วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2557)

Page 1


วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น Community Health Development Quarterly Khon Kaen University , Thailand ปี ที 2 ฉบับที 2 เมษายน – มิถุนายน 2557

ชือหนังสือ เจ้ าของ ISSN พิมพ์ ที ปี ทีพิมพ์

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2287-0075 บริ ษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จํากัด (กรุงเทพฯ) พ.ศ. 2557


วัตถุประสงค์ 1. เพืIอเผยแพร่ผลงานการวิจยั ด้ านการพัฒนาสุขภาพชุมชน 2. เพืIอเป็ นสืIอกลางในการพัฒนาองค์ความรู้ในการวิจยั เพืIอการพัฒนาชุมชนทังในและต่ P างประเทศ 3. เพืIอแลกเปลีIยนแนวคิดและองค์ความรู้ด้านการวิจยั กําหนดการเผยแพร่ ปี ละ 4 ฉบับ (ม.ค.- มี.ค. , เม.ย.- มิ.ย. , ก.ค.- ก.ย. และ ต.ค.- ธ.ค.) กองบรรณาธิการฝ่ ายจัดการ นายจักรสันต์ เลยหยุด นางสาวระตินชุ ศรี สงู เนิน แบบปก : เดชา ปาลมงคล Graphic Designer / Photographer @ Daylight Studio email : dechabar@gmail.com สถานทีติดต่ อ กองบรรณาธิการวารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน ชันP 2 อาคารสถาบันวิจยั และพัฒนา (RDI) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ถนนมิตรภาพ อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์/โทรสาร 043-202838 E-mail : chdkkujn@gmail.com Website: http://chd.kku.ac.th/index.php/journal หมายเหตุ 1) บทความจากผู้นิพนธ์ภายในหน่วยงานทีIจะตีพิมพ์ในวารสารได้ รับการประเมินคุณภาพ บทความจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Reviewer) ภายนอกหน่วยงาน โดยไม่มี ส่วนได้ ส่วนเสียกับ ผู้นิพนธ์ จํานวน 3 ท่าน 2) บทความจากผู้นิพนธ์ภายนอกจะตีพิมพ์ในวารสารได้ รับการประเมินคุณภาพบทความ จากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Reviewer) ภายในหน่วยงาน 1 ท่าน และภายนอกหน่วยงาน 2 ท่าน โดยทังP 3 ท่าน ไม่มีสว่ นได้ สว่ นเสียกับกับผู้นิพนธ์ 3) บทความ ทีIตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี P เป็ นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์ 4) กองบรรณาธิ ก ารวารสาร ไม่ ส งวนสิท ธิj ใ นการคัดลอกเพืI อการพัฒนาด้ า นวิ ช าการ แต่ต้องได้ รับการอ้ างอิงอย่างถูกต้ องตามหลักวิชาการ


ทีปรึกษา รศ.นพ. สมเดช พินิจสุนทร ผศ.นพ. พรหมพิศิษฐ์ โจทย์กิIง

ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บรรณาธิการ รศ.ดร. มานพ คณะโต พญ. วริ สรา ลุวีระ

ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

กองบรรณาธิการฝ่ ายวิชาการ ดร. วรพล หนูน่นุ ดร. สุทิน ชนะบุญ พ.ท.นพ. กฤติณ ศิลานันท์ ผศ.ทพ. วราวัชร์ ขจรรัตนวณิชย์ ผศ.ดร. นุชรัตน์ มังคละคีรี นางสาววรรณวิมล เมฆวิมล พ.ต.ต.(หญิง) พูนรัตน์ ลียติกลุ นางนฤมล บุญใหญ่ ว่าทีIร.ต.(หญิง) ธินฐั ดา พิมพ์พวง นางสาวกาญจนา นิIมสุนทร นายวรวุฒิ ชมภูพาน นางสาวศตพร รัตนโชเต นางสาวขนิษฐา ทุมา ดร.วุธิพงศ์ ภักดีกลุ นางสาวนันทวรรณ ทิพยเนตร

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ภาควิชาสาธารณสุขชุมชน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลค่ายสุรนารี จังหวัดนคราชสีมา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กลุม่ วิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนครพนม วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ ชวลิตกุล คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ภาควิชา การแพทย์แผนไทย วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และ สาธารณสุขกาญจนาภิเษก ภาควิชาเวชกิจฉุกเฉิน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดขอนแก่น คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ภาควิชาเวชกิจฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


ดร.ศิราณี ศรี หาภาค ดร.สุพฒ ั น์ จําปาหวาย ดร.ยอดขวัญ เกษทองมา

ผู้ทรงคุณวุฒปิ ระจําฉบับ ดร.สุพฒ ั น์ จําปาหวาย ดร. สุทิน ชนะบุญ ดร.เกศรา แสนศิริทวีสขุ นายวิรัติ วัฒนพิทกั ษ์ ดร.วุธิพงศ์ ภักดีกลุ ผศ.ดร. นุชรัตน์ มังคละคีรี นางสาวศตพร รัตนโชเต นางสาวสุพจนี ชุติดํารง นางมนัญญา ไวอัมภา นางกิตติมา โมะเมน

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น ฝ่ ายวิจยั และแผนงานวิชาการ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองบัวลําภู

ฝ่ ายวิจยั และแผนงานวิชาการ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น ภาควิชาสาธารณสุขชุมชน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น สํานักงานป้องกันควบคุมโรคทีI 7 จังหวัดอุบลราชธานี สํานักควบคุมความประพฤติ จังหวัดนครราชสีมา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร กลุม่ วิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนครพนม คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด


บทบรรณาธิการ ปั ญหายาเสพติด ได้ ก่อให้ เกิดความเสียหายร้ ายแรงต่อมวลมนุษยชาติ เพืIอส่งเสริ มความร่ วมมือ ระหว่างประเทศทัวI โลกในการต่อสู้กบั ปั ญหายาเสพติด จึงจัดให้ มีการประชุมระหว่างประเทศว่าด้ วยการใช้ ยา ในทางทีIผิด และการลักลอบใช้ ยาเสพติด (International Conference on Drug Abuse and Illicit Trafficking I) ซึงI จัดขึ PนทีIกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรี ย ระหว่าง วันทีI 17-26 มิถนุ ายน 2530 โดยทีIประชุมได้ เสนอต่อสมัชชา สหประชาชาติ กําหนดให้ วนั ทีI 26 มิถนุ ายนของทุกปี เป็ นวันต่อต้ านยาเสพติด สําหรับประเทศไทยโดย สํานักงาน ป.ป.ส.ในฐานะหน่วยงานกลางรับผิดชอบเกีIยวกับการป้องกัน และแก้ ไขปั ญหายาเสพติด ได้ นํามติวันต่อต้ านยาเสพติดขององค์การสหประชาชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และมีมติเห็นชอบให้ วนั ทีI 26 มิถนุ ายน ของทุกปี เป็ นวันต่อต้ านยาเสพติดโดยเริI มตังแต่ P ปี 2531 เป็ นต้ นมา ดังนันP ในปี 2557 สํานักงาน ป.ป.ส. จึงได้ กําหนดคําขวัญ “สังคมปลอดภัย ชุมชนอุ่นใจ ได้ ลกู หลานกลับคืน” ร่ วมปกป้องลูกหลานให้ ห่างไกลยาเสพติด เพืIอให้ ทกุ ภาคส่วนนําไปใช้ ในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และจัด กิจกรรมป้องกันเฝ้าระวังปัญหา ยาเสพติด รณรงค์สร้ างความตระหนัก การปรับเปลีIยนพฤติกรรม วารสารการพั ฒ นาสุ ข ภาพชุม ชน มหาวิ ท ยาลัย ขอนแก่ น ฉบับ นี P กองบรรณาธิ ก าร ได้ ให้ ความสําคัญและสนับสนุนการต่อต้ านยาเสพติด การสืIอสารองค์ความรู้ส่นู กั วิชาการ และสังคมจึงได้ คดั เลือก บทความทีIน่าสนใจเกีIยวกับการ ป้องกันและแก้ ไขปั ญหายาเสพติด ซึIงทําการศึกษาในพื PนทีIโดย นักพัฒนา สุข ภาพชุม ชน ได้ แ ก่ มาตรวัดมลทินทางสัง คมเกีI ยวกับยาเสพติดของคนไทย พฤติกรรมการใช้ ยาเสพติด สถานการณ์ด้านสารเสพติดของวัยรุ่ น การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการบริ การผู้ป่วยยาเสพติด การพัฒนา ต้ นแบบความรู้ในการป้องกันการใช้ สารเสพติด ประสิทธิผลของการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ด้านยาเสพติดด้ วย สืIอแบบต่างๆ สํา หรั บท่า นทีIส นใจติด ตามสถานการณ์ การพัฒนาองค์ ค วามรู้ ด้ า นการพัฒนาสุข ภาพชุม ชน สามารถนําองค์ความรู้ไปปรับใช้ ให้ สอดคล้ องกับบริ บท และสภาพปั ญหา ในแต่ละพื PนทีIจะทําให้ เกิดประโยชน์ และมีประสิทธิภาพ ในการปฏิบตั ิงานมากยิIงขึ Pน กองบรรณาธิการ หวังเป็ นอย่างยิIงว่าประโยชน์ทางวิชาการทีI เกิดจากวารสารฉบับนี P และฉบับต่อๆ ไปจะช่วยสร้ างเสริ มองค์ความรู้ส่ชู มุ ชน และนํามาซึงI การพัฒนาด้ าน สุขภาพและสุขภาวะทีIดีของประชาชนอย่างยังI ยืนตลอดไป รศ.ดร. มานพ คณะโต พญ. วริ สรา ลุวีระ บรรณาธิการ


สารบัญ มาตรวัดมลทินทางสังคมเกียวกับยาเสพติดของคนไทย มานพ คณะโต และ พูนรัตน์ ลียติ กลุ พฤติกรรมการกระทําความผิดคดียาเสพติดของผู้ต้องขัง ในเรือนจํากลางขอนแก่ น สมเด็จ กัวพิ ทกั ษ์ และ มานพ คณะโต การศึกษาสมรรถนะการดําเนินงานป้ องกัน ยาเสพติดในเยาวชนแกนนํา อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สุทธิ ลกั ษณ์ หนูรอด และ มานพ คณะโต ปั จจัยทีมีความสัมพันธ์ กับความตัง> ใจในการเลิกใช้ ยาเสพติดในผู้เข้ ารั บการบําบัดค่ าย วิวัฒน์ พลเมือง หน่ วยฝึ กการรบพิเศษ อําเภอปากช่ อง จังหวัดนครราชสีมา ธี ระชัย พบหิ รัญ, มานพ คณะโต และ ลาวัลย์ บุญชืน' พฤติกรรมเกียวข้ องกับยาเสพติดผิดกฎหมายในวัยรุ่ นและผลกระทบด้ านสุขภาพ สุจิตตา ฤทธิ) มนตรี และ มานพ คณะโต การวิเ คราะห์ ต้ น ทุ น กิ จ กรรมการบริ ก ารผู้ ป่ วยยาเสพติด งานบริ ก ารผู้ ป่ วยนอก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ขอนแก่ น อลิ สา ศรี อรรคจันทร์ และ มานพ คณะโต ต้ นทุ น ทางบั ญ ชี ก ารบํ า บั ด รั ก ษายาเสพติ ด ในระบบบั ง คั บ บํ า บั ด ของโรงพยาบาล ธัญญารักษ์ ขอนแก่ น ปี งบประมาณ 2554 พยอม ศรี กงพลี และ มานพ คณะโต การมีส่วนร่ วมในการป้ องกันและแก้ ไขปั ญ หายาเสพติด ของคณะกรรมการ กองทุน หลักประกันสุขภาพ ระดับท้ องถิน ในอําเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลําภู ถาวร วงษาธรรม สถานการณ์ ด้านสารเสพติดของวัยรุ่ น ในสังคมวัฒนธรรมปั จจุบันในสถานศึกษาด้ าน สุขภาพแห่ งหนึง กาญจนา นิ' มสุนทร และ มานพ คณะโต ประสิทธิผ ลของการรณรงค์ ประชาสัมพัน ธ์ ด้านยาเสพติดด้ วยสือแบบต่ างๆ ในกลุ่ ม นั กเรี ยนช่ วงชั > น ประกาศนี ยบั ต ร (ปวช.1-3) ณ สถานศึ ก ษาแห่ งหนึ งในเขต จังหวัดขอนแก่ น สิ นธุพร มหารัญ และ มานพ คณะโต

1 19 31

43

57 69

81

103

113

129


มาตรวัดมลทินทางสังคมเกียวกับยาเสพติดของคนไทย มานพ คณะโต* พูนรัตน์ ลียติ กลุ **

บทคัดย่ อ วัตถุประสงค์: การศึกษานีมีวัตถุประสงค์เพือพัฒนามาตรวัดระดับมลทินทางสังคมอัน เกียวเนืองกับยาเสพติดของคนไทย วิธีการ: การดําเนินการมี 2 ขันตอนคือ การพัฒนาเครื องมือต้ นแบบจากผู้เชียวชาญ และ การหาค่าความน่าเชือถือจากประชาชนอายุ 12-65 ปี จํานวน 650 คนจาก10 จังหวัดทัวประเทศ ตรวจสอบความแม่นตรงตามเนือหาความแม่นตรงตามตัวสร้ าง และค่าความคงทีภายใน ผลการศึกษา: มาตรวัดทีพัฒนาขึนประกอบด้ วยข้ อคําถาม 30 ข้ อ ใน 5 มิติดงั นี 1) ความคุ้นชิน 2) การรับรู้อนั ตราย 3) ความหวาดกลัว 4) ระยะทางสังคม และ 5) การตอบสองของชุมชน เป็ นมาตร วัดแบบรวมคะแนน สํา หรั บความน่าเชือถื อของมาตรวัดมีค่า สัม ประสิทธิ= แ อลฟาของครอนบาค 0.773 โดยมีค่าความคงทีภายในของแต่ละมิติตงแต่ ั 0.520 ถึง 0.909 ผลการตรวจสอบความ แม่นตรง พบว่ามีค่าดัชนีความแม่นตรงตามเนือหา 0.97ความตรงตามตัวสร้ างตรวจสอบด้ วยการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันมีความกลมกลืนกับข้ อมูลเชิงประจักษ์ สรุป: มาตรวัดนีเป็ นมาตรวัดมลทินทางสังคมทีเกียวข้ องกับยาเสพติดสําหรับคนไทยฉบับ แรกทีมีการตรวจสอบ ความแม่นตรงและความน่าเชือถือ และได้ รับการพัฒนาขึนด้ วยระเบียบวิธีวิจยั ทีถูกต้ อง และใช้ กลุม่ ตัวอย่างขนาดใหญ่ เหมาะสมทีจะนําไปใช้ ตอ่ ไป คําสําคัญ : แบบสอบถาม, การพัฒนามาตรวัด, มลทินทางสังคมเกียวกับยาเสพติด, คนไทย Key words : Questionnaire, Scale development, addiction stigma, Thai

* ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ** คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา


2 ABSTRACT Objective: To develop a scale for measuring addiction stigma for Thai population. Method: There are 2 phases of developing process; prototype development from content experts, and reliability test from 650 individuals, age 12-65 years old from 10 provinces throughout Thailand. Content validity, construct validity, and internal consistency were performed. Results: The developed scale comprised 30 items in 5 dimensions: 1) familiarity, 2) perceptions of dangerousness, 3) fear, 4) social distance, and 5) community responsiveness. It is the summated rating scale type. The Cronbach’s Alpha coefficients of the sale was0.773 with sub scale ranging from 0.520 to 0.909 of its dimension. The content validity indexes was 0.97. The construct validity was validated by the confirmatory factor analysis show model fit with the data collected. Conclusion: This is the first validated and reliable instrument for measuring addiction stigma for Thai population that was developed with strong research methodology and large sample size. It is appropriate to utilize.

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที " 2 ฉบับที " 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


พฤติกรรมการกระทําความผิดคดียาเสพติดของผูต้ อ้ งขัง ในเรือนจํากลางขอนแก่น สมเด็จ กัวพิ ทกั ษ์ * มานพ คณะโต** บทคัดย่ อ การศึกษานีมีวตั ถุประสงค์เพือ 1) เพือศึกษาพฤติกรรมการเสพและการจําหน่ายยาเสพติด ของผู้ต้องขัง 2) เพือศึกษามูลเหตุจงู ใจในการเสพและจําหน่ายยาเสพติดของผู้ต้องขัง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ต้องขังชายและหญิงทีกระทําความผิดคดียาเสพติดให้ โทษประเภท 1 (ยาบ้ า) ซึงถูกควบคุมตัว ในเรื อนจํากลางขอนแก่น จํานวน 12 คน โดย คัดเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) จากผู้ต้องขังชายและหญิงทีสมัครใจเข้ าร่ วมการวิจยั แล้ วดําเนินการสอบถามและสัมภาษณ์เชิงลึก (Indept interview) วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ กระบวนการตีความ ให้ ความหมาย หาความเชือมโยง เพือสร้ างเป็ นความรู้ความเข้ าใจต่อพฤติกรรมการกระทําความผิดคดียาเสพติดของผู้ต้องขัง ผลการศึกษาพฤติกรรมการใช้ ยาเสพติดของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ใช้ ยาเสพติดครังแรกอายุ 13 ปี ยาเสพติดทีใช้ ครังแรก ส่วนใหญ่ คือ ยาบ้ า โดยได้ มาจากเพือน และใช้ ร่วมกับเพือน ปริ มาณที ใช้ ในครังแรก เริ มจากปริ มาณน้ อยแล้ วค่อยเพิมปริ มาณขึนตามต้ องการ โดยใช้ ระยะเวลาในการ พัฒนาประมาณ 3 – 6 เดือนสถานทีทีเสพยาครังแรกแล้ วแต่เหตุการณ์ เช่น ห้ องนําโรงเรี ยน บ้ าน เพือน ร้ านอาหารหรื อสถานบันเทิงขณะไปเทียว หรื อดืมเครื องดืมแอลกอฮอล์ วิธีการเสพครังแรกมี ทังรับประทานเป็ นเม็ดและดูดควัน พฤติกรรมการจําหน่ายยาเสพติด พบว่า ลูกค้ ารายแรกส่วนใหญ่ คือเพือนในกลุ่มทีเสพยาด้ วยกัน และขยายจากเพือนสู่เพือน โดยวิธีปากต่อปากเหมือนระบบขาย ตรง ปริ มาณทีจําหน่าย ในรายย่อย เช่น จําหน่ายในกลุ่มนักเรี ยนเริ มจากปริ มาณน้ อย แล้ วค่อยเพิม ปริ มาณขึนเรื อยๆ ในรายใหญ่จะเริ มจากปริ มาณทีมากตังแต่ครังแรกๆทีจําหน่าย มูลเหตุจงู ใจในการ เสพยาเสพติด พบว่า ต้ องการคลายเครี ยด ต้ องการให้ ตวั เองสดชืนคึกคัก ต้ องการให้ มีอารมณ์ทาง เพศเพิมขึน ต้ องการประชดแฟน เพือนชวนและอยากลอง มูลเหตุจงู ใจในการจําหน่ายยาเสพติดส่วน ใหญ่ต้องการเงินมาซือยาเสพต่อ และหวังกําไรจากการจําหน่ายยาเสพติด อยากรู้ ศักยภาพของ ตัวเอง อยากได้ กําไร จากการจําหน่าย อยากเป็ นทียอมรับ และต้ องการมีอํานาจในกลุ่มของตัวเอง และมีสว่ นน้ อยทีคิดว่าทําง่าย ได้ เงินเร็ว และได้ เงินมาก จึงต้ องการยึดเป็ นอาชีพ คําสําคัญ : พฤติกรรมการเสพ, การจําหน่ายยาเสพติด, ผู้ต้องขัง Key words : inmates, drugs, behaviours * นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุม่ งานควบคุมโรค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


20 ABSTRACT The objective of this qualitative study were 1) to describe using and trafficking behaviour of inmates, and 2) to explore their motives. Inmates who committed methamphetamine offences were recruited. 12 inmates of both sexes were given permission and willing to participate during June-September 2013. Data was collected by in-depth interview in organised private setting in the prison. Content analysis was used to analysed the data. Age first use of the inmates were around 13 years old with methamphetamine pills from peers. The significant affecting factors were stress released, refreshing, mood adjustment, sarcasm, peer influences, and curiosity. In 3-6 months after the onset, they became regular users increasing in terms of amount and frequencies. They used it by smoking and swallowing in various places like school, home, restaurant, and entertainment places. Drug exchanging could be seen among users group. As a result, some users became distributors. Drugs could easily spread through peers network with various marketing strategies (direct sell, increased trading volume, allowed more credit). The need of money, groups norm acceptance, challenging, and power were their motives in becoming traffickers. Quite a few inmates wanted to stay in this career since it could get huge money in a short period of times.

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที ' 2 ฉบับที ' 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


การศึกษาสมรรถนะการดําเนินงานป้ องกันยาเสพติด ในเยาวชนแกนนํา อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สุทธิ ลกั ษณ์ หนูรอด* มานพ คณะโต** บทคัดย่ อ การวิจยั เชิงสํารวจในครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสรรถนะของนักเรี ยนแกนนําด้ านการ ป้องกันยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างทีศึกษา คือ นักเรี ยนแกนนําด้ านการป้องกันยาเสพติด ทีผ่านการ อบรมการเป็ น นัก เรี ย น แกนนํ า โรงเรี ย นในสัง กัด สํ า นัก งานเขตพื นที ประถมศึก ษา และสัง กัด สํา นักงานเขตพืนทีมัธยม ศึกษา เขต 31 จํา นวน 31 แห่ง อําเภอเมื อง จัง หวัดนครราชสีม า เก็บรวบรวมข้ อมูลโดย ใช้ แบบสอบถาม โดยวิเคราะห์ โดยใช้ สถิ ติพรรณนา เช่น ค่าเฉลีย ร้ อยละ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างทีเข้ าร่ วมโครงการมีทงหมด ั 305 คน แบ่งเป็ นเพศชาย 104 คน คิดเป็ นร้ อยละ 34.1 เพศหญิง 201 คน คิดเป็ นร้ อยละ 65.9 ระดับความภาคภูมิใจในตนเอง นักเรี ยนแกนนําส่วนใหญ่มีความ ภาคภูมิใจในระดับปานกลาง จํานวน 204 คน (66.90%) ทักษะ ด้ านความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อื น ทัก ษะการเป็ นผู้ นํ า ทัก ษะการดูแ ลบุค คลอื น ทัก ษะการจัด การ ความเครี ยดและทักษะการสือสาร พบว่า ส่วนใหญ่จะมีทกั ษะในระดับปานกลางทังหมด เพศมีส่วน เกียวข้ องกับการทํางานเป็ นนักเรี ยนแกนนําด้ านการป้องกัน ยาเสพติดเป็ นอย่างมาก จากการวิจยั ในครั งนี พบว่า แกนนํานักเรี ยนนีส่วนใหญ่จะเป็ นเพศหญิงมากกว่า เพศชาย บทบาทการทํางาน ด้ านการป้องกันยาเสพติด พบว่านักเรี ยนแกนนําจะปฏิบตั ิตามตาราง ปฏิทินทีครูได้ กําหนดไว้ ซึงโดย ส่ว นใหญ่ แ ล้ ว ครู จะเป็ น ผู้กํา หนดกิ จ กรรมให้ กับนัก เรี ยนแกนนํ า แต่สิงที พบและน่ า สนใจคื อ ด้ า นทัก ษะการเป็ น ผู้นํ า ทังนัก เรี ย นมัธ ยมศึก ษาตอนต้ น และนัก เรี ย นมัธ ยมศึก ษาตอนปลาย ส่วนใหญ่มีทกั ษะในระดับปานกลาง ซึงผู้วิจยั ตระหนักว่า เมือเป็ นนักเรี ยนแกนนําแล้ ว ควรจะต้ องฝึ ก ทัก ษะการเป็ นผู้ นํ า การตั ด สิ น ใจแก้ ปั ญ หาให้ มี ค วามเชี ยวชาญในระดั บ สู ง เพิ มขึ นกว่ า เดิ ม ข้ อเสนอแนะใน การวิจยั ครังต่อไป ควรทําการศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพเกียวกับนักเรี ยนแกนนําด้ านยา เสพติด คําสําคัญ : การป้องกันยาเสพติด, นักเรี ยนแกนนํา, สมรรถนะ Key words : drugs abuse prevention, students, and leadership competencies * สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที 5 จังหวัดนครราชสีมา ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


32 ABSTRACT The objective of this cross sectional survey was to explore drugs abuse prevention competencies of youth leaders. 31 extended elementary schools and secondary schools in Muang district, Nakorn Ratchasima province were targeted. Samples were students who got any training aiming to become drugs abuse prevention leaders and currently studying in the selected schools. Self administered questionnaire was used to collect the data during June-September 2013. Descriptives statistic was utilised. 305 students from the study sites were willing to participate. Of these, 65.9% were female and 34.1% were male. 66.90% were in middle level on self-respecting in their drugs abuse prevention leadership. Regarding skills required including human relationship, leadership, caring of others, stress management, and communication, most of them were in middle level. Gender was the factor significantly associated with their role performance. Most of the students implemented their activities according to the operation plan designed by their teachers. For overall drugs abuse prevention competencies of the students, most of them were in the middle level. Although, it was expecting that the higher level students should be more competent than the lower, there was not significantly different between lower secondary students and the upper secondary students in drugs abuse prevention competencies. Results of this study suggested to revise the training courses to be more productively targeted

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที % 2 ฉบับที % 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


ปั จจัยทีมีความสัมพันธ์กบั ความตังใจในการเลิกใช้ยาเสพติด ในผูเ้ ข้ารับการบําบัดค่ายวิวฒ ั น์พลเมือง หน่วยฝึ กการรบพิเศษ อําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ธี ระชัย พบหิ รัญ * มานพ คณะโต** ลาวัลย์ บุญชืน*** บทคัดย่ อ วิจยั นีเป็ นการวิจยั เชิงปริ มาณเพือศึกษาปัจจัยทีมีความสัมพันธ์กบั ความตังใจในการเลิกใช้ ยาเสพติดในผู้ทีเข้ ารับการบําบัดในค่ายวิวัฒน์พลเมือง อําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาในช่วง เดือนมิถนุ ายนถึงเดือนตุลาคม โดยใช้ แบบสอบถามและการทํา focus group ทีผู้ทีใช้ ยาเสพติด มากกว่า 2 ชนิดขึนไป กลุม่ ตัวอย่างเป็ นเพศหญิง 130 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนาใน ข้ อมูลทัวไป การรับรู้สมรรถของตน ทัศนคติตอ่ การใช้ ยาเสพติดการคล้ อยตามสิงทีอ้ างอิงและความ ตังใจในการเลิกใช้ ยาเสพติดใช้ สถิติ Pearson Chi-square test กําหนดระดับนัยสําคัญทางสถิติที 0.05 เพือหาความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่าผู้เข้ ารับการบําบัดส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 27-37 ปี สถานภาพสมรสจบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพรับจ้ าง นับถือศาสนาพุทธ ยาเสพติดทีใช้ เป็ นยาบ้ าการรับรู้สมรรถภาพของตนอยูใ่ นระดับปานกลางร้ อยละ 56.90ทัศนคติต่อการใช้ ยาเสพติด อยู่ในระดับสูง ร้ อยละ 80.00การคล้ อยตามกลุ่มทีอ้ างอิงอยู่ในระดับสูงร้ อยละ 50.00 ความตังใจใน การเลิกใช้ ยาเสพติดอยู่ในระดับสูงร้ อยละ 29.20 เมือวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า ระยะเวลาทีเข้ า รับการบําบัดไม่มีความสัมพันธ์ กับความตังใจในการเลิกใช้ ยาเสพติด ส่วนการรับรู้ สมรรถของตน ทัศนคติตอ่ การใช้ ยาเสพติด การคล้ อยตามกลุม่ ทีอ้ างอิง มีความสัมพันธ์กบั ความตังใจในการเลิกใช้ ยาเสพติดอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ (p-value < 0.01)ข้ อเสนอแนะควรปรับปรุงหลักสูตรการบําบัด ทีเน้ นการใช้ เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์สอนทักษะการปฏิเสธในการหลีกเลียงการไม่ใช้ ยาเสพติดควรมี นโยบายส่งเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของครอบครัวเพือเป็ นภูมิค้ มุ กันในการป้องกันปั ญหายาเสพติด สําหรับการศึกษาครังต่อไปควรมีการทําการศึกษาเปรี ยบเทียบระดับความตังใจและสมรรถภาพของ ตนในกลุ่มผู้เข้ ารับการบําบัดในค่าย 9 วันกับการเข้ ารับการบําบัดในโรงพยาบาลและควรศึกษาเป็ น ช่วงระยะเวลาเข้ ารับการบําบัดในช่วง 1, 2, 3 และ 4 เดือน คําสําคัญ : ความตังใจ, สมรรถนะของตน, การเลิกใช้ ยาเสพติด Key word : Drugs camp, Drugs use cessation, Intention * นักวิชาการสาธารณสุข ชํานาญการ กลุม่ งานเวชศาสตร์ ครอบครัวและบริ การปฐมภูมิ รพ.ปากช่องนานา ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น *** พยาบาลวิชาชีพ ชํานาญการ กลุม่ การพยาบาล โรงพยาบาลปากช่องนานา


44 ABSTRACT This study is cross sectional survey. The purpose of the study was to evaluate the intention on drugs use cessation among drugs camp attendances and its related factors. Wiwatphonlamuang camp in Pakchong district, NakornRatchasima province was selected as study site. Samples were camp attendants during June-October 2013. 130 attendants were recruited. Two focus groups discussion was used to gather data from poly drugs users and self administeredquestionnaire was used to gather data from 130 individuals. Descriptives statistic and chi-square were used to analyse the data. Most of the samples were 27-37 years old, married, and elementary education. Methamphetamine pill was used before attending to the camp. 56.90% were in the middle level of self efficacy on refraining from drugs use in various occasions. 80% were high level of positive attitude in drug use cessation. However, 50% were potentially easily convinced by their significant others. Only 29.20% were high level of drugs use cessation intention. Length of stay in the camp was not associated with their intention. In contrast with self efficacy, attitude, and potentially convinced by their significant others were statistically significant associated with intention (p<0.01)

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที 2 ฉบับที 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


พฤติกรรมเกียวข้องกับยาเสพติดผิดกฎหมายในวัยรุน่ และผลกระทบด้านสุขภาพ สุจิตตา ฤทธิ มนตรี * มานพ คณะโต** บทคัดย่ อ การวิจัยเชิงคุณภาพนีมีวัตถุประสงค์เพือสํารวจพฤติกรรมทีเกียวข้ องกับการแพร่ ระบาด ของยาเสพติดผิดกฎหมายของนักเรี ยน ในโรงเรี ยน ขอบเขตของการศึกษาครอบคลุมถึงแรงจูงใจ พฤติกรรมและผลกระทบ ผู้ให้ ข้อมูลจํานวน 10 คน เป็ นวัยรุ่นทีเข้ ารับการบําบัดรักษาทีโรงพยาบาล ธัญญารักษ์ ขอนแก่น ในช่วงเดือนมิถนุ ายน-กันยายน 2556 ด้ วยระบบสมัครใจ เก็บรวบรวมข้ อมูล ด้ วยการสัมภาษณ์เชิงลึกถึงประวัติชีวิตรวมทังการวิเคราะห์เฉพาะเรื องทีเกียวข้ อง พบว่า ครอบครัวเป็ นปัจจัยสําคัญในการผลักดันให้ เกียวข้ องกับยาเสพติด ส่วนใหญ่เริ มต้ น จากการใช้ ยาเสพติด อันเป็ นผลมากจากความสัมพันธ์ใกล้ ชิดกับตัวแทนจําหน่ายยาเสพติด หลังจาก ที ใช้ ยาเสพติ ด พวกเขากลายเป็ นสมาชิ ก ของเครื อ ข่ า ยยาเสพติ ด มี ค วามต้ องการเงิ น และ สภาพแวดล้ อมของโรงเรี ยนทีเอือให้ นกั เรี ยนเหล่านีกลายเป็ นผู้จําหน่ายยาเสพติดในโรงเรี ยน กลยุทธ์ การตลาดทีแตกต่างกันถูกนํามาใช้ เช่น บรรจุภัณฑ์ (ขนาดเล็ก ซุกซ่อนง่าย และ การจัดส่ง) และ ราคา (เงิ นน้ อยในแพ็คเล็ก) การจําหน่า ยให้ กับคนรอบข้ างในเครื อข่ายของตนเองและผู้ทีมีอายุ น้ อยกว่า การขายตรงจะได้ รับความนิยมระหว่างสมาชิกในเครื อข่าย ยาเสพติดไม่เพียงแต่ติด แต่ยงั ทําให้ เกิดความผิดปกติของสุขภาพจิต เช่น เครี ยด ซึมเศร้ า ความวิตกกังวลและหวาดระแวง ความ รุนแรง พฤติกรรมเสียงทางเพศ หนีโรงเรี ยน ขาดความรับผิดชอบ และเป็ นผู้ใช้ ยาเสพติดหลายชนิด นันคือผลของมัน ข้ อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีมาตรการทีเข้ มข้ นมากขึนในการป้องกันยาเสพติด คําสําคัญ : ยาเสพติดผิดกฎหมาย, ผลกระทบต่อสุขภาพ, วัยรุ่น Key word : Illicit drugs, health impacts, adolescent

* โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ขอนแก่น กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


58 ABSTRACT The objective of this qualitative study was to explore illicit drugs related distributing behaviour among students in their schools. Scope of the study covered their motives, behaviours, and impacts. 10 informants were adolescents who attended Thunyaruk Hospital Khon Kaen during June-September 2013 through voluntary system. Indepth interview was the primary method to gather the data. Life history as well as thematic analysis were utilised. It is emerged that family was the significant factor enforcing them to drugs circle, mostly starting from trying to use drugs. As a result of closer relationship with drugs dealers after using drugs, they became the member of the drugs network. The need of money and schools environment enabled these student to be drugs distributors in schools. Various marketing strategies were applied such as packaging (small, easily hide and delivery) and pricing (little money in small pack). Each distributor established their own sub-network from peers and younger cohort. Direct sell among the network members was popular. Not only addicted to the drugs but also emerging mental health disorder such as stress, depression, anxiety, and paranoid. Violence, sexual risk behaviour, absent from school, irresponsible, and multiple drugs user were its consequences. Result from the study suggested more intensive measure to drugs prevention.

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที $ 2 ฉบับที $ 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


การวิเคราะห์ตน้ ทุนกิจกรรการบริการผูป้ ่ วยยาเสพติด งานบริการผูป้ ่ วยนอก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่น อลิ สา ศรี อรรคจันทร์ * มานพ คณะโต**

บทคัดย่ อ การศึกษาครังนีเป็ นการวิจยั เชิงพรรณนา โดยใช้ หลักการวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรม (ActivityBased Costing) มีวัตถุประสงค์เพื9อวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการบริ การสําหรับผู้ป่วยยาเสพติด งานบริ การผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ขอนแก่น โดยเก็บข้ อมูลต้ นทุนกิจกรรม ปี งบประมาณ 2555 เก็บข้ อมูลโดยการสังเกตแบบมีโครงสร้ างในขณะที9มีการให้ บริ การผู้ป่วยในทุกขันตอน ผลการศึกษา พบว่า ต้ นทุนกิจกรรมการบริ การสําหรับผู้ป่วยยาเสพติด งานบริ การผู้ป่วย นอกโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ขอนแก่น มีต้นทุนรวมเท่ากับ 11,748,597.31บาท ต่อปี โดยมีต้นทุน รวมสูงสุดในกิจกรรมการติดตามผล เท่ากับ 2,489,083.41 บาท ต่อปี รองลงมา คือ ต้ นทุน กิจกรรมบําบัดเท่ากับ 2,319,127.38 บาท ต่อปี ต้ นทุนตํ9าสุด คือต้ นทุนกิจกรรมการการตรวจรักษา โดยแพทย์เท่ากับ 149,870.32 บาทต่อปี เมื9อจําแนกต้ นทุนตามประเภทการรับบริ การของผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ พบว่า ต้ นทุนกิจกรรม เฉลี9ยต่อครังสูงสุดในผู้ป่วยกลุ่มบําบัดเท่ากับ 2,288.64 บาทครัง รองลงมาคือ กลุ่มติดตามผล เท่ากับ 2,141.66บาท ต่อครัง และกลุ่มผู้ป่วยรับประทานยา 833.42 บาท ต่อครัง ส่วนการวิเคราะห์ ส่วนต้ นทุนจําแนกตามประเภทการติดสารเสพติดในงานบริ การผู้ป่วยนอก พบว่า ต้ นทุนกิจกรรม เฉลี9ยต่อรายต่อปี ในผู้ป่วยติดยาเสพติดใกล้ เคียงกับ กลุ่มผู้ป่วยติดสารเสพติดเท่ากับ 25,304 บาท/ ราย/ปี และ 24,268 บาท/ราย/ปี ตามลําดับ คําสําคัญ : วิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรม, ผู้ป่วยยาเสพติด, งานบริ การผู้ป่วยนอก Key words : Activity-Based Costing, drugs abuse, out patient

* สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 8 อุดรธานี ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


70 ABSTRACT The objective of this descriptive study was to explore activity based costingon drugs abuse out patient departmentof Thunyaruk Khon Kaen Hospital in 2012 fiscal year. Data were gathered through structured observation along with the out patient services procedure during services hours. It is emerged that overall expense was 11,748,597.31 baht per annum.The highest cost was 2,489,083.41 baht in patient follow up. Consecutively, cost for group therapy was 2,319,127.38 baht per annum. The lowest cost was 149,870.32 baht in doctor’s fee. Taking into account cost per visit, cost for group therapy was the highest, 2,288.64 baht per visit. Consecutively, cost for patient follow up was 2,141.66 baht while cost for medical treatment was 833.42 baht per visit. Comparing drugs dependence and substance , cost for drug dependence patient was 25,304 baht per capita similar to that of substance dependence patient which was 24,268 baht per capita.

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที # 2 ฉบับที # 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


การศึกษาต้นทุนทางบัญชีการบําบัดรักษายาเสพติด ในระบบบังคับบําบัดของโรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่น ปี งบประมาณ 2554 พยอม ศรี กงพลี* มานพ คณะโต** บทคัดย่ อ การวิจัยนีเป็ นการศึกษาต้ นทุนทางบัญชีการบําบัดรั กษายาเสพติดในระบบบังคับบําบัด ของโรงพยาบาลธัญญารั กษ์ ขอนแก่น ปี งบประมาณ 2554 เป็ นการวิจัยพรรณนาแบบเก็บข้ อมูล ย้ อนหลัง (Retrospective Descriptive Study) เพืCอวิเคราะห์ต้นทุนทางบัญชีการบําบัดรักษาผู้ป่วย ยาเสพติดในระบบบังคับบําบัดเปรี ยบเทียบกับจํานวนงบประมาณทีCได้ รับเฉพาะในหน่วยบริ การ บําบัดรั กษา ยาเสพติดใน 4 หน่วยบริ การ อันได้ แก่ 1) ผู้ป่วยนอก 2) ผู้ป่วยในบําบัดด้ วยยา 3) ผู้ป่วยในฟื นฟูฯ ชาย และ 4) ผู้ป่วยในฟื นฟูฯ หญิง พบว่า ต้ นทุนการบําบัดรักษารวมทังสินเท่ากับ 18,294,590 บาท (ค่ า แรงเท่า กับ 13,055,958 บาทและค่า ดํ า เนิ น การเท่ า กับ 5,238,632 บาท) สํา หรั บต้ นทุนการบํา บัดแบบผู้ป่วยนอกมี ต้นทุนการให้ บริ การเท่ากับ 2,940 บาท กรณีผ้ ูป่วยใน บําบัดด้ ว ยยามีต้นทุนให้ บริ การเท่ากับ 146,806 บาท การฟื นฟูฯ ชายมี ต้นทุนให้ บริ การเท่ากับ 40,420 บาท และการฟื นฟูฯ หญิงมีต้นทุนบริ การเท่ากับ 31,027 บาท ส่วนต้ นทุนในการให้ บริ การบําบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดในระบบบังคับบําบัดจําแนกตาม ประเภทของสารเสพติด พบว่า ต้ นทุนในการบําบัดยาบ้ าเท่ากับ52,854.00 บาท (ต้ นทุนต่อหน่วย 244.69บาท) ต้ นทุนในการบําบัดสารระเหยเท่ากับ 161,863.00บาท (ต้ นทุนต่อหน่วย 1,586.89บาท) ต้ นทุนในการบําบัดกัญชาเท่ากับ 3,003.00 บาท (ต้ นทุนต่อหน่วย 231.00บาท) ต้ นทุนในการบําบัด ไอซ์เท่ากับ 2,406 (ต้ นทุนต่อหน่วย 240.60 บาท) และต้ นทุนในการบําบัดสารเสพติดตังแต่ 2 ชนิด ขึนไปต้ นทุนต่อหน่วยเท่ากับ231บาท คําสําคัญ : ต้ นทุน ทางบัญชี, การบําบัดรักษายาเสพติดและฟื นฟูสมรรถภาพ, ระบบบังคับ บําบัด, โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ขอนแก่น Key words : Cost Accounting, Drug Abuse Treatment and Rehabilitation, Compulsory System, ThanyarakKhonKaen Hospital * สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น


82 ABSTRACT The objective of this retrospective study was to explore accounting cost on compulsory drugs abuse system for out patient department, in patient department, male rehabilitative department, and female rehabilitative department in 2011 fiscal year of Thunyaruk Khon Kaen Hospital. It is emerged that overall expense was 18,294,590 baht (labour cost was 13,055,958 baht and operating cost was 5,238,632 baht). Cost at out patient department was 2,940 baht, in patient department was 146,806 baht, male rehabilitative department was 40,420 baht, and female rehabilitative department was 31,027 baht. Taking into account drugs type in compulsory system, cost for volatile treatment was the highest, 161.863 baht per case (1,586.89 baht per day). Cost for methamphetamine treatment was 52.854 baht per case (244.69 baht per day), cost for cannabis treatment was 3,003 baht per case (231.00 baht per day), and cost for crystal methamphetamine treatment was 240.60 baht per day. In addition, cost for poly drugs abuse treatment was 231 baht per day.

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที " 2 ฉบับที " 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


การมีสว่ นร่วมในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติด ของคณะกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ%น ในอําเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลําภู ถาวร วงษาธรรม* บทคัดย่ อ การวิจยั เชิงวิเคราะห์แบบตัดขวางนี มีวตั ถุประสงค์เพือศึกษาการมีส่วนร่ วมในการป้องกัน และแก้ ไขปั ญหายาเสพติดของ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้ องถินในอําเภอ ศรี บุญเรื อง จังหวัดหนองบัวลําภู จํานวน190 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้ อมูล ด้ ว ย แบบสอบถามทีผู้วิจยั สร้ างขึนเองและผ่านการตรวจสอบความตรงของเนือหาจากผู้เชียวชาญ 3 ท่าน ทดสอบความเชือมันของแบบสอบถาม ได้ ค่าสัมประสิทธิ8แอลฟาของครอนบาค 0.83 ระหว่างเดือน มกราคม 2556 – มีนาคม 2557 วิเคราะห์ข้อมูลด้ วยการแจกแจงความถี ร้ อยละ ค่าเฉลีย มัธยฐาน ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ สถิติสมั ประสิทธิ8สหสัมพันธ์ของเพียร์ สนั ผลการวิจยั พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็ นเพศชาย ร้ อยละ 86.80 อายุเฉลีย 48.00 ปี ส่วนมากมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ร้ อยละ 52.30 รองลงมาคือระดับประถมศึกษา ร้ อยละ 32.60 ส่วนมากมีตําแหน่งเป็ นสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่วนตําบล ร้ อยละ 82.6 ประสบการณ์ ทํางาน เฉลีย 3.16 ปี ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร ร้ อยละ 74.80 รายได้ เฉลียต่อเดือน 5,247 บาท ปั จจัยด้ านคุณลักษณะส่วนบุคคลในด้ าน เพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทํางาน อาชีพและ รายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่ วมในการป้องกันและแก้ ไขปั ญหายาเสพติด ส่วนด้ านอายุ มีความสัมพันธ์ในทางบวก ตําแหน่งมีความสัมพันธ์ในทางลบกับการมีส่วนร่ วมในการป้องกันและ แก้ ไขปั ญหายาเสพติด อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 เมือพิจารณาปั จจัยด้ านการสนับสนุน จากองค์กรกับการมีส่วนร่ วมในการป้องกันและแก้ ไขปั ญหายาเสพติด พบว่า การสนับสนุนด้ านการ ใช้ เวลา ด้ านวัสดุอปุ กรณ์ ด้ านการบริ หารจัดการ ด้ านงบประมาณ และด้ านบุคลากรมีความสัมพันธ์ ทางบวกในระดับมากกับการมีส่วนร่ วมในการป้องกันและแก้ ไขปั ญหายาเสพติด อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ( r = 0.656 , p <0.001), (r = 0.653, p <0.001),(r = 0.645, p <0.001), (r =0.567, p <0.001), (r = 0.504, p <0.001) ตามลําดับ คําสําคัญ : คณะกรรมการกองทุนประกันสุขภาพตําบล การมีส่วนร่ วม การป้องกันแก้ ไข ปัญหายาเสพติด Key word : Local insurance fund committees, Drug prevention and solution, Participation * นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรี บญ ุ เรื อง


104 ABSTRACT The purpose of cross-sectional analytic research was to study the participation and the factor correlated to drug prevention and resolution of Local insurance health fund committees in Sriboonrueng District, Nong Bua Lam Phu Province. The sample consisted of 190 persons by simple random sampling. The research instrument was the questionnaire that 3 experts were consulted to check its validity, and its reliability by using Cronbach ‘s correlation coefficient was 0.83. The data was collected from January 2013 to March 2014, Data analyzed to acquire frequency, percentage, mean, mode, standard deviation, and association analytic by Pearson Product Moment Correlation. The research results were that the most of sample were male (86.80 %) and average percentage of age was 48.0 years old. Most of them finished secondary school level (52.30 %) and they finished primary school level secondly (32.60 %). They were the members of Local insurance health fund committees (82.60 %), and the average work experience was 3.16 years. Most of them were agriculturist (74.80 %), and was employee(14.70%). The average income was 5,724.26 baht per month. There were no relations between drug prevention and solution; characteristics of personal about sex, educational level, work experience, career and income. As age considered, there was positive relation. But, there were significantly negative relations between rank and drug prevention and solution at .05 level. There were significantly differences between age, rank, and drug prevention and solution at .05 level. According to the relations between organizational support factor and participation in drug prevention and solution, the findings revealed that there were significantly highest positive relations between time management factor, material factor, organizational support factor, budget factor, and personal factor ; drug prevention and solution participation ( r = 0.656 ,p <0.0001), (r = 0.653 , p <0.0001), (r = 0.645, p <0.0001) , (r =0.567, p <0.0001) ,(r = 0.504, p <0.0001) respectively.


การศึกษาสถานการณ์สารเสพติดของวัยรุน่ : กรณีศึกษา สถานศึกษาด้านสุขภาพแห่งหนึง กาญจนา นิ มสุนทร* มานพ คณะโต**

บทคัดย่ อ การศึกษาครังนีเป็ นงานวิจยั เชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื!อศึกษาสถานการณ์การแพร่ ระบาดของสารเสพติดในวัยรุ่นที!คาดหมายว่ามีความรู้ดีด้านสุขภาพ โดยใช้ วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก และ สนทนากลุม่ ในกลุม่ นักศึกษาสถาบันการศึกษาด้ านสุขภาพที!เป็ นกลุม่ เสี!ยง 30 คน ผลการศึกษา พบว่า ประเภทของสารเสพติดที!พบในสถานศึกษาด้ านสุขภาพเป็ นสารเสพ ติดที!นักศึกษาใช้ เป็ นสารเสพติดที!หาซือได้ ง่ายและไม่ผิดกฎหมาย คือ เครื! องดื!มแอลกอฮอล์ชนิด ต่างๆ ในเพศชายส่วนใหญ่จะนิยมดื!ม เช่น เหล้ าขาว เหล้ าสี เบียร์ และสูบบุหรี! ร่วมด้ วย เพศหญิงจะ นิยมดื!ม เบียร์ สปาย เหล้ าสีผสมนําอัดลม นําผลไม้ ต่างๆ ที!ผสมแอลกอฮอล์ และใช้ ยาลดความอ้ วน มีนกั ศึกษาจํานวนหนึง! เคยใช้ นํากระท่อมมาก่อนที!จะเข้ ามาศึกษา ชักชวนเพื!อนๆ และรุ่นน้ องรวมกลุม่ กันใช้ ในช่วงเปิ ดเทอม หลังสอบ งานเลียงสังสรรค์ในโอกาสต่างๆ เครี ยดหรื อผิดหวังในชีวิต สามารถ ผลิตนําต้ มกระท่อมขึนใช้ เอง และเสพร่ วมกันในหอพัก พัฒนาจากผู้ที!ไม่มีประสบการณ์แต่เริ! ม ทดลองใช้ เริ! มติดใจ และถึงขันชํ!าชอง ส่วนทัศนคติของนักศึกษาพบว่าส่วนใหญ่ไม่เห็นด้ วยเกี!ยวกับ การใช้ สารเสพติดเพราะจะต้ องเป็ นแบบอย่างที!ดีแก่สงั คม แต่บางส่วนยังเห็นว่าไม่ใช่สารเสพติดที! ร้ ายแรงและผิดกฎหมาย กลุม่ ตัวอย่างเห็นว่าการเรี ยนทางด้ านสุขภาพทําให้ มีความรู้เภสัชวิทยาและ พิษวิทยาของสารเสพติด อันจะทําให้ เลือกได้ ว่าจะใช้ สารเสพติดประเภทใด และปริ มาณเท่าใดที!จะ ทําให้ เกิดอันตรายน้ อยที!สดุ ได้ คําสําคัญ : สถานการณ์สารเสพติ, วัยรุ่น, สถานศึกษาด้ านสุขภาพ Key words : Substance abuse, situation , healthcare professional school

* วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขกาญจนาภิเษก ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น


114 ABSTRACT This qualitative study aimed to explore substance abuse endemic sub population particularly health knowledgable youth. 30 risk youths from a selected healthcare professional school were selected for focus group discussion and intensive interview. It is emerged that legal substance such as alcohol was popular since it was easily accessible. Spirits, liqueur, and beer were popularly used along with cigarette smoking among male. Whilebeer, wine, RTD, cocktail, and stimulant were used among female. Quite a few experience with Kratom mixed before entrance, then convincing peers to try in various occasions during semesters such as after exam, party, and stress. Kratom mixed could be produced on their own, used it together as a group in their dormitory. They usually started as novice, experienced, to skilful. Regarding attitude, most of them disagree with substance use since they were expected to be role model. However, quite a few accepted mild and legal substances. Samples gain benefits from studying in healthcare in particular the knowledge in pharmacology and toxicologyof various substances. Its helped their decision to choose substance types and quantity intake to minimise harm.

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที 2 ฉบับที 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557


การศึกษาประสิทธิผลของการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ด้านยาเสพติดด้วยสื"อแบบต่างๆ ในกลุม่ นักเรียนช่วงชั*นประกาศนียบัตร (ปวช.1-3) ณ สถานศึกษาแห่งหนึ"งในเขตจังหวัดขอนแก่น สิ นธุพร มหารัญ* มานพ คณะโต**

บทคัดย่ อ การศึกษาครังนีมีวตั ถุประสงค์เพือประเมินประสิทธิผลของการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ด้าน ยาเสพติดด้ วยสือแบบต่างๆ ในกลุ่มนักเรี ยนช่วงชันประกาศนียบัตร (ปวช.1-3) ณ สถานศึกษาแห่ง หนึงในเขตจังหวัดขอนแก่น โดยการศึกษาเชิงสํารวจภาคตัดขวาง (cross sectional survey) ในกลุม่ นักเรี ยน 260 คน เก็บข้ อมูลโดยแบบสอบถาม ผลการศึกษา พบว่า กว่าร้ อยละ 80 ของกลุ่มตัวอย่างทีเคยได้ รับข้ อมูลข่าวสารหรื อการ รับรู้การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สือทีทําให้ เกิดการรับรู้การประชาสัมพันธ์เกียวกับยาเสพติดมากทีสุด 3 อันดับแรก ได้ แก่ โทรทัศน์ เพลง และอินเทอร์ เน็ต สือทีทําให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจเกียวกับ ยาเสพติดมากทีสุดคือโทรทัศน์ รองลงมาเป็ นอินเทอร์ เน็ต และวิทยุ ตามลําดับ ซึงมีความถีหรื อใน การรับข้ อมูลข่าวสารการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกียวกับยาเสพติดผ่านสือประเภทต่างๆ มากทีสุดคือ 1-2 ครังต่อสัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้เกียวกับการป้องกันยาเสพติดอยู่ในระดับปาน กลาง กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าการประชาสัมพันธ์ ทีมีอยู่ในปั จจุบนั มีน้อยเกินไป สําหรับความสนใจใน การรับรู้ข่าวสารยาเสพติด พบว่า 2 ใน 3 ของกลุ่มตัวอย่างต้ องการรับรู้เกียวกับยาบ้ า รองลงมาคือ กระท่อม เฮโรอีน และสารระเหยโดยต้ องการให้ หน่วยงานทีเกียวข้ องผลิตสือทีเกียวกับโทษของ ยาเสพติด การป้องกันยาเสพติด กฎหมายทีเกียวข้ องกับยาเสพติด และสาเหตุ/ปั จจัยเสียงควรเพิม การออกสือด้ วยความถีทีเพิมขึน รวมทังเพิมระยะเวลาในการนําเสนอให้ มากขึนด้ วย คําสําคัญ : ประสิทธิผล, การรณรงค์ประชาสัมพันธ์, ยาเสพติด Key words : Effectiveness, publicity campaign, substance * คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ** ภาควิชาเวชศาสตร์ ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น


130 ABSTRACT The study objective was to assess the effectiveness of various campaigns regarding drug abuse among lower vocational students. Cross sectional survey was employed in a selected school in Khon Kaen. Self administered questionnaire was used to gather data from 260 representative samples. It is emerged that over 80% of the samples had ever received drugs information through campaign. Top three popular medias were television, songs, and internet. The most influence channels to the understanding on drug information were television broadcasting, internet, and radio broadcasting respectively. The most frequently were 1-2 times a week. Their drug literacy was in the middle level. Current public relations seems insufficient. Two-third of the samples needed to receive drug informations regarding methamphetamine. The rest needed to received informations regarding mitragyna speciosa korth, heroine, and volatile. The samples suggest related organisations to produce media contents on drug’s effect, prevention, law, and risk factors. In addition, the more frequent and longer time presented were requested.

วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิ ทยาลัยขอนแก่น ปี ที " 2 ฉบับที " 2 เมษายน – มิ ถนุ ายน 2557



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.