คู๋มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

Page 1

คำ�นำ� คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า ฉบับนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ได้ดำ�เนินการทบทวนและปรับปรุงให้สอดคล้องกับพันธกิจ วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์กรมการ พัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕-๒๕๕๙ ตามหลักเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วยกระบวนการที่สร้าง คุณค่า จำ�นวน ๖ กระบวนการ ตามประกาศกรมการพัฒนาชุมชน เรือ่ ง การกำ�หนดกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมการพัฒนาชุมชน ลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ดังนี้ ๑. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๒. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ๓. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๔. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ๕. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๖. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน คณะทำ�งานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด ประจำ�ปี ๒๕๕๕ และ คณะทำ�งานจัดทำ�คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ านกระบวนการทีส่ ร้างคุณค่า กระบวนการสนับสนุน และจัดทำ�แผนสำ�รองฉุกเฉิน ประจำ�ปี ๒๕๕๕ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน กระบวนการที่สร้างคุณค่า จะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานสำ�หรับผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่สนใจ และเนื่องจากคู่มือฉบับนี้ได้จัดทำ�เป็นแบบรวมเล่มกระบวนการที่ สร้างคุณค่าขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อให้สะดวกต่อการใช้อ้างอิงสำ�หรับการปฏิบัติงาน คณะทำ�งานฯ ต้องขออภัยในความบกพร่องต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น และขอขอบคุณผู้ที่ให้ความอนุเคราะห์ให้ คำ�ปรึกษาหารือ ข้อเสนอแนะต่างๆ รวมทั้งผู้ที่สนับสนุนในการจัดทำ�คู่มือจนเสร็จเรียบร้อยมา ณ โอกาสนี้ คณะทำ�งาน PMQA หมวด ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕


สารบัญ คำ�นำ� สารบัญ ๑. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๒. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ๓. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๔. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ๕. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๖. คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน

๓ ๔๓ ๕๕ ๑๒๙ ๒๐๗ ๒๖๗


คู่มือการปฏิบัติงาน

กระบวนการพัฒนากลไก การบริ ห ารจั ด การชุ ม ชน



คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่วนนำ�

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร กรมการพัฒนาชุมชน ได้ริเริ่มการดำ�เนินการพัฒนาชุมชนด้วยการพัฒนาศักยภาพ ประชาชน ผู้นำ�ชุมชน และองค์การชุมชน โดยมีแนวคิดพื้นฐานว่ามนุษย์มีคุณค่า สามารถพัฒนา ตนเองได้และจำ�เป็นต้องมีสังคมเอื้ออารีต่อกัน มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม ในสังคมมนุษย์ กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน จัดทำ�ขึ้น โดยมีเนือ้ หาทีค่ รอบคลุม ๔ กระบวนการย่อย ได้แก่ การพัฒนาผูน้ �ำ ชุมชน การพัฒนาอาสาสมัคร ชุมชน การพัฒนาองค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน และการส่งเสริมระบบมาตรฐาน งานชุ ม ชน (มชช.) โดยทุกกระบวนการได้ อ ธิ บ ายรายละเอี ย ดของการดำ � เนิ น งานแต่ ล ะ กระบวนการ กิจกรรม ขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินงาน ตลอดจนเอกสาร อ้างอิงที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน เพื่อให้การปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่เป็นไปตามเป้าหมายของกรมการพัฒนาชุมชน นอกจากนี้ ในแต่ละกระบวนการยังมีกระบวนงานย่อยที่แสดงผังกระบวนการ ให้เห็น ถึงขั้นตอน วิธีการดำ�เนินงาน ห้วงระยะเวลา รายละเอียดของงาน ข้อกำ�หนดสำ�คัญ มาตรฐาน คุณภาพงาน และ ระบบติดตาม/ประเมินผล ซึง่ จะทำ�ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านมองเห็นภาพรวม และเส้นทางการ ปฏิบัติงานจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้ายของงานได้อย่างชัดเจน รายละเอียดทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาได้เรียบเรียงไว้ใน “คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน” เล่มนี้ เพือ่ ประโยชน์ สำ�หรับผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางดำ�เนินงานเรียนรู้งานซึ่งกันและกัน อีกทั้ง ยังทำ�ให้สามารถทำ�งานทดแทนกันได้ในขณะทีผ่ รู้ บั ผิดชอบไม่อยูห่ รือไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้ และ ที่สำ�คัญที่สุด เป็นข้อมูลในการติดตามงานของผู้บริหารด้วย

5


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่วนที่ ๑ ความเป็นมาและความสำ�คัญ

6

กรมการพัฒนาชุมชน ได้ริเริ่มการดำ�เนินการพัฒนาชุมชนด้วยการพัฒนาศักยภาพ ประชาชน ผู้นำ�ชุมชน และองค์การชุมชน โดยมีแนวคิดพื้นฐานว่ามนุษย์มีคุณค่า สามารถพัฒนา ตนเองได้และจำ�เป็นต้องมีสังคมเอื้ออารีต่อกันมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มใน สังคมมนุษย์ มีองค์ประกอบย่อยภายในสังคม มีการแบ่งภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละ บุคคล เพื่อปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การดำ�เนินการพัฒนาสังคมหรือชุมชน จึงต้องอาศัยความเป็น “ผู้นำ�” ที่มีศักยภาพแสดงบทบาทในการบริหารจัดการ พร้อมทั้งใช้พลัง ความร่วมมือของสมาชิกชุมชนในการอาสาสมัครเข้ามาป้องกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน ของตนเอง การพัฒนาชุมชนของ “ผู้นำ�” อยู่บนพื้นฐานของการสร้างภาวะผู้นำ� ผู้ตาม ให้เกิดกับ สมาชิกชุมชน องค์การชุมชน ใช้กระบวนการระบบการบริหารจัดการชุมชนเป็นเครื่องมือในการ เรียนรูข้ อ้ มูลของชุมชน คาดหมายแนวโน้มสถานการณ์ชมุ ชน กำ�หนดทิศทางการพัฒนา กิจกรรม การปฏิบัติการโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เป็นสำ�คัญด้วยความรับผิดชอบร่วมกันในการตัดสินใจและ ผลักดันงานร่วมกัน อาศัยความสัมพันธ์ของคนในสังคมจัดตั้งกลุ่ม องค์กร เพื่อดำ�เนินกิจกรรม ตามแผนชุมชน เกิดการเรียนรู้ของสมาชิกกลุ่ม ฝึกทักษะการบริหารจัดการพัฒนาภาวะผู้นำ� รุน่ ใหม่ เกิดพลังอำ�นาจต่อรองเพิม่ โอกาสในการพัฒนาชุมชนจนชุมชนมีระบบการบริหารจัดการ ชุมชนด้วยศักยภาพและความสามารถของชุมชนทำ�ให้เป็นชุมชนที่พึ่งตนเองได้ จากแนวคิดดังกล่าว ทำ�ให้เกิดการพัฒนา ผู้นำ� อาสาสมัคร องค์กรและรวมพลัง เป็นเครือข่ายองค์การภาคประชาชนที่มีมาตรฐาน เพื่อเป็นกลไกหลักในการพัฒนาตำ�บล ซึง่ เครือข่ายทีก่ รมการพัฒนาชุมชนส่งเสริม ได้แก่ สมาพันธ์องค์การพัฒนาชุมชนแห่งประเทศไทย ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน สมาคมผู้นำ�อาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผู้นำ�สตรีพัฒนา ชุมชนไทย สมาคมผู้นำ�อาชีพก้าวหน้าพัฒนาชุมชน (สิงห์ทอง) ๔ ภาค สมาคมกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต เครือข่ายการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เครือข่ายกลุม่ อาชีพ OTOP เป็นต้น


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ รัฐบาลได้ดำ�เนินการปฏิรูประบบราชการ ซึ่งผลจากการปฏิรูปดัง กล่าวทำ�ให้ภาครัฐมีการกำ�หนดยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๕๐) โดย เป้าหมายสำ�คัญของแผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ คือ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (หรือ ที่เรียกกันโดยย่อว่า PMQA) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วนใหญ่ ๆ คือ ๑. ลักษณะสำ�คัญขององค์กร ๒. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วย ๗ หมวด คือ หมวด ๑ การนำ�องค์กร หมวด ๒ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด ๓ การให้ความสำ�คัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ หมวด ๗ ผลลัพธ์การดำ�เนินการ กรมการพัฒนาชุมชนได้ตระหนักถึงความสำ�คัญในการพัฒนาองค์กร จึงได้เข้าร่วม ดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยในปีแรกได้ท�ำ การ ประเมินองค์กร กำ�หนดกลุม่ ผูร้ บั บริการ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และนำ�ประเด็นการส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากและการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการชุมชน มาเป็นหัวข้อสำ�คัญในการจัด ทำ�กระบวนการ ตามหมวด ๖ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๓ กรมการพัฒนาชุมชนได้มีการปรับปรุงและพัฒนากระบวนงาน ในหมวด ๖ โดยจำ�แนกเป็นกระบวนการสร้างคุณค่า จำ�นวน ๗ กระบวนการ และกระบวนการ สนับสนุน จำ�นวน ๑๐ กระบวนการ กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน เป็นกระบวนงานหนึ่งที่จะทำ�ให้ เป้าหมายขององค์กรบรรลุผลนั่นคือ ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ซี่งกระบวนการดังกล่าวมีแนวคิด ที่จะให้ ผู้นำ� กลุ่มองค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน เป็นกลไกสำ�คัญในการบริหาร จัดการชุมชน ประกอบด้วย กระบวนงานย่อย ได้แก่ การพัฒนาผู้นำ�ชุมชน การพัฒนาอาสา สมัครชุมชน การพัฒนาองค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน และการส่งเสริมระบบ มาตรฐานงานชุมชน ดังนั้น ในสภาวะแวดล้อมปัจจุบันที่มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ทั้งนโยบาย ตลอดจนบุคลากรผู้รับผิดชอบงาน สิ่งหนึ่งที่จะทำ�ให้คนรู้งานได้เร็วขึ้น และทำ�งานทดแทนกันได้

7


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เวลาทีผ่ รู้ บั ผิดชอบไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้ หรือมีการโยกย้ายสับเปลีย่ นก็สามารถทำ�งานต่อเนือ่ ง ได้โดยรู้ว่าจะต้องทำ�อะไรก่อนหรือหลังและต้องทำ�อย่างไรบ้าง นั่นก็คือ “คู่มือการปฏิบัติงาน” ที่ถูกใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานและมาตรฐานการให้บริการต่อไป กรมการพัฒนาชุมชน ได้จดั ทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ านเพือ่ กำ�หนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการนำ�กระบวนการไปปฏิบตั เิ พือ่ ให้บรรลุตามข้อกำ�หนดทีส่ �ำ คัญ โดยแสดงให้ เห็นจุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุดของงาน เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้ใช้อา้ งอิง มิให้เกิดความผิดพลาดในการ ทำ�งานและสร้างความเข้าใจก่อให้เกิดความพึงพอใจ ซึง่ คูม่ อื การปฏิบัตงิ าน ประกอบด้วยแผนผัง กระบวนการและมาตรฐานคุณภาพงาน ซึง่ เป็นข้อกำ�หนดในการปฏิบตั งิ าน ทัง้ ในเชิงคุณภาพและ ปริมาณ

วัตถุประสงค์ 8

๑. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เกี่ยวข้องและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ พัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชนที่ชัดเจน ซึ่งจะส่งผลให้การ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลตามเป้าหมายต่อไป ๒. เพื่ อ ทบทวนการดำ � เนิ น งานและนำ � มาปรั บ ปรุ ง กระบวนการสร้ า งคุ ณ ค่ า ของ กรมการพัฒนาชุมชนให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ ๓. เพื่อใช้เป็นคู่มือในการให้บริการที่เป็นมาตรฐาน

ขอบเขตของกระบวนการ การจัดทำ�กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน มีเนื้อหาที่ครอบคลุม กระบวนการพัฒนาผู้นำ�ชุมชน การพัฒนาอาสาสมัครชุมชน การพัฒนา องค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน และการส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.) โดยได้อธิบายรายละเอียดของการดำ�เนินงานแต่ละขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ใช้ในการ ดำ�เนินงาน ตลอดจนเอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานพัฒนากลไกการบริหารจัดการ ชุมชน เพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เป็นไปตามเป้าหมายของกรมการพัฒนาชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการ กรมการพัฒนาชุมชน ได้กำ�หนดข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ของกระบวนการพัฒนากลไก บริหารจัดการชุมชน โดยนำ�ข้อมูลที่ได้จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาประกอบใน การจัดทำ� ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ดังนี้ กระบวนการ

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการ

พัฒนากลไก ๑. ผูน้ �ำ ชุมชน อาสาสมัครชุมชน องค์การ การบริหาร ชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน มีขีด จัดการชุมชน สมรรถนะในการบริหารจัดการชุมชนให้ เข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ ๑.๑ มีฐานข้อมูลที่แยกประเภทอย่าง เป็นระบบ ๑.๒ มีเกณฑ์การวัดการพัฒนาศักยภาพ ๑.๓ มีแผนพัฒนาผู้นำ� อาสาสมัคร กลุ่มองค์การและเครือข่าย ๑.๔ มีการขับเคลือ่ นกิจกรรมแก้ปญ ั หา และพัฒนาชุมชน ๒. ผูน้ � ำ กลุม่ องค์การ เครือข่าย และชุมชน สามารถพัฒนาตนเองจนผ่านระบบ มาตรฐานงานชุมชน

ตัวชี้วัดที่สำ�คัญของ กระบวนการ ๑. จำ�นวนผู้นำ�ที่ผ่านการอบรม ตามหลักสูตรที่กรมฯ กำ�หนด ๒. จำ�นวนอาสาสมัครที่ผ่านการ อบรมตามหลักสูตรที่กำ�หนด ๓. จำ�นวนกลุม่ องค์การ เครือข่าย มีแผนพัฒนา ๔. ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๕. จำ�นวนผู้นำ� กลุ่ม องค์การ เครือข่าย และชุมชน ที่ผ่าน การรับรองระบบมาตรฐาน งานชุมชน

มาตรฐานงาน กระบวนการ

มาตรฐานงาน

กระบวนการพัฒนากลไก ๑. ผู้นำ� อาสาสมัคร องค์การและเครือข่ายองค์การชุมชน จำ�นวน การบริหารจัดการชุมชน มากกว่า ๙๐ % ได้รับการพัฒนาตามที่กรมฯ ดำ�เนินการ ๒. ผูน้ � ำ อาสาสมัคร องค์การและเครือข่ายองค์การชุมชน สามารถ บริหารจัดการชุมชน อย่างน้อย ๑ กิจกรรม

9


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

คำ�จำ�กัดความ

10

ผูน้ �ำ ชุมชน หมายถึง บุคคลทีม่ ภี มู ลิ �ำ เนาในชุมชนและมีผลงาน/กิจกรรม ร่วมกับชุมชน อย่างต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับนับถือจากชุมชน ทั้งที่มีตำ�แหน่งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ อาสาสมัครชุมชน หมายถึง ผูท้ สี่ มัครใจทำ�งานเพือ่ ชุมชน สังคม โดยไม่หวังผลตอบแทน เป็นเงิน (ค่าจ้าง) มีจติ อาสา เสียสละ ด้วยแรงกาย แรงใจ แรงสติปญ ั ญา เพือ่ ช่วยเหลือเกือ้ กูลและ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม องค์การชุมชน หมายถึง การรวมตัวโดยสมัครใจของบุคคล ซึง่ มีวตั ถุประสงค์/ มีเป้าหมาย แนวทางการปฏิบัติ และมีกิจกรรมที่ดำ�เนินการร่วมกันอย่างต่อเนื่องชัดเจน เครือข่ายองค์การชุมชน หมายถึง การเชื่อมโยงระหว่างบุคคล องค์การชุมชน เครือข่าย องค์การชุมชน โดยมีรูปแบบของการประสานทรัพยากร เป้าหมาย วิธีการทำ�งานของตนเอง มาดำ�เนินกิจกรรมร่วมกันเป็นเครือข่ายในลักษณะที่องค์การสมาชิกยังเป็นอิสระในการดำ�เนิน กิจกรรมของตนเองเพือ่ สร้างพลังในการขับเคลือ่ นกิจกรรมการพัฒนาและการต่อรองในระดับต่าง ๆ ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล องค์การชุมชน เครือข่ายองค์การชุมชนและ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐานที่สุด คือ หมูบ่ า้ นหรือชุมชนในรูปแบบอืน่ ๆ ทีม่ ปี ระเด็นของเนือ้ หาทีม่ ารวมตัวกันเพือ่ แก้ไขปัญหาเดียวกัน เช่น ชุมชนลุ่มน้ำ� ชุมชนวัฒนธรรม เป็นต้น การบริหารจัดการชุมชน หมายถึง กระบวนการในการจัดการของชุมชนกับการพัฒนา และแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยชุมชนจะมีระบบข้อมูล มีแผนชุมชน มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกัน มีการนำ�แผนไปใช้ประโยชน์ มีทุนของชุมชน และมีองค์กรที่เข้มแข็ง มาตรฐานงานชุมชน หมายถึง เครื่องมือสำ�หรับ ผู้นำ� กลุ่ม/องค์การชุมชน เครือข่าย องค์กรชุมชน และชุมชน ใช้เพือ่ ทำ�ให้รจู้ กั ตนเอง ประเมินและพัฒนาศักยภาพตนเอง เป็นกระบวนการ เรียนรูข้ องชุมชนร่วมกับภาคีการพัฒนา โดยการร่วมคิด ร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมกำ�หนดทิศทางการ พัฒนา ที่ทำ�ให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างเป็นระบบ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

คำ�อธิบายสัญลักษณ์ การเขี ย นแผนผั ง ของกระบวนการ (Work Flow) ในคู่ มื อ การปฏิ บั ติ ง านเล่ ม นี้ มีสญ ั ลักษณ์ทใี่ ช้เพือ่ แสดงถึงกิจกรรมทีด่ �ำ เนินการ ทิศทางของการปฏิบตั ิ การตัดสินใจ ฐานข้อมูล ที่เกี่ยวข้องและรายงาน/เอกสารต่างๆ ซึ่งมีคำ�อธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ ดังต่อไปนี้

11


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

คำ�อธิบายคำ�ย่อที่ใช้

12

คู่มือการปฏิบัติงานเล่มนี้ มีการใช้คำ�ย่อ ดังต่อไปนี้ อพช./รองอพช.

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน/รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

อช.

อาสาพัฒนาชุมชน

ผู้นำ� อช.

ผู้นำ�อาสาพัฒนาชุมชน

อสพ.

อาสาพัฒนา

สสช.

สำ�นักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

กรมคุ้มครองสิทธิฯ

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

คณะกรรมการกลางฯ

คณะกรรมการกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน

สำ�นักงานกลาง ศอช.

สำ�นักงานกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน

ศอช.ต.

ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตำ�บล

สมาคมผู้นำ�สตรีฯ

สมาคมผู้นำ�สตรีพัฒนาชุมชนไทย

กพสต.

คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับตำ�บล

กพสจ.

คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับจังหวัด

กพสภ.

คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับภาค

มชช.

มาตรฐานงานชุมชน

สพจ.

สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

สพอ.

สำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

หน้าที่ความรับผิดชอบ กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชนนี้ มีหน่วยงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทีเ่ ป็นหน่วยผูร้ บั ผิดชอบในการวางแผนการพัฒนา จัดทำ�แนวทางการดำ�เนินงาน ดำ�เนินงานตามแผน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการพัฒนา โดยมีหน่วยผู้รับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ หน่วยงานรับผิดชอบ

ความรับผิดชอบ

อธิบดีกรมการพัฒนา ชุมชน/รองอธิบดี

๑. อนุมัติแผนงานโครงการกิจกรรมพัฒนากลไก การบริหารจัดการชุมชน ๒. แต่งตั้งคณะทำ�งานตามที่เห็นสมควร

สำ�นักเสริมสร้างความ เข้มแข็งชุมชน

๑. กำ�หนดนโยบาย แนวทาง การปฏิบัติและ สนับสนุน บริหารงานเกี่ยวกับการส่งเสริม การดำ�เนินงานตามกระบวนการพัฒนากลไก การบริหารจัดการชุมชน ๒. จัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน และแนวทางการ ดำ�เนินงาน ๓. สร้างความเข้าใจเจ้าหน้าที่และบุคคลเป้าหมาย ๔. ส่งเสริมการจัดการความรู้กระบวนการพัฒนา กลไกการบริหารจัดการชุมชน ๕. กำ�กับ ดูแล ติดตาม/ประเมินผล และรายงาน ต่อผู้บริหาร ๖. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

สำ�นักงานพัฒนาชุมชน จังหวัด

๑. คัดเลือกพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ๒. สร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมาย และภาคีที่เกี่ยวข้อง ๓. สนับสนุนการดำ�เนินงานตามกระบวนการ พัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน

หมายเหตุ

13


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

หน่วยงานรับผิดชอบ

สำ�นักงานพัฒนาชุมชน อำ�เภอ

14

ความรับผิดชอบ ๔. สนับสนุนสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอในการ ส่งเสริมและพัฒนาผู้นำ�ชุมชน อาสาสมัครชุมชน องค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชนให้มี ความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนให้ เข้มแข็ง และผ่านมชช. ๕. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ๑. คัดเลือกพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ๒. สร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมาย และภาคีที่เกี่ยวข้อง ๓. สนับสนุนการดำ�เนินงานตามกระบวนการ พัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๔. สนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนา ผู้นำ�ชุมชน อาสาสมัครชุมชน องค์การชุมชนและเครือข่าย องค์การชุมชนให้มีความสามารถในการบริหาร จัดการชุมชนให้เข้มแข็งและผ่าน มชช. ๕. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล

หมายเหตุ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่วนที่ ๒

แผนผังของกระบวนการพัฒนากลไก การบริหารจัดการชุมชน (Work Flow) กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย ๔ กระบวนการ คือ กระบวนการพัฒนาผู้นำ�ชุมชน การพัฒนาอาสาสมัครชุมชน การพัฒนา องค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน และการส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน ซึ่งทั้ง สี่กระบวนการย่อยจะส่งผลให้ชุมชนมีกระบวนการในการจัดการชุมชน เกิดการเรียนรู้ และมี กิจกรรมเพิ่มคุณค่าทุนทางสังคมและเศรษฐกิจของคนในชุมชนภายใต้ระบบความสัมพันธ์ของ คนในชุมชนเป็นเครือข่ายความสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนนำ �ไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้

15


16

กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการพัฒนาผู้นำ�ชุมชน

๑.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

17


18

กระบวนการพัฒนาอาสาสมัครชุมชน

๑.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการพัฒนาองค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน ๑.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

19


20

กระบวนการส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.)

๑.๔

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.)

๑.๔.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

21



คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่วนที่ ๓

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ประกอบด้วย ๔ กระบวนการ ได้แก่ ๑. กระบวนการพัฒนาผู้นำ�ชุมชน ๒. กระบวนการพัฒนาอาสาสมัครชุมชน ๓. กระบวนการพัฒนาองค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน ๔. กระบวนการส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน l กระบวนการย่อยส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน ซึ่งมีขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผลงาน ดังต่อไปนี้

23


24

กระบวนการ : การพัฒนาผู้นำ�ชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

25


26

กระบวนการ : การพัฒนาอาสาสมัครชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

27


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

28


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

29


30 กระบวนการ : การพัฒนาองค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

31


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

32


กระบวนการย่อยส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน : กระบวนการย่อยส่งเสริมระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

33


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

34


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

35


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

36


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

37


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

38


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

39


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

40


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสารอ้างอิง กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๔๗. คูม่ อื ระบบมาตรฐานงานชุมชน เครือ่ งมือการพัฒนา แบบบูรณาการ ที่ใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งแรก. ๘๓ หน้า กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๑. คู่มือการปฏิบัติงานอาสาพัฒนาชุมชนและผู้นำ�อาสาพัฒนา ชุมชน. กรุงเทพฯ : ๕๖ หน้า ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำ�เนินงานอาสาพัฒนา พ.ศ. ๒๕๔๐ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำ�เนินงานอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำ�เนินงานอาสาพัฒนาชุมชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำ�เนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำ�เนินงานพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๘ และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒

41



คู่มือการปฏิบัติงาน

กระบวนการส่งเสริมระบบ การบริ ห ารจั ด การชุ ม ชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

44

กรมการพัฒนาชุมชน ได้ริเริ่มการดำ�เนินการพัฒนาชุมชนด้วยการพัฒนาศักยภาพ ประชาชน ผู้นำ�ชุมชน และองค์การชุมชน โดยมีแนวคิดพื้นฐานว่ามนุษย์มีคุณค่า สามารถพัฒนา ตนเองได้และจำ�เป็นต้องมีสังคมเอื้ออารีต่อกันมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มใน สังคมมนุษย์มอี งค์ประกอบย่อยกำ�หนดกระบวนการสร้างคุณค่าของงานตามเกณฑ์ PMQA หมวด ๖ ในการจัดทำ�แผนพัฒนาองค์กร จำ�นวน ๖ กระบวนการ คือ ๑. กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๒. กระบวนการส่งเสริมกระบวนการบริหารจัดการชุมชน ๓. กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๔. กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ๕. กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๖. กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ กรมฯ ได้นำ�ประเด็นการจัดทำ�กระบวนการ หมวด ๖ มาปรับปรุงและ พัฒนางาน โดยมอบให้สำ�นักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน เป็นเจ้าภาพรับผิดชอบกระบวนการ ส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ซึง่ ในกระบวนการดังกล่าวประกอบด้วย ๔ กระบวนการย่อย คือ ๑. กระบวนการย่อยส่งเสริมแผนชุมชน กำ�หนดแนวทางแต่งตั้งคณะทำ�งาน สร้างความเข้าใจ จัดทำ�แผนชุมชน ประเมินคุณภาพแผนชุมชน บูรณาการแผนชุมชน รับรองมาตรฐานแผนชุมชน ติดตามและรายงานผล ๒. กระบวนการย่อยส่งเสริมการจัดการความรู้ชุมชน พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชน สมบูรณ์แบบ ๓. กระบวนการย่อยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ นอกจากนี้ ในแต่ละกระบวนการย่อยยังแสดงผังกระบวนงานให้เห็นถึงขัน้ ตอน วิธกี าร ดำ�เนินงาน ห้วงระยะเวลา รายละเอียดของงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ระบบติดตาม/ประเมิน ผล ตลอดจนผู้รับผิดชอบและเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ ซึ่งจะทำ�ให้ผู้ปฏิบัติงานมองเห็นภาพรวมและ เส้นทางการปฏิบัติงานจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้ายของงานได้อย่างชัดเจน รายละเอียดทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาได้เรียบเรียงไว้ใน ”คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน” เล่มนี้ เพือ่ ประโยชน์ สำ�หรับผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางดำ�เนินงาน เรียนรู้งานซึ่งกันและกัน อีกทั้ง ยังทำ�ให้สามารถทำ�งานทดแทนกันได้ในขณะที่ผู้รับผิดชอบไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติงานได้ รวมถึงเป็นข้อมูลในการติดตามงานของผู้บริหารด้วย.


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่วนที่ ๑ ความเป็นมาและความสำ�คัญ กรมการพัฒนาชุมชน ได้ริเริ่มการดำ�เนินการพัฒนาชุมชนด้วยการพัฒนาศักยภาพ ประชาชน ผู้นำ�ชุมชนและกลุ่มในชุมชน โดยมีแนวคิดพื้นฐานว่ามนุษย์มีคุณค่า สามารถพัฒนา ตนเองได้และจำ�เป็นต้องมีสังคมเอื้ออารีต่อกันมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม ในสังคมมนุษย์มอี งค์ประกอบย่อยภายในสังคม มีการแบ่งภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของแต่ละ บุคคลเพื่อปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การดำ�เนินการพัฒนาสังคมหรือชุมชน จึงต้องอาศัยกลไกที่มีศักยภาพแสดงบทบาทในการบริหารจัดการพร้อมทั้งใช้พลังความร่วมมือ ของสมาชิกชุมชนในการป้องกันแก้ไขปัญหาและพัฒนา อย่างไรก็ตามการบริหารจัดการของกลไก อยูบ่ นพืน้ ฐานของการสร้างภาวะผูน้ �ำ ให้เกิด กับสมาชิกชุมชน กลุ่มองค์การ ใช้กระบวนการแผนชุมชนเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ข้อมูลของ ชุมชน คำ�นึงความแตกต่างของบริบทของแต่ละชุมชน เช่น วิถชี วี ติ ทัศนคติ ค่านิยม กรอบความคิด วัฒนธรรม ประเพณี สภาพแวดล้อม ฯลฯ คาดหมายแนวโน้มสถานการณ์ชุมชน กำ�หนดทิศทาง การพัฒนา กิจกรรมการปฏิบตั กิ ารโดยใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูเ่ ป็นสำ�คัญ ด้วยความรับผิดชอบร่วมกัน ในการตัดสินใจและผลักดันงานร่วมกัน อาศัยความสัมพันธ์ของคนในชุมชน เพื่อดำ�เนินกิจกรรม ตามแผนชุมชน ภายใต้กรอบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำ�รงชีวิตของประชาชน ที่ชี้ถึง แนวการดำ�รงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ยึดทางสายกลาง มีความพอเพียง พอประมาณ ความมีเหตุผล มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ�ชุมชน นำ�องค์ความรู้วิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำ�เนินการทุกขั้นตอน เสริมสร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชุมชน ให้มีสำ�นึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ ที่เหมาะสม ดำ�เนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เกิดการ เรียนรู้ของสมาชิกชุมชน มีการจัดการความรู้ของชุมชน เกิดแหล่งเรียนรู้ ซึ่งจะเป็นศูนย์กลาง ในการพบปะ แลกเปลีย่ น เรียนรู้ ข้อมูลต่าง ๆ มีองค์ความรู้ เพือ่ ใช้ในการค้นคว้าและแก้ไขปัญหา ของชุมชน นำ�ไปสู่ประกอบอาชีพ สร้างรายได้ และดำ�เนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ เป็นกระบวนการ เรียนรูข้ องชุมชนร่วมกับภาคีการพัฒนา โดยการร่วมคิด ร่วมแก้ไขปัญหา รวมกำ�หนดทิศทางการ

45


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

46

พัฒนา ที่ทำ�ให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างเป็นระบบ จนชุมชนมีระบบการบริหารจัดการ ชุมชนด้วยศักยภาพและความสามารถของชุมชน ทำ�ให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็งพึ่งตนเองได้ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ รัฐบาลได้ด�ำ เนินการปฏิรปู ระบบราชการ ซึง่ ผลจากการปฏิรปู ดังกล่าว ทำ�ให้ภาครัฐมีการกำ�หนดยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๕๐) โดยเป้าหมาย สำ�คัญของแผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ คือ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (หรือทีเ่ รียกกัน โดยย่อว่า PMQA) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วนใหญ่ ๆ คือ ๑. ลักษณะสำ�คัญขององค์กร ๒. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วย ๗ หมวด คือ หมวด ๑ การนำ�องค์กร หมวด ๒ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด ๓ การให้ความสำ�คัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ หมวด ๗ ผลลัพธ์การดำ�เนินการ กรมการพัฒนาชุมชนได้ตระหนักถึงความสำ�คัญในการพัฒนาองค์กร จึงได้เข้าร่วม ดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยในปีแรก ได้ท�ำ การ ประเมินองค์กร กำ�หนดกลุม่ ผูร้ บั บริการ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และนำ�ประเด็นการส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากและการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการชุมชน มาเป็นหัวข้อสำ�คัญในการจัด ทำ�กระบวนการ ตามหมวด ๖ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๕ กรมการพัฒนาชุมชนได้มีการปรับปรุงและพัฒนากระบวนงาน ในหมวด ๖ โดยจำ�แนกเป็นกระบวนการสร้างคุณค่า จำ�นวน ๖ กระบวนการ และกระบวนการ สนับสนุน จำ�นวน ๑๐ กระบวนการดังนี้ กระบวนการสร้างคุณค่า ได้แก่ ๑. กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๒. กระบวนการส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ๓. กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๔. กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ๕. กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๖. กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

กระบวนการสนับสนุน ได้แก่ ๑. กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ๒. กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ๓. กระบวนการจัดการความรู้ ๔. กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๕. กระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๖. กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๗. กระบวนการบริหารงบประมาณ ๘. กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ๙. กระบวนการประชาสัมพันธ์ ๑๐. กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ กระบวนการส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน เป็นกระบวนการหนึ่งที่จะทำ�ให้ เป้าหมายขององค์กรบรรลุผลนั่นคือ “ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน” ซี่งกระบวนการดังกล่าวจะมี กระบวนงาน กิจกรรม ที่จะทำ�ให้ กระบวนการย่อยส่งเสริมแผนชุมชน กระบวนการย่อยส่ง เสริมการจัดการความรูช้ มุ ชน และกระบวนการย่อยพัฒนาหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ใช้เป็นเครื่องมือในการดำ�เนินงานส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งได้ในที่สุด กรมการพัฒนาชุมชน ได้จดั ทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน เพือ่ กำ�หนดมาตรฐานการปฎิบตั งิ าน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการนำ�กระบวนการไปปฎิบัติตามข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ โดยแสดงให้เห็นจุดเริ่ม ต้นและจุดสิน้ สุดของงาน เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้ใช้อา้ งอิง มิให้เกิดความผิดพลาดในการทำ�งาน และ สร้างความเข้าใจก่อให้เกิดความพึงพอใจ ซึง่ คูม่ อื การปฏิบตั งิ านประกอบด้วยแผนผังกระบวนการ และมาตรฐานคุณภาพงาน ซึ่งเป็นข้อกำ�หนดในการปฏิบัติงานทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เกี่ยวข้องและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ ส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชนที่ชัดเจน ซึ่งจะส่งผลให้การ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลตามเป้าหมายต่อไป ๒. เพือ่ ทบทวนการดำ�เนินงานและนำ�มาปรับปรุงกระบวนการสร้างคุณค่าของกรมการ พัฒนาชุมชนให้เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์

47


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ขอบเขตของกระบวนการ การจัดทำ�กระบวนการส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชนของกรมการพัฒนา ชุมชน มีเนื้อหาที่ครอบคลุม ๓ กระบวนการย่อย ได้แก่ กระบวนการย่อยส่งเสริมแผนชุมชน กระบวนการย่อยส่งเสริมการจัดการความรู้ชุมชน และ กระบวนการย่อยพัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ โดยทุกกระบวนการย่อย ได้อธิบายรายละเอียดของการดำ�เนินงาน แต่ละขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินงาน ตลอดจนเอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้อง กับการดำ�เนินงานส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีเ่ ป็นไปตาม เป้าหมายของกรมการพัฒนาชุมชน

กรอบแนวคิด 48

“การทำ�ให้ชุมชนเข้มแข็ง ไม่สามารถทำ�ได้โดยใช้การบริหารจัดการการพึ่งพาจาก บุคคลภายนอกชุมชน” การพัฒนาหมู่บ้านชุมชนให้เข้มแข็ง คือ การบริหารจัดการพัฒนาหมู่บ้านหรือชุมชน ประชาชนให้มีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงและอยู่ดีมีสุข ด้วยการน้อมนำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นกรอบแนวทางในการดำ�เนินงานโดยเน้น ประชาชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ตามสภาพภูมสิ งั คมของแต่ละหมูบ่ า้ นชุมชน โดยการประสาน พลังการพัฒนาจากภายในชุมชน (Outside-in) โดยกระบวนการแผนชุมชน ทีจ่ ะบอกทิศทางการ แก้ไขปัญหา/พัฒนาของหมูบ่ า้ นชุมชน ด้วยความรับผิดชอบร่วมกันของคนในชุมชน และพลังการ ส่งเสริม สนับสนุน ของหน่วยงานจากภายนอก ในการจัดกิจกรรมเพือ่ สร้างการเรียนรูแ้ ละพัฒนา ทักษะชีวิตของชุมชน และยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ ในหมู่บ้าน มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพิ่มความสามารถของชุมชนให้สามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ กำ�หนดเป็นจุดเรียนรู้ ในหมู่บ้าน มีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อจัดกิจกรรม ให้การเรียนรู้ร่วมกันของคนในหมู่บ้าน หรือชุมชน ให้การเรียนรู้แก่ผู้สนใจจากภายนอกชุมชน และเป็นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ร่วมกับภาคีการพัฒนา โดยการร่วมคิด ร่วมแก้ไขปัญหา รวมกำ�หนดทิศทางการพัฒนา ที่ทำ�ให้ ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างเป็นระบบ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการ กรมการพัฒนาชุมชน ได้กำ�หนดข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ของกระบวนการส่งเสริมระบบ การบริหารจัดการชุมชน โดยนำ�ข้อมูลที่ได้จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาประกอบ ในการจัดทำ� ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ดังนี้ กระบวนการย่อย ๑. ส่งเสริมแผนชุมชน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของ กระบวนการย่อย

ตัวชี้วัดที่สำ�คัญของ กระบวนการย่อย

๑. มีกระบวนการส่งเสริมการ จัดทำ�แผนชุมชน ๒. มีแผนชุมชนที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน จนเป็นที่ ยอมรับ ๓. มีการบูรณาการแผนชุมชน เพื่อเชื่อมโยงกับแผนของ ท้องถิ่น และแผนของอำ�เภอ/ จังหวัด รวมทั้งหน่วยงานอื่นๆ

๑. ขั้นตอนตามกระบวนการ จัดทำ�แผนชุมชนที่มี ประสิทธิภาพ ๒. จำ�นวนแผนชุมชนเชิง บูรณาการ ๓. จำ�นวนแผนชุมชนที่ผ่าน การรับรองมาตรฐานแผน ชุมชน และถูกนำ�ไปใช้ ประโยขน์

๒. ส่งเสริมการจัดการความ รู้ชุมชน

๑. มีกระบวนการส่งเสริมการ จำ�นวนศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ จัดการความรู้ของชุมชน เป็นศูนย์เรียนรู้สมบูรณ์แบบ

๓. พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบ

๑. ชุมชนนำ�หลักปรัชญาของ ร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ เศรษฐกิจพอเพียงที่มีความสุข ดำ�รงชีวิต มวลรวมเพิ่มขึ้น

คำ�จำ�กัดความ การบริหารจัดการชุมชน หมายถึง ชุมชนที่มีกระบวนการในการจัดการของชุมชนกับ การพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยชุมชนจะมีระบบข้อมูล มีแผนชุมชน มีการจัดเวทีแลก เปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีการนำ�แผนไปใช้ประโยชน์ มีการจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อเป็นแหล่ง ถ่ายทอดเรียนรู้องค์ความรู้ของชุมชน นำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นกรอบแนวคิด แนวทางในการพัฒนาและมีผู้นำ� กลุ่มองค์กร เครือข่ายองค์กร และชุมชนที่ผ่านมาตรฐาน นำ�ไป สู่ความเข้มแข็งของชุมชนที่ยั่งยืน

49


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

50

แผนชุ ม ชน หมายถึ ง การกำ � หนดอนาคตและกิ จ กรรมการพั ฒ นาของชุ ม ชน โดยเกิดขึ้นจากคนในชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมกำ�หนดแนวทางและทำ�กิจกรรมการพัฒนาร่วมกัน ยึดหลักการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพาภายนอก คำ�นึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเป็นหลัก กล่าวได้ว่า แผนชุมชนเป็นของชุมชน ดำ�เนินการ โดยชุมชนและเพือ่ ประโยชน์ของชุมชนเอง ทบทวนปรับปรุงได้ตามสถานการณ์เหมาะสม ซึง่ แตกต่าง จากแผนที่ภาครัฐจัดทำ�ขึ้นเพื่อการจัดสรรงบประมาณเป็นหลัก การจัดการความรูช้ มุ ชน หมายถึง การส่งเสริมให้ชมุ ชนมีแหล่งเรียนรูเ้ ป็นศูนย์กลางใน การพบปะ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ข้อมูลต่าง ๆ มีองค์ความรู้ เพื่อใช้ในการค้นคว้าและแก้ไขปัญหา ของชุมชน นำ�ไปสู่การประกอบอาชีพ สร้างรายได้ และดำ�เนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หมายถึง หมู่บ้านที่นำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรับในการดำ�รงชีวติ ของประชาชนทีช่ ถี้ งึ แนวการดำ�รงอยูแ่ ละปฏิบตั ติ นของประชาชน ในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนาและบริหารจัดการ ให้ด�ำ เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ให้กา้ วทันต่อโลก ยุคโลกาภิวฒ ั น์ มีความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีระบบภูมคิ มุ้ กันในตัวทีด่ พี อสมควร อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ� องค์ความรู้วิชาการ ต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำ�เนินการทุกขัน้ ตอน เสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจของคนในชุมชน ให้มีสำ�นึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำ�เนินชีวิตด้วยความ อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

คำ�อธิบายคำ�ย่อที่ใช้ คู่มือการปฏิบัติงานเล่มนี้ มีการใช้คำ�ย่อ ดังต่อไปนี้ อพช./รองอพช.

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน/รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

สสช.

สำ�นักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

สพจ.

สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

สพอ.

สำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ

หน้าที่ความรับผิดชอบ กระบวนการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนนี้ มีหน่วยงานและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทีเ่ ป็น หน่วยผู้รับผิดชอบในการวางแผนการพัฒนา จัดทำ�แนวทางการดำ�เนินงาน ดำ�เนินงานตามแผน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการพัฒนา โดยมีหน่วยผู้รับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ หน่วยงานรับผิดชอบ

ความรับผิดชอบ

อธิบดีกรมการพัฒนา ๑. อนุมัติแผนงานโครงการกิจกรรมส่งเสริมการบริหาร ชุมชน/รองอธิบดี จัดการชุมชน ๒. แต่งตั้งคณะทำ�งานตามที่เห็นสมควร สำ�นักเสริมสร้างความ ๑. กำ�หนดนโยบาย แนวทาง การปฏิบัติและสนับสนุน เข้มแข็งชุมชน บริหารงานเกี่ยวกับการส่งเสริมการดำ�เนินงานตาม กระบวนการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน ๒. จัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน และแนวทางการ ดำ�เนินงาน ๓. สร้างความเข้าใจเจ้าหน้าที่และบุคคลเป้าหมาย

หมายเหตุ

51


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

หน่วยงานรับผิดชอบ

ความรับผิดชอบ ๔. ส่งเสริมการจัดการความรู้กระบวนการส่งเสริมการ บริหารจัดการชุมชน ๕. กำ�กับ ดูแล ติดตาม/ประเมินผล และรายงานต่อ ผู้บริหาร ๖. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนจังหวัด

๑. คัดเลือกพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ๒. สร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมายและ ภาคีที่เกี่ยวข้อง ๓. สนับสนุนการดำ�เนินงานตามกระบวนการส่งเสริม การบริหารจัดการชุมชน ๔. สนับสนุนสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอในการ ส่งเสริมแผนชุมชน การจัดการความรู้ชุมชน และ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เป็นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็ง ๕. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ

๑. คัดเลือกพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ๒. สร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมายและ ภาคีที่เกี่ยวข้อง ๓.สนับสนุนการดำ�เนินงานตามกระบวนการส่งเสริม การบริหารจัดการชุมชน ๔. สนับสนุนและส่งเสริมแผนชุมชน การจัดการความรู้ ชุมชน และหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็ง ๕. ติดตาม ประเมิลผล และรายงานผล

52

หมายเหตุ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่วนที่ ๒ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และติดตามประเมินผล กระบวนการส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ของกรมการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย ๓ กระบวนการย่อย คือ กระบวนการย่อยส่งเสริมแผนชุมชน กระบวนการย่อย ส่งเสริมการจัดการความรู้ชุมชน และกระบวนการย่อยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ซึ่งทั้ง ๓ กระบวนการย่อย จะส่งผลให้ชุมชนมีกระบวนงานในการบริหารจัดการชุมชน เกิดการ เรียนรู้ และมีกิจกรรมเพิ่มคุณค่าทุนทางสังคมและเศรษฐกิจของคนในชุมชน ภายใต้ระบบความ สัมพันธ์ของคนในชุมชน เป็นเครือข่ายความสัมพันธ์เพือ่ แก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนนำ�ไปสูช่ มุ ชน เข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ดังนี้ 

53


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

มาตรฐานคุณภาพการปฏิบัติงาน

กระบวนการย่อยส่งเสริมแผนชุมชน l กระบวนงานจัดทำ�แผนชุมชน l กระบวนงานประเมินคุณภาพแผนชุมชน l กระบวนงานบูรณาการแผนชุมชน l กระบวนงานรับรองมาตรฐานแผนชุมชน b กระบวนการย่อยส่งเสริมการจัดการความรู้ชุมชน l กระบวนงานพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ b กระบวนการย่อยพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ

b

เอกสารอ้างอิง 54

กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๑. คู่มือการพัฒนาแผนชุมชน ปี ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งแรก. ๓๔ หน้า กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๑. คู่มือ...ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ฉบับนักพัฒนา ปี ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งที่ ๑. ๘๐ หน้า กรมการพัฒนาชุมชนร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. ๒๕๕๑. คู่มือการประเมินคุณภาพแผนชุมชน ปี ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งแรก. ๑๙ หน้า กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๒. การพัฒนาแผนชุมชน ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน การบูรณา แผนชุมชนระดับอำ�เภอ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งแรก. ๒๔ หน้า กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๒. แนวทางการดำ�เนินงานส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน ปี ๒๕๕๒ . กรุงเทพฯ : เอกสารโรเนียว. ๓๘ หน้า


คู่มือการปฏิบัติงาน

กระบวนการส่ ง เสริ ม และ พัฒนาเศรษฐกิจรากฐาน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

56

คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน “กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก” จัดทำ�ขึน้ เพือ่ แสดงขั้นตอน วิธีการ กรอบระยะเวลา และมาตรฐานคุณภาพงาน ของกระบวนการตั้งแต่เริ่มต้น จนสิน้ สุดการดำ�เนินงาน โดยกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ในทีน่ ไี้ ด้น�ำ เสนอ เฉพาะกระบวนการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ การส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เป็นการแสดงถึงความเชื่อมโยงในการ ดำ�เนินงานว่ามีกระบวนการย่อยอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง มีขั้นตอนและมีความต่อเนื่องกันอย่างไร โดยแสดงเป็นแผนผังความเชื่อมโยง และแสดงรายละเอียดของแต่ละกระบวนการย่อยด้วย ทั้งนี้ กระบวนการย่อยดังกล่าว เริ่มต้นที่การส่งเสริมผู้ประกอบการ โดยมีการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP จากนั้นนำ�ฐานข้อมูลการลงทะเบียนมาใช้ในการดำ�เนินการรับสมัคร ผลิตภัณฑ์เข้าคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย เพื่อจัดระดับคุณภาพ/มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ และเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาความสามารถกลุม่ OTOP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP การพัฒนาเครือข่าย OTOP การส่งเสริมช่องทางการตลาด การพัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์ และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น นอกจากนี้ยังมี การพัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (OVC) กระบวนงานบันทึกและเผยแพร่ภมู ปิ ญ ั ญา OTOP ซึง่ กระบวนการย่อยดังกล่าวนีม้ กี ารดำ�เนินการ เชื่อมโยงกัน มีทั้งการดำ�เนินการไปพร้อมกันและการดำ�เนินการต่อเนื่องกัน โดยมีศูนย์บริการ ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร เป็นกลไกสำ�คัญในการสนับสนุนในด้านข้อมูล/องค์ความรูด้ า้ น เศรษฐกิจ การประสานความร่วมมือต่างๆ ซึ่งจะสนับสนุนทั้งส่วนของการพัฒนาอาชีพ และการ พัฒนาทุนชุมชน ตามความต้องการของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และกลุ่ม/องค์กรการเงิน การดำ�เนินการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เป็นกระบวนการที่ต้องให้ชุมชน และประชาชนเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนโดยสร้างการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายคือ ชุมชนมีความมั่นคงเศรษฐกิจ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่วนที่ ๑

การส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ความสำ�คัญในการจัดทำ�คู่มือ

การดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ของกรมการพัฒนาชุมชน ซึ่งมีความ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย และได้กำ�หนดตัวชี้วัด “ระดับความ สำ�เร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” เป็นตัวชี้วัดบังคับในมิติด้านการพัฒนา องค์การ กำ�หนดเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ ๗ หมวด โดย มีการดำ�เนินงานในหมวดที่ ๖ การจัดการ กระบวนการ ได้กำ�หนดให้ส่วนราชการมีการวิเคราะห์กระบวนการที่สำ�คัญที่ช่วยสร้างคุณค่าแก่ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจของส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการ สนับสนุนที่สำ�คัญต่างๆ ในปี ๒๕๕๕ กรมการพัฒนาชุมชน ได้วเิ คราะห์กระบวนการทีส่ �ำ คัญและได้น�ำ มาจัดทำ� คู่มือการปฏิบัติงาน จำ�นวน ๑๖ กระบวนการ ดังนี้ ๑. กระบวนการที่สร้างคุณค่า จำ�นวน ๖ กระบวนการ ประกอบด้วย ๑.๑ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๑.๒ การส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ๑.๓ การส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๑.๔ การเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ๑.๕ การพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๑.๖ การส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน

๒. กระบวนการสนับสนุน จำ�นวน ๑๐ กระบวนการ ประกอบด้วย ๒.๑ การวางแผนยุทธศาสตร์ ๒.๒ การบริหารทรัพยากรบุคคล ๒.๓ การจัดการองค์ความรู้

57


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

58

๒.๔ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และระบบข้อมูล สารสนเทศ ๒.๕ การกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๒.๖ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๒.๗ การบริหารงบประมาณ ๒.๘ การพัฒนาระบบราชการ ๒.๙ การประชาสัมพันธ์ ๒.๑๐ การพัฒนาอาคารสถานที่ ทั้งนี้ เมื่อกรมฯ ได้วิเคราะห์และกำ�หนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการ สนับสนุน ดังกล่าวแล้ว จึงได้จัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานของกระบวนการทั้ง ๑๖ กระบวนการ เพื่อกำ�หนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการนำ�กระบวนการไปปฏิบัติเพื่อให้ บรรลุตามข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ โดยแสดงให้เห็นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติ งานได้ใช้อา้ งอิงมิให้เกิดความผิดพลาดในการทำ�งาน ซึง่ คูม่ อื การปฏิบตั งิ านแต่ละเล่มจะประกอบ ด้วย แผนผังกระบวนการ และมาตรฐานคุณภาพงาน ซึ่งเป็นข้อกำ�หนดในการปฏิบัติงานทั้ง ในเชิงคุณภาพและปริมาณ เช่น ระบบงาน ระยะเวลาของกระบวนการ คุณภาพของผลผลิต ความคุ้มค่าของงาน เป็นต้น

วัตถุประสงค์

แผนที่ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ กำ�หนดวิสัยทัศน์องค์กร ไว้ว่า “ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง” ซึ่งภายใต้พันธกิจส่งเสริมการพัฒนาระบบกลไก และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กำ�หนดเป้าหมายภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ ยกระดับไปสูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพือ่ ตอบสนองต่อนโยบายผลิตภัณฑ์ OTOP ตอบสนอง ต่อนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่าง ยั่งยืนและมีคุณภาพ อันจะส่งผลให้ให้ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ครอบครัวมีคุณภาพ ชีวิตดีมีความสุข ดังนั้น กรมการพัฒนาชุมชนจึงกำ�หนดกระบวนการที่สำ�คัญในการสร้างคุณค่า ให้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ ตามภารกิจให้บรรลุ เป้าหมาย นำ�มากำ�หนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน “กระบวนการ ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก” ซึ่งมีวัตถุประสงค์ คือ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

“เพื่อใช้เป็นคู่มือ ในการดำ�เนินงานส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และเป็น เครือ่ งมือในการปฏิบตั งิ าน ให้บรรลุเป้าหมายภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ยกระดับไปสูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ อันจะส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข ตามยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชุมชน”

ขอบเขต

กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจสำ�คัญในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เพือ่ ส่งเสริมระบบ การจัดการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ โดยกระบวนการส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก มีสำ�นักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน เป็นผู้รับผิดชอบหลัก ในการจัดการและดำ�เนินงานตามกระบวนการ โดยดำ�เนินการครอบคลุมการขับเคลื่อนส่งเสริม สนับสนุนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ จัดทำ�แผนธุรกิจ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ภายใต้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านการขับเคลื่อนของเครือข่าย OTOP โดยการส่งเสริมและพัฒนา อาชีพเดิม สร้างเสริมอาชีพใหม่ พัฒนากลไกการตลาด สู่เป้าหมายอาชีพมั่นคง รายได้เพิ่มขึ้น มุ่งหวังให้ประชาชนในหมู่บ้านมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ โดยมีขอบเขตการส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก ประกอบด้วย ๔ กระบวนงาน ดังนี้ ๑. ส่งเสริมผู้ประกอบการ ๒. พัฒนาผลิตภัณฑ์ ๓. ส่งเสริมการตลาด ๔. สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีกระบวนการย่อยจำ�นวน ๑๐ กระบวนการย่อยคือ ๑. ลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ๒. ส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ๓. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย OTOP ๔. ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ๕. คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ๖. พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge-Based OTOP : KBO) ๗. ส่งเสริมช่องทางการตลาด ๘. พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๙. พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (OVC) ๑๐. ส่งเสริมและพัฒนาคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น

59


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

กรอบแนวคิด

60

กรมการพัฒนาชุมชนได้สง่ เสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากเพือ่ ให้มคี วามมัน่ คง และ มีเสถียรภาพ โดยมีเป้าหมายสุดท้าย คือ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ให้ประชาชน พึ่งตนเองได้ เป็นภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน ซึ่งได้มอบหมายภารกิจให้สำ�นักส่งเสริม ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และวิสาหกิจชุมชน เป็นหน่วยขับเคลือ่ นในการส่งเสริมอาชีพและวิสาหกิจชุมชน ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์ชุมชน การเพิ่ม มูลค่าผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ รวมถึงด้านการตลาด โดย มีกลยุทธ์ในการขับเคลื่อน ๒ กลยุทธ์ คือ ๑) ส่งเสริมการผลิตให้ได้มาตรฐาน ๒) ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ (Product Management) ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้ การดำ�เนินงานตามภารกิจที่รับผิดชอบของสำ�นักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น และ วิสาหกิจชุมชน ได้ด�ำ เนินกิจกรรมเพือ่ บรรลุเป้าหมายสุดท้ายตามภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน มีรายละเอียดดังนี้

๑. ลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP l แนวคิด การจำ�แนกกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เพื่อจัดทำ�ฐานข้อมูล ให้สามารถนำ� ไปใช้ในการกำ�หนดแผนการส่งเสริมและพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ l วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อจัดทำ�ฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ให้เป็นปัจจุบัน ๒. เพื่อใช้ประโยชน์ในการกำ�หนดแผนการส่งเสริมและพัฒนาได้อย่างเหมาะสม

๒. ส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP l แนวคิด ๑. การพัฒนาผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ให้สามารถบริหารจัดการกลุม่ ได้ สูก่ าร เป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ ๒. การพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด และ สนับสนุน ให้ชุมชนเข้าถึงองค์ความรู้สมัยใหม่ และแหล่งเงินทุน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

l วัตถุประสงค์ ๑. เพือ่ เพิม่ ทักษะผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ให้มคี วามรู้ และความชำ�นาญในการ ดำ�เนินงานด้านการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด และการจัดการทุน อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เพือ่ ส่งเสริมให้ผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP สามารถเข้าถึงแหล่งบริการทางด้าน เงินทุนจากหน่วยงานภาคราชการ องค์กรเอกชน และมีโอกาสได้รับความรู้ทางด้านวิชาการจาก หน่วยงานราชการต่างๆ ๓. เพือ่ ส่งเสริมให้ผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP สามารถจัดทำ�แผนธุรกิจและนำ�ไป ใช้ประโยชน์ในการดำ�เนินงานของกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔. เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดกระบวนการมีสว่ นร่วมของผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP และ ชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์

๓. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย OTOP l แนวคิด การส่งเสริมสินค้า OTOP ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นให้มีการพัฒนาด้านการผลิต การตลาด การบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบและยัง่ ยืน มีศกั ยภาพในการแข่งขันในตลาดภายใน และภายนอกประเทศ คือการสร้างโอกาสให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดแสดงผลงานที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น และการได้รับคำ�แนะนำ�จากภาครัฐ ภาคเอกชน ในการดำ�เนินงานโครงการหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งกลไกการขับเคลื่อนการดำ�เนินงาน โครงการฯ ที่ส่งผลให้โครงการหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คือการ พัฒนาเครือข่าย OTOP ในระดับ อำ�เภอ จังหวัด ภาค และระดับประเทศ l วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มศักยภาพของผู้ผลิต ประกอบการ OTOP โดยพัฒนาเครือข่าย OTOP เพื่อสร้างโอกาสให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการสินค้า OTOP ได้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน สามารถแข่งขันได้ในเชิงพาณิชย์ และเป็นช่องทางที่ส่งเสริมให้มีการ สืบทอดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ จากรุน่ สูร่ นุ่ อันเป็นการอนุรกั ษ์องค์ความรูท้ ไี่ ด้รบั การสัง่ สมให้ด�ำ รงอยู่ และสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน

61


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๔. ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก l แนวคิด กรมการพัฒนาชุมชน ดำ�เนินการส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนสร้างงาน สร้างอาชีพ ในรูปแบบของ กลุ่มอาชีพ กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และจะให้ความช่วยเหลือในด้าน ความรู้สมัยใหม่ และการพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการเพื่อเชื่อมโยงสินค้าจาก ชุมชนสูต่ ลาดภายนอก โดยใช้ศนู ย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากเป็นศูนย์รวมในการให้บริการ ข้อมูล องค์ความรู้ หรือเชื่อมประสานการให้การสนับสนุนจากแหล่งทุน แหล่งความรู้ และแหล่ง การตลาด ในลักษณะ One Stop Service l วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนเข้าถึงองค์ความรู้สมัยใหม่ และแหล่งเงินทุน ๒. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการประกอบอาชีพเพื่อก่อให้เกิดรายได้ 62

๕. คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย l แนวคิด การจัดระดับผลิตภัณฑ์ OTOP (Product Level) โดยจัดระดับดาวตามมาตรฐาน และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเสริมสร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เป็นที่ยอมรับแก่บุคคล ทั่วไป เป็นการกระตุ้นให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานตาม เกณฑ์มาตรฐานต่างๆ อย่างต่อเนื่อง l วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ (Product Level) ที่จะนำ�ไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development) ๒. เพื่อจัดระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Profile) ที่จะใช้ในการทำ�งานเชิงบูรณาการ ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ๓. เพื่อเสริมสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับแก่บุคคลทั่วไปจนสามารถ ใช้เป็นแหล่งสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กับชุมชน ๔. เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดกระบวนการมีสว่ นร่วมของผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP และ ชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๖. พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge-Based OTOP : KBO)

รัฐบาลได้สง่ เสริมบทบาทของภาคเอกชน ให้มสี ว่ นสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งแก่ ภาคประชาชน และการส่งเสริมบทบาทของสถาบันการศึกษาในชุมชนให้มสี ว่ นร่วมในการส่งเสริม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อผนึกกำ�ลังของทุกภาคส่วนในชุมชนขับเคลื่อน OTOP สู่ความ เข้มแข็งและยัง่ ยืนในรูปแบบของเครือข่ายองค์ความรู้ หรือ Knowledge – Based OTOP : KBO l แนวคิด การเชื่อมโยงองค์ความรู้ในท้องถิ่นกับชุมชนในการนำ�ภูมิปัญญาเพื่อพัฒนา OTOP ของชุมชน ภายใต้การเสริมสร้างความรู้ทักษะพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ OTOP ที่โดดเด่นให้มี คุณภาพมาตรฐานพร้อมออกสู่ตลาดภายนอกและตลาดสากลได้ โดยผลิตภัณฑ์ยังคงเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของชุมชนอย่างเด่นชัด l วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเครือข่ายองค์ความรู้ KBO ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างสถาบัน การศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ ฯลฯ ในการนำ� องค์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่มาผสมผสานบูรณาการกัน พัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาดั้งเดิมที่มีอยู่ ให้ได้ มาซึ่งผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่นของตนเอง

๗. ส่งเสริมช่องทางการตลาด l แนวคิด การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ให้แต่ละชุมชนสามารถใช้ทรัพยากร และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการพัฒนาสินค้า โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนเข้าถึงองค์ความรู้ แหล่งเงินทุน และพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการตลาด เพือ่ เชือ่ มโยงสินค้า จากชุมชนสูต่ ลาดทัง้ ในและต่างประเทศ และสร้างรายได้และลดรายจ่ายให้แก่ประชาชนในชุมชน l วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มช่องทางการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์หนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) เป็นการเชื่อมโยงสินค้าจากชุมชนสู่ตลาดทั้งในและประเทศ ๒. เพื่อพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการเรียนรู้การบริหารจัดการและ การตลาด

63


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๘. พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น l แนวคิด กรมการพัฒนาชุมชน ส่งเสริมการอนุรกั ษ์และสืบสานภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ในการผลิต สินค้า OTOP ผ่านกระบวนการเรียนรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์จากปราชญ์ชาวบ้าน สูเ่ ยาวชน เพื่อให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นดำ�รงอยู่และสืบทอดในสังคมไทยต่อไป ด้วยจิตสำ�นึกและตระหนักใน ความสำ�คัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม l วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างประสบการณ์ของเยาวชนในการอนุรักษ์ และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒. เพือ่ ส่งเสริมให้เยาวชนมีบทบาท และมีสว่ นร่วมในการถ่ายทอดด้านการอนุรกั ษ์ และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน ๓. เพือ่ ส่งเสริมเยาวชนให้ตระหนักถึงการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 64

๙. พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว l แนวคิด พัฒนาหมูบ่ า้ น OTOP เพือ่ การท่องเทีย่ ว เป็นการส่งเสริมให้หมูบ่ า้ นซึง่ มีผลิตภัณฑ์ ของชุมชนที่มีเอกลักษณ์ มีความโดดเด่น มีแหล่งท่องเที่ยว สามารถรองรับนักท่องเที่ยวที่เข้า มาเยี่ยมชม และใช้จ่ายในหมู่บ้าน โดยนักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ที่อบอุ่น ประทับใจ และ อยากกลับมาเที่ยวซ้ำ�อีกด้วยวิธีเชื่อมโยงสินค้า OTOP ให้สอดคล้องกับท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม วิถชี วี ติ แหล่งท่องเทีย่ วและบริการ โดยยึดกระบวนการการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในหมูบ่ า้ น เพือ่ สร้างรายได้ให้กบั ประชาชน เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยัง่ ยืน และก่อให้เกิดรายได้ ให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง l วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อค้นหาเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่นทั้งในด้านสินค้า วัฒนธรรมประเพณี ของหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว ๒. เพื่อเพิ่มรายได้ของประชาชนในหมู่บ้านจากการบริการด้านการท่องเที่ยวและ การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP บันทึกและเผยแพร่ภูมิปัญญา OTOP


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๑๐. ส่งเสริมและพัฒนาคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น l แนวคิด กรมการพัฒนาชุมชน ได้ดำ�เนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP อย่างต่อเนื่อง ตามนโยบายของรัฐบาล ดังปรากฏผลสำ�เร็จในแต่ละชุมชนทั่วประเทศ ซึ่งได้ประยุกต์น�ำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นดั่งเดิมมาใช้ประกอบการผลิตอย่างเป็นรูปธรรม และต่อยอด สูค่ วามสำ�เร็จ ซึง่ กรมฯ ได้น�ำ องค์ความรูภ้ มู ปิ ญ ั ญา OTOP ดังกล่าวทีเ่ ป็นผลิตภัณฑ์เด่น มานำ�เสนอ ในรูปแบบเว็บไซต์เพื่อเป็นการอนุรักษ์ สืบสานภูมิปัญญา OTOP และเป็นศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญา OTOP แก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP รายใหม่ที่ยังอยู่ระหว่างการพัฒนา และประชาชนทั่วไป ที่ต้องการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ OTOP อีกทั้งยังใช้เป็นกรณีศึกษาวิธีการพัฒนา ภูมิปัญญาในแต่ละท้องถิ่น l วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อบันทึก และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นผลิตภัณฑ์เด่น ของแต่ละจังหวัด ๒. เพื่อเป็นช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการบันทึก ผ่านเว็บไซต์

คำ�จำ�กัดความ OTOP ย่ อ มาจาก “One Tambon One Product” หมายถึ ง “หนึ่ ง ตำ � บล หนึ่งผลิตภัณฑ์” เป็นการส่งเสริมกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ด้วยการนำ�เอาภูมิปัญญา และทรัพยากรของท้องถิน่ ทีม่ อี ยูม่ าพัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ (Product) ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้บริโภค ทำ�ให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ การลงทะเบียน หมายถึง การรับลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP สำ�หรับผู้ที่ เคยลงทะเบียน และผู้ที่ยังไม่เคยลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP หมายถึง ผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ๓ ประเภท ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิตชุมชน ผู้ผลิตชุมชนที่เป็นเจ้าของรายเดียว และผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMES)

65


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

66

กลุ่มผู้ผลิตชุมชน หมายถึง กลุ่มคนที่รวมตัวกันเป็นกลุ่มในชุมชน ผลิตสินค้าที่แสดง ความเป็นไทย หรือภูมปิ ญ ั ญาไทย และสมาชิกในกลุม่ ร่วมกันผลิต ร่วมกันบริหารจัดการ และร่วม รับผลประโยชน์ ผูผ้ ลิตชุมชนทีเ่ ป็นเจ้าของรายเดียว หมายถึง บุคคลใดบุคคลหนึง่ ในชุมชนทีผ่ ลิตสินค้า ที่แสดงความเป็นไทยหรือภูมิปัญญาไทย และมีความเชื่อมโยงกับชุมชนในข้อใดข้อหนึ่ง ได้แก่ การที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิต หรือมีการจ้างแรงงานในชุมชน หรือมีการใช้วัตถุดิบในชุมชน หรือมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ หรือมีส่วนร่วมได้รับผลประโยชน์ ผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หมายถึง ผู้ผลิตผู้ประกอบการที่ จดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คล ได้แก่ บริษทั จำ�กัด ห้างหุน้ ส่วนสามัญ ซึง่ ผลิตสินค้าทีแ่ สดงความเป็นไทย หรือภูมปิ ญ ั ญาไทยและมีความเชือ่ มโยงกับชุมชนในข้อใดข้อหนึง่ ได้แก่ การทีช่ มุ ชนมีสว่ นร่วมใน การผลิต/จ้างแรงงานในชุมชน/ใช้วตั ถุดบิ ในชุมชน หรือมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการหรือมีสว่ นร่วม ได้รับผลประโยชน์ โดยมีสินทรัพย์ลงทุนไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท เครือข่าย OTOP หมายถึง องค์กรของเครือข่ายผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ระดับ อำ�เภอ ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ ทีม่ กี ารรวมตัวกันจัดตัง้ เป็นองค์เครือข่ายโดย มีความเชือ่ มโยงต่อกันตามโครงสร้าง บทบาท และหน้าที่ เพือ่ ขับเคลือ่ นการดำ�เนินโครงการหนึง่ ตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product Champion : OPC) หมายถึง การจัดระดับผลิตภัณฑ์ เพื่อการส่งเสริมให้ได้ผลิตภัณฑ์ OTOP ของแต่ละชุมชน ได้ รั บ โอกาสในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพให้ ไ ด้ ม าตรฐานจนสามารถเชื่ อ มโยงสู่ ต ลาดทั้ ง ในและ ต่างประเทศ ประเภทผลิตภัณฑ์ในการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม คือ ๑) ประเภทอาหาร ๒)ประเภทเครื่องดื่ม ๓) ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย ๔) ประเภท ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก ๕) ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร เครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge – Based OTOP : KBO) จังหวัด หมายถึง คณะบุคคลที่เข้าไปส่งเสริมให้กลุ่มผู้ผลิต OTOP ผลิตสินค้าให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน โดยการ เชื่อมโยงแหล่งความรู้ในท้องถิ่นกับชุมชน เพื่อนำ�ภูมิปัญญาพัฒนาขีดความสามารถผู้ผลิตชุมชน และผลิตภัณฑ์ OTOP ซึ่งเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด ประกอบด้วย สถาบันการศึกษาใน พืน้ ทีจ่ งั หวัด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เช่น อบต. อบจ. เทศบาล, เครือข่ายกลุม่ ผูผ้ ลิต OTOP, หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง, ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ผลิตภัณฑ์ OTOP ได้รบั การยกระดับมาตรฐาน หมายถึง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ให้มีรูปแบบสวยงาม ทันสมัย มีคณ ุ ภาพ และมีโอกาสทางการตลาดมากขึน้ โดยนำ�ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแสดงและจำ�หน่ายสินค้า OTOP หมายถึง การแสดงผลงาน สินค้า ผลิตภัณฑ์ และ จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ให้คนทั่วไปได้ชมและเลือกซื้อ ในระดับภูมิภาค และระดับประเทศ การเป็นผูป้ ระกอบการ หมายถึง กลุม่ ผูผ้ ลิตชุมชนมีคณ ุ ลักษณะหรือองค์ประกอบครบ ๔ ข้อ จาก ๕ ข้อ ดังนี้ ๑) มีความสามารถในการเข้าถึงแหล่งทุน หมายถึง กลุ่มมีโอกาสที่จะได้รับบริการจาก แหล่งทุนต่างๆ เพือ่ นำ�มาบริหารจัดการกลุม่ ซึง่ อาจเป็นทัง้ ทุนภายนอกชุมชนหรือทุนภายในชุมชน ๒) มีการบริหารจัดการ หมายถึง กลุ่มมีการจัดทำ�แผนธุรกิจ ครบทั้ง ๔ แผน ประกอบ ด้วย แผนการบริหารจัดการ แผนการผลิต แผนการตลาด และแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ๓) ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ ได้รบั รองมาตรฐาน หมายถึง ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ ได้รบั การรับรอง มาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น อย. มอก. มผช. ฮาลาล คิว (Qmark) GAP GMP HACCP และ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เป็นต้น ๔) กลุม่ มีชอ่ งทางการตลาดอย่างน้อย ๓ ช่องทาง หมายถึง กลุม่ มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม การจำ�หน่ายสินค้า ณ ที่ใดที่หนึ่ง อย่างน้อย ๓ ครั้ง เช่น ที่ทำ�การกลุ่ม ในหมู่บ้าน ตำ�บล อำ�เภอ จังหวัด และหรือระดับประเทศ ๕) กลุม่ มีรายได้คมุ้ ทุน หมายถึง กลุม่ มีการดำ�เนินกิจกรรม และเกิดรายได้คมุ้ ทุน (อย่าง น้อยลงทุนไปแล้วไม่ขาดทุน หรือมีกำ�ไร) ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก หมายถึง ศูนย์กลางการให้บริการทางวิชาการ และพัฒนาขีดความสามารถด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนอย่างครบวงจร โดยเป็นช่องทาง ในการเชื่อมโยงการใช้ทรัพยากรจากแหล่งทุน แหล่งผลิต แหล่งตลาด แหล่งความรู้ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน และเป็นกลไกขับเคลื่อนให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการแหล่งทุน กลุม่ อาชีพ กลุม่ ผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP สำ�หรับการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้แก่ ชุมชน เพือ่ ส่งผลต่อประชาชนในหมูบ่ า้ นให้มคี วามมัน่ คงทางเศรษฐกิจฐานราก ด้วยการสนับสนุน และส่งเสริมเชื่อมโยงการพัฒนาชุมชน ระหว่างภาคีการพัฒนาในระดับอำ�เภอ เยาวชน หมายถึง เยาวชนทายาทผูผ้ ลิต OTOP หรือเยาวชนนอกระบบการศึกษาและ ในระบบการศึกษา อายุระหว่าง ๑๕ - ๒๕ ปี มีสัญชาติไทย เป็นผู้ใฝ่รู้ กล้าคิดอย่างสร้างสรรค์ เป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดี เปิดใจกว้างที่จะเรียนรู้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้

67


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

หน้าที่ความรับผิดชอบ กรมการพัฒนาชุมชน มีหน่วยงานในสังกัดทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบหลักในการส่งเสริมและ พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก คือ สำ�นักส่งเสริมภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และวิสาหกิจชุมชน สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนจังหวัด และสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ โดยตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมการ พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ ระบุอำ�นาจหน้าที่ไว้ดังนี้ หน่วยงาน

อำ�นาจหน้าที่

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน/ ๑. อนุมัติแผนงาน โครงการกิจกรรม รองอธิบดี ๒. แต่งตั้งคณะทำ�งานตามที่เห็นสมควร

68

สำ�นักส่งเสริมภูมิปัญญา ๑. ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจ ท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ชุมชน เพื่อกำ�หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบ และแนวทางในการพัฒนา และส่งเสริมอาชีพและวิสาหกิจ ชุมชนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ดำ�เนินการและประสานงานโครงการเกี่ยวกับการส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์ชุมชน ๓. ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาและ เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และบริการ ของชุมชน ๔. ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการรวมถึง ด้านการตลาด ๕. ประสานงานกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชน ตามความรับผิดชอบของส่วนราชการ ๖. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

หน่วยงาน

อำ�นาจหน้าที่

สำ�นักงานพัฒนาชุมชน จังหวัด

๑. ศึกษากรอบ แนวทางการดำ�เนินงานโครงการ/กิจกรรม ๒. กำ�หนดรูปแบบการดำ�เนินโครงการ/กิจกรรม ตามแนวทางที่กรมฯ กำ�หนด ๓. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายตามหลักเกณฑ์ที่มีคุณสมบัติ ครบถ้วน ๔. จัดทำ�บัญชีรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๕. ดำ�เนินการฝึกอบรม ๖. ติดตาม สนับสนุน การดำ�เนินงานระดับอำ�เภอ ๗. ถอดบทเรียน ๘. ประชาสัมพันธ์การดำ�เนินงาน ๙. ประเมินผลการดำ�เนินงาน ๑๐. รายงานผลการดำ�เนินงานให้กรมฯ ทราบ

สำ�นักงานพัฒนาชุมชน อำ�เภอ

๑. ศึกษากรอบ แนวทางการดำ�เนินงานโครงการ/กิจกรรม ๒. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายตามหลักเกณฑ์ที่มีคุณสมบัติ ครบถ้วน ๓. ประสานกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ๔. จัดทำ�ทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย ๕. ติดตาม สนับสนุน ให้ข้อเสนอแนะ และคำ�ปรึกษา ในการดำ�เนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ๖. วิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน โครงการ/กิจกรรม ๗. ประเมินผลการดำ�เนินงาน ๘. รายงานผลการดำ�เนินงานให้จังหวัดทราบ

69


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก มีข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ซึ่งกรมฯ กำ�หนดขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเป็น เงื่อนไขที่นำ�มาออกแบบกระบวนการเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้สว่ นเสียของกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ข้อกำ�หนดทีส่ �ำ คัญดังกล่าว มีดังต่อไปนี้

70

กระบวนการ

ข้อกำ�หนดสำ�คัญ

ตัวชี้วัดของข้อ กำ�หนด

ส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก (กระบวนการย่อย ส่งเสริมผู้ประกอบการ)

- พัฒนากลุ่ม OTOP ให้มีมาตรฐานการ เป็นผู้ประกอบการ - การลงทะเบียน มีความถูกต้อง โปร่งใสและเป็นธรรม - ศูนย์บริการส่งเสริม เศรษฐกิจฐานรากให้ บริการด้านเศรษฐกิจ - พัฒนาศักยภาพ เครือข่าย OTOP เพื่อให้มีแนวทางการ ดำ�เนินงานของ เครือข่าย OTOP ประเภทผลิตภัณฑ์

- จำ�นวนกลุ่มที่มี ขีดความสามารถ ในการบริหารจัดการ - มีฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP - จำ�นวนศูนย์บริการ ส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก (๘๗๘ ศูนย์) - มีแนวทางการ ดำ�เนินงานของ เครือข่าย OTOP ประเภทผลิตภัณฑ์ เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และ สนับสนุนให้มีการจัด ตั้งเครือข่าย OTOP ประเภทผลิตภัณฑ์ (Cluster) ระดับ จังหวัดทั้ง ๕ ประเภท ผลิตภัณฑ์

ตัวชี้วัดของ กระบวนการ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

กระบวนการ

ข้อกำ�หนดสำ�คัญ

ตัวชี้วัดของข้อ กำ�หนด

ตัวชี้วัดของ กระบวนการ

ส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก (กระบวนการย่อย พัฒนาผลิตภัณฑ์)

ผลิตภัณฑ์ OTOP มีคุณภาพมาตรฐาน ได้รับการยอมรับ

จำ�นวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ได้รับการ รับรองโดย KBO จังหวัด

ส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก (กระบวนการย่อย ส่งเสริมช่องทางการ ตลาด)

ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP มีช่องทางการ ตลาด และ ได้รับการ พัฒนาศักยภาพการ บริหารจัดการด้าน การตลาด

จำ�นวนกลุ่มผู้ผลิต ความพึงพอใจของ ผู้ประกอบการ OTOP ผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ ที่เข้าร่วมแสดงและ OTOP จำ�หน่ายสินค้า

ส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก (กระบวนการย่อย สืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่น)

มีการบันทึกและเผย จำ�นวนภูมิปัญญา แพร่ข้อมูลภูมิปัญญา OTOP ที่ได้รับการ OTOP และ บันทึกและเผยแพร่ ประสิทธิผล

ความพึงพอใจของ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP

มาตรฐานงาน กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก มีมาตรฐานงานของกระบวนการ ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เป็นวิธีการในการปฏิบัติงาน ซึ่งกำ�หนดขึ้นเพื่อให้บุคลากรหรือ ผู้เกี่ยวข้องนำ�ไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามข้อกำ�หนดสำ�คัญ สามารถปฏิบัติกระบวนการและส่งต่อ บริการได้สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาตรฐานงานของ กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก มีดังต่อไปนี้ กระบวนการ กระบวนการส่งเสริม และพัฒนาเศรษฐกิจ ฐานราก

มาตรฐานเชิงปริมาณ (ถ้ามี) มาตรฐานเชิงคุณภาพ (ถ้ามี)

71



คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๒ แผนผังของกระบวนการ กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (Work Flow)

73


74

กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > ลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ๑.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > ส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ๑.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

75


76

กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > พัฒนาศักยภาพเครือข่าย OTOP ๑.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ๑.๔

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

77


78

กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ > กระบวนการย่อยการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์

๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ > กระบวนการย่อยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO

๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

79


80

กระบวนการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ > กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ > กระบวนการย่อยการส่งเสริมช่องทางการตลาด

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

81


82

กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก : กระบวนการย่อยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น : กระบวนการย่อยโครงการพัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์ สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและพัฒนาอาชีพ

๔.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

83


84

กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก : กระบวนการย่อยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น : กระบวนงานพัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว

๔.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก : กระบวนการย่อยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น : กระบวนงานส่งเสริมและพัฒนาคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น

๔.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

85



คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๓ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (Work Flow) ประกอบด้วย กระบวนการ ๔ กระบวนการย่อย ดังนี้ ๑. ส่งเสริมผู้ประกอบการ ๑.๑ ลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ๑.๒ ส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ๑.๓ พัฒนาศักยภาพเครือข่าย OTOP ๑.๔ ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ๒. พัฒนาผลิตภัณฑ์ ๒.๑ คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ๒.๒ พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge-Based OTOP : KBO) ๓. ส่งเสริมช่องทางการตลาด ๓.๑ ส่งเสริมช่องทางการตลาด ๔. สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๔.๑ พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๔.๒ พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (OVC) ๔.๓ ส่งเสริมและพัฒนาคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งมีขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล ดังต่อไป

87


88

กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > ลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP

๑.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

89


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

90


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > ส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP

๑.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

91


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

92


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

93


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

94


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

95


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

96


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > พัฒนาศักยภาพเครือข่าย OTOP

๑.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

97


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

98


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

99


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

100


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยส่งเสริมผู้ประกอบการ > ศุนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก

๑.๔

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

101


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

102


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

103


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

104


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ > กระบวนการย่อยการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์

๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

105


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

106


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

107


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

108


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ > กระบวนการย่อยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO

๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

109


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

110


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

111


112

กระบวนการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ > กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ > กระบวนการย่อยการส่งเสริมช่องทางการตลาด

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

113


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

114


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

115


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

116


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อย > การพัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

117


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

118


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

119


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

120


กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อย > พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (OVC)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

121


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

122


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

123


124

กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก > กระบวนการย่อยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น > กระบวนงานส่งเสริมและพัฒนาคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น

๔.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

125


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

126


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสาร/แบบฟอร์มที่ใช้ ประกอบคู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ชื่อเอกสาร

ผู้รับผิดชอบ

สถานที่จัดเก็บ ระยะเวลา

วิธีการจัดเก็บ

๑.แบบการลงทะเบียน สำ�นักงาน ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ พัฒนาชุมชน OTOP อำ�เภอ

คู่มือการลง อย่างน้อย จัดเก็บตามประเภท ทะเบียนผู้ผลิต ๒ ปี ผลิตภัณฑ์ OTOP ผู้ประกอบการ OTOP ปี ๒๕๕๕

๒.เอกสารแนวทาง/ กลุ่มงานส่ง หลักเกณฑ์การเข้าร่วม เสริมการตลาด โครงการฯ สำ�นักส่งเสริม ภูมิปัญญาท้อง ถิ่นและวิสาหกิจ ชุมชน

สำ�นักส่งเสริม ภูมิปัญญา ท้องถิ่นและ วิสาหกิจชุมชน กรมการ พัฒนาชุมชน

๑ ปี

จัดเป็นแฟ้มเอกสาร แยกตามกิจกรรม 127


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสารอ้างอิง

128

๑. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. คูม่ อื การปฏิบตั งิ านมาตรฐานกระบวนการส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก. กรุงเทพฯ บริษัท บีทีเอสเพรส จำ�กัด ๒. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. คูม่ อื การลงทะเบียนผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP. กรุงเทพฯ บริษัท บีทีเอสเพรส จำ�กัด ๓. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๔. คูม่ อื การปฏิบตั งิ านมาตรฐานกระบวนการส่งเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก. กรุงเทพฯ ๔. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๕. แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ ๕. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๔. แนวทางการอบรมเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพด้านการ บริหาร จัดการ การผลิต การตลาด และการจัดการทุน ประจำ�ปี ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ ๖. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๔๘. แนวทางการดำ�เนินงานเครือข่าย OTOP. กรุงเทพฯ : บริษัท บีทีเอสเพรส จำ�กัด


คู่มือการปฏิบัติงาน

กระบวนการเสริมสร้างการ บริ ห ารจั ด การทุ น ชุ ม ชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

130

สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน เป็นผูร้ บั ผิดชอบหลักในกระบวนการเสริมสร้าง การบริหารจัดการทุนชุมชน สำ�หรับในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ สำ�นักฯ ได้ดำ�เนินการใน ๒ กระบวนงาน ดังนี้ ๑. กระบวนงานส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน ประกอบด้วยกระบวนงานย่อย จำ�นวน ๔ กระบวนงาน ได้แก่ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนา กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุน กข.คจ. การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน กระบวนงานนี้เป็นกระบวนงานที่มุ่งเน้นให้ชุมชนมีแหล่งทุนในการประกอบอาชีพแก้ไขปัญหา ความยากจน และจัดสวัสดิการชุมชนภายใต้หลักธรรมาบาล ๒. กระบวนงานส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาทุนชุมชน ประกอบด้วยกระบวนงานย่อย จำ�นวน ๒ กระบวนงาน ได้แก่ การส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนา การจัดทำ�คลังข้อมูลทุนชุมชน และการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชน ตามแนวพระราชดำ�ริ กระบวนงานนีเ้ ป็นกระบวนงาน ที่มุ่งเน้นให้ชุมชนสามารถใช้ทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและใช้ประโยชน์จากทุนชุมชน ปัจจุบนั การบริหารจัดการทุนชุมชน ต้องมีการบริหารจัดการทุนชุมชนตามหลักธรรมา ภิบาลและมีความมั่นคงยั่งยืน มีแหล่งทุนในการประกอบอาชีพ แก้ไขปัญหาความยากจน และ จัดสวัสดิการชุมชน ชุมชนสามารถใช้ทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและใช้ประโยชน์จาก ทุนชุมชน เพื่อเป็นการสร้างจิตสำ�นึกของคนในชุมชน และพัฒนาผู้นำ�ให้มีความสามารถในการ บริหารจัดการทุนชุมชน การใช้ประโยชน์และการบำ�รุงรักษาทำ�ให้ทุนชุมชนเกิดความสมบูรณ์ และสมดุลอย่างยั่งยืนโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการทุนชุมชนให้มี ประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคนในชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๑ การเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ความเป็นมาและความสำ�คัญในการจัดทำ�คู่มือ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๕๑–๒๕๕๕) ในประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ว่าด้วยการมุ่งสู่องค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และบุคลากรมีความพร้อมและมี ความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมในสถานการณ์ ต่างๆ ได้กำ�หนดเป้าประสงค์ให้ส่วนราชการ และหน่วยงานของรัฐสามารถพัฒนาขีดสมรรถนะ และมีความพร้อมในการดำ�เนินงาน การดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย มีการดำ�เนินงานในหมวดที่ ๖ การจัดการกระบวนการ ได้กำ�หนดให้ส่วนราชการมีการวิเคราะห์ กระบวนการที่สำ�คัญที่ช่วยสร้างคุณค่า แก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจ ของส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการสนับสนุน ที่สำ�คัญต่างๆ ในปี ๒๕๕๕ กรมการพัฒนาชุมชน ได้วเิ คราะห์กระบวนการทีส่ �ำ คัญและได้น�ำ มาจัดทำ� คู่มือการปฏิบัติงาน จำ�นวน ๑๖ กระบวนการ ดังนี้ ๑. กระบวนการที่สร้างคุณค่า จำ�นวน ๖ กระบวนการ ประกอบด้วย ๑.๑ กระบวนการพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๑.๒ กระบวนการส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ๑.๓ กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๑.๔ กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ๑.๖ กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๑.๗ กระบวนการส่งเสริมความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ๒. กระบวนการสนับสนุน จำ�นวน ๑๐ กระบวนการ ประกอบด้วย ๒.๑ กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ๒.๒ กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล

131


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

132

๒.๓ กระบวนการจัดการองค์ความรู้ ๒.๔ กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และระบบ ข้อมูลสารสนเทศ ๒.๕ กระบวนการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๒.๖ กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๒.๗ กระบวนการบริหารงบประมาณ ๒.๘ กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ๒.๙ กระบวนการประชาสัมพันธ์ ๒.๑๐ กระบวนการพัฒนาอาคารสถานที่ ทั้งนี้ เมื่อกรมฯ ได้วิเคราะห์และกำ�หนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการ สนับสนุน ดังกล่าวแล้ว จึงได้จดั ทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ านของกระบวนการทัง้ ๑๖ กระบวนการ เพือ่ กำ�หนด มาตรฐาน การปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการนำ�กระบวนการไปปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตาม ข้อกำ�หนดทีส่ �ำ คัญ โดยแสดงให้เห็นจุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุดของงาน เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้ใช้อา้ งอิง มิให้เกิดความผิดพลาดในการทำ�งาน ซึ่งคู่มือการปฏิบัติงานแต่ละเล่มจะประกอบด้วย แผนผัง กระบวนการ และมาตรฐานคุณภาพงาน ซึง่ เป็นข้อกำ�หนด ในการปฏิบตั งิ านทัง้ ในเชิงคุณภาพและ ปริมาณ เช่น ระบบงาน ระยะเวลาของกระบวนการ คุณภาพของผลผลิต ความคุม้ ค่าของงาน เป็นต้น

วัตถุประสงค์

กรมการพัฒนาชุมชน กำ�หนดวิสยั ทัศน์องค์กรไว้วา่ “ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานราก มั่นคง” ภายใต้พันธกิจ พัฒนาระบบและกลไกส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการบริหารจัดการชุมชน ส่งเสริมการพัฒนาระบบกลไกและ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาสมรรถนะองค์กรใน การทำ�งานเชิงบูรณาการ โดยมีเป้าหมายประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข ชุมชนมีขีดความ สามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ยกระดับไปสูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมัน่ คง ดังนัน้ กรมการพัฒนาชุมชนจึงกำ�หนดกระบวนการทีส่ �ำ คัญ ในการสร้างคุณค่าให้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ ตามภารกิจให้บรรลุเป้าหมาย นำ�มากำ�หนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ านและจัดทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน “กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน” ซึ่งมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้ทุนชุมชนมี ธรรมาภิบาลและความมั่นคง


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ขอบเขต สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน เป็นผู้รับผิดชอบหลักในกระบวนการ เสริมสร้าง การบริหารจัดการทุนชุมชน สำ�หรับในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ สำ�นักฯ ได้ดำ�เนินงานใน ๒ กระบวนงาน ประกอบด้วยกระบวนงานส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน ได้แก่ การดำ�เนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กองทุน กข.คจ. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน และ กระบวนงานส่งเสริม พัฒนาทุนชุมชน ได้แก่ สนับสนุนและ การจัดทำ�คลังข้อมูลทุนชุมชน และการพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ ปัจจุบันการบริหารจัดการทุนชุมชน ต้องมีการบริหารจัดการทุนชุมชนตามหลัก ธรรมาภิบาลและมีความมั่นคงยั่งยืน มีแหล่งทุนในการประกอบอาชีพ แก้ไขปัญหาความยากจน และจัดสวัสดิการชุมชน ชุมชนสามารถ ใช้ทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและใช้ประโยชน์ จากทุนชุมชน เพื่อเป็นการสร้างจิตสำ�นึกของคนในชุมชน และพัฒนาผู้นำ�ให้มีความสามารถใน การบริหารจัดการทุนชุมชน การใช้ประโยชน์และการบำ�รุงรักษาทำ�ให้ทนุ ชุมชนเกิดความสมบูรณ์ และสมดุลอย่างยั่งยืนโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการทุนชุมชนให้มี ประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคนในชุมชน

กรอบแนวคิด

กรมการพัฒนาชุมชนได้สง่ เสริมสนับสนุนให้ชมุ ชนรวมตัวกันเกิดเป็นกลุม่ องค์กรต่างๆ ในชุมชน เป็นกลุม่ เศรษฐกิจชุมชน เช่น กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต กลุม่ อาชีพ ให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับ วิถชี วี ติ ของแต่ละชุมชน โดยส่งเสริมให้กลุม่ มีการบริหารจัดการกลุม่ การแลกเปลีย่ น เรียนรูก้ นั ในกลุม่ ซึง่ ประโยชน์ทชี่ มุ ชนจะได้รบั คือ ทำ�ให้ชมุ ชนเกิดการมีสว่ นร่วมของคนในชุมชน ในการแก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ เป็นพลังที่เกิดขึ้นในชุมชน และเมื่อกลุ่มมีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ มีรายได้ ลดรายจ่าย และมีการออม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเอื้ออาทรซึ่งกันและกันจะส่งผลให้คนในชุมชนมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกิดการจัดสวัสดิการในชุมชน และชุมชนสามารถจัดการตนเองได้ ปรับตัว ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข พึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน การเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน เป็นแนวคิดทีม่ งุ่ นำ�ชุมชนเป็นศูนย์กลางการ พัฒนาการดำ�รงชีวติ ของคนในชุมชน โดยเสริมสร้างความสามารถของทุนทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็น ตัวเงินในการจัดการกับปัญหาของชุมชน และรักษาหรือเสริมสร้างความสามารถและสินทรัพย์

133


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ของชุมชนทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยไม่ทำ�ลายรากฐานด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทำ�ให้ชุมชน มีชวี ติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั องค์กรชุมชน ซึง่ เป็นการพัฒนาทุนชุมชน ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน ทั้งนี้กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ได้ดำ�เนินการใน ๒ กระบวนงาน คือ กระบวนงานส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน และกระบวนงาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาทุนชุมชน มีรายละเอียด ดังนี้

กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน

134

กรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานภาครัฐหน่วยงานหนึ่ง ที่เล็งเห็นความสำ�คัญ ในการบริหารจัดการทุนชุมชนโดยใช้ คุณธรรม ๕ ประการ คือ ซื่อสัตย์ เสียสละ รับผิดชอบ ไว้วางใจ และเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน และหลักธรรมาภิบาล อันประกอบด้วย หลักการมี ส่วนร่วม ความโปร่งใส การตอบสนอง ภาระรับผิดชอบ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การกระจาย อำ�นาจ นิตธิ รรม ความเสมอภาค การมุง่ เน้นฉันทามติ เป็นแนวทางในการบริหารจัดการทุนชุมชน เพือ่ ให้ชมุ ชนมีธรรมภิบาลและความมัน่ คง โดยมีคณะกรรมการกองทุนต่าง ๆ เป็นผูบ้ ริหาร มีผนู้ �ำ ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน และภาคีการพัฒนาเป็นผูส้ ง่ เสริม สนับสนุน ให้เกิดการบริหารจัดการทุน ชุมชนให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน ในปี ๒๕๕๕ กระบวนการ เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ได้ดำ�เนินการใน ๒ กระบวนงาน คือ กระบวนงานส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน และกระบวนงานส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาทุนชุมชน ซึ่งมีกรอบแนวคิดและวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้

๑. กระบวนงานส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน แนวคิด ๑.๑ กระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต กรมการพัฒนาชุมชนได้สนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต มาจากการผสมผสานระหว่างแนวคิดของสหกรณ์ การเกษตรเครดิตยูเนีย่ น และสินเชือ่ เพือ่ การเกษตร โดยใช้ “เงินเป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาคน” ทำ�ให้คนมีคุณธรรม มีการช่วยเหลือเกื้อกูล เอื้ออาทร แบ่งปันซึ่งกันและกัน เกิดกระบวนการเรียนรู้ การทำ�งานร่วมกัน ตามวิถีทางประชาธิปไตย มีการยอมรับฟังความคิดเห็นของเสียงส่วนใหญ่ เคารพในกฎกติกาที่มาจากข้อตกลงร่วมกัน เกิดการเรียนรู้การบริหารจัดการเงินทุนของตนเอง


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เพือ่ จัดสรรผลประโยชน์ และจัดเป็นสวัสดิการให้กบั สมาชิก ทำ�ให้ชมุ ชนมีแหล่งทุนในการประกอบ อาชีพเป็นของตนเอง มีสัจจะ มีระเบียบวินัยในการใช้เงิน รู้จักใช้จ่ายเงินอย่างมีเหตุผล มีความ เหมาะสม พอประมาณกับตนเองและครอบครัว เป็นการสร้างภูมคิ มุ้ กันให้กบั ครอบครัวและชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ-พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ แนวคิดที่ใช้ในการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประกอบด้วย ๔ แนวคิด ด้วยกัน คือ แนวคิดที่ ๑ การรวมคนในหมูบ่ า้ น ให้ชว่ ยเหลือซึง่ กันและกัน โดยรวมคนทีม่ ฐี านะ แตกต่างกันให้ช่วยเหลือกัน เป็นการยกฐานะความยากจน อยู่บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า “จนเงิน แต่ไม่จนน้ำ�ใจ” แนวคิดที่ ๒ การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเงินทุน โดยการรวมกลุ่มออมเงิน แล้วให้สมาชิกกู้ยืมเป็นทุนในการประกอบอาชีพ แนวคิดที่ ๓ การนำ�เงินทุนไปใช้ดำ�เนินการ ด้วยความขยัน ประหยัด ถูกต้อง เพื่อให้ได้ทุนคืนและมีกำ�ไรเป็นการสร้างรายได้ให้กับสมาชิก แนวคิดที่ ๔ การลดต้นทุนในการครองชีพ โดยให้มกี ารจัดตัง้ ศูนย์สาธิตการตลาด เป็นการรวมตัวกันซือ้ รวมกันขาย สามารถลดต้นทุนในการซือ้ สินค้าอุปโภค บริโภค และปัจจัยการผลิต หลักการดำ�เนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ประกอบด้วย ๑. ความรู้สึกเป็นเจ้าของ เป็นการสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของให้กับสมาชิก ทุกคนทำ�ให้เกิดความรับผิดชอบ และช่วยกันดูแลเอาใจใส่ในการดำ�เนินงานของกลุ่ม ๒. การพึ่งตนเอง ฝึกนิสัยการประหยัดและอดออม โดยนำ�เอาคุณสมบัติพิเศษ ๓ ประการของชาวชนบท คือ ความซื่อสัตย์ ความทนอด และความอดทน มารวมกันในรูปกลุ่ม ทำ�ให้มีการรวมเงินทุนชุมชนเป็นของตนเอง ลดการพึ่งพิงแหล่งทุนจากภายนอกหมู่บ้าน ๓. หลักคุณธรรม ใช้การออมทรัพย์เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน เพื่อให้คนมี คุณธรรม ๕ ประการ คือ ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจกัน และความไว้วางใจกัน ๔. หลักการควบคุมกันเอง สมาชิกกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตทุกคนจะต้องให้ ความสนใจดูแลความเคลื่อนไหว และตรวจสอบซึ่งกันและกัน กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต จึงเป็นกลไกสำ�คัญในกระบวนการเสริมสร้างชุมชนให้ เข้มแข็ง ทำ�ให้เกิดการพัฒนาชุมชนครอบคลุมในหลายๆมิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การส่งเสริม ประชาธิปไตย การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการส่งเสริมวัฒนธรรม วิถีการดำ�รงชีวิตของคนในชุมชน ซึ่งเป็นรากฐานในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน

135


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

136

๑.๒ กระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุน กข.คจ. เงินทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เกิดจากการที่คณะรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยดำ�เนินการโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน ตามมติเมื่อ วันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จำ�นวน ๑๑,๖๐๘ หมูบ่ า้ น และเมือ่ วันที่ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๔๐ จำ�นวน ๒๘,๐๓๘ หมู่บ้าน รวมทั้งสิ้น ๓๙,๖๔๖ หมู่บ้าน เพื่อกระจายโอกาสให้ คนยากจนในครัวเรือนที่ มีรายได้ต่ำ�กว่าเกณฑ์ความจำ�เป็นพื้นฐาน(จปฐ.) ได้มีแหล่งเงินทุนในระดับหมู่บ้าน สำ�หรับยืมไป ประกอบอาชีพ หรือขยายกิจการอาชีพของตน เพื่อเพิ่มรายได้ให้พ้นเกณฑ์ความ-จำ�เป็นพื้นฐาน และพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ดขี นึ้ โดยสนับสนุนงบประมาณจัดตัง้ เป็นเงินตามโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจนระดับหมูบ่ า้ น ซึง่ กรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบในการดำ�เนินงาน ตามโครงการดังกล่าวจากงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนที่จัดตั้งเป็นเงินทุนเพื่อใช้ในการดำ�เนินการ โดยควบคุมดูแลและตรวจสอบการใช้เงินดังกล่าวให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการตัง้ งบประมาณ และระเบียบของทางราชการ ณ ปัจจุบันใช้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการบริหารและ การใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นแนวทางปฏิบัติในการบริหาร จัดการเงินทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)ดังกล่าว เน้นทีก่ ารบริหารจัดการกองทุน ชุมชนให้มปี ระสิทธิภาพ ภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการบริหารและการใช้จา่ ยเงิน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. ๒๕๕๓ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นการสนับสนุนเงินทุนให้พื้นที่ ในระดับหมู่บ้าน แล้วมอบอำ�นาจและหน้าที่ความรับผิดชอบให้องค์กรประชาชนในหมู่บ้านเป็น ผู้บริหารจัดการเงินทุนให้หมุนเวียนอยู่ในหมู่บ้านตลอดไป การบริหารจัดการโครงการ กข.คจ. อาจไม่มีรูปแบบตายตัวในทุกประการ ขึ้นอยู่กับศักยภาพของแต่ละหมู่บ้าน แต่อย่างไรก็ตาม เป็นการบริหารจัดการภายใต้หลักการดำ�เนินงาน ดังนี้ ๑. การมีสว่ นร่วมขององค์กรประชาชนและประชาชนในหมูบ่ า้ นเป้าหมายในการ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ� ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรับผลประโยชน์ ๒. การมีข้อมูลครัวเรือนเป็นหมายจากการจัดเก็บและตรวจสอบขององค์กร ประชาชนในหมู่บ้าน ๓. การมอบอำ�นาจและหน้าที่ ความรับผิดชอบในองค์กรประชาชนในหมู่บ้าน เป้าหมาย คือคณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน เป็นผู้บริหารจัดการเงินทุนให้หมุนเวียน ๔. สนั บ สนุ น เงิ น ทุ น เพื่ อ ประกอบอาชี พ แก่ ค รั ว เรื อ นเป้ า หมาย หมู่ บ้ า นละ ๒๘๐,๐๐๐ บาท


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๑.๓ กระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง (กทบ.) กองทุนหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง เป็นนโยบายทีน่ �ำ จุดอ่อนจุดแข็งของกลุม่ ออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตและโครงการ กข.คจ. มาปรับปรุงเป็นโครงการกองทุนหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง ถือเป็น นโยบายที่สำ�คัญของรัฐบาลที่มุ่งเน้น ในการแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน มีหลักการ สำ�คัญคือรัฐบาลจะจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่หมูบ่ า้ น หรือชุมชนเมือง แห่งละ ๑ ล้านบ้าน เพือ่ เป็น แหล่งเงินทุนในการลงทุน สร้างงาน สร้างอาชีพ เสริมรายได้ให้แก่ประชาชนในชุมชน และวิสาหกิจ ขนาดเล็กในครัวเรือน เงินที่รัฐบาลจัดสรรให้แก่กองทุนหมู่บ้านไม่ได้เป็นเงินให้เปล่า แต่เป็นเงิน ทีใ่ ห้ในลักษณะของเงินทุนหมุนเวียนในหมูบ่ า้ นหรือชุมชนและสมาชิกกองทุนจะต้องคืนเงินทีก่ ไู้ ป ให้ แก่กองทุนตามกำ�หนดเวลา โดยให้ประชาชนในหมูบ่ า้ นหรือชุมชนเมือง บริหารจัดการกันเอง ซึ่งนโยบายดังกล่าวจึงเป็นเสมือนเครื่องมือในการพัฒนา “คน” และ “การเรียนรู้” เพื่อนำ�ไปสู่ การสร้าง “ความเข้มแข็ง”ของหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง ทั้งนี้ให้ชาวบ้านคิดเองทำ�เอง โดยภาค ราชการจะมีหน้าที่เป็นเพียงผู้วางกรอบนโยบาย หลักเกณฑ์สำ�คัญรวมทั้งให้คำ�ปรึกษาและ คำ�แนะนำ�ทางวิชาการเท่านั้น กองทุนหมู่บ้านหรือชุมชนเมืองตั้งขึ้นโดยพิจารณาจากกิจกรรมที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ และการผลิตในชุมชน ปรัชญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ได้แก่ ๑. การเสริมสร้างสำ�นึกความเป็นชุมชนและท้องถิ่น ๒. ชุมชนเป็นผู้กำ�หนดอนาคต และจัดการหมู่บ้านและชุมชนด้วยคุณค่าและ ภูมิปัญญาของตนเอง ๓. เกื้อกูลประโยชน์ต่อผู้ด้อยโอกาสในหมู่บ้านหรือชุมชน ๔. เชือ่ มโยงกระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันของชุมชน ราชการ เอกชน และประชาสังคม ๕. กระจายอำ�นาจให้ท้องถิ่น และพัฒนาประชาธิปไตยพื้นฐาน วัตถุประสงค์กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ๑. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียน สำ�หรับการลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือเพิม่ รายได้ลดรายจ่าย หรือสำ�หรับการส่งเสริมและพัฒนาไปสูก่ ารสร้างสวัสดิภาพ สวัสดิการ หรือประโยชน์ส่วนรวมอื่นใดให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง ๒. เป็ น แหล่ ง เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ บรรเทาความเดื อ ดร้ อ นเร่ ง ด่ ว นสำ� หรั บ ประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง ๓. รับฝากเงินจากสมาชิกและจัดหาทุนจากแหล่งทุนอื่น เพื่อดำ�เนินการตาม วัตถุประสงค์

137


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๔. ให้กู้ยืมเงินแก่กองทุนหมู่บ้านอื่น เพื่อประโยชน์ในการสร้างความเข้มแข็งให้ แก่เศรษฐกิจของหมู่บ้านและชุมชนเมือง ในการดำ�เนินงานกองทุนหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง กรมการพัฒนาชุมชนมีบทบาท ในการ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ

138

๑.๔ กระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนมีนโยบายส่งเสริมการจัดตัง้ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน และพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ซึ่งดำ�เนินงานมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นต้นมา โดยสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ที่จัดตั้งขึ้นนี้ เหตุที่มีการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุน ชุมชน เกิดจาก สถานการณ์กองทุนชุมชนต่าง ๆที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่หลากหลาย จากการ ติดตามผลการดำ�เนินงานแต่ละกองทุน พบว่า การดำ�เนินงานกองทุนมีความแตกต่างกันหลาย รูปแบบตามบริบทของแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน บางกองทุนมีความเติบโต บางกองทุนล้มหายไป ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน ทั้งระเบียบแนวทางปฏิบัติของทางราชการที่สนับสนุน รวมไปถึง ความสามารถในการบริหารจัดการการ กรมการพัฒนาชุมชนจึงมีแนวคิดทีจ่ ะส่งเสริมการบูรณาการ กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินในชุมชน ให้มีการเชื่อมโยงการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อให้ชุมชน มีความสามารถในการบริหารจัดการกองทุนชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน ในรูปแบบของการจัดตั้งเป็นสถาบันการจัดการเงินทุนชุม สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน หมายถึง คือ สถาบันทางเศรษฐกิจฐานรากทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ จากการบูรณาการเชือ่ มโยงการบริหารจัดการของกลุม่ องค์กร กองทุนการเงินต่าง ๆ ร่วมกัน บริหารจัดการเงินทุนในชุมชนเพื่อให้เกิดการใช้เงินทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด วัตถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนการดำ�เนินงาน กลุม่ องค์กร กองทุนการเงินชุมชน ให้มปี ระสิทธิภาพ และใช้ประโยชน์จากเงินทุนชุมชนให้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยการบูรณาการด้านการบริหารจัดการ ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เป้าหมาย เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชน มีการบริหารจัดการกองทุนและเงินทุนในชุมชนอย่างมี ประสิทธิภาพ หน้าที่หลัก จัดระบบการบริหารจัดการกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินในหมู่บ้าน/ชุมชนให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกกองทุนและชุมชน ประโยชน์ ๑. กลุ่มองค์กร กองทุนการเงินในหมู่บ้าน/ชุมชน มีการบริหารจัดการที่เข้มแข็ง (ร่วมกันบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ,ป้องกันการสูญหาย) ๒. การบริหารจัดการกองทุนชุมชนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (แก้ไขปัญหา ความยากจน (ปรับโครงสร้างหนี้) ,ชุมชนมีการจัดสวัสดิการ)


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ที่มา กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นสมาชิกและเป็นแกนนำ�ในการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงิน ทุนชุมชน โดยทุกกลุ่มเป็นสมาชิกและยังดำ�เนินกิจกรรมของตนเองอยู่เช่นเดิม ขั้นตอนการจัดตั้ง : ขั้นตอนที่ ๑ เผยแพร่แนวคิด แนวทางการดำ�เนินงานให้กับกลุ่มเป้าหมาย (ประธาน กลุม่ กรรมการ ผูแ้ ทนองค์กรกองทุนชุมชน และผูน้ �ำ ชุมชน ผูท้ รงคุณวุฒิ ภาคีการพัฒนา (ธนาคาร ธ.ก.ส./ออมสิน /องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)) ขั้นตอนที่ ๒ สำ�รวจวิเคราะห์ข้อมูลกองทุนชุมชน ขั้นตอนที่ ๓ ประชุมกลุ่มเป้าหมายในขั้นตอนที่ ๑ เพื่อเตรียมการวางแผนการจัดตั้ง สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน (กองทุนต่างๆที่เข้าร่วม,จัดหาสถานทีดำ�เนินการ ฯลฯ) ขั้นตอนที่ ๔ จัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน โดยการประชุมประธานกลุ่ม/ กรรมการ/ผู้แทนองค์กรกองทุนชุมชนที่ได้รับมอบอำ �นาจเป็นผู้แทนกลุ่มสมัครเป็นสมาชิก สถาบันฯ และผูน้ �ำ ชุมชน ผูท้ รงคุณวุฒิ ภาคีการพัฒนา เพือ่ ดำ�เนินการ เลือกคณะกรรมการบริหาร ร่างระเบียบข้อบังคับ กำ�หนด/วางแผนการจัดกิจกรรมของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน การดำ�เนินกิจกรรมของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ถือว่าเป็นหัวใจของความสำ�เร็จ ในการดำ�เนินงานของสถาบันฯ ซึ่งมีเป้าหมายในการทำ�จะทำ�ให้กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินใน หมู่บ้าน/ชุมชน มีความเข้มแข็ง บริหารจัดการเงินทุนชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเพื่อให้ สถาบันฯ สามารถดำ�เนินกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับความต้องการของสมาชิกและ คนในชุมชน และสอดคล้องกับสถานการณ์ของชุมชน จึงควรดำ�เนินการดังนี้ ๑. สำ�รวจความต้องการของสมาชิกและคนในชุมชน เพื่อให้ได้ข้อมูลความต้องการใน การจัดกิจกรรมของชุมชนอย่างแท้จริง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ๒. วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่จะดำ�เนินการที่ได้จากการสำ�รวจ ซึ่งมีผล ต่อการดำ�เนินงานของสถาบันฯ ๓. จัดเวทีประชาคม ระดมความคิดเห็น โดยมีคณะกรรมการบริหารตัวแทนสมาชิก และที่ปรึกษาของสถาบันฯ พิจารณาร่วมกัน ๔. กำ�หนดแนวทางและขั้นตอนในการดำ�เนินงาน และจัดทำ�แผนงานสถาบันฯ ๕. จัดทำ�แผนปฏิบัติการประจำ�ปีของสถาบันฯ ๖. ดำ�เนินงานตามกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการของสถาบันฯ ๗. ติดตามและประเมินผลความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคในการดำ�เนินงานเพือ่ ปรับปรุง แก้ไข ๘. สรุปรวบรวม ปัญหา/อุปสรรคจากการดำ �เนินงาน และนำ�เสนอในที่ประชุม คณะกรรมการบริหาร/สมาชิก เพื่อหาแนวทางแก้ไขการดำ�เนินงานต่อไป

139


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

140

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาคน โดยใช้หลักการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นเครื่องมือในการ พัฒนาตนเอง และเพื่อนสมาชิกให้มีคุณธรรม ๕ ประการ ๒. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยการระดมเงินออม จัดตั้งเป็นกองทุน ทำ�ให้ชุมชน มีแหล่งเงินทุนในการกู้ยืมเงินไปประกอบอาชีพ ใช้ตามความจำ�เป็นของครอบครัว และเรียนรู้ กิจกรรมเชิงธุรกิจ สามารถเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว ๓. เพื่อพัฒนาสังคม โดยการปลูกฝังคุณธรรม ๕ ประการ ปลูกฝังวิถีประชาธิปไตย ก่อให้เกิดความสามัคคี การช่วยเหลือเอื้ออาทรต่อกัน และความร่วมมือ ๔. เพือ่ ให้หมูบ่ า้ นในชนบท ได้รบั การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐาน การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาด้านการศึกษา วัฒนธรรม สาธารณสุข และความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชนในหมูบ่ า้ น เพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบให้สูงขึ้น ๕. เพื่อให้หมู่บ้านในชนบท เป็นหมู่บ้านแผ่นดินธรรมแผ่นดินทองตลอดไป ประชาชน เกิดความร่มเย็นเป็นสุข มีความอุดมสมบูรณ์ มั่นคั่งยิ่งๆขึ้น ๖. เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงาน กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินให้เกิดประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการด้านการบริหารจัดการร่วมกัน เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุดจากกองทุนชุมชนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ๗. เพือ่ ให้ชมุ ชนมีธรรมาภิบาล และความมัน่ คง ชุมชนมีแหล่งทุนในการประกอบอาชีพ แก้ไขปัญหาความยากจน และจัดสวัสดิการชุมชน

๒. กระบวนงานส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาทุนชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานภาครัฐหน่วยงานหนึ่ง ที่เล็งเห็นความสำ�คัญ ในการบริหารจัดการทุนชุมชน โดยมีภารกิจหลักสำ�คัญในการส่งเสริม การพัฒนาทุนชุมชน เพือ่ สร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนด้าน “เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน” เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ในการบริหารจัดการ ทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ศักยภาพของทุนที่มีอยู่ในชุมชนในการพัฒนาชุมชน จนชุมชน สามารถใช้ทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและใช้ประโยชน์จากทุนชุมชนตอบสนองต่อคน ในชุมชนมากที่สุด ดังนั้น เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน จึงมีบทบาทสำ�คัญในการส่งเสริมการบริหาร จัดการทุนชุมชนให้ชมุ ชนตระหนักและรักษาสมดุลของทุนในชุมชนตลอดจนชุมชนร่วมรับผิดชอบ ในปี ๒๕๕๕ กระบวนงานส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชน ประกอบด้วย ๒ กระบวนงาน คือ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

กระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชน และกระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ ซึง่ มีกรอบแนวคิดและวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ แนวคิด ๒.๑ แนวคิดกระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชน “ทุนชุมชน” (Community Capital) คือ สิง่ ทีเ่ ป็นมูลค่าหรือมี คุณค่าทีม่ ใิ ช่เงินตรา เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่มีความสำ�คัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน เช่น ทุนทรัพยากร ที่ก่อให้เกิดผลผลิต รวมถึงเงินและสินทรัพย์อื่น ๆ ที่เป็นความรู้ ภูมิปัญญา ประสบการณ์ ของคน ทุนทางสังคม วัฒนธรรมประเพณี ปัจจัยบริการทางโครงสร้างพืน้ ฐาน เป็นต้น และได้จดั หมวดหมู/่ จำ�แนกประเภทของ “ทุน” ออกเป็น ๒ ส่วน เพื่อให้เหมาะสมกับบทบาทภารกิจของกรมการ พัฒนาชุมชน คือ ๑. ทุนการเงิน โดยดำ�เนินการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรการเงิน พัฒนากิจกรรม ทางการเงินให้กบั องค์กรการเงิน รวมทัง้ การพัฒนาศักยภาพขององค์กรการเงินให้สามารถพัฒนา ทุนชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อการจัดการแก้ไขปัญหาของชุมชน ๒. ทุนชุมชน ด้านอื่น ๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมการพัฒนาที่อยู่ในความรับผิดชอบของ หน่วยงานทัง้ ในและนอก กรมการพัฒนาชุมชน ทีย่ งั ขาดความสมดุล และยังไม่ได้ดำ�เนินการตาม แนวคิดใหม่ในการ “พัฒนาทุนชุมชน” ดังนั้น จึงได้จำ�แนก ประเภทของทุนชุมชนไว้ ๕ ประเภท ดังนี้ ๒.๑ ทุนมนุษย์ (Human Capital) หมายถึง คุณสมบัติด้าน ต่าง ๆ ของคน ทุกเพศทุกวัยในชุมชน ที่มีคุณสมบัติในด้านสุขภาพอนามัย อายุขัย/ ด้านการศึกษา ภูมิปัญญา ขีดความสามารถ/ ด้านฐานะทาง เศรษฐกิจ ความยากจน ร่ำ�รวยของคนในครัวเรือน ตัวอย่าง ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำ�ชุมชนทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ครู พระสงฆ์ กลุ่มองค์กร ต่าง ๆ เด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ เด็กกำ�พร้า เป็นต้น ๒.๒ ทุนสังคม (Social Capital) หมายถึง ทรัพยากรทางสังคมที่ประชาชน ใช้เพือ่ การดำ�รงชีพ รวมทัง้ ความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ การยอมรับซึง่ กันและกันในชุมชน กลุม่ องค์กร เครือข่าย ภาคประชาชน/ ประชาสังคม ความเชื่อถือศรัทธา ตลอดจนวัฒนธรรมที่สืบทอดมายาวนาน ซึ่งการพัฒนาทุนทางสังคมของไทย ควรมุ่งเน้นไปที่รากฐานดั้งเดิม หรือ แหล่งที่มาของทุนทาง สังคม เช่น ศาสนาขนบธรรมเนียมปฏิบัติ และประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น โดยไม่ควรที่จะพยายาม ปรับเปลีย่ นรากฐาน แต่ควรกระตุน้ สนับสนุนและส่งเสริม รากฐานดัง้ เดิมให้มคี วามเข้มแข็งมากขึน้ ๒.๓ ทุนกายภาพ (Physical Capital) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นเพื่อ อำ�นวยความสะดวกต่อการดำ�เนินชีวิต หรือเป็นปัจจัยพื้นฐานในการผลิตที่สนับสนุนการดำ�รง ชีพของประชาชน ได้แก่ การคมนาคมขนส่ง ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบพลังงาน การสื่อสาร โทรคมนาคม โบราณวัตถุ โบราณสถาน หรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ

141


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๒.๔ ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ต่าง ๆ ที่เป็นตัวกำ�หนด ศักยภาพในการดำ�รงชีวิตและ การประกอบอาชีพของ ประชาชนในชุมชน ได้แก่ แหล่งน้ำ�ธรรมชาติ ป่าไม้ ดิน น้ำ�ภูเขา ทะเล เกาะ สัตว์ป่า แร่ธาตุ พลังงาน น้ำ�พุ พืชพันธ์ุธัญญาหารธรรมชาติ เป็นต้น ๒.๕ ทุนการเงิน (Financial Capital) หมายถึง ทรัพยากรที่เป็นตัวเงินตรา รวมถึงโอกาสทางการเงินที่ประชาชนใช้เพื่อการดำ�รงชีพ ได้แก่ ทุนทางการเงินที่มาจากการออม (Available Stocks) ที่เป็นเงินสด/ เงินฝาก สัตว์เลี้ยง อัญมณี และทุนที่มาจากรายได้อื่น ได้แก่ เงินบำ�นาญ/ ค่าตอบแทนที่ได้จากรัฐ และเงินกองทุนต่าง ๆ

142

๒.๒ กระบวนงานย่อย การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจเพือ่ ช่วยเหลือบรรเทา ปัญหาเฉพาะหน้าของประชาชน และพัฒนาชนบทมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ในลักษณะของโครงการ พระราชดำ�ริ ซึ่งหลายโครงการเป็นการศึกษา ค้นคว้า ทดลองเป็นการส่วนพระองค์ เพื่อเตรียม พระองค์ ในด้านข้อมูลและความรอบรู้ที่จะทรงนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและเผยแพร่แก่ เกษตรกร รวมทัง้ เป็น การแสวงหาแนวทางการพัฒนาทีถ่ กู ต้อง เหมาะสมกับสภาพสังคมไทยและ สภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น นอกจากนีพ้ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดำ�ริให้จดั ตัง้ “ศูนย์ศกึ ษา การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ” เพื่อเป็นสถานศึกษา ทดลอง สาธิต วิจัย และแสวงหา ความรู้ เทคนิควิชาการการพัฒนาทีร่ าษฎรสามารถนำ�ไปดำ�เนินการเองได้ ด้วยวิธกี ารทีป่ ระหยัด เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพของราษฎร ปัจจุบนั มีโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ประมาณ ๓,๐๐๐ โครงการ ครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ โดยเฉพาะ ปัญหาของราษฎร เช่น ปัญหาน้ำ� ปัญหาดิน ปัญหาป่าไม้ การพัฒนาอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ้ำ การเกษตร สิง่ แวดล้อม ซึง่ สามารถแบ่งโครงการพระราชดำ�ริออกเป็น ๘ ด้าน คือ การพัฒนาแหล่งน� ส่งเสริมอาชีพ สาธารณสุข คมนาคม/สื่อสาร สวัสดิการสังคม โครงการสำ�คัญและอื่นๆ กรมการ พัฒนาชุมชนได้รว่ มดำ�เนินงานในโครงการพระราชดำ�ริ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ โดยมีภารกิจ ๓ ประการ คือ ๑. การเตรียมชุมชนในพืน้ ทีเ่ ป้าหมายของโครงการ เน้นสนับสนุนด้านการให้การ ศึกษาแก่องค์กรประชาชนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการพัฒนา ๒. การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในพืน้ ทีเ่ ป้าหมายทีต่ งั้ โครงการ เน้นการ พัฒนาทั้งหมู่บ้านให้ผ่านเกณฑ์ กชช.๒ค และพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านเกณฑ์ จปฐ. ๓. การอนุรกั ษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของหมูบ่ า้ นอย่าง ต่อเนื่อง


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยการค้นหาทุนชุมชน วิเคราะห์สถานะ และประเมินศักยภาพทุนชุมชนที่มีอยู่ในชุมชนและ จัดทำ�แผนพัฒนาชุมชนเพื่อใช้ในการปรับปรุง เพิ่มเติมแผนชุมชนของหมู่บ้าน และเพื่อให้คน ในชุมชนเกิดความตระหนัก ร่วมรับผิดชอบ และรักษาสมดุลของทุนในชุมชน ตลอดจนเป็น เครือ่ งมือและใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั งิ านในทุกระดับให้สามารถนำ�ไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน ๒. เพือ่ ให้มกี ารนำ�แนวพระราชดำ�ริและองค์ความรูจ้ ากการดำ�เนินงานโครงการอันเนือ่ ง มาจากพระราชดำ�ริ และศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริในการดำ�เนินงานพัฒนา ทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง และทุนชุมชนทั้ง ๕ ด้านมีคุณภาพด้วยการ จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อให้ชุมชนมีธรรมาภิบาล และความมั่นคง สามารถใช้ทุนชุมชนแก้ไขปัญหาของ ชุมชนและใช้ประโยชน์จากทุนชุมชน

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ

143

กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน มีข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ซึ่งกรมฯ กำ�หนดขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเป็น เงื่อนไขที่นำ�มาออกแบบกระบวนการเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ ดังกล่าว มีดังต่อไปนี้ กระบวนการ ข้อกำ�หนดสำ�คัญ ตัวชี้วัดของข้อกำ�หนด กระบวนการ เสริมสร้างการ บริหารจัดการ ทุนชุมชน

การพัฒนาและ ปรับปรุงงานให้มี การบริหารจัดการ ทุนชุมชนตามหลัก ธรรมาภิบาล

๑.มีการทบทวน กฎหมาย ระเบียบ แนวทางการดำ�เนินงาน ของกองทุนชุมชน ๒. พัฒนากองทุนชุมชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ๓. ชุมชนได้รับการพัฒนา ประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการทุนชุมชน

ตัวชี้วัดของกระบวนการ ๑. ร้อยละสะสมของกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มี การจัดสวัสดิการชุมชน ๒. ร้อยละของกองทุนชุมชน ได้รับการบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาล ๓. จำ�นวนสะสมของชุมชนที่ใช้ ฐานข้อมูลและทุนชุมชนแก้ไข ปัญหาและใช้ประโยชน์ในชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ข้อกำ�หนดสำ�คัญของกระบวนงาน กระบวนงาน ข้อกำ�หนดสำ�คัญ

ตัวชี้วัดของข้อกำ�หนด

ตัวชี้วัดของกระบวนงาน

กระบวนงาน ส่งเสริม ปรับปรุง และ พัฒนากลุ่ม ออมทรัพย์ เพื่อการผลิต

การพัฒนาและ ปรับปรุงงานให้มี การบริหารจัดการ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิตตามหลัก ธรรมาภิบาล

๑. ตรวจสุขภาพกลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ ๓ ๒. เพิ่มศักยภาพคณะ กรรมการกลุ่มออมทรัพย์โดย ใช้โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ฯ ๓. สร้างผู้เชี่ยวชาญด้าน ออมทรัพย์ฯ

๑. มีกรอบแนวทางและเกณฑ์การ ตรวจสุขภาพทางการเงินกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๒. ทีมตรวจสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถตรวจ สุขภาพ กลุ่มออมทรัพย์ฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้า รับการอบรมโรงเรียนกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๔. มีสถานที่สำ�หรับเรียนรู้ ฝึก ทักษะ และถ่ายทอดประสบการณ์ ด้านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๕. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนได้รับ ความรู้ ทักษะการดำ�เนินงานกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๖. ชุมชนได้รับการจัดสวัสดิการ จากการจัดกิจกรรมของกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต

กระบวน งานส่งเสริม ปรับปรุง และพัฒนา กองทุน กข.คจ.

การพัฒนาและ ปรับปรุงงานให้มี การบริหารจัดการ กองทุน กข.คจ. ตามหลักธรรมา ภิบาล

๑. ตรวจสุขภาพกองทุน กข.คจ. ๒. ทบทวนแนวทางการ ดำ�เนินงาน กองทุน กข.คจ.

๑. มีกรอบแนวทางและเกณฑ์การ ตรวจสุขภาพทางการเงินกองทุน กข.คจ. ๒. ทีมตรวจสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถตรวจ สุขภาพ กองทุน กข.คจ. ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

144


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

กระบวนงาน ข้อกำ�หนดสำ�คัญ

ตัวชี้วัดของข้อกำ�หนด

ตัวชี้วัดของกระบวนงาน

กระบวน งานส่งเสริม ปรับปรุง และพัฒนา กองทุน หมู่บ้านและ ชุมชนเมือง (กทบ.)

การพัฒนาและ ๑. ทบทวน แนวทางการ ปรับปรุงงานให้มี ดำ�เนินงานกองทุนหมู่บ้าน การบริหารจัดการ และชุมชนเมือง (กทบ.) กองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง (กทบ.) ตามหลักธรรมา ภิบาล

๑. เจ้าหน้าที่ เครือข่ายกองทุนฯ มีความรู้และเข้าใจ พรบ. และ ระเบียบกองทุนหมู่บ้าน และ มีแนวทางดำ�เนินงานที่ชัดเจน

กระบวน งานส่งเสริม ปรับปรุง และพัฒนา สถาบันการ จัดการเงินทุน ชุมชน

การพัฒนาและ ปรับปรุงงานให้มี การบริหารจัดการ สถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชนตาม หลักธรรมาภิบาล

๑. จัดทำ�สื่อสถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน ๒. ทบทวนแนวทางและพัฒนา หลักสูตรการจัดตั้งสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชน ๓. ทบทวน แนวทางการ พัฒนาศักยภาพสถาบันการ จัดการเงินทุนชุมชนให้มี ประสิทธิภาพ

๑. ชุมชนมีแบบอย่างในการ บริหารจัดการกองทุนชุมชน ที่มีประสิทธิภาพ ๒. ชุมชนสามารถบริหารจัดการ กองทุนชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ๓. ชุมชนได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความสำ�เร็จ ของสถาบันฯ ๔. ชุมชนสามารถบริหารจัดการ กองทุนชุมชนให้เกิดประโยชน์ กับประชาชน ๕. ชุมชนมีความสามารถในการ จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาความ ยากจน

กระบวน งานส่งเสริม ปรับปรุง และ พัฒนาทุน ชุมชน

การพัฒนาและ ปรับปรุงงานให้มี การบริหารจัดการ ทุนชุมชนตามหลัก ธรรมาภิบาล

๑. ทบทวนแนวทาง การดำ�เนินงานทุนชุมชน ๒. จัดตั้งศูนย์ข้อมูลทุนชุมชน ในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

๑. มีทะเบียนทุนชุมชน ๒. มีการนำ�ข้อมูลทุนชุมชนมา วิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนา ๓. พัฒนาต่อยอดสู่เศรษฐกิจ สร้างสรรค์

145


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

กระบวนงาน ข้อกำ�หนดสำ�คัญ กระบวน งานส่งเสริม ปรับปรุง และ พัฒนาทุน ชุมชนตาม แนวพระ ราชดำ�ริ

146

ตัวชี้วัดของข้อกำ�หนด

การพัฒนาและ ๑. ทบทวนแนวทาง ปรับปรุงงานให้มี การส่งเสริมทุนชุมชนตาม การบริหารจัดการ แนวพระราชดำ�ริ ทุนชุมชนตามแนว พระราชดำ�ริตาม หลักธรรมาภิบาล

ตัวชี้วัดของกระบวนงาน ๑. เครือข่ายการพัฒนาทุนชุมชน ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริมีแผนและแนวทาง ความร่วมมือในการทำ�งานพัฒนา ทุนชุมชน ๒. ชุมชนในพื้นที่โครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำ�ริมีการ จัดสวัสดิการชุมชนด้วยการใช้ทุน ของชุมชน ๓. มีแหล่งเรียนรู้ต้นแบบเพื่อ การศึกษาดูงานการจัดสวัสดิการ ชุมชนและพัฒนากลุ่มอาชีพใน หมู่บ้านพื้นที่โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

คำ�จำ�กัดความ คำ�จำ�กัดความที่เกี่ยวข้องกับการกระบวนเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต หมายถึง กลุม่ ทีก่ รมการพัฒนาชุมชนส่งเสริมให้ประชาชน นำ�เงินมาสะสมรวมกันโดยการออม เพื่อเป็นกองทุนในการส่งเสริมอาชีพและแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของประชาชน โดยยึดหลักการ ความรูส้ กึ เป็นเจ้าของ การพึง่ ตนเอง หลักคุณธรรม ๕ ประการ (ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจกัน และความ ไว้วางใจกัน) หลักการควบคุมกันเอง และมีการจัดทำ�ระเบียบข้อบังคับของกลุ่มในการบริหาร จัดการซึ่งไม่ขัดกับระเบียบกฎหมาย กองทุน กข.คจ. หมายถึง เงินทุนทีท่ คี่ ณะรัฐมนตรีได้มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย ดำ�เนินการโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน ตามมติเมือ่ วันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จำ�นวน ๑๑,๖๐๘ หมูบ่ า้ น และเมือ่ วันที่ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๔๐ จำ�นวน ๒๘,๐๓๘ หมูบ่ า้ น รวมทัง้ สิน้ ๓๙,๖๔๖ หมู่บ้าน โดยมีทุนก่อตัง้ ไว้บริหารจัดการ หมู่บ้านละ ๒๘๐,๐๐๐ บาท (สองแสนแปดหมื่นบาทถ้วน) บริหารจัดการเงินทุนภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงิน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ.๒๕๕๓ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) หมายถึง กองทุนที่ได้รับการจัดสรรงบ ประมาณตาม นโยบายของรัฐบาล หมู่บ้านละหนึ่งล้านบาท สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน หมายถึง สถาบันทางเศรษฐกิจฐานรากทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ จาก การบูรณาการเชื่อมโยงการบริหารจัดการของกลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินต่าง ๆ ร่วมกันบริหาร จัดการเงินทุนในชุมชนเพื่อให้เกิดการใช้เงินทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด ทุนชุมชน หมายถึง สิง่ ทีเ่ ป็นมูลค่าหรือมีคณ ุ ค่าทีม่ ใิ ช่เงินตราเพียงอย่างเดียว แต่หมายถึง สิ่งอื่น ๆ ที่มีความสำ�คัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน ซึ่งทุนทั้ง ๕ ด้าน ประกอบด้วย ทุนกายภาพ ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนธรรมชาติ และทุนการเงิน การพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ หมายถึง การเรียนรู้ในการพัฒนาทุน ชุมชนจากการดำ�เนินโครงการตามแนวพระราชดำ�ริ และมีการนำ�ความรู้ที่ได้มาขยายผลในการ ใช้ประโยชน์จากทุนที่มีอยู่ในชุมชนเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

147


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

หน้าที่ความรับผิดชอบ

กรมการพัฒนาชุมชน มีหน่วยงานในสังกัดที่มีหน้าที่รับผิดชอบหลักในการเสริมสร้าง การบริหารจัดการทุนชุมชน คือ สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน สำ�นักงานพัฒนาชุมชน จังหวัด และสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ โดยตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนา ชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ ระบุอำ�นาจหน้าที่ไว้ดังนี้ หน่วยงาน

148

อำ�นาจหน้าที่

สำ�นักพัฒนาทุนและ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยด้านการพัฒนาทุนและองค์กรการเงิน องค์กรการเงินชุมชน ชุมชน เพื่อกำ�หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบ และ (สทอ.) แนวทางในการเสริมสร้างและพัฒนาระบบทุนชุมชน และการบริหาร จัดการทุนชุมชน ๒. ดำ�เนินการเกี่ยวกับการแสวงหาแหล่งทุนและความร่วมมือในการ พัฒนารูปแบบวิธีการด้านการขยายกิจกรรมของชุมชน ๓. ประสานงานกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชน ตามความ รับผิดชอบของส่วนราชการ ๔. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด (สพจ.)

๑. ดำ�เนินการจัดทำ�ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนของจังหวัด ๒. ดำ�เนินการและประสานงานเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในจังหวัด ๓. กำ�หนด กำ�กับดูแล ให้คำ�แนะนำ� และสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ ๔. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

สำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ (สพอ.)

๑. ดำ�เนินการและประสานงานเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในอำ�เภอ ๒. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

สำ�หรับกระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชนนี้ มีหน่วยงานและผู้มีส่วน เกีย่ วข้องทีเ่ ป็นหน่วยผูร้ บั ผิดชอบในการวางแผนการพัฒนา จัดทำ�แนวทางการดำ�เนินงาน ดำ�เนินงาน ตามแผน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการพัฒนา โดยมีหน่วยผู้รับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ หน่วยงานรับผิดชอบ

ความรับผิดชอบ

อธิบดีกรมการพัฒนา อนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ชุมชน/รองอธิบดี สำ�นักพัฒนาทุนและ ๑. กำ�หนดนโยบาย แนวทางการปฏิบัติและการสนับสนุนเกี่ยวกับ องค์กรการเงินชุมชน การบริหารจัดการทุนชุมชน ๒. จัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานและแนวทางการดำ�เนินงาน ๓. สร้างความรู้ ความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ๔. กำ�กับ ดูแล ติดตาม/ประเมินผล ๕. รายงานผลต่อผู้บริหาร ๖. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สำ�นักงานพัฒนา ชุมชน-จังหวัด

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชน-อำ�เภอ

๑. คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย ๒. แต่งตั้งคณะทำ�งานตามที่เห็นสมควร ๓. สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมายและภาคีที่ เกี่ยวข้อง ๔. สนับสนุนการดำ�เนินงานตามกระบวนการเสริมสร้างการบริหาร จัดการทุนชุมชน ๕. สนับสนุนสำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอ ในการเสริมสร้างการ บริหารจัดการทุนชุมชน ๖. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ๗. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ๑. คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย ๒. แต่งตั้งคณะทำ�งานตามที่เห็นสมควร ๓.สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมายและภาคีที่ เกี่ยวข้อง ๔. สนับสนุนการดำ�เนินงานตามกระบวนการเสริมสร้างการบริหาร จัดการทุนชุมชน ๕. สนับสนุนและส่งเสริมกลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้ ความสามารถใน การบริหารจัดการทุนชุมชน ๖. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ๗. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

149



คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๒ แผนผังของกระบวนการ

ส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชน (Work Flow)

151


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

152


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

153


154

กระบวนการ : เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อยส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

แผนผังแสดง กระบวนการพัฒนาทุนชุมชน ปี ๒๕๕๕ ๑.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


๑.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

155


๑.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

156


กระบวนการ : เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อยส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุน กข.คจ. ๑.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

157


๑.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

158


กระบวนการ : เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อยส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) ๑.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

159


๑.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

160


๑.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

161


162

กระบวนการ : เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อยส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๑.๔

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


๑.๔

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

163


164

กระบวนการ : เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อยส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

165


๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

166


กระบวนการ : เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อยส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ ๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

167


๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

168


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๓ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล

กระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ประกอบด้วย กระบวนงาน ๒ กระบวนงาน ๖ กระบวนงานย่อย ดังนี้ กระบวนงาน ๑. การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุนชุมชน กระบวนงานย่อย ๑.๑ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กระบวนงานย่อย ๑.๒ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุน กข.คจ. กระบวนงานย่อย ๑.๓ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุนหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง กระบวนงานย่อย ๑.๔ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน กระบวนงาน ๒. การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาทุนชุมชน กระบวนงานย่อย ๒.๑ การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชน กระบวนงานย่อย ๒.๒ การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ

169


170

กระบวนงาน ๑ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อย ๑.๑ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

171


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

172


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

173


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

174


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

175


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

176


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

177


178

กระบวนงาน ๑ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อย ๑.๒ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุน กข.คจ.

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

179


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

180


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

181


182

กระบวนงาน ๑ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อย ๑.๓ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

183


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

184


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

185


186

กระบวนงาน ๑ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนากองทุนชุมชน > กระบวนงานย่อย ๑.๔ การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

187


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

188


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

189


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

190


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

191


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

192


กระบวนงาน ๒ เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาทุนชุมชน > กระบวนงานย่อย ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการจัดทำ�คลังข้อมูลทุนชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

193


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

194


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

195


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

196


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

197


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

198


กระบวนงาน ๒ เสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน > กระบวนงาน : ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาทุนชุมชน > กระบวนงานย่อย ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

199


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

200


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

201


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

202


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสารบันทึก ประกอบคู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน ชื่อเอกสาร

ผู้รับผิดชอบ

สถานที่จัดเก็บ

ระยะเวลา

วิธีการจัดเก็บ

๑. ทะเบียนข้อมูลกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต

พัฒนากร สำ�นักงานพัฒนา นักวิชาการพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ ชุมชนจังหวัด และ จังหวัดและกรมฯ กรมฯ

๒ ปี

จัดเรียงตามจังหวัด อำ�เภอ ตำ�บล ที่ตั้งกลุ่ม ระบุค่า คะแนน ๓๒ ตัวชี้วัด คะแนนรวม จำ�นวนตัวชี้วัด หลักที่ได้ ๓ คะแนน และผลการจัดระดับของกลุ่ม

๒. แบบสำ�รวจข้อมูลการ ดำ�เนินงานกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต เพื่อประเมินผลการ พัฒนากลุ่ม

พัฒนากร

๕ ปี

จัดเรียงรายชื่อกลุ่มตาม ทะเบียนข้อมูลกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต

๓. แบบบันทึกผลการ ประเมินกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตที่มีผลการ จัดระดับการพัฒนาอยู่ ในระดับ ๓ (ดี)

พัฒนากร สำ�นักงานพัฒนา นักวิชาการพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ ชุมชนจังหวัด และ จังหวัดและกรมฯ กรมฯ

๕ ปี

จัดเรียงตามจังหวัด อำ�เภอ ตำ�บล ที่ตั้งกลุ่ม ระบุคะแนน รวม จำ�นวนตัวชี้วัดหลักที่ได้ ๓ คะแนน และผลการจัด ระดับของกลุ่ม

๔. แบบประเมินผลกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ยกระดับจากระดับ ๒ เป็นระดับ ๓

สำ�นักงานพัฒนา พัฒนากร นักวิชาการพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ ชุมชนจังหวัด และ จังหวัดและกรมฯ กรมฯ

๕ ปี

จัดเรียงตามจังหวัด อำ�เภอ ตำ�บล ที่ตั้งกลุ่ม ระบุคะแนนรวม จำ�นวนตัวชี้วัดหลักที่ได้ ๓ คะแนน และผลการจัด ระดับของกลุ่ม

๖. รายงานผลการตรวจ สุขภาพกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต

พัฒนากร นักวิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด อำ�เภอและกรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๑ ปี

จัดเรียงเอกสารรายจังหวัด

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ

203


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ชื่อเอกสาร

204

ผู้รับผิดชอบ

สถานที่จัดเก็บ

ระยะเวลา

วิธีการจัดเก็บ

๗. ระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยการ บริหารและการใช้จ่ายเงิน โครงการแก้ไขปัญหาความ ยากจน พ.ศ. ๒๕๕๓ พร้อมประกาศกรม.

พัฒนากรนัก วิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด อำ�เภอและกรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา จนกว่าจะมี จัดเรียงระเบียบฯ และเอกสาร ประกาศกรมฯ ชุมชนอำ�เภอจังหวัด การ เปลี่ยนแปลง และกรมฯ ระเบียบฯ

๘. คู่มือการดำ�เนินงาน โครงการ กข.คจ. ตาม ระเบียบฯ พ.ศ.๒๕๕๓

พัฒนากร นักวิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด อำ�เภอและกรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๑๐ ปี

จัดเก็บเก็บเป็นรูปเล่ม

๙. คำ�สั่งคณะกรรมการ อำ�นวยการแก้ไขปัญหา ความยากจนจังหวัด/ อำ�เภอ/ตำ�บล

พัฒนากรนัก วิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด อำ�เภอ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัด

๕ ปี

จัดเรียงเป็นหมวดของคำ�สั่ง ระดับจังหวัด อำ�เภอ ตำ�บล

๑๐. รายงานผลการตรวจ พัฒนากรนัก สุขภาพกองทุน กข.คจ. วิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด อำ�เภอและกรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๑ ปี

จัดเรียงเอกสารรายจังหวัด

๑๑. ฐานข้อมูลกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง

พัฒนากร นักวิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด อำ�เภอ และกรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอจังหวัด

ฐานข้อมูลกลาง

๑๒. ทะเบียนรายชื่อ พื้นที่เป้าหมายที่จะจัดตั้ง สถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน

นักวิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด, พัฒนากร

สำ�นักงานพัฒนา ๓ ปี ชุมชนอำ�เภอจังหวัด และกรมฯ

จัดทำ�สรุปงบหน้าทะเบียนราย ชื่อพื้นที่เป้าหมาย ๗๖ จังหวัด

๑๓. เอกสารรายงานการ จัดตั้งสถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชนพร้อม หลักฐานประกอบ จำ�นวน ๑๕๐ แห่ง

อำ�เภอ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๓ ปี

จัดทำ�ทะเบียนเอกสาร เรียงตามภูมิภาค

๑๔. เอกสารคู่มือการ จัดตั้งและพัฒนาสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชน

กรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๑ ปี

จัดทำ�ทะเบียนเอกสารคู่มือ สนับสนุนการดำ�เนินงาน สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ชื่อเอกสาร

ผู้รับผิดชอบ

สถานที่จัดเก็บ

ระยะเวลา

วิธีการจัดเก็บ

๑๕. เอกสารรายงานการ ติดตามประเมินผลการ จัดตั้งสถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน

จังหวัด

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัด กรมฯ

๑ ปี

จัดทำ�สรุปผลการประเมินผล แบบมีส่วนร่วมของจังหวัด

๑๖. สำ�เนาใบประกาศ การรับรองการจัดตั้ง สถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน

จังหวัด .อำ�เภอ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัด กรมฯ

๑ ปี

จัดทำ�ทะเบียนใบประกาศ รับรองการจัดตั้งถาบันการ จัดการเงินทุนชุมชน

๑๗. เอกสารแนวทาง การพัฒนาทุนชุมชน

กรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๑๐ ปี

จัดทำ�เอกสารคู่มือสนับสนุน การดำ�เนินงานการพัฒนาทุน ชุมชน

๑๘. แนวทางการ ดำ�เนินงานเครือข่าย ทุนชุมชน

กรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๑๐ ปี

จัดทำ�เอกสารคู่มือสนับสนุน การดำ�เนินงานการพัฒนาทุน ชุมชน

๑๙. ทะเบียนรายชื่อ หมู่บ้านเป้าหมายใน การดำ�เนินกิจกรรม เสริมสร้างการบริหาร จัดการทุนชุมชน

พัฒนากร นักวิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ

๓ ปี

จัดทำ�สรุป งบหน้าทะเบียนราย ชื่อหมู่บ้านเป้าหมายทั้ง ๗๕ จังหวัด

๒๐. แบบรายงานและ สรุปผลการดำ�เนินงาน

พัฒนากร นักวิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด และกรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ จังหวัดและกรมฯ

๕ ปี

จัดทำ�สรุป ผลการประเมินผล การดำ�เนินงานในภาพรวม

๒๑. เอกสารการจัดการ ความรู้การเสริมสร้าง การบริหารจัดการทุน ชุมชน

พัฒนากร นักวิชาการพัฒนา ชุมชนจังหวัด และกรมฯ

สำ�นักงานพัฒนา ๕ ปี ชุมชนอำ�เภอจังหวัด และกรมฯ

๒๒. คลังข้อมูลทุนชุมชน

พัฒนากร

สำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอ และ หมู่บ้าน

๒๓.

-

จัดทำ�ทะเบียนเอกสาร เรียงตามภูมิภาค

จัดทำ�เอกสารไว้ในหมู่บ้าน

205


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสารอ้างอิง

206

กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จำ�กัด กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๕. รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำ�รับรองการปฏิบัติราชการกรมการ พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕. กรุงเทพฯ : กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน.๒๕๕๓. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการบริหารและการใช้จา่ ยเงิน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ.๒๕๕๓ : สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงิน ชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน.๒๕๕๔. คู่มือการดำ�เนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน ( กข.คจ.). กรุงเทพฯ : บริษทั บีทเี อส เพรส จำ�กัด สำ�นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน.๒๕๕๓. องค์ความรู้ : การดำ�เนินงาน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (สำ�หรับเจ้าหน้าที่). กรุงเทพฯ ๑. หนังสือแนวทางการดำ�เนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ประจำ�ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ๒. หนังสือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำ�รับรองการปฏิบตั ริ าชการ กรมการ พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ๓. แนวทางการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทุนชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๔. แนวทางการดำ�เนินงานเครือข่ายทุนชุมชน ๕. ประมวลความรู้ทุนชุมขน ๖. เอกสารการจัดการความรูก้ ารเสริมสร้างการบริหารจัดการทุนชุมชน จำ�นวน ๑๔๐ แห่ง ๗. แนวทางการพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำ�ริ


คู่มือการปฏิบัติงาน

กระบวนการกระบวนการ พัฒนาสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

208

คูม่ อื การปฏิบตั งิ านกระบวนการสร้างคุณค่า “กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพือ่ การ พัฒนาชุมชน” จัดทำ�ขึ้นเพื่อแสดงขอบเขตของกระบวนการ ความหมาย คำ�จำ�กัดความที่สำ�คัญ แผนผังของกระบวนการ ซึง่ แสดงการไหลของกระบวนงาน ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน กรอบระยะเวลา หน้าที่ความรับผิดชอบ และมาตรฐานงานคุณภาพงาน ตลอดจนระบบการติดตามประเมินผล ตัง้ แต่เริม่ ต้นจนสิน้ สุดการดำ�เนินงาน ประกอบด้วย ๓ กระบวนงาน คือ กระบวนงานจัดเก็บข้อมูล กระบวนงานจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ และกระบวนงานให้บริการและใช้ประโยชน์ขอ้ มูลสารสนเทศ โดยแต่ละกระบวนงาน จำ�แนก ๒ ประเด็น คือ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท และข้อมูลเพื่อการ พัฒนาชุมชน ซึ่งรายละเอียดของแต่ละกระบวนงาน มีดังนี้ ๑. กระบวนงานจัดเก็บข้อมูล ประกอบด้วย การจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท และการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ๒. กระบวนงานจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ ประกอบด้วย การจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ เพือ่ การพัฒนาชนบท :รายงานคุณภาพชีวติ ของคนไทยในชนบท และ การจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาชุมชน ในประเด็น รายงานการพัฒนาหมู่บ้านและตำ�บล และสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาชุมชน ได้แก่ สารสนเทศสำ�หรับผู้บริหาร และสารสนเทศบนอินเทอร์เนต ๓. กระบวนงานให้บริการและใช้ประโยชน์ขอ้ มูลสารสนเทศ ประกอบด้วย การให้บริการ และใช้ประโยชน์ขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ การพัฒนาชนบท และการให้บริการและใช้ประโยชน์ขอ้ มูล สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้อง กับการได้มาซึง่ ข้อมูล การจัดทำ�ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การมีระบบข้อมูลและข้อมูลสารสนเทศ ที่ครบถ้วน ถูกต้องและเชื่อถือได้ การให้บริการและการใช้ประโยชน์ในข้อมูลสารสนเทศชุมชน ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำ�คัญในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการชุมชนได้บนพื้นฐาน ของข้อมูลที่แท้จริงของชุมชน ทั้งนี้ เพื่อให้กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ส่งมอบคุณค่าให้ ประชาชนในชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับประโยชน์ และมีความพึงพอใจในการให้บริการ ด้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชนอย่างสูงสุด


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๑ การพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ความเป็นมาและความสำ�คัญ การดำ�เนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) หมวดที่ ๖ การจัดการกระบวนการ ในปี ๒๕๕๕ กรมการพัฒนาชุมชน ได้ดำ�เนินการวิเคราะห์ ทบทวน ปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำ�เนินการดีขึ้น และป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำ�งานซ้ำ�ซ้อนและความ สูญเสียจากผลการดำ�เนินงาน และกำ�หนดเป็นกระบวนการทัง้ หมด ๑๖ กระบวนการ จำ�แนกเป็น ๑. กระบวนการที่สร้างคุณค่า จำ�นวน ๖ กระบวนการ ๑) พัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน ๒) ส่งเสริมระบบการบริหารจัดการชุมชน ๓) ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ๔) ส่งเสริมการบริหารจัดการทุนชุมชน ๕) พัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๖) การส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ๒. กระบวนการสนับสนุน จำ�นวน ๑๐ กระบวนการ ๑) วางแผนยุทธศาสตร์ ๒) บริหารทรัพยากรบุคคล ๓) จัดการองค์ความรู้ ๔) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และระบบข้อมูลสารสนเทศ ๕) กำ�กับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๖) พัฒนาทรัพยากรบุคคล ๗) การบริหารงบประมาณ ๘) การพัฒนาองค์กร ๙) การประชาสัมพันธ์ ๑๐) การพัฒนาอาคารสถานที่

209


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

“กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพือ่ การพัฒนาชุมชน” เป็นกระบวนงานทีเ่ กีย่ วข้อง กับกระบวนการหลักในการพัฒนาสารสนเทศเพือ่ การพัฒนาชุมชน ๓ กระบวนการ คือ การจัดเก็บ ข้อมูล การจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ และการให้บริการและใช้ประโยชน์ขอ้ มูลสารสนเทศ โดยแต่ละ กระบวนการจำ�แนก ๒ ประเด็น คือ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท และข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติงานดังกล่าวส่งมอบคุณค่าให้ประชาชนในชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับประโยชน์และมีความพึงพอใจในการให้บริการด้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนของ กรมการพัฒนาชุมชนอย่างสูงสุด

วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงานการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนในบริบท ของกรมการพัฒนาชุมชน 210

ขอบเขต “คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน : กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพือ่ การพัฒนาชุมชน” ฉบับนี้ มีเนื้อหาดังนี้ ๑) การจัดเก็บข้อมูล ประกอบด้วย การจัดเก็บข้อมูลเพือ่ การพัฒนาชนบท และการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ๒) การจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ ประกอบด้วย การจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาชนบท : รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทยในชนบท และ การจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาชุมชน ในประเด็น รายงานการพัฒนาหมู่บ้านและตำ�บล และสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาชุมชน ได้แก่ สารสนเทศสำ�หรับผู้บริหาร และสารสนเทศบนอินเทอร์เนต ๓) การให้บริการและใช้ประโยชน์ขอ้ มูลสารสนเทศประกอบด้วย การให้บริการและ ใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท และ การให้บริการและใช้ประโยชน์ข้อมูล สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ

211

คำ�จำ�กัดความ การจัดเก็บข้อมูล (Storage) หมายถึง การนำ�ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการทำ�งาน ทั้งการนำ�เข้า การประมวลผล และการแสดงผลเรียบร้อยแล้วมาทำ�การบันทึกลงในอุปกรณ์ จัดเก็บ ข้อมูล (Storage Device) เพื่อให้สามารถนำ�กลับมาใช้ได้เมื่อต้องการ ข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วมีความหมาย มีคุณค่า และเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ สามารถนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินงานหรือตัดสินใจได้ทันที สารสนเทศที่ได้ อาจจะเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ สัญลักษณ์ ภาพ หรือเสียงก็ได้


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

212

ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) หมายถึง ระบบพื้นฐานของการ ทำ�งานเพือ่ ช่วยการตัดสินใจและการควบคุมในองค์กร การทำ�งานของระบบสารสนเทศ ประกอบ ด้วยกิจกรรม ๓ อย่าง คือ การนำ�เข้า (Input) การประมวลผล (Processing) และการนำ�เสนอ ผลลัพธ์ (Output) การจัดเก็บข้อมูลเพือ่ การพัฒนาชนบท หมายถึง การจัดเก็บข้อมูลความจำ�เป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) ของครัวเรือนทุกครัวเรือนซึง่ อยูใ่ นเชตชนบท (เขตพืน้ ทีข่ ององค์การบริหารส่วนตำ�บล และ เทศบาลตำ�บลที่ยกฐานะจาก อบต.) ซึ่งดำ�เนินการเป็นประจำ�ทุกปี การจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท หมายถึง การเสนอผลของข้อมูล จปฐ. ในแต่ละระดับ ในรูปแบบของโปรแกรมและเอกสารรายงานผล เพือ่ สนับสนุนการวางแผนงาน โครงการและกิจกรรมของทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ดีขึ้น ระบบสารสนเทศสำ�หรับผูบ้ ริหาร (Executive information System: EIS) หมายถึง ระบบสารสนเทศทีถ่ กู พัฒนาขึน้ โดยเฉพาะ เพือ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะ และความสามารถ ในการเข้าถึงสารสนเทศสำ�หรับผู้บริหาร ระบบสารสนเทศบนอินเทอร์เนต เป็นระบบที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้ปริมาณสูง เป็นข้อมูลแบบสือ่ ผสม (มัลติมเี ดีย) มีระบบการค้นคืนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทใี่ ห้ผลการค้นอย่าง รวดเร็วและแม่นยำ� เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ ฯลฯ รายงานคุณภาพชีวติ ของคนไทยในชนบท หมายถึง เอกสารนำ�เสนอภาพรวมคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในเขตชนบทของประเทศไทยในแต่ละปี เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน หรือผู้สนใจ สามารถรับทราบคุณภาพชีวิตของประชาชน ในแต่ละปี รายงานการพัฒนาหมู่บ้าน (Village Development Report: VDR) หมายถึง กระบวนการนำ�ข้อมูลทีจ่ ดั เก็บในพืน้ ที่ ได้แก่ ข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช. ๒ค และข้อมูลทัว่ ไป มาวิเคราะห์ เพือ่ ประเมินสถานะการพัฒนาหมูบ่ า้ น สังเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุ กำ�หนดแนวทางการแก้ไข ปัญหา วางแผนกำ�หนดทิศทางการพัฒนาหมู่บ้าน และจัดทำ�รายงานการพัฒนาหมู่บ้าน (VDR) รายงานการพัฒนาตำ�บล (Tambon Development Report : TDR) หมายถึง กระบวนการนำ�ข้อมูลที่จัดเก็บในพื้นที่ ได้แก่ ข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช. ๒ค และข้อมูลการดำ�เนินงาน ตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน มาวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานะการพัฒนาตำ�บล สังเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุ กำ�หนดแนวทางแก้ไขปัญหา วางแผนกำ�หนด ทิศทางการพัฒนา ตำ�บล และจัดทำ�รายงานการพัฒนาตำ�บล (TDR)


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

หน้าที่ความรับผิดชอบ

213



คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๒ แผนผังของกระบวนการ

พัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน (Work Flow)

215


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

216


กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

217


218

กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท

๑.๑-๑.๒-๓.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

219


220

กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : กระบวนงานจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ๑.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : กระบวนงานจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

221


222

กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : การจัดทำ�รายงานพัฒนาหมู่บ้าน/ตำ�บล (VDR/TDR) ๒.๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนงานจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : การจัดทำ�สารสนเทศสำ�หรับผู้บริหาร ๒.๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

223


224

กระบวนงานจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : การจัดทำ�สารสนเทศบนอินเทอร์เนต ๒.๒.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : กระบวนงานให้บริการและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ๓.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

225


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

226


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

227



คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๓ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย กระบวนงานหลัก ๓ กระบวนงาน ๑. กระบวนงานจัดเก็บข้อมูล ๒. กระบวนงานจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ ๓. กระบวนงานให้บริการและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศ

229


230

กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท

๑.๑-๒.๑-๓.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

231


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

232


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

233


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

234


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

235


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

236


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

237


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

238


การให้บริการและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชนบท : กระบวนงานแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ

๓.๑.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

239


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

240


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

241


242

กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : กระบวนงานจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน

๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

243


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

244


กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : กระบวนงานจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน

๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

245


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

246


กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : การจัดทำ�รายงานการพัฒนาหมู่บ้าน/ตำ�บล (VDR/TDR)

๒.๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

247


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

248


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

249


250

กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : การจัดทำ�สารสนเทศสำ�หรับผู้บริหาร

๒.๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

251


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

252


กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : การจัดทำ�สารสนเทศบนอินเทอร์เนต

๒.๒.๓

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

253


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

254


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

255


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

256


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

257


258

กระบวนการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน : กระบวนงานให้บริการและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน

๓.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

259


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

260


กระบวนงานให้บริการและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมช : กระบวนงานย่อยพัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้านไทย

๓.๒.๑

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

261


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

262


กระบวนงานให้บริการและใช้ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมช : กระบวนงานย่อยให้บริการพื้นที่เว็บไซต์

๓.๒.๒

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

263


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสาร/แบบฟอร์มที่ใช้ ประกอบคูม่ อื การปฏิบตั งิ านกระบวนการทีส่ ร้างคุณค่า: การพัฒนาสารสนเทศเพือ่ การ พัฒนาชุมชน

264


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

265


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสารอ้างอิง ๑. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการบริหารการจัดเก็บข้อมูล ความจำ�เป็นพื้นฐาน (จปฐ.). กรุงเทพฯ ๒. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๓. คู่มือการปฎิบัติงาน กระบวนการที่สร้างคุณค่า. กรุงเทพฯ ๓. กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๔. แนวทางการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค ปี ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ ๔. กรมการพัฒนาชุมชน กลุม่ งานระบบสารสนเทศชุมชน ๒๕๕๓. คูม่ อื การใช้โปรแกรม Logi XML. กรุงเทพฯ ๕. กรมการพัฒนาชุมชน กลุม่ งานระบบสารสนเทศชุมชน ๒๕๕๔. คูม่ อื การจัดทำ�สารสนเทศชุมชน. กรุงเทพฯ

266


คู่มือการปฏิบัติงาน

กระบวนการส่ ง เสริ ม องค์ ความรู้ ด้ า นการพั ฒ นา ชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร

268

คู่มือการปฏิบัติงาน “การส่งเสริมความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน” จัดทำ�ขึ้นเพื่อแสดง ขั้นตอน วิธีการ กรอบระยะเวลา และมาตรฐานคุณภาพงานของกระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ ด้านการพัฒนาชุมชน เพื่อให้การส่งเสริมความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน เป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน และเพื่อให้บุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน ศึกษาแนวทาง และวิธีการในการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองได้อย่างถูกต้อง ประกอบด้วย ๒ กระบวนการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ๑. กระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย การหาความจำ�เป็น การวิเคราะห์ความจำ�เป็น การออกแบบ/พัฒนาหลักสูตร การดำ�เนินการตามหลักสูตร และการ ประเมินผล ๒. กระบวนการให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย การจัดทำ�ฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล การเผยแพร่ การให้บริการ และการประเมินผล การส่งเสริมความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน มุ่งเน้นให้บุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน สามารถปฏิบตั งิ านบนฐานความรู้ มีวฒ ั นธรรมการปฏิบตั งิ านทีม่ งุ่ ผลสัมฤทธิข์ องงานและการส่งมอบ บริการที่มีคุณค่าและมีคุณภาพแก่ประชาชน เพื่อเป็นพลังในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ องค์กร และสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันต่อไป


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๑ กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการ พัฒนาชุมชน

ความเป็นมาและความสำ�คัญ สำ � นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้ นำ � เกณฑ์ ก ารพั ฒ นา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการ การดำ�เนินการของ ส่วนราชการ เพือ่ ยกระดับการบริหารจัดการของส่วนราชการให้มมี าตรฐานสามารถส่งมอบผลผลิต และบริการที่มีคุณค่าให้แก่ผู้รับบริการ กรมการพัฒนาชุมชนได้กำ�หนดวิสัยทัศน์ “ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง” และมีภารกิจเกี่ยวกับ การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริม และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนบนฐานรากให้มนั่ คงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มกี ารจัดทำ�และ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย จัดทำ�ยุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการ ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน กรมการพัฒนาชุมชนจึงกำ�หนดกระบวนการทีส่ ร้างคุณค่า และกำ�หนดให้มกี ระบวนการ ส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน เพื่อให้การส่งเสริมความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนของ กรมการพัฒนาชุมชนเป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน และเพือ่ ให้บคุ ลากรของกรมการพัฒนาชุมชน สามารถเลือกกำ�หนดแนวทาง และวิธีการในการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองได้อย่างถูกต้องอัน จะนำ�ไปสู่การบรรลุเป้าหมายภารกิจ และวิสัยทัศน์กรมการพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชีว้ ดั ผลสำ�เร็จของกระบวนการส่งเสริมองค์ความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชน ซึง่ ประกอบด้วย กระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชนและกระบวนการให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน คือ ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการและผูเ้ กีย่ วข้อง เพือ่ ส่งเสริมให้ชมุ ชนมีความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชน อันจะนำ�ไปสู่ชุมชนเข้มแข็งแรง และเศรษฐกิจฐานรากมั่นคง

269


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เกี่ยวข้อง และที่ผู้สนใจมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถ นำ�กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชนไปใช้ได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาชุมชนบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เพื่อให้กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนา ชุมชนเป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน ๓. เพือ่ เป็นแนวทางปรับปรุงกระบวนการส่งเสริมองค์ความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชนของ กรมการพัฒนาชุมชนให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ขอบเขตของกระบวนการ 270

กระบวนการส่งเสริมองค์ความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน มีสถาบัน การพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย ๒ กระบวนการ คือ ๑) กระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน และ๒) กระบวนการให้บริการ ด้านการพัฒนาชุมชน โดยมีรายละเอียด ระยะเวลาการปฏิบตั งิ าน จำ�นวนผูป้ ฏิบตั งิ านทีร่ บั ผิดชอบ และเอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามข้อกำ�หนดของกระบวนการ

กรอบแนวคิดของกระบวนการ กรอบแนวคิดของกระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนของกรมการ พัฒนาชุมชน กำ�หนดขึน้ เพือ่ ให้การส่งเสริมความด้านการพัฒนาชุมชนเป็นระบบและมีมาตรฐาน เดียวกัน และเพื่อให้บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชน สามารถเลือกกำ�หนดแนวทาง และวิธี การในการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองได้อย่างถูกต้อง สามารถเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาชุมชนได้ เพื่อมุ่งเน้นการสร้างความเป็นเลิศด้านการพัฒนาชุมชน ด้วยการหล่อหลอม ประสบการณ์การทำ�งานตามหลักการพัฒนาชุมชนอันยาวนาน มาสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ ด้วยการพัฒนา ค้นหารูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชน และการจัดการนวัตกรรมด้านการ พัฒนาชุมชนที่เหมาะสมด้วยกระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน และการให้บริการด้าน การพัฒนาชุมชน


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญของกระบวนการ กรมการพัฒนาชุมชนได้กำ�หนดแนวทางที่สำ�คัญของกระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ ด้านการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย ๒ กระบวนการ คือ ๑) กระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนา ชุมชน ๒) กระบวนการให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน ดังนี้ ๑. กระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดกระบวนการ ๑. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้อง ๒. จำ�นวนผู้รับบริการกลับมาใช้บริการอีก ประเด็นการ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ กำ�หนดที่สำ�คัญ ๑ ความต้องการ -ความรู้ด้านการพัฒนา ของผู้รับบริการ ชุมชนทีส่ ามารถนำ�ไป ประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงานได้ -ความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ ๒ ความต้องการของ -มีประสิทธิภาพ ผู้มีส่วนได้ส่วน -ใช้งานได้ -บรรลุภารกิจองค์กร เสีย -ชุมชนเข้มแข็ง -แก้ไขปัญหาชุมชน ที่

๓ ระเบียบ/ ข้อกฎหมาย

-ระเบียบเกี่ยวข้อง กับการฝึก อบรม(กระทรวงการ คลัง) ๔ การใช้เทคโนโลยี -อุปกรณ์ทันสมัยใช้ สารสนเทศ งานได้ -มีคนที่ทำ�งาน/ใช้ อุปกรณ์ที่ทันสมัยได้ -มีข้อมูลสนับสนุน การฝึกอบรม

เป้าหมาย/ผลลัพธ์ -มีความรู้ด้านการ พัฒนาชุมชนที่ สามารถนำ�ไปใช้ ปฏิบัติได้จริง -สื่อ คู่มือ -ชุมชนมีการบริหาร จัดการตนเองได้ -ภารกิจขององค์กร บรรลุเป้าหมาย อย่างมี ประสิทธิภาพ -ถูกต้องตาม ระเบียบ -ใช้งานสะดวก รวดเร็ว

หน่วยรับ ผิดชอบ -มีความรู้ด้านการ สพช. พัฒนาชุมชนเพิ่ม ขึ้น -มีระดับความพึง พอใจเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดภายใน

-ชุมชนมีความ เข้มแข็งมากขึ้น

สพช.

-ไม่เกิดความ ผิดพลาด

สพช./กอง คลัง

-ข้อมูลทันสมัย ศูนย์สารสน เทศฯ ถูกต้อง -อุปกรณ์ทันสมัย ใช้งานได้

271


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ประเด็นการ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ กำ�หนดที่สำ�คัญ ๕ การบริหาร ความ -กลุ่มเป้าหมายถูก ต้อง/ครบจำ�นวน เสี่ยงและการ ควบคุมภายใน -วิทยากรมีความ เชี่ยวชาญ -มีแผนป้องกันความ เสี่ยงด้านกลุ่มเป้า หมาย,วิทยากร ๖ การสื่อสาร -มีการทำ�ความเข้าใจ สร้างความเข้าใจ กลุ่มเป้าหมายผู้ เกี่ยวข้องวิทยากร -มีช่องทางการสื่อสาร หลายรูปแบบ ๗ ความคุ้มค่าและ -มีต้นทุนต่อหน่วย การลงทุน เหมาะสม -กลุ่มเป้าหมายครบ/ เสร็จตามกำ�หนดเวลา ที่

272

เป้าหมาย/ผลลัพธ์

ตัวชี้วัดภายใน

-การฝึกอบรมบรรลุ -การดำ�เนินงาน ตามแผน บรรลุตามแผน โดยสามารถ ควบคุมความ เสี่ยงได้ -ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจ/ -จำ�นวนผู้ใช้ รับรู้/เข้าใจต้องการ บริการ ใช้บริการ -บรรลุตาม วัตถุประสงค์ โครงการที่เป็น รูปธรรม

หน่วยรับ ผิดชอบ สพช./กอง แผนงาน/ หน่วยตรวจ สอบ

สพช.

-จำ�นวนกิจกรรม/ สพช./กค./ กผ. ผลผลิตจาก โครงการ

๒. กระบวนการให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดกระบวนการ ๑. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้อง ๒. จำ�นวนผู้รับบริการกลับมาใช้บริการอีก ประเด็นการ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ กำ�หนดที่สำ�คัญ ๑ ความต้องการ -การให้บริการที่ตรง ของผู้รับบริการ ความต้องการ -มีประโยชน์ใช้ได้จริง -ให้บริการได้อย่าง รวดเร็ว/ถูกต้อง/ เข้าถึงง่าย ที่

เป้าหมาย/ผลลัพธ์ -ตอบสนองความ ต้องการต่อกลุ่ม เป้าหมายได้อย่าง รวดเร็ว

ตัวชี้วัดภายใน -ระดับความพึง พอใจของผู้รับ บริการ

หน่วยรับ ผิดชอบ สพช.


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ประเด็นการ ข้อกำ�หนดที่สำ�คัญ กำ�หนดที่สำ�คัญ ๒ ความต้องการของ -มีความหลากหลาย ผู้มีส่วนได้ส่วน ของการใช้บริการ -มีการ Update สิ่งที่ เสีย ให้บริการ -มีส่วนในการสนับสนุน ภารกิจขององค์กร ๓ ระเบียบ/ -พรบ. Computer ข้อกฎหมาย ที่

๔ การใช้เทคโนโลยี -อุปกรณ์ทันสมัยใช้ สารสนเทศ งานได้ -มีคนที่ทำ�งาน/ใช้ อุปกรณ์ที่ทันสมัยได้ -ความผิดพลาดของ ๕ การบริหาร ความเสี่ยงและ ผู้ใช้ข้อมูล -มีแผนการในการ การควบคุม บริหารจัดการการให้ ภายใน บริการ ๖ การสื่อสาร -มีการทำ�ความเข้าใจ สร้างความเข้าใจ กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ เกี่ยวข้อง ๗ ความคุ้มค่าและ -มีต้นทุนต่อหน่วย การลงทุน เหมาะสม

เป้าหมาย/ผลลัพธ์

ตัวชี้วัดภายใน

-รูปแบบการบริการ -ช่องทางที่ มีประสิทธิภาพและ สามารถเข้าถึง ประสิทธิผล

-สร้างความเชื่อ มั่นของผู้รับ บริการ -ข้อมูลทันสมัย ถูกต้อง -อุปกรณ์ทัน สมัยใช้งานได้ -การให้บริการบรรลุ -การดำ�เนินงาน ตามแผน บรรลุเป้าหมาย สามารถควบคุม ความเสี่ยงได้

-ปกป้องสิทธิส่วน ตัวข้อมูลของผู้รับ บริการ -ใช้งานสะดวก รวดเร็ว

-ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจ/ รับรู้/เข้าใจต้องการ ใช้บริการ -บรรลุความ ต้องการของผู้รับ บริการ

หน่วยรับ ผิดชอบ สพช.

สพช./กค. ศูนย์ สารสนเทศ สพช./กผ./ กค./หน่วย ตรวจสอบ

-จำ�นวนผู้ใช้ บริการ

สพช.

-จำ�นวนผู้รับ บริการ

สพช./กผ./ กค.

273


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

คำ�จำ�กัดความ กระบวนการส่งเสริมองค์ความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชน หมายถึง กระบวนการทีก่ �ำ หนด ขึน้ เพือ่ ให้การส่งเสริมองค์ความด้านการพัฒนาชุมชนเป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน ประกอบ ด้วย ๒ กระบวนการ คือ ๑) กระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน ๒) กระบวนการให้บริการ ด้านการพัฒนาชุมชน กระบวนการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน หมายถึง ข้อกำ�หนดทีส่ �ำ คัญในการดำ�เนิน การฝึกอบรม ประกอบด้วย การหาความจำ�เป็น การวิเคราะห์ความจำ�เป็น การออกแบบ/พัฒนา หลักสูตร การดำ�เนินการตามหลักสูตร และการประเมินผล กระบวนการให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน หมายถึง ข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้องกับการ ให้บริการ ประกอบด้วย การจัดทำ�ฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล การเผยแพร่ การให้บริการ และการประเมินผล 274

หน้าที่ความรับผิดชอบ

กระบวนการส่งเสริมองค์ความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชน มีหน่วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ หลักคือสถาบันการพัฒนาชุมชน มีอำ�นาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำ�เนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรม และพัฒนาข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องของกรมการพัฒนาชุมชน รวมทั้งการให้บริการ ทางวิชาการด้านการพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานพัฒนาชุมชน ดำ�เนินการพัฒนาศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชุมชนเพือ่ ให้บริการความรูด้ า้ นการพัฒนาชุมชนทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับสภาพพืน้ ที่ แก่ขา้ ราชการในส่วนภูมภิ าค ผูน้ �ำ ชุมชน ผูบ้ ริหารและข้าราชการท้องถิน่ รวมทัง้ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ดำ�เนินการเกีย่ วกับการจัดการความรูใ้ นงานพัฒนาชุมชนและเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง ปฏิบตั ิ งานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องหรือทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดย มีการแบ่งงานภายในสถาบันการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย ๑) กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงาน ระบบข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และงบประมาณ งานการเรียนรู้ตามแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) งานการลาศึกษาต่อและทุนการศึกษา งานประสานศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน งานลูกค้า สัมพันธ์และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

๒) กลุ่มงานส่งเสริมมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ งานพัฒนาและส่งเสริมมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานวัดผลการฝึกอบรม งานรับรอง หลักสูตร งานพัฒนาผูป้ ฏิบตั งิ านพัฒนาบุคลากรและปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ๓) กลุ่มงานจัดการความรู้ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานบริการวิชาการ งานจัดการ ความรู้ งานผลิตและบริการสื่อ งานห้องสมุด งานเรียนรู้ทางไกลผ่านสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๔) กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนา งานวิจัย หลักสูตร งานให้คำ�ปรึกษาและปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๕) วิทยาลัยการพัฒนาชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของโรงเรียน นักบริหารงานพัฒนาชุมชน โรงเรียนนักพัฒนาชุมชน ศูนย์ส่งเสริมความเป็นเลิศ (หลักสูตรเสริม สมรรถนะและหลักสูตรพิเศษ) และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๖) ศูนย์วิทยบริการ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานฝึกอบรมผู้นำ� อาสาสมัครและ บุคลากรภายนอก งานฝึกอบรมหลักสูตรต่างประเทศ งานประชาสัมพันธ์หลักสูตรเพื่อส่งเสริม การตลาด และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๗) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบในเขตพื้นที่การให้บริการตามที่ กรมการพัฒนาชุมชนกำ�หนดเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนา และการบริการให้คำ�ปรึกษาด้านการ พัฒนาชุมชน งานฝึกอบรมและให้บริการด้านการฝึกอบรม งานสนับสนุนการจัดการความรู้ งานพัฒนา ความเป็นเลิศทางวิชาการเฉพาะทาง และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๘) ฝ่ายอำ�นวยการ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านบริหารทัว่ ไป งานสารบรรณ งานการเจ้าหน้าที่ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุของสถาบันและปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องตามที่ ได้รับมอบหมาย

275


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

276


กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน: กระบวนการย่อยการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

277


278

กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน: กระบวนการย่อยการให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

ส่ ว นที ่ ๓ ขั้นตอนการปฏิบัติ มาตรฐานคุณภาพงาน และ การติดตามประเมินผล

กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน ประกอบด้วยกระบวนการย่อย ดังนี้ l การฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน - การหาความจำ�เป็นและการวิเคราะห์ความจำ�เป็น - การออกแบบ/การพัฒนาหลักสูตร - การดำ�เนินการตามหลักสูตร - การประเมินผล l การให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน - การขาดความจำ�เป็นและการวิเคราะห์ความจำ�เป็น - การออกแบบการให้บริการ - การให้บริการ - การประเมินผล

279


280

กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน: กระบวนการย่อยการฝึกอบรมด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า


กระบวนการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชน: กระบวนการย่อยการให้บริการด้านการพัฒนาชุมชน

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

281


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

เอกสารอ้างอิง กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๒. มาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เล่มที่ ๓: คู่มือ การขอรับรองมาตรฐานหลักสูตร. กรุงเทพ ฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๑. ๒๗ หน้า กรมการพัฒนาชุมชน. ๒๕๕๒. มาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เล่มที่ ๔: คู่มือ การขอรับรองมาตรฐานการดำ�เนินการฝึกอบรม. กรุงเทพ ฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๑. ๔๖ หน้า กรมการพัฒนาชุมชน .๒๕๓๓. คู่มือการปฏิบัติงาน “กระบวนการพัฒนาทรัพยากร บุคคล” กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ ๑.๓๗ หน้า

282


คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า

คณะผู้จัดทำ�

ที่ปรึกษา

๑. นายประภาศ ๒. นางกอบแก้ว ๓. นายพิสันติ์ ๔. นายนิสิต ๕. นายวีระศักดิ์ ๖. นางสาวขนิฎฐา ๗. นางอัจฉราวรรณ

ประสานงานข้อมูล

๑. นายธานี ๒. นายอรรณพ ๓. นายวิฑูรย์ ๔. นายวิจิตร ๕. นางสาวมนทิรา

รวบรวม

๑. ว่าที่ พ.ต. สุเนตร ๒. นายเหม ๓. นางสาวจริยา ๔. นายศรีสุวัฒน์ ๕. นายชัยวุฒิ ๖. นางสาวปวิตรี

บุญยินดี จันทร์ดี ประทานชวโน จันทร์สมวงศ์ ประภาวัฒน์เวช กาญจนรังษีนนท์ มณีขัติย์

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ผู้อำ�นวยการสำ�นักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นฯ นักวิชาการพัฒนาชุมชนเชี่ยวชาญ ที่ปรึกษาอธิบดีฯ นักวิชาการพัฒนาชุมชนเชี่ยวชาญ ที่ปรึกษาอธิบดีฯ

วรรณพัฒน์ สุจริตฉันท์ นวลนุกูล ธรรมฤาชุ เข็มทอง

ผู้อำ�นวยการกลุ่มงานส่งเสริมผู้ประกอบการ ผู้อำ�นวยการกลุ่มงานส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ งานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ผู้อำ�นวยการกลุ่มงานส่งเสริมการตลาด หัวหน้าฝ่ายอำ�นวยการ

ทองดี เอ็ม เอ็ม คงตุก สืบบุตร ไชยชนะ อังกุลดี

ผู้อำ�นวยการกลุ่มงานประสานแผนและข้อมูล นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำ�นาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ

ข้อมูลทางบรรณานุกรม ผู้เขียน ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ ผู้พิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์เมื่อ ISBN

: กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย : คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนการสร้างคุณค่า : กรุงเทพมหานคร : สำ�นักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน : พิมพ์ครั้งที่ ๑ : กรกฎาคม ๒๕๕๕ : ๙๗๘-๙๗๔-๔๒๓-๑๒๔-๖

283


พิมพ์ที่ บริษัทอัพทรูยู ครีเอทนิว จำ�กัด โทรศัพท์ 02-964-8484, 085-8458468 โทรสาร 02-964-8384


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.