Ho dhamma architecture in wat ban luk, lamphunkulthirat wuttiakarapaisarn

Page 1

หอธรรมว ัดบ้านหลุก อ�ำเภอเมือง จ ังหว ัดล�ำพูน

กุลธิร ัตน์ วุฒอ ิ ัครไพศาล


ประวัติเมืองล�ำพูน ล�ำพูนเป็ นจังหวัดเก่าเเก่ทส่ี ดุ ในภาคเหนือเดิมมีชอ่ื ว่า นครหริภุญชัย สร้างเมือ่ พ.ศ. 1200 โดยฤๅษีวาสุเทพ ได้เกณฑ์พวกเมงคบุตรเชือ้ สายมอญ มาสร้างระหว่างเเม่น้�ำทัง้ สองสาย ได้เเก่เเม่น้�ำปิงเเละเเม่น้�ำกวง เมือ่ สร้างเสร็จ ได้อญ ั เชิญพระธิดาพระมหากษัตริยแ์ ห่งเมืองละโว้ พระนามว่า จามเทวี มาครอง เมืองหริภุญชัย โดยมีกษัตริยค์ รองเมืองหลายราชวงศ์ สมุยกรุงธนบุร ี พระเจ้ากาวิละ ได้รบั การสนับสนุนจากพระเจ้ากรุงธนบุร ี ให้ทำ� การขับไล่พม่าจนส�ำเร็จเเละได้ไปครองเมืองเชียงใหม่ ต่อมาเจ้าค�ำฝน ได้ ขึน้ ครองเมืองล�ำพูน ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองล�ำพูนได้ตกเป็ นเมืองขึน้ โดยมีเจ้าผู้ ปกครองนครสืบต่อกันมา จนถึงสมัยพลตรีเจ้าจักรค�ำขจรศักดิ ์ เป็ นผูค้ รองเมือง เเละในปี 2475 ได้มกี ารเปลีย่ นเเปลงการปกครอง จึงได้มกี ารยกเลิกต�ำแหน่ง ผู้ ครองเมือง

1


ประวัติความเป็ นมาของวัดบ้านหลุก ต�ำบลเหมืองง่า อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน

วัดบ้านหลุก ตัง้ อยูเ่ ลขที1่ 63 หมูท่ ่ี 8 ต�ำบลเหมืองง่า อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน ในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดบ้านหลุกสร้างขึน้ เมือ่ ราวปี พ.ศ. 2325 โดยมีทด่ี นิ 7 ไร่ 1 งาน 3 ตารางวา อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ หอสวดมนต์ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล หอระฆังปูชนียว์ ตั ถุพระพุทธรูปปรางมารวิชยั ศิลปะล้านนา จ�ำนวน 3 องค์และหอพระไตรปิฎก ภายในบริเวณวัดบ้านหลุกนัน้ มีบรรยากาศร่มรื่นแวดล้อมด้วยกลุ่ม อาคารเก่าแก่อายุกว่า ๑๐๐ปีเป็ นมรดก ทางวัฒ นธรรมสืบ ต่ อ มานานหลาย ช่วงชีวติ คน วัดบ้านหลุกถูกสร้างขึน้ ในพ.ศ. 2429มีชาวบ้านประกอบอาชีพ ทีห่ ลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ น พ่อค้าแม่คา ้ ช่างไม้ชา่ งแก้ว ต่างน�ำเอาวิชาความรู้ ในเชิงช่างติดมาด้วย ส่งผลให้อาคาร เก่ า แก่ ใ นบริเ วณของวัด บ้า นหลุ ก ได้ แสดงออกถึ ง ฝี ม ือ ช่ า งยองอย่ า งไม่ เปลีย่ นแปลง ซึง่ ทีโ่ ดดเด่นก็คอื “ หอ ธรรม”เป็ นอาคารไม้หลังใหญ่ทย่ี นื หยัด ท้าแดดฝนมานาน อายุกว่า ๑๒๐ ปี ภายในมีการจัดเก็บคัมภีรพ์ ระไตรปิฎก คัมภีรโ์ บราณมากมายจนกระทังกรม ่ ศิลปากรต้องจัดเอาหอไตร คัมภีรธ์ รรมโบราณเข้าเป็ นรายการทีต่ อ้ งอนุรกั ษ์ สืบไป รวมทัง้ มีการแวะเวียนมาดูแล บูรณะ จนถึงปจั จุบนั 2


หอธรรมวัดบ้านหลุก อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ประวัติการก่อสร้างและบูรณะ หอธรรมวัดบ้านหลุก สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2429โดยมีพระครูบาปญั ญา เป็ นประธานในการก่อสร้างหอธรรม จนถึงปจั จุบนั หอธรรมวัดบ้านหลุกมีอายุ มากกว่า 120 ปี ถูกสร้างขึน้ ด้วยวัสดุทห่ี าได้งา่ ยในท้องถิน่ คือไม้สกั ทัง้ หลัง มี เสาทัง้ หมดประมาณ 30 ต้น ยกพืน้ เป็ น 2 ชัน้ หอธรรมหลังเดิมมุงด้วยไม้เกล็ด ในปจั จุบนั ได้มกี ารบูรณะหลังคาเป็ นกระเบือ้ งเสาของหอธรรมเดิมนัน้ เป็ นอิฐ ใน ปจั จุบนั กรมศิลป์ ได้มกี ารเข้ามาช่วยบูรณะเพิม่ เติมให้มคี วามแข็งแรงมากขึน้ โดยมีการบูรณะล่าสุดเมือ่ ปีพ.ศ.2555

3


ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของวัดบ้านหลุก ลักษณะของหอธรรมวัดบ้านหลุกเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ยกใต้ถุนต�่ำ สร้างขึน้ ด้วยไม้ทงั ้ หลังมีเสา 30 ต้น ต้นละประมาณ 90 เซนติเมตร มีเสารองรับ อาคารชัน้ บนเป็ นหอไตรสองชัน้ ใต้ถุนต�่ำ อาคารด้านบนท�ำเป็ นห้องสีเ่ หลีย่ ม มีหน้าต่างรอบด้านหน้าประตูทางเข้าเป็ นประตูสองบาน คันทวยหูชา้ งแกะสลัก เป็ นรูปลิง และลายกนก มีรปู พรรณพฤกษาแกะสลัก อยูท่ ม่ี มุ ทัง้ สีห่ น้าบันแกะ สลักเป็ นลายเครือเถาพรรณพฤกษาประดับกระจกสี ในส่วนหลังคาเป็ นหลังคา ทรงจัวมุ ่ งกระเบือ้ งดินขอ

4


ลักษณะโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมหอธรรม หอธรรมวัดบ้านหลุกเป็ นเครือ่ งไม้ทงั ้ หลัง เป็ นอาคารขนาดสองชัน้ ยก ใต้ถุนเตีย้ แผนผังรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า กัน้ ฝาทึบทัง้ สีด่ า้ น เจาะช่องหน้าต่างด้านละ 4-5 ช่อง โดยทางด้านหน้ามีประตูทางเข้า 1 ประตู และไม่มบี นั ไดให้ขน้ึ หาก ต้องการจะขึน้ ต้องน�ำบันไดมาพาดไว้แล้วยกเก็บเมือ่ ใช้เสร็จ หลังคาท�ำเป็ น หลังคาลดชัน้ แต่เดิมมีการบุงด้วยไม้สกั ทัง้ หลังต่อมามีการผุผงั ลง จึงได้มกี าร บูรณะการมุงหลังคาด้วยกระเบือ้ ง ซึง่ ประกอบด้วย ช่อฟ้า หางหงส์ หน้าบันมี การประดับลวดลายไม้แกะสลักเป็ นลายพรรณพฤกษา ในส่วนของตัวหอธรรมก็ มักมีการประดับลวดลายไม้แกะสลักเป็ นลายพรรณพฤกษาอย่างสวยงาม

5


งานศิลปกรรมประดับหอธรรม งานศิลปกรรมประดับหอธรรม คือ ส่วนประกอบทีใ่ ช้ในการประดับ ตกแต่งตัวอาคาร เป็ นส่วนหนึ่งของโครงสร้างทีส่ ร้างสุนทรียภาพ จะมีการประดับ ตามต�ำแหน่งทีส่ ำ� คัญรอบๆหอธรรม จึงเป็ นส่วนทีไ่ ม่สามารถแยกออกจากงาน สถาปตั ยกรรมไทยได้ รวมทัง้ ยังเป็ นส่วนทีส่ ร้างขึน้ ตามคติทางพระพุทธศาสนา เช่นกัน

ส่วนรูปแบบทางศิลปกรรมทีป่ ระดับตัวหอธรรมวัดบ้านหลุก อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูนนัน้ โดยสามารถจ�ำแนกลวดลายประดับตกแต่งได้ดงั นี้

6


1.

ลวดลายสัตว์

2.

ลวดลายพรรณพฤกษา

3.

ลวดลายเทวดา

ประเภทของสัตว์ทม่ี กี ารน�ำมาตกแต่งนัน้ ต้องเป็ นสัตว์ทม่ี คี วามเชือ่ ว่า เป็ นสัตว์ทส่ี ามารถปกป้อง คุม้ ครอง ป้องกันภัยอันตรายต่างๆ โดยไม่ให้สงิ่ ชัว่ ร้ายได้เข้ามาใกล้กบั พระคัมภีร์ หรือพระไตรปิฎก เช่น ลิง นกยูง นกหัสดีลงิ ค์ เป็ นต้น

ลวดลายพรรณพฤกษาเป็ นลวดลายที่เป็ นที่นิยมมากในการใช้ประดับ ตกแต่ง โดยลักษณะทีป่ รากฏออกมานัน้ จะเป็ นลายเครือเถา หรือทีเ่ รียกว่าลาย ก้านขด ดอกไม้ทน่ี ิยมใช้กนั มากทีส่ ดุ นัน้ คือ ดอกบัว นอกจากนี้ยงั มีลายดอก โบตั ๋นหรือทีเ่ รียกกันว่าดอกพุดตาน เป็ นดอกทีม่ กี ารรับอิทธิพลมาจากจีน โดย ทัวไปอาจจะมี ่ การพบลวดลายของดอกสัปปะรด โดยการสังเกตุงา่ ยๆคือ บริเวณ ตรงกลางของดอกจะมีการท�ำเป็ นลายตาราง มีการปรากฏใน หน้าบัน คันทวย ต่างๆ

ลวดลายเทวดามักจะอยูบ่ ริเวณ ประตู หน้าต่าง หน้าบัน โดยมีความเชือ่ ว่าเทวดานัน้ จะคอยปดั ไล่ สิง่ ชัวร้ ่ ายออกไป โดยทัวไปลั ่ กษณะของเทวดานัน้ จะ อยูใ่ นท่ายืนพนมกร หรือไม่กเ็ ทวดาจะมีการถือดอกไม้

7


8


ลักษณะทางศิลปกรรมของวัดบ้านหลุก

1.

หลังคา

เป็ นหลังคาสองชัน้ ชัน้ ล่างมีการท�ำครอบคลุมอาคารไม้ทงั ้ หมด แต่เดิม นัน้ หลังคาของหอธรรมวัดบ้านหลุกนัน้ มุงไม้ เมือ่ มีการผุผงั ของไม้ต่อมาจึงได้ม ี การบูรณะการมุงหลังคาด้วยกระเบือ้ ง

9


2.

ช่อฟ้า

3.

ป้านลมและหางหงส์

เป็ นองค์ประกอบสถาปตั ยกรรมทีส่ �ำคัญทางสถาปตั ยกรรมของอาคาร ทางพระพุทธศาสนาทีจ่ ะประดับตรงปลายสันหลังคน อยูเ่ หนือบริเวณสันอกไก่ วัสดุทใ่ี ช้เป็ นไม้ โดยการแกะสลักเป็ นรูปปากหงส์และมีบางวัสดุเป็ นวัสดุอน่ื ๆ เช่น มีการประดับกระจก (แก้วอังวะ) กระเบือ้ ง

ั ้ ยบไปตามแนวลาดเอียงของหลังคาล้านนา เป็ นลักษณะของปูนปนเรี นิยมใช้ในการปิ ดหัวแปบางครัง้ ท�ำเป็ นล�ำตัวนาคแบบตรงๆทีภ่ าคกลางเรียกว่า นาคล�ำยองจะใช้ไม้เป็ นวัสดุในการท�ำเนื่องจากมีน้ําหนักเบา และหาได้งา่ ยใน ท้องถิน่

10


4.

หน้าบัน

5.

ประตู

6.

แป้นน�้ำย้อย

นิยมใช้ไม้เป็ นวัสดุในการก่อสร้างและประดับลวดลาย โครงสร้างอัน เป็ นเอกลักษณ์ คือ โครงสร้างแบบขือ่ ม้าต่างไหม เพราะมีคณ ุ สมบัตใิ นการกระ จายรับน�้ำหนักของหลังคาลงสูเ่ สาได้ด ี มักมีการประดับประดาลวดลายเครือเถา พรรณพฤกษา สัตว์หมิ พานต์ วัสดุทใ่ี ช้ในการประดับประดาหน้าบัน ได้แก่ ปูน

ประตูทางเข้าห้องเก็บคัมภีรม์ กี ารเขียนลายทวารบาลอย่างง่าย

เป็ นแป้นทีต่ ดิ อยูก่ บั โครงสร้างของหลังคาด้านล่าง ซึง่ มีการท�ำให้เกิด ความสวยงาม โดยมีลกั ษณะการตกแต่งด้วยเทคนิคการแกะสลักไม้ และตกแต่ง เติมสีลงไป

11


7.

ขือ่ และแปหัวเสา

8.

ปากแล

9.

ฝาผนัง

10. หน้าต่างของหอธรรม

เป็ นไม้ท่มี หี น้ าที่ยดึ หัวเสาทัง้ สองด้านสกัดเข้าหากันเป็ นไม้ท่วี างตาม ยาวของหลังคา ท�ำหน้าทีย่ ดึ หัวเสาระหว่างห้องต่อห้องโดยวางทับปากขอมกับ ขือ่ รับน�้ำหนักจากกลอนและแผงหน้าจัว่ เป็ นงานไม้แกะสลักประดับอาคารสถาปตั ยกรรมล้านนา อยูต่ รงส่วน หน้าของช่องแผงแลทีย่ น่ื พ้นตัวอาคาร เป็ นรูปเทวดา ประดับเพือ่ ความสวยงาม ั ้ น ประดับด้วยกระจก โดยทีม่ หี งส์ประทับอยูข่ า้ งหน้าทุกมุม ใช้เทคนิคการปนปู

หอธรรมวัดบ้านหลุกเป็ นอาคารสองชัน้ มีใต้ถุนเตีย้ ข้างล่างเป็ นโถงเป็ น แผ่นไม้ตตี ามยาว ชัน้ บนเดิมใช้เป็ นทีเ่ ก็บพระไตรปิฎก พระคัมภีรต์ ่างๆ มีหน้า ต่างด้านกว้าง 4 บาน ด้านยาว 5 บาน มีการประดับฝาผนังด้วยไม้แกะสลักเป็ น รูปพรรณพฤกษา

เป็ นงานไม้แกะสลักประดับอาคารสถาปตั ยกรรมล้านนาหน้ าต่างห้อง เก็บคัมภีรเ์ ป็ นรูปเทวดาโดยมีความเชื่อว่าเทวดาจะคอยปกป้องคุม้ ครองคัมภีร์ พระไตรปิฎก 12


11. คันทวย

- คันทวยลวดลายสัตว์ ทีม่ คี วามเกีย่ วเนื่องทางพระพุทธศาสนา โดยส่วน ทีพ่ บจะเป็ นลวดลายวานรลายเดียวกัน จ�ำนวน 18 ตัว - คันทวยพรรณพฤกษา ทีม่ คี วามเกีย่ วเนื่องทางพระพุทธศาสนา โดยส่วน ทีพ่ บจะเป็ นพรรณพฤกษา 2 ลาย จ�ำนวน 18 ตัว

13


14


15


หอธรรมวัดบ้านหลุก อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ภาพและเนื้อเรือ่ ง © 2014 (พ.ศ. 2557) โดย กุลธิรตั น์ วุฒอิ คั รไพศาล, 540310116 สงวนลิขสิทธิ ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครัง้ แรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย กุลธิรตั น์ วุฒอิ คั รไพศาล โดยใช้ฟอนต์ Browallia New 16pt หนังสือเล่มนี้เป็ นผลงานทางวิชาการจัดท�ำขึน้ เพือ่ ส่งเสริม และต่อยอดศักยภาพการศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

16



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.