กจะเป็นการเรี่ยไรเงินและรับ บริจาคสิ่งของจากสมาชิกและร่วมกันนาไปมอบให้ โรงเรียนหรือสถานพยาบาลต่างๆ ไม่เพียงเท่านั้น ยังมีการทากิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันของแฟนบอลกลุม่ ต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง อย่างเช่นกลุ่ม อุล ตร้าเมื องทองที่ จะมีก ารตั้ง ชมรมย่อยภายใน กลุ่ ม แยกย่ อ ยไปตามความสนใจ เช่ น ชมรม แบดมินตัน สนุกเกอร์ กอล์ฟ หรือกระทั่งชมรมคน รัก พระเครื่อง ซึ่ง สมาชิก ของชมรมต่างๆ ก็ จะใช้ เวลาหลังเลิกงานในแต่ละวันมาทากิจกรรมร่วมกัน และนอกจากกิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ กล่ า วมาแล้ ว กิจกรรมหนึ่งซึ่งอาจเรียกได้ว่าแทรกตัวอยู่ในแทบ จะทุกๆ กิจกรรมที่แฟนบอลทาร่วมกันก็คือการดื่ม ผู้เ ขียนเคยถามแฟนบอลคนหนึ่ง ว่า “อะไรทาให้ แฟนบอลสนิทกันมากที่สุด” ยังไม่ทันจะจบคาถาม ดี เขาตอบสวนกลับ มาอย่ า งรวดเร็ว ว่ า “เหล้ า ครับ”

(ภาพที่ 4 การทากิจกรรมนอกสนาม) เมื่อพิจารณากิจ กรรมหลายหลากที่แฟน บอลทาร่วมกันแล้วจะเห็นได้ว่าใน “กระบวนการ บริโ ภค” ของแฟนบอลนั้น การชมการแข่ง ขั น ฟุตบอลไม่ใช่จุดสิ้นสุด แต่เป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้น ของกระบวนการบริโ ภค “กิ จ กรรมนอกสนาม” อัน เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของกระบวนการบริโ ภคนั้น ได้ กลายมาเป็นพื้ นที่ สาคัญที่ แฟนบอลได้มีกิ จกรรม

ร่วมกันจนก่อให้เกิดความเป็นพวกเดียวกันและเกิด เป็น “ชุมชนแฟน” ขึ้นมา โดยกิ จ กรรมนอกวัน แข่งขันหรือ “การเป็นแฟนในชีวิตประจ าวัน ” นี้ นอกจากจะทาให้ความเป็นแฟนบอลได้เข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งในชีวิตประจ าวันของพวกเขาแล้วในอีก ด้านหนึ่งก็เป็นการดึงเอาชีวิตประจาวันหรือตัวตน ของพวกเขาเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของความเป็นแฟน บอลด้ วย อัตลั ก ษณ์ ร่วมของแฟนกลุ่ม ต่างๆ จึ ง ไม่ใช่แค่การแสดงออกในสนามฟุตบอลที่พวกเขามี ร่วมกันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงตัวตน วิถีชีวิต และ รสนิยมที่ พวกเขาค่อยๆ ปรับ เข้าหากันและสร้าง มั น ขึ้ น มาในกิ จ กรรมจ านวนมากที่ พ วกเขาท า ร่วมกันด้วย ซึ่งจะยิ่งเป็นการตอกย้าความเป็นพวก เดียวกันในชุมชนแฟนให้มากขึ้น สรุป จากความคิดเห็นและพฤติกรรมต่างๆจะ เห็นว่าปัจ จุบันฟุตบอลไทยไม่ ได้เ ป็นแค่เ กมกี ฬา ธรรมดาอี ก ต่ อ ไป แต่ ยั ง เป็ น เครื่ อ งสร้ า งความ สามัคคี มิตรภาพ และครอบครัวให้กับเหล่าแฟน บอลที่มีความศรัทธาในสิ่งเดียวกัน จึงสามารถสรุป ได้ ว่า การเชี ยร์ ฟุต บอลไม่ ได้ เ ลวร้า ยเสมอไปแต่ สามารถสร้างจิตใจคนให้เป็นหนึ่งเดียวกันได้ ถ้าใน อนาคตกลุ่ม แฟนบอลที่มี จิตใจสาธารณะ สามัคคี และชื่นชอบมิตรภาพเหล่านี้ยังไม่หายไปจากวงการ วงการฟุตบอลไทย เราก็ส ามารถพูดกับ ใครได้ว่า บอลไทยไม่แพ้ชาติใดในโลกได้อย่างเต็มปาก... อ้างอิง http://socanth.tu.ac.th/wpcontent/uploads/2014/05/JSA-31-1arjin.pdf เป็นแฟนบอลมันมีอะไรมากกว่าดูบอล. อาจิน ทอง คงอยู่. มหาบัณฑิตสาขามานุษยวิทยา คณะสังคม วิทยาและมานุษยวิทยามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. นาย วศิน มูลประหัส รหัส 54040782


353 สหกรณ์ ปิ่ นคล้ าย 54040790

การจับโกหกจากภาษากาย บทนา

มีใครบ้างที่ไม่เคยโกหก? เชื่อได้ว่าไม่ มี ใครในโลกนี้ ที่ไ ม่ เ คยโกหก นั ก จิ ตวิ ทยาพบว่ า มนุษย์เริ่มโกหกเป็นตั้งแต่อายุ 2 ขวบ และเมื่ออายุ ได้ 5 ขวบ ความสามารถในการโกหกจะได้รับการ พั ฒ นาขึ้ น อี ก มาก แต่ อ ย่ า เพิ่ ง ตกใจไป เพราะ ในทางจิตวิทยาถือว่าการโกหกเป็นธรรมชาติของ เด็กที่เกิดขึ้นอย่างบริสุทธิ์ ไม่มีพิษมีภัย เพราะเด็ก ยัง ไม่สามารถแยกแยะจินตนาการออกจากความ จริงได้ บางคนโกหกบ่อย บางคนก็นานๆ ครั้งแต่ คุณรู้หรือไม่ ว่าคนที่คุณกาลังคุยอยู่ด้วยกาลังโกหก คุณอยู่? และทายังไงจึงจะสามารถจับได้ว่าคนไหน ที่โกหกคุณ? ก่อนอื่นเราต้องรู้ก่อนว่าการจับโกหกแบ่ง ออกเป็น2แบบคือ การจับโกหกจากภาษาพูด(วัจ นภาษา) และการจั บ โกหกจากภาษากาย(อวั จ นภาษา) ซึ่ง การพูดนั้นเป็นทักษะที่คนเรามีติดตัว มาตั้งแต่เกิดพูดได้ว่ามีความช่าชองในการใช้จึงยาก แก่การจับผิด ต่างจากการจับผิดโดยการดูภาษา ท่าทางหรื อที่เ ราเรียกกันว่ า อวัจ นภาษา โดยใน บทความนี้จ ะนาเสนอเกี่ยวกับการจับโกหกแบบ ภาษากาย เพราะไม่ ว่ า คนคนนั้ น จะโกหกได้ แนบเนี ย นอย่ า งไร ก็ ไ ม่ อ าจปิ ด บั ง ปฏิ กิ ริ ย าใน ร่างกายขณะโกหกได้ เช่นอัตราการเต้นของหัวใจ และชี พ จรจะไม่ สม่ าเสมอ เหงื่ อ จะออกมากขึ้ น อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น ที่สาคัญระดับความดัน โลหิตจะสูง ขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดการระคาย เคื อ งในระดั บ เนื้ อ เยื่ อ เช่ น บริ เ วณจมู ก ล าคอ ใบหน้ า คนที่ ก าลั ง โกหกจึ ง มั ก เกาหรื อ ถู ผิ ว หนั ง บริเวณนั้นบ่อยๆเพื่อลดการระคายเคือง จึงทาการ จับผิดจากภาษากายมีความแม่นยา แต่ก่อนจะไปดู วิธีการจับผิด คนเราโกหกกันเพราะอะไรบ้าง?

สาเหตุของการโกหก (บีบี บัก , 2553) ในชี วิ ต ของคนเรานั้ น ต้ อ งมี สั ก ครั้ ง ที่ โกหก ซึ่งโดยส่วนใหญ่เพื่อป้องกันตนเองไม่ให้เกิด ความอับอาย หรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากแรง กดดั น ภายนอกของสั ง คม เราลองมาแยกแยะ ประเภทของการโกหกมีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง 1. โกหกเพื่อมารยาทหรือโกหกสีขาว เป็นประเภท ที่มีผลเสียน้อยที่สุดเพราะไม่มีเจตนาจะทาให้คน อื่นเสียหายหรือเป็นอันตราย แต่มีเจตนาเพื่อจะทา ให้คนอื่นพอใจเรียกว่าเป็นการถนอมความรู้สึกและ รัก ษาน้ าใจกั น แทนที่ จ ะบอกความจริง ที่ เ ชื่ อ ว่ า ผู้ ฟั ง คงรั บ ไม่ ไ ด้ อ อกไป บางครั้ ง การโกหกใน ลักษณะนี้เป็นการพูดเพื่อให้กาลังใจอีกฝ่าย เรียก ได้ว่าเป็นการโกหกเพื่อทาให้ผู้อื่นมีความสุขนั่นเอง เช่น "ไม่ได้พบกันตั้งนาน สวยไม่เปลี่ยนเลย" คน ส่วนใหญ่มักจะไม่คิดว่าเป็นการโกหกด้วยซ้า งานวิ จั ย หลายชิ้ น ระบุ ว่ า การ “รู้ จั ก โกหก”เพื่อเข้าสังคมนั้น ส่งผลให้บุคคลนั้นๆ เป็นที่ ชื่นชอบของคนในสังคมมากกว่าผู้ที่พูดแต่ความจริง เพราะการเข้ า สั ง คมบางครั้ ง จ าเป็ น ต้ อ งปรุ ง แต่ ค าพู ด ซึ่ ง ต่ า งไปจากความรู้ สึ ก ที่ แ ท้ จ ริ ง เพื่ อ ให้ คู่ สนทนาสบายใจและประทับใจ 2. โกหกเพื่ อ ป้ อ งกั น อั น ตราย เป็ น การโกหก ประเภทที่ใช้มากที่สุด เป็นสัญชาตญาณของมนุษย์ ที่จะต้องป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเพื่อความอยู่ รอด ลงไปถึงความเจ็บปวด ขมขื่น ละอายใจ อับ อาย แม้กระทั่งเรื่องของศักดิ์ศรี เช่น กลัวความผิด กลัวถูกทอดทิ้ง กลัวเสียเกียรติ กลัวการเผชิญหน้า กลั ว ความผิ ด หวั ง ฯลฯ การโกหกประเภทนี้ ใ น บางครั้ง อาจร้ายแรงถึง ขั้นโยนความผิด ใส่ความ ผู้อื่น หรือ เป็นพยานเท็จ ฯลฯ 3. โกหกเพื่อผลประโยชน์ เป็นประเภทที่ใช้มาก พอกั น เพื่ อ ป้ อ งกั น อั น ตรายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ผลประโยชน์ โดยตรง เช่น ขู่ใ ห้ฝ่ายตรงห้ ามรู้สึ ก


354

กลัว เป็นการป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้น และอาจมี ผลในการเอาชนะคู่ต่อสู้ด้วยซึ่งถือเป็นผลประโยชน์ อย่ างไรก็ ตามการโกหกเพื่ อ ผลประโยชน์ อ าจไม่ จาเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องอันตรายเสมอ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ เป็นต้น 4. โกหกเพื่อหาความยุติธรรม เป็นการโกหกเพื่อ ฝึกนิสัยมนุษย์ให้ไม่เห็นแก่ตัว มักจะเกี่ยวข้องกับ คามั่นสัญ ญา กฎเกณฑ์หรือกติกาต่าง ๆ เช่น พ่อ แม่ บ อกกั บ ลู ก ๆ ว่ า รั ก ลู ก เท่ า กั น หมดทุ ก คน พ่อค้าสัญ ญาต่อกันว่าจะไม่ค้าขายท าลายกันเอง เป็นต้น กฎและกติกานี้ ยังรวมถึงเรื่องจริยธรรม และ จรรยาบรรณของวิชาชีพอีกด้วย 5. โกหกเพื่อหาความจริง การโกหกประเภทนี้มัก เป็ น พวกนั ก วิ ท ยาศาสตร์ นั ก วิ จั ย นั ก กฎหมาย และความศรั ทธาในศาสนา มีนักวิท ยาศาสตร์ไ ม่ น้ อ ยที่ ต้ อ งบิ ด เบื อ นความจริ ง ในการทดลอง นักวิจัยไม่น้อยที่ได้ผลออกมาแล้วผิดเป้าหมายที่ตั้ง ไว้ จึงพยายามหาหลักฐานต่าง ๆ มาอ้างอิงมาแทน ความจริงที่เกิดขึ้น หรือคนที่ต้องการเผยแผ่ศาสนา อาจใช้วิธีในการจูงใจให้ผู้อื่นคล้อยตาม 6. นั กโกหกอาชี พ เป็ น คนที่ โ กหกในเรื่อ งที่ ไ ม่ จ าเป็ น ต้ อ งโกหกจนดู เ ป็ น งานประจ าไป คน ประเภทนี้ มี พ รสวรรค์ ใ นการพู ด การสร้ า งเรื่ อ ง เพราะตัวเขาเองยืนอยู่ระหว่างกลางของความจริง กับจินตนาการ นักโกหกอาชีพนั้นไวกว่านักโกหก จาเป็นมาก เขาจะรู้ทันทีว่ามีใครกาลังจับโกหกเขา อยู่ แล้วเขาก็จะหันมาเปลี่ยนเรื่องเป็นเรื่องจริงบ้าง เรื่องแต่งบ้าง จนคนจับไขว้เขวไปเอง 7. โกหกตนเอง มักเกิดกับคนที่สูญเสียความมั่นใจ

สับสน และหวาดกลัวความจริง คนประเภทนี้มัก สร้างเรื่อง “หลอกตนเอง” ให้คลายจากความทุกข์ ชั่วขณะ เช่นหลอกว่าคนรักที่ทอดทิ้งไปยังมีใจให้ อยู่เสมอ และสุดท้ายคนเหล่านี้มักโทษตนเอง อาจ

เลยไปถึ ง ขั้ น ทาร้ ายร่ างกายตนเองหรื อตกอยู่ ใ น ภาวะซึ ม เศร้ า ก็ มี และเมื่ อ ไรก็ ต ามที่ ก ารโกหก ลักษณะนี้มีการพัฒนาการมากขึ้น ข้อมูลที่ไม่จริง ทั้งหลายก็จะถูกตอกย้าใส่หูตนเองซ้าๆ จนตัวเอง เริ่มเชื่อว่าเป็นเรื่องจริง จากนั้นจึงนาเรื่องไม่จริง(ที่ ตัวเองเชื่อว่าจริง)นี้ไ ปบอกผู้อื่นต่อ ทางจิตเวชถือ ว่าอาการเช่นนี้อยู่ในข่ายอันตรายที่ต้องได้รับการ บาบัดเยียวยาอย่างเร่งด่วน

ลักษณะของคนชอบโกหก คนชอบโกหกมักดูเป็นคนน่าสนใจ น่าคบ มีลักษณะเชื่อมั่นในตนเอง โดยเฉพาะในด้านความ คิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เป็นคนมีเพื่อนมาก ท่าทางดู เป็ น กั น เอง แต่ สิ่ง เหล่ านี้ ล้ ว นเป็น หน้ า กาก เป็ น บุ ค ลิ ก ปลอมที่ ส ร้ า งขึ้ น มา เพื่ อ กลบเกลื่ อ น ความรู้สึกอ่อนแอที่ซ่อนอยู่ภายในใจ แต่ในความจริงแล้ว คนชอบโกหกเป็นคน ว้าเหว่ มีปมด้อย ชีวิตไร้จุดหมาย ขาดความเชื่อมั่น ไม่สนิทกับใครได้อย่างจริงใจเพราะไม่ค่อยไว้ใจคน และเหนือสิ่งอื่นใดคือ ความรู้สึกละอายใจที่เกาะฝัง อยู่ในส่วนลึกของความกลัวนั่นเอง แล้ว เรามีวิธีจับโกหกจริง ๆหรือไม่ เราทุ ก คนรู้ดีว่าเวลาเราเล่นไพ่ เซียนทั้งหลายมักจะตีหน้า ตายสนิทจนเราอ่านอะไรไม่ออก คนที่โกหก เก่งก็ เช่นกัน ซึ่งอุปกรณ์ "วิทยาศาสตร์" เช่น เครื่องจับ เท็จ ก็ช่วยอะไรไม่ได้เลย จนวงการตารวจปัจจุบัน ได้ประกาศเลิกใช้เครื่องจับเท็จไปเมื่อไม่นานมานี้ เอง เพราะสิ่ง ที่เครื่องจับเท็จจับได้ คือความกลัว ของผู้ถูกจับเสียมากกว่า ทั้งนี้เพราะได้มีการพบว่า การที่หัวใจจะเต้นเร็วกว่าปกติ หรือการที่เหงื่อออก มาก ไม่ได้หมายความว่า คนๆ นั้นกาลั งโกหก จุด ดับของเครื่องจับเท็จคือ การที่คนบางคนสามารถ พูดโกหกได้อย่างสบายใจ ไร้ค วามกังวลหรือความ เสียใจใดๆ หนาซ้ายังไม่แสดงพิรุธอะไร ให้เห็นเลย


355

หรือคนที่บริสุทธิ์บางคนเวลาพูดความจริงรู้สึกกลัว ผลที่จะติดตามมา เหงื่อจึงออกและหัวใจจึงเต้นเร็ว กว่าปกติเช่นนี้เป็นต้น ดังนั้นเมื่อมีการวิจัยที่ตารวจ พบว่าเครื่องจับเท็จทางานผิดพลาด 25-75% ศาล จึงไม่อนุญาตให้ใช้เครื่องจับ เท็จเป็นหลักฐานหนึ่ง ในการต่อสู้คดี (สุทัศน์ ยกส้าน, ม.ป.ป.)

2. Covering up = กาลังปกปิด

วิธีสังเกตคนโกหก จากภาษากาย (วัลลภ

ตั ว อย่ า ง เช่ น ผู้ เ ชี่ ย ว ชาญสั ง เกตว่ า นั ก การเมื อ งระดั บ ยอดของสหรั ฐ ฯ ท่ า นหนึ่ ง เปิดเผยเรื่องความสัมพันธ์ชู้สาวต่อหน้าคณะลูกขุน ด้ว ยท่ า ทางสบายๆ ทว่า ... เมื่ อถู ก ซัก มากๆ เข้ า กลับแตะจมูก ทุกๆ 4 นาที รวมแล้วแตะจมูก 26 ครั้งในระหว่างการถูกซักอันแสนเครียด

พรเรืองวงศ์, 2553) ท่าทางที่เด็กโกหกใช้บ่อย คือ การนามือหรือ นิ้วมือใส่ไปในปากก่อนโกหก (lie) หรือมีท่าทาง พิรุธต่างๆ ซึ่งจับได้ง่ายกว่าผู้ใหญ่มาก, ส่วนผู้ใหญ่ มักจะมีภาษากาย (body language) ในการโกหก ดังต่อไปนี้ 1. Are you just nervous? = สังเกตจาก ความเครียด อาการโกหก (lying) มักจะมีส่วนคล้าย ความวิ ต กกั ง วล (anxiety) หลายอย่ า ง เช่ น ลุกลี้ลุกลน อยู่ไม่สุข ฯลฯ ที่เป็นเช่นนั้นเพราะต้อง หาทางปกปิด (cover up) เพื่อปกปิดความผิด (mistakes) บางอย่าง วิธีนี้จะมีประสิทธิภาพมาก ถ้าเรารู้ ว่า คนอื่นมีพื้นฐาน (baseline) อย่างไร แล้ว อยู่ๆ ก็ เปลี่ ยนไป หรื อ มีค วามแปรปรวน ไม่ เหมือนเดิม ตัวอย่างเช่น เดิมเคยนิ่งดี อยู่ก็กระพริบตา บ่อย กลอกตาไปมาเร็ว เลียริมฝีปากบ่อย ยกมือ ขึ้นแตะใบหน้า

คนที่โกหกมักจะหาอะไรไปบังใบหน้าหรือ ร่า งกายมากขึ้ น รู ปแบบที่พ บบ่ อ ยคื อ ยกมื อ ขึ้ น แตะจมูก, ท่านี้เป็นท่าที่คล้ายการยกมือขึ้นการ์ด ป้องกันหมัดหรืออันตรายจากฝ่ายตรงข้าม

ภาพที่2 การปกปิด ที่มา www2.eduzones.com

3. Excessing fidgeting = เคลื่อนไหวไปมา หรือ กระวนกระวายมากเกินไป

ภาพที่1 ความเครียด ที่มา www.sarakadee.com

คนที่โกหกมักจะใช้นิ้วมือถูไถ หรือไม่ก็ บิด ไปบิดมากับของใกล้ตัว เช่น เสื้อผ้า ผม ฯลฯ โดยที่ ไม่ตั้งใจโดยเกิดจากความกังวลในความผิด การใช้ ความคิดในการสร้างเรื่องโกหก หรือ ความกระวน


356

กระวายใจ กล่าวกันว่า คนโกหกที่น่ากลัว คือ คน โกหกหน้าตาย หรือคนที่โกหกได้ทั้งๆ ที่ดูนิ่งๆ

ภาพที่3 ถูมือ ที่มา www.wikihow.com

4. Smiling through = ยิ้มไปยิ้มมา ภาษาอังกฤษมีสานวนที่ใช้เรียกคนโกหก หน้ายิ้ม คือ 'grinning liar' = คนโกหกยิ้มแฉ่ง หรือคนโกหกหน้าระรื่น (ยิ้มปากกว้าง) ทว่ า การศึก ษาหลายรายงานกลั บพบว่ า คนเรายิ้มบ่อยกว่าเวลาพูดจริงมากกว่าโกหก คน โกหกส่วนใหญ่จะยิ้มกว้างน้อยลง อย่า งไรก็ ตาม เรื่อ งนี้ ไม่ ใช่มี ข้อ ยกเว้ น เพราะนักโกหกมืออาชีพนั่นบทจะนิ่งก็ดูนิ่ง บทจะ ยิ้ม ก็ยิ้ มแฉ่ง ได้ คล้ ายสานวนที่ว่ า คนที่ข าดความ ละอายมีความเป็นอยู่ง่าย คือ คนที่เลวมากจริง ๆ จะไม่อาย ท าอะไรก็ ได้ค ล้ายกับชี วิตนี้ เป็น ละคร (และมักจะไม่รู้สึกผิดอะไรด้วย)

นอกจาก 4 วิธีที่ผ่านมายังมีการจับโกหก โดยการเชื่ อสัญ ชาตญาณของคุ ณ (Trust your instinct) ประสบการณ์ทั่วโลกพบว่า การจับโกหก โดยใช้สัญชาตญาณหรือใช้ความรู้สึกมีโอกาสถูกไม่ น้อยไปกว่าใช้วิธี การทางวิทยาศาสตร์ หรือการ วิจัยสมัยใหม่ ทั้ ง ยั ง มี ก ารสั ง เกตการเคลื่ อ นไหวทาง ร่างกายอันนี้เป็นเคล็ดลับที่สาคัญ มากคนที่กาลั ง โกหกมักจะเคลื่อนไหวร่างกายช้าลงอย่างกะทันหัน นั่นก็เพราะการโกหกต้องใช้พื้นที่และพลังงานของ สมองมากกว่าการพูดความจริง การพูดความจริง ต้องอาศัยสมองส่วน ฮิโปแคมปัส(hippocampus) ซึ่ง เกี่ยวข้องกับความทรงจา เพี ยงอย่างเดีย วแต่ การโกหกต้องอาศัยทั้ง สมองส่วนhippocampus และ ซึ่ ง เป็นสมองส่ วนหน้ าที่เกี่ย วข้องกับการ จินตนาการเพราะคนโกหกต้องใช้จิ นตนาการใน การสร้างเรื่องใหม่ขึ้นมาผสมกับเรื่องเก่าโดยสมอง ส่ ว นหน้ า เป็ น สมองส่ ว นที่ ใ ช้ พ ลั ง งานเยอะมาก ดัง นั้น สมองส่ วนที่ ใช้ ควบคุม การเคลื่อ นไหวทาง ร่างกาย (primary motor cortex) มักจะทางาน น้อยลงไปชั่วขณะ

ภาพที่5 สมองส่วน hippocampus ที่มา dspace.mit.edu

ภาพที่4 ยิ้มไม่จริงใจ ที่มา www.clipmass.com


357

สรุป

อ้างอิง

อย่างไรก็ตาม ไม่มีอะไร 100% ในเรื่อง ภาษากาย เช่น คนบางคนมีอาการปากแห้ง-ปาก แตกอยู่ ทาให้เกิดการเลียริมฝีปากบ่อยๆ ได้ หรือ อาการเจ็บป่วย เช่น เป็นหวัดคัดจมูกทาให้จับหรือ ถูจมูกบ่อยๆ ได้เช่นกัน

บีบี บัก. 2553. ทำไมต้องโกหกกัน และควำมรู้ เกี่ยวกับกำรโกหก. (ออนไลน์). สืบค้น จาก : http://webboard.yenta4. com/topic/391731. [20 พฤศจิกายน 2557] พาเมลา เมเยอร์. 2554. วิธีจับผิดคนโกหก. (ออนไลน์). สืบค้นจาก: http://www.ted.com/talks/pamel a_meyer_how_to_spot_a_liar/tra nscript?language=th. [20 พฤศจิกายน 2557] วัลลภ พรเรืองวงศ์. 2553. วิธีจับโกหกคนใกล้ คุณ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.oknation.net/blog/he alth2you/2010/03/06/entry-3. [20 พฤศจิกายน 2557] สุทัศน์ ยกส้าน. (ม.ป.ป.). จิตวิทยำแห่งกำร โกหก. สืบค้นจาก: http://www.ipst.ac.th. [20 พฤศจิกายน 2557] เอเลน และ บาบาร่า เพียรส์. (2556). รู้ทันทุก ควำมคิดด้วยเทคนิคภำษำกำย. (แปล จาก The Definitive Book of Body Language โดย พลอยแสง เอกญาติ) (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์มติชน.

เชื่ อ ว่ า การซื่ อ สั ต ย์ จริ ง ใจ และการให้ เกี ย รติ ซึ่ ง กั น และกั น ย่ อ มเป็ น สิ่ ง ดี ก ว่ า มานั่ ง หวาดระแวงอี กฝ่ าย ข้อ มูลเหล่ านี้ เป็ นเพี ยงส่ว น หนึ่งของการจับโกหกที่ผู้เขียนนามาบอกกล่าวเพื่อ เป็นแนวทางให้กับผู้อ่านเพื่อให้รู้เท่าทันคนอื่นมาก ขึ้น อย่างไรก็ตาม ลักษณะภาษากายข้างต้น เป็น เพียงพฤติกรรมที่อาจเกิดขึ้นได้เมื่อโกหก ซึ่งต้องใช้ วิจารณญาณ และสัญชาติญาณพิจารณาร่วมด้วย เนื่องจากลักษณะท่าทางของบางคน อาจไม่ได้บ่ง บอกถึงความคิด หรือ ความรู้สึกในขณะนั้น รวมทั้ง ความแตกต่ า งของเชื้ อ ชาติ วั ฒ นธรรม อาจสื่ อ ความหมายต่างกันได้



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.