พิ ธี พ ระราชทาน ป ริ ญ ญ า บั ต ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์ 2561
KASETSART UNIVERSITY G R A D U AT IO N C E R E MON Y 2 1 - 2 5 O C T O B E R 2 018
ส�ำเนาพระโอวาท สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 วันที่ 20-24 พฤศจิกายน 2560
ส�ำเนาพระโอวาท สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันจันทร์ที่ 20 พฤศจิกายน 2560
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้ามาปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำ�ปีนี้ ขอแสดงความชืน่ ชมกับผูท้ รงคุณวุฒแิ ละบัณฑิตทุกคน ทีไ่ ด้รบั เกียรติและความสำ�เร็จ ท่านทัง้ หลายสำ�เร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตสมดังความตัง้ ใจแล้ว ต่อไปก็จะได้ประกอบ อาชีพการงานโดยใช้ความรู้ที่สร้างสมอบรมมา ความรู้นั้นอาจกล่าวได้ว่ามีสองด้าน คือด้านลึก กับด้านกว้าง ด้านลึก หมายถึงความรู้อันลึกซึ้งหนักแน่นในสาขาวิชาเฉพาะ เช่นที่บัณฑิตได้ ศึกษาจากมหาวิทยาลัย ส่วนด้านกว้าง หมายถึงความรู้อันกว้างขวางเกี่ยวกับวิชาการและ วิทยาการต่าง ๆ รวมทั้งข่าวสารข้อมูลอันทันสมัย ความรู้ทั้งสองด้านนี้ต่างก็มีความสำ�คัญอยู่ ด้วยกัน เพราะเป็นเครือ่ งมือสำ�หรับใช้ปฏิบตั งิ าน และเป็นปัจจัยในการพัฒนางานให้เจริญก้าวหน้า ทันการณ์ทนั โลก จึงขอให้บณ ั ฑิตทุกคนหมัน่ ศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติม ทัง้ ความรูด้ า้ นลึกและความรู้ ด้านกว้าง ให้สมบูรณ์ครบถ้วนอยู่เสมอ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคน และทุกท่าน ที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความผาสุกสวัสดีจงทั่วกัน
ส�ำเนาพระโอวาท สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน 2560
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้ามาปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อีกวาระหนึ่ง ขอแสดงความชื่นชมกับผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและ ความสำ�เร็จ เมื่อวานนี้ ข้าพเจ้าได้กล่าวถึงความรู้ทั้งด้านลึกและด้านกว้าง ซึ่งเป็นเครื่องมือใน การปฏิบตั แิ ละพัฒนางาน วันนีจ้ งึ ใคร่จะพูดกับท่านเกีย่ วกับปัจจัยทีท่ กุ คนจำ�เป็นต้องมีประกอบ ส่งเสริมกับความรู้ ได้แก่ คุณธรรม คุณธรรม คือคุณงามความดีอนั เป็นพืน้ ฐานอยูใ่ นจิตใจของบุคคล เป็นเครือ่ งป้องกัน บุคคลให้หา่ งไกลจากความชัว่ และความเสือ่ มเสียหาย ในการนำ�ความรูไ้ ปใช้ปฏิบตั งิ านสร้างสรรค์ ความสำ�เร็จ จะขาดคุณธรรมคอยกำ�กับประคับประคองมิได้ เพราะความรูเ้ ป็นสิง่ ทีค่ นเราอาจนำ� ไปใช้ทงั้ ในทางสุจริตและในทางทุจริตได้เท่า ๆ กัน บัณฑิตทุกคนจึงชอบทีจ่ ะฝึกฝนอบรมคุณธรรม ให้เจริญงอกงามขึ้นในตน และยึดมั่นในคุณธรรมเสมอทุกเมื่อ จะได้นำ�ความรู้ความสามารถ ไปใช้ในทางที่ดีที่สุจริตแต่ทางเดียว อันจะบังเกิดผลเป็นความเจริญมั่นคงในชีวิตและกิจการงาน ทั้งโดยส่วนตนและส่วนรวมอย่างแท้จริงและยั่งยืน ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคน และทุกท่าน ที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความสุขสวัสดีทั่วกัน
ส�ำเนาพระโอวาท สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพุธที่ 22 พฤศจิกายน 2560
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้ามาปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อีกวาระหนึ่ง ขอแสดงความชื่นชมกับผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและ ความสำ�เร็จ เมื่อสองวันที่ผ่านมา ข้าพเจ้าได้ขอให้บัณฑิตสร้างเสริมเพิ่มพูนความรู้ทั้งด้านลึก ด้านกว้าง และสร้างสมอบรมคุณธรรมสำ�หรับเป็นเครื่องกำ�กับประคับประคองให้นำ�ความรู้ ไปใช้ในทางที่สุจริต ในวันนี้ จะได้กล่าวถึงคุณธรรมประการหนึ่งซึ่งทำ�ให้คนเราปฏิบัติงานได้โดย ไม่ย่อท้อ คุณธรรมดังกล่าว ได้แก่ความตัง้ ใจจริง อันหมายถึงความมีใจจดจ่อมุง่ มัน่ ทีจ่ ะกระทำ� การต่าง ๆ จนสำ�เร็จผลทีด่ ี ทีถ่ กู ต้อง ทีเ่ ป็นประโยชน์แท้ บุคคลเมือ่ มีความตัง้ ใจจริงแล้ว ไม่วา่ จะ เผชิญกับอุปสรรคปัญหาใด ๆ ก็ตาม ย่อมไม่ทอ้ ถอยย่อหย่อน แต่จะพากเพียรพยายามปฏิบตั ิ แก้ไขโดยเต็มกำ�ลังความรูค้ วามสามารถ จนงานทีท่ ำ�สำ�เร็จลุลว่ งตามเป้าหมาย บัณฑิตทัง้ หลาย กำ�ลังจะออกไปประกอบอาชีพการงาน คงจะมีอุปสรรคปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้นบ้างเป็นธรรมดา หากแต่ละคนจะฝึกฝนอบรมตนให้เป็นผูม้ คี วามตัง้ ใจจริง ก็มนั่ ใจได้วา่ จะสามารถนำ�พาตนนำ�พา งานให้ผ่านพ้นอุปสรรคทั้งปวง จนบรรลุถึงความสำ�เร็จและความเจริญได้อย่างแน่นอน ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคน และทุกท่าน ที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความสุขความเจริญจงทั่วกัน
ส�ำเนาพระโอวาท สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน 2560
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้ามาปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อีกวาระหนึ่ง ขอแสดงความชื่นชมกับผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและ ความสำ�เร็จ เมื่อสามวันที่ผ่านมา ข้าพเจ้าได้พูดกับบัณฑิตในที่ประชุมนี้ว่า การประกอบกิจการ งานสร้างสรรค์ความเจริญมั่นคง ต้องใช้ความรู้ทั้งด้านลึกและด้านกว้างเป็นเครื่องมือ ต้องมี คุณธรรมกำ�กับควบคุมการใช้ความรู้ และต้องมีความตั้งใจจริงที่จะทำ�งานให้สำ�เร็จ วันนี้ ใคร่จะกล่าวเพิ่มเติมแก่ท่านทั้งหลายว่า ความสำ�เร็จของคนเรานั้น นอกจาก จะเป็นผลจากความเพียรพยายามของแต่ละคนเองแล้ว ยังมาจากการสนับสนุนเกื้อกูลจากผู้ อืน่ อีกเป็นอันมาก อย่างความสำ�เร็จของบัณฑิตในวันนี้ ผูม้ สี ว่ นอย่างสำ�คัญ และเป็นผูม้ พ ี ระคุณ อย่างสูง ก็คอื บิดามารดาผูป้ กครอง ผูใ้ ห้ชวี ติ อบรมเลีย้ งดู และส่งเสริมให้บณ ั ฑิตได้รบั การศึกษา อย่างดีที่สุดกับครูบาอาจารย์ ผู้ให้วิชาความรู้และช่วยอบรมบ่มนิสัย จนบัณฑิตเติบโตขึ้นเป็น ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า บัณฑิตจึงควรมีความกตัญญูกตเวที คือรู้คุณ และตอบแทนคุณ ท่าน ด้วยการประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดี และนำ�ความรู้ตลอดจนคุณสมบัติทั้งปวงที่ได้สร้าง สมมาดีแล้ว ไปใช้ประกอบกิจการงานให้สำ�เร็จผลเป็นประโยชน์แก่ตนเองและชาติบา้ นเมืองสืบไป ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคน และทุกท่าน ที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความผาสุกมั่นคงจงทั่วกัน
ส�ำเนาพระโอวาท สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2560
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้ามาปฏิบัติ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อีกวาระหนึ่ง ขอแสดงความชื่นชมกับผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและ ความสำ�เร็จ เมื่อสี่วันที่ผ่านมา ข้าพเจ้าได้พูดกับบัณฑิตในที่ประชุมนี้ถึงเรื่องความรู้ คุณธรรม ความตั้งใจจริง รวมทั้งความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ อันเป็นเครื่องมือและปัจจัยส่งเสริม การปฏิบัติงานสร้างสรรค์ความเจริญมั่นคงของบุคคลและประเทศชาติ ในวันสุดท้ายนี้ ใคร่จะกล่าวเพิ่มเติมแก่ท่านว่า ชาติบ้านเมืองนั้นมีคุณยิ่ง ด้วยเป็นที่ เกิด ทีอ่ าศัย ซึง่ บุคคลได้ลงหลักปักฐานสร้างตัวสร้างชีวติ ให้มคี วามผาสุกมัน่ คง ทุกคนจึงมีหน้า ที่ที่จะต้องตอบแทนคุณ โดยร่วมมือร่วมใจกันสร้างสรรค์ประโยชน์และความเจริญยั่งยืนให้แก่ ชาติบ้านเมือง ไม่เบียดเบียนทำ�ลายชาติบ้านเมืองให้ตกต่ำ�เสียหาย ยิ่งบัณฑิตเป็นผู้มีความรู้สูง ก็ยงิ่ ต้องสำ�นึกตระหนักในหน้าทีต่ อ่ ชาติบา้ นเมืองให้มาก แล้วตัง้ ใจพยายามนำ�ความรูไ้ ปใช้ปฏิบตั ิ พัฒนางานต่าง ๆ ของชาติให้เจริญก้าวหน้า ด้วยความสมัครสมานสามัคคีกนั ถ้าทำ�ได้ดงั นี้ บ้าน เมืองเราก็จะมีแต่ความร่มเย็นเป็นปรกติสขุ ยังความวัฒนาผาสุกในชีวติ และกิจการงานแก่ทกุ คน โดยถ้วนหน้า ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคน และทุกท่าน ที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความสำ�เร็จสมประสงค์จงทั่วกัน
สารบัญ 001
ก�ำหนดการ
012
ค�ำกราบทูล นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
020
ค�ำกล่าวแสดงความยินดีแก่บัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
022
สรุปการด�ำเนินงาน ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2560
099
มูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
129
ค�ำยกย่องสดุดี
001
ก�ำหนดการ พิธีพระราชทานปริญญาบัตร สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ พิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2560 วันที่ 21-25 ตุลาคม 2561 ณ อาคารจักรพันธ์เพ็ณศิริ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
002
ก�ำหนดการ วันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม 2561 จออกจากต�ำหนักทิพย์พมิ าน อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 14.45 -ไปยัเสด็งอาคารจั กรพันธ์เพ็ญศิริ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
16.00
- รถยนต์พระทีน่ งั่ ถึงอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท้ รงคุณวุฒิ คณาจารย์ และนิสติ เฝ้า ฯ รับเสด็จ - ผูแ้ ทนบัณฑิต และผูแ้ ทนนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทูลเกล้าฯ ถวาย พวงมาลัยและสูจบิ ตั ร - เสด็จขึน้ ชัน้ 2 (โดยลิฟต์) - เสด็จ ฯ ไปทรงวางพวงมาลัยหน้าพระรูปพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ - ทรงคม - เสด็จเข้าห้องทรงฉลองพระองค์ครุย - ทรงลงพระนามในสมุดเยีย่ ม - เสด็จออกหน้าอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ - ทรงฉายพระบรมรูปร่วมกับคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (จ�ำนวน 1 ชุด) - เสด็จเข้าอาคาร (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งนมัสการบูชาพระรัตนตรัย - ทรงกราบ - ประทับพระราชอาสน์ - นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ กราบบั ง คมทู ล ส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณ และขอพระราชทานเบิกอธิการบดี กราบบังคมทูล รายงานกิจการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - อธิการบดี กราบบังคมทูลรายงานกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเบิกผูไ้ ด้รบั ปริญญากิตติมศักดิเ์ ข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ (จ�ำนวน 2 คน)
003
- พระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ ์ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - คณบดีคณะเกษตร คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จ การศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 686 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15–20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 681 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร คณบดีคณะสังคมศาสตร์ กราบบังคม ทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 791 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะสังคมศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษา เข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 764 คน) - ผูไ้ ด้รบั พระราชทานปริญญาบัตร กล่าวค�ำปฏิญาณ - อธิการบดี กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชานุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพู่ หมวกไปทางซ้าย - พระราชทานพระราโชวาทแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - เสด็จ ฯ ไปทรงกราบทีห่ น้าเครือ่ งนมัสการ - เสด็จ ฯ ไปทรงเปลือ้ งฉลองพระองค์ครุย - เสด็จ ฯ ไปประทับรถยนต์พระทีน่ งั่ - เสด็จ ฯ กลับ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี)
004
ก�ำหนดการ วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม 2561 จออกจากต�ำหนักทิพย์พมิ าน อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 14.45 -ไปยัเสด็งอาคารจั กรพันธ์เพ็ญศิริ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
16.00
- รถยนต์พระทีน่ งั่ ถึงอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท้ รงคุณวุฒิ คณาจารย์ และนิสติ เฝ้า ฯ รับเสด็จ - ผูแ้ ทนบัณฑิต และผูแ้ ทนนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทูลเกล้าฯ ถวาย พวงมาลัย - เสด็จขึน้ ชัน้ 2 (โดยลิฟต์) - เสด็จ ฯ ไปทรงวางพวงมาลัยหน้าพระรูปพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ - ทรงคม - เสด็จเข้าห้องทรงฉลองพระองค์ครุย - เสด็จออกจากห้องทรงฉลองพระองค์ครุย เข้าสูภ่ ายในอาคาร (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งนมัสการบูชาพระรัตนตรัย - ทรงกราบ - ประทับพระราชอาสน์ - อธิการบดี กราบบังคมทูลเบิกผูไ้ ด้รบั ปริญญากิตติมศักดิเ์ ข้ารับพระราชทาน ปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ (จ�ำนวน 1 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ ์ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - คณบดีคณะประมง คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา กราบบังคมทูลเบิก ผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 691 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร
005
- ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 741 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะพาณิชยนาวีนานาชาติ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการกราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษา เข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 822 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะวิทยาการจัดการ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 702 คน) - ผูไ้ ด้รบั พระราชทานปริญญาบัตร กล่าวค�ำปฏิญาณ - อธิการบดี กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชานุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพู่ หมวกไปทางซ้าย - พระราชทานพระราโชวาทแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - เสด็จ ฯ ไปทรงกราบทีห่ น้าเครือ่ งนมัสการ - เสด็จ ฯ ไปทรงเปลือ้ งฉลองพระองค์ครุย - เสด็จ ฯ ไปประทับรถยนต์พระทีน่ งั่ - เสด็จ ฯ กลับ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี)
006
ก�ำหนดการ วันอังคารที่ 23 ตุลาคม 2561 จออกจากต�ำหนักทิพย์พมิ าน อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 14.45 -ไปยัเสด็งอาคารจั กรพันธ์เพ็ญศิริ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
16.00
- รถยนต์พระทีน่ งั่ ถึงอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท้ รงคุณวุฒิ คณาจารย์ และนิสติ เฝ้า ฯ รับเสด็จ - ผูแ้ ทนบัณฑิต และผูแ้ ทนนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทูลเกล้าฯ ถวาย พวงมาลัย - เสด็จขึน้ ชัน้ 2 (โดยลิฟต์) - เสด็จ ฯ ไปทรงวางพวงมาลัยหน้าพระรูปพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ - ทรงคม - เสด็จเข้าห้องทรงฉลองพระองค์ครุย - เสด็จออกจากห้องทรงฉลองพระองค์ครุย เข้าสูภ่ ายในอาคาร (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งนมัสการบูชาพระรัตนตรัย - ทรงกราบ - ประทับพระราชอาสน์ - อธิการบดี กราบบังคมทูลเบิกผูไ้ ด้รบั ปริญญากิตติมศักดิเ์ ข้ารับพระราชทาน ปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ (จ�ำนวน 1 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ ์ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - คณบดีคณะวนศาสตร์ คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ คณบดีคณะเกษตร ก�ำแพงแสน กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 896 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที)
007
- เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 800 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ ก ารกี ฬ า คณบดี ค ณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละ วิทยาศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญา บัตร (จ�ำนวน 833 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการ ศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 800 คน) - ผูไ้ ด้รบั พระราชทานปริญญาบัตร กล่าวค�ำปฏิญาณ - อธิการบดี กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชานุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพู่ หมวกไปทางซ้าย - พระราชทานพระราโชวาทแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - เสด็จ ฯ ไปทรงกราบทีห่ น้าเครือ่ งนมัสการ - เสด็จ ฯ ไปทรงเปลือ้ งฉลองพระองค์ครุย - เสด็จ ฯ ไปประทับรถยนต์พระทีน่ งั่ - เสด็จ ฯ กลับ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี)
008
ก�ำหนดการ วันพุธที่ 24 ตุลาคม 2561 จออกจากต�ำหนักทิพย์พมิ าน อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 14.45 -ไปยัเสด็งอาคารจั กรพันธ์เพ็ญศิริ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
16.00
- รถยนต์พระทีน่ งั่ ถึงอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท้ รงคุณวุฒิ คณาจารย์ และนิสติ เฝ้า ฯ รับเสด็จ - ผูแ้ ทนบัณฑิต และผูแ้ ทนนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทูลเกล้าฯ ถวาย พวงมาลัย - เสด็จขึน้ ชัน้ 2 (โดยลิฟต์) - เสด็จ ฯ ไปทรงวางพวงมาลัยหน้าพระรูปพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ - ทรงคม - เสด็จเข้าห้องทรงฉลองพระองค์ครุย - เสด็จออกจากห้องทรงฉลองพระองค์ครุย เข้าสูภ่ ายในอาคาร (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งนมัสการบูชาพระรัตนตรัย - ทรงกราบ - ประทับพระราชอาสน์ - อธิก ารบดี กราบบังคมทูล เบิก ผู้ได้ รั บ ปริ ญ ญากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ เ ข้ า รั บ พระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ (จ�ำนวน 1 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - คณบดีคณะบัณฑิตวิทยาลัย คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ คณบดีคณะ ทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการ ศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 732 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที)
009
- เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษา เข้ารับพระราชทาน ปริญญาบัตร (จ�ำนวน 1,028 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษา เข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 740 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษา เข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 743 คน) - ผูไ้ ด้รบั พระราชทานปริญญาบัตร กล่าวค�ำปฏิญาณ - อธิการบดี กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชานุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพู่ หมวกไปทางซ้าย - พระราชทานพระราโชวาทแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - เสด็จ ฯ ไปทรงกราบทีห่ น้าเครือ่ งนมัสการ - เสด็จ ฯ ไปทรงเปลือ้ งฉลองพระองค์ครุย - เสด็จ ฯ ไปประทับรถยนต์พระทีน่ งั่ - เสด็จ ฯ กลับ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี)
010
ก�ำหนดการ วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม 2561 จออกจากต�ำหนักทิพย์พมิ าน อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 14.45 -ไปยัเสด็งอาคารจั กรพันธ์เพ็ญศิริ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
16.00
- รถยนต์พระทีน่ งั่ ถึงอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท้ รงคุณวุฒิ คณาจารย์ และนิสติ เฝ้า ฯ รับเสด็จ - ผูแ้ ทนบัณฑิต และผูแ้ ทนนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทูลเกล้าฯ ถวาย พวงมาลัย - เสด็จขึน้ ชัน้ 2 (โดยลิฟต์) - เสด็จ ฯ ไปทรงวางพวงมาลัยหน้าพระรูปพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ - ทรงคม - เสด็จเข้าห้องทรงฉลองพระองค์ครุย - เสด็จออกจากห้องทรงฉลองพระองค์ครุย เข้าสูภ่ ายในอาคาร (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งนมัสการบูชาพระรัตนตรัย - ทรงกราบ - พระราชทานปริญญาบัตรแก่พระภิกษุทสี่ ำ� เร็จการศึกษา (จ�ำนวน 3 รูป) - ประทับพระราชอาสน์ - อธิ ก ารบดี กราบบั ง คมทู ล เบิ ก ผู ้ ไ ด้ รั บ ปริ ญ ญากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ เ ข้ า รั บ พระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ (จ�ำนวน 1 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ ์ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผู้ ส�ำเร็จการศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 716 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที)
011
- เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ คณบดีคณะสิง่ แวดล้อม ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 699 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ กราบบังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 654 คน) - พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา ตามล�ำดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) - เสด็จ ฯ ไปประทับพักพระราชอิรยิ าบถ (ประมาณ 15-20 นาที) - เสด็จเข้าอาคาร - ประทับพระราชอาสน์ - คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัยการชลประทาน กราบ บังคมทูลเบิกผูส้ ำ� เร็จการศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร (จ�ำนวน 806 คน) - ผูไ้ ด้รบั พระราชทานปริญญาบัตร กล่าวค�ำปฏิญาณ - อธิการบดี กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระอนุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพูห่ มวก ไปทางซ้าย - พระราชทานพระราโชวาทแก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษา (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) - เสด็จ ฯ ไปทรงกราบทีห่ น้าเครือ่ งนมัสการ - เสด็จ ฯ ไปทรงเปลือ้ งฉลองพระองค์ครุย - เสด็จ ฯ ไปประทับรถยนต์พระทีน่ งั่ - เสด็จ ฯ กลับ (วงดุรยิ างค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี) \
การแต่งกาย เครือ่ งแบบปกติขาว
012
ค�ำกราบทูล ของนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และรักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2560
013
ค�ำกราบทูลของนายกสภา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2560 วันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2561
ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ในวโรกาสอันเป็นมิง่ มหามงคลทีใ่ ต้ฝา่ พระบาท เสด็จมาพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จการ ศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในครั้งนี้ นับเป็นสิริมงคลแก่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นอย่างยิ่ง ยังความปลาบปลื้มปีติโสมนัสแก่คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณาจารย์ ข้าราชการ ผู้ส�ำเร็จการศึกษา นิสิต ตลอดจน ผู้ซึ่งได้อุปถัมภ์และท�ำงานในสถาบันแห่งนี้เป็นล้นพ้น ข้าพระพุทธเจ้า ทั้งหลายส�ำนึกในพระกรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อม ที่ได้ทรงมีพระเมตตา อย่างล้นเหลือต่อไพร่ฟ้า ประชาราษฎร์ ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจและพระภารกิจ เพื่อความร่มเย็นเป็นสุข แก่ชาติบ้านเมืองและพสก นิกรเป็นอเนกประการ การเสด็จมาพระราชทานปริญญาบัตรในวันนี้ นับเป็นอีกวาระหนึ่งที่ทรงมีพระเมตตา แก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทีจ่ ะได้มโี อกาส เข้าเฝ้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจาก พระหัตถ์ของใต้ฝา่ พระบาทเพือ่ เป็นสิรมิ งคลสืบไป นับเป็นพระกรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาทีส่ ดุ มิได้ บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมหามงคลอุดมฤกษ์แล้ว ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทาน พระอนุญาตเบิก นายจงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กราบทูลรายงานกิจการของ มหาวิทยาลัยตามล�ำดับต่อไป ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
014
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รายงานกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2560 วันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า นายจงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ขอพระราชทาน พระวโรกาสกราบทูลรายงานกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในรอบปีการศึกษา 2560 พอสังเขป ดังนี้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รบั การสถาปนาโดยพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2486 และได้ปรับเปลีย่ นเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ เมือ่ วันที่ 18 กรกฎาคม พุทธศักราช 2558 ในปีนเี้ ป็นปีทมี่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ดำ� เนินการจัดการศึกษามาเป็นปีที่ 75 จนถึงปัจจุบนั มีผสู้ ำ� เร็จการศึกษาทัง้ สิน้ 284,107 คน ในปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เปิดสอนวิชาขัน้ ดุษฎีบณ ั ฑิต มหาบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิต และปริญญาบัณฑิต ในบัณฑิตวิทยาลัย และคณะต่าง ๆ รวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 401 หลักสูตร มีนสิ ติ ทุกระดับ จ�ำนวน 73,320 คน มีอาจารย์ ข้าราชการ และเจ้าหน้าทีอ่ นื่ ๆ อีก 10,086 คน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ และงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั การสัง่ สมมาอย่างต่อเนือ่ งเป็น ระยะเวลานาน บัณฑิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้องเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม พร้อมแข่งขันใน เวทีโลก และเป็นบัณฑิตพึงประสงค์ในยุค 4.0 ได้อย่างมีคณ ุ ภาพ เพือ่ พัฒนาและเปลีย่ นแปลงสังคมสูส่ งิ่ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ และน�ำพาประเทศไปสู่ความผาสุกและมั่นคง สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มุง่ สร้างศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพือ่ ความกินดีอยูด่ ขี องชาติ” ปีการศึกษา 2560 สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้อนุมัติปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ และปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แก่ผท้ ู รงคุณวุฒทิ มี่ ผี ลงานดีเด่น จ�ำนวน 6 คน มีผส้ ู ำ� เร็จการศึกษาระดับปริญญา เอก 263 คน ปริญญาโท 2,247 คน ปริญญาตรี 12,714 คน รวมบัณฑิตทีส่ ำ� เร็จการศึกษา จ�ำนวนทัง้ สิน้ 15,224 คน
015
บัดนี้ ถึงเวลาอันเป็นมหามงคลฤกษ์แล้ว ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทาน พระอนุญาตกราบทูลเชิญ ใต้ฝา่ พระบาททรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร แก่ นายลักษณ์ วจนานวัช ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพัฒนา ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมเกษตร แก่ รองศาสตราจารย์สมบัติ ขอทวีวฒ ั นา และพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ ำ� เร็จ การศึกษาตามรายงานทีค่ ณบดีแต่ละคณะจะได้กราบทูลต่อไป ต่อจากนัน้ ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานพระโอวาท เพือ่ เป็นสิรสิ วัสดิพ ์ พ ิ ฒ ั นมงคลแก่บณ ั ฑิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สบื ไป ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทนอธิการบดี หลังจากบัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณจบ (บัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณ …….. จบ) ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระอนุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพูห่ มวก
“บัดนี้ ท่านได้เป็นบัณฑิตโดยสมบูรณ์แล้ว ให้ทา่ นปัดพูห่ มวกไปไว้ทางซ้าย” ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
016
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รายงานกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2560 วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า นายจงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอพระราชทานพระอนุญาตกราบทูลเชิญใต้ฝา่ พระบาททรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ แก่ นายพินจิ กังวานกิจ และพระราชทาน ปริญญาบัตร แก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษาตามรายงานทีค่ ณบดีแต่ละคณะจะได้กราบทูลต่อไป ต่อจากนัน้ ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระโอวาทเพือ่ เป็นสิรสิ วัสดิพ ์ พ ิ ฒ ั นมงคล แก่บณ ั ฑิตและบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สบื ไป ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทนอธิการบดี หลังจากบัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณจบ (บัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณ …….. จบ) ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระอนุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพูห่ มวก
“บัดนี้ ท่านได้เป็นบัณฑิตโดยสมบูรณ์แล้ว ให้ทา่ นปัดพูห่ มวกไปไว้ทางซ้าย” ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
017
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รายงานกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2560 วันอังคารที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า นายจงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอพระราชทานพระอนุญาตกราบทูลเชิญใต้ฝา่ พระบาททรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน ปริญญา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา แก่ นายประภาส เตมียบุตร และพระราชทาน ปริญญาบัตร แก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษาตามรายงานทีค่ ณบดีแต่ละคณะจะได้กราบทูลต่อไป ต่อจากนัน้ ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระโอวาทเพือ่ เป็นสิรสิ วัสดิพ ์ พ ิ ฒ ั นมงคลแก่บณ ั ฑิตและบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สบื ไป ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทนอธิการบดี หลังจากบัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณจบ (บัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณ …….. จบ) ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระอนุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพูห่ มวก
“บัดนี้ ท่านได้เป็นบัณฑิตโดยสมบูรณ์แล้ว ให้ทา่ นปัดพูห่ มวกไปไว้ทางซ้าย” ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
018
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รายงานกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2560 วันพุธที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า นายจงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอพระราชทานพระอนุญาตกราบทูลเชิญใต้ฝา่ พระบาททรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน ปริญญา ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิส์ าขาวิชาเทคโนโลยีสขุ ภาพสัตว์ แก่ Professor Serge MORAND และพระราชทาน ปริญญาบัตรแก่ผส้ ู ำ� เร็จการศึกษาตามรายงานทีค่ ณบดีแต่ละคณะจะได้กราบทูลต่อไป ต่อจากนัน้ ข้าพระพุทธเจ้า ขอ พระราชทานพระโอวาทเพือ่ เป็นสิรสิ วัสดิพ ์ พ ิ ฒ ั นมงคลแก่บณ ั ฑิตและบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สบื ไป ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทนอธิการบดี หลังจากบัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณจบ (บัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณ …….. จบ) ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระอนุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพูห่ มวก
“บัดนี้ ท่านได้เป็นบัณฑิตโดยสมบูรณ์แล้ว ให้ทา่ นปัดพูห่ มวกไปไว้ทางซ้าย” ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
019
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รายงานกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2560 วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า นายจงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอพระราชทานพระอนุญาตกราบทูลเชิญใต้ฝา่ พระบาททรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ แก่ นายรอยล จิตรดอน และพระราชทาน ปริญญาบัตร แก่ผสู้ ำ� เร็จการศึกษาตามรายงานทีค่ ณบดีแต่ละคณะจะได้กราบทูลต่อไป ต่อจากนัน้ ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระโอวาท เพือ่ เป็นสิรสิ วัสดิพ ์ พ ิ ฒ ั นมงคล แก่บณ ั ฑิตและบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สบื ไป ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ค�ำกราบทูลของรักษาการแทนอธิการบดี หลังจากบัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณจบ (บัณฑิตกล่าวค�ำปฏิญาณ …….. จบ) ขอพระราชทานกราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระอนุญาตให้บณ ั ฑิตปัดพูห่ มวก
“บัดนี้ ท่านได้เป็นบัณฑิตโดยสมบูรณ์แล้ว ให้ทา่ นปัดพูห่ มวกไปไว้ทางซ้าย” ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
020
ค�ำกล่าวแสดงความยินดีแก่บัณฑิต โดย
ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผมขอแสดงความยิ น ดี กั บ บั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ประจำ�ปีพุทธศักราช 2561 ทุกท่าน บัณฑิตที่กำ�ลังจะเข้าสู่ตลาดงานยุคไทยแลนด์ 4.0 เน้น การศึกษาจากสาขาวิชาเฉพาะทาง ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาด งาน โดยเฉพาะงานที่ต้องการความเชี่ยวชาญเพื่อให้สอดคล้องกับ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ และในขณะเดียวกันก็ต้อง เป็นแรงงานที่ใช้ทักษะเฉพาะตัวและไม่สามารถใช้เทคโนโลยีแทนที่ ได้ อีกทั้งต้องมีทักษะภาคปฏิบัติที่แข็งแรงควบคู่กับทักษะภาค วิชาการ โดยเฉพาะหากมีวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้ประกอบการด้วย ก็จะยิ่งส่งเสริมให้บัณฑิตผู้นั้นไม่เพียงแต่จะอยู่รอด แต่สามารถไป ได้ไกลกว่าบัณฑิตคูแ่ ข่งในตลาดงานยุคไทยแลนด์ 4.0 หรืออนาคต นับจากนี้ ดังนัน้ การเรียนรูท้ หี่ ลากหลายจึงเป็นกระบวนการสำ�คัญ ต่อการพัฒนาตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาในด้านภาษา และเทคโนโลยีท่ีมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลก โดยบัณฑิตควรจะ ต้องเรียนรูแ้ ละยอมรับในวัฒนธรรมทีม่ คี วามหลากหลาย และพร้อม ทีจ่ ะพัฒนาตนเองเพือ่ การทำ�งานและดำ�รงชีวติ อยูใ่ นสังคมได้อย่าง มีความสุขและยั่งยืน ในวาระอั น เป็ น มงคลนี้ ผมขออวยพรให้ บั ณ ฑิ ต ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทกุ ท่าน ประสบความสำ�เร็จในการทำ�งาน มีชื่อเสียงเกียรติยศ และดำ�รงชีวิตอย่างมีความสุข โดยหวังเป็น อย่างยิ่งว่าทุกท่านจะนำ�ความรู้ และประสบการณ์จากการศึกษาไป ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและประเทศชาติสืบไป
(ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร) นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
021
ค�ำกล่าวแสดงความยินดีแก่บัณฑิต โดย
ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บัณฑิตใหม่ที่รักทุกท่าน ในนามของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระผมขอแสดง ความชืน่ ชมและยินดีทที่ า่ นพยายาม ศึกษาหาความรูด้ ว้ ยความวิรยิ ะ อุตสาหะ จนสำ�เร็จการศึกษาและได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ในครั้งนี้ โอกาสนี้ กระผมขอฝากแนวทางการปฏิบัติตนให้แก่ บัณฑิตใหม่ไว้ 2 เรือ่ ง เรือ่ งแรก บัณฑิต ควรนำ�วิชาความรูแ้ ละทักษะ ทีไ่ ด้รบั จากการศึกษาเล่าเรียน มาประยุกต์ใช้กบั การทำ�งานให้สอดรับ กับการเป็น บัณฑิตพันธุใหม่ในยุค 4.0 ซึง่ นอกจากจะต้องทำ�งานเก่ง แล้ว ยังต้องมีทกั ษะด้านการใช้ภาษา การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ทีส่ าคัญ คือ ทักษะในการปรับตัวเพือ่ การอยูร่ ว่ มกับผูอ้ น่ื ในสังคม โดย บัณฑิตควร เพิม่ พูนความรูใ้ นศาสตร์ และวิทยาการแขนงต่าง ๆ ให้ทนั ยุคทันเหตุการณ์อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ นำ�มาพัฒนา คุณภาพชีวติ เสริม ประสิทธิภาพการทางานส่งเสริมการพัฒนาประเทศตลอดจนสังคม โลก เรือ่ งทีส่ อง บัณฑิตจะต้องดำ�รงตนด้วยคุณธรรม จริยธรรม เป็น คนดี มีความกตัญญูรคู้ ณ ุ แผ่นดินและผูม้ พ ี ระคุณ ตลอดจนประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม ดังวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่ว่า "มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สร้างสรรค์ศาสตร์แห่งแผ่นดิน สูส่ ากล เพือ่ พัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืน" และอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยคือ "สํานักดี มุง่ มัน่ สร้างสรรค์ สํามัคคี" ท้ายนี้ กระผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ท่านเคารพนับถือ โปรดอภิบาลประทานพรให้ บัณฑิตและครอบครัวประสบแต่ความสุขความสำ�เร็จทัง้ ในชีวติ ส่วน ตัว รวมถึง ความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ขอให้ท่านภาค ภูมใิ จและตระหนักถึงศักดิแ์ ละสิทธิแ์ ห่งปริญญาทีไ่ ด้รบั พระราชทาน เพื่อเป็น"บัณฑิตมหาวิทยําลัยเกษตรศาสตร์" ที่สมบูรณ์ต่อไป
(ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์) รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
022
สรุปการด�ำเนินงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2560
สรุปการด�ำเนินงาน
023
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรทางการเกษตร แห่งแรกของประเทศไทย โดยถือก�ำเนิดมาจากโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม เมื่อ พ.ศ. 2460 ต่อมาได้ขยายและยกฐานะเป็นวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และพัฒนาเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2486 ฉบับแรก เมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จากนั้นมีพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2541 เป็นพระราชบัญญัติที่เป็น หน่วยงานราชการฉบับสุดท้าย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2541 ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้เปลีย่ นสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้น ไป โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีฐานะเป็นนิติบุคคล แต่ยังคงเป็นหน่วยงานของรัฐและอยู่ใต้ การก�ำกับของกระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ ได้รบั การจัดสรรงบประมาณแผ่นดินตามพระราชบัญญัตวิ ธิ ี การงบประมาณอย่างเพียงพอในการด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยและการประกัน คุณภาพการศึกษา
1
024
ปณิธาน วิสยั ทัศน์ และยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปณิธาน (Philosophy) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นสถาบันที่มี ปณิธานมุ่งมั่นในการสั่งสมแสวงหาและพัฒนาความรู้ ให้เกิดความเจริญงอกงามทางภูมิปัญญา ที่เพียบพร้อม ด้วยวิชาการ จริยธรรม และคุณธรรม ตลอดจนเป็นผู้ ชีน้ ำ� ทิศทาง สืบทอดเจตนารมณ์ทดี่ ขี องสังคม เพือ่ ความ คงอยู่ ความเจริญ และความเป็นอารยะของชาติ
ค่านิยมหลัก (Core Value)
มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน สืบสานสามัคคี มี คุณธรรม ค�ำอธิบาย : 1. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (Efficiency) : ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติงานให้ดีหรือให้เกินมาตรฐาน มี ความรับผิดชอบต่อภาระงานที่ได้รับมอบหมาย มีความ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองอย่างสม�่ำเสมอ สนใจ วิสัยทัศน์ (Vision) ใฝ่หาความรู้ มีภาวะผูน้ ำ� ในตนเอง มีความสามารถในการ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ สร้ า งสรรค์ สื่อสารสามารถน�ำระบบเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติ ศาสตร์แห่งแผ่นดิน สู่สากล เพื่อพัฒนาประเทศอย่าง งานได้อย่างเหมาะสม ยั่งยืน 2. สืบสานสามัคคี (Synergy) : ความตั้งใจ ที่จะท�ำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นส่วนหนึ่งในทีมงาน หน่วย พันธกิจ (Mission) งานหรือองค์กร โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็นสมาชิกในทีม 1. สร้างคนที่มีปัญญา รู้เหตุรู้ผล อยู่ใน และเป็นหัวหน้าทีมได้ และความสามารถในการสร้าง คุณธรรม และมีจิตส�ำนึกเพื่อส่วนร่วม และด�ำรงรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม 2. สะสมภูมิปัญญา สร้างและพัฒนาองค์ 3. มีคุณธรรม (Integrity) : ขยัน ประหยัด ความรูท้ หี่ ลากหลาย ตลอดจนสร้างผลงานทีม่ มี าตรฐาน ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สามัคคี และมีน�้ำใจ 3. ร่วมพัฒนากับชุมชนและรับผิดชอบต่อ เอกลักษณ์ (Uniqueness) สังคม 4. สืบสาน ท�ำนุบ�ำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และ หมายถึงคุณลักษณะที่โดดเด่นขององค์กร ด�ำรงอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย "มุ่งสร้างศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพื่อความกินดีอยู่ดีของ 5.บริ ห ารทรั พ ยากรมหาวิ ท ยาลั ย อย่ า งมี ชาติ" ประสิทธิภาพ
ค�ำอธิบาย : 1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Kasetsart University) หมายถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อนั เป็น แหล่งรวมของบุคลากร (Knowledgeable Man) และ องค์ความรู้ (Knowledges Body) 2. ศาสตร์แห่งแผ่นดิน (Knowledges of the Land) หมายถึงความหลากหลาย (Multi-disciplines) ของสาขาวิชาอันเป็นบูรณาการ (Integration) เกี่ยว กับการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ และมนุษย์บนผืน แผ่นดิน 3. ความกินดีอยูด่ ขี องชาติ (the Well-being of Nation) หมายถึงความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ (Growth) ความเข้มแข็งของสังคม (Strength) ความ สมดุลของสิ่งแวดล้อม (Equilibrium) และความมั่นคง (Security) โดยเฉพาะอย่างยิ่งความมั่นคงด้านอาหาร ของชาติ ซึง่ “ชาติ” หมายความครอบคลุมถึงประชาชน และผืนแผ่นดิน
ร่วมใจ รู้จักประนีประนอม สามารถท�ำงานเป็นทีม และ สามารถบูรณาการเชือ่ มโยงในด้านต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะ สม
เป้าหมาย (Goals)
พัฒนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้เป็น “มหาวิทยาลัยของศาสตร์แห่งแผ่นดิน” ทีเ่ ข้มแข็งอย่าง ต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน โดยเชือ่ มโยงกับศาสตร์การเกษตรซึง่ เป็นพื้นฐานของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งน้อมน�ำศาสตร์ แห่งพระราชา ศาสตร์ชุมชน และศาสตร์สากล มาผสม ผสานในการสร้างสรรค์วิชาการและน�ำไปสู่การเป็น มหาวิทยาลัยชั้นน�ำ อันประกอบด้วย 1. มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) 2. มหาวิทยาลัยแห่งเศรษฐกิจและสังคม ดิจิทัล (Digital University) 3. มหาวิทยาลัยวิจยั (Research University) 4. มหาวิทยาลัยระดับโลก (World Class University) 5. มหาวิทยาลัยที่มีความรับผิดชอบต่อรัฐ อัตลักษณ์ (Identity) หมายถึงคุณสมบัติท่ีเป็นตัวตนของบุคคล และสังคม (Social Responsibility University) "ส�ำนึกดี (Integrity) มุง่ มัน่ (Determination) สร้างสรรค์ 6. มหาวิทยาลัยแห่งความผาสุก (Happiness (Knowledge Creation) สามัคคี (Unity)" University) ค�ำอธิบาย : 1. ส�ำนึกดี (Integrity) หมายถึงมีจิตใจที่ดี งาม มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีคุณธรรม มีจริยธรรม 2. มุง่ มัน่ (Determination) หมายถึงมีความ ตั้งใจมั่น มีความอดทน มีความวิริยะอุตสาหะ มุ่งผล สัมฤทธิ์ในการท�ำงานและในการปฏิบัติใด ๆ 3. สร้างสรรค์ (Knowledge Creation) หมายถึงเป็นผู้ใฝ่รู้ มีความขวนขวายแสวงหาความรู้ มี ความสามารถในการสร้างมูลค่าและคุณค่าจากความรู้ มีการสร้างนวัตกรรม 4. สามัคคี (Unity) หมายถึงมีความร่วมมือ
ปณิธานฯ
025
2
026
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีหน่วยงานที่ ส�ำคัญคือ สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีหน้าทีค่ วบคุม ดูแลกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการ บริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีหน้าที่ เสนอแผน พัฒนา พิจารณากลั่นกรองระเบียบ การจัดตั้ง การรวม หรือการยุบเลิกส่วนงาน การบริหารงานบุคคล การเงิน และทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย โดยได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระยะ 12 ปี ( พ.ศ.2560 – 2572) และแผน ปฏิบตั กิ ารประจ�ำปี พ.ศ. 2560 เพือ่ ใช้ในการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัย ในปีการศึกษา 2560 (สิงหาคม พ.ศ. 2560 – กรกฎาคม พ.ศ. 2561) สภามหาวิทยาลัยมีการออกค�ำสัง่ สภามหาวิทยาลัย 17 ค�ำสัง่ ประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 6 ฉบับ ประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 ฉบับ และข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3 ฉบับ จากการทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้เสนอให้สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด�ำเนินการแต่งตั้งรองอธิการบดีโดยค�ำแนะน�ำของอธิการบดี เพื่อให้การบริหารมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จากมติสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการประชุมครัง้ ที่ 6/2561 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ให้มีการแต่งตั้งรองอธิการบดี โดยอาศัยอ�ำนาจตาม ความในมาตรา 22(8) และมาตรา 33 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558 ประกอบกับข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการก�ำหนดจ�ำนวน คุณสมบัติ และลักษณะต้องห้ามของรองอธิการบดีและผู้ช่วยอธิการบดี พ.ศ. 2558 และมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ได้มคี ำ� สัง่ แต่งตัง้ บุคคลด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิการบดี เมือ่ วันที่ 16 มิถนุ ายน พ.ศ. 2561 ซึ่งมีรายชื่อผู้ด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิการบดี จ�ำนวน 13 ราย ดังนี้ 1. นายด�ำรง ศรีพระราม ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิบดีฝ่ายบริหารกิจการภายใน 2. นายศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายวางแผน 3. นางลดาวัลย์ พวงจิตร ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ 4. นางสาวสิรี ชัยเสรี ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย 5. นายกัมปนาท เพ็ญสุภา ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายบริการวิชาการ 6. นายรัชด ชมพูนชิ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝา่ ยพัฒนายุทธศาสตร์และสือ่ สารองค์กร 7. นางสาวนุชนาถ มั่งคั่ง ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายการเงิน 8. นาวาอากาศโทหญิง งามลมัย ผิวเหลือง ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝา่ ยกิจการนิสติ 9. นายอนามัย ด�ำเนตร ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษและโครงการ จัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี 10. นายภุชงค์ อุทโยภาศ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายสารสนเทศ 11. นายตฤณ แสงสุวรรณ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีวิทยาเขตก�ำแพงแสน 12. นายธัญญะ เกียรติวัฒน์ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีวิทยาเขตศรีราชา 13. นายวิไลศักดิ์ กิง่ ค�ำ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดีวทิ ยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
การบริหาร
โครงสร้างการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ประกาศ ให้มีการก�ำหนดเขตการศึกษาเป็นวิทยาเขต ตามพระ ราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558 ซึ่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน และ วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตก�ำแพงแสน วิทยาเขตศรีราชา วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร และโครงการ จัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี โดยมีส่วนงานรวมทั้งสิ้น 47 ส่วนงาน จ�ำแนกเป็น 29 คณะ 1 วิทยาลัย 4 สถาบัน 6 ส�ำนัก 2 ศูนย์ และ 5 ส�ำนักงาน นอกจากนี้ยัง ประกอบด้วย 18 สถานีวิจัย 4 สถานีฝึกนิสิต 4 โรง พยาบาลสัตว์ 4 สถานีวิทยุ ม.ก. และ 2 โรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมทั้งสถาบันสมทบ 2 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยการชลประทาน และวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มุ ่ ง เน้ น บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา วิ จั ย ขั้ น สู ง พั ฒ นา วิชาการ บริการวิชาพื้นฐาน บริหารโครงการพิเศษ ประสานความร่ ว มมื อ กั บ นานาชาติ ปั จ จุ บั น มี ก าร จัดการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทั้งระดับ ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา มีส่วนงานรวม 26 ส่วน งาน ประกอบด้วย 2 ส�ำนักงาน 15 คณะ 1 วิทยาลัย 4 สถาบัน 4 ส�ำนัก และ 1 ศูนย์ ดังนี้ 1. ส�ำนักงานสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. ส�ำนักงานอธิการบดี 3. คณะเกษตร 4. คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ 5. คณะบริหารธุรกิจ 6. คณะประมง 7. คณะมนุษยศาสตร์ 8. คณะวนศาสตร์ 9. คณะวิทยาศาสตร์ 10. คณะวิศวกรรมศาสตร์
11. คณะศึกษาศาสตร์ 12. คณะเศรษฐศาสตร์ 13. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 14. คณะสังคมศาสตร์ 15. คณะสัตวแพทยศาสตร์ 16. คณะสิ่งแวดล้อม 17. คณะอุตสาหกรรมเกษตร 18. บัณฑิตวิทยาลัย 19. สถาบั น ค้ น คว้ า และพั ฒ นาผลิ ต ผล ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 20. สถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 21. สถาบันวิทยาการขัน้ สูงแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 22. ส�ำนักทะเบียนและประมวลผล 23. ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ 24. ส�ำนักส่งเสริมและฝึกอบรม 25. ส�ำนักหอสมุด 26. ศูนย์นานาชาติสิรินธร เพื่อการวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี วิทยาเขตก�ำแพงแสน มุง่ เน้นส่งเสริมวิจยั ขัน้ สูง พัฒนาวิชาการเพือ่ ภาคตะวันตก สร้างความเป็นเลิศในสาขาวิชาเกษตร มี ส่วนงาน รวม 9 ส่วนงาน ประกอบด้วย 1 ส�ำนักงาน 5 คณะ 2 ส�ำนัก และ 1 ศูนย์ โดยมีคณะประมง และ คณะสัตวแพทยศาสตร์ เป็นส่วนงานที่ขยายการด�ำเนิน งานจากส่วนงานเดิมที่วิทยาเขตบางเขน 1. ส�ำนักงานวิทยาเขตก�ำแพงแสน 2. คณะเกษตร ก�ำแพงแสน 3. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา 4. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน 5. คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 6. คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ 7. ส�ำนักส่งเสริมและฝึกอบรม ก�ำแพงแสน
การบริหาร
027
028
8. ส�ำนักหอสมุด ก�ำแพงแสน 9. ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรีไปสังกัดส�ำนักงาน วิทยาเขตก�ำแพงแสน ส่วนการจัดการเรียนการสอนให้ โอนความรับผิดชอบไปสังกัดส่วนงานที่เกี่ยวข้อง วิทยาเขตศรีราชา ตามมติสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จาก มุ่งส่งเสริมความเข้มแข็งทางวิชาการเพื่อ การประชุมครั้งที่ 2/2559 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. การบริการภาคตะวันออก มีส่วนงานรวม 6 ส่วนงาน 2559 มีมติอนุมัติให้ด�ำเนินโครงการจัดตั้งวิทยาเขต ประกอบด้วย 1 ส�ำนักงาน และ 5 คณะ ดังนี้ สุพรรณบุรี โดยโอนส�ำนักงานโครงการจัดตั้งวิทยาเขต 1. ส�ำนักงานวิทยาเขตศรีราชา สุพรรณบุรี มาสังกัดส่วนกลางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ บางเขน ซึง่ ปัจจุบนั ได้จดั การเรียนการสอน 2 หลักสูตร 3. คณะวิทยาการจัดการ ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโรงแรม 4. คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา และท่องเทีย่ ว ภาคพิเศษ และหลักสูตรศิลปศาสตรมหา 5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา บัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ภาคพิเศษ 6. คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา สถานีวิจัยและศูนย์วิจัย วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร การจัดตั้งสถานีวิจัยและศูนย์วิจัยในสังกัด มุง่ สร้างโอกาสทางการศึกษา พัฒนาวิชาการ ส่วนงานที่เกี่ยวข้องด้านการเกษตรและการประมงมี เพื่อภาคอีสาน มีส่วนงานรวม 5 ส่วนงาน ประกอบด้วย วัตถุประสงค์เพือ่ รองรับงานวิจยั การบริการวิชาการ การ 1 ส�ำนักงาน และ 4 คณะ ดังนี้ เรียนการสอน และการพัฒนาบุคลากรด้านงานวิจยั รวม 1. ส� ำ นั ก งานวิ ท ยาเขตเฉลิ ม พระเกี ย รติ ทั้งความสัมพันธ์กับชุมชน และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดสกลนคร นิเวศ รวมถึงการแก้ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นของ 2 . ค ณ ะ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ศูนย์และสถานีต่างๆ ร่วมกัน เพื่อพัฒนาศูนย์และสถานี อุตสาหกรรมเกษตร ที่อยู่ในภูมิภาคต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพและครบวงจร 3. คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ จ�ำนวน 18 แห่ง ดังนี้ 4. คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 1. สถานีวิจัยปากช่อง จ.นครราชสีมา 5. คณะสาธารณสุขศาสตร์ สังกัดคณะเกษตร 2. สถานีวิจัยทับกวาง จ.สระบุรี โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี สังกัดคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้เริ่มด�ำเนิน 3. สถานีวิจัยดอยปุย จ.เชียงใหม่ โครงการจัดตัง้ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ตัง้ แต่ปงี บประมาณ สังกัดคณะเกษตร พ.ศ. 2541 ในพื้นที่การศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อ 4. สถานีวิจัยเพชรบูรณ์ เป็นการขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปยัง สังกัดคณะเกษตร พื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศ โดยวางนโยบายการ 5. สถานีวิจัยเขาหินซ้อน จ.ฉะเชิงเทรา ศึกษาเป็น วิทยาเขตสารสนเทศทางด้านการแพทย์และ สังกัดคณะเกษตร สาธารณสุข ต่อมาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2554 6. สถานีวิจัยลพบุรี สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มมี ติอนุมตั โิ อนส�ำนักงาน สังกัดคณะเกษตร
7. สถานีวิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร (เพนียด) จ.ลพบุรี สังกัดคณะเกษตร 8. ศู น ย์ วิ จั ย ข้ า วโพดข้ า วฟ่ า งแห่ ง ชาติ จ.นครราชสีมา สังกัดคณะเกษตร 9. สถานีวจิ ยั ประมงก�ำแพงแสน จ.นครปฐม สังกัดคณะประมง 10. สถานีวิจัยประมงศรีราชา จ.ชลบุรี สังกัดคณะประมง 1 1 . ส ถ า นี วิ จั ย ป ร ะ ม ง ค ล อ ง ว า ฬ จ.ประจวบคีรีขันธ์ สังกัดคณะประมง 12. สถานีวิจัยประมงสมุทรสงคราม สังกัดคณะประมง 13. สถานี วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาชายฝั ่ ง อันดามัน จ.ระนอง สังกัดคณะประมง 14. สถานีวิจัยวนศาสตร์พังงา สังกัดคณะวนศาสตร์ 15. สถานีวิจัยวนเกษตรตราด สังกัดคณะวนศาสตร์ 1 6 . ส ถ า นี วิ จั ย สิ ท ธิ พ ร ก ฤ ด า ก ร จ.ประจวบคีรีขันธ์ สังกัดคณะเกษตร ก�ำแพงแสน 17. สถานีวิจัยกาญจนบุรี สังกัดคณะเกษตร ก�ำแพงแสน 18. สถานีวิจัยก�ำแพงแสน จ.นครปฐม สังกัดคณะเกษตร ก�ำแพงแสน สถานีฝึกนิสิตคณะวนศาสตร์ สถานีฝึกนิสิตคณะวนศาสตร์เป็นสถานที่ ศึกษา ฝึกปฏิบัติงาน การวิจัย และบริการวิชาการแก่ สังคมของนิสติ ให้มศี กั ยภาพมากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ คณาจารย์ และบุ ค ลากรสามารถใช้ พื้ น ที่ เ พื่ อ ศึ ก ษาและด� ำ เนิ น งานด้านการวิจัย นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งวิชาการด้าน ทรัพยากรป่าไม้ที่สามารถให้บริการแก่นักวิชาการและ ชุมชนท้องถิ่นโดยรอบ รวมทั้งได้มีการจัดการพื้นที่และ อาคารสถานที่ พ ร้ อ มรองรั บ กั บ การศึ ก ษาดู ง านของ นักเรียนและประชาชนทั่วไป จ�ำนวน 5 แห่ง ดังนี้
1. สถานี ฝ ึ ก นิ สิ ต วนศาสตร์ ด อยปุ ย จ.เชียงใหม่ 2. สถานีฝกึ นิสติ วนศาสตร์หว้ ยทาก จ.ล�ำปาง 3. สถานี ฝ ึ ก นิ สิ ต วนศาสตร์ วั ง น�้ ำ เขี ย ว จ.นครราชสีมา 4. สถานี ฝ ึ ก นิ สิ ต วนศาสตร์ ห าดวนกร จ.ประจวบคีรีขันธ์ 5. สถานีฝึกนิสิตวนศาสตร์บางม่วง จ.พังงา โรงพยาบาลสัตว์ ปี พ.ศ. 2497 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ มีการจัดตัง้ คณะสัตวแพทยศาสตร์ พร้อมกับโรงพยาบาล สัตว์ขึ้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน และภาย หลังได้ขยายการด�ำเนินงานไปยังภูมิภาคต่างๆ เพื่อเป็น แหล่งเรียนรู้ เป็นผู้ชี้น�ำทางวิชาการ การให้บริการทาง วิชาการแก่สังคม และเป็นสถานที่ศึกษาและฝึกปฏิบัติ งานของนิสิต ดังนี้ 1. โรงพยาบาลสั ต ว์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บางเขน สังกัดคณะสัตวแพทยศาสตร์ 2. โรงพยาบาลสัตว์ ก�ำแพงแสน จ.นครปฐม 3. โรงพยาบาลสัตว์ หนองโพ จ.ราชบุรี 4. โรงพยาบาลสัตว์ หัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ สถานีวิทยุ ม.ก. สถานี วิ ท ยุ ม.ก. เป็ น วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง เพื่อการเกษตรและบริการชุมชน โดยเผยแพร่ข้อมูล สารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ใน ระบบ A.M. Stereo และได้มกี ารพัฒนาขีดความสามารถ ในการกระจายเสียงให้ครอบคลุมพืน้ ทีท่ งั้ ประเทศ โดยมี สถานีแม่ข่ายอยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน และสถานีลูกอยู่ในภูมิภาคต่างๆ ดังนี้ 1. สถานีวิทยุ ม.ก. บางเขน 2. สถานีวิทยุ ม.ก. เชียงใหม่ 3. สถานีวิทยุ ม.ก. ขอนแก่น 4. สถานีวิทยุ ม.ก. สงขลา
การบริหาร
029
030
โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังกัดศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ เพื่อใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงานทางการฝึกหัดครูระดับ ปริญญาของนิสติ คณะศึกษาศาสตร์ เป็นสถานทีศ่ กึ ษา วิจัย ทดลองค้นคว้าวิชาการด้านการศึกษา ตลอดจน เป็นสถาบันให้การศึกษา อบรม แก่บตุ รข้าราชการและ พนักงานของมหาวิทยาลัย รวมทัง้ ประชาชนทัว่ ไป 1. โรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บางเขน มีการรับนักเรียน 3 ประเภทคือ
โครงการภาคปกติ โครงการการศึกษานานาชาติและ โครงการการศึกษาพหุภาษา จังหวัดชลบุรี 2. โรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน มีการรับนักเรียน 3 ประเภทคือ โครงการภาคปกติ โครงการ วมว. เป็น โครงการสนับสนุนการจัดท�ำห้องเรียนวิทยาศาสตร์ใน โรงเรียนโดยการก�ำกับดูแลของมหาวิทยาลัย เป็นโครงการ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและโครงการ ภาษาอังกฤษ (English Program) เป็นโครงการจัดการ เรียนการสอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารทรัพยากร
งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีบัญชี พ.ศ. 2560 ประกอบด้วยงบประมาณรายจ่ายที่ได้ รับจัดสรรจากเงินงบประมาณแผ่นดิน และงบประมาณเงินรายได้ ของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ โดยจ�ำแนกตามหมวดรายจ่าย ดังนี้
เงินเดือนและค่าจ้างประจ�ำ ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เงินอุดหนุน - อุดหนุนบุคลากร - อุดหนุนทั่วไป (รวมงบกลาง) รายจ่ายอื่น
หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณแผ่นดิน
งบประมาณเงินรายได้
รวม
553.3 149.0 122.6 651.8 3,799.3 3,073.0 726.3 -
988.0 1,981.6 421.8 1,255.5 2,847.5 2,847.5 1,439.0
1,541.3 2,130.6 544.4 1,907.3 6,646.8 3,073.0 3,573.8 1,439.0
รวม 5,276.0
รวม 8,933.4
รวม 14,209.4 ข้อมูล ณ พฤศจิกายน 2559
การบริหาร
031
บุคลากร 1. จ�ำนวนบุคลากร ในปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มี จ�ำนวนบุคลากร รวมทั้งสิ้น 10,247 คน โดยจ�ำแนกตามประเภท บุคลากรและวิทยาเขต ดังนี้
ประเภทบุคลากร
ข้าราชการ 220 พนักงาน มหาวิทยาลัย 3,169 พนักงาน เงินรายได้ 2,912 พนักงาน ราชการ 78 ลูกจ้างประจ�ำ 293 ลูกจ้างชัว่ คราว 163 ผู้ทรงคุณวุฒิ พิเศษ 262 ผู้มีความรู้ ความสามารถ พิเศษ 35
ข้าราชการ 69 พนักงาน มหาวิทยาลัย 861 พนักงาน เงินรายได้ 706 พนักงาน ราชการ 16 ลูกจ้างประจ�ำ 188 ลูกจ้างชัว่ คราว 46 ผู้ทรงคุณวุฒิ พิเศษ 27 ผู้มีความรู้ ความสามารถ พิเศษ 1
ข้าราชการ 2 พนักงาน มหาวิทยาลัย 310 พนักงาน เงินรายได้ 256 พนักงาน ราชการ 3 ลูกจ้างประจ�ำ 10 ลูกจ้างชัว่ คราว 1 ผู้ทรงคุณวุฒิ พิเศษ 22 ผู้มีความรู้ ความสามารถ พิเศษ 3
ข้าราชการ 2 พนักงาน มหาวิทยาลัย 338 พนักงาน เงินรายได้ 186 พนักงาน ราชการ 32 ลูกจ้างประจ�ำ ลูกจ้างชัว่ คราว ผู้ทรงคุณวุฒิ พิเศษ 9 ผู้มีความรู้ ความสามารถ พิเศษ 4
ข้าราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัย 14 พนักงาน เงินรายได้ 9 พนักงาน ราชการ ลูกจ้างประจ�ำ ลูกจ้างชัว่ คราว ผู้ทรงคุณวุฒิ พิเศษ 2 ผู้มีความรู้ ความสามารถ พิเศษ -
ข้าราชการ 293 พนักงาน มหาวิทยาลัย 4,692 พนักงาน เงินรายได้ 4,069 พนักงาน ราชการ 129 ลูกจ้างประจ�ำ 491 ลูกจ้างชัว่ คราว 210 ผู้ทรงคุณวุฒิ พิเศษ 320 ผู้มีความรู้ ความสามารถ พิเศษ 43
รวม 7,130
รวม 1,914
รวม 607
รวม 571
รวม 25
รวม 10,247
ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560
032
ประเภทสายงาน ปริญญาเอก
ปริญญาโท
ปริญญาตรี
ต�่ำกว่า ปริญญาตรี
รวม
2,074 91
1,258 1,084
280 2,883
2,577
3,612 6,635
รวม 2,165
รวม 2,342
รวม 3,163
รวม 2,577
รวม 10,247
สายวิชาการ สายสนับสนุน
ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560
2. ทุนพัฒนาบุคลากร ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้สง่ เสริมและสนับสนุนการพัฒนาทางวิชาการให้แก่บคุ ลากร สายวิชาการและสายสนับสนุนประเภทข้าราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัย พนักงานเงินรายได้ และพนักงานราชการ รวม ทัง้ สิน้ 4,292 ทุน เป็นจ�ำนวนเงิน 93,302,847 บาท โดยได้ รับการสนับสนุนทุนจาก 2 แหล่ง คือ ( 1 ) ก อ ง ทุ น พั ฒ น า ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์ จ�ำนวน 8 ทุน เป็นเงิน 369,250 บาท
ศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติงานด้านอื่น
(2) ทุนพัฒนาบุคลากรของส่วนงานและหน่วย งานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำนวน 4,284 ทุน เป็น เงิน 92,933,597 บาท ซึง่ ประกอบด้วย 1) ทุนจากเงินราย ได้ของส่วนงาน จ�ำนวน 2,933 ทุน เป็นเงิน 68,324,584 บาท 2) แหล่งทุนอืน่ ประกอบด้วย ทุนจากเงินรายได้สว่ น กลางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ทุนจากส่วนงานอืน่ ภายใน มหาวิทยาลัย และทุนจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทัง้ สิน้ 1,351 ทุน เป็นเงิน 24,609,013 บาท
กองทุนพัฒนา มก.
ทุนพัฒนาของส่วนงาน
รวม
จ�ำนานทุน จ�ำนวนเงิน 8 369,250 รวม 8 369,250
จ�ำนานทุน จ�ำนวนเงิน 100 28,471,726 1,891 19,370,844 580 11,022,859 1,713 34,068,168 รวม 4,284 92,933,597
จ�ำนานทุน จ�ำนวนเงิน 108 28,840,976 1,891 19,370,844 580 11,022,859 1,713 34,068,168 รวม 4,292 93,302,847
3. บุคลากรดีเด่น ประจ�ำปี 2560 คณะอนุ ก รรมการคั ด เลื อ กบุ ค ลากรสาย วิชาการและนักวิจัยดีเด่น รวมทั้งคณะกรรมการคัด เลื อ กบุ ค ลากรดี เ ด่ น สายสนั บ สนุ น และช่ ว ยวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ได้ ด� ำ เนิ น การคั ด เลื อ ก
การบริหาร
033
บุคลากรที่มีความประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ในการครองตน ครองคน ครองงาน และมีผลการปฏิบัติ งานดีเด่นตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด เพื่อยกย่องเชิดชู เกียรติเป็นบุคลากรดีเด่น ดังนี้
บุคลากรสายวิชาการและนักวิจัยดีเด่น กลุ่มอายุต�่ำกว่า 40 ปี ชื่อ-สกุล
ประเภท
ส่วนงาน
ผศ.ดร. ศศิเทพ ปิติพรเทพิน
ด้านการเรียนการสอน ด้านการบริการวิชาการ สายวิทย์ฯ ด้านการบริการวิชาการ สายสังคมฯ ด้านการวิจัย สายวิทย์ฯ ด้านการวิจัย สายสังคมฯ ด้านนวัตกรรม สายวิทย์ฯ ด้านการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในกิจการนิสิต
คณะศึกษาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
ผศ.ดร.ชินภัทร ทิพโยภาส อาจารย์บัณฑิต เทียบทอง ผศ.ดร.ปวีนา ประไพนัยนา ผศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช ดร.กาญจนพันธุ์ สุขวิชชัย ผศ.ดร.เชาวลิต มิตรสันติสุข อาจารย์เอื้ออนุช ถนอมวงษ์
034
กลุ่มอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป ชื่อ-สกุล
ประเภท
ส่วนงาน
ดร.ศิรินุช อินละคร ดร.มะลิวัลย์ หฤทัยธนาสันติ์ รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ รศ.ดร.รังสินี โสธรวิทย์ รศ.ดร.เรวัตร ธรรมาอภิรมย์ อาจารย์ปัญญา เหล่าอนันต์ ผศ.ดร.คุณยุต เอี่ยมสะอาด ผศ.ว่าทีร่ อ้ ยตรีดร.ศิรชิ ยั ศรีพรหม
ด้านการเรียนการสอน ด้านการบริการวิชาการ สายวิทย์ฯ ด้านการบริการวิชาการ สายสังคมฯ ด้านการวิจัย สายวิทย์ฯ ด้านการวิจัย สายสังคมฯ ด้านนวัตกรรม สายวิทย์ฯ ด้านการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในกิจการนิสิต ด้านการบ�ำเพ็ญประโยชน์และ ท�ำคุณประโยชน์ให้แก่ มก.
คณะวิทยาการจัดการ KAPI คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กพส. เศรษฐศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
ผศ.ว่าที่ร้อยตรี ภูมิพัฒน์ ธนัชญาอิศม์เดช
บุคลากรดีเด่นสายสนับสนุนและช่วยวิชาการ ประเภทข้าราชการต�ำแหน่งอ�ำนวยการระดับต้น ชื่อ-สกุล
ต�ำแหน่ง
ส่วนงาน
นางสาววิไลรัตน์ วิริยะวิบูลย์กิจ
อ�ำนวยการ
ส�ำนักประกันคุณภาพ ส�ำนักงานอธิการบดี
การบริหาร
035
ประเภทข้าราชการ ชื่อ-สกุล
กลุ่มงาน
ต�ำแหน่ง
ส่วนงาน
นางสาวสมนึก พรมแดง
บริการพืน้ ฐาน/ สนับสนุน/งานช่าง
นักวิทยาศาสตร์ ช�ำนาญการพิเศษ
คณะเกษตร ก�ำแพงแสน
ประเภทพนักงานมหาวิทยาลัย ชื่อ-สกุล
นางสาวแอนนา สายมณีรตั น์ นายคณิต โลหากาศ นายนริศ ปานศรีแก้ว นางสาวณัฎฐิณี ทะนะแสง นางสาวรัญญา ปราณสุข นายสุรศักดิ์ ศีพรหม นายบุญมั่น มาใหญ่
กลุ่มงาน
ต�ำแหน่ง
บริการวิชาการ นักวิชาการเกษตรช�ำนาญการพิเศษ บริการวิชาการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ช�ำนาญการ บริการวิชาการ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา ช�ำนาญการ บริหารและธุรการ เจ้าหน้าทีบ่ ริหารงานทัว่ ไป ช�ำนาญการ บริหารและธุรการ นักวิชาการพัสดุ บริหารและธุรการ นิตกิ ร ช�ำนาญการ บริการพืน้ ฐาน/ ช่างปูน ช.2 สนับสนุน/งานช่าง
ส่วนงาน
คณะเกษตร ส�ำนักงานวิทยาเขตศรีราชา คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ คณะเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ส�ำนักงานวิทยาเขตศรีราชา สถาบันค้นคว้าและพัฒนา ผลิตภัณฑ์อาหาร
036
ประเภทพนักงานเงินรายได้และพนักงานราชการ ชื่อ-สกุล
นายวิศิษฎ์ ธรรมศรี นางสาวสุณษิ า ไกยสิทธิ์ นายชัยวัฒน์ แซ่ลิ้ม นางสาวเกียรติคณ ุ กัลยามิตร นางสาววัทธณา จิรเสภียรพร นางสาวน�้ำฝน ยอดนิล นางสาวนัยเนตร จิตรกระจ่าง นายอภิรัตน์ ชื่อประทุม
ต�ำแหน่ง
กลุ่มงาน
ส่วนงาน
บริการวิชาการ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กองวิเทศสัมพันธ์ ส�ำนักงานอธิการบดี บริการวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ KAPI บริการวิชาการ นักวิชาการช่างศิลป์ ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ บริหารและธุรการ เจ้าหน้าทีบ่ ริหารงานทั่วไป KAPI บริหารและธุรการ นักวิชาการเงินและบัญชี คณะวิศวกรรมศาสตร์ บริหารและธุรการ นักวิชาการพัสดุ ส�ำนักหอสมุด บริการพืน้ ฐาน พนักงานซ่อมเอกสาร ส�ำนักหอสมุด สนับสนุน พนักงานขับรถยนต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ประเภทลูกจ้างประจ�ำ ชื่อ-สกุล
กลุ่มงาน
ต�ำแหน่ง
ส่วนงาน
นายสมชาย แกสันเทียะ
บริการพืน้ ฐาน/ สนับสนุน/งานช่าง
พนักงานห้องปฏิบตั กิ าร ส.3
คณะเกษตร ก�ำแพงแสน
การประเมินผลการด�ำเนินงาน การประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ทั้ง ในระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชา ระดับวิทยาเขต และ ระดับมหาวิทยาลัย เมื่อเดือนสิงหาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยพิจารณาผลการด� ำ เนิ น งานในรอบปี การ ศึกษา 2559 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2559 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ตามองค์ประกอบคุณภาพ และตัวบ่งชี้ที่ มหาวิทยาลัยก�ำหนด ซึ่งสอดคล้องกับส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา ทั้งในระดับหลักสูตร ระดับ คณะวิ ช า ระดั บ วิ ท ยาเขต และระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ส�ำหรับระดับหน่วยงานสนับสนุน ก�ำหนดให้ด�ำเนินการ ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพสูค่ วามเป็นเลิศ (EdPEx) โดยผลการประเมินฯ ในแต่ละระดับ สรุปได้ดังนี้ 1. ระดับหลักสูตร จ�ำนวน 376 หลักสูตร ด�ำเนินการตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบคุณภาพ 13 ตัวบ่งชี้ ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาก�ำหนด ด�ำเนินการประเมิน เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 มี ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร คะแนนเฉลี่ยภาพรวม 3.05 จากคะแนนเต็ม 5.00 คะแนน ได้คุณภาพระดับดี โดยมีหลักสูตรที่มีผลการ ประเมิน ได้คุณภาพระดับดีมาก จ�ำนวน 1 หลักสูตร คิด เป็นร้อยละ 0.27 ระดับดี จ�ำนวน 246 หลักสูตร คิดเป็น ร้อยละ 65.43 ระดับปานกลาง จ�ำนวน 121หลักสูตร คิด เป็นร้อยละ 32.18 และระดับน้อย จ�ำนวน 4 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 1.06 นอกจากนี้มีหลักสูตรที่ไม่เป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 4 หลักสูตร คิดเป็นร้อย ละ 1.06 2. ระดับคณะวิชา จ�ำนวน 29 คณะวิชา ด�ำเนินการตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา 5 องค์ประกอบคุณภาพ 13 ตัวบ่งชี้
ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด�ำเนิน การประเมิน ผ่านระบบ CHE QA เมื่อวันที่ 14 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 มีผลการประเมินคุณภาพการ ศึกษาภายในระดับคณะวิชา คะแนนเฉลีย่ ภาพรวม 3.93 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 ได้คณ ุ ภาพระดับดี โดยคณะที่ มีผลการประเมิน ได้คณ ุ ภาพระดับดีมาก จ�ำนวน 6 คณะ คิดเป็นร้อยละ 20.69 ได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ สิง่ แวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตร ก�ำแพงแสน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน และคณะประมง ได้คุณภาพระดับดี จ�ำนวน 19 คณะ คิดเป็น ร้อยละ 65.52 และได้คุณภาพระดับพอใช้ จ�ำนวน 4 คณะ คิด เป็นร้อยละ 13.79 หากพิจารณาตามกลุม่ สาขาวิชา พบ ว่า กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์เกษตร จ�ำนวน 9 คณะ มีผล การประเมินสูงทีส่ ดุ คะแนนเฉลีย่ 4.12 ได้คณ ุ ภาพระดับ ดี รองลงมา คือ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ�ำนวน 11 คณะ คะแนนเฉลี่ย 3.88 ได้คุณภาพระดับดี และกลุม่ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จ�ำนวน 9 คณะ คะแนนเฉลี่ย 3.81 ได้คุณภาพระดับดี 3. ระดับหน่วยงานสนับสนุน จ�ำนวน 15 หน่วยงาน ก�ำหนดให้รบั การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx ปีการศึกษา 2559 ในช่วงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยการประเมินฯ อิงตามคู่มือเกณฑ์ KUEdPEx ของมหาวิทยาลัย โดยการให้คะแนน 0-5 ในมิติ กระบวนการของหมวด 1, 3, 4 และ 6 จ�ำนวน 13 ส่วน งาน ยกเว้น ศูนย์นานาชาติสิรินธรเพื่อการวิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยี (เนื่องจากเป็นส่วนงานขนาด เล็กซึ่งไม่สามารถประเมินตามเกณฑ์ได้) และส�ำนักงาน อธิการบดี ผลคะแนนในภาพรวมของทัง้ 13 ส่วนงาน อยู่ในระดับคะแนน 1 (Activity) ถึง 2 (Systematic Approach) จากคะแนนเต็ม 5 ซึ่งแปลความหมายได้ ว่า การด�ำเนินงานของส่วนงานเริม่ มีแนวทางทีเ่ ป็นระบบ ในบางเรื่อง 4. ระดับวิทยาเขต จ�ำนวน 3 วิทยาเขต ด�ำเนินการตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน 5 องค์ประกอบคุณภาพ 13 ตัวบ่งชี้ตาม
การบริหาร
037
038
ทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาก�ำหนด ด�ำเนิน การประเมินระหว่างวันที่ 18 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2560 มี ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับวิทยาเขต มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวม 3.48 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้ ซึ่งวิทยาเขตที่มีผลการประเมิน ได้คุณภาพระดับ ดี ได้แก่ วิทยาเขตก�ำแพงแสน คะแนนเฉลี่ย 3.85 คิด เป็นร้อยละ 33.33 ระดับพอใช้ จ�ำนวน 2 วิทยาเขต คิด เป็นร้อยละ 66.67 ได้แก่ วิทยาเขตศรีราชา คะแนนเฉลีย่ 3.17 และวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร คะแนนเฉลี่ย 3.43 5. ระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ด� ำ เนิ น การตาม ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน 5 องค์ประกอบคุณภาพ 13 ตัวบ่งชี้ตามที่ส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษาก�ำหนด ด�ำเนินการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในผ่านระบบ CHE QA Online เมื่อวันที่ 9-11 และ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 มีผล
การประเมินระดับมหาวิทยาลัยอยู่ในระดับดี คะแนน เฉลี่ย 4.15 จากคะแนนเต็ม 5.00 โครงการรางวัลคุณภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 11 ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 ส�ำนักงานประกันคุณภาพ ได้จัดโครงการ รางวัลคุณภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 11 ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 เพื่อเป็นกลไกในการกระตุ้นให้ ส่วนงานและบุคลากรเห็นความส�ำคัญ มีส่วนร่วมใน การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และน�ำไปสู่การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการน�ำแนวปฏิบัติที่ได้รับรางวัลไป ประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินงานของแต่ละส่วนงาน เพื่อ ก้าวสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ ซึ่งคณะกรรมการประเมิน คุณภาพฯ ได้มีการพิจารณาตัดสินรางวัล เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยก�ำหนดประเภทรางวัลเป็น 2 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 ผลงานดีเด่น หน่วยงานที่มีผลงานดีเด่น
รางวัลดีเยี่ยม 1. คณะสิ่งแวดล้อม 2. คณะวิศวกรรมศาสตร์
เงินรางวัลละ 10,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศเกียรติคุณ
ประเภทที่ 2 การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงาน การพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงาน
รางวัลดีเยี่ยม การให้บริการธนาคารสายพันธุ์จุลินทรีย์ ด้วยแนวความคิดลีน โดย คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรม เกษตร รางวัลดี ระบบการลาออนไลน์แบบไร้กระดาษ โดย ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์
เงินรางวัลละ 10,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศเกียรติคุณ
เงินรางวัลละ 5,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศเกียรติคุณ แนวปฏิบัติที่ดี
รางวัลดีเยี่ยม ห้องสมุดสีเขียว โดยส�ำนักหอสมุด
เงินรางวัลละ 10,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศเกียรติคุณ
รางวัลดี กระบวนการสร้างความส�ำเร็จสูอ่ งค์กรแห่งการเรียนรู้ โดย สถานพยาบาล มก.
เงินรางวัลละ 5,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศเกียรติคุณ
การบริหาร
039
040
นวัตกรรม สนับสนุนการปฏิบัติงาน
รางวัลดีเยี่ยม ระบบจัดการและจองหอพักนิสิตแบบออนไลน์ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ กองบริการกลาง ส�ำนักงานวิทยาเขตก�ำแพงแสน รางวัลดี 1. Say Hi Mobile app กับ NisitKU โดย ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ 2. lnsideKU โดย ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ การพิจารณาตัดสินผลงานน�ำ เสนอภาคโปสเตอร์ ซึง่ แบ่งเป็น 2 ประเภท โดยมีผลงาน ที่ได้รับคะแนนสูงสุด 3 อันดับแรก รวม 6 รางวัล ดังนี้ ผลงานการน�ำเสนอทัง้ ภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ รางวัลอันดับ 1 เรื่อง ระบบการลาออนไลน์ แบบไร้กระดาษ โดย ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ ได้รบั เงิน รางวัล 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลอันดับ 2 เรื่อง ห้องสมุดสีเขียว โดย ส�ำนักหอสมุด ได้รับเงินรางวัล 2,000 บาท พร้อมใบ ประกาศเกียรติคุณ รางวัลอันดับ 3 เรื่อง Say Hi Mobile app กับ nisitKU โดย ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ ได้รับเงิน รางวัล 1,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ
เงินรางวัลละ 10,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศเกียรติคุณ
เงินรางวัลละ 5,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศเกียรติคุณ
ผลงานการน�ำเสนอเฉพาะภาคโปสเตอร์ รางวัลอันดับ 1 เรือ่ ง บริการเอกสารทางการ ศึกษาด่วน ด้วยบริการ OSS ของ KUKPS (One Stop Student Services) โดย กองบริหารวิชาการและนิสิต ส�ำนักงานวิทยาเขตก�ำแพงแสน ได้รบั เงินรางวัล 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลอันดับ 2 เรื่อง ระบบประเมินผลการ ปฏิบตั งิ าน (Smart PMS) โดย ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ ได้รบั เงินรางวัล 2,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคณ ุ รางวัลอันดับ 3 เรื่อง ระบบการให้บริการ และบริหารจัดการข้อมูลการให้บริการเครื่องมือทาง วิทยาศาสตร์ โดย คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับเงินรางวัล 1,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ
3
การจัดการศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำของประเทศไทยในด้านวิชาการต่างๆ ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นเลิศทางวิชาการ การวิจัย การบริการทางวิชาการแก่สังคมใน การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีในทุกสาขา เพื่อให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับนานาชาติ และเป็น มหาวิทยาลัยชั้นน�ำที่อยู่ในอันดับต้นๆ ของเอเชีย รวมทั้งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ให้ความส�ำคัญกับการจัดการศึกษาทัง้ ในส่วนของบุคลกร และนิสติ ตลอดจนสภาพแวดล้อมในการศึกษา เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการศึกษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดย มีรายละเอียดแต่ละด้านดังนี้
บุคลากรสายวิชาการ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มี บุ ค ลกร สายวิชาการทั้งสิ้น 3612 คน คิดเป็นร้อยละ 35.2 ของบุ ค ลากรทั้ ง หมด ซึ่ ง ในระหว่ า งเดื อ น มกราคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2561 คณะกรรมการพิจารณา ทางวิ ช าการ (ก.พ.ว.) มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ได้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ต� ำ แหน่ ง ทางวิ ช าการและด� ำ เนิ น การแต่งตั้ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จ�ำนวน 40 ราย รองศาสตราจารย์ จ�ำนวน 11 รายและ ศาสตราจารย์ จ�ำนวน 2 ราย การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ โดยจัดให้มกี จิ กรรม ในการเพิ่ มทั กษะและขี ดความสามารถต่ า ง ๆ ของ อาจารย์ ดังนี้
การจัดการศึกษา
041
042
วันที่
กิจกรรม
สถานที่จัดงาน
29 มิถุนายน พ.ศ.2561
การประชุ ม สั ม มนาอาจารย์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ประจ� ำ ปี 2561 “พลิ ก โฉม อุดมศึกษาในยุคดิจิทัล”
อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
4, 9 และ 18 เมษายน พ.ศ. 2561
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การบริ ห ารหลั ก สู ต ร ประจ� ำ ปี 2561 ก า ร เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ก า ร บ ริ ห า ร หลักสูตรส�ำหรับอาจารย์ผู้รับผิด ชอบหลักสูตร
อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
3 สิงหาคม พ.ศ. 2560
การอบรมเสริมสร้างประสิทธิภาพ ทางด้ า นการเรี ย นการสอน ส�ำหรับอาจารย์ ในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ส� ำ นั ก บ ริ ก า ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3 สิงหาคม พ.ศ. 2560
โครงการพัฒนารายวิชาบูรณาการ หมวดวิ ช าศึ ก ษาทั่ ว ไปโครงการ อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารการใช้ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมเพื่ อ พัฒนาการเรียนการสอน
อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
การจัดการศึกษา
043
หลักสูตร จ�ำนวนหลักสูตร ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้จดั การ เรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทั้งระดับปริญญา เอก ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิต และปริญญา ตรี ในปีการศึกษา 2560 มีจ�ำนวนหลักสูตรรวมทิ้งสิ้น 588 หลักสูตร เป็นหลักสูตรภาษาไทย 547 หลักสูตร และหลักสูตรนานาชาติ 41 หลักสูตร ดังนี้
หลักสูตร
ภาคปกติ
ภาคพิเศษ
รวม
ภาษาไทย ปริญญาเอก ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาตรี นานาชาติ ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี
399 83 140 176 18 10 8 -
148 14 68 1 65 23 3 9 11
547 97 208 1 241 41 13 17 11
รวม 417
รวม 171
รวม 588 ข้อมูล ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2560
044
การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ในช่วงเดือน มกราคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2561 คณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ก.ว.ช.) ได้มีการอนุมัติหลักสูตรใหม่ 2 หลักสูตร และมี การปรับปรุงหลักสูตร 14 หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ศาสตร์แห่งแผ่นดินเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เพือ่ ตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาลในการขับ เคลือ่ นประเทศไทยมุง่ สู่ Thailand 4.0 สภามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในการประชุมครัง้ ที่ 3/2561 เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561 ได้อนุมตั ิ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสตร์แห่งแผ่นดินเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน มุง่ หวังสร้างบัณฑิตพันธุใ์ หม่และก�ำลังคนทีม่ สี มรรถนะ ตอบ โจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรปู อุดมศึกษาไทย มีความรู้ ความสามารถทางวิชาชีพ และวิชาการทีพ่ ร้อม ด้วยจริยธรรมและคุณธรรมเป็นทรัพยากรบุคคลทีม่ คี ณ ุ ค่า ต่อการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม โดยน้อมน�ำศาสตร์ พระราชา ศาสตร์ชมุ ชน และศาสตร์สากลมาเป็นแนวทางใน การปฏิบตั เิ พือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ 1. เป็นต้นแบบของหลักสูตรระยะสัน้ (module) ทีม่ ี การบูรณาการศาสตร์ในหลากหลายด้านเพือ่ ให้เกิดความสมบูรณ์
ในตัว ผูเ้ รียนสามารถน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปประกอบอาชีพได้ 2. ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ เนือ่ งจากผูเ้ รียน เป็นได้ทงั้ ผูท้ อี่ ยูใ่ นวัยเรียน วัยท�ำงาน และผูส้ งู อายุ รวมถึงผูด้ อ้ ย โอกาส ทีต่ อ้ งการความรูจ้ ากชุดรายวิชาเพือ่ การประกอบอาชีพ 3. ส่งเสริมการจัดการเรียนรูใ้ นการเป็นผูป้ ระกอบ การ และการเกษตรสมัยใหม่ (smart farming) แบบเน้นการ ปฏิบตั จิ ริง โดยผูเ้ รียนสามารถเริม่ ต้นธุรกิจใหม่ (start-up) หรือเป็นเกษตรกรผูป้ ระกอบการ ตามชุดวิชาทีเ่ ลือก 4. ส่ ง เสริ ม การจั ด การเรี ย นรู ้ แ บบสร้ า ง นวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ 5. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ร่วมกับสถาน ประกอบการ/ชุมชน ในรูปแบบ work integrated learning เพื่อพัฒนาทักษะที่จ�ำเป็นในการท�ำงาน และ มีความพร้อมที่จะท�ำงาน
นิสิต จ�ำนวนนิสิต ปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีนิสิตทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ โดยจ�ำแนกเป็นนิสิต ใหม่ 17,581 คน นิสติ ทัง้ หมด 67,558 คน และผูส้ ำ� เร็จ การศึกษา 14,961 คน (ไม่รวมสถาบันสมทบ) ดังนี้
ระดับการศึกษา
นิสิตใหม่
นิสิตทั้งหมด
ผู้ส�ำเร็จการศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาเอก ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาตรี สถาบันสมทบ
17,581 184 2,294 45 15,058 150
67,558 1,576 8,068 45 57,869 615
14,961 254 2,503 43 12,161 159 ข้อมูล ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2560
การสนับสนุนทุนการศึกษาแก่นิสิต ทุนภูมิพลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงดนตรี ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 โดย มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวายเงินจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระราชทานเงิน กลับให้แก่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อเป็นทุนการ ศึกษาส�ำหรับนิสิตโดยใช้ชื่อ “ทุนภูมิพลมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์” ในชั้นต้นเพื่อเก็บดอกผลจากเงินทุนไว้ จัดสรรเป็นทุนการศึกษาแก่นิสิต และมหาวิทยาลัยได้ สมทบเงินเพิ่มเติมตลอดมา ในปีการศึกษา 2560 คณะกรรมการบริหาร “ทุ น ภู มิ พ ล” เห็ น ชอบให้ น� ำ ดอกผลที่ มี จั ด สรรเป็ น รางวัลเรียนดีแก่นสิ ติ ระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ทมี่ ผี ลการเรียนดีเด่น จ�ำนวน 155 ทุน เป็น เงิน 2,325,001 บาท โดยจัดสรรให้นิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน จ� ำ นวน 75 ทุ น เป็ น เงิ น 1,125,000 บาท วิทยาเขตก�ำแพงแสน จ�ำนวน 25 ทุน เป็นเงิน 375,000 บาท วิทยาเขตศรีราชา จ�ำนวน 25 ทุน เป็นเงิน 375,000 บาท วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร จ�ำนวน 20 ทุน เป็นเงิน 300,000 บาท และสถาบันสมทบ จ�ำนวน 10 ทุน เป็นเงิน 150,000 บาท ทุ น ฉลองสมโภช พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เริ่มด�ำเนินการ “ทุนฉลองสมโภช พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปงั กร รัศมีโชติ” อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2549 เนื่องในวโรกาสมหามงคลยิ่งที่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปงั กรรัศมีโชติ ทรงเจริญมายุครบ 1 ชันษา ปัจจุบันการด�ำเนินงานทุนฉลองสมโภช พระเจ้าหลาน เธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ ครบรอบเป็นปีที่ 12
ในปีการศึกษา 2560 นิสิตระดับปริญญา ตรีที่ได้รับทุนอุดหนุนการศึกษา มีจ�ำนวน 23 ทุน เป็น เงิน 828,000 บาท โดยจัดสรรให้นิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน จ�ำนวน 10 ทุน เป็นเงิน 360,000 บาท วิทยาเขตก�ำแพงแสน จ�ำนวน 5 ทุน เป็นเงิน 180,000 บาท วิทยาเขตศรีราชา จ�ำนวน 3 ทุน เป็น เงิน 108,000 บาท วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด สกลนคร จ�ำนวน4 ทุน เป็นเงิน 144,000 บาท และ สถาบันสมทบ จ�ำนวน 1 ทุน เป็นเงิน 36,000 บาท ทุ น อุ ด ห นุ น กา ร ศึ ก ษ า แก่ นิ สิ ต ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ป ี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 0 ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์สนับสนุนทุนอุดหนุนการศึกษาแก่นิสิต ระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา (ไม่ ร วมสถาบั น สมทบ) จ�ำนวน 12,013 ทุน เป็นเงิน 149,625,615 บาท ซึ่งได้รวมทุนภูมิพลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และทุนสมโภช พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าทีปังกร รัศมีโชติแล้ว โดยจ�ำแนกเป็นทุนอุดหนุนการศึกษาของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำนวน 10,231 ทุน เป็น เงิน 92,276,919 บาท และจากแหล่งทุนอื่น จ�ำนวน 1,782 ทุน เป็นเงิน 57,348,696 บาท นอกจากนีร้ ฐั บาล ได้สนับสนุนทุนกูย้ มื จากกองทุนให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษาแก่ นิสติ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำนวน 11,248 ทุน เป็นเงิน 653,523,450 บาท ดังนี้
การจัดการศึกษา
045
046
ประเภททุน
จ�ำนวนทุน
จ�ำนวนเงิน (บาท)
1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทุนอุดหนุนของ มก. ทุนของ มก. ยกเว้น ค่าธรรมเนียม และอื่น ๆ ทุนอุดหนุนของคณะ มูลนิธิ มก. แหล่งทุนอื่น 2. กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุน กยศ. กองทุน กรอ. สถาบันสมทบ ทุนอุดหนุนของ มก. แหล่งทุนอื่น กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา
12,013 10,231 7,940
149,625,615 92,276,919 61,373,555
2,058 233 1,782 11,248 6,457 4,791 315 11 304 62
29,048,923 1,854,441 57,348,696 653,523,450 364,113,700 289,409,750 8,941,000 186,000 8,755,000 3,597,200 ข้อมูล ณ เดือนเมษายน พ.ศ. 2560
การส่งเสริมคุณภาพชีวิตนิสิตในรั้วมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยส่วนงานที่ เกี่ยวข้อง ได้ด�ำเนินภารกิจส่งเสริมคุณภาพชีวิตนิสิต โดยการจัดหาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้แก่นิสิต ได้แก่ หอพัก โรงอาหาร สนามกีฬา สระว่ายน�ำ้ สวนสาธารณะ สถานพยาบาล เป็นต้น รวมทั้งจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม คุณภาพชีวิตให้แก่นิสิตทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ เช่น โครงการพุธหรรษา เกษตรศาสตร์ มาออกก�ำลังกาย โครงการหอพักสีขาว โครงการนิสิตรุ่นใหม่ไม่ยุ่งเกี่ยว อบายมุข โครงการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก เป็นต้น โดยมีกิจกรรมที่ส�ำคัญในรอบปีที่ผ่านมาเช่น 1. ศูนย์สขุ ใจคาเฟ่ Happy place center ศูนย์สุขใจคาเฟ่ Happy place center จัด ตั้งขึ้นเพื่อ “ส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหา เพื่อน�ำ ไปสู่สุขภาวะที่ดี” เป็นการสร้างสุขภาวะที่ดีทั้งกายและ จิตใจของนิสิต เป็นศูนย์ที่ให้บริการให้ค�ำปรึกษานิสิต ทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล ให้บริการแบบทดสอบทาง จิตวิทยาเบื้องต้นโดยนักจิตวิทยา เพื่อประเมินสภาวะ ด้านสุขภาพจิตและพัฒนาสุขภาพจิต พัฒนาทักษะการ ด�ำเนินชีวิตแก่นิสิต อีกทั้งเป็นแหล่งข้อมูลด้านจิตวิทยา แก่นิสิต ผู้ปกครอง อาจารย์ และบุคลากรทั่วไป 2. จักรยานอัจฉริยะไร้สถานีจอด MOBIKE First ride in KU มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ MOBIKE และ AIS เปิดการใช้จกั รยานสาธารณะอัจฉริยะ MOBIKE First ride in KU ครัง้ แรกของไทย เพือ่ ให้บริการแก่ นิสติ บุคลากร และบุคคลทั่วไป ซึ่งนับเป็นสถาบันการศึกษา แห่งแรกของไทยในการใช้จักรยานอัจฉริยะไร้สถานี จอด MOBIKE ทั้งนี้เพื่อสร้างความตระหนักเรื่องการ อนุรกั ษ์การใช้พลังงาน ลดความแออัดของการจราจร ลด ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ ตามนโยบายมหาวิทยาลัยสี เขียว GREEN UNIVERSITY ซึง่ เป็น 1 ใน 6Us เป้าหมาย (Goal) ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลการด�ำเนินงานด้านกิจกรรมนิสิต การส่งเสริมกิจการนิสติ โดยกองกิจการนิสติ และส่วนงานทีเ่ กีย่ วข้องทุกวิทยาเขต รวมทัง้ องค์กรนิสติ ซึง่ ประกอบด้วยองค์การบริหารองค์การนิสติ สภาผูแ้ ทน นิสิต กลุ่มกิจกรรมนิสิต สโมสรนิสิต และชมรมนิสิต ได้ มีการด�ำเนินกิจกรรมในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. กิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึง ประสงค์ - โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้วยพลังนิสิต วันที่ 4-8 มกราคม พ.ศ. 2561 - โครงการการเรี ย นรู ้ ก ารท� ำ งานองค์ ก ร สื่อสาร เตรียมความพร้อมสู่สากล วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 - โครงการฝึกอบรมและศึกษาเศรษฐกิจพอ เพียงตามพระราชด�ำริ วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2561 - โครงการบัณฑิตไทยไม่โกงไม่ทุจริตการ สอบ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 - โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตสู่สากล ณ ประเทศจีน วันที่ 22-25 มีนาคม พ.ศ. 2561 - โครงการงานบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์พบผู้ประกอบการ ครั้งที่ 27 วันที่ 26-27 มีนาคม พ.ศ. 2561 - โครงการฝึกอบรมเพื่อเตรียมความพร้อม และเสริมสร้างประสบการณ์ท�ำงานกับบริษัทญี่ปุ่น วัน ที่ 31 มีนาคม – 1 เมษายน พ.ศ. 2561 - โครงการฝึกอบรมผู้น�ำกิจกรรมนิสิต ชั้นปี ที่ 1 วันที่ 21-23 เมษายน พ.ศ. 2561 - โครงการสู่อ้อมกอดนนทรี ปีการศึกษา 2560 (KU First Date 2017) โดยองค์การบริหาร องค์การนิสิต วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561 2. กิจกรรมกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ - โครงการแข่งขันกีฬาประเพณี ชาวเรือชาวไร่ ครั้งที่ 2 วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2560 - โ ค ร ง ก า ร จิ ต อ า ส า พั ฒ น า ห อ พั ก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน วันที่ 20 มกราคม
การจัดการศึกษา
047
048
พ.ศ. 2561 - โครงการพัฒนาสุขภาวะ “ การอบรมและ ศึกษาดูงานด้านการดูแลสุขภาวะ ” วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2561 - โครงการเกษตรศาสตร์เดิน-วิง่ เพือ่ การกุศล โดยองค์การบริหารองค์การนิสติ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2561 - โครงการแข่ ง ขั น ฟุ ต บอล “คู ซ ่ า คั พ “ ประจ�ำปี 2560 วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2561 - โครงการค่ายสมดุลชีวติ แนววิถี Slow Life โดยองค์การบริหารองค์การนิสิต วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - โครงการแข่ ง ขั น กี ฬ าอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Sports) ระดับมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครัง้ ที3่ “U League Thailand 2018”วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 โดยองค์การบริหารองค์การนิสิต มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ 3. กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่ง แวดล้อม - โครงการนนทรี อ าสาบริ จ าคโลหิ ต เพื่ อ สภากาชาดไทย ครั้งที่ 1-4 เดือน มกราคม- พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - โครงการปันรักสู่น้อง ครั้งที่ 2-6 เดือน มกราคม- พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - โครงการเสวนาสร้างความรูค้ วามเข้าใจต่อ บุคคลออทิสติก วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2561 - โครงการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพส�ำหรับนิสิตพิเศษ “ KU Buddy เพื่อนช่วย เพื่อน” วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 - โครงการรณรงค์วันต่อต้านสิ่งเสพติดโลก วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2561 - โครงการจิตอาสา “ เราท�ำความดี ด้วย หัวใจ" วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 - โครงการบัณฑิตยุคใหม่ “ เข็มกลัดแบ่งปัน เพื่อเด็กและสตรี" วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
4. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม - โครงการท�ำบุญไหว้พระเวียนเทียนวัน มาฆบูชาและวิสาขบูชา วันที่ 4-6 มกราคม พ.ศ. 2561 - โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่เพื่อถวาย เป็นพระราชกุศล แด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง กรณ บดินทรเพทยวรางกูร วันที่ 2-7 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 - โครงการนิสิตรุ่นใหม่ไม่ยุ่งเกี่ยวอบายมุข วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2561 - โครงการท� ำ บุ ญ หอพั ก มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บางเขน วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2561 5. กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม - โครงการดนตรีไทยในพระราชปณิธานแห่ง ภูบาล รัชกาลที่ 9 โดยชมรมดนตรีไทย วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560 - โครงการแสดงโขนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราช พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ โดยชมรม โชนละครเกษตรศาสตร์ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2561 - โครงการดนตรีไทยไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 43 โดยชมรมดนตรีไทย วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2560 - พิธถี วายพระพรชัยมงคลพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 - โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต์ ประจ�ำ ปี 2561 วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2561 - โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 18 วันที่ 5-9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 - โครงการส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีงาน กองข้าวศรีราชา ประจ�ำปี 2561 วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2561 - โครงการสื บ สานประเพณี ล อยกระทง ประจ�ำปี 2560 โดยองค์การบริหารองค์การนิสิต วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
การจัดการศึกษา
049
รางวัลของนิสิต
ระดับนานาชาติ ผลงานด้านวิชาการ รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รางวัลชนะเลิศ
รางวัลชนะเลิศประเภท Total Cost และ Construction Cost และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ใน ประเภท Overall Performance และ Structural Cost การแข่งขัน การออกแบบสะพาน ในงาน Asia Bridge Competition 2017; ASIA CRICOM 2017 เมื่อวันที่ 14 – 18 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ National Central University (NCU), Taiwan.
นิสิตทีม สะพานเหล็ก คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
Gold Medal
เหรียญรางวัล GOLD MEDAL ในผลงาน เครื่ อ งสร้ า งแรง ลอยตั ว จากภายนอกรถยนต์ แบบฉับพลัน (Exobuoyance Couple and Force Booster) โดย University of CRAIOVA, Romania
นิสิตทีม Exob 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
050
รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รองชนะเลิศ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การ แข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ TURTLEBOT 33 ในประชุมวิชาการ ITC-CSCC 2018 The 33rd International Technical Conference on Circuits/System Computers and Communications
นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 ประเภท Total Cost และ Construction Cost และรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ 2 ในประเภท Overall Performance การ แข่งขันการออกแบบสะพาน ใน งาน Asia Bridge Competition 2017; ASIA CRICOM 2017 เมื่อวันที่ 14 – 18 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ National Central University (NCU), Taiwan
นิสิตภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 ประกวดผลิตภัณฑ์ ภายใต้งาน Food Ingredient Vietnam 2018 ผลงาน “Banana Blossom and Ginger Jelly Drink” ณ ประเทศเวียดนาม
นิสิตทีม Pleegin คณะอุตสาหกรรมเกษตร
รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รองชนะเลิศ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ในการ แข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ ส ร้ า งสรรค์ ง าน ศิลปะนานาชาติ ROBO Art 2018 จากผลงานศิลปะ 5 ภาพ "Wheat Field with cypresses" "Full Bloom of Sakura" "Beautiful beach in Thailand" "Paradise on Earth" และ "ILLUSION OF RGB" ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ทีม CMIT ReART คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผลงานด้านดนตรีและกีฬา รางวัล
ผลงาน
นิสิต
ระดับนานาชาติ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 กีฬา ยิงธนู ประเภทคันธนูโค้งกลับ ในซีเกมส์ 2017 "กัวลาลัมเปอร์ เกมส์" 14-23 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ประเทศมาเลเซีย
นายนัฐภูมิ ภู่สวัสดิ์ คณะศึกษาศาสตร์
การจัดการศึกษา
051
052
ระดับชาติ ผลงานด้านวิชาการ รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รางวัลชนะเลิศ
รางวัลชนะเลิศ การออกแบบสิ่ง ประดิษฐ์ ป้อมยามอัจฉริยะเครือ่ งที่ "Smart Guard Box" ผลงานชือ่ Green Space Box จัดโดย บริษทั สินธรณีพร๊อพเพอร์ตี้ เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ณ ศูนย์การค้า วิตอเรียการ์เด้นส์ เพชรเกษม 69
นาย วัฒนา นากสุก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
รางวัลชนะเลิศ จากผลงาน “เครือ่ ง วิเคราะห์ค่า CCS ของอ้อยแบบ พกพาด้ ว ยเทคนิ ค อิ น ฟราเรด ย่านใกล้”ในการประชุมวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์อาหาร ครั้งที่4 FE_NETT 2018 Conference
นางสาว ลลิตา ออมสิน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันสุดยอด ฝี มื อ สายสั ญ ญาณ Cabling Contest ปี 6 รอบตัดเลือกภาค ตะวันออก โดยกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและ สังคม กระทรวงแรงงาน ส�ำนัก นายกรัฐมนตรี และบริษทั อินเตอร์ ลิง้ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)
นายสุศิระ ตุลาพงศา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รางวัลชนะเลิศ
รางวั ล ชนะเลิ ศ ประกวดแผน A.P.Honda Marketing Plan Contest #10 ประจ�ำพืน้ ทีเ่ ขตภาค กลาง วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 จัดโดยบริษทั เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด
ทีมนนทรีศรีราชา คณะวิทยาการจัดการ วิทยาเขตศรีราชา
รางวัลยอดเยี่ยม
รางวัลปริญญานิพนธ์ยอดเยี่ยม การน� ำ เสนอปริ ญ ญานิ พ นธ์ ใ น หัวข้อทีเ่ กีย่ วข้องกับเหล็ก โครงการ SSI for Engineers การประชุม วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 23
นิสิตวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
รางวั ล Best Presentation Award ในการน�ำเสนอผลงานภาย ใต้หวั ข้อ "What we can do to enhance better nutrition and food safety in Asia" โครงการ Model UN conference 2017 โดยองค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (FAO)
นิสิตคณะเกษตร ก�ำแพงแสน
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 กลุ่ม แอปพลิเคชัน่ ส�ำหรับลูกค้าธนาคาร กลุม่ องค์กร(บริษทั ประกับภัย) ใน การแข่งขันทางเทคโนโลยีเพือ่ เฟ้น หาสุดยอดทีมนักพัฒนาแอปพลิ เคชัน่ SCB Tech Day
นิสิตทีม OLAN คณะวิศวกรรมศาสตร์
รางวัลรองชนะเลิศ
การจัดการศึกษา
053
054
รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รางวัลรองชนะเลิศ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากผล งาน “Music Marketing เพลง "นมไทยใคร ๆ ก็ดมื่ ”การประกวด แผนสื่อสารการตลาด "นมไทยเดนมาร์ค นมแห่งชาติ" ชิงถ้วย พระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ
นิสิตทีม Improvise คณะวิทยาการจัดการ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 รถ ฟอร์ มู ล ่ า ไฟฟ้ า (Electrical Student Formula) ในงานTSAE Auto Challenge 2018 Student Formula จัดโดย สมาคมวิศวกรรม ยานยนต์ไทย
ทีม EVO คณะวิศวกรรมศาสตร์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากผล งาน “WareWare เข็มขัดนิรภัย อัจฉริยะ” ในการแข่งขันน�ำเสนอ ผลงานนวัตกรรมและแผนธุรกิจ โครงการ The Comprehensive Course in Japanese Business Innovation ในงาน Japan Job Fair 2018
นิสิตทีม 3 Boys Change the World คณะวิศวกรรมศาสตร์
การจัดการศึกษา
055
ผลงานด้านคุณธรรมจริยธรรม รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รางวัลพระราชทาน
ได้ รั บ เลื อ กเป็ น นิ สิ ต รางวั ล พระราชทานระดั บ อุ ดมศึ ก ษา ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2560 จาก กระทรวงศึกษาธิการ
นายธนพล สันติวัฒนธรรม นิสิตคณะสัตวแพทย์ศาสตร์
รางวัลพระราชทานเหรียญเรียน ดี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิรา ลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร วัน ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน
นายธรรศ พิงพิทยากุล นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ ศรีราชา
056
ผลงานด้านดนตรีและกีฬา รางวัล
ผลงาน
นิสิต
รางวัลชนะเลิศ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการ แข่งขันกีฬา อี-สปอร์ต DOTA 2 University Championship 2017
ทีม KU
รางวัลรองชนะเลิศ
รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ใน การแข่งขัน Amazing Muaythai Champion 2018 ในรุ่น ฟลาย เวท มิดเดิลเวท ไลท์มิดเดิลเวท 29 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2561 ณ ลานพาร์ค พารากอน
นิสิตคณะศึกษาศาสตร์และ พัฒนาศาสตร์
รั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 ในการแข่ ง ขั น กี ฬ า อี - สปอร์ ต ในเกม Realm of Valor ใน รายการ U League เมื่ อ วั น ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
นิสิตทีม DefeatYouNow
รั บ รางวั ล เหรี ย ญทอง ประเภท บุ ค คลหญิ ง เดี่ ย ว และเหรี ย ญ ทองแดง ประเภททีมหญิง ในการ แข่งขันกีฬาคอร์สเวิร์ด งานกีฬา มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 45 ราชมงคลธัญบุรีเกมส์
นางสาวอรกัญญา พิชยั รัตนพงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
รางวัลเหรียญทอง
ภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิตและ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
คะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 4.10 และมีความพึงพอใจตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติอยูใ่ นระดับมาก (1) ภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิต รุน่ ปีการ ทีก่ ำ� หนดไว้ 5 ด้านคือ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม คะแนน ศึกษา 2559 เฉลีย่ 4.33 2) ด้านความรู้ คะแนนเฉลีย่ 4.01 3) ด้านทักษะ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ดำ� เนินการส�ำรวจ ทางปัญญา คะแนนเฉลีย่ 4.06 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ ภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิต รุน่ ปีการศึกษา 2559 เมือ่ วัน ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ คะแนนเฉลีย่ 4.14 และ ที่ 26 กันยายน - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 โดยมีจำ� นวน 5) ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสือ่ สารและการ บัณฑิตเข้ามากรอกแบบส�ำรวจข้อมูลผ่านเครือข่าย 13,835 เทคโนโลยีสารสนเทศ คะแนนเฉลีย่ 3.96 คน คิดเป็นร้อยละ 92.29 ของจ�ำนวนผูส้ ำ� เร็จการศึกษา (ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561) ทัง้ หมด 14,990 คน (ไม่นบั รวมสถาบันสมทบ 159 คน) เป็น การจัดอันดับมหาวิทยาลัย บัณฑิตทีท่ ำ� งานอยูเ่ ดิม 1,731 คน บัณฑิตทีศ่ กึ ษาต่อ 811 คน บัณฑิตไม่ประสงค์จะท�ำงาน 1,753 คน บัณฑิตเกณฑ์ การจัดอันดับมหาวิทยาลัยไทยจากมุมมองของ ทหารและบวช 179 คน และบัณฑิตทีย่ งั ไม่ทำ� งาน 3,241 นานาชาติทงั้ ในระดับภูมภิ าคและระดับโลก มีหลายหน่วย คน ส�ำหรับบัณฑิตทีม่ งี านท�ำมีจำ� นวน 6,120 คน เป็นบัณฑิต งานทีท่ ำ� การส�ำรวจและจัดอันดับ โดยมีวตั ถุประสงค์ของ ระดับปริญญาตรี 5,405 คน และระดับบัณฑิตศึกษา 715 คน การจัดอันดับทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ สามารถท�ำให้เห็นภาพรวมและ จากการส�ำรวจข้อมูลการมีงานท�ำของบัณฑิต ศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทยในสังคมโลกยุคปัจจุบนั และส่ง ระดับปริญญาตรี รุน่ ปีการศึกษา 2559 อีกครัง้ ในช่วง เสริมให้เกิดการพัฒนาเพือ่ ให้ทดั เทียมนานาอารยประเทศ เดือนมีนาคม - มิถนุ ายน พ.ศ. 2561 พบว่าบัณฑิตระดับ การจัดอันดับของ QS World University ปริญญาตรีได้งานท�ำเพิม่ ขึน้ จากการส�ำรวจครัง้ แรกร้อย Rankings by Subject 2017 ซึง่ ประกาศผลเมือ่ วันที่ ละ 21 รวมเป็นบัณฑิตทีม่ งี านท�ำ มีจำ� นวน 8,373 คน 8 มีนาคม พ.ศ. 2560 ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก คิดเป็นร้อยละ 86% บัณฑิตระดับปริญญาตรีทมี่ งี านท�ำ แยกตามสาขาวิชาทั้งสิ้น 48 สาขาวิชา ซึ่งมหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่ทำ� งานในภาคเอกชนมากทีส่ ดุ ร้อยละ 75 มีราย เกษตรศาสตร์ติดอันดับโลกใน 5 กลุ่มสาขาวิชา โดย ได้เฉลีย่ 17,983.03 บาท บัณฑิตระดับปริญญาตรี ทีย่ งั ไม่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับการจัดอันดับที่ 1 ของ ท�ำงาน จ�ำนวน 2,965 คน ส่วนใหญ่กำ� ลังศึกษาต่อ ร้อยละ ไทย อันดับที่ 5 ของเอเชีย และอันดับที่ 40 ของโลก 34 รองลงมาคือก�ำลังรอค�ำตอบจากหน่วยงาน ร้อยละ 33 ในกลุ่มสาขาวิชา Agriculture & Forestry ซึ่งนับเป็น (2) ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ ั ฑิต ประจ�ำ สาขาที่มีความส�ำคัญพื้นฐานของประเทศไทยและเป็น ปี พ.ศ. 2560 ความภาคภูมใิ จอย่างยิง่ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การส�ำรวจคุณภาพบัณฑิตระดับปริญญาตรี ทีส่ ามารถสร้างชือ่ เสียงเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก และ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 จาก ถือเป็นการจัดอันดับสูงสุดของมหาวิทยาลัยไทยที่ครอง นายจ้างของบัณฑิตระดับปริญญาตรี รุน่ ปีการศึกษา 2558 อันดับ 1 ติดต่อกัน 6 ปีซอ้ น ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2555 – 2560 ซึง่ ผ่านการท�ำงานแล้วไม่ตำ�่ กว่า 1 ปีหลังจากส�ำเร็จการ Green Metric World University ศึกษา โดยได้รบั แบบสอบถามจากนายจ้างกลับมาจ�ำนวน Ranking 2017 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ติดอันดับ 2,425 ชุด คิดเป็นร้อยละ 33.8 จากจ�ำนวนแบบสอบถาม 1 ใน 100 มหาวิทยาลัยสีเขียวระดับโลก ขึ้นแท่นอันดับ ทัง้ หมด 7,181 ชุด พบว่านายจ้างมีความพึงพอใจต่อบัณฑิต 3 มหาวิทยาลัยสีเขียวของประเทศไทย อันดับที่ 96 ของ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก โลก ประจ�ำปี 2017 ด้วยคะแนนรวม 5,706 คะแนน
การจัดการศึกษา
057
4
058
การวิจยั
การบริหารและพัฒนางานวิจัย
มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ไ ด้ ก� ำ หนด วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ระยะเวลา 12ปี (พ.ศ. 2560 - 2571) ตามมติสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการประชุม ครั้งที่ 5/2559 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 โดย ได้ก�ำหนดแนวทางการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ให้เป็นมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University) เพือ่ การพัฒนาด้านการวิจยั นวัตกรรม และ สิ่งประดิษฐ์สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในระดับสากล นโยบายการวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แผนกลยุทธ์ : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. จัดท�ำแผนกลยุทธ์สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2557 – 2560) ที่สอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยกอง แผนงานได้น�ำไปจัดท�ำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึง่ มีการก�ำหนดกลยุทธ์และ แนวทางการด�ำเนินงาน 4 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ 1 ปฏิรปู ระบบการบริหารงานวิจัยในมหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มปริมาณงานวิจัยคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 3 บูรณาการ ความร่วมมือด้านการวิจยั ระหว่างหน่วยงาน และกลยุทธ์ ที่ 4 การขยายผลและการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ยุ ท ธศาสตร์ ก ารสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้านการวิจัย : ก�ำหนดการวางแผนเพื่อพัฒนาตาม ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน คือ
1. ด้านก�ำลังคน ได้แก่ - การพิจารณาประวัตนิ กั วิจยั มก. และปัจจัย ต่างๆที่ส่งผลต่อผลงานวิจัยเพื่อหาแนวทางในการผลัก ดันให้ผลิตผลงานวิจยั เพิม่ ขึน้ และการก�ำหนดมาตรการ ที่เหมาะสม - การบังคับใช้ข้อก�ำหนดและกฎเกณฑ์ใน การผลิตงานวิจยั ของบุคลากร เพือ่ ประกอบการประเมิน และเร่งรัดให้ผลิตงานวิจัยได้ตามเป้าหมาย 2. ด้านเครื่องมือ ได้แก่ - โครงสร้างพืน้ ฐาน โดยมีหอ้ งปฏิบตั กิ ารของ ฝ่ายเครือ่ งมือและวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ทีม่ คี วามปลอดภัย ตามโครงการมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ในประเทศไทย และห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ เพือ่ ความปลอดภัยทางชีวภาพ โดยศูนย์พนั ธุวศิ วกรรม และเทคโนโลยีแห่งชาติ ซึง่ สนับสนุนให้อาจารย์ นักวิจยั และนิสติ ของมหาวิทยาลัยเข้ามาใช้บริการเพือ่ ให้สามารถ ด�ำเนินงานอย่างราบรืน่ ปลอดภัย และถูกต้อง - ระบบสารสนเทศงานวิจยั โดยสถาบันวิจยั และพั ฒ นาแห่ ง มก. ได้ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบ สารสนเทศงานวิจัยและจัดท�ำระบบฐานข้อมูลงานวิจัย มก. ออนไลน์ เพื่อสนับสนุนภารกิจการวิจัย และการ จัดการสารสนเทศงานวิจัย มก. 3. ด้านงบประมาณ โดยมีการบริหารจัดการเรื่องการ ชดเชยงบประมาณสนั บ สนุ น ระหว่ า งคณะที่ ท� ำ วิ จั ย มากแต่หารายได้ได้น้อย และคณะที่มีโครงการบริการ วิชาการมากแต่ท�ำวิจัยน้อย
4. ด้านแนวทางการวิจัย โดยหาแนวทางก�ำหนดทิศทาง งบประมาณวิจัย ปี ง บประมาณ 2560 มหาวิ ท ยาลั ย การวิจัยของ มก. ให้ชัดเจน แผนงานวิ จั ย แม่ บ ท : สถาบั น วิ จั ย และ เกษตรศาสตร์ได้รับการสนับสนุนทุนอุดหนุนวิจัยและ พั ฒ นา มก. จั ด ท� ำ แผนวิ จั ย แม่ บ ทมหาวิ ท ยาลั ย ถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นจ�ำนวน 2,098 โครงการ งบ เกษตรศาสตร์ โดยมีคณะกรรมการประจ�ำและผู้ทรง ประมาณ 2,346,894,588 บาท โดยจ�ำแนกเป็น 2 แหล่ง คุณวุฒิด้านต่างๆ ร่วมเป็นแกนน�ำในการเขียนแผน คือ 1) ทุนอุดหนุนวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิจัยแม่บทด้านต่างๆ เพื่อพิจารณาคัดเลือกด�ำเนินการ จ�ำนวน 1,011 โครงการ งบประมาณ 346,548,597 แผนวิจัยแม่บทที่มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งของ บาท 2) แหล่งทุนอื่นภายนอกมหาวิทยาลัย จ�ำนวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นล�ำดับแรก 1,087 โครงการ งบประมาณ 2,000,345,991 บาท ดังนี้ เปรียบเทียบจ�ำนวนโครงการและงบประมาณทุนอุดหนุนวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2560 ประเภททุน/แหล่งทุน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน (ทุนอุดหนุนวิจยั มก.) เงินงบประมาณมหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย เงินรายได้ของหน่วยงาน ทุนส่วนตัว แหล่งทุนอื่น องค์กรรัฐ องค์กรอิสระและเอกชน องค์กรต่างประเทศ
จ�ำนวนโครงการ
2559 959 342 13 103 289 212 992 545 377 70
2560 1,011 457 38 304 212 1,087 613 418 56
รวมทั้งสิ้น 1,951
รวมทั้งสิ้น 2,098
งบประมาณ (บาท)
2559 309,876,011 230,139,700 27,390,000 14,812,033 28,538,778 8,995,500 1,736,815,613 1,228,341,619 409,080,845 99,393,149
2560 346,548,597 300,843,800 6,097,133 30,663,859 8,943,805 2,000,345,991 1,372,310,367 544,140,654 83,894,970
รวมทั้งสิ้น
รวมทั้งสิ้น
2,046,691,624 2,346,894,588 ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561
การวิจัย
059
060
จ�ำนวนบทความตีพิมพ์เผยแพร่ ปี พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัย/วิทยาเขต
วารสาร
ประชุมวิชาการ
รวมทั้งหมด
บางเขน
ระดับนานาชาติ 942 ระดับชาติ 388 รวม 1,330 ระดับนานาชาติ 146 ระดับชาติ 165 รวม 311 ระดับนานาชาติ 24 ระดับชาติ 31 รวม 55
ระดับนานาชาติ 413 ระดับชาติ 713 รวม 1,126 ระดับนานาชาติ 64 ระดับชาติ 152 รวม 216 ระดับนานาชาติ 57 ระดับชาติ 96 รวม 153
2,456
ระดับนานาชาติ 38 ระดับนานาชาติ 81 ระดับชาติ 31 ระดับชาติ 32 รวม 69 รวม 113 ระดับนานาชาติ 1,150 ระดับนานาชาติ 614 ระดับชาติ 615 ระดับชาติ 986 รวม 1,765 รวม 1,600
182
ก�ำแพงแสน
ศรีราชา
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร รวมทั้งหมด
รวมทั้งหมด (ตัดซ�้ำ)
ระดับนานาชาติ 1,024 ระดับนานาชาติ 568 ระดับชาติ 570 ระดับชาติ 925 รวม 1,594 รวม 1,493
527
208
3,365
3,087
ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561
ความร่วมมือด้านการวิจัยและ ทรัพย์สินทางปัญญา
Research University Network: RUN ระยะที่ 2 (ระยะเวลา 5ปี พ.ศ. 2561 - 2566) มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เ ป็ น เจ้ า ภาพ จัดพิธีลงนาม บันทึกความเข้าใจเครือข่ายพันธมิตร มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย มุ่งวิจัยเพื่อประเทศไทย เพื่อ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน RUN for Thailand : to sustainable development เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2561 นับ เป็นความร่วมมือในระยะที่ 2 ของ RUN โดยเป็นความ
ร่วมมือ ของ 8 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ และมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นเครือข่ายร่วม คิด ร่วมวิจัย ร่วมกันท�ำงานด้วยเป้าหมายเดียวกันคือ เพือ่ ท�ำให้ประเทศไทยดีขนึ้ ซึง่ เป็นมิตใิ หม่ของความร่วม มือโดยอาศัยพืน้ ฐานของความจริงใจ ความเท่าเทียมกัน และความเป็นเลิศ (“SEXy way” Sincerely, Equally, Excellently)
การวิจัย
061
062
ความร่วมมือด้านการวิจัยและทรัพย์สินทางปัญญาระดับชาติ และนานาชาติ
ระดับนานาชาติ วันที่
เรื่อง
ความร่วมมือ
21 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ (MOU) และงานวิจัยระหว่างกัน คณะเกษตร กับ Seoul National การแลกเปลี่ ย นนิ สิ ต อาจารย์ University ประเทศสาธารณรัฐ นักวิจัย การประชุมวิชาการต่างๆ เกาหลี ความร่ ว มมื อ ทวิ ภ าคี ใ นด้ า น การเกษตร
8 กันยายน พ.ศ. 2560
ล งน าม บั น ทึ ก ข้ อ ตกล งท าง คณะวิทยาศาสตร์ กับ University วิ ช าการ (MOU) และหารื อ of Lampung ประเทศอินโดนีเซีย แนวทางการวิ จั ย และการแลก เปลี่ยนนิสิตร่วมกับผู้บริหารและ คณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์
14 กันยายน พ.ศ. 2560
ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ โดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ สร้ า งความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ และภาค เอกชนเพื่ อ ผลั ก ดั น ศั ก ยภาพที่ มี อ ยู ่ และหาทางการแก้ ป ั ญ หา พืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญในตระกูล “Solanaceae” (Challenges and Future Trends in Solanaceous Crops R&D in Asia)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ องค์กรเครือข่ายความร่วมมือด้าน เมล็ดพันธุ์นานาชาติ (The Asia and Pacific Seed Association : APSA)
วันที่
เรื่อง
ความร่วมมือ
24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วม สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาแห่ ง มือ (MOU) เครือข่ายวิจัย มก. และ Biotechnology and Biochemical Engineering Society of Taiwan (BEST)
5 มีนาคม พ.ศ. 2561
ล งน าม บั น ทึ ก ข้ อ ตกล งท าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ วิ ช าการ (MOU) เพื่ อ ต่ อ อายุ คณะเกษตร กับ Faculty of Policy ความร่วมมือทางวิชาการ 2 ฉบับ Studies, Iwate Prefectural คือ Agreement for Academic University ประเทศญีป่ นุ่ Exchange and Memorandum of Understanding for Student Exchange
การวิจัย
063
064
ระดับชาติ วันที่
เรื่อง
ความร่วมมือ
8 กันยายน พ.ศ. 2560
ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ อนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในผลงานวิจัย บริษัท ซี เอส จี โปรดักส์ (ไทย “กรรมวิ ธี ก ารผลิ ต ผงมะพร้ า ว แลนด์) จ�ำกัด กับ บริษทั ไฮ อินโน น�้ำหอม” เป็นผลงานของอาจารย์ เจ็น จ�ำกัด คณะวิทยาศาสตร์และคณะเกษตร ก�ำแพงแสน และบริษัท ซี เอส จี โปรดักส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด พัฒนาร่วมกัน
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ อนุ ญ าตให้ ใ ช้ สิ ท ธิ์ ใ นผลงาน บริษทั ฟิวเจอร์ เดคคอเรชัน่ กรุป๊ วิจัย “สูตรส่วนผสมผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด แผ่นก�ำลังรังสีแกมมาปราศจาก สารตะกั่ ว จากวั ส ดุ เ ชิ ง ประกอบ ยางธรรมชาติ” เป็นผลงานของ ผศ.ดร.เกียรติศกั ดิ์ แสนบุญเรือง อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์
18 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ อนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในผลงานวิจัย บริษทั ลพบุรี เอนเนอจี จ�ำกัด “กากมันส�ำปะหลังโปรตีนสูง” เป็น ผลงานของ ผศ.ดร.พงศ์ธร คงมัน่ อาจารย์คณะเกษตร
วันที่
เรื่อง
ความร่วมมือ
27 เมษายน พ.ศ. 2561
ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ อนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในผลงานวิจัย บริษทั ทรูบญ ุ ฟาร์มา จ�ำกัด “สูตรแป้งคัพเค้กจากเมล็ดข้าว ไรซ์เบอรีก่ งึ่ ส�ำเร็จรูปในไมโครเวฟ และกรรมวิธกี ารผลิต” และ “สูตร แป้งคัพเค้กจากปลายข้าวไรซ์เบ อรี่กึ่งส�ำเร็จรูปในไมโครเวฟและ กรรมวิธีการผลิต” เป็นผลงาน ของ นางสาวชมดาว สิกขะมณฑล นักวิจยั สถาบันค้นคว้าและพัฒนา ผลิตภัณฑ์อาหาร
28 เมษายน พ.ศ. 2560
ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ อนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในผลงานวิจัย บริษทั สามพิม จ�ำกัด “กาวน�้ำที่มีส่วนผสมของน�้ำยาง ธรรมชาติ ฟินอลิก เรซิน และกัม โรซิน และกรรมาวิธีการผลิต” ซึ่ง ได้รับอนุสิทธิบัตรเลขที่ 10454 เป็นผลงานของ ดร.วีรศักดิ์ สมิ ทธิพงศ์ นักวิจยั คณะวิทยาศาสตร์
28 เมษายน พ.ศ. 2560
ลงนามความร่ ว มมื อ ต่ อ ยอด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ พั ฒ นาผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง “การ บริษทั สามพิม จ�ำกัด วิจัยกาวน�้ำยางแข็งตัวและไฟลาม ช้าหรับแผ่นบอร์ดจากเศษผ้า”
การวิจัย
065
066
วันที่
5 เมษายน พ.ศ. 2561
เรื่อง
ความร่วมมือ
ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ อนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในผลงานวิจัย บริษทั เอฟเวอร์ เนเจอร์ จ�ำกัด “สูตรและกรรมวิธีการผลิตคุกกี้ ชนิดแข็งจากผลไม้บดละเอียด” จากผลงานของ นางจันทร์เพ็ญ แสงประกายนั ก วิ จั ย สถาบั น ค้ น คว้ า และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหาร
การวิจัย
067
การฝึกอบรมและกิจกรรมทางด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยสถาบันวิจยั และ พัฒนาแห่ง มก. และส่วนงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัยได้จัด โครงการฝึกอบรมและกิจกรรมต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งทางการวิจัยและพัฒนาบุคลากรวิจัย ได้แก่
วันที่
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
จัดโดย
1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
การบรรยายพิเศษเรือ่ ง "แนวทาง การพัฒนาข้อเสนอการวิจัยทุน มุ่งเป้าฯ สวก. ปี 2561 รอบที่ 2"
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
30 มกราคม พ.ศ. 2561
การสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร On line computer workshop เรือ่ ง “ วิจยั อย่างไรให้ได้ทรัพย์สนิ ทางปัญญา”
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
การสั ม มนาการน� ำ เสนอผล การด� ำ เนิ น งานโครงการวิ จั ย กลุ ่ ม โครงการวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นา นั ก วิ จั ย รุ ่ น ใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
068
วันที่
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
จัดโดย
27 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2561
การอบรมการน� ำ เสนอผลผลิ ต จากงานวิจยั สูผ่ ปู้ ระกอบการในรูป แบบ Pitching โครงการเกษตร อาหารและเทคโนโลยีชวี ภาพ เพือ่ การขั บ เคลื่ อ น Thailand 4.0 และโครงการ Innovation Hub – Agriculture and Food เพื่อ สร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของ ประเทศไทย
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
การอบรมด้ า นจริ ย ธรรมการ วิ จั ย ในมนุ ษ ย์ ส� ำ หรั บ บุ ค ลากร ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
19-20 เมษายน พ.ศ. 2561
การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัด เตรียมต้นฉบับผลงานวิจัยเพื่อตี พิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 1/2561”
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
26 เมษายน พ.ศ. 2561
การอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อการ ตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับสากล”
ส�ำนักหอสมุด
วันที่
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
จัดโดย
9-10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการเขี ย นข้ อ เสนอการวิจัย โครงการวิจัยเพื่อ พัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ มก.ประจ�ำ ปี 2561”
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
การอบรมหลักสูตร “จริยธรรม การวิจัยในมนุษย์ ด้านผลิตภัณฑ์ สุ ข ภาพและเครื่ อ งส� ำ อาง” รุ ่ น 1/2561
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
การอบรมหลักสูตร “จริยธรรม การวิจัยในมนุษย์ ด้านสังคมและ พฤติกรรมศาสตร์” รุ่น 3/2561
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
16-20 กรกฎาคม พ.ศ. 561
การฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่น ใหม่” (ลูกไก่) รุ่นที่ 8
ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันวิจัยและ พัฒนาแห่ง มก.
19-20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัด เตรียมต้นฉบับผลงานวิจัยเพื่อตี พิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 2/2561”
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
การวิจัย
069
070
การบริการงานวิจัยและ เผยแพร่ผลงานวิจัย
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. เป็นส่วน งานกลางในการประสานและบริหารงานวิจัยทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมุ่งเน้น การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนาขีด ความสามารถของนักวิจัย รวมทั้งประชาสัมพันธ์ เผย แพร่ ถ่ายทอดงานวิจยั พัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจยั บริการงานวิจัยและบริการวิชาการแก่อาจารย์ นักวิจัย นิสิต ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน ทั่วไป
Bioenergy, Smart City, KU Innovation 4.0 เป็นต้น เมื่อวันที่ 4 – 5 เมษายน พ.ศ. 2561 ณ สยามพารากอน (2) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เข้าร่วม แสดงผลงานวิจัยในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561 (Thailand Research Expo 2018)” จัดโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 9-13 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ (3) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พบผูป้ ระกอบ การเพื่อขับเคลื่อนงานวิจัยไปสู่ Thailand 4.0 (KU Research to Business EXPO2018) เป็นการจัด นิทรรศการการแสดงผลงานวิจยั ในเชิงการตลาดรูปแบบ ใหม่ Innovative Presentation Ideas of Research to Business ที่เปิดโอกาสให้มีการพบปะเจรจาธุรกิจ ร่วมกันระหว่างเจ้าของผลงานและผู้ประกอบการที่ ต้องการน�ำผลิตภัณฑ์ไปผลิตและจ�ำหน่าย หรือร่วมทุน วิจัยเพื่อการพัฒนาต่อยอด ซึ่งมีการจัดแสดงผลงาน 119 ผลงาน ใน 5 โซน ได้แก่ FOODINNOVATION จ�ำนวน 58 ผลงาน, FARM TO LAB จ�ำนวน 19 ผล งาน, BEAUTY HEALTH จ�ำนวน 11 ผลงาน, DIGITAL MANUFACTURING INNOVATION TECHNOLOGY จ�ำนวน 24 ผลงาน, CSR จ�ำนวน 7 ผลงาน
การบริการสนับสนุนงานวิจัย (1) การบริการปรึกษาวิจัย เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนางานวิจัยและบุคคลวิจัยของ มหาวิทยาลัยได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (2) จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เพื่อให้การ ด�ำเนินงานวิจัยที่มีมนุษย์เป็นอาสาสมัครในการวิจัยมี ความถูกต้องตามมาตรฐานงานวิจัยและหลักจริยธรรม (3) การเลี้ ย งและใช้ สั ต ว์ เ พื่ อ งานทาง วิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ ให้ อ าจารย์ แ ละนั ก วิ จั ย ของ มหาวิทยาลัยมีการเลี้ยงและใช้สัตว์ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมเพื่อสามารถน�ำไปสู่ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ (4) บริการเครือ่ งมือวิทยาศาสตร์และบริการ ผลงานวิจัยระดับนานาชาติและชาติ ทั่วไป 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย เงินแสง สรวย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบ การเผยแพร่ผลงานวิจัย “ช้างงาเอก” พืชชนิดใหม่ของโลก เป็นพืชไม้พุ่มสูง 1-2 (1) มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ได้ น� ำ เมตร กระจายพันธุ์ในประเทศทางภาคตะวันออกเฉียง ผลิตภัณฑ์ผลงานวิจัยร่วมจัดแสดง จัดงาน Thailand เหนือ จังหวัดบึงกาฬ และจังหวัดนครพนม พบตาม Innovation Hubs 4.0S ซึ่งจัดแสดงผลงานนวัตกรรม ป่าดิบแล้งและชายป่าดิบแล้ง ออกดอกแบบช่อกระจุก ของมหาวิ ท ยาลั ย จั บ คู ่ กั บ ผู ้ ป ระกอบการในลั ก ษณะ สั้นตามซอกใบ ผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด รากใช้เป็น Translational Research และ Startup โดยแสดง พืชสมุนไพรเป็นยาบ�ำรุง ซึ่งจัดอยู่ในสถานะของพืชที่มี นิทรรศการผลงานโครงการ Innovation Hubs ตาม แนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ นโยบายประเทศไทย 4.0 ในกลุ่มเรื่อง Agriculture 2. ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.พิ ทัก ษ์ เชื้ อ and Food, Ageing Society, Creative Economy, วงศ์ ภาควิ ช าเคมี คณะวิ ท ยาศาสตร์ ได้ รั บ ทุ น ฟุ ล
ไบรท์ (Fulbright Thai Visiting Scholar, TVS 2018) พร้อมด้วยอาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยนเรศวร จะเดินทางไปท�ำวิจัย ในมหาวิทยาลัยที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 28 ธันวาคม 2018 ซึ่งเป็นงานวิจัยเกี่ยว กับการออกแบบโครงสร้างของสารที่สามารถยับยั้งการ ท�ำงานของเอนไซม์ amidotransferase ที่จ�ำเป็นต่อ การด�ำรงชีวติ ของแบคทีเรียทีก่ อ่ ให้เกิดโรคในมนุษย์ เพือ่ เป็นการต่อสูก้ บั วิบตั กิ ารดือ้ ยาของเชือ้ แบคทีเรีย ซึง่ เป็น ปัญหาส�ำคัญของโลกในขณะนี้ 3. อาจารย์ ดร.โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และทีมวิจัย ได้รับรางวัล Silver Medal Award จากผลงานเรื่อง “โดมแสงนวลระบาย อากาศประหยัดพลังงาน (Indirect Light Sky Dome with Natural Ventilation )” ในเวทีการประกวดผล งานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมระดับนานาชาติ “46th International Exhibition of Inventions Geneva" ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งเป็นเวทีการประกวดผลงาน สิง่ ประดิษฐ์และนวัตกรรมระดับนานาชาติทสี่ ำ� คัญและมี ผู้เข้าร่วมงานมากที่สุดในโลก
4. อาจารย์ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะ วนศาสตร์ ได้ค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลก และชนิดสัตว์ สะเทินน�ำ้ สะเทินบกครัง้ แรกในประเทศไทย โดย (1) รอง ศาสตราจารย์ ดร. สราวุธ สังข์แก้ว และคณะ ค้นพบพืช ชนิดใหม่ของโลก 2 ชนิด คือ "ไผ่ Chimonocalamus auriculatus" ที่จังหวัดพิษณุโลก และ "เจ็ดช้างสาร น้อยยะลา" เป็นพืชในวงศ์เข็ม (Rubiaceae) ถูกค้น พบที่จังหวัดยะลา และ (2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประทีป ด้วงแค ร่วมกับนักวิชาการจากรมอุทยานแห่ง ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ค้นพบ "ปาดหลังยาวภูสวนทราย" เป็นชนิดสัตว์สะเทิน น�้ำสะเทินบกที่พบครั้งแรกในประเทศไทย 5. รองศาสตราจารย์.ดร. วัชรียา ภูรีโรจน์ กุล ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ได้ค้นพบ พยาธิตัวตืดชนิดใหม่ของโลกในปลาฉลามกบ ที่สะพาน ปลาอ่างศิลา จังหวัดชลบุรี ซึ่งได้น�ำมาศึกษาโครงสร้าง ต่างๆ ปรากฏว่าแตกต่างจากพยาธิตัวตืดชนิดอื่นๆ จึง ได้ตั้งชื่อพยาธิตัวตืดชนิดใหม่ตามชื่อจังหวัดที่ค้นพบนี้ ว่า "Yorkeria chonburiensis"
การวิจัย
071
072
รางวัลผลงานวิจัย ระดับนานาชาติ รางวัล
ผลงาน
รายชื่อ
รางวัล Best Paper Award
การน�ำเสนองานวิจยั ให้หน่วยวิจยั หน่ ว ยวิ จั ย ความร้ อ น-ของไหล เคมีวัสดุ และเทคโนโลยี ในงาน international Conference on Engineering & MIS – 2018 by IARES ประเทศตุรกี
รศ.ดร.อัญชสา ประมวลเจริญกิจ ดร.อมลิน ต้องกระโทก ดร.ศิริลักษณ์ พานโคกสูง คณะวิทยาศาสตร์และ วิ ศ วกรรมศาสตร์ วิ ท ยาเขต เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
ก า ร น� ำ เ ส น อ ง า น วิ จั ย เ รื่ อ ง “Hidden Dot Patterns Recognition using CNNs on Raspberry PI Zero W” ในงาน 9th International Conference on Information and Communication Technology for Embedded Systems (ICICTES 2018) in cooperation with the 11th International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT 2018)
อ.ดร.กาญจนพันธุ์ สุขวิชชัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
รางวัล
ผลงาน
รายชื่อ
Silver Medal Award กลุ่ม Building / Architecture / Construction
ผลงาน "indirect Light Sky Dome with Natural Ventilation" ในงาน 46th International Exhibition of Inventions Geneva 2018 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ดร.โสภา วิศิษฎ์ศักดิ์ และ คุณณัฎรี ศรีดารานนท์ นิสิตปริญญาเอก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
Honorable Mention in Biomechanics and Bioengineering (BME)
การน� ำ เสนอผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง "The development of labon-a-chip fabricated from two molds" ในงานการประชุม วิชาการระดับนานาชาติ The 8th Thai Society of Mechanical Engineering, International Conference on Mechanical Engineering Bangkok, Thailand.
รศ.ดร.อัญชสา ประมวลเจริญกิจ ดร.อมลิน ต้องกระโทก ดร.ศิริลักษณ์ พานโคกสูง คณะวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์ ดร.กรรณิการ์ วงศ์พาณิชย์ คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ อุตสาหกรรมเกษตร
การวิจัย
073
074
ระดับชาติ รางวัล
ผลงาน
รายชื่อ
รางวัลชนะเลิศ
“Ruthenium-Copper Based Catalysts for Epoxidation of propylene to propylene oxide” การประชุมนักวิจยั รุน่ ใหม่ พบ เมธีวิจัยอวุโส สกว. ครั้งที่ 17
ดร.อนุสรณ์ สืบสาย คณะวิศวกรรมศาสตร์
"วิจยั และพัฒนาชุดอุปกรณ์กำ� จัด วัชพืชในนาข้าวแบบต่อพ่วงกับ รถแทรกเตอร์เหล็กแคบ" ในงาน การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 5
รศ.ดร.ประเทือง อุษาบริสุทธิ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
“การพัฒนาเครื่องคัดแยกกรวด ในกระบวนการสีข้าวขนาดเล็ก” ในงาน การประชุมวิชาการข้าวแห่ง ชาติ ครั้งที่ 5
ผศ.ดร.ศิวลักษณ์ ปฐวีรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
รางวัล
ผลงาน
รายชื่อ
Best Paper Award
"Investigation of Particle Dynamics and Heat Transfer in a Fluidized bed Using CFD-DEM Simulation" ใน การน� ำ เสนอผลงานวิ จั ย การ ประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรม เครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 (ME-NETT2018)
ผศ.ดร.ปรีดา ปรากฏมาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
“Blurred Region Detection using Image Resampling Technique and Average Filter” ในการประชุมวิชาการ The 14th National Conference on Computing and Information Technology (NCCIT2018)
ดร.ปาริฉัตร เสริมวุฒิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
การน�ำเสนอ บทความนานาชาติ "Stress Relaxation Characteristics of Chicken Sausages Containing Spent Hen Meat under Different Cooking Conditions" ใน งานThe 19th TSAE National Conference and The 11th TSAE International Conference : TSAE 2018
ผศ.ดร.สุกัญญา วิชชุกิจ คุณเพ็ญนภัส จิรชัย และ คุณอรนุช หนูเทศ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน
การวิจัย
075
076
รางวัล
ผลงาน
รายชื่อ
ระดับดีมาก
การน� ำ เสนอผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง “การเพิม่ มูลค้าชานอ้อย การสกัด เซลลูโลสและนาโนเซลลูโลสและ การประยุกต์ใช้เป็นวัสดุทางการ แพทย์” ใน งาน วันนักประดิษฐ์ 2561
ผศ.ดร.ประกิต สุขใย คณะอุตสาหกรรมเกษตร
ก า ร น� ำ เ ส น อ ผ ล ง า น วิ จั ย สาขาวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละ อุตสาหกรรมวิจัย เรื่อง “เครื่อง ก�ำเนิดพลาสมาเย็นแบบไฮบริด ที่บรรยากาศปกติเพื่อการก�ำจัด เชื้อราและยกระดับคุณภาพ เพิ่ม การงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวดอก มะลิ 105” ในงานวันนักประดิษฐ์ 2561
ดร.ศิวพล ศรีสนพันธุ์ และคณะ คณะวิศวกรรมศาสตร์
การด�ำเนินงานโครงการพัฒนาวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยี ส� ำ นั ก งานบริ ก ารวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เป็ น หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น การบริ ก าร และประสานภารกิจเพื่อน�ำองค์ความรู้สู่เชิงพาณิชย์ และสังคม โดยประสานงานกลางให้หน่วยงานภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อ น�ำความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของหน่วยงานในการให้ บริการและพัฒนาวิชาการอย่างเป็นระบบและมีความ เป็นเอกภาพ โดยมีการด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการแบ่ง เป็น 5 ประเภท คือ 1) งานบริการด้านวิจัย เฉพาะการ
5
การจัดการศึกษา
ว่าจ้างศึกษาวิจัย 2) งานที่ปรึกษา 3) งานบริการด้าน ฝึกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการในลักษณะ การว่าจ้าง 4) งานด้านบริการวิเคราะห์ ตรวจสอบ ปรับ ปรุงฯ 5) งานบริการอืน่ เช่น ความร่วมมือต่างๆ เป็นต้น
จ�ำนวนโครงการและงบประมาณการพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ประเภทโครงการ / วิทยาเขต
จ�ำนวนโครงการ
งบประมาณ (บาท)
โครงการที่ด�ำเนินการเสร็จสิ้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ก�ำแพงแสน ศรีราชา เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างด�ำเนินการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ก�ำแพงแสน ศรีราชา เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
827 616 155 27 29 866 673 144 17 32
1,403,403,394 1,008,544,967 337,628,651 43,207,662 14,022,114 1,650,997,226 1,206,399,501 412,246,815 14,335,050 18,015,860
รวมทั้งสิ้น 1,693
รวมทั้งสิ้น 3,054,400,619 ส�ำรวจข้อมูล ณ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2560
การบริหารวิชาการ
077
078
การบริหารจัดการ ด้านทรัพย์สินทางปัญญา
ผลงานวิจัยไปขยายผลให้เกิดคุณค่าเชิงพาณิชย์ และ ส�ำนักงานบริการวิชาการมีภารกิจหลักใน ให้สามารถแข่งขันในภาคการผลิต รวมทั้งการบริหาร การบริหารจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ การ จัดการด้านทรัพย์สนิ ทางปัญญาเพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์ ด�ำเนินการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทั้งภายในและ สูงสุด ซึ่งในปีการศึกษา 2560 มีการยื่นขอรับความ ภายนอกประเทศ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริหาร คุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญา จ�ำนวน 106 เรือ่ ง การให้ จัดการประโยชน์จากงานวิจยั และการจัดท�ำฐานข้อมูล ค�ำปรึกษาและติดต่อจ�ำนวน 69 และการจดทะเบียนผล ด้านทรัพย์สินทางปัญญา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำ งานวิจัยจ�ำนวน 42 เรื่อง รายละเอียดดังแสดงในตาราง
ประเภทการคุ้มครอง
สิทธิบัตร
อนุสิทธิ บัตร
ลิขสิทธิ์
เครื่องหมาย การค้า
อื่น ๆ
1. การยื่นขอรับความคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา จ�ำนวน 106 เรื่อง
16
82
5
3
-
6
2
10
5
2
-
51
2. การให้ค�ำปรึกษาและติดต่อ จ�ำนวน 69 เรื่อง 3. การจดทะเบียนผลงานวิจัย จ�ำนวน 42 เรื่อง
10
25
ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561
การบริหารจัดการด้านการพัฒนาธุรกิจ
2 ปี และมีการประเมินผลทุกรอบ 6 เดือน ประกอบ ศู น ย์ บ ่ ม เพาะธุ ร กิ จ งานพั ฒ นาธุ ร กิ จ ด้วย 3 กิจกรรมหลัก ดังนี้ ส�ำนักงานบริการวิชาการ ได้ด�ำเนินการโครงการหน่วย (1) กิจกรรมบ่มเพาะ (University Business Incubation บ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย : UBI) เกษตรศาสตร์ (Kasetsart University Business (2) กิจกรรมชมรมผู้ประกอบการนิสิต (Kasetsart Incubation Center : KUBIC) ซึ่งได้รับงบประมาณ University Startup : KU-StartUp) สนับสนุนการด�ำเนินงานจากส�ำนักงานคณะกรรมการ (3) กิจกรรมสร้างจิตวิญญาณ และความตระหนักสูค่ วาม การอุดมศึกษา โดยมีระยะเวลาการด�ำเนินงานรอบละ เป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneural Spirit)
การเสริมสร้างความร่วมมือทางวิชาการ
การภายใต้ โ ครงการพั ฒ นาธุ ร กิ จ นวั ต กรรมเกิ ด ใหม่ ที่ มี ก ารเติ บ โตสู ง (Innovative Startup) ประจ� ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพือ่ สนับสนุนการพัฒนาต่อย อดงานวิจยั องค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยของรัฐ ให้ตอบสนองความต้องการ ของตลาดและสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และ สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมในช่วงการวิจัยต่อย อด (Translation Research) จากผลงานในระดับ ห้องปฏิบัติการ (Lab Scale) ไปสู่ผลิตภัณฑ์/บริการใน ระดับอุตสาหกรรม (Industrial/Commercial scale) ซึ่งด�ำเนินการในรูปแบบโครงการย่อย 5 โครงการ ดังนี้ (1) โครงการเทคโนโลยีการผลิตและการ แปรรูปแพะเนื้อและแพะนมครบวงจร หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศศิธร นาคทอง คณะเกษตร ก�ำแพงแสน (2) โครงการรถเก็บใบมันส�ำปะหลังเพือ่ การ พาณิชย์ หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เกรียงไกร แก้วตระกูลพงษ์ คณะเกษตร (3) โครงการแชมพูส�ำหรับสุนัขผิวแพ้ง่าย หัวหน้าโครงการ : รองศาสตราจารย์ น.สพ. ดร.อ�ำนาจ พัวพลเทพ คณะสัตวแพทยศาสตร์ (4) โครงการพัฒนานวัตกรรมการจัดการ เรี ย นรู ้ เ พื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ของผู ้ เ รี ย นในระดั บ ปฐมวัย ด้วยอีเลิร์นนิ่ง หัวหน้าโครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.ปัทมา วดี เล่ห์มงคล คณะศึกษาศาสตร์ (5) โครงการพัฒนาธุรกิจใหม่หอ้ งปฏิบตั กิ าร ทดสอบวัสดุสมั ผัสอาหารทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐานสากล โครงการสนั บ สนุ น เร่ ง การเติ บ โตของธุ ร กิ จ หัวหน้าโครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร. นวั ต กรรมรายใหม่ ใ นอุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย งามทิพย์ ภู่วโรดม คณะอุตสาหกรรมเกษตร Research Gap Fund : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยส�ำนักงานบริการวิชาการ ร่วมกับส�ำนักงานปลัด โครงการพัฒนาการเกษตรไทยสูร่ ะบบอัจฉริยะด้วย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และส�ำนักงาน การใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งด�ำเนินงานโดยคณะเกษตร พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ได้ด�ำเนิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเครือข่ายพันธมิตร โครงการ Innovation Hubs เพื่อสร้างเศรษฐกิจ ฐานนวั ต กรรมของประเทศตามนโยบาย 4.0 ด้ า น การเกษตร อาหาร และเทคโนโลยี ชี ว ภาพ ในการ สร้างความมั่นคง ให้กับสังคมประเทศไทยอย่างยั่งยืน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงได้รับอาสาเข้ามาการ ด�ำเนินการในลักษณะศูนย์รวมนวัตกรรมด้านเกษตร และอาหาร (Agri-Food Innovation Hub) ในปีแรก พ.ศ. 2560 ได้ด�ำเนินการพิจารณาคัดเลือกโครงการ ประเภท Startup และ PRE SEED FUND จ�ำนวน 2 รุ่น ด้วยงบประมาณรวม 265 ล้านบาท ซึ่งมหาวิทยา ลัยฯ มีหน้าที่ ดังนี้ (1)พิจารณาสรรหาและคัดเลือกหน่วยงาน หรือผูด้ ำ� เนินงานทีส่ ามารถผลิตผลงานตามวัตถุประสงค์ และเงื่อนไขของโครงการ (2) พิจารณาคัดเลือก ประเมินผลงาน และ รายงานความก้าวหน้า เสนอต่อที่ประชุมอธิการบดี แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (3) ติดตามและตรวจสอบการด�ำเนินการของ หน่วยงานหรือผู้ได้รับการสนับสนุนทุนโครงการ (4) เผยแพร่ผลงานและกิจกรรมทีด่ ำ� เนินการ (5) เสนอและให้คำ� ปรึกษาการด�ำเนินการแก่ ผู้เกี่ยวข้อง (6) แสวงหาข้อมูลของแหล่งทุนอื่น เสนอ ต่อที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา และหน่วยงานหรือผู้ที่ได้รับ การสนับสนุน เพื่อพิจารณาด�ำเนินการต่อไป
การบริหารวิชาการ
079
080
มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย คลัสเตอร์เกษตรและอาหาร หรือ “RUN“ เพื่อให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงและใช้ ประโยชน์ จ ากฐานข้ อ มู ล การเกษตรขนาดใหญ่ ผ ่ า น ทางแอพพลิเคชั่นมือถือ โดยฐานข้อมูลประกอบด้วย โครงการวิจัยย่อย 4 กลุ่มคือ (1) กลุม่ การพัฒนาระบบการผลิตพืชและสัตว์ (2) กลุ่มการบริหารจัดการปัจจัยการผลิต และสิ่งแวดล้อม (3) กลุ่มการบริหารจัดการและเพิ่มโอกาส ทางธุรกิจและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อใช้ระบบ สนับสนุนการตัดสินใจในอาชีพ (4) กลุ ่ ม การพั ฒ นาระบบดิ จิ ทั ล และ สารสนเทศ โครงการ Talent Mobility ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 ด้านอุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชวี ภาพ เป็ น โครงการที่ ใ ห้ บุ ค ลากรได้ มี โ อกาสไปปฏิ บั ติ ง าน เรียนรู้ และพัฒนางานวิจัยร่วมกับภาคเอกชน โดย มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ไ ด้ ป ระกาศใช้ ร ะเบี ย บ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ว่าด้วยการให้บุคลากรไป ปฏิบัติงานในภาคเอกชน Talent Mobility พ.ศ.2561 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2561 เพื่อให้บุคลากรของ มหาวิทยาลัยสามารถไปปฏิบตั งิ านในภาคเอกชนโดยไม่ ถือเป็นวันลาและสามารถน�ำมาขอเป็นผลงานวิชาการได้
Kasetsart Journal of Social Science การเผยแพร่ แ ละถ่ า ยทอดทางสถานี วิ ท ยุ มก. บางเขน ความถี่ 1107.KHz เชียงใหม่ ความถี่ 675 KHz สงขลา ความถี่ 1264 KHz และขอนแก่น ความถี่ 1314 KHz การเผยแพร่และถ่ายทอดความรูท้ างสถานีโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ลงนามความร่วมมือกับ องค์ ก ารกระจายเสี ย งและแพร่ ภ าพสาธารณะแห่ ง ประเทศไทย (ThaiPBS) โดยผลิตรายการหลากหลาย รูปแบบที่ใช้องค์ความรู้จากการวิจัยเป็นฐาน การเผยแพร่และถ่ายทอดผลงานวิจัย รายการ เกษตรศาสตร์น�ำไทยโดยสื่อออนไลน์ (YOUTUBE)
กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และ บริการวิชาการ
งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ" ครั้ง ที่ 11 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ในพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ นทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 85 พรรษา 12 สิงหาคม พ.ศ. 2560 โดยมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ ส วน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ การเผยแพร่องค์ความรู้และ ด�ำเนินโครงการสนองพระราชด�ำริในด้านการอนุรักษ์ ผลงานทางวิชาการแก่สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดงาน "สีสรร การฝึ ก อบรมและถ่ า ยทอดเทคโนโลยี โดย พรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ" ครั้งที่ 11 เมื่อวันที่ มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนให้หน่วยงานทั้งระดับคณะ 9-14 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ณ สวนสมเด็จพระนางเจ้า ส�ำนัก สถาบัน มีบทบาทในการด�ำเนินงานถ่ายทอด สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เทคโนโลยีและประยุกต์งานวิจัยให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น งาน “เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) เกษตรแฟร์” ประจ�ำปีพ.ศ. การเผยแพร่ผลงานวิจยั โดยสือ่ สิง่ พิมพ์ เช่น วารสาร 2561 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับส่วนงานที่ Agriculture and Natural Resources และวารสาร เกี่ยวข้องจัดงาน “เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) เกษตรแฟร์” ประจ�ำ
ปีพุทธศักราช 2561 ภายใต้แนวคิด “แบ่งปัน พอ เพียง” เพือ่ น�ำรายได้หลังหักค่าใช้จา่ ยสมทบมูลนิธอิ าสา เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ไปช่วยเหลือ ประชาชนที่ประสบภัยพิบัติต่างๆ ณ ส�ำนักพิพิธภัณฑ์ และวัฒนธรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เมื่อวันที่ 21 – 30 มิถุนายน พ.ศ.2561 งาน “วั น ข้ า วและชาวนาแห่ ง ชาติ 2561” มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยส�ำนักบริการวิชาการ น�ำผลงานนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมจัดแสดงในงาน“วันข้าวและชาวนาแห่งชาติ 2561” “มหัศจรรย์ขา้ วพืน้ เมือง คุณค่าจากทุง่ นา เพิม่ มูลค่าด้วย นวัตกรรม” เมือ่ วันที่ 4 – 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2561 ณ กรม การข้าว เกษตรกลางบางเขน การประชุมวิชาการประเพณีเกษตรศาสตร์-มหิดลกองทัพเรือ-ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 19 ในหัวข้อ " Digital Education กับความท้าทายของการศึกษาไทย" โดยใน ปีนี้ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ เย็นจะบก ภาควิชา นิเทศศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ เป็นตัวแทนจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าร่วมงาน ซึ่งมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเจ้าภาพ
การประชุมเวทีข้าวไทยปี 2560 จัดโดย มูลนิธิ ข้ า วไทยในพระบรมราชู ป ภั ม ภ์ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และอีก 11 องค์กร ซึ่งมหาวิทยาลัยฯ ได้บรรยายในหลายหัวข้อเช่น “รู้จักข้าว รู้จักกัน” โดย ร.ศ. ดร.น�ำ้ ฝน ล�ำดับวงศ์, “คุณประโยชน์ในข้าวบริโภค และข้าวแปรรูป” โดย ร.ศ. ดร.ปาริฉัตร หงสประภาส และ “เรื่องข้าวในประเพณีไทย” โดยผมทอง โสภา ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน งานวั น เกษตรแห่ ง ชาติ ประจ� ำ ปี 2561 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับส่วนงานทีเ่ กีย่ วข้อง จัดงานวันเกษตรแห่งขาติ ประจ�ำปี 261 ภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีก้าวไกล พัฒนาเศรษฐกิจไทยไป 4.0 ” เพื่อเผยแพร่ผลงานด้านการพัฒนาการเกษตร ผลงาน วิชาการ ผลงานวิจัย การบริการวิชาการ ตลอดจนการ ถ่ายทอดความรู้ทางด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมของ ภาครัฐ และภาคเอกชน ให้แก่เกษตรกร นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ได้น�ำไปบูรณาการและ น�ำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพหรือในการด�ำเนิน ชีวิตประจ�ำวัน ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เมื่อวันที่ 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
การบริหารวิชาการ
081
6
082
การท�ำนุบำ� รุงศิลปะและวัฒนธรรม
กิจกรรมเทิดพระเกียรติพระราชวงศ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้จดั งาน “อภิวาท แทบพระยุคลบาท ภูมแิ ผ่นดินคืนฟ้า เสด็จสูส่ วรรคาลัย” เพือ่ น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ ของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ฯ รัชกาลที่ 9 เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ณ สนามอินทรีจนั ทรสถิตย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
1
การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
083
2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จั ดพิ ธีถ วาย พระพรชัยมงคล เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 66 พรรษา สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร เพื่อน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงบำ�เพ็ญพระกรณียกิจ เพื่อพสกนิกรชาวไทย และ แสดงความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีท่ รงมีตอ่ นิสติ คณาจารย์ และชาวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทั้งปวง พิธปี ระกอบด้วย ผูบ้ ริหาร คณาจารย์ บุคลากร นิสติ และ นักเรียนโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมลงนามถวายพระพร ถวายพุม่ ดอกไม้ ถวายราชสดุดี เฉลิมพระเกียรติถวายพระพรชัยมงคล และถวายสัตย์ ปฏิญาณเพือ่ เป็นข้าราชการทีด่ แี ละพลังของแผ่นดิน โดย มี วง KU Wind Symphony นิสิตภาควิชาดนตรี คณะ มนุษยศาสตร์ บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เมื่อวัน ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ จั ด โครงการ อุ ป สมบทหมู่ เ พื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ ส มเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และส่งเสริมให้นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับ การฝึกฝนอบรมหลักธรรมจากพระสงฆ์ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สร้างจิตสำ�นึกรู้รับผิดชอบ เตรียมพร้อมที่จะ เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพของสังคม เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ณ วัดบวรนิเวศวิหาร
3
084
4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดพิธถี วายพระพร ชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เนือ่ ง ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 85 พรรษา 12 สิงหาคม 2560 เมือ่ วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ณ อาคาร สารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน โดยคณะ ผูบ้ ริหาร บุคลากร และนิสติ มหาวิทยาลัย ถวายพุม่ ดอกไม้ ลง นามถวายพระพร และวง KU Wind Symphony บรรเลง เพลงสรรเสริญพระบารมี
5 มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ จั ด พิ ธีถ วาย พระพรชั ย มงคล เนื่อ งในโอกาสวั น คล้ า ยวั น ประสู ติ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภ รณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชันษาครบ 61 ปี เพื่อเป็นการน้อมรำ�ลึกถึงพระกรุณาธิคุณ ที่ทรง บำ�เพ็ญพระกรณียกิจ เพือ่ พสกนิกรไทย และแสดงความ สำ�นึกในพระกรุณาธิคณ ุ ทีท่ รงมีตอ่ นิสติ คณาจารย์ และ บุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทง้ั ปวง ผูบ้ ริหารและ ผูแ้ ทนคณะ สำ�นัก สถาบันและนิสติ ลงนามถวายพระพร และถวายพานพุ่มดอกไม้ และถวายพระพรชัยมงคล โดยมีวงดุรยิ างค์เครือ่ งลมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ KU Wind Symphony บรรเลงเพลงมหาชัย เมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
6
ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิต ร่วม พิธีถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันคล้าย วันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เพื่ อ แสดงความจงรั ก ภั ก ดี และสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงมีต่อมหา วิทยาลัยเกษตรศาสตร์เสมอมา เมือ่ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2561 ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน
การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
085
7 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทูลเกล้าฯ ถวาย “เกษตราภิชาน” แด่ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ด้วยทรงพระปรีชาสามารถ ทรงความรูใ้ นวิชาการเกษตร อย่างลึกซึง้ และโดดเด่น โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอพระราชทานพระอนุญาตถวายการสดุดเี ทิดพระเกียรติ “เกษตราภิ ช าน” เป็ น พระองค์ แ รก เมื่ อ วั น ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2560 ในงานพิธพี ระราชทานปริญญาบัตร ประจำ�ปีการศึกษา 2559 ณ อาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ
086
กิจกรรมส่งเสริมศาสนา ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นประธานในพิธี ทอดผ้าพระกฐินพระราชทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปี 2560 เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ณ วัด พระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดพิธที ำ� บุญ บ�ำเพ็ญกุศลถวายเป็นพุทธบูชา เนื่องในวันมาฆบูชา เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารพุทธเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดพิธที ำ� บุญ เนือ่ งในวันวิสาขบูชา ประจ�ำปี 2561 ซึง่ นับเป็นวันทีส่ ำ� คัญ ที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินพิ พาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า เมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารพุทธ เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดพิธที ำ� บุญ บ�ำเพ็ญกุศลถวายเป็นพุทธบูชา เนือ่ งในวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารพุ ท ธเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บางเขน
กิจกรรมส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลป วัฒนธรรมและประเพณี ดร.กฤษณพงศ์ กี ร ติ ก ร นายกสภา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นประธานในกิจกรรม ครบรอบ 54 ปี วันที่ระลึกวันนนทรีทรงปลูก ดนตรี ทรงโปรด สืบสานวันทรงดนตรี โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร ศิษย์เก่า และนิสิตปัจจุบัน จ�ำนวน กว่า 4,000 คน ร่วมงาน เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณ บริเวณหน้าหอประชุมมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จัดขึ้นเพื่อน้อมร�ำลึกและส�ำนึกในพระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ที่ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น พร้ อ ม
ด้ ว ย สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ในรัชกาลที่ 9 มาทรงปลูกต้นนนทรีจ�ำนวน 9 ต้น และ พระราชทานต้ น นนทรี เ ป็ น ต้ น ไม้ สั ญ ลั ก ษณ์ ป ระจ� ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ บริเวณริมสระน�้ำ ด้าน หน้ า อาคารหอประชุ ม มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เมื่อวันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 พร้อมกับ ทรงดนตรี ร่วมกับ วงดนตรี อส.วันศุกร์ เป็นการส่วน พระองค์เป็นครั้งแรก และเสด็จพระราชด�ำเนินทรง เยี่ยมต้นนนทรี และทรงดนตรี สืบต่อมาจนถึง พ.ศ. 2515 รวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง นายสั ต วแพทย์ ยุ ค ล ลิ้ ม แหลมทอง อุปนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นประธานใน งาน “งานวันร�ำลึกพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหา อานั น ทมหิ ด ล พระอั ฐ มรามาธิ บ ดิ น ทร เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ทรงหว่ า นข้ า ว ณ เกษตรกลาง บางเขน เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2489” โดยมี ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ คณะผู้บริหาร คณะกรรมการชมรม มก.อาวุโส บุคลากร นิสิต และนักเรียนโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการ ศึกษา พร้อมใจกันแสดงความจงรักภักดีและส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ทีพ่ ระมหากษัตริยไ์ ทยทัง้ 2 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และ พระบาทสมเด็จพระปรมิ นทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้เสด็จทอดพระเนตรกิจการ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ทรงหว่านข้าวใน แปลงนาหลังตึกขาว (ปัจจุบันคือตึกพืชพรรณของกรม วิชาการเกษตร) อันเป็นพระราชกรณียกิจครั้งแรกที่ เสด็จ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และยังเป็นพระ ราชกรณียกิจสุดท้ายในแผ่นดิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จดั งานสืบสาน ประเพณีสงกรานต์ในรัว้ นนทรี ปี 2561 "สงกรานต์กลาง กรุง ลั่นทุ่งบางเขน" กิจกรรมประกอบด้วยพิธีท�ำบุญ ตักบาตรพระสงฆ์ จ�ำนวน 40 รูป การรดน�้ำด�ำหัวขอ พรบูรพาจารย์อาวุโส การประกวดขบวนรถบุปผชาติ
และการประกวดเทพีสงกรานต์ เมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2561 ณ อาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดงานมุฑิ ตาจิต “นนทรีสีทอง 60” ให้แก่ผู้เกษียณอายุราชการ และผู้ลาออกจากราชการ ประจ�ำปี 2560 เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2560 ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จัดกิจกรรม ร้องเพลงชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบ 100ปี “วันพระ ราชทานธงชาติ ไ ทย” เพื่ อ เป็ น การร� ำ ลึ ก ถึ ง พระ มหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 6 ที่ทรงพระราชทานธงไตรรงค์ให้เป็น ธงชาติของประเทศไทย และเพื่อให้เป็นถึงความส�ำคัญ ของธงชาติไทย ที่เป็นสัญลักษณ์แห่งการร่วมแรงร่วมใจ เป็นหนึ่งเดียวของชาวไทย
การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
087
7
088
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดท�ำแผนแม่บทเทคโนโลยี สารสนเทศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2560 – 2564
การส่งเสริมกิจกรรมการเป็น มหาวิทยาลัยดิจิตอล (Digital University)
คณะกรรมการการจั ด ท� ำ แผนแม่ บ ท เทคโนโลยี ส ารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ จั ด ท� ำ แผนยุ ท ธศาสตร์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2560 – 2564 โดยผ่านที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากสภามหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อให้ความ เห็ น ชอบ เพื่ อ ผลั ก ดั น และยกระดั บ พั ฒ นาการด้ า น สารสนเทศของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ใ ห้ ก ้ า ว ไปสู่การเป็น Digital University ซึ่งมีส�ำนักบริการ คอมพิวเตอร์เป็นหน่วยสนับสนุน ICT ด้านการเรียน การสอน การวิจัย การพัฒนาวิชาการ ตลอดจนการ บริหารจัดการของมหาวิทยาลัย ปัจจุบันอยู่ระหว่าง การพั ฒ นาระบบสารสนเทศหลายโครงการ เช่ น ระบบสารสนเทศเพื่ อ การติ ด ตามแผนงาน ระบบ บริหารทรัพยากรบุคคล การพัฒนาบูรณาการข้อมูล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหารจัดการ MIS/EIS เป็นต้น
จักรยานสาธารณะอัจฉริยะโมไบค์ (MOBIKE) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จัดให้มีพิธีเปิด การใช้งานจักรยานสาธารณะอัจฉริยะ Mobike First Ride in KU ครั้งแรกของไทย เพื่อส่งเสริมการเป็น 6 U ของมหาวิทยาลัยทั้งด้าน Green University Happiness University Digital University Social Responsibility University Research University World Class University อีกทั้งยังสนับสนุนโครงการ “KU-Green Campus Healthy Community โดย มี ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายมาร์ก ลิน ผู้อ�ำนวย การฝ่ า ยปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งประเทศบริ ษั ท โมไบค์ นาย ฮัน เค็ง ลี ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการอาวุโส ส่วน งานผลิตภัณฑ์ และโซลูชั่น กลุ่มลูกค้าองค์กร เอไอเอส ร่วมในพิธเี ปิด พร้อมกับน�ำคณะผูบ้ ริหาร บุคลากร นิสติ ร่วมปั่นจักรยานสาธารณะอัจฉริยะ Mobike ในเลน จักรยานเส้นรอบอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ ระยะทาง 1.4 กิโลเมตร เพือ่ เปิดการใช้งานจักรยานสาธารณะอัจฉริยะ Mobike ภายใน มก. อย่างเป็นทางการ
ระบบสังคมไร้เงินสด มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ได้ ต อบรั บ นโยบายของรัฐบาลในการร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการ สร้างสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) โดยวางแผน และบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ตอบรั บ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต แบบ Smart ในอนาคตให้กบั นิสติ คณาจารย์ บุคลากร ตลอด จนศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย ด้วยศักยภาพและโครงข่าย ด้านสารสนเทศมหาวิทยาลัยดิจิทัล ตามนโยบาย 6U ด้าน Digital University และมุ่งมั่นพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษา การบริหารจัดการ ทางการเงิน และการให้บริการ Daily lifestyle ของ นิสิตและบุคลากรมาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ธนาคารไทย พาณิชย์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงผนึกความ ร่วมมือกันในการสร้างสรรค์นวัตกรรมการเงินดิจิทัล เพื่อสร้างระบบนิเวศใหม่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และขับเคลื่อนประเทศไทยเข้าสู่เศรษฐกิจยุคดิจิทัลไร้ เงินสด โดยได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เดินหน้าสร้างสังคมไร้เงินสด Cashless society @ KU เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2560 นับเป็นการบูรณา การและสร้างองค์ความรูร้ ว่ มกันระหว่างนักวิชาการของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเจ้าหน้าที่ของธนาคาร ไทยพาณิชย์ ซึ่งมุ่งเน้นการให้บริการทั้งนิสิต ผู้ปกครอง คณาจารย์ บุคลากร ตลอดจนบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ร้านค้าภายในสถาบันการศึกษา โดยน�ำเสนอใน 3 รูป แบบคือ 1. Cashless SMART TOOLS เป็นการน�ำ เทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาให้เกิดเครื่องมือในการบริการ ทางเงินใน 2 รูปแบบ Smart Card: บัตรประจ�ำตัวนิสิตที่รวม บริการทางการเงินไว้ในบัตรเดียว ทั้งบัตรเอทีเอ็ม บัตร เดบิต โดยสามารถใช้บัตรช�ำระค่าใช้จ่ายต่างๆ ภายใน สถาบันการศึกษา เช่น ค่าอาหาร ค่าเครือ่ งแบบ เป็นต้น
นอกจากนี้ยังเป็นบัตรที่เชื่อมโยงกับระบบข้อมูลของ สถาบันการศึกษา เช่น เป็นบัตรผ่านที่ก�ำหนดสิทธิเข้า ออกในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ของสถาบันการศึกษา รวบรวมข้อมูล การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น Smart Applications: แอปพลิเคชันที่ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ยคุ ดิจทิ ลั โดยสามารถใช้งานบริการ ทางการเงิน “SCB Easy” และบริการข้อมูลของสถาบัน การเงิน “Academic Life” ผ่านอุปกรณ์สอื่ สารได้ทกุ ที่ ทุกเวลา 2. Cashless SOCIETY เป็นการสร้างสังคม ไร้เงินสดในสถาบันการศึกษา ดังนี้ Education Fee Payments: อ�ำนวยความ สะดวกในการช�ำระค่าธรรมเนียมการศึกษาผ่าน ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคาร หรือการช�ำระผ่าน SCB Easy Net (Internet Banking) Cashless Environment on Campus: สร้างระบบการช�ำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่างๆ ให้กบั หน่วยงานและร้านค้าภายในสถาบันการศึกษา เช่น การช�ำระเงินผ่านระบบ QR Code เป็นต้น 3. CASH MANAGEMENT for Educational Institutions เป็นการน�ำเสนอบริการบริหารเงินที่ตอบ สนองทุกความต้องการให้กบั สถาบันการศึกษาทัง้ ในการ รับ-ช�ำระเงิน การบริหารสภาพคล่อง ด้วยระบบ online ทีท่ นั สมัยและปลอดภัยด้วยมาตรฐานระดับสากล ท�ำให้ สถาบันการศึกษาลดต้นทุน ลดเวลา และทีส่ ำ� คัญคือเพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานของสถาบันการศึกษา จากการบูรณาการและสร้างองค์ความรูร้ ว่ ม กันระหว่างนักวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และผูช้ ำ� นาญการของธนาคารไทยพาณิชย์ในการพัฒนา ระบบการด�ำเนินธุรกรรมทางการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดย The Asset ซึ่งเป็นนิตยสารการเงินที่มีชื่อเสียง ระดับสากล ได้มอบรางวัลยอดเยี่ยมส�ำหรับบริการ
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
089
090
บริหารเงินสด (Best Cash Management Solution) ปี 2018 เมือ่ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561 โดยมีผชู้ ว่ ย ศาสตราจารย์ ดร. นุชนาถ มั่งคั่ง รักษาการแทนรอง อธิการบดีฝา่ ยการเงิน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ วิมล รอดเพ็ชร อดี ต รั ก ษาการแทนรองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยการเงิ น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และนายพิพฒ ั น์ อัสสมงคล รองผู้จัดการใหญ่ผู้บริหารสาย GTS Solution Sales Specialist and Services รวมทั้งผู้บริหารธนาคารไทย พาณิชย์เข้าร่วมรับรางวัล ณ ประเทศฮ่องกง
ผลงานและกิจกรรมด้านการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร. ภุชงค์ อุทโยภาศ รักษาการแทน รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยสารสนเทศ รั บ มอบรางวั ล เชิ ด ชู เกียรติหน่วยงานที่ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตพื้น ฐานและบริการที่ รองรับ IPV 6 ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 ในประเภทหน่วยงานที่ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต พื้นฐาน 4 ด้าน (website, e-mail, DNS, DNSSEC) จาก กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2560 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ การประชุมวิชาการ KU Data Science Forum Workshop ครั้ ง ที่ 1 : ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็น ประธานเปิดการประชุมวิชาการ KU Data Science Forum Workshop ครั้งที่ 1 เพื่อแนะน�ำส่งเสริมและ การประยุกต์ใช้ข้อมูลในสาขา Data Science รวม ทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางงานวิจัย ส�ำหรับคณาจารย์และนักวิจัยระหว่างหน่วยงานของ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ สอดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ หลักของมหาวิทยาลัยในการสร้างความเข้มแข็งด้าน วิทยาการข้อมูล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ณ คณะสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
โครงการอบรมการประยุ ก ต์ ใ ช้ วิทยาศาสตร์ข้อมูลเพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขัน (Apply Data Science for Building Competitive Advantage) : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยส�ำนัก บริการคอมพิวเตอร์จัดโครงการอบรมการประยุกต์ใช้ วิทยาศาสตร์ข้อมูลเพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขัน (Apply Data Science for Building Competitive Advantage) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและประยุกต์ ใช้วิทยาศาสตร์ข้อมูล ในระดับผู้บริหารและบุคลากร ด้านดิจิทัลขององค์กร ณ ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ จ�ำนวน 3 รุ่น เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2561 และวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 การสั ม มนา IT Workshop ครั้ ง ที่ 1 : มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โดยส� ำ นั ก บริการคอมพิวเตอร์ ร่วมกับ บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้จัดงานสัมมนา IT Workshop ครั้งที่ 1 หัวข้อ “การศึกษาไทยกับเทคโนโลยี 4.0" เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2561 ณ ส�ำนักบริการ คอมพิวเตอร์ การบริการระบบลงนามดิจิทัลผ่านบัตร ประชาชนแบบสมาร์ทการ์ด : ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ ร่วมให้บริการระบบลงนามดิจิทัลผ่านบัตรประชาชน แบบสมาร์ ท การ์ ด เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 85 พรรษา 12 สิงหาคม 2560 สมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มก. จากความร่วมมือระหว่างกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ โดยฝ่ายระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย และระบบลงนามดิจิทัลพัฒนาโดยฝ่าย ระบบสารสนเทศ โครงการสัมมนา Digital KU Seminar : ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์จัดโครงการสัมมนา Digital
KU Seminar หัวข้อ "การคุม้ ครองข้อมูลส่วนตัวอย่างถูก ต้องบนโลกไซเบอร์ " ให้แก่บุคลากรและผู้สนใจ เมื่อวัน ศุกร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารส�ำนักบริการ คอมพิวเตอร์
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดอันดับเว็บไซต์มหาวิทยาลัย International Colleges & Universities : 4icu.org จากการจัดอันดับเว็บไซต์มหาวิทยาลัยยอด นิยมระดับโลกทีม่ กี ารสืบค้น และเข้าชมมากทีส่ ดุ ตลอด ระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา “The 2018 University Web Rankings : Top 200 Universities in the World” โดย 4 International Colleges & Universities หรือ 4ICU.org ซึ่งจัดอันดับความนิยมในการเข้าติดตามชม เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย และวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก ใน 200 ประเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับจัด อันดับอยู่ในอันดับที่ 2 ของประเทศ จากมหาวิทยาลัย ไทย 121 แห่งที่ได้รับการจัดอันดับ อยู่ในอันดับที่ 112 ของเอเชีย จาก TOP 200 Asia และอยู่ในอันดับที่ 563 ของโลก จากมหาวิทยาลัย และวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก 13,000 แห่ง การจัดอันดับเว็บไซต์มหาวิทยาลัย Cybermetric Lab การจัดอันดับของ Cybermetric Lab กลุ่ม วิจยั ของ the Consejo Superior de Investigaciones Cientificas (CSIC) ได้ด�ำเนินการจัดอันดับสมรรถนะ ของมหาวิ ท ยาลั ย บนโลกอิ น เตอร์ เ น็ ต ตามเกณฑ์ Webometric ในภาพรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยู่ในอันดับ 4 ของไทย อันดับที่ 156 ของเอเชียและ อันดับที่ 772 ของโลก ในเกณฑ์ จั ดอั น ดั บ เกี่ ย วกั บ
IMPACT (VISIBILITY) คือผู้ให้บริการข้อมูลจ�ำนวน ลิงค์ภายนอก ที่ลิงค์เข้ามาเว็บไซต์มหาวิทยาลัย โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อยู่ในอันดับที่ 1 ของไทย และเกณฑ์จัดอันดับเกี่ยวกับ PRESENCE คือการวัด จ�ำนวนหน้าเว็บเพจของมหาวิทยาลัยภายใต้โดเมน ซึ่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้เป็นอันดับ 1 ของไทย
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
091
8
092
วิเทศสัมพันธ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยกองวิเทศสัมพันธ์เป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินงานในการ สร้างความร่วมมือทางวิชาการ การวิจยั และการแลกเปลีย่ นคณาจารย์ บุคลากร นิสติ และนักศึกษา รวมทั้งกิจกรรมอื่นๆ กับนานาชาติ การแสวงหาแหล่งทุนสนับสนุนการศึกษา และการจัดการ ข้อมูลสารสนเทศต่างประเทศในรูปแบบศูนย์เครือข่ายฐานข้อมูล เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์สู่ความเป็นสากล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร. บัญชา ชิณศรี รักษาการแทนผูช้ ว่ ย อธิการบดี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สมชัย อนุสนธิพ์ รเพิม่ หั ว หน้ า ภาคปฐพี วิ ท ยา คณะเกษตร และรอง ศาสตราจารย์ ดร. พงศ์ศกั ดิ์ หนูพนั ธ์ ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ให้ การต้ อนรั บ คณะนักวิชาการจาก Cranfield University สหราช อาณาจักร จ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย Dr. Robert SIMMONS, Senior Lecture in Soil Erosion and Conservation; Dr. Sofia KOURNPETLI, Lecture in Plant Sciences, Cranfield Soil and Agrifood Institute; Dr. Trista HUANG, International Development Manager, International Office ในโอกาสเยื อ นมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โดย วัตถุประสงค์ของการเยือนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งนี้ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และหารือความเป็นไป ได้ในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการร่วมกันในด้าน Tropical Agricultural and Engineering เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร. สุตเขตต์ นาคะเสถียร คณบดีคณะ เกษตร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดลฤดี ใจสุทธิ์ รองคณบดี ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ คณะเกษตร และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มาศอุ บ ล ทองงาม รองหั ว หน้ า ภาควิ ช าฝ่ า ย บริหาร ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร ให้การต้อนรับผู้แทนจาก China Agricultural University คือ Mr. Shuntang GUO, Associate Dean of the College of Food Science and Nutritional Engineering ในโอกาส เยือนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ หารือเกี่ยวกับแนวทางการด�ำเนินกิจกรรมความร่วมมือ ทางวิชาการระหว่างสองมหาวิทยาลัย ภายหลังจากการ ลงนามในข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการในการจัดตัง้ Sino-Thailand Food Science and Technology Research Center เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โดย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ บั ญ ชา ชิ ณ ศรี รั ก ษาการแทน ผู้ช่วยอธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดลฤดี ใจสุทธิ์ ร อ ง ค ณ บ ดี ฝ ่ า ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ ์ ค ณ ะ เ ก ษ ต ร
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุรางค์ เห็นสว่าง รองคณบดีฝา่ ย บริการการศึกษาและสือ่ สาร ดร.ณัฐกานต์ ทวีวฒ ั นเศรษฐ์ ภาควิ ช าภาษาตะวั น ออก คณะมนุ ษ ยศาสตร์ และ คุณสรวุฒิ ชนะศัตรู เจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัย ร่วม ให้การต้อนรับคณะผู้แทนจาก Hainan University สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น จ� ำ นวน 5 ท่ า น ได้ แ ก่ Professor Dr. HU Xinwen, Vice President; Dr. YANG Zhixin, Deputy Director, Division of International Cooperation & Exchange; Dr. LIAO Jianhe, Director, Postgraduate Office; Dr. LIU Fusheng, Dean, College of Humanities and Communications และ Dr. TAN Zhenghong, Deputy Dean, Institute of Tropical Agriculture and Forestry เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ในการ แลกเปลีย่ นข้อมูลและหารือเกีย่ วกับการพัฒนากิจกรรม ความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้กรอบบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ซึ่ง ได้มีการลงนามร่วมกันเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2560
ทุนการศึกษาและการวิจัย โครงการแลก เปลี่ยนและฝึกอบรมจากต่างประเทศ ปีงบประมาณ 2560 ทุนศึกษาและวิจัย 1. ทุ น ที่ ด� ำ เนิ น การผ่ า นส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) ได้แก่ โครงการภายใต้ ความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปะ ระหว่างไทยกับออสเตรีย (ASEA-UNINET) เช่น ทุน การศึกษาระดับปริญญาเอกและทุนวิจยั หลังปริญญาเอก Technology Grants เป็นต้น 2. ทุนจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ หรือองค์การต่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นทุนในสาขา วิชาที่เกี่ยวข้องกับทางด้านเกษตรกรรม ประมง ป่าไม้ สิ่ ง แวดล้ อ ม วิ ศ วกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และ
อุตสาหกรรมเกษตร นอกจากนี้ ยังมีทุนให้กับนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อไปศึกษาต่อในระดับ ปริญญาตรี ณ Tokyo University of Agriculture (TUA) ประเทศญี่ปุ่น เป็นระยะเวลา 4 ปี ในสาขา International Bio-Business Studies และหากผล การศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดีมาก จะได้รับการพิจารณาให้ ได้รับทุนเพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และปริญญา เอกต่อไป ในปีงบประมาณ 2560 มีทุนศึกษา/วิจัย จาก สถาบันการศึกษาต่างประเทศหรือองค์การต่างประเทศ จ�ำนวน 13 โครงการ เป็นโครงการจากประเทศญี่ปุ่น 10 โครงการ สาธารณรัฐประชาชนจีน 1 โครงการ และ สาธารณรัฐจีน(ไต้หวัน) 2 โครงการ โดยมีผู้ผ่านการคัด เลือกได้รับทุนจ�ำนวน 14 คน ไม่ผ่านการคัดเลือก 2 คน และ ไม่ทราบผลเนือ่ งจากผลแจ้งโดยตรงทีผ่ สู้ มัคร 5 คน โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนิสิต 1. โครงการที่ด�ำเนินการผ่านส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) มีดังนี้ (1) โครงการแลกเปลี่ ย นคณาจารย์ ภ าย ใต้โครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทยกับ ออสเตรีย (ASEA-UNINET) (2) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ASEM – DUO Fellowship Program (DUO-Thailand) 2. โครงการจากสถาบันการศึกษาคู่สัญญา หรือองค์กร ต่างประเทศ (1) ทุ น แลกเ ปลี่ ย นส� ำ หรั บ นิ สิ ต ใน มหาวิ ท ยาลั ย ภู มิ ภ าค Global Undergraduate Exchange Program ประจ� ำ ปี 2560 ประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า โดยกระทรวงการต่ า งประเทศของ ประเทศสหรัฐอเมริกา (2) โครงการแลกเปลีย่ นนักศึกษา Program for Academic Exchange (PAX) ประจ�ำปีการศึกษา 2560 – 2561 ณ National Chung Hsing University ประเทศสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) (3) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ประจ�ำ
วิเทศสัมพันธ์
093
094
ปี 2560-2561 ณ ประเทศเกาหลี จ�ำนวน 1 โครงการ ได้แก่ Kangwon National University (4) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ประจ�ำ ปี 2560-2561 ณ ประเทศญี่ปุ่น จ�ำนวน 12 โครงการ ได้แก่ Kagoshima University, Osaka University, Kumamoto University, University of Fukui, Kyoto University, Shizuoka University, Kansai University, Utsunomiya University, Gifu University, Shinshu
University, Niigata University และ Mie University (5) โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชน ASEAN - India Student Exchange Programme 2016 ประเทศอินเดีย (6) โครงการแลกเปลี่ยนนิสิตและบุคลากร ภายใต้โครงการ Mevlana Enchange Programme ร่วมกับสถาบันการศึกษา 15 แห่ง ในภูมิภาคยุโรป
กิจกรรมระดับนานาชาติของบุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การประชุมอธิการบดีระดับนานาชาติ ในวาระครบรอบ 75 ปี มก.
มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ จั ด ประชุ ม อธิการบดีนานาชาติ เฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 75 ปี วันสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีการจัด ประชุม และเสวนาในหัวข้อ “Higher Education in Time of Change” เพื่อเป็นการกระชับความสัมพันธ์ อันดีระหว่างอาจารย์ บุคลากร นิสิต ของมหาวิทยาลัย
ทั้งในและต่างประเทศ รวม 77 แห่ง ใน13 ประเทศ ได้แก่ ฟินแลนด์ เวียดนาม นิวซีแลนด์ อิตาลี อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ พม่า ลาว รวมถึง เอกอัคราชทูตและผู้แทน จาก 5 ประเทศ โดยในงานแบ่งออกเป็นส่วนหลักได้แก่ ส่วนแรก การบรรยายปาฐกถาพิเศษเกีย่ วกับทิศทางของ แวดวงการศึกษา การวิจยั อย่างยัง่ ยืน และความรับผิดชอบ
ต่ อ สั ง คมของมหาวิ ท ยาลั ย ส่ ว นที่ 2 President’s Session เป็นเวทีเสวนาส�ำหรับอธิการบดีเพื่อร่วมพูด คุยแลกเปลี่ยนทัศนะเกี่ยวกับการรั บมื อของสถาบั น อุดมศึกษาต่อการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วในบริบทโลก นอกจากนี้ ใ นวั น ที่ 2 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมลงนามความ ร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับมหาวิทยาลัยพันธมิตร 7 แห่ง ได้แก่ Università Politecnica delle Marche จากสาธารณรัฐอิตาลี Yamaguchi University จาก ประเทศญี่ปุ่น China Agricultural University จาก สาธารณรัฐประชาชนจีน Yangzhou University จาก สาธารณรัฐประชาชนจีน Massey University จาก ประเทศนิวซีแลนด์ National Pingtung University of Science and Technology จากประเทศไต้หวัน และ Savannakhet University จากสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว การประชุม HOPE Meeting ครั้งที่ 10 ในสาขา ฟิสิกส์ เคมี สรีรวิทยา/แพทยศาสตร์ และสาขาอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง ณ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 – 15 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดย องค์การส่งเสริมวิชาการแห่งประเทศ ญี่ปุ่น และส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ทุ น สนั บ สนุ น กิ จ กรรมทางวิ ช าการ Special Project Fund (SPF) 2017 โดย The Academic Consortium for the 21st Century (AC21) โครงการสัมมนานักศึกษานานาชาติ The 17th International Students Summit เมื่อวันที่ 21 -27 กันยายน พ.ศ. 2560 National Chung Hsing University สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
การพัฒนาบุคลากรและนิสิต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มี น โยบายใน การพัฒนาคุณภาพบุคลากรและนิสิต รวมทั้งเสริมสร้าง
สมรรถนะสากลในด้านความรู้และทักษะให้มีมาตรฐาน และบทบาทในเวทีระดับนานาชาติ อาทิ ศูนย์สง่ เสริมการพัฒนานิสติ สูส่ ากล KU International HUB: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิด ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนานิสิตสู่สากล KU International HUB ตั้งอยู่ที่อาคารศูนย์เรียนรวม 1 เพื่อเป็นแหล่ง ศู น ย์ ก ลางการบริ ห ารข้ อ มู ล ด้ า นการศึ ก ษาในต่ า ง ประเทศ และเป็นพื้นที่ส�ำหรับการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น ความรู้ประสบการณ์ ตลอดจนแลกเปลี่ยน วัฒนธรรมระหว่างนิสิตชาวไทยและนิสิตนานาชาติ โครงการเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพนิ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ สู ่ ส ากล มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ได้ด�ำเนินกิจกรรมส่งเสริมความเป็น มหาวิทยาลัยไปสูค่ วามเป็นนานาชาติ โดยจัดท�ำโครงการ เสริมสร้างศักยภาพนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่สากล ประจ�ำปีประมาณ พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย โครงการย่อย 5 โครงการได้แก่ โครงการที่ 1 แลกเปลีย่ นนิสติ ระดับปริญญาตรี โดยการถ่ายโอนหน่วยกิต โครงการที่ 2 พัฒนาศักยภาพด้านการต่าง ประเทศของนิสิตระดับปริญญาตรี โครงการที่ 3 ส่งเสริมการผลิตบทความทาง วิชาการระดับบัณฑิตศึกษา โครงการที่ 4 พัฒนาศักยภาพด้านการต่าง ประเทศของนิสิตระดับปริญญาตรี โครงการที่ 5 ความร่วมมือทางวิชาการกับ หน่วยงานคู่สัญญาในต่างประเทศ ในปีการศึกษา 2560 มีนสิ ติ ต่างชาติและนิสติ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับทุนจากโครงการ เสริมสร้างศักยภาพนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สู่ สากล จ�ำนวน 183 ราย แบ่งเป็น นักศึกษาต่างประเทศ จ�ำนวน 19 ราย และนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำนวน 164 ราย ดังนี้
วิเทศสัมพันธ์
095
096
จ�ำนวนนิสิตที่ได้รับทุนจากโครงการเสริมสร้างศักยภาพนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์สู่สากล ปี 2560 (Outbound) ประเทศ
จ�ำนวน (คน)
ประเทศ
จ�ำนวน (คน)
เครือรัฐออสเตรเลีย
1
นิวซีแลนด์
10
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
9
ราชอาณาจักรเบลเยียม
1
ราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์
6
สาธารณรัฐโปรตุเกส
5
ราชอาณาจักรสวีเดน
1
สาธารณรัฐสิงคโปร์
10
สาธารณรัฐประชาชนจีน
14
สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
26
สาธารณรัฐฝรั่งเศส
13
1
สหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี
17
สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่และ ไอร์แลนด์เหนือ สหรัฐอเมริกา
8
ญี่ปุ่น
29
4
สาธารณรัฐเกาหลี
9
สาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม รวม 164
จ�ำนวนนิสิตต่างชาติที่มาศึกษาและวิจัยในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตาม โครงการแลกเปลี่ยนภายใต้ MOU ปี 2560 (Inbound) ประเทศ
จ�ำนวน (คน)
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
4
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
14
สาธารณรัฐเช็ก
1 รวม 19
วิเทศสัมพันธ์
097
9
098
การเชิดชูเกียรติ
ปณิธาน (Philosophy)
เกษตราภิชาน 1. ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ด้วยทรง พระปรีชาสามารถ ทรงความรู้ในวิชาการเกษตรอย่าง ลึ ก ซึ่ ง และโดดเด่ น โดยมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ขอพระราชทานพระอนุญาตทูลเกล้าฯ ถวายการสดุดี เทิดพระเกียรติ “เกษตราภิชาน” แด่ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าลงกรณ์ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เป็นพระองค์แรก เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2560 ในงานพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2559 ณ อาคาร จักรพันธ์เพ็ญศิริ 2. ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เป็น บุคคลที่มีความรอบรู้อย่างแท้จริงในศาสตร์การเกษตร เป็นที่ประจักษ์และยอมรับ โดยใช้ “ศาสตร์” และ “ศิลป์” เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคมและประเทศ ชาติให้มั่นคง มั่งคั่ง เข็มแข็ง และยั่งยืน มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มอบประกาศเชิดชูเกียรติ เกษตราภิชาน แด่ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ในอายุวัฒนา มงคล ครบรอบ 99 ปี วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2561
ราชบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี ลิ่มทอง ได้รับ การโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิต ประเภทวิชา วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สาขาวิชาจุลชีววิทยา ส�ำนัก วิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2561
099
มูลนิธิมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2524 ด้วยเจตนารมณ์ที่จะเสริม สร้างและสนับสนุนกิจกรรมอันเป็นสาธารณกุศลและเป็นประโยชน์ตอ่ สังคมในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ด้านการเกษตรและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตามแนวทางปรัชญาของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ โดยมีอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า จักรพันธ์เพ็ญศิริ ในขณะทรงฐานันดรศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ทรงเป็นองค์ ประธาน คณะกรรมการจัดตั้งร่วมกับอดีตอธิการบดีศาสตราจารย์พิเศษอินทรี จันทรสถิตย์ เป็น รองประธานกรรมการและอดีตอธิการบดี ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ เป็นกรรมการและ เลขาธิการ ปัจจุบันมูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นองค์กรสาธารณกุศลล�ำดับที่ 46 ที่ได้รับ การยกเว้นภาษีจากกรมสรรพากร มีคณะกรรมการบริหาร 13 ท่าน คือ 1. ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร ประธานกรรมการ (นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 2. รศ.คุณหญิงสุชาดา ศรีเพ็ญ รองประธานกรรมการ 3. รศ.ไพบูลย์ ไพรีพ่ายฤทธิ์ กรรมการ 4. ศ.ดร.ธีระ สูตะบุตร กรรมการ 5. รศ.ดร. สงคราม ธรรมมิญช กรรมการ 6. รศ.ดร.พีรเดช ทองอ�ำไพ กรรมการ 7. ผศ.อนุพร สุวรรณวาจกกสิกิจ กรรมการ 8. รศ.ดร.ยงยุทธ โอสถสภา กรรมการ 9. นายเปรม ณ สงขลา กรรมการ 10. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการ 11. ศ.ดร.สรสิทธิ์ วัชโรทยาน กรรมการ 12. ผศ.วิมล รอดเพ็ชร กรรมการและเหรัญญิก 13. ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ กรรมการและเลขาธิการ (รักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) โดยมี ผศ.อนุพร สุวรรณวาจกกสิกจิ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูจ้ ดั การ และนางประวีรร์ ชั ย์ เลาหบูรณะกิจ เป็นผู้ช่วยผู้จัดการ
100
สถานที่ตั้งของมูลนิธิ มูลนิธมิ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบนั มี ส�ำนักงานอยูท่ ชี่ นั้ 8 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 5790113 ต่อ 4826 หรือ โทรสายตรง และโทรสาร 02-9428165 , โทรมือถือ 086-0875904
วัตถุประสงค์ของมูลนิธิ 1. ให้การฝึกอบรมด้านการเพาะปลูกและ การเลี้ยงสัตว์แก่บุตรเกษตรกรทั่วประเทศ 2. สงเคราะห์การศึกษา เทคโนโลยี และ วิชาการที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนด้านการเกษตร 3. ร่วมมือกับองค์การการกุศลต่างๆ และ สถาบันการศึกษาอื่นๆเพื่อการสังคมสงเคราะห์ และ สาธารณประโยชน์อื่นๆ 4. ไม่ ด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ การเมื อ งแต่ ประการใด
การด�ำเนินงานของมูลนิธิ ท�ำการระดมเงินจัดตัง้ เป็นกองทุนโดยน�ำผล ประโยชน์จากกองทุนไปใช้เพื่อประกอบกิจกรรมการ กุศล และสาธารณประโยชน์ในกรอบของวัตถุประสงค์ ข้างต้น โดยเน้นกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งหรือหลาย กิจกรรมตามเจตนารมณ์ของผู้บริจาคจัดตั้งกองทุน นั บ ถึ ง เดื อ นมิ ถุ น ายน 2561 มู ล นิ ธิ ฯ มี กองทุนที่อยู่ในความดูแล 216 กองทุน เพิ่มขึ้นจาก เดือนกรกฎาคม 2560 อีก 7 กองทุน มียอดเงินรวม ทั้งสิ้น 115,719,474 บาท แบ่งเป็นยอดเงินกองทุน 100,759,866.-บาท เป็นดอกผลและดอกผลสะสม รวม 14,959,608.-บาท และทรัพย์สนิ อืน่ มีมลู ค่า 244,260.บาท กองทุนทัง้ 216 ด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ ของผู้จัดตั้ง ซึ่งทั้งหมดล้วนมีเจตนาที่จะช่วยเหลือการ ศึกษา และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มูลนิธิมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ น�ำดอกผลที่เกิดจากกองทุนเหล่านี้จัด เป็นทุนช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของแต่ละ กองทุน แต่ดอกผลที่ได้รับยังไม่พอกับการให้ความช่วย เหลือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านทุนการศึกษานิสิต และ บุตรเกษตรกรทีข่ าดแคลน รวมทัง้ เกษตรกรทีด่ อ้ ยโอกาส ให้ได้มีโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาอาชีพ มูลนิธิ จึงยังต้องการเงินทุนอีกเป็นจ�ำนวนมากเพื่อดอกผลที่ เพิ่มขึ้นจะให้ความช่วยเหลือได้มากขึ้น ในขณะนี้มูลนิธิ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด�ำเนินการอยู่ใน 4 ระดับ คือ ระดับที่ 1 อุดหนุนการวิจัยและการศึกษา ระดับสูง มูลนิธฯิ จะให้ทนุ อุดหนุนการวิจยั และการศึกษา ระดับสูงแก่ อาจารย์ และนักวิจัย โดยจะพิจารณาให้ได้ ตามที่เจ้าของทุนได้ระบุเอาไว้ ซึ่งส่วนมาก มักจะระบุ สาขาเฉพาะ ดังตัวอย่างกองทุนทีแ่ สดงไว้ เช่น ปฐพีวทิ ยา สัตวบาล กีฏวิทยา เป็นต้น ระดับที่ 2 อุดหนุนการศึกษาของนิสิต ซึ่ง เจ้าของทุนมักจะให้กับนิสิตที่ขาดแคลน ทุนประเภทนี้ ทางมูลนิธิฯ ได้ปรับปรุงวิธีการให้ทุน จากที่นิสิตรับทุน อุดหนุนไปเฉย ๆ มาเป็นให้นิสิตท�ำงานตอบแทนตาม ความสามารถของนิสติ แต่ละคน โดยให้ทำ� งานกับหน่วย งานต่างๆ ในมหาวิทยาลัยหรือท�ำกับอาจารย์ที่ปรึกษา ประจ�ำตัวนิสิตผู้นั้นและเปลี่ยนการจ่ายเงินให้จากราย ภาคการศึกษามาเป็นรายเดือน ในปี 2560 มูลนิธิฯ ได้ จัดทุนประเภทนี้ เป็นเงินทั้งสิ้น 2,136,441.- บาท ระดับที่ 3 อุดหนุนบุตรเกษตรกร โดยมุ่ง ไปยังเยาวชนที่ไม่สามารถเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา แต่มคี วามขยันหมัน่ เพียรและพร้อมทีจ่ ะประกอบอาชีพ เกษตรกรรม หรืออาชีพอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับการเกษตร และคาดหวังว่า เยาวชนเหล่านี้จะก่อร่างสร้างตัวอยู่ใน ภูมิล�ำเนาของตน ไม่ทิ้งถิ่นออกไปปล่อยให้ที่ดินรกร้าง หรือ แปลงสภาพจากเรือกสวนไร่นาไปเป็นอย่างอืน่ ทุน อุดหนุนระดับนีม้ ี กองทุนระเบียบ คุณะเกษม เพือ่ บุตร เกษตรกร เป็นกองทุนหลัก และมูลนิธิฯ ด�ำเนินการร่วม กับศูนย์สง่ เสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ ในชือ่
โครงการ โรงเรียนบุตรเกษตรกร เปิดโอกาสให้เยาวชน มูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เริ่มจัด ทัว่ ทุกภูมภิ าคเข้ามารับการฝึกอบรม ณ มหาวิทยาลัย ท�ำโครงการสร้างผูเ้ ชีย่ วชาญมาตัง้ แต่ปี 2539 และก�ำลัง เกษตรศาสตร์ ในหลักสูตรต่างๆ เช่น การเพาะเลี้ยง รณรงค์หาทุนเพื่อเป็นทุนด�ำเนินการต่อไป ปลาน�้ำจืด การท�ำการเกษตรแบบผสมผสาน การขยาย พันธุพ์ ชื เชิงธุรกิจ การจัดสวนมะม่วง และอืน่ ๆ ในแต่ละ หลักสูตร ใช้เวลาฝึกอบรมประมาณ 1 สัปดาห์ โดยผู้รับ การฝึกอบรมจะต้องจ่ายค่าพาหนะและค่าอาหารของ ตนเอง ส่วนมูลนิธิฯ จะออกค่าใช้จ่ายในเรื่องเกี่ยวกับ การฝึกอบรม วัสดุฝึก รวมทั้งที่พักด้วย แต่ละหลักสูตร แต่ละรุน่ จะรับประมาณ 40 คน โดยในปี 2560 อุดหนุน 400,000 บาท ระดับที่ 4 อุดหนุนเกษตรกร มูลนิธิฯ ได้ จัดท�ำโครงการสร้างผู้เชี่ยวชาญประจ�ำหมู่บ้าน โดยเล็ง เห็นว่า ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และยอมรับกันว่าอาชีพเกษตรกรรมมีราย ได้น้อยกว่าอาชีพอื่น นอกจากมีรายได้น้อยแล้วยังมี ความเสี่ยงมากกับภัยธรรมชาติต่าง ๆ เช่น ฝนแล้ง น�้ำ ท่วม ศัตรูพชื ระบาด รวมทัง้ ยังต้องเสีย่ งกับราคาผลผลิต ด้วย เพราะบ่อยครั้งที่ผลิตผลขายได้ราคาต�่ำกว่าต้นทุน หนี้สินพอกพูนขึ้นท�ำให้คนหนุ่มสาวจ�ำต้องอพยพเข้า เมืองเพือ่ หารายได้เลีย้ งปากเลีย้ งท้องตนเอง และส่งกลับ ไปจุนเจือครอบครัว
การสร้างผู้เชี่ยวชาญประจ�ำหมู่บ้าน เป็นโครงการชักน�ำให้เกษตรกร ที่ขยันขันแข็งและเฉลียวฉลาดไม่ละทิ้งเรือกสวนไร่นาและสามารถ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมต่อไปได้อย่างมั่นคง อันจะเป็นแบบอย่าง ให้เกษตรกรและบุตรเกษตรกรในหมู่บ้านของตนและหมู่บ้านใกล้เคียง ที่รักความก้าวหน้าในการท�ำมาหากิน ได้รู้ ได้เห็น จนเกิดความเชื่อมั่น ว่า สามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมสืบทอดต่อไปได้อย่างมัน่ คง และ มีความสุข ไม่จ�ำเป็นต้องอพยพทิ้งถิ่นไป
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
101
102
กองทุนของมูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 216 กองทุน กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
ทั่วไป (2524)
2,612,484
ทุนด�ำเนินงานและกิจกรรมทั่วไป
ระเบียบคุณะเกษมเพื่อบุตร เกษตรกร (2526)
4,275,283
สนับสนุนการฝึกอบรมวิชาชีพ ด้านการเกษตรให้บุตรเกษตรกร
อินทรี จันทรสถิตย์ (2526) เงินกองทุน ทาวน์เฮาส์ 5 หลัง
2,302,830
ทุนด�ำเนินงานและกิจกรรมทั่วไป
ศ.เริ่ม บูรณฤกษ์ (2527)
476,995
ทุนวิจัยทางวิชาการเกี่ยวกับดิน และปุ๋ยและมะนาวพันธุ์ตาฮิติ
มจ.จักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ (2527)
253,643
ทุนการศึกษา
ศ.ดร.สุชีพ รัตรสาร (2527)
1,135,441
ทุนการศึกษาด้านสัตวบาล
จิโร ซูงิ(2528)
211,003
ทุนอุดหนุนการวิจัย
ไพรัตน์ พรหมมาแบน (2529)
22.772
ทุนการศึกษา
รสลิน คัคณางค์ (2529)
939,247
ทุนจัดพิมพ์หนังสือความรู้ด้าน การเกษตร
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย (2531)
535,245
สนับสนุนการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาวิชาการสัตวบาลและ สนับสนุนการด�ำเนินงานของ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย ในกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนา วิชาการด้านการปศุสัตว์
ศ.ดร.สุธรรม อารีกุล (2531)
655,719
สนับสนุนการศึกษาและวิจัยด้าน กีฏวิทยา
ศ.ดร.สรสิทธิ์ วัชโรทยาน (2532)
2,658,528
ทุนการศึกษานิสิตปฐพีวิทยาและ สนับสนุนกิจกรรมเพื่อการศึกษา วิจัยการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผลงานด้านปฐพีวิทยา
Mrs.Eunice Horn Ream (2532)
165,905
ทุนการศึกษานิสิต คหกรรมศาสตร์
ศ.จักร โชติศาลิกร (2532)
185,777
ทุนการศึกษานิสติ ภาควิชาพืชไร่นา และภาควิชาพืชสวน
เกษตรสุวรรณ (2532)
431,806
ทุนสนับสนุนและส่งเสริมงานวิจัย ด้านสัตว์ปีก
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
103
104
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.นฤดม บุญ-หลง (2532)
1,175,914
สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรม ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมเกษตรของประเทศ
ศ.ดร.สาโรช-เจ้าประยงค์ มนตระกูล (2533)
1,289,104
ทุนการศึกษา และรางวัลแก่นิสิต เก่าสาขาปฐพีวิทยาที่มีความ ส�ำเร็จในการประกอบอาชีพ และ ประพฤติตนเป็นประโยชน์ต่อ วงการเกษตรและเป็นเยี่ยงอย่าง แก่นิสิตและบุคคลอื่น ๆ
ฝ่ายแสดงทางวิชาการปี 28 (2533)
90,644
ทุนการศึกษา
สาธิตเกษตรบางเขน (2533)
913,889
สนับสนุนส่งเสริมกิจกรรม ทางการศึกษาของโรงเรียน สาธิตฯและเป็นทุนและสวัสดิการ ของนักเรียน
จิรกิติ (2534)
1,690,759
ทุนวิจัยให้นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเกษตร
กวี และน.ส.จิตติมา วิสุทธารมณ์
140,588
ทุนการศึกษา
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
ศ.ดร.ไพฑูรย์-จารุวัณณ์ อิงคสุวรรณ (2534)
321,344
ทุนสนับสนุนการบริหารงานและ ส่งเสริมความรู้แก่เยาวชน
ดร.สมโภช สุวรรณวงศ์ (2535)
219,276
ทุนการศึกษาด้านปฐพีวิทยา
สกุลอิสริยาภรณ์ (2535)
170,714
ทุนนิสิตสาขาวิชาวิทยาการสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมเกษตร
พล.อ.อ.บัญชา เมฆวิชัย (2535)
200,840
ทุนช่วยเหลือนิสิตที่ประสบ อุบัติภัย และภัยพิบัติต่าง ๆ
เกษตร รุ่น11 (2535)
366,533
ทุนการศึกษา
ปฐพีวิทยา (2535)
1,399,338
ทุนการศึกษาด้านปฐพีวิทยา
ผศ.สุราษฎร์ กุฏอินทร์ (2535)
95,399
ทุนและรางวัลแก่นิสิตสาขา จุลชีววิทยา
ภาควิชาสัตวบาล (2536)
454,715
ทุนการศึกษาด้านสัตวบาล
ศ.มรว.ชวนิศนดากร วรวรรณ (2536)
562,269
ทุนการศึกษาด้านสัตวบาล
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
105
106
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรม การเกษตรแห่งชาติ (2536)
742,590
เพื่อด�ำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ด้านการส่งเสริมเผยแพร่ ทางการเกษตร
อ.บุญถม ไวทยานุวัตติ (2536)
356,585
ทุนการศึกษาด้านสัตวบาล
ดร.ประยงค์ วนิชสุวรรณ (2536)
532,454
ทุนการศึกษาด้านสัตวบาล
ยูเค ฟิดมิลล์ (นายอ�่ำ คันโธ)
693,363
ทุนด้านสัตวบาล
สุขประชา วาจานนท์ (2536)
818,423
ทุนนิสิตภาควิชาเคมี
ผศ.นาม-กอบกุล ศิริเสถียร (2536)
768,666
ทุนการศึกษาด้านสัตวบาล
นิสิตเก่าเกษตร รุ่น 15 (2537)
1,299,599
ทุนการศึกษานิสิตขาดแคลน
โช-ดวงพร ต่วนทอง (2538)
125,666
ทุนการศึกษาด้านสัตวบาล
Saito(2538)
507,090
ทุนวิจัย
กีฏวิทยา (2538)
371,554
ทุนด้านกีฏวิทยา
ศ.นภา โล่ห์ทอง (2538)
421,764
ทุนนิสิตสาขาจุลชีววิทยา
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.ชูจิตต์-ศ.ดร.สุชีพ รัตรสาร (2538)
220,924
ทุนนิสิตสาขาพลศึกษา
รศ.ดร.ส�ำเนาว์-รศ.ดร.บุญเรียง ขจรศิลป์
235,987
ทุนการศึกษานิสิตขาดแคลน
ดร.อุดม วังตาล (2539)
457,066
ทุนด้านสัตวบาล
สะอาด-วิสูตร ช่วยณรงค์
335,134
ทุนด้านสัตวบาล
ผศ.พิมล อารีกุล ( 2539 )
1,461,111
ทุนด้านวิทยาการสิ่งทอ
ศ.ธรรมศักดิ์-พิมพรรณ สมมาตย์ KU28
718,003
ทุนการศึกษา นิสิต ปริญญาตรี ทุกสาขาวิชา (ถ้าจ�ำเป็นให้เน้น คณะเกษตร ก่อน)
ดร.สันทัด โรจนสุนทรและศิษย์ (2540)
1,067,648
ทุนด้านปฐพีวิทยา
สร้างผู้เชี่ยวชาญประจ�ำหมู่บ้าน (2540)
43,676
พัฒนาเกษตรกรให้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน
ศ.ดร.จรัญ จันทลักขณา(2540)
1,491,202
ทุนด้านสัตวบาล
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
107
108
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
กองทุนการศึกษา EX-MBA KU.7 (2540)
181,256
ทุนการศึกษา
สุภาพพันธุ์(2540)
125,525
ทุนการศึกษา
คุณพ่อฮกเอี่ยม แซ่ตั้ง (สุรพัฒน์)(2540)
542,268
ทุนการศึกษานิสิตภาควิชา เทคโนโลยีการอาหาร
ผศ.ดร.ยงยุทธ เจียมไชยศรี (2540)
85,357
ทุนการศึกษา
ศ.ดร.จรัด สุนทรสิงห์ (2540)
412,400
ส่งเสริมการศึกษา และ เทคโนโลยีการเกษตร
รศ.ศรีอรุณ เรศานนท์ และศิษย์ EX-MBA (2540)
622,604
ทุนการศึกษา
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปรินายก(2540)
150,630
ทุนการศึกษา
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
ศ.ดร.ก�ำพล อดุลย์วิทย์( 2541)
1,007,620
ทุนการศึกษานิสิต สาขา 1. เศรษฐศาสตร์และทรัพยากร ปีละ 1 ทุน ๆ ละ 24,000.- บาท 2. นิสิตที่ได้คะแนนยอดเยี่ยมใน ชั้นปีที่ 1 ของคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์, สหกรณ์ และเกษตร-ทรัพยากร สาขาวิชาละ 1 ทุน ๆ ละ 5,000.-
ซีพี 888 (2541)
582,735
1.ทุนนิสิต ชั้นปี 4 ขัดสนทุน ภาควิชาพืช-ไร่นา 1ทุน/ปี 10,000.2.ทุนนิสิต ปี 4 ขัดสนทุน ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ 1 ทุน/ปี 10,000.3.ทุนด้านงานวิจัยการเกษตร 4.ทุนส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ ด้านเกษตร ของมก.
รศ.ดร.สมศักดิ์-ผศ.จุรีรัตน์ วัง ใน(2541)
252,056
ทุนการศึกษานิสิต ภาควิชาปฐพีวิทยา
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
109
110
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
“ทุนพระเจ้าพรหมมหาราช” โดย รศ.วาสนา สิงหโกวินท์ (2541)
286,427
1.ทุนการศึกษานิสิตขาดแคลน ทุกคณะ 2.รางวัลส�ำหรับการเรียน การ วิจัย การค้นคว้าสิ่งประดิษฐ์ 3.ค่าใช้จ่ายการท�ำวิทยานิพนธ์ งานวิจัย,การศึกษาต่าง ๆ 4.ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมทาง วิชาการ
ผศ.ปรียา เกตุทัต (2541)
140,729
ทุนการศึกษานิสิต คหกรรมศาสตร์
คุณแม่ละออง-ศ.ดร.ช�ำนาญ ฉัตรแก้ว(2541)
593,129
1.ให้ทุนนิสิต ปริญญาโท ภ.พืชไร่นา ที่ศึกษาด้านปรับปรุง ข้าวโพด 2.เผยแพร่เกียรติคุณและให้ ความอนุเคราะห์ปูชนียบุคคลด้าน เกษตร 3.ร่วมมือกับองค์กรการกุศล อื่น ๆ เพื่อสาธารณะประโยชน์
คุณสุขสันต์ สุทธิผลไพบูลย์ (2542)
134,345
ทุนทดสอบประยุกต์ในภาคสนาม เกี่ยวกับการใช้สารธรรมชาติจาก พืชและจุลินทรีย์ในการป้องกัน
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
สุรพล-อังศุมาลย์ จันทราปัตย์ (2542)
206,546
อธิป พีชานนท์(2542)
141,382
ทุนการศึกษา
ศ.ประเสริฐ ณ นคร(2542)
461,848
ทุนการศึกษา
กองทุนวันเกิด(2542)
649,794
ทุนการศึกษา
ยกเลิกกองทุน
-
-
กองทุน สมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติ(2543)
101,064
ทุนการศึกษา,วิจัย ดูงาน ของ ภ.สัตวบาล และงานอื่น ๆ ที่ ภ.สัตวบาลเห็นสมควร
ก.สุธา อินทรชูโต(2543)
11,500
ทุนการศึกษา นิสิต คณะสถาปัตยกรรม
ก.ตั้งล่งเชียง(2543)
27,422
ทุนการศึกษา
ก.เกษตร มินิ เอ็มบีเอ รุ่น25
70,538
ทุนการศึกษา
ก�ำจัดโรคแมลงและวัชพืช 1.ทุนการศึกษานิสิตที่ศึกษาวิชา เอกดนตรีไทย ใน มก. 2.นิสิตที่ศึกษาในสาขาอื่นใน มก.แต่มีความสามารถด้าน ดนตรีไทย
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
111
112
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
(2543) ศิษย์ มก.รุ่น 14 (2543)
1,776,480
ทุนการศึกษา นิสิตและสนับสนุน การพัฒนาความรู้ของเกษตรกร ในสาขาเกี่ยวกับการเกษตร
ก.ศิษย์ มก.รุ่น 11 ถึง 15
131,361
ทุนการศึกษา
พระยาภะรตราชสุพิชฯ” โดย รศ.คุณหญิงสุชาดา ศรีเพ็ญ
141,477
ทุนการศึกษา นิสิต ภ.พฤกษศาสตร์ โดยมอบให้ ภาควิชาพิจารณา
ศิษย์ มก.รุ่น 5 และแม่โจ้รุ่น 10
11,574
ทุนการศึกษา
ศิษย์ มก.รุ่น 27
42,842
ทุนการศึกษา
วัชรเสถียร
33,885
ทุนการศึกษา
สามบูรพาจารย์
371,644
ทุนการศึกษา
จีรวัฒน์ ศาตะนิมิ
36,029
ทุนการศึกษา
Dr.Bobby L.Renfro 2542
693,115
ทุนการศึกษา
ดร.ประวิง ฐิตะวรรโณ
165,368
ทุนการศึกษา
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
คณบดี บว. (ศ.ธรรมศักดิ์ สมมาตย์ Ph.D.) 2539
864,112
ทุนการศึกษา นิสิตปริญญาโท, ปริญญาเอก ดีเด่น ของ บว.มก. ทุนการศึกษานิสิต ปริญญาโท, ปริญญาเอก ของ บว.ทุกสาขาวิชา ทุนการศึกษา วิจัย หรือกิจกรรม อื่นใดของอาจารย์, นิสิต บว.มก.
ศ.อ�ำนาจ สุวรรณฤทธิ์ (2544)
779,649
ทุนการศึกษานิสิตภาควิชา ปฐพีวิทยา
นิธิภูมิปัญญาอาวุโส (2544)
56,179
ทุนการศึกษา
รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ (2544)
32,770
ทุนการศึกษา
ดร.เกรียงศักดิ์ สุวรรณธราดล (2544)
109,918
ทุนการศึกษา
ชมรมเกษตรศาสตร์ แคลิฟอร์เนียภาคใต้ (2545)
165,724
ทุนการศึกษา
ศ.ดร.โสภิณ ทองปาน (2545)
139,074
ทุนวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
113
114
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
ดร.ยุกติ สาริกภูติ (2545)
356,633
ทุนการศึกษา เน้นสาขาวิชา ปฐพีวิทยา
อ.อรรณพ อุบลแย้ม(2545)
251,530
ทุนการศึกษา ภาควิชาภาษาไทย
พฤกษะศรี(2545)
52,555
ทุนการศึกษาภ.สัตวบาล
ศ.ดร.ทวี ญาณสุคนธ์(2545)
457,194
ทุนการศึกษา
วาสนา-วรวิทย์ วิทยาภิมัณฑน์ (2545)
213,305
ทุนการศึกษา คณะเกษตร
สมศรี-สวัสดิ์ อาตมางกูร(2545)
2,058,460
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
ผศ.ปรานอม พฤฒพงษ์(2545)
1,256,120
ทุนการศึกษา ภ.พืชสวน
เสรี-สมพร ทรัพยสาร(2545)
402,003
ทุนการศึกษา ภ.พืชสวน
ศ.ดร.ธีระ สูตะบุตร(2545)
4,887,116
แบ่งทุนการศึกษาเป็น 4 ส่วน ทุนนิสิต มก.สาขาโรคพืช 1 ส่วน ทุนตัวแทนนักกีฬา มก.1 ส่วน ทุนการศึกษาทั่วไป 2 ส่วน
ศ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์(2545)
1,698,272
ทุนการศึกษา ภ.ปฐพีวิทยา
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.ศรีสุวรรณ – นพวรรณ ชมชัย (2546)
181,103
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
ศ.เพ็ญวดี-รศ.สมเกียรติ ทิมพัฒน์พงศ์(2546)
103,429
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
Russell Yost(2546)
374,635
ทุนการศึกษา นิสติ จากประเทศลาว ที่ศึกษาใน มก.
นายห้อง-นางบุญเรือง อู่ธนา (2547)
266,539
ทุนการศึกษา สัตวบาล
อ�ำพล-ชีวันต์ เสนาณรงค์(2547)
1,061,585
ทุนการศึกษา
รศ.ศิวาพร ศิวเวชช(2547)
129,799
ทุนการศึกษา
ศ.ดร.บรรเจิด-อ.ไพพรรณ คติการ(2547)
635,964
ทุนการศึกษา
รศ.ประพันธ์ โกยสมบูรณ์(2547)
104,562
ทุนการศึกษา คณะวนศาสตร์
เกษตร รุ่น9(2547)
96,797
ทุนการศึกษา
อ.เสาวรัจ-ไพลิน นิตยวรรธนะ (2547)
1,133,131
ทุนการศึกษา
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
115
116
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
เกษตร รุ่น13 (2547)
163,330
ทุนการศึกษา
มจ.สิทธิพร กฤดากร (2547)
111,099
ทุนการศึกษา
หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ(2547)
220,099
ทุนการศึกษา
หลวงสมานวนกิจ(2547)
151,055
ทุนการศึกษา
ผศ.สมใจ อรุณศรีโสภณ(2547)
117,661
ทุนการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
คุณชนินทร์ บัวประเสริฐ(2547)
151,055
ทุนการศึกษา
ศิษย์ มก.รุ่น 25(2547)
117,661
ทุนการศึกษา
ศิษย์ มก.รุ่น 18(2547)
31,500
ทุนการศึกษา
รศ.วิชัย ก่อประดิษฐ์สกุล(2547)
42,042
ทุนการศึกษา
คุณชัยณรงค์ ณ ล�ำพูน(2548)
431,691
ทุนการศึกษา
ศ.ดร.สุรนันต์ สุภัทรพันธุ์(2548)
272,472
ทุนการศึกษา
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.ดร.วินิจ เจียมสกุล(2548)
402,320
ทุนการศึกษานิสิต คณะวิทยาศาสตร์ และนิสติ เรียนดี คณะวิทยาศาสตร์
รศ.ดร.อรอนงค์ นัยวิกุล(2548)
100,859
ทุนการศึกษานิสิต คณะอุตสาหกรรมเกษตร
Colin-Helen Brady(2548)
651,553
ทุนการศึกษา
Rizzi (2548)
69,277
ทุนการศึกษา
นายอุ้ย-ดร.ทวีศักดิ์ อู่หล�ำ (2548)
104,981
ทุนการศึกษา
วปรอ. 366 (2549)
52,383
ทุนการศึกษา
นายคูณวิวรรธน์ (เจสดา) จันทร์เสรีวัฒน์(2549)
261,092
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
อบ-บุญนาค พึ่งพันธุ์ (2549)
1,045,401
ทุนการศึกษา นิสิตภาควิชา ปฐพีวิทยา
สมก.เพื่อการศึกษาและวิจัย (2549)
605,105
ทุนการศึกษาและวิจัย
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
117
118
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.วิชัย หฤทัยธนาสันติ์(2549)
1,531,835
ทุนการศึกษานิสิต คณะอุตสาหกรรมเกษตร
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์(2550)
2,785,052
ทุนการศึกษานิสิต มก.และ สนับสนุนงานวิจัยนิสิต มก.
รศ.ดร.ไขแสง-วรางคณา รักวานิช(2550)
143,051
ทุนการศึกษานิสิต คณะเศรษฐศาสตร์
ฟื้นฟูกล้วยไม้เขาใหญ่ (2550)
125,834
ศึกษาฟื้นฟูกล้วยไม้บนเขาใหญ่ ปลูกฝังเยาวชนในการอนุรักษ์ ทรัพยากรในท้องถิ่น
ศ.ดร.สิทธา (วัชโรทยาน) พินิจภูวดล (2550)
333,118
ทุนการศึกษา
นายไพโรจน์ โสมนัส KU20 (2550)
415,641
ทุนการศึกษานิสิต
ผศ.ทัศนีย์ โรจนไพบูลย์(2550)
148,002
ทุนการศึกษา นิสิต คหกรรมศาสตร์
ภาควิชาคหกรรมศาสตร์(2550)
320,382
ทุนการศึกษา นิสิตภาควิชา คหกรรมศาสตร์
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
พืชสวน ก�ำแพงแสน รวี เสรฐภักดี (2550)
50,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาพืชสวน ก�ำแพงแสน
พืชสวน 50 ปี(2551)
1,118,229
ทุนการศึกษาภาควิชาพืชสวน บางเขน
สถิตย์ - เบญจรงค์ ศรแก้ว (2551)
10,134
ทุนการศึกษา สนับสนุนการวิจัย และกิจกรรมด้านประมง, ท�ำนุบ�ำรุงศาสนา
ชมรม ศิษย์เก่า KU30 (2551)
170,942
ทุนการศึกษานิสิต มก.เรียนดี แต่ขัดสน
สุขสถาน(2551)
100,273
ทุนการศึกษานิสิต
“ปุ๋ยสั่งตัด” เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น (2551) (ยกเลิก ไปรวมกับ กองทุนคิวม่า)
-
- สนับสนุนกิจกรรมด้าน “ปุ๋ยสั่งตัด” - สนับสนุนวิทยาลัยเกษตรด้าน ต่าง ๆ ในการจัดตั้งบริษัทขนาด เล็กเพื่อช่วยให้ค�ำแนะน�ำด้านปุ๋ย สั่งตัด
ศ.ดร. สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ (2551)
315,328
ทุนการศึกษาด้านการปรับปรุง พันธุ์พืช
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
119
120
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
ผศ. พงษ์ภวัลย์ – นางศิริวรรณ ภัทรประภานันท์(2551)
1,011,424
ทุนการศึกษานิสิต คณะวิศวกรรม มก-กพส
วิศวกรรมโยธา ภาคพิเศษ 2 กพส.(2551)
654,312
ทุนการศึกษานิสิต คณะวิศวกรรม มก. ภาคพิเศษ 2 กพส.
สุชาติ – มาลีนนท์ พุกบ้านยาง E33 ku37 (2552)
101,401
ทุนการศึกษา
พืชสวนก�ำแพงแสน(เพื่อพี่น้อง) (2552)
1,130,272
ทุนการศึกษาภาควิชาพืชสวน กพส.
รศ.น.สพ.ดร.กัญจนะอ.กาญจนา มากวิจิตร์(2552)
493,615
ทุนวิจัย ภาควิชาสัตวบาล
ศิษย์ มก.รุ่น 20(2552)
66,683
ทุนการศึกษา
น.ส.พ.ดร.ธนกฤต หรูปญ ั ญาเลิศ (2552)
201,008
ทุนการศึกษา นิสิตคณะ สัตวแพทยศาสตร์
ศ.ดร.พนม สมิตานนท์(2553)
52,518
ทุนการศึกษา
ดร.ยุวเรศ –นครินทร์ เรืองพานิช(2553)
37,126
ทุนการศึกษา นิสิตภาควิชา สัตวบาล
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.ดร.มงคล กวางวโรภาส (2553)
690,814
ทุนการศึกษา นิสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ กพส.
รศ.ดร.สมชัย จันทร์สว่าง(2553)
161,718
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
สรพงษ์ ศักดิ์สินธุ์ชัย (2553)
100,835
ทุนการศึกษา
ดร.ณรงค์-ศรีวรรณ โฉมเฉลา เพื่อการวิจัยน�้ำมันมะพร้าว (2553)
150,841
ทุนวิจัย น�้ำมันมะพร้าว
ศ.ดร.พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ เพื่อการศึกษาด้าน การเกษตรศาสตร์ (2553)
1,843,045
ทุนการศึกษานิสิต คณะเกษตร ทุกสาขาวิชา
แทน-ประไพ อิงคสุวรรณ(2554)
100,835
ทุนการศึกษา
ดร.สยามรัฐ-สุรางรัตน์ บ้านภูมิ (2554)
110,420
ทุนการศึกษา
สุกัญญา –เสรีวัฒน์ จัตตุพรพงษ์(2554)
250,420
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
นายเลิศ-นางประเสริฐและ สมโภช ทับเจริญ(2554)
215,886
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
121
122
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
อ.อนิรุธ-เฉลิมวรรณ สุขจิตต์ เพื่อการศึกษา (2554)
562,310
ทุนการศึกษานิสิต ก�ำแพงแสน
รศ.ดวงสมร สินเจิมศิริและศิษย์ (จิรเดช ธรรมนูญรักษ์, เชี่ยวชาญ เพ็ชรนิล) (2554)
57,185
ทุนการศึกษา
รท.ศุลีและคุณหญิงศรีวงศ์ มหาสันทนะ(2554)
106,420
ทุนการศึกษา
รศ.ดร.ศศิธร-น.สพ.เชาวลิต นาคทอง(2555)
46,320
ทุนการศึกษานิสิต ภาควิชาสัตวบาล
รศ.ดร.นวลจันทร์-รศ.สินชัย พารักษา(2555)
5,000
ทุนการศึกษานิสิต ภาควิชาสัตวบาล
รศ.ดร.อรประพันธ์-รศ.ดร.ทวีศกั ดิ์ ส่งเสริม(2555)
6,000
ทุนการศึกษานิสิต ภาควิชาสัตวบาล
สัตวบาล ก�ำแพงแสน(2555)
248,319
ทุนการศึกษานิสิต ภาควิชาสัตวบาล(ก�ำแพงแสน)
ปราณี-ประไพ แจ้งเจนกิจ(2555)
506,237
ทุนการศึกษา นิสิต คณะวิทยาศาสตร์และคณะเกษตร
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.ดร.ชูชีพ-ขนิษฐา พิพัฒน์ศิถี (2555)
232,256
ทุนการศึกษานิสิต
รศ.วุฒิชัย-ศริญญา กปิลกาญจน์(2555)
202,508
ทุนการศึกษานิสิตภาควิชา วิศวกรรม-เครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
ชู-ค�ำ เกตุษา โดย ศ.ดร.สายชล เกตุษา
648,006
ทุนการศึกษานิสิต ภาควิชาพืชสวน
คิวม่า (KYUMA) (2555)
669,801
ทุนส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้ ด้านดินและปุ๋ยให้แก่เกษตรกร
วารสารเคหการเกษตร(2555)
50,618
ทุนการศึกษา
ศ.ฉลอง-ศ.ดร.ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์
506,300
ทุนการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์
นิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์ E41
242,651
ทุนการศึกษานิสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์
รศ.ดร.พรศรี ชัยรัตนายุทธ์
175,646
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
123
124
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
สวนวิจัย ไพบูลย์ ไพรีพ่ายฤทธิ์
1,188,608
ทุนเชิดชูเกียรตินกั วิจยั เยาวชนไทย พืชสวน
รศ.ดร.สุพัตร์-รศ.ดร.สุนันทา ฟ้ารุ่งสาง
5,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
อาร์ทีอะกริเทค (สัตวบาล ก�ำแพงแสน)
401,680
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล กพส.
ต้นสกุลโชติญาณวงษ์ โดย รศ.อ�ำนวย-สุดใจ โชติญาณวงษ์
2,012,590
ทุนการศึกษา
ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์
306,979
ทุนการศึกษา
50 ปี เกษตรรุ่น 23
100,415
ทุนการศึกษา
ผศ.พุม ข�ำเกลี้ยง
73,394
ทุนการศึกษา
กุลรัตน์ อนันต์พงษ์สุข และ ครอบครัว
5,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
ศ.ดร.กนกพร – สถาพร เพชรดี
5,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
กษม-บุญเจียด รัตนไชย
100,000
ทุนการศึกษา
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
รศ.ดร.เนรมิต-วนิดา สุขมณี
5,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
ทวีศักดิ์ ประเจกสกุล
5,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
อภิสิทธิ์ ธนสัมพันธ์
5,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
ชมรมเทนนิสข้าราชการและศิษย์ เก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
100,000
ทุนการศึกษา
รศ.ชูเกียรติ ทรัพย์ไพศาล
1,000,000
ทุนการศึกษานิสิต ภ.วิศวกรรม ทรัพยากรน�้ำ
ตระการศักดิ์ มณีภาค
210,324
ทุนการศึกษานิสิต
รศ.ศรีสุวรรณ ชมชัย กพส.
384,544
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล กพส.
โชคชัย พรพรรณ ช่วยณรงค์
200,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล
สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ (กพส)
150,000
ทุนการศึกษา ภาควิชาสัตวบาล กพส
หลวงพิราศ
100,000
ทุนการศึกษา
สุนทร มั่งคั่ง
100,000
ทุนการศึกษา
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
125
126
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
ศ.ดร.ศรเทพ ธัมวาสร
131,300
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล บางเขน
อาจารย์นคร เหลืองประเสริฐ
100,000
ทุนการศึกษานิสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี
ผศ.ดร.สิรินทร์พร สินธุวณิชย์ และครอบครัว
5,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
ผศ.ดร.สุกัญญา รัตนทับทิมทอง และครอบครัว
5,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
รศ.ดร.จีระชัย กาญจนพฤฒิพงศ์ และครอบครัว
5,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
ผศ.ดร.เลอชาติ บุญเอก และครอบครัว
5,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
ศ.ดร.ธนาทิพย์ สุวรรณโสภี และพ่อปรีชา
5,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
ศิษย์เก่าสัตวบาล รุ่น 53
42,500
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล กพส
ไตรรัตน์ ทองปลอด
27,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล กพส
กองทุน
เงินกองทุน
วัตถุประสงค์
Too Fast Too Sleep
150,000
ทุนการศึกษา
องค์การนิสิต 2517-18
550,000
ทุนการศึกษา
นพ.บุญส่ง-สุภาพ เลขะกุล
500,000
ทุนการศึกษาคณะวนศาสตร์
ผศ.ดร.ดรุณา สมบูรณ์กุล
5,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
รศ.ดร.สุริยะ สะวานนท์
5,000
ทุนการศึกษา ภ.สัตวบาล
ดร.ธีรพร บุศยอังกูร
12,500
ทุนการศึกษา
ภาควิชาโรคพืช
946,757
ทุนการศึกษาภาควิชาโรคพืช
มูลนิธิเกษตรศาสตร์
127
128
ผู้ประสงค์จะบริจาคเงินสนับสนุนมูลนิธิ 1. โอนเข้ า บั ญ ชี มู ล นิ ธิ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์และจัดส่งใบโอนให้มูลนิธิมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ดังนี้ - ธนาคารทหารไทย จ� ำ กั ด สาขา มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 069-2-07817-3 - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด สาขามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 374- 1-14129-2 - ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด สาขาย่อยมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ( บางเขน) บั ญ ชี อ อมทรั พ ย์ เลขที่ 235-2-04389-5 2. เช็คขีดคร่อมสั่งจ่าย มูลนิธิมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ส่งถึงผู้จัดการมูลนิธิฯ อาคารสารนิเทศ 50 ปี ชั้น 8 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
สถานที่ติดต่อมูลนิธิ 1 . ส� ำ นั ก ง า น มู ล นิ ธิ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์ อาคารสารนิเทศ 50 ปี ชัน้ 8 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-5790113 ต่อ 4826 หรือโทรสายตรงและโทรสาร 02-9428165 มือถือ 086-0875904 2. ทาง E-mail : o.kuf @ ku.ac.th หรือ praveeruch@hotmail.com มู ล นิ ธิ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เป็ น องค์ ก ร สาธารณะกุศล ลำ�ดับที่ 46 ใบเสร็จรับเงินสามารถ นำ�มาหักลดหย่อนภาษีได้
ค�ำยกย่องสดุดี ให้กับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ และปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2560
ประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่อง อนุมัติให้ปริญญากิตติมศักดิ์ ------------------------ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 22 (3) และมาตรา 69 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558 ประกอบกับข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ว่าด้วยการให้ปริญญากิตติมศักดิ์ พ.ศ. 2559 สภา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการประชุมครั้งที่ 8/2561 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2561 มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติให้ปริญญากิตติมศักดิ์แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้ นายลักษณ์ วจนานวัช ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ส่งเสริมการเกษตร) นายพินิจ กังวานกิจ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ) นายรอยล จิตรดอน ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิทยาการคอมพิวเตอร์) รองศาสตราจารย์สมบัติ ขอทวีวัฒนา ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) Professor Serge MORAND ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยีสุขภาพสัตว์) นายประภาส เตมียบุตร ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมโยธา)
ประกาศ ณ วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2561 (นายกฤษณพงศ์ กีรติกร) นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ค�ำยกย่องสดุดี นายลักษณ์ วจนานวัช
รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ (ส่งเสริมการเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายลักษณ์ วจนานวัช เกิดเมือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาสัตวบาล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ Master of Science (System Development Program) Trinity College Dublin, The University of Dublin, สาธารณรัฐ ไอร์แลนด์ ต�ำแหน่งหน้าทีส่ ำ� คัญในอดีต ผูจ้ ดั การธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรรมการอ�ำนวยการโรงงานยาสูบ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายลักษณ์ วจนานวัช เป็นผูท้ มี่ วี สิ ยั ทัศน์ทกี่ ว้างไกล และรอบรูอ้ ย่างเด่นชัด มองการณ์ทกุ อย่างใน เชิงระบบอย่างมีเหตุมผี ล และเป็นผูท้ มี่ คี วามทันสมัยและรูเ้ ท่าทันต่อการเปลีย่ นแปลง โดยเป็นผูท้ รี่ เิ ริม่ น�ำ หลักการส่ง เสริมและพัฒนาการเกษตร มาใช้ในการสนับสนุนและสร้างเสริมความเข้มแข็งให้กบั ภาคการเกษตรของไทย โดยใช้องค์การทางการเกษตร ได้แก่ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) เป็นกลไกในการขับเคลือ่ น การด�ำเนินงาน เพือ่ สร้างความเข้มแข็งให้กบั ภาคการเกษตรอย่างต่อเนือ่ ง โดยทีม่ งุ่ เน้นให้ ธ.ก.ส. เป็นธนาคาร เพือ่ การพัฒนาให้ชนบทเกิดความมัน่ คง โดยมีการจัดการทีท่ นั สมัยควบคูก่ บั การให้บริการอย่างอบอุน่ ในการช่วยยกระดับคุณภาพชีวติ ของเกษตรกรและประชาชน ผลงานของนายลักษณ์ วจนานวัช ดังกล่าวนัน้ มีการเผยแพร่สสู่ งั คมเป็นจ�ำนวนมาก โดยผลงานทีไ่ ด้แจ้งประจักษ์ตอ่ หน่วยงานและสังคมอย่างเป็นเด่นชัด ได้แก่ การริเริม่ “โครงการธนาคารชุมชน” เพือ่ ให้บริการทางการเงิน พร้อมขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงิน ของพีน่ อ้ งเกษตรกรไทยในชนบท ช่วยให้เกษตรกรผูม้ รี ายได้นอ้ ยมีโอกาสยกระดับความเป็นอยูแ่ ละคุณภาพ ชีวติ ให้ดขี นึ้ รวมถึงการริเริม่ “โครงการธนาคารโรงเรียน” เพือ่ การส่งเสริมให้นกั เรียนและบุตรเกษตรกรมี การออมทรัพย์อย่างสม�ำ่ เสมอ ปลูกฝังให้รจู้ กั การท�ำงานร่วมกับผูอ้ นื่ นอกจากนีก้ ย็ งั ให้ความส�ำคัญกับการให้ สินเชือ่ เพือ่ ความยัง่ ยืน (Green Credit) รวมทัง้ การสนับสนุนโครงการธนาคารต้นไม้ เพือ่ ให้ชมุ ชนตระหนักถึง การสร้างป่า ลดภาวะโลกร้อน ลดปัญหาภัยแล้ง น�ำ้ ท่วม รวมถึงการสร้างภูมคิ มุ้ กันให้แก่ชมุ ชน ปลูกจิตส�ำนึก ในการบริหารจัดการป่าชุมชนทีด่ ี เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ซึง่ ก็จะส่งผลให้เกิดประโยชน์โดยตรงกับ
ความมีเสถียรภาพในการประกอบอาชีพด้านการเกษตรและความผาสุกของสังคมโดยส่วนรวม ด้วยความสามารถในการเป็นผูบ้ ริหารธนาคารและมีประสบการณ์ในชนบทและภาคเกษตรทีไ่ ด้สงั่ สม มากว่า 30 ปี จึงได้มกี ารบูรณาการงานส่งเสริมการเกษตร ได้อย่างสอดคล้องกันในเชิงระบบ เห็นได้จากการที่ นายลักษณ์ วจนานวัช ได้มกี ารน�ำระบบการสือ่ สารและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในเรือ่ งการส่งเสริมการเกษตร เพือ่ ให้การใช้ทรัพยากรได้เกิดประโยชน์สงู สุด มุง่ เน้นให้เกษตรกรและประชาชนสามารถพึง่ พาตนเองได้ตามศักยภาพ ที่มีอยู่ ขณะเดียวกับสนับสนุนการถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเกษตร ที่ต้องค�ำนึงถึงความรู้ ความสามารถของผูท้ ำ� การถ่ายทอดว่า ต้องมีประสบการณ์จริงในนวัตกรรมและเทคโนโลยีทไี่ ด้ทำ� การถ่ายทอด ต้อง มีความเหมาะสมกับบริบทและสภาพแวดล้อมทีน่ ำ� ไปใช้ ผ่านการใช้ชอ่ งทางการถ่ายทอดทีท่ ำ� ได้งา่ ย สะดวก และ รวดเร็ว และสอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร และทีส่ ำ� คัญคือ เกษตรกรต้องมีความพร้อมและความเต็มใจ ในการรับการถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีดงั กล่าวนัน้ โดยทีน่ ายลักษณ์ วจนานวัช ได้มกี ารท�ำงานร่วมกันกับ เกษตรกรและชุมชนอย่างใกล้ชดิ เพือ่ แก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว และสร้างสรรค์การพัฒนาชุมชนได้อย่างต่อเนือ่ ง จนสร้างความเจริญเติบโตให้กบั เกษตรกร รวมถึงธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) มาจนถึงปัจจุบนั นายลักษณ์ วจนานวัช จึงเป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถในการบริหารอย่างมืออาชีพ เข้าใจการด�ำเนิน งานภายใต้หลักการการส่งเสริมการเกษตรอย่างมืออาชีพ เป็นแบบอย่างในการบริหารด้วยหลักคุณธรรม จริยธรรม ซือ่ สัตย์ สร้างประโยชน์ให้แก่องค์กร สังคม ชุมชน และประเทศชาติ อย่างชัดเจน สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใน การประชุมครั้งที่ 8/2561 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2561 มีมติอนุมัติปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ส่งเสริมการเกษตร) เพือ่ เป็นเกียรติประวัตสิ บื ไป
ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2561
ค�ำยกย่องสดุดี นายพินิจ กังวานกิจ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ (เพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ) นายพินจิ กังวานกิจ เริม่ ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นต�ำแหน่งนักวิชาการประมง สังกัดหน่วยงานกรมประมง ในปี พ.ศ. 2511 - 2524 เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ องค์การอาหารและเกษตร (Food and Agriculture Organization of the United nation – FAO ) ขององค์การสหประชาชาติ ประจ�ำ ที่ประเทศฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2525 - 2534 และในปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา เข้าท�ำงาน ที่บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ ในต�ำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการอาวุโส และด�ำรงต�ำแหน่งรองประธานกรรมการ CP Aquaculture (India) Co.,Ltd. รองประธานกรรมการ Charoen Pokphand Foods Philippines Corp โดยปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง ทีป่ รึกษาอาวุโส ในระหว่าง การท�ำงาน นายพินจิ กังวานกิจ ได้สร้างผลงานเป็นทีป่ ระจักษ์ทกี่ อ่ ให้ประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินกิจกรรมด้าน การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของประเทศไทยและบริษัทฯอย่างต่อเนื่อง จนได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้บริหาร ระดับสูงของเครือเจริญโภคภัณฑ์ จากพืน้ ฐานความรูแ้ ละประสบการณ์การท�ำงานด้านวิชาการมาโดยตลอด กอปรกับการเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ ท�ำให้ นายพินิจ กังวานกิจ เล็งเห็นความส�ำคัญของการค้นคว้าวิจยั และ พัฒนาเทคโนโลยีให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันตลอดเวลา มีผลงานที่สร้างคุโณปการ ให้กบั การเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ของไทยประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และของโลก มีสว่ นร่วมใน การผลักดันและส่งเสริมให้ประเทศไทยได้กลายเป็นประเทศทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ด้านการเลีย้ งกุง้ ของโลก สามารถ ส่งออกกุง้ ท�ำรายได้เข้าประเทศปีละมหาศาลเกือบแสนล้านบาท สร้างงานอาชีพและรายได้ให้กบั เกษตรกร และผู้เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมต่อเนื่องจ�ำนวนมากที่ส�ำคัญจากความก้าวหน้าทางวิชาการที่ค้นคว้าได้ นายพินิจ กังวานกิจ ได้น�ำออกเผยแพร่เป็นสาธารณประโยชน์แก่เกษตรกรโดยทั่วไป รวมทั้งได้ด�ำเนิน ธุรกิจตามแนวนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และตามทิศทางนโยบายของหน่วยงานของ รัฐ พร้อมทั้งให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ และสถาบันการศึกษาต่างๆ ด้วยดีเสมอมา ซึ่งผลงานที่โดดเด่นทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของนายพินิจฯ อาทิ เช่น ผลงานทางวิชาการและงานวิจัย - เป็นผู้เพาะพันธุ์กุ้งกุลาด�ำส�ำเร็จเป็นคนแรกของประเทศไทย เมือ่ ปี พ.ศ. 2515 ขณะทีด่ ำ� รงต�ำแหน่งเป็นนักวิชาการ กรมประมง มีแนวคิดทีจ่ ะเพาะพันธุก์ งุ้ กุลาด�ำด้วยเห็นว่าขณะนัน้ การเลีย้ งต้องพึง่ พาลูกพันธุจ์ ากธรรมชาติเท่านัน้ หากสามารถผลิตลูกพันธุ์ กุง้ ได้เองในโรงเพาะฟักจะดีกว่ามาก จึงเอาพ่อแม่พนั ธุก์ งุ้ กุลาด�ำจากทะเลมาศึกษา เพาะใน Capability จนสามารถเพาะพันธุ์กุ้งกุลาด�ำได้ส�ำเร็จ โดยในเริ่มต้นเมื่อเพาะได้ ผ่านการเลี้ยงระยะแรกแล้ว ก็ส่งลูก พันธุ์กุ้งกุลาด�ำดังกล่าวไปให้ที่จังหวัดสมุทรสาครเลี้ยง ซึ่งขณะนั้นบริเวณดังกล่าวเริ่มมีการเลี้ยงกุ้ง แบบธรรมชาติ และกึง่ ธรรมชาติกนั กุง้ กลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจส�ำคัญ ทีท่ ำ� รายได้เข้าประเทศปีละมหาศาล สร้างเม็ดเงินให้กับประเทศได้เป็นกอบเป็นก�ำ ในเวลาต่อมาจวบจนปัจจุบัน (ด้วยเป็นสินค้าที่มี Local
Content ร้อยละ 90 สร้างงาน สร้างรายได้ ให้กับเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งและอุตสาหกรรมต่อเนื่องกว่า 1 ล้านครอบครัว เป็นต้น) ด้วยความส�ำเร็จนี้ ถือเป็นก้าวย่างแรกของการพัฒนาเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำของ ประเทศ ที่ท�ำให้ปัจจุบันไทยกลายเป็นผู้น�ำในการผลิตกุ้งทะเล และการส่งออกกุ้งของโลก - เป็นผู้คิดค้นวิธีการเร่งปลากะพงให้วางไข่ โดยธรรมชาติ ปี พ.ศ. 2520 นายพินจิ กังวานกิจ ประสบผลส�ำเร็จในการเร่งให้ปลากะพงวางไข่ โดยวิธธี รรมชาติ แทนที่การฉีดฮอร์โมน แล้วรีดไข่ ซึ่งเป็นวิธีเดิมที่ต้องใช้พ่อแม่พันธุ์ปลากะรังเพื่อการดังกล่าวจ�ำนวนมาก (เป็นการสิ้นเปลือง) หาวิธีธรรมชาติ เช่น ใช้อุณหภูมิ น�้ำขึ้น-ลง (การเปลี่ยนน�้ำ เพิ่มน�้ำ) การใช้ระบบน�้ำไหล การจัดการควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่อเลีย้ ง ฯลฯ เป็นปัจจัยในการกระตุน้ ให้ปลาผสมพันธุว์ างไข่ดขี นึ้ นับเป็น ก้าวย่างครัง้ ส�ำคัญของการเพาะพันธุป์ ลากะพงของประเทศ เป็นวิธที ถี่ กู น�ำมาใช้เป็นแนวทางปฏิบตั ใิ นการเพาะเลีย้ งปลา และสัตว์น�้ำต่างๆ ของประเทศมาจวบปัจจุบัน - เป็นผู้เพาะพันธุ์ปลากะรัง (เก๋า) โดยวิธีผสมเทียมส�ำเร็จเป็นคนแรกของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2521 ขณะทีน่ ายพินจิ กังวานกิจ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นหัวหน้าสถานีประมงน�ำ้ กร่อย จังหวัดสตูล ได้ เล็งเห็นว่าปลากะรัง หรือรู้จักกันทั่วไปในนาม “ปลาเก๋า” จะเป็นปลาเศรษฐกิจส�ำคัญ เนื่องจากราคาดี จึงได้ พยายามศึกษา ทดลอง คัดเลือกพ่อแม่พนั ธุป์ ลากะรังจากธรรมชาติ มาฉีดฮอร์โมน ผสมเทียม แล้วรีดไข่ออกมา ผสม กับน�้ำเชื้อได้เป็นผลส�ำเร็จเป็นครั้งแรกของประเทศ ลูกพันธุ์ปลากะรังที่ได้แจกจ่ายให้กับเกษตรกรน�ำไปเลี้ยง จนปัจจุบันพัฒนาเป็นการเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชย์ โดยเลี้ยงได้ทั้งในบ่อดิน และกระชังกลายเป็นปลาที่มีความ ส�ำคัญทางเศรษฐกิจในเวลาต่อมา ด้วยเนื้อมีรสดี มีผู้นิยมบริโภคมาก สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยง อย่างดี - เป็นผู้ริเริ่มการเลี้ยงปลาทะเลในกระชังเป็นคนแรกของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2520 นายพินิจ กังวานกิจ เห็นว่าการประมงเริ่มมีผลผลิตลดลง เนื่องจากประเทศ เพื่อนบ้าน ได้ขยายเขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะ ท�ำให้น่านน�้ำสากลมีพื้นที่ลดลง อีกทั้งสภาวะน�้ำมันมีราคาแพง การทดแทนแหล่งโปรตีนจากการประมงทะเลส่วนหนึ่ง คือการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่งทะเล จึงได้ศึกษาการ เลี้ยงปลาในกระชังขึ้น โดยเน้นไปที่ปลากะพง และปลากะรัง (เก๋า) โดยเริ่มแรกทดลองเลี้ยงที่สถานีประมง น�้ำกร่อย จังหวัดสตูล ที่ซึ่งขณะนั้นได้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ จากนั้นจึงน�ำไปส่งเสริมให้ชาวบ้านแถบจังหวัดสตูล เกาะปันหยีจงั หวัดพังงา เลีย้ ง โดยได้ทนุ /เงินสนับสนุนเริม่ ต้นเพือ่ “โครงการส่งเสริมการเลีย้ งปลาในกระชัง” นี้ จากองค์การอาหารและเกษตรกรรม (FAO) ได้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจ แนวทางทีไ่ ด้รเิ ริม่ ไว้ได้รบั การพัฒนามาอย่าง ต่อเนือ่ ง น�ำความส�ำเร็จ สร้างงาน/รายได้ให้กบั ชาวบ้าน เกษตรกรผูเ้ พาะเลีย้ งปลาทัว่ ประเทศมาจวบจนทุกวันนี้ - มีส่วนร่วมวางพื้นฐานด้านวิชาการ ปรับปรุงหลักสูตร/รายวิชา ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ให้กับ สถาบัน อุดมศึกษาที่เกี่ยวข้องต่างๆ มาอย่างต่อเนื่อง นายพินจิ กังวานกิจ ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งการศึกษาด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ เป็นอย่างมาก มี เจตนารมณ์ที่จะใช้ความรู้ประสบการณ์ ความสามารถของตนเองในด้านนี้เพื่อร่วมวางรากฐานการศึกษา หลักสูตรการเรียนการสอนต่าง ๆ โดยมุง่ เน้นให้สถาบันต่าง ๆ สามารถผลิตนิสติ ผูร้ อบรูท้ งั้ ด้านวิชาการมีทกั ษะ
ผ่านการฝึกอบรม มีประสบการณ์จริง ฯลฯ อันเป็นคุณสมบัติสอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน/ ภาคราชการทีเ่ กีย่ วข้อง (ตลาดแรงงานด้านนี)้ ทีส่ ำ� คัญ เพือ่ ให้บคุ ลากร/เยาวชนของชาติ ได้มพ ี นื้ ฐานความรู้ ด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ทีด่ ี มีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ และประสบการณ์จากการศึกษาเรียนรูต้ า่ ง ๆ ไปพัฒนางานด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ของชาติให้เจริญรุดหน้าอย่างยัง่ ยืน ในแนวทางเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มีความรักและหวงแหนและอนุรักษ์ทรัพยากรทางน�้ำของชาติสืบไป ผลงานอาชีพซึ่งแสดงถึงความส�ำเร็จอันเป็นแบบอย่างที่ดี - ได้รับรางวัลเกียรติยศ เป็นผู้มีคุโณปการต่อการประมงไทย ด้วยกรมประมง เห็นถึงผลงานด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้� ต่าง ๆ มากมาย ของ นายพินจิ กังวานกิจ (ดังข้อมูลผลงานข้างต้น) ล่าสุดเมื่อวันที่ 24 - 27 มิถุนายน 2549 กรมประมงได้มอบรางวัลเกียรติยศ “ผู้มีคุโณปการต่อการประมงไทย” (รางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ) ให้กับนายพินิจ กังวานกิจ ในงาน “Thai Fish Expo 2006” - ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ นิสิตเก่าดีเด่น สมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้มอบประกาศเกียรติคุณ เป็นนิสิตเก่าดีเด่น ประเภทนักบริหารภาคเอกชน ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 - ได้รับเชิญไปเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ FAO/UNDP ประจ�ำประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และประเทศต่างๆ ด้วย FAO เห็นในความสามารถด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ของนายพินิจ กังวานกิจ จึงได้เชิญให้ไป เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ของ FAO/UNDP ประจ�ำประเทศฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย และประเทศ ต่าง ๆ จุดมุง่ หมายเพือ่ ให้เข้าไปมีสว่ นในการช่วยเหลือ พัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ให้กบั คนในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ นอกเหนือจากทีไ่ ด้ทำ� ประโยชน์อย่างมาก มีผลงานทีโ่ ดดเด่นให้กบั คนในประเทศไทย การไป ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้กบั องค์กรสากลระดับโลก (สหประชาชาติ) ของนายพินจิ กังวานกิจ นี้ ได้ทำ� ให้วถิ กี ารด�ำเนินชีวติ ของคนในภูมภิ าคนี้ มีความเป็นอยูด่ ขี นึ้ มีอาชีพทีม่ นั่ คงยังยืน มีอาหารโปรตีนจากสัตว์นำ�้ เพือ่ การบริโภคและ การจ�ำหน่ายดีขนึ้ ด้วย นอกจากที่ นายพินจิ กังวานกิจ ได้ดำ� เนินการวางระบบพืน้ ฐานในการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ให้กบั ประชาชนในหลายประเทศ (ภูมภิ าคต่างๆของโลก) เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน บาเรนห์ ศรีลงั กา อิตาลี เอกวาดอร์ อินเดีย ฯลฯ เช่น ไปเป็น - ทีป่ รึกษา FAO โครงการพัฒนาการเพาะเลีย้ งปลาทะเล CPR/81/014 สาธารณรัฐประชาชนจีน - ที่ปรึกษา โรงเพาะฟักลูกพันธุ์ปลาทะเล บาห์เรน - ที่ปรึกษา โปรแกรมความร่วมมือ FAO-ADB ศึกษาด้านการประมง ศรีลังกา - นักเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ (Aquaculturist) โครงการพัฒนาการท�ำฟาร์มทะเล FAO อินโดนีเซีย - ผู้เชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ “ศูนย์เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ มูลนิธิซาวานอย” โรม อิตาลี - ที่ปรึกษา การผลิตลูกพันธุ์กุ้งทะเล รัฐกัวยากิล เอกวาดอร์ - ทีป่ รึกษา “ศูนย์เครือข่ายการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ในเอเชีย” (NACA-FAI/UNDP Project) อิโลอิโล ฟิลปิ ปินส์ - อาจารย์พเิ ศษ (Visiting Professor) มหาวิทยาลัยฟิลปิ ปินส์ในวิซายาส (UPV) อิโลอิโล ฟิลปิ ปินส์ - ที่ปรึกษา โครงการกุ้ง NACA-FAO/UNDP อิโลอิโล ฟิลิปปินส์
- ทีป่ รึกษา & หัวหน้าทีม การพัฒนาประมงขนาดเล็ก (การเลีย้ งกุง้ , การเลีย้ งปลากะพง และปลากะรัง ในกระชัง) - ที่ปรึกษาโครงการกุ้ง FAO-BOBP รัฐทามิลนาดู อินเดีย - External Evaluator โรงเพาะฟัก ในโครงการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของ ADB ไทย - ที่ปรึกษาโครงการเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกรามของ EU ให้กับฟิลิปปินส์ - ช่วยเหลือโครงการระยะสั้นของ FAO, ADB และ UNDP ในการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำให้ กับประเทศต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เป็นต้น - ร่วมพัฒนาธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของเครือเจริญโภคภัณฑ์ นายพินจิ กังวานกิจ ได้รบั ความไว้วางใจให้ดำ� รงต�ำแหน่ง รองกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส กลุม่ ธุรกิจ เพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ เครือเจริญโภคภัณฑ์ โดยรับผิดชอบกิจการด้านต่าง ๆ ได้แก่ การพัฒนาธุรกิจต่างประเทศ ด้วย เป็นผูร้ ทู้ มี่ ปี ระสบการณ์ มีความเชีย่ วชาญ และเป็นผูม้ หี ลักการและวิสยั ทัศน์ทดี่ ใี นการพัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ จึงเป็นส่วนสนับสนุนให้การพัฒนาด้านนี้ของบริษัทฯ ของประเทศ และของโลกมีทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสม ในการบริหารงาน การจัดการทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานวิชาการ มีประสบการณ์สงู ด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ นอกจากจะมีส่วนท�ำให้เทคโนโลยีของเครือเจริญโภคภัณฑ์เป็นที่ยอมรับของวงการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของ ประเทศและของโลกแล้ว ยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งและสัตว์น�้ำต่าง ๆ โดยรวมของ ประเทศอย่างกว้างขวาง - ร่วมวางนโยบายและด�ำเนินกิจการของกลุม่ ธุรกิจเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ เครือเจริญโภคภัณฑ์ตามนโยบายของรัฐ เนื่องด้วย เครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นเอกชนที่ประกอบธุรกิจด้านการเกษตรเป็นหลัก ซึ่งเกี่ยวข้อง กับเกษตรกรส่วนใหญ่ของประเทศ ดังนั้น ในการประกอบธุรกิจด้านการเกษตรของเครือเจริญโภคภัณฑ์ จึง ต้องสอดคล้องด�ำเนินไปในทิศทางเดียวกับนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ส�ำหรับการประกอบ กิจการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำก็เช่นกัน นายพินิจ กังวานกิจ ได้ร่วมวางนโยบายตามแนวทางการพัฒนา การเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ตามทิศทางการพัฒนาของกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตลอดมา จนท�ำให้ การประกอบธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำแบบครบวงจรประสบความส�ำเร็จ ตามมาตรฐานการผลิต GAP และ COC แนวทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งสอดคล้องกับนโยบายของกรมประมง และของรัฐบาล ที่มุ่งเน้นให้ ประเทศไทยเป็นครัวของโลก ทีผ่ ลิตอาหารทีป่ ลอดภัย (Food Safety) ด้วยกระบวนการผลิตทีส่ ามารถตรวจ สอบย้อนกลับได้ (Traceability) สามารถคลีค่ ลายปัญหาการตกค้างของยาในเนือ้ กุง้ หรือสัตว์นำ�้ ต่าง ๆ ท�ำให้ การส่งออกสินค้าสัตว์น�้ำของประเทศไทยด�ำเนินไปอย่างราบรื่น นายพินิจ กังวานกิจ เป็นก�ำลังส�ำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ในแนวทาง ที่เหมาะสม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้กับพี่น้องเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้ง ปลา และสัตว์น�้ำอื่น ๆ ทั่วประเทศ มาโดยตลอด มีความพยายามอย่างยิง่ ยวดในการรณรงค์ไม่ให้มกี ารใช้ยาปฏิชวี นะเพือ่ การเลีย้ งกุง้ และการเพาะเลีย้ ง สัตว์นำ�้ ฯลฯ นอกจากทีไ่ ด้ชว่ ยเพิม่ ขีดความสามารถด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ให้กบั ขององค์กรและบุคลากร แล้วที่ผ่านมาจวบปัจจุบัน นายพินิจ กังวานกิจ ยังเป็นที่ปรึกษาด้านนี้ให้กับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องด้วย อีกทั้งยังให้การสนับสนุนนโยบายของกรมประมง ในด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ส�ำหรับ อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล รวมถึงสัตว์น�้ำของประเทศไทย หรือ (Code of Conduct) โดยสนับสนุน กิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนส่งเสริมและปฏิบัติอย่างต่อเนื่องอีกด้วย
การเผยแพร่ผลงานเพื่อประโยชน์แก่สาธารณชน - ร่วมเป็นวิทยากรในงานสัมมนาต่าง ๆ เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงกุ้ง และสัตว์น�้ำต่าง ๆ ให้กับภาครัฐ สถาบัน การศึกษา สมาคมชมรมต่าง ๆ เกษตรกร ประชาชนทีส่ นใจจ�ำนวนมากมาอย่างต่อเนือ่ ง (จ�ำนวนมากกว่า 600 ครัง้ ) โดยจะน�ำเสนอข้อมูลวิชาการ เทคโนโลยีใหม่ และแนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมกุง้ และสัตว์นำ�้ ไทย ฯลฯ เสมอ ทั้งนี้เพื่อให้อุตสาหกรรมฯ โดยรวมยั่งยืน พัฒนาก้าวหน้าในแนวทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - เป็นผูร้ ว่ มวางหลักสูตร และให้การฝึกอบรมวิชาการ การเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ การเพาะเลีย้ งกุง้ ทะเล ได้แก่ กุง้ กุลาด�ำ กุง้ ขาวแวนนาไม รวมถึงกุง้ น�ำ้ จืด (กุง้ ก้ามกราม) ฯลฯ ให้กบั บุคลากร นักวิชาการเครือเจริญโภคภัณฑ์ อย่างเข้มแข็ง มาแล้วกว่า 500 คน ด้วยความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจทีจ่ ะผลิตเยาวชนคนรุน่ ใหม่ ให้มคี วามรูค้ วามสามารถด้านการเพาะเลีย้ ง สัตว์นำ�้ แบบพัฒนา ในแนวทางทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยทุม่ เทถ่ายทอดความรูว้ ชิ าการ ประสบการณ์ดา้ น การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่มี ให้อย่างเต็มก�ำลัง - เป็นบรรณาธิการและที่ปรึกษา (ด้านวิชาการ) ข่าวด่วนวิชาการวารสารเผยแพร่ทางวิชาการแก่เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้ง และสัตว์น�้ำอื่น ๆ เช่น C.P. Shrimp Newsletter ภาคภาษาอังกฤษ เป็นต้น - เป็นผู้ร่วมโครงการความร่วมมือระหว่างเครือเจริญโภคภัณฑ์กับสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ เกียรติประวัติ นับตัง้ แต่นายพินจิ กังวานกิจ ได้ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นต�ำแหน่งนักวิชาการประมง ของกรมประมงในช่วงปี พ.ศ. 2511 - 2524 แม้เป็นช่วงเวลาไม่นาน หากแต่นายพินจิ กังวานกิจ ได้สร้างผลงานอันทรงคุณประโยชน์ อย่างยิง่ ต่อการพัฒนางานด้านวิชาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ของไทย อาทิ การเพาะพันธุก์ งุ้ กุลาด�ำ การเพาะพันธุ์ ปลากะรัง การเลีย้ งปลาในกระชัง ฯลฯ จนวันนีไ้ ด้พฒ ั นาให้มคี วามก้าวหน้าตามล�ำดับ เป็นสัตว์เศรษฐกิจส�ำคัญ ทีส่ ร้างงาน อาชีพ รายได้ให้กบั ผูค้ นจ�ำนวนมากและน�ำเงินตรามูลค่าสูงเข้าประเทศปีละมหาศาล และด้วยความสามารถ ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่โดดเด่น นายพินิจ กังวานกิจ ได้รับความไว้วางใจจากองค์การสหประชาติ ในส่วน ของ FAO เชิญให้เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญรับผิดชอบงานด้านการพัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ ภาคพืน้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศต่าง ๆ ฯลฯ นับเป็นการสร้างคุโณปการ ด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ และการประมงให้กบั มวลมนุษยชาติ ที่ยิ่งใหญ่น่าภาคภูมิใจ จากความมุง่ มัน่ ต่อการท�ำงานในหน้าทีท่ รี่ บั ผิดชอบและเห็นต่อประโยชน์สว่ นรวมของ นายพินจิ กังวานกิจ ตั้งแต่เริ่มต้นการท�ำงานกับกรมประมง FAO เครือเจริญโภคภัณฑ์ และปฏิบัติอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ จึงถือ เป็นก�ำลังส�ำคัญที่ผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าในการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของประเทศปัจจุบันและเป็นบุคคลที่ เป็นผู้มีคุโณปการอย่างยิ่งต่อการประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของไทย และของโลก ดังนั้นจากประวัติและผลงานที่ผ่านมาจะเห็นว่านายพินิจ กังวานกิจ เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ทางด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ เป็นอย่างมาก และได้นำ� ความรูแ้ ละประสบการณ์มาเผยแพร่ให้แก่เกษตรกรโดย ทั่วไป ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของประเทศให้ก้าวหน้าและยั่งยืนต่อไป
ค�ำยกย่องสดุดี นายรอยล จิตรดอน ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ (วิทยาการคอมพิวเตอร์) นายรอยล จิตรดอน เคยด�ำรงต�ำแหน่งผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบนั เป็นทีป่ รึกษาสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�ำ้ และ การเกษตร (องค์การมหาชน) เป็นผูม้ ผี ลงานและเกียรติประวัตดิ า้ นการบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ ในอันดับ ต้นของประเทศไทย และเป็นบุคคลผูท้ ดี่ ำ� เนินงานสนองพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในเรือ่ งการจัดการทรัพยากรน�ำ้ อย่างเป็นระบบ นายรอยล จิตรดอน เป็นผูร้ เิ ริม่ ด�ำเนินงานโครงการศึกษาวิจยั เรือ่ งการบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ เพือ่ แก้ปญ ั หาน�ำ้ ท่วมในพืน้ ทีช่ มุ ชน จากการพัฒนาระบบทีเ่ รียกว่า Weather 901 เพือ่ ส่งข้อมูลสภาพภูมอิ ากาศ ทัง้ ในและต่างประเทศ ไปทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทอดพระเนตร ด้วยระบบออนไลน์แบบเรียลไทม์ เพือ่ ให้ทรงติดตามการเปลีย่ นแปลงสภาพอากาศ สถานการณ์นำ�้ ปริมาณฝน และทิศทางลมได้โดยตรง ซึง่ ติดตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๔๕ โดยพระองค์ทรงใช้ขอ้ มูลเหล่านีส้ ง่ ไปยังรัฐบาล และกรมชลประทาน เพือ่ เตรียมการวางแผนรับมือช่วยเหลือประชาชนได้อย่างทันท่วงที ปัจจุบนั Weather 901 ได้ถูกพัฒนาจนเกิดเป็น “คลังข้อมูลน�้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ” เปิดให้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.thaiwater.net และ Mobile Application ชือ่ ThaiWater เพือ่ ให้ประชาชนทัว่ ไปสามารถเข้าถึงข้อมูล ติดตามสถานการณ์นำ�้ และสภาพอากาศด้วยตนเองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา นอกจากนี้ นายรอยล จิตรดอน ยังได้ดำ� เนินโครงการตามแนวพระราชด�ำริในด้านการจัดการ ทรัพยากรน�ำ้ ในชุมชน เพือ่ สร้างความพอเพียงทางทรัพยากรให้แก่ประชาชน อันจะน�ำไปสูค่ วามเข้มแข็งจาก การทีป่ ระชาชนสามารถเติบโตก้าวหน้าด้วยการพึง่ ตนเอง ตามหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การท�ำงาน ทีย่ ดึ หลักส�ำคัญ คือ การแก้ปญ ั หาน�ำ้ ท่วมและน�ำ้ แล้งควบคูก่ นั โดยการพัฒนาพืน้ ทีใ่ นเขตชลประทานให้เกิด ความมัน่ คงด้านน�ำ้ และพัฒนาโครงสร้างขนาดเล็กจัดการน�ำ้ ของชุมชนในพืน้ ทีน่ อกเขตชลประทาน ส่งเสริม การจัดการทรัพยากรน�้ำชุมชนด้วยยุทธศาสตร์และมาตรการที่หลากหลายให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ขณะเดียวกัน ในพืน้ ทีท่ เี่ อือ้ อ�ำนวยก็สามารถบูรณาการการพัฒนาทัง้ ด้านน�ำ้ การเกษตรและพลังงานร่วม กันอย่างเป็นระบบ ทีส่ ำ� คัญคือการด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างชุมชนและเครือข่ายท้องถิน่ ท�ำให้โครงสร้าง ทางเศรษฐกิจและสังคมเกิดความสมดุล น�ำไปสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืนในอนาคต การพัฒนาทีม่ งุ่ สูช่ มุ ชนและสังคมอย่างแท้จริง พัฒนาด้วยความเข้าใจชุมชน เข้าใจธรรมชาติ และ การมีแนวคิดในการแก้ปญ ั หาอย่างเป็นระบบ ผสานกับการพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ ช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงาน ท�ำให้รูปแบบการท�ำงานของ นายรอยล จิตรดอน เป็นต้นแบบของการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยแท้จริง สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงมีมติให้ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิทยาการคอมพิวเตอร์) เพือ่ เป็นเกียรติประวัตสิ บื ไป
ค�ำยกย่องสดุดี รองศาสตราจารย์ สมบัติ ขอทวีวัฒนา ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมเกษตร รองศาสตราจารย์ สมบัติ ขอทวีวัฒนา ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา พัฒนาผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมเกษตร ผูท้ ำ� หน้าทีส่ อนด้านกระบวนการแปรรูปทางอุตสาหกรรมเกษตร และการออกแบบกระบวนการผลิตเพือ่ พัฒนาสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์กงึ่ อาหาร ท�ำการศึกษาวิจยั จนมีผลงานทางวิชาการทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติและมีผลงานแต่งเรียบเรียงต�ำรา และหนังสือถึง 8 เล่ม ซึง่ ทัง้ หมดเป็นผลงานอันทรงคุณค่าและเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเกษตรของประเทศไทย ตลอดระยะเวลา 30 ปีทผี่ า่ นมา รองศาสตราจารย์ สมบัติ ขอทวีวฒ ั นา เป็นนักวิชาการทีเ่ ป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนานักวิจยั ไทยรุน่ ใหม่ทงั้ ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นผู้ที่พัฒนาวิทยาการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อ้อยและน�้ำตาล ถ่ายทอดองค์ความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะการควบคุมพัฒนามาตรฐานคุณภาพอ้อย การพัฒนาและ การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานน�ำ้ ตาลโดยมุง่ เน้นทีจ่ ะลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต ของโรงงานน�้ำตาล น�ำไปสู่การเพิ่มมูลค่าทางการตลาดของอ้อยและน�้ำตาลและสร้างความยั่งยืน ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง จนได้รับการยกย่องให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ค�ำปรึกษา ทั้งทางวิชาการและทางเทคนิคของส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย โดยเป็นประธาน จัดซื้อเครื่องมือวัดความหวานส�ำหรับการซื้อขายอ้อยตามคุณภาพความหวานของโรงงานน�้ำตาลทั่ว ประเทศไทยในปีพ.ศ. 2535 ซึง่ เป็นครัง้ แรกทีป่ ระเทศไทยเปลีย่ นการซือ้ ขายอ้อยตามน�ำ้ หนักมาเป็นตาม คุณภาพความหวาน และเป็นผู้ดูแลห้องปฏิบัติการติดตามระบบการวัดค่าความหวานเพื่อให้ความเป็น ธรรมต่อทัง้ ชาวไร่และโรงงานน�ำ้ ตาล รวมทัง้ ได้ทำ� งานบริหารในต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระหว่างปี 2542 - 2544 และเป็นประธานคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการปริญญาตรี ภาคพิเศษ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นระยะเวลาถึง 8 ปี นอกจากนี้ อาจารย์ยังได้เป็นที่ปรึกษาและริเริ่มการสร้างมาตรฐานวิชาชีพของอุตสาหกรรม น�ำ้ ตาลกับสถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพทีช่ ว่ ยท�ำให้เกิดการพัฒนาช่างในโรงงานน�ำ้ ตาลให้มที กั ษะตามมาตรฐาน วิชาชีพทีจ่ ะท�ำให้เกิดประสิทธิภาพการผลิตน�ำ้ ตาลสูงขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นวิทยากรให้ความรูด้ า้ นการพัฒนา กระบวนการผลิตน�้ำตาลให้กับบุคลากรของทั้งโรงงานน�้ำตาล ฝ่ายไร่อ้อยและหน่วยราชการต่าง ๆ มา อย่างต่อเนื่อง
ค�ำยกย่องสดุดี Dr. Serge Morand
อาจารย์นกั วิจยั ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสุขภาพสัตว์ Dr. Serge Morand เป็นอาจารย์นกั วิจยั ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ของเชือ้ และสัตว์ฟนั แทะทีม่ ผี ลต่อสุขภาพของคนและสัตว์ โดยงานวิจยั ส่วนใหญ่ได้ดำ� เนินการในประเทศไทย โดยอาจารย์ได้เข้ามาท�ำการวิจยั ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 โดยได้ศกึ ษาทางด้านนิเวศวิทยาวิวฒ ั นาการ และ นิเวศวิทยาของสุขภาวะทีส่ มั พันธ์กบั ความหลากหลายทางชีวภาพในโรคติดเชือ้ อุบตั ใิ หม่ โรคติดเชือ้ อุบตั ซิ ำ�้ โรคสัตว์สู่คน และการดื้อต่อสารต้านจุลชีพ การบูรณาการความรู้ทางด้านสิ่งแวดล้อมให้เชื่อมโยงกับ ความหลากหลายทางชีวภาพของเชือ้ และสัตว์ฟนั แทะ นิเวศวิทยาวิวฒ ั นาการและระบาดวิทยาในประเทศไทย ร่วมกับการศึกษาในประเทศอืน่ ๆ ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และฟิลปิ ปินส์ ท�ำให้สามารถคาดการณ์สถานการณ์ดา้ นสุขภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพือ่ เตรียมมาตรการป้องกันหรือ เฝ้าระวังโรคต่างๆทีม่ ผี ลกระทบในวงกว้าง เช่น ไข้หวัดนก โรคฉีห่ นู โรคไข้เลือดออก และโรคทีน่ ำ� โดยสัตว์ฟนั แทะ ซึง่ การวิจยั ต่าง ๆ ของ Dr. Serge Morand มีคณ ุ ประโยชน์ตอ่ ประเทศไทยอย่างมาก เพราะในด้านดังกล่าว ยังเป็นด้านทีย่ งั ไม่มนี กั วิจยั ไทยเริม่ ต้นศึกษามาก่อน Dr. Serge Morand ได้ถา่ ยทอดประสบการณ์ตา่ ง ๆ รวมทัง้ องค์ความรูใ้ ห้กบั นักวิจยั ไทยให้พฒ ั นาตนเองขึน้ มา และสามารถขยายงานให้ครอบคลุมในพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ของประเทศ Dr. Serge Morand ได้ตพ ี มิ พ์ผลการวิจยั เหล่านีใ้ นวารสารวิชาการนานาชาติมากกว่า 20 เรือ่ ง โดยวารสารวิชาการหลาย ๆ วารสารเป็นวารสารทีม่ คี า่ อ้างอิงสูง ซึง่ แสดงถึงศักยภาพการเป็นนักวิจยั ระดับ นานาชาติทเี่ ป็นทีย่ อมรับในทางวิชาการ จากวิจยั ทางด้านนี้ โดยเฉพาะ Dr. Serge Morand ได้ตพ ี มิ พ์งาน ร่วมกับ ม.เกษตรศาสตร์ มากกว่า 15 เรือ่ ง ในด้านการเรียนการสอน Dr. Serge Morand ได้เป็นอาจารย์พิเศษของคณะเทคนิค การสัตวแพทย์ เป็นอาจารย์สอนใน ม.เกษตรศาสตร์ ในหลาย ๆ หลักสูตร ทัง้ ระดับปริญญาตรีและระดับ บัณฑิตศึกษา และได้รับเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมให้กับนิสิตปริญญาโท-ปริญญาเอก ได้ประสานงาน กับห้องปฏิบัติการในประเทศฝรัง่ เศส สเปนและเยอรมัน เพือ่ ให้นกั เรียนไทยทีอ่ ยูใ่ นการดูแลได้ไปฝึกฝน เพิม่ พูนประสบการณ์ และได้สมั ผัสการท�ำงานของนักวิจยั ชัน้ น�ำในต่างประเทศ ท�ำให้เกิดความร่วมมือระหว่าง ม.เกษตรศาสตร์และสถาบันวิจยั ชัน้ น�ำในต่างประเทศ Dr. Serge Morand ได้อทุ ศิ เวลาของตนเองในงานเรียน งานสอนใน ม.เกษตรศาสตร์ อย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลาเกือบ 10 ปีทไี่ ด้มาท�ำงานในประเทศไทย จากผลงานวิจยั ทีม่ คี โุ ณปการกับประเทศไทยในด้านสาธารณสุขสิง่ แวดล้อม และจากการมีสว่ น ร่วมผลิตบัณฑิตให้กบั ประเทศไทย ได้แสดงให้เห็นว่า Dr. Serge Morand เป็นผูม้ คี วามเหมาะสมในการได้รบั การเชิดชูในฐานะอาจารย์วจิ ยั จากต่างประเทศทีท่ ำ� คุณประโยชน์ให้กบั ม.เกษตรศาสตร์ และประเทศไทยโดยได้ เสนอให้เข้ารับพระราชทานปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิใ์ นสาขาเทคโนโลยีสขุ ภาพสัตว์ของคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ เพือ่ เป็นเกียรติแก่ Dr. Serge Morand สืบไป
ค�ำยกย่องสดุดี นายประภาส เตมียบุตร ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมโยธา) นายประภาส เตมียบุตร ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ งานก่อสร้าง จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เริม่ ชีวติ การท�ำงานกับบริษทั สง่าพานิชย์ จ�ำกัด ในต�ำแหน่งวิศวกรโครงการ และ ผูจ้ ดั การโครงการ โดยมีผลงานก่อสร้างอาคารส�ำนักงาน โรงแรม สะพาน ไซโล ท่าเทียบเรือ และโครงสร้างพืน้ ฐาน ต่าง ๆ ให้กบั ภาครัฐ และภาคเอกชนเป็นจ�ำนวนมาก หลังจากนัน้ ได้ออกมาด�ำเนินการกิจการของครอบครัว โดย เป็นผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั เสาทิพย์ จ�ำกัด และบริษทั เตมียค์ อนสตรัค๊ ชัน่ จ�ำกัด เพือ่ รับเหมาก่อสร้างอาคารโรงงาน โกดังสินค้า ตลาด โครงสร้างพืน้ ฐานและระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้กบั ภาครัฐ และเอกชน ตลอดเวลา อันยาวนานกว่า 40 ปี ในการด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับงานก่อสร้าง นายประภาส เตมียบุตร ได้ประกอบอาชีพทางด้าน วิศวกรรมโยธา อย่างสุจริต มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ จนสามารถสร้างบริษทั ได้เติบโตอย่างมัน่ คงถึง 2 บริษทั ซึง่ มี ผลงานเป็นทีป่ ระจักษ์หลาย ๆ โครงการอย่างต่อเนือ่ งจนถึงปัจจุบนั ได้รบั การเชิดชูเกียรติจากนิตยสาร "ชีวติ ต้องสู"้ ถึง 2 ฉบับ ประจ�ำเดือนมกราคม และเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยได้รบั การยกย่องให้เป็นบุคคลสูช้ วี ติ เป็นแบบอย่าง ของการเรียนรูต้ อ่ เนือ่ งตลอดชีวติ สามารถเรียนจบปริญญาตรีวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน เมือ่ วัย 65 ปี นายประภาส เตมียบุตร สามารถวางแผนและ บริหารโครงการก่อสร้างต่าง ๆ ด้วยความมานะอดทน ในการแก้ปญ ั หาทีพ ่ งึ มีได้กบั โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ ๆ ด้วยสติปญ ั ญา ความคิดสร้างสรรค์ และสามารถประยุกต์ความรูท้ เี่ รียนมาใช้กบั การท�ำงานด้านวิศวกรรมโยธา ได้เป็นอย่างดี จนท�ำให้โครงการก่อสร้างต่าง ๆ แล้วเสร็จก่อนสัญญาเสมอ นอกจากนัน้ ยังท�ำงานจิตอาสาโดย เป็นประธานชมรมช่วยเหลือ เสนอแนะด้านการจราจรและสังคมโดยช่วยเหลือเสนอแนะการแก้ไขปัญหาด้านการ จราจรติดขัด ถนนทรุดเป็นหลุมเป็นบ่อ ไฟจราจรดับหรือไม่สมั พันธ์กบั ปริมาณรถ ตลอดจนประสานกับเจ้า หน้าทีต่ ำ� รวจเรือ่ งอุบตั เิ หตุตา่ ง ๆ เป็นอย่างดี นายประภาส เตมียบุตรได้รบั รางวัลต่าง ๆ ดังนี้ พ.ศ. 2552 ได้รบั โล่รางวัลนิสติ เก่าดีเด่นจาก คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน ปี พ.ศ. 2555 ได้รบั รางวัลเกษตรศาสตร์ปราดเปรือ่ งรุน่ ที่ 10 จากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และได้รบั ประทานรางวัล"ชีวติ ต้องสู้ LIFE AWARD" จากพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ นายประภาส เตมียบุตร ได้เป็นผูบ้ ริจาคเงินเพือ่ จัดตัง้ กองทุน "วิศวกรรมโยธาภาคพิเศษ (2) กพส. ( 2551 ) โดยนายประภาส เตมียบุตร "ในมูลนิธมิ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 เพือ่ น�ำดอกผลจากกองทุนไปให้ทนุ สนับสนุนการศึกษาแก่นสิ ติ ทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ในวิทยาเขตก�ำแพงแสน และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน โดยปัจจุบนั มีเงินในกองทุนจ�ำนวน 656,876 บาท ด้วยความรูค้ วามสามารถ ความมุง่ มัน่ และการอุทศิ ตน จนส�ำเร็จในวิชาชีพกอปรกับความมีคณ ุ ธรรมอันเป็นทีย่ อมรับของ นายประภาส เตมียบุตร ตลอดจนคุณปู การทีม่ ตี อ่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และวงการวิศวกรรมโยธา ในปี พ.ศ. 2561 สภา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมตั ปิ ริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา แก่นายประภาส เตมียบุตร เพือ่ ขอประกาศเกียรติคณ ุ ไว้ให้เป็นทีป่ ระจักษ์สบื ไป
จัดท�ำโดย ส�ำนักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน ลาดยาว จตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 ที่ปรึกษา ผศ.รัชด ชมภูนิช รักษาการแทนรองอธิการบดีฝา่ ยพัฒนายุทธศาสตร์และสือ่ สารองค์กร บรรณาธิการ นครินทร์ พันธุมจินดา ศิลปกรรม กุลนิษฐ์ จะยะสกูล, มหวรรณ พันธุมจินดา พิมพ์ที่ มูนไลท์ พริน้ ท์ตงิ้ 227, 229 ซอยพระรามที่ 2 ซอย 51 ถนนพระรามที่ 2 ท่าซ้าย บางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150