บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
นิสิตปริญญาเอก รุน่ 5 สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
1
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5 สารบัญ บทความ
หน้า
จิตห้าลักษณะสาหรับอนาคตในศตวรรษที่ 21 นางสาวสิริรัตน์ นาคิน
4
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และการดารงตนในศตวรรษที่ 21 นายสุทัศน์ สังคะพันธ์
14
สอนอย่างไรในศตวรรษที่ 21 และการประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในมิติด้านการจัดการเรียนการสอน นางสาวโชติมาพร ไชยสิทธิ์
21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 นางสุรางค์ เพ็ชรกอง
27
บทบาทของชุมชนและเครือข่ายสังคมต่อความก้าวหน้าในทักษะศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน นายสัมฤทธิ์ สันเต
34
สาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สู่ (ร่าง) โครงสร้างหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ นางสาวจตุพร พงษ์พีระ
42
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
2
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
3
คานา ระบบการจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบันยังไม่ได้เตรียมนักเรียนให้พร้อมสาหรับโอกาสทางเศรษฐกิจ แรงงาน และความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 นักเรียนจานวนมากไม่ได้รับการสนับสนุนที่จาเป็นต่อการ เรียนรู้จากครอบครัวและสังคม ยิ่งไปกว่านั้นนักเรียนไม่รู้สึกว่ามีส่วนร่วมหรือรู้สึกว่าได้เรียนรู้ในสิ่งที่ไม่สัมพันธ์ กับการดาเนินชีวิตและอนาคต บทความประกอบการสัมมนาการเรีย นรู้สาหรับพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) และโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาของไทยที่จะปรับใหม่ ฉบับนี้ ได้รวบรวมสาระความรู้ในประเด็นที่ สาคัญ ได้แก่ จิตห้าลักษณะสาหรับอนาคตในศตวรรษที่ 21 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และการดารงตนใน ศตวรรษที่ 21 สอนอย่างไรในศตวรรษที่ 21 และการประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในมิติด้านการจัดการ เรียนการสอน วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 บทบาทของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและ เครือข่ายสังคมต่อความก้าวหน้าของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และสาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดารงชีวิต ในศตวรรษที่ 21 สู่ (ร่าง) โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการสัมมนาฉบับนี้จะใช้เป็นแนวทางและเป็น ประโยชน์สาหรับ นาไปใช้ในการวางแผนจัดการศึกษาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้และมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ตามพลวัตทางการศึกษาของโลก คณะผู้จัดทา
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
4
จิตห้าลักษณะสาหรับอนาคตในศตวรรษที่ 21 นางสาวสิริรัตน์ นาคิน* นิสิตปริญญาเอก รุ่น 5 สาขาหลักสูตรและการสอน บทนา การศึกษาในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นการขวนขวายหาความรู้ มันจึงทาให้เราเป็นกลไกยิ่ง ๆ ขึ้น จิตของ เราปฏิบัติการอยู่ในร่องรางแคบ ๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ธุรกิจ หรือเทคนิค วิทยาที่เรากาลังสั่งสมขึ้น วิถีชีวิตของเราทั้งในบ้าน นอกบ้าน และทั้งความเชี่ยวชาญงานอาชีพเฉพาะด้านของ เรา ล้วนกระทาให้จิตคับแคบและไม่สมบูรณ์ ทั้งหมดนี้นามาซึ่งวิถีชีวิตอันเป็นเสมือนเครื่องจักรกล เป็นสภาพ จิตที่ถูกวางให้เข้ามาตรฐานเดียวกัน การเข้าใจความหมายที่อยู่เหนือถ้อยคาและพูดถึงเหตุผลที่เกิดความงอกก งามแห่งจิต ความเจริญงอกงามนี้เป็นพัฒนาการและความเบ่งบานของจิตใจเรา รวมทั้งสวัสดิภาพทางกายด้วย นั่นคือความดารงอยู่ในความกลมกลืนทั่วพร้อม ซึ่งในความกลมกลืนเช่นนั้นปราศจากความขัดแย้งหรือความไม่ ลงรอยกันระหว่างกาย จิตและใจ ความงอกงามแห่งจิตจะเกิดขึ้น เมื่อมีการสัมผัสรู้ที่แ จ่มชัดตามความเป็นจริง ไม่เป็นส่วนตน และปราศจากแรงยัดเยีย ดใด ๆ ประเด็นไม่ได้ อยู่ที่ว่า “จะคิดอะไร” แต่อยู่ที่ว่า “จะคิดให้ ชัด เจนได้ อย่ างไร” ความปลอดโปร่ งอิ สระของจิต ถ้า จิต ไม่ ห มกมุ่ นอยู่ กับ สิ่ งใด ปั ญ หาใด หรือ กับ ความ สนุกสนาน ความเพลิดเพลินทางประสาทสัม ผัส ไร้เจตจานงและไร้ทิศทางที่มุ่งหมาย ในภาวะโปร่งโล่งอิสระ เช่นนี้ ที่จิตสามารถเรีย นรู้ได้ ซึ่งไม่ เพีย งเรีย นรู้วิชาวิท ยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์แ ละคณิตศาสตร์เท่านั้ น แต่ เรียนรู้เกี่ยวกับตนเองด้วย เพื่อเฝ้าสังเกตสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นรอบ ๆตัว และสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นภายในตน ในการสอนคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ หรือวิชาอื่น ๆ ซึ่งนักเรีย นจาต้องเรีย นรู้เพื่อการดารงชีพครูสามารถ ถ่ายทอดให้แก่นักเรียนว่า เขาเป็นผู้รับผิดชอบต่อมวลมนุษย์ได้หรือไม่ แม้เขาจะทางานเพื่อดารงชีพตามวิถีชีวิต ของเขาเอง แต่จะไม่ทาให้จิตใจของเขาคับแคบลง เขาจะมองเห็นภยันตรายของความเชี่ย วชาญเฉพาะทาง รวมทั้งความจากัดคับแคบอันหฤโหดด้วย ครูต้องช่วยเขาให้ม องเห็ นทั้ งหมดนี้ การผลิบานในความดีงามไม่ ขึ้นอยู่กับความสาเร็จในอาชีพการงาน ความดีงามอยู่นอกเหนือสิ่งเหล่านี้และเมื่อความเบ่งบานเกิด ความงาม นั้นจะเสริม ส่งอาชีพและกิจจาเป็นอื่น ๆ จะถูกส่งเสริม ความงามของมันเอง ทุกวันนี้เรามุ่งทุ่ม เทให้แ ก่สิ่ง ๆ เดียวโดยมองข้ามความเบ่งบานนี้อย่างสิ้นเชิง เราต้องพยายามประสานทุกอย่างเข้าด้วยกัน ภาพกว้างของการศึกษา คือ การปลูกฝังจิตใจ โดยส่วนใหญ่เราจะนึกถึงการศึกษาซึ่งก็มักจะเป็นวิธีที่ เหมาะสม เราต้องยอมรับว่าการศึกษามีอยู่ตลอดช่วงชีวิตของเราหรือแม้กระทั่งคนทางานทุกคนก็ย่อมจะต้อง เข้ าไปเกี่ ย วข้ องกั บ การคั ด สรรคนทั้ งที่ เป็ น ผู้ถู ก คัด สรรและผู้ คัด สรรคนที่ มีทั้ งความรู้ ทั กษะ และจิต ใจที่ เหมาะสมกั บ งานนั้ น ๆ ซึ่ ง ในความหมายนี้ ก็ คื อ เราต้ อ งค้ น หาคนที่ มี จิ ต ช านาญการ จิ ต สั ง เคราะห์ จิ ต สร้างสรรค์ จิตเคารพ และจิตจริย ธรรมนั่นเอง ทุกคนล้วนต้องพัฒนาจิต 5 ประการของตนรวมทั้งคนที่อยู่ใน ความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง ดังที่วินสตัน เชิอร์วิลล์ (Winston Churchill) ได้คาดการณ์ไว้ว่า “จั กรวรรดิ ใ นอนาคตจะเป็ น จัก รวรรดิ ข องจิ ต ” เราต้ องระลึ ก ให้ ได้ ว่า โลกยุ ค ใหม่ต้ อ งการอะไร ถึ งแม้ ว่ า เราจะต้องยึดมั่นในทักษะและค่านิยมที่เรามีอยู่ก็ตาม จิตทั้ง 5 ประการต่างก็มีความเป็นมาที่สาคัญ ต่างก็มี ความสาคัญต่ออนาคต และด้วยจิตเหล่านี้จะช่วยให้เรารับมือได้ทั้งสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่ไม่คาดคิด
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
5
Howard Gardner ปรมาจารย์ด้านการสอนการคิดแห่งมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด ผู้ที่มีผลงานโด่งดังจาก ทฤษฎีพหุปัญญา (multiple intelligences) ได้เขีย นหนังสือ “Five Minds for the Future” ต้องการให้ทุก คนได้รู้คาตอบของการเกิดวิธีการเรียนรู้และการรู้คิดด้วยจิตทั้ง 5 ประการ สาหรับ 5 ลักษณะของจิตนั้น Gardner บอกว่าคือสมรรถิย ะ (competencies) ซึ่งเป็นคาใหม่ข อง ราชบั ณ ฑิต ยสถาน ค านี้มี ความหมายใกล้เคี ย งกับ คาว่าสมรรถนะที่ หมายถึ งความสามารถ ขอแจงแต่ล ะ ลักษณะดังนี้
ที่มา : http://www.schoolguide.in.th จิตชานาญการ (disciplined mind) The Disciplined Mind มีความหมายดังนี้ - Disciplinary Thinking คือ วิธีการคิดหรือแบบแผนความคิดที่ไม่ติดอยู่แค่เนื้อหา แต่สามารถเข้าใจ ไปถึงบริบท เช่นไม่ติดอยู่กับการจาตัวเลขในประวัติศาสตร์ แต่เข้าใจบริบทของประวัติศาสตร์ - มีความสามารถในการเก็บสะสมข้อมูลและสรุปเป็นทฤษฎีหรือข้อสังเกตได้ - ไม่ยึดติดอยู่กับสาขาการศึกษาเดียวในการวิเคราะห์ เช่น เมื่อเป็นนักเศรษฐศาสตร์ก็วิเคราะห์โดยใช้ เศรษฐศาสตร์แต่เพียงอย่างเดียว - มีความสามารถในการคิดบังคับตนเองให้กระทาในสิ่งที่สาคัญ ลักษณะของจิตนี้หมายถึงการมีระบอบความคิดที่กว้างเชิงวิเคราะห์ อย่างเข้าใจบริบทของสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น เมื่อเรีย นภาษาอังกฤษก็ไม่กลายเป็นคนที่มีปมด้อย เห็นวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเหนือกว่าตน หรือเห็น ว่าคนที่ไม่เก่งภาษานั้นเท่าตนเป็นคน ต่าต้อย จนมีทั้งปมด้อยและปมเด่นในตัว หากเห็นว่าภาษานั้นเป็นเพีย ง กลไกหรือเครื่องมือในการเปิดประตูให้สามารถรับและสื่อสารข้อมูลได้มากขึ้น
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
6
เป็นความเชี่ยวชาญในการคิดเกี่ยวกับวิทยาการสาขาใดสาขาหนึ่งเป็นอย่างน้อย ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่ง ของการรู้คิดที่แ ยกออกไปตามลักษณะเฉพาะของสาขาวิชาหรืองานฝี มือ หรืออาชีพหนึ่ง ๆ จิตชานาญการ หมายรวมถึง การทางานอย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนาทักษะและความเข้าใจ คือความมีวินัยอย่างสูง จิ ต ช านาญการ เป็ น วิ ธี ก ารคิ ด ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ สาขาวิ ช าหลั ก ๆ (ประวั ติ ศ าสตร์ คณิ ต ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ) และสายวิชาชีพต่าง ๆ (กฎหมาย แพทย์ การจัดการ การเงิน ฯลฯ) รวมถึงงาน หัตถศิลป์และการทาธุรกิจการค้า จิตชานาญการเป็นความสามารถในการประยุกต์ความขยันหมั่นเพียรของตน พร้อมทั้งปรับปรุงสิ่งที่เล่าเรียนมาให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง การฝึกฝนจิตชานาญการ โดยการพยายามถ่ายทอดความชานาญการให้แก่จิตของนักศึ กษา ซึ่งอันที่ จริงแล้วก็ไม่มีวิธีอื่นที่จะสร้างให้เกิดนักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ ศิลปิน นักประวัติศาสตร์ นักวิจารณ์ นัก กฎหมาย ผู้บ ริห าร ผู้จัดการ และผู้เชี่ย วชาญ ในสาขาอาชีพอื่น ๆ ได้อย่างสม่าเสมอ การฝึกผู้ชานาญการ กระท าได้ ด้ ว ยการรู้ ชั ด ถึ ง ความสนใจและพรสวร รค์ ที่ ผ สมผสานกั น อยู่ “เธอมี พ รสวรรค์ ที่ จ ะเป็ น นักวิทยาศาสตร์/นักประวัติศาสตร์/นักวิจารณ์/วรรณกรรม/ทนายความ/วิศวกร/ผู้บริหาร” รวมถึงการสร้างตัว แบบของวิ ธีก ารคิ ด (นี่ เป็ นวิ ธี การที่ เราจะพิ สู จน์ ท ฤษฎี ที่ เกี่ ย วข้ อ ง) ตลอดจนความสาเร็จ ของสิ่ งที่ ได้ รั บ มอบหมายที่คล้ายต้นแบบ มีการใช้เวลาที่กระชับในการวิจารณ์ติชมผลงานที่ผ่านมาที่เป็นประโยชน์ ในขณะที่ อาจารย์ผู้สอนก็จะต้องเผชิญกับทางเลือกว่า ไม่ต้องสอนเนื้อหาวิชาการทั้งหมด สอนพวกเขาแค่สาระสาคัญ ของวิชาแล้วให้พวกเขาดูแลตัวเอง หรือพยายามให้เขาได้ลองเผชิญกับ “ประสบการณ์จากการก้าวข้ามแต่ละ ช่วงของชีวิต” ในความหมายของเดวิด เพอร์กินส์ ถือเป็นสิ่งที่จะช่วยทาให้เกิดการคิดอย่างชานาญการได้ เราจะทาอย่างไรให้เกิดจิตชานาญการ ขั้นตอน 4 ตอน 1. ระบุหัวข้อหรือแนวความคิดในสาขาวิชาที่สาคัญสาหรับตัวเราจริง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นเนื้อหา (content) อาทิ กฎของอุปสงค์และอุปทาน ธรรมชาติของแรงโน้ม ถ่วงองค์ประกอบของกฎหมายแพ่ง การ เกิ ดขึ้ นของนวนิย ายประมวลกฎหมายอาญารัฐ หรือ อาจจะเป็น วิธี การ (methodology) อาทิ วิธี ทาการ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ วิธีทาให้ต้นฉบั บรายงานนั้นมีความสมเหตุสมผล การทาให้เอกสารในอดีตมีความ น่าเชื่อถื อวิธีวิเคราะห์โคลงของเช็คสเปีย ร์ รูปแบบของดนตรีคลาสสิก การพิ พากษาของศาลฎีกา และการ จัดทางบการเงิน 2. ใช้เวลากับหัวข้อนี้ให้มาก ๆ ถ้ามันคุ้มค่าที่จะเรียนก็ยิ่งคุ้มค่าที่จะใช้เวลาทาความเข้าใจให้ลึกซึ้ง ยิ่งขึ้น รวมทั้งพยายามใช้รูปแบบการวิเคราะห์และตัวอย่างที่หลากหลาย 3. ใช้วิธีการจัดการกับหัวข้อนั้น ๆ ด้วยหลาย ๆ วิธี ซึ่งการศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจในสาขาวิชา ต่าง ๆ นั้นจะเกิดประโยชน์ม ากขึ้นก็ด้วยวิธีการที่หลากหลายที่แต่ละคนจะใช้เพื่อเรียนรู้ บทเรียนใด ๆ ย่อมที่ จะเป็นที่เข้าใจกันได้ง่ายขึ้นผ่านวิธีการต่าง ๆ อย่างเช่ น การเล่าเรื่อง การแสดงด้วยตรรกะ การโต้แ ย้ง การ สนทนา การใช้ความขบขัน การแสดงบทบาทสมมติ การบรรยายด้ วยภาพ การนาเสนอด้วยวิดีทัศ น์หรื อ ภาพยนตร์ การซ่อนบทเรียนไว้ในรูปของคาถามเพื่อซักซ้อมความคิด หรือแม้กระทั่งพฤติกรรมและเจตคติของ บุคคลที่ เราเคารพ แต่ทั้ งนี้ก็ ไม่ ได้ห มายความว่าทุ กหั วข้อ จะต้ องถู กนามาสอนด้ วย 3 วิธีห รือ 30 วิธี เป็ น มาตรฐานตายตัว แต่การใช้หลายวิธีการสาหรับทุกหัวข้อนั้นถือได้ว่าเป็นสิ่งที่คุ้ม ค่า สิ่งนี้คือความบังเอิญที่จิต ช านาญการไปประสานกั บ ทฤษฎี พ หุ ปั ญ ญา (multiple intelligence) ในขณะที่ แ ต่ ล ะสาขาวิ ช าจะให้ ความสาคัญ กับเชาวน์ปัญ ญาประเภทใดประเภทหนึ่งมากกว่าอย่างอื่น ๆ แต่ผู้สอนที่ดีจะใช้เชาวน์ปัญ ญาที่ หลากหลายมาประสานในการสอนทั้งแนวคิดที่สาคัญ ๆ และกระบวนการต่าง ๆ เช่น การเรียนสถาปัตยกรรม ศาสตร์ อาจาต้องเน้นเชาวน์ปัญญาเกี่ยวกับการมองและมิติสัมพันธ์ แต่ครูผู้สอนการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
7
มีป ระสิท ธิ ผ ล อาจเน้ น ย้าที่ ก ารใช้ มุ ม มองที่ เป็ น ตรรกะหรือ เป็ น นั ก ธรรมชาตินิ ย ม รวมทั้ ง มุม มองที่ เป็ น ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเข้าไปร่วมก็ได้ 4. การสร้าง “การแสดงออกของความเข้าใจ” และให้นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงออกถึงความเข้าใจ ของพวกเขาภายใต้สถานการณ์หลาย ๆ อย่างตามปกติ แล้วเราจะคิดถึงความเข้าใจว่าเป็นบางสิ่งที่เกิดขึ้น ภายในจิต หรือ ภายในสมอง และแน่ นอนว่าต้ องสอดคล้อ งไปตามตัว หนั งสือ ไม่ ว่าจะเป็น ครูห รือนั กเรีย น พนักงานฝึกหัดหรือผู้เชี่ย วชาญ ไม่มีใ ครรู้ว่าความเข้าใจนั้นมั่นคงอย่างแท้เพียงใด นอกจากนักเรีย นจะสามารถ รวบรวมความเข้าใจตามสมมติฐานแล้วขจัดตัวอย่างที่ไม่เคยคุ้นออกไปได้ ทั้งอาจารย์แ ละลูกศิษย์ควรที่ จะ พยายามแสดงออกถึงความเข้าใจที่มีอยู่ การฝึกฝนควรมีแ บบฝึกหัด และควรมีการให้คาติชมเพื่อปรับแก้ให้มี การปฏิบัติที่เหมาะสม ตัวอย่าง (การศึกษาในโรงเรียน) : ความเชี่ยวชาญทางประวัติศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือ วิชาหลักอื่น ๆ รวมถึงการฝึกฝนทางวิชาชีพอย่างสมบูรณ์ ตัว อย่ า ง (การท างาน) : เชี่ย วชาญในวิช าชีพ หรื อหน้ าที่ ก ารงาน รวมถึ งการมีค วามรู้เพิ่ ม เติ ม ใน สาขาวิชาอื่น ๆหรือในสหสาขาวิชา ช่วงเวลาของการพัฒนา : เริ่มต้นก่อนเข้าสู่วัยรุ่น และต่อเนื่องเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต คนที่ข าดความชานาญการ ไม่อาจประสบความสาเร็จในงานที่ต้องการได้ และจะถูกจากัดอยู่แ ค่งานที่ ต่าต้อย จิตสังเคราะห์ (synthesizing mind) The Synthesizing Mind หรือความสามารถในการสังเคราะห์ข้อมูลที่ มีม ากมายจนได้เป็นข้อสรุป ตัวอย่างที่ Garner ยกมาคือ Charles Darwin ซึ่งเดินทางในเรือรอนแรมไปในทวีปต่างๆ เป็นเวลา 5 ปี เก็บ ข้อมูลมหาศาลเกี่ย วกับพันธุ์พืชสัตว์ ทาการทดลองและสังเกตศึกษา สื่อสารกับนักวิชาการมากมาย จนอีก 20 ปี ต่อมาก็สามารถสังเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดและเอามาเป็นเขียนหนังสือชื่อ Origin of the Species เป็นการรับข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง นามาทาความเข้าใจ และประเมินข้อมูลโดยปราศจากอคติ และ ผสมผสานให้กลายเป็นข้อมูลใหม่ที่มีความหมายต่อทั้งตัวผู้สังเคราะห์แ ละผู้คนอื่น ๆ เป็ นการเลือกข้อมูลที่ สาคัญจากข้อมูลมากมายที่ได้รับ และจัดการกับข้อมูลได้อย่างสมเหตุสมผลทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น ตัวอย่า ง (กรณี ศึ กษาในโรงเรีย น) : การเตรี ย มตัว สาหรับ งานที่ ได้รั บมอบหมาย หรือ การสอบใน โรงเรีย นด้วยการจั ดระเบีย บ และการนาเสนอข้ อมูล ที่เอื้อประโยชน์ต่ อตนเองและผู้อื่ น (โดยเฉพาะคนให้ คะแนน) ตัวอย่าง (การทางาน) : สามารถรับรู้ข้อมูลหรือทักษะใหม่ ๆ ที่สาคัญได้ และนามาหลอมรวมเข้ากับ ฐานความรู้เดิมของตน รวมทั้งเสริมความเป็นมืออาชีพของแต่ละคน ช่วงเวลาของการพัฒนา : เริ่มต้นในวัย เด็กในสภาพแวดล้อมที่ดีที่สุด และมีการไตร่ตรองมากขึ้นตาม วัยและดาเนินไปอย่างต่อเนื่องด้วยการสั่งสมความรู้ใหม่ที่มีการแยกแยะและจัดระเบียบ คนที่ข าดความสามารถในการสังเคราะห์ จะถูกโถมทับด้วยข้อมูล และไม่สามารถตัดสินใจได้อย่าง รอบคอบทั้งเรื่องงานและเรื่องคน
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
8
จิตสร้างสรรค์ (creating mind) The Creative Mind คือความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม เมื่อลองนึกดูก็จะเห็นว่ามนุษย์จะ เป็นผู้สร้างสรรค์ก็ต่อเมื่อมีความเชี่ย วชาญในทางใดทางหนึ่งไม่ต่ากว่า 10 ปี เช่น Mozart แต่งเพลงคลาสสิค ชั้นยอดตอนอายุ 15-16 ปี ก็เพราะเริ่มความเชี่ยวชาญนี้เมื่อตอนอายุ 5-6 ขวบ เช่นเดียวกับ Picasso จิตรกรผู้ ยิ่งใหญ่ เป็นการผลิตความคิดใหม่ ๆ พร้อมทั้งตั้งคาถามที่แ ตกต่างไปจากเดิม และกาเนิดเป็นวิธีการคิดที่สด ใหม่ ซึ่งก็อาจจะกลายเป็นคาตอบที่คาดไม่ถึง สิ่งที่สร้างสรรค์จะได้รับการยอมรั บจากผู้รอบรู้ ด้วยเหตุที่การ สร้างสรรค์คือสิ่งที่อยู่นอกเหนือกฎเกณฑ์ที่มีอยู่ จิตสร้างสรรค์จึงต้องล้าหน้ากว่าคอมพิวเตอร์หรือหุ่นยนต์ที่ ซับซ้อนที่สุดอย่างน้อยหนึ่งก้าว Gardner บอกว่า Creative Mind นั้นทาลายได้ง่ายกว่าสร้าง เพีย งแค่ลงโทษนักเรียนคนหนึ่งที่ตอบ คาถามที่มีหลายคาตอบผิด หรือพ่อแม่ดุว่าลูกเมื่อถามเพราะอยากรู้อยากเห็น ตัวอย่างใกล้ตัวอันหนึ่งที่เกี่ย วพันกับ Creative Mind ที่ยิ่งใหญ่ก็คือหม้อหุงข้าวไฟฟ้าที่ผลิตออกมา โดยบริษัทต้าถุงของไต้หวันเมื่อ 50 กว่าปีก่อน สมัยก่อนคนเอเชียหุงข้าวแบบเช็ดน้า (มีน้าข้าว มีไม้ขัดหม้อ) ซึ่ง ไม่สะดวก เมื่อต้าถุงผลิตหม้อหุงข้าวไฟฟ้าออกมา สุนัขที่เคยได้กินน้าข้าวก็อดไป แต่ม นุษย์ได้ความสะดวก มากๆ มาแทนที่ คนที่ขาดความคิดสร้างสรรค์ จะถูกทดแทนด้วยคอมพิวเตอร์และคนที่มีไฟสร้างสรรค์ จิตเคารพ (Respectful mind) The Respectful Mind คือความสามารถในการเคารพ ร่วมมือกับคนอื่น ถึงแม้จะมีความคิดเห็นและ ค่านิย มที่แตกต่างกัน สิ่งที่ Gardner พูดถึงนี้ใกล้เคีย งกับวัฒนธรรมประชาธิปไตย ซึ่งได้แ ก่ การเคารพซึ่งกัน และกัน นับถือยอมรับในความแตกต่างของกันและกัน โดยอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เป็นการยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างกลุ่ม ถือเป็ นความพยายามที่ จะเข้าใจ “ผู้อื่น” และหาวิธีที่จะทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล ในโลกที่ทุกคนเชื่อมโยงถึงกันได้นั้น การไม่ ยอมรับฟังและขาดความเคารพซึ่งกันและกัน ย่อมไม่ใช่ทางทางเลือกที่ดีของการอยู่ร่วมกัน เป็นการตอบสนอง ต่อคนหรือกลุ่ม คนที่มีความแตกต่างที่หลากหลายอย่างเห็นอกเห็นใจและเป็นไปในทางสร้างสรรค์เป็นความ พยายามที่จะเข้าใจและทางานร่วมกับคนที่แ ตกต่างกัน เป็นการขยายขอบเขตของความอดกลั้นและความ ถูกต้องเหมาะสมของสังคมและการเมือง เรื่องนี้พ่อแม่มีส่วนสาคัญอย่างมาก การมีจิตที่เคารพวัฒนธรรมอื่นและเคารพยอมรับคนอื่นที่แตกต่าง จากตนเองเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้สามารถอยู่ในโลกปัจจุบันที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นได้เป็นอย่างดี ตัวอย่าง (กรณีศึกษาในโรงเรียน) : พยายามทาความเข้าใจและทางานร่วมกับเพื่อน ๆ รวมทั้งครู และ เจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิผล ไม่ว่าบุคคลเหล่านั้นจะมีภูมิหลังหรือมุมมองอย่างไร ตัวอย่าง (การทางาน) : ทางานร่วมกับเพื่อน หัวหน้างาน ลูกน้องได้อย่างมีประสิทธิผลโดยไม่คานึงถึง ภูมิหลังหรือสถานภาพ รวมทั้งมีการพัฒนาความสามารถในการให้อภัย ช่วงเวลาของการพัฒนา : ควรทาให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยตั้งแต่เกิด ทั้งในโรงเรียน ที่ทางาน ในสื่อต่าง ๆ นอกจากนี้คนที่เป็นต้นแบบหรือตัวแบบ (ทั้งทางบวกและทางลบก็เป็นสิ่งสาคัญ) คนที่ขาดความเคารพ ไม่ควรค่าต่อการได้รับความเคารพจากคนอื่น อีกทั้งยังเป็นภัยต่อที่ทางานและ สาธารณชน MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
9
จิตจริยธรรม (Ethical mind) The Ethical Mind คื อ การมี จ ริ ย ธรรมอยู่ ในพื้ น ฐานของจิ ต ใจ บุ ค ลิ ก อุ ป นิ สั ย ที่ พึ งประสงค์ อั น ก่อให้เกิดความมีจริยธรรมเป็นเรื่องพึงพิจารณาของทุกสังคมเพราะจริยธรรมทาให้สังคมอยู่ด้วยกันอย่างเป็นสุข เป็นอีกขั้นหนึ่งที่นับได้ว่าเป็นนามธรรมมากกว่าจิตเคารพ โดยที่จิตจริย ธรรมถือเป็นการไตร่ตรองถึง ธรรมชาติ ข องงาน รวมทั้ ง ความต้ อ งการและความปรารถนาของสั งคมที่ เราด ารงอยู่ ที่ ส าคั ญ ก็ คื อ เป็ น แนวความคิดที่ว่า คนจะตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่เหนือไปกว่าประโยชน์ส่วนตนได้อย่า งไร และประชาชนจะ ทางานโดยปราศจากความเห็นแก่ตัวเพื่อพัฒนาส่วนรวมได้อย่างไร จิตจริย ธรรมปฏิบัติการโดยอาศัย การคิด วิเคราะห์เหล่านี้เป็นพื้นฐาน เป็นคุณลักษณะสาคัญเชิงนามธรรมของบทบาทในหน้าที่การงานและบทบาทของ การเป็นพลเมือง รวมทั้งการถือปฏิบัติอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ถือเป็นการดิ้นรนเพื่อให้เกิดผลงานที่ดีและเป็น พลเมืองที่ดี ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ได้อธิบายไว้ว่า ความรักและงานเป็นปัจจัยสาคัญของชีวิตที่ดี คา ว่า “ดี” (good) ในภาษาอังกฤษครอบคลุมผลงานที่ดีที่แตกต่างกันถึง 3 ด้าน คือ 1) อาจจะเป็นผลงานที่ดีที่มีความเป็นเลิศในด้านคุณภาพ ซึ่งในความหมายก็คือ ผลงานนั้นจะต้อง มาจากความเชี่ยวชาญอย่างมาก 2) อาจะเป็นผลงานที่ดีที่เกิดจากความรับผิดชอบ ซึ่งหมายถึงความเกี่ยวข้องกับวงกว้าง 3) อาจะเป็นผลงานที่ดีที่ทาให้เกิดความรู้สึกดี ๆนั่นคือ ได้รับการยกย่องชื่นชม มีความน่าดึงดูดใจมี ความหมายและก่อให้เกิดกาลังใจเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่ท้าทายหรือถ้าการศึกษาเป็นการเตรีย มความพร้อม ให้กับชีวิต ก็ควรเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อชีวิตที่ดี ผู้สอนควรเตรียมความพร้อมให้กับเยาวชนเพื่อก้าวไปสู่ ชีวิตที่ดี แม้กระทั่งในสังคมหรือในที่ทางานก็ควรสนับสนุนให้เ กิดผลงานที่ดีและรักษาผลงานดี ๆ เหล่านี้เอาไว้ ถ้าเราเติบโตมาในสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ผลงานที่ดีเป็นบรรทัดฐานของสังคม การทาให้เกิดจิต จริย ธรรมเป็ น เรื่ องง่ าย หลายชุ ม ชนที่เน้ น ให้มี การเห็ นคุ ณ ค่า ของวัฒ นธรรมด้ว ยการปลูก ฝั งให้เกิ ดความ เชี่ยวชาญในงานฝีมือต่อสังคม ในระดับบุคคล การขาดจริย ธรรมนาไปสู่ความเดือดเนื้อร้อนใจของตนเอง พ่อแม่และญาติพี่น้อง การ พัฒนาการมีจริยธรรมจึงเป็นสิ่งที่สาคัญยิ่ง ตัวอย่าง (กรณี ศึกษาในโรงเรีย น) : สะท้ อนผ่านบทบาทของใครสักคนในฐานะที่เป็นนักเรีย น นิสิ ต นักศึกษาหรือที่จะเป็นมืออาชีพในโลกของการทางานในอนาคตและพยายามที่จะเติมเต็มบทบาทนั้นให้สมบูรณ์ อย่างเหมาะสมและมีความรับผิดชอบ ตัวอย่าง (การทางาน) : รู้ถึงค่านิยมที่สาคัญของอาชีพของตนเอง และพยายามรักษาไว้หรือถ่ายทอด ไปยังบุคคลอื่น ถึงแม้จะอยู่ในภาวะของการเปลี่ยนแปลงที่คาดเดาไม่ได้หรือมีการเปลี่ย นแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง รวดเร็วเป็นผู้ที่ได้รับความไว้วางใจ เป็นที่ยอมรับและทาตามหน้าที่รับผิดชอบในฐานะที่เป้นคนของชุมชน ของ ภูมิภาค ประเทศ และของโลก ช่วงเวลาของการพัฒนา : เกิดขึ้น เมื่อคนเกิดแนวความคิด เชิงนามธรรมเกี่ย วกับบทบาทของตนใน ฐานะที่เป็นคนทางานและเป็นพลเมืองที่ดี แสดงพฤติกรรมตามแนวทางจริย ธรรมที่เป็นคุณลักษณะเด่นชัดของ บุคคลจิตจริย ธรรมต้องการการสนับสนุนจากรอบด้าน ทั้งด้านแนวระนาบและด้านแนวดิ่ง เช่นเดียวกับการ เพาะความคิดเป็นระยะ ๆ คนที่ขาดจริยธรรม จะทาให้โลกขาดคนทางานที่ซื่อสัตย์ และพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ พวกเราคง ไม่มีใครที่อยากจะอยู่ในโลกที่เดียวดาย MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
10
ผู้เขีย นขอยกตัวอย่างทางจริยธรรม เช่น นิสิตนักศึกษาที่ทาความเคารพอาจารย์ เราจะรู้ได้อย่างไรว่า เขาเป็นผู้ที่มีจริย ธรรม ดังนั้น ต้องสังเกตจากพฤติกรรมที่เขาพึงกระทาอย่างสม่าเสมอ การประพฤติปฏิบัติตน ด้วยความเสมอต้นเสมอปลาย เช่น เพื่อนที่ชอบช่วยเหลือเพื่อนด้วยกันในการทางาน การสอนงานให้เพื่อน ร่วมงานก็เป็นจริยธรรมที่เขาแสดงออกมาอย่างจริงใจ สอนโดยยึดหลักตามความจริง ไม่ใช่สอนเพียงแค่ให้ผ่าน ๆ ไปโดยไม่คานึงถึงหลักความถูกต้องของงาน และเมื่อเราสอนแบบนั้นผู้ที่ได้รับการสอนสามารถสัมผัสได้ว่าเรา สอนด้วยหลักการอย่างแท้จริง มิใ ช่สอนเพียงเพื่อให้งานลุล่วงไป ทาให้เขาเกิดความไว้วางใจ เชื่อใจ และกล้าที่ จะให้เราสอนงานในครั้งต่อ ๆ ไปได้อีก ดังนั้นคนที่มีจริย ธรรมทางการสอนก็สามารถสังเกตเห็นได้ โดยสังเกต จากพฤติกรรมการสอน การใส่ใจ การให้ข้อมูล ที่ถูกต้อง รวมถึงเป็นผู้ชี้แ นะให้คาปรึกษา เพราะเขาสอนด้วย ความมีจริยธรรมเป็นที่ตั้ง ถึงแม้ว่างานที่สอนนั้นจะมีความยากง่ายแตกต่างกัน เมื่ อ น าทั้ ง 5 Minds มาวางเรี ย งกั น คื อ The Disciplined Mind / The Synthesizing Mind / The Creative Mind / The Respectful Mind และ The Ethical Mind ก็ทาให้เห็นภาพได้ชัดเจนของการ อยู่รอดของปั จเจกบุค คลและสังคมในศตวรรษใหม่ ที่เต็ม ไปด้วยความเปลี่ย นแปลงอย่ างไม่ แ น่น อน ความ หลากหลาย ความซับซ้อนยากแก่ความเข้าใจ การฝึกฝนให้มีใจเช่นนี้น่าจะช่วยให้บุคคลและสังคมสามารถต่อสู้ และจัดการกับความน่ากลัวต่างๆ ข้างต้นได้เป็นอย่างดี
ที่มา : ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 สรุปได้ว่า จิตห้าลักษณะนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญต่อผู้เรียนในอนาคตเป็นอย่างมากเพราะเมื่อสังคมโลก เปลี่ยนแปลงไป การหลั่งไหลข้ามวัฒนธรรมทาให้เราได้รับค่านิยมที่ไหลผ่านเข้ ามาอย่างมากมาย โดยมิอาจ มองข้ามไปถึงการเปลี่ยนผ่านทางความรวดเร็วของเทคโนโลยี และการศึกษาเพียงด้านเดียว หากการเรียนรู้ ค่านิยมทางการศึกษาพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ในยุคต่อไปเพื่อให้ทันต่อการสื่อสารอย่างไร้พรมแดนแล้วนั้น สิ่ง ที่เราต้องให้ความสาคัญคือ จิตใจของบุคคลเหล่านั้นที่จะนาพาไปสู่ความเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
11
จิต 5 ลักษณะและอนาคตในศตวรรษที่ 21 จิต 5 ลักษณะจะมีความสาคัญอย่างไนในอดีต แต่ในโลกที่ถูกครอบงาด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อีกทั้งยังมีการหลั่งไหลของข้อมูลจานวนมหาศาล คอมพิวเตอร์แ ละหุ่นยนต์ทางานที่เป็นกิจวัตร และมีการ สื่อสารข้ามกลุ่มประชากร เมื่อเป็นเช่นนี้จิต 5 ลักษณะจึงมีความสาคัญอย่างมาก เชื่อเถิดว่าในที่สุดแล้วผู้ที่มี จิตทั้ง 5 ลักษณะย่อมจะอยู่รอดได้ในสังคม ตามอุดมคติแ ล้ว ครูผู้สอน และหัวหน้างานควรมีจิตทั้ง 5 ลักษณะ แต่ในความเป็นจริงหลาย ๆคนอยู่ ในตาแหน่งที่มีอิทธิพลต่อผู้อื่นส่วนใหญ่แล้วจะขาดจิตดังกล่าวอย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออาจจะมากกว่า ด้วยซ้าไป ในปัจจุบันสังคมส่วนใหญ่ไม่ได้ใ ห้ความสาคัญของจิต 5 ลักษณะ แต่มุ่งเน้นแต่สาระของข้อมูล การทดสอบ มาตรฐานด้านต่าง ๆ และธรรมเนีย มปฏิบัติต่าง ๆ ของโรงเรีย นที่กาหนดกันขึ้นมาทาให้เราปราศจากความ ตระหนักต่อความต้องการจิตดังกล่าว ในอนาคตเราสามารถจะแก้ไขสถานการณ์ดังกล่าวได้ โดยการฝึกอบรม ครู อาจารย์ และผู้นาในองค์กรต่าง ๆ ให้เห็นความสาคัญของทักษะและคุณลักษณะของจิตแต่ละประการให้ มากขึ้น ไม่มีเหตุผลตามตรรกะว่าทาไมการบ่มเพาะจิตประการหนึ่งจะขัดขวางการบ่ม เพาะจิตประการอื่น ๆ ทั้งนี้อาจเป็นเรื่องของการแลกเปลี่ย นกัน เช่น การใส่ใจที่ความชานาญการอาจไปขัดขวางความคิดสร้างสรรค์ หรือถ้าเรายอมรับกรอบของสาขาวิชา เราก็อาจจะลังเลหรือไม่สามารถหลุดจากกรอบนั้นได้ อีกตัวอย่างที่ สัมพันธ์กันคือ ความตึงเครีย ดระหว่างความเคารพและความคิดสร้างสรรค์ เพราะความคิดสร้างสรรค์เกิดจาก ความต้องการท้าทายความคิดดั้งเดิม แล้วจะเกิดอะไรขึ้นหากที่ปรึกษาที่เราคารพเป็นผู้ที่มีความคิดแบบดั้งเดิม จนยอมรับอะไรใหม่ ๆ ได้ย าก หรืออย่างความคิดทางจริย ธรรมก็มักจะทาให้เราต้องมีระยะห่างกับเพื่อนที่ทา ผิดหรือขาดคุณธรรมในขณะที่เราเองก็ต้องมีท่าทีที่เคารพต่อเขา ดังที่ลินคอล์น ซึ่งตามบทบาทหน้าที่ที่เขา ได้รับท าให้ต้อ งท าสิ่งที่ ขัดแย้งกับพื้น ฐานของตั วเอง ดังนั้น เมื่อทุ กคนเติบ โตขึ้ นก็ควรเต็ม ใจที่จะเปิดรับกั บ ความเครียดเหล่านี้เพื่อที่จะได้ไม่สับสน ระบบการศึกษาในวงกว้างน่าจะเป็นหลักประกันการปลูกฝังจิต 5 ลักษณะ นี้จะได้รับการพัฒนาขึ้นมา ก็คือ งานของการสังเคราะห์ ในขณะเดียวกันก็เป็นพันธะทางจริยธรรมด้วย ถ้าเราจะพูดถึงการศึกษาเรีย นรู้ใน วงกว้าง คงไม่เฉพาะที่โรงเรีย นเท่านั้นที่จะยอมรับภาระนี้ได้ แน่นอนว่าผู้ปกครอง เพื่อนบ้าน สื่อดั้งเดิม และ สื่อดิจิตอล วัด ตลอดจนสถาบันอื่น ๆ ในชุม ชนต้อ งร่วมแบ่งเบาภาระของโรงเรีย นด้วย สังคมก็ต้องมีความ รับผิดชอบแตกต่างกันไปตามลาดับชั้นของการปลูกฝังจิตประเภทต่าง ๆ อาทิ ความเคารพสามารถปลูกฝังได้ที่ บ้าน โรงเรียน ตามท้องถนน ส่วนสื่อมวลชนอาจแสดงตัวแบบของการคิดชานาญการในสังคมหนึ่ง รวมทั้งการ คิดแบบสหสาขาวิชาในอีก สังคมหนึ่ง ตลอดจนการคิดแบบขาดความชานาญการในอีกสังคมหนึ่ง ดังนั้นทุก ภาคส่วนต้องมีความตระหนักในความรับผิดชอบของตน ภาระต่าง ๆ ก็จะไม่อยู่ที่โรงเรียนเพียงฝ่ายเดียว จากที่กล่าวมาในสังคมที่บ่ม เพาะจิตเหล่านี้ได้อย่างเหมาะสมแล้ว จะมีการนาไปใช้ได้เมื่อถึงคราวที่จา เป็นได้ในทุกที่ แท้ที่จริงแล้วเป้าหมายและคุณค่าที่เหนือกว่านั้นเป็นสิ่งที่สาคัญยิ่งกว่า เช่น ผู้แ ทนของระบบ การศึกษาจะต้องระบุให้ได้ชัดเจนว่าเป้าหมายที่ต้องการบรรลุคืออะไร และต้องการหลีกเลี่ย งหรือกาจัดอะไร (อาจเป็นกรณีที่คอมพิวเตอร์ช่วยให้สามารถอ่านออกเขีย นได้และสามารถวัดการคิดแบบชานาญการ) แต่เมื่อ เรากลับไปพิจารณาทักษะการสังเคราะห์แ ละสร้างสรรค์ เรากาลังพูดถึงคนที่โดดเด่น แตกต่าง และจากการ วิเคราะห์ คาว่า “เคารพ” และ “จริยธรรม” นั้นนับว่ายิ่งใหญ่แ ละเหมาะสมสาหรับชุม ชนของมวงมนุษย์อย่าง ยิ่ง ซึ่งบางทีอาจกล่าวได้ว่า มวลมนุษยชาติควรจะหาสิ่งที่จะอยู่ร่วมกันได้มากกว่าที่จะต้องล่วงรู้ถึงสิ่งที่จะทา เพื่อที่จะอยู่รอด เพราะการอยู่รอดและการเจริญก้าวหน้าของมนุษย์นั้นจะขึ้นอยู่กับการบ่มเพาะศักยภาพที่ทา ให้มนุษย์นั้นแตกต่างกันไป MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
12
อย่างไรก็ตามการให้การศึกษานั้นเป็นสิ่งจาเป็นที่หลีกเลี่ยงไม่ได้สาหรับโรงเรีย น แต่ในเรื่องของการ ทางาน ไม่ว่าจะเป็นงานอาชีพผู้นาในองค์กรหรือชุมชน หรือทหารรับจ้างต่างก็ต้องรับผิดชอบในส่วนของตนเอง ไม่สามารดปัดไปให้สถาบันอื่นได้ อย่างน้อยผู้จัดการหรือหัวหน้างานที่ชาญฉลาดก็ จะเลือกลูกน้องที่มีจิตเหล่านี้ อยู่แล้ว ดังนั้นความท้าทายก็คือการธารงรักษา พัฒนา และกระตุ้นให้พวกเขาทางานร่วมกันได้ ทาให้เขาเป็น ตัวแบบของการคัดเลือกคนในอนาคต แต่ก็มีผู้บริหารเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่โชคดี ในกรณีที่พวกเขารับคนที่มีจิต อย่างน้อยหนึ่งลักษณะที่ขาดหายไป ทาให้มีทางเลือกดังนี้ 1. แยกแยะพวกเขาเท่าที่จะทาได้ เพราะคนที่ไม่มีความเคารพหรือมีแนวโน้มที่จะไม่มีจริยธรรม อาจจะเป็นภัยต่อทั้งแผนกหรือทั้งองค์กรได้อย่างรวดเร็ว 2. ส่งบุคคลที่ไม่สมบูรณ์พร้อมไปยังส่วนที่ความไม่สมบูรณ์แบบของเขาไม่เป็นภัยต่อองค์กร เช่น คนทางานทุกคนไม่จาเป็นต้องเป็นนักสังเคราะห์หรือนักสร้างสรรค์ 3. ทาความชัดเจนกับคนที่ต้องการปรับปรุง รวมทั้งสร้างตัวแบบของพฤติกรรมที่ปรารถนา และ ชี้ใ ห้เห็นตัวแบบทั้งทางบวก (และทางลบ) ที่ชัดเจน พยายามสร้างบรรยากาศทางบวกและความน่าไว้วางใจ ตั้งเป้าหมายที่สมเหตุสมผล พร้อมทั้งให้ผลป้อนกลับอย่างสม่าเสมอ ถ้าสถานการณ์เป็นไปตามเป้าหมายก็ยินดี ด้วย แต่ถ้าไม่เป็นไปตามเป้าหมายก็ใ ห้ย้อนกลับไปขั้นตอนข้อ 1 หรือ 2 แต่ถ้าคุณพบว่ามีพนักงานที่มีจิตไม่ ครบถ้วนทั้ง 5 ลักษณะอยู่หลายคน ก็สะท้อนถึงกระบวนการคัดเลือกคน รวมทั้งลักษณะพื้นฐานขององค์กร และตัวอย่างที่คุณให้แก่พวกเขาตลอดจนวิธีการสอนของตัวเราเอง สรุป เมื่อพิจารณาระบบการศึกษา การเมือง และการจัดการที่เอื้อต่อจิตทั้ง 5 ลักษณะ เราสามารถปลูกฝัง ศักยภาพทางบวกนี้ได้ ไม่ว่าจะเป็นความชานาญการ การสังเคราะห์ และการสร้างสรรค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้า เราปลูกฝังความเคารพและจริย ธรรมไปด้วยกันจะทาให้เราเป็นคนที่สมบูรณ์ม ากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในอนาคต อันใกล้นี้เราได้รับรู้โลกแห่งอนาคตในศตวรรษที่ 21 อย่างรวดเร็วทั้งจากการเรีย นการสอน การสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆรอบตัวในชีวิตประจาวัน และการปรับเปลี่ยนมุมมองแนวคิดให้ดีดว่าเดิม การคิดนอกกรอบที่ต่างไปจากวิถี ชีวิตแบบเดิม ๆ แต่เป็นการคิดนอกกรอบในทางที่ดีเปลี่ยนแปลงไปในเชิงบวกและการจัดสภาพการเรีย นรู้ที่ แปลกแยกจากระบบ ไม่ตามระบบเดิม แต่เป็นการจัดระบบตัวเองเสีย ใหม่บางทีเราอาจเปลี่ยนระบบการศึกษา ไม่ได้แต่เราสามาระเปลี่ยนคนในระบบได้...หากเราเชื่อว่าทุกคนมีจิตที่คิดจะทาอย่างจริงจัง
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5 เอกสารอ้างอิง วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ (แปล). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Open Worlds, 2554. วรากรณ์ สามโกเศศ. 5 ลักษณะจิตสาหรับ อนาคต. มติชน รายวัน. 5 สิงหาคม 2553 สืบค้นวันที่ 14 ตุลาคม 2556. เสาวลักษณ์ อัศวเทววิช และวีรวุธ มาฆะศิรานนท์. จิต 5 ปั้นยอดมนุษย์. กรุงเทพ ฯ : เอ๊กซเปอร์เน็ท, 2551. www.schoolguide.in.th/index.php?option=com
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
13
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
14
ทาไมต้องทักษะในศตวรรษที่ 21 21st Century Skills: Why? “TEACH LESS, LEARN MORE” สุทัศน์ สังคะพันธ์* นิสิตปริญญาเอก รุ่น 5 สาขาหลักสูตรและการสอน บทนา ปัจ จุบั นเป็ น ยุค ที่โลกมี ความเจริญ ก้ าวหน้ าอย่างรวดเร็ วอั นสื บ เนื่ องมาจากการใช้เทคโนโลยี เพื่ อ เชื่อมโยงข้อมูลต่าง ๆ ของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษ ที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพ ของสังคมอย่ างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรีย มพร้อมในการจัดการ เรี ย นรู้เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อมให้ นั ก เรีย นมี ทั ก ษะส าหรั บ การออกไปด ารงชี วิต ในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่ เปลี่ ย นไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทั ก ษะแห่ งศตวรรษที่ 21 ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คือ ทั ก ษะการเรี ย นรู้ (Learning Skill) ส่ ง ผลให้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการจั ด การเรี ย นรู้ เพื่ อ ให้ เด็ ก ในศตวรรษที่ 21 นี้ มี ค วามรู้ ความสามารถ และทั กษะจ าเป็ น ซึ่ งเป็น ผลจากการปฏิรูป เปลี่ ย นแปลงรูป แบบการจัด การเรีย นการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ที่เป็นปัจจัย สนับสนุนที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้ รวมทั้งเป็นยุคแห่ง การแข่งขันทางสังคมค่อนข้างสูงในปัจจุบัน ส่งผลต่อการปรับตัวให้ทัดเทียมและเท่าทันกับความเปลี่ย นแปลง ที่เกิดขึ้นในบริบททางสังคมในทุกมิติรอบด้าน ดังนั้นการเสริมสร้างองค์ความรู้ (Content Knowledge) ทักษะ เฉพาะทาง (Specific Skills) ความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น (Expertise) และสมรรถนะของการรู้ เท่ า ทั น (Literacy) จึ งเป็ นตั ว แปรส าคั ญ ที่ ต้อ งเกิ ดขึ้ นกั บ ตัว ผู้เรี ย นในการเรีย นรู้ ยุค สัง คมแห่ ง การเปลี่ ย นแปลงใน ศตวรรษที่ 21 นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุค แห่งความเป็นโลกาภิวัตน์ (The Globalization) ที่ ได้เกิดวิวัฒ นาการความก้าวหน้ าในทุ กๆมิติเป็นไปอย่ าง รวดเร็วและรุนแรง ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ดังนั้นการกาหนดยุทธศาสตร์แ ละการสร้าง ความพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้น เป็นสิ่งที่ท้าทายศักยภาพและความสามารถของมนุษย์ ที่จะสร้างนวัตกรรมทางการเรียนรู้ในลักษณะต่างๆให้เกิดขึ้น และสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้าง รูปแบบและแนวปฏิบัติใ นการเสริ ม สร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรีย นรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ ความรู้ ทักษะ ความเชี่ย วชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรีย น เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความ เปลี่ ย นแปลงในปัจจุบั น โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒ นามาจากเครือ ข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่ อ ทักษะแห่งการเรีย นรู้ใ นศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่ อ ว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรีย นรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ เฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่ าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่ อความสาเร็จของผู้เรีย นทั้งด้ าน การทางานและการดาเนินชีวิต กรอบแนวคิดในการจัดการเรีย นรู้ แ ห่งศตวรรษที่ 21 ที่แ สดงผลลัพธ์ของนักเรียนและปัจจัยส่งเสริม สนับสนุนในการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับศตวรรษที่ 21 MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
15
ภาพกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ใ นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) (http://www.qlf.or.th/) กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่ งเป็ น ที่ ย อมรับ อย่ า ง กว้างขวางเนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรีย น (Student Outcomes) ทั้งในด้านความรู้ สาระวิช าหลัก (Core Subjects) และทั กษะแห่ ง ศตวรรษที่ 21 ที่ จ ะช่ วยผู้ เรีย นได้ เตรี ย มความพร้ อมใน หลากหลายด้าน รวมทั้งระบบสนับสนุนการเรีย นรู้ ได้แก่ม าตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเรีย น การสอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21 การให้ ก ารศึ ก ษาส าหรั บ ศตวรรษที่ 21 จะมี ค วามยื ด หยุ่ น สร้ า งสรรค์ ท้ า ทาย และซั บ ซ้ อ น เป็นการศึกษาที่จะทาให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอย่างเต็ม ไปด้วยสิ่งท้าทาย และปัญหา รวมทั้ง โอกาสและสิ่งที่เป็นไปได้ใ หม่ๆ ที่น่าตื่นเต้น โรงเรีย นในศตวรรษที่ 21 จะเป็นโรงเรีย นที่มีหลักสูตรแบบยึ ด โครงงานเป็นฐาน (Project -based Curriculum) เป็นหลักสูตรที่ใ ห้นักเรีย นเกี่ยวข้องกับปัญหาในโลกที่เป็น จริงซึ่งเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมนุษย์ และคาถามเกี่ยวกับอนาคตเชิงวัฒนธรรม สังคม และสากล ภาพของโรงเรีย นจะเปลี่ย นจากการเป็นสิ่งก่อสร้างเป็นภาพของการเป็นศูนย์รวมประสาท (Nerve Centers) ที่ไ ม่จากัดอยู่แต่ในห้องเรีย น แต่จะเชื่อมโยงครู นักเรียนและชุม ชน เข้าสู่ขุม คลังแห่งความรู้ทั่วโลก ครูเองจะ เปลี่ย นจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือให้นักเรีย นสามารถเปลี่ย นสารสนเทศเป็น ความรู้ และนาความรู้ เป็นเครื่องมือสู่การปฏิบัติแ ละให้เป็นประโยชน์ เป็นการเรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ และต้อง มีการสร้างวัฒนธรรมการสืบค้น (Create a Culture of Inquiry) ในศตวรรษที่ 21 การให้ ก ารศึ ก ษาตามทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ข องบลู ม (Bloom´s Taxonomy of Learning) จะเปลี่ย นไป เน้นทักษะการเรีย นรู้ขั้นที่สูงขึ้น (Higher Order Learning Skills) โดยเฉพาะทักษะ การประเมิ น ค่ า (Evaluating Skills) จะถู ก แทนที่ โ ดยทั ก ษะการน าเอาความรู้ใหม่ ไปใช้ อ ย่ างสร้า งสรรค์ (Ability to Use New Knowledge in a Creative Way) ในอดีตที่ผ่านมา นักเรียนไปโรงเรีย นเพื่อใช้เวลาใน การเรียนรายวิชาต่างๆ เพื่อรับเกรด และเพื่อให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ที่แตกต่าง ไป เช่น การเรียนการสอนที่ช่วยให้นักเรีย นได้เตรียมตัวเพื่อใช้ชีวิตในโลกที่เป็นจริง (Life in the Real World) เน้ น การศึ ก ษาตลอดชี วิ ต (Lifelong Learning) ด้ ว ยวิ ธี การสอนที่ มี ค วามยื ด หยุ่น (Flexible in How We Teach) มีการกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา (Resourceful) ที่ยังคงแสวงหา การเรียนรู้แม้จะจบการศึกษาออกไป MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
16
ลั ก ษณะของหลั ก สู ต รในศตวรรษที่ 21 จะเป็ น หลั ก สู ต รที่ เน้ น คุ ณ ลั ก ษณะเชิ งวิ พ ากษ์ (Critical Attributes) เชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ยึดโครงงานเป็นฐาน (Project-based) และขับเคลื่อนด้วย การวิจัย (Research-driven) เชื่อมโยงท้องถิ่ นชุม ชนเข้ ากับภาค ประเทศ และโลก ในบางโอกาสนักเรีย น สามารถร่ว มมื อ (Collaboration) กั บ โครงงานต่ าง ๆ ได้ ทั่ วโลก เป็ น หลั ก สู ตรที่ เน้ น ทั ก ษะการคิ ด ขั้ น สู ง พหุปัญ ญา เทคโนโลยีแ ละมัลติมีเดีย ความรู้พื้นฐานเชิงพหุสาหรับศตวรรษที่ 21 และการประเมินผลตาม สภาพจริง รวมทั้งการเรีย นรู้จากการให้บริการ (Service) ก็เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ ภาพของห้องเรีย นจะ ขยายกลายเป็น ชุม ชนที่ใ หญ่ขึ้ น (Greater Community) นั กเรีย นมีคุ ณ ลักษณะเป็ นผู้ชี้ นาตนเองได้ (Selfdirected) มีการทางานทั้งอย่างเป็นอิสระและอย่างร่วมมือกันคนอื่น หลักสูตรและการสอนจะมีลักษณะท้า ทายสาหรับนักเรีย นทุกคน และคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล หลักสูตรจะไม่เน้นการยึดตาราเป็นตัว ขับเคลื่อน (Textbook-driven) หรือแบบแยกส่วน (Fragmented) เช่นในอดีต แต่จะเป็นหลั กสูตรแบบยึ ด โครงงานและการบูรณาการ การสอนทักษะและเนื้อหาจะไม่เป็นจุดหมายปลายทาง (As an End) เช่นที่เคย เป็นมา แต่นักเรียนจะต้องมีการเรีย นรู้ผ่านการวิจัยและการปฏิบัติในโครงงาน การเรียนรู้จากตาราจะเป็นเพีย ง ส่วนหนึ่งเท่านั้น ความรู้ (Knowledge) จะไม่หมายถึงการจดจาข้อเท็จจริงหรือตัวเลข แต่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น จากการวิจัย และการปฏิบัติโดยเชื่อมโยงกับความรู้แ ละประสบการณ์เก่าที่มีอยู่ ทักษะและเนื้อหาที่ได้รับจะ เกี่ย วข้องและมีความจาเป็นต่อการปฏิบัติในโครงงาน จะไม่จบลงตรงที่การได้รับทักษะและเนื้อหาแล้วเท่านั้น การประเมินผลจะเปลี่ย นจากการประเมินความจาและความไม่เกี่ยวโยงกับความเข้าใจต่อการนาไปปฏิบัติได้ จริง ไปเป็น การประเมิ นที่ ผู้ถู กประเมิน มีส่ วนร่วมในการประเมิน ตนเองด้ วย (Self-assessment) ทั กษะที่ คาดหวังสาหรับศตวรรษที่ 21 ที่เรีย นรู้ผ่านหลักสูตรที่เป็นสหวิทยาการ บูรณาการ ยึดโครงงานเป็นฐาน และ อื่นๆ ดังกล่าวจะเน้นเรื่อง 1) ทักษะการเรียนรู้แ ละนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) 2) ทักษะ ชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ที่ คาดหวัง ว่า จะเกิ ด ขึ้ น ได้ จากความร่ว มมือ (Collaboration) ในการท างานเป็ นที ม การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ในปัญหาที่ซับซ้อน การนาเสนอด้วยวาจาและด้วยการเขีย น การใช้ เทคโนโลยี ความเป็นพลเมืองดี การฝึกปฏิบัติอาชีพ การวิจัย และการปฏิบัติสิ่งต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น ดังนั้น การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 ต้องเปลี่ยนแปลงทัศนะ (Perspectives) จากกระบวน ทัศน์แบบดั้งเดิม (Tradition Paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) ที่ให้โลกของนักเรียนและ โลกความเป็นจริงเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรีย นรู้ เป็นการเรีย นรู้ที่ไปไกลกว่าการได้รับความรู้แบบง่ายๆ ไปสู่ การเน้น พัฒนาทักษะและทัศนคติ ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทั กษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวัตกรรม ความสร้างสรรค์ ทั กษะการสื่อสาร ทักษะและค่านิย มทางเทคโนโลยี ความ เชื่ อมั่ นตนเอง ความยื ดหยุ่น การจูงใจตนเอง และความตระหนัก ในสภาพแวดล้ อม และเหนือ อื่น ใด คื อ ความสามารถใช้ ค วามรู้อ ย่ างสร้า งสรรค์ (The ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively) ถือเป็นทักษะที่สาคัญจาเป็นสาหรับการเป็นนักเรีย นในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นสิ่งที่ท้าทาย ในการที่จะพัฒนาเรียนเพื่ออนาคต ให้นักเรียนมีทักษะ ทัศนคติ ค่านิย ม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชิญ กับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (Optimism) ที่มีทั้งความสาเร็จและมีความสุข จากบทความเรื่องทัก ษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ เขี ย นโดย ศ. น.พ.วิจารณ์ พานิ ช ได้ กล่ าวว่ า การศึก ษาในศตวรรษที่ 21 ที่ คนทุกคนต้อ งเรีย นรู้ตั้งแต่ชั้นอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลั ย และตลอดชีวิต คื อ 3R x 7C กล่าวคือ 3R ได้แ ก่ 1. Reading (อ่านออก) 2. (W)Riting (เขียนได้) 3. (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น) และ 7C ได้แก่ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
17
1. Critical thinking & problem solving (ทั ก ษะด้ า นการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ และทั ก ษะ ในการแก้ปัญหา) 2. Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) 3. Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) 4. Collaboration, teamwork & leadership (ทั ก ษะด้ า นความร่ ว มมื อ การท างานเป็ น ที ม และภาวะผู้นา) 5. Communications, information & media literacy (ทั กษ ะด้ า น การสื่ อ สาร สารส นเท ศ และรู้เท่าทันสื่อ) 6. Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 7. Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) ดัง นั้ น ทั ก ษะของคนต้ อ งเตรี ย มคนออกไปเป็ น Knowledge Worker โดยครู เพื่ อ ศิ ษ ย์ นั้ น จะต้ อ ง เปลี่ย นแปลงตัวเองโดยสิ้นเชิงเพื่อให้เป็น “ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21” ไม่ใช่ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 20 หรือศตวรรษที่ 19 ที่ เตรีย มคนออกไปทางานในสายพานการผลิตในยุคอุตสาหกรรม การศึกษาในศตวรรษ ที่ 21 ต้ องเตรีย มคนออกไปเป็น คนท างานที่ ใช้ความรู้ (Knowledge Worker) และเป็น บุคคลพร้ อมเรีย นรู้ (Learning Person) ไม่ ว่ าจะประกอบสั ม มาชี พ ใด มนุ ษ ย์ ในศตวรรษที่ 21 ต้ อ งเป็ น บุ ค คลพร้ อ มเรี ย นรู้ และเป็นคนทางานที่ใช้ความรู้ แม้จะเป็นชาวนาหรือเกษตรกรก็ต้องเป็นคนที่พร้อมเรียนรู้ และเป็นคนทางาน ที่ใช้ความรู้ ดังนั้น ทักษะสาคัญที่สุดของศตวรรษที่ 21 จึงเป็นทักษะของการเรียนรู้ (Learning Skills) ครู เพื่ อ ศิ ษ ย์ เองต้ อ งเรีย นรู้ 3R x 7C และต้ อ งเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิต แม้ เกษี ย ณอายุ จ ากการเป็ น ครู ประจาการไปแล้ว เพราะเป็นการเรีย นรู้เพื่อชีวิตของตนเอง ระหว่างเป็นครูประจาการก็เรียนรู้สาหรับเป็นครู เพื่ อศิ ษ ย์ และเพื่ อการด ารงชี วิตของตนเองโดยย้าว่ า ครู ต้อ งเลิ กเป็ น “ผู้ สอน” ผั นตั วเองมาเป็น โค้ช หรื อ Facilitator ของการเรีย นของศิษย์ที่ส่วนใหญ่เรีย นแบบ PBL คือโรงเรีย นในศตวรรษที่ 21 ต้องเลิกเน้นสอน หันมาเน้นเรียน เน้นทั้งการเรียนของศิษย์และของครู การศึกษาที่ดีสาหรับคนยุคใหม่นั้นไม่เหมือนการศึกษาเมื่อสิบหรือยี่สิบปีที่แ ล้ว การศึกษาที่มีคุณภาพ จะต้องเปลี่ย นรูปแบบการเรีย นรู้ข องศิษย์ไปอย่างสิ้นเชิง และบทบาทของครูอาจารย์ก็ต้องเปลี่ย นไปอย่าง สิ้นเชิง ครูที่รักศิษย์ เอาใจใส่ศิษย์ แต่ยังใช้วิธีสอนแบบเดิม ๆ จะไม่ใช่ครูที่ทาประโยชน์แ ก่ศิษย์อย่างแท้จริง กล่าวคือ ครูที่มีใ จแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ย นจุดสนใจหรือจุดเน้นจากการสอน ไปเป็นเน้นที่การ เรีย น (ทั้งของศิษย์ และของตนเอง) ต้องเรีย นรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ที่ตนจัดให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อ ศิษ ย์ต้อ งเปลี่ ย นบทบาทของตนเองจาก “ครูสอน” (Teacher) ไปเป็ น “ครูฝึก ” (Coach) หรือ “ผู้อ านวย ความสะดวกในการเรีย นรู้ ” (Learning Facilitator) และต้องเรีย นรู้ทั กษะในการท าหน้าที่นี้ โดยรวมตัวกั น เป็ น กลุ่ ม เพื่ อ เรี ย นรู้ ร่ ว มกั น อย่ า งเป็ น ระบบ และต่ อ เนื่ องที่ เ รี ย กว่ า PLC (Professional Learning Community) ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องยึดหลักสอนน้อย เรีย นมาก การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้า มสาระ วิช าไปสู่ ก ารเรี ย นรู้ “ทั ก ษะเพื่ อ การด ารงชี วิ ต ในศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ที่ ค รู ส อนไม่ ไ ด้ นัก เรี ย นต้อ งเรีย นเองหรือ พูด ใหม่ว่ าครู ต้อ งไม่ สอนแต่ต้ อ งออกแบบการเรี ย นรู้ และอ านวยความสะดวก (Facilitate) ในการเรีย นรู้ ให้นักเรีย นเรีย นรู้จากการเรียนแบบลงมือทา แล้วการเรีย นรู้ก็จะเกิดจากภายในใจ และสมองของตนเอง ซึ่งการเรียนรู้แบบนี้เรียกว่า PBL (Project-Based Learning) ทัก ษะเพื่ อการด ารงชี วิตในศตวรรษที่ 21 ได้ แ ก่ สาระวิชาหลั ก ภาษาแม่ แ ละภาษาโลก ศิล ปะ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐและความเป็นพลเมืองดี MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
18
หัว ข้อ สาหรับ ศตวรรษที่ 21 ได้ แ ก่ ความรู้ เกี่ ย วกับ โลก ความรู้ด้า นการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุ รกิ จ และการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี ความรู้ด้านสุขภาพ ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมทักษะ ด้ านการเรี ย นรู้ แ ละนวั ต กรรม ความริเ ริ่ม สร้ างสรรค์ แ ละนวั ต กรรม การคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณและ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ได้แก่ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ ได้แก่ ความยืดหยุ่นและปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผลิต (Productivity) และความรับผิดรับชอบเชื่อถือ ได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility) ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ที่ควรจะมีเพิ่มเติมในคนศตวรรษที่ 21 อันได้แก่ · ความรับ ผิด ชอบในหน้า ที่ และความสามารถในการปรับ ตั ว (ความสามารถในการดั ดแปลงให้ เหมาะสมได้) (Accountability and Adaptability) การฝึกความรับผิดชอบส่วนตัวและความยืดหยุ่นในบริบท ส่วนตัว ที่ทางาน และชุม ชน กาหนดและบรรลุตามมาตรฐานและเป้าหมายที่สูงสาหรับตนเองและผู้อื่น อดทน ต่อสภาวะที่คลุมเครือ · ทั ก ษะการสื่ อสาร (Communication Skills) ความเข้า ใจ การจั ดการ และการสร้างการสื่ อ สาร ทางการพูด การเขียนที่มีประสิทธิภาพ และผ่านทางมัลติมีเดีย ในรูปแบบและบริบทที่หลากหลาย · ความคิดสร้างสรรค์แ ละความกระตือรือร้น (ความอยากรู้อยากเห็น) ทางปัญ ญา (Creativity and Intellectual Curiosity) การพัฒนา การนาไปใช้แ ละการสื่อสารข้อคิดเห็นไปสู่ผู้อื่น เปิดรับและโต้ตอบแง่มุม ที่ใหม่และหลากหลาย · การคิ ด เชิ ง วิ พ ากษ์ แ ละการคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ (Critical Thinking and Systems Thinking) ฝึกการให้เหตุผลในการทาความเข้าใจและการสร้างทางเลือกที่ซับซ้อน การเข้าใจในความสัม พันธ์ระหว่าง ระบบต่าง ๆ · ข้ อ มู ล และทั ก ษะการอ่ า นเขี ย นสื่ อ (Information and Media Literacy Skills) การวิ เคราะห์ การเข้าถึง การจัดการ การบูรณาการ การประเมินและการจัดทาข้อมูลในรูปแบบและสื่อที่หลากหลาย · ทั ก ษะระหว่า งบุ ค คลและการร่ ว มมื อ ประสานกั น (Interpersonal and Collaborative Skills) รู้จัก การทางานเป็ นที ม และภาวะผู้ น า การปรับ ตั วในบทบาทและความรับ ผิด ชอบที่แ ตกต่าง การท างาน อย่างมีผลิตภาพ (Productivity) กับผู้อื่น การเห็นอกเห็นใจ การเคารพในมุมมองที่แตกต่างกัน · การระบุ ปั ญ หา การก าหนดและการแก้ ปั ญ หา (Problem Identification, Formulation and Solution) ความสามารถในการกาหนดขอบข่ายของปัญหา วิเคราะห์และแก้ปัญหา · การกากับ ตนเอง (Self-direction) ก ากั บดู แ ลความเข้ าใจของตนเองและเรีย นรู้ค วามต้ องการ ระบุแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม การถ่ายโอนสิ่งที่เรียนรู้จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง · ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (Social Responsibility) ใส่ ใ จต่ อ ชุ ม ชนขนาดใหญ่ อ ย่ า งมี ค วาม รับผิดชอบ ตระหนักในพฤติกรรมทางเชื้อชาติในบริบทของชุมชน ที่ทางานและรายบุคคล นอกจากนั้นโรงเรีย นและครูต้องจัดระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่ มาตรฐานและการประเมินในยุค ศตวรรษที่ 21 หลั ก สู ต รและการเรี ย นการสอนส าหรั บ ศตวรรษที่ 21 การพั ฒ นาครู ใ นศตวรรษที่ 21 สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรีย นในศตวรรษที่ 21 ทั้งยังเป็นแนวทางในการกาหนดเป็นวิสัยทัศน์สู่การ ปรับแนวคิดสู่การปฏิรูปการศึกษาไทย การสร้างความเข้ม แข็งทางการศึกษาของไทยภายใต้บริบทแห่งการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นย่อมเป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายควรตระหนักและมองเห็นความสาคัญในการกาหนดยุทธศาสตร์ของ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
19
การพัฒนาคนสู่การพัฒนาชาติเพื่อก้าวสู่สังคมโลกท่ามกลางสภาพการณ์แห่งการแข่งขันในปัจจุบัน การสร้าง ความเข้มแข็งของคนในชาติในการจัดการศึกษาจะเป็นปัจจัยสาคัญที่ทุกฝ่ายต้ องร่วมกันทางานอย่างเป็นองค์ รวม โดยเฉพาะอย่ างยิ่ งภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ข องการปฏิ รู ป การศึ ก ษา (Educational Reform) นั้ น ย่อ มมี ความสาคัญและจาเป็นที่ต้องร่วมกันกาหนดยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความรู้แ ก่คนในชาติอย่างมีคุณค่าและเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลต่อการปฏิรูปและเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ซึ่งดาเนินการภายใต้ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 ที่มุ่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ของการทางานใหม่ทั้ง 4 ด้านได้แ ก่ การปฏิรูป ผู้เรีย นยุคใหม่ การปฏิรูปครูยุคใหม่ การปฏิ รูปโรงเรีย นและ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ และการปฏิรูประบบบริหารจัดการยุคใหม่ นั้นน่าจะมีการวิเคราะห์วิจัย เพื่อปรับแนวคิด ของตัวแบบที่นาเสนอทั้งสองตัวแบบดังกล่าวนั้นมาปรับใช้กับการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สองนี้ให้เกิดความ เหมาะสมกับ บริบททางสังคมรอบด้าน เนื่องจากปัจจัย ต่างๆที่จะสร้างทักษะความรู้จากงานวิจัย ทั้ง 2 งาน ดังกล่า วข้างต้น นั้น ต่ างสอดรับกั บกระบวนทัศ น์ (Paradigm) ของการปฏิ รูปการศึกษาตามที่กาหนดไว้ ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ในศตวรรษที่ 21 ทักษะที่อยากให้เกิดกับผู้เรียน คือ 3R x 7C และต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะชีวิต 3 อย่างที่ควรจะมี ได้แก่ ทักษะชีวิตและการทางาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี รวมทั้งยังส่งเสริม การเรียนรู้ผ่าน PBL – Problem Based Learning (กระบวนการเรียนรู้จาก ปมปัญหาสู่ปัญญา) และพัฒนาครูผู้สอนผ่านกระบวนการ PLC เพราะการศึกษาเป็นรากฐานสาคัญที่ทาให้คน เกิดทักษะต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเตรีย มประชากรให้พร้อมที่จะเผชิญกับการเปลี่ย นแปลงเพื่อที่จะ ดารงอยู่ใ นสังคมได้อย่างเป็นสุข การศึกษาคือสร้างพลังปัญญาแก่ประชากร เพื่อพร้อมรับกับปัญหาต่าง ๆ ทั้งในเรื่องเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ดังนั้นการศึกษาจึงถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับพัฒนาประชากร เพื่อเตรีย มความพร้อมในยุคศตวรรษปัจจุบัน แต่ทั้งนี้การศึกษาจะต้องตั้งอยู่บ นพื้นฐานของคุณค่าที่แ ท้จริง ในความเป็นมนุษย์ในฐานะเป็นหลักความคิดเชิงคุณภาพ
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
20
เอกสารอ้างอิง วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ (แปล). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Open Worlds. 2554. สุวิทย์ มูลคาและคณะ. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการคิด . กรุงเทพฯ: อี เค บุ๊คส์. 2554. Mishra , Punya and Kereluik , Kristen. What 21st Century Learning? A Review and a Synthesis. (online) Available from http://www.punya.edu.msu.edu/publications/ 21stCenturyKnowledge-PM-KK.pdf. ( November 18 , 2012 ) North Central Regional Laboratory & Metiri Group. En Gauge 21st Century Skills : Literacy in The Digital Age. Chicago : North Central Regional Educational Laboratory, 2003. Partnership for 21st Century Skills. P21 Framework Definitions. (online) Available from http://www.p21.org/storage/documents/P21-Framework -Definitions.pdf. ( November 18 , 2012 ) ---------- . Framework for 21st Century Learning. (online) Available from http://www.21st Centuryskills.org.pdf. ( November 18 , 2012 ) Doctoral Program in Educational Technology and Communications #1. Sukhothai Thammathirat Open University. www. addkutec3.com/wp-content/uploads/2012/11/ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ -21.pdf www. hu.swu.ac.th/hu/km/Files/2_Changes_in_the_world21.pdf www. noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf www. p21.org/storage/documents/P21_Framework_Definitions.pdf www. qlf.or.th/
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
21
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 : สอนอย่างไรให้เกิดผลกับผู้เรียน นางสาวโชติมาพร ไชยสิทธิ์ * นิสติ ปริญญาเอก รุ่น 5 สาขาหลักสูตรและการสอน
การศึกษาในประเทศไทยยึดหลักของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ดังนั้นแล้ว การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ควรจะมีลักษณะอย่างไร ตามความคิดของนักคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจากการที่ผู้เรีย นเป็นผู้สร้างความรู้ นักจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ Piaget นักจิตวิทยาชาวสวิส และ Vygotsky นักจิตวิทยาชาวรัสเซีย Piaget เน้นการ มีปฏิสัมพันธ์ที่ช่วยให้เกิดการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความรู้ความคิด เกิดการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับ ประสบการณ์ใหม่ ส่วน Vygotsky อธิบายหลักการสาคัญว่าผู้เรียนจะมีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ในระดับหนึ่ง และจะสามารถก้าวไปยังระดับการเรียนรู้ที่สูงขึ้นตามศักยภาพที่มีอยู่เมื่อได้รั บการแนะนา ช่วยเหลือจากผู้รู้ แนวความคิดของทั้ง Piaget และ Vygotsky มีส่วนที่คล้ายคลึงกันตรงการมีปฏิสัมพันธ์เพื่อ นาสู่การเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่และการไปถึงระดับที่ผู้เรียนมีศักยภาพ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีตามยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทาให้วงการ การศึกษาในประเทศไทยจาเป็นต้องตอบสนองต่อความท้าทายที่ต้องเผชิญอยู่นี้ เราต้องการรูปแบบการทางาน ที่สามารถพัฒนากรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อที่สามารถจัดการศึกษาตอบสนองต่อ ความต้องการที่กาลังเปลี่ยนแปลงของสังคมซึ่งเยาวชนไทยกาลังเผชิญอยู่ ซึ่งนิยามของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นั้นพบว่าผู้เรียนในอนาคตมีคุณลักษณะ 4 ประการ ได้แก่ วิถีทางของการคิด คือ สร้างสรรค์ คิด วิจารณญาณ การแก้ปัญหา การเรีย นรู้และตัดสินใจ (Ways of Thinking, Creativity, Critical Thinking, Problem-solving, decision- Making and Learning) วิถีทางของการทางาน คือ การติดต่อสื่อสารและการ ร่วมมือ (Ways of Working. Communication and Collaboration) เครื่องมือสาหรับการทางาน คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ด้านข้อมูล (Tools for Working, Information and Communications Technology, and Information Literacy) และทักษะสาหรับดารงชีวิตในโลกปัจจุบัน คือ ความเป็นพลเมือง ชีวิตและอาชีพ และ ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (Skills for Living in the World, Citizenship, Life and Career, and Personal and Social Responsibility) ดังนั้นการจัดการเรีย นการสอนต้องมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น โดยนักการศึกษาได้มีการนาเสนอหลักการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งสามารถสรุปประเด็น สาคัญของลักษณะการจัดการเรียนรู้ได้ดังนี้ มนุษย์มีรูปการเรีย นรู้ที่แตกต่างกัน ผู้สอนจึงต้องใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย หากผู้สอนนารูปแบบ การเรียนรู้แบบใดแบบหนึ่งไปใช้กับผู้เรียนทุกคนตลอดเวลา อาจทาให้ผู้เรียนบางคนเกิดอาการตายด้านทาง สติปัญญาผู้เรียนควรเป็นผู้กาหนดองค์สามรู้ของตนเอง ไม่ใช่นาความรู้ไปใส่และให้ผู้เรียนดาเนิน รอยตาม ผู้สอนโลกยุคใหม่ต้องการผู้เรีย นซึ่งมีวินัย มีพฤติกรรมที่รู้จักยืดหยุ่นหรือปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ได้ อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ที่เป็นแบบเผด็จการ แบบให้อิสระ หรือแบบประชาธิปไตย เนื่องจาก ข้อมูลข่าวสารในโลกจะทวีเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทุกๆ 10 ปี โรงเรียนจึงต้องใช้วิธีสอนที่หลากหลาย โดยให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ใ นรูปแบบต่างๆ กัน ให้ใช้กฎเหล็กของการศึกษาที่ว่า “ระบบที่เข้มงวดจะผลิตคนที่เข้มงวด” และ “ระบบที่ยืดหยุ่นจะผลิตคนที่รู้จักคิดยืดหยุ่น ” MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
22
การพัฒนากรอบความคิดที่ครอบคลุมเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั้นจาเป็นต้องจะต้องสร้าง ระบบส่งเสริมเพิ่มขึ้นจาก ทักษะเฉพาะด้าน องค์ความรู้ ความชานาญการและความสามารถในการเรีย นรู้ด้าน ต่างๆ เพื่อช่วยให้นักเรียนรอบรู้ มีความสามารถที่จาเป็นและหลากหลาย เครือข่าย P21 ได้ระบุระบบส่งเสริม ให้นักเรียนได้รอบรู้ทักษะการเรียนรู้ที่สาคัญ ในศตวรรษที่ 21 ไว้ด้วยกัน 5 ระบบ ได้แก่ มาตรฐานการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards), การประเมินผลทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Assessments of 21st Century Skills), หลักสูตรและวิธีการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum and Instruction), การพัฒนาวิชาชีพในศตวรรษที่ 21 (21st Century Professional Development) และบรรยากาศการเรียนรู้ใ นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Environments) รายละเอียดดังนี้ 1. มาตรฐานในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards) 1.1 เน้นทักษะ ความรู้และความเชี่ยวชาญที่เกิดกับผู้เรียน 1.2 สร้างความรู้ความเข้าใจในการเรียนในเชิงสหวิทยาการระหว่างวิชาหลักที่เป็นจุดเน้น 1.3 มุ่งเน้นการสร้างความรู้และเข้าใจในเชิงลึกมากกว่าการสร้างความรู้แบบผิวเผิน 1.4 ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลที่เป็นจริง การใช้สื่อหรือเครื่องมือที่มี คุณภาพจากการเรียนรู้ใ นสถานศึกษา การทางานและในการดารงชีวิตประจาวัน ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี ความหมายและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 1.5 ใช้หลักการวัดประเมินผลที่มีคุณภาพระดับสูง 2. การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 (Assessment of 21st Century Skills) 2.1 สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ โดยการใช้แบบทดสอบมาตรฐานสาหรับ การทดสอบย่อยและทดสอบรวมสาหรับการประเมินผลในชั้นเรีย น 2.2 เน้นการนาประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน 2.3 ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 2.4 สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน (Portfolios) ของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมี คุณภาพ (Edwards, 1950) 3. หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum and Instruction) 3.1 การสอนให้เกิดทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นเชิงสหวิทยาการของวิชา แกนหลัก 3.2 สร้างโอกาสที่จะประยุกต์ทักษะเชิงบูรณาการข้ามสาระเนื้อหา และสร้างระบบ การเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะเป็นฐาน (Competency-based) 3.3 สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวเกื้อหนุน การเรียนรู้แบบสืบค้น และวิธีการเรียนจากการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) เพื่อการสร้าง ทักษะขั้นสูงทางการคิด 4. การพัฒนาทางวิชาชีพในศตวรรษที่ 21 (21st Century Professional Development) 4.1 จุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อการสร้างครูให้เป็นผู้ที่มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงบูรณาการ การใช้เครื่องมือและกาหนดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน และสร้างให้ครูมีความสามรรถในการวิเคราะห์ และกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสม
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
23
4.2 สร้างความสมบูรณ์แบบในมิติของการสอนด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย 4.3 สร้างให้ครูเป็นผู้มีทักษะความรู้ความสามารถในเชิงลึกเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การคิดแบบ วิจารณญาณ และทักษะด้านอื่นๆที่สาคัญต่อวิชาชีพ (Halpern, 1998) 4.4 เป็นยุคแห่งการสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพให้เกิดขึ้นกับครูเพื่อเป็นตัวแบบ (Model) แห่งการเรียนรู้ของชั้นเรีย นที่จะนาไปสู่การสร้างทักษะการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับผู้เรีย นได้อย่างมีคุณภาพ 4.5 สร้างให้ครูเป็นผู้ที่มีความสามารถวิเคราะห์ผู้เรีย นได้ทั้งรูปแบบการเรียน สติปัญญา จุดอ่อนจุดแข็งในตัวผู้เรียน เหล่านี้เป็นต้น 4.6 ช่วยให้ครูได้เกิดการพัฒนาความสามารถให้สูงขึ้นเพื่อนาไปใช้สาหรับการกาหนดกลยุทธ์ ทางการสอนและจัดประสบการณ์ทางการเรียนได้เหมาะสมกับบริบททางการเรียนรู้ 4.7 สนับสนุนให้เกิดการประเมินผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างทักษะและเกิดการพัฒนาการ เรียนรู้ 4.8 แบ่งปันความรู้ระหว่างชุมชนทางการเรีย นรู้โดยใช้ช่องทางหลากหลายในการสื่อสารให้ เกิดขึ้น 4.9 สร้างให้เกิดตัวแบบที่มีการพัฒนาทางวิชาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน 5. สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ใ นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Environment) 5.1 สร้างสรรค์แ นวปฏิบัติทางการเรียน การรับการสนับสนุนจากบุคลากรและ สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกื้อหนุน เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุผล 5.2 สนับสนุนทางวิชาชีพแก่ชุมชนทั้งในด้านการให้การศึกษา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันสิ่ง ปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างกันรวมทั้งการบูรณาการหลอมรวมทักษะหลากหลายสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน 5.3 สร้างผู้เรียนเกิดการเรีย นรู้จากสิ่งที่ปฏิบัติจริงตามบริบท โดยเฉพาะการเรียนแบบ โครงงาน 5.4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยี เครื่องมือหรือแหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 5.5. ออกแบบระบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมทั้งการเรียนเป็นกลุ่มหรือการเรียนรายบุคคล 5.6 นาไปสู่การพัฒนาและขยายผลสู่ชุมชนทั้งในรูปแบบการเผชิญหน้าหรือระบบออนไลน์ จากที่กล่าวมาทั้งหมดก่อนหน้านี้นั้น เป็นการสร้างกรอบแนวคิดของการพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ผ่านกระบวนการวิจัยโดย Partnership for 21st Century Skills เป็นตัวแบบที่นา เสนอในรายละเอียดของตัวแปรหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพทางการเรียนรู้ในสังคมยุค ใหม่ที่ต้องคานึงถึง และต้องสร้างให้เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกฝ่ายทั้งครู นักเรีย น ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย (Stakeholders) ในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้นั้นต้องมีความสัมพันธ์ มีขั้นตอนและกระบวนการที่เป็นลาดับที่ ผู้เรียนสามารถมีส่วนร่วมกับการเรียนการสอนได้ เช่น การกาหนดปัญหาที่ผู้เรีย นสนใจ การทากิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และสามารถบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆ ได้ ด้วยตนเอง และการสอนที่ถือว่ามี ประสิทธิภาพ นั้น ครูต้องมีคุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ที่ทาหน้าที่สอน (Instructor) ครูต้องมีลักษณะของผู้ ที่สามารถชี้แนะการเรียนรู้ (Learning Coaching) และสามารถทาหน้าที่เป็นผู้นานักเรียนท่องเที่ยวไปสู่โลก แห่งการเรียนรู้ได้ (Learning Travel Agent) ซึ่งบทบาทของครูจากยุคสมัยก่อนจาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อก้าวสู่ยุคแห่งศตวรรษที่ 21 เนื่องจากครูใ นโลกยุคใหม่ต้องมีความรอบรู้มากกว่าการเป็นผู้ดูแลรายวิชาที่ สอนเท่านั้น แต่ครูมีบทบาทของการเพิ่มพูนความรู้แก่นักเรียน เสริมสร้างทักษะที่จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
24
รวมทั้งไอซีทีได้เข้ามามีบทบาททางการศึกษาและเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันของคนทั่วโลก ไอซีทีใน ปัจจุบันจึงไม่ใช่เป็นเพียงแหล่งข้อมูลข่าวสารเท่านั้น ครูจึงต้องคิดว่าจะบูรณาการการจัดการเรียนรู้ให้เข้ากับ ไอซีทีได้อย่างไร การเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยี (Technology-based Learning) ครอบคลุมวิธีการเรียนรู้หลากหลาย รูปแบบผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท เช่น อินเทอร์เน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) การถ่ายทอดผ่านดาวเทียม (Satellite broadcast) แถบบันทึกเสียง และวิดีทัศน์ (Audio/Video Tape) และซีดีรอม (CD- ROM) เป็นต้น การเรีย นรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็น วิธีการเรียนรู้ที่มีความสาคัญมากขึ้น แต่จากการที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่งของเทคโนโลยีทาให้ผู้สอน จาเป็นต้องศึกษา หาความรู้และเตรียมพร้อมตนเองเพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านี้ใน การเรียนการสอนวิธีการเตรียมตัวในการใช้เทคโนโลยีในการสอนคือ เทคนิครู้เขารู้เรา โดยสิ่งที่ครูต้องรู้มี 2 ประการคือ การรู้และเข้าใจศักยภาพของทรัพยากรที่โรงเรียนมี เช่น ครูต้องรู้ว่าในโรงเรีย นมีอะไรที่สามารถใช้ เป็นประโยชน์ในการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ , และครูต้องมีความรู้ด้านเทคโนโลยีที่ สามารถนามาใช้ในการเรีย นการสอน รวมไปถึงข่าวสารข้อมูลต่างๆ โปรแกรมประยุกต์ที่เป็นประโยชน์ในการ เรียนการสอน สื่อภาพและเสียง วีดที ัศน์ ข่าวและประเด็นที่เป็นที่สนใจ เป็นต้น เทคโนโลยีที่ครูสามารถ นามาใช้ในการเรีย นการสอนเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิด มีจานวนมาก และครูสามารถ เลือกใช้ได้ตามความถนัดหรือความสนใจ รายละเอียดดังนี้ (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ : 2551) 1. การใช้วีดที ัศน์ การใช้ภาพและเสียง ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น โดยเฉพาะเนื้อหาที่เป็น นามธรรม การใช้วิดีทัศน์มีทั้ง ภาพยนตร์ แอนนิเมชั่น วีดีโอคลิป โปรแกรมกราฟฟิก ซึ่งแหล่งที่สามารถหาวีดี ทัศน์เหล่านี้ คือ อินเทอร์เนต ซีดี ดีวีดี ที่มาพร้อมกับหนังสือเรียน (Textbook) ภาพยนตร์ สารคดี เว็บไซต์ ต่างๆ ทั้งนี้ วีดที ัศน์จะทาหน้าที่เป็นเพียงสื่อหรือแหล่งการเรีย นรู้ของครูเท่านั้น โดยไม่สามารถนามาทดแทน การสอนได้ ครูต้องสร้างบริบท (Context) หรืออรรถบท (Theme) ของบทเรียนโดยใช้วิดีทัศน์เป็นสื่อ การเรียนรู้จึงจะมีความหมายสาหรับผู้เรียน 2. เพลงและเสียง เพลงเป็นสื่อที่เข้าถึงผู้เรียนได้ดี ทั้งนี้มีการใช้เพลงเพื่อการเรีย นการสอนมานานแล้ว ในวิชาเคมีเนื้อหาที่ใช้เพลงในกิจกรรมการเรีย น ยกตัวอย่างเช่น ตารางธาตุ ทั้งนี้เพลงมีทั้งแบบสาเร็จที่ครู สามารถนามาใช้ได้ หรือการใช้ทานองแล้วใส่เนื้อร้องเอง รวมไปถึงให้ผู้เรียนมีส่วนประพันธ์ทานองหรือคาร้อง ที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน ก็เป็นเทคนิคที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรีย นรู้ได้ดี นอกจากนี้เสียงยังมีส่วนสาคัญ ในการสร้างความเข้าใจ ยกตัวอย่างเช่น ให้นักเรียนเรียงลาดับเสียงจากการทาปฏิกิริยาของธาตุอัลคาไลน์ (หมู่ 1A) กับน้า จากโซเดียม (Na) ไปจนถึงแฟรนเซียม (Fr) เพื่อเรียงลาดับความรุนแรงของการเกิดปฏิกิริยา จากนั้นจึงนาไปสู่ การอภิปราย 3. โปรแกรมประยุกต์ (Application Program) ครูสามารถใช้โปรแกรมประยุกต์ในการส่งเสริมการ เรียนรู้ของผู้เรีย นได้มากมาย โดยอาจจะเริ่มต้นจากการใช้โปรแกรมประจาเครื่อง เช่น Microsoft Word Excel และ PowerPoint ไปจนถึงโปรแกรมเฉพาะ เช่น Crocodile Chemdraw หรือโปรแกรมกราฟฟิก เช่น Autodesk MAYA ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับทักษะของครูเองว่าคุ้นเคย กับโปรแกรมใด นอกจากนี้ครูยังสามารถสร้าง ภาพยนตร์สั้นได้เอง โดยใช้โปรแกรมตัดต่อภาพยนตร์เช่น Movie Maker หรือ Ulead โดยในปัจจุบันกล้อง ถ่ายรูปหรือโทรศัพท์ก็สามารถถ่ายทาคลิปสั้นๆ เพื่อใช้ประโยชน์ทางการ เรียน นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมชนิด Freeware ที่ไม่สงวนลิขสิทธิ์การใช้งาน ที่ครูสามารถดาวน์โหลดเพื่อใช้เป็นสื่อในการเรียนได้ ตัวอย่างการใช้ โปรแกรมประยุกต์ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
25
4. เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) เทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันก้าวหน้า ไปมาก และสามารถดาวน์โหลดหรืออัพโหลด เพื่อแลกเปลี่ยนเนื้อหา (Content) ได้อย่างรวดเร็วทั้ง ภาพ เสียง ข้อความ วีดีโอ ทั้งแบบ Synchronize และ Asynchronize เทคโนโลยีสื่อสารที่เป็นที่นิยมคือ เครือข่าย สังคมออนไลน์ (Online Social Network) การใช้เครื่องมือค้นหา บนเว็บ (Search Engine) การโต้ตอบผ่าน กระดานสนทนา (Web Board) การเขียนบล็อก (Blog) การโต้ตอบโดยใช้วีดิทัศน์ เช่น Youtube.com รวม ไปถึงสื่อเนื้อหาอิเล็กโทรนิกส์ (Electronic Content) ต่างๆ ที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ ต เช่น เว็บไซต์ ของรายการโทรทัศน์ สมาคมวิชาชีพครู องค์กรวิทยาศาสตร์ ต่างๆ ครูแห่งศตวรรษที่ 21 ไม่มีหน้าที่เติมความรู้แก่ศิษย์แต่ต้องช่วยให้เด็กสลัดความรู้ผิดๆ ออกจากสมอง ช่วยแก้ไขความรู้ผิดๆ ของผู้เรียน เนื่องจากเริ่มที่โลกเปลี่ยน สังคมเปลี่ยน ทาให้เด็กเปลี่ย น เด็กสมัยนี้ไม่ได้ เรียนความรู้และข้อมูลสาคัญเฉพาะจากโรงเรียนอีกต่อไป หรือกล่าวได้ว่า สมัยนี้ผู้เรียนรับความรู้จากโรงเรีย น เป็นแหล่งรอง ไม่ใช่แหล่งหลัก แหล่งหลักคือการรับจากสังคมโดยรอบ โดยเฉพาะจากสื่อมวลชน และ อินเทอร์เน็ต ความรู้จากแหล่งต่างๆ นอกโรงเรียนนั้ น เด็กรับมาอย่างถูกต้องบ้าง รับมาแบบเข้าใจผิดบ้าง และ ที่ร้ายกว่านั้น คือความรู้บางส่วนเด็กรับมาอย่างถูกต้อง แต่ความรู้นั้นผิด เด็กนักเรีย นในสมัยแห่งข้อมูลข่าวสาร อุดมสมบูรณ์จึงมีทั้งความรู้ที่ถูกต้องและความรู้ผิดๆ อยู่ในสมอง ต่างจากเด็กสมัยก่อน ที่ความรู้หายาก ต้องไป เรียนจากโรงเรีย น และโรงเรียนก็มีหน้าที่เติมความรู้ให้แก่เด็ก ไม่ต้องสนใจเลยว่าเด็กจะมีพื้นความรู้ผิดๆ ติด ตัวมา จะเห็นได้ว่าการสอนให้เกิดผลกับผู้เรียนจากทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น ครูจะต้องฝืน ใจไม่บอกสาระความรู้แก่ศิษย์ และฝืนใจทาหน้าที่ที่ไม่เคยทา คือหน้าที่ช่วยศิษย์สลัดความรู้ผิดๆ ออกไปจาก ตัว ที่สาคัญคือ ครูไม่ใช่ผู้ลงมือทา ผู้ลงมือทาคือตัวผู้เรีย นเอง ครูเป็นเพียงผู้ช่วย หรือ “คุณอานวย” การสอน จึงจะประสบผลสาเร็จและผู้เรียนก็จะเกิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ไปพร้อมๆ กัน
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5 เอกสารอ้างอิง
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2551. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์ แห่งชาติ. สุวิทย์ มูลคาและคณะ. 2554. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการคิด. กรุงเทพฯ: อี เค บุ๊คส์. Edwards ,TB. 1950. Measurement of some aspects of critical thinking. Journal of Experimental Education, 18:263–278. Halpern, DF. 1998. Teaching critical thinking for transfer across domains: Disposition, skills, structure training, and metacognitive monitoring. American Psychologist. 53:449–455.
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
26
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
27
“วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21” สุรางค์ เพ็ชรกอง* นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน บทนา เมื่อองค์ความรู้ของโลกขยายขอบเขตเพิ่มพูนขึ้นอย่างทบทวีคูณ พร้อมทั้งประสิทธิภาพของ เทคโนโลยีที่พัฒนารุดหน้าไปเรื่อย ๆ อย่างไม่จากัด มนุษย์สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะอยู่ ณ สถานที่ใด คนเป็นครูคงจะมีคาถามสาคัญในใจว่า “จะมีวิถีสร้างการเรียนรู้ให้ศิษย์ในศตวรรษ ที่ 21 ได้อย่างไร” ก่อนจะกล่าวถึงวิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ คุณครูควรจะได้รู้จักลักษณะของเด็กในศตวรรษที่ 21 เสียก่อนว่ามีลักษณะอย่างไร หนังสือ 21st Century Skills : Learning for Life in Our Times ได้ระบุลักษณะของเด็กสมัยใหม่ไว้ 8 ประการ ดังนี้ 1. มีอิสระที่จะเลือกสิ่งที่ตนพอใจ แสดงความคิดเห็น และลักษณะเฉพาะของตน 2. ต้องการดัดแปลงสิ่งต่าง ๆ ให้ตรงตามความพอใจและความต้องการของตน (customization & personalization) 3. ตรวจสอบหาความจริงเบื้องหลัง (scrutiny) 4. เป็นตัวของตัวเองและสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เพื่อรวมตัวกันเป็นองค์กร เช่น ธุรกิจ รัฐบาล และสถาบันการศึกษา 5. ความสนุกสนานและการเล่นเป็นส่วนหนึ่งของงาน การเรียนรู้และชีวิตทางสังคม 6. การร่วมมือ และความสัมพันธ์เป็นส่วนหนึ่งของทุกกิจกรรม 7. ต้องการความเร็วในการสื่อสาร การหาข้อมูล และตอบคาถาม 8. สร้างนวัตกรรมต่อทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต เด็กยุคใหม่เป็นคนยุคเจนเนอเรชั่นซี (Generation Z) มีพฤติกรรมชอบใช้อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียก กันว่าเป็นชาวเน็ต (netizen) นอกจากนี้แล้วครูต้องรู้และเข้าใจด้วยว่ามีเด็กส่วนหนึ่งที่ต้องเผชิญกับปัญหา ต่าง ๆ อีก เช่น เกือบครึ่งหนึ่งของเด็กเป็นคนที่ไม่ได้อยู่กั บพ่อแม่ด้วยเหตุผลความจาเป็นต่าง ๆ ของ ครอบครัว บางคนต้องเผชิญกับสภาพบ้านแตกสาแหรกขาดซึ่งในปัจจุบันมีแนวโน้มที่สูงขึ้น เรื่อย ๆ เด็กบางคน ถูกทาร้ายจากผู้ปกครองตนเอง อันเนื่องมาจากความยากจน พ่อแม่ติดสุรายาเสพติด สภาพทางเศรษฐกิจ ของครอบครัวมีความแตกต่างกันมาก สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นมลพิษทางสังคม ซึ่งมีผลกระทบต่อสภาพจิตใจของ เด็กทั้งสิ้น ซึ่งอาจทาให้เด็กมีสมาธิสั้นขาดแรงบันดาลใจ มีความรู้ผิด ๆ ได้เรียนรู้แบบผิวเผิน ไม่รู้จัก mastery learning สิ่งต่อไปที่ครูควรรู้จักก็คือแนวคิดของนักการศึกษามองว่าในการจัดการศึกษาในศตวรรษ ที่ 21 สังคมควรปลูกฝังสิ่งใดลงไปในตัวเด็ก เพื่อให้เด็กมีความรู้ อยู่ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม โลก เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมที่หลากหลาย และเท่าทันกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ในเรื่องนี้ได้มีนักการศึกษาซึ่งเป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลก คือ เฮาวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner, Ph.D.) เป็นศาตราจารย์จอห์นเอช และเอลิซาเบธ เอ.ฮอบส์ ด้านการรู้คิดและการศึกษา MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
28
ที่บัณฑิตวิทยาลัยศึกษาศาสตร์แห่งฮาร์เวิร์ด ได้เสนอแนวคิดของจิต 5 ลักษณะที่สังคมควรปลูกฝังในคนรุ่น ถัดไป ซึ่งนายแพทย์วิจารณ์ พานิช ได้เรียกว่า การพัฒนาสมองนักเรียนในห้าด้าน ได้แก่ 1) สมองด้าน วิชาและวินัย (disciplined mind) เป็นการพัฒนาความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาความรู้แ ละความมีวินัยในการ ฝึกฝนตนเองให้เชี่ยวชาญยิ่งขึ้น ผู้ที่เชี่ยวชาญหลายอย่างกาลังเป็นที่ต้องการของสังคม 2) สมองด้าน สังเคราะห์ (synthesizing mind) ถือว่าเป็นการพัฒนาสมองที่มีค่าที่สุดในยุคปัจจุบัน เพราะในปัจจุบัน ข้อมูลต่าง ๆ ท่วมท้น คนที่รู้ว่าตนเองจะสังเคราะห์อะไร อะไรคือข้อมูลที่ต้องการย่อมได้เปรียบคนที่ สังเคราะห์ไม่เป็น 3) สมองด้านสร้างสรรค์ (creating mind) เป็นสมองที่รู้จักแผ้วถางหนทางใหม่ รู้จักคิด นอกกรอบเป็นสมองที่จาเป็น เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กับโลก 4) สมองด้านเคารพให้เกียรติ (respectful mind) สมองด้านนี้เป็นสิ่งที่สะสมมาตั้งแต่เด็กและเป็นส่วนสาคัญในการอยู่ร่วมกันในสังคม มนุษย์ และ5) สมองด้านจริยธรรม (ethical mind) เป็นสมองเกี่ยวกับมโนทัศน์ของผู้ที่รู้จักสิทธิและความ รับผิดชอบที่ตนเองต้องมีต่อสังคมส่วนรวม ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมองห้าด้าน ไม่ได้ทาแบบแยก ส่วนแต่ต้องเรียนรู้ทุกด้านไปพร้อม ๆ กัน พลังสมองในสามด้านแรกเป็ นพลังเชิงทฤษฎีหรือที่เรียกว่า cognitive mind ส่วนอีกสองด้านเป็นพลังด้านมนุษย์สัมผัสมนุษย์ นอกจากนี้แล้วครูต้องรู้จักว่าการจัดการศึกษาทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ที่นักเรีย นต้องเรียนรู้มีอะไรบ้าง ในสาระวิชาหลักที่นักเรียนต้องเรียนได้แก่ ภาษาแม่ และภาษาโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ รัฐ และความเป็นพลเมืองดี ส่วน หัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 ที่นักเรีย นต้องเรียน คือ ความรู้เกี่ยวกับโลก ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี ความรู้ด้านสุขภาพ ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้แล้วต้องมีทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรมอีก 3 ด้าน คือ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และ เทคโนโลยี ได้แก่ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี พร้อมทั้งทักษะชีวิต และอาชีพ 5 อย่าง คือ ความยืดหยุ่นและปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคม และสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผลิต (productivity) และความรับผิดรับชอบเชื่อถือได้ (accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (responsibility) นอกจากนั้นแล้วโรงเรียนและครูต้อง จัดระบบสนับสนุนการเรียนรู้เกี่ยวกับมาตรฐานและการประเมินในยุคศตวรรษที่ 21 หลักสูตรและการเรียน การสอนสาหรับศตวรรษที่ 21 การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนใน ศตวรรษที่ 21 ด้วย เมื่อครูรู้ถึงลักษณะของเด็กในศตวรรษที่ 21 เข้าใจแนวคิดของนักการศึกษา และสาระวิชาที่ นักเรียนต้องเรีย นรู้แล้ว วิถีการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 นั้น นอกจากครูต้องทาหน้าที่ในการเอาใจใส่ ต่อนักเรียนแล้ว ครูยังต้องมีทักษะในการ “จุดไฟ” ในใจนักเรีย นให้รักการเรียนรู้ ให้สนุกกับการเรียนรู้ หรือ ให้การเรียนรู้สนุกและกระตุ้นให้อยากเรียนรู้ต่อไปตลอดชีวิต ครูจึงต้องยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก” ใน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของเด็ก ครูต้องตอบได้ว่า นักเรียนได้เรีย นอะไร และเพื่อให้ได้เรียนสิ่งเหล่านั้น ครู ต้องทาอะไร ไม่ทาอะไร จึงจะไม่ทาหน้าที่ครูผิดทาง นักเรียน เรียนสนุกหรือๆ ไม่ หรือเรียนแบบขาด ทักษะสาคัญ การเรียนรู้ใ นศตวรรษที่ 21 ต้อง “ก้าวข้ามสาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะเพื่อการ ดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21” ครูต้องไม่สอน นักเรีย นต้องเรียนเอง แต่ครูต้องออกแบบการเรียนรู้ และ อานวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ให้นักเรีย นเรียนรู้จากการเรียนแบบลงมือทา แล้วการเรียนรู้ก็ จะเกิดจากภายในใจและสมองของนักเรียนเอง การเรียนรู้แบบนี้เรียกว่า PBL (Project-Based Learning) ดังนั้นครูต้องเรียนรู้ทักษะในการออกแบบการเรียนรู้แบบ PBL ให้เหมาะแก่วัยหรือพัฒนาการของนักเรียน MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
29
สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันการ เรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของนักเรีย น โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของ การเรียนรู้ของตนเองได้ วิธีการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมในศตวรรษที่ 21 อีกวิธีหนึ่ง คือ IBL (Inquiry-Based Learning) เป็นวิธีการเรียนรู้โดยให้นักเรียนได้ฝึกตั้งคาถาม ทาความชัดเจนของคาถาม แล้วดาเนินการหา คาตอบเอาเอง เป็นการเรียนที่เรียกว่า Open Learning คือ ไม่มีคาถามและคาตอบตายตัว เป็นรูปแบบ การเรียนที่นักเรีย นได้ฝึกฝนความริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการเพื่อบ่มเพาะส่งเสริมความริเริ่มสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างลึกซึ้ง (critical thinking) และการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเป็นทีม (collaborative learning) นักเรียนสร้างความรู้จากการปฏิบัติด้วยตนเอง ซึ่งมีข้อดี คือ ทาให้การเรียนเป็นเรื่องสนุก ตื่นเต้น ไม่น่าเบื่อ แต่การเรียนแบบนี้จะให้ได้ผลจริง ๆ ครูต้องมีทักษะในการออกแบบโจทย์และกระบวนการ รวมทั้งบรรยากาศ แวดล้อม ที่สาคัญที่สุด ครูต้องชวนนักเรียนดาเนินการ “ถอดบทเรีย น” (reflection หรือ AAR) ว่าสิ่งที่ นักเรียนประสบจากกิจกรรมนั้น ๆ มีความหมายอย่างไร หากมองจากมุมของสาระวิชา และหากมองจากมุม ของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มองว่า การทาความเข้าใจ หรือเรียนรู้ทฤษฎี และวิธีปฏิบัติในเรื่อง IBL จะช่วย ให้ครูดาเนินการสอนแบบ PBL ได้อย่างมีคุณค่าต่อนักเรียนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถตั้งโจทย์วิจัยใน ชั้นเรียน ที่มีพลังมีคุณค่า นาไปสู่ผลงานวิจัยการจัดการเรียนรู้ที่มีการสร้างความรู้ เคล็ดลับอย่างหนึ่งที่นายแพทย์วิจารณ์ พานิช ได้ให้ข้อเสนอแนะเอาไว้ในการฝึกฝนนักเรียน คือ การฝึกตั้งคาถาม การตั้งคาถามที่ถูกต้องสาคัญกว่าการหาคาตอบ ดังนั้นครูจึงต้องชวนนักเรียนหรือเปิด โอกาสให้นักเรียนได้ตั้งคาถามแปลก ๆ และชวนกันหาทางทดลองหรือค้นคว้าเพื่อตอบคาถามนั้น ทุกโอกาส ของทุกกิจกรรม นักเรียนควรได้เรียนรู้ว่าคาถามที่ถูกต้องเป็นอย่างไร และนาไปสู่การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ครู ชักชวนนักเรียนร่วมกันหาคาตอบที่นาไปสู่การเรีย นรู้หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หัวใจของเรื่องนี้คือ จิตวิญญาณ ของความไม่รู้ หรือไม่รู้จริง หรือไม่เชื่อง่าย แล้วหาทางพิสูจน์เพื่อท้าทายความรู้เดิม ๆ ทั้งของตนเองและของ โลก มีความเข้าใจผิดที่เชื่อกันแพร่หลายในวงการศึกษาว่า นักเรีย นต้องเรีย นความรู้รายวิชาจนเข้าใจ คล่องแคล่วก่อน แล้วจึงจะสามารถนาความรู้นั้นไปใช้งานได้ ผลการวิจัยสมัยใหม่บอกว่า การเรียนโดย ประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อเรียนรู้ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหาและความริเริ่มสร้างสรรค์ ไปพร้อม ๆ กับเรียนเนื้อหา ให้ผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนรู้สูงกว่า เพราะเด็กมีความตั้งใจเรียนมากกว่าทฤษฎี ใหม่คัดค้านทฤษฎีเก่าโดยสิ้นเชิงว่า การเรียนรู้ไม่ได้มีลักษณะเรียงเป็นแถว จากเรียนรู้ทักษะหรือความรู้ พื้นฐานไปสู่การเรียนรู้ทักษะที่ซับซ้อน (จากความรู้ (knowledge) ไปสู่ความเข้าใจ (comprehension) การประยุกต์ใช้ (application) การวิเคราะห์(analysis) การสังเคราะห์(synthesis) และการประเมิน (evaluation) ตามลาดับ แต่ในความเป็นจริงการเรีย นรู้เป็นกระบวนการที่ซับซ้อน และการเรียนรู้จริงต้อง เลย (beyond) การรู้เนื้อหาไปสู่ความเข้าใจแท้จริงในระดับที่เอาไปใช้ได้ในสถานการณ์จริง การเรียนรู้เนื้อหา ไปพร้อม ๆ กับการใช้ประโยชน์ใ นสถานการณ์จริง หรือเรียนทุกขั้นตอนในวงเล็บข้างบนไปพร้อม ๆ กันใน สถานการณ์จริง จึงให้ผลการเรียนรู้ที่ลึกและเชื่อมโยงกว่าคือ รู้จริง ขั้นตอนการเรีย นรู้จากผลการวิจัยในยุค ปัจจุบันคือ จาได้ (remember) เข้าใจ (understand) ประยุกต์ใช้ (apply) วิเคราะห์ (analyze) ประเมิน (evaluate) และสร้างสรรค์ (create) โดยที่ขั้นตอนเหล่านี้เกิดพร้อม ๆ กันได้ หรืออะไรเกิดก่อนเกิดหลังได้ ทั้งสิ้น รวมทั้งเกิดเรียงลาดับจากหลังไปหน้าก็ได้ ดังนั้นในการจัดการศึกษาครูต้องเข้าใจปัจจัยและยึดหลักสาคัญในการจัดการเรีย นรู้ กล่าวคือ 1) ครูต้องออกแบบการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนในสภาพที่ใกล้เคียงชีวิตจริงมากที่สุด นักเรียนจึงจะได้การเรียนรู้ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
30
ในมิติที่ลึกและกว้ากว่าการเรีย นในห้องเรียนที่เป็นเพียงการเรีย นแบบสมมุติ 2) การจัดการเรียนรู้ให้เป็นการ เรียนรู้ในระดับการสร้างกระบวนทัศน์ การอบรมบ่มนิสัย หรือการปลูกฝังความเชื่อหรือค่านิยม เป็นการ นาเอาประสบการณ์มาสั่งสมจนเกิดเป็นกระบวนทัศน์ ทาให้ละจากความเชื่อเดิม หันมายึดถือความเชื่อหรือ กระบวนทัศน์ใหม่ เป็นการเรียนรู้ (how to learn, how to unlearn/ delearn, how to relearn) ที่ทา ให้เป็นคนที่มีความคิดเชิงกระบวนทัศน์ชัดเจน และเกิดการเรีย นรู้เชิงกระบวนทัศน์ใหม่ได้ แต่การจะมีทักษะ หรือความสามารถขนาดนี้ จาเป็นต้องมีความสามารถรับรู้ข้อมูลหลักฐานใหม่ ๆ และนามาสังเคราะห์เป็น ความรู้เชิงกระบวนทัศน์ใหม่ได้ 3) การเรียนรู้ที่แท้จริงต้องขับดันด้วยฉันทะที่อยู่ภายใน ครูจะทาอย่างไรจึง จะช่วยให้นักเรียนเกิดความพอใจจนเกิดแรงขับจากภายในที่จะเรีย นรู้ 4) ครูต้องคานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของนักเรีย น ครูควรมีการจัดการเรียนรู้ส่วนหนึ่งเป็นการเรีย นรู้เฉพาะตัว 5) การเรียนรู้เป็น กิจกรรมทางสังคม ดังนั้นครูต้องออกแบบกระบวนการทางสังคมเพื่อให้ศิษย์เรียนสนุก เกิดนิสัยรักการเรียน และสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย ในการจัดกระบวนการเรีย นรู้ครูต้องยึดความสมดุลจึงจะส่งผลให้การจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียน เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป้าหมายการเรียนในศตวรรษที่ 21 คือ การปูพื้นฐาน ความรู้และทักษะ สาหรับการมีชีวิตที่ดีในภายหน้า ลักษณะของการเรีย นรู้จึงเป็นสมดุลระหว่างคุณลักษณะในตารางฝั่งซ้ายและ ขวา 15 ประการ ดังนี้ ขึ้นกับครู/ครูเป็นตัวตั้ง (Teacher-directed) สอน ความรู้ เนื้อหา ทักษะพื้นฐาน ข้อความจริงและหลักการ ทฤษฎี หลักสูตร ช่วงเวลา เหมือนกันทั้งห้อง (One-size-fits-all) แข่งขัน ห้องเรียน ตามตารา สอบความรู้ เรียนเพื่อโรงเรียน
เด็กเป็นหลัก (Leaner-centered) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ กระบวนการ ทักษะประยุกต์ คาถามและปัญหา ปฏิบัติ โครงการ ความต้องการ เหมาะสมรายบุคคล (Personalized) ร่วมมือ ชุมชนทั่วโลก ใช้เว็บ ทดสอบการเรีย นรู้ เรียนเพื่อชีวิต
จากตารางข้างต้นครูต้องใช้ทั้งแนวทางฝั่งขวาและฝั่งซ้ายอย่างสมดุล คือ ต้องยึดถือแนวทาง both and (ไม่ใช่ either - or) ซึ่งเป็นแนวทางของระบบที่ซับซ้อนและปรับตัว ยิ่งนับวันสมดุลนี้ จะให้น้าหนักซีก ขวามากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อโลกเปลี่ยนแปลงไปสมองเด็กก็เปลี่ยนด้วย สาหรับพลังการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ งานที่เน้นความรู้ เครื่องมือดิจิตัล วิถีชีวิต ผลการวิจัยด้านการเรียนรู้ และความต้องการทักษะใน การดารงชีวิตสมัยใหม่ ได้แก่ การแก้ปัญหา ความสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรม การสื่อสาร การร่วมมือ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
31
ความยืดหยุ่น และอื่น ๆ พลังเหล่านี้เรียกร้องให้การเรียนรู้ในโรงเรียนต้องให้น้าหนักซีกขวามากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นครูต้องเรียนรู้ทดลองวิธีปฏิบัติหน้าที่อยู่ตลอดเวลา โดยครูกับครูจะต้องมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รวมกันเป็นชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ เพื่อที่ครูจะได้ไม่เดียวดาย มีเพื่อนร่วมทาง ร่วมอุดมการณ์ ร่วมเรียนรู้และบากบั่น ในการจัดการเรีย นรู้นั้น ครูจาเป็นต้องกาหนดเป้าหมายและออกแบบวิธีการให้สอดคล้องกัน ตัวอย่างเช่น 1. การออกแบบการเรียนรู้ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การออกแบบการเรียนรู้ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ควรมีเป้าหมาย และวิธีการดังต่อไปนี้ เป้าหมาย : นักเรียนสามารถใช้เหตุผล - คิดได้อย่างเป็นเหตุเป็นผลหลากหลายแบบ ได้แก่ คิดแบบอุปนัย (inductive) คิดแบบ อนุมาน (deductive) เป็นต้น แล้วแต่สถานการณ์ เป้าหมาย : นักเรียนสามารถใช้กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ (systems thinking) - วิเคราะห์ได้ว่าปัจจัยย่อยมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร จนเกิดผลในภาพรวม เป้าหมาย : นักเรียนสามารถใช้วิจารณญาณและตัดสินใจ - วิเคราะห์และประเมินข้อมูลหลักฐาน การโต้แย้ง การกล่าวอ้างและความเชื่อ - วิเคราะห์เปรียบเทียบและประเมินความเห็นหลัก ๆ - สังเคราะห์และเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศกับข้อโต้แย้ง - แปลความหมายของสารสนเทศและสรุปบนฐานของการวิเคราะห์ - ตีความและทบทวนอย่างจริงจัง (critical reflection) ในด้านการเรียนรู้ และกระบวนการ เป้าหมาย : นักเรียนสามารถแก้ปัญหาได้ - ฝึกแก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคยหลากหลายแบบ ทั้งโดยแนวทางที่ยอมรับกันทั่วไป และแนวทางที่ แหวกแนว - ตั้งคาถามสาคัญที่ช่วยทาความกระจ่างให้แก่มุมมองต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ทางออกที่ดีกว่า การเรียนทักษะเหล่านี้ทาโดย PBL (Project-Based Learning) และต้องเรียนเป็นทีม ไม่ใช่เรียนจากครูสอน ในชั้นเรีย น 2. การออกแบบการเรียนรู้ทักษะการสื่อสารและความร่วมมือโลกในศตวรรษที่ 21 ต้องการทักษะ ของการสื่อสารและความร่วมมือที่กว้างขวางและลึกซึ้งกว่าโลกสมัยก่ อนอย่างเทียบกันไม่ได้เลย เป็นผลจาก เทคโนโลยีดิจิตอล และเทคโนโลยีการสื่อสาร (digital & communication technology) การออกแบบการ เรียนรู้ทักษะการสื่อสารและความร่วมมือ ควรมีเป้าหมายและวิธีการดังต่อไปนี้ เป้าหมาย : ทักษะในการสื่อสารอย่างชัดเจน - เรียบเรียงความคิดและมุมมอง (idea) ได้เป็นอย่างดี สื่อสารออกมาให้เข้าใจง่ายและงดงาม และมีความสามารถสื่อสารได้หลายแบบ ทั้งด้วยวาจา ข้อเขียน และภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูดและเขียน เช่น ท่าทาง สีหน้า - ฟังอย่างมีประสิทธิผล เกิดการสื่อสารจากการตั้งใจฟัง ให้เห็น ความหมาย ทั้งด้านความรู้ คุณค่า ทัศนคติ และความตั้งใจ - ใช้การสื่อสารเพื่อบรรลุเป้าหมายหลายด้าน เช่น แจ้งให้ทราบ บอกให้ทา จูงใจ และชักชวน - สื่อสารอย่างได้ผลในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย รวมทั้งในสภาพที่สื่อสารกันด้วยหลายภาษา MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
32
เป้าหมาย : ทักษะในการร่วมมือกับผู้อื่น - แสดงความสามารถในการทางานอย่างได้ผล และแสดงความเคารพให้เกียรติทีมงาน ที่มีความหลากหลาย - แสดงความยืดหยุ่นและช่วยประนีประนอมเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกัน - แสดงความรับผิดชอบร่วมกันในงานที่ต้องทาร่วมกันเป็นทีมและเห็นคุณค่าของบทบาทของผู้ ร่วมทีมคนอื่น ๆ 3. การออกแบบการเรียนรู้ทักษะด้านความสร้างสรรค์และนวัตกรรม โลกในศตวรรษที่ 21 เป็นโลกที่ไม่หยุดนิ่ง เกิดการเปลี่ย นแปลงรวดเร็ว (และบางครั้งพลิกผัน) คนที่จะอยู่ได้อย่างสอดคล้องกับสังคม ในยุคใหม่จึงต้องฝึกความสร้างสรรค์และนวัตกรรม ซึ่งที่จริงมีอยู่แล้วใน ความเป็นมนุษย์แต่การเรีย นรู้และการฝึกฝนที่ดีจะช่วยให้แหลมคม ฉับไว และอดทน คนที่มีทักษะนี้สูงจะได้ งานที่ดีกว่า ชีวิตก้าวหน้ากว่า และจะทาประโยชน์ให้แก่สังคมและแก่โลกได้ดีกว่า ความผิดพลาดอย่างยิ่งของ การศึกษา คือ การทาให้การทาผิดเป็นเสมือนสิ่งชั่วร้าย ท่าทีเช่นนี้มีผลลดทอนความสร้างสรรค์ของเด็ก ความเข้าใจผิดที่จะต้องแก้คือคนมักคิดว่าความสร้างสรรค์เป็นเรื่องของอัจฉริยะซึ่งเป็นคนจานวนน้อย ในความ เป็นจริงแล้วทุกคนมีความสร้างสรรค์อยู่แล้วในรูปของจินตนาการ และการศึกษาต้องเพิ่มความสร้างสรรค์ ของเด็กและของประชากรไทยทุกคน ความเข้าใจผิดประการที่สองคือ คิดว่าความสร้างสรรค์เป็นเรื่องของ คนอายุน้อย ซึ่งไม่จริงเสมอไป เขายกตัวอย่าง ปิกาสโซ่ (Picasso) จิตรกร ผู้ยิ่งใหญ่นั้น ประสบความสาเร็จ ตอนอายุมาก และความเข้าใจผิดประการที่สามคือ คิดว่าความสร้างสรรค์เป็นพรสวรรค์เท่านั้น ในความเป็น จริงคือ มันเป็นทั้งพรสวรรค์และพรแสวง โรงเรียนสามารถฝึกฝนความสร้างสรรค์ให้เด็กได้ด้วยการสร้าง บรรยากาศที่ส่งเสริม การตั้งคาถาม มีความอดทนและเปิดกว้างต่อมุมมองแปลก ๆ มีความไว้เนื้อเชื่อใจ ระหว่างกัน และเรียนรู้จากความผิดพลาดหรือความล้มเหลว วิธี หนึ่งของการฝึกความสร้างสรรค์คือ การจัด แข่งขันโครงการออกแบบการออกแบบการเรียนรู้ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ควรมีเป้าหมายและ วิธีการดังนี้ เป้าหมาย : ทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ - ใช้เทคนิคสร้างมุมมองหลากหลายเทคนิค เช่น การระดมความคิด (brainstorming) - สร้างมุมมองแปลกใหม่ ทั้งที่เป็นการปรับปรุงเล็กน้อยจากของเดิม หรือเป็นหลักการที่แหวก แนวโดยสิ้นเชิง - ชักชวนกันทาความเข้าใจ ปรับปรุง วิเคราะห์ และประเมินมุมมองของตนเอง เพื่อพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดอย่างสร้างสรรค์ เป้าหมาย : ทักษะในการทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ - พัฒนา ลงมือปฏิบัติ และสื่อสารมุมมองใหม่กับผู้อื่นอยู่เสมอ - เปิดใจรับและตอบสนองต่อมุมมองใหม่ ๆ หาทางได้ข้อคิดเห็นจากกลุ่ม รวมทั้ง การประเมินผลงานจากกลุ่ม เพื่อนาไปปรับปรุง - ทางานด้วยแนวคิ ดหรือวิธีการใหม่ ๆ และเข้าใจข้อจากัดของโลกในการยอมรับมุมมองใหม่ - มองความล้มเหลวเป็นโอกาสเรีย นรู้ เข้าใจว่าความสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นเรื่องระยะยาว เข้าใจวัฎจักรของความสาเร็จเล็ก ๆ และความผิดพลาดที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ ว่าจะนาไปสู่การสร้างสรรค์และ นวัตกรรม เป้าหมาย : ประยุกต์สู่นวัตกรรม - ลงมือปฏิบัติตามความคิดสร้างสรรค์เพื่อนาไปสู่ผลสาเร็จที่เป็นรูปธรรม MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
33
จากสิ่งที่กล่าวมาแล้ว คงจะช่วยให้ครูทราบว่าวิถีการจัดการเรียนรู้สาหรับนักเรียนในศตวรรษที่ 21 เป็นอย่างไร ครูก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อให้เป็น “ครูในศตวรรษที่ 21” เพื่อเตรียมคนที่มีความรู้ ออกไปเป็นคนทางานที่ใช้ความรู้ (knowledge worker) และเป็นบุคคลพร้อมเรียนรู้ (learning person) ดังนั้นมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 จึงต้องมีทักษะสูงในการเรีย นรู้และปรับตัว ครูก็ต้องมีการพัฒนาตนเองให้มี ทักษะการเรีย นรู้ และในขณะเดียวกันก็ต้องมีทักษะในการทาหน้าที่ครูในศตวรรษที่ 21 ด้วย ทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ที่คนทุกคนต้องเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C ดังนี้ R1 คือ Reading (อ่านออก) R2 คือ (W)Riting (เขียนได้) R3 คือ (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น) C1 คือ Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) C2 คือ Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) C3 คือ Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวน ทัศน์) C4 คือ Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือการทางานเป็น ทีม และภาวะผู้นา) C5 คือ Communications, information & media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) C6 คือ Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร) C7 คือ Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ ) จากที่กล่าวมาทั้งหมดที่ระบุถึงลักษณะของนักเรียนในยุคใหม่ แนวคิดของนักการศึกษาในการ พัฒนาสมองห้าด้าน แนวทางการกาหนดหลักสูตรทางการศึกษาที่นักเรียนควรได้เรียนรู้เหมือนกันทั่วโลก แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่าน PBL หรือ การเรีย นรู้จากการสืบเสาะความรู้ โดยให้ นักเรียนได้ฝึกตั้งคาถามในสถานการณ์แปลก ๆ การหาแนวทางในการตอบคาถาม และสิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้อง เรียนรู้ตลอดชีวิต คือ 3R x 7C ล้วนเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นว่าประเทศไทยจะต้องมีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรใหม่ ครูจะต้องมีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาเปลี่ยนวิสัยทัศน์ในการจัดการเรีย นรู้ ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน และมีเวลาให้นักเรียนเพิ่มมากขึ้นจึงจะสามารถสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21 ได้ เอกสารอ้างอิง วิจารณ์ พานิช. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี -สฤษวงศ์. 2555. วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรืองและอธิปจิตตฤกษ์ (แปล). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Open Worlds. 2554. MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
34
บทบาทของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและเครือข่ายสังคม ต่อความก้าวหน้าของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นายสัมฤทธิ์ สันเต* นิสิตปริญญาเอก รุ่นที่ 5 สาขาหลักสูตรและการสอน บทนา แนวคิดการพัฒนาชุมชนในอดีตมีความเชื่อเบื้องต้นว่าประชาชนส่วนใหญ่ในชนบทของประเทศ ยังล้าหลัง ด้อยการศึกษา ขาดจิตสานึกในการพัฒนาท้องถิ่น มีฐานะยากจน และขาดแคลนปัจจัยต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการดารงชีพ ภาครัฐจึงจาเป็นจะต้องผลักดันนโยบายและทรัพยากร ตั้งแต่ทิศทางการพัฒนา วิธีการทางาน ความรู้ การบริหารจัดการ ฯลฯ เข้าไปสู่ชุมชนในลักษณะของการพัฒนาจากบนลงล่าง (Top Down) ทั้งที่ในความเป็นจริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ เพราะประชาชนส่วนใหญ่ในชนบทเป็นผู้มีความคิด มีความรู้ มีประสบการณ์ มีจิตสานึกในการพัฒนาชุมชนและสามารถพึ่งพาตนเองได้แล้วในระดับหนึ่ง การพัฒนาชุมชน ตามแนวทางของรัฐในอดีตจึงมิอาจตอบสนองต่อความต้องการและความจาเป็นที่แท้จริงของชุมชนได้ หลายครั้ง หลายคราวที่พบว่าการพัฒนาชุมชนที่ภาครัฐเป็นผู้คิดแทนและกาหนดทิศทางไว้แล้วนั้นเป็นไปอย่างสูญเปล่า เนื่องจากลืมไปว่าในการพัฒนาชุมชนนั้น ผู้ที่สามารถตอบได้ดีที่สุดว่าชุมชนมีปัญหาหรือมีความต้องการอะไรก็ คือคนในชุมชนนั้นนั่นเอง ปัจจุบันหลาย ๆ หน่วยงานปรับแนวคิดในการพัฒนาชุมชนเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริง โดยยึดหลักการพัฒนาจากล่างขึ้นบน (Bottom Up) ให้ชุมชนเป็นผู้คิดและมีส่วนร่วมในการทางานตั้งแต่เริ่ม กาหนดนโยบาย จนสิ้นสุดขั้นตอนสุดท้ายในการติดตามประเมินผล ซึ่งการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ หรือ การพัฒนาที่เน้นให้สมาชิกชุมชนรู้จักคิดวิเคราะห์ด้วยเหตุด้วยผล และใช้ความรู้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนา ศักยภาพในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ก็เช่นเดียวกัน ผลจากการพัฒนาที่เป็นอยู่ใน ปัจจุบันแสดงให้เห็นแล้วว่า การนาความรู้จากภายนอกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไปยัดเยียดให้กับชุมชน จะเป็น ประโยชน์ก็เพียงแค่ชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้น ไม่สามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่ยั่งยืน และไม่อาจนาพา ประเทศไปสู่สังคมแห่งการเรีย นรู้ในทิศทางที่ต้องการได้ หากแต่การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การทางานจากเดิม มาเป็นการประสานความรู้ที่มีอยู่แล้วภายในชุมชนและความรู้ หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ จากภายนอกชุมชนเข้า ด้วยกัน เพื่อแก้ไขปัญหาโดยยึดพื้นที่และความต้องการของชุมชนเป็นหลัก โดยหน่วยงานภาครัฐหรือองค์การ พัฒนาเป็นเพียงผู้มีบทบาทในการประสานและผลักดันกระบวนการมีส่วนร่วมน่าจะเป็นทางออกที่ส่งผลต่อการ พัฒนาในระยะยาวและยั่งยืนมากกว่า หลักการประสานความรู้เพื่อพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ หลักของการประสานความรู้จากภายในและภายนอกชุมชนเข้าไปใช้ประโยชน์และสร้างกระบวนการ เรียนรู้ของชุมชน ไม่เพียงแต่เพื่อแก้ไขปัญหาและสนองตอบต่อความต้องการของชุมชนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แต่ควรจะเป็นไปในลักษณะของการบูรณาการที่มีการพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม กระบวนการเรียนรู้ และค่านิยมอันดีงาม ดังนี้ 1. การเสริมสร้างกระบวนการเรีย นรู้แบบมีส่วนร่วม ที่เน้นการเรียนรู้นอกห้องเรีย น เพื่อเพิ่มทักษะ และความสามารถของสมาชิกชุมชน ลดช่องว่างทางความรู้ระหว่างชุมชนเมืองและชุมชนชนบท และให้เกิด วัฒนธรรมการเรีย นรู้ตลอดชีวิตที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน โดยให้ความสาคัญกับการใช้ชุมชนเป็นฐานของการ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
35
เรียนรู้ เปิดโอกาสให้เข้าถึงความรู้ในทางตรงได้โดยง่าย ฝึกให้คิดเป็น ทาเป็น รวมทั้ง ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของชุมชนอย่างเป็นระบบตลอดกระบวนการ ตั้งแต่การวิเคราะห์ปัญหา การแนะนา การทดสอบ การสาธิต การตัดสินใจ การยอมรับและการประเมินผล โดยเฉพาะการปฏิบัติร่วมกันในทุกขั้นตอน เพื่อให้เกิดจิตสานึก ร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น 2. การรักษาและเสริมสร้างศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ภายในชุมชน เน้นการถ่ายทอดและ นาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ทั้งต่อการวิจัยพัฒนาต่อยอด และการผลิตแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ โดยการ สืบหา พัฒนาระบบการจัดเก็บเพื่อรวบรวมและจัดทาเป็นฐานข้อมูลทางความรู้ ตลอดจนสร้างหลักประกัน ด้านสังคมให้ปราชญ์ชาวบ้าน อาทิ การสนับสนุนเงินทุนในการรักษาและถ่ายทอดภูมิปัญญา สนับสนุนการใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งความหลากหลายของศิลปะและวัฒนธรรมไทยทั้งที่เป็นวิถีชีวิต ค่านิยมที่ดีงาม และ ความเป็นไทยเพื่อการศึกษา เรียนรู้ ฟื้นฟู พัฒนา ถ่ายทอดและเผยแพร่สู่สังคมโลก 3. การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการเชื่อมโยงองค์ความรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจน พันธมิตรด้านกิจกรรมการพาณิชย์ระหว่างชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน 4. การสร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น โดยให้ ความสาคัญกับการสร้างจิตสานึกและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิตอย่าง ถูกวิธี ประหยัดและมีประสิทธิภาพ สนับสนุนให้ชุมชนมีทางเลือกทาการผลิตทางการเกษตรที่หลากหลาย โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ 5. การสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชนและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การยกระดับคุณภาพ มาตรฐานการผลิต/ผลิตภัณฑ์ การเพิ่มผลิตภาพผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ชุมชน การเพิ่มความสามารถในการ ประกอบอาชีพ และเพิ่มโอกาส/ทางเลือกในการทาอาชีพเสริม ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกรรายย่อยของ ชุมชนในรูปแบบกลุ่มองค์กรเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน การพัฒนาและเสริมสร้างทักษะ ขีดความสามารถ รวมทั้งหลักการบริหารจัดการที่ดีแก่กลุ่มที่มีศักยภาพและความพร้อมในการผลิตเชิงพาณิชย์เพื่อนาไปสู่การ ขยายผลในเชิงอุตสาหกรรม ตลอดจนการเชื่อมโยงต่อยอดห่วงโซ่การผลิตถึงขั้นเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อให้ ผลผลิตและผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ (Valued Added) โดยราคาต่อหน่วยสูงขึ้น ต้นทุนการผลิต ลดลง และหรือรายได้เพิ่มขึ้น รายจ่ายลดลง นอกเหนือจากการถ่ายทอดความรู้ตามความต้องการที่แท้จริงของชุมชนแล้ว การสร้างชุม ชนแห่งการ เรียนรู้จะเป็นไปโดยสมบูรณ์ไม่ได้ หากสมาชิกชุมชนเหล่านั้นไม่ฝึกฝนตนเองให้มีหลักคิด โดยใช้เหตุผลทาง วิทยาศาสตร์และพัฒนาการเรีย นรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง ด้วยการแสวงหา สร้าง พัฒนา จัดการและนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นระบบ ดังนั้น ภาครัฐจึงมีบทบาทสาคัญที่จะต้องกระตุ้นให้ชุมชนพัฒนา กระบวนการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ ด้วยการชี้ให้เห็นความสาคัญ การสร้างโอกาสในการเข้าถึงความรู้ที่ หลากหลาย ภายใต้กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมที่เหมาะสม มุ่งให้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงที่สัมพันธ์ กับการดารงชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไป รวมทั้งสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชนเพื่อเป็นทางเลือกในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสามารถอยู่ร่วมกันกับสังคมอื่นอย่างเข้าใจ กิจกรรมการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับการดารงชีวิตของชุมชนดังกล่าวนั้น ต้องคานึงถึงพื้นฐานดั้งเดิม หรือมี การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเฉพาะในส่วนที่ต้องการจะพัฒนาให้ดีขึ้น ไม่ได้เป็นการเปลี่ยนแปลงอาชีพหรือวิธี ปฏิบัติทั้งหมดในคราวเดียว หากต้องการจะเปลี่ยนต้องให้แน่ใจว่าจะเป็นผลดีต่อชุมชนจริง ๆ ที่สาคัญคือ ควรต้องเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่นอกจากจะเพิ่มพูนสติปัญญาให้เท่าทันกับการเปลี่ย นแปลงต่าง ๆ แล้ว ยังควรต้องส่งผลต่อการพัฒนาโดยรวม อาทิ การมีครอบครัวที่อบอุ่น พร้อมหน้า ได้รับการยอมรับในสังคม MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
36
การมีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาที่ธารงอยู่อย่างยั่งยืน การมีสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณภาพและ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ด้วย ขณะเดียวกันก็ต้องไม่ละเลยกิจกรรมที่สร้างความเข้มแข็งให้กับสังคม เพื่อให้ สมาชิกชุมชนมีความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน มีความรู้สึกรักหวงแหนผืนแผ่นดินเกิด และมีจติ มุ่งมั่นที่จะพัฒนา ชุมชนให้ดียิ่งขึ้น การดาเนินการในประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ไม่สามารถที่จะดาเนินการโดยหน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่งแต่เพียงลาพังหรือต่างคนต่างทาดังเช่นในอดีตได้ เพราะนอกจากจะสิ้นเปลืองงบประมาณแล้ว ยังทาให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปอย่างล่าช้าและไม่ครอบคลุมในทุกบริบทด้วย ความจริงใจและการสร้างความ ไว้เนื้อเชื่อใจเป็นสิ่งที่หน่วยงานต่าง ๆ จะต้องคานึงถึงเพราะจะช่วยกระตุ้นและทาให้ชุมชนเต็มใจที่จะร่วม ดาเนินงาน การมีหน่วยงานสนับสนุนที่เข้มแข็งและได้รับความไว้วางใจจะทาให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปราบรื่น รวดเร็ว การเข้าไปทางานร่วมกับชุมชนจะต้องสร้างการยอมรับให้ได้ว่าหน่วยงานภาครัฐและชุมชนนั้น ๆ เป็น พวกพ้องเป็นพี่เป็นน้อง ที่จะมาร่วมกันทางานเพื่อพัฒนาชุมชน ไม่ได้เข้าไปเพื่อหาผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็น ผลประโยชน์ทางตาแหน่งหน้าที่ หรือผลประโยชน์ทางวิชาการ การให้ความกันเอง ไม่มีพิธรี ีรอง หรือยึดพิธีการ มากนักเป็นเรื่องสาคัญที่จะทาให้ชุมชนเกิดการยอมรับ ทั้งนี้จะต้องเป็นไปโดยธรรมชาติ ไม่เสแสร้ง นอกจากนี้ ความต่อเนื่องของการดาเนินงานเป็นสิ่งที่สาคัญ เพราะไม่มีชุมชนใดที่จะเข้มแข็งอย่างยั่งยืนได้ด้วยการพัฒนา ในระยะเวลาสั้น ๆ อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องยากที่จะดาเนินการในด้านต่าง ๆ ให้เป็นไปต่อเนื่องได้ เนื่องจากมี ปัจจัยและองค์ประกอบหลายอย่างที่หน่วยงานภาครัฐต่างต้องประสบและรับทราบกันดี เช่น งบประมาณ ฯลฯ หากไม่สามารถส่งต่อการดาเนินงานให้หน่วยงานอื่น หรือหน่วยงานท้องถิ่นรับไปดาเนินการได้ ก็จะต้องทา ความเข้าใจและสร้างจิตสานึกให้กับชุมชนแต่แรกว่า ชุมชนจะต้องยืนอยู่ได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือ วช. ได้สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ตามแนวทางต่าง ๆ ข้างต้น พบว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่มีศักยภาพและมีโอกาสประสบผลสาเร็จ ต้องมีองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ 1. มีผู้นาที่ดี : จะต้องมีผู้นาการเปลี่ยนแปลงที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ การประสานงานและการกระตุ้นให้สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา 2. มีความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชน : มีสมาชิกชุมชนที่มีคุณภาพและมีจิตสานึกเพื่อส่วนรวม เข้ามาร่วมคิด ร่วมดาเนินการ ร่วมรับผิดชอบในทุกกระบวนการ 3. มีกระบวนการเรีย นรู้เพื่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง : จะต้องมีการเรียนรู้ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งต้องมีการถ่ายทอดความรู้ระหว่างชุมชน อย่างสม่าเสมอ 4. มีศักยภาพความพร้อมในเรื่องพื้นฐานอาชีพ : จะต้องมีความเข้มแข็งในการพึ่งพาตนเอง จึงต้อง ได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะความพร้อมในการประกอบอาชีพ โดยใช้ความรู้ในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้เกิดกรรมวิธี /สิ่งใหม่ หรือพัฒนาให้ดีกว่าเดิม 5. มีการสร้างระบบการจัดเก็บและการนามาใช้ขององค์ความรู้ที่ดี : ต้องมีระบบการเก็บความรู้ทั้ง ความรู้ที่มีอยู่ภายในชุมชนและความรู้ภายนอกชุมชน รวมทั้งต้องรู้จักสร้างและนาความรู้ที่มีอยู่มาใช้ในการ พัฒนาด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ โดยเข้าใจได้ง่าย 6. มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในและนอกชุมชน : ต้องมีความร่วมมือในด้านทุน กิจกรรม วิชาการองค์ความรู้ ฯลฯ มีการจัดการกลุ่มและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพให้เกิดการพัฒนาอย่างเชื่อมโยง ประสานเกี่ยวเนื่อง ครอบคลุมการพัฒนาในทุกบริบท
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
37
การประสานงาน การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ เป็นการพัฒนาชุมชนอย่างบูรณาการ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง แสวงหาความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อระดมสรรพกาลังและแบ่งปันทรัพยากรเพื่อนาไปใช้ให้เกิดการ ปฏิบัติในทิศทางที่สอดประสานและเชื่อมโยง ด้วยเหตุนี้ การประสานงานจึงเป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่จะต้องเรียนรู้ เพื่อแสวงหาความร่วมมือและสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานและบุคลากรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค หรือแม้กระทั่งในระดับประเทศ ความหมายของการประสานงาน การประสานงาน หมายถึง การติดต่อสื่อสารให้เกิดความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือปฏิบัติงานอย่าง สมานฉันท์ ไม่ซ้าซ้อน ขัดแย้ง หรือเหลื่อมล้า รวมถึง กระบวนการในการแบ่งปันแลกเปลี่ย นข้อมูล ข่าวสาร ทรัพยากร ของคนหรือองค์กรที่มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกันหรือเกี่ยวข้องกัน และการจัดให้คนทางานร่วมกัน อย่างสัมพันธ์สอดคล้อง ผ่านกระบวนการกลุ่มโดยรวบรวมความสามารถแต่ละด้านที่บุคคลมีอยู่มาประสาน เพื่อให้เกิดการปฏิบัติใ นแนวทางเดียวกันกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย นโยบาย และ มาตรฐานการปฏิบัติขององค์กรหรือชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น วัตถุประสงค์ของการประสานงาน การประสานงาน มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้การปฏิบัติงานในแต่ละองค์กรบรรลุตามเป้าหมายตาม มาตรฐานที่กาหนดอย่างราบรื่น เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง ช่วยให้การดาเนินงานเป็นไปตาม แผนหรือทาให้การวางแผนมีความละเอียดรอบคอบมากยิ่งขึ้น ลดความซ้าซ้อน ขัดแย้งในการปฏิบัติ ประหยัดเวลา ทรัพยากรหรือเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร รวมทั้งเพื่อตรวจสอบสภาพปัญหา หรืออุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม การประสานงานในแต่ละครั้งนั้น จะประกอบด้วยวัตถุประสงค์เฉพาะ ซึ่งจะต้องกาหนดให้ชัดเจนว่าในการประสานงานนั้น ต้องการให้เกิดผลอย่างไรหรือเป็นอย่างไร ดังนี้ 1. เพื่อแจ้งให้ผู้ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องทราบ 2. เพื่อรักษาไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดี 3. เพื่อขอคายินยอมหรือความเห็นชอบ 4. เพื่อขอความช่วยเหลือ 5. เพื่อขจัดข้อขัดแย้งในการปฏิบัติ 6. เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ และทรัพยากรต่าง ๆ 7. เพื่อเชื่อมโยงบุคลากรในระดับต่าง ๆ ให้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์ติดต่อกัน 8. เพื่อให้เห็นปัญหาแก้ไขปัญหา อุปสรรค และเห็นประเด็นการพัฒนา 9. เพื่อเชื่อมโยงหน่วยงานวิจัย /วิชาการ หรือแหล่งทุน ให้กับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ 10. เพื่อให้ทราบว่ามีบุคคลหรือหน่วยงานใด ที่สนใจทางานในเรื่องเดียวกัน หรือมีปัญหาคล้าย ๆ กัน 11. เพื่อกระตุ้นผลัก ดันให้บุคลากรหรือองค์กรมีกาลังใจ มีแรงจูงใจ หรือได้รับการยอมรับ 12. เพื่อผลักดันนโยบาย สิ่งที่จะต้องประสาน ในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ จาเป็นจะต้องประสานงานกับทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยต้องประสานขอความร่วมมือในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ 1. การประสานความคิด โดยทุกฝ่ายต้องมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ ต้องร่วมกันแลกเปลี่ยน ความคิดในการกาหนดแผนดาเนินงานในทุกขั้นตอน MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
38
2. การประสานแผนงาน นอกจากการวางแผนดาเนินร่วมกันแล้ว ทุกฝ่ายต้องดาเนินการตามแผนที่ได้ บูรณาการไว้ และอาจต้องกาหนดเป็นแผนประจาของแต่ละหน่วยเพื่อนาไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนด้วย 3. การประสานด้านการเงิน วัสดุอุปกรณ์ การดาเนินงานในลักษณะบูรณาการหรือลักษณะหุ้นส่วน จาเป็นต้องมีการใช้งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และร่วมกันในบางกรณี 4. การประสานคน เพื่อร่วมมือดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผน โดยเฉพาะการดาเนินงานในพื้นที่ ต้อง อาศัยเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานต่าง ๆ ที่อยู่ประจาในแต่ละพื้นที่ ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดกับชุมชนและเป็นผู้ทราบข้อมูล ต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ง 5. การประสานเทคโนโลยี เป็นหัวใจสาคัญของการดาเนินงานสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการ แก้ไขปัญหาของชุมชนอย่างครบวงจร การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพียงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง คงจะไม่สามารถแก้ไข ปัญหาของชุมชนได้อย่างครอบคลุม เนื่องจากแต่ละชุมชนมีปัญหาความจาเป็นที่ต้องพัฒนาปรับปรุง หลากหลาย รูปแบบของการประสานงาน นักวิชาการได้แบ่งการประสานงานออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้ 1. การประสานงานภายในองค์กรและภายนอกองค์กร 2. การประสานงานภายในองค์กร เป็นการประสานงานในองค์กรหรือหน่วยงานเดียวกัน 3. การประสานงานภายนอกหน่วยงาน เป็นการประสานงานระหว่างหน่วยงาน 4. การประสานงานแบบเป็นทางการ, แบบไม่เป็นทางการและการประสานงานแบบผสม 4.1 การประสานงานที่เป็นทางการ เป็นการประสานงานตามหน้าที่และขอบเขตงานที่ รับผิดชอบ เป็นรูปแบบที่จะใช้วิธีทาหนังสือหรือมีลายลักษณ์อักษร มีขั้นตอน ข้อกาหนดตามระเบียบของ แต่ละหน่วยงาน จึงอาจก่อให้เกิดความล่าช้า ขาดสภาพคล่องและไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ แต่จะมีข้อดีคือ มีหลักฐานอ้างอิงหรือมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนแน่นอน 4.2 การประสานงานไม่เป็นทางการ ส่วนใหญ่จะเป็นการปฏิบัติงานในลักษณะสัมพันธ์ ใกล้ชิด เช่น การโทรศัพท์ การพบปะพูดคุย เพื่อลดขั้นตอนที่ต้องใช้เวลามาก ข้อดีของรูปแบบนี้คือมีความ ยืดหยุ่น สะดวก คล่องตัว สามารถให้ความชัดเจน ลดความเข้าใจผิด ข้อขัดแย้งและสร้างสัมพันธภาพที่ดีได้ มากกว่าการประสานงานที่เป็นทางการ แต่มีข้อเสีย คือ อาจเกิดการเลือกปฏิบัติ เกิดความสับสนและขาด หลักฐานอ้างอิง 4.3 การประสานงานแบบผสม เป็นการประสานงานโดยใช้รูปแบบไม่เป็นทางการและ รูปแบบที่เป็นทางการร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาความล่าช้าของขั้นตอนในสถานการณ์ที่ต้องเร่งดาเนินการ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการประสานงาน การประสานงานประกอบด้วยปัจจัยสาคัญที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ความร่วมมือ ในการประสานงานจะต้องสร้างสัมพันธภาพในการทางานร่วมกันของทุกฝ่าย โดยอาศัยความเข้าใจหรือการตกลงร่วมกัน มีการรวบรวมกาลังความคิด วิธีการ เทคนิค และระดมทรัพยากร มาสนับสนุนงานร่วมกัน เป็นการปฏิบัติงานเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายเดียวกัน เต็มใจที่จะทางานร่วมกัน และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อไปสู่เป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่ง การประสานงานไม่ควรจะกระทาโดยใช้อานาจสั่งการแต่อย่างเดียว ควรใช้ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เป็นหลัก เพราะความมีน้าใจต่อกัน ไว้วางใจกันจะเป็นผลให้เกิดการร่วมใจมากกว่าการใช้อานาจหน้าที่ พยายามผูกมิตรตั้งแต่ต้นและป้องกันไม่เกิดความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ มีความหวาดระแวงหรือกินแหนงแคลงใจ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
39
กัน ให้การยอมรับซึ่งกันและกัน ไม่นินทาว่าร้ายกัน ไม่โยนความผิดให้แก่ผู้อื่น เมื่อมีสิ่งใดจะช่วยเหลือแนะนา กันได้อย่าลังเล และพร้อมจะรับฟังคาแนะนาของผู้เกี่ยวข้องแม้จะไม่เห็นด้วยก็อย่าแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ เมื่อมี การเปลี่ยนแปลงก็ต้องแจ้งให้ทราบ 2. จังหวะเวลา จะต้องปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคนตามกาหนด เวลาที่ตกลงกันให้ตรงเวลา 3. ความสอดคล้อง จะต้องพิจารณาความเหมาะสมพอดี ไม่ทางานซ้อนกัน เพื่อช่วยให้การบริหารงาน ประสบความสาเร็จ 4. ระบบการสื่อสาร จะต้องมีการสื่อสารที่เข้าใจตรงกันอย่างรวดเร็ว และราบรื่น การติดต่อสื่อสาร เป็นสิ่งสาคัญสาหรับการประสานงานในการแลกเปลี่ย นข้อเท็จจริง ความคิดเห็นหรือความรู้สึก และ เป็นสื่อกลางที่จะเชื่อมโยงบุคคลต่าง ๆ ภายในหรือระหว่างหน่วยงานหรือองค์กรให้เป็นอันเดียวกัน 5. ผู้ประสานงาน จะต้องสามารถดึงดูดทุกฝ่ายเข้าร่วมทางานและสามารถขอความร่วมมือเพื่อตรง ไปสู่จุดหมายเดียวกันตามที่กาหนดเป็นวัตถุประสงค์ของงาน การสร้างทีมงานและเครือข่ายสังคม ทีมงาน (Team Work) หมายถึง บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปที่ทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เดียวกัน และผู้ปฏิบัติงานต่างก็พอใจในการทางานนั้น การทางานเป็นทีมกับการทางานเป็นกลุ่มมีความหมาย เหมือนกันในเรื่องจานวน คือ ทั้งกลุ่มและทีมจะมีสมาชิกทางานร่วมกันมากกว่า 1 คน แต่มีความแตกต่างกันที่ ความร่วมมือ กล่าวคือการทางานแบบกลุ่ม (Work Group) เป็นการรวมกลุ่มคนที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและ ช่วยเหลือกันในขอบข่ายความรับผิดชอบของแต่ละคน การทางานเป็นกลุ่มไม่จาเป็นที่จะต้องส่งเสริมซึ่งกัน และกัน และอาจไม่ต้องมีการเชื่อมโยงทรัพยากรระหว่างกัน ผลงานของกลุ่มก็คือผลงานของสมาชิกแต่ละคน รวมกัน ส่วนการทางานเป็นทีมงานนั้น กินความหมายมากกว่าการเอางานของแต่ละคนมารวมกันเฉยๆ เพราะ ผลงานของทีม เป็นผลจากการประสานความพยายามเป็นเนื้อเดียวกัน ดังนั้นทีมงานจึงต้องใช้ความพยายามใน การสร้างความรู้สึกเป็นใจหนึ่งใจเดียวกันพอสมควร ความจาเป็นในการสร้างทีมงาน การทางานเป็นทีมจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพภายในองค์กร ไม่เพียงแต่จะทาให้วัตถุประสงค์ขององค์กร บรรลุเป้าหมายเท่านั้น แต่ยังมีอิทธิพลต่อบรรยากาศของการทางานอีกด้วย โดยเฉพาะในการสร้างชุมชน แห่งการเรียนรู้ที่มีการบูรณาการความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน การทางานเป็นทีมถือได้ว่ามีความสาคัญยิ่ง ด้วยเหตุผลต่อไปนี้ 1. งานบางอย่างไม่สามารถทาสาเร็จได้เพียงลาพัง ต้องอาศัยความร่วมมือกันของทุกฝ่าย 2. ต้องอาศัยความรู้ความเชี่ยวชาญจากหลายฝ่าย โดยเฉพาะในการถ่ายทอดความรู้แบบสหสาขาวิชา ซึ่งนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะกระจายอยู่ในหลายหน่วยงาน 3. ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อคิดเห็น และรับฟังปัญหาความจาเป็นและแสวงหาวิธีแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ ร่วมกัน เพื่อให้เกิดการทางานที่เน้นความต้องการของพื้นที่เป็ นหลัก รวมทั้งให้ได้แนวทางในการทางาน ที่เหมาะสม 4. ช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้มีความผูกพันใกล้ชิดในฐานะหุ้นส่วน การพัฒนา ทาให้เกิดบรรยากาศของการมีส่วนร่วม ความสามัคคี 5. ช่วยสร้างขวัญและกาลังใจให้กับชุมชน ทาให้ชุมชนรู้สึกกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตนเอง MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
40
6. ช่วยสร้างการยอมรับ และเพิ่มพูนการยอมรับนับถือ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของภาครัฐในสายตา ของประชาชน 7. ช่วยให้เกิดการเสริมสร้างทักษะและความรู้ใหม่ ๆ จากการประสานเทคโนโลยีสมัยใหม่กับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้าด้วย 8. ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และเกิดการเลียนแบบ สืบต่อ สืบทอดแนวทางการปฏิบัติใน ลักษณะการปลูกฝังความคิดอย่างใกล้ชิด องค์ประกอบของการทางานเป็นทีม องค์ประกอบของการทางานเป็นทีมมีหลายประการ ได้แก่ 1. เป้าหมายที่เป็นที่ยอมรับร่วมกัน รวมถึงความรู้สึกของคนในทีมว่า ตนมีภาระที่ต้องทางานให้เพื่อมุ่ง ไปสู่จุดหมายปลายทางเดียวกัน 2. บทบาท จะต้องมีการกาหนดบทบาทของสมาชิกในทีมให้ชัดเจนว่าใครทาอะไร หรือมีหน้าที่อะไร และมีความรับผิดชอบเพียงใด โดยบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนจะต้องประสานสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของ สมาชิกในทีมคนอื่น ๆ รวมทั้งมีการสื่อสารกันแบบ 2 ทาง ทั้งการส่งข้อมูลและการรับข้อมูล ระหว่างคนในทีม เดียวกันด้วย ประเภทของทีมงาน ประเภทของทีมงานมี 4 ประเภท ดังนี้ 1. ทีมแก้ปัญหา (Problem-solving Teams) ประกอบด้วยกลุ่มคนประมาณ 5-12 คน ซึ่งเข้ามา รวมกลุ่มด้วยความสมัครใจ และประชุมร่วมกันอย่างสม่าเสมอ เพื่ออภิปรายหาวิธีการสาหรับการแก้ปัญหา โดยทั่วไปทีมแก้ปัญหาทาหน้าที่เพียงให้คาแนะนาเท่านั้น แต่จะไม่มีอานาจที่จะทาให้เกิดการกระทา ตามคาแนะนา ตัวอย่างของทีมแก้ปัญหาที่นิยมทากัน คือ ทีม QC (Quality Circles) 2. ทีมบริหารตนเอง (Self-managed Teams) หมายถึง ประกอบด้วยสมาชิกประมาณ 10-15 คน ที่ ร่วมรับผิดชอบทางานด้วยกันด้วยความมีอิสระสูง กล่าวคือทีมจะเป็นผู้รับผิดชอบต่องานทั้งหลาย โดยเป็น อิสระจากฝ่ายบริหาร มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ทีมบริหารตนเองสามารถที่จะเลือกสมาชิกผู้ร่วมทีม และสามารถให้สมาชิกมีการตรวจสอบซึ่งกันและกัน 3. ทีมที่ทางานข้ามหน้าที่กัน หรือไขว้หน้าที่ (Cross - Function Teams) ประกอบด้วยสมาชิกที่มา จากต่างแผนกที่อยู่ในระดับบังคับบัญชาเท่ากัน แต่มีหน้าที่ต่างกันมาปฏิบัติภารกิจ ร่วมกัน ก่อให้เกิดการ ร่วมมือกันของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทีมงานประเภทนี้เป็นทีมที่มีประสิทธิภาพในการระดมบุคลากร หลากหลายทักษะให้มาร่วมกันทางาน แต่เป็นทีมที่ต้องใช้เวลาในการสร้างการทางานเป็นทีมและบริหาร ค่อนข้างยาก เนื่องจากแต่ละคนมีภูมิหลังที่แตกต่างกัน ทาให้สมาชิกต้องเรียนรู้งานที่แตกต่าง ซับซ้อน และ ต้องใช้เวลาในการสร้างความไว้ใจ 4. ทีมเสมือนจริง (Virtual Teams) เป็นทีมที่สมาชิกอาจอยู่ห่างไกลกัน แต่สามารถยึดโยงและทางาน ร่วมกันได้ด้วยระบบเทคโนโลยี ส่วนใหญ่สมาชิกจะทางานร่วมกันโดยใช้เทคนิคการประชุม ทางไกล หรือ เครือข่ายออนไลน์หรืออีเมล์เพื่อเชื่อมต่อการสื่อสารต่างพื้นที่ ทีมงานประเภทนี้จะมีการแลกเปลี่ยน ความสัมพันธ์ด้านด้านความรู้สึกทางสังคมในระดับต่า จะเห็นได้ว่าในการสร้างและพัฒนาทีมงานจะประสบผลสาเร็จหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ที่สามารถควบคุมได้ และผู้นาถือได้ว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทในการประคับประคองและสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกัน ของทีมให้มุ่งไปสู่จุดมุ่งหมาย เพราะจะต้องเป็นผู้ประสาน ควบคุม มอบหมายงาน บริหารจัดการและสร้าง MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
41
บรรยากาศของการทางานให้กับทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามการทางานเป็ นทีมเพื่อสร้างชุมชน แห่งการเรียนรู้นั้น ความไว้วางใจกันและกันเป็นสิ่งที่มีความสาคัญ เพราะในทีมประกอบด้วยสมาชิกที่มาจาก หลากหลายหน่วยงาน หากสมาชิกในทีมไม่ไว้ใจกันเอง เนื่องจากสาเหตุประการใดประการหนึ่ง เช่น กังวลว่า ให้ความร่วมมือในการดาเนินงานไปแล้ว จะไม่มีส่วนในผลงานที่เกิดขึ้น ก็อาจก่อให้เกิดความไม่เชื่อมั่น และจะ ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการทางาน การจะสร้างความไว้วางใจในงานให้เกิดขึ้นเพียงแค่สร้างความ ชัดเจน บนพื้นฐานการให้เกียรติ และสัมพันธภาพอันดี จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจ แก่ทีมงาน เมื่อสมาชิกทีมเชื่อมั่นในความสามารถของกันและกันมีความสามัคคีแล้ว การประสานงานก็จะง่ายขึ้น เอกสารอ้างอิง ครรชิต พุทธโกษา. คู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรีย นรู้ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2554. ฉลาด จัทรสมบัติ. (2553) . การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น . คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ธนสาร บัลลังก์ปัทมา. (2551). บทบาทประชาชนในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษา. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: http://gotoknow.org/blog/cityedu/200818. เสถียร จิรรังสิมันต์. ความรู้เกี่ยวกับองค์กรเครือข่าย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.nesac.go.th/document/show11.php?did=06110001. (วันที่สืบค้น : 17 ตุลาคม 2556). องค์ประกอบการทางานเป็นทีม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.atd.dae.mi.th/knowledge. (วันที่สืบค้น : 17 ตุลาคม 2556).
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
42
สาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สู่ (ร่าง) โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ นางสาวจตุพร พงศ์พีระ* นิสิตปริญญาเอก รุ่น 5 สาขาหลักสูตรและการสอน
บทนา ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลการวิจัยเกี่ยวกับสมอง และการเสนอแนวคิด เกี่ยวกับทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้กระบวนทัศน์ทางการศึกษาเปลี่ยนแปลงไป การจัดการศึกษา ทุกระดับเน้นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง เช่น การคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา การคิด แบบวิจารณญาณ ฯลฯ รวมทั้งการพัฒนาทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ และการมีทักษะทางสังคม แนวโน้มการจัดการศึกษาจึงจาเป็นต้องบูรณาการทั้งด้านศาสตร์ต่างๆ และบูรณา การการเรีย นในห้องเรียนและชีวิตจริง ทาให้การเรียนนั้นมีความหมายต่อผู้เรียน ซึ่งผู้เรียน จะเห็นประโยชน์ คุณค่าของการเรียน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ซึ่งเป็นการเตรียมผู้เรียนในการเรียน ต่อไปในชั้นสูงขึ้น เกิดการเพิ่มโอกาสการทางานในอนาคต การเพิ่มมูลค่าและการสร้างความแข็งแกร่งให้กับ ประเทศด้านเศรษฐกิจได้ ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 มีจุดเริ่มต้นมาจาก การประชุมร่วมกันของนักวิชาการหลากหลาย สาขาในสหรัฐอเมริกามาประชุมร่วมกัน โดยรัฐบาลต้องการพัฒนาคุณภาพประชากรประเทศเพื่อยกระดับ ขีดความสามารถของประเทศกับนานาชาติและต้องการให้ประชากรนั้นมีคุณภาพ และศักยภาพในสังคม สามารถดารงชีวิตอยู่ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้องค์ประกอบในด้านต่างๆ ที่ควร เกิดขึ้นในผู้เรียนจากการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (21st Century Student Outcomes) ได้แก่ ความรู้ ทักษะความเชี่ยวชาญ (The Partnership for 21st Century Skills, 2009) ดังต่อไปนี้ 1. ความรู้ในวิชาหลักและเนื้อหาประเด็นที่สาคัญ สาหรับศตวรรษที่ 21 (Core Subjects and 21st Century Themes) ได้แก่ ภาษาแม่และภาษาโลก คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและการปกครอง เนื้อหาสาหรับศตวรรษที่ 21 เนื้อหาในสาขา ใหม่ๆ ที่สาคัญต่อความสาเร็จในที่ทางานและชุมชนแต่ไม่ได้เน้นในโรงเรียนทุกวันนี้ ได้แ ก่ ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) 2. ทักษะการเรีย นรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ได้แก่ • ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ซึ่งครอบคลุมไปถึง การคิดแบบสร้างสรรค์ การทางานอย่าสร้างสรรค์ร่วมกับผู้อื่น และการนาความคิด นั้นไปใช้อย่างสร้างสรรค์ • การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) หมายความรวมถึงการ คิดอย่างมีเหตุผล การคิดเชิงระบบ การคิดตัดสินใจและการ คิดแก้ปัญหา MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
43
• การสื่อสารและการร่วมมือ (Communication and Collaboration) ซึ่งเน้นการสื่อสาร โดยใช้สื่อรูปแบบ ต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพ ชัดเจน และการทางานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ซึ่งใน ศตวรรษที่ 21 นี้ นับได้ว่ามีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มาก ดังนั้นผู้เรียนจึงควรมีทักษะดังต่อไปนี้ คือ • การรู้เท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy) • การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) • การรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT (Information, Communications & Technology) Literacy) 4. ทักษะชีวิตและการทางาน (Life and Career Skills) ในการดารงชีวิตและในการทางานนั้นไม่ เพียงต้องการ คนที่มีความรู้ ความสามารถในเนื้อหาความรู้ หรือทักษะการ คิดเท่านั้น หากแต่ยังต้องการผู้ที่ สามารถทางานในบริบทที่มี ความซับซ้อนมากขึ้นอีกด้วย ทักษะที่จาเป็น ได้แก่ • ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) • ความคิดริเริ่มและการชี้นาตนเอง (Initiative and Self Direction) • ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-cultural Skills) • การเพิ่มผลผลิตและความรู้รับผิด (Productivity and Accountability) • ความเป็นผู้นาและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility) ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การ ทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) วิกกินส์และแม็คไท อธิบายไว้ว่า ภารกิจหลัก คือ การหลอมรวมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้ากับ ความคิดอันยิ่งใหญ่ในเนื้อหาวิชาการ ข้อผิดพลาดพื้นฐานในการเขียนหลักสูตรแบบเดิมสาหรับโรงเรียน คือ หลักสูตรมักแยกขาดจากความสาเร็จสูงสุดที่ต้องการ ดังนั้นเมื่อเราแนะนาให้ นักการศึกษาออกแบบระบบการ ประเมินก่อน เราไม่ได้หมายถึงแบบทดสอบทั่วไปที่วัดแค่ความเชี่ยวชาญในด้านเนื้อหา แต่เรากาลังพูดถึงการ ปฏิบัติจริงอันมีค่าซึ่งครอบคลุมทั้งพันธกิจและเป้าหมาย ให้นึกว่าเป็นการปฏิบัติ “หลัก” ซึ่งสะท้อนถึงความ ท้าทายหลักในวิชา เป็นสาระสาคัญของ “การปฏิบัติ” เนื้อหาหลักในวิชาต่อไปนี้ คือ ตัวอย่างความท้าทาย ของในสาขาวิชาต่างๆ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
44
ในวิชาวิทยาศาสตร์ ความท้าทาย คือ การออกแบบและการแก้ไขข้อผิดพลาดในการทดลองที่สาคัญ ในวิชาประวัติศาสตร์ ความท้าทาย คือ การพรรณนาหลักฐานและข้อโต้แย้งอย่างถูกต้องและลึ กซึ้ง ในวิชาคณิตศาสตร์ ความท้าทาย คือ การตีปัญหาในโลกจริงที่ซับซ้อนและสับสนให้เป็นโจทย์เชิง ปริมาณและแก้ไขปัญหานั้น ในเรื่องการสื่อสาร ความท้าทาย คือ การเขียนที่ประสบความสาเร็จสาหรับผู้รับสารเฉพาะกลุ่มที่เอา ใจยาก และตรงตามความมุ่งหมาย ในทางศิลปะ ความท้าทาย คือ การเรียบเรียง/การแสดง/การวิจารณ์/ชิ้นงานที่ทันสมัย เช่นเดียวกับเกมในกีฬาหรือบทในละคร ข้อเรียกร้องของการปฏิบัติหลักคือ การบรรลุเป้าหมายการ เรียนรู้สาคัญ โดยการรับ การรู้ความหมาย การทาและการถ่ายโอนสิ่งที่เรียนมาก่อนหน้าได้ ภารกิจหลักมีลักษณะที่โดดเด่นดังต่อไปนี้ - สะท้อนความสาเร็จอันแท้จริง ในโลกความจริง และอยู่ภายใต้บริบทจริง ภารกิจหลักนี้ถูกสร้างขึ้น โดยคานึงถึงบริบท ซึ่งแตกต่างจากสิ่งที่พบในแบบทดสอบมาตรฐานและในตาราหรือแบบฝึกหัด นั่น หมายความว่าภารกิจเหล่านี้สร้างสถานการณ์ที่เป็นจริงหรือสมจริง เพื่อให้นักเรีย นได้ประยุกต์ใช้ความรู้และ ทักษะ ให้เป้าหมายในการเรียนรู้ที่มีความหมายไปพร้อมกับความเกี่ยวข้องกับชีวิตและความยากลาบาก ภารกิจหลักยังช่วยตอบคาถามที่นักเรียนชอบถามกัน “ทาไมเราต้องเรียนสิ่งนี้” หรือ “มีใครเคยนาสิ่งนี้ไปใช้ บ้าง” - เรียกร้องให้นักเรียนประยุกต์ใช้ (หรือถ่ายโอน) สิ่งที่เรียนรู้ ถ้าหากพวกเขาเข้าใจแนวคิดอย่างแท้จริง ก็จะสามารถนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ในสถานการณ์ใหม่ได้ การทาเช่นนั้นต้องอาศัยการถ่ายโอนสิ่งที่ เรียนรู้ ดังนั้น ภารกิจหลักจึงเป็นเครื่องวัดความเข้าใจ และบ่งบอกให้ผู้เรียนทราบว่า เป้าหมายหลักของ การศึกษาคือการนาสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ในทางที่สร้างคุณค่าในโลกนอกห้องเรียน - บูรณาการทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในความคิดอันยิ่งใหญ่ของเนื้อหาอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่ใช่ แค่การนึกให้ออกหรือจดจาข้อเท็จจริง แต่ภารกิจหลักเรียกร้ องให้ใช้ความรู้แบะทักษะที่หลอมรวมกับบริบท จริงอย่างเป็นธรรมชาติ ดังนั้นจึงต้องรู้จักประยุกต์ใช้วิธีคิด (เช่น การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์), เทคโนโลยี (เช่น การเข้าถึงข้อมูล), การสื่อสาร (การเขียน การพูด การใช้ภาพประกอบ), การทางานร่วมกันเป็นทีม และ จิตนิสัย (เช่น ความพากเพียร) เหมือนในสถานการณ์จริง หรืออาจกล่าวได้ว่า โดยธรรมชาติแล้วภารกิจหลัก ต้องอาศัยผลลัพธ์ที่พึงประสงค์สาหรับศตวรรษที่ 21 - เกิดขึ้นตลอดช่วงการเรียน มีรูปแบบที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ ลองนึกถึงกีฬาและศิลปะ ฟุตบอลที่เด็กหก ขวบเล่นก็เป็นกีฬาเดียวกับที่เล่นกันในมัธยมปลาย วิทยาลัย หรือระดับอาชีพ ในทานองเดียวกัน เด็กเล็กใช้สี เทียนวาดรูปที่เขาสังเกต คิด และรู้สึก ซึ่งศิลปินอาชีพก็ทาในลักษณะเดียวกันเพียงแต่ใช้สื่อที่หลากหลายและ ซับซ้อนกว่า ทั้งสองกรณีแสดงให้เห็นว่าภารกิจ (เล่นฟุตบอลและการสังสรรค์งานศิลปะ) เกิ ดขึ้นซ้าแล้วซ้าเล่า โดยที่การปฏิบัติของนักเรียนจะใช้ทักษะมากขึ้น และมีวัยวุฒิขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป เราเสนอว่าภารกิจหลักควร เกิดขึ้นอยู่เรื่อยๆ ตลอดหลักสูตร โดยเพิ่มความซับซ้อนขึ้นในสาขาวิชาเดียวกันและข้ามสาขาวิชา เมื่อเราได้ ประยุกต์ใช้ทักษะแห่งศตวรรษใหม่ในภารกิจหลักที่เกิดขึ้นอยู่เรื่อยๆ อย่างเป็นระเบียบ เราก็สามารถพัฒนา ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร และความร่วมมือได้ซับซ้อนยิ่งขึ้นไป พร้อมกัน การเรียนรู้ใ นศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรีย นรู้ โดยร่วมกันสร้ าง รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรีย น เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
45
เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อ ทักษะแห่งการเรีย นรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อ ว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ เฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการ ทางานและการดาเนินชีวิต การปฏิรูปการศึกษาสู่ (ร่าง) โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ การเรียนรู้ใ นศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” st (21 Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรีย นเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบ การเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งสิ่งที่เป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรีย นรู้ ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การทาหน้าที่ของครูแต่ละคนนั่นเอง นโยบายทางการศึกษาของจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้แถลงนโยบาย การศึกษา พร้อมประกาศ 8 นโยบาย 5 กลไก 2 แนวทาง ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ เป้าหมายมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้คิด วิเคราะห์ เรียนรู้ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และทักษะที่จาเป็นสาหรับ ศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษาเป็นผลสาเร็จ จึงขอเสนอเป้าหมายมุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้สามารถคิด วิเคราะห์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะที่จาเป็นสาหรับ ศตวรรษที่ 21 โดยภายในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งไปพ้องกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปีเดียวกัน ดังนี้ - ให้ผลการจัดอันดับการศึกษาไทย ผลการทดสอบ PISA ของไทย ให้อยู่ในอันดับที่ดีขึ้น - ให้สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อสามัญเพิ่มขึ้นเป็น 50 : 50 - ให้มหาวิทยาลัยไทยติดอันดับโลกมากขึ้น - ให้มีการกระจายโอกาสและเพิ่มความเสมอภาคทางการศึกษามากขึ้น ทั้งนี้ โดยเน้นการส่งเสริมให้ภาคเอกชนที่มีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ จัดและ สนับสนุนการศึกษามากขึ้น คือวงการการศึกษา บุคลากรทางการศึกษาของรัฐทั้งหมด ต้องมีความเข้าใจ ร่วมกันว่า การศึกษาของภาคเอกชนเป็นกาลังสาคัญของประเทศ 8 นโยบาย 1. เร่งปฏิรูปการเรีย นรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ปฏิรูปหลักสูตรและการเรีย นการสอน ให้ทันการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับการเรีย นรู้ยุคใหม่ การ พัฒนาครู และการพัฒนาระบบการทดสอบ การวัดและประเมินผลที่ได้มาตรฐานและเชื่อมโยงกับหลักสูตร และการเรียนการสอน และการพัฒนาผู้เรียน 2. ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู การผลิตครูต้องสอดคล้องกับความต้องการ มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรปัจจุบันรองรับหลักสูตรใหม่ และการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ และพัฒนาระบบประเมินวิทยฐานะครูให้ เชื่อมโยงกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ดูแลระบบสวัสดิการ และลดปัญหาที่บั่นทอนขวัญกาลังใจของครู 3. เร่งนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการปฏิรูปการเรีย นรู้ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
46
4. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานเทียบได้กับระดับสากล ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของประเทศ 5. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ 6. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษามากขึ้น 7. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ 8. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สนับสนุนและพัฒนาการศึกษาและสถานศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคม อัตลักษณ์และความต้องการประชาชนในท้องถิ่น 5 กลไก มีรายละเอียด ดังนี้ 1. เร่งรัดจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 2. จัดตั้งสถาบันเพื่อวิจัยหลักสูตรและพัฒนาการเรียนการสอน 3. สร้างความเข้มแข็งของกลไกการวัดผล ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล 4. เร่งรัดให้มีพระราชบัญญัติอุดมศึกษา 5. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2 แนวทาง มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานเพื่อขับเคลื่อนเรื่องสาคัญต่างๆ 2. ประชุมปฏิบัติการ (Workshop) อย่างเป็นระบบ จากการประชุมคณะกรรมการปฏิรูปฯที่มีศ.ดร.ภาวิช ทองโรจน์ ที่ปรึกษารมว.ศึกษาธิการ เป็น ประธาน ได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่า มีแนวโน้มที่จะยกเลิกหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ที่มี 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ มาเป็นหลักสูตรใหม่โดยเหลือ 6 กลุ่มสาระ ได้แก่ 1.ภาษาและวัฒนธรรม(Language and Culture) 2.กลุ่มสาระวิชาSTEM คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ 3.การดารงชีวิต และโลกของงาน(Work Life) 4.ทักษะสื่อและการสื่อสาร(Media Skill and Communication) 5.สังคมและ และมนุษยศาสตร์(Society and Humanity) และ 6.อาเซียน ภูมิภาคและโลก(ASEAN Region and World) หลักสูตรใหม่ดังกล่าวเป็นหลักสูตรที่มีความครอบคลุมสาระวิชาที่จาเป็นสาหรับนักเรียนในแต่ละ ระดับชั้น ซึ่งคณะกรรมการได้ศึกษาตัวอย่างโครงสร้างหลักสูตรของต่างประเทศไม่น้อยกว่า 12 ประเทศ อาทิ ฮ่องกง สิงคโปร์ ฟินแลนด์ สหรัฐอเมริกา เกาหลี ญี่ปุ่น เป็นต้น มาประกอบกับเนื้อหาหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานของไทย ซึ่งจากการวิเคราะห์พบว่าหลักสูตรของเรายังมีจุดอ่อนอยู่มาก เช่น เราให้เด็กเรียนถึง 8 กลุ่ม สาระ ขณะที่ประเทศอื่น ๆ เรียนเพียง 3-4 กลุ่มสาระแล้วค่อย ๆ เติมเนื้อหาสาระที่จาเป็นเข้าไป และในแต่ละ ปีเด็กไทยจะมีชั่วโมงเรียนมากกว่า 1,000 ชั่วโมง ขณะที่ประเทศอื่นเรีย นไม่เกิน 800 ชั่วโมง เป็นต้น ดังนั้น หลักสูตรใหม่ที่จะมีการปรับปรุงนอกจากลดจานวนกลุ่มสาระการเรียนรู้แล้วจะมีการลดชั่วโมงเรียนลงด้วย แต่ จะเพิ่มโครงงาน หรือการทากิจกรรมนอกห้องเรีย นแทน เพื่อให้เด็กได้ฝึกการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา ด้วยตัวเองได้แต่ก่อนที่เราจะก้าวข้ามไปสู่หลักสูตรใหม่ที่รอการท้าทายด้วยพลังมวลชนในการจัดการกับระบบ การศึกษาให้มีเสถียรภาพนั้น เรามาศึกษาเชิงเปรียบเทียบหลักสูตรปี 2551 กับหลักสูตรฉบับร่าง เพื่อเชื่อมโยง ในมิติที่เหมือนและแตกต่างสู่หลักสูตรใหม่(ฉบับร่าง)
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
47
จากการวิจัยโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาแกนกลางของนักเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) พบว่า เนื้อหาหลักสูตรแกนกลางปีการศึกษา 2551 ที่จัดทาขึ้นล่าสุดนั้น มีการ สอดแทรกแนวคิดการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปมากขึ้น แต่การบริหารองค์ความรู้ในหลักสูตรยังมี หลายส่วนไม่สอดคล้องกัน โดยเฉพาะการกาหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผลตามตัวชี้วัดในมาตรฐานการ เรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มมีความละเอียดและซ้าซ้อน ส่งผลให้เนื้อหาหลักสูตรที่เรียนในแต่ละโรงเรียนไม่แตกต่างกัน MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
48
เพราะจะต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัดที่กาหนดไว้อย่างเคร่งครัด เช่น วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ป.1 แนะนาตัวเอง (Introduction Yourself) จนถึง ป.6ก็ยังแนะนาตัวเองอยู่ ดังนั้นจะเห็นว่าความซ้าซ้อนของเนื้อหาว่ามี ค่อนข้างมากจึงไม่สามารถสะท้อนผลการนาไปสู่การเรียนรู้ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้อย่างแท้จริง “ตัวชี้วัดที่อิงกับหลักสูตรในแต่ละชั้นปีซึ่งมีความละเอียดมาก ทาให้การจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการทา ได้ค่อนข้างยาก เพราะครูต้องยึดการสอนตามตัวชี้วัดนั้นๆ ขณะที่การผลิตตาราก็จัดทากันตามตัวชี้วัด ดังนั้น ตาราต่างๆ ไม่ว่าจากสานักพิมพ์ใดก็ต้องปฏิบัติตามตัวชี้วัด แม้ว่าในหลักสูตรใหม่ปี 51 จะมีการกาหนดตัวชี้วัด ที่ก้าวหน้าขึ้นจากเดิม เช่น ตัวชี้วัดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนซึ่งนับเป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาคนในศตวรรษ ที่ 21 แต่ก็ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในเนื้อหาหลักสูตรที่เรียนจริง ” เมื่อศึกษาวิจัยถึงโครงสร้างชั่วโมงเรียนของเด็กไทย พบว่า โดยเฉลี่ยเวลาเรียนนักเรีย นระดับ ประถมศึกษา ถูกกาหนดไว้ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมงต่อปี ม.ต้น ไม่เกิน 1,200 ชั่วโมงต่อปี และม.ปลาย รวม 3 ปี ต้องไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง ซึ่งถือเป็นเวลาที่มากเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว มีชั่วโมงเรียน เฉลี่ยของนักเรียนอยู่ที่ประมาณ 700-800 ชั่วโมงต่อปีเท่านั้น อย่างไรก็ตามนโยบายการศึกษารูปแบบใหม่ของ กระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.)ที่จะลดชั่วโมงการเรีย นของเด็กลงนั้น จาเป็นต้องพิจารณาเนื้อหาและวิธีการสอน ของครูด้วยว่าควรปฏิบัติอย่างไร โดยอาจเน้นเฉพาะการเรีย นรู้ทักษะที่จาเป็นจากการเรีย นในแต่ละวิชา ควบคู่ กับการสอนผ่านโครงงานเพื่อให้เด็กฝึกปฏิบัติจริง และสามารถใช้เวลาในการเรียนรู้นอกห้องเรียนได้มากขึ้น เป็นต้น นอกจากนี้ได้ศึกษาเนื้อหาในการเรียนผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต พบว่า การใช้เทคโนโลยีเพื่อ สนับสนุนการเรียนการสอนยังทาได้ไม่ดี โดยเนื้อหาหนังสือที่มีในแท็บเล็ตจะเน้นการแปลงจากหนังสือเรียนมา เป็นไฟล์พีดีเอฟ ส่วนการสร้างรูปแบบบทเรียนต่างๆ ยังเป็น 2 มิติอยู่ ดังนั้น ศธ.ควรใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีให้มากขึ้น อาทิ การนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบเสมือน เช่น ให้เด็กเรียนรู้การสั่นของแผ่นดินไหว หรือ การเปิดโอกาสให้เด็กเรีย นรู้โดยสร้างความรู้ด้วยตัวเองมากขึ้น และเรียนรู้ผ่านเครือข่ายเสมือนเพื่อสร้าง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันให้มากขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้สามารถใช้เทคโนโลยีตอบโจทย์ในการเรียนรู้ได้ดี สรุปได้ว่า หลักสูตรใหม่นี้จะมีแค่ 6 กลุ่มสาระ เวลาเรียนในห้องเรีย นลดลง จะได้เรีย นแค่ประมาณ 5 - 6 คาบต่อวัน และได้เรียนแบบบูรณาการหลายทักษะในวิชาเดียวมากขึ้น ได้ทาโครงการ/โครงงาน และได้ เรียนทักษะการงานอาชีพมากขึ้นด้วย ซึ่งมองว่าหลักการการจัดกลุ่มวิชาแบบนี้ จะทาให้เกิดวิชาที่สามารถ บูรณาการกันมากขึ้น เป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้ความรู้สู่การประกอบอาชีพได้จริงในอนาคต แต่เรื่องที่ว่า จะทาได้จริงและเกิดผลไหม หรือจะมีการชะลอหลักสูตรยังไม่ใช่จริงในปีหน้ านี้หรือไม่ ซึ่งน่าจะขึ้นอยู่กับคน จัดทาหลักสูตรด้วยนะ อยากให้ครูที่สอนจริงๆ ในโรงเรียนได้เข้าไปทาหลักสูตรมากกว่า และอยากได้ยินเสียง ของนักเรีย นจริงๆ ที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหลักสูตรไปสู่เป้าหมาย หลักสูตรใหม่อาจไปไม่ถึงดวงดาวความสาเร็จที่ตั้งความหวังไว้ได้ แม้จะมีหลักสูตรดีที่สุดในโลกก็ตาม ที เพราะครูไทยไม่เปลี่ยนวิธีการสอน อย่างไรครูจานวนหนึ่งยืนยันว่าทาได้อย่างแน่นอนขอเพียงยกร่าง หลักสูตรให้ชัดเจน ประชาสัมพันธ์ ประชาพิจารณ์ การมีส่วนร่วมอย่างกว้า งขวาง มีคู่มือครูอธิบายอย่าง ละเอียดทุกขั้นตอน สร้างและผลิตสื่อให้เพียงพอ มีพี่เลี้ยง (Mentors) คอยให้คาแนะนาและร่วมลงมือ ปฏิบัติการอย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง 3 ปี จะเห็นผลการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงได้อย่างแน่นอน สรุปสิ่งที่คาดว่าจะเกิดการเปลี่ย นแปลงไปจากเดิมในการร่า งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ฉบับร่าง) ได้แก่ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้เดิมจาก 8 ลดลงเหลือเพียง 6 กลุ่มสาระ 2. เวลาเรียนในแต่ละระดับชั้นลดลง MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
49
3. เพิ่มวิชาการค้นคว้าแบบอิสระ เน้นการบูรณาการ 4. เน้นทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ถึงแม้ว่าหลักสูตรจะมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เป็นหลักสูตรพลวัตรก็ตาม แต่สิ่งสาคัญคือ ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องกับการศึกษาไทยต้องให้การสนับสนุน ไม่ใช่ปล่อยปละละเลย เพื่อให้นักเรียนเป็นคนที่มีคุณภาพ การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 จะมีความยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ท้าทาย และซับซ้อน เป็น การศึกษาที่จะทาให้โลกเกิดการเปลี่ย นแปลงอย่างรวดเร็วอย่างเต็มไปด้วยสิ่งท้าทาย และปัญหา รวมทั้งโอกาส และสิ่งที่เป็นไปได้ใหม่ๆ ที่น่าตื่นเต้น โรงเรียนในศตวรรษที่ 21 จะเป็นโรงเรียนที่มีหลักสูตรแบบยึดโครงงาน เป็นฐาน (project -based curriculum) เป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนเกี่ยวข้องกับปัญหาในโลกที่เป็นจริง เป็น ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมนุษย์ และคาถามเกี่ยวกับอนาคตเชิงวัฒนธรรม สังคม และสากล ภาพของโรงเรียนจะเปลี่ยนจากการเป็นสิ่งก่อสร้างเป็นภาพของการเป็นศูนย์รวมประสาท (nerve centers) ที่ไม่จากัดอยู่แต่ในห้องเรียน แต่จะเชื่อมโยงครู นักเรีย นและชุมชน เข้าสู่ขุมคลังแห่งความรู้ทั่วโลก ครูเองจะ เปลี่ยนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือให้นักเรีย นสามารถเปลี่ยนสารสนเทศเป็น ความรู้ และนาความรู้เป็นเครื่องมือสู่การปฏิบัติและให้เป็นประโยชน์ เป็นการเรีย นรู้เพื่อสร้างความรู้ และต้อง มีการสร้างวัฒนธรรมการสืบค้น (create a culture of inquiry) ในศตวรรษที่ 21 การให้การศึกษาตามทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom´s Taxonomy of Learning) จะเปลี่ยนไป เน้นทักษะการเรียนรู้ขั้นที่สูงขึ้น (higher order learning skills) โดยเฉพาะทักษะ การประเมินค่า (evaluating skills) จะถูกแทนที่โดยทักษะการนาเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ (ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตที่ผ่านมา นักเรีย นไปโรงเรียนเพื่อใช้เวลาใน การเรียนรายวิชาต่างๆ เพื่อรับเกรด และเพื่อให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ที่แตกต่าง ไป เช่น การเรียนการสอนที่ช่วยให้นักเรีย นได้เตรียมตัวเพื่อใช้ชีวิตในโลกที่เป็นจริง (life in the real world) เน้นการศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนที่มีความยืดหยุ่น (flexible in how we teach) มีการกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา (resourceful) ที่ยังคงแสวงหาการ เรียนรู้แม้จะจบการศึกษาออกไป ลักษณะของหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 จะเป็นหลักสูตรที่เน้นคุณลักษณะเชิงวิพากษ์ (critical attributes) เชิงสหวิทยาการ (interdisciplinary) ยึดโครงงานเป็นฐาน (project-based) และขับเคลื่อนด้วย การวิจัย (research-driven) เชื่อมโยงท้องถิ่นชุมชนเข้ากับภาค ประเทศ และโลก ในบางโอกาสนักเรีย น สามารถร่วมมือ (collaboration) กับโครงงานต่าง ๆ ได้ทั่วโลก เป็นหลักสูตรที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง พหุปัญญา เทคโนโลยีและมัลติมีเดีย ความรู้พื้นฐานเชิงพหุสาหรับศตวรรษที่ 21 และการประเมินผลตาม สภาพจริง รวมทั้งการเรียนรู้จากการให้บริการ (service) ก็เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ ภาพของห้องเรียน จะขยายกลายเป็นชุมชนที่ใหญ่ขึ้น (greater community) นักเรียนมีคุณลักษณะ เป็นผู้ชี้นาตนเองได้ (self-directed) มีการทางานทั้งอย่างเป็นอิสระและอย่างร่วมมือกันคนอื่น หลักสูตรและ การสอนจะมีลักษณะท้าทายสาหรับนักเรียนทุกคน และคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล หลักสูตรจะไม่ เน้นการยึดตาราเป็นตัวขับเคลื่อน (textbook-driven) หรือแบบแยกส่วน (fragmented) เช่นในอดีต แต่จะ เป็นหลักสูตรแบบยึดโครงงานและการบูรณาการ การสอนทักษะและเนื้อหาจะไม่เป็นจุดหมายปลายทาง (as an end) เช่นที่เคยเป็นมา แต่นักเรีย นจะต้องมีการเรียนรู้ผ่านการวิจัยและการปฏิบัติในโครงงาน การเรียนรู้ จากตาราจะเป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ความรู้ (knowledge) จะไม่หมายถึงการจดจาข้อเท็จจริงหรือตัวเลข แต่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการวิจัยและการปฏิบัติโดยเชื่อมโยงกับความรู้และประสบการณ์เก่าที่มีอยู่ ทักษะ และเนื้อหาที่ได้รับจะเกี่ยวข้องและมีความจาเป็นต่อการปฏิบัติในโครงงาน จะไม่จบลงตรงที่การได้รับ ทักษะ MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
50
และเนื้อหาแล้วเท่านั้น การประเมินผลจะเปลี่ย นจากการประเมินความจาและความไม่เกี่ยวโยงกับความเข้าใจ ต่อการนาไปปฏิบัติได้จริง ไปเป็นการประเมินที่ผู้ถูกประเมินมีส่วนร่วมในการประเมินตนเองด้วย (selfassessment) ทักษะที่คาดหวังสาหรับศตวรรษที่ 21 ที่เรียนรู้ผ่านหลักสูตรที่เป็นสหวิทยาการ บูรณาการ ยึดโครงงานเป็นฐาน และอื่นๆ ดังกล่าวจะเน้นเรื่อง 1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and innovation skills) 2) ทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นได้จากความร่วมมือ (collaboration) ในการทางานเป็นทีม การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ในปัญหาที่ซับซ้อน การ นาเสนอด้วยวาจาและด้วยการเขียน การใช้เทคโนโลยี ความเป็นพลเมืองดี การฝึกปฏิบัติอาชีพ การวิจัย และ การปฏิบัติสิ่งต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น ดังนั้น การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 ต้องเปลี่ยนแปลงทัศนะ (perspectives) จากกระบวน ทัศน์แบบดั้งเดิม (tradition paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (new paradigm) ที่ให้โลกของนักเรีย นและ โลกความเป็นจริงเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ เป็นการเรีย นรู้ที่ไปไกลกว่าการได้รับความรู้แบบง่ายๆ ไปสู่การเน้นพัฒนาทักษะและทัศนคติ - ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวัตกรรม ความสร้างสรรค์ ทักษะการสื่อสาร ทักษะและค่านิยมทางเทคโนโลยี ความ เชื่อมั่นตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจตนเอง และความตระหนักในสภาพแวดล้อม และเหนืออื่นใด คือ ความสามารถใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (the ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively) ถือเป็นทักษะที่สาคัญจาเป็นสาหรับการเป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นสิ่งที่ท้าทายในการ ที่จะพัฒนานักเรียนเพื่ออนาคต ให้นักเรีย นมีทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชิญกับ อนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ที่มีทั้งความสาเร็จและมีความสุข
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU
บทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน รุ่น 5
51
เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. 2556. 8 นโยบายการศึกษา จาตุรนต์ ฉายแสง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.kroobannok.com/59870. 23 ตุลาคม 2556 วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์. ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ openworld, 2554. สมพงษ์ จิตระดับ .2556.หลักสูตรพื้นฐานใหม่มี 6 กลุ่มสาระ.(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.kroobannok.com/57477. 23 ตุลาคม 2556. Partnership for 21st Century Skills. P21 Framework Definitions. (online) Available from http://www.p21.org/storage/documents/P21-Framework -Definitions.pdf. ( November 18 , 2012 ) www. p21.org/storage/documents/P21_Framework_Definitions.pdf
MAHASARAKHAM UNIVERSITY: MSU