Illustratorcs3

Page 1

การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร Adobe Illustrator CS3

โดย อ.เหมราช ธนะปั ทม์ อ.ก่ อเกียรติ ขวัญสกุล อ.ธนดล ภูสีฤทธิ์ และคณะ

ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


บทที่ 1 รู้จักกับ Illustrator CS3 โปรแกรม Illustrator Illustrator คือโปรแกรมที่ใช้ ในการวาดภาพทีม่ ีลกั ษณะเป็ นลายเส้ นหรื อเวกเตอร์ และยังสามารถรวม ภาพกราฟฟิ กที่แตกต่างกันระหว่างเวกเตอร์ และบิตแม็พ ให้ เป็ นงานกราฟฟิ กที่มีทงภาพเป็ ั้ นเส้ นทีค่ มชัดและ มี เอฟเฟกต์สสี นั สวยงามหรื อมีความแปลกใหม่ร่วมกันได้ Adobe Illustrator CS3 อะโดบี อิลลัสเตรเตอร์ (Adobe Illustrator) เป็ นโปรแกรมวาดภาพกราฟิ กแบบเวกเตอร์ ซึ่งพัฒนา โดยบริ ษัทอะโดบีซิสเต็มส์ รุ่นแรก จัดทาขึ ้นในปี ค.ศ. 1986 เพื่อใช้ งานกับเครื่ องแมคอินทอช และได้ พฒ ั นารุ่ นที่ 2 ออกมาให้ ใช้ งานได้ กบั วินโดวส์ ซึ่งได้ รับความพึงพอใจ และ การตอบรับที่ดีจากผู้ใช้ เป็ นจานวนมาก จน ปั จจุบนั ได้ พฒ ั นาออกมาจนถึงรุ่นที่ 14 และได้ รวบรวมเข้ าไปเป็ น 1 ในโปรแกรมชุด Adobe Creative (CS4) รุ่ นต่ างๆ Adobe Illustrator 1.0 (Mac OS) (มกราคม ค.ศ. 1987) Adobe Illustrator 1.1 (Mac OS) (มีนาคม ค.ศ. 1997) Adobe Illustrator 88 (Mac OS) (มีนาคม ค.ศ. 1988) Adobe Illustrator 2.0 (Windows) (มกราคม ค.ศ. 1989) Adobe Illustrator 3.0 (Mac OS) (ตุลาคม ค.ศ. 1990) Adobe Illustrator 3.5 (Solaris, Silicon Graphics) (ค.ศ. 1990) Adobe Illustrator 4.0 (Windows) (พฤษภาคม ค.ศ. 1992) Adobe Illustrator 5.0 (Mac OS) (มิถนุ ายน ค.ศ. 1993) Adobe Illustrator 5.5 (Mac OS) (มิถนุ ายน ค.ศ. 1994) Adobe Illustrator 4.1 (Windows) (ค.ศ. 1995) Adobe Illustrator 6.0 (Mac OS) (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) Adobe Illustrator 7.0 (Mac/Windows) (พฤษภาคม ค.ศ. 1997) Adobe Illustrator 8.0 (Mac/Windows) (กันยายน ค.ศ. 1998) Adobe Illustrator 9.0 (Mac/Windows) (มิถนุ ายน ค.ศ. 2000) Adobe Illustrator 10.0 (Mac/Windows) (พฤศจิกายน ค.ศ. 2001) Adobe Illustrator CS (Mac/Windows) (11.0) (ตุลาคม ค.ศ. 2003) Adobe Illustrator CS2 (Mac/Windows) (12.0) (เมษายน ค.ศ. 2005) Adobe Illustrator CS3 (Mac/Windows) (13.0) (มีนาคม ค.ศ. 2007) Adobe Illustrator CS4 (Mac/Windows) (14.0) (ประมาณ ค.ศ. 2008)


เปรียบเราเป็ นจิตรกร Illustrator ให้ เราสามารถสร้ างภาพโดยเริ่มสร้ างภาพโดยเริ่ มต้ นจากหน้ ากระดาษเปล่าเหมือนจิตรกรที่ เขียนภาพลงบนผืนผ้ าใบ โดยใน Illustrator จะมีทงพู ั ้ ก่ นั ดินสอ และอุปกรณ์การวาดภาพอื่นๆ ซึง่ ทังหมดนี ้ ้เป็ น การทาบนเครื่ องคอมพิวเตอร์

การนาไปใชงานโปรแกรม Illustrator งานสิ่งพิมพ์ ไม่วา่ จะเป็ นงานโฆษณา โบร์ ชวั ร์ นามบัตร หนังสือ หรื อนิตยสาร เรี ยกได้ วา่ เกือบทุกสิง่ พิมพ์ทตี่ ้ องการ ความคมชัด ที่มา http://www.kanpim.ob.tc/

งานออกแบบทางกราฟฟิ ก การสร้ างภาพสามมิติ การออกแบบปกหนังสือ การออกแบบสกรีน CD-ROM และการออกแบบ การ์ ด อวยพร ฯลฯ


งานทางด้ านการ์ ตูน ในการสร้ างภาพการ์ ตนู ต่างๆนัน้ โปรแกรม Illustrator ได้ เข้ ามามีบทบาทและช่วยในการวาดรูปได้ ดี ที่มา : http://yochi.exteen.com/20081104/my-illustrator http://illustrator.comyr.com/Ex.html

งานเว็บไซต์ บนอินเตอร์ เน็ต ใช้ สร้ างภาพตกแต่งเว็บไซต์ไม่วา่ จะเป็ น Background หรื อปุ่ มตอบโต้ แถบหัวเรื่ องตลอดจน ภาพประกอบต่างๆ ที่ปรากฏบนหน้ าเว็บ


เครื่องมือและตัวเลือก (Option) ต่ างๆ ใน Toolbar


เครื่องมือและคาสั่งต่ างๆ ในโปรแกรม Illustrator ( ต่ อ ) Selection tool เครื่ องมือกลุม่ นี ้ว่าด้ วยเรื่ องการเลือกวัตถุ ประกอบไปด้ วย Selection tool(ลูกศรสีดา)ใช้ เลือกวัตถุทงชิ ั ้ ้น Direct-selection tool(ลูกศรสีขาว)ใช้ เลือก points หรื อ path ของวัตถุ (กดคีย์ Alt) Magic wand tool(ไม้ เท้ าวิเศษ)เป็ นเครื่ องมือใหม่ ใช้ เลือกวัตถุที่มสี เี ดียวกัน การใช้ งานเหมือนใน Photoshop (กด คีย์ Alt และ Shift) Lasso tool ใช้ เลือกโดยการคลิกเมาส์ Drag การใช้ งานเหมือนใน Photoshop (กดคีย์ Alt และ Shift) Create tool เครื่ องมือกลุม่ นี ้ว่าด้ วยการสร้ าง objects ไม่วา่ จะเป็ นเส้ น รูปทรงต่างๆ และตัวหนังสือ Pen tool สร้ างเส้ น parthอย่างแม่นยา โดยการใช้ แขน มีผลทาให้ object มีจดุ น้ อย-น้ อยมาก ส่วนเครื่ องมือย่อย จะเอาไว้ ใช้ ปรับแต่ง curved ไม่วา่ จะเป็ นการเพิ่มจุด ลบจุด หักแขนของแกนเส้ นสัมผัส (กดคีย์ Alt) Type tool ใช้ พมิ ตัวหนังสือ ข้ อความต่างๆ ส่วนเครื่ องมือย่อย ก็งา่ ยๆตามรูป ใช้ พิมพ์ตวั หนังสือให้ อยูใ่ นกรอบบ้ าง ทาตัวอักษรวิ่งตาม paths บ้ าง ซึง่ ผมจะไม่อธิบายมากเพราะ ไอคอนก็ง่ายต่อการจดจาอยูแ่ ล้ ว Line segment tool อันนี ้ไว้ ลากเส้ นตรง ในรายละเอียดของเครื่ องมือย่อยก็ไม่มีอะไรมาก เช่นไว้ ทาขดก้ นหอย ทา grid ของตารางหมากรุก grid แบบใยแมงมุม Basic shape tool เอาไว้ วาดรูปทรงพื ้นฐาน 3-4-หลายเหลีย่ ม และวงกลม shape รูปดาว แต่ที่เด่นที่สดุ คือ flare tool ใช้ สร้ างเอฟเฟค lens-flare (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Paintbrush tool แปรงที่เอาไว้ สร้ างเส้ น parth โดยการ drag เมาส์ลากอย่างอิสสระ สามารถใช้ brush แบบพิเศษ (กดคีย์ Alt) Pencil tool จะคล้ ายๆ paintbrush tool แต่จะมีเครื่ องมือย่อยให้ เรี ยกใช้ ในการแก้ ไขเส้ น ซึง่ จะช่วยในการปรับแต่ง แก้ ไข และทาให้ งานดูดี+เร็ วขึ ้น (กดคีย์ Alt) Transform tool เครื่ องมือกลุม่ นี ้ใช้ ในการปรับแต่งรูปทรงของวัตถุ ไม่วา่ จะเป็ นหมุน เอียง บิด กลับด้ าน ย่อ ขยาย นอกจากนี ้ยังมีเอฟเฟคต่างๆด้ วย Rotate tool ใช้ ในการหมุนวัตถุ โดยการกาหนดจุดหมุนก่อนแล้ วจึงทาการหมุน ซึง่ สามารถกาหนดได้ วา่ ต้ องการ หมุนกี่องศา (กดคีย์ Alt) Reflect tool ใช้ ในการกลับด้ านของวัตถุ (กดคีย์ Alt) Twist tool ใช้ ในการบิดวัตถุ โดยการกาหนดจุดก่อนแล้ วจึงทาการบิด ซึง่ สามารถกาหนดได้ วา่ ต้ องการบิดมาก น้ อย (กดคีย์ Alt) Scale tool ปลับย่อขยายวัตถุ (กดคีย์ Alt และ Shift) Shear tool ใช้ เอียงวัตถุ (กดคีย์ Alt) Reshape tool ใช้ เพิ่มจุด และดึงยืดวัตถุ


The warp tool ใช้ โน้ มวัตถุให้ บดิ เบี ้ยว (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Twirl tool ทาให้ วตั ถุบิดตามจุดที่กาหนด (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Pucker tool ดึงดูดจุดให้ เข้ าสูจ่ ดุ ศูนย์กลาง (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Bloat tool ทาให้ วตั ถุแบออก (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Scallop tool ดึงวัตถุให้ เข้ าศูนย์กลางพร้ อมกับสร้ างรอยหยัก (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Crystallize tool ขยายวัตถุให้ ออกจากศูนย์กลางพร้ อมกับสร้ างรอยหยัก (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Wrinkle tool สร้ างคลืน่ ให้ วตั ถุ (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Free transform tool ย่อ ขยาย หมุน เอียง วตถุ โดยอิสระ Special tool เป็ นเครื่ องมือใหม่ทจี่ ดั การเกี่ยวกะ Symbol และ graph Symbol tool ใช้ จดั การเกี่ยวกับ symbol ซึง่ มีเครื่ องมือย่อยมากมาย แต่จะไม่ขอกล่าวถึง เพราะเครื่ องมือแต่ละชิ ้น มีไอคอนที่ง่ายต่อการเข้ าใจอยูแ่ ล้ ว ขอให้ ทดลองนาไปใช้ เอง แล้ วจะเข้ าใจว่า tool แต่ละชิ ้นใช้ ทาอะไรได้ บ้าง (กด คีย์ Alt) Graph tool ใช้ สร้ าง graph ในรูปแบบต่างๆ ซึง่ ง่ายต่อการเข้ าใจ และจะไม่ขอกล่าวถึงเช่นกัน (กดคีย์ Alt หรื อ Shift และ Alt+Shift) Paint color tool เป็ นกลุม่ เครื่ องมือที่ใช้ จดั การเรื่ องของสี Mesh tool เป็ นเครื่ องมือสีที่เจ๋งสุดขีด(แต่ควบคุมยากเหมือนกัน)โดยการสร้ าง point และมีแกนในการ ควบคุม (กดคีย์ Alt และ Shift) Gradient tool เครื่ องมือไล่ระดับสี ซึง่ มีการไล่ระดับอยูด่ ้ วยกัน 2 แบบ คือ Linear และ Radial ใช้ การ ลากจากจุดเริ่ มต้ น และ สิ ้นสุดที่จดุ ปล่อยเมาส์ ในการควบคุมการไล่ระดับของสี (กดคีย์ Shift) Eyedropper tool หลอดดูดสี ใช้ copy สีของวัตถุ สามารกาหนดได้ ด้วยว่าจะ copy ลักษณะอย่างไร อะไรบ้ าง (กดคีย์ Alt และ Alt+Shift) Paint bucket tool ส่วนใหญ่จะใช้ ควบคูก่ บั eyedropper tool ใดยใช้ เทสีลงบนวัตถุ (กดคีย์ Alt) Measure tool เครื่ องมือวัดขนาด (กดคีย์ Shift) Blend tool เครื่ องมือไล่ระดับการเปลีย่ นรูปร่างและสี สามารถควบคุมการไล่ระดับได้ 3 ชนิด Auto trace tool ใช้ ในการ trace จากภาพต้ นฉบับที่เป็ น bitmap ไปเป็ น Vector ซึง่ เป็ นเครื่ องมือ อานวยความสะดวกสาหรับคนขี ้เกียจโดยเฉพาะ


View tool กลุม่ เครื่ องมือกลุม่ นี ้จะเน้ นที่มมุ มองเป็ นหลัก Slice tool ใช้ เกี่ยวกับการตัดแบ่งภาพออกเป็ นส่วนๆ ใช้ ในงานเวบ Scissors tool ใช้ คลิกบริ เวณ outine ของวัตถุเพื่อกาหนดจุดตัด 2 จุดเพื่อแยกวัตถุออกจากกัน (กดคีย์ Alt) Knife tool ใช้ drag ลากผ่านวัตถุเพื่อแยกวัตถุออกจากกันเป็ น 2 ส่วน โดยจะทาการ close paths ให้ เรา โดยอัตโนมัติ (กดคีย์ Alt) Hand tool ใช้ เลือ่ นดูบริ เวณพื ้นทีก่ ารทางานบนหน้ าจอ (กดคีย์ Spacebar) Page tool ใช้ กาหนด print size Zoom tool ใช้ ยอ่ และ ขยายพื ้นที่การทางาน (กดคีย์ Ctrl+Spacebar และ Ctrl+Alt+Spacebar)

Palette เป็ นที่รวบรวมคุณสมบัตกิ ารทางานของเครื่ องมือต่างๆ สามารถเรี ยกใช้ งานได้ ที่เมนู Window ซึง่ พาเลทที่เราใช้ งานกันบ่อยๆมีดงั นี ้ 1.Navigator Palette กาหนดมุมมองของรูปในแบบต่างๆ สามารถย่อขยายรูปได้ โดยเลือ่ นแถบด้ านล่าง

2.Layers Palette เป็ นศูนย์รวมทังหมดของเลเยอร์ ้ ที่มีอยูใ่ นภาพ โดยเรี ยงลาดับจากเลเยอร์ ที่อยูบ่ นสุด จนถึงเลเยอร์ ที่อยูล่ า่ งสุด ซึง่ ถ้ าเรากดตรง จะเป็ นการเพิ่มเลเยอร์ ใหม่ขึ ้นมา นอกจากนี ้เรายังสามารถล็อค เลเยอร์ ได้ เพื่อไม่ให้ เคลือ่ นย้ าย หรื อแก้ ไข โดยกดตรงพื ้นที่วา่ งๆตรงหน้ าเลเยอร์ นนๆ ั ้ แล้ วถ้ าเราคลิกตรงลูก ตาออก เราก้ อจะมองไม่เห็นเลเยอรฺนนั ้ ทาให้ สะดวกในการทางานในเลเยอร์ อื่น ๆได้ และถ้ าเราไม่ ต้ องการเลเยอร์ ไหน ก้ อลากเลเยอร์ นนมาปล่ ั้ อยที่ถงั ขยะได้ เลย


นอกจากนี ้ ถ้ าเราดับเบิ ้ลคลิกที่เลเยอร์ จะเป็ นการตังเลเยอร์ ้ รวมทังเปลี ้ ่ยนสีประจาเลเยอร์ นนั ้ ๆได้

3. Color Palette ใช้ สาหรับการเลือกสีผสมสีเอง

4.Swatches Palette เป็ นสีสาเร็จรูปที่ใช้ ได้ เลย โดยไม่ต้องผสมเอง ( เรื่ องการใช้ สี และการลงสีอา่ น เพิ่มเติมได้ ที่ เครื่ องมือและวิธีการลงสี )


5.Stroke Palette เป็ นพาเลทเกี่ยวกับการใช้ เส้ น และปรับขนาดของเส้ น

6. Appearance Palette เป็ นการแยกองค์ประกอบของ Object ว่ามีอะไรบ้ าง เช่น สี เส้ น หรื อ เอฟเฟค ต่างๆ ซึง่ เราสามารถเพิ่ม ลบ ได้

7.Transparency Palette เป็ นการกาหนดความโปร่งแสงของ Object (ปรับที่ Opacity) และรูปแบบของ การผสมสี Blending Mode ซึง่ โดยปกติเราจะใช้ อยูแ่ ค่ 3 โหมด คือ Normal Multiply และ Screen


8.Brushes Palette การใช้ แปรงที่มีลกั ษณะต่างๆเพื่อให้ เหมาะสมกับงาน มีให้ เลือกใช้ กนั หลายอัน

9.Symbols Palette เป็ นเครื่ องมืออีกอย่างที่ชว่ ยเราประหยัดเวลาในการวาดค่อนข้ างมาก(มีรูปมากมายให้ เลือกใช้ ) ที่สาคัญมีขนาดไฟล์เล็ก (อ่านเพิ่มเติมได้ ที่ เทคนิคในการใช้ เครื่ องมือ)

10.Pathfinder Palette การใช้ คาสัง่ นี ้ จะต้ องใช้ (คลิกเลือก) Objects ตังแต่ ้ 2 ชิ ้นขึ ้นไปที่วางซ้ อนกัน อาจ เป็ นการตัดส่วนใดส่วนหนึง่ ออก หรื อรวมเข้ าด้ วยกัน


บทที่ 2 เริ่มต้ นการใช้ งาน Illustrator ในบทนี ้เราจะดูกนั ถึงภาพรวมของการใช้ งาน Illustrator เบื ้องต้ นอย่างคร่าวๆ โดยอ้ างอิงจาก องค์ประกอบต่างๆ บนหน้ าจอแรกที่เราเห็นเมื่อเปิ ดโปรแกรม ตลอดจนการทาความคุ้นกับแถบคาสัง่ ต่างๆ ที่ ปรากฎบนหน้ าจอแรกของโปรแกรม ตอนที่ 1 เข้ าสู่โปรแกรม 1. Click mouse ที่ปมุ่ start ที่เมนูบาร์ 2. เลือ่ นเม้ าส์เลือกคาสัง่ Programs> Adobe> Adobe Illustrator 3. จะปรากฎหน้ าจอแรกของโปรแกรม Illustrator ตอนที่ 2 คาสั่งต่ าง ๆ ในเมนูบาร์ จะมีคาสัง่ ทังหมด ้ 9 คาสัง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้

หมวด

คาอธิบาย เป็ นคาสัง่ การทางานเกี่ยวกับไฟล์ เช่น การเปิ ดไฟล์ ปิ ดไฟล์ การบันทึกไฟล์และการออกจากโปรแกรม file เป็ นต้ น เป็ นคาสัง่ เกี่ยวกับการปรับแต่งต่างๆ เช่น การย้ อนกลับการทางาน การตัด การทาสาเนาหรื อคัดลอก edit การวาง หรื อรูปแบบ การเลือก รวมถึงการกาหนดคุณสมบัตติ า่ งๆที่มีผลต่อการปรับแต่งภาพด้ วย เช่น การสร้ างรูปแบบ หรื อการกาหนดค่าสี เป็ นต้ น เป็ นคาสัง่ ทีเ่ กี่ยวกับการทางานกับออบเจ็กต์ทงหมด ั้ เช่น คาสัง่ ในการจัดกลุม่ การจัดลาดับ หรื อการ object ปรับแต่ง เป็ นต้ น type เป็ นคาสัง่ ทีเ่ กี่ยวกับการทางานกับตัวอักษร เช่น การเลือกฟอนต์ ขนาดและลักษณะตัวอักษร เป็ นต้ น การตกแต่งชิ ้นงานด้ วยเทคนิคพิเศษต่างๆ เช่น การกาหนดความขรุขระ การกาหนดรอยหยัก หรื อการ filter หมุนชิ ้นงาน เป็ นต้ น เป็ นคาสัง่ การทางานเกี่ยวกับไฟล์ เช่น การเปิ ดไฟล์ ปิ ดไฟล์ การบันทึกไฟล์และการออกจากโปรแกรม file เป็ นต้ น เป็ นการกาหนดเทคนิคพิเศษในการตกแต่งชิ ้นงาน จะคล้ ายกับเมนู filter แต่เมนู effect สามารถทีจ่ ะ effect แก้ ไขค่าในการตกแต่งได้ รวบรวมคาสัง่ ในการกาหนดมุมมองของการทางาน เช่น การแสดงหรื อซ่อนเส้ นไม้ บรรทัด หรื อการ view ขยายชิ ้นงาน เป็ นต้ น เป็ นเมนูทีรวบรวมคาสัง่ เกี่ยวกับการจัดการหน้ าต่างแต่ละหน้ าต่าง ที่ปรากฎบนจอรวมถึงหน้ าต่าง window Palette,Toolbox ด้ วย เช่น คาสัง่ แสดง หรื อ คาสัง่ ซ่อน เป็ นต้ น help รวบรวมวิธีการใช้ งานและคาแนะนาอื่นๆ เกี่ยวกับโปรแกรม Illustrator


การบันทึกไฟล์ (Save) เช่นเดียวกับโปรแกรมโดยทัว่ ไป หลังจากทีเ่ ราสร้ างชิ ้นงานเสร็ จแล้ ว จะมีการเก็บบันทึกไฟล์ นันไว้ ้ เพื่อเรี ยกใช้ ในครัง้ ต่อไป ในโปรแกรม Illustrator ก็มีการบันทึกตามขันตอนดั ้ งต่อไปนี ้ 1. เลือกคาสัง่ File ที่เมนูบาร์ และเลือกรูปแบบการบันทึกไฟล์ดงั ต่อไปนี ้ คือ File>Save

เป็ นการบันทึกงานในรูปแบบปกติ โดยโปรแกรมจะบันทึก งานที่แก้ ไขใหม่ในชื่อเดิม ตาแหน่งเดิมหรื อบันทึกไฟล์ที่ ยังไม่เคยมีการบันทึกมาก่อน File>Save As เป็ นการบันทึกงานเดิมเป็ นชื่อใหม่ ตาแหน่งใหม่ และให้ อยูใ่ นรูปของ Format ใหม่ได้ File>Save for Web เป็ นการบันทึกไฟล์เพื่อให้ ได้ ภาพที่เหมาะสาหรับการใช้ งาน บนเว็บ 2. Click mouse เพื่อกาหนดตาแหน่งของไฟล์ที่ต้องการเก็บ 3. ตังชื ้ ่อไฟล์ 4. Click mouse เลือก Format ของไฟล์ 5. Click mouse ที่ปมุ่ Save 6. ที่หน้ าจอ Illustrator Native Format Options ให้ กาหนดรายละเอียดดังนี ้ Compatibility : เลือกเวอร์ ชนั่ ทีต่ ้ องการบันทึก Option : มีให้ เลือก 2 รูปแบบคือ Embed All Fonts และ Subset fonts when less than of characters are used 7. Click mouse ที่ปมุ่ OK


การสร้ างหน้ างานใหม่ เริ่มต้ นการทางานด้ วยการเปิ ดเอกสารใหม่ ขีน้ มาด้ วยคาสั่ง New มีขนั ้ ตอนดังนี ้ 1.ไปที่เมนูหลัก (Menu Bar) จากนันไปที ้ ่ File > New.. จะมีหน้ าต่างขึ ้นมาดังรูป เมื่อต้ องการเปิ ดไฟล์งานใหม่ ผู้ใช้ งานสามารถเปิ ดได้ ด้วยการเลือกคาสัง่ File > New… จาก Menu Bar หรื อกดปุ่ มคีย์ลดั Ctrl + N บนคีย์บอร์ ด A

การสร้ างหน้ างานใหม่ในโปรแกรม Illustrator นัน้ กาหนดแต่เพียงขนาดและรูปแบบมุมมองของหน้ า งานเท่านัน้ เนื่องจากโปรแกรมนี ้ จะสร้ างภาพกราฟิ กประเภท Vector ซึ ้งสามารถแก้ ไขโดยที่ไม่สร้ างความ เสียหายให้ กบั ชิ ้นงาน รายละเอียดมีดงั นี ้ 1. Name สาหรับกาหนดชื่อให้ กบั ชิ ้นงานของเรา 2. Artboard setup กาหนดค่ามาตราฐานให้ กบั ชิ ้นงานของเรา มีรายละเอียดดังนี ้ 2.1 Size กาหนดขนาดของชิ ้นงานตามขนาดของกระดาษ เช่น ให้ มีขนาดเท่ากับ A4 , A3 หรื อ กาหนดเป็ น ขนาดหน้ าจอ เช่น 800 x 600Pixels 2.2 Unit กาหนดหน่วยทีใ่ ช้ ในชิ ้นงาน เช่น Centimeters (เซนติเมตร) , Pixels 2.3 Width/Height กาหนดความกว้ าง และความสูงของชิ ้นงาน 2.4 Orientation กาหนดชิ ้นงานให้ วางแนวตังหรื ้ อแนวนอน 3. Color Mode ใช้ กาหนดโหมดสี ประกอบด้ วยโหมดสี 2 ชนิดได้ แก่ 3.1 CMYK Color เป็ นโหมดสาหรับทางานสิง่ พิมพ์ (จะให้ สใี กล้ เคียงกับภาพที่ปริ น้ ออกมา สีจะค่อน ข้ างทึม) 3.2 RGB Color เป็ นโหมดสาหรับทางานที่แสดงบนหน้ าจอคอมพิวเตอร์ (จะให้ สสี ด) การเลือกโหมดของสีนนส ั ้ าคัญมาก ผู้ใช้ งานควรเลือกโหมดสีให้ ตรงกับงานที่ต้องการใช้ เช่นถ้ าเป็ นงาน สิง่ พิมพ์ก็ควรเลือก CMYK เพื่อให้ ได้ สที ี่แสดงบนหน้ าจอทางานตรงกับสีท่ ี่ปริ น้ เนื ้องานออกมา ถ้ าเลือกเป็ น RGB ภาพที่แสดงบนหน้ าจอกับภาพที่ปริ น้ ออกมาจะแตกต่างกันมาก


การเลือกสีในโปรแกรม Illustrator บริ เวณด้ านล่างของ Tool Bar จะมีสว่ นที่ใช้ สาหรับแสดงสีและกาหนดสี ในการทางานควบคูก่ บั อุปกรณ์ตา่ งๆเรี ยกว่า สี fill (ด้ านบน) และสี Stroke (ด้ านล่าง) โดยที่ fill คือ สีที่เติมเต็มในตัววัตถุ ในขณะที่ Stroke คือ สีของเส้ นขอบของวัตถุ โดยผู้ใช้ งานสามารถเลือกเปลีย่ นสีได้ ตามวิธีตา่ งๆ ดังนี ้ 1. คลิกลงบนไอคอนสี fill และสี Stroke เมื่อคลิกแล้ วไอคอนสี fill หรื อ สี Stroke นันจะ ้ Active ขึ ้นมาด้ านหน้ า

Fill2. เลือกเปลีย่ นสีจากคาสัง่ ดังต่อไปนี ้ Palette Color (Window > Color) Palette Color มีลกั ษณะเป็ นแถบผสมสีใช้ สาหรับเลือกเฉดสีที่ต้องการ 1. Palette Swatches (Window > Swatches) ภายใน Swatches จะประกอบด้ วยจานสีสาเร็ จรูปที่ สามารถเลือกคลิกใช้ งานได้ ทนั ที


2. Palette Transparency เป็ นพาเลทที่ใช้ ปรับแต่งวัตถุให้ เกิด ความโปร่งใส Palette Gradient เป็ นพาเลทที่ใช้ ปรับแต่งสีและ รูปแบบของเฉดสี

บทที่ 3 การบันทึกงาน การเปลี่ยนแปลงชิน้ งานและการบันทึกงานการ เปลี่ยนแปลงชิน้ งานและการบัน ทงาน การแก้ ไขและกาหนดขนาดชิ ้นงาน 1. ไปที่เมนูหลัก(Menu bar) จากนันไปที ้ ่ File > Document Setup จะมีหน้ าต่างดังรูป

ดังนันก็ ้ จะสามารถเปลีย่ นขนาดตามทีต่ ้ องการได้ เลย แล้ วกด ok เป็ นอันเสร็ จ


การเปลี่ยนแปลงโหมดสี ตามทีเ่ คยกล่าวไปแล้ วว่าโหมดสีนนส ั ้ าคัญมากต่อชิ ้นงาน ซึง่ ถ้ าเราต้ องการเปลีย่ นแปลงโหมดสีนนก็ ั้ ทาได้ ง่ายๆดังนี ้ 1.ไปที่เมนูหลัก (Menu Bar) เลือก Flie > Document color mode ให้ ?เราเลือกโหมดสีที่ต้องการ


การบันทึกไฟล์ และการบันทึกให้ เป็ นเวอร์ ช่ นั ต่ างๆกัน ถ้ าเรานาไฟล์ที่สร้ างด้ วย Illustrator CS3 ไปเปิ ดกับ Illustrator CS2 ย่อมมีปัญหาเกิดขึ ้นเนื่องมาจาก ว่า CS3 นันมี ้ คาสัง่ ใหม่ ที่ไม่มีใน CS2 ทาให้ ไฟล์ที่เราทามานันเปิ ้ ดไม่ได้ ดังนันในหั ้ วข้ อนี ้จะเป็ นการ Save ไฟล์ และเปลีย่ นให้ เป็ นเวอร์ ชนั่ ต่างๆ การบันทึกชิ ้นงานนันมี ้ ขนตอนดั ั้ งนี ้ 1.ไปที่เมนูหลัก (Menu bar) จากนันไปที ้ ่ Fileจะเป็ นดังรูป


บทที่ 4 การกาหนดมุมมองใน Illustrator ในการกาหนดมุมมองการทางานกับชิ ้นงานในโปรแกรม Illustrator นันนั ้ บว่าเป็ นเรื่ องสาแม้ ในการ ทางานเริ่ มต้ นอาจจะมีการกาหนดขนาดของภาพมาแล้ วก็ตาม แต่เราสามารถปรับเปลีย่ นภาพหรือชิ ้นงานได้ โดย ไม่มีข้อจากัด โดยในระหว่างขันตอนการท ้ างานนันเราต้ ้ องเข้ าใจว่าจะกาหนดมุมมองของภาพออกม อย่างไร เพื่อที่เราจะสามารถทางานได้ อย่างดีและมีประสิทธิภาพมากที่สดุ เพื่อให้ ภาพออกมาเหมาะสมและพร้ อมที่จะ เอาไปใช้ งานได้ ซึง่ ทาได้ หลายวิธีดงั ต่อไปนี ้ ตอนที่ 1 กาหนดการมองภาพทัง้ หมดโดยใช้ Toolbox Option Toolbox Option เป็ นการกาหนดมุมมองที่ใช้ ในการทางานกับภาพ โดยที่การเรี ยกใช้ Toolbox Option นี ้ทาได้ โดยการ Click mouse ที่ Toolbox ซึง่ เราจะเห็นว่ามีเครื่ องมือย่อยอยุ่ 4 รูปแบบ คือ Maximized Screen Mode คือ การย่อหน้ าจอปกติ Standard screen Mode : เป็ นหน้ าจอปกติของ Illustrator ซึง่ จะเป็ น การแสดงภาพทังหมดให้ ้ เห้ นภายในกรอบหน้ าต่าง Full Screen Mode with Menu bar : เป็ นการแสดงหน้ าจอที่ไม่มกี รอบ หน้ าต่าง โดยรูปทัง้ หมดจะถูกแสดงเต็มหน้ าจอ แต่ยงั เหลือเมนูบาร์ อยู่ Full Screen Mode : เป็ นการแสดงหน้ าจอโดยที่รูปทังหมดถู ้ กแสดงเต็ม จอ ซึง่ ไม่มกี รอบหน้ าต่างและเมนูบาร์

ตอนที่ 2 การย่ อ-ขยายภาพ โดยใช้ Zoom Tool การย่อ-ขยายภาพ จะทาให้ เราสามารถตกแต่งภาพได้ ง่ายและมีความ ละเอียดมากขึ ้น โดยที่เราสามารถขยายภาพและตกแต่งภาพได้ จนถึงจุดที่เล็กที่สดุ ของภาพZoom Tool เป็ น เครื่ องมือหนึง่ ที่อยูใ่ นToolbox ที่มีรูปร่างเหมือนแว่นขยาย ซึง่ เราจะใช้ Zoom Tool ในการย่อหรื อขยายภาพ มี ขันตอนการท ้ างานดังนี ้ คือ 1. Click mouse ที่ไอคอนแว่นขยายใน Toolbox

2. เมื่อเลือ่ นเม้ าส์เข้ าไปในบริเวณรูปภาพ ตัวชี ้เม้ าส์จะเปลี่ยนเป็ นรูปแว่นขยายเมื่อต้ องการขยายภาพ เป็ นบริ เวณเจาะจงให้ Drag mouse ภาพบริ เวณที่ต้องการดูเจาะจงเท่านัน้ แล้ วปล่อยเม้ าส์ จะเห็นว่าภาพที่ ขยายไม่ได้ เป็ นสัดส่วนเปอร์ เซ็นต์เหมือนกับวิธีการที่ผา่ นมา


ตอนที่ 3 การกาหนดมุมมองของภาพ โดยการใช้ Hand Tool เลื่อนดูภาพ เราจะใช้ เครื่ องมือ Hand Tool ในกรณีที่ภาพขนาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นทุกส่วนของภาพได้ ใน หน้ าจอเดียวกัน โดยที่เราจะใช้ Hand Tool เพื่อเลือ่ นดูภาพในทุกจุดได้ ภายในหน้ าจอเดียวโดยไม่ต้องอาศัย Scrollbar อีกต่อไป ด้ วยวิธีงา่ ยๆ คือการใช้ Hand Tool ที่อยูบ่ น Toolbox ซึง่ มีขนตอนดั ั้ งต่อไปนี ้ 1. Click mouse ที่ไอคอนรูปมือ บน Toolbox จากนันเลื ้ อ่ นเม้ าส์ไปที่รูปภาพตัวชี ้เม้ าส์จะเปลีย่ นเป็ นรูป มือบนภาพที่เรากาลังทางาน

2. Click mouse ค้ างไว้ และลากไปในทิศทางต่างๆทีต่ ้ องการ 3. ปรากฎรูป สังเกตว่าขณะที่เลือ่ นภาพไปยังตาแหน่งต่างๆ เราสามารถดูตาแหน่งของภาพบน หน้ าต่างเทียบกับภาพทังหมดได้ ้ จาก Navigator Palette เราสามารถเรี ยกดูได้ โดยใช้ คาสัง่ Window>Show Navigator จะปรากฎ Navigator Palette ขึ ้น


10 เหตุผลที่หลงรัก illustrator ต้ องขอบอกก่อนว่า .AI ในที่นี่หมายถึงไฟล์นามสกุล .ai หรื อสกุลไฟล์ของโปรแกรม illustrator นัน่ เอง หลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่าไฟล์ Graphic นันมี ้ อยู่ 2 ประเภทใหญ่ๆคือ ไฟล์ประเภท Bitmap และ Vector ไฟล์ Bitmap เป็ นไฟล์ที่เกิดจากจุดเล็กๆของ pixels หลายๆจุดรวมตัวกันเป็ นภาพหนึง่ ภาพ ความ คมชัดของภาพจะขึ ้นอยูก่ บั จานวน pixels แต่ถ้าหากลองขยายภาพดูเยอะๆจะทาให้ ภาพไม่คมชัดจะเห็นเป็ นจุด สีเ่ หลีย่ มหลายๆจุดเรียงกันนัน่ เอง ไฟล์ Vector เป็ นไฟล์ภาพที่เกิดจากการสร้ างด้ วยส่วนประกอบของเส้ นในลักษณะต่างๆ ซึง่ เส้ นเหล่านี ้ เกิดจากการคานวณทางคณิตศาสตร์ คือจุดๆของเส้ นโค้ งและเส้ นตรงหลายๆจุดเป็ นลักษณะของภาพโครงร่าง ( Outline ) เมื่อมีการแก้ ไขภาพก็จะเป็ นการแก้ ไขของเส้ นทาให้ ไม่เสียความคมชัดของภาพไปเมื่อมีการขยาย (นี่แหล่ะคือความโดดเด่นที่ไม่มใี ครเหมือนของ illustrator) มาดูเหตุผลที่ทาให้ ผมหลงรักโปรแกรม illustrator กันครับ 1. ภาพคมชัดไม่วา่ คุณจะขยายสักเท่าใดก็ตาม 2. มันสามารถไล่โทนสีได้ สมจริ งที่สดุ โปรแกรมหนึง่ (Photoshop ชิดซ้ าย) 3. โปรแกรมกินทรัพยากรของเครื่ องคอมพิวเตอร์ น้อยมาก (เครื่ องสเป็ กไม่สงู มากก็สามารถใช้ เจ้ า illustrator ได้ ) 4. ขนาดของไฟล์ .ai มีขนาดเล็กมากๆ สะดวกต่อการโอนถ่ายต่างๆ (อันนี ้เจ๋งจริงๆ) 5. โปรแกรมถูกออกแบบมาให้ ใช้ งานง่าย มีเครื่ องอานวยความสะดวกมากมาย 6. เป็ นสุดยอดโปรแกรมทีค่ รองตลาดกราฟฟิ คตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั (เชื่อเหอะหากคุณได้ รับ job ลูกค้ า จะต้ องขอให้ คณ ุ ทาออกมาเป็ นไฟล์ .ai แน่นอน) 7. โปรแกรมถูกออกแบบมาให้ มีความยืดหยุน่ กับการนาไปใช้ กบั โปรแกรมอื่นๆ (ไมว่าจะเป็ น Flash Photoshop Acrobat และอื่นๆ ในตระกูล Adobe) 8. มันสามารถเซฟไฟล์ออกมาได้ หลาย format สะดวกต่อการนาไปใช้ อย่างยิง่ (.gif .Tiff .Pdf .Jpeg 9. มันทาให้ คณ ุ สามารถสร้ างงานชิ ้นนึงออกมาได้ อย่างรวดเร็ว (หากคุณถึง ขันเซี ้ ยนแล้ วรับรองว่า คุณจะเป็ นที่รักของเจ้ านายอย่างแน่นอน) 10. อื่นๆ อีกเยอะแยะมากมายที่ผมคิดไม่ออก และนัน่ เป็ นเหตุผลที่เด่นๆที่ผมพอจะนึกออก ที่ทาให้ เจ้ า โปรแกรมตัวนี ้ครองใจผมมานานช้ านาน หากคุณมีเหตุผลที่แตกต่างจากนี ้กรุณาแบ่งปั นความรู้สกึ ที่มีตอ่ เจ้ า illustrator ตัวนี ้กัน…แล้ วคุณจะหลงรักมัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.