Business For Design 870212
ผศ.ดร.ดวงจันทร นาชัยสินธุ
นายกิตติพงษ ทาระเวท 583220003-2
Furniture ธุรกิจเฟอรนิเจอร
เฟอรนิเจอรหรือเครื่องเรือน ไดมีการผลิตมาตั้งแต ป พ.ศ. 2476 ซึ่งในระยะนั้นเปนการรับทำตามความตองการของลูกคาทำเปนอุตสาหกรรมใน ครัวเรือนเล็กๆนอยๆตอมาความตองการใชเฟอรนิเจอรมีแนวโนมสูงขึ้นเปน ลำดับและมีการผลิตโดยใชเครื่องมือเครื่องจักรที่สั่งมาจากตางประเทศอีกดวย ทำใหมีผูสนใจเขามาลงทุนในการผลิตและจำหนายเฟอรนำเจอรมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งพัฒนาจากอุตสาหกรรมในครัวเรือนมาเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ ที่ผลิตเพื่อการสงออก
Target Group
กลุมวัยทำงานและครอบครัวที่กำลังมองหาเฟอรนิเจอร สำหรับตกแตงที่อยูอาศัย
เฟอรนิเจอรกับการออกแบบ
เฟอรนิเจอรเปนของสิ่งหนึ่งที่อยูรอบๆตัวเราและมักมีอิทธิพลตอความรูสึกและพฤติกรรมของเรา เฟอรนิเจอรสวนที่ดีตองมีการออกแบบและผานกระบวนการคิดที่ซับซอน จนกวาจะออกมาเปนชิ้นงานแตละชิ้น และสำคัญเฟอรนิเจอรตองอำนวยความสดวกและส่ือสารกับผูใชได
habitat Habitat แบรนดของแตงบานชั้นนำ
ดีไซนหลากหลาย เขากันไดดีกับทุกสไตลการตกแตง ตั้งแตของใชกระจุกกระจิก ของแตงบาน ไปจนถึงเฟอรนิเจอรตางๆ
กอตั้งเมื่อ 11 พฤษภาคม 1964 โดย Terence Conran และ Philip Pollock ภายใตสโลแกน
Habitat นอกจากความมีสไตล อันเปนเอกลักษณของ Habitat แลวยังมีบริการนาสนใจอื่นๆ เชน Design Center ที่มีทีมดีไซเนอรคอยใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการตกแตงบาน เราสามารถนำภาพถายพื้นที่ที่ตองการตกแตงเขามาพูดคุยเกี่ยวกับไลฟสไตลและแนวคิดที่ตองการได Art Centre ศูนยรวมรูปภาพที่เปนผลงานของชางภาพ ศิลปน จิตรกร และกราฟฟกดีไซเนอรชื่อดังมากมายจากทั่วโลกกวาซึ่งสามารถนำภาพมาสรางสรรคเปนงานศิลปะ ในแบบของตนเองได
กอตั้งเมื่อป 2012 โดยคุณกานตธีรา วงศถาวร จบการศึกษาดาน ออกแบบ และธุระกิจจาก Academe of Art university และ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากประสบการณ ดานการออกแบบทั้งในอเมริกาและเมืองไทย ทำใหเธอกอตั้งเเบรนด “karniving”ดวยความคิดที่วา “นาจะมีคนหลงรักในเสนหของการผสมงานไมและเหล็กเหมือนเธอ”
karniving มีจุดเดนในเรื่องการรวมตัวของ 2 วัสดุ “ไม” ที่มีเสนหและความอบอุน และ ”เหล็ก” ที่ใหอารมณความดิบเทห karnivingใชการผสมวัสดุเปนเอกลักษณในงานออกแบบเฟอรนิเจอร โดยใชแนวคิดหลักคือ
“Living Redesign”
การนำเอารูปแบบการใชชีวิตมาตอบโจทยงานออกแบบที่มากกวาเดิม มีประโยชนใชสอยมากขึ้น มีเสนสายที่เรียบงายและมีความสนุกสนานในตัว
“WOOD” shows the feeling of warm,
“STEEL” shows the feeling of raw and strong.