kittiya-arti3314-102-finalproject

Page 1

โครงการออกแบบพัฒนากราฟิกและบรรจุภณ ั ฑ์ เผือกทอดกรอบตรา เนียนนา

จัดทาโดย นางสาวกิตติยา ซะมะ รหัสนักศึกษา 5311322282

เสนอ อาจารย์ประชิด ทิณบุตร

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์( Graphic Design on Package) ARTI3314 กลุ่มเรียน 102 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม 1


คานา การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และการดาเนินการด้านการตลาดล้วนเป็นสิ่งที่ต้อง ดาเนินการต่อเนื่องและสอดคล้องซึ่งกันและกัน เพื่อให้การพัฒนาสินค้าเป็นไปอย่างมีระบบและ เพื่อให้สอดคล้องสนองตามรสนิยม ของผู้บริโภค ที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าและสร้างโอกาสทางการตลาด โดยกาหนดเป้าหมายในพื้นที่จังหวัดกาญจนาบุรี ทางเรา จึงพัฒนากราฟิกบนบรรจุภัณฑ์นี้ขึ้นมา ทั้งนี้ขอขอบพระคุณอาจารย์ประชิด ทิณบุตร ผู้สอนในรายวิชาการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ที่ให้ข้อมูล และคอยให้ คาปรึกษาของผลิตภัณฑ์ในด้านต่างๆ จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีและหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

นางสาวกิตติยา ซะมะ

2


โครงการออกแบบพัฒนากราฟิกและบรรจุภณ ั ฑ์ เผือกทอดกรอบตรา เนียนนา

ส.1 สืบค้น (Research) ประวัติ จัดตั้งกลุ่มเมื่อปี 2547 เริ่มมีการรวบรวมคนภายในหมู่บ้านที่ว่างงานแล้วมาช่วยโดยให้คนที่มีความสามารถหรือถนัดด้านไหนก็ จะจัดให้ทาตามความสามารถที่แต่ละคนนั้นจะสามารถทาได้ เจ้าของกิจการ คุณอานาจ บ่อนิล ( ประธานกลุ่ม ) แรงงาน จานวน 25 คน ชื่อผูต้ ดิ ต่อ/ประสานงาน คุณอานาจ บ่อนิล ( ประธานกลุ่ม ) รูปแบบธุรกิจ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ทีอ่ ยู่ เลขที่ 18/1 หมู่ที่ 2 ถนน ตาบลปากแพรก อาเภอเมือง จังหวัด กาญจนาบุรี 71000 โทร - 034564035, 0851815669, Email rattayaporn_pn@hotmail.com 3


ข้อมูลทั่วไปเกีย่ วกับตัวสินค้า ชื่อสินค้า

เผือกทอดกรอบเนียนนา

ประเภท

อาหาร

วัสดุหลัก

เผือก

สี

เหลืองน้าตาล

ขนาด/มิติ

กว้าง 17.5 cm. ยาว 28 cm.

น้าหนัก

110 กรัม

ผูผ้ ลิต

กลุ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปเนียนนา

วัสดุประกอบร่วมในตัวสินค้า/ส่วนผสม เผือก 95%

น้ามันปาล์ม 4%

เกลือไอโอดี 1%

ข้อมูลโภชนาการ เผือก มีคาร์โบไฮเดรท แคลเซียม ฟอสฟอรัส บารุงลาไส้ บารุงผิวพรรณ ธรรมชาติการวางขาย/รูปแบบการขาย ขายเอง, ฝากขาย, ขายผ่านนายหน้า, ผลิตตามคาสั่ง, เป็นกลุ่มอาชีพที่มีสิทธิพิเศษสาหรับหน่วยงาน ราชการ และหน่วย รัฐวิสาหกิจ ความสามารถในการผลิต

1,500 ถุง/เดือน

ปริมาณการใช้วตั ถุดบิ หลัก/ต่อปี

แหล่งวัตถุดิบ ในจังหวัด 100 %

ช่วงเวลาการผลิต

ผลิตตลอดปี

ราคา

35 บาท/ถุง

ที่มา - อาจารย์ประชิด ทิณบุตร อาจารผู้สอนในรายวิชา เว็บโซต์ - http://www.thaitambon.com/tambon/tsmedesc.asp?sme=0592194622&ID=710103 4

และ


การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ดว้ ยการมองเห็น

ผลการวิเคราะห์ ก.โครงสร้างของตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 1. ถุงพลาสติก 1.1 ถุงพลาสติก ชนิด ถุงแก้วใส IPP (Inflated polypropylene) - ถุง IPP (Inflated polypropylene) เป็นถุงใสแข็ง เรียกโดยทั่วไปว่าถุงแก้ว เหมาะสาหรับสินค้าขายปลีก ขายเร็ว และ ราคาถูก ใช้ บรรจุขนมหรืออาหาร เช่น อาหารแห้ง คุกกี้ ไม่นิยมบรรจุอาหารเปียก ถุงแก้ว IPP ขึ้นรูปด้วยระบบ Blown Film มีความใสกว่า ผลิตจากเนื้อพลาสติกชนิด PP (polypropylene) มีความใส เหนียว และ มีความเหนียว ทรงรูปได้ดี ใช้สาหรับโชว์ - ซอง OPP (Oriented polypropylene) เป็นซองที่พิมพ์ได้สวยงาม มันเงา สามารถเปิดซองใสให้เห็นสินค้าภายในซอง ได้ดี ส่วนใหญ่ จะเป็นขนม ของว่าง ลักษณะซีล มี 2 แบบ คือ แบบซีลตะเข็บหลัง และซีลโดยรอบ - ถุงพลาสติกโพลีโพรพิลีน (Polypropylene) มีความใสพอควร การป้องกันการซึมผ่านความชื้นได้ดี แต่กันอากาศไม่ดีนัก จึงเหมาะ กับบรรจุภัณฑ์อาหารแห้งและอาหารที่มีไขมัน ที่ไม่ต้องการอายุการเก็บนาน เช่น ข้าวเกรียบทอด ส่วนใหญ่ใช้ในการขายปลีกใน ท้องถิ่น - ถุงแก้ว OPP (Oriented polypropylene) มีความแข็งน้อยกว่ามีรอยซีลที่แข็งแรงกว่า ราคาถูกกว่ามักผลิตที่ความหนา 50-100 ไมครอน - รูปแบบถุง เป็นรูปทรง 4เหลี่ยม โปร่งใส ผิวเรียบ 2 ซีล ตูดถุงกับปากถุง - ขนาด กว้าง 17 CM. ยาว 30 CM. 5


2. ถาดพลาสติก 2.1 ถาดพลาสติก ชนิด PVC (Polyvinyl Chloride) PVC (Polyvinyl Chloride) เป็นพลาสติกที่ไม่สามารถนา uPVC (พีวีซี ผง) สารตั้งต้นของ PVC มาใช้งานได้ ต้องผสมสารอื่นๆ เพื่อให้ได้ PVC แผ่น ชนิดแข็ง และนาไปเข้าสู่กระบวนการขึ้นรูปพลาสติก ซึ่งมีคุณสมบัติคือ ราคาไม่แพง วัตถุดิบสามารถนาไปรี ไซเคิลได้ กระบวนการต่างๆสามารถทาได้ไม่ยาก และขึ้นรูปได้ง่าย เหมาะสาหรับใส่บรรจุภัณฑ์สินค้าทั่วไป รวมถึงอาหารแห้ง อาหาร สด ไม่เหมาะกับอาหารร้อนจัด หรืออาหารแช่แข็ง และไม่เหมาะกับการนาไปเผา เพราะจะมี ไอของคลอไรด์ มีสภาพเป็นกรด เกลือ ซึ่งเป็นมลพิษ 2.2 รูปแบบถาด เป็นรูปทรง 4 เหลี่ยม ขึ้นรูปเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ทางด้านใน 2.3 ขนาด กว้าง 15 Cm. ยาว 20 Cm. 3. ซีล ถุงพลาสติก 3.1 ซีลตูดถุงและปากถุง โดยชีลรอบๆถุง ข.กราฟิกที่ปรากฏบนตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 4. ข้อความ 4.1 ข้อความบรรยายขอมูลสินค้า 5. ภาพประกอบของสินค้า 5.1 เป็นรูปวาด วาดมาจากตัวเผือกจริงๆ 5.2 สีของภาพ เป็นสีม่วงในส่วนใหญ่ และมีสีเขียวและดาเล็กน้อย 6. ชื่อสินค้า 7. ลายกราฟิก 8. เครือ่ งหมาย มผช. มผช. (มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน) รับรองผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยชุมชนเพื่อรองรับการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือ ระดับพื้นบ้านที่ยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควรซึ่งวัตถุประสงค์ของโครงการที่สาคัญคือส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ชุมชนให้ได้รับการรับรองและแสดงเครื่องหมาย การรับรอง เพือ่ ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ ให้เป็นที่ยอมรับอย่าง แพร่หลาย 9. กสอ (กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) พัฒนาภาคอุตสาหกรรมของประเทศในด้านการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการ 10. GMP (Good Manufacturing Practice) 6


หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารเป็นเกณฑ์หรือข้อกาหนดขั้นพื้นฐานที่จาเป็นในการผลิต และควบคุมเพื่อให้ผู้ผลิต ปฏิบัติตามและทาให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงที่อาจจะทาให้อาหารเป็นพิษเป็น อันตรายหรือเกิดความไม่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภคโดยหน่วยงานมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ 11. ที่อยูผ่ ผู้ ลิต ของผลิตภัณฑ์ 12. วันหมดอายุ ของผลิตภัณฑ์ 13. น้าหนัก/สุทธิ ของผลิตภัณฑ์ 14.เครือ่ งหมาย อย. (สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) เป็นสัญลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป ที่มีภาชนะบรรจุสนิท โดย สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ความหมายของเลขสารบบอาหารในเครื่องหมาย อย. เลขสารบบอาหาร คือ เลขประจาตัวผลิตภัณฑ์อาหาร จะเป็นตัวเลข 13 หลักแสดงอยู่ภายในกรอบเครื่องหมาย อย. ถูกนามาใช้แทน ตัวอักษรและตัวเลขซึ่งอยู่ในกรอบเครื่องหมาย อย. แบบเดิม ซึ่งเลขสารบบอาหารนี้จะระบุข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับสถานที่ และข้อมูล ผลิตภัณฑ์อาหารครบถ้วนมากกว่าในอดีต ช่วยให้เจ้าหน้าที่ติดตามตรวจสอบ ง่ายขึ้น โดยส่วนใหญ่เลขสารบบอาหารจะปรากฏอยู่ บนฉลากของอาหารควบคุมเฉพาะ / อาหารกลุ่มที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานและ อาหารกลุ่มที่ต้องมีฉลาก แต่ ก็จะมีอาหารบาง ชนิดที่อยู่ในกลุ่มดังกล่าว อาทิ เกลือ ฯลฯ และอาหารกลุ่มที่มีระดับความเสี่ยงต่ามาก ได้แก่ อาหารอื่นที่อยู่นอกเหนือจากกลุ่ม ข้างต้นเช่น น้าตาลทราย เครื่องเทศฯลฯ ที่ฉลากไม่ต้องแสดงเลขสารบบอาหารเพียงแค่ผู้ผลิตปฏิบัติส่วนอื่นให้ถูกต้องตามที่กฎหมาย กาหนดเท่านั้น สาหรับรายละเอียดของเลขสารบบอาหาร 13 หลักนี้ จะแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ 1). ประกอบด้วยเลข สองหลัก หมายถึง จังหวัดที่ตั้งของสถานที่ผลิตอาหารหรือนาเข้าอาหารโดยใช้ตัวเลขแทนอักษรย่อของจังหวัด เช่น 12 หมายถึง จังหวัดนนทบุรี (ตัวเลขที่ใช้แทนชื่อจังหวัดตามเอกสารแนบท้าย) 2). ประกอบด้วยเลข หนึ่งหลัก หมายถึง สถานะของสถานที่ผลิตอาหารหรือนาเข้าอาหาร และหน่วยงานที่เป็นผู้อนุญาต ดังนี้ หมายเลข 1 หมายถึง สถานที่ผลิตอาหารที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นผู้อนุญาต หมายเลข 3 หมายถึง สถานที่นาเข้าอาหารที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นผู้อนุญาต หมายเลข 2 หมายถึง สถานที่ผลิตอาหารที่ จังหวัดเป็นผู้อนุญาต หมายเลข 4 หมายถึง สถานที่นาเข้าอาหารที่ จังหวัดเป็นผู้อนุญาต 3). ประกอบด้วยเลข ห้าหลัก หมายถึง เลขสถานที่ผลิตอาหารหรือเลขสถานที่นาเข้าอาหาร ที่ได้รับอนุญาต และปีพ.ศ.ที่อนุญาต โดย ตัวเลขสามหลักแรก คือ เลขสถานที่ผลิตหรือนาเข้าอาหารแล้วแต่กรณี ส่วนตัวเลขสองหลักสุดท้าย คือ ตัวเลขสองหลักสุดท้ายของปี พ.ศ. ที่ได้รับอนุญาต เช่น 00244 แทน เลข สถานที่ผลิตหรือนาเข้าอาหาร ซึ่งได้รับอนุญาตเลขที่ 2 และอนุญาตในปี พ.ศ. 2544 4). ประกอบด้วยเลข หนึ่งหลัก หมายถึง หน่วยงานที่ออกเลขสารบบอาหาร ดังนี้ 1 หมายถึง อาหารที่ได้รับเลขสารบบจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 2 หมายถึง อาหารที่ได้รับเลขสารบบจากจังหวัด 7


5). ประกอบด้วยเลข สี่หลัก หมายถึง ลาดับที่ของอาหารที่ผลิต หรือนาเข้า ของสถานที่แต่ละแห่ง แยกตามหน่วยงานที่เป็นผู้อนุญาต เช่น 0002 แทนลาดับที่ 2 หรือ 0099 แทนลาดับที่ 99 เป็นต้น นอกจากนี้การแสดงเลขสาระบบ อาหารในเครื่องหมาย อย. ยังกาหนดให้ใช้ตัวเลขที่มีสีตัดกับสีพื้นของกรอบ มีขนาดไม่เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร และสีของกรอบตัดกับสีพื้นของฉลาก ทั้งนี้ผู้บริโภคบางท่านอาจพบผลิตภัณฑ์อาหารบางยี่ห้อแสดงเครื่องหมาย อย.แบบเดิมที่มีตัวอักษรและตัวเลขปรากฏอยู่ แทนที่จะเป็นเลขสาระบบอาหารอยู่ในเครื่องหมาย อย. เนื่องจากอาหารบางประเภท มีอายุการเก็บรักษานานฉลากเก่าจึงยังคง เหลืออยู่ ดังนั้น สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงผ่อนผันให้อาหารที่วางจาหน่ายอยู่ก่อนวัน ที่ 24 กรกฎาคม 2546 สามารถ ใช้ฉลากเดิมจาหน่ายต่อไปได้ตามอายุการบริโภคของอาหารนั้น หรือในระยะเวลาที่อาหารนั้น ๆ ยังมีคุณภาพและมาตรฐานปลอดภัย ต่อการบริโภค แต่อาหารที่ผลิตหรือนาเข้าหลังจาก วันที่ 24 กรกฎาคม 2546 ฉลากจะต้องแสดงเลขสาระบบอาหารเท่านั้น จากข้อมูลที่กล่าว ข้างต้น จะเห็นว่ากฎหมายให้ความสาคัญต่อการให้ผู้ผลิตแสดง ข้อมูลซึ่ง ผู้บริโภคควรต้องทราบระบุบน ฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัย คุ้มค่า และสมประโยชน์ที่สุด ดังนั้นผู้บริโภคทุกคนจึงควรให้ความใส่ใจต่อการอ่านและใช้ประโยชน์จากข้อมูล ที่ระบุบนฉลาก สาหรับผู้บริโภคที่เคย พิจารณาเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารโดยพิจารณาเฉพาะเครื่องหมาย อย.ก็ควรหันมา ใส่ใจอ่านข้อมูลอื่นบนฉลากประกอบการตัดสินใจซื้อด้วย เพราะจะทาให้มั่นใจในผลิตภัณฑ์อาหาร นั้นมากขึ้น 15.วัสดุประกอบร่วมในตัวสินค้า/ส่วนผสม 16.ข้อความบรรยายสรรพคุณของตัวสินค้า 17. รูปทรงกราฟิก 17.1 รูปทรง 17.2 สีเป็นสีเขียว เข้มและอ่อน 18.ประเภทชนิดของสินค้า 19, 20 ข้อความบรรยายของสิน้ ค้า 21. OTOP หนึง่ ตาบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ 22. ยีห่ อ้ โลโก้ผผู้ ลิต ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในบรรจุภณ ั ฑ์แบบเก่า 1. ซองบรรจุภัณฑ์ไม่สามารถตั้งได้ทาให้มีปัญหาในกางวางขายบนชั้นวางซึ่งอาจทาให้มองไม่เห็นลายละเอียดของข้อมูลสิ้นค้า 2. ต้นทุนการผลิตสูง 3. บรรจุภัณฑ์มีหลายขนาด ความต้องการของผูป้ ระกอบการ 1. ต้องการบรรจุภัณฑ์ที่เป็น Stand up Pouch ถุงตั้งได้ 2. ต้องการให้เห็นตัวผลิตภัณฑ์ภายในบรรจุภัณฑ์ด้วย

8


ออกแบบโลโก้เนียนนาเป็นภาษาอังกฤษอยูใ่ นรูปแบบเดิมของเนียนนาทีเ่ ป็นภาษาไทย

เอาข้อมูลและลายกราฟิกต่างๆทาลงบน pattern

9


ส.3 สรุปผล (Results) concept ต้องการที่จะให้ซองของบรรจุภัณฑ์ตั้งได้และสามารถมองเห็นผลิตภัณฑ์ภายในซองเเละโลโก้ผู้ผลิตที่สีมีความโดดเด่นซึ่งสีม่วงเป็น สีหลั​ักของบรรจุภัณฑ์

10


Artwork แบบที1่ - รูปแบบกล่องแบบคลี่

- ประกอบแล้ว

11


Artwork แบบที2่ - รูปแบบกล่องแบบคลี่

- ประกอบแล้ว

12


Artwork แบบที่3 - รูปแบบกล่องแบบคลี่

- ประกอบแล้ว

13


Artwork แบบที4่ - รูปแบบกล่องแบบคลี่

- ประกอบแล้ว

14


Artwork ทัง้ หมด

15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.