AR 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

Page 1

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

ผลงานจิตรกรรม น.ส.ณัชณิชา พุธทา

รายวิชาศิลปะ ศ33102 โดย ครูญาณวรรณ์ ไชยโย โรงเรียนหอวัง ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

1

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

ชุดการเรียนรู้ เรือ่ งจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

ชุดการเรียนรู้ เรื่องจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม


คำ�นำ� ชุดการเรียนรู้เรื่องจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยความเป็นจริงเสริม รายวิชา ศ33102 ศิลปะ สำ�หรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประกอบกันทั้งหมด 5 เล่ม ดังนี้ เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม เล่มที่ 2 แนวความคิดการสร้างงานจิตรกรรมสมัยใหม่ เล่มที่ 3 กลวิธีในการสร้างงานจิตรกรรม เล่มที่ 4 การจัดองค์ประกอบศิลป์ เล่มที่ 5 กระบวนการสร้างงานจิตรกรรม ชุดการเรียนรู้นี้จะต้องใช้ควบคู่กับคู่มือครูและแอพพลิเคชั่นออรัสมา (Aurasma Application) เพื่อ จัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยในเล่มนี้เป็นเล่มที่ 1 ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ 1 คาบ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดการเรียนรู้เรื่องจิตรกรรมโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมรายวิชาศิลปะ ศ33102 สำ�หรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นี้ จะอำ�นวยประโยชน์ต่อครูผู้สอนและนักเรียน ตลอด จนผู้สนใจทั่วไป ที่ได้นำ�ไปประกอบการจัดการเรียนรู้ อันจะมีผลโดยตรงต่อการพัฒนาการเรียนจัดการเรียน รู้วิชาศิลปะ ให้มีประสิทธิภาพและบรรลุผลสำ�เร็จมากยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ทำ�ให้ ชุดการเรียนรู้เรื่องจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงนี้สำ�เร็จด้วยดีดังปรากฏเป็นอย่างสูง

2

ญาณวรรณ์ ไชยโย


คำ�นำ� คำ�ชี้แจง ใบความรู้ที่ 1 ความหมายของจิตรกรรม ใบความรู้ที่ 2 ประเภทของจิตรกรรม ใบความรู้ที่ 3 ลักษณะการสร้างสรรค์จิตรกรรม ใบความรู้ที่ 4 ประโยชน์และคุณค่าของจิตรกรรม แบบทดสอบท้ายเล่ม เฉลยแบบทดสอบท้ายเล่ม บรรณานุกรม

หน้า 2 4 5 6 8 12 13 14 14

3

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

ชุดการเรียนรู้ เรือ่ งจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

สารบัญ


ค�ำชี้แจงส�ำหรับนักเรียน : นักเรียนอ่านค�ำชี้แจงแล้วปฏิบัติตามค�ำสั่งให้ถูกต้อง 1 ให้นักเรียนรับเอกสารจากครู 1 ชุด ซึ่งประกอบด้วย 1.1 ใบความรู้ 1.2 แบบฝึกหัด 2. ในส่วนของการเรียนรู้ผสานกับสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมตามขั้นตอนต่อไปนี้ 2.1 ให้นักเรียนติดตั้งแอพพลิเคชั่นออรัสมา (AURASMA APPLICATION) 2.1.1 ระบบปฏิบัติการ iOS ดาวน์โหลด แอพพลิเคชั่นได้ที่ App Store 2.1.2 ระบบปฏิบัติการ Android ดาวน์ โหลดแอพพลิเคชั่นได้ที่ Play Store 2.2 เมื่อติดตั้งเรียบร้อยแล้ว ให้พิมพ์ค้นหาค�ำว่า “krufang” ในช่อง Discover Auras เมื่อผลค้นพบแล้วให้ กด Follow ปุ่มจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง และขึ้นค�ำว่า Following 2.3 ในชุดการเรียน เรื่องจิตรกรรม จะปรากฎสัญลักษณ์ ให้นักเรียนเปิดใช้งาน แอพพลิเคชั่นออรัสมา (AURASMA) และใช้กล้องส่องไปที่รูปภาพนั้นๆ 3. นักเรียนอ่านใบความรู้ให้เข้าใจ แล้วจึงท�ำแบบฝึกหัด 4. นักเรียนเรียนรู้และท�ำแบบทดสอบท้ายเล่มด้วยตนเองภายในเวลา 1 คาบ 5. เมื่อนักเรียนปฏิบัติการเรียนรู้เรียบร้อยแล้วควรเก็บเอกสารส่งครูผู้สอนทุกครั้ง

เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality (AR) krufang

1. ดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่นออรัสมา 2. เปิดแอพพลิเคชั่นสแกน (Aurasma App) จาก App Store QR Code เพื่อเชื่อมต่อเข้า หรือ Google Play ลงในโทรศัพท์ Aurasma สมาร์ทโฟน หรือแทปเล็ต

4

3. พิมพ์ค�ำค้น "krufang"ในช่อง 4. เมื่อเจอสัญลักษณ์ Aurasma Discover Auras เมื่อปรากฏขึ้นมา ตามภาพให้เปิดแอพพลิเคชัน่ ออรัสมา ส่องภาพเพื่อชมภาพเคลื่อนไหวและ แล้วให้เลือกและกด Follow วิดิโอได้


ความหมายของจิตรกรรม

จิตรกรรม หรือการเขียนภาพระบายสี (Painting)

หมายถึง ภาพเขียนที่เกิดจากการขีดเขียน ระบายสี โดยการถ่ายทอด ความงาม ความรู้สึกนึกคิด ลงบนพื้นระนาบที่เป็น 2 มิติ เช่น กระดาษ ผ้าใบ แผ่นไม้ ฝาผนัง ฯลฯ วัสดุที่ใช้อาจเป็น ดินสอด�ำ สีเกรยอง ปากกา สีน�้ำ สี ฝุ่น สีเทียน สีอะคลิลิก สีน�้ำมัน ฯลฯ ค�ำว่าจิตรกรรม ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า “PAINTING” ในหนังสือ พจนานุกรม ศัพท์ศิลปะ อังกฤษไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ค�ำนิยาม ค�ำว่า จิตรกรรม หรือ PAINTING ว่า “ภาพที่ศิลปิน แต่ละบุคคลสร้างขึ้นโดยประสบการณ์ ทางสุนทรียภาพ และ ความช�ำนาญ โดยใช้ที่ต่าง ๆ เช่น สีน�้ำ สีน�้ำมัน สีฝุ่น ฯลฯ การท�ำงาน ทัศน ศิลป์ บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ เป็นงานศิลปะที่ แสดงออกด้วยการ วาด ระบายสี แล้วเสร็จองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิด ภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา การสร้างงานจิตรกรรม จะสร้างงานบนพื้น ราบเป็นส่วนใหญ่ เช่น กระดาษ ผ้า แผ่นไม้ ผนัง เพดาน เป็นการจัดรวมกันของ รูปทรง และสีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพ นั้น จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ท�ำงานจิตรกรรม มักเรียนว่า จิตรกร ซึ่งศิลปินอาจเลือกในรูปแบบต่างๆ เช่น แบบสัจนิยม (Realism) แบบอุดมคติ (Idealism) หรือแบบนามธรรม (Abstract)” จิตรกรรม ได้แก่ กรรมวิธี ของการน�ำเอาสีต่าง ๆ มาใช้ให้เป็น ประโยชน์ต่อพื้นผิว เพื่อให้บังเกิดภาพที่มีความหมาย และความงดงาม ตามจุด ประสงค์ของศิลปิน เป็นการระบายด้วยสีเดียว หรือ เอกรงค์ (Monochrome) หรือภาพหลายสี หรือ พหุรงค์ (Polychrome) ก็ได้ งานจิตรกรรมนี้ อาจ เป็นการเขียนด้วย สีน�้ำมัน สีฝุ่น สีน�้ำ สีชอล์ค สีอะครีลิค และสีอื่นๆ ลงบนพื้น ผ้าใบ ไม้ กระดาษ แผ่นหนัง และบนผนังปูน เป็นต้น จึงกล่าวได้ว่า จิตรกรรม หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบ เพื่อ บันทึกการแสดงออก ตามความคิดในรูปแบบของเส้น และสีบนพื้นระนาบ ด้วยวิธีการระบายสี เพื่อบันทึกรูปและความรู้สึก โดยเรียกตามลักษณะของ คุณสมบัติสีที่ใช้ เช่น สีน�้ำมัน สีฝุ่น สีน�้ำ สีชอล์ค สีอะครีลิค เป็นต้น

5

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

ชุดการเรียนรู้ เรือ่ งจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

ใบความรู้ที่ 1


ใบความรู้ที่ 2 ประเภทของจิตรกรรม

จิตรกรรมหรือการเขียนภาพระบายสี มีขอบข่ายความกว้าง ๆ ตามลักษณะของการแสดงออก และการใช้อุปกรณ์เป็น 2 ประเภทคือ

1. การเขี ย นภาพ หรื อ การวาดเส้ น (Drawing) เป็นงานที่แสดงออกด้วยการขีดเขียนเป็นภาพลายเส้น

หรือภาพแรเงา โดยใช้วสั ดุทมี่ ลี กั ษณะแข็ง และเป็นวัสดุสำ� เร็จรูปทีส่ ามารถขีดเขียนได้โดยตรง ได้แก่ ดินสอด�ำ สีเกรยอง ปากกา ฯลฯ ซึ่งนิยมเขียนลงบนกระดาษ งานเขียนภาพในลักษณะนี้ต้องการแสดงความงามของเส้นเป็นส�ำคัญ

6


และสีสันตามที่เราต้องการ รวมทั้งวิธีการหยดสี สลัดสี แต้มสี และวิธีการอื่น ๆ ที่สามารถน�ำสีมาสร้างสรรค์ให้เกิดความ งามได้ ในการระบายสีจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่เป็นตัวกลางในการระบายสี เช่น พู่กัน แปรง เกรียง ฯลฯ โดยสามารถระบายสีบนพื้นระนาบรองรับ เช่น แผ่นกระดาษ ผ้าใบ ไม้กระดาน และฝาผนัง เป็นต้น

7

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

ชุดการเรียนรู้ เรือ่ งจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

2. การระบายสี (Painting) เป็นงานที่แสดงออกด้วยการน�ำสีมาระบาย ผสมกลมกลืนให้เกิดน�้ำหนักแสงเงา


ใบความรู้ที่ 3 ลักษณะการสร้างสรรค์จิตรกรรม

การสร้างสรรค์จิตรกรรม หรือการเขียนภาพระบายสี แบ่งได้ 3 ลักษณะคือ

1. การเขี ย นภาพแสดงรู ป แบบ (Figurative Painting) หมายถึง การเขียนภาพแบบเหมือนจริง จาก

ธรรมชาติที่พบเห็น โดยทั่วไป เช่น ภาพคน สัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมจากธรรมชาติที่พบเห็น โดย ทั่วไป เช่น ภาพคน สัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมรอบตัวเรา เป็นการถ่ายทอดรูปแบบตามที่ตามที่ตาเห็น ให้เหมือนธรรมชาติมากที่สุด

8


9

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

ชุดการเรียนรู้ เรือ่ งจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม


2. การเขี ย นภาพกึ่ ง แสดงรู ป แบบ (Semi-Figurative Painting) หมายถึง การเขียนภาพ โดยวิธีการ

ลด ตัดทอน รูปร่าง รูปทรง และสีสันที่เหมือนจริง ให้เหลือเฉพาะจุดเด่น หรือส่วนส�ำคัญที่ต้องการสื่อความหมาย และ สื่ออารมณ์ความรู้สึกต่อผู้ชมเท่านั้น จึงเป็นการเขียนภาพที่อยู่กึ่งกลาง ระหว่างการแสดงรูปแบบ และไม่แสดงรูปแบบ

ชื่อภาพ: Still life with lemon and oranges, by Pablo Picasso

ชื่อภาพ: The Scream by Edvard Munch

ชื่อภาพ: Franz Marc -Blue Horse I - Monaco, by Marc Chagall

10


ชื่อภาพ: Tableau No. 2/Composition No. VII. by Piet Mondrian

11

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

(Abtract-Painting) หมายถึง การเขียนภาพที่ต้องการแสดงอารมณ์ความรู้สึกในผลงานแทนรูปแบบที่เหมือนจริง จึง เป็นผลงานศิลปะที่ไม่แสดงรูปร่าง รูปทรง ตามธรรมชาติ และไม่ปรากฏชัดเจนว่ารูปภาพอะไร แต่จะแสดงภาพ เส้น สี น�ำ้ หนัก แสงเงา จังหวะ พืน้ ผิว ฯลฯ ผสมผสานอยูใ่ นภาพ ท�ำให้เกิดความรูส้ กึ ต่อผูช้ มได้อย่างอิสระ ดังที่ ปาโบล ปิกสั โซ่ (Pablo Picasso) ศิลปินที่เขียนภาพไม่แสดงรูปแบบ เคยกล่าวไว้ว่า “จงอย่าถามว่า ข้าพเจ้าวาดรูปอะไร แต่จงถามตัว ท่านเองว่า ท่านรู้สึกอย่างไรกับภาพนี้”

ชุดการเรียนรู้ เรือ่ งจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

3. การเขี ย นภาพไม่ แ สดงรู ป แบบ (Non-Figurative Painting) หรือการเขียนภาพแบบนามธรรม


ใบความรู้ที่ 4

ชื่อภาพ: Portrait of Daniel Kahnweiler by Pablo Picasso

ชื่อภาพ: Composition No. IV. by Wassily Kandinsky

ประโยชน์และคุณค่าของจิตรกรรม

12

จิตรกรรม เป็นศิลปะบริสุทธิ์ หรือวิจิตรศิลป์ แขนงหนึ่งที่ สนองความต้องการทางด้านจิตใจ เพราะเป็น ศิลปะที่มีความ ประณี ต งดงาม มี ผ ลให้ เ กิ ด ความชื่ น ชมต่ อ จิ ต ใจโดยตรง แต่เราก็สามารถน�ำ การเขียนภาพ และการระบายสีไป ประยุกต์ใช้ในงานอื่นๆ ได้ อย่างมีคุณค่าเช่น การเขียนภาพ ประกอบเรื่อง งานโฆษณา และสิ่งพิมพ์ต่างๆ ซึ่งเป็นสื่อได้ อย่างดีแก่ผู้พบเห็นให้เกิดความประทับใจ


1. งานจิตรกรรมหมายถึงงานในลักษณะใด 1) การขีด เขียน และทาสี 2) การเทสี กันสาดสี อย่างอิสระเสรี 3) การวาดภาพด้วยดินสอด�ำเป็นลายเส้น 4) การเขียนภาพระบายสีเพื่อให้เกิดความงดงาม

6. ลักษณะภาพแสดงเกี่ยวกับเส้น สี น�้ำหนัก แสงเงา จังหวะ ลีลา ก่อให้เกิดความรู้สึกต่อผู้ชมอย่างอิสระ เป็นการกล่าวถึง ลักษณะภาพประเภทใด 1) ภาพแสดงรูปแบบ 2) ภาพกึ่งแสดงรูปแบบ 3) ภาพไม่แสดงรูปแบบ 2. การเขียนภาพระบายสีจ�ำแนกตามการแสดงออก และการใช้ 4) ภาพเกี่ยวกับธรรมชาติ อุปกรณ์ได้ตามข้อใด 1) การวาดเส้น - การระบายสี 7. ข้อใดคือลักษณะของการเขียนที่ไม่แสดงรูปแบบ 2) การเขียนภาพแสดงรูปแบบ - การระบายสี 1) การเขียนภาพที่ไม่แสดงมิติ 3) การเขียนภาพแสดงรูปแบบ - การเขียนภาพไร้รปู แบบ 2) การเขียนภาพเหมือนจริงตามที่ตามองเห็น 4) การเขียนภาพแสดงรูปแบบ - การเขียนภาพกึง่ แสดงรูปแบบ 3) การเขียนภาพด้วยเส้นสีเป็นภาพวิวทิวทัศน์ 4) การเขียนภาพที่ต้องการแสดงอารมณ์รู้สึกในผลงาน 3. เพราะเหตุใด การศึกษางานจิตรกรรมมักนิยมสอนการเขียน ลายเส้นก่อน 8. ภาพนามธรรม เป็นภาพลักษณะประเภทใด 1) เป็นพื้นฐานดีในการวางรูป 1) ภาพแสดงรูปแบบ 2) ลายเส้นเป็นงานที่ง่ายว่าการระบายสี 2) ภาพกึ่งแสดงรูปแบบ 3) งานลายเส้นเป็นงานง่ายทีไ่ ม่สลับซับซ้อนควรศึกษาก่อน 3) ภาพไม่แสดงรูปแบบ 4) ถูกทุกข้อ 4) ภาพเกี่ยวกับธรรมชาติ 4. การเขียนภาพแสดงรูปแบบคือภาพลักษณะใด 1) ภาพคนผิดสัดส่วน 2) ภาพคนที่ไม่เหมือนจริง 3) ภาพคนเต็มตัวสมบูรณ์ 4) ไม่มีข้อถูก

9. ประโยชน์ของการเขียนภาพระบายสีคืออะไร 1) เป็นพื้นฐานอย่างดีในการวาดรูป 2) น�ำไปประยุกต์ใช้งานอื่น ๆ ได้ 3) ก่อให้เกิดความชื่นชมและน่าภาคภูมิใจ 4) ภาพเกี่ยวกับธรรมชาติ

5. วิธีการเขียนภาพโดยวิธีการลดตัดทอน รูปร่างรูปทรงให้เหลือ เฉพาะจุดเด่น ๆ เท่านั้น เรียกภาพประเภทนี้ว่าอะไร 1) ภาพไร้รูปแบบ 2) ภาพแสดงรูปแบบ 3) ภาพไม่แสดงรูปแบบ 4) ภาพกึ่งแสดงรูปแบบ

10. งานประเภทใดที่สามารถน�ำภาพเขียน ภาพระบายสีไป ประยุกต์ใช้ได้ 1) การเขียนภาพโฆษณา 2) การเขียนภาพประกอบเรื่อง 3) การเขียนภาพตกแต่งสิ่งของ 4) ถูกทุกข้อ

13

เล่มที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิตรกรรม

จงเลือกค�ำตอบข้อที่ถูกต้อง ที่สุดเพียงข้อเดียว

ชุดการเรียนรู้ เรือ่ งจิตรกรรม โดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

แบบทดสอบท้ายเล่มที่ 1


เฉลยแบบทดสอบท้ายเล่มที่ 1 1. 4)

2. 1)

3. 4)

4. 4)

5. 4)

6. 3)

7. 4)

8. 3)

9. 3)

10. 4)

บรรณานุกรม ทวีเดช จิ๋วบาง. ศึกษาจิตรกรรม. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา, 2539. ปัญญา ทรงเสรีย์, เศรษฐ์ศิริ สายกระสุน และศุภกร สอนมั่งมี.สมุดปฎิบัติการ ศ011 จิตรกรรม .กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2533. วิรุณ ตั้งเจริญ. ทัศนศิลป์. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2536. สมภพ จงจิตต์โพธา.จิตรกรรมสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 2 .กรุงเพทมหานคร: วาดศิลป์, 2554. อารี สุทธิพันธ์ุ. ศิลปนิยม.กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2535. jasminasusak. 2016,Received 15 August 2016,form http://img12.deviantart.net/8b1c/i/2015/307/ c/c/wolf_pencil_drawing_by_jasminasusak-d9fdacp.jpg. mute swans wildlife bird. 2016,Received 15 August 2016,form https://www.etsy.com/ listing/504275670/mute-swans-wildlife-bird-oils-on-canvas?utm_source=Pinterest&utm_ medium=PageTools&utm_campaign=Share. Paul Cezanne. Still Life with Apples. 2016,Received 15 August 2016, http://www.arthermitage.org/ Paul-Cezanne/Still-Life-with-Apples.jpg. Munch Edward. 2016,Received 15 August 2016, http://www.theartstory.org/images20/works/ munch_edward_3.jpg.

14


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.