สรรสาระ (พฤษภาคม 2560)

Page 1

สรรสาระ B Y

K M U T T

R C

L I B R A R Y

M AY 2 0 1 7


15 บริการสารพัดประโยชน์จาก Google Apps ที่คุณอาจยังไม่รู้ #Google Translate App แอปพลิเคชันแปลภาษารองรับถึง 90 ภาษา #Gmailify ช่วยให้คนที่ใช้บัญชีอเี มลเดิมของ Yahoo/Outlook สามารถ ใช้ฟีเจอร์เทียบเท่ากับ Gmail ได้ #Google Scholar แหล่งรวมบทความทางการศึกษา วารสารทางวิชาการ หนังสือ เอกสารอ้างอิงจากแวดวงวิชาการในมหาวิทยาลัย มีประโยชน์มาก สาหรับผูท้ ีต่ ้องการค้นคว้างานวิจัยทางวิชาการเพื่อศึกษา #Google Keep คล้ายกับโพสต์-อิต เก็บข้อความหรือรูปภาพไว้ใน ฐานข้อมูล เพื่อเตือนความจาหรือบันทึกเรื่องราวต่างๆ #Timer การจับเวลาแบบอัตโนมัติ สามารถกดหยุด หรือรีเซตเพื่อให้เวลา เริ่มนับถอยหลังใหม่ได้ #Google Sky ภาพวัตถุต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนห้วงอวกาศเป็นภาพถ่ายจาก หน่วยงานต่างๆ ที่ทาหน้าที่สารวจอวกาศอย่างเช่นนาซา เป็นต้น และมีภาษา ให้เลือกถึง 26 ภาษา #Google Fonts ค้นหาฟอนต์ท่ดี ีที่สุดโดยสามารถเลือกใช้งานได้ฟรี และ ถูกลิขสิทธิ์ #Google Art Project เปิดโอกาสการท่องโลกศิลปะและชมงานศิลป์ที่จัด แสดงตามพิพิธภัณฑ์ทั่วโลก #Think with Google แหล่งข้อมูลล่าสุดเกีย่ วกับวงการการตลาดดิจิทัล ไล่ ตั้งแต่ข้อมูลเชิงลึกด้านอุตสาหกรรมระดับสูงไปจนถึงสถิติประกอบ

NEWS

#Google Trends ช่วยอัพเดตรายวันว่าขณะนี้อะไรกาลังอินเทรนด์บ้าง อะไรที่กาลังเป็นประเด็นร้อนประจาวัน ผ่านการวิเคราะห์แนวโน้มในการค้นหา คาต่างๆ จาก Google Search #Google Shopping ช่องทางการเลือกช้อปปิ้งสินค้าออนไลน์ #Panoramio ให้บริการฝากรูปภาพ และสามารถระบุพิกัดของสถานที่ ท่องเที่ยวต่างๆ ทั่วโลกได้ผ่าน Google Earth #Google Sound Search ให้บริการค้นหาชื่อเพลงจากมือถือด้วยการฟัง #Google Images ใช้ภาพแทนข้อความในการค้นหาข้อมูล #Build with Chrome Google จับมือกับ Lego ร่วมกัน สร้าง buildwithchrome.com หรือเว็บไซต์ท่สี ามารถสร้างสิง่ ก่อสร้างแบบ Lego ออนไลน์ อ่านเพิ่มเติม >> http://themomentum.co/successful-innovation-design-15-google-apps


หอสมุด มจธ. ราชบุรี ขยายเวลาการคืนหนังสือ ระหว่างปิดภาคการศึกษา เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ยืมหนังสือ กลับไปอ่านทบทวนในช่วงเวลาดังกล่าว เป็นการส่งเสริมการอ่านให้แก่นักศึกษาอีกทางหนึ่งด้วย

BOOKSHELVES


INSPIRATION

8 เคล็ดลับอ่านหนังสือยังไงให้จาเร็วและแม่น 1. อ่านหน้าสรุปก่อน เป็ นส่วนที่ผ้ เู ขียนสรุปข้ อมูลทังหมดที ้ ่ได้ กล่าวมา

5. พยายามอย่าอ่านทุกคา เลือกข้ อมูลที่

หากอ่านบทสรุปก่อน แล้ วกลับมาอ่านหน้ าแรกอีกครัง้ ก็ทาให้ สามารถอ่านได้ เข้ าใจมากขึ ้น

น่าสนใจที่สดุ แล้ วอ่านบทต่อไป

2. ใช้ปากกาไฮไลต์เพือ่ นเน้นใจความสาคัญ ไฮไลต์ข้อความที่ผ้ เู ขียนกล่าว สรุป เมื่อเปิ ดหนังสือมาอ่านอีกครัง้ จะสามารถทราบทุกอย่างที่จาเป็ นต้ องรู้ด้วยการมอง เพียงแวบเดียว

6. เขียนสรุปมุมมองของผูอ้ า่ น เป็ นเครื่องมือที่ช่วยให้ ทราบถึง ประเด็นสาคัญของหนังสือเช่นเดียวกับการไฮไลต์ข้อความ

7. อภิปรายกับผูอ้ นื่ การจับกลุ่มกันพูดถึงเนือหาของ ้​้ 3. ดูสารบรรณและหัวข้อย่อย อ่านผ่านๆ อย่างรวดเร็ว (skimming) จนเมื่อเจอหัวข้ อที่น่าสนใจจึงค่อยหยุดอ่านอย่างตังใจ ้ ทาให้ การอ่านันไม่ ้ น่าเบื่อ เพราะว่าจะได้ อ่านสิ่งที่สนใจจริงๆ เท่านัน้

หนังสือที่ต้องอ่านข่วยทาให้ จาได้ ง่ายขึ ้น และช่วยทาให้ ได้ รับข้ อมูลเพิม่ เติมจากบางส่วนที่มองข้ ามไป

8. จดคาถามข้อสงสัยทีเ่ กิดขึ้นระหว่างการอ่าน

4. ขวนขวายกันสักนิด ลองหาหนังสือเล่มอื่นๆ ในห้ องสมุด หรือใน อินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้ องกับเนื ้อหาที่เรี ยนมาอ่านดู ซึง่ หนังสือบางเล่มพูดถึง เล่มเดียวกันแต่เขียนได้ น่าอ่าน อ่านเข้ าใจง่าย มีภาพประกอบเพิม่ เติม

อย่าเชื่อว่าผู้เขียนนันเขี ้ ยนได้ ถกู ต้ องซะทีเดียว ให้ จดจ่อกับสิ่งที่ อ่านและใช้ ความคิดเชิงวิเคราะห์ในการอ่าน

ข้อมูลเพิม่ เติม : https://teen.mthai.com/education/79713.html


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.