เมษายน 2555 ปที่ 3 | ฉบับที่ 7 แจกฟรี
UPCOMING Designer ไอเดียอยางเดียว… ไมรอด THE OBJECT Zona Tortona
CREATIVE CITY เคปทาวน
THE CREATIVE มล.ภาวินี สันติสิริ
ปลอยแสง 9ลฯ ตอน เกา รอ กาว 3 พฤษภาคม – 17 มิถุนายน 2555
ณ หองนิทรรศการ 2 ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ
และ 26 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2555 ณ ลานอีเดน (Eden) ชั้น 1 ศูนยการคาเซ็นทรัลเว�ลด
พบสุดยอด 120 ผลงานจบการศึกษาของบัณฑิตใหมจากทุกสาขาวิชาทั่วไทย ที่พรอมตอยอดและสนับสนุน “กาวเล็กๆ” ของบัณฑิตหนาใหมให “กาวไกล” ไปสุดฝน สำหรับนิสิต นักศึกษาระดับปวช. ปวส. ปร�ญญาตร� และปร�ญญาโท ไมจำกัดสาขา ที่กำลังจะจบการศึกษาในปนี้ (2555) สามารถสมัครรับสิทธิ์เปน 1 ใน 120 เจาของพ�้นที่จัดแสดงผลงานฟร� ณ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (TCDC) และศูนยการคาเซ็นทรัลเว�ลด พรอมลุนรวมจาร�กผลงานในนิตยสาร a day ไดตั้งแตวันนี้ถึง 12 เมษายน 2555 สอบถามขอมูลเพ�่มเติม โทร. 02-664-7667 ตอ 136 หร�อ 137 หร�อคลิก www.tcdc.or.th/ploy-saeng ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (TCDC) ชั้น 6 ดิ เอ็มโพเร�ยม ช็อปป�ง คอมเพล็กซ 10.30 – 21.00 น. (ปดวันจันทร) จัดโดย
Presented by
ผูสนับสนุน
Sponsored by
The designers today should not help to produce more he has to help produce fewer and better things. นักออกแบบทุกวันนี้ไม่ควรคิดผลิตอะไรเพิ่มขึ้น แต่ต้องหาทางผลิตให้น้อยลงแต่ดีขึ้น Philippe Starck นักออกแบบผลิตภัณฑ์ชาวฝรั่งเศส
EDITOR'S NOTE บทบรรณาธิการ
วาระแห่งชาติ กว่าจะได้มาซึง่ ผลงานออกแบบทีเ่ ยีย่ มยอดสักชิน้ ต้องผ่านพิธกี รรมแห่งตรรกะกับปริมาณของเวลาจำ�นวนหนึง่ แต่กว่าจะได้มาซึ่งนักออกแบบที่ยอดเยี่ยมสักคนหนึ่ง มันต้องใช้พลังงานและเวลามากกว่านั้น ในชีวติ จริง มีอะไรมากกว่าแค่ความกระหายทีจ่ ะแปรความคิดมาสูข่ า้ วของทีใ่ ช้สอยได้จริงๆ เพราะความรู้ ทีเ่ ป็นทุนเดิมอาจไม่เพียงพอกับความต้องการของลูกค้า และแรงบันดาลใจทีม่ กี อ็ าจไม่แข็งแกร่งพอจะทนกับ แรงเสียดทาน ขณะที่ชิ้นงานต้นแบบที่น่าทึ่งยังอาจถูกมองข้าม ไร้ผู้ผลิต ไร้ผู้ลงทุน และไร้โอกาส แต่บางครั้งชีวิตก็ไม่ได้โหดร้ายเสมอไป อาร์เธอร์ ฮวง สถาปนิกชาวไต้หวันกับทีมงานมินิวิซได้พิสูจน์ สิ่งนั้นแล้ว โครงการ EcoARK อาคารนิทรรศการหลักของงาน Taipei International Flora Exposition ในปี 2010 คือผลผลิตที่น่าระทึกใจ อาร์เธอร์คิดค้นและพัฒนาวัสดุรับแรง "โพลี-บริกก์" ที่ผลิตจาก ขวดพลาสติกพีอีทีรีไซเคิล 1.5 ล้านขวด ซึ่งกว่าจะได้มาซึ่งสถาปัตยกรรมที่ได้รับการชื่นชมมากที่สุด แห่งหนึ่งของโลกการออกแบบ พวกเขาต้องใช้ความพยายามเพื่อสรรหาเทคโนโลยีและผู้เชี่ยวชาญในการ แปรขยะพลาสติกให้เป็นอิฐ ต้องทดสอบความแข็งแกร่งทนทานของโพลี-บริกก์ ทีม่ ตี อ่ ลมพายุ แผ่นดินไหว การทนไฟ ร่วมกับนักวัสดุศาสตร์ วิศวกร นักดับเพลิง และฝ่ายกฎหมายของเทศบาลเมือง โดยทีข่ น้ั ตอนต่างๆ ต้องดำ�เนินไปโดยแข่งกับเวลาและเงินทุน แต่โชคดีทโ่ี ครงการนีเ้ กิดจากวิสยั ทัศน์สดุ โต่งของนายกเทศมนตรี เมืองไทเป กับ ดักลัส ชูว์ ซีอีโอของกลุ่มฟาร์อีสเทิร์น ผู้ผลิตพลาสติกรายใหญ่ที่สุดของไต้หวัน ที่ต้องการ ส่งเสริมความเป็นไปได้ในการรีไซเคิลกับชีวิตประจำ�วัน ดังนั้น เมื่อ EcoARK อวดโฉมต่อสาธารณะ นวัตกรรมการออกแบบลํา้ เลิศ อันเกิดจากส่วนผสมของนโยบายรัฐ เงินลงทุนจากภาคเอกชน เวทีการแสดง ผลงานระดับโลก ความรูส้ หสาขาวิชาจากสถาบันการศึกษา และความช่วยเหลือของสมาคมวิชาชีพ ก็สง่ ให้ นักออกแบบหนุ่มคว้าความสำ�เร็จไว้ในกำ�มือ องค์ประกอบในการสร้างนักออกแบบให้เป็นผลผลิตของสังคมนั้นไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ประเทศจำ�เป็น ต้องมีทศิ ทางทีช่ ดั เจนเพือ่ เชือ่ มต่อศักยภาพของความคิดสร้างสรรค์เข้ากับโอกาสในทุกมิติ จากสถิตปิ ี 2009 ของสำ�นักบัญชีประชาชาติ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ระบุวา่ กลุ่มงานสร้างสรรค์และออกแบบ (Functional Creation) ของไทย อาทิ เฟอร์นิเจอร์ สิ่งทอ เครื่องหนัง รองเท้า ฯลฯ เป็นกลุ่มที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้สูงถึง 912,378 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 5.6 ของจีดีพี ตัวเลขดังกล่าวน่าจะเพียงพอที่จะบอกว่า ถึงเวลาแล้วที่ประเทศของเราควรเดิมพันอนาคตกับ อุตสาหกรรมด้านการออกแบบ และอนาคตครัง้ นีย้ งั ต้องถูกจัดวางอย่างเหมาะสมและเป็นวาระของประเทศ เพื่อนำ�ไปสู่การวางนโยบายการออกแบบแห่งชาติ ผ่านกลไกของภาครัฐ แรงขับเคลื่อนของภาคเอกชน และห่วงโซ่อื่นๆ ที่ต่อเชื่อมถึงกันอย่างสมบูรณ์ การเปลี่ยนความช่างฝันให้เป็นอัจฉริยะ และการแปรความคิดให้เป็นผลผลิต บางครั้งก็ไม่ควรปล่อย ให้เป็นไปตามธรรมชาติ เพราะถ้าหากเป็นเช่นนั้นแล้ว ในที่สุดสังคมก็อาจได้แค่คนธรรมดาๆ อีกคนที่ พยายามจะคิดนอกกรอบเท่านั้นเอง อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล บรรณาธิการอํานวยการ เมษายน 2555 l Creative Thailand
l5
ny.racked.com
THE SUBJECT ลงมือคิด
ปั้นดาวให้ครบวงจร เรื่อง: เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร และ ศุภมาศ พะหุโล
จะดีแค่ไหนหากนักออกแบบหน้าใหม่สักคนหนึ่งจะมีทั้งที่ปรึกษาด้านกระแสความนิยมและการตลาด มีช่องทางที่สามารถ สือ่ สารให้คนได้รจู้ กั ผลงาน และยังมีหน้าร้านขนาดใหญ่ทน่ี อกจากจะการันตีคณ ุ ภาพแล้ว ยังพร้อมทีจ่ ะลงทุนเปลีย่ นไอเดียใหม่ๆ ให้กลายเป็นสินค้าที่วางขายจริง หากคุณเป็นอีกหนึ่งคนที่เพิ่งมีโอกาสก้าวเข้าไปในร้านเสื้อผ้าขนาดใหญ่ และ H&M โดยทุกครัง้ ทีจ่ บรายการ วันรุง่ ขึน้ จะมีคอลเล็กชัน่ ใหม่นน้ั วางขาย H&M ที่สหรัฐฯ ในช่วงเปิดตัวคอลเล็กชั่นฤดูร้อนปี 2012 คุณอาจจะ ในทันที และเมื่อการขายจริงนั้นไม่ได้ต้องการแค่ความสวยงาม แต่คือ ต้องงงกับป้ายมากมายที่เขียนยํ้าคำ�ว่า Fashion Star แต่ถ้าคุณกลับบ้าน การทีเ่ สือ้ ผ้าแต่ละชิน้ นัน้ จะต้องสวมใส่ได้จริงและโดนใจกลุม่ คนทีก่ ว้างกว่า และเปิดโทรทัศน์ช่องเอ็นบีซี คุณจะพบว่า Fashion Star แท้จริงคือ บนเวทีประกวด การได้รบั คำ�ปรึกษาจากผูค้ รํา่ หวอดในแวดวงแฟชัน่ อย่าง รายการโทรทัศน์ที่เปิดโอกาสแจ้งเกิดนักออกแบบหน้าใหม่ให้มาโลดแล่น นิโคล ริชชี่ เจสซิกา ซิมสัน และ จอห์น วาร์วาทอส ซึ่งมาช่วยแบ่งปัน ในอุตสาหกรรมแฟชั่นอย่างแท้จริง ประสบการณ์ตรงและเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ตั้งแต่การเลือกเนื้อผ้า สี และ Fashion Star ออกอากาศทางโทรทัศน์ช่องเอ็นบีซีของสหรัฐฯ โดย ลายผ้า ซึ่งเป็นสิ่งที่มีค่าอย่างยิ่งสำ�หรับก้าวแรก คัดเลือกนักออกแบบเสื้อผ้าหน้าใหม่จำ�นวน 14 คนให้มาแข่งขันออกแบบ Fashion Star อาจดูเหมือนเป็นแค่อกี หนึง่ รายการแข่งขันการออกแบบ และผลิตคอลเล็กชัน่ เสือ้ ผ้า โดยทีผ่ ชู้ นะในแต่ละตอนนัน้ จะไม่ได้รบั รางวัล เสื้อผ้าแบบเรียลิตี้ที่ "วิน-วิน" ในทุกฝ่ายตั้งแต่ผู้จัด กรรมการ ไปจนถึง พิเศษอย่างเช่นการกระทบไหล่กับนักออกแบบเสื้อผ้ารุ่นเก๋า หรือโอกาส ดีไซเนอร์ แต่หากมองลึกลงไปแล้ว รายการยังได้แยกย่อยให้เห็นถึงปัจจัย ครั้งหนึ่งในชีวิตที่จะได้ลงนิตยสารแฟชั่นชั้นนำ�เหมือนอย่างที่เวทีอื่นๆ สำ�คัญที่มีส่วนช่วยผลักดันนักออกแบบหน้าใหม่ที่มีคุณภาพ เพราะหาก มอบให้ แต่คือการที่ผลงานออกแบบแต่ละชิ้นนั้นจะถูกซื้อ ตัดเย็บ และ ขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไป การก้าวขึ้นมาบนสังเวียนแฟชั่นระดับอาชีพนั้นก็คง วางขายจริง ด้วยการคัดสรรจากสายตาทีเ่ ฉียบคมของคณะกรรมการตัดสิน เป็นไปได้ยาก จากห้างสรรพสินค้าและร้านเสื้อผ้าชั้นนำ�ทั้ง Macy's, Saks Fifth Avenue ที่มา: nbc.com 6 l Creative Thailand l เมษายน 2555
THE OBJECT คิดแล้วทำ�
ZONA TORTONA เรื่อง: มนฑิณี ยงวิกุล ภาพ: พิชิต วีรังคบุตร
ย่านตอร์ตอน่า (Zona Tortona) เดิมเป็นที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้าที่ถูกทิ้งร้าง จนกระทั่งเมื่อปี 1983 พื้นที่แห่งนี้จึงเริ่ม เป็นทีร่ จู้ กั เมือ่ ฟลาวิโอ ลุคคิน่ี อาร์ตไดเร็กเตอร์นติ ยสารโว้ก อิตาลี และช่างภาพ ฟาบริซโิ อ แฟร์อรี่ บราเซนลี่ ได้เปิดสตูดโิ อ ของพวกเขาขึน้ นับตัง้ แต่นน้ั มาพืน้ ทีแ่ ห่งนีก้ ไ็ ด้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งจนกลายเป็นแหล่งรวมความคิดสร้างสรรค์ชน้ั นำ� ของโลก ในเดือนเมษายน สตูดิโอออกแบบและผู้แสดงงานจะเนรมิตพื้นที่ในย่าน อยู่ในย่านตอร์ตอน่า ได้แก่ ซูเปอร์สตูดิโอ กรุ๊ป มันญ่า ปาร์ส บริษัท ตอร์ตอน่า ให้เป็นพื้นที่สำ�หรับแสดงผลงานออกแบบ แต่ในปี 2011 บริหารพื้นที่ตอร์ตอน่า โลเคชั่น และเอสเตท โฟร์ โดยได้จัดสรรพื้นที่ ที่ผ่านมา งานแสดงสินค้าที่ควบคู่กับ "มิลาน ดีไซน์ แฟร์" ได้ถูก สำ�หรับผูแ้ สดงงานจำ�นวน 150 ราย ทีผ่ สมผสานระหว่างนักออกแบบชือ่ ดัง ตั้งชื่อใหม่ว่า “ตอร์ตอน่า ดีไซน์ วีก” แต่ยังคงแนวคิดดั้งเดิมในการเปิด งานแสดงนิทรรศการขนาดใหญ่ และข้อเสนอใหม่จากกลุ่มนักออกแบบ ให้ผชู้ มได้พบกับประสบการณ์แปลกใหม่ ระหว่างที่เดินลัดเลาะไปตาม รุน่ เยาว์ รวมถึงสถานทีจ่ �ำ หน่ายอาหารทีถ่ กู ออกแบบใหม่ให้เข้ากับบรรยากาศ ถนนตอร์ตอน่า ซาโวน่า และสเตนดาล ซึง่ นอกจากจะได้เห็นรถมินคิ เู ปอร์ โดยรอบ ความลงตัวที่ได้รับการออกแบบมาอย่างพิถีพิถันนี้ส่งผลให้งาน หลายคันถูกยกลอยขึน้ ฟ้า เก้าอีส้ แี ดงสดสำ�หรับนอนเอกเขนกกลางจัตรุ สั ดังกล่าวนัน้ ประสบความสำ�เร็จอย่างสูงทัง้ ในด้านการสร้างแบรนด์ตอร์ตอน่า ขนาดเล็ก และทางเข้าอาคารทีเ่ ป็นอุโมงค์สขี าวทอดยาวไปสูห่ อ้ งด้านในซึง่ ควบคู่ไปกับมิลาน และยังทำ�ให้การเดินท่องเที่ยวในย่านนี้ถูกจัดอยู่ใน ยังคงสภาพของผนังอิฐเก่าทีโ่ อบล้อมม่านนํา้ ไว้กลางห้องแล้ว แสงไฟแอลอีดี รายการที่พลาดไม่ได้อีกด้วย เทคโนโลยีล่าสุดของบริษัทโตชิบา ที่ได้รับการออกแบบมาเป็นอย่างดี ยังช่วยสร้างบรรยากาศในการดืม่ ดํา่ สุนทรียภาพแห่งสถานทีน่ ไ้ี ด้อย่างลุม่ ลึก ที่มา: ตอร์ตอน่า ดีไซน์ วีก อยูภ่ ายใต้การบริหารจัดการของบริษทั ตอร์ตอน่า inhabitat.com designophy.com แอเรีย แล็บ แอสโซซิเอชั่น ซึ่งก่อตั้งโดยสตูดิโอออกแบบหลายแห่งที่ตั้ง yatzer.com เมษายน 2555 l Creative Thailand
l7
CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด
เรื่อง: เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร และ กริยา บิลยะลา
FEATURED BOOK
iF Concept Award Yearbook 2011: Design Talents การส่งผลงานเข้าประกวดเพื่อสร้างตัวตนใน วงการ อาจไม่ใช่สตู รสำ�เร็จสูก่ ารคว้าดาวทีย่ ง่ั ยืน แต่ถึงอย่างนั้น เราก็คงปฏิเสธไม่ได้ว่า มันคือ หนึ่งในช่องทางลัดที่จะช่วยสร้างประสบการณ์ อันดี และยังอาจกลายเป็นจุดเริ่มต้นที่จะเปลี่ยน ชีวิตของคุณไปตลอด สำ�หรับนักออกแบบ iF Design Award คือรางวัลทีจ่ ะทำ�ให้ทว่ั โลกหันมา รูจ้ กั กับผลงานของคุณได้ดที ส่ี ดุ เพราะนัน่ หมายถึง ผลงานนั้นมีความยอดเยี่ยมใน 3 ด้าน ได้แก่ สุนทรียศาสตร์ หน้าทีก่ ารใช้งาน และแนวคิดการ ออกแบบเพื่อความยั่งยืน และยิ่งหากใครได้รับ iF Gold Award ก็จะเทียบได้กบั การได้รบั รางวัล ออสการ์ในวงการออกแบบเลยทีเดียว วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ของการเปิ ด เวที ก าร ประกวดผลงานยอดเยีย่ มนี้ ก็เพือ่ ส่งเสริมให้สงั คม ตระหนักและเห็นความสำ�คัญของการออกแบบ ทั้งยังเป็นการสร้างตัวอย่างที่ดีในการออกแบบ
8 l Creative Thailand l เมษายน 2555
โดย iF International Forum Design นับเป็น เวที สำ � หรั บ นั ก ออกแบบมื อ อาชี พ และบริ ษั ท ออกแบบทีส่ ามารถผลิตผลงานออกสูต่ ลาดได้จริง ซึง่ มีการจัดการประกวดอย่างต่อเนือ่ งเช่นนีม้ าแล้ว กว่า 50 ปี ทัง้ นี้ ในปีทผ่ี า่ นมา iF ได้เริม่ ชักชวน บริษัทต่างๆ ในวงการออกแบบให้หันมาใส่ใจ กับความสำ�คัญของอนาคต อย่างพลังสร้างสรรค์ ของนักเรียน นักศึกษา ที่เต็มไปด้วยแนวคิดของ คนรุน่ ใหม่มากขึน้ เพราะเข้าใจดีวา่ สิง่ ทีพ่ วกเขาคิด ในวันนี้ อาจยังไม่สามารถทำ�ให้สำ�เร็จได้จริง ด้วยข้อจำ�กัดของงบประมาณและผู้สนับสนุน ในการประกวดผลงานปี 2011 จึงมีผลงาน จากนักออกแบบหน้าใหม่ถกู ส่งเข้าประกวดทัง้ สิน้ 8,007 รายการจากทั่วโลก และถูกคัดให้เหลือ 300 ชิ้นเพื่อประกาศเป็นผลงานที่มีแนวคิดใน การออกแบบยอดเยี่ยม ก่อนที่จะตัดสินโดย คณะกรรมการอีกครั้งในรอบสุดท้าย เพื่อเฟ้นหา
100 สุดยอดแนวคิดทีเ่ ต็มไปด้วยความสร้างสรรค์ และความเป็นไปได้ในการต่อยอดทางธุรกิจ อีกทัง้ ยังต้องสะท้อนถึงศักยภาพ ความหวัง และความคิด ในการออกแบบของคนรุ่นใหม่ได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้น คณะกรรมการยังคัดเลือก 12 จาก 100 แนวคิดนัน้ ให้ได้รบั เงินรางวัลร่วม 30,000 ยูโร พร้อมจัดอันดับ 100 มหาวิทยาลัยที่มีผลงาน โดดเด่นมากทีส่ ดุ ผ่านการนับคะแนนจากผลงาน ประกวดที่รับรางวัลทั้งหมดรวมกัน และถ้าอยากรูว้ า่ มหาวิทยาลัยใดที่ iF จัดให้ เป็นมหาวิทยาลัยออกแบบดีเด่นในปีที่ผ่านมา ก็สามารถไปติดตามอ่านกันต่อได้ในเล่ม เพือ่ ร่วม ชืน่ ชมผลงานสร้างสรรค์ของนักออกแบบในอนาคต ที่อยู่ไม่ใกล้ไม่ไกลจากทางฝั่งเอเชียเรานี่เอง
CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด
BOOK Business Model Generation: A handbook for visionaries, game changers, and challengers โดย Alexander Osterwalder และ Yves Pigneur ใช่... สมัยนีใ้ ครๆ ก็อยากมีธรุ กิจของตัวเอง โดยเฉพาะ เด็กจบใหม่ไฟแรงที่เต็มไปด้วยความคิดดีๆ แต่ยัง อาจขาดประสบการณ์ทางธุรกิจ และหากคุณกำ�ลัง มองหาผูช้ ว่ ยเพือ่ เสริมพืน้ ฐานให้แน่น หนังสือเล่มนี้ คือคู่มือสำ�คัญที่คุณสามารถจะอ่านและใช้มันได้ อย่างสบายใจ เพราะผูเ้ ขียนได้อธิบายถึงการทำ�ธุรกิจ
ในโลกยุคใหม่อย่างเข้าใจง่าย เป็นขัน้ ตอน และมอง อย่างรอบด้าน ตัง้ แต่การจัดการภายใน การจัดการ ทรัพยากร จนถึงการเข้าถึงลูกค้าในยุคปัจจุบัน ซึ่ง ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ฝันจะเป็น Game changer หรือผู้เปลี่ยนเกมในโลกธุรกิจก็ไม่ควรพลาด
DVD The September Issue
กำ�กับโดย R.J. Cutler จาก Metropolitan Museum Costume Institute Ball งานประจำ�ปีที่เป็นการรวมตัวของนักออกแบบ ช่างภาพ และบ.ก.ชื่อดังระดับโลก เปิดประตูส่ ู โปรเจ็กต์ภาพยนตร์เชิงสารคดีของ อาร์.เจ. คัทเลอร์ ที่ตีแผ่เบื้องหลังอันลึกลับของอาณาจักรแฟชั่นและ ทุกกระบวนการผลิตนิตยสารโว้ก ยูเอส ฉบับเดือน กันยายน ที่มีความหนามากที่สุดในประวัติการณ์ ถึง 840 หน้า โดยบอกเล่าเรือ่ งราวของแอนนา วินทัวร์ ตั้งแต่วิธีการทำ�งานอย่างทุ่มเทในบทบาทผู้คุม บังเหียนแห่งโลกแฟชั่นซึ่งแทบไม่มีใครมีโอกาส ได้พบเห็น อิทธิพลของเธอต่ออุตสาหกรรมแฟชั่น และทุกการตัดสินใจที่เป็นเสมือนคำ�พิพากษาถึง
อนาคตของนักออกแบบ รวมถึงการมีส่วนผลักดัน ดี ไ ซเนอร์ รุ่ น ใหม่ ผ่ า นการก่ อ ตั้ ง กองทุ น แฟชั่ น CFDA/Vogue ในปี 2003 ซึง่ นับเป็นประกาศนียบัตร ทีเ่ ป็นใบเบิกทางสูค่ วามสำ�เร็จในอาชีพได้เป็นอย่างดี สิ่งเหล่านี้ล้วนตอกยํ้าให้เห็นถึงวิธีการทำ�งานแบบ มืออาชีพที่วิสัยทัศน์ต้องก้าวนำ�หน้าคนในวงการ เดียวกันไปหลายก้าว และยังสามารถลบภาพนางมาร สวมปราด้าของเธอได้อย่างสมเหตุสมผล
MAGAZINE Computer Arts Projects ในโลกของการเรียนรู้ ทุกอย่างรอบตัวคือแรงบันดาลใจ อันมหาศาล ทุกตัวอักษรจากหนังสือหรือตำ�รา เล่มหนาก็ถือเป็นแหล่งสร้างวิทยายุทธที่เปี่ยมพลัง การวางตำ�แหน่งและบทบาทของนิตยสารรายเดือน เล่มนี้จึงถูกจัดวางไว้อย่างสมดุลทั้ง 2 ส่วน คือ การเป็นแหล่งสร้างแรงบันดาลใจมืออาชีพสำ�หรับ กราฟิกดีไซเนอร์ หรือนักพัฒนาซอฟต์แวร์ และ การเป็นติวเตอร์ที่คอยให้คำ�แนะนำ�ในทุกเทคนิค กระบวนท่าของการปฏิบัติงานจริงอย่างเป็นขั้น
เป็นตอน ทั้งยังมีข้อมูลที่ทันสมัยตอบรับกับความ รุดหน้าของโลกเทคโนโลยี นิตยสารเล่มนี้จึงเป็น คำ � ตอบที่ ล งตั ว สำ � หรั บ นั ก ออกแบบที่ มี ไ ฟของ ความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรูท้ แ่ี ปลกใหม่ อยู่เสมอ
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l9
©Lv Hergzhong/Amateur Architecture Studio/Wang Shu
MATTER วัสดุต้นคิด
ตึกเก่า... เล่าเรื่องใหม่ เรื่อง: พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์
แม้ว่าการเปิดเวทีประกาศรางวัลหรือการจัดงานประกวด แข่งขันต่างๆ จะเป็นหนึ่งในวิธียอดนิยมเพื่อปั้นดาวดวงใหม่ แต่การจุดพลุไฟเพียงชั่วคราวจากเวทีการประกวดหรือให้ รางวัลนั้นก็ไม่อาจยั่งยืน หากขาดองค์ประกอบที่จะสร้าง ความเป็นเลิศให้กับผลงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งความสามารถ ในกระบวนการคิด การผสมผสานกระแสนิยมเข้ากับแก่นแท้ ของผลงาน หรือแม้แต่การเลือกใช้วัสดุที่มีความเหมาะสม และช่วยเพิ่มคุณค่าให้กับชิ้นงานได้อย่างแท้จริง ไม่นานมานี้ การประกาศผลรางวัลพริตซ์เกอร์ 2012 ได้สร้างแรงดึงดูด ให้ ส ถาปนิ ก ทั่ ว โลกหั น ไปให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ ผลงานสถาปั ต ยกรรม ของสถาปนิกชาวจีนมากขึ้น นั่นเป็นเพราะผู้ที่ได้รับเลือกให้ได้รับรางวัล ชนะเลิศในครั้งนี้คือ หวัง ซู สถาปนิกชาวจีนวัย 48 ปี เจ้าของผลงาน การสร้างอาคารที่มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วและโดดเด่นในการเลือกใช้ วัสดุ จนกลายเป็นสถาปนิกชาวจีนคนแรกทีไ่ ด้รบั รางวัลชนะเลิศจากเวทีนี้ ที่เปรียบเสมือนรางวัลโนเบลของผลงานทางด้านสถาปัตยกรรม “เหตุผล ทีเ่ ราเลือก หวัง ซู ให้ได้รบั รางวัลนีก้ เ็ พือ่ ประกาศให้โลกรับรูว้ า่ จีนกำ�ลังจะ เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาแนวคิดทางด้านสถาปัตยกรรมอย่างจริงจัง” โทมัส เจ. พริสเกอร์ ประธานมูลนิธไิ ฮแอตต์ ซึง่ เป็นสปอนเซอร์รายใหญ่ของ การจัดงานครัง้ นีก้ ล่าว สำ�หรับประวัตขิ อง หวัง ซู เขาสำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางด้าน สถาปัตยกรรมจากสถาบันเทคโนโลยีหนานกิง โดยผลงานตั้งแต่เริ่มแรก จนถึงปัจจุบันจะเน้นไปที่การค้นหาตึกรามบ้านช่องในชุมชนหรืออาคาร สถาปัตยกรรมเก่าแก่มาบูรณะซ่อมแซมใหม่ หรือนำ�เอาเศษวัสดุจาก ซากปรักหักพังจากบ้านเรือนหรืออาคารที่ถูกรื้อถอนและทุบทิ้งมาใช้เป็น วัสดุสำ�หรับโครงการที่มีหน้าตาที่ร่วมสมัยมากขึ้น ซึ่งเป็นเสมือนการ ฟื้นคืนชีวิตให้กับวัสดุเหลือใช้และอาคารที่ถูกทิ้งร้าง ทั้งยังเป็นการ สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่จากพื้นฐานวัฒนธรรมความเป็นอยู่เดิม ที่สำ�คัญผลงานยังแสดงถึงความเคารพต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการเลือก ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าสูงสุด 10 l Creative Thailand l เมษายน 2555
นอกจากนี้ ผลงานของ หวัง ซู ยังตอบคำ�ถามทางสถาปัตยกรรมจีน ทีว่ า่ “เราควรจะรักษารูปแบบเดิมๆ ไว้ หรือมองไปข้างหน้า” ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในช่วงรอยต่อระหว่างการเปลี่ยนรูปแบบชุมชนชาวจีนเข้าสู่ ความเป็นชุมชนเมือง ด้วยการนำ�เอาวัสดุเก่าจากสังคมแบบดัง้ เดิมเข้ามา ประยุกต์ใช้กบั รูปทรงและการก่อสร้างอาคารสมัยใหม่ทก่ี �ำ ลังได้รบั ความนิยม ในปัจจุบนั ผลงานทีไ่ ด้จงึ มีความเป็นอนันตกาล ทัง้ ยังฝังลึกไปด้วยรากเหง้า ทางวัฒนธรรมที่สื่อผ่านรูปลักษณ์อันเป็นสากล เช่นผลงานการสร้าง พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยและพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ที่หนิงโป เมือง ชายทะเลทางตอนใต้ของเซี่ยงไฮ้ นอกจากนี้ เขายังได้นำ�วัสดุที่เหลือ จากการทุบบ้านเรือนเก่าๆ ทิ้งมาประกอบเป็นกระเบื้องกว่า 2 ล้านแผ่น เพื่อมุงหลังคาสถาบันศิลปะในวิทยาเขตเซี่ยงซาน บริเวณชานเมืองของ หางโจวซึ่งเป็นบ้านเกิดของเขาเอง “สิง่ ทีท่ กุ คนอยากได้และอยากจะเห็นก็คอื ตึกใหม่ๆ เท่านัน้ พวกเขา ไม่ได้สนใจเรื่องของวัสดุมากนัก แต่สำ�หรับผม วัสดุไม่ใช่แค่วัสดุ เพราะ ข้างในนัน้ ยังมีประสบการณ์ ความทรงจำ� และเรือ่ งราวอีกมากมายบรรจุอยู่ และเป็นหน้าที่ของสถาปนิกที่จะต้องจัดการนำ�มันออกมาให้ได้” หวัง ซู ทิ้งท้ายเหตุผลในการสร้างงานสถาปัตยกรรมของเขาไว้อย่างสมฐานะ สถาปนิกเจ้าของรางวัล ที่มา: nytimes.com, pritzkerprize.com
CLASSIC ITEM คลาสสิก
เรื่อง: พิชิต วีรังคบุตร ก่อตัง้ ในปี 1837 ณ ใจกลางกรุงลอนดอน ทุกวันนี้ "รอยัล คอลเลจ ออฟ อาร์ต" หรือ "อาร์ซเี อ" มีบทบาทสำ�คัญระดับนานาชาติในการผลิตผลงานด้านความคิดสร้างสรรค์ ศิลปิน นักเขียน นักออกแบบมากมายที่ศึกษาที่นี่ จนเรียกได้ว่าเป็นมหาวิทยาลัยด้านศิลปะและการออกแบบที่ เก่าแก่และทรงอิทธิพลมากที่สุดในโลก ก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น "รอยัล คอลเลจ ออฟ อาร์ต" สถาบันแห่งนีม้ จี ดุ เริม่ ต้นจากชัน้ เรียนเล็กๆ ในซัมเมอร์เซ็ต เฮ้าส์ ที่รู้จักกันในนาม "เดอะ โกฟเวอร์เมนต์ สกูล ออฟ ดีไซน์" หนึ่งในนักเรียนชาย 12 คนที่เปิดรับในแต่ละปีคือ คริสโตเฟอร์ เดรสเซอร์ นักออกแบบอุตสาหกรรมหัวก้าวหน้า รุ่นบุกเบิกแห่งสหราชอาณาจักร หลังสงครามโลกครั้งที่สอง อาร์ซีเอได้เปิดคณะใหม่ เพื่อสอนการออกแบบตัวอักษรและการผลิตหนังสือ เมื่อ ได้รับความนิยมและการยอมรับในวงกว้าง จึงจัดตั้งขึ้น เป็นสำ�นักพิมพ์ของวิทยาลัยในปี 1953 ปัจจุบันคือ สำ�นักพิมพ์ไลออน แอนด์ ยูนิคอน (สิงโตและยูนิคอนคือ สัญลักษณ์ประจำ�สหราชอาณาจักรและราชวงศ์อังกฤษ และสัญลักษณ์ของอาร์ซีเอ) "ผลักดันให้ผู้เรียนได้ความรู้และสามารถปฏิบัติตัว ในฐานะศิลปินและนักออกแบบมืออาชีพ โดยมีความ เชื่อมโยงกับภาคการค้าและอุตสาหกรรม และการพัฒนา สังคมให้ดีขึ้น" คือเป้าหมายที่อาร์ซีเอประกาศภายหลัง จากได้เลื่อนขั้นขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยในปี 1967 เฮนรี มัวร์, เดวิด ฮ็อกนีย,์ ออสซี่ คล๊าก, เจมส์ ไดสัน และเซอร์ ริดลีย์ สก็อตต์ ประติมากร ศิลปิน นักออกแบบ เสื้อผ้า นักออกแบบอุตสาหกรรม และผู้กำ�กับภาพยนตร์ ชือ่ ดังของโลกล้วนเคยได้บม่ เพาะทักษะความรูจ้ ากสถาบันนี้
อาร์ ซี เ อเปิ ด รั บ เฉพาะนั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโทและ ปริญญาเอก โดยเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนมีอสิ ระในการทำ�งาน ที่ตนถนัด ปัจจุบันมีผู้ลงทะเบียนเรียนมากกว่า 1,100 คน จาก 58 ประเทศทั่วโลก และเปิดสอนหลักสูตรตั้งแต่การ ออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบเกม ไปจนถึงการ ออกแบบประสบการณ์การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ภาพเขียนสีนา้ํ มันบนผ้าใบ Study from the Human Body, Man Turning on the Light (1973) ของศิลปินชาว อังกฤษ ฟรานซิส เบคอน ซึง่ เป็นสมบัตสิ ว่ นตัวของอาร์ซเี อ ได้รับการประมูลไปในราคา 8 ล้านปอนด์ เมื่อปี 2007 เพือ่ ใช้เป็นทุนตัง้ ต้นสำ�หรับบ้านหลังใหม่ของคณะจิตรกรรม ที่แบตเตอร์ซี ปี 2012 ถือเป็นปีครบรอบ 175 ปีของอาร์ซีเอ จึงมี การจัดงานเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่เพื่อสานความสัมพันธ์ ของรุน่ พีแ่ ละรุน่ น้องในวงการศิลปะและการออกแบบ โดยมี เนวิลล์ โบรดี นักออกแบบกราฟิกรุ่นใหญ่แห่งนิตยสาร เดอะ เฟส และนิตยสารอารีนาร่วมออกแบบตราสัญลักษณ์ พิเศษ ในขณะที่นักเขียนชีวประวัติและประวัติศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม ฟิโอน่า แมคคาธีร์ รับหน้าที่ร้อยเรียง ประวัติความเป็นมาอันยาวนานของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ที่มา: rca.ac.uk
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 11
COVER STORY เรื่องจากปก
COVER STORY เรื่องจากปก
NETWORKING
UPCOMING DESIGNER
MENTOR
เรื่อง: มนฑิณี ยงวิกุล
พรสวรรค์ของคนหนึ่งคนอาจไม่มีประโยชน์เลย ถ้าต้องเผชิญกับ คนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสามารถเหมือนกัน แต่มีปัจจัยที่สนับสนุน ให้ได้ฝึกฝน ทดลองความคิดใหม่ๆ และมีแรงส่งมากพอเพื่อก้าว กระโดดจากสถานะมือสมัครเล่นไปสู่สนามแข่งขันของมืออาชีพ
I AM A DESIGNER
START 12 l Creative Thailand l เมษายน 2555
COVER STORY เรื่องจากปก
MANUFACTURER
PL AT
FORM
ORGANIZER
Discoverer
SHOWCASE NEW NEW SPACE SPACE
ENTREPRENEUR
MEDIA IA
FINANCES เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 13
COVER STORY เรื่องจากปก
ที่สหรัฐฯ ชาวยิวจะไม่ได้รับอนุญาตให้เป็นเจ้าของพื้นที่ทำ�กินเหมือนกับ ผู้อพยพชาติอื่นๆ พวกเขาจึงต้องตั้งรกรากอยู่ตามเมืองใหญ่ ประกอบ อาชีพที่เกี่ยวพันกับทักษะเฉพาะทางของตนเอง ตั้งแต่การเป็นเจ้าของ ร้านขายของชำ� ไปจนถึงเจ้าของธุรกิจตัดเย็บเสือ้ ผ้าซึง่ ถือเป็นธุรกิจทีเ่ ฟือ่ งฟู มากทีส่ ดุ จนทำ�ให้นวิ ยอร์กกลายเป็นหนึง่ ในแหล่งผลิตเสือ้ ผ้าของโลกตัง้ แต่ ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 บริเวณพื้นที่สี่เหลี่ยมรอบตึกเอ็มไพร์สเตท ตั้งแต่ถนนหมายเลข 9 มาจรดยังบรอดเวย์ และจากถนนหมายเลข 40 ใต้ไทม์สแควร์ไล่ลงมา จนถึงถนนหมายเลข 34 คือย่านที่เต็มไปด้วยโชว์รูมสินค้า ร้านตัดเย็บ และร้านขายอุปกรณ์ตกแต่งผ้า รวมถึงร้านรีดผ้าคุณภาพสูง ซึ่งถือเป็น แหล่งผลิตสินค้าเอ็กซ์คลูซีฟสำ�หรับห้องเสื้อชั้นนำ� ไปจนถึงแหล่งวัตถุดิบ และแหล่งผลิตงานต้นแบบสำ�หรับนักเรียนโรงเรียนแฟชั่นที่ตั้งอยู่โดยรอบ แต่ในที่สุดพื้นที่แห่งนี้ก็ถูกคุกคามจากความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ ของตนเอง ราคาที่ดินบนเกาะแมนฮัตตันที่พุ่งสูงขึ้นทำ�ให้เจ้าของที่ดิน เริ่มคิดถึงกำ�ไรจากการให้นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เช่าพื้นที่ ซึ่งเสนอ ให้ค่าเช่าในอัตราสูงกว่าค่าเช่าเดิมที่ถูกกำ�หนดไว้ให้ต่ําเพื่อคงความเป็น "เขตธุรกิจเสื้อผ้าพิเศษ" กลุ่มดีไซเนอร์จึงได้รวมตัวกันเพื่อคัดค้านและ กดดันให้เทศบาลเมืองนิวยอร์กทำ�อะไรบางอย่างเพือ่ รักษาสภาพแวดล้อม เดิมของพวกเขาไว้ไม่ให้หายไป หรือถูกแทนที่ด้วยตึกระฟ้าของโรงแรม และที่พักอาศัยซึ่งปัจจุบนั ได้ทยอยลุกลํ้าเข้ามายังดินแดนแห่งนี้ “การหาคนผลิตให้ได้ถือเป็นเรื่องสำ�คัญ เพราะท้ายที่สุดแฟชั่นก็ เป็นเรื่องของเวลา” คือคำ�อธิบายที่พูดถึงความสำ�คัญของย่านธุรกิจ เสื้อผ้าที่เข้าใจได้ดีของเยียวลี เติ้ง นักออกแบบชาวมาเลเซีย ศิษย์เก่า โรงเรียนการออกแบบพาร์สัน เจ้าของแบรนด์ “YEOHLEE” ซึ่งเปิดมา ตั้งแต่ปี 1981 โดยปัจจุบันผลงานของเธอได้รับการคัดเลือกให้จัดแสดง ถาวรในส่วนของคอลเล็กชั่นเสื้อผ้าที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันใน นิวยอร์ก 14 l Creative Thailand l เมษายน 2555
huffingtonpost.com
การหลัง่ ไหลของชาวยิวทีม่ าแสวงหาอนาคตใหม่ ณ ดินแดนแห่ง ความฝันอย่างอเมริกาอาจไม่ได้มีความสัมพันธ์โดยตรงกับการ แจ้งเกิดของดอนนา คาราน หรือแอนนา ซุย ถ้าหากพวกเขาไม่ได้ นำ�พาทักษะชั้นดีในการตัดเย็บเสื้อผ้า หมวก และการฟอกหนัง หรือขนสัตว์ตดิ ตัวมาด้วย
Fashion Business Omprovement District (BID)
Garment Center Special District
WHOLESALE FIRMS
MANUFACTURING FIRMS
SUPPLY FIRMS
DESIGN FIRMS
แผนที่เขตธุรกิจเสื้อผ้า โดย ซาร่า วิลเลียมส์ ส่วนหนึ่งของโปรเจ็กต์ "เมดอินมิดทาวน์"
เมื่อเป็นเช่นนี้ เทศบาลเมืองนิวยอร์กจึงตระหนักดีว่า การจะรักษา อนาคตของศูนย์กลางเมืองแฟชั่นโลกขนาด 55 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ (1,650 พันล้านบาท) นี้ไว้ได้นั้น จำ�เป็นต้องรั้งสตูดิโอของห้องเสื้อรุ่นเก่า พร้อมๆ กับดึงดูดนักออกแบบหรือผู้มีความสามารถรุ่นใหม่ให้ยังคงอยู่ ที่นิวยอร์กต่อไป โดยเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2010 เทศมนตรีเมืองนิวยอร์ก ไมเคิล อาร์. บลูมเบิร์ก และองค์กรเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง นิวยอร์ก จึงได้ประกาศโครงการแฟชั่นเอ็นวายซี 2020 ซึ่งประกอบ ด้วย 6 มาตรการ ได้แก่ การจัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือนักออกแบบ หน้าใหม่ให้เริม่ ต้นผลิตสินค้าของตัวเอง การแข่งขันโปรเจ็กต์ปอ๊ บ-อัพเพือ่ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของร้านค้าปลีก การจัดโปรแกรมการเรียนรู้ การบริหารธุรกิจแฟชัน่ การจัดโปรแกรมการฝึกงานสำ�หรับนักเรียนแฟชัน่ การคัดเลือก 30 ดาวรุง่ ทางด้านการบริหารธุรกิจแฟชัน่ และการจัดกิจกรรม ส่งเสริมให้นักออกแบบก้าวไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ มาตราการทั้งหกนี้จะทำ�ควบคู่ไปกับอีกหลายมาตรการที่ไม่เพียงแต่ จะเป็นการกรุยทางสู่ความเป็นมืออาชีพของเหล่านักเรียนนักศึกษาสาขา แฟชั่นเท่านั้น แต่ยังเป็นการรักษาให้ย่านผลิตเสื้อผ้าในแมนฮัตตันยังคง ความเป็นแหล่งทรัพยากรสำ�หรับนักออกแบบได้เกิดและเติบโตบนถนน สายแฟชั่นระดับโลก
corbisimages.com
FIRST STEP TO BIG STEP
COVER STORY เรื่องจากปก
coolhunter.com
พื้นที่ข นาด 500,000 ตารางเมตรโดยประมาณซึ่งตั้งอยู่ใจกลางมหานครนิวยอร์ก คือแหล่งผลิตเสื้อผ้าสำ �หรับคนอเมริก ันถึงร้อยละ 95 มาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 ก่อนที่จะยกระดับตัวเองไปสู่ศูนย์กลางแฟชั่นของโลก อันเป็นผลลัพธ์จากการรักษา ความสัมพันธ์พิเศษระหว่างนักออกแบบและผู้ผลิต ที่ร่วมกันพัฒนาผลงานจากความคิด สร้างสรรค์และเทคนิคการผลิตทีไ่ ม่หยุดนิง่ สำ�หรับวงการแฟชัน่ แล้ว พืน้ ทีแ่ ห่งนีเ้ ป็นเหมือนห้องทดลองและห้องทำ�งานขนาดใหญ่ ที่พวกเขาสามารถเริ่มต้นธุรกิจของตนเองจากการใช้เครือข่ายธุรกิจที่โยงใยกันอย่าง ครบวงจรภายในอาคารที่อยู่ใกล้กัน ตั้งแต่งานออกแบบ การขึ้นรูปทรงแบบภาพร่าง หรือแพทเทิร์นสามมิติ การสรรหาวัสดุตัดเย็บ ไปจนถึงการจัดแสดงสำ�หรับผูซ้ อ้ื การทำ� เครือ่ งหมายสำ�หรับตัดผ้า และการกำ�หนดขนาดของเสื้อผ้าตามที่ลูกค้าต้องการ จนไป สิ้นสุดที่การผลิตตามจำ�นวนจริง และการจำ�หน่ายที่ร้านค้าปลีกต่างๆ เขตธุรกิจเสื้อผ้าแห่งนี้จึงเป็นหัวใจเศรษฐกิจของเมืองนิวยอร์ก ด้วยมูลค่าธุรกิจปีละ 10,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ราว 300,000 ล้านบาท) การจ้างงานกว่า 24,000 ตำ�แหน่ง หรือคิดเป็นหนึ่งในสามของจำ�นวนแรงงานในโรงงานทั้งหมดทั่วนิวยอร์ก นอกจากนี้ ใน แต่ละปียังมีนักท่องเที่ยวและผู้ที่เดินทางมาร่วมงานนิวยอร์กแฟชั่นวีกโดยเฉพาะอีก มากกว่า 500,000 คน เพื่อสร้างรายได้ทั้งทางตรงและทางอ้อมให้กับเมืองถึง 733 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ (21,990 ล้านบาท)
© Betlmann/Corbis
Garment District
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 15
© John A.Angelil o/Corbis
COVER STORY เรื่องจากปก
เพราะเสื้อ 40 ตัว ถึงมี “นาแนต เลอพอร์” ในวันนี้ นาแนต เลอพอร์ นักออกแบบชัน้ นำ�ของนิวยอร์กและประธานกลุม่ Save the Garment Center เล่าถึงชีวิตการทำ�งานของเธอในสารคดี “เมดอินมิดทาวน์” ว่า เธอได้ รับออเดอร์แรกมาจำ�นวน 40 ตัว แต่รีกัล ออริจินัลส์ โรงงานตัดเย็บในย่าน ธุรกิจเสือ้ ผ้าแห่งแรกทีผ่ ลิตเสือ้ ผ้าให้เธอในขณะนัน้ ซึง่ เป็นโรงงานเดียวกับทีผ่ ลิตให้ แบรนด์ราล์ฟ ลอเรน และเจฟฟรี่ เบนเน่ ก็ยงั เต็มใจรับทำ�ชุดเสือ้ ผ้าจำ�นวนน้อยนิด นีใ้ ห้กบั เธอ ซึง่ ขณะทีเ่ ธอวิง่ เข้าออกโรงงานเป็นว่าเล่นตลอดปีของการทำ�งาน รอจเจอร์ โคเฮน เจ้าของโรงงานก็ได้สอนให้เธอเข้าใจถึงกระบวนการทำ�งาน รวมถึงช่วยเธอ แก้ปญั หาในการผลิตต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปี 1992 คอลเล็กชัน่ แรกของนาแนต เลอพอร์ จึงได้วางจำ�หน่ายทีร่ า้ นค้าในย่านอีสต์ วิลเลจ ซึง่ ภายหลังจึงได้ยา้ ยร้านมายังถนน หมายเลข 35 พร้อมกับได้จา้ งพนักงานทัง้ ช่างทำ�แพทเทิรน์ ช่างตัดเย็บ เพือ่ ทำ�งาน ร่วมกับโรงงานผลิตในย่านเดียวกัน จะเห็นได้วา่ ผูผ้ ลิตท้องถิน่ รายเล็กมีสว่ นสำ�คัญอย่างมากทีจ่ ะทำ�ให้นกั ออกแบบ หน้าใหม่สามารถเริ่มต้นธุรกิจ และยังเป็นแหล่งผลิตที่ไว้ใจได้ เพราะนักออกแบบ สามารถไปขลุกอยู่ที่โรงงานเพื่อควบคุมคุณภาพและสามารถเร่งปริมาณการผลิต ได้ในช่วงที่ต้องการ ปัจจุบันเสื้อผ้าของนาแนต เลอพอร์ ร้อยละ 85 ถูกผลิตขึ้นที่ ย่านธุรกิจเสื้อผ้าแห่งนี้ ซึ่งเธอมักจะกล่าวเสมอว่าถ้าหากไม่มีย่านธุรกิจเสื้อผ้าก็ ย่อมไม่มีเธอในวันนี้
16 l Creative Thailand l เมษายน 2555
Discoverer ในกรุงลอนดอนมีงานนิทรรศการของชายสองคนที่ส่งผล ต่อวงการออกแบบของสหราชอาณาจักร คนแรกคือ เซอร์ เทอเรนซ์ คอนราน ผู้ก่อตั้งฮาบิแทต ร้านเฟอร์นิเจอร์ที่ใส่ใจ ความละเมียดละไมในการดำ�รงชีวิตมาตั้งแต่ปี 1964 ที่ทำ�ให้ ผูบ้ ริโภคชาวอังกฤษได้มโี อกาสสัมผัสกับงานออกแบบสมัยใหม่ จากยุโรปในราคาที่พอจะซื้อหาได้ และอีกคนหนึ่งคือ กุยลิโอ แคปเปลลินี นักออกแบบและผูผ้ ลิตเฟอร์นเิ จอร์จากมิลาน อิตาลี ผู้ที่ทำ�ให้ดีไซเนอร์ชาวอังกฤษได้แจ้งเกิดบนเวทีสากล
นับเป็นเวลากว่า 20 ปีที่แคปเปลลินีได้ปลุกปั้นนักออกแบบหน้าใหม่ ด้วยสายตาอันแหลมคมในการคัดสรรผู้มาร่วมงานและความราบรื่น ในการให้อิสระแก่นักออกแบบได้ใช้ความสามารถเฉพาะตัวอย่าง เต็มที่ พร้อมกับใส่ความเป็นไปได้ทางธุรกิจเข้าไปในผลงาน จึงทำ�ให้ แบรนด์แคปเปลลินีกลายเป็นเจ้าพ่อแห่งวงการออกแบบที่สามารถ ผลิตงานที่มีสีสันและใช้งานได้จริงออกสู่ตลาดอย่างสมํ่าเสมอ แจสเปอร์ มอริสัน และทอม ดิกสัน เป็นผลผลิตรุ่นแรกของ การแสวงหาไอเดียใหม่จากสหราชอาณาจักร และในเวลาต่อมา มาร์ก นิวสันจากออสเตรเลีย มาร์แซล วานเดอร์สจากเนเธอร์แลนด์ และ พี่น้องโรแนนและเออร์วาน บูโรเล็ตจากฝรั่งเศส ก็กา้ วตามมาภายใต้
inredhemma.blogspot.com
COVER STORY เรื่องจากปก
โมเดลธุรกิจแบบอุปถัมภ์ของแคปเปลลินี ในงานสัมมนาเปิดนิทรรศการของแคปเปลลินี ที่พิพิธภัณฑ์วิคตอเรีย แอนด์อัลเบิร์ตซึ่งจัดขึ้นในช่วง "ลอนดอน ดีไซน์ เฟสติวัล" เขากล่าวว่า “การทำ�งานกับนักออกแบบมีหลายวิธี ทุกคนล้วนมีบุคลิกและภาษาของ ตัวเองทีบ่ ริษทั จะต้องให้ความเคารพ แต่นกั ออกแบบก็ตอ้ งเข้าใจเหมือนกัน ว่าอะไรที่บริษัททำ�ได้และทำ�ไม่ได้ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำ�คัญมากใน
การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง ระหว่ า งบริ ษั ท และนั ก ออกแบบ ซึ่งบางคนใช้เวลาเป็นเดือนแต่บางคนอาจใช้เวลานับปี เพราะจุดเริม่ ต้น ไม่ได้เหมือนกันหมด บางครั้งเริ่มจากงานต้นแบบ บางครั้งเป็นแค่ ภาพร่าง หรือเป็นแค่การพูดคุยกันเพื่อให้เข้าใจตรงกันว่าเรากำ�ลังจะ ร่วมงานกัน ซึ่งบางคนก็ทำ�จนได้ออกมาเป็นสินค้า และบางคนก็ยัง ไม่พ้นงานต้นแบบ”
terkultura.com
ผู้ที่ถูกค้นพบ ทอม ดิกสัน ประจักษ์ถงึ ความสามารถในการออกแบบของตนเองจากความพยายาม ในการเชื่อมเหล็กเพื่อซ่อมแซมมอเตอร์ไซค์ส่วนตัว จากนั้นเขาได้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ จากเหล็กเพื่อวางขายในจำ�นวนจำ�กัด ก่อนที่ชื่อของเขาจะโดดเด่นขึน้ หลังจากได้ ร่วมงานกับแคปเปลลินี ออกแบบเก้าอี้ "เอส แชร์" ในช่วงทศวรรษ 1980 “การทำ�งาน ร่วมกับแคปเปลลินีเป็นการเปิดตาอย่างแท้จริง มีช่องทางไปสู่โลกที่งานออกแบบ ได้รับรางวัลและได้รับการยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ทำ�ให้อุตสาหกรรมเติบโต” ในปี 1998 ทอมได้ร่วมงานกับฮาบิแทตในฐานะหัวหน้านักออกแบบและดำ�รง ตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์ก่อนที่จะลาออกไปในปี 2008 เพื่อทำ�งานใน ฐานะนักออกแบบอิสระ และร่วมงานกับบริษัทเฟอร์นิเจอร์จากฟินแลนด์ที่ชื่อว่า อาร์เท็ก โดยทีย่ งั คงทำ�งานร่วมกับนักออกแบบและแคปเปลลินเี พือ่ สร้างสรรค์ผลงาน ใหม่อย่างต่อเนื่อง เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 17
© Oliver Berg/dpa/Corbis
COVER STORY เรื่องจากปก
Media Platform การได้มีโอกาสแสดงผลงานเสื้อผ้าในปารีสตั้งแต่ปี 1970 ทำ�ให้ นั ก ออกแบบสั ญ ชาติญี่ปุ่นรุ่นบุกเบิกอย่าง เคนโซ ทาคาดะ ฮานาเอะ โมริ และอิซเซ มิยาเกะ ไม่เพียงสร้างความตื่นตาตื่นใจ จากการนำ�เสนอแนวคิดและความงามของแฟชั่นแบบตะวันออก แต่ ยั ง เป็ น ช่ อ งทางในการแทรกซึ ม เข้ า ไปเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ แบรนด์ชั้นสูงในกลุ่มผู้บริโภคฝั่งตะวันตกอีกด้วย
แม้ว่าปัจจุบันสื่อออนไลน์จะทำ�หน้าที่ของตัวเองได้อย่างดีเยี่ยมในการ ทลายกำ�แพงทางภูมิศาสตร์และเป็นตัวแทนจำ�หน่ายในการชักนำ�ให้ผู้ซื้อ และผู้ขายมาพบกันโดยตรงผ่านจอมอนิเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ แต่ทว่า งานแสดงสินค้าก็ยังคงเป็นเครื่องมือทางการตลาดที่ทรงพลังใน การนำ�เสนอผลงานออกแบบ อันเป็นสินค้าพิเศษที่ต้องอาศัยพื้นที่ใน การสื่อสารเรื่องราว การสร้างความรู้สึกจากการพบเห็นรูปทรง และการ ได้จับต้องวัสดุ ประเทศที่ส่งเสริมงานออกแบบให้เป็นส่วนหนึ่งของสินค้าส่งออกจึง ต้องมีการจัดงานแสดงสินค้าเพื่อสร้างแรงดึงดูดให้ลูกค้าจากทั่วโลกได้ เดินทางมาสัมผัสสินค้าด้วยตนเอง ดังนั้นงานแสดงสินค้าและเทศกาล งานออกแบบภายใต้แนวคิดต่างๆ จึงมีให้เห็นมากขึ้นตามวันเวลาแห่ง การยอมรับในความสำ�คัญของความคิดสร้างสรรค์และการออกแบบ 18 l Creative Thailand l เมษายน 2555
"มิลาน ดีไซน์ แฟร์" (SALONE INTERNAZIONALE DEL MOBILE) คือ งานแสดงเฟอร์นิเจอร์ระดับโลกที่มีมาตั้งแต่ปี 1961 โดยจัดขึ้นเป็นเวลา หนึ่งสัปดาห์ในเดือนเมษายนของทุกปี ซึ่งในปี 2011 ที่ผ่านมา มีจำ�นวน ผู้เข้าชมมากกว่า 300,000 คน และผู้เข้าร่วมแสดงงานมากกว่า 1,700 ราย (รวมงานแสดงเครื่องครัว ห้องนํ้า และอุปกรณ์) และแม้ว่าจะมีงาน แสดงสินค้าในเมืองใหญ่ของยุโรปอย่างเช่นงาน "IMM Cologne" ที่เมือง โคโลญจน์ เยอรมนี ในช่วงเดือนมกราคม ซึ่งมีผู้เข้าร่วมแสดงงาน มากกว่า 1,200 รายในปีทผ่ี า่ นมา แต่มลิ านก็ยงั คงเป็นจุดหมายปลายทางที่ ผู้ผลิตและนักออกแบบทุกคนต่างตั้งตารอที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในการ แสดงผลงานและสร้างโอกาสทางธุรกิจ โดยเฉพาะในส่วนของนักออกแบบ แฟชัน่ ซึง่ การได้เข้าร่วมงานแสดงขนาดใหญ่ทเ่ี ป็นสัญลักษณ์ของเมืองอย่าง เช่นนิวยอร์กหรือปารีสแฟชั่นวีกนั้นเปรียบเสมือนการได้ใบรับรองคุณภาพ และโอกาสที่จะเติบโตเป็นนักออกแบบที่มีชื่อเสียงต่อไป อย่างไรก็ตาม ด้วยเนือ้ ทีท่ จ่ี �ำ กัดในงานแสดงสินค้า จึงทำ�ให้การผลักดัน นักออกแบบหน้าใหม่นั้นขยับขยายจากภาครัฐไปสู่ภาคเอกชน ทั้งจาก บรรดาองค์กรที่ต้องการแสวงหาผู้ร่วมงานที่มาพร้อมกับไอเดียสดใหม่ หรือสื่อกลางอย่างเช่น นิตยสาร ที่ก็เข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นสะพาน เชื่อมระหว่างผู้ประกอบการและนักออกแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
COVER STORY เรื่องจากปก
ที่มา: architonic.com, designmuseum.org, fastcodesign.com, jetro.org, madeinmidtown.org, minimumblog.com, nytimes.com fuseproject.com
wallpaper.com
โซล ดีไซน์ เฟสติวัล ที่จัดโดยนิตยสารดีไซน์ ของเกาหลีใต้ ไม่เพียง แต่เป็นพื้นที่สำ�หรับนักออกแบบได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ทั้งที่อยู่ใน รูปแบบของภาพร่างหรืองานต้นแบบ แต่ยงั เป็นพืน้ ทีส่ �ำ หรับประชาสัมพันธ์ ผลงานของนักออกแบบหน้าใหม่ ซึ่งผลจากการทุ่มเทอย่างต่อเนื่องตลอด สิบปีนั้น ทำ�ให้กรุงโซลกลายเป็นหนึ่งในเมืองที่แมวมองนักออกแบบ มิอาจมองข้ามไปได้ เช่นเดียวกับนิตยสารวอลล์เปเปอร์* ที่อุทิศพื้นที่ให้ กับประวัติและผลงานของนักศึกษาด้านการออกแบบที่จะถูกส่งมาจาก สถาบันการศึกษาทั่วโลกภายใต้โครงการที่ชื่อว่า Graduate Directory ซึง่ ในปี 2011 ที่ผ่านมา มีนกั เรียนจำ�นวนมากถึง 387 คน ทีไ่ ด้รบั การการันตี ฝีมือโดยนิตยสารด้านการออกแบบชื่อดังที่ทรงอิทธิพลระดับโลกเล่มนี้
Designpreneur อีฟ เบฮาร์ ผูก้ อ่ ตัง้ สตูดโิ อออกแบบ ฟิวส์โปรเจ็กต์ ไม่เพียงประสบความสำ�เร็จในการ ออกแบบและปรับปรุง “เอ็กซ์ โอ” เครือ่ งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปเพือ่ การศึกษาสำ�หรับ เด็กด้อยโอกาสในราคา 100 เหรียญสหรัฐฯ (3,000 บาท) แต่เขายังได้สร้างโมเดลใหม่ ในการผนวกความคิดสร้างสรรค์เข้ากับการบริหารเงินทุน โมเดลของเบฮาร์ใช้หลักการเดียวกับการบริหารกองทุนร่วมลงทุน (Venture Capital Fund) ซึง่ โดยปกติ ผูบ้ ริหารกองทุนจะเฟ้นหาบริษทั ทีม่ ศี กั ยภาพในการร่วม ลงทุน และถอนทุนคืนจากการขายหุน้ เมือ่ นำ�บริษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังเช่นทีก่ องทุนเหล่านีล้ งทุนกับบริษทั คอมพิวเตอร์ทม่ี ไี อเดียแปลกใหม่ในซิลคิ อนวัลเลย์ แต่ในกรณีของฟิวส์โปรเจ็กต์นน้ั เมื่อมีลูกค้ามาว่าจ้างให้ออกแบบหรือพัฒนาสินค้า แทนทีจ่ ะต้องจ่ายเป็นค่าออกแบบดังเช่นทัว่ ไป เขากลับลดค่าออกแบบลงมาในระดับที่ เรียกได้วา่ สตูดิโอคือผู้ที่กำ�ลังลงทุนและรอผลตอบแทนในรูปของค่ารอยัลตี้จาก การขายหรือกำ�ไรและหุน้ วิธกี ารเช่นนีท้ �ำ ให้สตูดโิ อต้องทำ�งานหนักในการคัดสรรลูกค้า ทีม่ เี ป้าหมายหรือความท้าทายทีแ่ ตกต่างกันออกไปเพือ่ ทำ�งานร่วมกันในฐานะ “หุน้ ส่วน” แต่ก็เป็นการเปิดโอกาสให้พวกเขาได้ร่วมงานกับผู้คนที่หลากหลายและสามารถ ตัดสินใจตั้งแต่เริ่มต้นได้ว่างานนั้นๆ คุ้มค่าหรือไม่ที่จะเสี่ยงต่อไป “ผมเชือ่ มัน่ ว่ามันเป็นอนาคตของวงการออกแบบ การทำ�งานให้ค�ำ ปรึกษาแบบเดิม เริ่มใช้ไม่ได้แล้ว” เบฮาร์กล่าว ทั้งนี้เพราะเขามองว่าปัญหาของธุรกิจใหม่นั้นได้ เปลี่ยนไปจากเมื่อหลายสิบปีก่อน เพราะในยุคนี้ทุกธุรกิจต่างทุ่มเทเงินมหาศาล ในการสร้างแบรนด์ และยังเป็นการยากทีไ่ อเดียเพียงหนึง่ เดียวจะประสบความสำ�เร็จ หรือสามารถรักษาแนวทางของการออกแบบผลิตภัณฑ์ไว้ได้อย่างต่อเนือ่ งยาวนาน ถ้า หากจะจ้างบริษทั ทีป่ รึกษาแบบในระยะสัน้
ผลงานของฟิวส์โปรเจ็กต์ทท่ี �ำ ร่วมกับพูมา่
ปัจจุบนั ฟิวส์โปรเจ็กต์ได้รว่ มลงทุนในกิจการใหม่ 18 แห่ง ในจำ�นวนนี้ มี 3-4 แห่ง ทีไ่ ม่ได้ประสบความสำ�เร็จ แต่กย็ งั คงดำ�เนินการอยู่ ส่วนอีก 5 แห่งนัน้ ทำ�เงินได้จ�ำ นวน มาก หรืออาจกล่าวได้วา่ ร้อยละ 60 ของรายรับของสตูดโิ อมาจากกลยุทธ์การทำ�ธุรกิจที่ ไม่ได้มองหาลูกค้า แต่ก�ำ ลังมองหาบริษทั หรือหุน้ ส่วนทีจ่ ะสร้างมูลค่าในอนาคต มุมมองแบบผูบ้ ริหารกองทุนเช่นนีไ้ ม่ได้เกิดขึน้ บ่อยนักในหมูน่ กั ออกแบบ เพราะ นัน่ หมายถึงการก้าวข้ามอุปสรรคเกีย่ วกับตัวเลขทางบัญชี และการวางแผนธุรกิจทีต่ อ้ ง เกิดจากการรวมสมองทัง้ ซีกซ้ายและขวาเข้ามาทำ�งานด้วยกันอย่างครบวงจร แต่ส�ำ หรับ นักออกแบบส่วนใหญ่ทม่ี จี ดุ บอดในเรือ่ งนีแ้ ล้ว การได้เริม่ ต้นเก็บเกีย่ วปัจจัยพืน้ ฐานอืน่ ๆ ตัง้ แต่โอกาสในการสร้างสรรค์ผลงาน การเข้าถึงแหล่งผลิตทีไ่ ว้ใจได้และมีประสิทธิภาพ รวมถึงการได้การรับรองต่อสาธารณชนจากสื่อต่างๆ และผู้สนับสนุนนั้น ก็คือบันได ขั้นแรกเพื่อให้ได้มาซึ่งหุ้นส่วนที่มีสายตาแหลมคมทางธุรกิจที่จะช่วยอุดช่องโหว่ให้ พวกเขาสามารถเดิ น บนเส้ น ทางสายนี้ ใ นฐานะนั ก ออกแบบมื อ อาชี พ ได้ อ ย่ า ง ยาวนานต่อไป เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 19
พบกับนิตยสาร Creative Thailand
ทุกสัปดาหแรกของเดือน ที่ TCDC รานหนังสือ หองสมุด อาคารสำนักงาน และรานกาแฟใกลบาน ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จังหวัดเชียงใหม หัวหิน และ Mini TCDC 13 แหงทั่วประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล
รานหนังสือ • Asia Books • B2S • คิโนะคูนิยะ • C Book (CDC) • Zero Book • ศึกษิตสยาม • โกมล รานกาแฟ / รานอาหาร • Chaho • คอฟฟ เวิลด • อาฟเตอร ยู • ดอยตุง คอฟฟ • โอ บอง แปง • ซัมทาม คอฟฟ • บานไรกาแฟ เอกมัย • ทรู คอฟฟ • ยูอารสเตชั่น • รานกาแฟวาวี • Sweets Cafe • วีวี่ คอฟฟ • แมคคาเฟ • Babushka • คอฟฟ คิส • มิลลเครป • ไล-บรา-ลี่ คาเฟ • ก.เอย ก.กาแฟ • อะเดยอินซัมเมอร • ชีสเคกเฮาส • คอฟฟแอลลียอินเดอะการเดน • รมไมไออุน ทาวนอินทาวน • บานกามปู ทรอปคอล แกลเลอรี่ • ไอเบอรรี่ • Take a Seat • รานกวยเตี๋ยวเรือทุงพญาไท • Chic 39 Bed&Breakfast • ซูเฟ House Bakery • Greyhound (Shop and Café) • รานกาแฟบางรัก โรงภาพยนตร / โรงละคร • โรงภาพยนตรเฮาส • เมืองไทย รัชดาลัย เธียเตอร • ภัทราวดีเธียเตอร หองสมุด • หองสมุดศศินทร จุฬาฯ • หองสมุดมารวย • ศูนยหนังสือ สวทช. • หองสมุด The Reading Room • SCG Experience • The Reading Room พิพิธภัณฑ / หอศิลป • มิวเซียม สยาม • อุทยานการเรียนรู (TK park) • หอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร • การเดน แกลเลอรี่ แอนด คาเฟ • ดีโอบี หัวลำโพง แกลเลอรี • นับเบอรวัน แกลเลอรี่ • ไวท สเปซ แกลเลอรี่ • HOF Art โรงแรม • หลับดี (Hotel สีลม)
สมาคม • สมาคมธนาคารไทย • สมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย • สมาคมอุตสาหกรรมทอผาไทย • สมาคมหอการคาไทย • สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมไทย • สมาคมสโมสรนักลงทุน • สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย • สถาบันบุนกะแฟชั่น • สถาบันราฟเฟลส • สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน
เชียงใหม
• รานนายอินทร • รานเลา • ดอยชาง • 94 Coffee • รานแฮปปฮัท • คาเฟ เดอ นิมมาน • Kanom • รานมองบลังค • หอมปากหอมคอ • กูชาชัก & โรตี • จิงเกิ้ล • Impresso Espresso Bar • Minimal • Luvv coffee Bar • Gallery Seescape • The Salad Concept • casa 2511 • กาแฟโสด • รานสวนนม • กาแฟวาวี ทุกสาขา • อุนไอรัก • ช็อกโก คาเฟ • Love at first Bite • เวียง จูม ออน • Fern Forest Cafe' • Just Kao Soi
หัวหิน
• เพลินวาน • ชุบชีวา หัวหิน คอฟฟ • ทรู คอฟฟ หัวหิน • ดอยตุง คอฟฟ • ทูเก็ตเตอรเบเกอรี่ แอนดคาเฟ • อยูเ ย็น บัลโคนี่ • สตารบคั ส หอนาิกา • วรบุระ รีสอรท แอนด สปา • หัวหิน มันตรา รีสอรท • เลท ซี หัวหิน • กบาล ถมอ รีสอรท • บานใกลวงั • บานจันทรฉาย • ภัตตาคารมีกรุณา • ลูนา ฮัท รีสอรท • The Rock • บานถัว่ เย็น (ถนนแนบเคหาสน)
• อิฐภราดร • October • Tea House Siam Celadon • ดอยตุง คอฟฟ • Mood Mellow • Little Cook Cafe' • มหาวิทยาลัยเชียงใหม • สุริยันจันทรา • Rabbithood Studio • Things Called Art • หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม • หอการคาจังหวัดเชียงใหม • โรงแรมดุสิต ดีทู • เดอะเชดี • บรรทมสถาน • บานเส-ลา • Yesterday The Village • Hallo Bar • บานศิลาดล • Cotto Studio (นิมมานฯ) • 9wboutique Hotel • Food Coffee • รานวาซาบิ ซูชบิ าร (นิมมานฯ) • Just Milk • ไหม เบเกอรี่ • ดับเบิ้ลซี คุกกี้ แอนด คอฟฟ บายนิตา • Hub 53
ลําปาง
• A little Handmade Shop • อาลัมภางค เกสตเฮาส แอนด มอร • Egalite Bookshop
นาน
• รานกาแฟปากซอย • Nan Coffee Bean
ภูเก็ต
• รานหนัง (สือ) ๒๕๒๑ • The Oddy Apartment & Hotel
เลย
• มาเลยเด เกสตเฮาส • บานชานเคียง
โคราช
• Hug Station Resort
ปาย
• รานเล็กเล็ก
นครปฐม
• Dipchoc Café
อุทัยธานี
• Booktopia หมายเหตุ: แสดงเพียงบางสวนของสถานที่จัดวางเทานั้น
designboom.com
INSIGHT อินไซต์
เรื่อง: กมลกานต์ โกศลกาญจน์
จากการเปิดตัวครั้งแรกในปี 1999 สู่การได้รับเลือกจากนิตยสารไทม์ ในปี 2007 ให้เป็นหนึ่งในร้อยผู้ทรงอิทธิพลต่อ งานออกแบบโลก จึงไม่น่าแปลกใจว่าในปี 2011 “ดีไซน์บูม” นิตยสารงานออกแบบออนไลน์ฉบับแรกของโลกนี้ จะได้รับ ความนิยมจากผู้อ่านกว่า 4 ล้านคนต่อเดือน ที่แวะเวียนเข้ามาอ่านเนื้อหาบนหน้าเว็บที่มีมากถึง 20,000 บทความ ตัวเลข เหล่านี้ไม่ได้สะท้อนเพียงความนิยม แต่ยังเป็นเครื่องยืนยันถึงการทำ�หน้าที่เติมเต็มความหมายของคำ�ว่า “โอกาส” ปัจจัย สำ�คัญในการสร้างสรรค์ผลงานและตัวตนของนักออกแบบให้เป็นรูปธรรมขึ้นมา ด้วยวัตถุประสงค์ตง้ั ต้นทีต่ อ้ งการสร้างแรงบันดาลใจและค้นหานักออกแบบ บีร์กิต โลห์มันน์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งดีไซน์บูมให้สัมภาษณ์ว่า “ฉันสร้าง ที่มีความสามารถเฉพาะทาง พร้อมกับผลักดันมือสมัครเล่นให้โลดแล่น ดีไซน์บูมขึ้นมาจากสองสิ่งที่ฉันชอบมากที่สุด หนึ่งคือการใช้เวลาเรียนรู้ ในสนามจริง ดีไซน์บูมจึงเปิดพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ความเป็นธรรมชาติของผู้คนและสังคมในปัจจุบัน และสองคือการค้นหา ผ่านฐานข้อมูลที่ได้รับการคัดเลือกอย่างเข้มข้น ทั้งงานออกแบบด้าน แนวทางการทำ�งานใหม่ๆ และคำ�ตอบทีเ่ ชือ่ มโยงสองสิง่ นีเ้ ข้าด้วยกันก็คอื สถาปัตยกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบกราฟิก และภาพถ่าย การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการออกแบบผ่านระบบอินเทอร์เน็ต อีกทั้งรองรับผลงานของนักออกแบบหน้าใหม่ ควบคู่ไปกับการเผยแพร่ ดีไซน์บูมเกิดขึ้นจากแนวความคิดนั้น จนถึงวันนี้ การสั่งสมประสบการณ์ จากความเป็นมืออาชีพของทีมงานทุกคน ทำ�ให้พวกเรารูว้ า่ โลกแห่งความจริง เรือ่ งราวที่จะเปิดประตูสู่โลกอันไร้ขอบเขตของวงการงานออกแบบ ดีไซน์บูมนำ�เสนอบทสัมภาษณ์ศิลปินเจ้าของผลงานที่น่าสนใจ คือที่ที่ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา นั่นจึงเป็นเหตุผลว่าทำ�ไมเราถึงต้อง จัดกิจกรรมการประกวดร่วมกับบริษัทชั้นนำ� (อาทิ ชวารอฟกี้ แอร์เมส ค้นคว้ากันอย่างหนัก เพื่อนำ�เสนอข้อมูลที่อัพเดตที่สุดให้กับผู้อ่าน” นิสสัน หรือฟูจิสึ) ที่ฉีกกฎการแข่งขันทั่วไป ด้วยการลบเงื่อนไขเรื่อง การตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการสร้ า งเวที แ สดงผลงานที่ มี การจำ�กัดอายุของผูเ้ ข้าสมัคร ค่าใช้จา่ ยในการเข้าร่วม พร้อมทัง้ ยังเสนอตัว คุณภาพนั้นเป็นเรื่องที่น่ายินดี เพราะอีกด้านหนึ่งนั่นหมายถึงการสร้าง ตีพิมพ์ตัวอย่างผลงาน เพื่อช่วยสร้างลิขสิทธิ์ให้กับนักออกแบบด้วย แรงบันดาลใจส่งต่อให้นักออกแบบรุ่นหลังได้ร่วมกันขับเคลื่อนระบบ อีกทางหนึง่ นอกจากนี้ ในเว็บไซต์ยงั มีบทวิจารณ์งานศิลปะทีม่ คี ณุ ค่าต่อ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์นี้ต่อไป อุตสาหกรรมและสังคมของงานออกแบบ เพื่อแนะนำ�ให้เห็นถึงมิติอื่นๆ ที่มา: designboom.com, trendhunter.com ของผลงานแต่ละชิ้น เมษายน 2555 l Creative Thailand l 21
CREATIVE ENTREPRENEUR คิด ทำ� กิน
เปิดโลกแฟชั่น แบบไม่มีเซ็นเซอร์
UnCENSORED เรื่อง: ณัฐพร ศรีศิริรังสิมากุล ภาพ: พิชญ์ วิซ
“อยากทำ�อะไรสักอย่างเป็นของตัวเอง แต่จะเริ่มอย่างไรและทำ�อะไร ดีละ่ ” เชือ่ ว่าคุณคงเคยได้ยนิ ประโยคนีจ้ ากคนใกล้ตวั มาแล้วนับครัง้ ไม่ถ้วน หรือไม่เช่นนั้นก็เป็นตัวคุณเองที่พูดประโยคนี้อยู่บ่อยๆ แต่สดุ ท้ายก็ลม้ เลิกความฝันไปกลางคัน แต่ส�ำ หรับ ศิรกิ นั ยา "กิฟ ๊ ท์" จันทร์สกุลพร เธอมีความมุ่งมั่นเกินร้อยและยึดในสิ่งที่รัก นัน่ ก็คือ แฟชั่นและศิลปะเป็นหลัก และเมื่อจังหวะที่ดีมาถึงก็ลงมือทันที จนเกิดเป็น UnCENSORED เซเล็กช็อป (Select shop) ที่ทั้ง ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ส่วนตัวได้ และเป็นส่วนช่วยให้ผลงานของ ดีไซเนอร์หน้าใหม่ได้ออกสู่สายตาคนทั่วไป จนได้รับการตอบรับ ที่อบอุ่นจากลูกค้าคอเดียวกัน
22 l Creative Thailand l เมษายน 2555
CREATIVE ENTREPRENEUR คิด ทำ� กิน
From passion to occupation แรงบันดาลใจที่จุดประกายให้กิ๊ฟท์คิดสร้าง UnCENSORED ขึน้ มา คือการได้มโี อกาสเดินทาง ท่องเที่ยวในทวีปยุโรปช่วงฮันนีมูน ซึ่งทำ�ให้เธอ ได้เห็นร้านเซเล็กช็อปที่ซ่อนตัวอยู่ตามตรอก ซอกซอยของเมืองต่างๆ มากมาย จนตกหลุมรัก แบรนด์ของดีไซเนอร์ที่ชื่ออาจไม่คุ้นหูนัก แต่มี ผลงานเก๋สะดุดตา “เป็นความบังเอิญที่เราเดิน หลงทางไปเจอร้านเซเล็กช็อปตามเมืองต่างๆ แล้วชอบ เลยเริ่มสืบว่าแบรนด์นี้เป็นของใคร ถ้าเราไปอีกประเทศ แบรนด์นั้นจะไปวางขาย ทีร่ า้ นไหน พอชอบจริงจังเลยเริม่ หาข้อมูล บวก กับช่วงนั้นเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ท่เี ซ็นทรัลเวิลด์ Jira & Gunyah ร้านเสื้อที่กิ๊ฟท์เปิดที่นั่นก็เลย ชะงักไป เราเลยมาคิดว่าจะทำ�อะไรต่อไปดี จน ตัดสินใจว่าอยากนำ�ของเก๋ๆ ที่เราเห็นจากการ เดินทางมาให้คนอื่นได้สัมผัสที่เมืองไทยบ้าง" "ประมาณหนึง่ เดือน หลังจากกลับจากฮันนีมนู ก็ ต้องเดินทางกลับไปทำ�ธุระกับสามีอกี เลยตัดสินใจ ติดต่อขอเจอดีไซเนอร์เลย แบรนด์แรกที่ไปคุย คือ Trousers London ที่ออกแบบกางเกงยีนส์ กิ๊ฟท์อีเมล์ไปขอคุยกับเขาพร้อมสั่งกางเกงยีนส์ ให้สามีดว้ ยหนึง่ ตัว แล้วก็เอาฝันไปขายเขาว่าเรา อยากเปิดร้านแบบนีๆ้ นะ นัง่ วาดรูปให้เขาดูเลย” Live and learn ถึงจะยังไม่มีแผนธุรกิจไปนำ�เสนอ แต่กิ๊ฟท์พก “ใจ” ไปเกินร้อย จนสามารถชนะใจดีไซเนอร์ได้ ในทีส่ ดุ “การขอเจอดีไซเนอร์ไม่ยากค่ะ แต่กว่า จะทำ�ให้เขามั่นใจจนยอมให้แบรนด์เรามาขาย มันยากมาก” เธอลากเสียงยาว “เขาจะถามก่อนเลย ว่าเราจะมีแบรนด์อน่ื อะไรในร้านอีก ถ้าไม่เข้ากัน เขาก็จะไม่ยอม แต่เขาคงเห็นว่าเรามีแพชชั่น จริงๆ และคอนเซ็ปต์ร้านชัดเจน ก็เลยโอเค” เมื่ออดีตดีไซเนอร์อย่างเธอต้องผันตัวเองมาดู เรือ่ งธุรกิจด้วย กิฟ๊ ท์จงึ ต้องเริม่ นับหนึง่ ใหม่แทบ ทุกเรือ่ ง “แต่กอ่ นเราทำ�แค่รา้ นเล็กๆ ออกแบบเอง ผลิตเองในเมืองไทย แต่ UnCENSORED นีส่ เกล ใหญ่ขึ้นมาก มีทั้งเรื่องภาษี การออเดอร์และ สต็อกของ เพราะแต่ละแบรนด์เขาก็กำ�หนดมา
ว่าต้องสั่งขั้นตํ่าเท่าไหร่ พอเราได้ของมาแล้วก็ ต้องมาจัดการว่าจะปล่อยตัวไหนออกไปก่อน ต้องขอคำ�ปรึกษาไปทัว่ แต่ดที เ่ี รามีทมี แต่ละคน ก็จะแบ่งหน้าที่ดูแลต่างกันไปตามถนัด” Practical style ในช่วงแรก UnCENSORED มีสินค้ายืนพื้นเพียง 5 แบรนด์ แต่ปัจจุบัน ด้วยอายุร้านเพียงปีนิดๆ เซเล็กช็อปแห่งนีม้ สี นิ ค้าให้เลือกกว่า 10 แบรนด์ แล้ว “ตลาดแฟชัน่ เมืองไทยเล็ก ตอนทีต่ ดิ ต่อแต่ละ เจ้าไป เราเลยขอเป็นเอ็กซ์คลูซีฟด้วย คือขาย กับเราที่เดียว ซึ่งตอนแรกเขายังไม่ยอม ต้องใช้ เวลาพอสมควรกว่าทุกแบรนด์จะตกลงให้สิทธิ์นี้ กับเรา เพราะเรามียอดซือ้ ทีส่ มา่ํ เสมอจนเขามัน่ ใจ” ในการเลือกสินค้าเข้ามาในร้าน แน่นอนว่าเธอเลือก จากความชอบส่วนตัวเป็นหลัก “กิฟ๊ ท์จะบินไปดู คอลเล็กชัน่ ด้วยตัวเองในงานแฟชัน่ วีก และเลือก แบรนด์ ที่ มั่ น ใจได้ ว่ า จะไปได้ดีในตลาดเมือง ไทยและเข้ากับคอนเซ็ปต์รา้ นทีว่ างไว้ ซึง่ ก็ตรงตัว ตามชือ่ เลย คือ การเปิดกว้างและไม่ตกี รอบตัวเอง แบรนด์ท่ีเลือกมาเป็นของดีไซเนอร์หน้าใหม่ที่ คนไทยยังไม่ค่อยรู้จัก บางแบรนด์อย่าง Henrik Vibskov เขาก็ไม่ได้เป็นดีไซเนอร์มาแต่แรก แต่ เป็นมือกลองมาก่อน หรือ Surface to Air ก็เป็น คนในแวดวงเอเจนซี่ แล้วมาจริงจังกับเสือ้ ผ้าทีหลัง คือคุณไม่จำ�เป็นต้องรักแฟชั่นจ๋ามาแต่แรก แต่ ถ้าเดินเข้ามาในร้านและพร้อมจะรับสิง่ ใหม่ๆ เรา ก็จะเปิดโลกไปด้วยกัน” UnCENSORED bares all อีกหนึ่งหลักการที่กิ๊ฟท์ยึดเป็นหลักปฏิบัติมา โดยตลอด คือ การให้ขอ้ มูลลูกค้าเกีย่ วกับแบรนด์ ดีไซเนอร์ และสินค้าในร้านอย่างละเอียดแบบ อันเซ็นเซอร์ “ยังมีคนค่อนข้างเยอะที่คิดว่า ถ้า ต้องจ่ายราคาขนาดนี้ ไปซือ้ สินค้าแบรนด์เนมดังๆ ไม่ดกี ว่าเหรอ เราขออย่างเดียวว่าอย่าตีกรอบมา เราพร้อมจะลองเสนอดูว่ามีอะไรใหม่ๆ ที่คุณ อาจจะสนใจบ้าง มีหลายคนนะคะทีเ่ ปลีย่ นใจมา เป็นลูกค้าเรา เพราะบางทีเขาก็เบื่อกับแบรนด์ เดิมๆ แต่ไม่รู้ว่าจะหาของใหม่ๆ ได้ที่ไหน ซึ่ง
เราตอบโจทย์นเ้ี ขาได้” ในอนาคต กิฟ๊ ท์วางแผน ที่จะขยายไลน์สินค้าให้ครอบคลุมทั้งเสื้อผ้า เครื่องประดับ เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์ของลูกค้าให้ครบวงจร ยิง่ ขึน้ เธอยังคิดอยากเปิดร้านขึน้ อีกร้านหนึง่ เพือ่ เป็นพื้นที่ให้ดีไซเนอร์หน้าใหม่ชาวไทยได้แสดง ผลงาน “สนใจผลงานของดีไซเนอร์ไทยมากๆ ค่ะ แต่ไม่อยากเอาสินค้ามารวมไว้ท่ี UnCENSORED เพราะเดี๋ยวลูกค้าจะงงว่าจะขายอะไรกันแน่ เลยอยากทำ�อีกร้านหนึ่งแยกต่างหากให้ชัดเจน ไปเลย” สำ�หรับคนที่ฝันอยากเป็นมีธุรกิจเป็นของ ตัวเองแบบเธอ กิ๊ฟท์ให้คำ�แนะนำ�สั้นๆ แต่ได้ ใจความว่า “ต้องไม่ตกี รอบตัวเอง กล้าคิด และ กล้าทีจ่ ะทำ�มัน" UnCENSORED : เซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 2 กรุงเทพฯ
UNITY IN VARIETY
เซเล็กช็อป คือ ร้านที่ “คัดสรร” สินค้าหลากหลาย ชนิดจากหลากหลายแบรนด์มารวบรวมไว้ในที่ เดียว แต่ในความหลากหลายนั้น ของแต่ละชิน้ ก็ จะมีสไตล์เฉพาะทางทีเ่ ซเล็กช็อปแต่ละร้านได้เลือก มาแล้ว เพือ่ แสดงถึงคาแรกเตอร์ของทางร้านเอง เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 23
CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
CAPE TOWN เคปทาวน์ ออกแบบเพื่อประชาธิปไตย เรื่อง: ศิริอร หริ่มปราณี
แทนที่จะเลือกทำ�เงินจากการส่งออกทองคำ� แพลทินัม และเพชร พร้อมกับนั่งนับถอยหลังให้แร่ธาตุลํ้าค่าหมดไป เคปทาวน์กลับ ค้นหาลายแทงขุมทรัพย์ใหม่ที่จะมอบความมั่งคั่งไม่รู้จบให้แก่ประชาชน โดยมีการออกแบบเป็นหนทางสู่ความหวังบนซากปรักหักพัง ของความกดขีแ่ ละเหลือ่ มลา้ํ จากอดีตทีร่ นั ทด วันนี้ ท้องฟ้าเหนือแหลมกูด๊ โฮปจะเปิดกว้างและเจิดจ้ากว่าทีเ่ คย ด้วยปรารถนาอันแรงกล้า และจินตนาการที่จะเห็นชีวิตที่ดีอย่างเท่าเทียมกัน
ปฐมบทของความหวัง เบื้องหลังภาพโปสการ์ดสีจัดจ้านของท้องฟ้าและผืนทะเล เคปทาวน์คือ เมืองที่เปรียบเสมือนเหรียญสองด้าน ด้านหนึ่งคือความโก้หรูร่วมสมัย ท่ามกลางทิวทัศน์ของไร่องุ่นกับไวน์ช้นั ดีและหาดทรายสีทองกับเรือยอร์ช สีขาว อีกด้านหนึ่งคือความกันดาร เสื่อมโทรม และการแบ่งแยกสีผิว แต่ชาวเคปทาวน์และชาวแอฟริกาใต้กล็ ม้ ลุกคลุกคลานจนคว้าประชาธิปไตย ไว้ได้ในกำ�มือหลังจากการเลือกตั้งเมื่อปี 1994 ที่นับเป็นการเปิดศักราช แห่งความมีชีวิตชีวาให้แก่ประเทศ และทิ้งความทรงจำ�อันเลวร้ายของ เกาะร็อบเบินทีเ่ คยคุมขังเนลสัน แมนเดลา วีรบุรษุ ผูย้ ง่ิ ใหญ่แห่งแอฟริกาใต้ ให้กลายเป็นสัญญาณใหม่แห่งความหวัง เมื่อผลพลอยได้จากการเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลกในปี 2010 ทำ�ให้ เมืองแห่งนี้เติบโตอย่างคุ้มคลั่ง ตัวเลขนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 พร้อมๆ กับเงินทุนที่ไหลเข้าอย่างมหาศาลเพื่อลงทุนในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การผลิตไวน์ สนามบินที่ทันสมัยและโรงแรมระดับห้าดาว ต่างเทใจเพื่อต้อนรับนักธุรกิจจากทั่วโลก แต่ถงึ แม้เมืองจะแผ่กง่ิ ก้านสาขา ราวปาฏิหาริย์ ทว่าพื้นที่อยู่อาศัยของชาวเมืองผิวสีก็ยังถูกแบ่งแยกจาก แหล่งบริการสาธารณะต่างๆ ทั้งโรงเรียน โรงพยาบาล และแหล่งพักผ่อน หย่อนใจอยู่เช่นเดิม เมื่อเมืองยิ่งเป็นจุดสนใจ เคปทาวน์ก็ยิ่งประสบ ปัญหาเช่นเดียวกับเมืองอื่นๆ ที่กำ�ลังพุ่งทะยานสู่ความเติบโตทั่วโลก นั่น คื อ การต้ อ งต่ อ สู้ กั บ ความเจริ ญ ที่ ม าเพี ย งด้ า นเดี ย วเพราะเงิ น ลงทุ น มหาศาลหาได้ไหลเวียนไปยังทุกชนชั้นของสังคม จนทำ�ให้ระดับความ แตกต่างของรายได้และคุณภาพชีวิตถูกถ่างให้กว้างออก พร้อมกับปัญหา ความยากจน อาชญากรรม ยาเสพติด ที่เพิ่มมากขึ้นจนเกินจะเยียวยา ภาพความเหลือ่ มลํา้ ทางสังคมและช่องว่างทางรายได้ของผูค้ นในเมือง 24 l Creative Thailand l เมษายน 2555
ภาพความเหลือ่ มลา้ํ ทางสังคมและช่องว่างทางรายได้ของผูค้ นในเมือง กลายเป็นจุดมุ่งหมายสำ�คัญเบื้องหลังการเสนอตัวเข้าแข่งขันเป็นเจ้าภาพ World Design Capital ปี 2014 ภายใต้แนวคิด “Live Design, Transform Life” เนื่องจากคณะผู้บริหารเมือง นักสร้างสรรค์ ศิลปิน และ คณะทำ�งาน ต่างเห็นตรงกันว่า การออกแบบจะเป็นทางออกและเครือ่ งมือ พื้นฐานในการพัฒนาเมืองของภาครัฐและเอกชนเพื่อสร้างเสน่ห์ของ ความน่าอยู่ ตลอดจนประสิทธิภาพในการอยู่ร่วมกัน ซึ่งต้องอาศัยการ ขยายความที่ ก ว้ า งขวางและครอบคลุ ม ตั้ ง แต่ ก ารออกแบบผั ง เมื อ ง การจัดการพื้นที่สาธารณะ และการสร้างกิจกรรมต่างๆ ที่จะนำ�ไปสู่ การเชือ่ มต่อของผูค้ นให้ด�ำ เนินชีวติ ร่วมกันได้โดยไร้อคติทางเชือ้ ชาติ สีผวิ และภาษา เคปทาวน์จึงได้สื่อสารข้อความเหล่านีอ้ อกไปผ่านแคมเปญและ ข้อเสนอรายงานความยาว 465 หน้า เพื่อระดมนักสร้างสรรค์ทั่วเมือง ให้ตน่ื ตัวรองรับความท้าทายครัง้ ใหม่น้ี และหลังจากขับเคีย่ วกับเมืองบิลเบา ของสเปน และดับลินของไอร์แลนด์เมื่อปลายปีที่แล้ว ในที่สุด แพทริเซีย เดอ ลีลล์ นายกเทศมนตรีเมืองเคปทาวน์ก็ได้ขึ้นรับรางวัลในฐานะ เจ้าภาพจัดงาน World Design Capital ปี 2014 พร้อมกับถ้อยแถลงว่า “ที่ผ่านมาแอฟริกาใต้ได้รับการออกแบบเมืองเพื่อแบ่งคน แบ่งเชื้อชาติ แต่นับจากยุคประชาธิปไตยใหม่ วันนี้เราจะมุ่งไปสู่การออกแบบเพื่อ นำ�คนเข้ามาอยู่ร่วมกันและเพื่อสร้างเมืองที่แท้จริง” ภาพบน - การแสดงของเคป แดนซ์ คัมพานี ที่ อาร์ตสเคป เธียร์เตอร์ ภาพล่าง - ภาพถ่ายมุมสูงของเมืองเคปทาวน์
© Jordi Matas/Demotix
CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
© Yang Lei C/XinhuaPress/Corbis
Live Design, Transform Life.
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 25
CREATIVE CITY จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
จากดินแดนเหนือสุดอย่างเฮลซิงกิ ฟินแลนด์ ที่ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ เ ปิ ด บ้ า นเป็ น เมื อ งหลวง แห่งการออกแบบในปีน้ี มาสูด่ นิ แดนตอนใต้ทม่ี ี อากาศร้ อ นชื้ น แบบเมดิ เ ตอร์ เ รเนี ย นของ เคปทาวน์ในอีก 2 ปีข้างหน้า โลกแห่งการ ออกแบบจึงน่าจะได้เห็นในสิ่งที่แทบไม่มีอะไร เหมือนกันเลย ทั้งปรัชญา วิธีคิด วิธีแก้ปัญหา และผลผลิต เป็กก้า ทิโมเน็น กรรมการบริหาร World Design Capital ของเฮลซิงกิอธิบายว่า การออกแบบเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ แต่ความงาม ที่แท้จริงของการได้รับโอกาสนี้ก็คือ การสร้าง มรดกไว้ให้คนรุ่นต่อไป ซึ่งสิ่งนี้จะเติบโตได้ ต้องเกิดขึ้นจากความร่วมมือภายในชุมชนตาม วิถีทางที่เหมาะสม แน่นอนว่าเคปทาวน์ก็หวัง ใช้ โ อกาสนี้ เ พื่ อ เริ่ ม ต้ น บั น ทึ ก หน้ า ใหม่ ใ ห้ แ ก่ เมือง แม้การออกแบบอาจไม่ใช่สิ่งแรกที่ผู้คน คิดถึงเมื่อมาที่นี่ และแม้แต่ชาวแอฟริกาใต้เอง ก็มองแนวคิดเรื่องการออกแบบว่าไกลจากชีวิต ปกติ และมักคิดถึงแต่เรื่องที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ หรือศิลปิน ดังนั้นปัญหาก็คือ เคปทาวน์จะ ทำ � อย่างไรเพื่อผนวกแนวคิดการออกแบบให้ อยู่กับปากท้องของชาวแอฟริกันให้ได้ ไม่ใช่ เฉพาะแต่ชาวเคปทาวน์ “เราต้ อ งช่ ว ยให้ นั ก ออกแบบมี ค วาม ทะเยอทะยานที่จะปรับปรุงชีวิตของพวกเขา” คอนราด ซิเดโก นายกเทศมนตรีเมืองสเตล เลนบอสช์ หนึ่งในกำ�ลังสำ�คัญของโครงการ กล่าวไว้ และเพื่อสูบฉีดความทะเยอทะยาน และกระตุ้ น ความกระหายในอนาคตครั้ ง นี้ เทศบาลเมืองจึงได้ทบทวนกฎหมายที่อาจเป็น 26 l Creative Thailand l เมษายน 2555
ข้อจำ�กัดแก่ผ้ปู ระกอบการสร้างสรรค์ท้งั ในด้าน การจัดตัง้ ธุรกิจ การจ้างงาน และการจัดระเบียบ พืน้ ทีส่ าธารณะ โดยสิง่ แรกทีเ่ มืองลงมือทำ�ก็คอื การขยายบริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ให้ ค รอบคลุ ม และรวดเร็วเพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร และการทําธุรกิจออนไลน์ ส่วนแผนลงทุน ระยะยาวนั้น โรงเรียนต่างๆ จะได้รับการบรรจุ หลักสูตรที่ว่าด้วยความสําคัญของการออกแบบ ชี ว ิ ต และอนาคต เพื่อบ่มเพาะดีเอ็นเอด้าน การออกแบบให้แก่พลเมือง เพราะผลลัพธ์ของ แคมเปญที่จะเกิดในปี 2014 จะมีปลายทางที่ ถูกตัง้ เป้าไว้ในปี 2030 เพือ่ จะได้เห็นชาวแอฟริกา ยอมรับและเข้าใจว่ากระบวนการคิดเชิงออกแบบ คือเครื่องมือและอำ�นาจในการกำ�หนดอนาคต ของตัวเองอย่างแท้จริง เพือ่ เป็นการชิมลาง หลายโครงการของเมือง จึงเกิดขึ้นเพื่อนําไปสู่ภาพแห่งความเป็นไปได้ โดยเฉพาะในฝั่ ง ตะวั น ออกของเมื อ งในเขต วูดสต็อก ซึ่งเดิมเป็นเขตอุตสาหกรรมสิ่งทอที่ ปั จ จุ บั น กลายเป็ น ศู น ย์ ร วมของกลุ่ ม ศิ ล ปิ น นักดนตรี นักเขียน และเป็นทีต่ ง้ั ของโรงภาพยนตร์ โรงละคร อาร์ตแกลเลอรี่ ร้านกาแฟ และ ร้านอาหาร โดยมีจุดเด่นที่น่าตื่นเต้นอยู่ที่ Old Biscuit Mill ที่ตั้งขึ้นในปี 2006 โดยการดัดแปลง โกดังเก่าให้เป็นหอศิลป์และสตูดิโอเวิร์กช็อป 14 ห้องเพื่อเปิดให้ศิลปินท้องถิ่นเช่า และอีก ส่ ว นหนึ่ ง ถู ก ใช้ เ ป็ น พื้ น ที่ จั ด แสดงงานจาก ต่างประเทศ และการประชุมแลกเปลีย่ นมุมมอง ใหม่ๆ จากเหล่าศิ ล ปิน ทั ่ ว โลก นอกจากนี้ วูดสต็อกยังเป็นที่ตั้งสตูดิโอของนักออกแบบ
© mallix
©cleCorbis ntina.co.za
อ้อมกอดแห่งโอกาส
ชื่อดังมากมาย เช่น นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์ Pederson+Lennard และแบรนด์เสือ้ ผ้า Darkie รวมไปถึงบริษทั โฆษณา บริษทั จัดจำ�หน่ายสินค้า และโชว์รมู งานออกแบบจาํ นวนมากทีต่ า่ งช่วงชิง พืน้ ทีใ่ นเขตนี้ เมือ่ ศักยภาพปรากฏให้เห็นตรงหน้า เมื อ งจึ ง พุ่ ง เป้ า ที่ จ ะใช้ พ้ื น ที่ น้ี เ ป็ น ศู น ย์ ก ลาง ด้านนวัตกรรมการออกแบบ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเข้ามาผลักดันภายใต้การอาสาของ มหาวิทยาลัยเคป เพนนินซูลา ที่เชี่ยวชาญด้าน ไอทีและการออกแบบเพือ่ ส่งเสริมสังคม พร้อมทัง้ ส่งนักศึกษาลงพื้นที่เพื่อทำ�งานร่วมกับชุมชนใน กิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ะช่วยเสริมแรงทางบวกอีกด้วย จากศูนย์รวมนักสร้างสรรค์ เคปทาวน์ได้ หยิบจับงานออกแบบมาทดลองในพื้นที่ชุมชน หนึ่งในนั้นคือ Lynedoch EcoVillage ในเขต สเตลเลนบอสช์ ชุมชนแรกทีไ่ ด้รบั การออกแบบ ใหม่ทั้งหมดอย่างตั้งใจ โดยภายในชุมชนที่ว่านี้ ประกอบด้วยที่อยู่อาศัย 15 ครัวเรือน โรงเรียน ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ระบบบำ�บัดขยะ และมี กิจกรรมชุมชนเพือ่ ร่วมกันหารายได้และเป็นการ ดูแลชุมชนอย่างเป็นระบบ ซึง่ ถูกขยายความต่อ ด้วยการจัดแสดงเป็นนิทรรศการในพิพธิ ภัณฑ์เมือง เพื่ อ เสนอแนวคิ ด การออกแบบชี วิ ต ที่ ยั่ ง ยื น พร้อมกับแง่มมุ อืน่ ๆ ทางเศรษฐกิจ ขณะทีพ่ ร้อม แต่งเติมบรรยากาศรอบๆ เมืองด้วยเทศกาล อาหาร ไวน์ และหัตถกรรมออร์แกนิก ตลาดนัด เกษตรอินทรียต์ ามซอกซอยในวันหยุดสุดสัปดาห์ รวมถึงการจัดทำ�เส้นทางจักรยาน และบริการ รถแท็กซีส่ เี ขียว ซึง่ ทัง้ หมดนีก้ เ็ พือ่ สดุดแี ด่ความ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
core77.com
with
ในปี 2014 เคปทาวน์จะพิสูจน์สมมติฐาน การออกแบบของตนเองว่า พลังของมันจะเปลีย่ น โลกของพวกเขาไปในทางที่ ดี ขึ้ น ได้ อ ย่ า งไร ณ ช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองครบรอบ 20 ปี ในอ้ อ มกอดประชาธิ ป ไตยของแอฟริ ก าใต้ บรรยากาศที่ห้อมล้อมไปด้วยความหวังและ เสรีภาพนีจ้ ะเป็นฐานสำ�คัญให้เคปทาวน์เดินหน้า ไปอย่างมั่นคง แม้จะต้องท้าทายกับสายตา ในโลกแห่งการออกแบบ แต่ความพยายามที่ เกิดขึ้นในวันนี้ จะทำ�ให้ใครหลายคนอาจต้อง ทบทวนใหม่วา่ อย่าตัดสินเคปทาวน์เพียงเพราะ ที่ ต้ั ง ทางภู มิ ศ าสตร์ ข องเมื อ งหรื อ ภู มิ ห ลั ง ทางประวัติศาสตร์เพียงอย่างเดียว ที่มา: Making the city better by design โดย Lorella Bell จาก The Cape Argust (1 September 2010) Cape Town&Western Cape Destination Performance 2011 จาก ctru.co.za capetown2014.co.za oneandonlymagazine.com
© Am I Collective
Fall in Love
วัฒนธรรมหลากชาติหลายภาษาที่ห่อหุ้มเคปทาวน์นานกว่า 300 ปี ทำ�ให้สีสันของเมืองนี้ไม่เคย จำ�เจ ในศตวรรษที่ 15 โปรตุเกสเข้ามาทักทายในช่วงสั้นๆ ก่อนที่ดัชต์และบริษัทอีสต์อินเดีย จะนําพาแรงงานชาวอินเดียและมาเลย์มายังแอฟริกาในศตวรรษที่ 16-17 จนในศตวรรษต่อมา ราชินีวิกตอเรียและอังกฤษก็เข้ามาสร้างอิทธิพลและจับจองพื้นที่ที่สวยที่สุดของเมืองไว้ แต่กระนัน้ ความแข็ ง แกร่ ง ของวั ฒ นธรรมแอฟริ ก าก็ ยั ง คงแจ่ ม ชั ด จนเกิ ด เป็ น ส่ ว นผสมทางวิ ถี ชี วิ ต ที่ผู้มาเยือนต้องตกหลุมรัก • Bo-Kaap คือชุมชนชาวมลายูที่อพยพมาอยู่ในเคปทาวน์ โดดเด่นด้วยความสวยงาม ของบ้านเรือนที่มีสีสันสดใส เป็นที่ตั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ของชุมชนชาวมลายู และ องค์กรไม่หวังผลกำ�ไร Monkeybiz ดูแลผู้หญิงยากจนในชุมชนให้มีรายได้ โดยแจกจ่ายลูกปัดให้ สำ�หรับทำ�เป็นตุก๊ ตาหรืองานฝีมอื อืน่ ๆ เพื่อที่ผลกำ�ไรทีไ่ ด้จากการจำ�หน่ายจะได้กลับคืนไปสูช่ มุ ชน • Victoria & Alfred Waterfront ในปี 1860 เจ้าชายอัลเฟรด พระราชโอรสของสมเด็จ พระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรได้โปรดให้สร้างท่าเรือแห่งนี้ขึ้น ปัจจุบันได้กลาย เป็นแหล่งรวมสถานทีช่ อ็ ปปิง้ และสถานบันเทิงทีด่ งึ ดูดนักท่องเทีย่ ว ด้วยร้านค้าร่วมสมัยกว่า 270 ร้าน ทีจ่ ดั แสดงทัง้ งานศิลปะและหัตถกรรม ไปจนถึงแฟชัน่ จากนักออกแบบท้องถิน่ ร้านขายเครือ่ งประดับ เวทีแสดงดนตรี โรงภาพยนตร์ไอแมกซ์ 11 โรง โรงแรม 7 แห่ง และอีก 2 พิพิธภัณฑ์สัตว์นํ้าทะเล ซึง่ นักท่องเทีย่ วสามารถล่องเรือยอร์ชหรือเช่าเหมาลำ�เฮลิคอปเตอร์ได้จากทีน่ ่ี เพือ่ ซึมซับความศิวไิ ลซ์ รูปแบบใหม่ของแอฟริกา • Steenberg Vineyard ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองไป 20 นาที ไร่องุ่นแห่งนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของนิคมอุตสาหกรรมไวน์ที่เริ่มกิจการมาตั้งแต่ปี 1682 ปัจจุบันในเคปทาวน์มีโรงงานไวน์ กว่า 200 แห่ง • Cape Dutch หนึ่งในศิลปะการปรุงอาหารอันยาวนานของแอฟริกาใต้ มีส่วนผสม หลักที่โดดเด่นด้วยเครื่องเทศ จนชาวดัชต์ยอมตกเป็นหนี้ที่จะเรียนรู้วิธีปรุงอาหารชนิดนี้จากทาสที่ บริษัทอีสต์อินเดียพามาจากเบงกอล จาวา และมาเลย์ จนมางอกเงยที่เคปทาวน์มาถึงทุกวันนี้ • Design Indaba Expo ก่อตัง้ ขึน้ โดยมุง่ หวังให้งานออกแบบของแอฟริกาได้มีเวทีในการ แสดงตัวตนสู่โลกภายนอก และได้รับการยอมรับจากแวดวงการออกแบบ โดยจัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ เป็นประจำ�ทุกปี ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติเคปทาวน์ ภายในเทศกาลมีกิจกรรมการประชุม นิทรรศการ และงานแสดงสินค้า
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 27
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
มล.ภาวินี สันติศิริ ประสบการณ์เติบใหญ่ของนักออกแบบไทย เรื่อง: พันธิตรา สินพิบูลย์ และ มนฑิณี ยงวิกุล ภาพ: อดิเดช ชัยวัฒนกุล
ย้อนกลับไปประเทศไทยเมื่อสามสิบปีก่อนที่อาชีพนักออกแบบผลิตภัณฑ์ยังไม่เป็นที่รู้จัก และตลาดในประเทศ จำ�กัดอยู่กับผู้บริโภคชั้นสูงเพียงไม่กี่กลุ่ม กลับกลายเป็นโอกาสให้นักออกแบบหัวก้าวหน้าได้ปะทะกับกลุ่ม ผู้ซื้อต่างประเทศ และสั่งสมประสบการณ์ด้วยการทดลองทุกรูปแบบ จนกลายมาเป็นกลุ่มผู้บุกเบิกเฟอร์นิเจอร์ จากเส้นใยธรรมชาติอย่างผักตบชวาและกรุยทางให้งานออกแบบของไทยได้โลดแล่นอยู่ในตลาดโลก แม้ว่าสภาพแวดล้อมในสมัยนี้จะเอื้ออำ�นวยกับนักออกแบบมากกว่า สมัยก่อน แต่การก้าวขึ้นไปสู่นักออกแบบแถวหน้าและรักษาตำ�แหน่งนี้ ไว้ได้อย่างยาวนานนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่ง มล.ภาวินี สันติศิริ นักออกแบบ และผู้ก่อตั้งบริษัทโยธกา อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด หนึ่งในกลุ่ม นักออกแบบยุคแรกของเมืองไทย ยินดีที่จะบอกเล่าประสบการณ์ให้ นักออกแบบรุ่นใหม่ได้เรียนรู้ถึงข้อจำ�กัดและโอกาสจากจุดเริ่มต้นจนถึง ปัจจุบัน
ทำ�ตามแบบที่ฝรั่งเอาแคตตาลอคมาให้ก๊อปปี้ หรือเราเขียนแบบแล้วให้ ช่างทำ� ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเฟอร์นิเจอร์หวายแล้วก็งานไม้ ดีไซเนอร์ในยุค นั้นจึงทำ�งานหลายอย่าง เช่น คุณสุวรรณ คงขุนเทียน (นักออกแบบและ ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั โยธกา) ก็ทำ�งานหลายแห่งรวมถึงที่สงิ คโปร์ ซึง่ สมัยนัน้ แย่ กว่าประเทศไทยอีก ไม่มีดีไซเนอร์นะ ต้องนำ�เข้าจากประเทศไทย ก็จะมี รุ่นพี่ไปฝังตัวเต็มไปหมด ประเทศทางตะวันออกกลางก็ต้องนำ�เข้าทั้งคน และของจากไทย เพราะว่าคนไทยเป็นที่ยอมรับเรื่องความคิดและฝีมือดี
จุดเริ่มต้นในฐานะนักออกแบบมีความเป็นมาอย่างไร จริงๆ แล้วเรียนออกแบบตกแต่งภายใน ส่วนออกแบบผลิตภัณฑ์เป็น วิชารอง ก็จะเรียนหมด ทั้งเซรามิก งานปั้น งานเพ้นท์ งานพิมพ์ คือเมื่อ สามสิบปีก่อนบ้านเราไม่มีที่เรียนออกแบบผลิตภัณฑ์ ไม่ได้แยกสาขา ทุกคนต้องจบมาแล้วเป็นอินเทียเรีย ดีไซเนอร์หมด เพียงแต่ตอนเรียนจะ ต้องเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ทุกชิ้นที่ใช้ตกแต่ง ซึ่งแตกต่างจากฝรั่งที่จะมี ช่างเทคนิคเขียนแบบให้ คนออกแบบก็เน้นเรื่องคิดไป แต่ของเราต้องคิด ด้วย ทำ�ด้วย เขียนด้วย คือหลักสูตรโบราณนี่สอนให้เราเป็นเป็ด เหมือน กับพวกแฟชั่นก็ต้องออกแบบเอง ตัดเย็บเอง จึงทำ�ให้อยากทดลองอะไร ใหม่ๆ แล้วพอเรียนจบมาในยุคนั้นก็มีบริษัทออกแบบไม่กี่แห่ง ถ้าไม่เป็น ของต่างชาติก็เป็นของอาจารย์ จึงยังไม่มีดีไซเนอร์อิสระ ดังนั้นเมื่อจบ ออกมาจึงแยกย้ายกันไปทำ�งานในบริษทั ซึง่ บริษทั เฟอร์นเิ จอร์กม็ ที ง้ั รับจ้าง
แล้วเริ่มทำ�ผลิตภัณฑ์ของตนเองได้อย่างไร พอจบมาไม่ได้ทำ�งานบริษัทเพราะแม่ไม่สบายและไม่อยากทำ�งานประจำ� จึงตั้งบริษัทตกแต่งภายในกับเพื่อน และก็ทำ�ผ้าขาย ทั้งผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน ผ้าห่ม เพราะว่าในตลาดมีแต่แบบที่เราไม่ชอบจึงอยากทำ� ของตัวเอง ก็เลยลุยไปหาข้อมูลที่โรงงานจิม ทอมป์สัน ต้องหาผ้าที่ไหน ย้อมอะไร เขียนสีอย่างไร แล้วก็ทดลองอย่างเช่นทำ�อย่างไรให้สีที่พิมพ์ ซักแล้วยังอยู่ทน ทำ�เสร็จเซ็นทรัลก็เอาไปขาย ด้วยความบังเอิญ วันหนึ่ง ก็มีเพื่อนของลูกพี่ลูกน้องชวนไปช่วยงานของ World’s Women Banking ให้ช่วยออกแบบงานเพื่อสร้างรายได้ให้กลุ่มผู้หญิง ซึ่งเขาทำ�ตะกร้าลูกไก่ จากผักตบชวาที่กว๊านพะเยา แล้วเขาขอให้ช่วยคิดว่าจะทำ�อย่างไรให้ได้ เงินมากกว่าการสานตะกร้าซึ่งต้องถัก 5 วัน 10 วัน กว่าจะได้ใบหนึ่ง ขายอยู่ 30 บาท คือพี่ที่มาช่วยเขาเก่งด้านการตลาด ก็เลยคิดว่าน่าจะทำ�
28 l Creative Thailand l เมษายน 2555
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 29
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
เฟอร์นิเจอร์เพราะมันต้องใช้ผักตบเยอะ แล้วน่าจะได้กำ�ไร หลังจากนั้นก็ เป็นขั้นตอนไปหาข้อมูลตามที่ต่างๆ ว่ามีผักตบที่ไหน มีใครทำ�บ้าง ไปขอให้มหาวิทยาลัยเกษตรฯ ช่วยวิจัยว่าจะจัดการกับเชื้อราอย่างไร ทั้งหมดใช้เวลาสองปีเพราะทุกขั้นตอนต้องใช้เวลาหมด มันไม่มีอะไรง่าย เพราะเวลาทดลองก็ต้องทดลองหมด เพื่อให้รู้จุดอ่อนแล้วก็ทำ�ให้มันเวิร์ก นอกจากนี้ก็ต้องไปบอกชาวบ้าน ให้ถักเปียผักตบยาวสามสิบเมตร แบบใหม่ให้เรา ยํ้าว่าอย่าทำ�เปียจิ๋วๆ มาให้นะเพราะในตลาดมีอยู่แล้ว เราก็ต้องไปสอน พอเสร็จแล้วก็ต้องรับซื้อ เพราะถ้าไม่รับซื้อ เขาก็ไม่รู้จะ ทำ�มาทำ�ไม ที่นี้ก็ต้องไปหาเงินทุน ซึ่งทางองค์กรเขามีเงินไม่พอ เขาก็ ต้องไปหาสตางค์จากองค์กรอื่นมาช่วยเรา แล้วมาทำ�ธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ได้อย่างไร ตอนทีท่ ดลองทำ�ผักตบนัน้ ลองทำ�หมดทุกอย่าง ลองเอามารีด เย็บเป็นแผ่น จึงต้องไปหาโรงงานที่รับเย็บให้ ซึ่งตอนนั้นมีโรงงานทำ�ป่านศรนารายณ์ ทีท่ �ำ ให้ เราก็ทดลองสานกับโครงไม้หรือโครงหวาย จนได้เป็นเฟอร์นเิ จอร์ เสร็จก็จัดเป็นงานแสดงขึ้นที่โรงแรมแชงกรีล่า มีคนมาดูมาก ทั้งคนไทย และชาวต่างชาติ ตอนนั้นคุณสุวรรณยังอยู่สิงคโปร์ก็เชียร์ว่าให้ทำ�ต่อไป เสียดาย อุตส่าห์ท�ำ มาตัง้ นาน เดีย๋ วจะช่วยสัง่ ของจากเมืองไทยไปขายให้ ก็เริ่มจากตรงนั้น พอหลังจากติดต่อเรื่องวัตถุดิบและหาโรงงานได้แล้ว ก็เปิดร้านที่เพนนินซูล่า พลาซ่า แล้วหุ้นส่วนอีกคนก็ท�ำ ด้านการตลาดก็มี ไอเดียเชิญดีไซเนอร์คนอืน่ มาออกแบบ จัดนิทรรศการที่เพนนินซูล่า แล้วก็ เริม่ มีลูกค้ามาเอาของเราไปออกงานที่ต่างประเทศ ซึง่ ตอนนัน้ เราไม่ได้ยงุ่ เรื่องการค้าขาย ให้เขาทำ�กันเอง แล้วตอนนั้นได้ศึกษาเรื่องงานแสดงสินค้ามาก่อนหรือไม่ ลูกค้าที่เอาของเราไปออกงานชื่อคุณวิสุทธิ์ ซึ่งเขากับหุ้นส่วนทำ�ธุรกิจ 30 l Creative Thailand l เมษายน 2555
หาของสไตล์เอเชียไปขายยังต่างประเทศ ซึ่งสมัยนั้นยังไม่มีมากนัก เป็นของเก่าจากอินเดีย ไทย หรือแอฟริกาใต้ งานที่ไปออกเมื่อปี 19841986 ที่ปารีสชื่อ MIC เป็นชื่อก่อนที่จะเปลี่ยนเป็น Maison & Object (งานแสดงสินค้าและของตกแต่งบ้านที่ใหญ่ที่สุดของฝรั่งเศสโดยจะจัด ขึ้นปีละสองครั้ง) เราก็ตามไปดูว่าเป็นยังไง งานสมัยก่อนจะเป็นอาคาร แบบเปิดโล่ง แล้วก็มีร้านแบบเปิดโล่งเอาของมาวาง จัดเป็นเซ็ต สถานที่ ก็เป็นทีเ่ ดียวกับงาน Maison ปัจจุบนั เพียงแต่วา่ ปีแรกๆ มันเล็ก ไม่ได้ใหญ่ อย่างตอนนี้ ตอนนั้นก็ไม่รู้จักงานแฟร์หรอก แต่เขาเป็นลูกค้าเรา เราก็ไปดูเหมือนไปเยีย่ มลูกค้า เราก็เจอว่าสินค้าของเรามีปญั หา อย่างเช่นที่ เมืองนอกความชื้นน้อยกว่าบ้านเรา ของก็เลยหด ก็เริ่มคิดว่าจะต้องทำ� ยังไง แล้วก็ได้รู้ว่าคนอื่นเขาขายอะไร หน้าตาเป็นยังไง ก็ได้รู้เรื่องเทรนด์ หลังจากนั้นเราก็กลับมาตั้งโรงงานเพราะไปรับปากว่าจะผลิตของให้ ซึ่งในช่วง 4 ปีแรก ดีบ้างไม่ดีบ้าง โดนโกงบ้าง จนต้องหาช่างออกมาตั้ง เป็นโรงงานเล็กๆ เอง แล้วก็ไปออกงานแฟร์ของไทย คือ งาน BiG + BIH (งานมหกรรมของขวัญของตกแต่งบ้าน จัดปีละ 2 ครั้งโดยกรมส่งเสริม การส่งออก) ซึ่งเราทำ�สินค้าใหม่ที่มีขนาดเล็กลงไปออกงาน ก็มีองค์กร เวิล์ด เทรด ที่แฟรงเฟิร์ต เยอรมนี ให้ทุนบริษัทไทยที่มีสินค้าประเภท เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมไปออกงานเทนเดนเซ่ (งานแสดงสินค้าของเยอรมนี) ซึ่งตอนไปแรกๆ ก็ได้บูธทำ�เลไม่ดี แต่เราก็จัดให้สวยงามจนมีคน มาติ ด ต่อซื ้ อ ของ เราก็ ต ิ ด ใจไปออกงานแฟร์ต่า งประเทศทุ กปีเ ลย หลังจากนั้นเราตั้งกลุ่ม Design Object ที่มาจากบริษัทออกแบบ 9 แห่ง ทั้งผลิตภัณฑ์และงานกราฟิกมาร่วมกันทำ�บูธออกงานต่างประเทศ แต่ก็ ให้เราไปอยู่ฮอลล์สุดท้าย อยู่รวมกับของใช้สังกะสีกับพลาสติกของ เวียดนาม ลาว ทั้งที่ของเราเป็นงานพวกหัตถกรรมแบบสมัยใหม่ และบูธ เราก็สวย เราก็เลยไปต่อรองขอพืน้ ทีท่ ด่ี ขี น้ึ ซึง่ ก็ได้เพราะเขาเห็นว่าเรามี ศักยภาพ
,,
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
พอเริ่มเห็นคนหลายๆ แบบ ก็เริ่ม เข้ า ใจว่ า ที่ ค นเรามี นิ สั ย แบบนี้ เพราะว่ า เขาเคยเจอเหตุ ก ารณ์ บางอย่างมาก่อน บางทีเราจะไปบอก เขาว่า “ทำ�ไมคุณไม่เป็นอย่างฉัน” ก็ไม่ได้ เพราะว่าเขาก็มีโครงสร้าง ของชีวิต มีอดีตแบบนั้น ซึ่งก็จะ เข้ า ใจแล้ ว ว่ า ทุ ก อย่ า งมั น มี ที่ ท าง ที่ถูกต้องอยู่แล้ว จากนั้นก็ค่อยๆ ถ่ายทอดความคิดนี้ลงในการ์ตูน การ์ตนู ของเราจึงเปิดกว้างมากขึน้
,,
,,
สิงคโปร์สมัยนั้นแย่กว่าประเทศไทยอีก ไม่มีดีไซเนอร์นะ ต้องนำ�เข้าจากประเทศไทย ประเทศทางตะวันออกกลางก็ต้องนำ�เข้าทั้งคน และของจากไทย เพราะว่าคนไทยเป็นที่ยอมรับ เรื่องความคิดและฝีมือดี
,,
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 31
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
32 l Creative Thailand l เมษายน 2555
,,
THE CREATIVE มุมมองของนักคิด
แ ต่ ไ ม่ ว่ า ส มั ย ไ ห น ก็ ต้ อ ง เ จ อ ปั ญ หาเรื่ อ งเงิ น ทุ น เหมื อ นกั น เราต้ อ งสนั บ สนุ น ให้ ค รบวงจร อย่ า งเด็ ก ที่ ช นะการประกวด แล้ ว ก็ อ อกงานได้ ป ระสบการณ์ ก็ ต้ อ งช่ ว ยต่ อ เรื่ อ งเงิ น ลงทุ น เพราะถ้าหากให้เขาลงทุนเองมัน ก็ยาก
,,
ในต่ า งประเทศเขาสนั บ สนุ น ให้ นั ก ออกแบบไปออกงานแสดงสิ น ค้ า อย่างไร ในต่างประเทศเขาจะสนับสนุนให้ดีไซเนอร์ได้มีโอกาสเจอลูกค้าเพื่อ ขายงาน ถ้ามีการประกวดก็จะได้รางวัลเป็นบูธ อย่างฝรั่งเศสจะมีบูธเฉพาะ ทั้ง Designer support ทั้ง Artist local ซึ่งแทบจะให้ฟรีเป็นบูธขนาด 3X2 ตารางเมตร แล้วก็ให้อสิ ระกับดีไซเนอร์ในการแสดงงาน
แล้วก็ออกงานได้ประสบการณ์ ก็ตอ้ งช่วยต่อเรือ่ งเงินลงทุน เพราะถ้าหาก ให้เขาลงทุนเองมันก็ยาก อย่างที่พี่ล้มลุกคลุกคลานมาก็จะรู้ว่าการหาเงิน หาลูกค้าไม่ใช่ง่ายๆ อย่างลูกค้าสั่งของเรามาหนึ่งล้านบาท อย่างตํ่าเราก็ ต้องมีทนุ หกแสนบาท แล้วถ้ามีลกู ค้าสัง่ พร้อมกันห้ารายก็เท่ากับว่าต้องหา เงินทุนสามล้านบาท เป็นเรื่องยากสำ�หรับดีไซเนอร์ที่จะบริหาร ดังนั้น ก็ต้องมีการสนับสนุนการเงิน หรืออย่างน้อยให้เขาได้เรียนรู้
แล้วการสนับสนุนนักออกแบบของประเทศไทยเป็นอย่างไร ทางกรมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออกก็ มี โ ปรแกรมการสนั บ สนุ น นั ก ออกแบบ รุ่นใหม่ โดยให้ส่งงานประกวดแล้วก็ให้บูธฟรีเหมือนกัน ซึ่งคนที่ได้ก็จะมี โอกาสได้เรียนรู้วิธีการขายของตั้งแต่รับคำ�สั่งซื้อ จะผลิตยังไง ตั้งราคา อย่างไร ซึ่งเป็นเรื่องยาก ดังนั้นดีไซเนอร์คนอื่นๆ ก็ต้องมีโอกาสฝึกฝน อย่ า งที่ สิ ง คโปร์ เ ขามี โ ปรแกรมอบรมดี ไ ซเนอร์ ที่ เ รี ย นอยู่ ปี สุ ด ท้ า ย ให้ออกไปฝึกงานกับเอกชน ซึง่ บริษทั ก็ได้คนรุน่ ใหม่มาทำ�งาน และเด็กเอง ก็จะได้เรียนรู้งานที่ต้องออกไปเจอหลังจากเรียนจบ
มีข้อแนะนำ�อย่างไรสำ�หรับการพัฒนานักออกแบบรุ่นต่อไป ตอนนี้เรามีคู่แข่งมาก อย่างจีนพอเปิดประเทศลูกค้าหายหมดเลยเพราะ ของเขาถูกกว่า และยุโรปก็สง่ ดีไซเนอร์ไปทำ�งานทีน่ น่ั ก็ได้งานดีๆ ออกมา หรืออย่างสิงคโปร์ ซึ่งตอนนี้มีดีไซเนอร์อยู่กันเต็มเลย เพราะนอกจาก พูดภาษาอังกฤษแล้ว ยังมี Tax free หรือเสียภาษีรายได้ในอัตราที่ตํ่ามาก เขาเลยดึงคนที่ต้องการเข้าประเทศหมดเลย ในขณะที่ประเทศไทยน่าจะ ทำ�บ้าง คือเปิดให้คนต่างชาติเข้ามาร่วมทำ�งานได้แต่ต้องควบคุม โดยให้ เขาทำ�งานหรือตั้งบริษัทได้แต่ต้องทำ�งานกับคนไทย เช่นจ้างดีไซเนอร์ จากประเทศคุณ 5 คน และจ้างดีไซเนอร์ไทย 10 คน ซึ่งคนงานไทยก็ได้ เรียนรู้ทักษะจากการทำ�งานแบบแปลกๆ และดีไซเนอร์ไทยก็ได้ด้วย
โอกาสของนักออกแบบรุ่นใหม่แตกต่างจากรุ่นก่อนอย่างไร เด็กสมัยนี้ได้รู้มากได้เห็นมาก ทั้งของสวยของดีที่นำ�เข้ามาก็มีเยอะ ซึง่ สมัยก่อนไม่มี ต้องหาดูแมกกาซีน หนังสือดีไซน์มอี ยูไ่ ม่กเ่ี ล่ม แต่เพราะ สมัยนี้อะไรก็ Ready made หมด ก็เลยไม่ต้องใช้สติปัญญาเหมือน เมื่อก่อนที่ต้องทำ�อะไรเอง แต่ไม่ว่าสมัยไหนก็ต้องเจอปัญหาเรื่องเงินทุน เหมือนกัน เราต้องสนับสนุนให้ครบวงจร อย่างเด็กที่ชนะการประกวด
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 33
CREATIVE WILL คิด ทำ� ดี
design for download มิติใหม่ของงานดีไซน์ที่ใครๆ ก็ดาวน์โหลดได้ เรื่อง: ปิยพร อรุณเกรียงไกร
มาปรับรูปแบบตามที่ต้องการ จากนั้นจึงดาวน์โหลดในรูปแบบของดิจทิ ลั บลูพริน้ ต์ 3 มิติ ที่ระบุรายละเอียดการออกแบบไว้ครบถ้วน ก่อนจะส่งต่อไป ยังมือของผู้ผลิตรายย่อยอีกที แม้ว่าการเปิดโอกาสให้ลูกค้าเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและมีส่วนร่วม ในการออกแบบสินค้าจะเป็นสิ่งที่แบรนด์น้อยใหญ่แข่งกันหยิบยื่นให้กับ ผู้บริโภคอยู่ในขณะนี้ แต่เรนเน เรเมกเกอร์ส ผู้ร่วมก่อตั้งสตูดิโอแห่งนี้ กลับมองโปรเจ็กต์ของเธอไปไกลกว่านั้น เพราะหัวใจหลักของ Design For Download คือการมอบประสบการณ์ที่ต่างไปจากเดิมให้กับผู้บริโภค ด้วยการเชื่อมโยงเครือข่ายแห่งการผลิต การออกแบบ นวัตกรรมดิจิทัล และการตอบโจทย์ผู้บริโภคเข้าด้วยกันเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับ ทุกฝ่าย เนื่องจากผู้ผลิตไม่จำ�เป็นต้องผลิตสินค้าจำ�นวนมากและส่งไป จำ�หน่ายตามร้านค้าต่างๆ อีกต่อไป ดีไซเนอร์มโี อกาสเข้าถึงกลุม่ เป้าหมาย มากยิ่งขึ้น ขณะที่ผู้บริโภคก็สามารถเลือกสรรสิ่งที่ดีที่สุดให้กับตัวเองได้ เดือนมกราคมที่ผ่านมา กฎหมายควบคุมการละเมิดลิขสิทธิ์ ในราคาย่อมเยา ทั้งยังเป็นการกระจายงานและรายได้ไปยังผูผ้ ลิตรายย่อย ออนไลน์ แ ละคุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาที่ รู้ จั ก กั น ในชื่ อ ในระดับท้องถิ่น รวมไปถึงช่วยลดต้นทุนการผลิต ค่าขนส่ง และช่วยขจัด SOPA/PIPA ได้ออกมาเคลือ่ นไหวและจัดการบล็อกเว็บไซต์ตา่ งๆ ปัญหาสินค้าค้างสต็อกไปในตัว ที่ เข้ า ข่ า ยการละเมิ ด ลิ ข สิท ธิ์อย่า งรวดเร็วและเด็ดขาดจนสั่น โปรเจ็ ก ต์ ดั ง กล่ า วได้ รั บ การโปรโมตผ่ า นทางวิ ดี โ อบนยู ทู บ และ สะเทือนไปทัง้ โลกออนไลน์ กระทั่งหัวหอกแห่งโซเชียลมีเดียอย่าง เว็บไซต์ของโดรก พร้อมคำ�โปรยที่สะกดผูช้ มว่า “Design For Download เฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ รวมทั้งเว็บไซต์ยักษ์ใหญ่อย่างกูเกิลและ คือการสร้างระบบเศรษฐกิจของวงการออกแบบบนวิถีแห่งประชาธิปไตย” วิกิพีเดีย พากันลุกขึ้นมาคัดค้านอย่างจริงจัง โดยตอกยํ้าถึง เพือ่ การกระจายความเท่าเทียมไปยังทุกฝ่ายให้ได้มากที่สดุ ดังทีเ่ รนเนต้องการ ประเด็นเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลของประชาชน สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่บนโลกของการออกแบบที่ซึ่ง “เสรีภาพ” ขณะที่กระแสการประท้วง SOPA/PIPA ในสหรัฐฯ แผ่วตัวลง ฝั่งยุโรป แห่งการสร้างสรรค์จะไม่ถูกจำ�กัดโดยคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอีกต่อไป ที่อัมสเตอร์ดัม "โดรก" ดีไซน์สตูดิโอที่ขับเคลื่อนด้วยพลังของคนรุ่นใหม่ ผู้สร้างนิยามแห่งการออกแบบสไตล์ดัชต์จนกลายเป็นหนึ่งในสตูดิโอ ที่กำ�ลังมาแรงที่สุดในรอบทศวรรษ ก็ได้เซอร์ไพรส์วงการออกแบบด้วย โปรเจ็กต์ Design For Download ที่เปิดโอกาสให้คนทั่วไปดาวน์โหลด งานออกแบบได้อย่างเสรีภายใต้แนวคิด “งานดีไซน์ที่ใครๆ ก็ออกแบบได้ ทุกที่ และทุกเวลา” แนวคิดหลักของโปรเจ็กต์นค้ี อื การเปลีย่ นความน่าเบือ่ ในการซื้อเฟอร์นิเจอร์สำ�เร็จรูป ให้เป็นเรือ่ งทีส่ นุกและตอบโจทย์การใช้งาน ่มา: เพราะผู้บริโภคสามารถออกแบบสินค้าได้เองด้วยวิธีง่ายๆ เพียงเลือก ทีdroog.com เฟอร์นิเจอร์ที่ทางดีไซเนอร์ได้ออกแบบและป้อนข้อมูลลงบนเว็บไซต์ drooglab.com 34 l Creative Thailand l เมษายน 2555
เมษายน 2555 l Creative Thailand
l 35