ความรู้เรื่องระบบประสาท

Page 1

ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาทเป น ระบบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย ระบบประสาท แบ ง ออกเป น 2 ส ว นคื อ 1. ระบบประสาทส ว นกลาง (central nervous system หรื อ CNS) ประกอบด ว ย สมองและไขสั น หลั ง 2. ระบบประสาทส ว นปลาย หรื อ ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system หรื อ PNS) ประกอบด ว ยเส น ประสาทสมอง (cranial nerve) และ เส น ประสาทไขสั น หลั ง (spinal nerve) และระบบประสาทอั ต โนมั ติ (autonomic nervous system หรื อ ANS) ระบบประสาทรอบนอกหรื อ ระบบ ประสาทส ว นปลาย ประกอบด ว ยหน ว ยรั บ ความรู สึ ก ทั้ ง หมด โดยมี เส น ประสาทที่ ติ ด ต อ ระหว า งหน ว ยรั บ ความรู สึ ก กั บ ระบบประสาทส ว นกลาง และเส น ประสาทที่ เ ชื่ อ มโยงระหว า งระบบประสาทส ว นกลางกั บ หน ว ย ปฎิ บั ติ ง าน ระบบประสาทส ว นกลาง (Central nervous system หรื อ CNS) มี ส ว นประกอบที่ สํา คั ญ คื อ 1. สมอง (Brain) เป น อวั ย วะที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในร า งกาย มี รู ป ร า งเป น ก อ นรู ป ไข ประกอบด ว ยเซลล ป ระสาทมากมาย จํา นวนประมาณพั น ล า นเซลล อ ยู ใ น กะโหลกศี ร ษะ ซึ่ ง มี ค วามหนาและแข็ ง แกร ง ซึ่ ง ทํา หน า ที่ ป อ งกั น ไม ใ ห ส มอง ได รั บ ความกระทบกระเทื อ น แบ ง ออกเป น 3 ส ว น คื อ • ซี รี บ รั ม (Cerebrum) ทํา หน า ที่ แ ปลข อ มู ล จากประสาทสั ม ผั ส ที่ อ วั ย วะ จากส ว นต า ง ๆ ส ง มา แบ ง เป น ซี ก ซ า ย จะควบคุ ม การทํา งานอวั ย วะ ด า นขวา ขณะที่ ซี ก ขวาจะควบคุ ม การทํา งานของอวั ย วะด า นซ า ย • ซี รี เ บลลั ม (Cerebellum) ทํา หน า ที่ ป ระสานการทํา งานของกล า มเนื้ อ มั ด เล็ ก และมั ด ใหญ และควบคุ ม การทรงตั ว • ก า นสมอง ควบคุ ม การทํา งานของอวั ย วะต า ง ๆ นอกเหนื อ อํา นาจจิ ต ใจ ทํา งานเองโดยอั ต โนมั ติ เช น การหายใจ การย อ ยอาหาร เป น ต น นางสาวนวพร ศรี ว งษ ชั ย ครู ชาํ นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ย นบ า นแท น วิ ท ยา สํา นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาชั ย ภู มิ เขต 2


2. ไขสั น หลั ง (Spinal Cord) มี ลั ก ษณะเป น ลํา ยาวทอดอยู ใ นช อ งกระดู ก สั น หลั ง ตลอดความยาวของลํา ตั ว อยู ต อ จากก า นสมองลงมา มี ค วามยาวตั้ ง แต ต น คอ จนเกื อ บตลอดหลั ง ไขสั น หลั ง จะบรรจุ อ ยู ใ นโพรงของกระดู ก สั น หลั ง ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป น ปล อ ง ๆ รวมทั้ ง สิ้ น 31 ปล อ ง เส น ประสาทที่ อ อกมาจากไขสั น หลั ง จะแทรกตั ว ออกมาทางช ว งรอยต อ ระหว า งปล อ งของกระดู ก สั น หลั ง กระจายจากจุ ด กึ่ ง กลางของลํา ตั ว แยกไปซี ก ซ า ย และขวาเพื่ อ ไปยั ง อวั ย วะ ต า งๆ ทั่ ว ร า งกาย โดยทํา หน า ที่ ส ง กระแสประสาทรั บ สั ม ผั ส ไปยั ง สมอง และ รั บ กระแสประสาทตอบสนองจากสมองเพื่ อ ส ง ไปยั ง อวั ย วะต า ง ๆ ของ ร า งกาย และไขสั น หลั ง ยั ง เป น ศู น ย ก ลางของระบบปฏิ กิ ริ ย าสะท อ น (reflex action) ของร า งกายตั้ ง แต ลํา คอลงมาอี ก ด ว ย โดยควบคุ ม ปฏิ กิ ริ ย ารี เ ฟล็ ก ซ (Reflex) คื อ ปฏิ กิ ริ ย าที่ เ กิ ด ขึ้ น อย า งทั น ที ทั น ใดโดยไม ต อ งรอให ส มองสั่ ง การ เช น เมื่ อ บั ง เอิ ญ ไปถู ก ของร อ นจะรี บ กระตุ ก มื อ หนี ทั น ที การตอบสนองแบบรี เ ฟลกซ (Reflex Action) หรื อ ปฏิ กิ ริ ย าสะท อ น เป น ปฏิ กิ ริ ย า ของร า งกายในการตอบสนองต อ สิ่ ง เร า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในขณะร า งกายอยู ใ นสภาวะฉุ ก เฉิ น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ หลี ก เลี่ ย งอั น ตรายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น โดยคํา สั่ ง เพื่ อ ให ร า งกายแสดงปฏิ กิ ริ ย า ตอบสนองต อ สิ่ ง เร า นั้ น จะสั่ ง การจากบริ เ วณไขสั น หลั ง แทนการสั่ ง การจากสมอง เพื่ อ ต อ งการความรวดเร็ ว ฉั บ ไวในการหลบหลี ก อั น ตรายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ ร า งกาย ตั ว อย า งของปฏิ กิ ริ ย าสะท อ น ได แ ก อาการกระตุ ก สะดุ ง ผวา กะพริ บ ตา แม ก ระทั่ ง น้ํา ลายไหลเมื่ อ เห็ น ของเปรี้ ย วก็ ต าม ดั ง นั้ น ไขสั น หลั ง จึ ง ทํา หน า ที่ • นํา กระแสประสาทรั บ ความรู สึ ก (sensory neurons) เข า สู ส ว นต า ง ๆ ของ สมองเพื่ อ แปลความหมายและสั่ ง การไปตามอวั ย วะต า ง ๆ ของร า งกายเพื่ อ ให เกิ ด การปฏิ บั ติ ง าน • นํา กระแสประสาทจากระบบประสาทอั ต โนมั ติ (autonomic nervous system) ผ า นไขสั น หลั ง เพื่ อ ไปยั ง ศู น ย ค วบคุ ม ระบบประสาทอั ต โนมั ติ • เป น ที่ ตั้ ง ของศู น ย ป ฏิ กิ ริ ย าสะท อ น (reflex action) ของร า งกาย

นางสาวนวพร ศรี ว งษ ชั ย ครู ชาํ นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ย นบ า นแท น วิ ท ยา สํา นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาชั ย ภู มิ เขต 2


ภาพแสดงหน าที่ และการทํา งา นของ ส มอง ส ว นต า ง ๆ

ระบบประสาทส ว นปลาย หรื อ ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system หรื อ PNS) ประกอบด ว ยเส น ประสาทสมอง (cranial nerve) เส น ประสาทไขสั น หลั ง (spinal nerve) และระบบประสาทอั ต โนมั ติ (autonomic nervous system หรื อ ANS แบ ง ออกเป น 2 ส ว น คื อ 1. ระบบประสาทโซมาติ ค (Somatic Nervous System) เป น ระบบที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สภาพแวดล อ มภายนอก ประกอบด ว ยเส น ประสาทจากสมอง 12 คู ไปยั ง อวั ย วะต า ง ๆ เช น ตา หู จมู ก ลํา คอ ฯลฯ และเส น ประสาทจากไขสั น หลั ง 31 คู ไ ปยั ง บริ เ วณ คอ อก เอว เชิ ง กราน ก น กบ โดยมี ก ารทํา งานแบ ง เป น 2 ขั้ น ตอน ดั ง นี้ 1.1 เส น ประสาทรั บ ความรู สึ ก ซึ่ ง จะนํา ข า วสารจากภายนอกเข า สู ร า งกาย 1.2 เส น ประสาทสั่ ง งาน นํา ข อ มู ล จากสมองสู ก ล า มเนื้ อ ลํา ดั บ การทํา งานของระบบประสาทแบบโซมาติ ค เริ่ ม ต น จากกระแส ประสาทที่ ส ง ผ า นเซลล ป ระสาทรั บ ความรู สึ ก เข า ไปยั ง ไขสั น หลั ง และถู ก ส ง นางสาวนวพร ศรี ว งษ ชั ย ครู ชาํ นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ย นบ า นแท น วิ ท ยา สํา นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาชั ย ภู มิ เขต 2


ขึ้ น ไปที่ ศู น ย ก ลางออกคํา สั่ ง ที่ ส มองส ว นเซรี บ รั ม แล ว ส ง กลั บ ผ า นไขสั น หลั ง ไปตามเซลล ป ระสาทนํา คํา สั่ ง ซึ่ ง จะนํา กระแสประสาทดั ง กล า วไปแสดงผลที่ หน ว ยปฏิ บั ติ ง าน

2. ระบบประสาทอั ต โนมั ติ (Autonomic Nervous System) เป น ระบบที่ เ กี่ ย วกั บ การ ทํา งานของอวั ย วะภายในร า งกาย เช น ควบคุ ม การ ทํา งานของต อ มต า ง ๆ ควบคุ ม การเต น ของหั ว ใจ ดั ง นั้ น ความผิ ด ปกติ ข องระบบประสาทอั ต โนมั ติ จ ะ ทํา ให เ กิ ด โรคต า งๆขึ้ น เป น จํา นวนมาก ระบบ ประสาทชนิ ด นี้ ศู น ย ก ลางอยู ภ ายในไขสั น หลั ง แกน สมอง และสมองส ว นฮั ย โปธาลามั ส โดยจะทํา งาน เป น อิ ส ระอยู น อกเหนื อ การควบคุ ม ของอํา นาจจิ ต ใจ ระบบประสาทอั ต โนมั ติ ทํา หน า ที่ ค วบคุ ม การทํา งานของอวั ย วะภายในของ ร า งกายให อ ยู ใ นสภาพปกติ ลั ก ษณะการทํา งานจะเป น อิ ส ระ และเป น ส ว นช ว ย แบ ง เบาภาระของระบบประสาทส ว นกลาง

นางสาวนวพร ศรี ว งษ ชั ย ครู ชาํ นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ย นบ า นแท น วิ ท ยา สํา นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาชั ย ภู มิ เขต 2


ระบบประสาทอั ต โนมั ติ นี้ แ บ ง ออกเป น 2 ชนิ ด คื อ ระบบประสาทซิ ม พาเตติ ก และระบบประสาทพาราซิ ม พาเตติ ก 2.1 ระบบประสาทซิ ม พาเธติ ค (Sympathetic Nervous System) จะเริ่ ม ต น จากไข สั น หลั ง ส ว นอกที่ 1 จนถึ ง ไขสั น หลั ง ส ว นเอวที่ 2 โดยมี ศู น ย ก ลางอยู ใ นไขสั น หลั ง เป น ส ว นประสาทอิ ส ระที่ รั บ รู ก ารเร า ของประสาทในแถบบริ เ วณตั้ ง แต ลาํ คอถึ ง ท อ ง ประสาทส ว นนี้ ทํา หน า ที่ รั บ รู และควบคุ ม ระบบต า ง ๆ เช น การเต น ของ หั ว ใจ ต อ มน้าํ ลาย และต อ มไม มี ท อ อื่ น ๆ เป น ระบบที่ ทํา งานในสภาพที่ เ กิ ด การ ตกใจ โกรธ เครี ย ด ซึ่ ง อวั ย วะต า ง ๆ จะทํา งานในอั ต ราเพิ่ ม ขึ้ น การเร า ประสาท ซิ ม พาเตติ ก จะทํา ให ร า งกายเตรี ย มพร อ มสํา หรั บ เผชิ ญ อั น ตรายหรื อ ภาวะฉุ ก เฉิ น 2.2 ระบบประสาทพาราซิ ม พาเธติ ค (Parasympathetic Nervous system) แยก ออกจากสมองส ว นล า งกั บ ไขสั น หลั ง ส ว นปลายสุ ด ทํา หน า ที่ ต รงข า มกั บ ซิ ม พาเธ ติ ค เพื่ อ รั ก ษาดุ ล ยภาพของร า งกาย เช น ซิ ม พาเธติ ค เร ง ให หั ว ใจเต น เร็ ว แต พ ารา ซิ ม พาเธติ ค จะรั้ ง หั ว ใจให เ ต น ช า เพื่ อ ให หั ว ใจทํา งานปกติ และจะมี ใ ยประสาทของ มั น เองซอกซอนไปทั้ ง ร า งกายโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง คื อ อวั ย วะภายใน อั น ได แ ก ลํา ไส หลอดโลหิ ต หั ว ใจ เป น ต น ดั ง นั้ น ระบบประสาทอั ต โนมั ติ จึ ง ทํา หน า ที่ ช ว ยปรั บ ความสมดุ ล ย ใ นร า งกายของ มนุ ษ ย เ รา เช น เวลามนุ ษ ย เ กิ ด ความกลั ว หั ว ใจจะเต น แบบถี่ พอผ า นพ น เวลานั้ น หั ว ใจจะเต น ช า ลง ระบบประสาทอั ต โนมั ติ ช ว ยแบ ง เบาภาระของระบบประสาท กลางเพราะการปฏิ บั ติ ง านอวั ย วะที่ สํา คั ญ ในร า งกาย เช น การเต น ของหั ว ใจ ถ า ให สมองสั่ ง ทุ ก ขณะอาจพลั้ ง เผลอเป น อั น ตรายได วิ ธี ก ารดู แ ล รั ก ษา และปฏิ บั ติ ต น เพื่ อ ป อ งกั น ความเสี ย หายที่ จ ะเกิ ด กั บ ระบบประสาท ควรปฏิ บั ติ ดั ง นี้ : 1. การรั ก ษาความผิ ด ปกติ ข องเส น ประสาท โดยทั่ ว ไปจะเป น การรั ก ษาตาม อาการ โดยเฉพาะอาการปวด เป น อาการที่ ทํา ให ผู ป ว ยทุ ก ข ท รมานมากที่ สุ ด

นางสาวนวพร ศรี ว งษ ชั ย ครู ชาํ นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ย นบ า นแท น วิ ท ยา สํา นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาชั ย ภู มิ เขต 2


การรั ก ษาที่ อ าจได ผ ลในการช ว ยลดอาการ ได แ ก การใช ก ลุ ม ยาต า นอาการ ซึ ม เศร า ร ว มกั บ กลุ ม ยากั น ชั ก 2. การขาดวิ ต ามิ น บี มี ผ ลต อ การเกิ ด ภาวะผิ ด ปกติ ที่ เ ส น ประสาท ดั ง นั้ น สามารถ ป อ งกั น การเกิ ด เส น ประสาทส ว ยปลายอั ก เสบ ได ด ว ยการรั บ ประทานวิ ต ามิ น บี 1 ซึ่ ง จะช ว ยบํา รุ ง ประสาท ช ว ยลดความอยากน้าํ ตาล สามารถพบได ใ น อาหารจํา พวกเมล็ ด ธั ญ พื ช ถั่ ว ขนมป ง ธั ญ พื ช หรื อ โฮลวี ต ไข แ ดง มั น ฝรั่ ง ต ม หรื อ แม แ ต ผ ลไม อ ย า ง ส ม ก็ เ ป น แหล ง ของวิ ต ามิ น บี 1 เช น กั น 3. รั บ ประทานอาหารประเภทที่ ช ว ยส ง เสริ ม และช ว ยบํา รุ ง ประสาท อาหารที่ มี วิ ต ามิ น บี ม ากๆ เช น ข า วซ อ มมื อ รํา ข า ว ไข ตั บ ยี ส ต ผั ก สี เ ขี ย ว ผลไม สดและน้ํา ผลไม ควรหลี ก เลี่ ย งอาหารประเภทแอลกอฮอล ชา กาแฟ เป น ต น 4. พั ก ผ อ นให พ อเพี ย งกั บ ความต อ งการของร า งกายแต ล ะวั ย ไม เ คร ง เครี ย ดหรื อ กั ง วลมากเกิ น ไป ควรหลี ก เลี่ ย งจากสถานการณ ที่ ทํา ให ไ ม ส บายใจ 5. ออกกํา ลั ง กายสม่ํา เสมอ ซึ่ ง เป น หนทางที่ ดี ใ นการผ อ นคลาย 6. ไม ค วรใช อ วั ย วะต า งๆ ของร า งกายมากเกิ น ไป อาจทํา ให ป ระสาทส ว นนั้ น ทํา งานหนั ก เช น การทํา งานหน า จอคอมพิ ว เตอร น านเกิ น ไป อาจทํา ให ประสาทตาเสื่ อ มได 7. ควรหมั่ น ฝ ก การใช ส มองแก ป ญ หาบ อ ยๆ เป น การเพิ่ ม พู น สติ ป ญ ญาและ ป อ งกั น โรคความจํา เสื่ อ มหรื อ สมองเสื่ อ ม 8. เมื่ อ เป น โรคเกี่ ย วกั บ ระบบประสาทหรื อ สมอง ควรปรึ ก ษาแพทย เ ฉพาะทาง

นางสาวนวพร ศรี ว งษ ชั ย ครู ชาํ นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ย นบ า นแท น วิ ท ยา สํา นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาชั ย ภู มิ เขต 2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.