SUBCULTURE MENSWEAR

Page 1

BEGIN OF STYLES 1940 - 1970




CONTENTS CHAPTER 00

CHAPTER 02

INTRODUCTION History Clothing Fashion ? What’s Menswear Fashion Never D!E Subculture Style

WORK HARD PLAY HARD Mod

CHAPTER 01

EDWARDIAN BRING BACK

Teddy Boy


CHAPTER 03

CHAPTER 04

WHITE POWER Skinhead

FREE SPIRIT Hippie

Hip hop

STREET MAKER CHAPTER 05

PUNK


CHAPTER 00

INTRODUCTION ปัจจุบันนี้วัยรุ่นผู้ชายได้หันมาเริ่มสนใจดูแลตัวเองให้ดูดีมากขึ้น กว่าแต่ก่อนมาก จะเห็นได้ว่าวัยรุ่นผู้ชายนั้นก็ความสนใจกับเสื้อผ้า เครือ่ งแต่งกายหรือแฟชัน่ มากยิง่ ขึน้ การแต่งตัวออกจากบ้านในทุกวัน ถ้าพูดถึงคนที่ไม่ได้สนใจเรื่องแฟชั่นก็อาจจะแค่หาอะไรมาใส่ให้ตัว เองใช้ชีวิตประจ�ำไว้ ไปวันต่อวัน แต่ก็มีคนอีกประเภทที่ให้ความสนใจ กับเครื่องการแต่งตัวในแต่ละวันเป็นอย่างมาก ต้องดูดีศรีษะจรด ปลายเท้า แต่ต้องยอมรับว่าบ้านเรานั้นอาจจะยังไม่มีสไตล์ที่เป็นของ ตัวเองอย่างใคร ส่วนใหญ่ก็เริ่มมาจากความชื่นชอบหรือสนใจสไตล์ ต่างๆ ที่พบเห็นจากสื่อหรือดารานักร้องนักแสดงคือเป็นเพียงการ หยิบยืมรูปแบบการแต่งกายมาจากบุคคลอื่นๆเท่านั้น เรื่องจริงที่ว่า แฟชั่นมันก็คือเพียงกระแสนะช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้นผ่านมาเดี๋ยวก็ ผ่านไปแต่ถ้าเราสามารถรั บ รู ้ เ รื่ อ งราวของสไตล์ ที่ เ ราสนใจหรือ สวมใส่อยุ่จะดีแค่ไหน ? เราจะสามารถสนุกไปกับการแต่งตัวขึ้น ไหม ? ถ้าเราได้รู้จักสไตล์นั้นๆอย่างแท้จริง หรือ บางคนถ้าลองได้ ศึ ก ษารู ้ เ รื่ อ งราวประวั ติ ศ าสตร์ แ ฟชั่ น เหล่ า นี้ อ าจท� ำ ให้ เ กิ ด แรง บันดาลใจในการแต่งตัวออกจากบ้านอย่างมั่นใจมากขึ้นไหม?อาจ จะสามารถสร้างคาแรคเตอร์ ให้กับตัวเองโดยที่ไม่ต้องเหมื อ นใคร อี ก ต่ อ ไปก็ ไ ด้

00


INTRODUCTION

01


CHAPTER 00

HISTORY CLOTHING มนุษย์ ให้ความส�ำคัญกับการห่อหุ้มร่างกายและถือ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์มาอย่าง ยาวนาน เริ่มจากความต้องการพื้นฐานของยุคก่อน ประวัติศาสตร์มนุษย์หินมีเครื่องแต่งกายที่มีวัตถุดิบที่ ใช้ท�ำเครื่องนุ่งห่มเพื่อการปป้องร่างกายจากสภาพ อากาศและกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันเป็นหลักความ แห้ ง ความหนาวท� ำ ให้ พ วกน� ำ หนั ง สั ต ว์ ที่ ไ ด้ จ าก การล่ ามาท� ำ เป็ นเครื่ อ งนุ่งห่ม เพื่อท�ำ ให้ร่างกาย อบอุ่นเมื่อมนุษย์ ได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมและ อารยธรรมจึงท�ำให้เกิดการพัฒนาทางด้านเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายไปด้วยภายหลังมนุษย์ ไม่ได้ ใช้เสื้อผ้า เครื่ิองแต่งกายไว้ใช้เพียงประโยชน์ ใช้สอยเท่านั้นแต่ใช้ การบ่ง บองชนชั้นสถานะทางสังคม รวมไปถึงใช้ใน การดึงดูดเพศตรงข้ามอีกด้วย

02


INTRODUCTION

FASHION มีคำ�นิยามอยุ่ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ทางสังคมไปในแนวทางใดแนวทางหนึ่งที่ ได้รับการ ยอมรับหรือความนิยมแต่จำ�อยุ่เพียงช่วงเวลาหนึ่ง เท่านั้นเพราะจะมีสิ่งใหม่มาทดแทนเสมอ ดังนั้นคำ�ว่า “แฟชั่น”อาจหมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นมาและถูกเปลี่ยน ผ่านไปอย่างรวดเร็วหรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นซ้ำ�แล้วซ้ำ�อีก ได้ในบางครั้ง ซึ่งในอดีตในแฟชั่นอาจถูกจำ�กัดอยุ่ใน กลุ่มราชวงค์คนชนชั้นสูง แต่ภายหลังจากนั้นกลุ่ม

คนชนชั้นล่างก็ทำ�การหยิบยืมลักษณะเครื่องแต่งกาย ของเหล่าบุคคลในสังคมชนชั้นสูงมาเพื่อเป็นการบ่ง บอกตัวตนหรือสถานะเทียบเท่ากับสังคมชนชั้นสูงอีก ทางเชือ่ ว่าการทีล่ กั ษณะการแต่งกายหรือแฟชัน่ ต่างๆที่ เกิดความแพร่ขยายไปได้เพราะการทีผ่ ทู้ ม่ี ฐี านะต่ำ�กว่า นัน้ ลอกเลียนแบบผูท้ ม่ี ฐี านะสูงกว่า เป็นอีกหนึง่ ปัจจัยที ทำ�ให้เกิดการขับเคลือ่ นทางสัมคมอีกด้วย

03


CHAPTER 00

04


INTRODUCTION

MENSWEAR “ แฟชั่น กับ ผู้ชาย ” ก่อนหน้านั้นเรื่องนี้อาจ เป็ น สิ่ ง ที่ ผู้ช ายอาจมองข้ า มแต่ ค วามจริ ง แล้ ว ต้ อ ง ยอมรั บ เลยว่ า แฟชั่ น เครื่ อ งแต่ ง กายกั บ ผู้ ช ายนั้ น ถือว่ามีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานมากกว่าที่คิด ถ้าหากเราย้อนสังเกตไปดูในอดีตจะพบว่าการออก จากบ้านแต่ละครั้งผู้ชายทั้งหลายก็จำ�เป็นจะต้องสวม ใส่ด้วยสิ่งที่มั่นใจตั้งแต่หัวจรดเท้าความมั่นใจที่ว่านี้ ไม่ใช่สิ่งที่หาซื้อได้จากที่ไหนเพราะเสื้อผ้าที่ดีที่สุดล้วน ออกแบบมาจากลักษณะการใช้งานและโอกาสต่างๆ โดยเริ่มแรกนั้นการแต่งกายของผู้ชายนั้นสามารถ ใช้ ในการแสดงฐานะทางสังคมได้เป็นอย่างดีชายชั้น สูงศักดิ์ ในยุโรปนิยมแต่งกายกันอย่างจัดจ้านไม่แพ้ ผู้หญิงในช่วงปลายศริสต์ศวรรษที่ 18 การแต่งกาย ถูกเน้นความเป็นชายมากขึ้นทำ�ให้เห็นถึงความเรียบ ง่ายสง่างามเกิดเป็นแนวทางใหม่ของผู้ชายในยุคนั้น และเป็นช่วงยุคต้นกำ�เนิดของชุดสูทที่นิยมใส่กันมาถึง ปัจจุบันและมีการพัฒนาของการแต่งกายทำ�ให้เกิด การแต่งกายต่าง ๆ

ปัจจุบนั นีผ้ ชู้ ายให้ความสำ�คัญกับการแต่งกายมาก ขึน้ เรียกง่ายๆ คือ ผูช้ ายสมัยนีแ้ ต่งตัวเกงมากขึน้ มี ความสนใจแฟชั่นสไตล์การแต่งตัวต่างๆมากกว่าแต่ ก่อนเพราะการเลือกเสือ้ ผ้าทีจ่ ะมาสวมใส่ในแต่ละวันนัน้ สามารถบ่งบอกความเป็นตัวเองได้เป็นอย่างดีสง่ิ เดียว ที่จะทำ�ให้คนคนหนึ่งมั่นใจกับชุดที่สวมใส่แต่เป็นความ เข้าใจและรู้สึกอย่างแท้จริงในคาแรกเตอร์ท่เี ฉพาะตัวมี สไตล์ที่ต่างกันอยู่ในแต่ละบุคคล สไตล์เหล่านั้นเกิด มาจากอะไร? ถ้าสไตล์เกิดมาจากเสือ้ ผ้าทีส่ วมใส่อย่าง เดียวเราคงแต่งตัวเหมือนกันไปหมดสิ่งที่สำ�คัญที่อยู่ เหนือกว่านัน้ และล้วนมี ความแตกต่างไม่ซำ�้ กัน คือตัว ตนของบุคคลทีแ่ ท้จริง ความสนใจ หลงใหล หมกมุน่ ทีม่ ี ให้กบั เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่

05


CHAPTER 00

06


INTRODUCTION

นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เราพัฒนาและปรับ เปลี่ยนกันไปเรื่อย ๆ ตามแต่ยุคสมัยซึ่งในแต่ละ ยุ ค นั้ น แฟชั่ น สามารถสื่ อ ความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด และ ชีวิตของคนในยุคนั้น ๆ อีกด้วย คำ�ว่า “แฟชั่น” นั้น จริงๆแล้วไม่มีคำ�จำ�กัดความที่ชัดเจน พราะมี การหมุนเวียนไปและวนกลับมาอีกขึ้นอยุ่กับช่วง เวลาที่ถูกนำ�มาใช้ เพราะ “แฟชั่นนั้นไม่มีวันตาย” ในแต่ละยุคนั้นมีเสน่ห์เฉพาะในตัวตนของมันเอง แฟชั่นบางยุคถูกนำ�กลับมาใช้อีกครั้งอย่างลงตัว แต่ก็ขึ้นอยุ่กับรสนิยมในการนำ�มาใช้ของแต่ละคน

07


CHAPTER 00

SUBCULTURE Subculture (วัฒนธรรมย่อย) ตามหลัก สังคมวิทยานั้น หมายถึง กลุ่มสังคมที่มีการยึดถือ บรรทัดฐานหรือมีการดำ�เนินชีวิตที่แตกต่างไปจาก สังคมส่วนใหญ่ กล่าวง่ายๆ คือกลุ่มคนที่มีความสนใจ ในเรือ่ งเดียวกัน พูดจาภาษาเดียวกัน มีการดำ�เนิน ชี วิ ต เป็ น ของตั ว เองที่ แ ตกต่ า งจากสั ง คมส่ ว น ใหญ่ม ี ค วามคิ ด ความสนใจ ความลุ ่ ม หลงใน ด้านเดียวกัน ไม่ ว ่ า จะเป็ น ดนตรี ศิ ล ปะปรัชญา ศาสนา คนที่มีทัศนคติที่เหมือนกัน รวมไปถึงแฟชั่น ที่มีรสนิยมเหมือนกันซึ่งในขณะนั้นวัฒนธรรมย่อย เหล่านี้อาจดูเป็นเรื่องที่ใหม่ของสังคม เพราะเป็น เพียงกลุ่มคนเล็กๆที่สนใจเรื่องเดียวกันเท่านั้นและ ต่ อ มาถึ ง ขยายความนิ ย มจากคนกลุ่ ม เล็ ก ๆไปสู่ สังคมทั่วโลกได้

Subculture ก็ยังเป็นตัวของตัวเอง เพราะ ยังไม่ ได้ถือเป็นสิ่งที่คนในสังคมให้ความสนใจ ยึดถือตามเพราะเป็นวัฒนธรรมที่เกิจากคน กลุ่มหนึ่งเท่านั้น

STYLE

หากพูดถึงวัฒนธรรมย่อยทางด้านแฟชั่นเครื่องแต่งกายนั้นอาจหมายถึงกลุ่มคนที่มีรสนิยม การแต่งตัว ที่ความชื่นชอบในสไตล์ที่เหมือนกัน มีความต้องการ ความแตกต่าง เป็นกลุ่มคนที่แสดงออกบาง สิ่งบางอย่างผ่านเสื้อผ้าไปสู่สังคมเพราะคนเหล่านี้จะใช้การเสื้อผ้าเป็นเครื่องหมายที่แสดงให้เห็นถึงความแตก ต่าง ระหว่างจนเองกับคนกลุ่มใหญ่ แต่ว่าสไตล์เหล่านี้ถือเป็นสิ่งที่ผลักดันให้อุตสาหกรรม แฟชั่นนั้นขนาดตัว มาถึงปัจจุบัน

08


INTRODUCTION

09


CHAPTER 00

สไตล์ต่างๆที่เกิดจากวัฒนธรรมย่อยนั้นมีต้นกำ�เนิดมาจากหลายปัจจัย ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเกิดจากความต้องการที่จะแสดงตัวตนในสังคมไม่ อยากทำ�ตามวัฒนธรรมเดิมๆของคนกลุ่มใหญ่รวมไปถึงเรื่องของรสนิยม ที่ต่างจากคนอื่น ซึ่งสามารถแบ่งเรื่องราวหลักของปัจจัยที่เกี่ยวข้องทำ�ให้ เกิดวัฒนธรรมย่อยได้ดังนี้

10


INTRODUCTION

SUBCULTURE STYLE

11


CHAPTER 00

17


INTRODUCTION

CULTURE ถึ ง แม้ วั ฒ นธรรมย่ อ ยนั้ น ต้ อ งการที่ จ ะสร้ า ง ความแตกต่ า งจากวั ฒ นธรรมหลั ก เดิ ม ๆแต่ ก็ ปฏิเสธไม่ ได้ว่าวัฒนธรรมสายหลักนั้นก็ส่งผล ต่อวัฒนธรรมย่อยต่างๆวัฒนธรรมที่ต่างกันใน แต่ละพื้น ที่แต่ล ะสังคมที่ต่า งกัน มีเรื่องราว มากมายในประวัติศาสตร์ที่ส่งผลท�ำให้เกิดสไตล์ แต่โดยส่วนใหญ่จะเป็นการหยิบยืมบางส่วนมา พัฒนาและดัดแปลงให้เป็นตัวเองตัวเอง

18


CHAPTER 00

SOCIETY การมี ลั ก ษณะการด�ำเนิ น ชี วิ ต การมี สั ง คมของ แต่ ล ะคนนั้ น ย่ อ มมี ค วามแตกต่ า งกั น อยู ่ แ ล้ ว แต่ในความแตกต่างของแต่ละคนจะมีส่วนหนึ่งมี ความสนใจในเรื่องเดียวกันมีรสนิยมเหมือนกัน รวมไปถึงความต้องการที่จะท�ำให้ตัวเองมีพื้นที่ ในสังคมโดยใช้เครื่องแต่งกายเป็สัญลักษณ์ ใน การแสดงออกการแแยกตั ว ออกจากสั ง คมใน ขณะเดียวกันก็เพื่อแสดงความต่อต้านกับสังคม ออกมาให้เห็น กล่าวคือ ถึงแม้เราต้องการที่จะ แตกต่างกับคนกลุ่มใหญ่แต่ถึงอย่างไรเราก็ยัง อยากมีตัวตนบนพื้นที่สังคมกลุ่มย่อยนั้น เพราะ ฉะนั้นการกระท�ำตามสังคมไม่ว่าจะคนกลุ่มใหญ่ หรือ คนกลุ่มย่อยหรือการต้องการแสดงออกใน ความแตกต่างก็มีผล

21


INTRODUCTION

22


CHAPTER 00

ECONOMY ปั จ จั ย ทางเศรษฐกิ จ ถื อ ว่ า เป็ น อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ที่ ท�ำให้เกิดสิ่งต่าง ๆ ตามมา เพราะว่าในแต่ละ สังคมแต่ละชนชั้นก็จะมีพื้นฐานทางการท�ำงาน การหาเงิ น ที่ แ ตกต่ า งกั น เมื่ อ เรามี พื้ น ฐาน ทางการเงินที่แตกต่างกันจึงสามารถน�ำไปสู่การ แสดงออกอีกรูปแบบหนึ่งผ่านเสื้อผ้าเครื่องแต่ง กายได้เช่นกัน

23


INTRODUCTION

24


CHAPTER 00

25


INTRODUCTION

ART AND MUSIC เราสามารถเห็ น ได้ ว ่ า ดนตรี นั้ น เป็ น ตั ว สะท้ อ นตั ว ตนของ วั ย รุ ่ น ในทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย การที่ ก ลุ ่ ม วั ย รุ ่ น มี ค วามสนใจใน เรื่อ งเดียวกันสไตล์เดีย วกัน หรือเพลงที่เสพที่ฟังลักษณะ เหมื อ นกั น ก็ จ ะสามารถท�ำให้ ก ารแสดงออกทางดนตรี เสี ย งเพลงสามารถแสดงออกไปสู ่ เ รื่ อ งเสื้ อ ผ้ า การแต่ ง กายได้ อี ก ด้ ว ย จะเห็ น ได้ ว ่ า วงดนตรี ที่ มี แ นวดนตรี ต ่ า ง กั น ก็ จ ะมี ค าแรกเตอร์ ที่ต่างกัน ไป ต้ อ งยอมรั บ ว่ า อิ ท ธิ พ ลของนั ก ดนตรี ห รื อ วงดนตรี ก็ มี ผ ลต่ อ สไตล์

26


CHAPTER 00

25


INTRODUCTION

26


CHAPTER 00

REAL MAN


INTRODUCTION

DRESS UP 13



Edwardian Bring Back

01

การแต่งกายของผู้ชายที่ต่างจากสังคมทั่วๆไปวัยรุ่น ต้องการที่จะแสดงออกถึงความเป็นตัวของตัวเอง ผ่านเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายการสร้างความโดดเด่น ความจากวั ฒ นธรรมรู ป แบบวั ฒ นธรรมการแต่ ง กายแบบเดิมๆถือเป็นจุดเริ่มของแฟชั่นผู้ชาย


CHAPTER 01

สไตล์ดังเดิมอย่างเอดเวอร์เดียนที่ถูกรื้อ ฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง “TeddyBoy”ยุคบุกเบิก ปรากฏการณ์ของสังคมและวงการแฟชั่น

16


EDWARDIAN BRING B ACK

17


CHAPTER 01

the

BEF ORE THE TEDDY BOY

Edwardian Era

ชื่อของพระเจ้าเอดเวิร์ดถูกน�ำมาใช้เรียก ทศวรรษแรกของศตวรรษนี้ว่า “ สมัยเอดเวิร์ดเดียน” ช่วงเวลาที่ป ระเทศอังกฤษอยู ่ ภ ายใต้ การปกครองของกษั ต รี ย ์ เ อ็ ด เวิ ร ์ ด ที่ 7 หลั ง จากการ สิ้น พระชนม์ของพระราชินีวิค ตอเรี ย ผู ้ ซึ่ง ครองราชบั ล ลั ง ก์ อั ง กฤษยาวนานร่ ว ม 70 ปี ความเป็ นระบบ ระเบีย บแบบแผน ในแบบอุดมคติ ยุค วิ ค ตอเรี ย น (Victorian Era) ก็ ไ ด้ เ ปลี่ ย นไปอย่ า งสิ้ นเชิ ง สังคมใน ยุคนั้นดูจะมีความผ่อนคลายจากความตึงเครียดเข้าสู่ยุคแห่งความสุขสนุกสนาน เมื่อกษัตริย์หนุ่มผู้รัก การพักผ่อน ท่องเที่ยว สตรี แฟชั่นและศิลปะ เป็นผู้ปกครองบ้านเมืองในตอนนั้น คือ พระเจ้าเอดเวิร์ด ที่ เ จ็ ด เป็ น ผู ้ น� ำ สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ข้ า มาสู ่ ฟ ื ้ น ฟู ใ ห้ ร าชบั ล ลั ง ก์ ง ดงามอี ก ครั้ ง ถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ข าดหายไปในช่ ว งเวลา อันยาวนานมากนับตั้งแต่ยุควิกตอเรียน

18


EDWARDIAN BRING B ACK

มีผู้นิยามยุคสมัยนี้ว่า ลา เบล ลาป๊อก ( La Belle Epoque) ในภาษาฝรั่งเศสแปลว่า “ช่วงเวลาที่สวยงาม” หมายถึง ค่านิยมทาง สังคมที่มองโลกในแง่ดี สดใส ชนชั้นสูงซึ่งเป็นผู้น�ำความคิดทาง สังคมและแฟชั่น การแต่งกายอย่างหรูของชนชั้นสูงในสมัยของพระเจ้า เอดเวิ ร ์ ด นั้ น เริ่ ม แพร่ ห ลายมาสู ่ ป ระชาชนรู ป แบบเสื้ อ ผ้ า คอเซ็ ต ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนให้สามารถใส่ ได้ทั่วไป และ เป็นยุคสมัยที่วงการ ศิลปะเริ่ม ฟื้นฟู ควบคู่กับเศรษฐกิจอีกครั้ง ยุคเอ็ดเวิร์ดเดียนเป็นยุค เดียวกับที่เรารู้จักกันดีว่าเป็นยุคของศิลปะแบบ Belle Epoque และ Art Nouveau ที่มีความอ่อนช้อยงดงาม ทรงคุณค่าหรูหรา แต่ถ้า หากพูดถึงการแต่งตัวของผู้ชายในแบบยุค ‘เอ็ดเวิร์ดเดรียน’ สิ่งที่ ท�ำให้เห็นภาพมากที่สุดก็มักจะนึกถึง เสื้อโค้ตยาว กางเกงทรงสอบ เชิ้ตขาว ใส่สูทดูเป็นผู้ดีที่ฐานะ

19


BEF ORE THE TEDDY BOY CHAPTER 01

20


EDWARDIAN BRING B ACK

จุดเริ่มต้นของ “เท็ดดี้ บอย” เกิดขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1950 ซึ่งฐานะ ทางสังคมของหนุ่มสาวเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปในระหว่างสงครามโลกครั้ง ที่สอง เพราะช่วงก่อนสงครามนั้นคนหนุ่มสาวจ�ำนวนมากเป็นผู้มีรายได้และ ผู้ใช้แรงงานถูกน�ำไปเป็นส่วนหนึ่งของกองก�ำลังทหาร แต่ ห ลั ง จากการเปลี่ ย นแปลงภาวะทางสั ง คมและเศรษฐกิ จ หลั ง สงครามจ� ำ เป็ น ต้ อ งกั ก ขั ง หนุ ่ ม ๆเป็ น จ� ำ นวนมากไว้ ใ นโรงเรี ย นมั ธ ยมและ มหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ ท� ำ การต้ อ งแยกช่ ว งเวลาของการเป็ น วั ย รุ ่ น เป็ น การ พัฒนาการชีวิตอีกขั้นหนึ่งออกมาต่างหาก

เมื่อวัยรุ่นโหยหาความเป็นตัวเองการมีพื้นที่ของตนเองในสังคมความ เป็นอิสระจากกรอบเดิมๆพวกเขาเลือกใช้วิธีการที่แสดงออกผ่านเครื่องแต่งกาย เหมือนเป็นการบอกกับสังคมเป็นนัย ๆ ให้รู้ว่าอยากเป็นตัวของตัวเองมากแค่ไหน และไม่ ส นใจว่ า ใครจะมองอย่ า งไรจากจุ ด เริ่ ม ต้ น เล็ ก ๆสามารถท� ำ ให้ เ ริ่ ม เกิ ด ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ต่อวงการแฟชั่นและสังคมในตอนนั้น

21


CHAPTER 01

THE TEDDY BOY S T YLE

ณ อังกฤษ ช่วงคาบเกี่ยวปลายปี ค.ศ.1940 ถึงต้นปี ค.ศ. 1950 ได้เกิดวัฒนธรรมย่อยของหนุ่มสาววัยรุ่น ขึ้นมานั้นคือ “Teddy Boy” ซึ่งกลายเป็นแฟชั่นของวัยรุ่นชาวอังกฤษที่ถูกแยก ส่วนออกมาจากการแต่งกายแบบเดิม ๆ เริ่มมีความต่างออกไปจาก การแต่งกายของคนทั่วไปในสมัยนั้น

TEDDY BOY LOOK “Teddy Boy” เป็นกลุ่มวัยรุ่นหนุ่มชนชั้นกรรมาชีพใน ประเทศอังกฤษ สไตล์ของพวกเขาเริ่มต้นมาจากการน�ำเสื้อ ผ้าสมัย หลังสงคราม ที่มีลักษณะคล้ายกับในยุคเอดเวิร์ดเดียนซึ่งเดิมแล้ว เสื้อผ้าสไตล์เอดเวิร์ดจะมีการใส่เสื้อโค้ตยาวที่เข้ารูปโทนสีเข้ม เชิ้ต ขาวคอปกสูง เสื้อกั๊กพิมพ์ลายดอกไม้สีทองต่างๆ บางครั้งอาจ ขลิบขอบของเสื้อกั๊กด้วยก�ำมะหยี่ และสวมกางเกงเอวสูง

22


EDWARDIAN BRING B ACK

D

.A

“เท็ดดี้บอย” ได้น�ำสไตล์เอดเวิร์ดเดียนมา ปรับแต่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งขึ้นมาที่ดูเกิน จริ ง และท� ำ ให้ เ กิดความน่าสนใจและแตก ต่างมากขึ้นมีลักษณะคล้าย “Zootsuit” ในสมัยก่อนสงครามในช่วงแรกเท็ดดี้บอย นิยมในหมู่ของกลุ่มคนที่ไม่ค่อยจะมีกินและ ภายหลังก็กระจายเป็นที่นิยมมากขึ้น

.D uck Ass hairsty le

W

i

le nk

Pickers

การแต่ ง กายของชาวเท็ ก ดี้ บ อยคื อ คน กลุ่มนี้จะสวมเสื้อแจ็คเก็ตสูทที่หลวมหรือใหญ่กว่า ไซส์ตัวเองและต้องมีไหล่รองหมอนกว้าง ปกเสื้อ เป็นก�ำมะหยี่ สวมกางเกงขาแคบเข้ารูปและตัดขา ของกางเกงให้ สั้ น พอที่ จ ะมองเห็ น ถุ ง เท้ า หลากสี พวกเข้าได้เพิ​ิ่มลูกเล่นจากการแต่งตัวโดยเพิ่มเนก ไทแคบ ๆ หรือ ผูกริบบิ้น เข้าไปเท็ดดี้บอยถือว่าเป็น ผู ้ น� ำ รองเท้ า หั ว แหลมหรื อ หั ว ปลาดุ ก ที่ เ รี ย กว่ า “Winkle Pickers” เข้ามาแทนที่รองเท้าปลายบาน ส่ ว นเรื่ อ งทรงผมจะไว้ค่อนข้างยาวพร้อมมีจอนหู (Sideburns)และด้ า นหลั ง มี จ งอยผมเหมื อ นหาง เป็ดเรียกว่า D.A.(Duck Ass!)

23


THE TEDDY BOY S T YLE CHAPTER 01

24


EDWARDIAN BRING B ACK

25


THE TEDDY BOY S T YLE CHAPTER 01

26


EDWARDIAN BRING B ACK

27



Work Hard Play Hard

02

ยุคของความแตกต่าง การเรียนรู้ รสนิยม รู้จักการ ใช้ชีวิตของวัยรุ่นอย่างเต็มที่ การท�ำงานอย่างหนัก เพื่ออนาคต และ สนุกสนานกับปาร์ตี้แสงสีดนตรีใน ยามค�่ำคืน


CHAPTER 02

จุดเริ่มต้นของนิยามอย่าง “ WORK HARD PLAY HARD ” การใช้ชีวิตทุกอย่างต้องสุด

30


W ORK HARD PL AY HARD

31


CHAPTER 02

I’M MODERN

MOD IS MODERNISM

สไตล์ที่ออกจากกรอบเดิมๆ ฉีกจากกฏ เก่าๆ สร้างความแตกต่างให้กับตัวเอง ม็อด มาจากค�ำเต็มๆ ว่า “Modernism” หมายถึง “สมัยใหม่นิยม” เป็นการเรียกการใช้ชีวิตของกลุ่มวัยรุ่นที่เกิดขึ้นในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ กลางช่ ว งปี ค.ศ. 1960 เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งวัฒนธรรมย่อยที่เกิดขึ้นหลังจาก กลุ่มเท็ดดี้บอย ม็อดเริ่มต้นจากวัยรุ่นกลุ่มชนชั้นกลางประกอบไปด้วยคนหนุ่มสาวเป็น หลักทั้งคนท�ำงานระดับมันสมองและระดับปฏิบัติงานซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้มีวิถีการ ด�ำเนินชีวิตที่เรียกได้ว่าใช้ชีวิตอย่างเต็มที่หนักหน่วงท�ำงานอย่างหนักเพื่อสร้าง เนื้อสร้างตัว แต่ก็มีการใช้ชีวิตอีกรูปแบบหนึ่งในตอนกลางคืนอย่างเต็มที่เช่นกันเพ ราะม็อดเป็นกลุ่มคนที่ใช้ชีวิตในตอนกลางคืนไม่แพ้ตอนกลางวันรักงานสังสรรค์ ปาร์ตี้ เป็นชีวิตจิตใจ

แรกเริ่มม็อดถูกใช้เรียกกลุ่มแฟนเพลงโมเดิร์นแจ๊สต่อ มาคนกลุ่มนี้เริ่มที่ความต้องการที่จะแตกต่างโดยใช้การแต่งตัว และมีรูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์มากขึ้นชาวม็อดมี ความนิยมในแฟชั่นและดนตรีเป็นอย่างมาก ยุคนี้ถือเป็นยุคเริ่มต้น ของการปฏิ วั ติ ท างเศรษฐกิ จ และสั ง คมในตอนแรกด้ ว ยภาวะ เศรษฐกิจที่มั่นคงและมีงานให้เลือกท�ำมากมาย ท�ำให้คนรุ่นหนุ่ม สาว มีรายได้มากพอจนต่อมาได้เกิดคนยุคใหม่ที่สามารถก่อให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงในสื่อหลายสาขาที่คนเหล่านั้นเข้าไปท�ำงาน

32


W ORK HARD PL AY HARD

33


CHAPTER 02

It’s a MOD , mod world in MOD AREA

LIFESTYLE

34

ชาวม็อดชื่นชอบในศิลปะสมัยใหม่ และ มีสถานที่ท่ีใช้รวมตัวกัน บ่อยๆ เป็น พวกไนท์ ค ลั บเพื่ อ พบปะปาร์ ตี้สั ง สรรค์ ยกตั ว อย่ า ง ไนท์คลับที่โด่งดังในยุคนั้นคือ The Scene หรือ The Flamingo ในลอนดอน และยังมีอีกที่ถือว่าเป็นแหล่งรวมตัวของชาวม็อดคือ “Canaby Street” เป็นย่านที่เป็นแหล่งช็อปปิ้งของพวกเขาและเป็น แหล่งที่ชาวม็อดไปรวมตั​ัวกันเพื่อที่จะโชว์ความเท่ความเป็นตัวเอง ของวัยรุ่นออกมาให้คนได้รับรู้


W ORK HARD PL AY HARD

CANABY STREET

35


MOD AND SCOO TER

CHAPTER 02

36


W ORK HARD PL AY HARD

LIKE A LOT SCOOTER สิ่ ง ที่ ค วบคู ่ ม ากั บ ชาวม็ อ ดหรื อ ขาดไปไม่ ไ ด้ คื อ จะนิ ย มที่ จ ะใช้ สกูตเตอร์เป็นยานพาหนะโดยเฉพาะที่ผลิตจากอิตาลี่ยี่ห้อ Vespa หรือ Lambretta ซึ่งออกแบบให้เหมาะกับการขับขี่ในเมือง ด้วยแบบรถที่ดูเรียบ ๆ แต่มีสีสันที่โดดเด่นเป็นประกาย และท่านั่งขับขี่ที่ตัวตั้งตรง เป็นเสน่ห์ที่ท�ำ ให้ชาวม็อดเห็นว่าเข้ากันได้กับสไตลของพวกเขา

OVER

lig

ht

a nd mi rro

r scooter

ชาวม็อดจะตกแต่งสกูตเตอร์ด้วยกระจกและไฟจ�ำนวนมากแต่โดยส่วน มากไม่ได้ ใช้ ไฟและกระจกเหล่านั้นเป็นเพียงการประดับตกแต่งเท่านั้นการที่ม็อด เลือกสกูตเตอร์เป็นยานพาหนะเหตุผลส่วนนึงก็มาจากที่การเดินทางโดยสาธารณะ ไม่สะดวกและราคาของสกูตเตอร์ ก็ถูกกว่ารถยนต์

“เหตุ ผ ลที่ พ วกเขาประดั บ ประดารถ ด้ ว ยกระจกและไฟจ� ำ นวนมากก็ มี สาเหตุ ม าจากการประชดกฎหมาย อั ง กฤษที่ อ อกกฎหมายใหม่ ใ ห้ ร ถ มอเตอร์ ไซค์ทุกคันต้องมีกระจกอย่าง น้อย 1 อัน ”

37


MOD LOVE NIGHTLIFE

CHAPTER 02

38

WORK ALL DAY DRUNK ALL NIGHT การเสพยา ถื อ เป็ น เรื่ อ งปกติ ข องชาวม็ อ ดโดยเฉพาะ แอมเฟตามีนยาเหล่านี้เข้ากันได้กับวิถีชีวิตของพวกเขาโดยท�ำให้พวก เขาท�ำอะไรๆ ได้นานขึ้น เช่น เต้นร�ำ สังสรรค์หรือ ขี่สกู๊ตเตอร์คู่ใจไป ทั่วทั้งเมืองโดยไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อย โดยยาที่ พ วกเขาเสพนั้ นมี ชื่อว่ า Purple Hearts หรื อ Blues เป็นยาเสพติดที่ท�ำให้หนุ่มสาวชาวม็อด ท�ำงานได้ทั้งวันและยัง มีแรงพอที่จะออกไปสนุกสนานยามค�่ำคืนจนเกือบรุ่งเช้าส่วนวันรุ่งขึ้น พวกเขาก็จะใช้เวลางานในที่ท�ำงานส�ำหรับการพักฟื้นชาวม็อดถูก มองว่าชอบท�ำสิ่งที่คนรุ่นก่อนไม่เคยได้ท�ำหรือสัมผัสส�ำหรับคนบาง กลุ่มแล้วพฤติกรรมเหล่านี้อาจดูเหมือนขาดความรับผิดชอบสุดโต่ง และ คุกคาม


W ORK HARD PL AY HARD

39


CHAPTER 02

40


W ORK HARD PL AY HARD

f MOD VS ROCKER การกระทบกระทั่งกันระหว่างสองกลุ่มนี้เกิดขึ้นเป็น ประจ�ำเมื่อชาวร็อกเกอร์ขี่จักรยานยนต์เข้ามาในเมือง ซึ่งเป็นย่านของชาวม็อดดังเช่นเหตุการณ์ที่ยังเป็นที่ จดจ�ำที่เกิดขึ้นในเมือง Brighton ในปี ค.ศ.1964 ใน เหตุการณ์นั้นต�ำรวจได้เข้าจับกุมผู้ก่อเหตุ ในขณะที่ สื่อต่างๆ ได้โหมประโคมข่าว กั น อย่ า งกว้ า งขวาง

สร้ า งความสลดใจให้ แ ก่ ผู้คนที่ ได้อ่านหัวข้อข่าว และรูปภาพเหตุการณ์ ในหนังสือพิมพ์ถึงแม้ว่าผู้คนใน สังคมจะวิตกเรื่องที่หนุ่มสาวออกนอกลู่นอกทางอยู่ นอกเหนื อ การควบคุ ม แต่ เ บื้ อ งหลั ง หั ว ข้ อ ข่ า วใน หนังสือพิมพ์ก็ ไม่มีอะไรเลวร้ายไปกว่าความเสียหาย จากอาชญากรรม และการจู่โจมที่ไม่รุนแรงมากนัก

41


THE MOD S T YLE

CHAPTER 02

MODERNISM MADE MOD ในช่วงศวรรตที่ย่ีสิบแฟชั่นที่เกิดขึ้นนั้นส่วนใหญ่ ได้รับ อิ ท ธิ พ ลมาจากบรรดากลุ ่ ม คนที่ ต ้ อ งการแยกตั ว เองออกจาก วั ฒ นธรรมสายหลั ก ปรากฏการณ์ นี้ เ ริ่ ม ต้ น มาตั้ ง แต่ ช ่ ว งปลาย ปีค.ศ.1940 แล้วจากแฟชั่นเท็ดดี้บอยในอังกฤษ แม้ว่ากลุ่มคน เหล่านี้จะใช้วิธีการสร้างความแตกต่างระหว่างตนกับคนกลุ่มใหญ่ โดยใช้เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายแต่ต้องยอมรับเลยว่าแฟชั่นที่มีจุดมุ่ง หมายเพื่อแสดงความเป็นตัวของตัวเอง ออกมาในเชิงต่อต้าน สั ง คมอั น น่ า เบื่อในแบบเดิม ๆนี้ก ลับ ท�ำให้เป็น ปุ ๋ ย ชั้ นดี ต ่ อวงการ แฟชั่นเป็นอย่างมาก

42


W ORK HARD PL AY HARD

MOD STYLE แฟชั่นที่ชาวม็อดโดยส่วนใหญ่นิยมสวมใส่เสื้อสูทคล้าย แจ็คเก็ตที่มักท�ำด้วยขนกระต่ายซึ่งโดยรวมแล้วลักษณะการแต่ง กายจะไปในแนวแฟชั่นสมัยใหม่ในแบบอิตาลี ส�ำหรับการแต่งตัวแบบ สบายๆ แล้วชาวม็อดจะใส่เสื้อโปโล เช่นของ Fred Perry และ Ben Sherman สวมกางเกงขาตรงเกือบรัดรูป ไว้ทรงผมยาวบ็อบสไตล์ ฝรั่งเศส นอกจากนี้แล้วเสื้อโค้ด Parkas ก็ถือเป็นที่นิยมเพราะพวก เขาชอบใส่ขณะขี่สกู๊ตเตอร์ซึ่งมีลักษณะเป็นเสื้อคลุมตัวใหญ่มา พร้อมหมวกนอกจากเป็นเครื่องบ่งบอกถึงความเป็นชาวม็อดของ พวกเขาแล้วยังช่วยป้องกันความหนาวเย็นด้วย

PA RK CKET A JA

43


THE MOD S T YLE

CHAPTER 02

44


W ORK HARD PL AY HARD

45


CHAPTER 02

46


W ORK HARD PL AY HARD

47



03

WHITE P OW E R สไตล์ที่เกิดมาจากการแบ่งแยกทางสังคมที่อาจไม่ ค่อยดีหนัก แต่สามารถถ่ายทอดความก้าวร้าวรุนแรง ภายในของบุคคลออกมาสู่เครื่องแต่งกายได้และถือ เป็นอีกหนึ่งสไตล์การแต่งกายที่น่าสนใจ


CHAPTER 03

รักชาติอย่างสุดโต่ง ชาตินิยมอย่างแรงกล้า ที่มาของความ คลั่งชาติ และ การเหยียดความแตกต่าง

50


SPIRIT RASIS T

D A E H N I SK

51


CHAPTER 03

BEFORE THE SKINHEAD

STAY RUDE STAY REBELLious

ในทศวรรษที่ 60 สกินเฮดได้ถือก�ำเนิดขึ้นในประเทศอังกฤษ และแพร่หลายในยุโรป อเมริกาเหนือและทวีปอื่นๆ ต่อมาในช่วงปลายปี ค.ศ.1969 ในประเทศสหรัฐเกิดภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยพวกสกินเฮดเริ่มเกลียดชังชาวต่างชาติที่อพยพเข้ามาและประสบความส�ำเร็จในการ ด�ำเนินชีวิตพวกสกินเฮดจึงเป็นพวกเหยียดผิวนิยมความรุ น แรงและมี ส ่ ว นในการฆาตกรรม ชาวต่ า งชาติ พวกรักร่วมเพศ ในเมืองต่าง ๆ ของประเทศสหรัฐฯซึ่งต่อมาก็ ได้เป็นที่มาของ ชื่อ Skinhead สกินเฮด จะเป็นการหมายถึงพวกที่มีลักษณะมีรอยสักตามแขนหรือล�ำตัวชอบ ใส่เสื้อแขนยาวของนักบินและรองเท้าบู๊ททรงสูง

52


SPIRIT RESiS T

BEGIN OF SKINHEAD สกินเฮด (Skinhead) คือทรงผมทรงติดหนังหัว เริ่ม แรกผู ้ นิ ย มไว้ ท รงนี้ จ ะเป็ น หมู ่ ช นชั้ น กรรมาชี พ ใน อังกฤษในช่วงยุคทศวรรษที่ 60 โดยได้รับอิทธิพลมา จากพวกรู้ดบอยส์ (Rude boy) และ ม็อด (Mod)

y o b e rud

53


CHAPTER 03

BEFORE THE SKINHEAD

STAY RUDE STAY REBELLious

ในทศวรรษที่ 60 สกินเฮดได้ถือก�ำเนิดขึ้นในประเทศอังกฤษ และแพร่หลายในยุโรป อเมริกาเหนือและทวีปอื่นๆ ต่อมาในช่วงปลายปี ค.ศ.1969 ในประเทศสหรัฐเกิดภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยพวกสกินเฮดเริ่มเกลียดชังชาวต่างชาติที่อพยพเข้ามาและประสบความส�ำเร็จในการ ด�ำเนินชีวิตพวกสกินเฮดจึงเป็นพวกเหยียดผิวนิยมความรุ น แรงและมี ส ่ ว นในการฆาตกรรม ชาวต่ า งชาติ พวกรักร่วมเพศ ในเมืองต่าง ๆ ของประเทศสหรัฐฯซึ่งต่อมาก็ ได้เป็นที่มาของ ชื่อ Skinhead สกินเฮด จะเป็นการหมายถึงพวกที่มีลักษณะมีรอยสักตามแขนหรือล�ำตัวชอบ ใส่เสื้อแขนยาวของนักบินและรองเท้าบู๊ททรงสูง

52


SPIRIT RESiS T

BEGIN OF SKINHEAD สกินเฮด (Skinhead) คือทรงผมทรงติดหนังหัว เริ่ม แรกผู ้ นิ ย มไว้ ท รงนี้ จ ะเป็ น หมู ่ ช นชั้ น กรรมาชี พ ใน อังกฤษในช่วงยุคทศวรรษที่ 60 โดยได้รับอิทธิพลมา จากพวกรู้ดบอยส์ (Rude boy) และ ม็อด (Mod)

y o b e rud

53


CHAPTER 03

BEFORE THE SKINHEAD

STAY RUDE STAY REBELLious

ในทศวรรษที่ 60 สกินเฮดได้ถือก�ำเนิดขึ้นในประเทศอังกฤษ และแพร่หลายในยุโรป อเมริกาเหนือและทวีปอื่นๆ ต่อมาในช่วงปลายปี ค.ศ.1969 ในประเทศสหรัฐเกิดภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยพวกสกินเฮดเริ่มเกลียดชังชาวต่างชาติที่อพยพเข้ามาและประสบความส�ำเร็จในการ ด�ำเนินชีวิตพวกสกินเฮดจึงเป็นพวกเหยียดผิวนิยมความรุ น แรงและมี ส ่ ว นในการฆาตกรรม ชาวต่ า งชาติ พวกรักร่วมเพศ ในเมืองต่าง ๆ ของประเทศสหรัฐฯซึ่งต่อมาก็ ได้เป็นที่มาของ ชื่อ Skinhead สกินเฮด จะเป็นการหมายถึงพวกที่มีลักษณะมีรอยสักตามแขนหรือล�ำตัวชอบ ใส่เสื้อแขนยาวของนักบินและรองเท้าบู๊ททรงสูง

52


SPIRIT RESiS T

BEGIN OF SKINHEAD สกินเฮด (Skinhead) คือทรงผมทรงติดหนังหัว เริ่ม แรกผู ้ นิ ย มไว้ ท รงนี้ จ ะเป็ น หมู ่ ช นชั้ น กรรมาชี พ ใน อังกฤษในช่วงยุคทศวรรษที่ 60 โดยได้รับอิทธิพลมา จากพวกรู้ดบอยส์ (Rude boy) และ ม็อด (Mod)

y o b e rud

53


CHAPTER 03

The SKA

THE SKA IN SKINHEAD

ในช่วงปลายยุคปีค.ศ.1970 ไปจนถึง ต้น ปี 1980 ซี่งเป็นยุคที่ดนตรีพังค์ ได้เริ่มก่อก�ำเนิดขึ้น มา ก็ ได้เริ่มมีการน�ำเอาดนตรีสกามาผสมผสานกับ ดนตรีพังค์ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ก็ออกมาในรูปแบบของ วง Madness, Selecter และ TheSpecials ถือ เป็นวงที่มีความนิยมและได้รับชื่อเสียงเป็นอย่างมาก ในสาวกเพลงสกา

08


SPIRIT RESIS T

เพลงพังค์ที่เป็นยุคของพวกสกินเฮดที่เรา รู้จักดีก็คือแนว Oi! มาจากนักแต่งเพลงชื่อ ว่า “ Gary Bushell ” Oi! มาจากภาษา Cockney เป็นค�ำอุทานซึ่งถูกน�ำไปใช้ ในเพลงของวงดนตรี Cockney Rejects ซึ่งเป็นวงระ ดับต้นๆของดนตรีในแนว Oi! ซึ่งดนตรีในแนวนี้นั้ น มั น ถู ก สร้ า งขึ้ น มาเพื่ อ เป็ น การตอบสนองของพวก ชนชั้นกรรมาชีพที่ต่อต้านพวกที่ท�ำลายหรือว่าย�่ำยี

55


CHAPTER 03

56


SPIRIT RESIS T

การไว้ท รงผมสกิน เฮดในยุ คนั้ น สามารถแบ่ ง ออกเป็นทั้งกลุ่มที่ ไว้เพราะนัยยะทางการเมืองละ กลุ ่ ม ที่ เ กิ ด มาจากฟชั่ น และการฟั ง เพลงซึ่ ง เริ่ ม แรกนั้นการไว้ผมสกินเฮดไม่ ได้เป็นเรื่องของการ ต่อต้านทางการเมือง

จนมาถึงช่วงยุคปี ค.ศ.1980 การไว้ผม ทรงสกิ น เฮดกลายเป็ น สั ญ ลั ก ษณแสดงออก ทางเรื่องการเมืองและการเหยียดผิวเนื่องจากมี การเข้ามาของลัทธิ Neo-Nazism โดยใช้การ ตัดผมทรงสกินเฮดเป็นสัญลักษณ์หลังจากนั้นก็ ถือก�ำเนิดกลุ่ม “Skinheads Againt Racial Prejudice” (SHARP) ขึ้ น ในอั ง กฤษที่ ก ่ อ ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ต่ อ ต้ า นกลุ ่ ม Neo-Nazism ใน อเมริ ก าเหนื อ อี ก ที ซึ่ ง คนกลุ ่ ม นี้ บ างคนจะเรี ย ก ตัวเองว่า “Boneheads”

57


THE SKINHEAD STYLE

CHAPTER 03

WiLD STYLE SKINHEAD LOOK ลักษณะการแต่งกายที่เริ่มมาจากชนชั้นแรงงานมีทรงผม ที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะนั้นคือสกินเฮดที่มีการไถผมติดหนัง หัว มีการใส่เอี๊ยมกับเสื้อโปโล Fred perry หรือ เสื้อเชิ๊ตลายสก็อต Ben Sherman อาจใส่เสื้อแจ็กเก็ตนักบิน (Jacket Flight) ส่วนกางเกงของชาวสกินเฮด จะใส่กางเกงยีนสีเรียบ หรือ กางเกงที่ผ่านการฟอกสีตกแต่งเป็นด่างๆ ดวงๆ การใส่ กางเกงยี นของชาวสกิ นเฮดจะมี การพั บขา กางเกงขึ้ น มาสู ง พอให้ เ ห็ น รองเท้ า บู ๊ ท ทรงสู ง Dr.martens

ON SKIN BO MB

ACKET ER J

08

ชาวสกิ น เฮดบางคนแสดงความดิ บ เถื่อนหัวรุนแรงของตนเองออกมาผ่าน การสักลวดลาย สัญลักษณ์ หรือ อักษร ต่ า งๆที่ แ สดงความคลั่ ง ชาติ ล งบน ใบหน้าศรีษะตามร่างกายของตนเอง


SPIRIT RESIS T

59


THE SKINHEAD STYLE

CHAPTER 03

60


SPIRIT RESIS T

09


THE SKINHEAD STYLE

CHAPTER 03

62


SPIRIT RESIS T

63


Free Spirit

การต่ อ ต้ า นความรุ น แรงการเรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ ข อง มนุษย์รวมไปถึงการเรียกร้องความรักและสันติภาพ ต่อเพื่อนมนุษย์ เป็ น สิ่ ง ที่ อ ยุ ่ ภ ายในของมนุ ษ ย์ การแสดงออกถึ ง ความต้ อ งการภายในของตน ที่ แ ท้ จ ริ ง ไปสู ่ รู ป แบบการแต่ ง กาย

04



CHAPTER 0 4

การโหยหาความรัก ความซือ่ สัตย์เปิดเผยจริงใจ และความเป็นอิสระซึง่ ไม่สามารถหาได้ในสังคม

66


FREE SPIRIT

67


CHAPTER 0 4

HIPPIE IS EASYLIFE

“ความรัก และ การมีอิสรภาพ” จากกฏเกณฑ์ของสังคม “ ไม้บรรทัด ” ที่มากไปด้วยกดเกณฑ์

ช่วงปี ค.ศ.1966 คนหนุ่มสาวอเมริกันที่เบื่อเอือมระอา กับสังคมชนชั้นกลางและระดับสูงเพราะไม่สามารถปฏิรูป สังคมได้ดังใจนึกและไม่เข้าใจถึงค่านิยมของพ่อแม่ที่เน้น ความส�ำคัญของเงินตรา สถานภาพทางสังคมและความ ส�ำคัญของการท�ำงานหนักในชีวิตเพราะตนเติบโตมาโดย ไม่ต้องผ่านการต่อสู้ชีวิตมาอย่างหนักเช่นพ่อแม่คนเหล่า นั้นต่างพากันปลีกตัวออกนอกสังคมหนุ่มสาวเหล่านี้ได้ ชื่อว่าพวก “ฮิปปี้” ฮิปปี้ โดยทั่วไปไม่สนใจในการศึกษานิยมท�ำตัวไร้สาระ สูบกัญชาและยาเสพย์ติดชิงชังการสะสมความมั่งคั่งบาง คนท�ำงานหนักที่ไม่ต้องใช้สมองเท่าใดนักและรายได้ต�่ำ บางคนก็ขอเงินจากทางบ้านท�ำตัวเสเพลไม่สนใจโลก ภายนอกเท่าไหร่นัก

68


FREE SPIRIT

FLOWER CHILD ชาวฮิปปี้เรียกตนเองว่า “บุปผาดรุณ”

หรือ “บุปผาชน” ผู้ที่ไม่ส นใจต่อ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ใ ดๆปล่ อยตนตามสบายอยู่อ ย่างสงบ บางคนก็หัน ไปสนใจศาสนาที่แตกต่างไปจากที่ตนเองและครอบครัวเคยนับถือ เช่น ศาสนา และ นิกายในตะวันออก ฮินดู ลัทธิขงจื๊อ นิกายเซน ลัทธิเต๋า ทั้งนี้เพื่อไว้ปลอบ ประโลมใจและเป็นประสบการณ์ ในชีวิตไปด้วยบ้างก็หมกมุ่นอยู่กับไสยศาสตร์ และโหราศาสตร์ บ้างก็จับกลุ่มกันอยู่แบบคอมมูน โดยกินอยู่ใช้สอยร่วมกันแบ่ง ความรับผิดชอบ ทรัพย์สมบัติ และความรักให้ทั่วถึงกัน ภายในคอมมูนมีการ ช่วยกันท�ำสวนครัว ออกไปท�ำงานหาเงินนอกบ้านมาใช้ร่วมกัน ชาวฮิปปี้ส่วน ใหญ่พากันไปมั่วสุมกันที่ต�ำบลไฮต์แอชเบอรี (Haight-Ashbury) ในซานฟรานซิ สโก และที่อีสต์วิลเลจ(East Village) ในนิวยอร์ก แต่เมื่อเศรษฐกิจฝืดเคืองจน คอมมูนต้องสลายตัวไป คนพวกนี้ก็กระจัดกระจายไปทั่ว บ้างก็กลับไปหา ครอบครัว บ้างก็หางานท�ำ บ้างก็กลับไปศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย

69


CHAPTER 0 4

คนหนุ่มที่ต่อต้านค่านิยมของสังคมผู้ ใหญ่อีกกลุ่มหนึ่งที่ ปรากฏตัวออกมาในปีค.ศ.1966 คือ แนวร่วมฮิปปี้ คนหนุ่มสาวใน แนวร่วมนี้ส่วนใหญ่มาจากครอบครัวชนชั้นกลางออกมาสนองค�ำ เรียกร้องของ ทิโมธี เลียร์ ผู้เสนอให้ ใช้ยาเสพติดอย่าง “ แอลเอสดี (LSD) ” แนวร่วมนี้เริ่มขึ้นในรัฐแคลิฟอร์เนียแนวร่วมที่กลายเป็น วัฒนธรรมชนกลุ่มย่อยที่ใช้ยาเสพติดนี้ได้แพร่ขยายไปทั่ว

70


FREE SPIRIT

DRUGS IN LSD LSD ( Lysergic acid diethylamide ) อาจเรียกว่า แอซิด (Acid) เป็นสารเสพติด ที่ ส กั ด ได้ จ ากเชื้ อ ราที่ อ ยู ่ บ นข้ า วไรย์ เป็ น สารเสพติ ด ที่ มี ฤ ทธิ์ ห ลอนประสาทรุ น แรงที่ สุ ด ผู้เสพนิยมเรียกว่า กระดาษเมา กระดาษมหัศจรรย์ หรือ สแตมป์มรณะ ในระยะแรกได้ มี ก ารใช้ ส ารนี้ ใ นกลุ ่ ม นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ผู ้ เ สพในสมั ย นั้ น อายุ มากกว่าในปัจจุบัน ต่อมาได้มีการเสพกันอย่างแพร่หลายเนื่องจากหาซื้อง่ายเพราะมีขายกัน ทั่วไป และยังหลบเบี่ยงเจ้าหน้าที่ ได้ง่าย กลุ่มผู้เสพที่ส�ำคัญคือ นักดนตรี พวกฮิปปี้และบุปผา ชน (flower children) ได้มีงานรื่นเริงฉลองการเสพแอลเอสดีอย่างเอิกเกริกและยิ่งใหญ่ เช่น งานฉลองฤดูร้อนแห่งความรัก (Summer Love) ที่เมืองซานฟรานซิสโก

LSD STAMP ในเวลาต่อมาสารแอลเอสดี ได้แพร่ระบาดเข้าไปในกลุ่มวัยรุ่น และในทุกกลุ่มชนชั้น โดยเฉพาะชนชั้นกลางและร�่ำรวย เด็กวัยรุ่นในกลุ่มเสพประท้วงรัฐบาลในการท�ำสงครามกับ เวี ย ดนาม ขอเพิ่ มสิ ทธิ มนุ ษยชนและอิ ส ระในการพู ด และแสดงความคิดเห็น ในระยะหลัง ๆ ผู้เสพแอลเอสดี ได้ ใช้สารเสพย์ติดชนิดอื่นร่วมด้วย เช่น กัญชา แอมเฟทามิน หรือ เฮโรอีน ท�ำให้การเสพสารนี้กลายเป็นปัญหาระดับชาติที่ส�ำคัญร่วมกับปัญหาเศรษฐกิจ และ ปัญหา เกี่ยวกับสงครามในเวียดนาม

71


CHAPTER 0 4

PEACE LOVE AND FREEDOM

“ ใช้ชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ อย่างอาดัมและอีฟ ”

PE

AC

SY

E

72

“PEACE” พวกเขาใช้ ค� ำ ๆนี้ เ พื่ อ เผยแพร่ ป รั ช ญา ความรัก และ สันติภาพ ประกาศวิถีชีวิตใหม่ “Peace, love and dope” และเกิดเป็นสัญลักษณ์ที่เราคุ้นเคย ซึ่ ง มี ที่ ม าจากสั ญ ลั ก ษณ์ Nuclear Disarmament เกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1958 จากการประท้วงต่อต้านสงครามและการ เคลื่ อ นไหวเพื่ อ ปลดอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ ใ นประเทศอั ง กฤษท� ำ ให้ สัญลักษณ์วงกลมล้อมรอบตัวอักษร N (uclear) และ D (Disarmament) กลายเป็นเครือ่ งหมายแห่งสันติภาพทีแ่ พร่หลายไปทัว่ โลก เจอรั ล ด์ โฮลทั ม ผู ้ อ อกแบบเครื่ อ งหมายเป็ น หนึ่ ง ในศิ ล ปิ น ที่ เคลื่ อ นไหวต่ อ ต้ า นสงครามมาโดยตลอดให้ เ หตุ ผ ลว่ า สิ่ ง ที่ เ ป็ น สัญลักษณ์จะถูกจดจ�ำได้ง่ายกว่าข้อความและวงกลมที่อยู่รอบนอก เป็นตัวแทนของ “โลก”

ฮิปปี้ จะไม่สนใจการเมือง ซึ่งตนถือว่าเป็นเรื่องไม่ จริงใจต่อกันและกันไม่ชอบมีเงินตราไว้เกินกว่าเพื่อ ยังชีพเท่าที่จ�ำเป็น ไม่มีการแสดงออกที่ก้าวร้าวใน รูปใด ๆ ก็ตามไม่ว่าด้วยก�ำลัง หรือวาจา เรียกร้อง เพียงแต่ความรัก ความซื่อสัตย์เปิดเผย จริงใจ และ ความเป็ น อิ ส ระซึ่ ง คิ ด ว่ า ตนไม่ ส ามารถหาได้ ใ น สังคมที่เป็นอยุ่

M

BO

L


FREE SPIRIT

73


THE LEGEND OF MUSIC FESTIVAL

CHAPTER 0 4

74


FREE SPIRIT

“ เทศกาลแห่งความรัก สันติภาพ และ ศิลปะแห่งดนตรีอย่างแท้จริง ” The Woodstock Festival มีค�ำเปรยของเทศกาลนี้ไว้ว่า “An Aquarian Exposition: 3 Days of Peace & Music” จัดขึ้นที่ไร่ของแมกซ์ ยาสเกอร์ ที่มีพื้นที่ 600 เอเคอร์ (2.4 ตร.กม.) ใกล้กับหมู่บ้านในไวต์เลก ที่เมืองเบเธล นิวยอร์ก ตั้งแต่วันที่ 15-18 ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1969 มีการแสดงดนตรีภายนอกมากถึง 32 ศิลปิน ซึ่งมีคนมาร่วมงานกันมากถึง 300,000 คน และมีการ ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและ เป็นแกนหมุนในประวัติศาสตร์ดนตรีและติดอยู่ในอันดับ50 อันดับ เหตุการณ์ที่เปลี่ยนประวัติศาสตร์ร็อกแอนด์โรล

75


THE HIPPIE STYLE

CHAPTER 03

HIPPIE STYLE ลักษณะการแต่งกายของชายฮิปปี้จะบอก ว่ า พวกเขาไม่ ส นใจการแต่ ง ตั ว ก็ ไ ม่ น ่ า จะใช่ เ พราะ ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว เสื้ อ ผ้ า ที่ ใ ส่ จ ะมี ลั ก ษณะที่ ดู โ ทรมๆ รุงรัง บางคนอาจคิดว่า มัน สกปรก แต่ในความจริ ง แล้ ว ในการแต่งตัวของชาวฮิปปี้จะเต็มไปด้วยความ สนุ ก สนานมี ก ารประดิ ด ประดอยเสื้ อ ผ้ า ที่ ต นเอง สวมใส่ด้วยการตัดแปะ ปัก เย็บ ปะชุ น หรื อ ร้ อ ย ลู ก ปั ด ต่ า งๆให้ มี สี สั น มีลวดลายที่ ได้มาจากการ มัดย้อม หรือลวดลายที่มีลักษณะคล้ายกับลวดลาย ชนเผ่าต่างๆ เสื้อผ้าของชาวฮิปปี้จะเน้นไปที่ความ สบาย ความธรรมชาติ ง่ายๆไม่ยุ่งยาก ชาวฮิปปี้จะไม่ค่อยตัดผมคื​ือจะไว้ผมยาวหรือ เรียก ง่ายๆคือ ปล่อยเซอร์ นั่นแหละ รองเท้าก็ ไม่ค่อยจะ ใส่หนัก แต่ก็มีบ้างที่เป็นรองเท้าแตะ หรือรองเท้า จักสาน อันที่จริงลักษณะการแต่งกายของพวกเขา บางครั้งก็นิยมความเป็นชนเผ่างานหัตถกรรมด้วย

76


SPIRIT RESIS T

09


THE HIPPIE STYLE

CHAPTER 0 4

78


FREE SPIRIT

79


THE HIPPIE STYLE

CHAPTER 03

80


FREE SIRIT

81



05

S t re e t Maker ทั ศ นคติ ต ่ อ สั ง คมที่ แ ตกต่ า งการมองข้ า ม สังคมที่เบื่อหน่ายและสร้างสรรค์ความแตก ต่างออกมาผ่านเสื้อผ้าที่สวมใส่


CHAPTER 0 4

สไตล์ที่แสดงถึงความต่อต้าน เบื่อหน่ากับ สังคม แฝงไปด้วยความประชดประชัน และ ความรุนแรง ก้าวร้าว อย่างมีสีสัน

84


S TREET MAKER

85


THE PUNK CULTURE

CHAPTER 05

พั้งค์ (Punk) เป็นแฟชั่นข้างถนนที่เกิดขึ้นในกรงุลอนดอน ประเทศอังกฤษ พั้งค์ ถือเป็นวัฒนธรรม ย่อยหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อแฟชั่นสายหลักเริ่มมาตั้งแต่ยุคเทดดี้บอยที่อยู่ในปี ค.ศ.1950 และ สไตล์ม็อดที่กลับมา มีอิทธิพลอีกครั้งในช่วงปี ค.ศ.1970 หลังจากนั้นแฟชั่นสไตล์ต่างๆก็พยายามที่จะออกจากความหรูหราที่เคย เป็นอยู่วัยรุ่นหันมาให้ความสนใจและมีความคลั่งไคล้กับดนตรีแนวพั้งค์ร็อก ความบ้าคลั่ง ความเป็นตัวของตัว เองอย่างสุดโต่งไม่สนใจสังคม

86


S TREET MAKER

สิ่งที่มาพร้อมกับดนตรี Punk คือแนวคิดแบบ Punk ซึ่งแนวคิดแบบ Punk นั้นจะแตกต่างกันในแต่ละยุค สมัย ในยุคเริ่มแรกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ Punk ที่เข้าไป มีบทบาทต่อวัยรุ่นในกรุงลอนดอน

แนวคิดพั้งค์จะเป็นแนวคิดแบบต่อต้านไม่ว่าจะเป็นต่อ ต้านระบบโรงเรียนต่ อ ต้ า นเศรษฐกิ จ ต่ อ ต้ า นอุ ต สาหกรรม ต่อต้านรัฐดังนั้นการแสดงออกของเหล่า ชาวพั้งค์ทั้งหลายจะ ออกมาในลักษณะประชดประชั น และมี ค วามรุ น แรงแฝงอยู ่ ไม่ ว ่ าจะเป็นการแต่งตัวที่สวนกระแสของคนในสังคม การเสพยาและแอลกอฮอลในปริมาณมากท�ำให้มึนเมาท�ำตัว วุ่นวายเป็นภาระกับสังคมการแสดงออกที่รุนแรงในเวลาที่มีการ แสดงคอนเสิร์ตและอื่น ๆ อีกมากมายด้วยความที่พั้งค์มักท�ำตัว เหลวแหลกท�ำให้พั้งค์ ไม่เป็นที่ชื่นชอบนักของคนในสังคม ทั้งนี้ผู้ที่ นิยมในแนวดนตรัพั้งค์กลับมาจากคนหลายระดับในสังคมส่วนมาก จะเป็ น คนชั้ น กลางและคนที่ มี ส ถานะในสั ง คมที่ ไ ม่ ดี นั ก แต่ ก็ มี นักศึกษาเรียนดีจ�ำนวนหนึ่งในสมัยนั้นที่นิยมในความเป็นพั้งค์อยู่

87


PUNK ERA ต่อมาอีกยุคคือทศวรรษที่ 80 ความรุนแรงของเหล่าพั้งค์ ได้อ่อนตัว ลงไปอย่างมาก แต่แนวคิดต่อต้านของ Punk ก็ยังคงตัวอยู่แต่ ไม่ ได้เน้นหนักไป ทางต่อต้านสังคมโดยใช้ความรุนแรงและการประชดประชันเหมือนกับยุคแรก แต่เป็นการต่อต้านต่อวงการดนตรี ใ นสมั ย นั้ นโดยผ่ า นเสี ย งดนตรี ข องตนเอง เพราะวงการดนตรี ใ นยุ ค นั้ น เป็ น ยุ ค แห่ ง การลวงโลก มี ก ารปั ้ น แต่ ง นั ก ร้ อ ง หน้าตาดีจ�ำนวนมากเข้าสู่ตลาดเพื่อหวังผลก�ำไร ท�ำให้หลาย ๆ คนเบื่อหน่าย กับ วงการดนตรี ในสมั ย นั้ น แล้ ว หั นมาสนใจดนตรี พั้งค์ ท�ำให้เกิด Fashion-Punk หรือคนที่ ไม่ ได้ชอบหรือเป็นพั้งค์ แต่พยายาท�ำตัว ให้ดูเหมือนพั้งค์ เพื่อความเท่ขึ้นเป็นจ�ำนวนมากหลังจากนั้นไม่นานในช่วง ปลายทศวรรษที่ 80 Punk ก็เดินมาสู่ความตกต�่ำถึงขีดสุด ถึงขนาดที่หลาย ๆ คนมองว่าพั้งค์เป็นแนวดนตรีที่ตายไปแล้ว แต่ความจริงแล้วพั้งค์ยังคงอยุ่ และ วนเวียนอยุ่ทั้งในวงการดนตรีและวงการแฟชั่นอยุ่ตลอดเวลาเพียงแต่มีการ เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยที่ควรจะเป็นเสียมากกว่า



THE PUNK STYLE

CHAPTER 05

90

PUNK STYLE การแต่ ง กายของชาวพั้ ง ค์ นั้ น เริ่ ม มาจากมี ก ารสวม เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายที่ขาดวิ่น ยับยู่ยี่ มีรอยขาดมากมาย และคราบ สกปรกอย่างตั้งใจ เหมือนต้องการบอกให้สังคมรู้ว่าฉันไม่ไม่สนใจ ใครทั้งนั้น สวมเสื้อที่มีลวดลายมาจากวงดนตรีพั้งค์ร็อกที่ตัวเองชื่น ชอบ มีการใช้เครื่องประดับอย่างมากมาย เช่น เข็มกลัดซ่อนปลาย และใบมีดโกนเป็นต่างหู การประดับตกแต่งแจ็คเก็ตที่เต็มไปด้วยหมุด แหลมและเข็มกลัด กางเกงที่มีสีสันและลวดลายที่จัดจ้าน นิยมใส่รอง เท้าบู๊ทสูงรูปทรงแปลกประหลาด หรือจะเป็นของ Dr.Martens


S TREET MAKER

stud

jac on punk

PUN

Kh

ke

ai

t

rs

t

yl e

ในทุกรายละเอียดของพังค์จะแฝงไปด้วยความรุนแรง ก้าวร้าวผ่าน เสื้อผ้า ชาวพั้งค์จะเขียนขอบตาด�ำ ดูน่ากลัว และเพิ่มความแปลก และแตกต่างไปด้วยทรงผมที่ดูพิลึกท�ำให้ดูตั้งๆแหลมๆ บวกกับการ ท�ำสีผมที่ฉูดฉาดเกินกว่าใครจะเข้าถึงได้ ทั้งหัวจรดเท้าของพั้งค์พูด ได้เลยว่าแทบจะไม่มีอะไรปกติแบบคนทั่วไป ทุกอย่างล้วมเต็มไปด้วย ความบ้าคลั่งของวัยรุ่นอย่างแท้จริง

91


THE PUNK STYLE

CHAPTER 05

92


S TREET MAKER

93


CHAPTER 05

94


S TREET MAKER

Well guess what punk

95




CHAPTER 05

สไตล์ที่เกิดจากข้างถนน ก้าวข้ามไปสู่ สไตล์ที่มีอิทธิพลต่อวงการและกระแส แฟชั่นโลกในปัจจุบันเป็นอย่างมาก

96


S TREET MAKER

97


CHAPTER 05

HIPHOP SONG

LEGEND OF MUSIC

ฮิปฮอป หมายถึง ดนตรีแนวฮิปฮอปที่เป็นที่นิยมส�ำหรับวัยรุ่น อเมริ ก าและทั่ ว โลกซึ่ ง มี ร ากฐานการพั ฒ นาแนวเพลงมาจากชาวแอฟริ กั น อเมริกัน และ ชาวละตินโดยในช่วงยุคปีค.ศ. 1970 หลังจากที่ดนตรีดิสโก้ที่ พัฒนามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลาย ท�ำให้มีการเปิดแผ่นเพลงในคลับต่าง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้าน เทคโนโลยี เกิดการสร้าง loop, beat ใหม่ๆขึ้นมา ดนตรีฮิปฮอป จึงถือก�ำเนิดขึ้น

ค�ำว่า ฮิปฮอป มักถูกยกเครดิตให้กับ Keith Cowboy แร็ปเปอร์วง GrandmasterFlash & The Furious Five ถึงแม้ว่าในยุคนั้นจะถูกเรียกในนามของ “Disco Rap” แต่ เครดิตก็มักยกให้กับ Keith Cowboy ที่ท�ำให้ค�ำว่าฮิปฮอปเป็น ที่รู้จักและพูดถึงกันอย่างแพร่หลาย

98


S TREET MAKER

ดนตรีฮิปฮอปได้รับการแพร่ขยายเป็นที่รู้จักซึ่งฮิปฮอปก็ ไม่ได้ถูก จ�ำกัดแค่ว่าเป็นแนวดนตรีชนิดหนึ่งอีกต่อไปแต่ยังได้รับการยก ระดับให้เป็น วัฒนธรรมอย่างหนึ่งอีกด้วย เพียงเริ่มต้นจากงาน ปาร์ตี้ขนาดย่อมสามารถท�ำให้วัฒนธรรมเล็ก ๆ นี้ มีอิทธิพลต่อ วงการเพลงและแฟชั่นตั้งแต่อดีตจนมาถึงปัจจุบันเป็นอย่างมาก

99


CHAPTER 05

THE BLOCK PARTY

THE PART Y OF HIPHOP CULTURE

วัฒนธรรมฮิปฮอปเกิดจากการรวมตัวของ วั ย รุ ่ น ในย่ า นเดี ย วกั น ต้ อ งการจะจั ด งาน ปาร์ตี้รื่นเริงหรือสามารถเรียกอีกอย่างว่า “Block Party” ซึ่งในปาร์ตี้น้ันจะมีองค์ ประกอบมากมาย

DJ มาจากค�ำว่า Disc Jockey หมายถึงผู้ที่ ท�ำหน้าที่เป็นผู้เปิดแผ่นเปิดเพลงในงาน ปาร์ ตี้ ใ ห้ เ กิ ด ความสนุ ก สนานตลอดทั้ ง ค�่ำคืน

10 0


S TREET MAKER

GRAFFITI เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่เป็นการเพ้นท์พ่น ก� ำ แพงบริ เ วณที่ จั ด งานปาร์ ตี้ ใ นระแว กบ้านเพื่อการเชื้อเชิญเหล่าเพื่อนๆให้มา ร่วมงาน

MC คนที่เป็นแร็ปเปอร์MC จะท� ำ หน้ า ที่ ด� ำ เนิ น งาน ปาร์ตี้ในค�่ำคืน

BRAKE DANCE เป็ น ลั ก ษณะการที่ มี ก ลุ ่ ม คนที่ ม าร่ ว มเต้ น ในช่ ว งระหว่ า งที่ ดี เ จก� ำ ลั ง เซ็ ท แผ่ น เพลงเพื่ อ เป็ น การคั่ น เวลาซึ่ ง ลั ก ษณะการเต้ น จะเรี ย กว่ า เบรกแดนซ์ (break dance) ประชันการเต้นกันเป็นกลุ่มๆสลับกันไป แบบDance Battle 101


THE HIPHOP STYLE

CHAPTER 05

10 2


S TREET MAKER

SPORTWEAR แฟชั่ น ฮิ ป ฮอปเป็ น การแสดงเอกลั ก ษณ์ ทั ศ นคติ ต ่ อ วั ฒ นธรรมฮิ ป ฮอปซึ่ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงตั้ ง แต่ ใ นอดี ต จน ปัจจุบันและยั ง ได้ รั บ ความนิ ย มก้ า วสู ่ ก ระแสหลั ก ของแฟชั่ น โลก ซึ่ ง มี ลั ก ษณะที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น ต้นทศวรรษที่ 1980 มีการเกิดขึ้นของสปอร์ตแวร์เครื่อง แต่งกายกีฬา และ แบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่น อย่างเช่น Le Coq Sportif, Kangol, Adidas และ Nike ซึ่งเกิดมาพร้อมกับฮิปฮอป ศิลปิน ฮิปฮอปในสมัยนั้นนิยมใส่เสื้อผ้าลักษณะ สปอร์ตแวร์ เช่น เสื้อวิ่ง สีสว่างมียี่ห้อ เสื้อหนังแกะ เสื้อผ้าร่ม รองเท้า C&J Clarks รองเท้าบู้ต Dr.Martens ทรงผมที่นิยมในช่วงนั้นคือ Jheri curl ฮิตจนปลายทศวรรษ 1980 จนติด hi-top ที่สร้างความนิยมโดย วิลล์ สมิธ (The Fresh Prince) Jher

ic

ur

l ha

irs

tyle

The Fr

es

h

Pr

inc

e

สไตล์ฮิปฮอปถือว่าเป็นลักษณะเด่นของการแต่งตัวมีที่มาจากวัยรุ่น ชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และ วัยรุ่นละตินในย่านบร็องซ์ ในนิวยอร์ก ต่อมากระจายอิทธิพลสู่ฮิปฮอปในแถบอื่นอย่าง ลอสแอนเจลิส ชิคาโก้ ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งสไตล์ฮิปฮอปนี้ถือว่าเป็น อีกหนึ่งวัฒนธรรมย่อยที่มีผลต่อกระแสแฟชั่นโลกในปัจจุบัน Bucket hat

10 3


CHAPTER 05

OVE

RL OA

THE HIPHOP STYLE

WE ARE GANGSTA

สไตล์หนึ่งของชาวฮิปฮอปที่เรารู้จักกันในชื่อว่า “แนว แก๊งก์ หรือ เด็กแก็งก์” เป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในแฟชั่นฮิปฮอป ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1990 แฟชั่นแนวแก็งก์ ได้รับอิทธิพลจาก การแต่งกายของอันธพาลข้ า งถนน และ นั ก โทษแร็ ป เปอร์ ฝั ่ ง เวสต์ โ คสต์ น� ำ เอาสไตล์ ข องพวกเม็ ก ซิ กั น -อเมริ กั น มา เช่ น การใส่กางเกงหลวมๆมีการสักบนร่างกายเป็นสัญลักษณ์ แก็งก์ หรือ มีการโผกผ้า Banadas เพื่อบ่งบอกแก๊งก์ การเอา เสื้อเชิร์ตหลุดออกจากนอกกางเกงหนึ่งข้างยีนส์สีเข้มแบบนักโทษ ก็ ได้รับความนิยมและสไตล์การใส่กางเกงหลุดตูดเอวต�่ำโดยไม่มี เข็มขัด ก็เป็นสไตล์ที่มาจากในคุก รวมถึงกิริยาสัญลักษณ์ทางมือ ก็มาจากวัยรุ่นชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ในแถบลอสแอนเจลิสก่อน แล้วจึงขยับขยายโดยสังคมฮิปฮอปในทางกว้างขวางมากขึ้น

10 4

D

st

yle


S TREET MAKER

Grillz

BRING BLINK! แพล็ตตินัมได้มาแทนที่ทองค�ำได้รับความนิยมในที่สุดส�ำหรับแฟชั่น ฮิปฮอปศิลปินและแฟนเพลงสวมใส่เครื่องประดับจากแพล็ตตินัม (หรือเงิน) และมักประดับไปด้วยเพชร มีการประดับเพชรที่ฟันอย่าง ถาวร รวมถึงมีแฟชั่นติดเครื่องประดับลงที่ฟันที่สามารถถอดได้ จน มาถึงการมาถึงของแฟชั่นเครื่องประดับ ในการเปลี่ยนศตวรรษใหม่ เกิดแบรนด์หรูหราได้ก้าวสู่ตลาดแฟชั่ น ฮิ ปฮอป รวมไปถึ งแบรนด์ หรูหราอย่า ง Gucci และ Louis Vuitton

10 5


THE HIPHOP STYLE

CHAPTER 05

10 6


S TREET MAKER

107


CHAPTER 05

08


S TREET MAKER

Y

10 9


n o i h Fas g n i h t e som t i w from


t u o b a s i s e m o c t tha . u o y n i th RALPH LAUREN



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.