Nutriplants

Page 1

ขอปฏิบัติการเขาฝกอบรมผลิตภัณฑการเกษตร

 ไมอนุญาตใหนักธุรกิจจองที่นั่งใหกัน เนื่องจากบริษัทจัดที่นั่งให อยางเพียงพอกับนักธุรกิจทุกทานแลว  ขอความรวมมืองดใชเครื่องมือสื่อสารทุกชนิด เพราะเปนการ รบกวนนักธุรกิจทานอื่นๆ  ไมอนุญาตใหบันทึกภาพวีดีโอ บันทึกเสียง เนื่องจากการ ฝกอบรมเปนลิขสิทธิ์ของบริษัท แอมเวย (ประเทศไทย) จํากัด  หากทานมีลูกหลานมาดวยขอความรวมมือฝากไวกับเจาหนาที่ ดานหนางาน หรือหากนําเขามาในหองประชุมขอความกรุณาอยาสง เสียงดังรบกวนผูอื่น

ขอบคุณที่ใหความรวมมือคะ


ผลิตภัณฑเพื่อการเกษตร

เพิ่มผลผลิต ใหกับเกษตรกรอยางคุมคา


พิชญสิณี ศิริเขตกรณ  ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เกษตรกรรม คณะเกษตรศาสตรบางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตอยุธยา หันตรา  ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการเกษตร-การผลิตพืช คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง  ปริญญาโท การบริหารทรัพยากรปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน



สารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80 Adjuvant APSA-80 X ไมใช ปุย X ไมใช ยา X ไมใช ฮอรโมนพืช แอดจูแวนท

สารเสริมประสิทธิภาพชนิดเขมขน


สวนประกอบ สารออกฤทธิ์ 80% ประกอบดวย 1. อัลคิล อัลริล อัลคอกซีเลต 2. กรดไขมันอิสระ สารประกอบอื่นๆ 20% แอลกอฮอลล **เปนสารลดแรงตึงผิวที่ไมมีประจุ (Non Ionic)**


คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80 1. เปนสารชวยแผกระจาย (spreader)


วิธีการทดสอบการแผกระจาย


วิธีการทดสอบการแผกระจาย


ประโยชนของการเปนสารชวยแผกระจาย (spreader)  ลดแรงตึงผิว  สารละลายที่ใชรวมจับติดอยูบนใบพืชไดนาน  ประหยัด


คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80 2. เปนสารกระตุน (Activator)


วิธีการทดสอบการแทรกซึมสารเคมีเขาสูใบพืช ในระยะเวลาที่เทากันในการเทน้ํา ลงแกว ไมผสมแอ็ปซา-80

ผสมแอ็ปซา-80


ประโยชนของการเปนสารกระตุน (Activator)  เพิ่มประสิทธิภาพของสารเคมี


คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80 3. เปนตัวกระทําอิมัลชั่น(Emulsifiers) และชวยใหสารกําจัดศัตรูพืชกระจายตัวอยูในสารละลาย (Dispersants)

น้ําและน้ํามันเมื่อไมไดผสมแอปซา-80 น้ํามัน น้ํา

น้ําและน้ํามันเมื่อผสมแอปซา-80 สวนที่ละลายน้าํ (มีขั้ว) สวนที่ละลายในน้ํามัน(ไมมีขั้ว)


วิธีการทดสอบน้ํากับสารเคมีชนิดน้ํามันเปนเนื้อเดียวกัน ไมผสมแอ็ปซา-80

ผสมแอ็ปซา-80


วิธีการทดสอบน้ํากับสารเคมีประเภทผงเปนเนื้อเดียวกัน ไมผสมแอ็ปซา-80

ผสมแอ็ปซา-80


ประโยชนของการเปนตัวกระทําอิมัลชั่น (Emulsifiers) และชวยให สารกําจัดศัตรูพืชกระจายตัวอยูในสารละลาย (Dispersants)  ชวยในการกระจายตัวของสาร  ประหยัด ไมเกิดการตกตะกอน


คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80 4. เรงการแทรกซึมน้ําลงสูดิน (Soil Penetration) ไมผสมแอ็ปซา-80

ผสมแอ็ปซา-80


ประโยชนจากการเรงการแทรกซึมน้ําลงสูด ิน (Soil Penetration)  ดินดูดซึมน้ําไดดี  เรงการแทรกซึมน้ํา  ทําใหใชทรัพยากรน้ําที่มีอยูอยางคุมคา


คุณสมบัติ ของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80 5. ไมมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ ปกปอง หัวฉีดพนสารเคมี

อุปกรณเครื่องใชที่เปนโลหะ ถังฉีดพนสารเคมี


ประโยชนจากการไมมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ  ปกปองอุปกรณฉีดพนที่เปนโลหะตางๆ  ปองกันการอุดตันของตะกอนตามหัวฉีด  ประหยัดเวลาในการดูแลรักษาอุปกรณทางการเกษตร


คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80 6. สูตรเขมขน ใชในอัตราเพียง 2-8 ซีซี ตอน้ํา 20 ลิตร


ประโยชนจากสูตรเขมขน  ประหยัดเงิน  ประหยัดปริมาณ  ลดขนาดและปริมาณของบรรจุภัณฑ


สรุปคุณสมบัติของแอ็ปซา-80 1. เปนสารชวยแผกระจาย 2. เปนสารกระตุน 3. เปนตัวกระทําอิมัลชั่น 4. เรงการแทรกซึมน้ําลงสูดิน 5. ไมมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ 6. สูตรเขมขน ชวยประหยัด


วิธีการผสมสารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80 กับสารเคมีตางๆ

องกันกําอจังกั ดศันตกํารูจัพดืชศัตรูพืช เติมน้ําใหเสารป ต็มถังผสมสารป ใหเขากันกับน้าํ แอ็ และแอ็ ซากอนนําไปฉีดพน ปซาป-80 ผสมสารปน้อํางกั3นใน กําจั4ดศัสตวรูนพืชใหเขากับ ําและแอ็ ผสมแอ็ปซน้าให เขากับปน้ซาํ าเพืที่เ่อตรี ปรัยบมไว สภาพน้าํ กอน


อัตราการใชสารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80 กับสารเคมีตางๆ ชนิดของสารเคมี

อัตราการใชแอ็ปซา-80 ซีซี ตอน้ํา 20 ลิตร

อัตราการใชแอ็ปซา-80 ซีซี ตอน้ํา 200 ลิตร

สารปองกันกําจัดแมลง

2-8

20-80

สารกําจัดวัชพืช

5-40

50-400

สารกําจัดโรคพืช

2-8

20-80

ปุยทางใบและฮอรโมน

2-8

20-80


วิธีใชแอ็ปซา-80เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพปุยเคมีชนิดเม็ดสําหรับใสทางดิน

ปุยเคมี 50 กิโลกรัม

ใชอัตรา 50-100 ซีซี ผสมน้ํา 0.5-1.5 ลิตร ในบัวรดน้ํา

เทคนิค : ควรมัดปากกระสอบปุยใหแนน กลิ้งกระสอบปุยใหเม็ดปุย และแอ็ปซา-80 เขากัน หมักไว 8 -16 ชั่วโมงจึงนําไปหวาน


วิธีใชแอ็ปซา-80 เพื่อฟนฟูดินที่แข็งเปนกอนน้ําซึมผานยาก ผสมน้ําราดดินอัตราสวนต่ําสุด 60-180 ซีซี ตอน้ํา 20-60 ลิตร


วิธีใชแอ็ปซา-80เพื่อควบคุมดินแหงในสนามกอลฟหรือสนามหญา พื้นที่ 90 ตารางเมตร ใชอัตรา 3 ซีซี ตอน้ําอยางนอย 2 ลิตร


วิธีใชแอ็ปซา-80เพื่อทําความสะอาดอุปกรณการเกษตร - ใชทําความสะอาดถังและระบบใชอัตรา 5-20 ซีซี ตอน้ํา 20 ลิตร - ใชทําความสะอาดหัวฉีดใชอัตรา 30 ซีซี ตอน้ํา 5 ลิตรแชหัวฉีด


ผลิตภัณฑกลุมนิวทริแพลนท

ปุยธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริม นิวทริแพลนท เอจี

ปุยธาตุอาหารหลัก นิวทริแพลนท เอ็นพีเคพลัส สูตร 4-18-18



นิวทริแพลนท เอจี


นิวทริแพลนท เอจี คืออะไร?

ปุยเคมีธาตุอาหารรองธาตุอาหาร เสริมในรูปคีเลตและสารประกอบ เชิงซอนสําหรับพืชผลทาง การเกษตรชนิดฉีดพนทางใบ สูตรชีวภาพ


สวนผสมหลักในนิวทริแพลนท เอจี ธาตุอาหารรอง  กํามะถัน (S) 0.75%

ธาตุอาหารเสริม - เหล็ก(Fe) 0.32%

- โมลิบดีนมั (Mo) 0.0005%

- โบรอน(B) 0.014%

- ทองแดง(Cu) 0.025%

- แมงกานีส(Mn) 0.26% - สังกะสี (Zn) 0.53% สารอาหารอินทรีย โปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย คารโบไฮเดรต


ความสําคัญของธาตุอาหารในนิวทริแพลนท เอจี ธาตุอาหาร

ความสําคัญ

กํามะถัน(S)

เปนองคประกอบของกรดอะมิโน

โบรอน (B)

ชวยในการออกดอกผสมเกสร

ทองแดง (Cu)

ชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล

เหล็ก (Fe)

ชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล

แมงกานีส (Mn)

ชวยในการสังเคราะหแสง

โมลิบดีนัม (Mo)

ชวยใหพืชใชไนเตรตใหเปนประโยชนในการสังเคราะหโปรตีน

สังกะสี (Zn)

ชวยในการสังเคราะหออกซิน (ฮอรโมนพืช) คลอโรฟลล และแปง


*** ออกซิน (ฮอรโมนพืช) สงผลใหพืชแตกยอดออน แตกรากกระตุนการเจริญเติบโตของลําตน ***


กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี กระบวนการผลิตสารเชิงซอนทางชีวภาพ “Biological Complexation Process หรือ BCP

ถังอาหารเพาะเชื้อจุลินทรีย เพื่อการผลิตปุย

เชื้อจุลนิ ทรีย

สารอาหาร


กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี เติมธาตุอาหารอื่นผสมเขาดวยกัน ทําใหผลิตภัณฑมเี สถียรภาพในขั้นสุดทาย

สารเมแทบอไลท ในรูปของ ไอออนโลหะ โปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย (จุลธาตุ) อบใหเชื้อเจริญเติบโตและเกิดสาร คารโบไฮเดรต เมแทบอไลท - เหล็ก(Fe) กระบวนการคีเลชั่น - โมลิบดีนัม(Mo)

- ทองแดง(Cu) กรดอิสน(Mn) ทรีย - แมงกานี - สังกะสี (Zn)

โปรตีน

สารคีเลต

กรดอะมิโน

ไอออนโลหะ (จุลธาตุ)

1.

คีเลตอันเกิดจากการรวมตัว กับกรดอะมิคาร โน โบไฮเดรต

2.

คีเลตอันเกิดจากการรวมตัว กับกรดอินทรีย

3.

คีเลตอันเกิดจากการรวมตัว กับคารโบไฮเดรต


บรรจุลงภาชนะออกมาเปนผลิตภัณฑปุยนิวทริแพลนท เอจี


คุณสมบัตทิ ี่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต สังกะสี(ไอออนบวก)จับตัวกับฟอสเฟต (ไอออนลบ) ทําใหเกิดการตกตะกอน

ฟอสเฟตไมสามารถจับตัวกับสังกะสี(ไอออน บวก)ไดเพราะมีคีเลตปกปองอยู คีเลต

ฟอสเฟต

สังกะสี

สังกะสี ฟอสเฟต สังกะสี

ตกตะกอน

ฟอสเฟต

ฟอสเฟต

คีเลต สังกะสี

ไมเกิดการตกตะกอน


คุณสมบัตทิ ี่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

ขนาดของคีเลตและสารประกอบเชิงซอนเล็กทําใหพชื ดูดไปใชงานไดงายขึ้น

ผิวใบพืช

ผิวใบพืช


คุณสมบัตทิ ี่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

ผิวใบ

ผิวใบ

ผิวใบ

เนื้อเยื่อภายในใบ

ผิวใบ

ผิวใบ


คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี

 เพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพผลผลิตใหสูงขึ้น  ชวยในการสังเคราะหแสงของพืช


คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี  ใหผลผลิตเร็วขึ้นเสริมการเจริญเติบโตของพืชเสริมการออกดอกออกผล และชวยปองกันดอกและผลรวง  มีสวนประกอบที่สมดุลของธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม


คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี  ฉีดพนงาย ไมตองซื้ออุปกรณเพิ่ม  บรรจุภัณฑเปดและเทตวงใชงาย


ผลิตภัณฑใหม!! นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18 (Nutriplant NPK+)


นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18 ปุยเคมีธาตุอาหารหลัก ฉีดพนทางใบ ซึ่งใหธาตุอาหารหลักครบถวน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม


สวนประกอบในปุยเคมีนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ประกอบดวยธาตุอาหารหลักในปริมาณ ดังนี้ ไนโตรเจนทั้งหมด (N) 4% ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (P2O5) 18% 18% โพแทชที่ละลายน้ํา (K2O)


ธาตุอาหารหลักในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส ประกอบดวยไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)

• ไนโตรเจน • ฟอสฟอรัส • โพแทสเซียม


อาการขาดไนโตรเจนของขาวโพด

อาการขาดไนโตรเจนของใบ ขาวโพด (ขวา) ปรากฏที่ใบ แกหรือใบลาง เปรียบเทียบกับใบปกติใน ตําแหนงเดียวกัน (ซาย)


อาการขาดฟอสฟอรัสของขาวโพด

อาการขาดธาตุ ฟอสฟอรัสของขาวโพด แสดงอาการที่ใบแก ลักษณะเดนคือมีสีมวง เกือบทั้งแผนใบ ยกเวน เสนกลางใบ


อาการขาดโพแทสเซียมของขาวโพด

ใบลางของขาวโพด แสดงใบปกติ (ซาย) ใบที่ขาดไนโตรเจน (กลาง) และ ใบที่ขาดโพแทสเซียม (ขวา)


เทคโนโลยีการผลิต นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส การหมัก

สารสกัดจากสาหราย

การจับตัวเปน สารประกอบเชิงซอน

แรธาตุ สารลิแกนด สารกระตุนการเจริญเติบโต การจับตัวโดยธรรมชาติ สารกระตุนทางชีวภาพ สารตานอนุมูลอิสระ สารคลายคีเลต ตัวกระตุนการยับยั้งการ ตัวกระตุน ทําลายของจุลินทรีย สารประกอบเชิงซอน สารตานอนุมูลอิสระ


นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส • ผลิตภัณฑที่มีคุณภาพเหนือกวา • ผลิตขึ้นจากกระบวนการผลิตหลายขัน้ ตอนดวยเทคนิคชั้นสูง พรอมการ ควบคุมคุณภาพตลอดกระบวนการ • การรวมตัวอยางเหมาะสมของแรธาตุและสารประกอบอินทรีย ไดสารที่มี ลักษณะโดดเดนและเปนสิทธิบัตรเฉพาะของไซโตไซม


การผลิตและการควบคุมคุณภาพ

17 ขั้นตอนการผลิต

ควบคุมคุณภาพ 8 จุด


คุณสมบัติ 5 ประการในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส 1. ลิแกนดธรรมชาติ (Natural Ligands) 2. ชวยตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ในเซลลพืช 3. ชวยปองกันภัยจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ (Osmorprotectants) 4. ชวยสงเสริมกระบวนการทางชีวภาพ (Biostimulants) 5. ชวยสงเสริมภูมิคุมกัน (Elicitors) ใหกับพืช


1. ลิแกนดธรรมชาติ (Natural Ligands) • ลิแกนดมีอยูม ากมาย ซึ่งชวยใหเกิดสารประกอบเชิงซอนที่เปนประโยชน • ลิแกนดมีทั้งในธรรมชาติและสังเคราะหทางเคมี ซึ่งลิแกนดในปุยนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เปนลิแกนดธรรมชาติ • ลิแกนดในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส มีนา้ํ หนักโมเลกุลต่าํ (ขนาดเล็ก) จึงเกิดปฏิกิริยา รวดเร็วกวา • ลิแกนดสามารถเขารวม และมีบทบาทกระตุนในกระบวนการทางชีวเคมีตางๆ ของพืช สารประกอบเชิงซอน

กรดอะมิโน กรดคารบอกซิลิก ฯลฯ

แรธาตุ


เปรียบเทียบอัตราการดูด NPK ของใบพืชจากปุย 3 แบบ ระยะเวลาที่ใบพืชใชเพื่อการดูดปุยใหได 50% ธาตุ

เกลืออนินทรีย หรือออกไซด

ลิแกนดสังเคราะห (เชน อีดีทเี อ, ลิกโนซัลโฟเนต)

สารเชิงซอนธรรมชาคิ (ในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส)

ไนโตรเจน (ยูเรีย)

1 - 6 ชม.

1 - 6 ชม.

< 12 นาที

ฟอสฟอรัส

15 วัน

7 - 11 วัน

< 2 ชม.

โพแทสเซียม

4 วัน

2 วัน

< 1 ชม.

ใบพืชดูดธาตุ NPK ในรูปสารประกอบเชิงซอนไดเร็วกวารูปอื่นๆ XI Congreso Ecuatoriano de la Ciencia del Suelo 31 Oct. 2008.


2. ชวยตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ในเซลลพืช ชวยตานอนุมูลอิสระ ชวยปองกัน ภัยอันเกิดจาก ‘อนุมูลอิสระ’ สารตานอนุมูลอิสระ

อิเล็กตรอน สารตานอนุมูลอิสระทําลายฤทธิ์ของอนุมูล อิสระ

อนุมูลอิสระ

เมื่อพืชมีความเครียด จะเกิดอนุมูลอิสระขึ้นในเซลล แตสารตานอนุมูลอิสระใหอิเล็กตรอนแกอนุมูลอิสระจนครบ กลายเปนสารที่ไมเปนพิษเปนภัยอีกตอไป


3. ชวยปองกันภัยจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ ชวยปองกันการสูญเสียน้ําออกไปจากเซลล ในระหวางที่ พืชขาดน้ําจนเกิดความเครียดจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ


4. ชวยสงเสริมกระบวนการทางชีวภาพ (Biostimulants) สงเสริมกระบวนการทางชีวเคมีตา งๆ ของพืช สงผลใหพืชเจริญเติบโต เร็วขึ้นและเพิ่มผลผลิต


5. ชวยสงเสริมภูมิคุมกัน ชวยสงเสริมระบบการปองกันตามธรรมชาติของพืช ตอความเครียดทางปจจัยทางสภาพแวดลอมซึ่งแบงออกเปน 2 ปจจัยไดแก • ปจจัยที่มชี ีวิต อันไดแก เชื้อโรค หนอน แมลง • ปจจัยทางสภาพแวดลอมที่ไมมีชีวิต ไดแกน้ํา ดิน อากาศ ฯลฯ


เมื่อไรจึงควรใชนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส • เมื่อสภาพดินหรือสภาพอากาศไมคอยเหมาะสม หรือแมแตเมื่อมีการใส ปุยบํารุงดินแลวก็ตาม • “อากาศรอนเกินไป แหงแลงเกินไป ชื้นแฉะเกินไป ดินเสื่อมสภาพ ดินเปนกรด หรือเปนดางเกินไป ฯลฯ” • ในชวงที่พืชมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว • ในชวงซึ่งพืชมีการพัฒนาที่สาํ คัญ เชน มีดอก ติดผล ผลเจริญเติบโตจนสุกแก ในระยะที่สําคัญเหลานี้ พืชอาจมีภาวะขาดแคน ซึ่งจะทําใหผลผลิตลดนอยลง

การใชเสริมในทุกระยะที่สําคัญเหลานีจ้ ะใหผลดียิ่งขึ้น


คุณสมบัติเดนของนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18 • • • •

อยูในรูปแบบน้ํา ใชฉีดพนทางใบ ละลายน้ําได 100% ชวยแกไขอาการขาดธาตุอาหารหลักในพืชไดอยางรวดเร็วและเห็นผลชัดเจน มีธาตุอาหารหลัก N P K ที่พืชตองการอยางครบถวน นอกจากมีธาตุอาหารหลัก N P K แลวใน นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส ยังประกอบไป ดวยสารประกอบอินทรียหลายชนิด • ธาตุอาหารหลัก N P K และสารอินทรียต างๆ ในผลิตภัณฑปุยอยูในรูปสารประกอบ เชิงซอนโมเลกุลเล็ก(คลายคีเลต) • ธาตุอาหารหลักและสารอินทรีย มีการเกาะตัวกันอยางเหมาะสม และมีความสามารถ รวมตัวเขากับสารอื่นๆ ไดดี ไมเกิดการตกตะกอน


คุณประโยชนของปุยนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส • ชวยเรงการออกดอก ออกผล ใหกับพืช จึงเพิม่ ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตใหสูงขึ้น • ชวยใหพืชเจริญเติบโตไดอยางสมบูรณสูงสุด และไมทําลายสภาพดินและสิ่งแวดลอม • ชวยใหพืชมีความทนทานตอสภาพแวดลอมอันเลวรายตางๆ ไดดียิ่งขึ้น • ใหผลผลิตเร็วขึ้น เกษตรกรเก็บเกี่ยวไดเร็วขึ้นชวยใหเกษตรกรยิ้มได


ผลที่ไดรับจากการใช

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18


ผลผลิต (กก./6.25ไร)

ผลผลิตขาวที่ไดรับนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

แปลงควบคุม แปลงที่มีการบํารุง

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพิ่มผลผลิตขาวได 25% เมื่อเทียบกับแปลงที่ไมไดบาํ รุง แอมเวยฟลิปปนส ใช 1 ลิตร/ไร เมื่อขาวอยูในระยะตั้งทอง ไมมีการใชเอ็นพีเคกับดิน


นิวทริแพลนท เอจี และ นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส


นิวทริแพลนท เอจี และนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ผลผลิตเพิ่มขึ้น (%)

กาแฟ

นิวทริแพลนท เอ็น พีเค • นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพิ่มผลผลิตได 8% • นิวทริแพลนท เอจี เพิ่มผลผลิตได 13% • ทั้งสองชนิดรวมกันเพิ่มผลผลิตได 20% Coffee Guatemala 1999

นิวทริแพลนท เอจี

ทั้งสองชนิด


นิวทริแพลนท เอจี และนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ผลผลิต (กก./ไร)

ลูกพีช

แปลง ควบคุม

• นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพิ่มผลผลิตได 6.3% • นิวทริแพลนท เอจี เพิม่ ผลผลิตได 9.8% • เมื่อใชทงั้ สองชนิดรวมกันเพิ่มผลผลิตได 22%

นิวทริแพลนท เอ็น พีเค

นิวทริแพลนท ทั้งสองชนิด เอจี


แนะนําใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

ใช 3 ผลิตภัณฑรวมกันเพื่อมอบประโยชนสูงสุดใหกับพืช


สรุปผลการทดลองอัตราการใช Nutriplant NPK+

โดย รศ.ดร. ยงยุทธ โอสถสภา ที่ปรึกษาผลิตภัณฑเพื่อการเกษตร


ชนิดพืชที่ทําการทดลอง  ขาว  ถั่วฝกยาว  คะนา


 การทดลองผลิตภัณฑในนาขาว

พันธุขาว: ปทุมธานี 1 สถานที่ทดลอง: แปลงทดลองของภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม


การเตรียมดินปลูก และการหวาน

แปลงทดลองขาวอายุ 40 วัน


กําหนดการใสปุยและฉีดพนปุยทางใบในขาว อายุจากหวาน (วัน) 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130

ระยะการเจริญเติบโต ตนขาวเล็กๆ เพิ่มความสูงและการแตกกอ จาก เพิ่มชาๆ เปนเร็วขึน้ จนแขนงและ ความสูงมากที่สุด

กิจกรรม

ใสปุยทางดินครั้งที่ 1 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 1

เริ่มมีดอกออน ใสปุยทางดินครั้งที่ 2 ขาวตั้งทอง จนกระทั่งกาบใบธงอวน ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 2 กลม ดอกขาวโผลพน ใบธง พัฒนาเมล็ดจากระยะน้ํานมจนแปง ในเมล็ดแข็งและเต็มเมล็ด ขาวสุกแก

เก็บเกี่ยว


อัตราการทดลองใชปุย NUTRIPLANT NPK+        

แปลง CONTROL ไมใชปุยทางใบแตใชปุยทางดินปกติ NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 20 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 40 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ NUTRIPLANT AG อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 80 มล./น้ํา 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 100 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 150 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 200 มล./น้าํ 20 ลิตร


การสุมในแปลงยอยเพื่อศึกษาองคประกอบของผลผลิต

การสีขาวเพื่อที่เก็บเกี่ยวเพื่อหาปริมาณผลผลิต


ผลของการฉีดพนปุยทางใบอัตราตางๆ ตอผลผลิตขาว กก./ไร (น้ําหนักเมล็ดที่ความชื้น 15%) ปุยทางใบ

น้ําหนักเมล็ด (กก./ไร)

น้ําหนักเมล็ดเพิม่ ขึ้น (%)

ไมฉีดปุยทางใบ

757

-

NPK+ 20 มล./ลิตร

773

2.1

NPK+ 40 มล./ลิตร

821

8.5

NPK+ 40 มล./ลิตร + AG 40 มล./ลิตร

847

11.9

NPK+ 80 มล./ลิตร

849

12.1

NPK+ 100 มล./ลิตร

848

12.0

NPK+ 150 มล./ลิตร

844

11.5

NPK+ 200 มล./ลิตร

837

10.6

เฉลี่ย

822

-


ผลการทดลองวัดหาเปอรเซ็นตน้ําหนักเมล็ดดีและน้ําหนักเมล็ดตอรวง ปุยทางใบ

เปอรเซ็นต น้ําหนักเมล็ดดี

น้ําหนักเมล็ดดีตอรวง (กรัม/รวง)

ไมฉีดปุยทางใบ

93.6

1.63

NPK+ 20 มล./ลิตร

94.1

1.78

NPK+ 40 มล./ลิตร

97.0

1.85

NPK+ 40 มล./ลิตร + AG 40 มล./ลิตร

97.1

1.86

NPK+ 80 มล./ลิตร

96.0

1.88

NPK+ 100 มล./ลิตร

94.7

1.85

NPK+ 150 มล./ลิตร

94.6

1.83

NPK+ 200 มล./ลิตร

94.8

1.86

เฉลี่ย

95.2

1.82


สรุปผลการทดลองในขาว การฉีดพนดวย Nutriplant NPK+ อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร ตามที่บริษัทผูผ ลิต แนะนําใหใชมีความเหมาะสมสําหรับขาว  การใช Nutriplant NPK+ รวมกับ Nutriplant AG อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร มี แนวโนมที่จะใหผลผลิตเพิ่มขึน้ 


 การทดลองผลิตภัณฑในคะนา

พันธุคะนา: เจาคุณทิพย (บ.เจียไต) อายุเก็บเกี่ยว 60 วัน


การปลูกคะนาโดยการหวานเมล็ดและคลุมดวยฟางขาว

แปลงทดลองคะนาอายุ 50 วัน


กําหนดการใสปุยและฉีดพนปุยทางใบในคะนา อายุพืช (วัน) กิจกรรม เตรียมดิน ปลูก 0 ใสปุยทางดินครั้งที่ 1 13 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 1 16 ใสปุยทางดินครั้งที่ 2 30 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 2 30 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 3 45 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 4 50 60 เก็บเกี่ยว

หมายเหตุ สูตร 27-6-6 สูตร 27-6-6 -


อัตราการทดลองใชปุย NUTRIPLANT NPK+        

แปลง CONTROL ไมใชปุยทางใบแตใชปุยทางดินปกติ NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 20 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 40 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ NUTRIPLANT AG อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 80 มล./น้ํา 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 100 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 150 มล./น้าํ 20 ลิตร NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 200 มล./น้าํ 20 ลิตร


การฉีดพนปุยในการทดลอง


การเก็บเกี่ยวคะนาจากแตละแปลงทดลอง เมื่ออายุครบ 60 วัน

คะนาที่เก็บเกี่ยวไดจากแปลงทดลอง


ผลของการฉีดพนปุยทางใบอัตราตางๆ ตอผลผลิตคะนา กก./ไร (น้าํ หนักสด) ปุยทางใบ

น้ําหนักสด (กก./2.5ม2)

น้ําหนักสด (กก./ไร)

น้ําหนักสดเพิ่ม (%)

ไมฉีดปุยทางใบ

7.93

5075.2

-

NPK+ 20 มล./ลิตร

8.25

5280.0

4.0

NPK+ 40 มล./ลิตร

8.63

5523.2

8.8

NPK+ 40 + AG 40 มล./ลิตร

9.33

5971.2

17.6

NPK+ 80 มล./ลิตร

9.10

5824.0

14.7

NPK+ 100 มล./ลิตร

8.63

5523.2

8.8

NPK+ 150 มล./ลิตร

8.64

5529.2

8.9

NPK+ 200 มล./ลิตร

8.08

5171.2

1.9

เฉลี่ย

8.54

5510.4


สรุปผลการทดลองในคะนา  การฉีดพนดวย Nutriplant NPK+ รวมกับ Nutriplant AG

อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร ใหผลผลิตสูงสุด รองลงมาคือการใช Nutriplant NPK+ อัตรา 80 มล./น้ํา 20 ลิตร การฉีดพนปุยแบบนี้ ใหผลผลิตสูงกวาการไมใชปุยทางใบ 17.6 และ 14.7%


 การทดลองผลิตภัณฑในถั่วฝกยาว

พันธุถั่วฝกยาว: เพชรนิล (บ.เจียไต) อายุ 30 วันเริ่มมีชอดอก, อายุ 40 วัน ดอกบาน, อายุ 48 วันเริ่มเก็บฝกแรก ชวงเวลาเก็บฝกตอเนื่องไดประมาณ 1 เดือน


การปลูกถั่วฝกยาวหลังจากถอนแยก


กําหนดการใสปุยและฉีดพนปุยทางใบในถั่วฝกยาว อายุพืช (วัน) กิจกรรม เตรียมดิน ปลูก 0 ใสปุยทางดินครั้งที่ 1 15 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 1 16 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 2 30 ใสปุยทางดินครั้งที่ 2 30 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 3 45 ฉีดพนปุยทางใบครั้งที่ 4 50 เริ่มเก็บเกี่ยว 45-52

หมายเหตุ สูตร 27-6-6 สูตร 27-6-6 -


การฉีดพนปุยทางใบเมื่อถั่วยังเล็ก

การฉีดพนปุยทางใบเมื่อถั่วฝกยาวเริ่มติดฝก


เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของถั่วฝกยาวอัตราการฉีดพน 20 มล.และ 40 มล./น้ํา 20 ลิตร

อัตรา 20 มล. /น้ํา 20 ลิตร

อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร


ผลของการฉีดพนปุยทางใบอัตราตางๆ ตอผลผลิตถั่วฝกยาว กก./แปลง (ในพื้นที่ 36 ตารางเมตร) ปุยทางใบ

น้ําหนักฝก (กก./แปลง) ที่เก็บเกี่ยว 3 ชวง ครั้งที่ 1-5

ครั้งที่ 6-10

ครั้งที่ 1-11

ไมฉีดปุยทางใบ

3.91

4.33

12.54

NPK+ 20 มล./ลิตร

4.38

5.33

14.74

NPK+ 40 มล./ลิตร

4.24

4.33

11.54

3.38

4.13

11.71

NPK+ 80 มล./ลิตร

2.95

3.96

10.51

NPK+ 100 มล./ลิตร

3.87

4.86

13.70

NPK+ 150 มล./ลิตร

3.14

3.89

10.50

NPK+ 200 มล./ลิตร

3.28

4.95

12.63

เฉลี่ย

3.64

4.47

12.23

NPK+ 40 + AG 40 มล./ลิตร


ขอกําหนดตาม พ.ร.บ. เกี่ยวกับการจําหนายปุย 2518  ตองขายปุย ณ สถานทีท่ ี่ไดรับอนุญาตการขาย เชน แอมเวย ช็อป  นธอ. สามารถซื้อนิวทริแพลนท เอจี และ นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพื่อการใชเอง โดย “ไม” สามารถนําไปเสนอขายตอ ยกเวน นธอ.ที่มใี บอนุญาตจําหนายปุย  กรณีทําผิด มาตรา 57 แหง พ.ร.บ.ปุย จะไดรับ โทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกินสองแสน บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ


การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี  ในกรุงเทพมหานคร ดําเนินการขอไดที่ ฝายปุยเคมี สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการ เกษตร ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทร.02-579-5536-7  ผูขอตองมีใบทะเบียนการคาหรือทะเบียนพาณิชย  ใบอนุญาตออกใหจําหนายตามที่อยูท ี่ขอเทานั้น  คาธรรมเนียม 100 บาท ใชเวลาดําเนินการ 1 วัน ทําการ อายุใบอนุญาตมีอายุตามกําหนดไมเกิน 1 ป


การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี  ในตางจังหวัดสามารถขออนุญาตจําหนายปุยเคมี ไดที่สํานักวิจยั และพัฒนาการเกษตร 8 เขต ไดแก เชียงใหม ชัยนาท พิษณุโลก จันทบุรี ขอนแกน สุราษฏรธานี อุบลราชธานี สงขลา



ขอบคุณทุกทาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.