ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ ทรัพยากรธรณ๊ ชุดที่ 1 ดิน

Page 1

ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 1

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และจุดประสงค์การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ม2/1 สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน ม2/2 สารวจ วิเคราะห์ และอธิบายการใช้ประโยชน์และปรับปรุงคุณภาพของดิน จุดประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ 1. อธิบายความหมายของดินได้ 2. อธิบายลักษณะทั่วไปของหน้าตัดข้าง สมบัติดิน และกระบวนการการเกิดดินได้ 3. อธิบายปัจจัยในการเกิดและสมบัติบางประการของดินได้ 4. บอกการใช้ประโยชน์และปรับปรุงคุณภาพของดินได้ ทักษะกระบวนการ 1. ตั้งสมมติฐาน วางแผนการทดลอง ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง สังเกตและบันทึกผลการทดลอง 2. รวบรวมข้อมูลและจัดกระทาข้อมูล วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปผลการทดลอง 3. นาเสนอผลการทดลองและข้อสรุป เขียนรายงานผลการทดลอง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย: เข้าเรียน ปฏิบัติงาน ส่งงานตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย รักษาความสะอาดของ ห้องเรียน 2. ใฝ่เรียนรู้: เอาใจใส่ ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถาม ตอบ คาถาม สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร : ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และ ทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ สังคม

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 2

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ดิน คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงใน กระดาษคาตอบ 1. โดยธรรมชาติ ดินมีส่วนประกอบข้อใดมากที่สุด ก. น้า ข. อากาศ ค. อินทรียวัตถุ ง. สารอนินทรีย์ 2. ส่วนประกอบของดินที่มีผลต่อความพรุนของดินคือข้อใด ก. น้า ข. อากาศ ค. อินทรียวัตถุ ง. สารอนินทรีย์ 3. ในการแบ่งดินออกเป็นดินชั้นบน และดินชั้นล่างใช้เกณฑ์อะไร ก. สีของเนื้อดิน ข. การตกตะกอน ค. ซากพืชซากสัตว์ ง. ขนาดของเม็ดดิน 4. ลักษณะของดินชั้นบนกับดินชั้นล่างแตกต่างกันตามข้อใด ก. ดินชั้นบนมีฮิวมัสมากกว่า ข. ดินชั้นบนมีความพรุนน้อยกว่า ค. สีของดินชั้นบนจางกว่าสีของดินชั้นล่าง ง. ดินชั้นบนมีขนาดของเม็ดดินเล็กกว่า 5. ดินชั้นล่างมักมีสีอะไร เพราะเหตุใด ก. สีดา เพราะมีฮิวมัส ข. สีเทา เพราะมีแร่โลหะมาก ค. สีแดง เพราะมีธาตุทองแดงมาก ง. สีเหลือง เพราะมีออกไซด์ของเหล็ก

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 3

6. การจาแนกดินออกเป็น 3 ชนิด คือดินร่วน ดินเหนียว และดินทราย ใช้เกณฑ์ในข้อใด ก. สีของดิน ข. ลักษณะของเนื้อดิน ค. ความพรุนของดิน ง. องค์ประกอบของดิน 7. ดินที่มีค่า pH ในช่วง 4.5–6.5 มีสภาพตรงกับข้อใด ก. กรดจัด z เบสจัด ข. เบสเล็กน้อย z เบสจัด ค. เบสจัดมาก z เบสเล็กน้อย ง. กรดจัดมาก z กรดเล็กน้อย 8. ถ้าดิน x มี pH = 7.5 ดิน y มี pH = 8.0 และ ดิน Z มี pH = 6.5 ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง ก. ดินทั้งสามชนิดเป็นกรด ข. ดินทั้งสามชนิดเป็นเบส ค. ดิน x และดิน y เป็นเบส ส่วนดิน z เป็นกรด ง. ดิน x และดิน y เป็นกรด ส่วนดิน z เป็นเบส 9. การแก้ไขดินที่มีค่า pH = 5.5 ซึ่งเหมาะกับการปลูกข้าว เพื่อให้เหมาะสมกับการปลูกฝ้าย มีค่า pH = 6.0–8.0 ต้องใช้สารใดปรับปรุง ก. ผงกามะถัน ข. แคลเซียมซัลเฟต ค. แอมโนเนียมคลอไรด์ ง. แคลเซียมไฮดรอกไซด์ 10. กรณีดินเค็ม แสดงว่าดินมีสารใดมากที่สุด ก. ผงกามะถัน ข. โซเดียมคลอไรด์ ค. แอมโมเนียมซัลเฟต ง. แคลเซียมไอดรอกไซด์

https://goo.gl/sNJpMV ภาพที่ 1.1 ข้อสอบออนไลน์ เรื่อง ดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2561

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 4

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. ทดลอง และสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับกระบวนการเกิดดิน 2. อธิบายลักษณะกระบวนการเกิดดิน คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการทดลอง อุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในการทดลอง แล้วช่วยกันวาง แผนการทดลอง แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 2. กาหนดจุดประสงค์ สมมติฐาน และออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง 3. ทาการทดลอง สังเกตและบันทึกผล ร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทดลอง 4. ส่งตัวแทนกลุ่ม 1 – 2 คน นาเสนอผลการทดลอง 5. เวลาที่ใช้ในการทากิจกรรม 30 นาที วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ

ปริมาณ/กลุ่ม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 1 ชุด

1. หินละเอียด 2. ทรายละเอียด 3. กรวด 4. ปุ๋ยอินทรีย์ 5. ปุ๋ยเคมี 6. ครกหิน วิธีทดลอง 1. นาทรายละเอียด หินละเอียด ปุ๋ยอินทรีย์ ใส่ในครกแล้วตาให้ละเอียดที่สุด 2. สังเกตแล้วบันทึกผล (นักเรียนอาจเลือกใช้สารได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป) 3. อภิปรายผลที่ได้จากการสังเกต

https://www.youtube.com/watch?v=qnyOvsFcklc&feature=youtu.be ภาพที่ 1.2 คลิปวีดิโอ วิธีทดลองกระบวนการเกิดดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2561

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 5

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน การทดลอง เรื่อง กระบวนการเกิดดิน วันที่ทาการทดลอง ........................................................... รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 2. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 3. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 4. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 5. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. จุดประสงค์การทดลอง : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สมมติฐาน : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. กาหนดตัวแปร : ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ตัวแปรตาม : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ตัวแปรควบคุม : .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 6

ผลการทดลอง (ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. อภิปรายผลการทดลอง 1. นักเรียนเลือกสารใดเพื่อผสมกันบ้าง และลักษณะสารหลังการผสมที่ได้เป็นอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. สารที่ได้จากการผสมมีลักษณะเหมือนดินทั่วไปหรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 7

3. การใช้ครกหินบดสารที่นักเรียนเลือก เปรียบได้กับกระบวนการใดของการเกิดดิน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ถ้าทิ้งสารที่ได้จากการผสมนี้ในสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศต่างกันเป็นเวลานาน นักเรียนคิดว่าจะมีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. นักเรียนสามารถเขียนแผนภาพกระบวนการเกิดดินได้อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สรุปผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 8

ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน ความหมายของดิน (Soil) ดิน หมายถึง เทหวัตถุทางธรรมชาติ ที่เกิดจากการสลายตัวของหินและแร่ธาตุต่าง ๆ ผสมคลุกเคล้า กับอินทรียวัตถุซึ่งปกคลุมผิวโลกอยู่เป็นชั้นบาง ๆ เป็นวัตถุที่ค้าจุนการเจริญเติบโตและการทรงตัวของพืช มี การแบ่งชั้นที่สามารถสังเกตเห็นได้จากตอนบนลงไปตอนล่าง มีอาณาเขตและลักษณะประจาตัวของมันเอง ซึ่ง ทาให้มนุษย์สามารถแบ่งแยกดินออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ กระบวนการเกิดดิน

การสลายตัวของหิน แร่

การสร้างตัวของดิน

ภาพที่ 1.4 ลักษณะการสลายตัว และการสร้างตัวของดิน ที่มา : ธีรพงษ์ แสงสิทธิ์, 2555

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 9

โดยทั่วไปมักจะแยกกระบวนการเกิดดิน ออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ กระบวนการ สลายตัว และ กระบวนการสร้างตัวของดิน ซึ่งกระบวนการทั้งสองแบบนี้อาจจะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน หรือเกิด กระบวนการสลายตัวขึ้นก่อนแล้วเกิดกระบวนการสร้างตัวดินตามมาก็ได้ 1. กระบวนการสลายตัว หมายถึง กระบวนการที่ทาให้หิน แร่ และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เกิดการอ่อนตัวลง สลายตัวเป็นชิ้นเล็ก ชิ้น น้อยหรือเปลี่ยนไปเป็นสารใหม่ และทับถมรวมตัวเกิดเป็นวัตถุต้นกาเนิดดินขึ้น ซึ่งอาจเกิดอยู่กับที่ หรืออาจถูก พาหะต่าง ๆ พัดพาออกไปจากที่เดิมและไปสะสมรวมตัวกันใหม่ในแหล่งอื่นก็ได้ 2. กระบวนการสร้างตัวของดิน เป็นขั้นตอนของการทับถมและการผสมคลุกเคล้าของอินทรียวัตถุจากบริเวณผิวหน้าดิน ทาให้เกิดชั้น ดินต่าง ๆ ขึ้นมา โดยปัจจัยที่จะช่วยเสริมให้เกิดการทับถมและการผสมคลุกเคล้าดังนี้คือลักษณะของภูมิอากาศ วัตถุต้นกาเนิดดิน สภาพภูมิประเทศ ปัจจัยทางชีวภาพ และเวลา

ภาพที่ 1.5 ภาคตัดขวางของดินแสดงให้เห็นการทับถมของดิน ที่มา : กองสารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2558

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 10

สามารถเขียนแสดงแผนผังกระบวนการเกิดดินได้ดังนี้

ภาพที่ 1.6 แผนผังกระบวนการเกิดดิน ที่มา : http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31389

https://www.youtube.com/watch?v=qnyOvsFcklc&feature=youtu.be ภาพที่ 1.2 คลิปวีดิโอ แสดงกระบวนการเกิดดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2561

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 11

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ปัจจัยควบคุมการเกิดดิน จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. สังเกต และอธิบายปัจจัยควบคุมการเกิดดินได้ คาชี้แจง 1. พิจารณาภาพลักษณะของพืชที่ขึ้นในสภาพดินต่าง ๆ แล้วกาหนดปัญหา ตอบคาถาม และสรุป คาตอบของปัญหาต่อไปนี้

ภาพที่ 1.7 ลักษณะของพืชที่ขึ้นในสภาพดินต่าง ๆ ที่มา : http://www.vcharkarn.com/uploads/journal/8/vcharkarn-journal-8659_1.pdf 1. ปัญหาของกิจกรรมนี้คืออะไร 2. ให้นักเรียนบอกความแตกต่างลักษณะของภาพแต่ละภาพที่เห็นได้ชัด 3. ดินในแต่ละภูมิอากาศ ภูมิประเทศ มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร 4. ดินในแต่ละภูมิอากาศ ภูมิประเทศ มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร 5. สรุปคาตอบของปัญหาคืออะไร

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 12

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ปัจจัยควบคุมการเกิดดิน การสารวจ เรื่อง ปัจจัยควบคุมการเกิดดิน วันที่ทากิจกรรม ........................................................... รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 2. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 3. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 4. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 5. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 1. ปัญหาของกิจกรรมนี้คืออะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ให้นักเรียนบอกความแตกต่างลักษณะของภาพแต่ละภาพที่เห็นได้ชัด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ดินในแต่ละภูมิอากาศ ภูมิประเทศ มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ดินในแต่ละภูมิอากาศ ภูมิประเทศ มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. สรุปคาตอบของปัญหาคืออะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 13

ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ปัจจัยควบคุมการเกิดดิน การเกิดขึ้นของดินเป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระทาร่วมกันของปัจจัยต่าง ๆ เช่น สภาพภูมิอากาศ พืช และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ต่อวัตถุต้นกาเนิดของดิน ในสภาพพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ตลอดช่วงระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้น “ดิน” ในที่แห่งหนึ่งจึงอาจเหมือนหรือต่างไปจากดินในที่อีกแห่งหนึ่งได้ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของ ปัจจัยเหล่านี้ ซึ่งมีความมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละบริเวณส่งผลให้ดินมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว และเมื่อ ปัจจัยเปลี่ยนไป ดินจะมีลักษณะหรือสมบัติต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปด้วย ปัจจัยควบคุมการเกิดดิน มี 5 ประการ ดังนี้ 1. สภาพภูมิอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิ และปริมาณน้าฝน มีอิทธิพลต่ออัตราการสลายตัวของหิน แร่ ทั้งในด้านกายภาพ และเคมี ทั้งยังมีอิทธิพลต่ออัตราความเร็วของการเคลื่อนย้ายและการสะสมใหม่ของหินและแร่ที่ถูกแปรสภาพ โดยตัวการสาคัญ ๆ มาเป็นวัตถุต้นกาเนิดของดิน

ภาพที่ 1.8 เม็ดฝนที่กระทบหิน ที่มา : http://www.natgeocreative.com/photography/ 1278219

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 14

2. วัตถุต้นกาเนิดของดิน ได้แก่ หิน และแร่ที่เกิดการสลายตัว มีอิทธิพลต่อองค์ประกอบของดิน เช่น สีเนื้อดิน โครงสร้าง และสมบัติทางเคมีของดิน

ภาพที่ 1.9 วัตถุต้นกาเนิดดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559 3. สภาพภูมิประเทศ หมายถึงความสูงต่าหรือระดับที่ไม่เท่ากันของสภาพพื้นที่ และความลาดชันของ พื้นทีท่ ี่เกี่ยวข้องกับระดับน้าใต้ดิน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเกิดลักษณะชั้นต่าง ๆ ในหน้าตัดดิน ความลึกของดิน สี ความชื้นสัมพัทธ์ในดิน และความรุนแรงของการชะล้าง เป็นต้น

ภาพที่ 1.10 การพังถล่มของหินและหน้าดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 15

4. ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วยพืช และสัตว์ แต่มักจะเน้นที่พืชพรรณ ต่าง ๆ ที่ขึ้นปกคลุมบนผิวดิน ซึ่งมีอิทธิพลต่อปริมาณอินทรียวัตถุในดินและองค์ประกอบทางเคมีของดิน

ภาพที่ 1.11 สิ่งมีชีวิตที่มีผลต่อดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559 5. เวลา อิทธิพลของเวลาในแง่ของการเกิดดินนั้น หมายถึง ช่วงหนึ่งของเวลาที่ต่อเนื่องกันไปโดยไม่มี เหตุการณ์รุนแรงขัดจังหวะการพัฒนาตัวของดิน โดยปกติถ้าปัจจัยอื่น ๆ เท่ากัน ดินที่มีอายุนานกว่าจะมีสภาพ หน้าตัดของดินสมบูรณ์กว่าดินที่มีอายุน้อย แต่ถ้าอยู่ในภูมิอากาศที่ทาให้วัตถุมีการสลายตัวเร็ว เช่น ในเขตร้อน ชื้น ลักษณะของหน้าตัดข้างของดินที่เกิดขึ้นจะค่อนข้างสมบูรณ์ถึงแม้จะใช้เวลาน้อยกว่าปกติ

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 16

ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง สมบัติของดิน จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. ทดลองและสรุปสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดินได้ถูกต้อง 2. อธิบายสมบัติทางกายภาพของดิน ซึ่งได้แก่ ชั้นหน้าตัดดิน สีของดิน และเนื้อดิน และสมบัติทาง เคมี ได้แก่ ความเป็นกรด-เบสของดิน คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการสารวจ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ แล้วช่วยกันวางแผน การสารวจ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 2. กาหนดจุดประสงค์ และออกแบบตารางบันทึกผลการสารวจ 3. ทาการสารวจ สังเกตและบันทึกผล ร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการสารวจ 4. ส่งตัวแทนกลุ่ม 1 – 2 คน นาเสนอผลการสารวจ 5. เวลาที่ใช้ในการทากิจกรรม 50 นาที

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 17

การทดสอบความพรุนของดิน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ

ปริมาณ/กลุ่ม 100 กรัม 100 กรัม 2 ผืน 2 ใบ 2 กระป๋อง 400 cm3

1. ดินเหนียว 2. ดินร่วน 3. ผ้าขาวบาง 4. ขวดปากกว้าง 5. กระป๋องนมด้านล่างซึ่งเจาะรูไว้ 6. น้า วิธีทดลอง

1. นาดินทีต่ ้องการทดสอบมาตากให้แห้ง แล้วทุบให้ละเอียด 2. ใช้ผ้าตากกรองหุ้มกระป๋องด้านล่างซึ่งเจาะรูไว้ แล้วยกวางบนขวดปากกว้าง 3. เทดินเหนียวและดินร่วนลงในกระป๋องแต่ละใบ ใบละครึ่งกระป๋อง เติมน้าลงในกระป๋องละ 3 10 cm พร้อม ๆ กัน 4. เปรียบเทียบลักษณะการไหลของน้าที่ไหลผ่านดินในกระป๋องทัง้ สอง 5. สังเกตแล้วบันทึกผล 6. อภิปรายผลที่ได้จากการสังเกต

ภาพที่ 1.12 การทดสอบความพรุนของดินร่วนและดินเหนียว ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 18

การทดสอบเนื้อดิน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ

ปริมาณ/กลุ่ม 1 กล่อง 1 กล่อง 1 กล่อง 2 ใบ 1 ใบ 400 cm3 100 กรัม 100 กรัม

1. ตะแกรงเบอร์ 10 2. กระดาษลิตมัสสีแดง 3. กระดาษยูนิเวอร์แชลอินดิเคเตอร์ 4. กระจกนาฬิกา 5. กระบอกฉีดน้า 6. น้า 7. ตัวอย่างดินที่ 1 ดินใต้ต้นไม้ 8. ตัวอย่างดินที่ 2 ดินใกล้ห้องน้า วิธีทดลอง

1. นาตะแกรงเบอร์ 10 มาร่อนแยกเศษหิน กรวด ซากพืชและซากสัตว์ออก 2. นาดินมาวางในอุ้งมือ ปริมาณดินที่ใช้เมื่อวางแล้วให้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร 3. ทาให้ชื้นโดยการฉีดน้าลงไป ใช้นิ้วนวดดินจนมีความชื้นทั่วทั้งก้อน 4. ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้สัมผัส และบีบทดสอบดิน ทดลองปั้น และรีดดินให้เป็นเส้น 5. เปรียบเทียบลักษณะของดิน ภาพมือบี้ดิน

ภาพที่ 1.13 การทดสอบเนื้อดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 19

การทดสอบความเป็นกรด-เบส วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ

ปริมาณ/กลุ่ม 1 กล่อง 1 กล่อง 1 กล่อง 2 ใบ 1 ใบ 400 cm3 100 กรัม 100 กรัม

1. กระดาษลิตมัสสีน้าเงิน 2. กระดาษลิตมัสสีแดง 3. กระดาษยูนิเวอร์แชลอินดิเคเตอร์ 4. กระจกนาฬิกา 5. กระบอกฉีดน้า 6. น้า 7. ตัวอย่างดินที่ 1 ดินใต้ต้นไม้ 8. ตัวอย่างดินที่ 2 ดินใกล้ห้องน้า วิธีทดลอง

1. ใช้กระดาษลิตมัสสีน้าเงินหรือสีแดงโดยนากระดาษลิตมัสทดสอบกับดินทีส่ งสัย ถ้าเป็นกรดจะ เปลี่ยนกระดาษลิตมัสสีน้าเงินเป็นสีแดง และถ้าเป็นเบสจะเปลี่ยนกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีน้าเงิน 2. ใช้กระดาษยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์ โดยนากระดาษยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์ทดสอบกับดิน แล้ว นาไปเทียบกับแผ่นสีทขี่ ้างกล่อง 3. สังเกตแล้วบันทึกผล 4. อภิปรายผลที่ได้จากการทดลอง

ภาพที่ 1.14 การทดสอบความเป็นกรด-เบส ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 20

การศึกษาสีของดิน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ 1. ตัวอย่างดินที่ 1 ดินที่ขุดลงไป 15 ซม. จากผิวหน้า 2. ตัวอย่างดินที่ 2 ดินที่ขุดลงไป 40 ซม. จากผิวหน้า 3. แว่นขยาย 4. แท่งแก้วคนสาร

ปริมาณ/กลุ่ม 100 กรัม 100 กรัม 2 อัน 1 อัน

วิธีทดลอง 1. นาตัวอย่างดินที่ 1 และ 2 ใส่ลงในกระจกนาฬิกา ใช้แว่นขยายส่อง สังเกตลักษณะสีของดิน 2. การวัดสีของดินโดยทั่วไปจะมีเทียบสีกับสมุดสีมาตรฐาน 3. ถ้าไม่มีสมุด ให้สังเกตว่าดินชื้นหรือแห้ง หากดินแห้งให้ฉีดน้าด้วยกระบอกฉีด แล้วบี้เม็ดดินให้แตก 4. สังเกตสีโดยให้แสงสว่างส่องไปที่เม็ดดิน และบันทึกสีดินที่ได้ 5. การสังเกตอาจมีได้มากกว่า 1 สี ให้บันทึกได้มากสุดเพียง 2 สี โดยแยกเป็น (1) สีหลักหรือสีเด่น และ (2) สีรอง แล้วบันทึกผล 6. อภิปรายผลที่ได้จากการทดลอง กระจกนาฬิกา ใส่ดิน 2 ใบ แว่นขยาย

ภาพที่ 1.15 การศึกษาสีของดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 21

การสารวจลักษณะชั้นดิน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการ 1. เครื่องมือขุดดิน ได้แก่ จอบ เสียม 2. ตลับเมตร 3. ค้อนตอกตะปู 4. ตะปู 5. แว่นขยาย 6. กระบอกฉีดน้าพร้อมบรรจุน้า

ปริมาณ/กลุ่ม อย่างละ 1 อัน 1 อัน 1 อัน 5 ตัว 1 อัน 1 อัน

วิธีสารวจ 1. ขุดหลุมขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร ลึกประมาณ 1-1.2 เมตร หรือใช้วิธีศึกษาหน้าตัดข้างของ ดิน 2. ให้สังเกตสภาพแวดล้อมบริเวณรอบ ๆ หลุมดิน เกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศ การใช้ประโยชน์ ที่ดิน สภาพภูมิอากาศ และอื่น ๆ ที่สังเกตได้ 3. วิธีการศึกษาชั้นหน้าตัดดิน ให้มองดูด้านข้างของหลุมดินในตาแหน่งที่ดวงอาทิตย์ส่องแสงตรงที่สุด สังเกตดินจากชั้นบนสุดลงมายังชั้นล่างสุดอย่างละเอียดว่ามีกี่ชั้น 4. สังเกตความแตกต่างดินแต่ละชั้น เช่น สี เนื้อดิน และสิ่งอื่น ๆ ที่ปรากฏ แล้วกาหนดขอบเขตของ ชั้นดินที่มีความแตกต่างแต่ละชั้น 5. ใช้ตลับเมตรวัดความหนาชั้นดินแต่ละชั้น 6. จากการสังเกตดินแต่ละชั้น วาดภาพหน้าตัดข้างของดินพร้อมระบุลักษณะของชั้นดิน 7. อภิปรายผลที่ได้ จากการสังเกต และจาแนกชั้นดินโดยใช้เกณฑ์ที่นักเรียนกาหนดขึ้น

ภาพที่ 1.16 การสารวจลักษณะชั้นดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2560

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 22

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 3 เรื่อง สมบัติของดิน การทดลอง เรื่อง สมบัติของดิน วันที่ทาการทดลอง ........................................................... รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 2. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 3. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 4. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 5. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. จุดประสงค์การทดลอง : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สมมติฐาน : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... กาหนดตัวแปร : ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ตัวแปรตาม : ..................................................................................................................................................................... ......... ......................................................................................................................... ..................................................... .............................................................................................................................................................................. ตัวแปรควบคุม : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 23

ผลการทดลอง (ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง) .................................................................................................................................................................... .......... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... ................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ..... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 24

อภิปรายผลการทดลอง 1. สิ่งต่าง ๆ ที่ปนอยู่ในดินแต่ละชั้น เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ดินที่นามาจากแต่ละแหล่ง มีสีของดิน เนื้อดิน และค่าความเป็นกรด-เบสเหมือนหรือ แตกต่างกันหรือไม่ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. สีของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. เนื้อของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. ลักษณะการตกตะกอนของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. สิ่งที่เหลือค้างบนผ้าขาวบางของดินทั้ง 2 ระดับมีความแตกต่างกันอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. ถ้าใช้ความลึกของดินเป็นเกณฑ์ นักเรียนสามารถจาแนกดินได้กี่ประเภท อะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 25

สรุปผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................ .................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 26

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง สมบัติของดิน สมบัติที่สาคัญของดินที่จะกล่าวถึงในที่นี้ มี 2 กลุ่ม ดังนี้ สมบัติทางกายภาพของดิน 1. สมบัติทางกายภาพ เป็นลักษณะภายนอกของดินที่สามารถมองเห็น และจับต้องหรือสัมผัสได้ ได้แก่ ชั้นหน้าตัดดิน สีดิน และเนื้อดิน 2. สมบัติทางเคมี เป็นลกัษณะภายในของดินที่เราไม่สามารถจะมองเห็น หรือสัมผัสได้โดยตรง ได้แก่ ความเป็นกรด – เบสของดิน ชั้นหน้าตัดดิน คือ ชั้นต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในหน้าตัดดิน ซึ่งชั้นต่าง ๆ ในดินที่เราใช้เพาะปลูกพืช อาจจะแบ่งอย่าง ง่าย ๆ ดังนี้ 1. ชั้นดินบน หรือเรียกว่า “ชั้นไถพรวน” โดยทั่วไปมีความหนาประมาณ 15 - 30 เซนติเมตร จาก ผิวหน้าดิน ชั้นดินบนนี้เป็นชั้นที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก เพราะเป็นชั้นที่มีอินทรียวัตถุหรือฮิวมัส สูงกว่าชั้น ดินอื่น ๆ โดยปกติจะมีสีคล้าหรือดากว่าชั้นอื่น ๆ รากพืชส่วนใหญ่จะชอนไชหาอาหารอยู่ในช่วงชั้นนี้ 2. ชั้นดินล่าง เป็นชั้นที่มีอินทรียวัตถุน้อยกว่า รากพืชที่ชอนไชลงมาถึงชั้นนี้ส่วนใหญ่จะเป็น รากของ ไม้ผลหรือไม้ยืนต้นที่มีขนาดใหญ่ ทั้งนี้เพื่อยึดเกาะดินไว้ให้พืชทรงตัวอยู่ได้ ไม่โค่นล้มลงได้ง่าย เมื่อมีลมพัดแรง

ภาพที่ 1.15 ดินชั้นบนและดินชั้นล่าง ที่มา : http://www.landscape-and-garden.com/garden-soil/default.aspx

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 27

หากเราแบ่งชั้นหน้าตัดดินอย่างละเอียดแล้ว แบ่งเป็นชั้นดินหลักได้ 5 ชั้นด้วยกัน คือ O – A – E – B – C แต่ชั้นที่เป็นองค์ประกอบหน้าตัดดิน อาจมีชั้น R อยู่ใต้สุดของชั้นดินหลักด้วย โดยทั่วไป ชั้น R ถือว่าเป็น ชั้นหินพื้น ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับชั้นดินหลักตอนบนหรือไม่ก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับ ชนิดของวัตถุต้นกาเนิดและ กระบวนการทางธรณีที่เกี่ยวข้อง ชั้นดินหลักต่าง ๆ มีลักษณะโดยทั่วไปดังนี้ “ชั้น O” หรือ ชั้นดินอินทรีย์ คือ ชั้นที่มีการสะสมอินทรียวัตถุ์ทั้งที่มาจากพืชและสัตว์ “ชั้น A” หรือ ชั้นดินบน เป็นชั้นดินที่ประกอบด้วย อินทรียวัตถุที่สลายตัวแล้วผสมคลุกเคล้าอยู่กับ แร่ธาตุในดิน มักมีสีคล้า “ชั้น E” หรือ ชั้นชะล้าง เป็นชั้นดินที่มีสีซีดจาง มีปริมาณอินทรียวัตถุน้อยกว่ากว่าชั้น A และมักจะ มีเนื้อดินหยาบกว่าชั้น B ที่อยู่ตอนล่างลงไป “ชั้น B” หรือ ชั้นดินล่าง เป็นชั้นที่แสดงถึงการเคลื่อนย้ายมาสะสมของวัสดุต่าง ๆ เช่น อนุภาคดิน เหนียว “ชั้น C” หรือ ชั้นวัตถุต้นกาเนิดดิน เป็นชั้นของวัสดุที่เกาะตัวกันอยู่หลวม ๆ อยู่ใต้ชั้นที่เป็นดิน ประกอบด้วยหินและแร่ที่กาลังผุพังสลายตัว “ชั้น R” หรือ ชั้นหินพื้น เป็นชั้นหินแข็งที่ยังไม่ผุพัง สลายตัว อาจจะมีหรือไม่มีในหน้าตัดดินก็ได้

ภาพที่ 1.16 แสดงชั้นหน้าตัดดิน ที่มา : http://1.179.134.197/digitalschool/science1_2_2/science14/page1_10.php

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 28

สีของดิน สีดิน เป็นสมบัติของดินที่มองเห็นได้ชัดเจน เป็นคุณสมบัติที่สะท้อนถึงสภาพแวดล้อม กระบวนการ เกิดดิน แร่ที่เป็นองค์ประกอบของดิน หรือวัสดุอื่น ๆ ที่อยู่ในดิน การสังเกตสีของดิน ทาให้เราสามารถประเมินสมบัติทางกายภาพและเคมีบางอย่างของดินได้ เช่น สภาพการระบายน้าของดิน ระดับน้าใต้ดิน หรือความอุดมสมบูรณ์ของดิน

ภาพที่ 1.17 แสดงสีของดินที่แตกต่างกัน ที่มา : https://anthropocenesoil.wordpress.com/2011/12/16/koichi-kurita-soil-library/ ดินสีน้าตาลเข้มหรือสีดา แสดงว่า - ดินนั้นมีอินทรียวัตถุอยู่ในดินมาก หรือ เป็นดินที่เกิดจากการผุพัง สลายตัวของหิน-แร่ ที่มีสีเข้ม เช่น หินภูเขาไฟพวกบะซอลท์ แกบโบร - มักมีความอุดมสมบูรณ์สูง เนื่องจากมีอินทรียวัตถุมาก - ถ้าเป็นดินที่ลุ่มต่าหน้าดินมีสีคล้าและดินชั้นล่างมีสีเทา เนื่องจากสภาพ อับอากาศ จะต้องเตรียมการระบายน้า

ดินสีขาวหรือสีเทาอ่อน แสดงว่า - อาจเกิดจากวัตถุต้นกาเนิดดิน มาจากหินที่มีสีจาง หรือเป็นทรายมาก หรือ บริเวณที่มีสีจางนั้นเกิดกระบวนการทางดินที่ทำให้ า ธาตุต่าง ๆ ถูก ชะล้างออกไปจากชั้นดินจนหมด เช่น ชั้นดิน E หรือเกิดจากการสะสม ของปูน (lime) หรือยิปซัม (gypsum) หรือเกลือชนิดต่าง ๆ ก็ได้ - มักเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ตำ่า มีการระบายน้าดี

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 29

ดินสีเหลืองหรือสีแดง แสดงว่า - เป็นดินที่มีอัตราการผุพังสลายตัวสูง เนื่องจาก มีพวกออกไซด์ของเหล็ก เคลือบผิวอนุภาคมาก - มักเกิดในในบริเวณที่สูงตามเนินเขาหรือที่ราบไหล่เขา - ดินเหล่านี้มีการระบายน้าดีถึงดีมาก ถ้าดินมีการระบายน้าในหน้าตัดดิน ดีอยู่เสมอ ส่วนใหญ่จะมีสีแดง แต่ถ้าการระบายน้าของดินไม่ดีเท่ากรณี แรก ดินจะมีสีเหลือง ดินสีเทาปนน้าเงิน แสดงว่า - ดินบริเวณนั้นอยู่ในสภาวะที่มีน้าขังตลอด - มีการระบายน้าไม่เพียงพอ ทาให้สารประกอบของเหล็กอยู่ในรูปที่มีสี เทา

ดินสีประ (mottle color) หรือดินที่มีหลายสีผสมกัน แสดงว่า ดินบริเวณนั้น อยู่ในสภาพที่มีน้าแช่ขังสลับสภาพที่ดินแห้ง โดยทั่วไปมักปรากฏเป็นจุดประสีเหลืองหรือสีแดงบนวัสดุพื้นสีเทา เป็น ผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงของสารประกอบของเหล็ก ที่จะแสดงสีเทา เมื่ออยู่ในสภาวะที่มีน้าขัง (ขาดออกซิเจน) และเปลี่ยนรูปเป็นสารที่ให้สี แดงเมื่ออยู่ในสภาวะดินแห้ง (มีออกซิเจนมาก) มักจะพบในดินนาซึ่งมีความสูงจากระดับน้าทะเลพอสมควร ซึ่งน้า ระบายจากหน้าตัดจนแห้งได้ในฤดูแล้งหลังการเก็บเกี่ยว ภาพที่ 1.17 สีของดิน ที่มา : http://osl101.ldd.go.th/easysoils/s_forming.htm

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 30

เนื้อดิน เนื้อดิน หมายถึง องค์ประกอบเชิงกายภาพของดิน เราจะสังเกตได้ว่า ดินในแต่ละสถานที่มี ลักษณะ แตกต่างกัน เนื่องจากดินประกอบขึ้นจากของอนุภาคตะกอนหลายขนาดอนุภาคที่ใหญ่ที่สุด คือ อนุภาคทราย อนุภาคขนาดรองลงมาคือ อนุภาคทรายแป้ง และอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุดคือ อนุภาคดินเหนียว การรวมตัว กันของอนุภาคขนาดทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ทาให้เกิดเป็นเนื้อดินชนิดต่าง ๆ ขึ้นมาในการจาแนกประเภทของเนื้อดินนั้นจะถือเอาเปอร์เซ็นต์ของอนุภาค ขนาดเหล่านี้ที่มีอยู่ในดินนั้น ๆ เป็นหลัก โดยทั่วไปเนื้อดินอาจแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลุ่ม คือ 1. ดินทราย เป็นดินที่มีอนุภาคขนาดทรายเป็นองค์ประกอบอยู่มากกว่าร้อยละ 85 ลักษณะโดยทั่วไปจะเกาะตัวกันหลวม ๆ และมองเห็นเป็นเม็ดเดี่ยว ๆ ได้ ถ้าสัมผัสดินที่ อยู่ในสภาพแห้งจะรู้สึกสากมือ เมื่อลองกาดินที่แห้งนี้ไว้ในอุ้งมือแล้วคลายมือออกดินก็ จะแตกออกจากกันได้ แต่ถ้ากาดินที่อยู่ในสภาพชื้นจะสามารถ ทาให้เป็นก้อนหลวม ๆ ได้ ไม่สามารถรีดเป็นเส้นได้แต่พอสัมผัสจะแตกออกจากกันทันที ดินทรายมีการระบาย น้าและอากาศดีมาก แต่มีความสามารถในการอุ้มน้าต่า มีความอุดมสมบูรณ์ต่า เพราะ ความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารพืชมีน้อย 2. ดินร่วน โดยทั่วไปจะประกอบด้วยอนุภาคขนาดทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว ในปริมาณใกล้เคียงกัน สัมผัสเนื้อดินค่อนข้างละเอียด นุ่มมือในสภาพดินแห้งจะจับกัน เป็นก้อนแข็งพอประมาณ ใน สภาพดินชื้นจะยืดหยุ่นได้บ้าง เมื่อสัมผัสหรือคลึงดินจะ รู้สึกนุ่มมือแต่อาจจะรู้สึกสากมืออยู่บ้างเล็กน้อย เมื่อกาดินให้แน่นในฝ่ามือแล้วคลายมือ ออก ดินจะจับกันเป็นก้อนไม่แตกออกจากกัน สามารถรีดเป็นเส้นสั้น ๆ ได้ ดินร่วนมี การระบายน้าได้ดีปานกลาง จัดเป็นเนื้อดินที่มีความเหมาะสมสาหรับการเพาะปลูก 3. ดินเหนียว เนื้อดินประกอบด้วยอนุภาคขนาดดินเหนียวตั้งแต่ร้อยละ 40 ขึ้นไป มี อนุภาค ขนาดทราย ร้อยละ 45 หรือน้อยกว่า และมีอนุภาคขนาดทรายแป้งน้อยกว่า ร้อยละ 40 ดินเหนียวเป็นดินที่มีเนื้อละเอียด ในสภาพดินแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็ง มาก เมื่อเปียกน้าแล้วจะมีความยืดหยุ่น สามารถปั้นเป็นก้อนหรือคลึงเป็นเส้นยาวได้ เหนียวเหนอะหนะติดมือ เป็นดินที่มีการระบายน้าและอากาศไม่ดี แต่สามารถอุ้มน้า ดูดยึด และแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชได้ดี เหมาะที่จะใช้ทานาปลูกข้าวเพราะเก็บน้าได้ นาน ภาพที่ 1.18 เนื้อดินชนิดต่าง ๆ ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 31

สมบัติทางเคมีของดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน ความเป็นกรด-เบสของดิน หรือที่เรียกกันว่า “พีเอช” (pH) เป็นค่าปฏิกิริยาดิน วัดได้จาก ความเข้มข้นของปริมาณไฮโดรเจนไอออน (H+) ในดิน โดยทั่วไปค่าพีเอชของดิน จะบอกเป็นค่าตัวเลขตั้งแต่ 1 ถึง 14 ถ้าดินมีค่าพีเอชน้อยกว่า 7 แสดงว่าดินนั้นเป็นดินกรด ยิ่งมีค่าน้อยกว่า 7 มาก ก็จะเป็นกรดมาก หาก ต้องการแก้ปัญหาให้เติมปูนขาวหรือดินมาร์ล ถ้าดินมีพีเอชมากกว่า 7 แสดงว่าดินนั้นจะเป็นดินด่าง ยิ่งมีค่ามากกว่า 7 มาก ก็จะเป็นด่างมาก หาก ต้องการแก้ปัญหาให้เติมผงกามะถัน ถ้าดินที่มีพีเอชเท่ากับ 7 พอดี แสดงว่าดินเป็นกลาง แต่โดยปกติแล้วพีเอชของดิน ทั่วไปจะมีค่าอยู่ ในช่วง 5 ถึง 8 เหมาะสาหรับปลูกพืชทั่วไป พืชแต่ละชนิดชอบที่จะเจริญเติบโตในดินที่มีช่วงพีเอชต่าง ๆ กัน สาหรับพืชทั่ว ๆ ไปมักจะเจริญ เติบโตในช่วงพีเอช 6 – 7 ซึ่งเป็นช่วงที่ธาตุอาหารพืชต่าง ๆ มีความเป็นประโยชน์สูงกว่าช่วงพีเอชอื่น ๆ

เราสามารถตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของในดินได้ด้วยอินดิเคเตอร์ ซึ่งในการทดสอบต้องนาดินไป ละลายน้า อินดิเคเตอร์ที่นิยมใช้กันมากมี 2 ประเภท คือ กระดาษลิตมัส และยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ 1. กระดาษลิตมัส เป็นอินดิเคเตอร์ที่เรารู้จักกันดี กระดาษลิตมัสมี 2 สี ได้แก่ กระดาษลิตมัสสีแดง และกระดาษลิตมัสสีน้าเงิน เมื่อใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบสารละลายของดินจะสามารถ จาแนกสารได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ - สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินไปเป็นสีแดง - สารละลายที่มีสมบัติเป็นเบส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงไปเป็นสีน้าเงิน - สารละลายที่มีสมบัติเป็นกลาง จะไม่ทาปฏิกิริยากับกระดาษลิตมัสทั้งสีน้าเงินและสีแดง กระดาษลิตมัสจึงไม่เปลี่ยนสี

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 32

ภาพที่ 1.19 กระดาษลิตมัส ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559 2. ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ เป็นอินดิเคเตอร์ที่มีการเปลี่ยนสีเกือบทุกค่า pH จึงใช้ทดสอบหาค่า pH ได้ดี อินดิเคเตอร์ชนิดนี้มีทั้งแบบที่เป็นกระดาษและแบบสารละลาย

ภาพที่ 1.20 กระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2559

https://www.youtube.com/watch?v=qnyOvsFcklc&feature=youtu.be ภาพที่ 1.2 คลิปวีดิโอ แสดงสมบัติของดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2561

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 33

ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง แก้ไขปัญหาและพัฒนาดิน จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. อธิบายการใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับสภาพดินในท้องถิ่น 2. อธิบายการปรับปรุงคุณภาพดินให้มีความเหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์ คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านรายละเอียดการสารวจชุดดินในจังหวัดลาปาง โดยสานักสารวจดิน และวางแผนการใช้ดิน กรมพัฒนาที่ดิน แล้วหาแนวทางแก้ปัญหาและพัฒนาดิน เพื่อใช้ประโยชน์

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 34

1. ปัญหาของกิจกรรมนี้คืออะไร 2. ข้อมูลการสารวจดินข้างต้นมีประโยชน์ในด้านใดบ้าง 3. ปัญหาของชุดดินงาว และชุดดินลาปาง เหมือนและแตกต่างกันอย่างไรบ้าง 4. มีวิธีการแก้ปัญหาและพัฒนาแต่ละชุดดินอย่างไรบ้าง 5. สรุปคาตอบของปัญหามีอะไรบ้าง

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 35

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 4 เรื่อง แก้ไขปัญหาและพัฒนาดิน กิจกรรม เรื่อง แก้ไขปัญหาและพัฒนาดิน วันที่ทากิจกรรม ........................................................... รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 2. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 3. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 4. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. 5. .......................................................................... เลขที่.............. ชั้น ม.............. จุดประสงค์ของกิจกรรม : .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 1. ปัญหาของกิจกรรมนี้คืออะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ข้อมูลการสารวจดินข้างต้นมีประโยชน์ในด้านใดบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ปัญหาของชุดดินงาว และชุดดินลาปาง เหมือนและแตกต่างกันอย่างไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. มีวิธีการแก้ปัญหาและพัฒนาแต่ละชุดดินอย่างไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. สรุปคาตอบของปัญหามีอะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 36

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสารวจดินและการใช้ประโยชน์ การสารวจดิน งานสารวจดินเป็นงานที่ต้องอาศัยหลักวิชาการหลายแขนงทั้งทางด้านปฐพีวิทยา ธรณีวิทยา และ ทางด้านภูมิศาสตร์ ธรณีสัณฐานวิทยา อุตุนิยมวิทยา ตลอดจนวิชาที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้ เกษตรศาสตร์ และ การใช้ประโยชน์ที่ดินต่าง ๆ เข้ามาใช้ในการศึกษาเพื่ออธิบายถึงลักษณะและคุณสมบัติที่สาคัญของดิน กาเนิด ของดิน และการจาแนกดิน

ภาพที่ 1.21 แสดงการสารวจดิน ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน, 2553

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 37

หลักในการสารวจดิน ประกอบด้วย 4 ประการด้วยกันคือ - การตรวจสอบดินในสนาม - การตัวอย่างดินในห้องปฏิบัติการ - การทาแผนที่ดิน - การทารายงานสารวจดิน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจดิน ได้แก่ - ภาพถ่ายทางอากาศและแผนที่พื้นฐาน - เครื่องมือสาหรับขุด - เครื่องมือที่ใช้ในการท าแผนที่ - อุปกรณ์ในการศึกษาลักษณะดินและเก็บตัวอย่างดิน - ข้อสนเทศต่าง ๆ ประโยชน์ของการสารวจดิน ข้อมูลที่ได้จากการสารวจดินซึ่งได้บันทึกไว้ในรูปของแผนที่ดินและรายงานการสารวจดิน มีประโยชน์ ต่องานในหลายสาขา พอสรุปได้ดังนี้คือ - ใช้เป็นข้อมูลขั้นพื้นฐาน ในการวางแผนการเกษตรระดับประเทศ ข้อมูลดิน ดังกล่าวจะได้มาจากการ สารวจดินอย่างหยาบ - ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนระดับไร่นาซึ่งข้อมูลที่ได้นั้นได้มาจากการสารวจดินอย่างละเอียด - ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางโครงการการใช้ที่ดิน - ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการพัฒนาด้านชลประทาน - ใช้ประโยชน์ในงานด้านวิศวกรรม - ใช้เป็นแนวทางในการประเมินราคาที่ดิน

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 38

ตัวอย่างผลการสารวจดินในอาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ชุดดินลาปาง (Lampang series: Lp) กลุ่มชุดดินที่ 16 การจาแนกดิน Fine-silty, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic (Aeric) Endoaqualfs การกาเนิด เกิดจากตะกอนน้าพาบริเวณตะพักลาน้าและที่ราบระหว่างเขา สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 % การระบายน้า เลว การไหลบ่าของน้าบนผิวดิน ช้า การซึมผ่านได้ของน้า ช้า พืชพรรณธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ที่ดิน นาข้าว อาจใช้ปลูกพืชไร่เช่น ข้าวโพด ถั่ว หรือพืชผัก ก่อน หรือหลังปลูกข้าว การแพร่กระจาย พบมากในภาคเหนือตอนบน บริเวณตะพักลาน้าและที่ราบระหว่างเขา การจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btg ลักษณะและสมบัติดิน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง ดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวปนทราย แป้ง สีเทาปนชมพู สีน้าตาลปนเทาถึงสีน้าตาลอ่อน มีจุดประสีน้าตาลแก่หรือสีน้าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดิน เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งถึงดินร่วนปนดินเหนียว สีเทาปนชมพูหรือสีเทาอ่อน มีจุดประสีน้าตาลแก่ สีน้าตาลปนเหลือง หรือสีแดงปนเหลือง บางแห่งอาจมีศิลา แลงอ่อนและก้อนลูกรังปะปนอยู่บ้าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.5)

ชุดดินที่คล้ายคลึงกัน ชุดดินหินกอง และชุดดินศรีเทพ ข้อจากัดการใช้ประโยชน์ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า มีอินทรียวัตถุต่า และมักแน่นทึบใต้ชั้นไถพรวน ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ ควรไถพรวนให้ลึก ปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทานาอาจปลูกพืชไร่หรือพืชผักซึ่งจะต้องยกร่องและปรับ สภาพดินให้ร่วนซุยและระบายน้าดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน, 2553

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 39

การใช้ประโยชน์จากดิน 1. ประโยชน์ต่อการเกษตรกรรม เพราะดินเป็นต้นกาเนิดของการเกษตรกรรมเป็นแหล่งผลิต อาหารของมนุษย์ ในดินจะมีอินทรียวัตถุและธาตุอาหารรวมทั้งน้าที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช อาหารที่ คนเราบริโภคในทุกวันนี้มาจากการเกษตรกรรมถึง 90% 2. การเลี้ยงสัตว์ ดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์ทั้งพวกพืชและหญ้าที่ขึ้นอยู่ ตลอดจนเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ของสัตว์บางชนิด เช่น งู แมลง นาก ฯลฯ 3. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย แผ่นดินเป็นที่ตั้งของเมือง บ้านเรือน ทาให้เกิดวัฒนธรรมและอารยธรรม ของชุมชนต่าง ๆ มากมาย 4. เป็นแหล่งเก็บกักน้า เนื้อดินจะมีส่วนประกอบสาคัญ ๆ คือ ส่วนที่เป็นของแข็ง ได้แก่ กรวด ทราย ตะกอน และส่วนที่เป็นของเหลว คือ น้าซึ่งอยู่ในรูปของความชื้นในดินซึ่งถ้ามีอยู่มาก ๆ ก็จะกลายเป็น น้าซึมอยู่คือน้าใต้ดิน น้าเหล่านี้จะค่อย ๆ ซึมลงที่ต่า เช่น แม่น้าลาคลอง อ่างเก็บน้า ทาให้เรามีน้าใช้ได้ ตลอดไป

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 40

ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การปรับปรุงคุณภาพดิน สาเหตุการเสื่อมคุณภาพของดิน 1. สูญเสียธาตุอาหารพืชและอินทรียวัตถุ การใช้ดินปลูกพืชเป็นเวลานาน โดยขาดการบารุงรักษาทา ให้ดินเสื่อมคุณภาพลง เนื่องจากการปลูกพืชมีการไถเตรียมดิน การเผาเพื่อเตรียมดินทาให้โครงสร้างดินถูก ทาลาย และง่ายต่อการสูญเสียหน้าดิน โดยการไหลบ่าของน้าหน้าดิน หรือการชะล้าง พังทลายของดิน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความลาด นอกจากนี้มีการนาผลผลิตออกจากพื้นที่ปลูกซึ่งเป็นการนาธาตุอาหารออกไป ด้วย ถ้าไม่มีการใส่เพิ่มเติมให้กับดินและมีการปลูกพืชเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตซ้าอยู่เรื่อย ๆ ดินจะเสื่อมความอุดม สมบูรณ์ลง 2. มีการสะสมเกลือหรือสารพิษมากเกินไป พื้นที่ในประเทศไทยมีการสะสมเกลือในปริมาณมากจน จัดว่าเป็นดินเค็มครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 19 ล้านไร่ เกิดจากเกลือที่ปะปนอยู่ในชั้นใต้ดินหรือชั้นหินลึกลงไป ในดินประมาณ 2-3 เมตร เมื่อฝนแล้งหรือความชื้นในดินลดลงมีการระเหยน้าจากผิวดิน น้าจากใต้ดินจะซึม ขึ้นมา เมื่อมาถึงเขตรากพืชจะเป็นอันตรายต่อพืชปลูก การใส่ปุ๋ยเคมีในดินมากเกินไป ทาให้เกิดความไม่สมดุล ของธาตุอาหาร นอกจากนี้ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมก็เป็นสาเหตุอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดการเสื่อมสภาพ ของดินเนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมมีการปลดปล่อยของเสียจากกระบวนการผลิตทั้งในรูปของแข็ง ของเหลว และก๊าซ 3. การทาให้สภาพทางกายภาพของดินเสื่อมลง การปฏิบัติต่อดินโดยไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยเฉพาะการทาการเกษตร เช่น การไถเตรียมดินในสภาพความชื้นไม่เหมาะสม การไถดินบ่อยครั้งทาให้ โครงสร้างของดินเสีย แน่นทึบ รากพืชแพร่กระจายไปได้อย่างจากัดส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การระบายน้าระบายอากาศไม่ดี เมื่อฝนตกลงมาดินจะเก็บความชื้นได้น้อย แต่น้าจานวนมากไหลบ่าไปตามผิว ดินชะเอาความอุดมสมบูรณ์ของดินไปด้วย 4. การสูญเสียหน้าดิน โดยทั่วไปหน้าดินหรือดินบนเป็นส่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์ และเหมาะต่อ การเจริญเติบโตของพืชมากที่สุด การเปิดผิวดินโดยการตัดไม้ทาลายป่า เพื่อนาพื้นที่มาทาการเกษตร หรือ พัฒนาพื้นทีเ่ พื่อประโยชน์อย่างอื่น เช่น สร้างถนน สร้างเขื่อนหรือแหล่งน้า สร้างอาคารบ้านเรือน เป็นการ ทาลายสิ่งปกคลุมผิวหน้าดินทาให้ง่ายต่อการชะล้างพังทลาย

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 41

วิธีการพัฒนาและอนุรักษ์ดิน วิธีการพัฒนาและอนุรักษ์ดิน สามารถทาได้หลายวิธีดังนี้ 1. การใช้วัสดุคลุมดิน เป็นการนาเอาวัสดุใด ๆ เช่น ฟางข้าว หญ้าแห้ง ขี้เลื่อยหรือเศษตอซังหลังจาก เก็บเกี่ยวผลผลิตออกจากพื้นที่แล้วคลุมหน้าดินไว้เพื่อป้องกันการเซาะกร่อนของดิน โดยช่วยป้องกันหรือลด การกระแทกของดินจากเม็ดฝนและลม ลดการไหลบ่าของน้า ช่วยรักษาความชื้นในดิน เป็นการเพิ่มอินทรีวัตถุ ให้กับดิน แต่อาจมีปัญหาบ้างคือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและโรคพืชได้ กรณีที่ใช้หญ้าไม่แห้งสนิทอาจ ก่อให้เกิดการงอกของหญ้ากลายเป็นวัชพืช 2. การปลูกพืชคลุมดิน เป็นการปลูกพืชที่มีใบหนาแน่น เพื่อปกคลุมผิวหน้าดินและมีระบบรากลึก และแน่นเพื่อยึดหน้าดิน ตัวอย่างเช่น พืชในวงศ์ถั่ว และวงศ์หญ้า การปลูกพืชคลุมดิน ช่วยป้องกันแรงปะทะ ของเม็ดฝนต่อดิน ช่วยดูดธาตุอาหารมาเก็บเอาไว้ทาให้ลดการสูญเสียโดยการชะละลายไปกับน้าใต้ดิน และเมื่อ ส่วนต่าง ๆ ของพืชตายและถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ดินก็จะกลายเป็นอินทรียวัตถุ ส่งผลให้ดินมีสภาพทาง กายภาพที่เหมาะสม กรณีใช้พืชตระกูลถั่วยังมีประโยชน์ ในแง่ที่ของการตรึงไนโตรเจนอีกด้วย 3. การปลูกพืชตามแนวระดับ เป็นการไถพรวน หว่าน และเก็บเกี่ยวผลผลิตพืชขนานไปตามแนว ระดับ เพื่อลดอัตราการชะล้างพังทลายของดิน ส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชชนิดเดียว หรือกลุ่มเดียวกันในพื้นที 4. การปลูกพืชตามแบบขั้นบันได การทาขั้นบันได เพื่อช่วยลดความลาดเท และความเร็วของน้าที่ ไหลบ่า ทาให้ปริมาณการสูญเสียเนื้อดินน้อยลง ป้องกันการเกิดร่องน้า และช่วยให้ดินเก็บความชื้นได้มากขึ้น 5. การใช้ระบบปลูกพืช เป็นการปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน อาจปลูกพร้อมกัน เหลื่อมฤดูกัน หรือปลูกคนละฤดูก็ได้ จุดประสงค์ในแง่การอนุรักษ์ดินคือให้มีพืชคลุมพื้นที่ตลอดเวลาและมากที่สุดเป็นการลด การชะล้างพังทายของดิน และช่วยรักษาความชุ่มชื้นของดิน โดยทั่วไปสามารถทาได้ 3 ลักษณะคือ การปลูก พืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม และการปลูกพืชเหลื่อมฤดู 6. การใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดิน หญ้าแฝกเป็นพืชที่มีระบบรากหยั่งลึกลงไปในดินมากกว่าที่จะ แผ่ขยายออกมาทางด้านข้าง รากจานวนมากประสานแน่นกันเป็นร่างแหสามารถเกาะยึดดินได้ดี การปลูกหญ้า แฝกให้ชิดกันสามารถเป็นแนวกาแพงที่มีชีวิตป้องกันการชะล้างพังทลายของดินได้

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 42

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ดิน คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงใน กระดาษคาตอบ 1. ในการแบ่งดินออกเป็นดินชั้นบน และดินชั้นล่างใช้เกณฑ์อะไร ก. สีของเนื้อดิน ข. การตกตะกอน ค. ซากพืชซากสัตว์ ง. ขนาดของเม็ดดิน 2. ลักษณะของดินชั้นบนกับดินชั้นล่างแตกต่างกันตามข้อใด ก. ดินชั้นบนมีฮิวมัสมากกว่า ข. ดินชั้นบนมีความพรุนน้อยกว่า ค. สีของดินชั้นบนจางกว่าสีของดินชั้นล่าง ง. ดินชั้นบนมีขนาดของเม็ดดินเล็กกว่า 3. ดินชั้นล่างมักมีสีอะไร เพราะเหตุใด ก. สีดา เพราะมีฮิวมัส ข. สีเทา เพราะมีแร่โลหะมาก ค. สีแดง เพราะมีธาตุทองแดงมาก ง. สีเหลือง เพราะมีออกไซด์ของเหล็ก 4. โดยธรรมชาติ ดินมีส่วนประกอบข้อใดมากที่สุด ก. น้า ข. อากาศ ค. อินทรียวัตถุ ง. สารอนินทรีย์

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 43

5. ส่วนประกอบของดินที่มีผลต่อความพรุนของดินคือข้อใด ก. น้า ข. อากาศ ค. อินทรียวัตถุ ง. สารอนินทรีย์ 6. ถ้าดิน x มี pH = 7.5 ดิน y มี pH = 8.0 และ ดิน Z มี pH = 6.5 ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง ก. ดินทั้งสามชนิดเป็นกรด ข. ดินทั้งสามชนิดเป็นเบส ค. ดิน x และดิน y เป็นเบส ส่วนดิน z เป็นกรด ง. ดิน x และดิน y เป็นกรด ส่วนดิน z เป็นเบส 7. การแก้ไขดินที่มีค่า pH = 5.5 ซึ่งเหมาะกับการปลูกข้าว เพื่อให้เหมาะสมกับการปลูกฝ้าย มีค่า pH = 6.0–8.0 ต้องใช้สารใดปรับปรุง ก. ผงกามะถัน ข. แคลเซียมซัลเฟต ค. แอมโนเนียมคลอไรด์ ง. แคลเซียมไฮดรอกไซด์ 8. กรณีดินเค็ม แสดงว่าดินมีสารใดมากที่สุด ก. ผงกามะถัน ข. โซเดียมคลอไรด์ ค. แอมโมเนียมซัลเฟต ง. แคลเซียมไอดรอกไซด์ 9. การจาแนกดินออกเป็น 3 ชนิด คือดินร่วน ดินเหนียว และดินทราย ใช้เกณฑ์ในข้อใด ก. สีของดิน ข. ลักษณะของเนื้อดิน ค. ความพรุนของดิน ง. องค์ประกอบของดิน 10. ดินที่มีค่า pH ในช่วง 4.5–6.5 มีสภาพตรงกับข้อใด ก. กรดจัด z เบสจัด ข. เบสเล็กน้อย z เบสจัด ค. เบสจัดมาก z เบสเล็กน้อย ง. กรดจัดมาก z กรดเล็กน้อย

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 44

https://goo.gl/sNJpMV ภาพที่ 1.22 ข้อสอบออนไลน์ เรื่อง ดิน ที่มา : บุญลอย มูลน้อย, 2561

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 45

แผนผังความคิด (Mind Mapping) วันที่...................เดือน...................................พ.ศ.................................. ชื่อ – สกุล ................................................................................ชั้น............เลขที่...............กลุ่มที่ .................... คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) สรุปเกี่ยวกับดิน

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 46

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551).หลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. กรมพัฒนาที่ดิน. (2552). ความรู้เรื่องดินสาหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน. . (2553). การสร้างตัวของดิน. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2555, สืบค้นจาก http://osl101.ldd.go.th/easysoils/s_factor.htm . (2553). ความรู้เรื่องดิน. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2555, สืบค้นจาก http://osl101.ldd.go.th/easysoils/s_%20profile.htm . (2553). สีของดิน. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2555, สืบค้นจาก http://osl101.ldd.go.th/easysoils/s_forming.htm กรมวิชาการ. (2546). ธรณวิทยาน่ารู้ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์พัฒนาหนังสือกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. บัญชา แสนทวีและคณะ. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. ประดับ นาคแก้วและคณะ. (2551). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : แม็ค, พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ. (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. พิษณุ วงศ์พรชัย. (2548). ธรณีวิทยาเบื้องต้น. เชียงใหม่ : ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ยุพา วรยศและคณะ. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่มที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. . (2558). หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


หน้า | 47ก

ชุดที่ 1 ดิน

คานา ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ ทรัพยากรธรณี จัดทาขึ้นตามกรอบและมาตรฐาน การเรียนรู้ของกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ โดยมีเนื้อหาสอดคล้ องกับหลั กสูตรแกนกลางการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เป็น ชุดกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางวิทยาศาสตร์ และเพื่อให้นักเรียนได้ฝึกกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรณีที่อยู่รอบตัวของนักเรียน และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ซึ่ง ชุ ด กิ จ กรรมวิ ท ยาศาสตร์ เป็ น ชุ ด กิ จ กรรมที่ อ ยู่ บ นฐานความคิ ด “ทั ก ษะแห่ ง ศตวรรษที่ 21” ที่ เ น้ น “กระบวนการเรี ย นรู้ ส าคัญ กว่า ความรู้ ” และ “กระบวนการหาคาตอบส าคัญ กว่ าค าตอบ” โดยปลู กฝั ง การเรียนรู้จากรู้วิชาไปสู่ทักษะในการใช้วิชาเพื่อการดารงชีวิตในโลกแห่งความเป็นจริงอย่างยั่งยืน ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ ทรัพยากรธรณี มีทั้งหมด 5 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 หิน ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 แร่ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 เชื้อเพลิงธรรมชาติ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 น้า ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน เป็นชุดกิจกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนเข้าใจลักษณะและ สมบัติของดิน สามารถอธิบายลักษณะคุณสมบัติตามสภาพดินในแต่ละพื้นที่ และเข้าใจถึงปัญหาของดินและ การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพดิ น โดยมุ่ ง เน้ น ให้ นั ก เรี ย นได้ ศึ ก ษาและฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารทดลอง รวมทั้ ง ปลู ก ฝั ง จิ ต วิทยาศาสตร์ให้เกิดกับผู้เรียนและสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ชุ ด กิ จ กรรมวิ ท ยาศาสตร์ ทุ ก ชุ ด จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ผู้ เ รี ย นในการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ และสร้างให้นักเรียนเป็นผู้มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการสืบเสาะหาความรู้ สามารถเชื่อมโยงองค์ ความรู้สู่ชีวิตประจาวันของตนเอง และทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้ น ตลอดจนมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนวิทยาศาสตร์ ขอขอบคุณท่านผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบความถูกต้อง ผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ เพื่อนครูและ นักเรียนที่ได้ให้ความร่วมมือในการสร้างสรรค์ผลงานจนประสบความสาเร็จ บุญลอย มูลน้อย

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


หน้า | 48ข

ชุดที่ 1 ดิน

สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ………………………………………………………………………………………………………………………………………... ก สารบัญ …………………………………………………………………………………....……………………………………………….. ข คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ................................................................................................. . 1 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ .................................................................................. 2 แบบทดสอบก่อนเรียน ………………………………………………………..…………………………………………………….... 3 ใบกิจกรรม เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี .............………………………………………………………………………………. 6 แบบบันทึกกิจกรรม เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี …......………………………………..……………………………………. 8 ใบความรู้เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี …..…………….…………………………………………………………………………… 10 ใบงานเรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี …..…………..…………………………………………..……………………………………. 19 แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี …....…………………………………………………………………...... 23 แผนผังความคิด (Mind Mapping) …...…………………………………………………………………………………………. 26 บรรณานุกรม …………………………………………………………………………….……………….....….…………….………... 27

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 49

คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101 โดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ ทรัพยากรธรณี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีเนื้อหาสาระที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนแสลมวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระที่ 6 กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของโลก ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 1. นักเรียนควรฟังคาอธิบายถึงความสาคัญของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ ทรัพยากร ธรณี 2. นักเรียนควรแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน โดยคละความสามารถ นักเรียนในกลุ่มเป็นเก่ง ปานกลาง และอ่อน 3. นักเรียนควรอ่านคาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ให้เข้าใจก่อนลงมือปฏิบัติ 4. นักเรียนควรศึกษาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ 5. นักเรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียน ซึ่งมีทางเลือกให้นักเรียนเลือกทาข้อสอบทางออนไลน์ได้ โดยใช้อุปกรณ์สื่อสาร อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต ในการสแกน QR Code 6. วิธีสแกน QR Code มีดังนี้คือ ใช้อุปกรณ์สื่อสารเข้า Line และคลิ๊กเลือกเมนู Add Friends จากนั้นเลือกเมนู QR Code และถ่าย QR Code ที่ปรากฏบนหน้ากระดาษ ดังตัวอย่าง และสามารถเข้าทา ข้อสอบออนไลน์หรือศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ทันที

6. นักเรียนควรอ่านรายละเอียดของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ก่อนลงมือปฏิบัติทุกครั้ง 7. นักเรียนควรปฏิบัติตามคาชี้แจงและตอบคาถามในกิจกรรมทุกข้อ 8. นักเรียนสามารถดู VDO (สื่อการเรียนรู้) เพิ่มเติมที่แทรกอยู่ภายในเนื้อหาของชุดกิจกรรม เพื่อช่วย ให้นักเรียนได้ความรู้เสริมเพิ่มเติมนอกเหนือจากเนื้อหาในรูปเล่มหนังสือปกติได้โดยการสแกน QR Code มี วิธีการสแกน QR Code ดังกล่าวในข้อ 6. 9. เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกปฏิบัติแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรมที่ปฏิบัติ 10. นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทาใบงาน ทาแบบทดสอบหลังเรียนและเขียนแผนผังความคิด ในการทา แบบทดสอบหลังเรียนมีทางเลือกให้นักเรียนเลือกทาข้อสอบทางออนไลน์ได้ โดยใช้อุปกรณ์สื่อสาร อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต ในการสแกน QR Code ที่ปรากฏและสามารถทาข้อสอบออนไลน์ได้ทันที

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


ชุดที่ 1 ดิน

หน้า | 50

คาแนะนาการใช้ E – Book ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดกิจ กรรมวิทยาศาสตร์ หน่ ว ยการเรียนรู้ ทรัพยากรธรณี ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้ง 5 ชุดนี้ ได้จัดทาขึ้น 2 รูปแบบ คือแบบรูปเล่มหนังสือ และแบบ E - Book Online ซึ่งครูผู้สอน และ นักเรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลได้ผ่านระบบ Internet โดยมีวิธีการเข้าใช้งาน E – Book Online ดังนี้ 1. ใช้อุปกรณ์สื่อสาร อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต ในการสแกน QR Code ที่ หน้าปกชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ทั้ง 5 ชุด 2. ใช้อุปกรณ์สื่อสารเข้า Line และคลิ๊กเลือกเมนู Add Friends จากนั้นเลือกเมนู QR Code และถ่าย QR Code บนหน้าปกหนังสือ ดังตัวอย่าง

3. เมื่ออุปกรณ์สื่อสารสามารถเข้าสู่ URL ของ E – Book Online แล้วให้ผู้ใช้คลิ๊ก เข้าไปสู่ E – Book เพื่อทาการศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เล่มนั้น ๆ ได้ทันที 4. สาหรับความพิเศษของ E – Book ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เล่มนี้คือ ผู้เข้าใช้งาน สามารถคลิ๊กดู VDO (สื่อการเรียนรู้) เพิ่มเติมที่แทรกอยู่ภายในเนื้อหาของชุดกิจกรรม เพื่อช่วยให้ผู้ศึกษาได้ ความรู้เสริมเพิ่มเติมนอกเหนือจากเนื้อหาในรูปเล่มหนังสือปกติ 5. สาหรับผู้ใช้ที่เข้าใช้งาน E – Book ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เล่มนี้ หากมีความ ประสงค์จะพิมพ์ใบกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียนหรือแบบทดสอบหลังเรียน สามารถคลิ๊กที่สัญลักษณ์เครื่อง Printer ที่หน้านั้น ๆ ได้ทันที

บุญลอย มูลน้อย

โรงเรียนแสลมวิทยา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.