เซน กับ สตีฟ จ๊อบส์ ZEN and Steve Jobs ว.วชิรเมธี คัดจากงานบรรยายธรรม ณ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด สหราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๕๕๔ การจากไปในวัยเพียง ๕๖ ปี ของสตีฟ จ๊อบส์ ผู้ก่อตั้งและ ประธานกรรมการบริหารของบริษัทแอปเปิล เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๔ ด้วยโรคมะเร็งตับ ก่อให้เกิดความสั่นสะเทือนไปทั่วโลก เพราะชายคนนี้ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น แค่ นั ก ธุ ร กิ จ คนหนึ่ ง ที่ มี เ งิ น มหาศาล หากแต่เขาคือ คนที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “ซีอีโอแห่งศตวรรษ” ชื่อชั้นของเขาอยู่ในระดับเดียวกันกับสุดยอดนักประดิษฐ์ตลอด กาล อย่างโธมัส อัลวา เอดิสัน เพราะสิ่งที่เขาสร้างสรรค์ฝากไว้ ในโลกนั้น ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงแก่โลกและรูปแบบการใช้
ชีวิตของเราอย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์แมคอินทอช คอมพิวเตอร์แม็คบุ๊คแอร์ ไอพอต ไอแพต ไอโฟน ฯลฯ โลกของ เราเข้าสู่ยุคไร้กระดาษ (paperless) ส่วนหนึ่งก็เพราะเขา วงการ ภาพยนต์แอนิเมชั่นมีสุดยอดภาพยนต์แอนิเมชั่นให้ตื่นตะลึงกันก็ เพราะเขา การทำ�ธุรกิจ การติดต่อ การทำ�งาน ด้วยวิธีการ “คลิก” เพียงปุ่มเดียว แล้วอะไรต่อมิอะไรก็เกิดขึ้นได้อย่างไม่น่าเชื่อก็ เพราะเขา สตีฟ จ๊อบส์ คือ สุดยอดนวัตกรแห่งศตวรรษที่ ๒๑ อย่าง ไร้ข้อกังขา
ขณะที่ชีวิตของเขากำ�ลังรุ่งโรจน์สุดๆ แต่แล้ว พญายมก็ มาพรากเขาจากพวกเราไปในวัยเพียง ๕๖ ปี ข่าวนี้ ทำ�ให้หลายคน ต้องหันกลับมาคิดใหม่ว่า อะไรคือเหตุปัจจัยให้คนอย่างเขาต้อง ป่วยด้วยโรคมะเร็งและจบชีวิตในวัยที่ยังเต็มไปด้วยไฟแห่งการ สร้างสรรค์ ในหนังสือเล่มแรกและเล่มเดียวที่สตีฟ จ๊อบส์ เล่า ประวัติตัวเองอย่างหมดเปลือก เขาสารภาพว่า ที่ตัวเองป่วยหนัก สาเหตุน่าจะเริ่มมาจากการบริหารสองบริษัทพร้อมกัน ในเวลาดัง กล่าวนั้น เขาแทบไม่ได้กิน ไม่ได้นอน ไม่ได้ดูแลตัวเองอย่างที่ควร จะเป็น เขาเล่าว่า เขาไม่มีเวลาแม้แต่จะแวะเข้าห้องน้ำ�เสียด้วย ซ้ำ� และนั่นคือเหตุผลสำ�คัญที่ “นาฬิกาชีวิต” ของเขาเสียสมดุล โรคร้ายคงก่อตัวขึ้นมาในช่วงนี้ - - นี่คือ ข้อสันนิษฐานของเขาเอง ทุกวันนี้ เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า ทั้งความเครียดและ การสูญเสียสมดุลในร่างกาย มีส่วนสำ�คัญเป็นอย่างมากที่ทำ�ให้ ร่างกายไม่อาจเยียวยาตัวเองและพัฒนาไปเป็นโรคร้ายแรงอย่าง มะเร็ง หรือโรคอื่นๆ ในตระกูลเดียวกัน สตีฟ จ๊อบส์ คือ ตัวอย่างที่ ว่านี้ ในปรัชญาเซน ซึ่งสตีฟ จ๊อบส์ ชื่นชอบ ศึกษา และนำ�มา ใช้ในงานนวัตกรรม อาจารย์เซนท่านหนึ่งเคยสอนลูกศิษย์ว่า “รู้ไหม สุดยอดแห่งปาฏิหาริย์คืออะไร ?” “การเดินบนน้ำ� การหายตัว...” ศิษย์ตอบ “นั่นไม่ใช่ปาฏิหาริย์” อาจารย์แย้ง ลูกศิษย์จึงถามว่า ถ้า เช่นนั้นปาฏิหาริย์คืออะไร อาจารย์จึงเฉลยว่า “เมื่อหิว ก็จงกิน, เมื่อง่วง ก็จงนอน, นี่แหละ คือ ปาฏิหาริย์” สตีฟ จ๊อบส์ ผู้ชอบศึกษาเซน คงลืมคำ�สอนเซนในเรื่อง นี้ไป เขาจึงใช้ชีวิตอย่างสมบุกสมบันอันเป็นเหตุให้เวลาของเขามี “จำ�กัด” อย่างยิ่ง ลองจินตนาการดูว่า หากเขามีเวลามากกว่านี้ โลกของ เราจะเปลี่ยนโฉมหน้าไปอย่างไร ? บิล เก็ตส์ ดูเหมือนว่า จะเกิดปีเดียวกับจ๊อบส์ แต่เขา ลาออกจากบริษัทในฐานะผู้บริหารล่วงหน้าก่อนจ๊อบส์นับสิบปี เพราะเขารู้ดีว่า มีบางสิ่งที่สำ�คัญกว่างาน นั่นก็คือ “สุขภาพ” และ “การแบ่งปัน” ใช่หรือไม่ว่า หากเรามีทุกอย่าง ทว่าไม่มี “สุขภาพ” ทุก สิ่งที่มี จะมีความหมายอะไร ในทางพุทธศาสนา พระพุทธองค์ตรัสว่า เวลาของเราทุก คนในยุคสมัยของพระองค์ (ซึ่งก็คือเวลาในยุคนี้) มีไม่มากนัก อายุ ของมนุษย์ในยุคนี้ เต็มที่ก็เพียง ๑๐๐ ปี มากไปกว่านี้ก็เพียง ๑๒๐ ปี นี่คือเวลาอันจำ�กัดของเราทุกคน แต่บางคน กำ�ลังทำ�ให้วันเวลา
ในชีวิตสั้นลงไปกว่าเส้นแบ่งที่พระพุทธองค์ทรงทำ�นายเอาไว้มาก ใครบางคน ทำ�งาน ใช้ชีวิต เหมือนเป็นศัตรูกับตัวเอง ทำ�งาน ทำ�งาน ทำ�งาน จนลืมไปว่า จิตใจ และร่างกาย ไม่ใช่หุ่นยนต์ คนที่ “บ้างาน” จนกลายเป็น “เสพติดการทำ�งาน หนัก” อย่างที่กล่าวมานี้ เวลาในชีวิตจะยิ่งสั้นลงไปอีกหลายเท่าตัว “เรามีเวลาจำ�กัด” (Our time is limited) สตีฟ จ๊อบส์ เคยพูดประโยคนี้ ตอนที่กำ�ลังป่วย และเขา พยายามยื้อเวลาเอาไว้สุดชีวิต แต่สุดท้ายเขาก็ยื้อได้เพียง ๕๖ ปี ก็ต้องจากโลกนี้ไป หลายคนที่ยังคงมีสุขภาพดี สติปัญญายังอยู่ในช่วง รุ่งโรจน์ ควรนั่งลงถามตัวเองว่า เราจะเป็นสตีฟ จ๊อบส์ คนต่อไป ที่ กำ�ลังจะจากไปก่อนวัยอันควร หรือว่า เราจะออกแบบชีวิตของเรา ใหม่ให้ “งานก็สัมฤทธิ์ ชีวิตก็รื่นรมย์” หรือ “งานก็ได้ผล คนก็ เป็นสุข” หากเราไม่อยากจากไปก่อนวัยอันควร และมีเวลาไม่ จำ�กัดจนเกินไปนัก หนทางหนึ่งที่จะแก้ไขได้ก็คือ เราต้องหันกลับ มา “ทบทวน” วิธีที่เราคิด วิธีที่เราทำ�งาน และวิธีที่เราใช้ชีวิตกัน เสียใหม่ ในพุทธศาสนา เรามีคำ�ที่สำ�คัญมากอยู่คำ�หนึ่ง ซึ่งเป็น คำ�ที่สตีฟ จ๊อบส์ (ในความหมายแฝงก็คือ “มนุษย์บ้างานทั้ง หลาย”) อาจจะยังไม่คุ้นชิน นั่นก็คือ คำ�ว่า “ทางสายกลาง” หรือ คำ�ว่า “ดุลยภาพ” คำ�ๆ นี้ เป็นหัวใจประการหนึ่งแห่งคำ�สอนของ พระพุทธองค์ ใครก็ตามเข้าใจคำ�ๆ นี้ เขาจะมีเวลาเหลือมากมาย สำ�หรับอยู่ในโลกนี้ต่อไปอย่างรื่นรมย์ ส่วนคนที่ไม่เข้าใจ และไม่สนใจ ก็อาจมีเวลาแสนจำ�กัด และอีกไม่นาน เวลานั้นก็คงหมดลงอย่างรวดเร็ว !
On October 5, 2011, Steve Jobs, founder and CEO of Apple Inc., succumbed to pancreatic cancer. He was 56. His passing had global impacts. Steve Jobs was not just an ‘ordinary’ billionaire businessman; he was perceived by many as “the best CEO of his century.” His name ranks alongside one of the greatest mass communication innovators of the 19th & 20th centuries, Thomas Edison. Steve Jobs, creator of the iconic brand names Macintosh and Mac, and mass communications gadgetry we all know as iPod, iPad, iPhone and their like, shaped the world and our way of life in the 21st century. He heralded and made possible a paperless age. We must also acknowledge his place in the world of global visual entertainment, with the animation movie industry in general and with Pixar Animation Studios in particular. To do business, to undertake study and to communicate globally using the “click only one button” concept is the legacy that Steve Jobs left the world in the 21st century. Steve Jobs enjoyed a prosperous life, but his passing put an end to that at the tender age of 56. This caused many people to think about people like Steve Jobs, those who contract fatal illnesses and have their lives cut short at the height of their creative powers. In his first and only autobiography, Steve Jobs told us stories about his life. He believed that the onset of his illness might have been linked to the frenetic activities of running two burgeoning companies at the same time, and with a lifestyle that meant little time to eat, sleep or rest. He believed that “his body clock imbalance” allowed the cancer to develop. It has long been recognized that stress and imbalance lower the body’s immune system and hinder its ability to heal itself, allowing the onset of severe illnesses such as cancer. Steve Jobs is an example of this hypothesis. In Zen philosophy, which Steve Jobs studied and applied to his creative processes and inventions, a Zen master engaged his disciple in the following dialogue: “Do you know the greatest miracle in life?” “Yes”, his disciple replied, “to walk on water or to disappear.” “That is not a miracle,” the Zen master retorted. “Then what is the greatest miracle?”, responded his disciple. The Zen master replied: “When you are hungry, just eat. When you feel sleepy, just sleep. That is the greatest miracle.” Steve Jobs might have forgotten or ignored this
Zen teaching, and thus his time was curtailed. Let us try to imagine how our world might have developed if Steve Jobs had been given more time. Microsoft’s Bill Gates, who was born in the same year as Jobs, stepped back from his company as its ‘hands on’ CEO, for he knew that there were some things more important than his work, identifying “his health” and “the gift of sharing” as just two examples. If we have everything but we do not have good health, everything we have amounts to nothing. In Buddhism, the Lord Buddha said that time in our existence is limited. It was so then and remains so now. The human lifespan has developed over millennia so that living to 90 or 100-years is common. But the qualitative limitations of ‘time’ remain unchanged from the shorter lifespans that the Lord Buddha observed in his era. It may be said that someone living without any understanding of what happens to ‘time’ when over-working becomes the daily norm is his own worst enemy. They may work until they forget that the mind and the body are not part of a machine. Those who become addicted to work and become workaholics will mismanage their time and shorten their lifespans. Our time is limited. Steve Jobs realized all this when he was already ill, and tried belatedly to adjust his ‘time’. He left us at just 56. Many people who enjoy good health and remain mentally alert should ask themselves if they are in any danger of following in the ‘footsteps’ of Steve Jobs and his predicament. Should they redesign their lives and have as their goals great achievements at work and a pleasurable life, or simply aim to engage in “good work and enjoy a great life?” If we do not want to leave before our ‘time’, and we want to have more time, then we should review the way we think, the way we work and the way we live. In Buddhism, we have an important phrase which Steve Jobs may not have heeded. That phrase is the “middle way” or “balance.” These words are at the core of the Lord Buddha’s teaching, for whoever understands this phrase will have more time to live and experience pleasure. For all those who do not understand this and ignore the words of the Lord Buddha, their time is limited. And their time will run out soon.