หุน
รูจักสไตล … เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ชื่อเอกสาร
รูจักสไตลหุน... เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ ผู แต ง
คุณศิริพร สุวรรณการ, CFA, CFPTM ที่ปรึกษาทางการเงินอาวุโส บริษัทหลักทรัพย กสิกรไทย จํากัด (มหาชน)
กองบรรณาธิการ
ป ยาภรณ ครองจันทร อลิศรา ฮัววานิช พงษ พันธ พูลเพิ่ม
จัดทําโดย
ฝ ายพัฒนาความรู ผู ลงทุน ศูนย ส งเสริมการพัฒนาความรู ตลาดทุน (TSI) ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท
0 2229 2222
โทรสาร
0 2229 2722
เว็บไซต
www.tsi-thailand.org
ลิขสิทธิ์ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สงวนสิทธิ์ หามลอกเลียนแบบไมวาสวนใดสวนหนึ่งของหนังสือ นอกจากจะไดรับอนุญาต
เกริ่นนํา “รูเ ขา รูเ รา รบร อยครัง้ ชนะร อยครัง้ ” สุภาษิตจีนยอดฮิตทีส่ ามารถนํามา ประยุกต ใช กับ “การลงทุน” ได เช นกัน เพราะการลงทุนในหุ นให ประสบ ความสําเร็จนั้น ป จจัยสําคัญประการหนึ่ง คือ การทราบว าตัวคุณชอบลงทุน ในหุ นแบบไหน ... หุ นเติบโต หุ นคุณค า หุ นป นผล หรือจะเป นหุ นใหญ หุ นเล็ก ซึ่งหุ นในตลาดหลักทรัพย ก็มีหลากหลายครบทุกสไตล เพียงแต คุณต องเข าใจ และหาหุ นที่ใช สไตล แบบที่ชอบให เจอ ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย จึงได จัดทําหนังสือ “รู จักสไตล หุ น… เพื่อเลือกลงทุนให โดนใจ” เล มนี้ขึ้น เพื่อรวบรวมวิธีการแบ งประเภทหุ น ซึ่งจะ ช วยให คุณรู จักหุ นสไตล ต างๆ อย างถ องแท และตอบตัวเองได ว าคุณชอบลงทุน ในหุน สไตล ใด ซึง่ การเลือกหุน ทีใ่ ช ได หน ุ ทีช่ อบ จะทําให คณ ุ สนุกและพร อมทีจ่ ะ ออกสตาร ทบนเส นทางการลงทุนอย างมีความสุข ฝ ายพัฒนาความรู ผู ลงทุน ศูนย ส งเสริมการพัฒนาความรู ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย
สารบัญ บทนํา ปจจัยที่ใชในการแบงประเภทหุน ปจจัยที่ ➊ แบงตามลําดับสิทธิในการเรียกรอง หุ นสามัญ (Common Stock / Ordinary Share) หุ นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) ปจจัยที่ ➋ แบงตามลักษณะของกิจการ หุ นบลูชิบ (Blue Chip Stock) หุ นเติบโต (Growth Stock) หุ นตั้งรับ (Defensive Stock) หุ นวัฏจักร (Cyclical Stock) หุ นเก็งกําไร (Speculative Stock) ปจจัยที่ ➌ แบงตามสไตลของหุน หุ นคุณค า (Value Stock) หุ นเติบโต (Growth Stock) ปจจัยที่ ➍ แบงตามมูลคาหุนตามราคาตลาด Mega-cap Stock Large-cap Stock Mid-cap Stock Small-cap Stock Micro-cap Stock Nano-cap Stock ปจจัยที่ ➎ แบงตามถิ่นฐานของผูลงทุนและตลาดหลักทรัพย ที่หุนของกิจการจดทะเบียนอยู หุ นในประเทศ (Domestic Stock) หุ นต างประเทศ (Foreign / International / Global Stock) ปจจัยที่ ➏ แบงตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุน หุ นที่ไม จดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย (Private Equity) หุ นที่ซื้อขายในตลาดแรก (Primary Stock) หุ นที่ซื้อขายในตลาดรอง (Secondary Stock) บทสรุป
1 8 8 16
38 50
57
63
71
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
5
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น ป จจัยที่ ➊ แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง ป จจัยที่ ➋ แบ งตามลักษณะของกิจการ ป จจัยที่ ➌ แบ งตามสไตล ของหุ น ป จจัยที่ ➍ แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด ป จจัยที่ ➎ แบ งตามถิน่ ฐานของผูล งทุนและตลาดหลักทรัพย ทหี่ น ุ ของกิจการ จดทะเบียนอยู ป จจัยที่ ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น บทสรุป
6
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
“ตราสารทุน” (Equity) หรือตราสารที่ผู ลงทุนส วนใหญ เรียกสั้นๆ ว า “หุ น” คือ ตราสารการเงินประเภทหนึ่งที่แสดงความเป นเจ าของกิจการ โดย ผู ลงทุนหรือผู ถือหุ นมีส วนได ส วนเสียในทรัพย สินและรายได ของกิจการนั้นๆ ตามสัดส วนการถือหุ น ทั้งยังมีสิทธิได รับผลประโยชน จากการลงทุนในรูปแบบ ต างๆ ไม ว าจะเป น... ส วนแบ งกําไร (เงินป นผล) และมูลค าเพิ่มของกิจการ (กําไรจากส วนต างราคาซื้อและราคาขายของหุ น) จากสถิติการลงทุนในอดีต พบว า... การลงทุนในหุ นให ผลตอบแทนรวม ทีด่ ใี นระยะยาว เหนือการลงทุนในตราสารการเงินเกือบทุกประเภท ไม วา จะเป น การฝากเงินในธนาคารพาณิชย หรือลงทุนในตราสารหนี้ ทําให ป จจุบันมีผู ลงทุน เข ามาลงทุนในตลาดหุน เพิม่ ขึน้ เป นจํานวนมาก แม นยิ ามของ “หุน ” จะดูไม ซบั ซ อน แต ความหลากหลายของประเภทผูล งทุน รวมทัง้ คุณสมบัตขิ องหุน แต ละประเภท อาจทําให ผู ลงทุนสับสนได ตัวอย างเช น ในบางช วงเวลาผู ลงทุนมือใหม อาจได รับคําแนะนําจาก ผู เชี่ยวชาญให เริ่มลงทุนในหุ นประเภท “Blue Chip” หรือหุ นขนาดใหญ ที่มี ป จจัยพืน้ ฐานดี ในบางขณะได ศกึ ษาประวัตผิ ล ู งทุนทีป่ ระสบความสําเร็จ ซึง่ เป น ผูล งทุนประเภท “Value Investor” ทีเ่ น นลงทุนในหุน คุณค า ยิง่ ไปกว านัน้ ผูล งทุน ยังพบว าหุน ของกิจการหนึง่ ๆ สามารถจัดอยูใ นหลายประเภทได ในเวลาเดียวกัน หรือต างช วงเวลา เหตุใดจึงเป นเช นนั้น คําตอบคือ การแบ งประเภทหุน ทําได หลายแบบ ขึน้ อยูก บั ป จจัยทีผ่ ล ู งทุน ใช ในการแบ งประเภทหุ น ในที่นี้ขอใช 6 ป จจัยหลัก ได แก
➊ ➋ ➌ ➍ ➎
แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง แบ งตามลักษณะของกิจการ แบ งตามสไตล ของหุ น แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด แบ งตามถิ่นฐานของผู ลงทุนและตลาดหลักทรัพย ที่หุ นของกิจการ จดทะเบียนอยู ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
7
การเขาใจปจจัยที่ใชแบงประเภทและหุนประเภทตางๆ สําคัญอยางไร นอกจากการวิเคราะห ป จจัยพื้นฐาน (Fundamental Analysis) เพื่อ หามูลค าที่แท จริง (Intrinsic Value) ของหุ น และการวิเคราะห ทางเทคนิค (Technical Analysis) เพื่อจับจังหวะลงทุนแล ว ความเข าใจในประเภท ของหุ น จั ด ว า มี ค วามสํ า คั ญ อย า งมากต อ ความสํ า เร็ จ ของการลงทุ น ในหุ น พฤติกรรมราคาหุ นแต ละประเภทจะแตกต างกันตามสถานการณ ทางเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไป หุ นขนาดเล็กกับหุ นขนาดใหญ ให ผลตอบแทนไม เท ากัน หุ นเติบโตให ผลตอบแทนที่โดดเด นในภาวะเศรษฐกิจที่กําลังฟ นตัว แต เป น การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูงมากในภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า หุ นบางตัวจัดเป น หุ นคุณค าในช วงเวลาหนึ่งและเมื่อเวลาผ านไปหุ นนั้นมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปเป น หุ นเติบโต ผู ลงทุนสามารถใช ประโยชน ของการแบ งประเภทหุ น เข าเลือกลงทุน ตามสถานการณ ทางเศรษฐกิจและสอดคล องกับลักษณะเฉพาะตัวของผู ลงทุน ซึ่งจะทําให ผู ลงทุนสามารถลงทุนได อย างมีหลักการและสามารถตอบตนเองได ว า... เหตุใดจึงซือ้ หุน ประเภทนัน้ ๆ เมือ่ ใดควรขายสร างกําไรหรือต องสับเปลีย่ น ประเภทหุ น และท ายที่สุดจะทราบว ากําไรหรือขาดทุนเกิดขึ้นเพราะอะไร
8
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น
ป จจัยที่
➊
แบงตามลําดับสิทธิ ในการเรียกรอง ป จจัยที่ ➋ ป จจัยที่ ➌ ป จจัยที่ ➍ ป จจัยที่ ➎
แบ งตามลักษณะของกิจการ แบ งตามสไตล ของหุ น แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด แบ งตามถิน่ ฐานของผูล งทุนและตลาดหลักทรัพย ทหี่ น ุ ของกิจการ จดทะเบียนอยู ป จจัยที่ ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น บทสรุป
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
9
หากจะแบ งประเภทหุ นตามลําดับสิทธิในการเรียกร องในทรัพย สินและ รายได ของกิจการแล ว ผู ลงทุนสามารถเลือกลงทุนในหุ นได 2 ประเภท ได แก ➊
หุ น สามั ญ (Common Stock / Ordinary Share) เป น หุ น ที่ ผู ลงทุนส วนใหญ นิยมลงทุน และเป นหุ นที่กิจการนิยมนําเข าเสนอขาย ในตลาดหลักทรัพย โดยผู ถือหุ นสามัญจะมีสิทธิร วมเป นเจ าของกิจการ และมีสทิ ธิในการออกเสียงลงมติในทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ตามสัดส วนของหุน ที่ถือครองอยู กรณีที่บริษัทต องเลิกกิจการและมีการชําระบัญชีโดยการ ขายทรัพย สนิ ผูถ อื หุน สามัญจะได รบั เงินทุนคืนเป นลําดับสุดท าย หลังจาก ที่บริษัทจ ายคืนให กับเจ าหนี้และผู ถือหุ นบุริมสิทธิเรียบร อยแล ว
➋
หุน บุรมิ สิทธิ (Preferred Stock) ผูถ อื หุน บุรมิ สิทธิมสี ถานะเป นเจ าของ กิจการเหมือนผู ถือหุ นสามัญ แต ผู ถือหุ นบุริมสิทธิจะมีสิทธิบางประเภท ที่เหนือกว าผู ถือหุ นสามัญ เช น กรณีที่กิจการมีกําไรจากการดําเนินงาน ผู ถือหุ นบุริมสิทธิจะได รับเงินป นผลก อน และกรณีที่มีการขายสินทรัพย เมื่อเลิกกิจการ ผู ถือหุ นบุริมสิทธิจะได รับเงินทุนคืนก อนผู ถือหุ นสามัญ
สําหรับการลงทุนในประเทศไทย ทั้งหุ นสามัญและหุ นบุริมสิทธิมีการ ซื้อขายทั้งบนกระดานในประเทศและกระดานต างประเทศ โดยการซื้อขาย บนกระดานในประเทศ หุ นสามัญจะใช เครื่องหมายอักษรย อของหุ นตามปกติ สําหรับหุ นบุริมสิทธิจะใช เครื่องหมายอักษรย อของหุ นแล วตามด วย “-P” เช น BH หมายถึง หุน สามัญของ บมจ.โรงพยาบาลบํารุงราษฎร และ BH-P หมายถึง หุ นบุริมสิทธิของ บมจ.โรงพยาบาลบํารุงราษฎร เป นต น ป จจุบนั (เดือนมีนาคม 2556) ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย (ตลท.) มีจํานวนหุ นสามัญจดทะเบียนซื้อขายอยู ทั้งหมดรวม 518 หลักทรัพย และมี จํานวนหุ นบุริมสิทธิทั้งหมดรวม 9 หลักทรัพย
10
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
เป นที่น าสังเกตว า... จํานวนหุ นมากกว าร อยละ 95 ที่ซื้อขายในตลาด หลักทรัพย แห งประเทศไทย รวมทั้งจํานวนหุ นส วนใหญ ในตลาดทุนทั่วโลก ล วนจัดอยูใ นประเภท “หุน สามัญ” โดยทีผ่ ถ ู อื หุน สามัญเป นผูล งทุนลําดับสุดท าย ในสิทธิของความมีสว นได สว นเสียในทรัพย สนิ และรายได ของกิจการ โดยเฉพาะ อยู ในลําดับต อจากผู ถือหุ นบุริมสิทธิ เหตุใดจึงเป นเช นนั้น สิทธิที่ผู ถือหุ นบุริมสิทธิมีเหนือกว าผู ถือหุ นสามัญ ได แก สิทธิในการได รับเงินป นผลขั้นตํ่าจนครบตามข อกําหนดก อนที่ กิจการจะสามารถจ ายเงินป นผลให แก ผู ถือหุ นสามัญ เงินป นผล ขั้นตํ่าอาจกําหนดเป นอัตราคงที่ เช น ร อยละ 5 ต อป ของราคาหุ น บุริมสิทธิที่ซื้อครั้งแรกหรือมูลค าที่ตราไว หรือส วนเพิ่ม 1 บาทจาก เงินป นผลของหุ นสามัญ หรือกําหนดเป นอัตราลอยตัวบนเกณฑ มาตรฐานค าหนึง่ เช น ส วนเพิม่ ร อยละ 1 จากอัตราดอกเบีย้ เงินฝาก ประจําระยะเวลา 1 ป เฉลี่ยของ 3 ธนาคารขนาดใหญ เป นต น ซึ่ง ในกรณีนี้ เงินป นผลอาจจะมากกว าหรือน อยกว าผูถ อื หุน สามัญก็ได หุน บุรมิ สิทธิในประเทศไทยส วนใหญ มขี อ กําหนดว า... กรณีทกี่ จิ การ จ ายเงินป นผลให แก ผถ ู อื หุน สามัญเกินอัตราทีห่ น ุ บุรมิ สิทธิพงึ ได รบั ตามอัตราขั้นตํ่า ให กิจการจ ายเงินป นผลให แก ผู ถือหุ นบุริมสิทธิ เพิ่มขึ้นจนเท ากับอัตราที่จ ายให แก ผู ถือหุ นสามัญด วย สิทธิในการได รับเงินป นผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดไม สะสมเงินป นผล (Non-cumulative Preferred Stock) และชนิดสะสมเงินป นผล (Cumulative Preferred Stock) สําหรับชนิดสะสมเงินป นผล หาก ในป ใดทีก่ จิ การไม จา ยเงินป นผลให ผถ ู อื หุน บุรมิ สิทธิ กิจการต องนํา เอกสิทธิ์ดังกล าวไปสมทบจ ายในป ต อๆ ไปจนกว าจะครบจํานวนที่ ค างในป กอ นหน า จึงจะเริม่ จัดสรรกําไรให ผถ ู อื หุน สามัญได สําหรับ ชนิดไม สะสมเงินป นผล มักมีข อจํากัดกิจกรรมบางประการของ กิจการเมื่อไม จ ายเงินป นผลเป นเวลานาน เช น ห ามเพิ่มเพดานหนี้ หรือขยายการลงทุน เป นต น
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
11
สิทธิในการได รับส วนแบ งในทรัพย สินคงเหลือของกิจการก อน ผู ถือหุ นสามัญ กรณีที่เลิกกิจการและมีการชําระบัญชีโดยการขาย ทรัพย สิน ผู ถือหุ นบุริมสิทธิจะได รับเงินคืนทุนก อนผู ถือหุ นสามัญ นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการลดทุน เนื่องจากผลขาดทุนจากการ ดําเนินงาน กิจการอาจลดทุนในส วนของหุ นสามัญก อนหรือลดทุน ตามสัดส วนการถือหุน ของหุน สามัญและหุน บุรมิ สิทธิ สําหรับจํานวน เงินคืนทุนอาจกําหนดเป นค าคงที่ เช น ราคาทีซ่ อื้ ครัง้ แรก หรือมูลค า ที่ตราไว หรือตามจํานวนเงินที่ตกลงไว ล วงหน า ซึ่งแตกต างจาก ผู ถือหุ นสามัญที่จะได รับเงินคืนทุนเฉพาะส วนที่คงเหลือจากทั้ง เจ าหนี้และผู ถือหุ นบุริมสิทธิแล วเท านั้น แม ผู ถื อ หุ น บุ ริ ม สิ ท ธิ จ ะมี สิ ท ธิ บ างประการเหนื อ กว า ผู ถื อ หุ น สามั ญ ดังกล าวข างต น แต จะสังเกตได วา เป นสิทธิของส วนแบ งกําไร (เงินป นผล) ขัน้ ตํา่ หรือส วนแบ งทรัพย สนิ กรณีเลิกกิจการเท านัน้ การลงทุนในหุน ส วนใหญ ผูล งทุน จัดสรรเงินลงทุนภายใต สมมติฐานที่กิจการจะดํารงอยู ได และเติบโตมากขึ้น ในอนาคต เพื่อรับส วนแบ งกําไรและราคาหุ นที่เพิ่มขึ้น ซึ่งในกรณีดังกล าว ผู ถือ หุน สามัญจะเป นผูไ ด รบั ประโยชน สงู สุดจากความก าวหน าในผลการดําเนินงาน ของกิจการ กิจการในต างประเทศบางแห งมีการจัดชั้นหุ นสามัญ โดยให สิทธิ พิเศษในการออกเสียงในที่ประชุมผู ถือหุ นและจํานวนเงินป นผลสูงกว าสําหรับ หุน สามัญในชัน้ แรกๆ ส วนใหญ เป นกิจการทีผ่ ถ ู อื หุน เดิมประสงค จะรักษาอํานาจ ในการควบคุมกิจการ ภายหลังกระจายสัดส วนการถือครองหุ นให ผู ลงทุนทั่วไป ผูถ อื หุน บุรมิ สิทธิอาจมีขอ จํากัดสิทธิบางประการ เช น สิทธิในการออกเสียง ในทีป่ ระชุมผูถ อื หุน บางกิจการอาจให สทิ ธิในสัดส วนทีน่ อ ยกว าหุน สามัญ (สัดส วน ปกติ 1 หุ น ต อ 1 เสียง) เช น 2 หุ น เท ากับ 1 เสียง หรือให สิทธิเฉพาะในวาระ พิเศษ เช น การพิจารณาการออกและเสนอขายหุ นบุริมสิทธิชุดใหม และการซื้อ กิจการ เป นต น หรือให สทิ ธิออกเสียงในทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ในกรณีทกี่ จิ การไม จา ย เงินป นผลเป นเวลานาน อย างไรก็ตาม ในประเทศไทยกิจการส วนใหญ ให สิทธิ ผูถ อื หุน บุรมิ สิทธิในการออกเสียงในทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เท าเทียมกับผูถ อื หุน สามัญ บุริมสิทธิอาจมีกําหนดระยะเวลา เช น 5 ป หรือ 10 ป เมื่อครบกําหนดเวลา ดังกล าวแล ว บุริมสิทธินั้นจะสิ้นสุดลงทันที และผู ถือหุ นบุริมสิทธิจะได รับสิทธิ
12
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
เช นเดียวกันกับผู ถือหุ นสามัญ ทั้งนี้ กิจการอาจดําเนินการหรือกําหนดให หุ น บุริมสิทธิสามารถแปลงสภาพเป นหุ นสามัญได ในอัตราและระยะเวลาที่กิจการ กําหนด เช น หุ นบุริมสิทธิ 1 หุ น สามารถแปลงสภาพเป นหุ นสามัญได 1 หุ น ในเดือนธันวาคมของทุกป เป นต น ในมุมผู ลงทุน การลงทุนในหุ นบุริมสิทธิทําให ผู ลงทุนสามารถคาดการณ อัตราเงินป นผลที่สมํ่าเสมอได มากกว าการลงทุนในหุ นสามัญที่ขึ้นตรงกับมติ ที่ประชุมคณะกรรมการของกิจการและต องสอดคล องกับผลการดําเนินงานที่ เกิดขึน้ จริงในแต ละป รวมทัง้ ขนาดของกําไรสะสม ตลอดจนภาวะเศรษฐกิจ และ ป จจัยแวดล อมทางการเงิน ด วยลักษณะพิเศษนี้ ทําให หุ นบุริมสิทธิจัดอยู ใน ตราสารการเงินประเภทตราสารกึง่ หนีก้ งึ่ ทุนได เช นกัน ซึง่ โดยทัว่ ไปความผันผวน ของราคาหุ นบุริมสิทธิจะตํ่ากว าหุ นสามัญ อย างไรก็ดี จากการศึกษาสถิตกิ ารซือ้ ขายหุน บุรมิ สิทธิและหุน สามัญของ กิจการเดียวกัน พบว า... สภาพคล องของการลงทุนในหุน สามัญมีความโดดเด น กว ามาก การเปรียบเทียบภาพความถีก่ ารซือ้ ขายและการเปลีย่ นแปลงของราคา ตลาดของหุน สามัญ บริษทั ทิสโก ไฟแนนเชียลกรุป จํากัด (มหาชน) ในรูปที่ ➊ และหุน บุรมิ สิทธิในกิจการเดียวกันในรูปที่ ➋ พบว าหุน สามัญมีการซือ้ ขายและ ราคาตลาดเปลี่ยนแปลงสมํ่าเสมอ ขณะที่ในบางช วงเวลาไม มีรายการซื้อขายใน หุ นบุริมสิทธิเลย สังเกตได จากการขาดช วงของเส นราคาตลาด
การเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของหุ นสามัญ บริษัท ทิสโก ไฟแนนเชียลกรุ ป จํากัด (มหาชน) รูปที่ ➊
H, - , H, - , H, - , H, - , H, - ,
การเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของหุ นบุริมสิทธิ บริษัท ทิสโก ไฟแนนเชียลกรุ ป จํากัด (มหาชน) รูปที่ ➋
ਜ$࣊ڱ,৬"ً
H, - , H, - , H, - , H, - , H, - ,
%=" 900 750 600 450 300 150 0
ਜ$5=ࡕp %=" 60 45 30 15 0
13 รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ที่มา : SETSMART
ที่มา : SETSMART
14
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ในตลาดหุน ต างประเทศ เช น สหรัฐอเมริกา มีดชั นี S&P Preferred Stock (ดัชนีหุ นบุริมสิทธิ S&P) เป นตัวแทนหุ นบุริมสิทธิของกิจการที่จดทะเบียนซื้อ ขายในตลาดหลักทรัพย ที่เป นทางการหลักๆ ของสหรัฐฯ เมื่อนําผลตอบแทน รวม (เงินป นผลและการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด) นับตั้งแต มีการจัดทํา ดัชนีหุ นบุริมสิทธิ S&P ในป 2546 เทียบกับดัชนี S&P 500 ที่เป นตัวแทนของ หุน สามัญของกิจการขนาดใหญ ในสหรัฐฯ ดังรูปที่ ➌ จะพบว าผลตอบแทนรวม ของหุน สามัญสูงกว า นอกจากนี้ ดัชนีหน ุ บุรมิ สิทธิลดลงอย างรุนแรงในช วงวิกฤต เศรษฐกิจโลกในป 2551 เนือ่ งจากความไม แน นอนของผลตอบแทนจากเงินป นผล รูปที่ ➌
ผลตอบแทนรวมของดัชนี S&P 500 และ S&P Preferred Stock S&P 500 Total Return Index S&P Preferred Stock Total Return Index
73% 1.9 1.7 1.5 61% 1.3 1.1 0.9 0.7 0.5 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 ที่มา : www.standardandpoors.com
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
15
หุ นบุริมสิทธิไม เป นที่นิยมในหมู ผู ลงทุนในตลาดหลักทรัพย ส งผลให กิจการมีสัดส วนการเสนอขายหุ นบุริมสิทธิน อยกว าหุ นสามัญ และสภาพคล อง ของการซื้อขายหุ นสามัญมีมากกว าหุ นบุริมสิทธิมาก แม เมื่อเปรียบเทียบโดย สิทธิพื้นฐาน หุ นบุริมสิทธิจะเหนือกว าหุ นสามัญ ทั้งในด านสิทธิรับเงินป นผล ขั้นตํ่าและสิทธิในส วนแบ งทรัพย สินคงเหลือของกิจการ อย างไรก็ตาม ผู ลงทุน จะเลือกลงทุนในตราสารหนีม้ ากกว าหุน บุรมิ สิทธิ เพราะมีสทิ ธิรบั อัตราดอกเบีย้ ทีเ่ หนือกว าสิทธิในเงินป นผล เนือ่ งจากพันธะทางกฎหมายทีช่ ดั เจนในฐานะเจ าหนี้ ของกิจการ โดยทีต่ ราสารหนีม้ กี าํ หนดการชําระคืนเงินต นแน นอน ขณะทีผ่ ล ู งทุน จะเลือกลงทุนในหุ นสามัญมากกว าหุ นบุริมสิทธิเพื่อโอกาสรับผลตอบแทนจาก ส วนต างของราคาซื้อขายตามการเติบโตในอนาคตของกิจการ หุ นบุริมสิทธิส วนใหญ จะเสนอขายในกิจการของภาคเอกชนขนาดกลาง ถึงเล็ก หรือกิจการที่ยังไม เป นองค การมหาชน ซึ่งเป นเครื่องมือทางการเงินที่ใช แยกแยะความแตกต างระหว างการลงทุนเพือ่ ควบคุมการดําเนินงานของผูถ อื หุน สามัญเดิมและผูเ ข าร วมทุนใหม ในรูปของหุน บุรมิ สิทธิทตี่ อ งการผลตอบแทนใน รูปตัวเงินเป นเป าหมายหลัก โดยอาจมีการจัดชัน้ ของบุรมิ สิทธิ เช น หุน บุรมิ สิทธิ ลําดับที่ 1 (Series A Preferred Stock) หุ นบุริมสิทธิลําดับที่ 2 (Series B Preferred Stock) หุ นบุริมสิทธิลําดับที่ 3 (Series C Preferred Stock) และหุ น สามัญ (Common Stocks) เป นต น
16
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น ป จจัยที่ ➊ แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง
ป จจัยที่
➋
แบงตามลักษณะ ของกิจการ ป จจัยที่ ➌ แบ งตามสไตล ของหุ น ป จจัยที่ ➍ แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด ป จจัยที่ ➎ แบ งตามถิน่ ฐานของผูล งทุนและตลาดหลักทรัพย ทหี่ น ุ ของกิจการ จดทะเบียนอยู ป จจัยที่ ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น บทสรุป
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
17
หากจะแบ งประเภทหุ นตามลักษณะของกิจการที่ส งผลถึงความคาดหวัง ต อผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุน สามารถแบ งได เป น 5 ประเภท ได แก ➊
หุนบลูชิบ… กิจการชั้นดี ควรมีในพอรต
โดยนิยาม “หุ นบลูชิบ” (Blue Chip Stock) หมายถึง หุ นที่อัตรา ผลตอบแทนไม ผันผวน ส วนใหญ จะใกล เคียงกับผลตอบแทนของดัชนีราคา ตลาดหลักทรัพย มักเป นหุ นของกิจการที่จัดตั้งมานาน และมีป จจัยพื้นฐานดี สะท อนได จากสถานะการเงินทีม่ นั่ คง และขีดความสามารถในการดําเนินงานทีด่ ี โดยสามารถจ ายเงินป นผลได อย างต อเนื่อง ทั้งในภาวะเศรษฐกิจดีหรือซบเซา กล าวง ายๆ หุน บลูชบิ คือ หุน ของกิจการทีม่ คี ณ ุ สมบัตสิ าํ คัญๆ ดังต อไปนี้ ความสมํ่าเสมอในการเติบโตของผลกําไร และการจัดสรรกําไร แก ผถ ู อื หุน สามัญ (เงินป นผล) ในทุกสถานการณ ทัง้ ภาวะเศรษฐกิจดี ทรงตัว หรืออ อนแอ มูลค าตามราคาตลาดขนาดใหญ โดยมูลค าตามราคาตลาดหาได จาก ผลคูณของจํานวนหุน สามัญทีเ่ รียกชําระแล วทัง้ หมดของกิจการและ ราคาตลาด ณ ขณะใดขณะหนึง่ ของหุน ซึง่ เป นหนึง่ ในเครือ่ งชีข้ นาด ของกิจการและความเชื่อมั่นที่ผู ลงทุนมีต อกิจการ สถานะทางการเงินแข็งแกร ง ด วยระดับหนี้สินสุทธิที่เหมาะสมและ ตราสารหนีข้ องกิจการ (หุน กูแ ละตัว๋ เงิน) ได รบั การจัดอันดับความ น าเชือ่ ถือทีด่ ี ทําให กจิ การสามารถกูย มื เงินได ในต นทุนทางการเงิน ที่ตํ่ากว าคู แข ง ผลิตภัณฑ (สินค าและบริการ) หลากหลาย มีชอื่ เสียงด านคุณภาพ เป นที่นิยมในหมู ผู บริโภค และเป นผู นําตลาด ศักยภาพการแข งขันเหนือคูแ ข ง ซึง่ อาจจะมาจากการบริหารจัดการ ต นทุนที่ดี หรือความสามารถในการควบคุมช องการทางกระจาย สินค า เป นต น ผู บริหารมีชื่อเสียงในด านความสามารถและบรรษัทภิบาลในการ ประกอบธุรกิจ
18
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
จากคุณลักษณะข างต น ส งผลให “หุ นบลูชิบ” เป นหุ นขนาดใหญ และมี ความเสีย่ งทางธุรกิจ ตลอดจนโครงสร างทางการเงินตํา่ เนือ่ งจากการกระจายตัว ของลูกค าและผลิตภัณฑ ช วยลดการพึง่ พาผลิตภัณฑ ใดผลิตภัณฑ หนึง่ หรือลูกค า กลุ มใดกลุ มหนึ่ง รวมทั้งผลกระทบจากความอ อนแอของภาคเศรษฐกิจหนึ่งๆ จึงเป นหุน ทีผ่ ล ู งทุนสถาบันส วนใหญ ลงทุน นอกจากนี้ หุน บลูชบิ ยังเหมาะสําหรับ ผู ลงทุนที่คาดหวังให พอร ตลงทุน (Portfolio) เติบโตอย างสมํ่าเสมอ เช น ผูล งทุนในระยะใกล เกษียณ องค กรทีไ่ ม แสวงหากําไร และผูล งทุนทีร่ บั ความเสีย่ ง จากการลงทุนในหุ นได ในระดับตํ่า เป นต น อย างไรก็ดี ผู ลงทุนควรทราบว า... การลงทุนในหุ นบลูชิบยังคงมีความเสี่ยงของหุ นสามัญอยู แต มีในระดับตํ่า เมื่อเทียบกับหุ นประเภทอื่นๆ เช น หุ นเติบโต (Growth Stock) หรือหุ นวัฏจักร (Cyclical Stock) เป นต น ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย ประเภทหุ นบลูชิบที่สําคัญในโลก ได แก Dow Jones Industrial Average Index (DJIA) ซึ่งเป นดัชนีที่ใช ราคาหุ นถ วง นํ้าหนัก (Price-weighted Index) ประกอบด วยหุ นของ 30 กิจการขนาดใหญ ในสหรัฐฯ ที่เป นผู นําในอุตสาหกรรม หุ นของกิจการที่ผู ลงทุนไทยคุ นเคย ได แก Boeing, Coca-Cola, General Electric, Intel, Johnson & Johnson, McDonald’s, Microsoft, และ WalMart เป นต น ในอนาคตอันใกล ตลาดหลักทรัพย ในภูมภิ าคเอเชีย ได แก ไทย เวียดนาม ฟ ลิปป นส อินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงค โปร มีโครงการร วมกันให เป ดธุรกรรม ซือ้ ขายหุน บลูชบิ จํานวนกว า 200 หลักทรัพย โดยตรงระหว างผูล งทุนในประเทศ สมาชิก นับเป นก าวสําคัญของความร วมมือสู การรวมกลุ มตลาดทุนในป 2558 ตัวอย างหุ นบลูชิบในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ได แก บริษัท เจริญโภคภัณฑ อาหาร จํากัด (มหาชน) (CPF) บริษัท ปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) (SCC) บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) เป นต น
19
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ตัวอยางหุนบลูชิบในตางประเทศ “The Coca-Cola Company” ลักษณะกิจการ : “The Coca-Cola Company” มีสัญลักษณ การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย นิวยอร ค (New York Stock Exchange : NYSE) ว า “KO” เป นกิจการที่ผลิตแบรนด เครื่องดื่มชั้นนําระดับโลก ก อตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1886 (พ.ศ. 2429) มีผลิตภัณฑ เครื่องดื่ม ภายใต 500 แบรนด เช น เครือ่ งดืม่ ให ความสดชืน่ ให พลังงาน หรือควบคุมนํา้ หนัก รวมทัง้ นํา้ ผลไม ชา กาแฟ นม และนํา้ นมถัว่ เหลือง เป นต น แบรนด ทนี่ ยิ ม ทัว่ โลก ได แก Diet Coke, Fanta, Sprite, Coca-Cola Zero, Vitaminwater, Powerade และ Minute Maid “The Cola-Cola Company” มีระบบเครือข ายการกระจายเครือ่ งดืม่ ทีใ่ หญ ทสี่ ดุ ในโลก สูผ บ ู ริโภคในกว า 200 ประเทศ ด วยยอดจําหน ายสูงกว า 1.7 พันล านขวดต อวัน อัตราส วนการเงินที่สําคัญ : =. .; =-֡2 8 ৰ$ƶ= =,&࣎,= =. =-
20%
&.;H"3ާ $=Iࣲ2 &.;H"3ęः ާ $= &.;H"3Hĕ K6ࡃ
43% 37% ที่มา : www.thecoca-colacompany.com
20
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ĞL.ৢ"ِI0;ઝ .=ĞL.ৢ"ِ ęL."ً ࣲ=$ 800=ࢻ56ࣉ ઙ .=ęL."ً ³©´ 13,000 34% 12,000 11,000 10,000 21% 18% 9,000 22% 18% 8,000 7,000 6,000 5,000 2550 2551 2552 2553 2554
40% 35% 30% 25% 20% 15% 10% 5% 0%
ที่มา : www.thecoca-colacompany.com
800=ࢻ56ࣉ 6.00 ęL.֊8ਜ$ 5.00 4.00 3.00 2.57 2.51 2.00 1.00 0.00 2550 2551
ĞL.֏8ਠ$ 5.12 3.75
2.95
2552
2553
2554
ที่มา : www.thecoca-colacompany.com
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
Hɶ$۽$'0֏8ਠ$ 800=ࢻ56ࣉ 2.0 Hɱ$۸$'0֊8ਜ$ 1.76 1.64 1.52 1.5 1.36
1.88
1.0 0.5 0.0
2550
2551
2552
2553
2554
ที่มา : www.thecoca-colacompany.com
อันดับความน าเชื่อถือ : A+ โดยบริษัทจัดอันดับความน าเชื่อถือ Standard & Poor’s
70 60 50 40 30 20 10 0
=.H ड8$L62 8 .= =ਠ$ ¬° H&࣏-%Hؗ-%ę% ¥ÐØ «ÐÏÆÔ ªÏÅÖÔÕÓÊÂÍ ¢×ÆÓÂÈÆ ªÏÅÆÙ Dow Jones Industrial Average Index Coca Cola 4943%
1462%
1979 1982 1985 1988 1991 1994 1997 2000 2003 2006 2009 2012 ที่มา : Bloomberg
21
22
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ตัวอยางหุนบลูชิบในประเทศไทย “บริษัท เจริญโภคภัณฑ อาหาร จํากัด (มหาชน)” ลักษณะกิจการ : “บริษทั เจริญโภคภัณฑ อาหาร จํากัด (มหาชน)” มีสัญลักษณ การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยว า “CPF” จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทในป 2521 ดําเนินธุรกิจและเป นผู นําในเกษตร อุตสาหกรรมแบบครบวงจร ด านการเลี้ยงสัตว และผลิตอาหารจาก เนื้อสัตว ทั้งในและต างประเทศ เริ่มตั้งแต การจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช ผลิต อาหารสัตว การเพาะพันธุ สัตว การเลี้ยงสัตว เชิงพาณิชย การแปรรูป เนื้อสัตว จนถึงการผลิตอาหารสําเร็จรูป ธุรกิจสัตว บก ครอบคลุมสินค า ในกลุ มเป ด ไก และสุกร ขณะที่ธุรกิจสัตว นํ้าครอบคลุมสินค าในกลุ มกุ ง และปลา อัตราส วนการเงินที่สําคัญ : ࣲ=$%=" 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0
.=-LՖ = =.I= ڱ- =,&.;H+"ৰ$ƶ= ؽ.ĕ 8=6=.৫ य ؽ.ĕ =.Hऔ- ৫ य ؽ.ĕ 8=6=. 18% 20% 20% 21% 43% 44% 42% 43% 36% 38% 37% 39% 2550 2551 2552 2553
19% 43% 38% 2554
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ࣲ=$%=" 18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0
ĞL.ৢ"ِI0;ઝ .=ĞL.ৢ"ِ ęL."ً ઙ .=ęL."ً ³©´ 14.50% 15,837 13,563 10,190 7.50% 7.20% 7.70% 3,128 6.20% 1,275 0.90% 2.00% 0.50% 2550 2551 2552 2553 2554 ที่มา : www.cpfworldwide.com
ĞL.֏8ਠ$ %=" 2.50 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00
ęL.֊8ਜ$ 2.04
2.38
1.52 0.18 2550
0.44 2551
2552
2553
2554
ที่มา : www.cpfworldwide.com
23
24
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
%=" 1.40 1.20 1.00 0.80 0.60 0.40 0.20 0.00
Hɶ$۽$'0֏8ਠ$ Hɱ$۸$'0֊8ਜ$ 1.050
1.200
0.730 0.085 2550
0.190 2551
2552
2553
2554
ที่มา : www.cpfworldwide.com
อันดับความน าเชื่อถือ : AA- โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด
10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0
=.H ड8$L62 8 .= =ਠ$ ¤±§ H&࣏-%Hؗ-%ę% ´¦µ ªÏÅÆÙ SET50 Index CPF 699% 296%
2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
➋
25
หุนเติบโต… ราคาสูง แตไมแพง บนความสามารถสรางกําไรเหนือตลาด
โดยนิยาม หุน เติบโต (Growth Stock) หมายถึง หุน ทีม่ อี ตั ราผลตอบแทน สูงกว าหุ นตัวอื่นๆ ที่มีระดับความเสี่ยงใกล เคียงกัน มักเป นหุ นของกิจการที่ กําลังเจริญก าวหน าและมีผลการดําเนินงานโดดเด น แต ส วนใหญ จะไม จ าย เงินป นผล หรือจ ายเงินป นผลในอัตราทีไ่ ม สงู นัก เนือ่ งจากกิจการต องการนํากําไร สะสมไปใช ในการขยายกิจการ เนื่องจากความโดดเด นในธุรกิจของหุ นเติบโต (Growth Stock) ผู ลงทุน มักคาดหวังว า... กิจการจะสร างการเติบโต ทั้งสินทรัพย รายได และกําไร สูงกว ากิจการของหุ นทั่วไปในตลาดหลักทรัพย ทําให ราคาตลาดของหุ นเติบโต มีแนวโน มสูง และอัตราส วนราคาตลาดต อตัวแปรทางการเงินทีใ่ ช แทนมูลค าหรือ แสดงความสามารถในการดําเนินงานต างๆ เช น อัตราส วนราคาตลาดต อกําไร ต อหุ น (Price/Earnings Ratio : P/E) หรืออัตราส วนราคาตลาดต อมูลค า ทางบัญชีต อหุ น (Price/Book Value Ratio : P/BV) สูงกว าค าเฉลี่ยของ ตลาดหลักทรัพย ตามไปด วย ผูล งทุนในหุน ประเภทนีจ้ งึ ควรพร อมรับความเสีย่ ง หากอัตราการเติบโตของผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริงตํ่ากว าที่ผู ลงทุนคาด หวัง โดยเฉพาะเมื่อหุ นประเภทนี้ส วนใหญ ไม มีอัตราผลตอบแทนจากเงินป นผล มารองรับการวิเคราะห หรือตัดสินใจลงทุนทีผ่ ดิ พลาด แตกต างจากกรณีของหุน ตั้งรับหรือหุ นคุณค าที่จะกล าวถึงต อไป อย างไรก็ดี ผู ลงทุนควรลงทุนหุ นเติบโต ณ ระดับราคาที่สมเหตุสมผล กล าวคือ ราคาอาจจะสูง แต ไม แพง ความหมายของ “ราคาแพง” คือ ราคาตลาด สูงกว ามูลค าทีเ่ หมาะสม ซึง่ ในการคํานวณหามูลค าทีเ่ หมาะสมนัน้ ผูล งทุนจะต อง วิเคราะห และติดตามป จจัยทีส่ ร างการเติบโตในผลการดําเนินงานของกิจการนัน้ ๆ ว าเป นป จจัยที่แท จริงและมีเสถียรภาพหรือไม อย างไร เช น หากกิจการเติบโตได จากสิทธิบัตร หรือนโยบายกีดกันทางการค า ของภาครัฐ ซึ่งจะช วยปกป องการแข งขันอย างรุนแรงได ในระยะ สั้น แต เมื่อความคุ มครองเหล านั้นหมดเวลาลง มีโอกาสที่อัตรา การเติบโตอันโดดเด นของผลการดําเนินงานจะสิ้นสุด
26
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
หากกิจการเติบโตได จากวัฏจักรขาขึน้ ของอุตสาหกรรม หรือเฉพาะ ผลิตภัณฑ ชนิดใดชนิดหนึง่ ผูล งทุนต องพิจารณาระยะเวลาในแต ละ วงจรอุตสาหกรรมหรือความยัง่ ยืนของผลิตภัณฑ เพือ่ ประเมินช วง เวลาการเติบโตของผลการดําเนินงานที่เกี่ยวข อง หากกิจการเติบโตได จาก • เอกลักษณ เฉพาะตัวของผลิตภัณฑ หรือนวัตกรรมที่สมํ่าเสมอ • ตราสินค า (Brand Name) เป นที่นิยม หรือความภักดีของลูกค า • ทําเลที่ตั้งโดดเด น • กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ หรือต นทุนตํ่า อาจจะทําให กจิ การมีอาํ นาจกําหนดราคา ส งเสริมโอกาสสร างรายได และ กําไรที่เพิ่มพูนขึ้นในระยะยาว ➌
หุนตั้งรับ... ราคาเปลี่ยนแปลงตามทิศทางตลาดหุน แตรุนแรงนอยกวาทั้งขาขึ้นและลง
โดยนิยาม “หุน ตัง้ รับ” หรือ “หุน ทีไ่ ม ตกตํา่ ตามภาวะตลาด” (Defensive Stock) หมายถึง หุ นที่อัตราผลตอบแทนไม ลดลงหรือลดลงน อยกว าการลดลง ของอัตราผลตอบแทนของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย มักเป นหุน ของกิจการทีม่ ี ผลการดําเนินงานสมํา่ เสมอ ไม แปรผันตามภาวะเศรษฐกิจมาก มีความเสีย่ งทาง ธุรกิจและความเสีย่ งทางการเงินตํา่ มีความสามารถในการจ ายเงินป นผลในช วงที่ เศรษฐกิจซบเซาได ดีกว าหุ นของกิจการในลักษณะอื่นๆ ส วนใหญ หุ นประเภทนี้จะอยู ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข องกับการบริโภค ขั้นพื้นฐานของมนุษย เช น การเกษตร อาหาร เครื่องดื่ม สาธารณูปโภค (ไฟฟ า นํ้าประปา โทรศัพท ) การแพทย (โรงพยาบาล ยา) เครื่องอุปโภค (สบู ยาสีฟ น กระดาษชําระ) และค าปลีก เป นต น
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
27
จะสังเกตได ว า... ความต องการบริโภคสินค าในอุตสาหกรรมเหล านี้ ไม แปรผันตามภาวะเศรษฐกิจ กล าวคือ ความต องการอาจเพิม่ บ าง แต ไม มากใน ช วงเศรษฐกิจเฟ อ งฟู และไม ตกตํา่ มาก ไม วา เศรษฐกิจจะอ อนแออย างไร ผลการ ดําเนินงานและเงินป นผลที่ต อเนื่องเป นองค ประกอบสําคัญที่ผู ลงทุนให นํ้าหนัก เงินลงทุนส วนหนึ่งในหุ นตั้งรับ เพื่อบริหารความเสี่ยงโดยรวมของพอร ตลงทุน เนื่องจากในภาวะเศรษฐกิจซบเซา ภาครัฐฯ มักออกมาตรการกระตุ นเศรษฐกิจ ด วยการลดอัตราดอกเบีย้ ทําให รายได รบั จากดอกเบีย้ เงินฝากหรือตราสารหนีต้ าํ่ การลงทุนในหุ นตั้งรับจึงได รับการสนับสนุนด วยรายได จากเงินป นผล ขณะที่ ราคาตลาดไม ผันผวนมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับหุ นประเภทอื่น อย างไรก็ตาม ในภาวะทีต่ ลาดหุน โดยรวมปรับตัวลดลง มีแนวโน มทีร่ าคา หุ นทุกประเภทจะลดลง รวมทั้งหุ นตั้งรับ เพียงแต ราคาหุ นตั้งรับอาจลดลงใน ระดับที่รุนแรงน อยกว าดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย ตัวอย างเช นแสดงในรูปที่ ➍ และ ➎ ในวิกฤตเศรษฐกิจในป 2551 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย (SET Index) ปรับลดลงร อยละ 47 ขณะที่ดัชนีกลุ มอุตสาหกรรมอุปโภคบริโภคลดลงเพียง รูปที่ ➍
ความเคลื่อนไหวราคา ของ SET Consumer Products Index และ SET Index SET Consumer Products Index SET Index
2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
28
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ร อยละ 23 เท านัน้ แต เมือ่ เศรษฐกิจเคลือ่ นเข าสูว งจรแห งการขยายตัวและรุง เรือง ผลการดําเนินงานที่ไม โดดเด น อาจทําให ราคาหุ นตั้งรับไม เพิ่มสูงขึ้นในระดับ เดียวกันกับหุ นประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะหุ นเติบโตหรือหุ นวัฏจักร ซึ่งในป 2552 ที่ตลาดหุ นฟ นตัว ดัชนีราคาหลักทรัพย (SET Index) ปรับเพิ่มขึ้นถึงร อยละ 63 และแม ดัชนีกลุ มอุตสาหกรรมอุปโภคบริโภคจะเคลื่อนไหวในทางเดียวกัน แต เพิ่มขึ้นได เพียงร อยละ 28 เท านั้น รูปที่ ➎
ผลตอบแทนรายป ของ SET Consumer Products Index และ SET Index
SET Index SET Consumer Products Index 2012 2011 2010 2009 2008 2007 2006 2005 -60% -40% -20% 0% 20% 40% 60% 80% ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ในตลาดหลักทรัพย ต างประเทศ หุ น “JNJ” ของ Johnson & Johnson ผู ผลิตและจัดจําหน ายผลิตภัณฑ ดูแลสุขภาพชั้นนําของโลก อาทิ แป งและ สบู เด็กจอห นสัน เบบี้ออยล แป งเย็นชาวเวอร ทู ชาวเวอร และผ าอนามัยโมเดส เป นต น มีคุณสมบัติของหุ นตั้งรับ ดังแสดงในรูปที่ ➏ และ ➐ ที่ราคาหุ น JNJ เคลื่อนไหวในกรอบแคบกว าดัชนี S&P 500 และในวิกฤตเศรษฐกิจป 2551 JNJ ลดลงร อยละ 10 เปรียบเทียบกับการลดลงของดัชนี S&P 500 ที่ร อยละ 38 แต เมื่อตลาดทุนทั่วโลกฟ นตัวจากภาวะตกตํ่าในป 2552 JNJ สร างกําไรให ผู ลงทุนเพียงร อยละ 7 เทียบกับดัชนี S&P 500 ที่เพิ่มขึ้นกว าร อยละ 23
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
รูปที่ ➏
29
ความเคลื่อนไหวราคาของ JNJ และ S&P 500 Index JNJ S&P 500 Index
1.4 1.3 1.2 1.1 1.0 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 ที่มา : Bloomberg
รูปที่ ➐
ผลตอบแทนรายป ของ JNJ และ S&P 500 Index
S&P 500 Index JNJ 2012 2011 2010 2009 2008 2007 2006 2005 -40% -30% -20% -10% 0% 10% 20% 30% ที่มา : Bloomberg
30
ตารางที่ ➊
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
สรุปคุณสมบัติสําคัญๆ ของหุ นเติบโตและหุ นตั้งรับ หุ นเติบโต หุ นตั้งรับ (Growth Stock) (Defensive Stock) ลักษณะ • กิจการกําลังเจริญก าวหน าอยู ใน • กิจการเกี่ยวข องกับ กิจการ วัฏจักรของการเติบโต การบริโภคขั้นพื้นฐาน • สินทรัพย รายได และกําไรขยายตัว ของประชาชน สูงกว าค าเฉลี่ยในอดีต และ/หรือ • ผลการดําเนินงาน ค าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม สมํ่าเสมอ ไม แปรผัน • ผลการดําเนินงานโดดเด น มีอัตรา โดยตรงตามภาวะ กําไรสูงกว าต นทุนทางการเงิน เศรษฐกิจมาก • ลงทุนในหุ นตั้งรับ ความคาดหวัง • ลงทุนในหุ นเติบโต เพราะเชื่อว า การขยายตัวของผลการดําเนินงาน เพราะเชื่อในความ ของผู ลงทุน ในป จจุบันจะสะท อนไปที่ส วนเพิ่ม สมํ่าเสมอของผลการ มูลค าหุ น (Capital Appreciation) ดําเนินงานของกิจการ ในอนาคต • คาดหวังอัตรา • คาดหวังอัตราผลตอบแทนรวมสูง ผลตอบแทนสมํ่าเสมอ โดยเฉพาะจากกําไรของส วนต าง คือ เพิ่มขึ้น/ลดลง ระหว างราคาขายและต นทุนที่ได มา น อยกว า การเพิ่มขึ้น/ ลดลงของอัตรา ผลตอบแทนของดัชนี ราคาตลาดหลักทรัพย โดยเฉพาะเสถียรภาพ ของราคาหุ นในภาวะ เศรษฐกิจชะลอตัว การจ าย • กิจการส วนใหญ ไม จ ายเงินป นผล • กิจการจ ายเงินป นผล เงินป นผล หรือจ ายในอัตราไม สูง เนื่องจาก สมํ่าเสมอ ทั้งในช วง กิจการประสงค จะนํากําไรไปสะสม เศรษฐกิจรุ งเรือง เป นทุนสําหรับการขยายกิจการที่ ทรงตัว หรืออ อนแอ กําลังเติบโตและสร างมูลค าเพิ่มได ดี
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ความเสี่ยง ทางธุรกิจ ความเสี่ยง ทางการเงิน
➍
31
สรุปคุณสมบัติสําคัญๆ ของหุ นเติบโตและหุ นตั้งรับ • ขึ้นอยู กับประเภทอุตสาหกรรม • ตํ่า เพราะผลิตภัณฑ เกี่ยวข องกับ การบริโภคขั้นพื้นฐาน ของประชาชน • ขึ้นอยู กับโครงสร างทางการเงิน • ขึ้นอยู กับโครงสร าง เฉพาะของแต ละกิจการ ทางการเงินเฉพาะ ของแต ละกิจการ แต ส วนใหญ กิจการ ในกลุม นีม้ กั มีหนีส้ นิ ตํา่ และกระแสเงินสดดี
หุนวัฏจักร... ขึ้นแรง ลงแรง เปลี่ยนแปลงตามการคาดการณ
ในทางตรงข ามกับหุ นตั้งรับ “หุ นวัฏจักร” (Cyclical Stock) หมายถึง หุ นที่อัตราผลตอบแทนเปลี่ยนแปลงมากกว าอัตราผลตอบแทนของดัชนีราคา ตลาดหลักทรัพย ทั้งในทิศทางขาขึ้นและขาลง ซึ่งในภาษาทางการเงินจะเป นก ลุ มหุ นที่มีความเสี่ยงที่เป นระบบ (Systematic Risk) หรือค าเบต า (Beta) สูง มักเป นหุน ของกิจการในอุตสาหกรรมทีผ่ ลการดําเนินงานได รบั อิทธิพลโดยตรง จากวงจรของเศรษฐกิจ เช น ยอดขายและกําไรจะสูงมากในช วงเศรษฐกิจรุง เรือง แต ตกตํ่าหรืออาจถึงขั้นป ดกิจการลงในช วงเศรษฐกิจอ อนแอ ตัวอย างของอุตสาหกรรมประเภทนี้ ได แก สถาบันการเงิน วัสดุก อสร าง อสังหาริมทรัพย ยานยนต เหล็ก เครื่องจักรหนัก และเครื่องประดับราคาสูง เป นต น
32
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
โดยรูปที่ ➑ และ ➒ จะแสดงการเคลือ่ นไหวของราคาหุน ในอุตสาหกรรม ธุรกิจการเงินระหว างป 2547-2555 ซึ่งมีทิศทางสอดคล องกับดัชนีราคา หลักทรัพย ของตลาดโดยรวม (SET Index) ด วยค าความผันผวนที่สูงกว า โดยเฉพาะในช วงของการเปลี่ยนแปลงสภาวะเศรษฐกิจ เช น ในช วงเศรษฐกิจ ตกตํา่ ป 2551 ผูล งทุนต องเผชิญกับภาวะขาดทุนกว าร อยละ 50 แต เมือ่ เศรษฐกิจ เริม่ มีสญ ั ญาณการฟ น ตัว ราคาหุน พลิกกลับอยากรวดเร็วในป ถดั มา และสามารถ สร างผลกําไรได กว าร อยละ 98 เป นต น หุน วัฏจักรเหมาะกับผูล งทุนทีน่ ยิ มซือ้ ขายในภาวะตลาดผันผวน เคล็ดลับ การลงทุนทีป่ ระสบความสําเร็จ คือ การหาสัญญาณการสิน้ สุดของภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย เพราะขณะที่เศรษฐกิจอยู ในช วงชะลอตัวถึงตกตํ่า ภาคแรงงานอ อนแอ ผูบ ริโภคขาดความเชือ่ มัน่ และชะลอการใช จา ยในสินค าคงทน (เช น บ าน รถยนต ) หรือสินค าราคาสูง (เช น เครื่องประดับ การท องเที่ยวหรือเดินทาง) และภาค ธุรกิจระงับการลงทุน (ชะลอการขอสินเชื่อ ระงับการขยายกิจการ ไม เปลี่ยน หรือไม ลงทุนซือ้ เครือ่ งจักรใหม ) ทําให กจิ การขาดรายได กําไรและราคาหุน ตกตํา่ หากผู ลงทุนสามารถคาดการณ ได ว าการฟ นตัวทางเศรษฐกิจจะเริ่มเกิดขึ้นได ในอนาคตอันใกล ผู ลงทุนจะเข าลงทุนในหุ นวัฏจักรในขณะที่ราคากําลังตกตํ่า ซึง่ เป นจังหวะทีด่ ที สี่ ดุ เพราะเมือ่ ผูบ ริโภคและภาคธุรกิจทัง้ หลายเริม่ มีความหวัง ว าเศรษฐกิจกําลังจะฟ นตัว การใช จ ายและการลงทุนจะค อยๆ กลับเข าสู ภาวะ ปกติ กิจการเริ่มคาดการณ รายได และกําไร พร อมๆ กับการตอบรับของราคา หุ นในทิศทางขาขึ้นอย างรวดเร็ว ข อสังเกต คือ ราคาหุ นวัฏจักรเปลี่ยนแปลงตามความเชื่อ ซึ่งอาจยัง ไม เกิดขึน้ จริง ณ ขณะนัน้ ดังนัน้ นักเศรษฐศาสตร หลายท านจึงใช ราคาหุน วัฏจักร เป นสัญญาณการเปลีย่ นแปลงวัฏจักรของเศรษฐกิจ เช น ราคาหุน ขึน้ ก อนรายงาน จากภาคเศรษฐกิจที่แท จริง เช น อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) อัตรา ดอกเบีย้ และอัตราการจ างงาน จะบ งชีว้ า เศรษฐกิจเข าสูภ าวการณ ฟน ตัว ในทํานอง เดียวกัน ราคาหุ นวัฎจักรมักจะปรับตัวลดลงก อนเครื่องชี้เศรษฐกิจทั้งหลาย จะยืนยันถึงภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
33
รูปที่ ➑
ความเคลื่อนไหวราคาของ SET Financials Index และ SET Index SET Financials Index SET Index 2.3 2.1 1.9 1.7 1.5 1.3 1.1 0.9 0.7 0.5 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
รูปที่ ➒
ผลตอบแทนรายป ของ SET Financials Index และ SET Index SET Index SET Financials Index 2012 2011 2010 2009 2008 2007 2006 2005 -100% -50% 0% 50% 100% 150% ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
34
➎
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
หุนเก็งกําไร… ตื่นเตนทันใจ ทั้งกําไรและขาดทุน
โดยนิยาม “หุน เก็งกําไร” (Speculative Stock) หมายถึง หุน ทีม่ โี อกาสสูง ทีจ่ ะสร างผลตอบแทนตํา่ มากหรือขาดทุน และมีโอกาสตํา่ ทีจ่ ะสร างผลตอบแทน ปกติหรือสูงมาก สะท อนจากราคาหุ นที่สูงกว ามูลค าที่แท จริง จึงนับได ว าเป น หุ นประเภทที่มีความเสี่ยงสูงที่สุด แต สามารถดึงดูดผู ลงทุนที่ต องการเก็งกําไร ระยะสั้น เพราะราคาเปลี่ยนแปลงขึ้นลงรวดเร็ว หากมีกําไร กําไรก็มาแบบ ตื่นเต นทันใจ หากหุ นราคาตก ก็ตกแบบต องลุ นจุดตัดขาดทุน ส วนใหญ ผู ลงทุน ในหุ นประเภทนี้มีความหวังเชิงบวกมากที่ราคาหุ นจะเพิ่มขึ้นแบบฉับพลันจาก ป จจัยต างๆ ทั้งที่มีเหตุผล เช น การฟ นตัวของผลการดําเนินงานสูงกว าที่ตลาด คาดการณ การเปลี่ยนผู บริหารหรือปรับโครงสร างธุรกิจ เป นต น หรือข าวลือ ที่ไม มีข อมูลรองรับ และผู ลงทุนตัดสินใจเข าลงทุน โดยไม วิเคราะห ศักยภาพ การลงทุนของกิจการอย างละเอียดรอบคอบ นอกจากนิยามของหุ นเก็งกําไรที่ราคาตลาดสูงกว ามูลค าที่แท จริงแล ว ในนิยามอื่นๆ “หุ นเก็งกําไร” อาจหมายถึง... หุน ทีม่ รี าคาซือ้ ขายต อหุน ตํา่ หรือทีเ่ รียกในต างประเทศว า “Penny Stock” สําหรับประเทศไทยเทียบเคียงได กับหุ นที่มีราคาซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย ตํ่ากว า 10 บาทต อหุ น ทําให การเคลื่อนไหว ในทุกๆ 1 ช วงราคา สามารถสร างกําไรและขาดทุนในอัตราส วนสูง เช น หุ นที่มีราคาตลาดต อหุ นที่ 2 บาท จะมีช วงราคาซื้อขายทุกๆ 0.20 บาท หรือเท ากับร อยละ 1 ผู ลงทุนจะเน นสร างกําไรสุทธิจาก ค าธรรมเนียมการซื้อขาย เพียง 2 - 3 ช วงราคา ซึ่งสามารถเกิดขึ้น ได ใน 1 ชั่วโมงการซื้อขายหรือภายใน 1 วัน หุ นของกิจการที่สินทรัพย มีความเสี่ยงสูง แต มีโอกาสสร างอัตรา ผลตอบแทนสูง เช น การสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ หรือวิจัย ผลิตภัณฑ ทางการแพทย เป นต น ซึง่ หากกิจการประสบความสําเร็จ ในโครงการสํารวจหรือพัฒนาหนึ่งๆ ราคาหุ นจะได รับการปรับมุม มองขึ้น (Re-rate) เพื่อสะท อนมูลค าเพิ่มในทรัพย สินของกิจการ ในทางกลับกัน หากการพัฒนาล มเหลว ต นทุนทางการเงินที่ลงทุน ไปเท ากับสูญเปล า และสะท อนด วยความตกตํา่ ของราคาหุน เช นกัน
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
35
หุ นของกิจการที่มีประวัติการดําเนินงานสั้นหรือไม สมํ่าเสมอ คือ ไม เป นไปตามวัฏจักร แต เกิดจากสาเหตุเฉพาะตัวของกิจการ ไม ใช ผลจากภาวะเศรษฐกิจโดยรวม จนทําให คาดการณ หรือวิเคราะห แนวโน มผลการดําเนินงานไม ได สํานักงานคณะกรรมการหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ได จัดทํา Turnover List เพื่อแสดงให เห็นถึงรายชื่อหลักทรัพย ที่มีอัตราการซื้อขาย หมุนเวียนสูง อันแสดงว าเป นหลักทรัพย ที่มีการซื้อขายเปลี่ยนมือกันมาก และอาจมีแนวโน มนําไปสู การซื้อขายที่ผิดปกติที่อาจกระทบต อความเสี่ยงของ ระบบการชําระราคาได ซึ่ง Turnover List จะเป นข อมูลที่ผู ลงทุนใช ประกอบ การตัดสินใจ และช วยให บริษทั หลักทรัพย ใช เป นข อมูลสําหรับบริหารความเสีย่ ง โดยมีหลักเกณฑ ดังนี้ ตารางที่ ➋
ตัวอย างหลักเกณฑ การพิจารณา Turnover List สําหรับหุ นสามัญที่จดทะเบียนใน ตลท. หุ นสามัญใน SET หุ นที่ติด Turnover List • อัตราการหมุนเวียนการซื้อขายต อสัปดาห (1W-Turnover) ≥ ร อยละ 30 และ • มูลค าซื้อขายต อวันในรอบสัปดาห ≥ 100 ล านบาท • จํานวนหุ นที่ติดไม เกิน 50 อันดับแรก หุ นที่ให บริษัทหลักทรัพย • หุ นที่ติด Turnover List และ P/E Ratio > 100 เท า หรือขาดทุน หรือบริษัทที่เข าข ายอาจถูกเพิกถอน รายงานต อ ก.ล.ต.
ตารางที่ ➌
ตัวอย างหลักเกณฑ การพิจารณา Turnover List สําหรับหุ นสามัญที่จดทะเบียนใน mai หุ นสามัญใน mai หุ นที่ติด Turnover List • อัตราการหมุนเวียนการซื้อขายต อสัปดาห (1W-Turnover) ≥ ร อยละ 30 และ • มูลค าซื้อขายต อวันในรอบสัปดาห ≥ 20 ล านบาท • จํานวนหุ นที่ติดไม เกิน 5 อันดับแรก
36
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ทั้งนี้ ไม รวมหุ น IPO ที่เข าซื้อขายระหว างสัปดาห หรือหุ นที่ย ายตลาด ระหว างสัปดาห โดยจะไม คํานวณในสัปดาห แรกที่ซื้อขายหรือย ายตลาด ตารางที่ ➍
ตัวอย างหลักเกณฑ การพิจารณา Turnover List สําหรับ Warrant Warrant ใน SET และ mai Warrant ที่ติด Turnover List • อัตราการหมุนเวียนการซื้อขายต อสัปดาห (1W-Turnover) ≥ ร อยละ 100 และ • ส วนเกินมูลค า (Premium) ≥ ร อยละ 20
ตารางที่ ➎ ตัวอย างข อมูล Turnover List ของหุ นสามัญ สัปดาห สิ้นสุดวันที่ ………. มูลค า P/E Ratio ซื้ อเฉลี่ ย หรื อบริษัทที่มี Nonหลั ก อันดับ ทรัพย %1W-Turnover ต อวัน ผลการดํ าเนินงาน Compliance (ล านบาท) ขาดทุน 1 AAA 50 130 ขาดทุน 2 BBB 250 290 58 3 CCC 184 150 28 ในตาราง Turnover List ประกอบด วย (1) ชื่อหลักทรัพย (2) ค า %1W-Turnover (1-Week Turnover Ratio) ซึ่งเป นสัดส วน ระหว างปริมาณการซื้อหุ นในรอบ 1 สัปดาห เทียบกับราคาตลาดของหุ นซึ่งปรับ ด วยค าฟรีโฟลต (Free Float) แล ว หากมีค าสูงมาก แสดงว าหุ นมีอัตราการ หมุนเวียนของการซื้อมากเมื่อเทียบกับจํานวนหุ นของกิจการ (3) มูลค าซื้อเฉลี่ยต อวัน (4) P/E Ratio คือ สัดส วนระหว างราคาตลาดของหุ น (ราคาหุ นคูณ ด วยจํานวนหุ นทั้งหมดของกิจการ) เทียบกับกําไรสุทธิในรอบ 4 ไตรมาสล าสุด หากค านี้สูงมาก แสดงว าหุ นมีราคาสูงเมื่อเทียบกับป จจัยพื้นฐาน
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
37
(5) Non-Compliance คือ ข อมูลที่แสดงว าหุ นนั้นเข าข ายถูกเพิกถอน จากตลาดหลักทรัพย เนื่องจากมีฐานะทางการเงินไม แข็งแรง สิง่ ทีผ่ ล ู งทุนควรให ความสนใจเป นพิเศษ คือ หุน ทีป่ รากฏอยูใ น Turnover List และยังเข าเกณฑ ข อใดข อหนึ่ง ดังนี้ มีผลการดําเนินงานขาดทุน หรือ มีค า P/E Ratio สูงกว า 100 เท า หรือ หุ นเข าข ายถูกเพิกถอนออกจากตลาดหลักทรัพย (Non-Compliance) ผู ลงทุนต องพิจารณาวิเคราะห ข อมูลเกี่ยวกับหุ นเหล านี้โดยละเอียดก อน ที่จะตัดสินใจลงทุน เนื่องจากรายงาน Turnover List ชี้ให เห็นว า… หุ นเหล านี้มี ป จจัยพื้นฐาน ณ ป จจุบัน ไม แข็งแรง แต กลับมีการซื้ออย างหนาแน นในรอบ สัปดาห ที่ผ านมา โดยปกติเมื่อกล าวถึงการลงทุนในหุ น ผู เชี่ยวชาญจะแนะนําให ผู ลงทุน เตรียมระยะเวลาการลงทุนให ยาวเพียงพอที่ราคาหุ นจะเปลี่ยนแปลงสะท อน ป จจัยพื้นฐานจนสร างผลตอบแทนที่น าพึงพอใจได เช น เมื่อผู ลงทุนวิเคราะห ว า ผลการดําเนินงานของกิจการจะขยายตัวได ดใี น 1-2 ป ข างหน า ผูล งทุนจะเริม่ เข า สะสมหุน ไว เมือ่ เวลาผ านไป กิจการรายงานผลการดําเนินงานทีด่ ตี ามทีค่ าดการณ หรือสูงกว า ราคาหุ นจะค อยๆ ปรับเพิ่มขึ้น และผู ลงทุนสามารถขายหุ นเพื่อรับ ผลตอบแทน ซึ่งรอบระยะเวลาลงทุนจะอยู ในช วงประมาณ 1-3 ป อย างไรก็ดี ด วยลักษณะเฉพาะของหุ นวัฏจักรและหุ นเก็งกําไร ทําให “การจับจังหวะลงทุน” เป นป จจัยสําคัญอีกทั้งรอบระยะเวลาการลงทุนของหุ น ทั้ง 2 ประเภทนี้มักจะสั้นกว าการลงทุนในหุ นประเภทอื่น ซึ่งผู ลงทุนในตลาด หลักทรัพย ของกลุ มประเทศเกิดใหม เช น ประเทศไทย ส วนใหญ เป นผู ลงทุน รายย อยและนิยมการลงทุนระยะสั้น การห ามไม ให ผู ลงทุนเก็งกําไรระยะสั้น คงทําไม ได เพราะแม มคี วามเสีย่ งสูง แต มโี อกาสสร างกําไรระยะสัน้ ได อย างมาก เช นกัน ดังนั้น คําแนะนําสําหรับการลงทุนหรือเก็งกําไรระยะสั้น คือ ต องเป น ผู ลงทุนที่ซื้อขายเร็ว พร อมยอมรับความผิดพลาดและตัดขาดทุน ที่สําคัญที่สุด คือ ต องรู จักควบคุมสัดส วนเงินลงทุนไม ให มากเกินไป
38
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น ป จจัยที่ ➊ แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง ป จจัยที่ ➋ แบ งตามลักษณะของกิจการ
ป จจัยที่
➌
แบงตามสไตลของหุน ป จจัยที่ ➍ แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด ป จจัยที่ ➎ แบ งตามถิน่ ฐานของผูล งทุนและตลาดหลักทรัพย ทหี่ น ุ ของกิจการ จดทะเบียนอยู ป จจัยที่ ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น บทสรุป
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
39
เชื่อว า… ผู ลงทุนหลายท านมีผู ลงทุนที่เป นต นแบบ ไม ว าจะเป นผู ลงทุนที่ เน นหุน คุณค าทัง้ ในหรือต างประเทศ ซึง่ สามารถสร างผลตอบแทนอันน าประทับใจ ในระยะยาว หรือผูล งทุนทีเ่ น นหุน เติบโต ซึง่ สามารถสร างผลตอบแทนทีด่ ใี นช วง เวลาที่ท าทายได อย างรวดเร็ว ผู ลงทุนมือใหม ทั้งหลายอาจตั้งคําถามว า... “หุ น คุณค า” และ “หุน เติบโต” เป นสไตล หน ุ บนทางสองแพร งทีต่ อ งเลือกเพียงทางใด ทางหนึง่ หรือสามารถลงทุนแบบผสมผสานกันได ก อนทีจ่ ะไขข อข องใจนี้ ผูล งทุน ควรทําความเข าใจคุณลักษณะทั่วไปของหุ นทั้ง 2 ประเภทนี้ก อน การแบ งประเภทหุน ตามสไตล ขา งต น อีกนัยหนึง่ ถือเป นการแบ งประเภท หุ นตามการเปรียบเทียบเครื่องชี้ความถูกแพงของราคาหุ นต อความคาดหวังใน อัตราการเติบโตของกิจการ ทั้งนี้ ลักษณะสําคัญและความเสี่ยงของหุ นคุณค า และหุ นเติบโต สามารถสรุปได ตามตารางด านล างนี้ ตารางที่ ➏
นิยาม
สรุปลักษณะสําคัญและความเสี่ยง ของหุ นคุณค าและหุ นเติบโต หุ นคุณค า (Value Stock) หุ นเติบโต (Growth Stock) • หุ นที่มีราคาตํ่ากว ามูลค า • หุ นที่มีราคาสูง (ของดี ราคาสูง) ที่เหมาะสม (ของดี ราคาถูก) ส วนใหญ เป นหุ นของกิจการที่มี เหมาะสําหรับลงทุนระยะยาว สัญญาณการขยายตัวของ ลักษณะเด นของหุ นประเภทนี้ สินทรัพย รายได และกําไรสูง คือ เป นหุ นที่เน นให อัตรา กว าค าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม ผลตอบแทนเงินป นผลสูง หรือตลาดโดยรวม เหมาะ แต กิจการมักจะมีผลการดําเนิน สําหรับผู ลงทุนที่สามารถรับ งานเติบโตไม โดดเด น หรืออาจ ความเสี่ยงจากการผันผวนของ เติบโตเต็มที่แล ว ทําให ผู ลงทุน ราคาหุ นได ให ราคาหุ นตํ่าหรือไม สนใจซื้อ ขาย จึงทําให ราคาตลาดตํ่ากว า มูลค าที่เหมาะสม
40
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
สรุปลักษณะสําคัญและความเสี่ยง ของหุ นคุณค าและหุ นเติบโต หุ นคุณค า (Value Stock) หุ นเติบโต (Growth Stock) ลักษณะ • อัตราการขยายตัวของ • อัตราการขยายตัวของสินทรัพย สําคัญ สินทรัพย รายได และกําไรตํ่า รายได และกําไรสูง • อัตราส วนราคาต อกําไรต อหุ น • อัตราส วนราคาต อกําไรต อหุ น (Price/Earnings Ratio : P/E) (Price/Earnings Ratio : P/E) หรืออัตราส วนราคาต อมูลค า หรือ อัตราส วนราคาต อมูลค า ทางบัญชีต อหุ น (Price/Book ทางบัญชีต อหุ น (Price/Book Value Ratio : P/BV) ตํ่า Value Ratio : P/BV) สูง • อัตราผลตอบแทนจาก • อัตราผลตอบแทนจากเงินป นผล เงินป นผลสงู ตํ่า เพราะส วนใหญ กิจการจะนํา กําไรไปลงทุนเพื่อขยายฐาน ธุรกิจต อไป ความ เสี่ยง
• ความผิดพลาดในการประเมิน • ความผิดพลาดในการคาดการณ คุณค าที่แท จริงของหุ น ที่ว าผล อัตราการขยายตัวของสินทรัพย ประกอบการจะสามารถพลิก หรือรายได โดยเฉพาะกําไร ฟ นขึ้นได และการลดลงของ ที่เกิดขึ้นจริงออกมาตํ่ากว าระดับ ราคาตลาดจะเป นเพียงชั่วคราว ที่คาดหวังไว • หากคุณค าที่ประเมินไว • ผู ลงทุนที่เคยซื้อหุ นในราคาสูง ไม เกิดขึ้นจริง หุ นนั้นจะขาด เพราะคาดหวังผลประกอบการ คุณสมบัติของหุ นคุณค า คือ สูง เมื่อผิดหวังจะปรับลดราคา “หุ นดี ราคาถูก” ทันที และ เป าหมาย และอาจทําให เกิดแรง ราคาตลาดของหุ นจะตกตํ่าลง เทขาย จนส งผลให ราคาตลาด ต อไป เพราะขาดป จจัยพื้นฐาน ของหุ นลดลงอย างรวดเร็ว ที่ดีของกิจการรองรับ
หมายเหตุ : ความแตกตางตามลักษณะขางตนอาจลดลงในภาวะที่ตลาดการเงินเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรง เชน ขณะที่ราคาหุนทั่วทั้งตลาดตกตํ่าจากผลกระทบของภาวะตลาด (Market Sentiment) ในชวงตน ของวิกฤตเศรษฐกิจ เปนตน
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
41
ข อสังเกตประการหนึง่ คือ การแบ งประเภทหุน ตามสไตล จะไม ใช ราคาหุน เช น หุ น A ราคาหุ นละ 10 บาท หุ น B ราคาหุ นละ 25 บาท เป นเครื่องกําหนด ว า หุ น A มี ร าคาถู ก กว า หุ น B แต จ ะเปรี ย บเที ย บเครื่ อ งชี้ ค วามถู ก แพง ของราคาหุ นต อความคาดหวังในอัตราการเติบโตของกิจการ เช น อัตราส วน ราคาตลาดต อกําไรต อหุ น (P/E Ratio) หรืออัตราส วนราคาตลาดต อมูลค าทาง บัญชีต อหุ น (P/BV Ratio) ดังแสดงไว ในตารางด านบน โดย “หุ นเติบโต” มักมี ค า P/E Ratio และ/หรือ P/BV Ratio สูงกว า “หุ นคุณค า” อย างไรก็ตาม การ เลือกสรรหุ นเพื่อการลงทุนโดยพิจารณาเพียงเครื่องชี้ประเภทเดียว เช น P/E Ratioจะมีความเสี่ยง ผู ลงทุนสถาบันส วนใหญ ทั้งที่เน นหุ นคุณค าหรือหุ นเติบโต ต างอ างอิงการวิเคราะห ป จจัยพื้นฐานและเปรียบเทียบเครื่องชี้หลายประเภท เป นหลักสําคัญในการลงทุน ➊
หุนคุณคา (Value Stock)
ในเกณฑ เบื้องต น “หุ นคุณค า” มักมีค า P/E Ratio หรือ P/BV Ratio ตํ่า บ งบอกว าเป นหุ นราคาถูก เพราะผู ลงทุนส วนใหญ ในตลาดละเลยหุ นประเภทนี้ เนื่องจากกิจการถูกปกคลุมด วยข าวในเชิงลบเกี่ยวกับผลประกอบการ หรือ การบริหารจัดการ ทําให เกิดการคาดการณ ว ากําไรจะเพิ่มขึ้นช าหรือลดลง ซึ่ง ก อนการลงทุนผู ลงทุนต องวิเคราะห ให แน ใจว าแท จริงแล วกิจการยังมีศักยภาพ ที่ดี เพื่อสนับสนุนสมมติฐานว าเป นหุ นที่ราคาตลาดตํ่ากว ามูลค าที่แท จริงของ กิจการ เมื่อผู ลงทุนเข าสะสมหุ น ณ ราคานั้นๆ จะมี “ส วนเผื่อความปลอดภัย” (Margin of Safety) ในการลงทุนสูง คือ หากราคาจะลดลงต อ ก็ไม ควรลดลง มาก อย างไรก็ตาม คุณค าทีแ่ ท จริงจะปรากฏเมือ่ สถานการณ นนั้ คลีค่ ลายลง และ ป จจัยพื้นฐานที่แข็งแกร งของกิจการเริ่มแสดงตนผ านการทยอยฟ นตัวของ ผลประกอบการความสําเร็จของการลงทุนในหุ นคุณค าจึงขึ้นอยู กับว า... กิจการจะสามารถพลิกฟ นขึ้นได จริงหรือ การลดลงของราคาตลาดเป นเพียงชั่วคราวตามที่คาดการณ ไว หรือไม และต องใช ระยะเวลาเท าใด
42
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ความจริงข อหนึ่ง คือ การลงทุนที่รอคอยเป นเวลานาน อาจทําให ผู ลงทุน ขาดความมั่นใจในผลการวิเคราะห หรือแรงกดดันที่ต องสร างผลตอบแทน ทีแ่ ข งขันได ในกลุม ผูล งทุนสถาบันด วยกัน อาจไม เอือ้ ให ผล ู งทุนรอการฟ น ตัวของ ราคาตลาดของหุ นคุณค าในระยะเวลานานๆ ได ตัวอย างเช น ผู จัดการกองทุนเลือกหุ นคุณค าเข าพอร ตจํานวนหนึ่ง เวลา ผ านไป 1 ป ยังไม มสี ญ ั ญาณว าราคาตลาดของหุน คุณค าจะเพิม่ ขึน้ ขณะเดียวกัน กองทุนของคูแ ข งทีเ่ น นหุน เติบโต ราคาตลาดของหุน กลับตอบสนองอย างรวดเร็ว ทําให กองทุนที่เน นหุ นคุณค ามีผลตอบแทนน อยกว าคู แข งเป นระยะเวลานาน จนผู ถื อ หน ว ยลงทุ น ตั้ ง คํ า ถามหรื อ พากั น สั บ เปลี่ ย นไปลงทุ น ในกองทุ น อื่ น ผู จัดการกองทุนที่เน นหุ นคุณค าก็อาจต องเปลี่ยนสไตล ของหุ นเพื่อรองรับความ ท าทายนี้ในช วงเวลาก อนที่คุณค าของหุ นที่เลือกไว จะแสดงผล สถานการณ เช นนี้ สามารถแก ไขได โดยการตัง้ ชือ่ กองทุนและระบุนโยบาย การลงทุนให ชัดเจน พร อมสื่อความให ผู ถือหน วยลงทุนทราบว า... กองทุนนี้ ไม ใช กองทุนตราสารทุนทัว่ ไป แต เน นลงทุนในหุน คุณค า เพือ่ ให ผล ู งทุนมีความ เข าใจและความคาดหวังที่ถูกต องต อระยะเวลาลงทุนและลักษณะผลตอบแทน ของกองทุน ➋
หุนเติบโต (Growth Stock)
“หุ นเติบโต” มักเป นหุ นที่เครื่องชี้มูลค าหุ นบ งบอกว าเป นหุ นราคาสูง ส วนใหญ เป นหุน ของกิจการทีค่ าดว าจะสร างการเติบโตอย างโดดเด นในสินทรัพย รายได และกําไร ผู ลงทุนพร อมเข าซื้อในราคาสูง เพราะเชื่อว าการขยายตัว ของกิจการจะทําให ราคาหุ นสูงขึ้นได อีกมากในอนาคต ในบางครั้งเกิดเป น ปรากฏการณ “ราคายิ่งสูง ยิ่งขึ้นต อ” ข อพึงระวังในการลงทุนหุน เติบโต คือ ซือ้ ในราคาสูง ไม ใช ราคาแพง ราคา สูงเพราะคาดหวังการเติบโต แต ต องเป นราคาที่เหมาะสม จึงเป นที่มาของคาถา ประจําตัวผู ลงทุนหุ นเติบโต คือ “Growth at a Reasonable Price (GARP)” ความสําเร็จของการลงทุนในหุ นเติบโตขึ้นอยู กับความสามารถในการเลือกหุ น ของกิจการที่จะมีการขยายตัวได เท ากับหรือสูงกว าอัตราที่คาดหวัง
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
43
ศักยภาพ คือ สาเหตุของความเสีย่ งทีส่ าํ คัญ หากผลประกอบการไม เติบโต เท าที่คาด (Below Expectation) ผู ลงทุนที่เคยซื้อหุ นในราคาสูง เมื่อผิดหวังจะ ปรับลดราคาเป าหมาย และอาจทําให เกิดแรงเทขายจนส งผลให ราคาตลาดของ หุ นลดลงอย างรวดเร็ว ตัวอย างเช น ผู ลงทุนซื้อหุ นโดยให ราคาเทียบเท า P/E Ratio ที่ 18 เท า สูงกว า P/E Ratio ของตลาดและหุ นในหมวดธุรกิจเดียวกันที่ 11 เท า และ 15 เท า ตามลําดับ เพราะคาดว ากําไรจะขยายตัวได มากกว าร อยละ 20 แต เมื่อ กิจการประกาศผลประกอบการประจําป ที่กําไรขยายตัวได ร อยละ 15 ราคาหุ น กลับตอบรับด วยการปรับลดลงในทันที เนือ่ งจากหุน เติบโตมีราคาสูงและจ ายเงินป นผลตํา่ ผูล งทุนจึงควรติดตาม ป จจัยทีส่ ร างการเติบโตและตรวจสอบอัตราการเติบโตทีแ่ ท จริงว าต อเนือ่ งอย างมี เสถียรภาพหรือไม หากเติบโตด วยสิทธิบัตร (Patents) หรือลิขสิทธิ์ (Copyrights) ในที่สุดจะถึงวันหมดอายุ หากเติบโตจากการผูกขาดธุรกิจ (Monopoly) อาจพบข อห าม การผูกขาดจากภาครัฐ ช วงการเติบโตในวัฏจักรของผลิตภัณฑ (Product Life Cycle) อาจเป นระยะเวลาสั้น หรือหมดลง การขยายตัวอย างมากของยอดขายและกําไร จะเป นแรงจูงใจให คู แข งเข ามามากขึ้น และอัตรากําไรลดลง นอกจากนี้ ผู ลงทุนควรตั้งคําถามในเชิงคุณภาพเพิ่มเติมเกี่ยวกับหุ น เติบโต เช น กิจการมีสินค าหรือบริการที่เป นเอกลักษณ และเป นที่ต องการของ ตลาดหรือไม ถ ามี จะทําให กิจการมีอํานาจกําหนดราคาสินค าหรือบริการ และ ความสําเร็จของธุรกิจในอนาคตอันใกล
44
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
กิจการมีแผนนําเสนอสินค าหรือบริการใหม ๆ สู ตลาดในเร็วๆ นี้ หรือไม ถ ามี จะส งเสริมโอกาสสร างรายได และกําไรที่เพิ่มพูนขึ้น กิจการมีข อได เปรียบทางการแข งขัน (Competitive Advantage) หรือไม ถ ามี จะช วยสร างมูลค าได ในระยะยาว เช น มีตราสินค า (Brand Name) เป นทีย่ อมรับ มีความภักดีของลูกค า ฝ ายบริหารเข มแข็งและมีความ สามารถ ทําเลที่ตั้งโดดเด น กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ และ ต นทุนตํ่า เป นต น กิจการมีสิทธิบัตร หรือการผูกขาดธุรกิจ หรือการปกป องจากการ เข ามาของคู แข งหรือไม ถ ามี จะช วยป องกันกิจการจากการแข งขันได ในระยะสั้น ทําให กิจการมีอํานาจในการกําหนดราคาสินค าหรือบริการ หรือริเริ่ม กิจกรรมเพื่อสร างศักยภาพการแข งขัน (Head Start) เหนือคู แข ง อย างไรก็ตาม กิจการต องเตรียมพร อมกลยุทธ ทจี่ ะสร างการเติบโต ต อเมื่ออภิสิทธิ์เหล านี้ครบอายุลง เมื่อได ทราบนิยาม ลักษณะสําคัญ และความเสี่ยง รวมทั้งป จจัยสู ความ สําเร็จในการลงทุนในหุ นแต ละสไตล กันแล ว มาดูสถิติอัตราผลตอบแทนรวม ระยะยาวของหุ นคุณค าและหุ นเติบโตกันบ าง ในที่นี้เราใช “ดัชนีผลตอบแทน รวม Russell 1000 Value” ซึ่งสะท อนผลตอบแทนรวมของหุ นขนาดใหญ ใน ตลาดหุน สหรัฐฯ ทีม่ อี ตั ราส วนราคาตลาดต อมูลค าทางบัญชี (P/BV Ratio) และ ความคาดหวังต ออัตราการเติบโตของกําไรตํ่า เป นตัวแทนของหุ นคุณค า และ “ดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 1000 Growth” ซึง่ สะท อนผลตอบแทนรวมของ หุ นขนาดใหญ ในตลาดหุ นสหรัฐฯ ที่มีอัตราส วนราคาตลาดต อมูลค าทางบัญชี (P/BV Ratio) และความคาดหวังต ออัตราการเติบโตของกําไรสูง เป นตัวแทน ของหุ นเติบโต โดยมี “ดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 3000” ซึ่งสะท อน ผลตอบแทนรวมของหุน ขนาดใหญ ในตลาดหุน สหรัฐฯ จํานวน 3,000 หลักทรัพย ครอบคลุมประมาณร อยละ 98 ของหุ นทั้งหมดในตลาด เป นตัวแทนของตลาด โดยรวม จากรูปที่ ➓ พบว า… หุน คุณค าสร างผลตอบแทนรวมทีด่ กี ว าหุน เติบโต ในช วงระยะเวลา 32 ป ที่ผ านมา (ป พ.ศ. 2523-2555)
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
รูปที่ ➓
45
ดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 1000 Value, Russell 1000 Growth และ Russell 3000 ระหว างป พ.ศ. 2523-2555 Russel 1000 Growth Total Return Russel 1000 Value Total Return Russel 3000 Total Return
35 30 25 20 15 10 5 0 1980 1984 1988 1992 1994 2000 2004 2008 2012 ที่มา : www.russell.com
สถิติผลตอบแทนรวมของหุ นคุณค าและหุ นเติบโตข างต น อาจทําให ผู ลงทุนที่เน นหุ นเติบโตลังเลใจว า... หุ นที่เลือกซื้อในช วง “ยิ่งสูง ยิ่งขึ้น” หรือจะ เป น “ยิ่งขึ้น ยิ่งแพง” จึงทําให ผลตอบแทนรวมในระยะยาวน อยกว าหุ นคุณค า ผู ลงทุนสามารถศึกษาพฤติกรรมราคาหุ นเพิ่มเติมโดยการแบ งระยะเวลาลงทุน เป นช วงๆ ดังนี้ ช วงที่ 1 ระหว างป พ.ศ. 2538-2542 (ค.ศ. 1995-1999) ดังแสดง ในรูปที่ ในช วงรุง เรืองของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ทีไ่ ด รบั อานิสงส มาจากการเพิม่ ขึน้ อย างมีนยั สําคัญของผลผลิต ตลอดจนกําไรในภาคอุตสาหกรรมในช วงก อนหน า คือ ตัง้ แต ป พ.ศ. 2528-2538 (ค.ศ. 1985-1995) แม ผลประกอบการทีแ่ ท จริง ในช วงนีจ้ ะเริม่ ชะลอลง แต ราคาตราสารการเงินต างๆ รวมทัง้ หุน ยังคงเป นขาขึน้ สอดคล องกับการแข็งค าของดอลลาร สหรัฐฯ ดังนั้น ความมั่งคั่งที่พอกพูนขึ้น (Wealth Effect) จากการเพิม่ ขึน้ ของราคาหุน ทําให ภาคการผลิตซึง่ เป นเครือ่ งจักร ทางเศรษฐกิจที่แท จริงถูกละเลย ผู ลงทุนและนักธุรกิจใช ความมั่งคั่งที่ได รับจาก ตลาดหุน มาเพิม่ การลงทุนในตลาดทุนต อเนือ่ งไปเรือ่ ยๆ ซึง่ ภายใต วงจรเศรษฐกิจ
46
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
(Business Cycle) ลักษณะนี้ หุ นเติบโตจะอยู ในความสนใจของผู ลงทุนมากกว า หุ นประเภทอื่น ราคาหุ นเติบโตเพิ่มขึ้นอย างแข็งแกร ง ทําให สามารถสร างผล ตอบแทนได ดีกว า สะท อนจากดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 1000 Growth ทีเ่ พิม่ ขึน้ ร อยละ 307 เปรียบเทียบกับดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 1000 Value ที่เพิ่มขึ้น เพียงร อยละ 182 ในช วงเวลาเดียวกัน รูปที่
ดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 1000 Growth, Russell 1000 Value และ Russell 3000 ระหว างป พ.ศ. 2538-2542 4.5 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 1994
Russel 1000 Growth Total Return Russel 1000 Value Total Return Russel 3000 Total Return
1995
1996
1997
1998
1999
ที่มา : www.russell.com
ช วงที่ 2 คือ ช วงเริ่มต นของภาวะตกตํ่าในตลาดหุ นในป พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ดังแสดงในรูปที่ เป นรอยต อระหว างการเพิ่มของราคาหุ นและ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ พร อมๆ กับอัตรากําไรของกิจการชะลอลง ซึ่ง ในที่สุดในช วงกลางป พ.ศ. 2543 กิจการในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีและสื่อสาร ทีเ่ ป นผูน าํ เศรษฐกิจเผชิญกับสถานการณ ทรี่ ายได ลดลง กําไรไม สามารถเพิม่ ขึน้ ต อไปได ตามมาด วยราคาหุ นตกตํ่า ความมั่งคั่งที่ผู ลงทุนสะสมไว หายไปใน เวลาอันรวดเร็ว สถานะลงทุนเริ่มขาดทุน ธุรกิจมีความยากลําบากในการจัดหา แหล งเงินทุน สุดท ายต องระงับแผนลงทุนหรือขยายกิจการ ส งผลต อการชะลอตัว ของเศรษฐกิจในภาพรวม
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
47
นอกจากนี้ การขยายการลงทุนมากเกินไปในช วงก อนหน าทีไ่ ม สอดคล อง กับศักยภาพการสร างกําไร ยังคงส งผลต อเศรษฐกิจโลกในเวลาต อมา ทั้ง เครื่องจักรและโรงงานที่สะสมหรือสร างไว ไม ได ใช งาน กําลังการผลิตส วนเกิน ทําให การฟ น ตัวทางเศรษฐกิจเป นไปอย างล าช า และถูกซํา้ เติมอีกครัง้ ด วยวิกฤต สถาบันการเงินในป พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ซึ่งในวงจรเศรษฐกิจลักษณะนี้ หุน เติบโตสร างความผิดหวังให ผล ู งทุน หุน คุณค าทีแ่ ม จะมีราคาตลาดลดลงตาม วงจรเศรษฐกิจ แต ไม หนักหนาเท าหุ นเติบโต เพราะมีความพร อมด านกระแส เงินสดและเงินป นผลรองรับ สะท อนจากดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 1000 Growth ทีล่ ดลงร อยละ 55 เปรียบเทียบกับดัชนีผลตอบแทนรวม Russell 1000 Value ที่ลดลงเพียงร อยละ 15 ในช วงป พ.ศ. 2543-2545 รูปที่
ผลตอบแทนดัชนี Russell 1000 Growth, Russell 1000 Value และ Russell 3000 ระหว างป 2543-2555
1.2 1.0 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0
Russel 1000 GrowthTotal Return Russel 1000 ValueTotal Return Russel 3000 Total Return
12/1999 6/2000 12/2000 6/2001 12/2001 6/2002 12/2002 ที่มา : www.russell.com
48
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ถึงตรงนี้… ผู ลงทุนคงได คําตอบแล วว า “หุ นคุณค า” และ “หุ นเติบโต” ต างมีช วงเวลาที่จะแสดงผลงานต างกันไป เพราะในแต ละวงจรเศรษฐกิจ หุ น ทั้งสองประเภทได รับผลกระทบและมีพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของราคา ไม เหมือนกัน พอร ตลงทุนที่ดีจึงควรผสมผสานหุ นทั้งสองประเภทเข าด วย กัน เนื่องจากการคาดการณ วงจรเศรษฐกิจอย างแม นยําทําได ยาก นอกจากนี้ ในบางครั้งผู ลงทุนจะพบว าหุ นที่เคยลงทุนในอดีตในฐานะหุ นเติบโต เมื่อเวลา เปลี่ยนไป องค ประกอบต างๆ อาจผลักดันให หุ นตัวเดียวกันนั้นเปลี่ยนสถานะ เป นหุ นคุณค าได รูปที่
Valuation / Growth Dynamics Valuation Metric “DOG”
Equilibrium Range “GROWTH”
“VALUE”
“STAR”
à Negative Surprise Ä Positive Surprise Æ Derating Å Rerating
Market Average
Market Average
Growth Metric ที่มา : Bloomberg
จากรูปที่ หุน เติบโตอยูใ น Matrix ที่ 3 คือ “GROWTH” เนือ่ งจากอัตรา การเติบโตและราคาสูง เมื่อเวลาผ านไป อัตราการเติบโตที่โดดเด นกว าค าเฉลี่ย ของตลาดและอุตสาหกรรมไม สามารถยั่งยืนถาวร อาจด วยสภาพการแข งขัน หรือวงจรเศรษฐกิจทําให อัตราการขยายตัวชะลอลง ณ ขณะที่ราคาหุ นยังไม ลดลงสะท อนการชะลอตัวเข าสู ค าเฉลี่ยของผลประกอบการ หุ นจะตกมาอยู ใน
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
49
Matrix ที่ 2 คือ “DOG” เนื่องจากราคาหุ นสูงเกินกว าศักยภาพการเติบโตของ ผลประกอบการในอนาคต เมื่อผู ลงทุนตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงในผล ประกอบการจะเกิดแรงเทขายหรือการต อรองราคาที่จะเข ามาสะสมหุ น ทําให ราคาตลาดของหุ นลดลง จนหุ นเข ามาใน Matrix ที่ 1 คือ “VALUE” หุ นที่มี ป จจัยพืน้ ฐานดี แต ผล ู งทุนยังไม สนใจ เพราะอัตราการขยายตัวไม ดงึ ดูด เข าข าย “การไม เล น ก็ไม เล นเลย” ทําให ราคาตลาดของหุ นไม เพิ่มขึ้นหรืออาจลดลง ต อเนื่องเป นระยะเวลาหนึ่ง ผู ลงทุนที่เน นหุ นคุณค าจะเข าสะสมหุ นในช วงเวลานี้ ถือลงทุนและรับเงินป นผล พร อมทบทวนความแข็งแกร งของป จจัยพื้นฐาน จวบจนผลประกอบการเริ่มฟ นตัว ปรากฎเป นจุดสนใจของนักวิเคราะห และ ผู ลงทุนในวงกว างว าเป นหุ นดี และราคายังถูกอยู หุ นจึงเคลื่อนเข า Matrix ที่ 4 คือ “STAR” ผู ลงทุนจะเริ่มสับเปลี่ยนจากหุ นที่ราคาเข าข ายสูงเกินไปแล วเข ามา ลงทุนในหุ นกลุ มนี้ ก อนที่จะกลับมาที่ Matrix ที่ 3 คือ “GROWTH” อีกครั้ง โดยสรุป หุ นเติบโตสร างกําไรงามในภาวะที่เศรษฐกิจรุ งเรือง หุ นคุณค า เป นผูน าํ เมือ่ เศรษฐกิจอยูใ นช วงกลางและกําลังเคลือ่ นเข าสูก ารชะลอตัวหรือตกตํา่ หุ นคุณค าและหุ นเติบโตผลัดกันเป นผู นําตลาดในแต ละช วงเวลา อย างไรก็ดี ผลตอบแทนในหุ นคุณค ามีค าสูงกว าเนื่องจากในรอบ 10 ป ที่ผ านมา เศรษฐกิจ โลกเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจทีร่ นุ แรงบ อยครัง้ จากความเชือ่ มโยงกันของตลาดการ เงินโลก นวัตกรรมในตราสารการเงินทีซ่ บั ซ อน และการขาดการควบคุมดูแลและ ระบบจัดการความเสี่ยงที่ดี
50
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น ป จจัยที่ ➊ แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง ป จจัยที่ ➋ แบ งตามลักษณะของกิจการ ป จจัยที่ ➌ แบ งตามสไตล ของหุ น
ป จจัยที่
➍
แบงตามมูลคาหุน ตามราคาตลาด ป จจัยที่ ➎ แบ งตามถิน่ ฐานของผูล งทุนและตลาดหลักทรัพย ทหี่ น ุ ของกิจการ จดทะเบียนอยู ป จจัยที่ ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น บทสรุป
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
51
“ในระยะ 1-2 เดือนนี้ คาดว าจะมีเงินทุนไหลเข าจากต างประเทศ แนะนําให ลงทุนในหุน Big Cap” เชือ่ ว าผูล งทุนคงเคยได รบั คําแนะนําในลักษณะ นี้จากฝ ายกลยุทธ ของบริษัทหลักทรัพย ต างๆ กันมาบ าง “Big Cap” ในที่นี้ ย อมาจาก Big Market Capitalization มีความหมายใกล เคียงกับ Large Market Capitalization (Large-cap) หรือหมายถึงหุน ทีม่ มี ลู ค าตามราคาตลาดขนาดใหญ และมีสภาพคล องสูงเพียงพอทีผ่ ล ู งทุนต างประเทศจะสามารถเข าซือ้ และขายได มูลค าตามราคาตลาด = (Market Capitalization)
จํานวนหุ นทั้งหมด X ราคาตลาด
(จํานวนหุน สามัญ + จํานวนหุน บุรมิ สิทธิ) - จํานวนหุน ซือ้ คืน มูลค าหุ นตามราคาตลาด หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว า “มูลค าตลาด” จะ สะท อนให เห็นถึงมูลค ารวมและขนาดของกิจการ ตัวอย างเช น บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) มีหุ นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย จํานวน 2,856.3 ล านหุ น ณ ราคาตลาดสิ้นสุดวันที่ 29 มีนาคม 2556 ที่หุ นละ 326 บาท PTT จะมีมลู ค าตลาดเท ากับ 931,153.68 ล านบาท เป นต น นัน่ หมายถึง ว าหากผู ลงทุนมีเงินถึง 931,153.68 ล านบาท และนําเข าซื้อหุ น PTT ทั้งหมด ผู ลงทุนจะเป นเจ าของกิจการของ PTT แต เพียงผู เดียว ผูล งทุนทีค่ น ุ เคยกับการลงทุนในหุน ไทยจะทราบดีวา PTT เป นหุน ทีม่ มี ลู ค า ตลาดขนาดใหญ ทสี่ ดุ ในตลาดหลักทรัพย ของไทย แต สาํ หรับผูล งทุนต างประเทศ อาจมี คํ า ถามว า มู ล ค า ตลาดขนาด 931,153.68 ล า นบาท หรื อ ประมาณ 31,038.45 ล านดอลล าร สหรัฐ (ณ อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร สหรัฐ เท ากับ 30 บาท) ถือเป นหุน ขนาดใหญ มากหรือปานกลาง ทีจ่ ริงแล ว การจัดขนาดของหุน ในตลาดทุนแต ละประทศหรือภูมภิ าคจะใช เกณฑ มาตรฐานหรือวิธกี ารแตกต าง กันออกไป ตามขนาดของเศรษฐกิจและบริษัทจดทะเบียน รวมทั้งระดับการ พัฒนาของตลาดนั้นๆ
52
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
โดยตลาดหุ นต างประเทศที่มีหุ นจดทะเบียนเป นจํานวนมาก จะแบ งหุ น ตามมูลค าตามราคาตลาด (Market Capitalization) ได เป น 6 ประเภท ได แก ➊
Mega-cap Stock : มูลค าหุ นตามราคาตลาดสูงกว า 100,000 ล าน ดอลล าร สหรัฐ
➋
Large-cap Stock : มูลค าหุ นตามราคาตลาดสูงกว า 10,000 ล าน ดอลลาร สหรัฐ
➌
Mid-cap Stock : มูลค าหุ นตามราคาตลาดระหว าง 2,000-10,000 ล านดอลลาร สหรัฐ
➍
Small-cap Stock : มูลค าหุ นตามราคาตลาดระหว าง 300-2,000 ล านดอลลาร สหรัฐ
➎
Micro-cap Stock : มูลค าหุ นตามราคาตลาดระหว าง 50-300 ล าน ดอลลาร สหรัฐ
➏
Nano-cap Stock : มูลค าหุ นตามราคาตลาดตํ่ากว า 50 ล านดอลลาร สหรัฐ สําหรับตลาดหุน ไทย สามารถแบ งขนาดของหุน ออกเป น 3 ประเภท ได แก
➊
Large-cap Stock : ได แก หุน สามัญทีม่ มี ลู ค าหุน ตามราคาตลาดสูงสุด 50 อันดับแรก การซื้อขายมีสภาพคล องสูงอย างสมํ่าเสมอ และมีสัดส วน ผู ถือหุ นรายย อยผ านเกณฑ ที่กําหนด หรือพูดง ายๆ ก็คือ หุ นที่เป นส วน ประกอบของดัชนี SET50
หมายเหตุ 1. มูลค าตลาดทีใ่ ช จดั ขนาดของหุน เป นเพียงค าประมาณการณ นอกจากนี้ หุน ทีเ่ คยเป น Small-cap เมือ่ ขนาดกิจการขยายใหญ ขนึ้ หุน นัน้ สามารถเปลีย่ นสถานะเป น Mid-cap และ Large-cap ได ตามลําดับ 2. หุ นขนาดใหญ อาจไม ใช หุ นที่มีราคาตลาดต อหุ นสูง เช น บริษัท บีทีเอส กรุ ป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) เป นหุ น Large-cap ที่มีราคาต อหุ น (ณ วันที่ 29 มีนาคม 2556) เท ากับ 9.40 บาท แต หุ นขนาดกลาง (Mid-cap) เช น บริษัท ทางด วนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (BECL) มีราคา ต อหุ นสูงกว า BTS คือ 39.75 บาท เป นต น
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
53
➋
Mid-cap Stock : ได แก หุ นสามัญที่มีมูลค าหุ นตามราคาตลาดสูง ตัง้ แต ลาํ ดับที่ 51-100 หรือหุน ในลําดับที่ 51-100 ในดัชนี SET100 ด วย เกณฑ สภาพคล องและสัดส วนผูถ อื หุน รายย อยเช นเดียวกับดัชนี SET50
➌
Small-cap Stock : ได แก หุน ทัง้ หมดในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศ ไทยที่ไม ใช ส วนประกอบของดัชนี SET100
“Mega-cap Stock” ถือเป นหุ นที่มีขนาดใหญ ที่สุด ส วนใหญ เป นกิจการ ทีม่ ชี อื่ เสียงและเครือข ายทัว่ โลก มีสนิ ค าและบริการเป นทีร่ จ ู กั และบริโภคกันอย าง แพร หลาย เช น Apple, Exxon Mobil, IBM, Microsoft, และ GE เป นต น เป นทีน่ า สังเกต ว า Mega-cap Stocks ส วนใหญ เป นกิจการของสหรัฐฯ ยุโรป หรือญีป่ น ุ อย างไร ก็ตาม ในช วงหลังที่ภูมิภาคเอเชียมีบทบาทในเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ผู ลงทุน เริ่มเห็นรายชื่อกิจการของจีน เช น Petro China, Industrial Commercial Bank of China และ China Construction อยู ใน Mega-cap Stock ตารางที่ ➐
รายชื่อหลักทรัพย ขนาดใหญ 10 อันดับแรก ของดัชนี S&P 500 เรียงตามมูลค าตลาด ณ วันที่ 28 มีนาคม 2556 ชื่อหลักทรัพย สัญลักษณ หมวดอุตสาหกรรม Apple Inc. AAPL Information Technology Exxon Mobil Corp XOM Energy General Electric Co GE Industrials Chevron Corp CVX Energy Johnson & Johnson JNJ Health Care Intl Business Machines Corp IBM Information Technology Microsoft Corp MSFT Information Technology Google Inc GOOG Information Technology Procter & Gamble PG Consumer Staples Pfizer Inc PFE Health Care ที่มา : www.standardandpoors.com
54
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ผู ลงทุนสถาบันระดับโลกที่บริหารเงินกองทุนขนาดใหญ เช น ธนาคาร กองทุนร วมลงทุน (Pooled Funds) และกองทุนรวม สามารถลงทุนได เฉพาะ ในหุ นขนาดใหญ (Mega-cap หรือ Large-cap Stock) เนื่องจากกฎเกณฑ ด านสภาพคล อง และการลงทุนให ได สัดส วนที่จะสามารถสร างผลตอบแทน ให แก กองทุนได ตัวอย างเช น หากหุ นที่ผู ลงทุนสถาบันต องการลงทุนมีขนาด เล็กมาก จนสามารถลงทุนได เพียงร อยละ 0.05 ของมูลค ากองทุน จะทําให การเปลี่ยนแปลงของราคาตลาดของหุ นไม มีนัยสําคัญต อผลตอบแทนรวมของ กองทุน ขณะที่ทีมจัดการกองทุนต องเสียทรัพยากรในการเลือกสรรหุ น จัดสรร สัดส วนเงินลงทุน และติดตามป จจัยพื้นฐานของกิจการ ดังนั้น การลงทุนเพื่อ ให ได ประโยชน เต็มที่ ต องลงทุนให ได สัดส วนที่จะทําให เกิดผลตอบแทนอย าง เป นกอบเป นกํา เช น ควรมีเงินลงทุนในหุ นใดหุ นหนึ่งไม น อยกว าร อยละ 2-3 ของมูลค ากองทุน บางสถาบันมีการระบุมลู ค าซือ้ ขายขัน้ ตํา่ ของหุน ทีจ่ ะสามารถ รวมอยู ในรายชื่อหลักทรัพย ที่ลงทุนได (Investment Universe) เช น ไม ตํ่ากว า 5 ล านดอลล าร สหรัฐต อวัน เพื่อให มีสภาพคล องเพียงพอต อเงินทุนไหลเข าและ ออก โดยไม ทําให ราคาตลาดของหุ นเปลี่ยนแปลงมากนัก นอกจากข อดีด านสภาพคล องแล ว ลักษณะพิเศษของหุ นขนาดใหญ ทีท่ าํ ให การเลือกลงทุนในหุน ดีกลุม นี้ ช วยสร างผลตอบแทนสมํา่ เสมอในระยะยาว ได แก มักเป นหุ นของกิจการที่มีความมั่นคงมานาน มีความต องการจาก ผู ลงทุนอยู เสมอ มักมีความสมํา่ เสมอของรายได กําไร และความสามารถในการจ าย เงินป นผล มักมีเสถียรภาพ รวมทั้งความแข็งแกร งทางธุรกิจและโครงสร าง ทางการเงิน แม ในช วงวิกฤตเศรษฐกิจ อย างไรก็ตาม การที่หุ นขนาดใหญ ได รับความสนใจจากสื่อสิ่งพิมพ และ ข าวธุรกิจทั้งในและต างประเทศ รวมทั้งสํานักวิเคราะห เพราะเป นเป าหมาย ของผู ลงทุนรายใหญ จนบางครั้งทําให มีข อมูลมากเกินไป และการลงทุนตาม ข อมูลและบทวิเคราะห นั้นๆ สร างผลตอบแทนไม แตกต างจากการเปลี่ยนแปลง ของดัชนีตลาดโดยรวมเท าใดนัก
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
55
“Mid-cap Stock” เป นหุ นขนาดกลางที่ไม ค อยได รับความสนใจจาก ผู ลงทุน เนื่องจากผู ลงทุนไปให ความสนใจ Large-cap หรือ Small-cap Stock มากกว า อย างไรก็ดี กิจการของหุน ในกลุม นีม้ กั มีประสบการณ บริหารทีด่ มี าจาก กลุ ม Small cap และสามารถเติบโตได ดี มั่นคง จนกลายเป นหุ นขนาดกลางและ อาจสามารถก าวหน าไปเป นหุ นขนาดใหญ ได ในอนาคต จากเหตุผลในเชิงธุรกิจทําให นกั วิเคราะห ตดิ ตามข อมูลบริษทั จดทะเบียน ขนาดใหญ อย างใกล ชิด กิจการของ Small-cap Stock หรือหุ นขนาดเล็ก จึงถูกละเลย ทําให เกิดเป นจุดเด นของการลงทุนในหุ นขนาดเล็ก นั่นคือโอกาส สร างผลตอบแทนที่เหนือกว าผู ลงทุนสถาบันที่มักลงทุนเฉพาะในหุ นขนาดใหญ ลักษณะพิเศษของหุ นขนาดเล็กที่ผู ลงทุนกลุ มหนึ่งเชื่อว าจะให ผลตอบแทนที่ดี ได แก กิจการขนาดเล็ก มีโอกาสขยายตัวได ดี ทัง้ ในด านสินทรัพย รายได และกําไร โดยกิจการขนาดใหญ ที่ประสบความสําเร็จในป จจุบัน ต างเคยเป น Small-cap มาก อน ดังนั้น ถ าเลือกสรรหุ นขนาดเล็ก ได ถูก ถือเป นขุมทอง ผู ลงทุนสถาบันและนักวิเคราะห ส วนใหญ ไม ให ความสําคัญในหุ น Small-cap ดังนั้น จึงมีโอกาสที่จะมีหุ นที่ป จจัยพื้นฐานดี ราคาถูก ให เลือกลงทุน เพราะเมื่อมีจํานวนบทวิเคราะห น อย ราคาตลาด ของหุ นจึงไม สะท อนมูลค าที่แท จริง (Undervalued Stock) อย างไรก็ตาม การลงทุนจํานวนมากในหุ นขนาดเล็ก (Small-cap หรือ Micro-cap หรือ Nano-cap Stock) มีข อควรระวัง เนื่องจากมีความเสี่ยงสูง เพราะสภาพคล องการซื้อขายตํ่า เสียเวลาในการวิเคราะห มาก ผู ลงทุนต อง วิเคราะห ดว ยตนเอง จึงควรมีพนื้ ฐานความรูแ ละเวลาติดตามข อมูล เพราะบางครัง้ อาจเป นหุ นเก็งกําไร นอกจากนี้ กิจการของหุ นขนาดเล็กมักเป นกิจการที่จัดตั้ง มาไม นาน ผู บริหารมีประสบการณ ไม สูง จึงอาจมีโครงสร างทางธุรกิจและฐานะ การเงินไม มั่นคง และมีโอกาสล มเหลวง ายกว ากิจการของหุ นขนาดใหญ
56
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
รูปที่
ผลตอบแทนของดัชนี S&P 500, S&P 400 Mid-cap และ S&P 600 Small-cap
2012 2011 2010 2009 2008 2007 2006 2005 2004 2003 2002 2001 2000 1999 1998 1997 1996 1995 1994 1993
6 5 4 3 2 1 0
S&P 500 S&P 400 Mid Cap S&P 600 Small Cap
ที่มา : www.standardandpoors.com
เราใช “ดัชนี S&P 500” เป นตัวแทนของหุน ขนาดใหญ ในตลาดหุน สหรัฐฯ “ดัชนี S&P 400 Mid Cap” เป นตัวแทนของหุ นขนาดกลาง และ “ดัชนี S&P 600 Small Cap” เป นตัวแทนของหุ นขนาดเล็กตามลําดับ สถิติผลตอบแทน ในรูปที่ แสดงว าหุน ขนาดกลางและหุน ขนาดเล็กสร างผลตอบแทนในระยะยาว ที่ดีกว าหุ นขนาดใหญ ซึ่งสถิติลักษณะนี้เกิดขึ้นเช นเดียวกันในตลาดหุ นอื่น
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น ป จจัยที่ ➊ แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง ป จจัยที่ ➋ แบ งตามลักษณะของกิจการ ป จจัยที่ ➌ แบ งตามสไตล ของหุ น ป จจัยที่ ➍ แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด
ป จจัยที่
➎
แบงตามถิ่นฐาน ของผูลงทุน และตลาดหลักทรัพย ที่หุนของกิจการ จดทะเบียนอยู ป จจัยที่ ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น บทสรุป
57
58
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
เชื่อว า... วันนี้ผู ลงทุนหลายท านต างมีเงินลงทุนส วนหนึ่งในต างประเทศ ไม ทางตรงก็ทางอ อม “ทางตรง” ได แก การเป ดบัญชีธนาคารหรือบัญชีซื้อขาย หลักทรัพย ในต างประเทศ “ทางอ อม” เช น การลงทุนผ านกองทุนรวมทีจ่ ดทะเบียน จัดตัง้ ในประเทศไทย ซือ้ ขายด วยสกุลเงินบาท โดยกองทุนนําเงินทีร่ ะดมทุนจาก ผู ลงทุนในประเทศไปซื้อหลักทรัพย หรือกองทุนรวมต างประเทศอีกชั้นหนึ่ง เป นต น ดังนัน้ เราจึงสามารถแบ งประเภทหุน ได ตามป จจัยแห งถิน่ ฐานของผูล งทุน และตลาดหลักทรัพย ที่หุ นของกิจการจดทะเบียนอยู โดยสามารถแบ งได เป น 2 ประเภท ได แก ➊
หุน ในประเทศ (Domestic Stock) : สําหรับผูล งทุนไทย หมายถึง หุน ที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ในประเทศไทย ทั้งตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย (SET) และตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (mai) ซึง่ ผูล งทุน จะคุ นเคยกับกิจการ เข าถึงข อมูลเพื่อการลงทุนง ายกว าลงทุนในกิจการ ต างประเทศ นอกจากนี้ การลงทุนหุ นในประเทศจะไม มีความเสี่ยง โดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน
➋
หุนตางประเทศ (Foreign / International / Global Stock) : สําหรับผู ลงทุนไทย หมายถึง หุ นที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย นอก ประเทศไทย เช น สิงค โปร ญี่ปุ น หรือสหรัฐฯ เป นต น วัตถุประสงค หลักของการลงทุนในหุ นประเภทนี้ ส วนใหญ เพื่อประโยชน ของการ กระจายความเสี่ยง และแสวงหาโอกาสลงทุนที่แตกต างไปจากประเภท ของอุตสาหกรรม กิจการ หรือหุ นที่มีให เลือกลงทุนในประเทศ
ความรุ งเรืองของโลกตะวันตก เช น อเมริกา และยุโรป หรือแม กระทั่ง ประเทศหลักในเอเชียอย างญี่ปุ น มีแนวโน มที่จะค อยๆ ลดบทบาทการเป นผู นํา ทางเศรษฐกิจของโลกลง แหล งขับเคลือ่ นการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกกําลังจะ เปลี่ยนไปที่กลุ มประเทศในตลาดเกิดใหม ทั้งในภูมิภาคเอเชียและละตินอเมริกา ดังนั้น การลงทุนในกิจการของประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจในทศวรรษ ต อๆ ไป จึงเป นทิศทางที่น าสนใจไม น อย
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
59
การลงทุนในต างประเทศ ผูล งทุนมีโอกาสได รบั ประโยชน จากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของกลุ มประเทศที่มีอัตราการเติบโตสูง อาทิ กลุ มประเทศ ในตลาดเกิดใหม ขา งต น ซึง่ กองทุนการเงินระหว างประเทศ (IMF) คาดการณ วา กลุม ประเทศเหล านีจ้ ะมีอตั ราการขยายตัวในระหว างป พ.ศ. 2555-2559 เฉลีย่ มากกว าร อยละ 6 ต อป โดยจีน อินเดีย บราซิล และรัสเซีย จะขึ้นเป นเศรษฐกิจ ขนาดใหญ ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกภายใน 4 ป ข างหน า ในขณะที่อัตรา การเติบโตโดยเฉลี่ยของกลุ มประเทศที่พัฒนาแล วจะขยายตัวเพียงร อยละ 2-3 ต อป เท านัน้ ทําให เกิดเป นกระแสเงินลงทุนไหลเข าตลาดหุน ของเศรษฐกิจเกิดใหม และตลาดโภคภัณฑ ที่รองรับกําลังการบริโภคในระยะยาวของกลุ มประเทศ เหล านีร้ วมทัง้ การแข็งค าของเงินสกุลท องถิน่ ซึง่ ทําให ผล ู งทุนทีก่ ระจายเงินลงทุน ไปยังต างประเทศมีโอกาสรับผลตอบแทนรวมที่สูงขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยน โอกาสลงทุนในกิจการทีไ่ ม มใี นประเทศเป นประโยชน ทสี่ าํ คัญอีกประการ ของการลงทุนในต างประเทศ ไม ว าจะเป นกิจการที่มีศักยภาพการเติบโตและ ผลกําไรมหาศาล เช น McDonald, Apple, Tencent (บริษัทให บริการสื่อ Online ของจีนที่มีรายได สูงเป นอันดับ 3 ของโลกรองจาก Google และ Amazon) หรือ แม แต หน ุ ในกิจการทีเ่ กีย่ วข องกับสินค าเกษตร เช น เพือ่ รองรับแนวโน มการเกิด ภาวะขาดแคลนตามการขยายตัวของประชากรและการยกระดับคุณภาพชีวิต ในกลุ มเศรษฐกิจเกิดใหม นอกจากนี้ ยังมีโอกาสลงทุนในหุ นผ านนวัตกรรม ทางการเงินต างๆ เช น Hedge Fund และ/หรือ Private Equity ตัวอย างเช น กองทุนเพือ่ สิง่ แวดล อม (Environment หรือ Green Fund) ทีก่ ารลงทุนในประเทศ ยังไม สามารถดําเนินการได เป นต น อย างไรก็ดี จากการสํารวจพอร ตลงทุนของผู ลงทุนส วนใหญ พบว า... ผู ลงทุนยังคงลงทุนในหลักทรัพย ของประเทศที่ตนมีถิ่นฐานอยู ในสัดส วนที่สูง กว าการลงทุนภายนอกประเทศมาก พฤติกรรมการลงทุนนี้ เรียกว า “Home Bias” ซึง่ เป นป จจัยเชิงคุณภาพทีม่ ผี ลต อการจัดสรรเงินลงทุนในหุน ต างประเทศ ป จจุบันการลงทุนในหุ นต างประเทศยังจํากัดอยู เฉพาะผู ลงทุนผู มีความมั่งคั่งสูง (High Net Worth Individual Investors : HNWI) หรือผู ลงทุนที่มีความรู และ ประสบการณ ลงทุน (Sophisticated Investor) ในตราสารที่หลากหลายทั้งใน และต างประเทศอยู แล ว แม กระนั้นผู ลงทุนมักกระจายการลงทุนในประเทศมาก
60
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ถึงร อยละ 80-90 และลงทุนในต างประเทศเพียงร อยละ 10-20 เท านั้น ซึ่งแม เป นสัดส วนตํา่ แต ใกล เคียงกับผูล งทุนในประเทศอืน่ ทีม่ เี งินลงทุนในต างประเทศ ประมาณร อยละ 20-30 พฤติกรรมนี้เรียกว า Home Bias เนื่องจากผู ลงทุนจะ เลือกลงทุนในกิจการที่คุ นเคยและใกล ตัว นอกจากนี้ การยอมรับความเสี่ยงด านอัตราแลกเปลี่ยนยังเป นของใหม สําหรับผู ลงทุนโดยทั่วไป อย างไรก็ตาม การศึกษาพฤติกรรมการลงทุนในต าง ประเทศของผู ลงทุนทั่วโลก พบว ามีแนวโน มการกระจายนํ้าหนักไปต างประทศ มากขึน้ โดยเฉพาะผูล งทุนในกลุม ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล ว เนือ่ งจากมีประสบการณ ลงทุนและยอมรับความเสี่ยงได มากกว า ซึ่งการลงทุนในหุ นประเภทนี้ ผู ลงทุน มักจะใช บริการการจัดการลงทุนโดยผู เชี่ยวชาญผ านกองทุนรวม การเติบโต ของกองทุนรวมที่เน นลงทุนในหุ นต างประเทศจากผู ลงทุนในซีกโลกตะวันตก ทั้งสหรัฐฯ และยุโรป เป นสาเหตุหลักของเงินลงทุนไหลเข าในภูมิภาคเอเชีย (ไม รวมญี่ปุ น) และละตินอเมริกา รูปที่
Home Bias ܯ0 $K$&.;H"3ęः ާ $= ܯ0 $K$&.;H"3ާ $=Iࣲ2 0 $֊= &.;H"3
0 $K$&.;H"3 100% 20% 40% 60% 80% 100% ที่มา : World Federal Exchange (WFE)
61
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
รูปที่
สัดส วนมูลค าตามราคาตลาดของหุ นในแต ละภูมิภาค Americas
Asia-Pacific
Europe-Africa-Middle East
27% 42% 31% ที่มา : World Federal Exchange (WFE)
รูปที่
เงินลงทุนไหลเข าในภูมิภาคเอเชีย ไม รวมญี่ปุ นและละตินอเมริกา 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%
2005 2011
Americas
Asia-Pacific
Europe-AfricaMiddle East
ที่มา : World Federal Exchange (WFE)
62
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
อย างไรก็ตาม ความผันผวนของการลงทุนในหุน เป นเรือ่ งปกติโดยเฉพาะ ในช วงเวลาที่เศรษฐกิจกําลังฟ นตัว และเป นการฟ นตัวที่ไม เท ากันในแต ละ ภูมิภาค ในแต ละประเทศ ทําให การลงทุนในหุ นต างประเทศมีประโยชน มาก โดยเฉพาะในด านการกระจายความเสี่ยงและการแสวงหาผลตอบแทนจาก ภายนอกประเทศ แต ตลาดและตราสารการเงินมีความซับซ อน การลงทุน ในตราสารการเงินต างประเทศ ผูล งทุนอาจเข าถึงได ยากทัง้ ด านข อมูล กระบวน การซื้อขาย สภาพคล อง และกระบวนการชําระราคา รวมทั้งยังมีความเสี่ยง เรื่องอัตราแลกเปลี่ยน กฎหมาย และภาระภาษี ดังนั้น ผู ลงทุนควรระมัดระวัง และศึกษาข อมูล ความรู และประสบการณ ให เพียงพอก อนกระจายเงินลงทุน ในต างประเทศ
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
63
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น ป จจัยที่ ➊ แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง ป จจัยที่ ➋ แบ งตามลักษณะของกิจการ ป จจัยที่ ➌ แบ งตามสไตล ของหุ น ป จจัยที่ ➍ แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด ป จจัยที่ ➎ แบ งตามถิน่ ฐานของผูล งทุนและตลาดหลักทรัพย ทหี่ น ุ ของกิจการ จดทะเบียนอยู
ป จจัยที่
➏
แบงตามประเภทของ ตลาดที่ซื้อขายหุน บทสรุป
64
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ป จจัยสุดท ายในการแบ งประเภทหุ น ได แก การแบ งตามประเภทของ ตลาดที่ซื้อขายหุ น ซึ่งสามารถแบ งได เป น 3 ประเภท คือ… ➊
หุนที่ไมจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย (Private Equity) : หุ นที่ไม จดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย หรือเคยจดทะเบียน ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย แต ได รับการนําออกจากตลาดหลักทรัพย เพื่อปรับปรุงกิจการและอาจได รับการนํากลับเข าไปจดทะเบียนซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย ภายหลัง
➋
หุนที่ซื้อขายในตลาดแรก (Primary Stock) : หุ นออกใหม ที่กิจการ นํามาเสนอขายเป นครั้งแรก กิจการเป นผู ได รับเงินทุนจากการขายหุ น โดยตรง
➌
หุนที่ซื้อขายในตลาดรอง (Secondary Stock) : หุ นที่หมุนเวียน อยู ในตลาดหลักทรัพย (ตลาดรอง) ผู ลงทุนซื้อขายเปลี่ยนมือผ าน ตลาดหลักทรัพย
เพื่อให ง ายต อการเข าใจและความคุ นเคยของผู ลงทุนในประเทศไทย ขอเริ่มจากหุ นที่ซื้อขายในตลาดแรก หรือ Primary Stock การออกหุ นสามัญ ใหม มาซื้อขายในตลาดแรกนี้ มักเกิดจากแรงจูงใจ 2-3 ประการของกิจการ ที่ต องการออกหุ นจํานวนใหม มาเสนอขายให ผู ลงทุนทั่วไป แรงจูงใจที่ว าอาจ ได แก ความต องการเงินลงทุนเพิม่ เติมเพือ่ ขยายกิจการให เติบโตก าวหน า ผูถ อื หุน เดิมของกิจการนัน้ ต องการขายหุน เพือ่ นําเงินทุนและกําไร ไปเพื่อวัตถุประสงค อื่น ในจังหวะที่กิจการมีความพร อมเข าจด ทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย จึงเสนอขายหุ นไปพร อมกับ การออกหุ นสามัญจํานวนใหม (หุ นเพิ่มทุน) ผู บริหารต องการตอบแทนพนักงานซึ่งเป นผู ถือหุ นเดิม จึงนําหุ น เข าจดทะเบียนซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย พร อมการออกหุน สามัญ จํานวนใหม เพื่อให หุ นของกิจการทั้งหมดมีสภาพคล องในการซื้อ ขาย
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
65
กิจการต องการชือ่ เสียงในฐานะบริษทั จดทะเบียนเพือ่ กิจกรรมอืน่ ๆ ของกิจการ เช น สร างภาพพจน องค การ สร างแรงกระตุ นทางการ ตลาด หรือการได รบั อัตราดอกเบีย้ สินเชือ่ พิเศษจากสถาบันการเงิน เป นต น ข อสังเกต คือ ในการเสนอขายหุ นสามัญใหม ในตลาดแรก กิจการจะ เป นผู ได รับเงินจากการขายโดยตรง ทั้งนี้ หุ นที่ซื้อขายในตลาดแรก อาจเป น “หุ นสามัญใหม เสนอขายครั้งแรก” (Initial Public Offering : IPO) หรือ “หุ น สามัญใหม เพิ่มทุนเสนอขายครั้งแรก” (Public Offering : PO) ซึ่งทั้งสองกลุ ม เป นหุน สามัญทีไ่ ม เคยมีอยูเ ดิม โดยหุน สามัญใหม เพิม่ ทุน (PO) จะเป นหุน สามัญ ใหม ของกิจการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย อยู แล ว ตัวอย างเช น
บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจ ด านการลงทุนโดยการถือหุน ในบริษทั อืน่ (Holding Company) ซึง่ ป จจุบนั ถือหุน เพียงบริษทั เดียว คือ บริษทั ไทยแอร เอเชีย จํากัด ซึง่ ประกอบธุรกิจสายการบินราคาประหยัด นํากิจการเข าจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยเป นครัง้ แรก ใช ชอื่ ย อว า “AAV” โดยเสนอขายหุ นสามัญใหม ขายครั้งแรก (Initial Public Offering : IPO) ให แก ผู ลงทุนทั่วไประหว างวันที่ 23-25 พฤษภาคม 2555 ด วยราคาเสนอขายที่ 3.70 บาท ต อหุ น
66
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ในอนาคต หากบริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จํากัด (มหาชน) มีแผนลงทุน เพิ่มเติม อาจจะออกหุ นสามัญใหม เพิ่มทุนจํานวนใหม มาเสนอขายให แก ผู ลงทุน อีกครั้ง ซึ่งในครั้งหน านี้จะนับเป นหุ นสามัญใหม เพิ่มทุน (Public Offering : PO หรือ Secondary Offering) ไม ใช หุ นสามัญใหม ขายครั้งแรก (Initial Public Offering : IPO) เนื่องจากเป นหุ นสามัญที่ออกใหม โดยกิจการที่เคยจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย อยู แล ว IPO ที่ฮือฮาที่สุดในป พ.ศ. 2555 คือ การเสนอขายหุ นสามัญใหม ของ “Facebook” ในด านกิจการ คงไม มีใครปฏิเสธถึงความสําเร็จของ Facebook แต ในมุมมองด านผลตอบแทนของผู ลงทุนกลับออกมาในทางตรงกันข าม โดย ราคาตลาดต อหุน ลดลงจาก 38 ดอลลาร สหรัฐฯ ทีเ่ ป นราคาเสนอขายในช วง IPO เหลือเพียง 25.58 ดอลลาร สหรัฐฯ ต อหุ นเท านั้น (ณ วันที่ 29 มีนาคม 2556) นับเป นตัวอย างทีด่ ที ผี่ ล ู งทุนต องให ความระมัดระวังการลงทุน ไม พจิ ารณาเพียง ภาพความสําเร็จของกิจการเท านั้น แต ต องดูองค ประกอบอื่นๆ ประกอบ เช น ความถูกแพงของหุ นที่สะท อนในการตั้งราคาในช วง IPO (Facebook ขยับราคา เสนอขายต อหุ นในช วง IPO จาก 24-28 ดอลลาร สหรัฐ เป น 32 ดอลลาร สหรัฐ) และการเป ดเผยข อมูลอื่นๆ ของกิจการด วย ในการพิจารณาราคาตลาด ขออ างอิงไปถึงเนื้อหาที่กล าวมาแล ว ที่ว า... การพิจารณาความถูกแพงของหุ นจะไม ใช เพียงราคาหุ นอย างเดียว แต จะ เปรียบเทียบเครื่องชี้ความถูกแพงของหุ นต อความคาดหวังในอัตราการเติบโต ของกิจการ เช น อัตราส วนราคาตลาดต อกําไรต อหุ น (Price/Earnings Ratio : P/E) และ/หรือ อัตราส วนราคาตลาดต อมูลค าทางบัญชีต อหุ น (Price/Book Value Ratio : P/BV) เป นต น
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
67
ตารางที่ ➑
ป จจัยพิจารณาความถูกแพงของราคาหุ น เมื่อมีการเสนอขายหุ นเพิ่มทุน จํานวน กําไร สัดส วนความเป น กํ าไร หุ น ต อหุ น เจ าของกิจการ (ล านบาท) (ล านหุ น) (บาท) หากถือหุ น 1 ล านหุ น ก อนการเสนอขาย 100 100 1 1% หุ นเพิ่มทุน หลังการเสนอขาย หุ นเพิ่มทุนจํานวน 110 100 0.909 0.91% 10 ล านหุ น
เมือ่ กิจการเพิม่ จํานวนหุน สามัญ หากกําไรของกิจการไม เพิม่ ขึน้ อย างน อย เท ากับสัดส วนของจํานวนหุน สามัญทีเ่ พิม่ ขึน้ กําไรต อหุน จะลดลง หรือทีเ่ ราเรียก ในภาษาทางการเงินว า “Diluted Earning” ซึ่งควรจะสะท อนลงในราคาตลาด ของหุ นในระยะต อไป เนื่องจากจะส งผลให ค า P/E สูงขึ้น นอกจากนี้ สัดส วน ความเป นเจ าของของกิจการของผู ถือหุ นเดิมจะลดลง (Diluted Holding) ด วย เช นกัน และด วยเหตุนี้ เมือ่ กิจการจะเสนอขายหุน สามัญเพิม่ ทุน กิจการมักจะให สิทธิผู ถือหุ นเดิมลงทุนเพื่อรักษาสัดส วนความเป นเจ าของกิจการก อน เมื่ อ หุ น สามั ญ ผ า นกระบวนการเข า จดทะเบี ย นซื้ อ ขายครั้ ง แรกใน ตลาดหลักทรัพย แล ว หุ นเหล านั้นจะหมุนเวียนเปลี่ยนมือระหว างผู ลงทุนที่ซื้อ ขายอยู ในตลาดหลักทรัพย ผู ลงทุนที่ซื้อหุ นไว ในช วง IPO เมื่อต องการจะขาย ก็จะส งคําสั่งขายหลักทรัพย ผ านบริษัทนายหน าซื้อขายหลักทรัพย (Broker) เพื่ อ แสดงจํ า นวนหุ น และราคาต อ หุ น ที่ ป ระสงค จ ะขายบนกระดานซื้ อ ขาย หลักทรัพย ผู ลงทุนรายอื่นที่มีความประสงค จะลงทุนในกิจการนี้แต ไม ได จอง ซื้อในช วง IPO หรือต องการลงทุนเพิ่ม หากพอใจกับราคาที่เสนอขายก็สามารถ เข าลงทุนได ผา นตลาดรองหรือตลาดหลักทรัพย การซือ้ ขายในลักษณะนีเ้ ป นการ แลกเปลี่ยนหุ นและเงินระหว างผู ลงทุนด วยกันเอง ไม เกี่ยวข องกับกิจการ
68
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
กลไกของการซื้อขายหุ นในตลาดรอง (Secondary Market) นี้ นอกจาก จะช วยเพิม่ สภาพคล องแล ว ยังช วยให การระดมทุนในตลาดแรกง ายขึน้ เนือ่ งจาก ราคาหลักทรัพย ในตลาดรองสามารถใช เป นแหล งข อมูลอ างอิงเพือ่ กําหนดราคา หลักทรัพย ในตลาดแรกหรือราคา IPO ได เช น หากบริษัทใดๆ จะนํากิจการและ หุ นสามัญใหม เข าจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย ครั้งแรก จะพิจารณา มูลค าหุน (P/E หรือ P/BV Ratio) ของกิจการทีม่ คี วามใกล เคียงกับกิจการของตน ทั้งในด านประเภทธุรกิจ กลุ มอุตสาหกรรม ขนาดของกิจการ อัตราการเติบโต ของกําไร และความเสี่ยง ในการเทียบเคียงเพื่อกําหนดราคาเสนอขายในช วง IPO ไม ให สูงหรือตํ่ากว ามากจนเกินไป ตารางที่ ➒ สรุปสถิติการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย ต อประชาชนครั้งแรก (IPO) และการเข าจดทะเบียนในป 2554 การยื่นขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย SET mai PFUND รวม ต อประชาชนในครั้งแรก (IPO) จํานวนบริษัทที่ยื่นขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย 1. ในป 2554 4 9 6 19 2. ไตรมาสที่ 4/2554 1 1 0 2 จํานวนบริษัทที่จดทะเบียนใหม 1. ในป 2554 3 7 6 16 2. ไตรมาสที่ 4/2554 0 3 1 4 ขอมูล ณ วันที่ 6 มกราคม 2555 หนวย : จํานวนบริษัท
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
69
ตารางที่ ➓ สรุปสถิติการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย ต อประชาชนครั้งแรก (IPO) และการเข าจดทะเบียนในป 2555 การยื่นขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย SET mai PFUND รวม ต อประชาชนครั้งแรก (IPO) จํานวนบริษัทที่ยื่นขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย 1. ในป 2555 12 14 3 29 2. ไตรมาสที่ 4/2555 5 6 1 12 จํานวนบริษัทที่จดทะเบียนใหม 1. ในป 2555 8 10 6 24 2. ไตรมาสที่ 4/2555 5 4 1 10 ขอมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2555 หนวย : จํานวนบริษัท หมายเหตุ : ไมนับรวมบริษัทเขาใหมที่เกิดจากการควบรวมกิจการ หรือ Reversed Takeover ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
นอกจากหุ นที่ซื้อขายในตลาดแรก (Primary Market) และหุ นที่ซื้อ ขายในตลาดรอง (Secondary Market) แล ว ผู ลงทุนยังมีโอกาสลงทุนในหุ นที่ ไม จดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย ใดๆ หรือเคยจดทะเบียนซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย แต มีผู นําออกจากตลาดหลักทรัพย เพื่อปรับปรุงกิจการและ อาจนํากลับเข าไปจดทะเบียนซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย ภายหลัง หุน ประเภทนี้ คือ “Private Equity” โดยกิจการจะกระจายหุน ให ผล ู งทุนเฉพาะกลุม ซึง่ ส วนใหญ เป นผู ที่ต องมีความเชี่ยวชาญและมีเงินลงทุนจํานวนมาก เช น บริษัทจัดการเงิน ลงทุน หรือผู ลงทุนผู มีความมั่งคั่งสูง (High Net Worth Individual Investor : HNWI) เนือ่ งจากหุน ประเภทนีม้ กี ารเป ดเผยข อมูลไม ละเอียดเท าหุน ทีเ่ สนอขาย ต อประชาชนเป นการทัว่ ไปและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ทมี่ กั มีขอ กําหนด ในการเป ดเผยข อมูลและการกํากับดูแลที่เข มงวดกว า
70
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ตัวอย างการลงทุนของ Private Equity ได แก “การกู มาซื้อกิจการ” หรือ Leveraged Buyout (LBO) ซึง่ เป นกลยุทธ การลงทุนหนึง่ ทีผ่ ล ู งทุนจะกูย มื เงินทุน จํานวนหนึง่ จากตลาดการเงิน นํามารวมกับเงินลงทุนของตนเองหรือกลุม ของตน แล วไปลงทุนซือ้ หุน ส วนใหญ หรือทัง้ หมดของกิจการ ส วนใหญ เป นกิจการทีอ่ ยูใ น ระยะที่เติบโตเต็มที่ (Matured Stage) และสามารถสร างกระแสเงินสดจากการ ดําเนินงานได อย างดี แต ผู บริหารชุดเดิมไม สามารถสร างความเจริญก าวหน า ให กิจการได ในระดับที่น าพอใจ เมื่อซื้อกิจการแล ว ผู ลงทุนซึ่งกลายเป นผู ถือ หุ นรายใหญ จะใช อํานาจเปลี่ยนแปลงคณะจัดการ ปรับปรุงจํานวนและคุณภาพ บุคลากร กระบวนการผลิต รวมทั้งตัดขายสินทรัพย ส วนที่ไม มีประโยชน บาง ส วนออกไป ทั้งหลายทั้งปวงเพื่อสร างมูลค าเพิ่มให กิจการเดินหน าต อไปอย าง เต็มศักยภาพ ตัวอย างที่ 2 ของ Private Equity ได แก “กองทุนร วมลงทุน” (Venture Capital Fund) ส วนใหญ ลงทุนในกิจการที่เริ่มจัดตั้งได ไม นาน กําลังอยู ระหว าง การพัฒนาสินค าหรือกลยุทธ การตลาด มักเป นผลิตภัณฑ ใหม หรือเกี่ยวข อง กับเทคโนโลยีใหม ๆ ซึ่งต องรอการพิสูจน จากตลาดว าจะสามารถประสบความ สําเร็จได หรือไม จากตัวอย างข างต น จะเห็นได ว าความเสี่ยงหลักๆ ของการลงทุนใน Private Equity คือ ความเสีย่ งทางธุรกิจของกิจการ และ ความเสีย่ งด านสภาพคล อง เนื่องจากหุ นของ Private Equity ไม ได ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย ผู ลงทุน จึงไม สามารถซื้อขายได อย างรวดเร็วและในราคาที่ต องการ หากต องการซื้อ หรือขาย ต องผ านกระบวนการในการจัดหาคู ค าและต อรองราคา ประกอบกับ กิจการเป ดเผยข อมูลเป นส วนน อย ทําให การต อรองราคาต องใช เวลานานและ ยากกว าหุ นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย ผู ลงทุนที่ลงทุนใน Private Equity จึงควรมีระยะเวลาลงทุนทีน่ านเพียงพอทีก่ จิ การจะกลับมารุง เรืองจนมีคณ ุ สมบัติ เพียงพอที่จะเข าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย ส วนใหญ ใช เวลามากกว า 5 ป บางกิจการอาจนานถึง 10-15 ป แต เมื่อถึงเวลานั้น จะเป นเวลาที่ดอกผลของ การลงทุนเบ งบานอย างน าชื่นใจ
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
71
บทนํา ป จจัยที่ใช ในการแบ งประเภทหุ น ป จจัยที่ ➊ แบ งตามลําดับสิทธิในการเรียกร อง ป จจัยที่ ➋ แบ งตามลักษณะของกิจการ ป จจัยที่ ➌ แบ งตามสไตล ของหุ น ป จจัยที่ ➍ แบ งตามมูลค าหุ นตามราคาตลาด ป จจัยที่ ➎ แบ งตามถิน่ ฐานของผูล งทุนและตลาดหลักทรัพย ทหี่ น ุ ของกิจการ จดทะเบียนอยู ป จจัยที่ ➏ แบ งตามประเภทของตลาดที่ซื้อขายหุ น
บทสรุป
72
รูจักสไตลหุน… เพื่อเลือกลงทุนใหโดนใจ
ในรอบ 10 ป ที่ผ านมา ตลาดหุ นไทยให ผลตอบแทนรวมต อป ในอัตรา สูงถึงกว าร อยละ 15 ความโดดเด นนี้ ทําให เกิดผู ลงทุนหน าใหม จํานวนมาก ด วยจุดมุ งหมายอันดับแรกๆ คือ การแสวงหาผลตอบแทนให เทียบเคียงกับ ผลตอบแทนในอดีต อย างไรก็ดี การลงทุนในหุ นอย างรอบรู และมีวินัยสามารถ สร างความมั่งคั่งอย างมั่นคง แต ก็ต องยอมรับความผันผวนที่มากกว าตราสาร การเงินอื่นด วย ดังนั้น ผู ลงทุนจึงควรจัดสรรเงินลงทุนเป นสัดส วน เพื่อบริหาร ความเสี่ยงของพอร ตโดยรวม
การลงทุนทุกประเภทมีความเสี่ยง แต ความเสี่ยงที่สูงที่สุด คือ ผู ลงทุน ไม สนใจ ไม ศกึ ษา และไม ตดิ ตามผลการลงทุนของตนเอง ดังนัน้ หากผูล งทุนไม มี เวลาหรือความรูอ ย างเพียงพอ ควรปรึกษาผูเ ชีย่ วชาญ เพือ่ ให การลงทุนของท าน เป นไปตามหลัก “3 ร” คือ รอบรู รอบคอบ และระมัดระวัง