คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง

Page 1

คู่ มื อ การดู แลผู้ ป่วย โรคหลอดเลื อดสมอง ระยะกลาง

จั ด ทํา โ ด ย ค ณ ะ ทํา ง า น วิ จั ย ก า ร ดู แ ล ผู้ ป ว ย โ ร ค ห ล อ ด เ ลื อ ด ส ม อ ง ร ะ ย ะ ก ล า ง

โ ร ง พ ย า บ า ล ป ร ะ ส า ท เ ชี ย ง ใ ห ม่ ง บ ส นั บ ส นุ น จ า ก ก อ ง ทุ น ส นั บ ส นุ น ง า น ส่ ง เ ส ริ ม วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ( ส ก ส ว . )


คณะทํางานวิจัยการดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง ระยะกลาง โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ กองทุนสนับสนุนงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)

คู่มือ

การดูแลผู้ปวย โรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง

จัดทําโดย แพทย์หญิงศุภมาส อําพล นางสุพต ั รา ปวนไฝ นางสายนที ไทยสวัสดิ นางสาวปภัสรา มิตตา


คํานํา คู่มือการดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลางจัดทําขึนเพื อเปนแนวทางการ ดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองทีพ้ นระยะวิกฤติแล้วเข้าสู่ระยะการฟนฟู สภาพหรือเรียก ว่าการดูแลระยะกลางทังขณะอยู่ทีโรงพยาบาลและเมือกลับไปฟนฟู ต่อทีบ้านเปนแนวทาง ในการดูแลและให้คําแนะนําของทีมบุคลากรทีติดตามเยียมบ้านผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง ของโรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่เพื อให้เกิดการปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน คู่ คู่มือการดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลางฉบับนีเปนส่วนหนึงของการ วิจัยเรืองการดูแลผู้ปวยระยะกลางโรคหลอดเลือดสมองโดยการเยียมบ้าน โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ ซึงได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากกองทุนสนับสนุนงานส่ง เสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตกรรม (สกสว.) ปงบประมาณ 2564-2565 ซึงคู่มือฉบับ นีประกอบด้วยเนือหาทีสําคัญและจําเปนในการดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง ได้แก่ ความรู้เกียวกับโรคหลอดเลือดสมอง การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรค หลอดเลือดสมอง การดูแลการขับถ่าย การดูแลเรืองอาหารสําหรับผู้ปวยโรคหลอดเลือด ส.มอง การใช้ยาและการปองกันและการเฝาระวังการกลับเปนซํา การปรับสภาพบ้านและ สิงแวดล้อม จําแนกตามอุปกรณ์ สิงอํานวยความสะดวก การออกกําลังกาย การทํา กายภาพบําบัด การจัดการความเครียด การส่งเสริมการสือสารทีมีประสิทธิภาพ และการ ให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณแหล่งทุนทีให้การสนับสนุนในครังนี และหวังว่าคู่มือ ฉบับนีจะเกิดประโยชน์กับผู้เกียวข้องในการนําไปดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองระยะ กลาง เพื อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป

คณะผู้จัดทํา 2564


สารบัญ

หน้า

คํานํา

ความรู้เกียวกับโรคหลอดเลือดสมอง

1

กิจกรรมที 1 การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง การดูแลกิจวัตรประจําวัน บทบาทของญาติ/ผู้ดูแล ผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองทีสําคัญ การจัดท่านอน การสวมและถอดเสือ การสวมและถอดกางเกง

7 8 9 10 11

กิจกรรมที 2 การดูแลการขับถ่าย การขับถ่ายปสสาวะ การขับถ่ายอุจจาระ

13 16

กิจกรรมที 3 การดูแลเรืองอาหารสําหรับผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

18

กิจกรรมที 4 การใช้ยาและการปองกันและเฝาระวังการกลับเปนซํา

20

กิจกรรมที 5 การปรับสภาพบ้านและสิงแวดล้อม จําแนกตามอุปกรณ์ / สิงอํานวยความสะดวก

22

กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้าย การออกกําลังกายโดยญาติหรือผู้ดูแล การออกกําลังกายของแขนและมือ การออกกําลังกายขาเพื อเตรียมการฝกเดิน การฝกเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน การฝกผู้ปวยทํากิจวัตรประจําวัน

24 28 32 33 34

กิจกรรมที 7 การจัดการกับความเครียด

38

กิจกรรมที 8 การส่งเสริมการสือสารทีมีประสิทธิภาพ

39

กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ เอกสารอ้างอิง

41 46 47 53 56


ความรู้เกียวกับโรคหลอดเลือดสมอง 1.กลไกการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง แบ่งออกเปน 2 กลุ่มใหญ่ (ปยะวรรณ เชียวธนะกุล, 2555) คือ

ตีบหรืออุดตัน

แตก

โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

โรคหลอดเลือดสมองแตก

พบประมาณร้อยละ 70 ของโรคหลอด เลือดสมองทังหมดโดยการอุดตันของหลอด เลือดจากการเสือมหรือการแข็งตัวของหลอด เลือด (Atherosclerosis) เปนสาเหตุของ หลอดเลือดอุดตัน ทีพบบ่อยทีสุด มักพบในผู้ ปวยทีมีปจจัยเสียง เช่น สูงอายุ ความดันโลหิต สูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูงหรือสูบบุหรี ส่วน สาเหตุของก้อนเลือดจากหัวใจหลุดเข้าสมอง (Emboli) มักเกิดในคนทีมีการเต้นหัวใจไม่สมํา เสมอ ชนิดหัวใจเต้นพลิว (Atrial fibrillation) นอกจากนี ตะกอนเลือดจากผนังหลอดเลือด แดงใหญ่ทีคอก็สามารถหลุดเข้าอุดตันหลอด เลือดในสมองได้

ทําให้เกิดมีเลือดออกในสมอง (Cerebral hemorrhage) พบประมาณ ร้อยละ 30 ของโรคหลอดเลือดสมองโดยแบ่งเปน 2 ชนิด คือ เลือดออกในเนือสมอง (Intracerebral hemorrhage) และเลือดออกทีผิวสมอง (Subarachnoid hemorrhage) มักพบในผู้ ปวยทีมีปจจัยเสียง ได้แก่ ความดันโลหิตสูง และผู้ปวยทีมีหลอดเลือดพิ การแต่กําเนิด

1


2. อาการของโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน เวียนศีรษะบ้านหมุน

ปวดศีรษะรุนแรง เฉียบพลันชนิดไม่ เคยเปนมาก่อน

ตามัว มองเห็นภาพซ้อน หรือมองไม่เห็นข้างใดข้าง หนึงทันทีทันใด แขนขา ชา อ่อนแรง หรือชาครึงซีกข้าง ใดข้างหนึงทันที ทันใด

พู ดตะกุกตะกัก พู ดไม่ชัด พู ดไม่ได้ นึกคําพู ดไม่ออก หรือฟงไม่เข้าใจทันทีทันใด

เดินเซ เสียการทรงตัว

3. สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมอง

ไม่ทราบสาเหตุทีแน่ชัด พบมากในผู้ทีมีอายุ 45 ปขึนไป พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง

2


4. ปจจัยเสียง ของโรคหลอดเลือดสมอง ประกอบด้วยปจจัยเสียงทีสามารถ ควบคุมได้และทีควบคุมไม่ได้

ปจจัยเสียงทีสามารถควบคุมได้ เบาหวาน ผู้ทีเปนเบาหวานมีโอกาสเปน โรคหลอดเลือดสมองเพิ มขึน เปน 2-3 เท่าของคนทีไม่เปน ความดันโลหิตสูง เนืองจากผู้ทีเปนเบาหวานมักจะ หมายถึง ความดันโลหิตตังแต่ มีโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับ 140/90 mmHg ผู้ทีเปนโรค อ้วนหรือนําหนักตัวมากซึงเปน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูงมีความเสียง ปจจัยเสียงทีสําคัญ นอกจากนี ต่อการเกิดโรคหลอดเลือด โรคเบาหวานยังทําให้หลอด ปกติระดับคลอเรสเตอรอล สมองมากกว่าคนทีไม่เปน เลือดฝอยอุดตัน ทําให้สมอง ไม่ควรเกิน 200 mg% ประมาณ 4-6 เท่า โดยความ ขาดเลือดได้ง่าย และไขมันชนิดดี ควรมากกว่า ดันโลหิตสูงทําให้ผนังหลอด 45 mg% ส่วนไขมันชนิดไม่ดี เลือดแดงด้านในเสือมเร็ว ขาด ควรน้อยกว่า 100-130 mg% ความยืดหยุ่นและแตกเปราะ เพราะไขมันในเลือดมีโอกาส ง่าย หลุดเปนตะกรันเข้าไปเกาะหรือ อุดตามหลอดเลือด ทําให้ผนัง ความอ้วน เส้นเลือดแดงไม่ยืดหยุ่นเกิด คนทีมีนําหนักตัว การตีบตันง่าย เลือดจึงไหล มาก จะมีโอกาสเปน โรคหัวใจ ผ่านไปเลียงอวัยวะต่าง ๆ ได้ โรคหัวใจและหลอด เช่น หัวใจล้มเหลว โรค น้อย ถ้าเกิดกับหลอดเลือดไป เลือดได้ง่าย เกียวกับลินหัวใจ สาเหตุทีโรค เลียงสมองจะทําให้สมองขาด โดยเฉพาะคนอ้วนแบบลงพุ ง หัวใจทําให้เกิดความเสียงต่อ เลือด และเปนอัมพาตในทีสุด มีโอกาสเปนเบาหวาน และความ การเกิดโรคหลอดเลือดสมอง วิธีลดไขมันชนิดไม่ดีและเพิ ม ดันโลหิตสูง ดังนันจึงควบคุม เนืองจากลิมเลือดทีอยู่ในห้อง ไขมันชนิดดีทําได้โดยการออก นําหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติคือ หัวใจและตามตําแหน่งต่างๆ กําลังกายสมําเสมอและการรับ ดัชนีมวลกายไม่ควรเกิน 23 ของหัวใจอาจหลุดเข้าไปใน ประทานอาหารทีมีไขมันลดลง กก/ตารางเมตร โดยคํานวณ หลอดเลือดสมองทําให้ผู้ปวย เพิ มผักและผลไม้มากขึน จากนําหนักตัวเปนกิโลกรัมหาร เปนโรคหลอดเลือดสมองชนิด ด้วยส่วนสูงหน่วยเปนเมตรยก อุดตันได้ มีการศึกษาพบว่าผู้ที กําลัง 2 หรือรอบเอวไม่ควร เปนโรคหัวใจชนิดสันพริว มี เกิน 32 นิว ในเพศหญิง และ โอกาสเสียงเปน 5 เท่าของคน 36 นิวในเพศชาย ทีไม่เปน 3


ปจจัยเสียงทีสามารถควบคุมได้

โปรตีน เปนกรดอมิโนชนิดหนึงทีมีอยู่ ในกระแสเลือดสูง ซึงค่าปกติ ประมาณ 5-15 ไมโครโมลต่อ ลิตร เนืองจาก โปรตีนชนิดนี จะทําให้ผนังหลอดเลือดแดง ชันในหนาตัวขึน โดยการ ทําลายผนังหลอดเลือดชันใน และทําให้เลือดแข็งตัวง่าย การปองกันไม่ให้ระดับ โปรตีน ชนิดนีสูงทําได้โดยให้รับ ประทานอาหารทีมี กรดโฟลิค และหรือรับประทานวิตามินบี 6 และ 12 เสริม

บุหรี สารนิโคตินในบุหรีจะทําลาย หลอดเลือด ทําให้ผู้ทีสูบบุหรีมี ความเสียงต่อการเกิดโรค หลอดเลือดสมองมากกว่า ผู้ทีไม่สูบประมาณ 2 เท่า

แอลกอฮอล์ การดืมสุราจะทําให้ หลอดเลือดเปราะ หรือเลือด ออกง่ายกระตุ้นให้หัวใจเต้นผิด จังหวะและทําให้ผนังหัวใจห้อง ล่างผิดปกติ นําไปสู่การอุดตัน ของหลอดเลือดสมอง นอกจากนีแอลกอฮอล์ยัง กระตุ้นให้เกิดความดันโลหิตสูง และทําให้เลือดแข็งตัวผิดปกติ ลดการไหลเวียนของเลือดไป สู่สมอง

สารโคเคน แอมเฟตามีน และเฮโรอีน

เปนสาเหตุของ สมองขาดเลือดและเลือดออก ในสมอง โดยการกระตุ้นให้ การดําเนินชีวิต หลอดเลือดหดตัว ทําให้เกร็ด เลือดทํางานมากขึน เพิ มความ ผู้ทีทํางานนังโต๊ะหรือขาดการ ดันโลหิต ชีพจรเร็วอุณหภูมิสูง ออกกําลังกายจะมีโอกาสเปน ขึนและเพิ มการเผาผลาญใน โรคหลอดเลือดสมองมากกว่า ร่างกาย ผู้ทีทํางานทีใช้แรงและผู้ทีออก กําลังกายสมําเสมอ ผู้ทีชอบ รับประทานประเภททอด หรือมี ไขมันมากมีโอกาสเสียง มากกว่าผู้ทีรับประทานอาหาร พวกปลา ผักใบเขียวและผลไม้

ปจจัยเสียงอืนๆ เช่น ได้รับฮอร์โมนทดแทน ยาคุมกําเนิด ยาพวกสเตียรอยด์ ภาวะ เลือดหนืดข้น

4


ปจจัยเสียงทีไม่สามารถควบคุมได้ อายุ

พบว่าอายุทีมากขึน จะมีความสัมพั นธ์ต่อการเสือม ของหลอดเลือดสมอง เช่น คนทีอายุเกิน 55 ป จะ มีความเสียงเพิ มขึนเปน 2 เท่าและคนอายุ 65 ปขึน ไปพบมากเปน 3 เท่าของคนทีอายุน้อย

เพศ

พบว่าเพศชายเปนโรคหลอดเลือดสมอง มากกว่าเพศหญิง แต่สําหรับหญิงทีมีประวัติใช้ยา คุมกําเนิดจะมีโอกาสเสียงเพิ มขึน และถ้าเปนโรค หลอดเลือดสมองแล้ว เพศหญิงมีโอกาสตายสูง กว่าเพศชาย

กรรมพั นธุ์

ผู้ทีมีประวัติครอบครัว เช่น พ่ อ แม่ พี น้อง ปู ย่า ตา ยาย เปนอัมพาต จะมีโอกาสเสียงต่อการเปนโรคหลอดเลือดสมอง สูงกว่าคนทัวไป

เชือชาติ พบว่าคนผิวดํา เปนโรคหลอดเลือดสมองมากกว่าคนผิว ขาว 2.5 เท่า สันนิษฐานว่าคนผิวดําอ้วน เปนเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงมากกว่าคนผิวขาว

ประวัติการเจ็บปวยในอดีต

จากสถิติทีพบผู้ทีมีประวัติอัมพาต-อัมพฤกษ์ชัวคราว มีความเสียงเพิ มขึน 10 เท่า การรับประทานยาปองกัน เกล็ดเลือดจับกลุ่มกันสามารถช่วยปองกันโอกาสการเกิด โรคหลอดเลือดสมองได้ 5


5. ผลเกียวกับความเจ็บปวยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง ผลกระทบของโรคหลอดเลือดสมอง ต่อร่างกายและจิตใจ • อาการอ่อนแรงของกล้ามเนือข้างใดข้างหนึงอาจเปนทังแขนและขา • มีปญหาเกียวกับการทรงตัว เช่น การนัง การยืน หรือเดินไม่ได้แม้ว่ากล้ามเนือ จะยังคงแข็งแรง • ปญหาเกียวกับการสือสารผู้ปวยบางรายไม่สามารถพู ด และไม่สามารถเข้าใจ ภาษาทังพู ดและเขียน บางรายพู ดไม่ได้แต่ฟงรู้เรือง บางรายพู ดลําบาก • ผู้ปวยบางรายไม่สนใจอวัยวะข้างใดข้างหนึงมักเกิดในผู้ปวยทีอ่อนแรงข้างซ้าย • มีอาการชา หรือปวดข้างใดข้างหนึง • ผู้ปวยบางรายมีปญหาเกียวกับความจํา ความคิด และการเรียนรู้ • ผู้ปวยบางรายมีปญหาเกียวกับการกลืนอาหาร • มีปญหาเกียวกับการควบคุมการขับถ่ายปสสาวะและอุจจาระ • ผู้ปวยอาจจะมีอาการเหนือยง่าย • ผู้ปวยอาจมีอารมณ์แปรปรวนเช่น หัวเราะ หรือร้องไห้เสียงดัง • อารมณ์วิตกกังวลอาจพบได้ในระยะแรกของโรค เกิดจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจว่า ตนเองปวยเปนโรคอะไร สาเหตุจากอะไร ต้องรักษาอย่างไร เสียค่าใช้จ่ายมากน้อย เท่าไร รักษาหายหรือไม่ ซึงอาจแสดงออกมาทางร่างกาย คือ กระสับกระส่าย นอนไม่ หลับ พฤติกรรมถดถอย เรียกร้องความสนใจ ต้องการให้ช่วยเหลือทังๆ ทีสามารถ ทําได้ • มีภาวะซึมเศร้าจากการเจ็บปวยทีเปนอยู่นานทําให้ผู้ปวยเกิดความเบือหน่าย สินหวังแยกตัว ไม่สนใจสิงแวดล้อม เบือกิจกรรมทุกอย่าง ท้อแท้ อยากตาย ผู้ปวย มักคิดว่าตนเองไม่มีโอกาส ไม่มีความหวังเปนภาระของครอบครัว รู้สึกตนเองไม่มี คุณค่า • พฤติกรรมต่อต้าน ซึงพบมากในผู้สูงอายุ จะปฏิเสธการดูแลจากคนอืน ไม่ยอม ให้ช่วยเหลือ ไม่ยอมรับประทานยา หรือไม่ยอมให้ฉีดยา • พฤติกรรมก้าวร้าว ควบคุมตัวเองไม่ได้ เอาแต่ใจ เมือไม่ได้รับการตอบสนอง ทันที ก็เกิดความโกรธ และแสดงความก้าวร้าวต่อผู้รักษาหรือญาติพีน้อง • พฤติกรรมทางเพศเปลียนแปลง เช่น เพิ มขึนหรือลดลง • หลีกเลียงพฤติกรรมทีเชือว่าทําให้อาการของโรคเลวลง เช่น ไม่กล้าทํางาน ไม่กล้าเดินทาง บางคนไม่อยากตกอยู่ในสภาพเจ็บปวย ไม่มาพบแพทย์ตามนัด ไม่รับ ประทานยา ฯลฯ 6


กิจกรรมที 1

การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง กิจวัตรประจําวัน หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ทีต้องทําเปนประจําในแต่ละ วัน เริมตังแต่ตืนนอนจนถึงเข้านอนได้แก่ การรับประทาน อาหาร การแต่งตัว การเคลือนย้าย การใช้ห้องสุขา การ เคลือนไหว การสวมใส่เสือผ้า การขึน-ลงบันได การอาบนํา การควบคุมการถ่ายปสสาวะและการควบคุมการถ่ายอุจจาระ การเจ็บปวยด้วยโรคหลอดเลือดสมองทําให้ผู้ปวยมีระดับความ สามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันลดลง ฉะนันการเพิ มระดับความ สามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของผู้ปวย เพื อการฟนฟู สภาพจึง เปนเรืองสําคัญทีสุดสําหรับผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง เพื อให้ผู้ปวยมี ระดับความสามารถเพิ มขึนเท่าทีสภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม เอืออํานวย สามารถช่วยเหลือดูแลตนเองได้มากทีสุด ซึงถ้าได้รับการ ดูแลรักษาและฟนฟู สภาพทีถูกต้องเหมาะสมก็จะส่งผลให้ผู้ปวยสามารถ ใช้ชีวิตได้อย่างปกติและมีคุณภาพชีวิตทีดีได้

การเตรียมผู้ดูแลผู้ปวยทีบ้าน โดยทัวไปผู้ดูแลผู้ปวยมักจะเปนญาติของผู้ปวย เช่น สามี หรือภรรยา ลูก พี น้อง หรือเพื อนบ้าน หรืออาจจะเปนเจ้าหน้าที ตามศูนย์บริการ ดังนันก่อนทีผู้ปวยจะกลับบ้านผู้ดูแลผู้ปวย จะ ต้องเข้าใจและสามารถดูแลผู้ปวยได้อย่างปลอดภัย นอกจากนัน ยังต้องเข้าใจถึงการเปลียนแปลง ทางอารมณ์ของผู้ปวยด้วย

บทบาทของผู้ปวย ต้องเรียนรู้การทํากิจวัตรประจําวันต่างๆ ด้วยตนเอง เพื อให้เกิดความภาคภูมิใจทีสามารถทํากิจวัตรประจําวันได้ด้วย ตนเอง และดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขตามความเหมาะสม ไม่เปนภาระแก่ครอบครัวลูกหลานและผู้ดูแล 7


กิจกรรมที 1

การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

บทบาทของญาติ/ผู้ดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองทีสําคัญ 1. ประเมินความสามารถในการดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง กระตุ้นให้ผู้ปวยปฏิบัติกิจวัตรประจําวันให้มากทีสุด ให้ผู้ปวยใช้ร่างกายข้างทีอ่อนแรง เท่าที สามารถจะทําได้ 2. ช่วยเหลือกิจกรรมเท่าทีจําเปนทีผู้ปวยไม่สามารถทําได้ 3. ให้กําลังใจและส่งเสริมให้ผู้ปวยเกิดความมันใจในตนเอง 4. ช่วยทํากายภาพบําบัดให้ผู้ปวย 5. ดูแลให้ผู้ปวยได้รับประทานยาตามทีแพทย์สัง 6. ช่วยเหลือในการทํากิจวัตรประจําวันของผู้ปวย เช่น อาบนํา แปรงฟนทําความ สะอาดช่องปากดูแลการขับถ่าย และการแต่งตัว 7. ดูแลให้ผู้ปวยได้รับสารอาหารและนําอย่างเพี ยงพอ ในรายทีผู้ปวยรับประทานอาหาร ทางปากไม่ได้สามารถให้อาหารทางสายยางได้อย่างถูกวิธี ในรายทีรับประทานอาหารเองได้ ให้ระวังการสูดสําลัก 8. ในรายทีผู้ปวยเจาะคอใส่ท่อช่วยหายใจ แนะนําและสาธิตจนผู้ดูแลสามารถทําแผลและ ดูดเสมหะได้อย่างถูกวิธี 9. พลิกตะแคงตัวผู้ปวยทุก 2 ชัวโมง ดูแลผิวหนังและปองกันไม่ให้เกิดแผลกดทับ 10. ช่วยเหลือในการพั กผ่อนนอนหลับ เช่น จัดสิงแวดล้อม ดูแลความสุขสบายให้แก่ ผู้ปวย 11. ช่วยเหลือในการหลีกเลียงอันตรายต่างๆ จากสิงแวดล้อม เช่น การเกิดอุบัติเหตุ ปองกันการพลัดตกลืนล้ม 12. ถ้าผู้ปวยคาสายสวนปสสาวะไว้ ทําความสะอาดด้วยนําต้มสุกและนําสบู่อย่างน้อย วันละ 2 ครัง และทุกครังทีปนเปอนอุจจาระ และตรึงสายสวนปสสาวะไม่ให้ดึงรัง 13. ให้ผู้ปวยได้รับทราบเกียวกับความเปนจริงรอบๆ ตัว เช่น จัดหาปฏิทิน วิทยุ รูปภาพของครอบครัวไว้ในห้องหรือข้างตู้ข้างเตียงผู้ปวย บอกวัน เดือน ป เวลา สถานที และ บุคคลให้ผู้ปวยได้รับทราบบ่อยๆ 14. ให้กําลังใจและส่งเสริมให้ผู้ปวยเกิดความมันใจในตนเอง 15. ช่วยควบคุมปจจัยเสียงอย่างเคร่งครัด ห้ามขาดยาหรือปรับยาเอง และมาพบ แพทย์ตามนัด 8


กิจกรรมที 1

การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

การจัดท่านอน

ท่านอนหงาย

ท่านอนตะแคงทับด้านมีแรง

ท่านอนตะแคงทับด้านอ่อนแรง

9


กิจกรรมที 1

การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

การสวมเสือด้วยตัวเอง 1. ใช้มือข้างมีแรงจับแขนข้างอ่อนแรงสอดเข้าไปในแขนเสือแล้วดึงเสือขึน 2. ใช้มือข้างมีแรงดึงเสือขึนจนถึงไหล่ จัดเสือส่วนทีเหลือพาดไปด้านหลังและสวมแขนเสือข้างมี แรง 3. จัดเสือและติดกระดุมด้วยมือข้างทีมีแรง

การถอดเสือด้วยตัวเอง 1. ใช้มือข้างมีแรงจับเสือบริเวณไหล่ข้างอ่อนแรงและถิดเสือออกมาถึงข้อศอก 2. ใช้มือข้างมีแรงจับตรงกลางเสือข้างมีแรงและดึงให้หลุดจากไหล่ ยกแขนด้านมีแรงขึนให้เสือ หลุดจากแขน 3. ใช้แขนข้างมีแรงดึงเสืออกจากแขนข้างอ่อนแรง

10


กิจกรรมที 1

การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

การสวมกางเกง 1. ใช้มือข้างมีแรงยกขาข้างอ่อนแรงวางทับขาข้างมีแรง สวมกางเกงทีขาข้างอ่อนแรงและดึง กางเกงขึน 2. ยกขาข้างมีแรงสวมกางเกงอีกข้าง ดึงขอบกางเกงขึนโดยเอียวตัวไปทางซ้าย ขวา การยืนสวมกางเกง

กรณีผู้ปวยยืนทรงตัวได้ดี หลังจากสวมกางเกงในท่านังให้ผู้ปวยลุกขึนยืน ใช้มือข้างมีแรงดึง กางเกงขึนและจัดกางเกงให้เรียบร้อย

11


กิจกรรมที 1

การดูแลกิจวัตรประจําวันของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

การถอดกางเกง 1. นังห้อยขาข้างเตียง ใช้มือข้างมีแรงดึงกางเกงออกจากขาข้างมีแรง 2. ยกขาขางอ่อนแรงทับบนขาข้างมีแรงและใช้มือข้างมีแรงดึงขากางเกงออกจากขาข้างอ่อน แรง

กรณีผู้ปวยนังทรงตัวไม่ดี ให้ผู้ปวยนอนหงาย ใช้เท้าข้างดีดันสะโพกยกขึน ใช้มือข้างดีดึงขอบ กางเกงลง

12


กิจกรรมที 2

การดูแลการขับถ่าย

การขับถ่ายปสสาวะ

อาการกลันปสสาวะไม่ได้ เปนอาการทีพบได้บ่อยใน ผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง สถิติอัตราการเกิดพบถึง 32-79% ของผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองและพบในผู้ปวย ภายหลังเปนโรคหลอดเลือดสมองนาน 3 สัปดาห์ มักพบ อาการแทรกซ้อนของโรคอืนๆ สูงขึนและโอกาสในการฟนฟู สมรรถภาพด้านการเคลือนไหวจะลดลง

ปญหาการควบคุมการขับถ่ายปสสาวะทีพบบ่อยในผู้ ปวยโรคหลอดเลือดสมองแบ่งออกเปน 2 ชนิด ได้แก่ 1. ไม่สามารถกลันปสสาวะ พบได้บ่อยทีสุด ทําให้มีปสสาวะเล็ดราด 2. ระดับความสามารถในการช่วยเหลือ ตนเองลดลง ผู้ปวยไม่สามารถไปห้องนําได้ทัน ตามความต้องการ มีปญหาในการใช้ชักโครกและ การเคลือนย้ายตัวในห้องนํา 13


กิจกรรมที 2

การดูแลการขับถ่าย

ดูแลการขับถ่ายปสสาวะ เมือพบปญหาเรืองการกลันปสสาวะไม่ได้ ควรพบแพทย์เพื อพิ จารณาให้การรักษาตาม ปญหาของผู้ปวยดังนี เมือมีอาการกลันปสสาวะไม่ได้ชนิดปวดปสสาวะมากและมีความต้องการปสสาวะในทันที

1. ให้ข้อมูลเกียวกับอาการกลันปสสาวะไม่ได้ 2. ฝกเพื อปรับเปลียนพฤติกรรมในการขับถ่ายปสสาวะโดยใช้ เวลา 3 – 8 สัปดาห์ ดังนี - กําหนดระยะห่างของการปสสาวะเท่าๆกัน ปกติกําหนดทุก 2 ชัวโมง (ยกเว้นตังแต่ 20.00- 6.00 น.) - ให้ผู้ปวยประเมินการขับถ่ายปสสาวะของตนเองว่ามีการเล็ด ราดของปสสาวะหรือไม่ - ให้ถามผู้ปวยว่า มีการเล็ดราดของปสสาวะหรือไม่ - ผู้ดูแลตรวจสอบการเล็ดราด ใช้คําพู ดเชิงบวกถ้าไม่มีการ เล็ดราดและไม่ใช้คําพู ดหรือแสดงท่าทีเชิงลบถ้ามีการเล็ดราด

- เสนอให้การช่วยเหลือในการขับถ่ายปสสาวะด้วยวิธีทีเหมาะสม แก่ผู้ปวยแต่ละราย ถ้าผู้ ปวยต้องการปสสาวะ ให้การช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ถ้าผู้ปวยไม่ต้องการปสสาวะ ให้ยืนยัน คําตอบอีกครัง และให้ข้อมูลผู้ปวยเกียวกับเวลาของการปสสาวะครังต่อไป รวมทังให้กําลังใจ ผู้ปวยในการกลันปสสาวะจนถึงเวลาทีกําหนด - มีการชมเชยและให้กําลังใจอย่างสมําเสมอ ถ้าไม่มีการเล็ดราด 3. ถ้าผู้ปวยขับถ่ายปสสาวะได้ตามเวลาทีกําหนด แต่ไม่สามารถกลันปสสาวะได้นานพอทีจะมี การขับถ่ายอย่างเหมาะสม ควรใช้ร่วมกับ การฝกกระเพาะปสสาวะ เมือมีอาการกลันปสสาวะไม่ได้ชนิดไม่ใช่ปวดปสสาวะมากและมีความต้องการปสสาวะใน ทันทีโดยใช้การฝกการขับถ่ายด้วยวิธีฝกกระเพาะปสสาวะ

1. ฝกเพื อปรับเปลียนพฤติกรรมในการขับถ่ายปสสาวะ ด้วยวิธีฝกกระเพาะปสสาวะโดยใช้เวลา 6 - 12 สัปดาห์ - เริมหลังตืนนอนตอนเช้า โดยให้ผู้ปวยปสสาวะก่อน หลังจากนันให้กระตุ้นผู้ปวยปสสาวะทุก 2 – 3 ช.ม. (ตาม ตารางทีกําหนด) โดยไม่จําเปนว่า ผู้ปวยปวดปสสาวะหรือไม่ 14


กิจกรรมที 2

การดูแลการขับถ่าย

ดูแลการขับถ่ายปสสาวะ เมือมีอาการกลันปสสาวะไม่ได้ชนิดไม่ใช่ปวดปสสาวะมากและมีความต้องการ ปสสาวะในทันทีโดยใช้การฝกการขับถ่ายด้วยวิธีฝกกระเพาะปสสาวะ

1. กรณีทีผู้ปวยมีความต้องการปสสาวะก่อนเวลาทีกําหนด ให้ผู้ปวยหัดกลันปสสาวะโดยใช้ เทคนิคดังนี - ให้นังท่าสบายๆ หายใจเข้า – ออก ลึกๆ ช้าๆ และพยายามผ่อนคลายกล้ามเนือ - ทําการขมิบช่องคลอด/ทวารหนัก (ถ้าทําได้) - ให้ผู้ปวยหัดกลันปสสาวะเมือรู้สึกอยากปสสาวะ โดยเริมทีประมาณ 5 นาที และเพิ มระยะ เวลาในการกลันปสสาวะเมือผู้ปวยรู้สึกปวดให้ได้สัปดาห์ละ 30 นาที จนมีช่วงห่างของการ ปสสาวะแต่ละครัง ประมาณ 3 – 4 ช.ม. ถ้าผู้ปวยรู้สึกปวดปสสาวะมากไม่สามารถกลันได้ ให้ ช่วยเหลือผู้ปวยปสสาวะอย่างเหมาะสม และให้กําลังใจถ้ามีปสสาวะเล็ดราด - ควรงดฝกในเวลากลางคืน อาจให้ผู้ปวยปสสาวะเองตามความต้องการ หรือใช้ ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปรองรับปสสาวะ เพื อให้ผู้ปวยได้พักผ่อนอย่างเพี ยงพอ 2. พยาบาล / ผู้ดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ปวยในการขับถ่ายอย่างเหมาะสม 3. ลงบันทึกผลการขับถ่ายแต่ละครัง 4. รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการฝกขับถ่ายปสสาวะทุกสัปดาห์ 5. หากยังพบปญหาเรืองการขับถ่ายปสสาวะให้พบแพทย์เพื อพิ จารณา รับยาเพื อการรักษาต่อไป เมือมีอาการกลันปสสาวะไม่ได้ชนิดปสสาวะท้น

1. ให้ข้อมูลเกียวกับอาการกลันปสสาวะไม่ได้ในผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองชนิดปสสาวะท้น แก่ผู้ปวยและญาติ 2. หลังการถ่ายปสสาวะทุกครัง ให้ใช้เทคนิคดังนี - ช่วยให้ผู้ปวยยืนขึนหรือเดินสัก 2-3 ก้าวในห้องนําและ กลับ. มานังทีโถส้วมใหม่ ทังผู้หญิงและผู้ชาย - โน้มตัวมาข้างหน้า และเพิ มแรงกดเล็กน้อยบริเวณ กระเพาะ ปสสาวะเพื อให้มีการปสสาวะอีกครังหนึง และ ห้ามเบ่งปสสาวะ - ในกรณีทีผู้ปวยยืนและเดินไม่ได้ ให้ผู้ปวยนังรอบน เก้าอีนังถ่ายหรือชักโครก เพื อปสสาวะอีกครังหนึง 3. ควรสวนปสสาวะเปนครังคราวให้ผู้ปวย ถ้าคลําพบการ การตึงตัวของกระเพาะปสสาวะ และผู้ปวยยังไม่มีการปสสาวะภายใน 6 – 8 ชัวโมง 4. ลงบันทึกผลการขับถ่ายแต่ละครัง 5. รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการฝกขับถ่ายปสสาวะทุกสัปดาห์

15


กิจกรรมที 2

การดูแลการขับถ่าย

การขับถ่ายอุจจาระ การขับถ่ายอุจจาระในผู้ปวยโรคหลอดเลือด สมองทีเกิดการสูญเสียการควบคุมไป มักพบปญหา อาการท้องผูกหรือการอัดแน่นของก้อนอุจจาระใน ลําไส้ใหญ่มากกว่าการกลันอุจจาระไม่ได้ เฉพาะสภาวะ ของบุคคลทีไม่สามารถขับถ่ายอุจจาระได้เนืองจาก ลําไส้ขาดการควบคุมหรือมีการขับถ่ายอุจจาระน้อย กว่าหรือเท่ากับ 2 ครัง/ สัปดาห์ หรือ 1 ใน 4 ครัง ของการขับถ่ายทีลําบาก ต้องมีการล้วง อุจจาระและอุจจาระมีลักษณะแห้ง แข็ง

ดูแลเรืองการขับถ่ายอุจจาระ 1. ให้ขอ ้ มูลเกียวกับอาการกลันอุจจาระไม่ได้ ในผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองแก่ผู้ปวยและญาติ 2. ให้ความรู้ / คําแนะนําในการรับประทานอาหารและการดืมนํา เพื อปองกันท้องผูกและ การเกิดก้อนอุจจาระแข็งค้างในลําไส้ ดังนี - ควรได้รับนําอย่างน้อยวันละ 1.5 - 2 ลิตรต่อวัน หรือมากกว่า (ยกเว้นกรณีทีจํากัดนําดืม ตามคําสังแพทย์) - ควรได้รับเส้นใยอาหารอย่างน้อยวันละ 25 กรัมต่อวัน - ควรให้ผู้ปวยงดดืมเครืองดืมทีมีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน - ผู้ปวยควรมีการเคลือนไหวและการออกกําลังกายทีเหมาะสมเพื อช่วยกระตุ้นการทํางานของ ลําไส้

16


กิจกรรมที 2

การดูแลการขับถ่าย ดูแลเรืองการขับถ่ายอุจจาระ 3. การฝกการขับถ่าย เพื อให้ผู้ปวยคงไว้ซึงแบบแผนการถ่ายอุจจาระทีปกติ ดังนี - กําหนดให้มีเวลาในการฝกขับถ่ายใกล้เคียงกันทุกวัน ขึนอยู่กับกิจกรรมและความต้องการ ของผู้ปวย หรือหลังจากรับประทานอาหารประมาณ 1 ชัวโมง เนืองจากมีการเคลือนไหวของลําไส้ - นวดหน้าท้องนานประมาณ 10 - 15 นาทีเพื อส่งเสริมการเคลือนไหวของลําไส้และกระตุ้นให้ เกิดการขับถ่ายทีควบคุมได้ - จัดให้ผู้ปวยถ่ายอุจจาระในท่านังโดยมีการใช้อุปกรณ์เครืองช่วยในการนังขับถ่ายอย่าง เหมาะสม - ให้การช่วยเหลือเพื อลดการค้างของอุจจาระด้วยการช่วยล้วงอุจจาระ ในกรณีทีผู้ปวยไม่ สามารถถ่ายออกได้หมด - มีการประเมินปริมาณและลักษณะของอุจจาระทุกครัง และจดบันทึกเมือ พบสิงผิดปกติ เพื อปรึกษา พยาบาลหรือแพทย์ - หากพบปะญหาเรืองหารจับถ่ายอุจจาระ ควรพบแพทย์เพื อรับยาระบาย ทีเหมาะสมกับผู้ปวย 4. ให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสมแก่ผู้ปวยในการจัดการกับเสือผ้า และการใช้ห้องนํา โดยเน้นให้ผู้ปวยมีความเปนส่วนตัวขณะขับถ่ายมากทีสุด 5. ควรมีการใช้ผลิตภัณฑ์รองกันเปอนอย่างเหมาะสม เพื อส่งเสริม ความมันใจแก่ผู้ปวย โดยเลือกผลิตภัณฑ์ทีมีขนาด สารช่วยดับกลิน และราคาทีเหมาะสมใช้ระหว่างทีผู้ปวยมีกิจกรรมต่างๆ เช่น การฝกกายภาพบําบัด การออกกําลัง กายหรือกิจกรรมทางสังคม เปนต้น 6. การทําความสะอาดหลังขับถ่ายผิวหนังบริเวณขาหนีบและรอบๆ อย่างเหมาะสม - ควรทําความสะอาดหลังการขับถ่ายอุจจาระทันทีทุกครัง ด้วยนําและสบู่ทีมีค่าความกรดด่าง ทีเปนกลาง เพื อลดความระคายเคืองของผิวหนังจากการทําความสะอาดบ่อย - หลังทําความสะอาดควรใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลผิวหนังทุกครัง เช่น ปโตรเลียมเจล (วาสลีน) นํามันสําหรับทาผิว 7. มีการดูแลผิวหนังเพื อปองกันและดูแลแผลกดทับ

17


กิจกรรมที 3

การดูแลเรืองอาหารสําหรับผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

ผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง สามารถพบอาการกลืนลําบาก ได้ถึงร้อยละ 80

โรคหลอดเลือดสมองส่งผลกระทบกับ ทุกระยะของกระบวนการกลืน และ เปนปจจัย เสียงทีสําคัญทีทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น การสําลัก การติดเชือทีปอดจากการ สําลัก การขาดสารนําสารอาหาร นอกจากนียัง เปนสาเหตุให้ผู้ปวยฟนตัวช้า รวมทังการเสีย ชีวิต

ฉะนันจึงมีความสําคัญในการดูแล เพื อให้ผู้ปวยได้รับสารอาหารและนําครบ ถ้วนตลอดทังชนิดอาหารทีควรได้รับ หรือหลีกเลียงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม กับสภาวะโรคของผู้ปวย 18


กิจกรรมที 3

กลวิธีการให้อาหาร

การดูแลเรืองอาหารสําหรับผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง

100 cc

1. ประเมินความสามารถในการกลืนทางปากหากสามารถกลืนได้เอง ให้อาหารทีมีลักษณะอ่อนนุ่มและไม่มีนํามาก เปนอาหารทีผู้ปวยชอบ ถ้า อาหารมีลักษณะเปนเส้นยาว ควรตัดให้สัน เพื อให้กลืนได้สะดวก 2. จัดผู้ปวยให้อยู่ในท่านัง หัวสูงอย่างน้อย 45 องศา 3. ควรให้อาหารอย่างช้าๆ และให้ผู้ปวยเคียวให้ละเอียดก่อนแล้วกลืน 4. ใช้ช้อนชาแทนการใช้ช้อนทีมีขนาดมาตรฐาน (เนืองจากเวลา รับประทานปริมาณจะลดลง) 5. ควบคุมปริมาณอาหารในการปอนแต่ละครังให้มีคําเล็กๆ 6. ใช้แก้ว / ถ้วยทีมีขนาดเล็ก (100 cc.) แทนการใช้แก้ว /ถ้วย ขนาดใหญ่ (250 cc.) หรือใช้แก้วทีมีลักษณะพิ เศษ (nosey cup) คือ แก้วนําทีตัดให้เกิดส่วนโค้งเพื อให้ดืมนําโดยไม่ต้องเงยหน้า ปองกันการ สําลัก 7. พู ดคุยกับผู้ปวยขณะให้อาหาร แต่ไม่ควรพู ดหรือให้ผู้ปวยตอบ เวลามีอาหารหรือนําอยู่ในปาก 8. บอกผู้ปวยเกียวกับอาหารทีรับประทาน จัดวางถาดอาหารให้อยู่ใน ลานสายตา ทีผู้ปวยจะสามารถมองเห็นได้เพื อกระตุ้นความอยากอาหาร 9. แนะนําวิธีกลืนให้กระทําเปนจังหวะ ขณะรับประทานอาหาร ไม่ควร เร่งผู้ปวย 10.ตรวจสอบเศษอาหารภายในปากหลังรับประทานอาหาร 11. ในผู้ทีไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ควรให้งดนําและ อาหาร และปรึกษา พยาบาล แพทย์หรือผู้เชียวชาญเพื อพิ จารณาการ รักษาต่อไป 12. หากผู้ปวยไม่สามารถกลืนได้ ให้มาพบแพทย์เพื อพิ จารณาใส่สาย ยางให้อาหาร

แก้วนําทีมีลักษณะพิ เศษ (nosey cup) 19


กิจกรรมที 4

การใช้ยาและการปองกันและเฝาระวังการกลับเปนซํา

เปนซํา ช่ ว ง 30 วั น แรก

ใน 5 ป เปนซําร้อยละ 20

ผู้ปวยทีเปนโรคหลอดเลือดสมองโดยเฉพาะผู้ปวยสมองขาดเลือด จะเกิด ปญหา ทีตามมาคือ การเกิดโรคหลอดเลือดสมองกลับเปนซํา การเกิดภาวะหัวใจ ขาดเลือด และการเสียชีวิตจากโรคหัวใจเปนส่วนใหญ่แต่อย่างไรก็ตามผู้ปวยจะมี โอกาสเกิดโรคหลอดเลือดสมองกลับเปนซํา ค่อนข้างสูงหรือสูงกว่าการเกิดโรค หัวใจขาดเลือดโดยรวม โดยมีอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองกลับเปนซําใน ช่วง 30 วันแรก สูงกว่าโรคหัวใจขาดเลือด หรือการเสียชีวิตจากโรคหัวใจ 2.5 เท่า และใน 5 ป จะมีการเกิดโรคหลอดเลือดสมองกลับเปนซําร้อยละ 20 แม้การ กลับเปนซําของโรคหลอดเลือดสมองจะไม่ได้เปนปญหาหลักทีทําให้เสียชีวิตหลัง เกิดโรคหลอดเลือดสมอง แต่ก็ทําให้ผู้ปวยมีความพิ การมากขึนและคุณภาพชีวิต เลวลง

แนะนําชือยาทีผู้ปวยได้รับ ขนาด ควรเลือกให้ผู้ปวยรับประทานยา อธิบายให้ผู้ปวยและญาติเข้าใจถึง ของยา ผลของยา อาการแทรกซ้อน ลักษณะนํา หากเปน ยาเม็ดควร ความสําคัญของการรับประทานยา ของยา เวลาทีรับประทาน วิธีการ ทําการบด (ในยาทีสามารถบดได้) ตามแพทย์สังอย่างต่อเนือง ห้าม บริหารยา สิงทีต้องสังเกตระหว่างที หยุดยาหรือเพิ มขนาดยาเอง ได้รับยา

20


กิจกรรมที 4

การใช้ยาและการปองกันและเฝาระวังการกลับเปนซํา

แนะนําการใช้อุปกรณ์ช่วยเตือน ในการรับประทานยาเช่น การใช้ กล่องแบ่งยาเพื อรับประทานใน แต่ละวัน

อธิบายให้ผู้ปวยและญาติ เข้าใจถึงความสําคัญของ การกลับมาพบแพทย์ตามนัด และนํายาทีรับประทานไปด้วย ในวันทีไปตรวจตามนัด

อธิบายและให้คําแนะนําเกียวกับ กิจกรรมทีจะช่วยลดปจจัย เสียงต่อการกลับเปนซํา เช่น การจัดการกับความเครียด หลีกเลียงปจจัยเสียงของโรค หลอดเลือดสมอง

อธิบายถึงอาการและอาการแสดงทีผู้ปวย ต้องมาพบแพทย์ • ปวดศีรษะ คลืนไส้อาเจียน • แขน-ขาอ่อนแรง สูญเสียความรู้สึก การควบคุมการทรงตัวมากขึน • มีความผิดปกติของสายตามากขึน • ง่วงซึม กระสับกระส่าย สับสนมากขึน • พู ดลําบาก ไม่เข้าใจคําพู ด ไม่สามารถ แสดงออกเพื อการสือสารได้มาก ขึน

เปดโอกาสให้ญาติเข้า ร่วมฟงการให้ความรู้และคํา แนะนําร่วมกับผู้ปวย ให้เวลา ในการซักถามและทําความ เข้าใจ สอนและฝกทักษะในการดูแล ผู้ปวยก่อนจําหน่ายกลับบ้าน เช่น การทําแผล การให้อาหารทางสาย ยาง และการทําความสะอาด ร่างกาย

21


กิจกรรมที 5

การปรับสภาพบ้านและสิงแวดล้อม จําแนกตามอุปกรณ์ / สิงอํานวยความสะดวก บ้านและสิงแวดล้อมมีความสําคัญกับผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองมาก เพื อส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองและฟนฟู สภาพร่างกายและจิตใจของ ผู้ปวย หากสภาพบ้านเปนบ้านสองชันควรจัดให้ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองนอน ชันล่างเพื อสะดวกในการเคลือนย้าย การดูแลของญาติ และลดการเกิดอุบัติเหตุได้ และจัดสภาพบ้านให้สะอาด ไม่มีสิงกีดขวางทางเดินผ่าน หากสามารถปรับปรุงสถาน ทีได้อาจปรับปรุงดังนี

ทางเข้าสู่บ้าน - ควรเปนพื นผิวเรียบเสมอกัน หากเปนพื น ต่างระดับ ควรมีทางลาด - ทางลาดควรมีความชันไม่เกิน 5 องศา หรืออัตราส่วนความสูงต่อความยาวไม่น้อย กว่า 1 ต่อ 12 - ความกว้างของทางลาดควรมากกว่า 1.20 เมตร สําหรับเดินทางเดียวและ 1.80 เมตร สําหรับเดินสวนทาง (รถเข็น) - ทางลาดมีความสูงเกิน 15 ซม. ต้องทําราว เกาะทัง 2 ข้าง - ทางลาดยาวเกิน 10 เมตรหรือมีทางลง สู่ถนนโดยตรง ต้องออกแบบให้มีทีพั กหรือ ทําแบบหักมุม ซึงควรมีพืนทีอย่างน้อย 1.5 x 1.5 ตารางเมตร

ประตู - ไม่ควรมีธรณีประตู - กรณีมีธรณีประตูขอบทังสอง ด้านควรลาดเอียง และกว้างไม่น้อย กว่า 85 ซม. - กว้างมากกว่าความกว้างของ รถเข็น - ควรเปนแบบเลือนปด-เปด อัตโนมัติ

22


กิจกรรมที 5

การปรับสภาพบ้านและสิงแวดล้อม จําแนกตามอุปกรณ์ / สิงอํานวยความสะดวก

บันได

อุปกรณ์และเครืองใช้ภายในบ้าน

- สูง 14 ซม. และกว้าง 32 ซม. - มีราวบันไดทัง 2 ข้าง ความสูง ของราวเกาะคือ 90 ซม.จากพื น สําหรับผู้ใหญ่และสูง 75 ซม. จาก พื นสําหรับเด็ก

- เตียงควรมีความสูงเท่ากับความสูงของ ทีนังรถเข็น - โต๊ะหรือเคาน์เตอร์ควรสูงกว่าทีพั กแขน ของรถเข็น - ชันวางของ สวิทช์ไฟ โทรศัพท์ สูง พอทีผู้ใช้ล้อเข็นเอือมถึง

ห้องนํา/ห้องส้วม - ประตูบานเลือนหรือบานพั บ ไม่มีธรณีประตู - มีราวจับแนวนอนจากประตูทางเข้าไปยังโถส้วม - พื นทีกว้างพอทีรถเข็นเข้าไปและเลียวกลับได้ (มากกว่า 1.5 x 1.5 ตารางเมตร) - มีราวเกาะติดผนัง ราวเกาะสูง 80 - 90 ซม. ขนาดของราวเกาะทีเหมาะสมประมาณ 3.8 ซม. และควรติดให้ยืนห่างจากผนังมากกว่า 3.8 ซม. - โถส้วมควรเปนแบบชักโครกหรือใช้เก้าอีนังถ่าย - อ่างล้างหน้า อ่างล้างมือ สูง 80 ซม. และมีที ว่างด้านล่างให้ผู้ใช้ล้อเข็นสอดเท้าเข้าไปได้ (68 ซม.) - มีสัญญาณไฟติดตังเพื อเตือนภัยสําหรับผู้สูง อายุ

23


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การออกกําลังกายโดยญาติ หรือ ผู้ดูแล

ในระยะแรกทีกล้ามเนือผู้ปวยยังอ่อนแรงอยู่ ไม่สามารถเคลือนไหวร่างกาย ด้านอ่อนแรงได้นัน ญาติหรือผู้ดูแลควรช่วยเคลือนไหวส่วนต่างๆ ของด้านอ่อน แรงให้ ซึงมีความสําคัญต่อผู้ปวยมาก เนืองจากเปนการช่วยปองกันภาวะข้อติด และการหดสันของเอ็นกล้ามเนือ

ข้อปฏิบัติในการเคลือนไหวข้อ 1. การเคลือนไหวข้อให้ผู้ปวยควรทําซําๆ และนิมนวล 2. ควรทําการเคลือนไหวให้สุดช่วงของการเคลือนไหวปกติ 3. ทําในแต่ละท่าซําๆ ท่าละ 10-20 ครัง อย่างน้อยวันละ 2 รอบ เช้า-เย็น และควรเว้น ช่วงหลังมืออาหารเปนเวลาอย่างน้อย 1 ชัวโมง 4. ขณะทําการเคลือนไหวข้อ ถ้าผู้ปวยปวดหรือพบปญหาอย่างอืนตามมา ควรหยุด และปรึกษาแพทย์หรือนักกายภาพบําบัด

การออกกําลังกายโดยญาติส่วนแขน ท่าที 1 ยกแขนขึน-ลง

ท่าที 2 กางแขน-หุบแขน

24


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว ท่าที 3 หมุนไหล่ขึน-ลง

ท่าที 4 งอศอก-เหยียดศอก

ท่าที 5 กระดกข้อมือขึน-ลง

ท่าที 6 กํามือ-แบมือ

25


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว ท่าที 7 กระดกนิวโปงขึน-ลง

การออกกําลังกายโดยญาติส่วนขา ท่าที 1 งอสะโพก-เหยียดสะโพก

ท่าที 2 กางขา-หุบขา

26


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การออกกําลังกายโดยญาติส่วนขา ท่าที 3 หมุนสะโพก เข้า-ออก

ท่าที 4 กระดกข้อเท้าขึน-ลง

27


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกการออกกําลังกายของแขนและมือ วิธีการฝกออกกําลัง โดยให้ทําท่าละประมาณ 10-30 ครัง ถ้ารู้สึกเหนือย หน้ามืด ใจสัน หรือเวียนศีรษะให้หยุดออกกําลังกาย 1. ในกรณีทีผู้ปวยมีอาการเกร็งบริเวณแขนและมือ ให้ญาติหรือผู้ดูแลทําการเหยียดยืดกล้าม เนือนิวโปงออก จากนันให้เหยียดนิวทังสีให้เหยียดตรง กระดกข้อมือขึน หงายมือ ออก และเหยียดศอกตรง ตามลําดับ (ทําท่านีค้างไว้ 20–30 วินาที แล้วทํายืดซําอีกเปนเวลา 5 นาที เพื อช่วยลดภาวะเกร็งของผู้ปวย)

2. จัดท่าให้ผู้ปวยอยู่ในท่านังในลักษณะหัวไหล่กางและหมุนออกด้านนอก ญาติใช้มือมือช่วย ดันศอกข้างอ่อนแรง เพื อกันข้อศอกพั บ จากนันจัดให้ฝามือของผู้ปวยลงนําหนัก เต็มที ข้อ มือและนิวมือกางออกทุกนิวและเหยียดตรง ให้ผู้ปวยนังทําท่านีนานประมาณ 5-15 นาที (หาก ผู้ปวยนังทรงตัวเองได้ กระตุ้นให้ผู้ปวยใช้มือข้างแข็งแรงช่วยดันศอกหรือพยายามเหยียด ศอกตรงด้วยตนเอง)

28


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกการออกกําลังกายของแขนและมือ 3. ฝกเอือมแขนไปข้างหน้า

4.ฝกการทํางานของกล้ามเนือรอบหัวไหล่ โดยให้ผู้ปวยเอามือแตะไหล่ด้านตรงข้าม ญาติ กระตุ้นให้ผู้ปวยตังศอกไว้ 90 องศา หลังจากนันให้ผู้ปวยเคลือนไหวศอกขึน-ลง (หากผู้ปวย จับทีหัวไหล่ด้านตรงข้ามไม่ได้ ให้ญาติช่วยจับประคองมือผู้ปวยไว้ทีหัวไหล่)

5.ฝกการทํางานของกล้ามเนือรอบหัวไหล่ โดยให้ผู้ปวยเอามือแตะหน้าผาก ญาติกระตุ้นให้ ผู้ปวยตังศอกค้างไว้ 90 องศา หลังจากนันให้ผู้ปวยกาง-หุบแขนแตะมือญาติ (หากผู้ปวย เอามือแตะหน้าผากไม่ได้ ให้ญาติช่วยจับประคอง มือผู้ปวยไว้ทีหน้าผาก)

29


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกการออกกําลังกายของแขนและมือ 6. ฝกการเหยียดข้อศอกร่วมกับการงอข้อไหล่ 90 องศา โดยผู้ปวยพยายามตังไหล่ให้งอ 90 องศา ญาติกระตุ้นให้ผู้ปวยมีการเหยียดศอกขึน-ลง

7. ฝกการกระดกข้อมือมาทางนิวหัวแม่มือ (ในกรณีทีมือของผู้ปวยฝกควํามือหงายมือเอง โดยไม่ต้องถือวัตถุ)ยังมีแรงไม่พอ ให้ผู้ปวยฝกกระดกข้อมือขึนลงเอง โดยไม่ต้องถือวัตถุ)

8. ฝกการควําและหงายมือ (ในกรณีทีมือของผู้ปวยยังมีแรงไม่พอให้ผู้ปวยฝกควําหงายมือ เอง โดยไม่ต้องถือวัตถุ)

30


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกการออกกําลังกายของแขนและมือ 9. ฝกการกําและเหยียดนิวมือออก

10. ฝกการกําและปล่อยวัตถุ

11. ฝกใช้นิวหัวแม่มือสัมผัสนิวชี, นิวนาง, นิวกลางและนิวก้อย

31


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกออกกําลังขาเพื อเตรียมการฝกเดิน วิธีการฝกออกกําลัง โดยให้ทําท่าละประมาณ 10-30 ครัง ถ้ารู้สึกเหนือย หน้ามืด ใจสัน หรือเวียนศีรษะให้หยุดออกกําลังกาย 1. การออกกําลังกายกล้ามเนืองอข้อสะโพก

2. การออกกําลังกายกล้ามเนือเหยียดข้อสะโพก

3. การออกกําลังกล้ามเนือเหยียดเข่า

32


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกออกกําลังขาเพื อเตรียมการฝกเดิน 4. การออกกําลังกายกล้ามเนืองอเข่า

5. การออกกําลังกล้ามเนือกระดกข้อเท้าขึน-ลง

การเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน ไม้เท้าทีใช้ในผู้ปวยอัมพาตครึงซีก

ไม้เท้าสีหัว

ไม้เท้าสามหัว 33


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน

หลักการเดินด้วยไม้เท้า 1. ให้ผู้ปวยยืนเท้าทังสองข้างอยู่ห่างกันพอสมควร พยายามให้ผู้ปวยยืนลงนําหนัก เท่าๆ กันทังสองข้าง ยกไม้เท้าออกไปข้างหน้า กางออกเล็กน้อย 2. ยกขาด้านอ่อนแรงไปข้างหน้า 3. ลงนําหนักขาด้านอ่อนแรงพร้อมกับยกขาด้านแข็งแรงไปข้างหน้าเริมต้นจาก ขันตอนที 1 ซํา

การฝกผู้ปวยเคลือนย้ายตัวบนเตียง

1. การเคลือนตัวไปทางซ้าย-ขวา ให้ผู้ปวยนอนหงายชันเข่าทังสองข้าง (ในกรณีผู้ปวยไม่สามารถตังเข่าด้านอ่อนแรงได้ให้ ญาติช่วยจับ) กระตุ้นให้ผู้ปวยยกสะโพกไปทางด้านข้าง หลังจากนันให้เคลือนลําตัวและศีรษะตาม (ใน กรณีผู้ปวยไม่สามารถยกสะโพกได้เอง ให้ญาติช่วยได้ แต่ควรกระตุ้นให้ผู้ปวยทําเอง ด้วย)

34


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกผู้ปวยเคลือนย้ายตัวบนเตียง 2. การเคลือนตัวขึน-ลง ไปทางหัวเตียงและปลายเตียง ให้ผู้ปวยนอนหงายชันเข่าทังสองข้าง (ในกรณีผู้ปวยไม่สามารถตังเข่าด้านอ่อนแรงได้ให้ ญาติช่วยจับ) กระตุ้นให้ผู้ปวยยกสะโพกพร้อมกับเลือนตัวไปทางหัวเตียงและเลือนตัวไปทางปลายเท้า (ในกรณีผู้ปวยไม่สามารถยกสะโพกได้เอง ให้ญาติช่วยได้ แต่ควรกระตุ้นให้ผู้ปวยทําเอง ด้วย)

3. การพลิกตะแคงตัว ให้ผู้ปวยนอนหงายชันเข่าทังสองข้าง (ในกรณีผู้ปวยไม่สามารถตังเข่าด้านอ่อนแรงได้ให้ ญาติช่วยจับ) ให้ผู้ปวยเอามือด้านมีแรงจับมือด้านอ่อนแรงให้อยู่ในท่าเหยียดศอกและตังฉากกับลําตัว ก่อนทีจะพลิกตะแคงตัว ถ้าผู้ปวยยังทําเองไม่ได้ ญาติอาจช่วยพลิกตะแคงตัวโดยจับทีสะโพกและหัวไหล่ได้ แต่ควรกระตุ้นให้ผู้ปวยทําเองด้วย

35


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกผู้ปวยในการเปลียนอิริยาบถ

4. การเปลียนอิริยาบถจากท่านอน-นัง 4.1 การลุกขึนนังจากท่าตะแคงตัวทับข้างมีแรง ให้ผู้ปวยอยู่ในท่าตะแคงตัวทับข้างมีแรง ผู้ปวยพยายามใช้ขาด้านมีแรงเขียขาด้านอ่อน แรงให้ลงมาอยู่ขอบเตียง กระตุ้นให้ผู้ปวยยกศีรษะและหัวไหล่ขึน (พร้อมทีจะลุกขึนนัง) พร้อมกับใช้แขนด้านมีแรง ยันตัวลุกขึนนัง แต่ถ้าผู้ปวยยังไม่มีแรงพอ ญาติอาจช่วยโดยการประคองทีไหล่และข้อ สะโพก (หลีกเลียงการดึงบริเวณแขนด้านอ่อนแรงของผู้ปวย) ให้ผู้ปวยลุกขึนมานังได้

4.2 การลุกขึนนังจากท่าตะแคงตัวทับข้างอ่อนแรง ให้ผู้ปวยอยู่ในท่าตะแคงตัวทับข้างอ่อนแรง ผู้ปวยพยายามใช้ขาด้านมีแรงเขียขาด้าน อ่อนแรงให้ลงมาอยู่ขอบเตียง กระตุ้นให้ผู้ปวยยกศีรษะและหัวไหล่ขึน พร้อมกับใช้แขนด้านมีแรงยันตัวลุกขึนนัง แต่ถ้า ผู้ปวยยังไม่มีแรงพอ ญาติอาจช่วยโดยการประคองทีไหล่และสะโพก เพื อดันให้ผู้ปวย ลุกขึนนังได้

36


กิจกรรมที 6 การออกกําลังกาย การทํากายภาพบําบัด และการเคลือนย้ายตัว การฝกผู้ปวยในการเปลียนอิริยาบถ 5. การฝกลุกขึนยืนจากท่านัง ญาติ/ผู้ดูแลประคองด้านอ่อนแรงของผู้ปวย แล้วให้ผู้ปวยขยับตัวมาชิดขอบเตียง วาง เท้าทังสองข้างแนบพื นในระดับเดียวกัน กระตุ้นให้ผู้ปวยโน้มตัวมาข้างหน้า ให้นําหนักตกลง บนขาทังสองข้างให้เท่ากัน (ญาติ/ผู้ดูแลอาจช่วยออกแรงกดเข่าด้านอ่อนแรงของผู้ปวยใน ขณะทีผู้ปวยลุกขึนยืน)

6. การเคลือนตัวจากเตียงไปรถเข็น นํารถเข็นเข้าเทียบด้านมีแรงของผู้ปวย โดยรถเข็นทํามุมกับเตียงประมาณ 45 องศา (อย่าลืมล็อครถเข็น) จากนันให้ผู้ปวยใช้มือด้านทีแข็งแรงจับพนักพิ งแขนด้านใกล้ตัว ญาติ/ ผู้ดูแลจับพยุงบริเวณขอบเข็มขัดหรือผ้ารัดเอว (หลีกเลียงการจับบริเวณใต้รักแร้ของผู้ปวย) หนีบเข่าด้านทีอ่อนแรงของผู้ปวย กระตุ้นให้ผู้ปวยลุกขึนยืน ค่อยๆหมุนตัวลงมาทีรถเข็น

37


กิจกรรมที 7 การจัดการกับความเครียด 1. สอน วิธีฝกปฏิบัติการลดความเครียดด้วยตนเองเช่น การผ่อนคลายกล้าม เนือ การฝกการหายใจเข้า-ออก ลึกและช้า การคลายกล้ามเนือ โดยการนังหรือนอนราบเกร็งกล้ามเนือแต่ละ ส่วนโดยเริมจากกล้ามเนือหน้า ไหล่ แขน หน้าอก หลัง ท้อง ต้นขา ขา และเท้า โดยการเกร็ง 3 - 4 วินาทีสลับกับการคลายกล้ามเนือ ทําทีละมัด สังเกตการเปลียนแปลง ระวังการเกร็ง และการ คลายกล้ามเนือ จะพบว่าเมือคลายกล้ามเนือจะมี อาการร้อนบริเวณดังกล่าวเนืองจากเลือดไปเลียง เพิ มขึนฝกบ่อยๆ จะช่วยคลายความเครียดได้ดี

การหายใจลึกๆ เปนวิธีทีคลายความเครียดอย่างได้ผลโดยการ นังขัดสมาธิหรือนังบนเก้าอี มือวางบนตัก หายใจ เข้าทางจมูกช้าๆให้เต็มปอดนับ 1 - 10 กลันหายใจ 2 - 3 วินาทีแล้วจึงหายใจออกทางปากช้าๆ โดย ระยะเวลาหายใจออกเปนสองเท่าของหายใจเข้าทํา สลับกัน 5 - 10 ครัง

2. ให้ความคุ้นเคย ให้ความเข้าใจและให้เวลา เพื อผู้ปวยรู้สึกมันใจและไว้ใจ 3. สอนและแนะนําให้จัดสิงแวดล้อมให้เงียบสงบ และบรรยากาศทีส่งเสริมให้ผู้ปวย มีการพั กผ่อนทีเพี ยงพอ ใช้จินตนาการโดยการหลับตาคิดถึงเรืองทีมีความสุข หรือ สถานทีทีชอบจินตนาการ เรืองดีๆ หรืออาจจะใช้การมองภาพสถานทีทีชอบหรือภาพทีมีความสุขแล้ว จินตนาการ ซึงจะทําให้เกิดการผ่อนคลาย 4. ให้กําลังใจผู้ปวย เพื อให้มีความเข้าใจและยอมรับเกียวกับภาวะความเจ็บปวย และ ความพิ การทีอาจหลงเหลืออยู่ 5. สอนและแนะนําให้ดูแลด้านจิตใจ อารมณ์อย่างต่อเนือง 6. กระตุ้นให้ครอบครัวให้ความรัก ความเข้าใจ ทีทําให้ผู้ปวยเกิดความรู้สึกต่อ ตนเองในทางบวก 38


กิจกรรมที 8 การส่งเสริมการสือสารทีมีประสิทธิภาพ

กรณีทผู ี ้ปวยมีปญหาการสือสารบกพร่อง พู ดไม่ชัด พู ดลําบาก ไม่เข้าใจคําพู ดหรือภาษา ในการสือสาร ไม่สามารถแสดงออกเพื อการสือสารได้ - ประเมินลักษณะการสือสารของผู้ปวย ความสามารถของผู้ปวย ในด้านความเข้าใจภาษา การพู ด การอ่านและเขียน - ถามคําถามทีสามารถตอบได้ด้วยคําว่า “ใช่” หรือ “ไม่” เช่น คุณรู้สึกร้อนใช่ไหม ถามคําถามตรงกันข้าม เช่น คุณรู้สึกหนาวใช่ไหม? เปนการตรวจสอบว่าผู้ปวยมีความเข้าใจ จริงหรือไม่ ถ้าผู้ปวยพู ดไม่ได้ให้พยักหน้าแทน - ถามคําถามทีสันและง่ายและแสดงลักษณะท่าทางประกอบ - ผู้ประเมินหรือสนทนาควรยืนอยู่ในตําแหน่งทีผู้ปวยสามารถมองเห็นได้ หรืออยู่ใน ลานสายตาผู้ปวยทีสามารถเห็นได้ - ประเมินการเขียนตามคําพู ดโดยให้ผู้ปวยลองเขียนบนกระดาษ - ประเมินความเข้าใจจากภาพ โดยให้ผู้ปวยสือความหมายจากภาพทีมองเห็น - ส่งปรึกษานักอรรถบําบัดเพื อประเมินอาการทางคลินิกของผู้ปวยในการสือสารและ วางแผนการฟนฟู สภาพ ในกรณีทผู ี ้ปวยไม่สามารถพู ดหรือแสดงออกเพื อการสือสารได้ พู ดลําบาก พู ดไม่ชัด ให้ปฏิบัติ ดังนี - ขณะทีมีการสือสาร ไม่ควรมีกิจกรรมอย่างอืนมาแทรก หรือกระตุ้นให้ผู้ปวยมีการ เบียงเบนความสนใจ ซึงจะเปนสาเหตุของการขัดขวางการสือสารของผู้ปวย - บรรยากาศในการสือสารควรจะสงบเงียบ -ผู้สนทนาควรมีท่าทีสงบ ผ่อนคลายและเปนกันเอง - ให้เวลาผู้ปวยในการสือสารอย่างเต็มที เพื อเปดโอกาสให้ผู้ปวยหาคําทีจะพู ด หรือแสดงออกถึงความรู้สึกทีต้องการตอบสนองต่อการสือสารด้วยตนเอง - ให้กําลังใจผู้ปวยในการทีจะสือสาร

39


กิจกรรมที 8 การส่งเสริมการสือสารทีมีประสิทธิภาพ - ไม่แสดงท่าทางรีบเร่งหรือเร่งรัดคําตอบจากผู้ปวย - ไม่ควรถามคําถามโดยไม่รอคําตอบ - ผู้สนทนาไม่ควรพู ดตะโกนหรือเสียงดัง ควรใช้เสียงพู ดทีเปนปกตินุ่มนวล อ่อนโยนเพราะผู้ปวยไม่ได้สูญเสียการได้ยิน - สนทนาแต่ละครังควรใช้ผู้สนทนาเพี ยงคนเดียว เพราะผู้ปวยมีข้อจํากัดต่อการ ตอบสนองกับผู้พูดหลายคนหรือคําพู ดทีหลากหลาย - ขณะสือสารผู้สนทนาควรสบตาและพู ดกับผู้ปวยโดยตรง - ยอมรับการแสดงออกของผู้ปวย ในการสือสารหรืออธิบายความหมาย - ก่อนสนทนา หรือสือสารควรให้ผู้ปวยได้รับการพั กผ่อนอย่างเพี ยงพอ - การสือสารแต่ละครังไม่ควรใช้เวลานานเกินไป - เตรียมอุปกรณ์ รูปภาพต่างๆ ไว้ในขณะสือสารเพราะถ้าผู้ปวยมีความลําบากทีจะ พู ดอาจใช้การชีทีรูปภาพแทน - กระตุ้นให้ผู้ปวยมีการพู ดโดยให้พูดช้าๆ เปนประโยคหรือวลีสันๆ ชัดถ้อยชัดคํา - กระตุ้นให้ผู้ปวยสนทนาหรือสือสาร และสามารถตอบคําถามเบืองต้นด้วยคําว่า “ใช่”หรือ “ไม่” - ให้ผู้ปวยได้พูดคุยกับญาติบ่อยๆ โดยเฉพาะการใช้ภาษาทีพยาบาลไม่คุ้นเคย ในกรณีทผู ี ้ปวยไม่เข้าใจคําพู ดหรือภาษาในการสือสาร ควรปฏิบัติดังนี - พยาบาลหรือผู้ทีต้องการจะสือสารกับผู้ปวย ต้องอยู่ในตําแหน่งทีผู้ปวยมองเห็น ริมฝปาก และการแสดงท่าทางของผู้ทีจะสือสารชัดเจน - ในการสือสารพยายามใช้ท่าทางหรือการแสดงออกทางสีหน้าประกอบการพู ดหรือใช้ภาพ ประกอบ - ใช้เสียงพู ดทีเปนปกติ พู ดช้าๆ ชัดถ้อยชัดคําและเปนภาษาทีใช้ประจํา - ไม่ควรถามคําถามหลายอย่างในเวลาเดียวกัน - หลีกเลียงการสนทนาทีเปนเรืองการออกความคิดเห็น โต้แย้ง หรือใช้อารมณ์

40


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง

โรคความดันโลหิตสูง ความดันโลหิต เปนแรงดันเลือดทีเกิดจาก หัวใจสูบฉีดเลือดไปเลียงทัวร่างกาย จะมี 2 ค่า คือ ค่าความดันตัวบน หมายถึง ค่าของแรง ดันเลือดขณะหัวใจห้องซ้ายล่างบีบตัว

ค่าความดันตัวล่าง หมายถึง ค่าของแรง ดันเลือดขณะหัวใจห้องซ้ายล่างคลายตัว โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคความดันเลือดสูง เปนสาเหตุทีสําคัญต่อการ เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง ส่งผลให้เกิดอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนได้แก่ โรค หลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาต โรคไตวาย หรือตาบอดได้ สําหรับ ในประเทศไทย ปญหาโรคความดันโลหิตสูง พบมากโดยเฉพาะอย่างยิงในผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มสูงขึนตามอายุทีมากขึน

เปาหมายการรักษาโรคความดันโลหิตสูง ประเภทผู้ปวย

ความดันตัวบน

ผู้ปวยทัวไป (อายุตํากว่า 60 ป)

120-130

ผู้ปวยโรคเบาหวาน โรคไต

< 130

< 80

ผู้ปวยสูงอายุ (อายุ 60 ปขึนไป)

< 140

< 90

ความดันตัวล่าง 80-85

41


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง

ปจจัยทีมีความสัมพั นธ์กับโรคความดันโลหิตสูง 1. ปจจัยทีแก้ไขไม่ได้ - พั นธุกรรม - อายุ - เพศ - เชือชาติ 2. ปจจัยทีแก้ไขได้ - ภาวะอ้วน หรือนําหนักเกิน - ภาวะเครียด - ขาดการออกกําลังกาย - รับประทานอาหารเค็ม (เกลือโซเดียมมากเกินไป) เช่น กะป นําปลา ของหมัก ของดอง กุ้งแห้ง - สูบบุหรีจัด - การดืมสุราเปนประจํา - รับประทานอาหารทีมีไขมันสูง เช่น เนือติดมันหนังสัตว์ ไข่แดง หอยนางรม นํามันหมู อาหารประเภทผัด หรือทอด

42


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง

อาการ

อาการทีพบ เช่น ปวดศีรษะ เวียนหัว มึนงง ตาพร่า คลืนไส้ เพลีย เหนือยง่าย ใจสัน ช่วงตืนนอนหรือตอน เช้า ถ้าเปนมากปวดบริเวณท้ายทอยอย่างไรก็ตาม มีผู้ปวยส่วนหนึงทีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีอาการ ฉะนัน ควรหมันตรวจวัดความดันโลหิตเปนระยะ หากผู้สูงอายุทีปวยเปนโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถ ควบคุมระดับความดันโลหิตได้จะทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ทีเปนอันตรายต่อวัยวะทีสําคัญ ได้แก่ สมอง หัวใจ ไต ตา และหลอดเลือด

สมอง

ความดันโลหิตสูงเปนสาเหตุทําให้เกิดหลอดเลือดตีบอุดตัน หรือหลอดเลือดในสมองแตก มีเลือดออกในเนือสมองส่งผลให้เกิดอัมพาต อัมพฤกษ์

หัวใจ

ความดันโลหิตสูง จะมีผลต่อหัวใจ 2 ทาง คือ ทําให้หัวใจโตและหลอด เลือดหัวใจหนาตัวและแข็งตัวขึน สาเหตุเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบ หรืออุด ตัน ทําให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกจากหัวใจขาดเลือดหรือหัวใจล้มเหลว มี อาการเหนือยหอบ นอนราบไม่ได้ หัวใจเต้นผิดปกติ ทําให้มีอาการ ใจสัน เสียชีวิตฉับพลัน

หลอดเลือด

ความดันโลหิตสูง จะทําให้เกิดการเปลียนแปลงของหลอดเลือดทัว ร่างกาย ทําให้หลอดเลือดแดงตีบแคบ หรือหลอดเลือดแดงใหญ่โปงพอง อาจเกิดการฉีกขาด เจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง หรือเสียชีวิตเฉียบพลันได้ หรือทําให้เลือดไปเลียงบริเวณแขนขาและอวัยวะภายในลดลง ผู้ปวยเดินไม่ ได้ไกล เพราะปวดขาจากการขาดเลือด ต้องนังพั กจึงจะหาย และเดินต่อไป ได้

43


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ตา

ความดันโลหิตสูง มีผลต่อหลอดเลือดทีตา เช่น เลือด ออกทีจอประสาทตา หลอดเลือดเล็กๆ ทีจอประสาทตา อุดตัน จอประสาทตาหลุดลอกออกได้ ทังนี ผู้ปวยอาจ ไม่มีอาการใดๆ หรืออาจมีอาการตามัว จนถึงตาบอดได้

ไต

ความดันโลหิตสูง มีผลต่อหลอดเลือดทีไต ทําให้เลือดไปเลียงไตไม่เพี ยง พอทําให้ไตเสือมสมรรถภาพ อาจทําให้เกิดไตวายเรือรัง ผู้ปวยจะมีอาการเริม แรกของภาวะไตวายเรือรัง คือ - ปสสาวะบ่อย ตอนกลางคืน มากกว่า 3 ครังต่อคืน - ขาบวมตอนเช้าหลังตืนนอน - มีอาการอ่อนเพลีย ไม่ค่อยมีแรงจากภาวะซีด มักพบในผู้ปวยไตวาย เรือรัง หรือมีอาการคลืนไส้ อาเจียน ซึมลงในผู้ปวยไตวายระยะท้ายๆ ปสสาวะมี สีขุ่นและเปนฟองมาก

ข้อแนะนําอาหารสําหรับผู้เปนความดันโลหิตสูง

อาหารลดความดันโลหิต คือ การรับประทานอาหารทีมีไขมันตํา ไม่เค็มและควรมีผักผลไม้ มาก โดยเน้นอาหารพวกธัญพื ช ปลา นมไขมันตํา ถัว และหลีกเลียงเนือแดง นําตาล เครือง ดืมทีมีรสหวาน ข้าว (หรือบะหมี ก๋วยเตียว ขนมจีน ทีเทียบเท่าปริมาณ1 ส่วน) ไม่เกิน 2 ทัพพี ต่อมือ วันละ 3 มือ ผัก (อาจจะเปนผักกาดขาว ผักบุ้ง ผักคะน้า มะเขือเทศ แตงกวา เปนต้น) มือละจาน (มากกว่า 2 ทัพพี ต่อมือ) ผลไม้ขนาดกลาง (เช่น ส้ม 1 ลูก หรือฝรัง 1 ลูก หรือมะม่วงดิบ ครึงซีก หรือสับปะรด 6 ชินคํา หรือมะละกอ 8 ชินคํา หรือ แตงโม 12 ชินคํา หรือกล้วยหอมครึงลูกหรือกล้วยนําว้า 1 ผล หรือชมพู่ 2 - 3 ผล เปนต้น) มือละผล 44


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ข้อแนะนําอาหารสําหรับผู้เปนความดันโลหิตสูง เนือสัตว์ (ควรเปนพวกปลามากกว่าสัตว์อืน หากเปนไก่หรือเปดต้อง ลอกหนังออก หมูต้องเปนหมูเนือแดงไม่ติดมัน) 4 - 5 ชินคําต่อมือ นม (ต้องเปนนมชนิดพร่องมันเนย หรือโยเกิร์ตไม่หวานจัด นมถัวเหลือง นําเต้าหู้) วันละ 2 กล่อง ถัว (ได้แก่ ถัวลิสง มะม่วงหิมพานต์ แอลมอนด์ เมล็ดทานตะวัน เมล็ดแตงโม ถัวลันเตา ถัวแระ ถัวเขียว ไม่ควรทอด) วันละ 1 ส่วน นํามัน (ให้ใช้นํามันมะกอก นํามันถัวเหลือง นํามันทานตะวัน นํามัน ข้าวโพด แทนนํามันปาล์ม) ไม่เกิน 2 ทัพพี ต่อมือ วันละ 3 มือ นําตาล หลีกเลียงของหวานทุกชนิด

การควบคุมนําหนักตัว เพื อลดภาวะความดันโลหิตสูง คนทีนําหนักเกินควรลดนําหนัก โดยควบคุมค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ 18.522.9กิโลกรัมต่อตารางเมตร หรืออย่างน้อยควรลดให้ได้ ร้อยละ5-10 ของนําหนักตัวทีเปนอยู่ การลดนําหนักทีถูกวิธี ควรให้นําหนักค่อยๆ ลดลง สัปดาห์ละ 0.5 กิโลกรัม หรือครึงกิโลกรัม

45


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวานเปนโรคทีพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และพบ มากถึงร้อยละ 20 ในคนไทยทีอายุมากกว่า 60 ป สาเหตุทีผู้ สูงอายุมีโอกาสเปนโรคเบาหวานได้มากกว่าคนทีอายุน้อย เนืองจากอายุทีมากขึนจะมีการเสือมของตับอ่อนทีทําหน้าทีใน การผลิตฮอร์โมนอินสุลินทีใช้ในการควบคุมระดับนําตาล ในเลือด นอกจากนีการทีอายุมากขึนยังอาจทําให้เกิดภาวะดือ ต่ออินสุลินหรือทําให้ฮอร์โมนอินสุลินออกฤทธิได้น้อยลงเช่น กัน

การปองกัน

ควบคุม

รับประทานอาหาร ทีเหมาะสม

ผู้ปวยเบาหวานทีเปนผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักจะต้องรับประทานยาลดระดับนําตาล ยาลดความ ดันโลหิตหรือยาลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดร่วมด้วย

ผู้ทีควบคุมได้ดี

ควรมีระดับนําตาลเฉลียหรือนําตาลสะสม น้อยกว่าร้อยละ 7 ระดับความดันโลหิตน้อยกว่า 130มม.ปรอท (ตัวบน) และ 80 มม.ปรอท (ตัวล่าง) ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดตัวไม่ดี น้อยกว่า 100 มก./ดล.

การควบคุมระดับนําตาลในผู้สูงอายุด้วยการใช้ยาควรต้องระวังผลข้างเคียงของยาทีจะก่อ ให้เกิดระดับนําตาลตําในเลือด ซึงสามารถปองกันได้โดยการเลือกใช้ยาทีถูกต้องภายใต้คําแนะนํา ของแพทย์ การรับประทานอาหารตามมืออาหารอย่างสมําเสมอ

46


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง

ภาวะไขมันในเลือดสูง ภาวะไขมันในเลือดสูงเปนปญหาทีพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ปวยจะไม่มีอาการจากไขมันใน เลือดสูงแต่อาจมีปญหาระยะยาวจากการทีไขมันในเลือดสูงติดต่อกันเปนเวลานานแล้วทําให้หลอด เลือดแข็งตัว ตีบตัน ทําให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่ออวัยวะต่างๆของร่างกายได้ เช่น โรคกล้ามเนือ หัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองตีบ (โรคอัมพฤกษ์)

47


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง การตรวจระดับไขมันในเลือด

ควรตรวจเมืออายุเกิน 35 ปขึนไป ถ้าปกติและไม่ได้มีปจจัยเสียงต่อการเกิดโรคหลอดเลือด ตีบอืนๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สูบบุหรี และอายุยังไม่เกิน 45 ป ( ผู้ชาย) หรือ 55 ป (สําหรับผู้หญิง) ไม่มีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจในครอบครัวตังแต่อายุยังไม่มาก (ผู้ชาย ไม่เกิน 55 ปและผู้หญิงไม่เกิน 65 ป) และยังไม่เปนโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ก็ ตรวจซําในอีก 5 ปข้างหน้า แต่ถ้ามีปจจัยเสียงดังกล่าวแล้วและตรวจไขมันในเลือดว่าปกติก็ ตรวจซําในอีก 1-3 ป

ปจจัยทีมีอิทธิพลต่อระดับไขมันในเลือด อายุ

ปริมาณของไขมันในเลือด แปรตามอายุ พบว่าไขมันทีวัด ได้จากเลือดสายสะดือของเด็ก แรกเกิดตํามาก และจะเพิ มขึน เร็วมากในระยะวัยเด็ก แต่เมือ เข้าสู่วัยผู้ใหญ่จะเพิ มขึนทีละ น้อย ระดับแอลดีแอลจะสูงขึน เรือยๆ จนถึงอายุ 60 ป และ หลังจากนันจะลดลง ในผู้สูง อายุเพศหญิง อายุ 60-70 ป จะมีระดับแอลดีแอลสูงกว่า เพศชายประมาณ 16–17 มก./ ดล. ระดับเอชดีแอลจะลดลง เมืออายุมากขึนและระดับเอชดี แอล ในเพศหญิงจะสูงกว่าใน เพศชายประมาณ 10 มก./ดล.

ความแตกต่าง ระหว่างเพศ

ความแตกต่างระหว่าง เพศ มีผลต่อระดับ ไตรกลีเซอไรด์มากกว่าระดับ ของโคเลสเตอรอล พบว่า เพศชายมีระดับไตรกลีเซอไรด์ สูง กว่าเพศหญิงทุกวัย โดย เฉพาะในช่วงอายุ 20–39 ป ระดับไตรกลีเซอไรด์ ในเพศ ชายจะสูงกว่าเพศหญิงถึง ร้อยละ 40 แต่ความแตกต่าง จะลดลงเมืออายุเพิ มขึน สําหรับระดับของ โคเลสเตอรอล พบว่าแตกต่าง ไม่มาก แต่ระยะหนุ่มสาวค่า ของโคเลสเตอรอลในชายจะสูง กว่าหญิงจนเมือวัย 40-50 ป หญิงจะมีระดับโคเลสเตอรอล สูงกว่าชาย

อาหาร

ตามปกติร่างกายจะสามารถ สร้างหรือผลิตโคเลสเตอรอล ขึนในร่างกายได้ถึงวันละ15-20 กรัม และสารโคเลสเตอรอลทีมี อยู่ในร่างกายส่วนใหญ่ ก็ได้มา จากส่วนทีร่างกายสร้างขึน มากกว่าจากอาหารบริโภค การ ลดหรือจํากัดจํานวนอาหาร บริโภคทีมีโคเลสเตอรอลสูง เพี ยงอย่างเดียวย่อมช่วยได้ น้อย จะต้องพิ จารณาเกียวกับ ความสัมพั นธ์ของสารอาหารอืน ทีมีผล ทําให้ระดับ โคเลสเตอรอลในเลือด เปลียนแปลงได้ สารอาหาร เหล่านัน คือจํานวนและชนิดของ อาหารไขมันทีบริโภค 48


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ปจจัยทีมีอิทธิพลต่อระดับไขมันในเลือด การออกกําลังกาย

ความอ้วน

ช่วยลดระดับโคเลส เตอรอลในเลือดและเพิ ม เอชดีแอล นอกจากนันยัง ช่วยลดนําหนักด้วย

ผู้ทีอ้วนจะมีระดับ แอลดีแอล และ ไตรกลีเซอไรด์ใน เลือดสูง

สาเหตุอืนๆ

บุหรี

ทําให้เอชดีแอลลดลง ได้มากกว่าร้อยละ 15 และพบว่าการเลิกสูบบุหรี จะทําให้ระดับไขมันเอชดี แอลกลับสู่ระดับปกติ

แอลกอฮอล์

การดืมเครืองดืมที มีแอลกอฮอล์ ใน ปริมาณเล็กน้อยจะ เพิ มเอชดีแอล

ความเครียด กรรมพั นธุ์

ห้องปฏิบัติการและวิธีวิเคราะห์ไขมันแตกต่าง กัน ทําให้ค่าปกตินันขึนอยู่กับสองปจจัยนี ควร ให้ผู้ปวยรับประทานอาหารตามปกติในระยะ 2-3 สัปดาห์ก่อนเจาะเลือด เพราะระดับไขมันไวต่อ การ จํากัดอาหารทีให้พลังงานสูง รวมทัง ปริมาณและชนิดของอาหารทีรับประทาน เช่น คาร์โบไฮเดรต เปนต้น นอกจากนีความเจ็บ ปวยก็มีผลทําให้เกิดการรบกวนต่อเมตาบอลิซึม ของระดับไขมันในเลือด ดังนัน ควรตรวจซําอีก ภายหลังจากหายปวย 2 -3 สัปดาห์ ในกรณีทีปวยหนักควรตรวจซําใหม่ภายใน 3เดือนหรือมากกว่านัน ผู้ปวยภายหลังได้รับ บาดเจ็บ โดยเฉพาะภายหลังเกิดอาการกล้าม เนือหัวใจตายก็เช่นเดียวกัน จะต้องตรวจซํา ใหม่ภายหลังหายจากอาการปวย เพื อให้ทราบ ผลทีแน่นอน

เกิดจากมีความผิดปกติ ทางพั นธุ์กรรมในการสร้าง หรือการเผาพลาญแอลดี แอล จึงทําให้ระดับ โคเลสเตอรอลในเลือดสูง

ผู้ทีมีความเครียด จะทําให้ร่างกายมี การเผาผลาญสูง มากขึน แต่ไม่ สามารถหมุนแอลดี แอลไปใช้ได้ จึง ทําให้ระดับไขมันใน เลือดสูงขึน

49


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง อาการและอาการแสดงของภาวะไขมันในเลือดสูง 1. เมือเกิดภาวะไขมันสูงในเลือด หลอดเลือดจะเปราะแตกง่าย 2. ผนังหลอดเลือดแข็ง หัวใจต้องทํางานหนักมากขึนเพื อสูบฉีดเลือดให้เลียงทัวร่างกาย เพี ยงพอ เมือเปนระยะเวลานานจะทําให้เกิดความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือดหรือเปนอัมพาตได้ 3. มีปนเหลืองทีผิวหนัง เช่น หนังตา ข้อศอก หัวเข่า และฝามือ 4. เอ็นร้อยหวายหนาตัวกว่าปกติ (เกิน 10 มิลลิเมตร) 5. มีเส้นวงสีขาวเกิดขึนระหว่างขอบตาดํากับตาขาว

การปฏิบัติตัวของผู้มีภาวะไขมันในเลือดสูง การวางแผนให้โภชนบําบัด

ขันตอนการปฏิบัติตัวประจําวัน 1. ตืนเช้า ถ่ายปสสาวะ ชังนําหนัก และบันทึกลงสมุดบันทึกทีเตรียมให้ ชังนําหนักทุกวันด้วย เครืองชังเดียวกันตลอด 2. จดบันทึกทุกอย่างทีบริโภค ยกเว้นนําเปล่า ลงในสมุดบันทึกทําทุกวัน 3. ปฏิบัติภารกิจได้ตามปกติ หลีกเลียงการไปงานเลียงทีต้องบริโภคมากกว่าปกติบริโภคอาหาร มือหลักให้ได้จํานวนมือตามทีเคยบริโภค กลุ่มไขมัน

กลุ่มแปง นําตาล เลือกรับประทานข้าว ขนมปงปอนด์ขาวหรือโฮลวีท เส้นหมี เลือกทีทําจากข้าวกล้องก็จะดียิงขึน วุ้นเส้น ขนมจีบ งดนําหวาน นําอัดลม นําผลไม้ งดการเติมนําตาลทรายใน อาหารทีกําลังบริโภค งดขนมหวาน เบเกอรีทุกชนิด

กลุ่มผักผลไม้

หลีกเลียงมันสัตว์ทุกชนิด กะทิ เนย มาการีน ครีมเทียม ใช้นํามันถัว เหลืองปรุงอาหารให้ได้ประมาณ 2 – 3 ช้อนโต๊ะต่อคนต่อวัน

บริโภคเปนประจําทุกมือ หลีกเลียง การผัดด้วยนํามันมากๆ หลีกเลียง ผลไม้ทีมีรสหวานจัด

หลักการในการเลือกอาหารบริโภค กลุ่มโปรตีน บริโภคเนือปลาล้วนๆ และเนือไก่ล้วนๆ เปนหลัก หรือเต้าหู้ทุกชนิดทีไม่ผสมไข่ งดเครืองในสัตว์ทุกชนิด หนังสัตว์ อาหารทะเลบริโภคได้สัปดาห์ละ 1 ครัง ไข่พยายามหลีกเลียง การบริโภคไข่แดง บริโภคเฉพาะไข่ขาว งดไข่ปูและไข่ปลาด้วย เลือกดืมนมพร่องไขมันชนิดจืด

วิธีการปรุงอาหาร เน้นเปนวิธีนึง อบ ต้ม ทอดทีใช้นํามัน น้อยๆ พยายามอย่าให้อมนํามัน หลีก เลียงการชุบแปงทอด การย่างก็ใช้ได้ แต่อย่าให้ไหม้เกรียม

50


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง การปฏิบัติตัวของผู้มีภาวะไขมันในเลือดสูง การออกกําลังกาย ช่วยลดปริมาณไขมันในเลือด และเพิ มระดับเอชดีแอล แต่จะต้องเปน การออกกําลังกายทีสมําเสมอ ทําต่อเนืองครังละ 10–30 นาที วันละอย่างน้อย 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3–4 ครัง กิจกรรมการออกกําลังกายทีจะเพิ ม สมรรถภาพของปอดและหัวใจ ได้แก่ การเดิน เต้นรํา ขีจักรยาน ว่ายนํา เต้นแอโรบิค รํามวยจีน รํากระบอง วิง 20 กม./สัปดาห์ ติดต่อกันสมําเสมอ ผลของการออกกําลังกายต่อระดับไขมันในเลือด 1. ลดการเกาะของไขมันในหลอดเลือด 2.ร่างกายมีการใช้พลังงานจากไขมันทีสะสมในร่างกายเพิ มขึนมีผลให้ระดับของ โคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ แอลดีแอล และโคเลสเตอรอลในเลือดลดลง ระดับเอชดีแอลโคเลสเตอรอลในเลือดเพิ มขึน 3. ไขมันทีสะสมอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกายลดลง การเปลียนกิจกรรมให้เปนการออกกําลังกาย การปรับเปลียนทุกกิจกรรมทีทําให้กลายเปนการออกกําลังกายง่ายๆสันๆสามารถ ทําได้ทุกวัน ทุกเวลา เพี ยงแต่ต้องมีความตังใจจริงเท่านัน

ทีทํางาน 1.จอดรถในทีทีไกลจากห้างสรรพสินค้าเพื อจะได้ เดินออกกําลังกาย 2.เดินขึน – ลงบันได ในทีทํางานทุกวัน 3.เดินไปรับประทานอาหารกลางวันทีร้านฝงตรง ข้าม แทนทีจะเปนใต้อาคาร 4.ลงรถเมล์ก่อนถึงทีทํางาน 1 ปายเพื อเดินมา ทํางานตอนเช้า 5.เดินไปหยิบแฟมเอกสารเองถ่ายเอกสารเอง และชงกาแฟกินเอง

ทีบ้าน 1.ไม่พักผ่อนด้วยการนอน นอน และนอน ในวัน หยุด แต่จะเปลียนเปนการทําสวนแทน 2.ไม่ใช้เครืองทุ่นแรงเท่านัน แต่จะซักผ้าด้วย ตนเอง 3.ไม่นอนคุยโทรศัพท์ แต่จะเปลียนเปนเดินคุย แทน 4.ทําความสะอาดบ้านทุกวันหลังกลับจาก ทํางานอย่างน้อย 30 นาที 51


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง การจัดการกับความเครียด ความเครียดทางจิตใจ ทําให้ร่างกายมีอัตราการเผาพลาญอาหารสูงขึน จึงเกิด อนุมูลอิสระมากขึนไปทําร้ายโมเลกุลของ แอลดีแอล ตับจึงไม่สามารถหมุนใช้ แอลดีแอล ทีถูกออกซิไดซ์ได้อีกต่อไป จึงเกิดโคเลสเตอรอลสูงในคนทีเร่งรัด เคร่งเครียด การผ่อนคลายความเครียด จะช่วยให้ร่างกายมีการผ่อนคลาย ความเครียดลดลง ซึงจะมีผลให้ระดับไขมันในเลือดลดลงด้วย

การปองกันไม่ให้เกิดภาวะไขมันในเลือดสูง

1. หลีกเลียงการรับประทานอาหารทีมีโคเลสเตอรอลสูง เช่น เครืองในสัตว์ ไข่ แดง หนังเปด หนังไก่ หอย ปู กุ้ง ปลาหมึก มันหมู มะพร้าว อาหารทีมีกะทิ และถ้า หากมีไตรกลีเซอไรด์สูงด้วยก็ควรระวังอาหารพวกแปง นําตาล เครืองดืมทีมีรส หวานและผลไม้หวานจัด 2. รับประทานอาหารทีมีประโยชน์ เช่น เนือปลา เนือสัตว์ทีไม่ติดมัน และนม พร่องมันเนย เปนต้น 3. รับประทานอาหารทีเส้นใยมากๆ เช่น ผัก ผลไม้ ข้าวซ้อมมือ และถัวเมล็ด แห้งต่างๆ เปนต้น 4. เลือกใช้นํามันในการประกอบอาหารควรใช้นํามันพื ช เช่น นํามันถัวเหลือง นํามันข้าวโพด และนํามันงา เปนต้น 5. ออกกําลังกายอย่างสมําเสมอ หากเปนผู้สูงอายุ หรือผู้มีโรคประจําตัวที อาการยังไม่คงทีควรปรึกษาแพทย์ก่อน 5.1 การวิงจ๊อกกิง 20 นาที ความเร็ว 120 เมตรต่อนาที 5.2 ว่ายนําตามสบาย 25 นาที 5.3 เดินเร็วด้วยความเร็ว 100 เมตรต่อนาที เปนเวลา 25 นาที 5.4 ขีจักรยานความเร็ว 18 กิโลเมตรต่อชัวโมง เปนเวลา 25 นาที 5.5 เต้นแอโรบิคพอประมาณ

52


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง

โรคหัวใจ วัยสูงอายุเปนวัยทีมีการเปลียนแปลงอย่างเห็นได้ชัด ทังร่างกายและ จิตใจ สภาพร่างกายจะเห็นได้ว่าเสือมลงตามอายุขัย สภาพจิตใจมีการ เปลียนแปลงง่าย ขีหงุดหงิด มีความวิตกกังวล เนืองจากการเจ็บปวด หรือจากการเสือมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย และโรคทีพบในผู้สูงอายุ ส่วนหนึงอาจเกิดมาตังแต่ในวัยหนุ่มสาว ทีไม่ได้รับการดูแลอย่างต่อเนือง จึงทําให้เกิดอาการรุนแรงมากขึน เมือเข้าสู่วัยสูงอายุ บางโรคเกิดจาก ความเปลียนแปลงของการบริโภคอาหาร ดังนัน การดูแลรักษาสุขภาพทีดี และถูกสุขลักษณะตังแต่ต้น จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรค หรือปญหาทาง สุขภาพต่าง ๆ ทีมักเกิดขึนเมือย่างเข้าสู่วัยสูงอายุ

โรคหัวใจคร่าชีวิตคนทัวโลกถึงปละ สิบสองล้านคนต่อป สาเหตุการตายอันดับหนึง ของประชากรทีเปนผู้ใหญ่ (ผู้สูงอายุ) สําหรับในประเทศไทย ในช่วง 20 ปทีผ่านมา พบว่า มีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ และหลอดเลือดเพิ มสูงขึนถึง 20 เท่า

53


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ปจจัยเสียงต่อการเกิดโรค ปจจัยทีควบคุมไม่ได้

- อายุ (โดยปกติแล้ว ความเสียงของ โรคหัวใจจะเพิ มขึนตามอายุทีเพิ มขึน - พั นธุกรรม - เพศ (ผู้ชายจะมีความเสียงต่อโรคหัวใจ มากกว่าผู้หญิง)

ปจจัยทีควบคุมได้

โรคความดันโลหิตสูง (การปล่อยให้ ความดันโลหิตสูงอยู่เปนเวลานาน ๆ โดย ไม่ควบคุม จะทําให้หัวใจต้องทํางานหนัก ขึนเพื อสูบฉีดเลือดมาเลียงร่างกาย กล้าม เนือหัวใจจะหนาขึน หัวใจจะโตขึน หลอด เลือดตีบแข็งและอุดตัน กล้ามเนือหัวใจ ตาย และนําไปสู่ภาวะหัวใจล้มเหลวในทีสุด)

การสูบบุหรี ระดับไขมันในเลือด โรคเบาหวาน การขาดการออกกําลังกาย ความอ้วน และยาบางกลุ่มทีผู้ปวยรับประทานเปนประจํา อาจมีผลข้างเคียง ทําให้ระดับ ไขมันและนําตาลกลูโคสในเลือดสูงผิดปกติ เปนผลให้เพิ มความเสียงต่อการเกิดโรค หัวใจและหลอดเลือด อาการของโรค

เจ็บหน้าอก เหนือยง่าย ใจสัน ขาบวม เปนลม อาการ ดังกล่าว ก็มิได้เกิดขึนกับผู้ปวยโรคหัวใจเท่านัน ยังมีโรคอืน ๆ ทีมี อาการใกล้เคียงกัน ดังนัน การทีแพทย์จะพิ จารณาให้การวินิจฉัย นัน จําเปนต้องอาศัยประวัติอาการโดยละเอียด ร่วมกับการตรวจ ร่างกาย บางครังต้องอาศัยการตรวจพิ เศษต่าง ๆ เช่น เลือด ปสสาวะ เอกซเรย์ เปนต้น เพื อแยกโรคต่าง ๆ ทีมีอาการคล้ายกัน แต่หากมีอาการดังกล่าวควรรีบปรึกษาแพทย์ อย่าชะล่าใจว่าจะไม่ เกิดกับเรา แม้ตนจะมีร่างกายทีสมบูรณ์แข็งแรงก็ตาม

54


กิจกรรมที 9 การให้ความรู้เฉพาะโรคของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง การรักษาผู้ปวยโรคหัวใจ ส่วนใหญ่มักอยู่ในระยะสุดท้ายของโรคหัวใจ ทังๆทีถ้าได้รับการรักษาเร็วกว่านีก็ จะได้ผลการรักษาทีดีมาก บางรายดีขึนมากจนหายเกือบปกติ บางรายควรได้รับการ รักษาโดยการผ่าตัด แต่เข้ารับการรักษาช้าทําให้เปนมาก จนผ่าตัดไม่ได้เปนทีน่า เสียดายยิง จึงทําให้อัตราการเสียชีวิตเพิ มมากขึน ดังนันวิธีในการรับมือกับโรคหัวใจ ได้อย่างดีทีสุดในปจจุบันก็คือการปฏิบัติตามวิธีการปองกันโรคหัวใจซึงมี ประสิทธิภาพกว่าการรักษาโรคในภายหลังนันเอง วิธีการปองกันโรคหัวใจ

- เลือกรับประทานอาหารทีมีประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่น ทานปลา ผักและผลไม้ให้มากขึน ลด อาหารจําพวกไขมัน อาหารทีมีกะทิผสม เนือติดมัน กุ้ง หอย ปู อาหารทีปรุงด้วยการทอดนํามัน หรือเนย - ออกกําลังกายตามสภาพความสมบูรณ์ของร่างกาย (อย่างน้อย 3 ครังต่อสัปดาห์ ต่อเนือง 20-30 นาทีต่อครัง) - รับประทานยาอย่างต่อเนืองและปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทย์อย่างสมําเสมอ เพื อ ควบคุมโรคทีเปนอยู่ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และเบาหวาน - เลิกสูบบุหรีอย่างเด็ดขาด เพราะนอกจากจะเปนการทําร้ายตัวเองแล้วยังทําร้ายคนรอบ ๆ ข้างของคุณอีกด้วย - การพั กผ่อนให้เพี ยงพอ ( 8 ชัวโมง/หลับสนิท) และขับถ่ายให้เปนเวลา

55


เอกสารอ้างอิง กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟนฟู โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่. (2547). การดูแลผู้ปวยอัมพาต ครึงซีก, เชียงใหม่: ทิพยเนตรการพิ มพ์ . คณะทํางานพั ฒนาระบบการเยียมติดตามการดูแลผู้ปวยต่อเนืองทีบ้านในเขต กรุงเทพมหานคร.(2552). คู่มือการเยียมติดตามดูแลผู้ปวยทีบ้านในกรุงเทพมหานคร.นนทบุรี : บริษัท เอชอาร์พรินซ์ แอนด์ เทรนนิง จํากัด. ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย.(2563). แนวทางปฏิบัติการเยียม บ้านและการดูแลสุขภาพประชาชนทีบ้าน ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019) หรือ โรคโควิด-19 สําหรับทีมบริการสุขภาพปฐมภูมิ. Version 2.0 วันที 12 พฤษภาคม 2563. ศูนย์ดูแลต่อเนือง (COC) โรงพยาบาลแม่ลาว.(2558). คู่มือ / เอกสารการดําเนินงาน เยียมบ้านโรงพยาบาลแม่ลาวและเครือข่ายสุขภาพอาเภอแม่ลาว . สุพัตรา ปวนไฝ และคณะ. (2558). ประสิทธิผลการใช้โปรแกรมการดูแลตามระยะเปลียน ผ่านผู้ปวยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองในโรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ต่อความสามารถใน การปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน และคุณภาพชีวิต. Wannapira, V. (2012). Training document: Home visit and home care with patient. Kamphaengphet: Kamphaengphet Hospital. (in Thai)

QR code คู่มือ

56


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.