super Banana

Page 1


คานา งานวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การออกแบบกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์ Graphic Design On Package โดย มีจุดประสงค์เพื่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์สาหรับกล้วยเบรคแตก ซึ่งการวิจัยเล่มนี้มีที่มาของปัญหา ขั้นตอนการ ออกแบบ เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง คือ หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์และหลักการออกแบบ กราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ผู้วิจัยได้ศึกษามาจากผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจาก กล้ายหอมตามท้องตลาดทั่วไป บรรจุภัณฑ์ของกล้วยเบรค แตกยังขาดการออกแบบที่ทันสมัย รูปลักษณ์ในการใช้งานยังไม่ดึงดูดผู้บริโภคให้มาสนใจสินค้าเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึง ศึกษาแบบ ปรับปรุงให้ดูทันสมัยและหน้าทานมากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยขอขอบคุณกลุ่มเกษตร ตาบลบ่อกรุ ที่เป็น แหล่งข้อมูลศึกษาแบบแปรรูปกล้วยเบรคแตกและขอขอบคุณ อาจารย์ประชิด ทิณบุตร ที่ให้ความรู้และคาติชมใน ผลงาน ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งโครงงานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้ที่เข้ามาศึกษาแบบการออกแบบ กราฟฟิกบรรจุภัณฑ์

ผู้จัดทา นางสาวคมคาย อนันต์สิริวุฒิ รหัสนักศึกษา 5111312020 E-Mail : komkai511@gmail.com


ทีม่ าของการออกแบบ/แรงบันดาลใจ (Background/Inspiration) ปัจจุบันสินค้าแปรรูปมีหลากหลายอย่าง และเป็นที่นิยมรับประทานกันมาก เนื่องจากอาหารแปรรูปนั้น สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน โดยที่ตัวอาหารนั้นยังคงไว้ในสภาพเดิม อาหารแปรรูปที่ทามาจากผลไม้มีเยอะแยะ มากมาย และเป็นที่นิยมรับประทานกันมาก เพราะผลไม้นั้นมีประโยชน์มากมายต่อร่างกาย และกล้วยก้อเป็น ผลไม้ชนิดหนึ่งที่มีการนามาแปรรูปหลากหลายชนิด อย่างเช่น กล้วยอบม้วน กล้วยฉาบ กล้วยเบรกแตก เป็นต้น เพราะกล้วยอุดมด้วยน้าตาลธรรมชาติ 3 ชนิด คือ ซูโครส ฟรุคโทส และกลูโคส รวมกับเส้นใยและกากอาหาร กล้วยจะช่วยเสริมเพิ่มพลังงานให้กับร่างกายทันทีทันใด ประโยชน์ของกล้วยไม่ใช่เพียงแค่เพิ่มพลังงานเท่านั้น แต่ ยังช่วยป้องกันโรคต่างๆ ที่จะเกิดกับร่างกายได้อีกหลายโรค ตัวอย่างเช่น โรคโลหิตจาง โรคความดันโลหิตสูง โรค ท้องผูก และโรคอื่นๆ อีกมากมาย นอกจากนี้กล้วยยังเป็นพืชที่ปลูกง่าย และช่วยกักเก็บน้า ให้ป่าชุ่มชื้น ชาวบ้านจึงนิยมปลูกและนามาทา เป็นกล้วยแปรรูป อย่างโครงการ OTOP แต่ด้วยความที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ออกมานั้น ยัง ขาดความสวยงามและไม่เหมาะกับสังคมในปัจจุบัน ข้าพเจ้าจึงได้คิดและทาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่สาหรับใส่ ผลิตภัณฑ์กล้วยเบรกแตก ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ตาบลบ่อกรุ จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อให้ สินค้าดูมีราคามากขึ้น และเหมาะกับสังคมที่ตามสมัยในปัจจุบัน แรงบันดาลมาจาก การที่ข้าพเจ้าได้เห็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่ายังขาดความแปลกใหม่ในการออกแบบ บรรจุภัณฑ์อยู่ จึงจะนาบรรจุภัณฑ์นั้น มาปรับแต่งให้เหมาะกับยุคสมัยในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น โจทย์/วัตถุประสงค์/สมมติฐาน (Problem/Objective/Hypothesis) 1. เพื่อทาให้สินค้าดูน่าหยิบจับมากขึ้น 2. เพื่อให้มีสีสันเหมาะกับยุคสมัยในปัจจุบัน 3. เพิ่มราคาให้กับตัวผลิตภัณฑ์ได้ การกาหนดคุณลักษณะที่ความต้องการ (Design Brief) โครงสร้างกล่องบรรจุภัณฑ์ รูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า กึ่งกลางกล่องเป็นรูปกล้วยและทาเป็นพลาสติกใส เพื่อการเลือกซื้อที่ง่ายต่อ การตัดสินใจของผู้บริโภค ลวดลายกราฟฟิก เลือกใช้สีโทนอ่อนเพื่อง่ายแก่การมองเห็น ซึ่งเป็นสีเดียวกับผลิตภัณฑ์ที่นามาแปรรูป ไม่เน้นลวดลาย


โลโก้สินค้า เน้นความเรียบง่าย บ่งชี้ชัดเจนว่าผลิตภัณฑ์แปรรูปมาจากกล้วย นาหนัก ปริมาณสุทธิ 240 กรัม และ 120 กรัม สินค้า กล้วยเบรคแตก กลุ่มเป้าหมาย ทุกเพศ ทุกวัย


การนาเสนอแบบร่างทางความคิด (Sketch Design)

การศึกษาข้อมูลเบืองต้น (Preliminary Research) กล้วย กล้วยที่ปลูกกันอยู่ทุกวันนี้ ตามหลักฐานปรากฏว่า มีถิ่นกาเนิดอยู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเอกสารกล่าวว่า คนแถบนี้ใช้ประโยชน์จากกล้วยกันมานานแล้ว แม้ว่าประวัติความเป็นมา ของกล้วยจะไม่แพร่หลายนัก แต่เป็นที่รู้ กันว่า กล้วยเป็นผลไม้ชนิดแรกที่คนเอเชียแถบร้อนชื้น โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปลูกใช้เป็นอาหาร ก่อนรู้จักการดื่มนม ทารกไทยส่วนใหญ่เติบโตมาด้วยกล้วยบด แหล่งกาเนิดจริงๆ ของกล้วยยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ทฤษฎีของซิกมอนด์และเชเพิร์ด ที่ได้รับการยอมรับกันเป็นส่วนใหญ่เสนอว่า ดินแดนแถบอินโด-มาเลเซีย ถือเป็น ศูนย์กลางความหลากหลาย ของกล้วยที่สาคัญที่สุด มาเลเซียจึงอาจเป็นศูนย์กลางของกล้วยในระยะแรกๆ ก็ได้ จาก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การปลูกกล้วยขยายออกไปทั่วเขตร้อน และเข้าไปในเขตอบอุ่นของเอเชีย อเมริกา แอฟริกา และออสเตรเลีย อาจกล่าวได้ว่าประเทศทั้งหลายที่ตั้งอยู่ในเขตร้อน ฝนชุกโดยเฉพาะเอเชีย กล้วยเป็นผลไม้ที่ปลูก กันมาก บริโภคกันมากเป็นอันดับแรกของทุกประเทศ


สาหรับความเป็นมาของกล้วยในประเทศไทย จากหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุด คือ จดหมายเหตุของลาลูแบร์ ที่ เขียนขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จดหมายเหตุกล่าวถึงกล้วยงวงช้าง () และกล้วยงาช้าง น่าจะ หมายถึง กล้วยยักษ์ และกล้วยร้อยหวี ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อกล้วยมีกาเนิดอยู่ทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังที่กล่าวแล้วนั้น จึงย่อมเชื่อได้ว่ามีการปลูกกล้วยในเมืองไทยมานานก่อนสมัยอาณาจักรศรีวิชัย (พ.ศ.1200 โดยประมาณ) ส่วนในอินเดียได้รู้จักกล้วยกันมานานกว่าสามพันปีมาแล้ว โดยมีข้อความปรากฏตอนหนึ่งในมหา กาพย์รามายณะกล่าวว่า “ เมื่อนางเกาสุริยาได้ฟังว่า พระรามมิได้มีการแต่งตั้งให้เป็นกษัตริย์แล้ว พระนางถึงกับล้ม ราวกับต้นกล้วยถูกฟันด้วยคมมีด ” ปัจจุบันพันธุ์กล้วยที่สาคัญของไทย ได้แก่ กล้วยน้าว้า ปลูกกันมากที่สุดใน จังหวัดเลย หนองคาย และระนอง ตามลาดับ รองลงมาได้แก่กล้วยไข่ ซึ่งปลูกกันมากที่สุดที่จังหวัดกาแพงเพชร ตาก และนครสวรรค์ การใช้ประโยชน์ทางอาหาร ทุกส่วนของกล้วยสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะผลสามารถใช้ประโยชน์ทางอาหารได้สูงสุด รับประทานได้ทั้งผลดิบและสุก กล้วยสุกนาไปเผาทั้งเปลือก ขูดเอาแต่เนื้อไปบดกับข้าว เป็นอาหารชนิดแรกของ คนไทยนอกจากนมแม่ กล้วยดิบสามารถนาไปแปรรูปเป็น แป้งกล้วย ไว้ผสมกับอาหารอื่นๆ หรือไปทาเป็นกล้วย ฉาบ กล้วยกวน กล้วยตาก ข้าวเกรียบกล้วย ก็เป็นที่นิยมเช่นกัน นอกจากผลแล้ว ปลีกล้วย ใช้เป็นผักเป็น ส่วนประกอบหลักที่สาคัญของแกงเลียง อาหารเพิ่มน้านมให้แก่แม่ที่เพิ่งคลอดบุตร กาบใน (ไส้) ใช้ทาอาหาร เช่น แกง สรรพคุณทางยา - ยาง สมานแผลห้ามเลือด - ผลดิบ รสฝาด ทั้งเปลือก หั้นตากแดด บดเป็นผง ชงน้าร้อน หรือ ปั้นเมล็ดรับประทาน รักษาแผลใน กระเพาะอาหาร แก้ท้องเสียเรื้อรัง ผลกล้วยดิบทั้งเปลือก ใช้โรยรักษาแผลเรื้อรัง แผลเน่าเปื่อย แผลติด เชื้อต่างๆ - ผลสุก รสหวาน ระบายอุจจาระ บารุงกาลัง บารุงร่างกาย รักษาแผลในกระเพาะอาหาร - เปลือกลูกดิบ รสฝาด สมานแผล เปลือกกล้วยหอมสุกเอาด้านในทาแก้ส้นเท้าแตก - หัวปลี รสฝาด แก้โรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลาไส้ แก้โรคโลหิตจาง ลดน้าตาลในเส้นเลือด รักษา โรคเบาหวาน - น้าคั้นจากหัวปลี รับประทานแก้ถ่ายเป็นมูกเลือด บารุงโลหิต - ใบ รสเย็นจืด ต้มดื่ม แก้ไข้ ร้อนในกระหายน้า แก้บิด แก้ผื่นคัน สมานภายใน


- หยวก รสฝาดเย็น เผาไฟรับประทาน ขับพยาธิ - เหง้า รสฝาดเย็น ปรุงยาแก้ริดสีดวงทวาร ชนิดมีเลือดออก หรือแผลภายในช่องทวาร ศึกษาข้อมูลประกอบ (Preliminary Research)

เวปอ้างอิง : http://www.suriyothai.ac.th/node/1703 นาสินค้าชนิดเดียวกันมาออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ดูแปลกใหม่กว่าของเดิมและดูน่าซื้อมากขึ้น เพื่อทาให้ ผู้บริโภคสนใจในสินค้า การออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์มีหน้าที่หลัก คือ เป็นตัวภาชนะสาหรับบรรจุสินค้า มีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามลักษณะ ของสินค้า เช่น เป็นห่อ หีบ กล่อง ขวด ลัง กระป๋อง ฯลฯ บรรจุภัณฑ์จะมีขนาดต่าง ๆ ตามขนาดที่บรรจุ การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลุ่ม คือ 1. บรรจุภัณฑ์สาหรับค้าปลีก มักออกแบบให้สวยงาม สะดวกสบายในการใช้สอย น่าใช้ บรรจุภัณฑ์ของ สินค้าบางชนิดนักออกแบบจะเน้นความสวยงามเป็นพิเศษ จนอาจมีผู้สนใจเก็บสะสม หรือใช้ตั้งโชว์ ลักษณะของบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้จะมีรายละเอียดของสินค้าบรรจุอยู่ภายใน เช่น ชื่อสินค้า สรรพคุณ ผู้ผลิตจาหน่าย ขนาดหรือปริมาตรการบรรจุ และรายละเอียดต่าง ๆ ที่ทางสานักงานคุ้มครองผู้บริโภค กาหนด


2. บรรจุภัณฑ์เพื่อการค้าส่ง เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบสาหรับบรรจุสินค้าจานวนมาก ๆ การกาหนด รายละเอียดแตกต่างออกไป เช่น บอกชื่อสินค้า จานวนสินค้า บริษัทผู้ผลิต ข้อแนะนาบางประการ เช่น การ เก็บรักษา การจัดวาง อาจเป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ก็ได้ 3. บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง จะเน้นในเรื่องความสะดวกในการขนส่ง ความประหยัดในการขนส่ง ความ ปลอดภัยในการขนส่ง การออกแบบฉลากของบรรจุภัณฑ์ จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อกาหนดหลายอย่าง นักออกแบบมักจะ ต้องสร้างภาพลักษณ์ของตัวสินค้าให้เกิดความน่าเชื่อถือ ความสวยงาม โดยการออกแบบกราฟิกจะต้องสอดคล้อง กับลักษณะของบรรจุภัณฑ์ ฉลากสินค้าบางอย่างมีเพียงข้อความเท่านั้น บางอย่างมีรูปภาพประกอบอย่างสวยงาม สินค้าบางอย่างไม่สมารถแสดงรายละเอียดของสินค้าบนฉลากที่ติดสินค้าได้ ก็ต้องทาเป็นคู่มือแนบไปกับสินค้า ประเภทนั้น ๆ เช่น ยารักษาโรค เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนการออกแบบหีบห่อบรรจุภัณฑ์ ก็มีจุดประสงค์อย่างเดียวกันกับฉลากสินค้า แต่จะมีจุดเด่นประการ หนึ่ง คือ เพื่อความสะดวกในการขนส่ง บางครั้งก็มีข้อความสัญลักษณ์ และถ้าเป็นการค้าระหว่างประเทศ ก็ต้อง เลือกใช้ภาษาและสัญลักษณ์ที่สามารถเข้าใจกันได้ ดังภาพตัวอย่างสัญลักษณ์ที่นิยมใช้กันในการสื่อความหมายที่ เป็นสากลบนหีบห่อบรรจุภัณฑ์ โดยยึดถือตามแนวระบบมาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ มาตรฐาน ISO (International Organization for Standardization) การสรุปผลงานการออกแบบ(Design Conclusion) 1. แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน(Inspiration) - มาจากการที่ข้าพเจ้าได้เห็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่ายังขาดความแปลกใหม่ในการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์อยู่ จึงจะนาบรรจุภัณฑ์นั้น มาปรับแต่งให้เหมาะกับยุคสมัยในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น 2. ความคิดสร้างสรรค์(Creative Idea) - เพิ่มสีสันให้ดูสดใส เพื่อการมองเห็นที่ง่ายกว่า ออกแบบโลโก้ให้ดูแตกต่างมากขึ้น 3. การออกแบบโครงสร้างที่ลงตัว สวยงาม(Design and Aesthetics) - การคิดและทดลองทาก่อนการทาจริง ทาให้บรรจุภัณฑ์ออกมาลงตัว และเป็นที่น่าพอใจ


4. คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับจากตัวผลงาน(Value and Benefit) - ได้เรียนรู้การออกแบบบรรจุภัณฑ์ - ได้ข้อคิดจากการทางาน - มีความรอบคอบมากขึ้น 5. ข้อเสนอแนะ - การออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องใช้ความรอบคอบมาก - การคิดก่อนการลงมือทาเป็นสิ่งสาคัญมาก - ความตั้งใจ ทาให้งานทุกอย่างออกมาดีเสมอ









Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.