การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยง ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบบ้านรักษ์พอเพียง

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปั ญหาพิเศษ การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยง จากการดาเนินธุรกิจตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศกึ ษาศูนย์เรี ยนรู้ต้นแบบ บ้ านรักษ์ พอเพียง อาเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี Evaluate the effectiveness of internal control and risk in business philosophy of sufficiency economy. A case study: Learning center Banrukporpeang, Maung District, Prachinburi Province

โดย นางสาวเมณา นางสาวสุปรี ยา นางสาวสุภสั สร นางสาวอรนภา

เส็งกิ่ง เหรี ยญตระกูล มัง่ คัง่ กอทอง

รายงานผลการศึกษานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


ปั ญหาพิเศษ โดย

นางสาวเมณา นางสาวสุปรี ยา นางสาวสุภสั สร นางสาวอรนภา

เส็งกิ่ง เหรี ยญตระกูล มัง่ คัง่ กอทอง

5230110694 5230110945 5230110961 5230111038

เรื่ อง การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยง จากการดาเนินธุรกิจตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กรณีศกึ ษาศูนย์เรี ยนรู้ต้นแบบบ้ านรักษ์พอเพียง อาเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี

Evaluate the effectiveness of internal control and risk in business philosophy of sufficiency economy. A case study: Learning center Banrukporpeang, Maung District, Prachinburi Province ได้ รับการตรวจสอบและอนุมตั ใิ ห้ เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร เมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2556 อาจารย์ที่ปรึกษาปั ญหาพิเศษ (อาจารย์ธิญาดา พิชญาศุภกุล) อาจารย์ผ้ ปู ระสานงานรายวิชา (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ )


การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยง จากการดาเนินธุรกิจตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศกึ ษาศูนย์เรี ยนรู้ต้นแบบ บ้ านรักษ์ พอเพียง อาเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี Evaluate the effectiveness of internal control and risk in business philosophy of sufficiency economy. A case study: Learning center Banrukporpeang, Maung District, Prachinburi Province

โดย

นางสาวเมณา นางสาวสุปรี ยา นางสาวสุภสั สร นางสาวอรนภา

เส็งกิ่ง เหรี ยญตระกูล มัง่ คัง่ กอทอง

5230110694 5230110945 5230110961 5230111038

ปั ญหาพิเศษนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2555


(1)

บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาแนวคิด หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ ศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรีศึกษากระบวนการและขั้นตอน การดําเนินงานและการควบคุมภายในรวมถึงประเมินประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในและ ความเสี่ยง ประกอบกับการมีหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินธุรกิจของศูนยเรียนรู ตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ผลการศึกษา การดําเนินงานและการควบคุมภายในของศูนยการเรียนรูตนแบบบานรักษ พอเพียงทั้ง 6 ดาน ไดแก ดานการบริหาร การรับเงิน การจายเงิน การจัดซื้อ การผลิต/บริการ และ บุคลากรเงินเดือนคาแรง ตามองคประกอบการควบคุมภายใน พบวา การควบคุมภายในดาน สภาพแวดลอม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร และดาน การติดตามประเมิน ผล องคก รไมมีก ารกําหนดระบบการควบคุมภายในทั้ง 6 ดานที่ชัดเจน เพียงพอ ทําใหระบบการควบคุมภายในไมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งสงผลทําใหเกิดความ เสี่ยงจากการตรวจสอบ และความเสี่ย งจากการควบคุมในระดับที่สูง ความเสี่ยงที่ผูสอบบัญ ชี ยอมรับไดอยูในระดับที่ต่ํามาก ในฐานะผูสอบบัญชีจึงควรใสใจและใหความสําคัญกับระบบการควบคุมภายในและการ บริหารความเสี่ยง การวางแนวทางการตรวจสอบควรสอดคลองกับผลจากการประเมินความเสี่ยง โดยเฉพาะองคกรที่เกี่ยวของกับเกษตรกรรม ที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤติการณความไมมั่นคงทาง อาหาร ทําใหตนทุนทางการผลิตสูงขึ้น ควรเนนที่การตรวจสอบรายจายทางดานตนทุน โดยเนนสิ่ง ที่อาจสงผลตอการบันทึกรายการ และการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญเพื่อ แสดงความคิดเห็นตองบการเงินวางบการเงินนั้นไดจัดทําในสวนสาระสําคัญเปนไปตามแมบทการ บัญชีในการรายงานทางการเงิน


(2)

กิตติกรรมประกาศ การศึกษาปญหาพิเศษเรื่อง การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยง จากการดําเนินธุรกิจ ตามหลัก ปรัช ญาเศรษฐกิจพอเพีย ง กรณีศึก ษาศูนยเ รียนรูตน แบบบาน รักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ครั้งนี้ สามารถประสบความสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เนื่องจากไดรับความอนุเคราะห ความกรุณา และการสนับสนุนจาก อาจารยธิญาดา พิชญาศุภกุล ที่ไดกรุณาใหคําแนะนําในดานตางๆพรอมทั้งตรวจทานแกไขขอบกพรองและขอเสนอแนะ มอบ กําลังใจในการทําปญหาพิเศษเลมนี้จนสําเร็จ คณะผูจัดทําขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานศูนยการเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอ เมือง จังหวัดปราจีน บุรี รวมทั้งแหลงที่ ศึก ษาคน ควาขอมูลตางๆ อาทิเชน หนังสือ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ และสื่อทางอินเตอรเน็ตที่ใหคณะผูจัดทําไดใชเปนแนวทางในการศึกษา ป ญ ห า พิ เ ศ ษ แ ล ะ ข อ ข อ บ คุ ณ เ พื่ อ น นิ สิ ต ป ริ ญ ญ า ต รี ส า ข า ก า ร บั ญ ชี บ ริ ห า ร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รุนที่ 69 ที่ใหความชวยเหลือแนะนําแนวทางในการจัดทําปญหา พิเศษ และใหกําลังใจคณะผูจัดทําโดยตลอดมา สุดทายนี้ทางคณะผูจัดทําขอขอบพระคุณและระลึกอยูเสมอวาจะไมมีความสําเร็จใดๆ ใน ชีวิตของคณะผูจัดทํา หากปราศจากความรัก ความเขาใจ และกําลังใจจากผูที่มีพระคุณที่คอยให การสนับสนุนการศึกษาของคณะผูจัดทํามาโดยตลอด ขอขอบคุณคณาจารยทุกทาน และสถาบัน การศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาหาความรูแกคณะผูจัดทํา คณะผูจัดทําหวังวาปญหาพิเศษเลมนี้ คงมีประโยชนเปนอยางมากสําหรับหนวยงานที่ เกี่ยวของ ตลอดจนผูที่สนใจเกี่ยวกับเรื่อง การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความ เสี่ยง จากการดําเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกรณีศึกษาศูนยเรียนรูตนแบบบาน รักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรีห ากมีขอผิดพลาดประการใด คณะผูจัดทําตองขอ อภัยมา ณ ที่นี้ดวย คณะผูจัดทํา กุมภาพันธ 2556


(3)

สารบัญ หน้ า บทคัดย่ อ

(1)

กิตติกรรมประกาศ

(2)

สารบัญ

(3)

สารบัญภาพ

(5)

สารบัญตาราง

(6)

บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับจากการศึกษา นิยามศัพท์ กรอบแนวคิดการศึกษา วิธีการศึกษา

1 3 3 4 4 5 6

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ อง แนวคิดเกี่ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร แนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดเกี่ยวกับการพึง่ พาตนเอง แนวคิดหลักธรรมาภิบาล แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนงานสอบบัญชี

7 13 25 30 34


(4)

สารบัญ(ต่ อ) หน้ า บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ อง(ต่ อ) แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง

47 61

บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศึกษา ประวัติศนู ย์เรี ยนรู้ต้นแบบบ้ านรักษ์พอพียง ธุรกิจของศูนย์เรี ยนรู้ต้นแบบบ้ านรักษ์พอพียง แบบประเมินการดาเนินงานและขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน การดาเนินงานและขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน สรุปผล 5 องค์ประกอบการควบคุมภายในกับการดาเนินงานทัง้ 6 ด้ าน

67 72 76 86 98 104

บทที่ 4 ผลการศึกษา ความเสี่ยงสืบเนื่อง ความเสี่ยงจากการควบคุม ข้ อเสนอแนะด้ านการบริหารและระบบทางเดินเอกสาร

114 118 129

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้ อเสนอแนะ บทสรุป ข้ อเสนอแนะ

152 154

เอกสารอ้ างอิง

155


(5)

สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่ 2-1 3-1 3-2 3-3 3-4 3-5 3-6 3-7 3-8 3-9 3-10 3-11 3-12 3-13 4-1 4-2 4-3 4-4 4-5 4-6 4-7 4-8 4-9 4-10

แผนภาพหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์การเรี ยนรู้ต้นแบบบ้ านรักษ์พอเพียง แผนผังองค์กร การเพาะเห็ดฟาง การเลี ้ยงหมูหลุม การเผาถ่านด้ วยถัง การเลี ้ยงเป็ ด-ไก่ไข่ การหมักน ้าหมัก การทาน ้ายาเอนกประสงค์ ขันตอนการรั ้ บชาระเงิน ขันตอนการเบิ ้ กจ่ายเงิน ขันตอนการจั ้ ดซื ้อและดูแลรักษา ขันตอนการผลิ ้ ตและบริการ ขันตอนการจั ้ ดการบุคลากรและค่าแรง แผนผังองค์กรใหม่ กระบวนการการรับเงิน ผังกระบวนการด้ านการเบิกจ่ายเงิน ผังกระบวนการจัดซื ้อ กระบวนการตรวจรับสินทรัพย์ ผังกระบวนการด้ านการผลิตและบริการ ผังกระบวนการปิ ดบัญชีคมุ ยอดงานระหว่างทาเข้ าบัญชีคมุ ยอดสินค้ าสาเร็จรูป ผังกระบวนการการบันทึกประวัตขิ องพนักงาน ผังกระบวนการการบันทึกเวลาการทางานของพนักงาน ผังกระบวนการการจ่ายเงินเดือนพนักงาน

22 67 70 73 73 73 74 74 74 89 91 93 95 97 131 136 140 142 144 146 148 149 150 151


(6)

สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่ 3-1 3-2 3-3 3-4 4-1 4-2

สมาชิกในครอบครัว แบบประเมินการดาเนินงานและขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน สรุปผล 5 องค์ประกอบการควบคุมภายในกับการดาเนินงานทัง้ 6 ด้ าน แสดงระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ แสดงความสามารถของผู้สอบบัญชีที่จะยอมรับความเสี่ยงจากการตรวจสอบ

69 76 98 104 128 129


บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ ในปจ จุบันสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ภาวะโลกรอนจะสงผลกระทบ ทางตรงตอการผลิตอาหารและอุตสาหกรรมการเกษตร ทําใหดินแหงแลงขาดความอุดมสมบูรณ และแนวโนมทั้งหมดมีความเปนไปไดวาจะเกิดขึ้นจริงมากกวารอยละ 90 ในขณะที่ทั่วโลกกําลัง ประสบปญ หาราคาน้ํามัน ที่แพงขึ้น และทวีความรุน แรงอยางตอเนื่อง วัตถุดิบที่ใชใ นการผลิต อาหารสํ า หรั บ คนและสั ต ว มี ร าคาพุ ง สู ง ขึ้ น โดยมิ ไ ด ค าดการณ ม าก อ นและนํ า ไปสู ก ารเกิ ด “วิกฤตการณอาหารโลก” ( World Food Crisis ) ขึ้น กอใหเกิดกระแสความตึงเครี ยดไปทั่วโลก เนื่องจากประชากรโลกลมตายดวยความอดอยากและหิวโหย ปญหาราคาอาหารขยับสูงในเวลานี้ เปนสัญญาณบงชี้วาโลกไดกาวเขาสูยุคใหมซึ่งเปนยุคที่ผูบริโภคจะตองเผชิญความจริงที่วาราคา อาหารจะคงไตระดับสูงตอไปเปนระยะยาว ดวยเหตุปจจัยหลักๆ คือ ความตองการบริโภคอาหาร ขยายตัวเพิ่มขึน้ อยางรวดเร็วในภูมิภาคเอเชีย ขณะที่การแขงกันปลูกพืชพลังงานเพื่อปอนโรงผลิต น้ํามันชีวภาพจะรุกไลพื้นที่ปลูกพืชเพื่อเปนอาหารในหลายประเทศทั่วโลก และสุดทายคือ ผลพวง จากการเปลี่ย นแปลงของสภาวะอากาศ (Climate Change) จะทําใหพื้นที่เพาะปลูก ในหลาย ภูมิภาคประสบภัยแลง ทําใหผลผลิตลดลงราคาสินคาในตลาดโลกที่แพงขึ้นมีความสัมพันธตอ ราคาสินคาในไทยทั้งทางตรงและทางออมอยางชัดเจน (ผูจัดการออนไลน, 2551. http://www. lube999.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538758321&Ntype=1., 9 ธั น วาคม 2555) เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด เปนปรัชญาชี้ ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึง ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ


2 อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ ความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิช าการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนิน การทุก ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ เอกชน และประชาชนทุกระดับ ใหมีจิตสํานึกในคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่ เหมาะสม ดําเนินชีวิตอยูไดดวยความอดทน ความเพีย ร มีสติปญ ญา และความรอบคอบ ให สมดุลและพรอมสรรพเพื่อรองรับวิวัฒนาการทั้งดานวัตถุสังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกไดเปนอยางดี(จุไรรัตน แสนใจรักษ, 2553: 13) ในการประกอบธุรกิจการดําเนินงานของทุกกิจการจะอยูภายใตภาวะที่ไมแนนอนและมี ความเสี่ยงอยูเสมอทําใหทุกกิจการตองมีการปรับตัวและกําหนดกลยุทธในการทํางานใหมรวมทั้ง จัดหาเครื่องมือทางดานการจัดการเขามาชวยในการบริหารงานมากขึ้นระบบการควบคุมภายใน เปนเครื่องมือดานการจัดการประเภทหนึ่งที่ถูก นํามาชวยในการปองกันและรักษาทรัพยสินของ กิจการชวยใหการใชทรัพยากรของกิจการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนกลไกพื้นฐานสําคัญ ของกระบวนการกํากับดูแลการดําเนินงานตางๆใหบรรลุวัตถุประสงคนอกจากนั้นแลวผูบริหาร จะตองตระหนักอยูเสมอวาการควบคุมภายในของกิจการใดกิจการหนึ่งจะสมบูรณไมไดหากขาด การติดตามและประเมินผลเนื่องจากความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในแปรเปลี่ยนไปได เสมอจึงจําเปนอยางยิ่งที่กิจการจะตองมีระบบการติดตามและประเมินผลเพื่อใหผูบริหารมีความ มั่นใจวาการควบคุมภายในที่มีอยูนั้นเพียงพอและมีประสิทธิผลจะเห็นไดวาการจัดใหมีระบบการ ควบคุมภายในและมีการติดตามประเมินผลอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอนั้นมีความสําคัญอยางยิ่ง ตอทุกหนวยงานไมวาจะเปนหนวยงานราชการเอกชนหรือรัฐ วิสาหกิจ (อุทุมพร ธรรมสนอง, 2551: 9) ศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษ พอเพีย ง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ดําเนินกิจการแบบ ธุรกิจ ครอบครัวเกี่ย วกับ การจําหนายผลิตภัณ ฑ จ ากธรรมชาติ และการเปด ใหความรูวิถีชีวิต พอเพียงแกหนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชนและชุมชนตางๆ โดยดําเนินงานภายใตแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาเปนแนวทางในการดํารงชีวิตและ การประกอบธุรกิจ ซึ่งการดําเนิน งานแบบธุรกิจครอบครัว ทําใหกิจการขาดระบบการควบคุม ภายในที่เพีย งพอและมีป ระสิทธิภาพ ซึ่งระบบการควบคุมภายในเปนเครื่องมือดานการจัดการ ประเภทหนึ่งที่ถูกนํามาชวยในการปองกันและรักษาทรัพยสินของกิจการชวยใหการใชทรัพยากร


3 ของกิจการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนกลไกพื้นฐานสําคัญของกระบวนการกํากับดูแลการ ดําเนินงานตางๆใหบรรลุวัตถุประสงค ดังนั้น ผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่องการประเมินผลการควบคุมภายในทางการบัญ ชี ของศูนยเรีย นรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เพื่อใหท ราบถึงความ เพียงพอและเหมาะสมของการควบคุมภายในทางการบัญชีที่ใชปฏิบัติเพื่อจะไดทําการปรับเปลีย่ น แกไขใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับสถานการณปจจุบันและสงผลใหการดําเนินงานตางๆของ ศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงเกิดประสิทธิภาพสูงสุด วัตถุประสงค 1. เพื่อศึก ษาแนวคิ ดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ของศูน ยเ รีย นรูตน แบบบานรัก ษ พอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 2. เพื่อศึก ษากระบวนการและขั้น ตอนการวางแผนงานตรวจสอบของผูสอบบัญ ชีรับ อนุญาต 3. เพื่อศึกษากระบวนการและขั้นตอนการดําเนินงานและการควบคุมภายในของศูน ย เรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง 4. เพื่อประเมินประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในและความเสี่ยง ประกอบกับการมี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินธุรกิจ ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้จะทําการศึกษาถึงการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน จาก การดําเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยศึก ษาเกี่ยวกับ การดําเนิน งานและการ ควบคุมภายในของศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี


4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษา 1. เพื่อมีความรูความเขาใจในหลักแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล ตอการดําเนินธุรกิจ 2. เพื่อทราบถึงแนวทางและวิธกี ารตรวจสอบไดอยางมีประสิทธิผล 3. เพื่อทราบถึงความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในและการดําเนินงานโดย ใชหลักหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินธุรกิจ นิยามศัพท เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึง แนวการดํารงอยู และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศใหดําเนินไป ใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน หลักธรรมาภิบาล หมายถึง แนวทางในการจัดระเบีย บเพื่อใหสังคมของประเทศทั้ง ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชนและภาคประชาชน สามารถอยูรวมกันไดอยางสงบสุข และตั้งอยูใน ความถูกตองเปนธรรม ตามหลักพื้นฐานการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ประสิทธิภาพ หมายถึงการเปรียบเทียบทรัพยากรที่ใชไปกับผลที่ไดจากการดําเนินงาน วาดีขึ้นอยางไร แคไหน ในขณะที่กําลังดําเนินการตามเปาหมายหรือการกระทําใดๆที่ใหผลยาง ประหยัด กลาวคือ เปนการนําทรัพยากรที่มีอยูไปใชใหไดผลอยางคุมคา การควบคุม ภายในหมายถึ งกระบวนการปฏิบัติ งานที่บุ คลากรในองคก รโดยคณะ กรรมการบริหารผูบริหารทุกระดับและพนักงานทุกคนมีบทบาทรวมกันในการจัดใหมีขึ้นเพื่อสราง ความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวาการปฏิบัติงานจะบรรลุวัตถุประสงคของการควบคุมภายใน การสอบบัญชี หมายถึง กระบวนการของการรวบรวมและการประเมินหลักฐานเกี่ยวกับ ขอมูลสารสนเทศ เพื่อระบุและรายงานเกี่ยวกับระดับความสอดคลองตองกันของขอมูลสารสนเทศ


5 ตามแมบทการบัญชี และระเบียบนายทะเบียนสหกรณวาดวยการสอบบัญชีของสหกรณที่กําหนด ไว สําหรับการสอบบัญชีควรปฏิบัติโดยบุคคลที่มีความรูความสามารถและอิสระ หลักฐานการสอบบัญชีหมายถึง ขอมูล หรือขอเท็จจริงที่ผูสอบบัญชีไดรับหรือรวบรวม จากการใชวิธีก ารตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญ ชี ที่รับ รองทั่วไป เพื่อใหไดขอมูลที่ใ ช สนับสนุนขอสรุปผลการตรวจสอบ ความเสี่ยงจากการควบคุม หมายถึง ความเสี่ยงที่ระบบบัญ ชีหรือระบบการควบคุม ภายในไมสามารถปองกัน หรือตรวจพบและแกไขการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จ จริงไดอยาง ทันเวลา โดยผูสอบบัญชีจะใชวิธีการทดสอบการควบคุม (Test of Control) เพื่อทดสอบการแสดง ขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริง อาจเกิดขึ้นในยอดคงเหลือของบัญชีหรือประเภทของรายการ และอาจมี สาระสําคัญในแตละรายการหรือมีสาระสําคัญเมื่อรวมกับการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงใน ยอดคงเหลืออื่นหรือประเภทรายการอื่น กรอบแนวคิดการศึกษา ในการทําการศึกษาวิธีการประเมิน ประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยงโดย การทําเขาใจการดําเนิน งานของและการควบคุมภายในของธุรกิจ ในธุร กิจ ที่ยึดหลัก ปรัช ญา เศรษฐกิจพอเพียง ในการศึกษาครั้งนี้มุงเนนศึกษาเขาใจกิจการสภาพแวดลอมของกิจการ เพื่อ ประเมิน ประสิท ธิภาพการควบคุมภายใน รวมถึง ประเมินความเสี่ย งสืบ เนื่อง และความเสี่ย ง ควบคุม กรณีศึกษาของศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรีเพื่อนํา ความเสี่ยงที่พบมาวางแผนการตรวจสอบบัญชีตอไป ขอสมมุติฐานของการศึกษา 1. เข า ใจการดํ า เนิ น งานของและการควบคุ ม ภายในของธุ ร กิ จ และนํ า ไปประเมิ น ประสิทธิภาพการควบคุมภายใน รวมถึงความเสี่ยงสืบเนื่อง และความเสี่ยงควบคุม 2. นําความเสี่ยงที่พบมาวางแผนการตรวจสอบบัญ ชี เพื่อลดความเสี่ย งของการสอบ บัญชีใหอยูในระดับที่ต่ําพอที่จะยอมรับไดตอไป


6 วิธีการศึกษา 1. ระดับปฐมภูมิ (Primary Level) เก็บขอมูลจากการสัมภาษณผูกอตั้งและผูเกี่ยวของ ของศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เกี่ยวกับการดําเนินงาน และระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน 2. ระดับทุติยภูมิ (Secondary Level)เปนขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควาจากขอมูลที่มี ผูรวบรวมไว ทั้งจากหนวยงานภาครัฐบาลและเอกชน วารสาร อินเตอรเน็ต บทความและหนังสือ ในหองสมุดของมหาวิทยาลัย


บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวของ การศึกษาปญหาพิเศษเรื่องการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยง จากการดําเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษ พอเพีย ง อําเภอเมือง จัง หวัดปราจีน บุรี ไดศึก ษาคน ควาเอกสาร ตํารา และงานวิจัย ตางๆที่ เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการศึกษา ไดแก 1. แนวคิดเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร 2. แนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. แนวคิดเกี่ยวกับการพึ่งพาตนเอง 4. แนวคิดเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล 5. แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนงานสอบบัญชี 6. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน 7. วรรณกรรมที่เกี่ยวของ แนวคิดเกีย่ วกับความมั่นคงทางอาหาร องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติใหนิยามคําวา “ความมั่น คงทางอาหาร” หมายถึง การที่ประชาชนมี “ปริมาณ” อาหารเพื่อการบริโภคที่เพียงพอ มีความ “หลากหลาย” ของ ประเภทอาหารที่ไดรับ และอาหารนั้น “มีคุณภาพ” หมายถึง มีคุณคาทางโภชนาการและมีความ สะอาดปลอดภัยจากสารพิษและเชื้อโรค เพื่อดํารงไวซึ่งสุขภาพที่ดี และชีวิตที่แจมใส รวมทั้ง


8 ประชาชนสามารถเขาถึงอาหารอันเกิดจากระบบการกระจายอยางทั่วถึง (อางในชมรมศิษยเกา บูรณะชนบทและเพื่อน. 2543: 1-6) เครือขายองคกรพัฒนาเอกชน 3 องคกรที่ทํางานดานการใหความชวยเหลือทางอาหาร คือ The CanandianFoodgrains Banks, Euron Aid และ Food Aid Management (USA) (อาง ในชมรมศิษยเกาบูรณชนบทและเพื่อน. 2543: 1-6)ไดวิเคราะหและขยายความคําวา ความมั่นคง ทางอาหารไวดังนี้ 1. การเข า ถึ ง อาหาร หมายถึ ง การมี อ าหารอย า งเพี ย งพอเป น สิ่ ง จํ า เป น แต ไ ม ไ ด หมายความวาอาหารมีอยางลนเหลือจะแสดงวาความหิวโหยจะหมดไปดังนั้นการเขาถึงหารอยาง ลนเหลือ คือ การที่ประชาชนมีงานทําและมีรายไดเพียงพอที่จะเขาถึงอาหารนั้นๆ 2. ความเทาเทียมกัน ความมั่นคงทางอาหารในระดับประเทศ หรือระดับภูมิภาค ไมได หมายความวา จะนําไปสูความมั่นคงทางอาหารในระดับครัวเรือน บอยครั้งที่เราเห็นถึงภาวะการ ขาดแคลนอาหารในระดับครอบครัว ระหวางสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน ระหวางเด็กกับผูใหญ ระหวางผูหญิงและผูชาย ระหวางครอบครัวมั่งมีและขาดแคลนในชุมชนเดียวกัน ความมั่นคงทาง อาหารจึงหมายถึง ความเทาเทียมกันของสมาชิกในสังคมนั้นๆ ที่มีอาหารอยางเพียงพอเทาเทียม กัน 3. การมีอาหารตลอดเวลา ในการผลิตอาหารใหมีป ริม าณเพียงพอ และสม่ําเสมอเปน หลักประกันที่สําคัญวาครอบครัวนั้นๆ ชุมชนนั้น ๆ มีความมั่นคงทางอาหารและการผลิตอาหาร การผลิตอาหารที่เ พียงพอ จําเปนตองอาศัยสภาพแวดลอมที่มั่ นคง ไมแปรปรวน ความขัดแยง ทางดานการใชทรัพยากรและที่ดินภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นจะสงผลตอการผลิตอาหารและการสํารอง ดั ง นั้ น จึ ง มี ค วามจํ า เป น ต อ งปกป อ งสิ่ ง แวดล อ ม รวมทั้ ง ลดความขั ด แย ง และการแย ง ชิ ง ทรัพยากรธรรมชาติและที่ดิน อันเปนบอเกิดความไมมั่นคงทางอาหาร 4. อาหารเพื่อสุขภาพและพลานามัย ที่สมบูรณ ความมั่น คงทางอาหารมีค วามหมาย รวมถึงการที่สมาชิกทุกคนมี ครอบครัวมีอาหารเพียงพอ ทั้งปริมาณและคุณภาพ อีกทั้งอาหารที่


9 บริโภคควรมีคุณคาครบถวนทางโภชนาการ ประชาชนควรบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย มี น้ําสะอาดดื่ม และไดรับการดูแล การบริหารขั้นพื้นฐานตางๆ เชน สุขภาพอนามัย เปนตน ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง การเพิ่มขึ้นของผลิตผลที่มีมากขึ้น รวมถึงโอกาสของ ประชาชนที่สามารถมีรายไดในการหาซื้ออาหาร และแมแตประชาชนที่จนที่สุดในกลุมคนจนก็ตอง ไดรับอาหารดวย โดยตองคํานึงถึงการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมควบคู กันไป (อางถึงใน สุนันทธนา แสนประเสริฐ, 2545, น. 3) การประชุม World Food Summit 1991 (quoted in Jerry Rogers, 1993, p.4)ให ความหมายวา ความมั่ น คงทางอาหารเปน ความมั่น คงทางอาหารในระดับ บุคคล ครอบครั ว ประชาชาติ ภูมภิ าคและโลก จะบรรลุไดก็ตอเมื่อทุกบุคคลในทุกเวลา มีความสามารถทางกายภาพ และทางเศรษฐกิจ ที่จ ะเขาถึงอาหารที่ป ลอดภัย มีสารอาหารครบหมู เพื่อสนองความตองการ อาหารและรสชาติอาหารประจําวันในอันที่จะดําเนินชีวิตอยางมีชีวิตชีวาและมีสุขภาพดี วียา คัมเปชีนา (2539, น.1) ความมั่นคงทางอาหารเปนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานและตอง ไดรับหลักประกันอํานาจอธิปไตย ซึ่งก็คือสิทธิที่ดํารงไวและพัฒนาศักยภาพตนในการผลิตอาหาร อยูบนพื้นฐานของความเคารพในวัฒนธรรมทองถิ่นและความหลากหลายทางการผลิต เกษตรกรมี สิทธิในการผลิตอาหารของเกษตรกรเองภายใตขอบเขตของตนเอง นพรัตน ละมุล (2543, น. 6) ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง การกินดีอยูดี จะไดมาดวย การมีสิท ธิที่จะเขาถึงการจัดการทรัพยากรในการผลิตเกษตรที่ยั่งยืน (ที่ดิน , น้ํา, ปาและตลาด ชุมชน) สิทธิที่จะเขาถึงขอมูลขาวสารในการบริโภค ความมั่นคงทางอาหารตามนิยามโดยกวาง หมายถึง การที่ประชาชนสามารถมีอาหารเพื่อ บริโภคไดอยางพอเพียง สามารถเขาถึงอาหารไดตลอดเวลาที่ตองการ อาหารที่บริโภคนั้นตองมี ความปลอดภัย เพื่อเสริมสรางสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี (อางถึงใน สุพาณี ธนีวุฒ,ิ 2544, น. 9)


10 ความมั่นคงทางอาหาร มี 3 มิติ คือ (Simon Maxwell and Marisol Smith, 1991, pp. 10-11) 1. การมีอยูของอาหาร (Food Availability) การมีป ริมาณเสบีย งอาหารที่มีคุณ ภาพ เหมาะสมอยางมั่นคงเพียงพอตอทุกคน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคืออาหารนั้นจะตองสามารถหาได และมีก ารนํามาใชไดทุก เวลา ทุก คนสามารถนํามาใชใ นการบริโภคไดอยางพอเพีย ง อยางมี ปริมาณพอเพียงและมีคุณภาพและมีหลากหลายชนิด และจะตองสอดคลองกับวัฒนธรรมในแต ละทองถิ่นดวย จะตองมีการสะสมอาหารไวอยางเพียงพอตอความตองการบริโภค การมีอยูของอาหารและการหาอาหารนั้นได มีเงื่อนไขอยูที่ฤดูกาล แหลงอาหาร และความ สมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ หรือกลาวคือทรัพยากรอาหารที่มีเจาของและไมมีเจาของ 2. การเขาถึงอาหาร (Food Accessibility) หมายถึง ทุกคนสามารถเขาถึง (มี) ทรัพยากร เพียงพอที่จะนํามาทําเปนอาหารที่มีคุณคา เขาถึงทรัพยากรที่เหมาะสําหรับอาหาร เชน ที่ดิน น้ํา ปา เทคโนโลยี สามารถหาอาหารที่มีอยูในทองถิ่นของตนเองได หรือความมีสามารถในการหา อาหารได ไมวาจะเปนทางตรง คือมีที่ดินทํากิน เปน ของตนเองและทางออมคือสามารถหาซื้อ อาหารมาไดหรือราคาของอาหารไมแพงเกินไป กลาวไดวาการไดมาซึ่งอาหารจะตองเปนสิทธิขั้น พื้นฐานของทุกคน ทุกคนมีสิทธิที่จะเลือกปลูกและบริโภคได ปจ จัย ที่มีผลตอการเขาถึงทรัพยากรคือ กฎหมาย ประเพณี การมีอธิปไตยทางอาหาร ทรัพยากรสาธารณะรวม การมีที่ดิน มีรายไดพอที่จ ะซื้ออาหาร ราคาของอาหารไมแพงเกินไป รวมถึงระบบความสัมพันธทางสังคม ระบบความสัมพันธแบบเครือญาติ การชวยเหลือเกื้อกูลกัน 3. การใชอาหารใหเปนประโยชน (Food Utilization) การใชอาหารใหถูกตองตามหลัก ชีวภาพผานทางโภชนาการ สุขอนามัย การดูแลสุขภาพ อาหารจะตองนํามาใชใหเกิดประโยชน ตอบสนองความตองการขั้นพื้น ฐานและอาหารตองนํามาใชเ พื่อสุขภาพของบุคคลและมีคุณคา ทางอาหาร ทางโภชนาการ มีความปลอดภัยไมปนเปอนสารเคมี ที่เปนอันตรายตอรางกาย สถานการณความมั่นคงทางอาหารในสังคมไทย ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณทางอาหารมาแตอดีต ยอนหลังไป 40 ป สังคมไทยยังใช ชีวิตเปนสังคมเกษตรกรรมเพื่อการยังชีพ พิจารณาไดจากระบบนิเวศนที่มีทรัพยากรปาไม แหลง


11 น้ํา และทะเล ที่อุดมสมบูรณเปนแหลงอาหารธรรมชาติที่สําคัญของประชาชนที่อาศัยอยูใกลและมี วิถีชีวิตที่สัมพันธกัน มีวิถีการผลิตสวนเกษตรที่บรรดาเกษตรกรปลูกไวรอบบานเพื่ออยูเพื่อกิน (อวยพร สุธนธัญญากร และคณะ, 2547: 1)ระบุ วิถีชีวิต ดังกลาวไดสรางระบบนิเวศน เชิงซอนที่ทําใหชีวิตความเปนอยูของครอบครัวไทยมั่นคง เพราะสภาวะภูมินิเวศนของไทยมีพืช พันธุธัญญาหารทีหลากหลายมาชานาน ประชาชนไทยไดสั่งสมถายทอดความรู ประสบการณจน กลายเปน “วัฒนธรรมทางอาหาร” ซึ่งเปนวิถีชีวิตของคนไทย ตั้งแตการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว การประมง จนถึงการเชื่อมสายสัมพันธในครอบครัวและชุมชน อาหารและการเกษตรจึงเปนฐาน รากทางวัฒนธรรมและวิธีชีวิตของคนไทยทั้งชีวิตสถานการณดังกลาวมีตัวอยางเปนรูปธรรมจาก คํากลาวของคนแกคนเฒาวา “เมื่อกอนบานเมืองเราในน้ํามีปลาในนามีขาว” หรือ “ปาคือซุปเปอร มาเก็ตของชาวบาน” เมื่อรัฐบาลไทยเริ่มหันมามุงใหความสําคัญกับการพัฒนาความเจริญทางเศรษฐกิจ ดวย การประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่หนึ่งเมื่อป 2504 ทําใหสังคมไทย เริ่มเขาสูจุดเปลี่ยนผานครั้งสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งกระแสปฏิวัติเขียว มาแรงจนทําใหสังคม เกษตรกรรมของไทยเราตองปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต จากการทํา “เกษตรพอเพียง” ผลิตเพื่อการยังชีพสู การผลิต “เพื่อการคา” เปนหลัก ตามนโยบายของรัฐบาล สงผลใหวิถีการผลิตการเกษตรเปนการ ผลิตเชิงเดี่ยว เนน การสงออก ทําใหแนวโนมวิกฤติปญหา ในดานความมั่น คงของระบบอาหาร และภาวะสุขภาพของคนไทยมีความรุนแรงมากขึ้น นับตั้งแตป พ.ศ. 2512 ที่เริ่มมีการใชปุยเคมี และสารเคมีกําจัดศัตรูพืช การนําเขาสารเคมีเพื่อการเกษตรที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ มีการสรางระบบ ชลประทาน และเขื่อนขนาดใหญ ใชเครื่องจักรกลขนาดใหญทางการเกษตร เพื่อสงเสริมการปลูก พืชเชิงเดี่ยวเพื่อการคา การทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การสูญเสียที่ดินทํากินซึ่ง เปนปจจัยการผลิตที่สําคัญ ความเสื่อมสลายของทรัพยากรตนทุน เชน ความอุดมสมบูรณของ พื้นดิน แหลงน้ํา ทําใหแหลงอาหารจากธรรมชาติลดจํานวนลงอยางรวดเร็วจนเกือบสูญพันธใน บางพื้น ที่ สงผลตอความหลากหลายของชนิดอาหาร การกระจายอาหาร และการที่ตองพึ่งพิง อาหารจากภายนอกเปนหลัก ทําใหประชาชนสูญเสียอํานาจ ความสามารถในการจัดการควบคุม ปริมาณและคุณภาพอาหารของตนและครอบครัวสังคมไทยจึงเปลี่ยนจากสภาพการพึ่งพาตนเอง แบบสังคมเกษตรกรรมที่เกษตรกรผลิตเพื่อบริโภคภายในครัวเรือนเปนหลักมาเปนการผลิตเพื่อ การคาในเชิงพาณิชย ระบบการผลิตนี้ไดลดทอนความสามารถในการพึ่ งพาตนเองในการผลิต


12 อาหารอยางมาก โดยตองพึ่งพิงปจจัยการผลิตจากภายนอก ทั้งดานเงินทุน เมล็ดพันธุ เทคโนโลยี พลังงานเชื้อเพลิงและระบบตลาด กลไกราคากลายเปนเงื่อนไขสําคัญในการซื้อขายอาหารเพื่อการ บริโภคมากขึ้น ที่สําคัญเกษตรกรตองสูญเสียความเปนตัวของตัวเองและขาดความมั่นคงในชีวิต และครอบครัว เขาสูภาวะหนี้สินเรื้อรัง สงผลตอความมั่นคงทางอาหารและที่สําคัญตอความมั่นคง ในชีวิตของคนไทยมากขึ้น ตัวชี้วัดสถานการณความมั่นคงทางอาหารระดับประเทศ(อางถึงใน สุพาณี ธนีวุฒ,ิ 2544, น. 9-13) 1. ความพอเพียงของอาหารตอความตองการบริโภคของประชาชนในประเทศ ทั้งนี้ทําได โดยการพิจารณาจากความตองการพลังงานของอาหารตอคนตอวัน 2. ความสามารถในการเขาถึงอาหารของประชาชนไดอยางตลอดเวลา โดยพิจารณาจาก รายไดประชาชาติของประชากรตอคน ตอป และสัดสวนของรายจายดานอาหารตอรายไดทั้งหมด 3. การมีอาหารสะสมและการเขาถึงอยางสม่ําเสมอ โดยเนนที่ความสามารถในการผลิต ของประเทศ ไดแก การศึกษาดัชนีความหลากหลายของการผลิตอาหารของประเทศ 4. สถานะทางอนามัยและสาธารณสุข พิจารณาจากการมีแหลงน้ํากิน น้ําใชที่สะอาดและ ปลอดภัย 5. สถานะการบริโภคอาหารของประชาชน ไดแก การพิจารณาสัดสวนของประชากรที่ ขาดอาหารเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรทั้งหมดของประเทศ 6. สถานะทางสาธาณสุข ไดแกการพิจารณาอัตราการเสียชีวิตของเด็กต่ํากวา 5 ป 7. สถานะทางโภชนาการ ไดแกการพิจารณาสัดสวนรอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ที่มี น้ําหนักต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน


13 แนวคิดเกีย่ วกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความเปนมาของเศรษฐกิจพอเพียง จุไรรัตน แสนใจรักษ (2553: 11-12)เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวทรงชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถี ชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกต ใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกในเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงโดยรอบตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยวิกฤติ เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติไดในทุก ระดับโดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอมๆกัน ดังนี้คือ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไมใชนอยเกินไปและมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การ ผลิตและการบริโภคที่อยูใ นระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับ ของความพอเพีย งนั้ น จะต องเป น ไปอยา งมี เ หตุ ผล โดยพิจ ารณาจากเหตุ ปจ จัย ที่เ กี่ย วข อ ง ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆอยางรอบคอบ การมีภูมิคุมกันที่ดีใน ตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆที่จะเกิดขึ้น โดย คํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึ งระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให ดําเนินไปใน “ทางสายกลาง” โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน “เศรษฐกิจพอเพียง” หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่ จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จ ะตองอาศัย ความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิ่งในการนํา วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสราง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมี สํานึกในคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน


14 ความเพี ย ร ความมีสติ ปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อ ใหส มดุ ลและพร อมที่จ ะรองรับ การ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดล อมและวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกไดเปนอยางดี แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง จุไรรัตน แสนใจรักษ (2553: 13)“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวทรงมีพระราชบัญญัติชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด นานกวา 25 ป ตั้งแตกอนวิกฤติการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการ แกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและ ความเปลี่ยนแปลงตางๆ วิษณุ บุญมารัตน (2551: 156-172)พระราชดํารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพีย งเมื่อป 2517 โดยมีสาระสําคัญตอนหนึ่งวา “… ขอใหทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเมืองไทยพออยู พอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยาง ยอดแตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถารักษาความพออยู พอกิน นี้ได เราก็จ ะยอดยิ่งยอดได ประเทศตางๆ ในโลกนี้ กําลังตก กําลังแย กําลังยุง เพราะ แสวงหาความยิ่งยวดทั้งในอํานาจ ทั้งในความกาวหนาทางเศรษฐกิจ ทางอุตสาหกรรม ทางลัทธิ ฉะนั้นถาทุกทาน ชวยกันรักษาสวนรวมใหอยูดีกับดีพอสมควร ขอย้ํา พอควรพออยูพอกิน มีความ สงบ ไมใหคนอื่นมาแยงคุณสมบัตินี้จากเราไปได ก็จะเปนของขวัญวันเกิดที่ถาวร ที่จะมีคุณคา อยูตลอดกาล…” ในปตอมาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดมีพระราชดํารัสถึง “เศรษฐกิจพอเพียง” อีกครั้ง หนึ่งเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2541 มีความตอนหนึ่งวา “คําวาพอเพียงมีความหมายอีกอยางหนึ่ง มีความหมายกวางออกไปอีก ไมไดหมายถึง การมีพอสําหรับใชเองเทานั้น แตมีความหมายวาพอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ ถาใครไดมาอยูท ี่นี่ใน ศาลานี้ เมื่อเทาไหร 20 24 ป เมื่อป 2517 ถึง 2541 นี่ก็ 24 ป ใชไหม วันนั้นไดพูดวาเราควร จะปฏิบัติใหพอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลวาเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเอง ถาแตละคนพอมีพอกินก็


15 ใชได ยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะไมพอมีพอกิน บางคนก็ มีมาก บางคนก็ไมมีเลย สมัยกอนนี้พอมีพอกิน มาสมัยนี้จะไมพอมีพอกิน จึงตองมีนโยบายที่จะ ทําเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อที่จะใหทุก คนมีพอเพียงไดใหพอเพียงนี้ก็ห มายความวามีกินมีอ ยูไม ฟุมเฟอย ไมหรูหราก็ได แตวาพอ แมบางอยางอาจจะดูฟุมเฟอยแตถาทําใหมีความสุข ถาทําไดก็ สมควรที่จะทํา สมควรที่จะปฏิบัติ อันนี้ก็หมายความอีกอยางของเศรษฐกิจหรือระบบพอเพียง” ฉะนั้น ความพอเพียง แปลวา ความพอประมาณและความมีเหตุผล ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล อดีตเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงาน โครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) ผูสนองงานรับ ใชพระเจาอยูหัวมานานได ใ ห ความหมายของ “เศรษฐกิจพอเพียง” ไวดังนี้ “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หมายถึง เศรษฐกิ จ ที่ ส ามารถอุม ชู ตัว เอง (Relative SelfSufficiency) อยูไดโดยไมตองเดือดรอน โดยตองสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองใหดี เสียกอน คือตั้งตัวใหมีความพอกินพอใช ไมใชมงุ หวังแตจะทุมเทสรางความเจริญ ยกเศรษฐกิจ ใหรวดเร็วแตเพียงอยางเดียว เพราะผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ยอมสามารถ สรางความเจริญกาวหนาและฐานะทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นไปตามลําดับตอไปได” ศาสตราจารยดร. นิธิ เอียวศรีวงษ ไดใหความหมายของ “เศรษฐกิจพอเพียง” โดยนัย แหงวัฒนธรรมไววา “เศรษฐกิจพอเพียงไมใชเทคนิค แตมีความหมายกวางกวานั้นมาก เพราะตองรวมเอา 1) อุดมการณบางอยาง 2) โลกทัศนบางอยาง 3) ความสัมพันธบางอยาง 4) คานิยมบางอยางอยู ในนั้นดวยจึงจะนับไดวาเปนเศรษฐกิจพอเพียงที่แทจริงซึ่งทั้ง 4 ประการที่จะกลาวถึงเรื่องนี้ คือ สวนที่เรารูจักกันวาวัฒนธรรมนั่นเอง “ถาไมเขาใจเศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายเชนนี้เศรษฐกิจพอเพียงจะมีความเปนไป ไดแกคนจํานวนนอยเทานั้น คือ เกษตรกรที่มีที่ดินของตนเองในปริมาณเพียงพอจะผลิต เพื่อพอ บริโภคหรือทํารายไดพอสําหรับ ครัวเรือนเทานั้น ฉะนั้น เศรษฐกิจ พอเพียงจึงนิยมไวเพียงวา เศรษฐกิจพอเพียง คือ วัฒนธรรม ไมใชเทคนิคการเพาะปลูกหรือศีลธรรม ความไมละโมบและ การประหยัด เทานั้น แมวาเปนสวนที่ขาดไมไดของเศรษฐกิจพอเพียงก็ตาม”


16 ศาตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี มองเศรษฐกิจพอเพียงอยางเชื่อมโยงหลายสิ่งหลาย อยางเขาดวยกัน เพื่อใหมีความสมดุล ไมตองประสบกับวิกฤติ “เศรษฐกิจพอเพียง ไมไดแปลวาไมเกี่ยวของกับใคร ไมคาขายไมสงออก ไมผลิตเพื่อคน อื่น ไมทําเศรษฐกิจมหภาค สิ่งเหลานี้หลายคนอาจคิดเอาเอง พูดเอาเอง และกลัวไปเองทั้งนั้น “ประเทศเนเธอรแ ลนด เดนมารก สวิตเซอร แลนด เปน ตัวอยา งของประเทศที่เ คย ยากลําบากและเสียสมดุล ตอมาเมื่อพัฒนาประเทศแบบเศรษฐกิจพอเพียงจึงกลับเขมแข็งได สมดุล และเติบโตไปไดดวยดี “เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง พอเพียงในอยางนอย 7 ประการดวยกัน คือ ประการที่ 1 พอเพียงสําหรับทุกคน ทุกครอบครัว ไมใชเศรษฐกิจแบบทอดทิ้งกัน ประการที่ 2 จิตใจพอเพียง ทําใหรักและเอื้ออาทรคนอื่นได คนที่ไมพอจะรักคนอื่นไม เปน และทําลายมาก ประการที่ 3 สิ่งแวดลอมพอเพียง การอนุรักษและเพิ่มพูนสิ่งแวดลอม ทําใหยังชีพและ ทํามาหากินได เชน การทําเกษตรผสมผสานซึ่งไดทั้งอาหาร ไดสิ่งแวดลอม และไดทั้งเงิน ประการที่ 4 ชุมชนเขม แข็ง พอเพี ย ง การรวมตัว กัน เปน ชุม ชนที่เ ข มแข็ง จะทํ าให สามารถแกปญหาตางๆได เชน ปญหาสังคม ปญหาความยากจน หรือปญหาสิ่งแวดลอม ประการที่ 5 ปญ หาพอเพีย ง มีก ารเรีย นรูรวมกัน ในการปฏิบัติและปรับ ตัวไดอยา ง ตอเนื่อง ประการที่ 6 อยูบนพื้นฐานวัฒนธรรมพอเพียง วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของกลุม ชนที่สัมพันธอยูกับสิ่งแวดลอมที่หลากหลาย ดังนั้น เศรษฐกิจจึงควรสัมพันธและเติบโตขึ้นจาก รากฐานทางวัฒนธรรม จึงจะมั่นคง เชน เศรษฐกิจของจังหวัดตราด ขณะนี้ไมกระทบกระเทือน จากฟองสบูแตก ไมมีคนตกงาน เพราะอยูบนพื้นฐานของสิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมทองถิ่นที่ เอื้อตออาชีพการทําสวนผลไม ทําการประมง และการทองเที่ยว ประการที่ 7 มีความมั่นคงพอเพียงไมใชวูบวาบ เดี๋ยวจนเดี๋ยวรวยแบบกะทันหัน เดี๋ยว ตกงานไมมีกินไมมีใช ถาเปนแบบนั้น ประสาทมนุษยคงทนไมไหวตอความผันผวนที่เร็วเกิน จึง สุขภาพจิตเสีย เครียดเพี้ย น รุน แรง ฆาตัวตาย ติดยา เศรษฐกิจ พอเพีย งที่มั่น คงจึงทําให สุขภาพจิตดี


17 “เมื่อทุกอยางพอเพียงก็เกิดความสมดุล ความสมดุลคือความเปนปกติและยั่งยืน ซึ่งเรา อาจเรียกเศรษฐกิจพอเพียงในชื่ออื่นๆ เชน -เศรษฐกิจพื้นฐาน -เศรษฐกิจสมดุล -เศรษฐกิจบูรณาการ -เศรษฐกิจศีลธรรม พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ.ปยุตโต) ปราชญแหงพุทธธรรม ไดมองเศรษฐกิจพอเพียงในแง วัตถุวิสัยและจิตวิสัย ดังนี้ “ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง อาจมองไดเปน 2 ดาน คือ มองอยางวัตถุวิสัยและ มองแบบจิตวิสัย 1. มองอยางวัตถุวิสัย มองภายนอก คือ ตองมีกินมีใช มีปจจัยสี่เพียงพอ ที่ เราพูดวา พอสมควรกับอัตภาพ ซึ่งใกลเคียงกับคําวาพึ่งตนเองไดในทางเศรษฐกิจ 2. สวนความหมายดานจิตวิสัยหรือดานจิตใจภายใน คือคนที่จะมีความรูสึกเพียงพอไม เทากัน บางคนมีเปนลานก็ไมพอ บางคนมีนิดเดียวก็พอ เปนการเพียงพอทางจิต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่มีลักษณะอกาลิโก(ไมเลือกกาลไมเลือกสมัย) เนื่องจากสามารถใชไดทุกเวลาและทุกสถานที่ เพราะเปนหลักแหงความเปนจริงเสมอ โดยมุงเนน พัฒนาไปสู “ความยั่งยืน” ของทุกมิติทางสังคม โดยหลักแลว เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามา ประยุกตใชไดกับทุกคนและทุกองคกร เนื่องจาก “ความพอเพียง” มีคุณลักษณะที่สําคัญคือ ประการแรก : ความพอประมาณ คือ เปนความพอดีที่ไมมากเกินไปและไมนอยเกินไป หรือไมสุดโตงทั้ง 2 ดาน และที่สําคัญในความพอดีที่มีอยูหรือไดมานั้นตองไมไปเบียดเบียนผูอื่น เปนความพอดีที่ตั้งอยูบนหลักของศีลธรรมและคุณธรรมเปนสําคัญ ประการที่ 2 : ความสมเหตุสมผล ประกอบไปดวย - ความสมเหตุสมผลในการจัดลําดับความสําคัญ เปนการจัดลําดับความสําคัญในการ ตัดสินใจของทุกมิติ ทั้งเศรษฐกิจการเมืองและสังคม ในประเด็นที่มองถึงความสมเหตุสมผลทาง เศรษฐกิจการเมือง และสังคม โดยมีผลประโยชนของสวนรวมเปนที่ตั้ง


18 - ความสมเหตุสมผลในกระบวนการดําเนิน การเปน การคํานึงถึงความเหมาะสมของ วิธีการและขั้นตอนของการดําเนินการตองโปรงใส ไม เอื้อผลประโยชนใ หแกกลุมตนเอง และที่ สําคัญตองยึดหลักธรรมาภิบาล - ความสมเหตุสมผลในดานผลกระทบหรือตนทุนทางสังคม เปนการคํานึงถึงผลกระทบ ที่มีตอสังคมโดยรวมตลอดจนสิ่งแวดลอม โดยยึดหลักของความสมดุลและดุลยภาพโดยรวมของ มนุษยกับมนุษยและมนุษยกับสิ่งแวดลอมเปนที่ตั้ง ประการที่ 3 : ความสมดุลของความสัมพันธในมิติดานตางๆ คือ เปนความสมดุลทาง หลักความคิด ความสมดุลทางหลักการพูด ความสมดุลทางหลักการปฏิบัติ รวมถึงความสมดุล ในมิติอื่นๆ ซึ่งเมื่อความพอเพียงเปน การไมไปเบีย ดเบีย นตัวเองและคนอื่น รวมทั้งการไมไ ป เบีย ดเบีย นสิ่งแวดลอมดวยแลว ทําใหความสัมพัน ธระหวางมนุษ ยดวยกัน และความสั มพั น ธ ระหวางมนุษ ยกับ สิ่ งแวดลอ ม ในลัก ษณะดังกลา วเปน ความสัมพั น ธใ นเชิ งอุดหนุน สงเสริ ม เกื้อกูลซึ่งกัน และกัน เปน การดําเนิน ความสั มพัน ธที่ แสวงหาประโยชนสวนรวม ไมแสวงหา ผลประโยชนสวนตัวเปนเปาหมายหลัก เพื่อนําไปสูจุดสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง แทนการนําไปสูจุดวิกฤติ ประการที่ 4 : การสร า งภู มิ คุ ม กั น คื อ ความสามารถในการรองรั บ หรื อ รั บ มื อ กั บ สภาวการณ ความผันผวน และการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ ที่เกิดขึ้นไดเปนอยางดี เนื่องจาก ความพอเพียง ทําใหเกิดความสมดุลระหวางมนุษยกับมนุษย และระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม เมื่อเกิดการเปลี่ย นแปลงขึ้น จึงไดรับ ผลกระทบไมมากและสามารถกลับ สูจุดสมดุลไดอยาง รวดเร็ว เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เปนเศรษฐกิจที่มุงเนนความพอประมาณ ทํา อะไรไม เ กิ น ตัว กิ น พอดี อยูพ อดี ไม เ บีย ดเบี ย นตนเองและผูอื่ น รวมทั้ ง ไม เ บีย ดเบี ย น สิ่งแวดลอม ใชหลัก ความสมเหตุสมผลในการจัดลําดับความสําคัญ วิธีก าร รวมทั้งคํานึงถึง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในดานตางๆ จากการดําเนินเศรษฐกิจ และเปนการสรางความสมดุลให เกิด ขึ้น ทุ ก ภาคสว นของกิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ รวมทั้ งสามารถสร างภูมิคุ มกัน เมื่อ เผชิ ญ กั บ วิกฤติการณทางเศรษฐกิจในความรูสึกของคนสวนใหญ จะมองเพียงมิติที่สามารถนําไปใชไดกับ เศรษฐกิจฐานลาง คือ การเกษตร เท านั้น ซึ่งในความเปน จริงแลว ทฤษฎีใ หมห รือแนวทาง


19 เศรษฐกิจ พอเพีย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ าอยูหัวนั้ น สามารถนําไปใช ไดกับ กิจ กรรมทาง เศรษฐกิจทุกภาคสวน ไมวาจะเปนทั้งองคกรภาครัฐและองคกรภาคเอกชน หรือไมวาจะเปนทั้ง ในทางเศรษฐกิจจุลภาคหรือเศรษฐกิจมหภาค ก็สามารถนําไปปรับใชไดอยางมีประสิท ธิภาพ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่มุงเนนสรางความสมดุลระหวางมนุษยกับมนุษยและ มนุษยกับธรรมชาติที่อาศัยเครื่องมือทางดาน “คุณธรรมและจริยธรรม” เปนตัวเชื่อมทางกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ซึ่งเปนสิ่งที่ขาดหายไปในสังคม เศรษฐกิจแบบทุนนิยมในปจจุบัน ซึ่งองคประกอบ ของความพอเพียงทั้ง 4 ประการ คือ ความพอประมาณ ความสมเหตุสมผล ความสมดุล และ ภูมิคุมกันนั้น เปนหลักสําคัญที่ทําใหเกิดระบบเศรษฐกิจ ที่มีคุณธรรมนําไปสูความศานติสุขของ สังคม เรียกไดวาเปนหลัก “จัตุเศรษฐธรรม” ความหมายเศรษฐกิจพอเพียงจากมุมมองชุมชน คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง (2547: 11-16)สามารถสรุปและแบงแยก ความหมายของหลักปรัชญาดังกลาว ไดเปน 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับจิตสํานึก เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกในชุมชนแตละคนตระหนักถึงความสุขและความพอใจในการใช ชีวิตอยางพอดี และรูสึกถึงความพอเพียง คือการดําเนินชีวิตอยางสมถะ ประกอบสัมมาอาชีพหา เลี้ยงตนเองไดอยางถูกตอง ไมใหอดอยาก หรือโลภแลวตักตวงหรือเบียดเบียนผูอื่นจนเกิ นความ จําเปน แตคิดเผื่อแผแบงปน ไปยังสมาชิกคนอื่น ๆในชุมชนดวย อยางไรก็ตามแมวาระดับความ พอเพีย งของสมาชิก แตละคนจะไมเ ทาเทีย มกัน แตสมาชิก ทุก คนที่ดําเนิน ชีวิตตามหลัก การ เศรษฐกิจพอเพียงเห็นสอดคลองกันในการยึดมั่นหลักการ 3 ประการ คือ 1) การใชชีวิตบนพื้นฐานของการรูจักตนเอง รูจักพัฒนาตนเองดวยการพยายามทําจิตใจ ใหผองใส รวมทั้งมีความเจริญและความเย็นในจิตใจอยูเปนประจําอยางตอเนื่อง 2) การคิดพึ่งพาตนเองและพึ่งพาซึ่งกันและกันในการดําเนิน กิจ กรรมตางๆ คือ เมื่อมี ปญหาจากการดําเนินชีวิต ก็ใหใชสติปญญาไตรตรองหาสาเหตุของปญหาและแกไขไปตามเหตุ และป จ จั ย ด ว ยความสามารถและศั ก ยภาพที่ ต นเองมี อ ยู ก อ นที่ จ ะคิ ด พึ่ ง ผู อื่ น และมี ก าร ปรึกษาหารือถอยทีถอยอาศัย ชวยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน เปนตน


20 3) การใชชีวิตอยางพอเพียง รูจักลดกิเลสลดความตองการของตนเองลง เพื่อใหเหลือแรง และเวลาในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดจนทําประโยชนใหแกสวนรวมไดมากขึ้น 2. ระดับปฏิบัติ สามารถสรุปแนวทางการนําหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในระดับปฏิบัติได 4 ขั้น ดังนี้ 1) ขั้นแรก สมาชิกในชุมชนควรยึดหลักการของการพึ่งพาตนเอง คือ ตองพยายามพึ่งตนเองใหไดใน ระดับครอบครัวกอนใหแตละครอบครัวมีการบริหารจัดการอยางพอดีและประหยัด ไมฟุมเฟอย โดยสมาชิก แตละคนตองรูจักตนเอง เชน รูขอมูลรายรับ -รายจายในครอบครัวของตนเองและ สามารถรักษาระดับการใชจายของตนไมใหเปนหนี้ และสมาชิกจะตองรูจักดึงศักยภาพที่มีอยูใน ตนเองออกมาใชใหเกิดประโยชนที่สุด โดยเฉพาะความสามารถพึ่งตนเองในเรื่องของปจจัยสี่ ใหได ระดับหนึ่ง 2) ขั้นที่สอง หลังจากที่สมาชิก พึ่งตนเองในดานปจ จัย สี่ดังกลาวขางตน ไดแลว สมาชิก ทุก คนควร พัฒนาตนเองใหสามารถอยูไดอยางพอเพียง คือ ดําเนินชีวิตโดยยึดหลักทางสายกลาง ใหตนเอง อยูไดอยางสมดุล มีความสุขที่แทจริง โดยไมรูสึกขาดแคลนจนตองเบียดเบียนตนเอง หรือดําเนิน ชีวิตอยางเกินพอดีจ นตองเบีย ดเบียนผูอื่น หรือเบีย ดเบียนสิ่งแวดลอม แตใ หดําเนิน ชีวิตดังที่ ภาคเหนือเรียกวา เปนการดําเนินชีวิตดวยการทําเกษตรแบบ แกงโฮะ คือ ใหมุงทําเกษตรแบบพอ อยูพอกิน ปลูกไวกินเองกอน หากเหลือจึงขาย และขยายพันธ รวมทั้งสนับสนุนใหมีการลงแขกเพื่อ เสริมสรางความสัมพันธระหวางสมาชิกแทนการใชเครื่องจักรเพื่อทุนแรง 3) ขั้นที่สาม สมาชิกในชุมชนควรอยูรวมกันอยางเอื้ออาทร คือมีความคิดที่จะแจกจายแบงปนไปให ผูอื่น ซึ่งจะทําใหไดเ พื่อนและเกิดวัฒนธรรมที่ดี ที่จ ะชวยลดความเห็น แกตัวและสรางความ พอเพียงใหเกิดขึ้นในจิตใจ เชน ในการจัดการทรัพยากรปานั้น สมาชิกที่อาศัยอยูบริเวณปาจะมุง เก็บผลผลิตจากปา เพื่อมาใชในการยังชีพใหพออยูพอกิน พอเหลือจึงคอยแจกจายออกไปดวยวิธี


21 ใหไมใชดวยวิธีการขาย ซึ่งเมื่อทําไดดังนี้ก็จะทําใหสมาชิกมีทรัพยากรใชหมุนเวียนไดตลอดทั้งป อยางพอเพียง เพราะเก็บไปเพื่อกิน ไมไดเก็บไปเพื่อขายเพื่อเรงหาเงิน ซึ่งการมีจิตใจที่แบงปนกันนี้ จะเปนพื้นฐานทําใหเกิดการรวมกลุมทางสังคม สรางเปนเครือขายเชื่อมโยงระหวางสมาชิกตอไป 4) ขั้นสุดทาย สมาชิก ควรอยู ดียิ่งขึ้ น ดวยการเรี ย นรู คื อ ตอ งรูจัก พั ฒนาตนเอง โดยการเรีย นรูจ าก ธรรมชาติและประสบการณในโลกกวางดวยตนเองหรือจากการแลกเปลีย่ นรวมกับผูอื่น ใหเกิดเปน ชุมชนแหงการเรียนรูที่ทุกคนชวยกันพัฒนาชีวิตของตนและผูอื่นรวมกันมีการสืบทอดและเรียนรู เพื่อพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นและพัฒนาใหเปนสังคมที่มั่นคงและยั่งยืนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชคุณธรรมและวัฒนธรรมเปนตัวนํา ไมไดใชเงินเปนตัวตั้ง 3. ระดับปฏิเวธ (ผลที่เกิดจากการปฏิบัติ) ความหมายของปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งจากประสบการณ ที่ แ ลกเปลี่ ย นกั น นั้ น ครอบคลุมไปถึงการวัดผลจากการปฏิบัติตามหลักการขางตนดวย กลาวคือ สมาชิกในแตละชุมชน ไดพัฒนาชีวิตของตนเองใหดีขึ้นโดยเริ่มจากการพัฒนาจิตใจ ใหเกิดความพอเพียงในทุกระดับของ การดําเนินชีวิต ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน และขยายไปถึงในระดับสังคม ดังนี้ - ความพอเพียงในระดับครอบครัว การที่สมาชิกในครอบครัวมีความเปนอยูในลักษณะที่พึ่งพาตนเองไดอยางมีความสุข ทั้ง ทางกายและทางใจ สามารถดําเนินชีวิตไดโดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น รวมทั้งไมเปนหนี้หรือ มีภาระดานหนี้สินของตนเองและครอบครัว แตสามารถหาปจจัย 4 มาเลี้ยงตนเองไดโดยที่ยังมี เหลือเปนสวนออมของครอบครัว - ความพอเพียงในระดับชุมชน เกิดจากการที่สมาชิกจากแตละครอบครัวในชุมชนมีความพอเพีย งในระดับ ครอบครัว กอนที่จะรูจักรวมกลุมกันทําประโยชนเพื่อสวนรวม เชน บริหารจัดการปจจัยตางๆ เชน ทรัพยากร ภูมิปญญาหรือศักยภาพของสมาชิก ในทองถิ่น ที่มี อยูใ หสามารถนําไปใชดําเนิน ชีวิตไดอยาง ถูกตองและสมดุล เพื่อใหเกิดความเปนอยูที่พอเพียงของชุมชนโดยรวมในที่สุด


22 - ความพอเพียงในระดับสังคม เกิดขึ้นจากการรวมกลุมของชุมชนหลายๆแหงที่มีความพอเพียง มารวมกันแลกเปลี่ยน ความรู สืบ ทอดภูมิ ปญ ญาและรว มกัน พัฒ นาตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพีย ง เพื่อ สร างเป น เครือขายเชื่อมโยงระหวางชุมชนใหเกิดเปนสังคมแหงความพอเพียงในที่สุด หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง จุไรรัตน แสนใจรัก ษ (2553: 13-14)การพัฒนาตามหลัก เศรษฐกิจ พอเพีย ง คือ การ พัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลางและความไมประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเ หตุผล การสรางภูมิคุมกัน ที่ดีใ นตัว ตลอดจนใชความรูความรอบคอบ และคุณ ธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทํามีหลักพิจารณาอยู 5 สวน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติในทางที่ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากฐานชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และ เปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุก ระดับ โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน 3. คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอมๆกัน ดังนี้

ภาพที2่ -1 แผนภาพหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


23 ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดี ไม น อยเกิ น ไปและไม มากเกิน ไปโดยไม เบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่พอดีไมมากไมนอยเกินไป ความมีเ หตุผล หมายถึง การตัดสิน ใจเกี่ยวกับ ระดับของความพอเพีย งนั้น จะตอง เปน ไปอยางมีเ หตุผลโดยพิจ ารณาจากเหตุปจ จัยที่เ กี่ย วของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะ เกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆอยางรอบคอบ การมี ภู มิ คุ ม กั น ในตั ว ที่ ดี ห มายถึ ง การเตรี ย มตั ว ให พร อ มรั บ ผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงดานตางๆที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆที่คาดวาจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนิน กิจ กรรมตางๆใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตอง อาศัย ทั้งความรู และคุณ ธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรู เกี่ยวกับวิชาการตางๆที่เกี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณา ใหเชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่ จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนัก ในคุณ ธรรม มีความซื่อสัตยสุจ ริตและมีความ อดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งมา ประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ย นแปลงในทุกดาน ทั้งดาน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ จุไรรัตน แสนใจรักษ (2553: 15-18)เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของ ทฤษฎีใหม เปนแนวทางในการพัฒนาที่นําไปสูความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับตางๆอยางเปนขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยตางๆ โดย อาศัยความพอประมาณและความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดี มีความรู ความเพียรและความ อดทน สติและปญญา การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และความสามัคคี


24 “เศรษฐกิจพอเพียง” มีความหมายกวางกวาทฤษฎีใหม โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเปนกรอบ แนวคิดที่ชี้บอกหลัก การและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม ในขณะที่แนวพระราชดําริเ กี่ยวกับ ทฤษฎีใหมหรือเกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปนแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอยางเปนขั้นตอนนั้น เปน ตัวอยางการใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ที่เปนรูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริอ าจเปรีย บเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพีย ง ซึ่งมีอยู 2 แบบ คือ แบบพื้นฐานกับแบบกาวหนา ไดดังนี้ ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร เปนเศรษฐกิจพอเพียง แบบพื้นฐาน เทียบไดกับทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ที่มุงแกปญหาของเกษตรกรที่อยูหางไกลแหลงน้ํา ตอง พึ่งน้ําฝนและประสบความเสี่ยงจากการที่น้ําไมเพียงพอ และมีขอสมมติวามีที่ดินพอเพียงในการ ขุดบอเพื่อแกปญหาในเรื่องดังกลาว จากการแกปญหาความเสี่ยงเรื่องน้ํา จะทําใหเกษตรกรสามารถมีขาวเพื่อการบริโภคยัง ชีพในระดับหนึ่งได และใชที่ดินสวนอื่นๆสนองความตองการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายใน สวนที่เหลือเพื่อมีรายไดเพื่อที่จะเปนคาใชจายอื่นๆ ที่ไมสามารถผลิตเองได ทั้งหมดนี้เปนการสราง ภูมิคุมกันในตัวใหเกิดขึ้นในระดับครอบครัว อยางไรก็ตาม แมก ระทั่ง ในทฤษฎีใ หมขั้นที่ 1 ก็จําเปนที่เ กษตรกรจะตองไดรับความ ชวยเหลือจากชุมชนราชการ มูลนิธิและภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับ ชุมชนและระดับองคกรเปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหมขั้นที่ 2 เปน เรื่องของการสนับสนุนใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ หรือการที่ธุรกิจตางๆรวมตัว กันในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ กลาวคือ เมื่อสมาชิกในแตละครอบครัวหรือองคกรตางๆมีความพอเพียงขั้นพื้นฐานเปน เบื้องตนแลวก็จะรวมกลุมกันเพื่อรวมมือกันสรางประโยชนใหแกกลุมและสวนรวมบนพื้นฐานของ การไมเบียดเบียนกัน การแบงปนชวยเหลือซึ่งกันและกันตามกําลังและความสามารถของตนซึ่งจะ สามารถทําให ชุมชนโดยรวมหรือเครือขายวิสาหกิจนั้น ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีป ฏิบัติอยาง แทจริง


25 ความพอเพียงในระดับประเทศ เปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา ซึ่งครอบคลุมทฤษฎี ใหมขั้นที่ 3 ซึ่งสงเสริมใหชุมชนหรือเครือขายวิสาหกิจสรางความรวมมือกับองคกรอื่นๆในประเทศ เชน บริษัทขนาดใหญ ธนาคาร สถาบันวิจัย เปนตน การสรางเครื อขายความร วมมือในลัก ษณะเชน นี้จ ะเป น ประโยชนใ นการสืบ ทอดภู มิ ปญ ญา แลกเปลี่ย นความรู เทคโนโลยี และบทเรีย นจากการพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิ จ พอเพียง ทําใหประเทศอันเปนสังคมใหญอันประกอบดวยชุมชน องคกร และธุรกิจตางๆ ที่ดําเนิน ชีวิตอยางพอเพียงกลายเปนเครือขายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยงกันดวยหลักไมเบียดเบียน แบงปน และชวยเหลือซึ่งกันและกันไดในที่สุด แนวคิดเกีย่ วกับการพึ่งพาตนเอง กาญจนา แกวเทพ และ กนกศักดิ์ แกวเทพ (2530, น. 34)ไดใหความหมายไวแบงเปน 2 ลักษณะคือ (1) ในเชิงปจเจกบุคคล : การพึ่งตนเอง หมายถึงกิจกรรมทั้งหลายที่กระทําโดยปจเจกชน และครัวเรือนเพื่อบรรลุถึงการมีหลักประกันของการดํารงชีพของเขา (2) ในลั ก ษณะกลุม :การพึ่ ง ตนเองหมายถึ ง สั ง คม (กลุม ) ที่ มี ก ารจั ดระบบเพื่ อ ให ประชาชนสามารถดําเนินการตอบสนองความตองการของตน (Self Fulfillment) ดวยวิธีก าร ชวยเหลือตนเอง ดวยความรวมมือกับผูอื่นที่อยูในสถานการณเดียวกัน ทั้งนี้การพึ่งตนเองอยาง แทจริงตองกินความรวมถึงวากลุมชนนั้นมีอิสระในการตั้งเปาหมาย และมีอิสระในการดําเนินการ ใหบรรลุเปาหมาย โดยอาศัยความพยายามและกําลังของตน Galtune (1980, p. 23) การพึ่งตนเอง หมายถึง กลุมหรือสังคมที่มีการจัดระบบเพื่อให ประชาชนสามารถดําเนินการตอบสนองความตองการของตนดวยวิธีการชวยเหลือตนเอง ดวยการ รวมมือกับคนอื่นที่อยูในสถานการณเดียวกัน


26 ปรีดา ประพฤติช อบ (อางถึงใน พรประภา สิน ธุนาวา, 2534, น. 38) กลาววาการ พึ่งตนเองของชุมชน ควรคํานึงถึงการพึ่งพากัน ตนเองมีความสามารถระดับหนึ่งที่มีความสามารถ ในการผลิตเพื่อตนเองและคนอื่น ในทางเดียวกัน คนอื่นก็มีความเห็นเชนเดียวกัน ก็จะกอใหเกิด การพึ่งพากันและอยูได ดังนั้นจึงตองเกิดแนวคิดในการพึ่งตนเองและมีการสํารวจความสามารถ ของตนเองเพื่อการพึ่งพากัน สมศักดิ์ ศรีสันติสุข (อางถึงใน พรประภา สินธุนาวา, 2534, น. 38)“คือความพอดี มี ความสามารถพึ่งตนเองได ลักษณะในรูปธรรมก็คือรูจักประมาณตน อีกสวนก็คือความคิดที่จ ะ แบงปนใหความชวยเหลือกัน เพราะฉะนั้นถาตระหนักถึงความพอดีที่พอเหมาะพอสม สิ่งที่เหลือ สามารถชวยคนอื่นไดดวย” ในทางพุทธศาสนามีคํากลาวเปนสุภาษิตวา “อตตาหิอตตาโน นาโถ” แปลวา ตนนั่นแหละ เปนที่พึ่งแหงตน ซึ่งถาในสังคมที่สมาชิกแตละคนสามารถพึ่งตนเองได หรือยังชีพดวยตนเองได จัด วาเปนสังคมที่สงบสุขและมั่นคงในระดับหนึ่ง โดยมีจุดยืนของชาวพุทธคือ แตละคนตองมีความ รับผิดชอบตอตนเอง เพื่อดํารงตนเปนหนวยยอยที่ดี เพื่อเกี่ยวสั มพันธทางสังคมและพึ่งพากันได โดยมองในลักษณะการชวยเหลือพึ่งพากันทางสังคม ถาจะชวยเหลือผูอื่น ตนเองจะตองเปนที่พึ่ง ใหแกผูอื่นได หรือไมไดอยูในฐานะที่ตองพึ่งพาผูอื่น (พระราชวรมุน,ี 2528, น. 16) หลักการพึ่งพาตนเอง 5 ประการ(สุเมธ ตันติเวชกุลการ, ม.ป.พ.)คือ 1) พึ่งตนเองทางจิ ตใจคนที่ส มบูรณ พรอ มตองมีจิต ใจที่เ ขมแข็งมีจิ ตสํา นึก วา ตนนั้ น สามารถพึ่งตนเองไดดังนั้นนั้นจึงควรที่จะสรางพลังผลักดันใหมีภาวะจิตใจฮึกเหิมตอสูชีวิตดวย ความสุจริตแมอาจจะไมประสบผลสําเร็จบางก็ตามมิพึงควรทอแทใหพยายามตอไปพึงยึดพระราช “การพัฒนาคน” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “…บุคคลตองมีรากฐานทางจิตใจที่ดีคือความหนักแนนมั่นคงในสุจ ริตธรรมและความ มุงมั่น ที่จะปฏิบัติห นาที่ใหจนสําเร็จทั้งตองมีกุศโลบายหรือวิธีการอันแยบยลในการปฏิบัติงาน ประกอบพรอมกัน ดวยจึงจะสัมฤทธิผลที่แนน อนและบังเกิดประโยชนอันยั่งยืน แกตนเองและ แผนดิน…”


27 2) พึ่งตนเองทางสังคมควรเสริมสรางใหแตละชุมชนในทองถิ่นไดรวมมือชวยเหลือเกื้อกูล กันนําความรูที่ไดรับมาถายทอดและเผยแพรใหไดรับประโยชนซึ่งกันและกันดังพระบรมราโชวาท ที่วา “…เพื่อใหงานรุดหนาไปพรอมเพรียงกันไมลดหลั่นจึงขอใหทุกคนพยายามที่จะทํางานใน หนาที่จะทํางานในหนาที่อยางเต็มที่และใหมีการประชาสัมพันธกันใหดีเพื่อใหงานทั้งหมดเปนงาน ที่เกื้อหนุนสนับสนุนกัน…” 3) พึ่งตนเองไดทางทรัพยากรธรรมชาติคือการสงเสริมใหมีการนําเอาศักยภาพของผูคนใน ทองถิ่นสามารถเสาะแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติหรือวัสดุในทองถิ่นที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งสงผลใหเกิดการพัฒนาประเทศไดอยางดียิ่งสิ่งดีก็คือการประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น (Local Wisdom) ซึ่งมีมากมายในประเทศ 4) พึ่งตนเองไดทางเทคโนโลยีควรสงเสริมใหมีการศึกษาทดลองทดสอบเพื่อใหไดมาซึ่ง เทคโนโลยีใหมๆที่สอดคลองกับ สภาพภูมิประเทศและสังคมไทยและสิ่งสําคัญสามารถนําไปใช ปฏิบัติไดอยางเหมาะสมซึ่งสอดคลองกับพระราชดํารัสที่วา “…จุดประสงคของศูนยการศึกษาฯคือเปนสถานที่สําหรั บคนควาวิจัยในทองที่เ พราะวาแตละ ท อ งที่ ส ภาพฝนฟ า อากาศและประชาชนในท อ งที่ ต า งๆกั น ก็ มี ลั ก ษณะแตกต า งกั น มาก เหมือนเดิม…” 5) พึ่งตนเองไดใ นทางเศรษฐกิจ หมายถึงสามารถอยูไดด วยตนเองในระดับ เบื้องต น กลาวคือแมไมมีเงินก็ยังมีขาวปลาผักผลไมในทองถิ่นของตนเองเพือ่ การยังชีพและสามารถนําไปสู การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระดับมหภาคตอไปไดดวย การพึ่งตนเอง มี 7 ประการ(ประจักษ บุญอารีย, ม.ป.ป.,น. 16)คือ (1) การพึ่งตนเองไดทางจิตใจ เปนผูมีสมาธิ เชื่อมั่น ควบคุมสติใหมั่น ไมตกเปนทาสของ กิเลสทั้งปวง ยึดมั่นในทางแหงความดีงาม (2) ผูที่พึ่งตนเองไดทางความคิด จะมีความสามารถในการวิเ คราะหสูง คิดเปน ทําเปน แกปญหาไดดี


28 (3) สุขภาพรางกายที่สมบูรณ แสดงถึงคุณภาพชีวิตของบุคคล อันเปนผลของความสมดุล ภายในตนเอง เปนความรับผิดชอบสวนตัวตอการบริหารชีวิต พึ่งตนเองได ไมปลอยใหเปนเรื่อง แพทยและโชคชะตา (4) การพึ่งตนเองไดทางเศรษฐกิจเปนฐานกอใหเกิดความสุข (5) การพึ่งตนเองไดในทางการงาน เปนพื้นฐานความมั่นคงแหงชีวิต และการรวมมือรวม ใจกันทํางานกับผูอื่น (6) การพึ่ง ตนเองได ป ญ ญา ช วยใหบุ ค คลแสวงหาความรู ประสบการณ เลื อกและ ตัดสินใจไดอยางถูกตอง กวางไกลและแกปญหาชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ (7) ดวยการพึ่งตนเองอยางมีศักดิ์ศรีนั่นเอง คือ การสรางตน สรางคน สรางครอบครัวเพื่อ การพึ่งตนเอง ขอบเขตของการพึ่งตนเอง(ประเวศ วะสี และคณะ, 2531, น. 109) คือ (1) การพึ่ งตนเองทางกายภาพ ไดแ ก การพึ่ งตนเองทางเศรษฐกิจ และการปกครอง ตลอดจนถึงการจัดความสัมพันธทางสังคม แบบแผนของตนเอง ซึ่งเปนการผลิตเพื่อการบริโภค เปนหลัก โดยสัมพันธกับสวนที่สองคือ (2) การพึ่งตนเองทางวัฒนธรรม ความเชื่อ สติปญญา และอํานาจการตัดสินใจ ซึ่งมีผลตอ กันและกันทั้งสองดาน ในการพึ่งตนเองดังกลาวมิใชการปดตัวเองและโดยเดี่ยวตัวเองออกจาก สังคมทั่วไป หากแตเมื่อกลาวถึงหมูบานพึ่งตัวเอง ก็จะหมายความวาเปนสังคมที่มีแบบแผนทาง วัฒนธรรมแลการผลิตแบบของตัวเอง มีการผลิตเพื่อบริโภคเปนหลัก มีศักยภาพที่ดําเนินไปตาม รากฐานแหงวัฒนธรรมของตัวเองสูง ขณะเดียวกันก็มีการชวยเหลือเกื้อกูลกันและกัน เสริมไปดวย ทั้ง ภายในหมู บ านเองกับ ภายนอกหมู บา นในความเปน ตั วของตั วเอง ที่สื บ ทอดวิ ถีแ ห งการ พึ่งตนเองไวทั้งสองดาน


29 ชุมชนที่พึ่งตนเองไดแลวควรมีลักษณะตางๆ ดังนี้(อางถึงใน พิเชียน ลิมปหวังอยู, 2531, น. 14) (1) ทรัพยากรภายในเพียงพอแกการบริโภคของทองถิ่น (2) อัตราการเจริญเติบโตของทองถิ่นนั้นๆ เกิดจากการลงทุน หรือใชทรัพยากรภายในเปน สําคัญ (3) ขนาดของประชากรพอเหมาะกับการผลิตภายใน (4) มีโครงสรางพื้นฐานทางดานกายภาพ สังคมพอเพียงแกความตองการพื้นฐาน แนวทางของการพึ่งตนเอง(ประเวศ วะสี และคณะ, 2531, น. 39)นักวิชาการ นักพัฒนา ได เสนอแนวทางของการพึ่งตนเองไวหลากหลายกันไปดังนี้ (1)สิ่งใดไมมี ถาชุมชนทําเองไดจะตองสงเสริมใหชุมชนทํา (2)จะตองสงเสริมใหชาวบานเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตดวยตนเอง เพื่อเหลือไวใน การแลกเปลี่ยนบาง (3) สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีแบบพื้นบาน เพราะชาวบานเขาเขาใจและผลิตเปน เชน การเลี้ยงไก ขยายพันธุปลา การปลูกพืช การดูแลรักษา (4) พัฒนาความรูท างสั งคม การเมือ ง ทางความคิ ดใหแก ช าวบา น ใหทั น ต อโลกต อ ธรรมชาติ เทาทันตอเหตุการณตางๆ (5) ใหชุมชนมีสวนรวมอยางจริงจังในการกําหนดนโยบายในทางเปลี่ยนแปลงของชุมชน คือ รวมรู รวมคิด รวมทํา และรวมกันดูแลรักษา โดยสรุปเงื่อนไขที่จะทําใหเกิดความมั่นคงทางอาหารไดนั้น จะตองทําใหชุมชนสามารถ พึ่งตนเองไดเสียกอนเปนอันดับแรก ผูศึกษาใหความหมายของการพึ่งตนเองทางอาหารวาหมายถึง


30 ชุมชนที่มีการจัดระบบการดําเนินการและทํากิจกรรมที่ตอบสนองความตองการอาหารของตนเอง (Food Fulfillment) อยางเพียงพอ (Food Suffices) ดวยวิธีการชวยเหลือตนเอง หรือรวมมือกับ ผูอื่น โดยใชภูมิปญญาความสามารถและเครื่องมือที่ตนมีอยู แนวคิดเกีย่ วกับหลักธรรมาภิบาล โกวิท ย พวงงาม (มปป.: 24) Governance หมายถึง กระบวนการตัดสินใจที่จ ะ ดําเนินการหรือไมดําเนินการนโยบายใดๆ ซึ่งมีผูมีสวนไดเสียที่เกี่ยวของเปนจํานวนมากและ รัฐบาล (Government) ก็ถือวาเปนตัวแสดงหนึ่งในกระบวนการดังกลาวและยังมีตัวแสดงอื่นๆ ซึ่งอาจจะประกอบไปดวยชนชั้นนํา ผูมีอํานาจในทองถิ่น ชาวบาน องคกรพัฒนาเอกชน ฯลฯ หรือที่เรียกรวมๆวา “ภาคประชาสังคม” รวมกันคิดรวมกันทํา เชนเดียวกับ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (มปป. : 2) ธรรมาภิบาล หรือ good governance มีความหมายรวมถึง ระบบ โครงสราง และ กระบวนการต างๆ ที่วางกฎเกณฑความสัมพัน ธ ระหวางเศรษฐกิ จ การเมือง และสังคมของ ประเทศ เพื่อที่ภาคตางๆ ของสังคมจะพัฒนาและอยูรวมกันอยางสงบสันติสุข โกวิทย พวงงาม (มปป.: 25-29) เกษียร เตชะพีระ (2541)ไดแบงแนวการตีความคําวา Good Governance ไว 2กลุม ไดแก 1. การตีความแบบอํานาจนิยม หรือเปน Good Governance ในทัศนะของฝาย ความมั่นคง เชน กองทัพ ฝายปกครอง และภาคราชการ โดยเปนการอธิบายบทบาทของภาค ราชการในการสรางธรรมรัฐในสังคมไทย ในเงื่อนไขนี้ รัฐจึงมีสถานะเปนเจาของธรรม การสราง ธรรมรัฐในภาครัฐ จึงเปน การสรางความเปน ปกแผน ความปรองดอง และการใชกลไกทาง การเมื อ งอั น ได แ ก รั ฐ ธรรมนู ญ มาสนั บ สนุ น กระบวนการคั ด เลื อ กผู บ ริ ห ารประเทศให มี ประสิทธิภาพ การปฏิรูประบบราชการใหมีขนาดเล็กลง การสรางความโปรงใสเพื่อแกไขปญหา คอรรัปชั่นในวงราชการ และการเผยแพรขอมูลสาธารณะที่ประชาชนพึงรู การใหความหมายในลัก ษณะนี้ ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการสราง ระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 (สุดจิต นิมิตกุล, 2543 : 13-14)ได นิยามความหมายไววา ธรรมาภิบาล หมายถึง “การบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดีเปน แนวทางสําคัญ ในการจัดระเบีย บใหสังคมทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาชน ซึ่ง


31 ครอบคลุมถึงฝายวิชาการ ฝายปฏิบัติการ ฝายราชการและฝายธุรกิจสามารถอยูรวมกันอยาง สงบสุข มีความรูรักสามัคคีและรวมกันเปนพลังกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน และเปนสวน เสริมความเขมแข็งหรือสรางภูมิคุมกันประเทศเพื่อบรรเทาปองกัน หรือแกไขเยียวยาภาวะวิกฤต ภยันตรายที่หากจะมีมาในอนาคต เพราะสังคมจะรูสึกถึงความยุติธรรม ความโปรงใส และความ มีส วนร วม อั น เปน คุ ณ ลั ก ษณะสํ าคั ญ ของศั ก ดิ์ศ รี ความเปน มนุ ษ ยแ ละการปกครองแบบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กลไกที่จะนําไปสูเปาหมายขางตนรัฐบาลไทย ไดมีประกาศระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ไดกําหนดหลักการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ ดีวาควรจัด หรือสงเสริมใหสังคมไทยอยูบนพื้นฐานของหลักสําคัญอยางนอย 6 ประการ มี รายละเอียด ดังนี้ 1) หลักนิติธรรม ไดแก การตรากฎหมาย กฎ ขอบังคับตางๆ ใหทันสมัยและเปน ธรรม เปน ที่ย อมรับ ของสังคม และสังคมยิน ยอมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมาย กฎขอบังคับ เหลานั้น โดยถือวาเปนการปกครองภายใตกฎหมาย มิใชตามอําเภอใจหรืออํานาจของตัวบุคคล 2) หลัก คุ ณ ธรรม ได แก การยึด มั่น ในความถู ก ตอ ง ดีงาม โดยการรณรงคใ ห เจาหนาที่ของรัฐยึดถือหลักนี้ในการปฏิบัติหนาที่ ใหเปนตัวอยางแกสังคม ตลอดจนการสงเสริม และการสนับสนุนใหประชาชนพัฒนาตนเองไปพรอมกัน เพื่อใหคนไทยมีความซื่อสัตย จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพสุจริต จนเปนนิสัยประจําชาติ 3) หลัก ความโปรงใส ไดแก การสรางความไววางใจซึ่งกัน และกัน ของคนในชาติ โดยปรับปรุงกลไกการทํางานขององคกรทุกวงการใหมีความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสารที่ เปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาที่เขาใจงาย ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก และมีกระบวนการใหประชาชนตรวจสอบความถูกตองชัดเจนได 4) หลักความมีสวนรวม ไดแก การเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมรับรู และ เสนอความเห็น ในการตัดสิ น ใจป ญ หาสํ า คัญ ของประเทศ ไมวาด วยการแจ งความเห็น ไต สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ การแสดงประชามติ หรืออื่นๆ


32 5) หลัก ความรับ ผิดชอบ ไดแก การตระหนัก ในสิท ธิห นาที่ ความสํานึกในความ รับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหาสาธารณะของบานเมือง และกระตือรือรนในการแกปญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกตาง และความกลาที่จะยอมรับผลจากการกระทําของ ตน 6) หลักความคุมคา ไดแก การบริหารจัดการและใชทรัพยากรที่มีจํากัด เพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดแกสวนรวม โดยรณรงคใหคนไทยมีความประหยัด ใชของอยางคุมคา สรางสรรค ผลิ ต สิ น ค า แล ะบริ ก ารที่ มี คุ ณภาพส ามาร ถแข ง ขั น ได ใ นเวที โลกแล ะรั ก ษ าพั ฒ น า ทรัพยากรธรรมชาติใหสมบูรณยั่งยืน 2. การตีความแบบเสรีนิยม หรือเปน Good Governance ในมุมของภาคธุรกิจ นัก จัดการสมัยใหม เปนแนวคิดเรื่องการเปดเสรี เชน อานันท ปนยารชุน(2541) ไดกลาวปาฐกถา เรื่อง “ธรรมรัฐกับอนาคตประเทศไทย” ไวเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2541 (นฤมล ทับจุมพล 2541 : 126) วา ธรรมรัฐเปนเรื่องของการบริห ารใหเกิดผลสําเร็จโดยไมเกี่ย วกับ อุดมการณท าง การเมือง กลาวคือ ประเทศที่มีธรรมรัฐอาจไมใชประเทศเสรีประชาธิปไตยก็ได แตจ ะตองมี องค ป ระกอบพื้ น ฐานที่ จํ า เป น ได แ ก การทํ า งานอย า งมี ห ลั ก การและความรั บ ผิ ด ชอบ (Accountability) การสามารถคาดการณได (Predictability) มีความโปรงใส (Transparency) ตลอดจนตองมีระบบกฎหมายที่มีความยุติธรรม (Rule of Law) และมีภาคประชาสังคมที่ เขมแข็ง (Civil Society) โดยมีสื่อที่เปนอิสระและรับผิดชอบ ธรรมรัฐในทัศนะนี้แสดงถึงสังคมที่ ไมใชแบบอุดมคติ แตเปนสังคมที่มีความขัดแยง ถกเถียงกัน โดยไมใชความรุนแรง แตรัฐจะตอง ถูกจํากัดอํานาจ และประชาชนจะตองเขามีสวนรวมในการตรวจสอบอํานาจรัฐ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (มปป. : 7-11)กลาววาลักษณะสําคัญของ “ธรรมาภิบาล” แบบ สากลมีลักษณะดังนี้ คือ 2.1 เปาหมายของธรรมาภิบาล (objective) ก็คือ การพัฒนาและอยูรวมกันอยาง สันติสุขของทุกภาคในสังคม กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ธรรมาภิบาลมีจุดมุงหมายในการสรางความ เปนธรรมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมใหกับทุกภาคในสังคม ไมใชภาคใดภาคหนึ่ง


33 2.2 โครงสรางและกระบวนการของธรรมาภิบาล (structure and process) ที่จะ นําไปสูเปาหมายได จะตองเปนโครงสรางและกระบวนการที่วางกฎเกณฑความสัมพันธ ระหวาง เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของประเทศที่ทุกภาคไมวาจะเปนภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน หรือ ภาคประชาสังคม ภาคปจ เจกชนและครอบครัว มีส วนรวมกัน ผนึก พลัง ขับ เคลื่อ นสังคมไป ขางหนา อันที่จริงโครงสรางการบริหารจัดการที่ดี และกระบวนการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งทุก ภาคในสังคมมีสวนรวมและผนึกกันเปนหนึ่งเดียวนี้เอง ที่จะทําใหเปาหมายและสาระของธรรมาภิ บาลเกิดขึ้นไดจ ริง ดังนั้น หากจะกลาววาโครงสรางและกระบวนการที่ทุกภาคมีสวนรวมเปน ปจจัยสําคัญที่สุดของธรรมาภิบาลก็เห็นจะไมเกินความจริง ดวยเหตุนี้จึงมีผูสรุปวากระบวนการที่เปนหัวใจของธรรมาภิบาลนั้นมี 3 สวนที่จะตอง เชื่อมโยงกันก็คือสวนที่หนึ่ง การมีสวนรวมของทุกภาคในการบริหารจัดการสังคม (participation) สวนที่สอง คือ ความโปรงใสของกระบวนการตัดสินใจ (transparency) ซึ่งทําใหการทุจริตและ บิดเบือนประโยชนของภาคอื่น ๆ ไปเปน ของตนกระทําไดย ากหรือไมได และสวนที่สาม คือ ความรับผิดชอบที่ตองตอบคําถาม (accountability) และถูกวิจารณได รวมทั้งความรับผิดชอบ ในผลการตัดสินใจ ขอสังเกตอีกประการหนึ่งก็คือ โครงสรางและกระบวนการที่จะกอใหเกิดธรรมาภิบาล เชนนี้จะตองมี “กฎเกณฑ” (norm) เปนตัวกําหนดความสัมพันธของทุกภาค กฎเกณฑนี้อาจ ประกอบดวยรัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎและขอบังคับ รวมตลอดถึงกฎเกณฑที่ มิไดเ ปนลาย ลัก ษณ อัก ษรอื่น อาทิ กฎเกณฑท างธรรมเนีย มประเพณี ทางศาสนา ทางศีล ธรรม หรื อ จริยธรรม ที่เปนเชนนี้ก็เพราะกฎเกณฑดังกลาวจะสราง “สิทธิ” และการยอมรับในสวนรวมของแต ละภาค 2.3 สาระของธรรมาภิบาล(substance) ก็คือ การบริหารจัดการทางเศรษฐกิจสังคม และการเมือง ตองสรางความสมดุลระหวางองคประกอบตางๆ ของสังคมใหดํารงคงอยู รวมกัน อยางสันติสุข และสังคมมีเสถียรภาพ


34 ความสมดุลของการจัดสรรทรัพยากรของสังคมใหทุกภาคมีสวนไดที่เ หมาะสมและ ยอมรับไดเปนปจจัยสําคัญที่สุดอีกประการหนึ่งที่เปนสาระของธรรมาภิบาล การเสียดุลในการ จัดสรรทรัพยากรของสังคมที่ทําใหทุกภาคใดภาคหนึ่ง “ได” ตลอดเวลา และอีกภาคหนึ่ง “เสีย” ตลอดเวลา จะนํามาซึ่งความไมเทาเทียมกันในสังคม ความขัดแยง และทายที่สุดก็คือ ความไม มั่นคงและไรเสถียรภาพทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม มีขอสังเกต ณ จุดนี้สองประการคือ ประการแรก ความสมดุลของการจัดสรรทรัพยากรในสังคมนาจะเปนผลโดยตรงมา จากโครงสรางและกระบวนการธรรมาภิบาล ที่เปนเชนนี้ก็เพราะหากภาคใดภาคหนึ่งแตเพียงภาค เดียวเปนผูมีสิทธิอํานาจในโครงสรางและกระบวนการตัดสินใจเพื่อจัดสรรทรัพยากร ก็ยอมเปน การแนนอนวาภาคนั้นๆ กลุมนั้นๆ ยอมตองจัดสรรทรัพยากรของสังคมใหภาคตน กลุมตนให มากที่สุด โดยไมคํานึงถึงภาคอื่นๆ ซึ่งจะทําใหการจัดสรรทรัพยากรนั้นเสียความสมดุลและนํามา ซึ่งความขัดแยงและความไมมั่นคงทางสังคมในที่สุด ในทางตรงกันขาม หากในโครงสรางและ กระบวนการตัดสิน ใจจัดสรรทรัพยากรนั้น ทุก ภาคมีสวนรวมและทุก ภาคมีฉัน ทามติ จั ดสรร ทรัพยากรใหทุกภาคไดบางเสียบาง แตไมมีภาคใดไดรอย อีกภาคหนึ่งไดศูนย ก็จะสรางความ สมดุลของทรัพยากร และจะทําใหทุกภาคของสังคมพัฒนาและอยูรวมกันอยางสันติ ประการที่สอง เครื่องมือที่ใชในการจัดสรรทรัพยากรในสังคมที่สําคัญที่สุดประการ หนึ่ง คือ กฎหมาย สําหรับบทบาทของกฎหมายนั้น คนทั่วไปมักพิจารณาแตเฉพาะบทบาท 2 ประการสําคัญ คือ บทบาทควบคุมสังคมของกฎหมาย และบทบาทชี้ขาดขอพิพาทใหยุติ หรือที่ เรีย กวายุ ติธรรม ทั้งที่ความจริงแลวบทบาทของกฎหมายที่สํา คัญ ที่สุดอี ก ประการหนึ่งก็คื อ กฎหมายเปนผูกําหนดการจัดสรรทรัพยากรในสังคม โดยเฉพาะกฎหมายเศรษฐกิจและสังคม เพราะกฎหมายเปนผูจัดสรรสิทธิ ซึ่งแทจริงก็คือประโยชน ใหบุคคลหรือกลุมตางๆ กฎหมายนี้ เองที่จะกําหนดวาใครไดอะไร เพียงใด และอยางไร แนวคิดเกีย่ วกับการวางแผนงานสอบบัญชี นิพันธ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร (2549: 4-1)การวางแผนงานสอบบัญชี หมายถึง การกํ า หนดขอบเขตการปฏิบัติง าน วิธีก าร(หรื อลัก ษณะ) และเวลาที่จ ะใชใ นการ


35 ตรวจสอบ เพื่อรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีอยางเพีย งพอและเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อใหบ รรลุ วัตถุประสงคการตรวจสอบไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การวางแผนงานสอบบัญชีจึง หมายถึง การที่ผูสอบบัญชีตองตัดสินใจเกี่ยวกับการรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีในเรื่องตอไปนี้ 1) ลักษณะของการตรวจสอบ วาจะใชวิธีการตรวจสอบแบบใด (การทดสอบการควบคุม หรือ การตรวจสอบเนื้อหาสาระ) และจะใชวิธีใ ด เพื่ อใหไดมาซึ่งหลัก ฐานการสอบบัญ ชี (เชน การขอคํายืนยันการสังเกตการณ การตรวจสอบเอกสาร และการปฏิบัติซ้ํา เปนตน) 2) ขอบเขตของการตรวจสอบ วาจะเลือกตัวอยางขึ้นมาทดสอบมากนอยเพียงใด (ขนาด ของตัวอยาง) และเลือกรายการใดมาตรวจสอบ 3) ระยะเวลาและจังหวะเวลาของการตรวจสอบ วาจะเขาตรวจสอบระหวางปดวย หรือจะ เขาตรวจสอบหลังวันสิ้นงวดบัญชี แตเพียงอยางเดียว และระยะเวลา (จํานวนชั่วโมงการทํางาน) ที่จะใชในแตละวิธีการตรวจสอบ ปจจัยในการกําหนดลักษณะ ขอบเขตและเวลาของการตรวจสอบ การกําหนดลักษณะ ขอบเขตและเวลาของการตรวจสอบดังกลาว อยูในชวงของการ วางแผนงานสอบบัญชี ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ เชน - ความเสี่ยง (เชน ความซับซอนของธุรกิจที่ตรวจสอบ และความมีสาระสําคัญในการ ตรวจสอบบัญชี) - ระบบควบคุมภายในของลูกคา - ความรูและประสบการณของผูสอบบัญชีตอลูกคารายนั้น เชน การวางแผนงานสอบ บัญชีสําหรับลูกคารายใหมยอมยากกวาลูกคารายเดิม - ประสิทธิภาพของการใชวิธีการตรวจสอบประเภทตางๆ เปนตน ประโยชนของการวางแผนงานสอบบัญชี 1) ชวยใหผูสอบบัญ ชีสามารถรวบรวมหลัก ฐานการสอบบัญ ชีไดอยางเพีย งพอ และ เหมาะสมในแตละสถานการณ 2) ชวยใหคาใชจายและตนทุนที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบเปนไปอยางเหมาะสม


36 3) ชวยใหเ กิดความรวมมือกับลูกคาและปองกันการเขาใจผิด โดยการทําความตกลง กําหนดการตางๆลวงหนา และยืนยันกําหนดการดังกลาว 4) ชวยใหผูสอบบัญชีแนใจไดวา ไดมีการพิจารณาเรื่องที่สําคัญอยางเหมาะสม รวมทั้ง สามารถระบุและจัดการกับปญหาที่อาจเกิดขึ้นได 5) ชวยใหมีการมอบหมายงานแกผูชวยอยางเหมาะสม 6) ชวยใหการประสานงานกับผูสอบบัญชีอื่นและผูเชี่ยวชาญ การหาความรู เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ที่ ต รวจสอบเพื่ อ ประโยชน ใ นการวางแผนการ ตรวจสอบ ผูสอบควรมีหรือไดรับความรูเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบอยางเพียงพอทีจะทําใหสามารถ ระบุ และเขาใจรายการบัญชี และวิธีปฏิบัติงาน ซึ่งผูสอบบัญชีเห็นวาอาจมีผลกระทบที่สําคัญตอ งบการเงิน หรือตอการปฏิบัติงานตรวจสอบ หรือตอการแสดงความเห็นของผูสอบบัญชี ประโยชนของขอมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ ผูสอบบัญชีควรรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับธุรกิจ เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับธุรกิจ ที่ตรวจสอบอยางเพียงพอ ซึ่งจะเปนประโยชนตอการวางแผนงานสอบบัญชี ดังตอไปนี้ 1) เพื่อใหเขาใจในระบบบัญชีและวิธีปฏิบัติทางการบัญชีของกิจการที่ตรวจสอบ 2) เพื่อชวยในการระบุปญหาและประเมินความเสี่ยงสืบเนื่องของกิจการที่ตรวจสอบ การไดมาซึ่งความรูเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ เมื่อเริ่มรับงาน ผูสอบบัญชีควรมีความรูเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบอยางเพียงพอ และควร หาความรูในรายละเอียดเพิ่มเติม ผูสอบบัญชีจะรวบรวม ประเมิน และสะสมขอมูลอยางตอเนื่อง และนําความรูที่ไดนั้นไปพิจารณาหลักฐานการสอบบัญชีที่ไดมาระหวางการตรวจสอบ ถึงแมวาจะ มีการรวบรวมขอมูลไวตั้งแตขั้นตอนการวางแผนการตรวจสอบแลวก็ตาม ผูสอบบัญชีมักตองแกไข ปรับปรุงเพิ่มเติมขอมูลเหลานั้นเมื่อมีความรูความเขาใจมากขึ้นเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ แหลงความรูเกี่ยวกับธุรกิจและกิจการที่ตรวจสอบ ผูสอบบัญชีอาจหาความรูเกี่ยวกับธุรกิจและกิจการที่ตรวจสอบจากแหลงขอมูลตางๆได ดังตอไปนี้ 1) ประสบการณในการตรวจสอบของปที่ผานมาเกี่ยวกับกิจการและธุรกิจประเภทนั้น


37 2) การปรึกษาหารือกับบุคลากรของกิจการ เชน กรรมการ เจาหนาที่ 3) การปรึกษาหารือกับผูสอบบัญชีอื่น ที่ปรึกษากฎหมาย และที่ปรึกษาดานอื่นๆ 4) การปรึกษาหารือกับผูที่มีความรูจากภายนอกกิจการ 5) สิ่งตีพิมพที่เกี่ยวของกับธุรกิจที่ตรวจสอบ 6) กฎหมาย กฎเกณฑและระเบียบที่มีผลกระทบสําคัญตอกิจการที่ตรวจสอบ 7) การตรวจเยี่ยมสถานประกอบการและโรงงาน 8) เอกสารที่กิจ การจัดทํา เชน รายงานการประชุม เอกสาร ซึ่งจัดสง ใหผูถือหุน หรื อ หนวยงานตางๆ รายงานประจําป งบการเงิน ของปกอน เอกสารงบประมาณ รายงานภายใน สําหรับผูบริหาร งบการเงิน นโยบายของฝายบริหาร คูมือระบบบัญชีและระบบควบคุมภายใน ผัง บัญชี คําบรรยายลักษณะงาน แผนการตลาดและแผนการขาย หลักฐานการสอบบัญชี สุชาย ยังประสิทธิ์กุล (2555: 5-1)หลักฐานการสอบบัญชี หมายถึง ขอมูลซึ่งผูสอบบัญชี ไดรับและใชสรุปเพื่อแสดงความเห็นตองบการเงิน หลักฐานการสอบบัญชีประกอบดวย เอกสาร เบื้องตนและบันทึกทางการบัญชีที่ใชในการจัดทํางบการเงินและขอมูลประกอบจากแหลงภายนอก วัตถุประสงคของการรวบรวมหลักฐาน เพื่อใชประกอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินของกิจการที่ตรวจสอบวาถูกตองและ เชื่อถือไดเพียงใด ประเภทของหลักฐาน ความเชื่อถือไดของหลัก ฐานขึ้นอยูกับ แหลงที่ไดมาของหลัก ฐานและลักษณะของการ ไดมาของหลักฐาน ดังนั้น อาจจําแนกประเภทหลักฐานไดดังนี้ 1) -

ตามแหลงที่มาของหลักฐาน หลักฐานอาจมีที่มาจากแหลงตางๆเชน หลักฐานเอกสารที่มีการจัดทําและเก็บรักษาไวโดยบุคคลที่สาม หลักฐานเอกสารที่บุคคลที่สามจัดทํา แตเก็บรักษาไวโดยกิจการ หลักฐานเอกสารที่มีการจัดทําและเก็บรักษาไวโดยกิจการ


38 2) ตามลักษณะของการไดมา - หลั ก ฐานที่ ผู ส อบได จ ากการปฏิ บั ติ ง านอิ ส ระ โดยจดบั น ทึ ก ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการ ตรวจสอบเอกสารและบันทึกรายการบัญชีของกิจการ, การสังเกตการณ, การสอบถาม, หรือการ วิเคราะหรายการ การรวบรวมหลักฐานตามขั้นตอนการสอบบัญชี ผูสอบบัญชีทําการรวบรวมตามขั้นตอนของงานสอบบัญชี เริ่มตั้งแตการจัดทําหนังสือตอบ รับงานสอบบัญชี การรวบรวมขอมูลตางที่เกี่ยวกับลูกคาตลอดจนการประเมินความเสี่ยงในการ สอบบัญชี การจัดทําแผนการสอบบัญชี และแนวการสอบบัญชี การจัดทํากระดาษทําการทดสอบ การควบคุมและการตรวจสอบเนื้อหาสาระของบัญชีตางๆรายการบัญชีตางๆ การรวบรวมหลักฐาน ในขั้นตอนสรุปผลการตรวจสอบ ซึ่งไดแก หลักฐานการตรวจสอบเหตุการณหลังสันที่ในงบการเงิน หลักฐานการพิจารณาความไมแนนอนตางๆ การสอบถามทนายความถึงคดีฟองรอง จนถึงขั้นตอน การจัดทํารางรายงานแสดงความเห็นเกี่ยวกับผลการสอบบัญชี ความเชื่อถือไดของหลักฐาน 1) ปจจัยความเชื่อถือไดของหลักฐาน หลักฐานที่ไดจากการตรวจสอบจะมีความนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับปจจัยใน เรื่องตางๆ ดังนี้ 1.1 ความเกี่ยวของกันหรือความสัมพันธกันของหลักฐาน 1.2 ความสมบูรณของหลักฐาน ประกอบดวย - ความเปนอิสระของผูรวบรวมหลักฐาน - ประสิทธิภาพของการควบคุมภายใน - ขอมูลที่ผูสอบจัดทําขึ้น - ความชัดเจนของหลักฐาน 1.3 ความเพียงพอของหลักฐาน 1.4 ความเหมาะสมทันเวลา


39 2) การพิจารณาความเชื่อถือไดของหลักฐาน 2.1 ความสอดคลองกันของปจจัยความเชื่อถือได ในการพิจารณาความนาเชื่อถือของหลักฐาน ผูสอบบัญชีควรจะตองพิจารราเพื่อ ประเมินโดยรวมถึงปจจัยทั้งสี่เรื่อง เพื่อจะบอกวาหลักฐานที่ไดมีความนาเชื่อไดมิใชพิจารณาทีละ ปจจัย หรือพิจารณาปจจัยใดปจจัยหนึ่งเทานั้น เนื่องจากหลักฐานที่ไดมีความสมบูรณและจํานวน เพียงพอแตอาจไดมาจากการใชวิธีการตรวจสอบที่ไมเ หมาะสม เพื่อใหไดตามวัตถุป ระสงคที่ ตองการหรืออาจไดมาไมทันการตอความตองการในการใชขอมูลนั้นๆ 2.2 ความเชื่อถือไดของหลักฐานกับคาใชจาย ควรตองพิจารณาถึงคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมหลักฐานวา มีความคุมคา กับหลักฐานที่ไดมาหรือไม เพราะในบางครั้งอาจมีวิธีการที่ทําใหหลักฐานที่นาเชื่อถือไดเหมือนกัน แตเสียคาจายต่ํากวา แนวทางทั่วไปเพื่อใชประเมินความเชื่อถือไดของหลักฐานการสอบบัญชี - หลักฐานการสอบบัญชีภายนอกกิจ การ มีความนาเชื่อถือมากกวาหลักฐานที่มีการ จัดทําขึ้นภายในกิจการ - หลักฐานการสอบบัญชีจากภายในกิจการมีความนาเชื่อถือมากขึ้นเมื่อกิจการมีระบบ บัญชีและระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล - หลั ก ฐานการสอบบัญ ชีที่ ผูส อบบัญ ชีไ ดรั บ ตรงยอ มที ความนา เชื่ อถื อไดม ากกว า หลักฐานที่ไดรับจากกิจการ - หลักฐานของการสอบบัญชีที่อยูในรูปของเอกสารและคํารับรองที่เปนลายลักษณอกั ษร ยอมมีความนาเชื่อถือมากกวาคํารับรองดวยวาจา สิ่งที่ผูสอบพิจารณาในการรวบรวมหลักฐานกับความนาเชื่อถือของหลักฐาน สิ่งที่ผูสอบพิจ ารณาในการรวบรวมหลัก ฐาน มีความเกี่ย วเนื่องกับความนาเชื่อถือของ หลักฐาน กลาวคือ 1) วิธีการตรวจสอบที่ใช เมื่อผูสอบบัญชีจะเลือกวิธีการตรวจสอบใดในการตรวจสอบนั้น ผูสอบบัญชีจะตองคํานึงวา วิธีการตรวจสอบที่ใช - มีผลทําใหไดขอมูล ตรงกับวัตถุประสงคของการตรวจสอบที่ตองการหรือไม - มีผลทําใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือมากนอยเพียงใด


40 2) ขนาดของตัวอยาง มีผลตอความเพียงพอของหลักฐานที่ได 3) รายการบัญชีที่เลือก รายการบัญ ชีที่เลือกตรวจสอบจะตองสัมพัน ธกับวัตถุประสงค ของการตรวจสอบ 4) เวลาที่ใ ชใ นการรวบรวมหลัก ฐาน ผู สอบบั ญ ชีจ ะตองคํานึง ถึงความทั น เวลาของ หลักฐานที่ได หากเวลาที่ผูสอบบัญชีใชในการรวบรวมหลักฐานมากเกินไป อาจทําใหไดหลักฐาน ไมทันตอเวลาที่จะใชหลักฐานนั้น การประเมินความเสี่ยง วัตถุประสงคของการประเมินความเสี่ยง สุชาย ยังประสิทธิ์กุล (2555: 4-1) กลาววา “ในการตรวจสอบงบการเงิน ผูสอบบัญชีจะ คํานึงถึงนโยบาย และวิธีการปฏิบัติในระบบบัญชี และระบบการควบคุมภายในเฉพาะที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ผูบริห ารไดใ หก ารรับ รองไวเกี่ย วกับงบการเงิน ความเขาใจในระบบบัญ ชี และระบบการ ควบคุมภายในควบคูไปกับการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่อง และความเสี่ยงจากการควบคุม และ ขอพิจารณาอื่น จะทําใหผูสอบบัญชีสามารถระบุถึงประเภทของขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปน สาระสําคัญซึ่งอาจแสดงอยูในงบการเงินพิจารณาปจจัยซึ่งมีผลกระทบตอความเสี่ยงที่อาจมีการ แสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ กําหนดวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม” ในการรวบรวมหลักฐานเพื่อแสดงความเห็นตองบการเงิน ผูสอบบัญชีจะทําการประเมิน ความเสี่ยงที่ผูสอบบัญชีอาจจะแสดงความเห็นตองบการเงินไมเหมาะสมโดย (1) ประเมินความ เสี่ยงสืบเนื่องซึ่งเกิดจากปจจัยขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับกิจการ และ (2) ประเมินความเสี่ยงจาก การควบคุมซึ่งเกิดจากการที่ระบบควบคุมภายในไมสามารถปองกันความผิดพลาดได ซึ่งจะทําให ผูสอบบัญชีสามารถที่จะคาดการณเกี่ยวกับรายการหรือขอผิดพลาดที่อาจมีอยูในงบการเงินได และเมื่อนํามาพิจารณารวมกับระดับความเสี่ยงที่ผูสอบบัญชีจะยอมรับขอผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นก็ จะชวยทําใหผูสอบบัญ ชีสามารถวางแผนการตรวจสอบใหเ หมาะสม และกํา หนดลักษณะของ วิธีการตรวจสอบ ระยะเวลาการตรวจสอบ และขอบเขตของวิธีการตรวจสอบที่จําเปนเพื่อที่จะลด ความเสี่ยงของการสอบบัญชีใหอยูในระดับต่ําพอที่จะยอมรับได


41 ประเภทของความเสี่ยงในการสอบบัญชี [AUDIT RISK (AR)] ความเสี่ยงในการสอบบัญชี แบงไดเปน 3 ประเภท คือ 1. ความเสี่ยงสืบเนื่อง (INHERENT RISK) 2. ความเสี่ยงจากการควบคุม (CONTROL RISK) 3. ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ (DETECTION RISK) 1.1 ความเสี่ยงสืบเนื่อง (INHERENT RISK) ตามมาตรฐานการสอบบัญชีไดใหความหมายของความเสี่ยงสืบเนื่องไววาหมายถึง “โอกาสที่ยอดคงเหลือของบัญชีหรือประเภทของรายการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงซึ่งอาจมี สาระสําคัญในแตละรายการหรือมีสาระสําคัญเมื่อรวมกับการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงใน ยอดคงเหลืออื่น หรือประเภทรายการอื่น โดยไมคํานึงถึงการควบคุมภายในที่อาจมีอยูซึ่งอาจ ปองกันหรือตรวจพบ และแกไขการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงดังกลาวได” ความเสี่ยงสืบเนื่องเปนความเสี่ยงที่เปนผลมาจากสาระสําคัญของขอมูลที่เกี่ยวของ กับกิจการที่ตรวจสอบ เปนความเสี่ยงที่ผูสอบบัญชีไมสามารถควบคุมได ขอมูลลักษณะของธุรกิจของกิจการจะมีความหลากหลาย และแตละกิจการมีความ แตกตางกันไปซึ่งในการตรวจสอบแตละราย ผูสอบบัญชีควรรวบรวมขอมูลขั้นตนเพื่อใหไดมาซึ่ง ความรูความเขาใจเกี่ยวกับกิจการที่ตนจะตรวจสอบทั้งในระดับงบการเงิน และในระดับรายการ ของบอดคงเหลือในบัญชี และประเภทรายการ ในระดับงบการเงิน ขอมูลที่เ กี่ย วกับกิจ การในเรื่องตาง ๆ ที่อาจสงผลตอความถูกตองของงบการเงิน โดยรวมหรืออาจทําใหงบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอยางมีสาระสําคัญ ไดแก ความ


42 ซื่อสัตยสุจริต ประสบการณและความรูความสารถของผูบริหาร การเปลี่ยนแปลงสถานการณทาง เศรษฐกิจ สภาพการแขงขัน ความตองการของลูกคา การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยี และลักษณะ ทางธุรกิจอื่น ๆ ของกิจการ ตัวอยางเชน กิจการที่ผูบริหารมีความซื่อสัตยสุจริต มีความรูความเขาใจ และมีประสบการณที่ เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมที่กิจการดําเนินงาน ตลอดจนการใหความสนใจเกี่ยวกับระบบบัญชี และ การควบคุมภายในนาจะทําใหขอมูลมีความนาเชื่อถือ และมีความเสี่ยงต่ํากวากิจการที่ผูบริหารไม มีความรูความเขาใจ และไมใหความสําคัญกับระบบงาน และระบบการควบคุมภายใน กิจการที่ผลิตสิน คาเพื่อขายจะมีความขั้นตอนการทํางาน และการบันทึกรายการ ตนทุนสินคาที่ยุงยากมากกวากิจการซื้อสินคามาแลวขายไป กิจการที่มีการซื้อขายกับบริษัทตางประเทศจะมีความยุงยาก และความเสี่ยงมากกวา กิจการที่ซื้อขายกับเฉพาะบริษัทในประเทศ เนื่องจากขั้นตอนการขายการรับเงิน, การจัดสงสินคาที่ ซับ ซอนกวาการขายสิน คาในประเทศ และยัง อาจมีความเสี่ย งเกี่ย วกับ ผลแตกตางของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอีกดวย กิจการที่มีห ลายสาขานาจะความเสี่ย งสูงกวากิจ การที่มีสาขาเดีย วเนื่องจากหาก กิจการมีหลายสาขาจะมีความซับซอนของการจัดผังองคกร การจัดเก็บสินคา และการบริหารงานที่ ยุงยากกวา ในระดับรายการของยอดคงเหลือในบัญชีและประเภทรายการ ขอมูลที่มีความยุงยากซับซอนของรายการ ซึ่งมีผลตอความถูกตองของการบันทึก รายการบัญชี และการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงของยอดคงเหลือในบัญชี ไดแก ความซับซอน ของรายการและเหตุก ารณอื่นที่อาจตองใชผูเ ชี่ยวชาญ ขอมูลที่ตองใชดุลยพินิจ ในการกําหนด รายการผิดปกติและรายการที่ไมผานการประมวลตามปกติ เมื่อไดรวบรวมขอมูลทางธุรกิจตาง ๆ ของกิจการผูสอบบัญชีควรประเมินความเสี่ยง สืบเนื่องในระดับงบการเงิน เพื่อชวยในการกําหนดแผนการสอบบัญชีโดยรวม และควรพิจารณา


43 ความสัมพันธ ระหวางผลการประเมิน ดังกลาวกับ สิ่งที่ผูบริหารไดใหการรับรองไวเกี่ยวกับ ยอด คงเหลือใบบัญชีหรือประเภทรายการที่มีสาระสําคัญ เพื่อกําหนดแนวการสอบบัญชีใหเหมาะสม ในการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่อง ผูสอบบัญชีจะใชดุลยพินิจเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ เพื่อประเมินปจจัยตาง ๆ ผูสอบบัญชีควรบันทึกในกระดาษทําการเกี่ยวกับผลการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่อง เพื่อระบุวาพบปจจัยความเสี่ยงในเรื่องใดบาง และความเสี่ยงดังกลาวมีผลกระทบอยางไร และมี ผลกระทบตอรายการในงบการเงินรายการใดตลอดจนพิจารณากําหนดแนวทางในการตรวจสอบที่ ควรจะทํา 1.2 ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ (CONTROL RISK) ตามมาตรฐานการสอบบัญ ชีไดใหความหมายของความเสี่ยงจากการควบคุมวา หมายถึง “ความเสี่ยงที่ระบบบัญชีหรือระบบการควบคุมภายในไมสามารถปองกันหรือตรวจพบ และแกไขการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงไดอยางทันเวลา การแสดงขอมูล ที่ขัดตอขอเท็จจริง อาจเกิดขึ้นในยอดคงเหลือของบัญชีหรือประเภทบัญชีและอาจ(ก) มีสาระสําคัญในแตละรายการ หรือ (ข) มีสาระสําคัญ เมื่อรวมกับ การแสดงขอมูลที่ขัดตอขอ เท็จ จริงในยอดคงเหลืออื่น หรื อ ประเภทของรายการอื่น” ความเสี่ยงจากการควบคุมเปนความเสี่ยงที่ผูสอบบัญชีไมสามารถควบคุมไดเพราะ ผูบริหารของกิจการเปนผูมีหนาที่รับผิดชอบในการกําหนดหรือจัดใหมีระบบการควบคุมภายในขึ้น เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการดําเนินธุรกิจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งหากผูบริหารของกิจการ ไมสนใจหรือไมใหความสําคัญในการกําหนดระบบการควบคุมภายใน และกําหนดใหบุคคลากรใน กิจการปฏิบัติตามอยางเพียงพอและเหมาะสม ระบบการควบคุมภายในก็อาจไมสามมารถปองกัน หรือตรวจพบและแกไขการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงที่เปนสาระสําคัญได ผูสอบบัญชีควรรวบรวมขอมูล และศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งความเขาใจในระบบบัญชี และระบบการควบคุมภายในแลว ผูสอบบัญชีควรทําการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมใน


44 เบื้องตนสําหรับแตละยอดคงเหลือในบัญชีหรือแตละประเภทรายการที่มีสาระสําคัญซึ่งผูบริหารได ใหการรับรองไว ผูสอบบัญ ชีควรบัน ทึก ในกระดาษทําการเกี่ยวกับ ความเขาใจในระบบบัญชี และ ระบบการควบคุมภายในดังกลาว และบัน ทึกผลการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมเพื่อให ทราบถึงวิธีการควบคุมที่มีอยูและวิธีการควบคุมที่ขาดหายไปของกิจการ 1.3 ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ (DETECTION RISK) ความเสี่ยงที่วิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระซึ่งผูสอบบัญชีใชไมสามารถตรวจพบการ แสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงที่มีอยูในยอดคงเหลือของบัญชีหรือประเภทของรายการโดยการ แสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงนั้นอาจ ก) มีสาระสําคัญในแตละรายการ หรือ ข) มีสาระสําคัญเมื่อ รวมกันกับการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงในยอดคงเหลืออื่นหรือประเภทของรายการอื่น ความเสี่ยงจากการตรวจสอบเปนความเสี่ยงที่เกิดจากขอจํากัดหรือการปฏิบัติงาน ของผูสอบบัญชีซึ่งอาจเกิดจาก 1. ไมไดทําการตรวจสอบหลักฐานทั้งหมด 2. วิธีการตรวจสอบที่ใชไมมีประสิทธิภาพ 3. ขอบกพรองในการปฏิบัติงาน เชน ตั้งขอสมมุติฐาน หรือสรุปความเห็นเกี่ยวกับ ขอผิดพลาดไปจากที่ควรจะเปน ผูสอบบัญชีสามารถควบคุมความเสี่ยงจากการตรวจสอบไดโดยการวางแผนการ ตรวจสอบใหเหมาะสมกับความเสี่ยงที่คาดวาจะเกิดขึ้น เพื่อลดระดับความเสี่ยงลง ผูสอบบั ญ ชีควรพิ จ ารณาระดับ ของความเสี่ย งสืบ เนื่อง และความเสี่ย งจากการ ควบคุมที่ไดประเมินไวในการกําหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของวิธีการตรวจสอบเนื้อหา สาระที่จําเปน เพื่อที่จะลดความเสี่ยงของการสอบบัญชีใหอยูในระดับที่ต่ําพอที่จะยอมรับได


45 การพิจารณาความเสี่ยง ผูสอบบัญ ชีควรพิจ ารณาวาความเสี่ย งที่คาดวาจะเกิดขึ้น ดังกลาวมีผลกระทบตองบ การเงินโดยรวมหรือมีผลตอแตละรายการในงบการเงิน ตัวอยางเชน หากมีขอมูลที่ชี้ใหเห็นวากิจการมีขาดทุนสะสมสูงกวาทุนเปนจํานวนสูงมาก และกิจการไมสามารถหาแหลงเงินทุนที่สนับสนุนดานการเงินได ขอมูลนี้อาจชี้ไดวากิจการมีความ เสี่ย งและเปนความเสี่ยงที่มีผลตองบการเงิน โดยรวม กลาวคือหากกิจการไมสามารถหาแหลง สนับสนุนดานการเงินได กิจการอาจไมสามารถดํารงอยูได ซึ่งในการแสดงงบการเงินในกรณีที่คาด วากิจการไมสามารถดํารงอยูอาจทําใหปรับปรุงสินทรัพยของกิจการเพื่อใหงบการเงินแสดงฐานะ การเงินที่จริง หากมีขอมูลที่ชี้ใหเห็นวาระบบการรับเงินสดจากการขายปลีกของกิจการไมมีการควบคุม ภายในที่เหมาะสม ความเสี่ยงในกรณีนี้เปนความเสี่ยงในระดับรายการในงบการเงิน กลาวคือการ ที่ระบบการควบคุมภายในไมดีจะมีผลกระทบเฉพาะตอบัญชีขายสดและเงินสด แตรายการอื่นๆ ไมไดรับผลกระทบจากความเสี่ยงดังกลาว ความมีสาระสําคัญ เปนการพิจารณาวาความเสี่ยงที่มีอยู มีผลกระทบตอรายการใดในงบการเงิน และรายการ นั้นมีสาระสําคัญตองบการเงินมากนอยเพียงใด ตัวอยางเชน กิจการมีระบบการควบคุมภายใน เกี่ยวกับระบบการรับเงินสดจากการขายปลีกไมดี ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่การรับเงินสดจะไมถูกตอง แตมีขอมูลเกี่ยวกับรายการขายวาการขายสวนใหญของกิจการเปนการขายสงซึ่งเป นการรับเงิน โดยเช็ค มีการขายปลีกซึ่งรับเปนเงินสดนอยมาก ดังนั้น จะเห็นวา ถึงแมวาการที่ระบบการรับเงิน สดจากการขายปลีก จะมีความเสี่ย งแตรายการที่เ ปน ผลกระทบจากความเสี่ยงดังกลาว ไมมี สาระสําคัญตองบการเงินโดยรวม


46 ความมี โอกาสที่จะเกิด สาระสําคัญ ขอผิดพลาดที่มี ของความเสี่ยง สาระสําคัญ

ปจจัยเสี่ยงที่ พบ

ระดับความ เสี่ยง

ไมมี ไมมี ปานกลาง หลายปจจัย

ต่ํามาก คอนขางต่ํา ปานกลาง คอนขางสูง

ไมมีเลย อาจมี ปานกลาง คอนขางมาก

ไมนาจะมี นอย ปานกลาง คอนขางมาก

หลายปจจัย

สูง

มาก

มาก

ระดับความเสี่ยงจากการตรวจสอบที่ยอมรับได เมื่อผูสอบบัญชีไดประเมินความเสี่ยงสืบเนื่อง และความเสี่ยงจากการควบคุมแลวจะนํา ผลการประเมิ น ทั้ งสองส วนมาพิ จ ารณารว มกัน เพื่อ กํา หนดความเสี่ย งจากการตรวจสอบที่ เหมาะสมพอที่ย อมรับ ไดสําหรับ สิ่งที่ผูบริห ารไดใ หก ารรับรองไวเ กี่ย วกับ งบการเงิน และเพื่อ กําหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของวิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระที่จําเปน เพื่อที่จะลด ความเสี่ยงของการสอบบัญชีใหอยูในระดับที่ต่ําพอที่จะยอมรับได ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดจะเปลี่ยนแปลงไปตามผลการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่อง และผลการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม ซึ่งอาจแสดงไดดังตารางตัวอยางตอไปนี้ การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ประเมิน ความ กลาง เสี่ยงสืบเนื่อง ต่ํา

ระดับของความเสี่ยงที่ยอมรับได ต่ํามาก๑ คอนขางต่ํา๒ กลาง๓ คอนขางต่ํา๒ กลาง๓ คอนขางสูง๔ กลาง๓ คอนขางสูง๔ สูงมาก๕


47 จากตารางตัวอยางขางตน สามารถแบงระดับของความเสี่ยงที่ยอมรับไดซึ่งเปลี่ยนแปลง ตามผลการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่องและความเสี่ยงจากการควบคุมเปน 5 ระดับดังนี้ ผลการประเมิน สถานการณ

ความเสี่ยง สืบเนื่อง

ความเสี่ยงจาก การควบคุม

ความสามารถของผูสอบบัญชี ที่จะยอมรับความเสีย่ งจาก การตรวจสอบอยูใน

A

สูง

สูง

ระดับต่ํามาก๑

B C D E F I J

สูง ปานกลาง สูง ปานกลาง ต่ํา กลาง ต่ํา

ปานกลาง สูง ต่ํา ปานกลาง สูง ต่ํา กลาง

K

ต่ํา

ต่ํา

ระดับคอนขางต่ํา๒

ระดับกลาง๓ ระดับคอนขางสูง๔ ระดับสูงมาก๕

แนวคิดเกีย่ วกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน การควบคุมภายใน ยรรยง ธรรมธัชอารี (2549: 31-32)การควบคุมภายใน หมายถึง มาตรการใดๆที่บุคคลใน องคก รร วมกัน กํ าหนดขึ้ น เพื่อ รัก ษาทรัพยสิน และผลประโยชนขององคก ร และชว ยใหก าร ดําเนินงานบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ สุชาย ยังประสิทธิ์กุล (2555: 2-1)ระบบการควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิธีการ ปฏิบัติ(การควบคุมภายใน) ซึ่งผูบริหารของกิจการกําหนดขึ้นเพื่อชวยใหบรรลุวัตถุประสงคของ ผูบริหารที่จะใหเกิดความมั่นใจเทาที่สามารถทําไดวา การดําเนินธุรกิจเปนไปอยางมีระเบียบและมี ประสิทธิภาพซึ่งรวมถึงการปฏิบัติตามนโยบายของผูบริหาร การปองกันสินทรัพย การปองกันและ


48 การตรวจพบทุจริตและขอผิดพลาด ความถูกตองและครบถวนของการบันทึกรายการบัญชีและ การจัดทําขอมูลทางการเงินที่เชื่อถือไดอยางทันเวลา ณฐพร พัน ธุอุดม (2549: 2)การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการ ซึ่งไดรับ การ ออกแบบไวโดยคณะกรรมการบริษัท ผูบริหารขององคกร โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหเกิดความ มั่นใจอยางสมเหตุสมผลในดานการดําเนินงาน ดานการรายงานทางการเงิน ดานการปฏิบัติให เปนไปตาม กฎ ระเบียบ จันทนา สาขากร, นิพันธ เห็น โชคชัย ชนะ และ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร (2550: 2-2)การ ควบคุมภายใน คือ แผนการจัดหนวยงาน วิธีปฏิบัติงานที่ประสานสัมพันธกันและมาตรการตางๆที่ กิจการกําหนดขึ้น และถือปฏิบัติภายในองคกร เพื่อปกปกรักษาสินทรัพยของกิจการ รวมทั้งสอบ ทานความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูลทางการบัญชี เพิ่มพูนประสิทธิภาพในการดําเนินงาน และสงเสริมใหมีการดําเนินงานตามนโยบายที่ฝายบริหารไดกําหนดไว วัตถุประสงคของการควบคุมภายใน การควบคุมภายในนั้นเปนกระบวนการบริหารภายในองคกรเพื่อสรางเกราะปองกันความ ผิดพลาดและเสีย หายที่อาจเกิดขึ้น แกองคกร ดวยการกําหนดขอบเขตและวิธีก ารควบคุมและ ตรวจสอบที่เหมาะสม เพื่อใหผูปฏิบัติงานเกิดความสบายใจและมั่นใจไดวางานที่ตนไดกระทําไป นั้นมีความถูกตอง และกอใหเกิดประโยชนตอองคกรอยางแทจริง วัตถุประสงคที่สําคัญของการควบคุมภายใน ซึ่งครอบคลุมประเด็นสําคัญดังตอไปนี้ คือ 1. เพื่อการปกปองทรัพยสนิ 2. เพื่อความถูกตองในการปฏิบัติงาน 3. เพื่อลดขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึน้ 4. เพื่อสรางขวัญและกําลังใจในการทํางาน 5. เพื่อพิทักษผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย 6. เพื่อใหการบริหารงานมีประสิทธิภาพ


49 องคประกอบและหลักการของการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO อุษณา ภัทรมนตรี(2552: 6-9 -6-13)การควบคุมภายใน ประกอบดวย 5 องคประกอบ และ 20 หลักการ ซึ่งสรุปใหพอเขาใจ ดังนี้ องคประกอบที่ 1 สภาพแวดลอมในการควบคุม (Control Environment) สภาพแวดลอมในการควบคุม เปนพื้นฐานขององคประกอบของการควบคุมภายในดาน อื่น ๆ และเปน การกําหนดบรรยากาศในการทํางานขององคก าร ที่เกี่ย วกับ การจัดการดานงบ การเงิน โดยมีปจจัยตางๆซึ่งสงผลใหเกิดมาตรการ หรือวิธีการควบคุม ขึ้นในองคการ เพื่อสงเสริม ใหทุกคนในองคการตระหนักถึงความจําเปนของการควบคุมภายใน ดานรายงานทางการเงิน ธุรกิจขนาดเล็กมีลัก ษณะเฉพาะ ที่บุคลากรในองคการมัก จะมีป ฏิสัมพันธกับผูบริหาร ระดับสูงอยางใกลชิดและมีอิทธิพลในการบริหารจัดการประจําวันมาก ผูบริหารระดับสูงสามารถที่ จะสรางเสริมคานิยมพื้น ฐานขององคการ และกําหนดทิศทางใหกับ องคก าร ยิ่งไปกวานั้น การ ปฏิบัติกันอยางใกลชิด ยังทําใหผูบริหารระดับสูงตระหนักไดถึงการเปลี่ยนแปลงที่จําเปนเกี่ยวกับ พฤติกรรมของบุคลากร หลักการที่สําคัญของสภาพแวดลอมในการควบคุม มี 7 หลักการ ไดแก หลักการที่ 1. ความซื่อสัตยและความมีจริยธรรม (Integrity and Ethical Values) การ แสดงออกของผูบริหารระดับสูง เกี่ยวกับความซื่อสัตยความมีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจที่ดีจะ ชวยพัฒนา สรางความเขาใจ และกําหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานสําหรับการรายงานทาง การเงินการบัญชี หลักการที่ 2. บทบาทของคณะกรรมการองคการ (Board of Directors) คณะกรรมการ ตองเขาใจและใชการกํากับตรวจตราตามหนาที่ความรับผิดชอบ เกี่ยวกับรายงานทางการเงินการ บัญชีและการควบคุมภายในที่เกี่ยวกับความเชื่อถือไดของรายงานทางการเงินการบัญชี


50 หลักการที่ 3. ปรั ช ญาและรู ป แบบการปฏิ บั ติ ง านของฝ า ยบริ ห าร (Management’s Philosophy and Operating Style) ปรัช ญาและรูป แบบการปฏิบัติ งานของฝายบริห าร จะ สนับสนุนประสิทธิผลของการควบคุมภายในดานรายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 4. การจัดโครงสรางองคก าร (Organization Structure) การจัดโครงสราง องคการ จะสนับสนุนประสิทธิผลของการควบคุมภายในดานรายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 5. ความสามารถในการจั ด ทํ า รายงานทางการเงิ น การบั ญ ชี (Financial Reporting Competencies) บริษัทตองดํารงไวซึ่งความสามารถของบุคลากรในการจัดทํารายงาน ทางการเงินการบัญชี และบทบาทในการกํากับตรวจตรา หลักการที่ 6. การมอบหมายอํ า นาจหน า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ (Authority and Responsibility) ฝายบริหารและพนักงานตองไดรับมอบหมายอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ ในระดับ ที่เ หมาะสมเพื่ อที่จ ะทําใหเ กิดระบบการควบคุมภายในดานรายงานทางการเงิน ที่ มี ประสิทธิผล หลักการที่ 7. มาตรฐานทรัพยากรบุคคล (Human Resource Standards) นโยบายและ วิธีปฏิบัติดานทรัพยากรบุคคล ตองออกแบบและนําไปปฏิบัติ เพื่อที่จะทําใหเกิดระบบการควบคุม ภายในดานรายงานทางการเงินที่มีประสิทธิผล องคประกอบที่ 2 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) องคประกอบนี้เกี่ยวของกับการกําหนดวัตถุประสงคของรายงานทางการเงินการบัญชี ให ชั ด เจน การเลื อ กพิ จ ารณารายการในรายงานทางการเงิ น ที่ สํ า คั ญ ซึ่ ง ถื อ เป น ขั้ น แรกของ กระบวนการประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยงในธุรกิจขนาดเล็กสามารถทําใหสําเร็จได งาย เพราะซีอีโอมีความรูความสามารถในเชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารงาน และผูบริหารระดับสูง ทํา ใหทราบถึงจุดที่มีความเสี่ยงจากขอมูลภายในตามปกติ และจากบุคลากร ลูกคา ซัพพลายเออร หรือจากแหลงอื่นๆ ทําใหผูบริหารสามารถที่จะระบุความเสี่ยงที่มีอยูตามปกติในกระบวนการทาง ธุรกิจได


51 ในการที่จะจัดการกับความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบตอความนาเชื่อถือของรายงานทางการ เงินการบัญชี ตองระบุพฤติกรรมที่จะนําไปสูความเสี่ยง เชน ความผิดพลาดจากการบันทึกรายการ การบัน ทึก รายการที่ไมมีอยูหรือไมเ คยเกิดขึ้น การบัน ทึก รายการผิดงวดหรือบันทึก จํานวนไม ถูกตองหรือการจัดประเภทรายการไมถูกตอง ขอมูลสูญหายหรือมีการแกไขรายการที่เคยบันทึกไว การไดรับขอมูลที่มีการบิดเบือนทําใหมีผลตอความนาเชื่อถือของการประมาณการ การบันทึก รายการที่ไมเหมาะสม เปนตน หลักการสําคัญเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยงมี 3 หลักการ ไดแก หลักการที่ 8. วัตถุป ระสงคของรายงานทางการเงิน การบัญ ชี (Financial Reporting Objectives) ผูบริหารจะตองระบุวัตถุประสงคทางการเงินที่ชัดเจนพอเพียง และเกณฑที่สามารถ ใชบงชี้ความเสี่ยงเกี่ยวกับความนาเชื่อถือของรายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 9. ความเสี่ยงจากรายงานทางการเงินการบัญชี (Financial Reporting Risks) บริษัทตองระบุและวิเคราะหความเสี่ยงที่จะมีผลตอวัตถุประสงคทางการเงินการบัญชี เพื่อเปน พื้นฐานในการจัดการความเสี่ยง หลักการที่ 10. ความเสี่ ย งจากการทุ จ ริ ต (Fraud Risk) โอกาสที่ จ ะข อ มู ล ที่ ขั ด ต อ ขอเท็จจริงเนื่องจากการทุจริต ตองไดรับพิจารณาที่ชัดเจนในการประเมินความเสี่ยงเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคของรายงานทางการเงินการบัญชี องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กิจกรรมการควบคุมมีหลายประเภทและหลายระดับตามแตลักษณะของธุรกิจ เพื่อชวยใน การลดความเสี่ย ง และนําไปสูก ารบรรลุตามวัตถุประสงคของรายงานทางการเงิน การบัญ ชีที่ กําหนดไว กิจกรรมการควบคุมของผูบริหารระดับสูงจะใชวิธีการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานจริง กับงบประมาณที่ตั้งไว และกับขอมูลที่มีการพยากรณไวลวงหนา นอกจากนั้นก็จะมีการตรวจสอบ รายงานทางการเงินการบัญชี การใชตัวชี้วัดสําคัญ การตรวจสอบรายการผิดปกติ หรือความ บกพรองของระบบการควบคุมภายใน


52 กิจ กรรมการควบคุมในระดับอื่น ๆในองคก ร จะเกี่ย วของกับ กระบวนการควบคุมการ ประมวลผล ชองทางการสื่อสาร การใชเ ทคโนโลยีที่จําเปน ใหบรรลุตามวัตถุประสงคของการ ควบคุมการจัดทํารายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่สําคัญของกิจกรรมควบคุมมี 4 หลักการ ไดแก หลักการที่ 11. ความเสี่ยงจากรายงานทางการเงินการบัญชี (Financial Reporting Risks) Control Activity with Risk Assessment) กิจกรรมควบคุมควรบูรณาการในการระบุความเสี่ยง เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดานรายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 12. การเลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุม (Selection and Development of Control Activities) การเลือกและพัฒนากิจกรรมควบคุมตองพิจารณาตนทุนและศักยภาพที่จะ ลดความเสี่ยงเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดานรายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 13. การกํา หนดนโยบายและวิ ธีป ฏิบั ติง าน (Policies and Procedures) นโยบายเกี่ยวกับความนาเชื่อถือของรายงานทางการเงินจะตองสรางและสื่อสารใหทราบไปทั่วทั้ง องคการ รวมทั้งวิธีปฏิบัติงานที่มาจากนโยบายของผูบริหารตองไดรับการปฏิบัติจริง หลักการที่ 14. เทคโนโลยี ส ารสนเทศ (Information Technology) การควบคุ ม ด า น เทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ มี ต อ งออกแบบและนํ า ไปปฏิ บั ติ เพื่ อ สนั บ สนุ น ความสํ า เร็ จ ของ วัตถุประสงคของรายงานทางการเงินการบัญชี องคประกอบที่ 4 สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) ระบบสารสนเทศเปนเครื่องมือที่ใชระบุ จัดการ ดําเนินการ และแยกประเภทขอมูล เพื่อ สนับสนุนความสําเร็จตามวัตถุประสงคของรายงานทางการเงินการบัญชี ระบบสารสนเทศสําหรับองคกรขนาดเล็ก จะมีลักษณะที่เปนทางการนอยกวาในธุรกิจ ขนาดใหญ แต ก็มี บ ทบาทสําคั ญ ไมแ ตกต างกัน บริ ษัท ขนาดเล็ก ส วนมากจะใช ระบบมื อใน ประมวลผลสารสนเทศ การสื่อสารที่มีประสิทธิผลระหวางผูบริหารระดับสูงกับบุคลากรภายในจะ เพิ่ มความสะดวกในการปฏิ บัติ งานมากขึ้น เพราะในธุ รกิ จ ขนาดเล็ ก มั ก มี ระดับ ชั้น ของการ


53 บริหารงานที่นอยกวา และผูบริหารระดับสูงสามารถเขาถึงไดในความรูสึกของบุคลากรแตละคน ซึ่งผูบริหารสามารถจัดใหมีการสื่อสารภายในไดโดยการจัดประชุม หรือจากการปฏิบัติงานที่ทํา เปนประจําทุกวัน หลักการที่สําคัญระบบสารสนเทศและการสื่อสารมี 4 หลักการ ไดแก หลักการที่ 15. สารสนเทศทางดานรายงานทางการเงินการบัญชี (Financial Reporting Information) สารสนเทศที่เกี่ยวของตองไดรับการระบุ บันทึก และนํามาใชในทุกระดับขององคกร และการเผยแพรตองทําในรูป แบบและกรอบเวลา เพื่อสนับสนุน ความสําเร็จของวัตถุป ระสงค รายงานทางการเงินการบัญชี หลักการที่ 16. สารสนเทศทางดานการควบคุมภายใน (Internal Control Information) สารสนเทศที่ใชเปนองคประกอบของการควบคุมตองไดรับการระบุ บันทึก และแจกจายในรูปแบบ และกรอบเวลาที่จ ะชวยใหบุคลากรสามารถปฏิบัติงานของตนตามความรับผิดชอบดานการ ควบคุมภายใน หลักการที่ 17. การสื่อสารภายใน (Internal Communication) การสื่อสารภายในจะชวย และสนับสนุนความเขาใจ และการดําเนินตามวัตถุประสงค และการดําเนินการตามวัตถุประสงค กระบวนการ และความรับผิดชอบของแตละคนเกี่ยวกับการควบคุมภายในทุกระดับในองคกร หลักการที่ 18. การสื่อสารภายนอก (External Communication) เรื่องสําคัญมีผลกระทบ ที่สําคัญตอความสําเร็จตามวัตถุประสงครายงานทางการเงินควรสื่อสารกับบุคคลภายนอก องคประกอบที่ 5 การติดตามผล (Monitoring) ระบบการควบคุมภายในจะตองมีการติดตามเพื่อประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงาน ซึ่ง จะตองมีการกําหนดกิจกรรมเพื่อการติดตามผลอยางสม่ําเสมอ การติดตามผลระหวางการปฏิบัติงานเปนกิจกรรมที่เกิดขึ้นการบริหารจัดการประจําวัน ผูบริหารองคกรขนาดเล็กจะมีขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆขององคการ และมีความเกี่ยวของอยาง


54 ใกลชิดตอการปฏิบัติงาน จึงทําใหสามารถระบุไดถึงความแตกตางจากผลที่คาดไว และความไม เหมาะสมที่เกิดขึ้นตอขอมูลในรายงานทางการเงิน ธุรกิจ ขนาดเล็ก บางแหง มีผูตรวจสอบภายใน ซึ่ งมีห นาที่ชว ยผูบ ริห ารในการกําหนด องคประกอบตางๆของการควบคุมภายใน แตองคกรที่ไมมีผูตรวจสอบภายใน ผูจัดการในแตละ หนวยธุรกิจจะมีหนาที่ในการประเมินความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในเฉพาะในสวนงาน ที่อยูในความรับผิดชอบ องคการที่มีการประเมินการควบคุมภายในดานรายงานทางการเงินตามแนวทางที่กําหนด ไวในกฎหมายซารเบนส-อ็อกซลีย มาตรา 404 จะตองพิจารณาองคประกอบของการติดตามผล โดยเฉพาะอยางยิ่งการประเมินแตละสวนงาน ควรไดรับการออกแบบ และวางแผนการประเมินผล การควบคุมภายใน เพื่อการแกไขใหประโยชนตอกิจการและทันสมัยอยูเสมอ หลักการที่สําคัญของการติดตามผล ไดแก หลักการที่ 19. การติดตามผลระหวางการปฏิบัติงาน และการประเมิน ผลเปนครั้ง คราว (Ongoing and Separate Evaluation) การติดตามผลระหวางการปฏิบัติงาน และการประเมินผล เปนครั้งคราว จะชวยใหผูบริหาร ประเมินวาการควบคุมภายในดานรายงานทางการเงินที่มีอยูจ ริง และไดทําหนาที่อยางที่กําหนดไว หลักการที่ 20. การรายงานขอบกพรอง (Reporting Deficiencies) ความบกพรองของ ระบบการควบคุมภายในตองไดรับการระบุและสื่อสารอยางทัน กาลตอบุคคลที่มีห นาที่ความ รับผิดชอบในการแกไข และตอฝายบริหารและตอคณะกรรมการที่เหมาะสม การประเมินผลการควบคุมภายใน วัตถุประสงคของการประเมินผลการควบคุมภายใน ชนมณฐั ชา กังวานศุภพันธ (2553: 47-49)การประเมินผลการควบคุมภายในถูกจัดใหมี ขึ้นโดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ


55 1. พิจารณาถึงผลสัมฤทธิ์ของระบบการควบคุมภายในที่มีอยูใ นหนวยงาน โดยนําผลการ ปฏิบัติงานจริงมาเปรียบเทียบกับระบบควบคุมภายในมี่กาํ หนดไววาเปนไปในแนวทางที่สอดคลอง กันหรือไมอยางไร รวมทั้งมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุมคาหรือไม เพียงใด 2. สอบทานระบบการควบคุมภายในของหนวยงานทีม่ ีความเหมาะสมกับสถานการณ แวดลอมในปจจุบนั หรือไม สามารถปองกันหรือลดความเสี่ยงไดหรือไม อยางไร 3. วิเ คราะหระบบการควบคุม ภายในและหาสาเหตุขอผิ ดพลาดเพื่อสรุป ผล และให ขอเสนอแนะในการปรับปรุง พัฒนาระบบการควบคุมภายในใหมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ มากขึ้น COSO ไดเสนอแนะเกี่ยวกับการประเมินผลการควบคุมภายในไวดังนี้ 1. การติด ตามและประเมิ น ผลถู ก จั ดใหเ ปน องค ป ระกอบหนึ่ งของการควบคุ ม ซึ่ง มี ความสําคัญทําใหเกิดความมั่นใจวาระบบการควบคุมที่กําหนดไวจะถูกนําไปปฏิบัติจริง รวมทั้ง เพื่อใหระบบการควบคุมภายในไดรับการปรับปรุงอยูเสมอ 2. การประเมินผลการควบคุมภายในไมไดเปนหนาที่ของผูตรวจสอบภายในเทานั้น แต ผูบริหารตองมีสวนรวมในการติดตาม กําหนดใหมีการรายงานผลและการสั่งการแกไขดวย 3. ในการประเมินผลการควบคุมภายในตองใหความสําคัญไปที่การประเมินเพื่อใหทราบ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในมากกวาการประเมินเฉพาะรูปแบบการควบคุมเทานั้น 4. ควรนําวิธีการประเมินความเสี่ยงมาใชประเมินการควบคุมภายใน กระบวนการประเมินผลการควบคุมภายใน การประเมินผลการควบคุมภายในตองดําเนินการอยางเปนขั้นตอนตามลําดับ เพื่อใหการ ประเมินครอบคลุมในเรื่องสําคัญไดอยางครบถวนและบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวโดยขั้นตอนในการ ประเมินประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้


56 1. การวางแผน/ทําความเขาใจโครงสรางระบบ (System Design) การวางแผนการประเมินการควบคุมภายใน และการทําความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับ ระบบและโครงสรางของระบบการควบคุม มีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังนี้ 1) การกําหนดขอบเขตการประเมิน ในการประเมินแตละครั้ง ผูประเมินตองพิจารณาเลือกเรื่องที่จะประเมินผลหรือทํา การกํ าหนดขอบเขตในการประเมิน ใหชัด เจน โดยเลือกตามผลจากการประเมิน ความเสี่ย ง ความสําคัญของเรื่องและความเรงดวนหรือความตองการแกไขปญหา ในอีกกรณีหนึ่ง เรื่องที่ จะ ประเมินบางเรื่องถูกกําหนดไวอยูแลวโดยขอกําหนดตามกฎหมาย หรือขอบังคับจากสถาบัน ที่ กํากับดูแลองคกร 2) การทําความเขาใจกับเรื่องที่ประเมิน กอนที่การดําเนินการประเมินผลการควบคุมจะเกิดขึ้น สิ่งสําคัญและจําเปนที่ผู ประเมินควรกระทํา คือ ตองทําความเขาใจกับเรื่องที่จะประเมินเสียกอน ถาผูประเมินขาดความ เขาในที่แ นชัด ยอมสงผลลบตอการประเมิน การทําความเขาใจเรื่องที่จ ะประเมินทําไดหลาย แนวทาง เชน การศึกษาลวงหนาถึงขอบเขตการประเมิน วัตถุประสงค องคประกอบการประเมิน แตละดาน วิธีการที่จะใชในการประเมิน ระบบการควบคุมภายใน เปนตน การศึกษาจากเอกสาร เพิ่มเติมตางๆที่เกี่ยวของก็สามารถชวยใหผูประเมินมีความเขาใจที่กวางขึ้นไดเชนกัน เชน แผนงาน งบประมาณ คูมือการปฏิบัติงาน โครงสรางองคกร ผลการประเมินยอนหลัง 3) การรวบรวมเอกสารหลักฐาน ในการประเมินผลการควบคุมภายใน ผูประเมินจําเปนตองรวบรวมเอกสารตางๆ เพื่อใชเปนหลักฐานและขอมูลในการประเมิน การมีเอกสารหลักฐานที่ครบชวยใหการประเมินผล การควบคุมภายในทํ าได สะดวกงายยิ่งขึ้ น อย างไรก็ ตาม เอกสารตางๆที่เ กี่ย วขอ งกับ การ ดําเนินงานในแตละองคกรยอมแตกตางกันไปตามลักษณะกิจกรรมงาน ระบบการจัดการเอกสาร หลักฐานในองคกรขนาดใหญมักมีความชัดเจนและสามารถติดตามได เชน คูมือการปฏิบัติงาน แผนงาน ในขณะที่องคกรขนาดเล็กที่มีการดําเนินงานที่ไมซับ ซอนอาจไมมีการจัดเก็บเอกสาร อยางเปนทางการ ทําใหผูประเมินผลการควบคุมอาจตองประสบกับปญหาการรวบรวมเอกสาร หรือตองใชเวลาและความพยายามมากขึ้นในการประเมินผล


57 4) การจัดประชุม กอนที่การประเมินการควบคุมจะเริ่มดําเนินการ ผูประเมินผลการควบคุมภายใน ตองเชิญ บุคลากรที่เ กี่ย วของกับ การประเมิน ผลมาประชุมเพื่อปรึก ษาหารือและขอความเห็น เกี่ยวกับแผนการตรวจประเมินในประเด็นตางๆ เชน ขอบเขตและระยะเวลาการตรวจประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมืออุปกรณที่จะใช เอกสารที่ตองตรวจสอบ รูปแบบการนําเสนอรายงาน การ จัดทํารายงานการประเมิน เปนตน 2. การทดสอบประสิทธิภาพของระบบ (Test Performed) เพื่ อ ให ท ราบว า กิ จ กรรมงานขององค ก รนั้ น มี ก ารควบคุ ม ภายในที่ เ พี ย งพอและ เหมาะสม หรือยังมีจุดที่ยังตองไดรับการแกไข ปรับปรุง เชน บางหนวยงานไมมีระบบการควบคุม ภายใน หรือยังมีระบบการควบคุมภายในยังไมดีและเพียงพอ หรือมีระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอและเหมาะสมแตมกี ารละเลยไมปฏิบัติตาม การทดสอบประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน แบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน ไดแก 1) การประเมินผลขัน้ ตน ในขั้น นี้ สิ่งที่ ผูป ระเมิน ต องทํา การประเมิน ไดแ ก โครงสร างและรูป แบบการ ควบคุมภายในที่องคกรกําหนดไววาพอเพียงและครบตามองคประกอบของ COSO หรือไม หรือมี การเปลี่ยนแปลงไปจากที่ระบุไวในเอกสารที่ใชประเมินผลหรือไม อยางไร และการควบคุมภายใน ที่กําหนดไวไดถูกนําไปปฏิบัติจริงหรือไม วิธีการประเมินผลขั้นตนที่ใช เชน - การทดสอบรายการ เปนการตรวจสอบเอกสารหลักฐานทีเ่ กี่ยวของเพื่อให แนใจวา ไดมีการปฏิบัตติ ามระบบการควบคุมภายในที่วางไวอยางเหมาะสม - การสอบถามจากผูปฏิบตั ิงานหรือผูท ี่เกีย่ วของ - การสังเกตการณ เปนการสังเกตการณปฏิบตั ิจริงของผูทปี่ ฏิบัติงาน ถาการประเมินผลขั้นตนไดผลออกมาอยูในเกณฑทนี่ าพอใจ ขั้นตอมาผูประเมินตอง ทํา คือ


58 2) การประเมินการปฏิบัติงานจริงทีเ่ กิดขึ้น วาเปนไปตามระบบการควบคุมที่กําหนดไวหรือไม วิธีการที่ใชในการประเมิน เชน การเลือกทดสอบการปฏิบัติงานจริงที่เกิดขึ้นในบางจุด เพื่อพิสูจนความถูกตองในการปฏิบัติงาน ไมตองตรวจสอบในทุกจุด หรือใชการตรวจสอบจากเอกสารหลักฐานที่ตองทําตามวิธีการควบคุม ภายใน เชน การกระทบยอด การบันทึกเอกสาร การลงนามแสดงการปฏิบัติงาน เปนตน 3) การประเมินผลขัน้ สุดทาย ในขั้นนี้ ผูประเมินตองทําการประเมินผลโดยลงลึกในรายละเอียด เพื่อตรวจสอบ ผลกระทบที่เกิดขึ้นวามีนัยสําคัญตอองคกรมากนอยเพียงใด ถาผลการประเมินในขั้น 1-2 ออกมา อยูในเกณฑนาพอใจ การประเมินขั้นสุดทายจะทําไดงายขึ้น แตหากวาผลการประเมินขั้นตนอยู ในเกณฑไม นาพอใจ ผูประเมิน ตองรีบดําเนิน การประเมินผลในขั้น สุดทายนี้เลยเพื่อลงลึก ใน รายละเอียดปญหาที่พบ และขามขั้นตอนการทดสอบการปฏิบัติตามไป 3. การสรุปและรายงานผล (Reporting) หลังจากที่ผูประเมินไดตรวจสอบประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในเสร็จสิน้ แลว ตองจัดทํารายงานสรุปผลเพื่อนําเสนอตอฝายบริหาร ซึ่งสิง่ ที่ผูประเมินตองพิจารณาในการจัดทํา รายงาน มีดังนี้ - รายงานตองประกอบดวยขอเท็จ จริงจากการประเมิน การวิเ คราะห รวมทั้ ง หลักฐานและขอสังเกต - ผูประเมินตองเสนอแนะวิธีการแกไขไวในรายงานและควรเปนวิธีการที่ผานการ พิจารณารวมกันอยางระมัดระวังแลวจากหลายๆฝายวาเปนวิธีการที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติได จริง คุมคาและมีประโยชนกับองคกร - มีการยืนยันความถูกตองของรายงาน โดยการแจงและขอความเห็นจากผูรับการ ประเมินกอนที่จะจัดทําเปนรายงาน - รูปแบบและวิธีการจัดทํารายงานตองเปนไปตามที่กําหนด ถาเปนการรายงานผล ตอสถาบันภายนอก ตองทําตามขั้นตอนและรูปแบบที่สถาบันนั้นๆกําหนด ถาเปนการรายงานผล ตอผูบริหารในองคกรเอง ควรปฏิบัติตามแนวทางที่องคกรกําหนดไว - การนํ า ข อ มู ล ในรายงานไปใช ใ นการติ ด ตามผลและการแก ไ ขปรั บ ปรุ ง การ ประเมินผลในครั้งตอไป


59 การประเมินความเสี่ยงจาการควบคุม 1. ขอมูลที่รวบรวมจากการทําความเขาใจในระบบบัญ ชีและระบบการควบคุมภายใน สามารถชวยผูสอบบัญชีในการวางแผนการตรวจสอบ ดังตอไปนี้ 1) ระบุถึงรายการที่อาจมีการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอยางมีสาระสําคัญได 2) ชวยในการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม และผูสอบบัญชีจะใชผลจากการ ประเมิน ความเสี่ยงในการกําหนดลัก ษณะ ระยะเวลาและขอบเขตของวิธีการตรวจสอบเนื้อหา สาระที่จําเปน เพื่อที่จะลดความเสี่ยงของการสอบบัญชีใหอยูในระดับต่ําพอที่จะยอมรับได 2. หลังจากผูสอบบัญ ชีไดมาซึ่งความเขาใจในระบบบัญชีและการควบคุมภายในแลว งานขั้นตอไปของผูสอบบัญชีคือการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมภายในเบื้องตน สําหรับแต ละยอดคงเหลือในบัญชีหรือแตละประเภทของรายการที่มีสาระสําคัญ การประเมินความเสี่ย ง ดังกลาวเปนกระบวรการประเมิน ประสิทธิผลของระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายในของ กิจการที่จะปองกัน ตรวจพบ และแกไขการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ 3. หากผลการประเมิน ความเสี่ยงสืบ เนื่องและความเสี่ย งจากการควบคุมมีระดับ ต่ํา (หมายถึง ระบบควบคุมภายในมีประสิทธิผล) ผูสอบบัญชีอาจใชวิธีการทดสอบการควบคุมโดย การรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีมาสนับสนุนเพื่อใหแนใจวา ระบบบัญชีและระบบการควบคุม ภายในมีการออกแบบอยางเหมาะสม และมีการปฏิบัติตามอยางมีประสิทธิผลจริง 4. หากผลของการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่องและความเสียงจากการควบคุมมีระดับสูง (หมายถึง ระบบการควบคุมภายในไมมีประสิทธิผล) ผูสอบบัญชียอมตองการหลักฐานการสอบ บัญชีมากขึ้นจากการใชวิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระ 5. ในกรณีที่ผูสอบบัญชีประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมใหอยูในระดับต่ํา นั่นหมายถึง ผูสอบบัญชีสามารถระบุถึงการควบคุมภายใน ซึ่งคาดวาจะปองกัน ตรวจพบ และแกไขการแสดง ขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญได ผูสอบบัญชีควบรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีมา สนับสนุนใหมากขึ้น เพื่อใหแนใจวาระบบการควบคุมภายในมีการออกแบบ และมีการปฏิบัติตาม อยางมีประสิทธิผลจริงโดยการใชการทดสอบการควบคุม


60 6. ในกรณีที่ก ารประเมิน ความเสี่ย งจากการควบคุมในเบื้องตน ชี้ใ หเ ห็น วา กิจ การมี จุดออนในระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายใน จนเปดโอกาสใหมีการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ขอ เท็ จ จริ ง อย างมี ส าระสํ า คั ญ ได ผู ส อบบั ญ ชีไ ม ค วรใช วิ ธี ก ารทดสอบการควบคุ ม แต ค วร ดําเนินการตรวจสอบโดยวิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระ ทั้งนี้ เนื่องจากการทดสอบการควบคุมใน กรณีดังกลาว จะไมใหหลักฐานที่มีประโยชนตอการสอบบัญชีเลย 7. ถึงแมกิจการจะมีระบบการควบคุมภายในที่มีป ระสิทธิผลก็ตาม ในบางกรณี ผูสอบ บัญชีอาจวางแผนที่จะไมใชวิธีการทดสอบการควบคุมเลยก็ได แตจะใชวิธีการตรวจสอบเนื้อหา สาระทั้งหมด โดยไมคํานึงถึงความเชื่อถือในระบบการควบคุมภายในหากผูสอบบัญชีพิจารณาเห็น แลววา การใชวิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระใหประโยชนในการชวยลดตนทุนและประหยัดเวลาใน การสอบบัญชี การทดสอบการควบคุมประกอบดวยวิธกี าร ดังตอไปนี้ 1) การตรวจสอบเอกสารประกอบรายการ 2) การสอบถามบุคลากรเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน 3) การสังเกตการณเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 4) การปฏิบัติซ้ําเกี่ยวกับการควบคุมภายใน การประเมินประสิทธิภาพในการควบคุมภายใน วิธีการประเมินประสิทธิภาพนั้น จะตองดูจากเอกสาร หลักฐานหลายๆดานประกอบกัน อาทิเชน 1. งบประมาณ โดยปกติงบประมาณจะทําปละครั้ ง แลวปรับ ปรุงตามสภาวการณใ ห สามารถดําเนินการไปได 2. ผังบัญชีเปนไปตามผูสอบบัญชีไดวางรูปบัญชีเอาไว รวมทั้งระบบบัญชีสําเร็จรูปตางๆ ที่ใชในการปฏิบัติงาน 3. การอนุมัติรายการ เพื่อใหผานตาของผูบริหารและเปนการอนุมัติที่ถูกตองตามระเบียบ หรือรายการอื่นที่เกี่ยวของกัน 4. นโยบาย ถือวามีก ารเปลี่ย นแปลงไปไดห รือนโยบายคงที่ แตไปปรับที่วัตถุป ระสงค เปาหมายที่เปนตัวเลขตอไป


61 5. การจัดเก็บเอกสาร ในแฟมถาวรหรือแฟมชั่วคราว ตามระเบีย บงานสารบรรณหรือ ระเบียบอื่นๆที่เกี่ยวของ 6. การหมุนเวีย นกันปฏิบัติงาน เพื่อใหพนักงานไดทํางานหลายหนาที่ สามารถทํางาน แทนกันไดเมื่อเวลาฉุกเฉิน เทคนิคในการประเมินประสิทธิภาพที่นิยม 1. การตรวจสอบความถูกตอง ของรายการทางบัญชีที่ไดทําการจดบันทึกไวในสมุดบัญชี 2. การมอบหมายงาน เปนการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบของผูบังคับบัญชาใน ระดับลาง 3. การบันทึกรายการที่ไดอนุมัติแลว ถือวาไดปฏิบัติตามเอกสาร หลักฐานที่ฝายจัดการได อนุมัติและดําเนินการตามนั้น 4. การประเมินความถูกตอง โดยมองจากภาพรวมของทุกรายการเปนประมาณการของ ความเชื่อถือ 5. การจําแนกหรือแยกประเภทไดถูกตอง เพื่อตรวจสอบทะเบียนตางๆของกิจการดังกลาว 6. การจดบันทึกในเวลาที่ถูกตองและเหมาะสมตามระเบียบทางการบัญชาทั้งองคการ และทางราชการ 7. การมีแยกประเภทยอยหรือ Sub Ledger เพื่อชวยคุมสินทรัพยตางๆไวอยางรัดกุม ปองกันการทุจริต จุดออนของการประเมินประสิทธิภาพในแงการตรวจสอบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน 1. ระบบหรือคูมือปฏิบัติงาน 2. แบบฟอรมและเครื่องมือเครื่องใชรวมไปถึงเครื่องคอมพิวเตอร 3. ปริมาณงาน 4. บุคลากรที่ตองมีความรับผิดชอบ มีความรู ความสามารถ มีความคิดริเริ่ม สามารถ แกไขปญ หาในทางปฏิบัติได มีก ารจั ดการสายงานการบังคับ บั ญ ชาที่ดี รวมทั้งมี ก ารพัฒนา ตลอดเวลา เมื่อนั้นการตรวจสอบก็จะสัมฤทธิผลทันที


62 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ อุทุมพร ธรรมสนอง (2551: 70-75) ไดทําการศึก ษาเรื่องการประเมิน ผลการควบคุม ภายในทางการบัญชีของเหมืองแมเมาะการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พบวา การควบคุม ภายในทางการบัญชีของเหมืองแมเมาะ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยมีความเพียงพอและ เหมาะสมแลว โดยองคประกอบดานสภาพแวดลอมภายในมีระดับการดําเนินการที่ดีพอใช โดยมี จัดทําขอกําหนดทางจริยธรรมและจรรยาบรรณของ กฟผ. เพื่อเปนแนวทางที่พึงปฏิบัติ มีโครงสราง องคกรและสายการบังคับบัญชาที่เหมาะสมกับขนาดและลักษณะการดําเนินงานขององคกร และ จัดแบงหนาที่แตละตําแหนงงานอยางชัดเจน รวมถึงมีการกําหนดระดับความรูความสามารถที่ จําเปนในการปฏิบัติงานแตละตําแหนง แตยังพบจุดออนของการควบคุมภายในเรื่องของจํานวน ของบุคลากรที่ยังไมเพียงพอในการปฏิบัติงาน ซึ่งจําเปนที่หนวยงานจะตองมีการสรรหาเพิ่มเติมให มีความเพียงพอและเหมาะสม เพื่อควบคุมหรือลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในการดําเนินงานได สุธาทิพย พาโพธิ์ (2551: 78-86)ไดทําการศึกษาเรื่องการประเมินระบบการควบคุมภายใน ของสหกรณออมทรัพยตํารวจนาน จํากัด พบวา สหกรณออมทรัพยตํารวจนาน จํากัด มีระบบการ ควบคุมภายในตามแนวคิดของ COSO ดวยคารอยละตางๆดังนี้ คือ ดานการรับ-ถอนเงินฝากของ สมาชิกรอยละ 86.27 ดานการจายเงินกูแกสมาชิกรอยละ 87.23 ดานการรับชําระคาหุน -หนี้และ อื่นๆจากสมาชิกรอยละ 86.08 และดานคาใชจายรอยละ 84.78 และจากผลการศึกษาครั้งนี้มี ขอเสนอแนะวาในการดําเนิน งานแตละดานของสหกรณออมทรัพยตํารวจนานจํากัดควรจะให ความสําคัญ กับ องคป ระกอบขอมูลสารสนเทศและการสื่อสารโดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องระบบ สารสนเทศและการปองกันดูแลรักษาสารสนเทศ สุภาพ บรรณบดี (2551: 84)ศึกษาเรื่อง การประเมิน การควบคุมภายในของสหกรณ การเกษตรในจังหวัดหนองบัวลําภู พบวา 1) ผลการประเมินการควบคุมภายในของสหกรณดาน องค ป ระกอบ สหกรณ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนต า งๆ ตามระบบการควบคุ ม ภายในตาม องคประกอบเฉลี่ย เปนไปตามแนวคิดของ COSO เหมือนกันทั้ง 5 สหกรณ คือ มีการปฏิบัติรอย ละ 85.54 และยังไมไดมีการปฏิบัติรอยละ 14.56 2) การปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในตาม วัตถุประสงคเฉลี่ย เปนไปตามแนวคิดของ COSO เหมือนกันทั้ง 5 สหกรณ คือ มีการปฏิบัติรอยละ 92.70 และยังไมไ ดมีก ารปฏิบัติ รอยละ 7.30 ยัง ผลให ภาพรวมของผลการประเมิน ทั้งดา น


63 องคประกอบและวัตถุประสงค มีผลอยูในเกณฑดี คือ มีการปฏิบัติเฉลี่ยรวมรอยละ 88.20 และยัง ไมมีการปฏิบัติเพียงรอยละ 11.80 อภิญ ญา เปน สูงเนิน (2551: 121)ศึกษาเรื่อง การวิเ คราะหประสิท ธิภาพการควบคุม ภายใน กรณีศึกษาสหกรณโคนมในจังหวัดนครราชสีมา พบวา 1) ระดับการควบคุมภายในดาน การบริหารตามความเห็นของประธานกรรมการอยูในระดับดี ตามความเห็นของผูสอบบัญชีอยูใน ระดับพอใช สําหรับดานการบัญชี ตามความเห็นของหัวหนาฝายบัญชีอยูในระดับดี ตามความเห็น ของผูสอบบัญชีอยูในระดับพอใช เมื่อพิจารณาระดับการควบคุมภายในโดยรวม ตามความเห็น ของประธานกรรมการและหัวหนาฝายบัญชีอยูในระดับดี และตามความเห็นของผูสอบบัญชีอยูใน ระดับพอใช 2) ผลการปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายในของสหกรณโคนมขนาดใหญ อยูใน เกณฑพอใช 3 สหกรณ และอยูในเกณฑควรปรับปรุง 3 สหกรณ สหกรณโคนมขนาดใหญมากอยู ในเกณฑดี 2 สหกรณ อยูในเกณฑพอใช 1 สหกรณ และอยูในเกณฑควรปรับปรุง 1 สหกรณ และ 3) ประสิทธิภาพการควบคุมภายในของสหกรณโคนมในจังหวัดนครราชสีมาไมดี 8 สหกรณ และ ประสิทธิภาพการควบคุมภายในดี 2 สหกรณ ฉายา บุญเสริม (2551: 73-80)ศึกษาเรื่อง การควบคุมภายในของสหกรณภาคการเกษตร ในจังหวัดกระบี่ พบวา สภาพการควบคุมภายในของสหกรณภาคการเกษตร ในจังหวัดกระบี่ มี รายการที่ไมไดปฏิบัติหรือมีขอบกพรองทั้ง 11 ดาน รายการที่ไมปฏิบัติมากที่สุดในแตละดานไดแก 1) ดานการติดตามผลการปฏิบัติงาน 2) ดานการจัดทําทะเบีย นและจัดทํารายงานประจําป สหกรณไมมีคําสั่งมอบหมายใหมีผูรับผิดชอบเก็บรักษาเอกสารสําคัญของสหกรณ และไมไดสง สําเนาระเบียบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานใหฝาย/แผนกที่มีหนาที่รับผิดชอบงานนั้นๆ ทราบเพื่อ ถือปฏิบัติ 3) ดานการเงิน สหกรณไมไดจัดใหมีกรรมการหรือผูเกี่ยวของสุมตรวจเงินสดในมือของ เจาหนาที่การเงินเพื่อสอบทานยอดสมุดเงินสดหรือบางครั้งมีการสุมตรวจเงินสดในมือแตไมมีการ บันทึกผลการตรวจสอบไวเปนลายลักษณอักษร 4) ดานการบัญชี สหกรณไมมีคําสั่งมอบหมายให มีผูรับผิดชอบในการทําบัญชีมีเฉพาะบันทึกในรายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนินงานเทานัน้ 5)ดานการจัดทํางบดุล สหกรณไมไดขออนุมัติงบดุลจากที่ประชุมใหญ ภายใน 150 วัน นับแตวัน สิ้นปทางบัญชี 6) สหกรณไมมีแผนปฏิบัติการเรงรัดหนี้สินเพื่อใหพนักงานสินเชื่อปฏิบัติการเรงรัด หนี้สิน เพื่อใหพนัก งานสินเชื่อปฏิบัติ 7) ดานธุรกิจซื้อ สหกรณไมมีการจัดซื้อสินคาตามความ ตองการของสมาชิกซึ่งสหกรณไมไดตรวจสินคาที่สมาชิกตองการสั่งกอนซื้อสินคาและการสั่งซื้อ


64 สินคาไมไดผานการอนุมัติจากผูม ีอํานาจกอน และสหกรณไมมีการสุมสอบทานหนี้กรณีที่มีการซื้อ ขายเปนเงินเชื่อ 8) ดานธุรกิจ การขาย สหกรณไมไดสํารวจความตองการจําหนายผลผลิตของ สมาชิก และไมไดสุมตรวจผลผลิตคงเหลือเพื่อยืนยันยอดการตรวจนับกับทะเบียนคุม 9) ดาน ธุรกิจการรับฝากเงิน สหกรณไมมีคําสั่งมอบหมายผูรับผิดชอบทําหนาที่รับฝากเงินและอนุมัติให ถอนเงินภายในวงเงินที่กําหนด 10) ดานธุรกิจแปรรูป กอนการซื้อวัตถุดิบหรือจําหนายผลิตภัณฑ แปรรูปเปนเงินเชื่อไมไดจัดใหมีการอนุมัติจากคณะกรรมการ/อนุกรรมการ และสหกรณไมไดตรวจ นับวัตถุดิบ และผลิตภัณฑแปรรูปคงเหลือเปนประจํา และสหกรณไมไดสุมทานหนี้ เนื่องจากรอบ การซื้อ-ขายเงินเชื่อเปนระยะสั้นไมเกิน 15 วัน และ 11) ดานการจัดสวัสดิการ สหกรณไมมีการสุม ตรวจสอบการจัดสวัสดิการใหเปนไปตามระเบียบที่กําหนด ผลการศึกษาตามวัตถุประสงคขอ 2 การประเมินผลการควบคุมภายในสหกรณภาคการเกษตร จังหวัดกระบี้ ทั้ง 8 สหกรณ และจัด เรียงลําดับตามคาสัดสวนของการปฏิบัติไดตามจุดควบคุมภายในจากมากไปหานอย สามารถ จัดลําดับไดดังนี้ สหกรณการเกษตรปลายพระยา จํากัด สหกรณการเกษตรลําทับ จํากัด สหกรณ การเกษตรเมืองกระบี่ จํากัด สหกรณการเกษตรคลองทอม จํากัด สหกรณการเกษตรกองทุนสวน ยางบานคลองยาง จํากัด สหกรณการเกษตรอาวลึก จํากัด สหกรณกองทุนสวนยางบานควนมวง จํากัด สุดทายสหกรณการเกษตรเขาพนม จํากัด ซึ่งสหกรณการเกษตรเขาพนม จํากัด มีคาสัดสวน ของการปฏิบัติไดตามจุดควบคุมภายในนอยที่สุด แสดงวาสหกรณมี จุดออน/ขอบกพรองที่ตอง แกไขมาก จรีวรรณ จันทรคง (2551: 76-79)ไดทําการศึกษาเรื่อง การวิเคราะหผลการดําเนินงาน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในพื้นที่จังหวัด สุพรรณบุรี พบว า ผลการดําเนิน งานตามปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพีย งของเกษตรกรที่เ ข ารว ม โครงการเกษตรทฤษฎีใหม โดยภาพรวมมีผลการดําเนินงานตามปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดย ประกอบดวย 5 องคป ระกอบ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุมกัน เงื่อนไข ความรู และคุณธรรม พบวาผลการดําเนินการอยูในระดับพอเพียงมาก สวนปญหาและอุปสรรค ของเกษตรกร ปญหาหลักคือปญหาการขาดแคลนแหลงน้ําในฤดูแลงและปญหาดานปจจัยการ ผลิตที่มีราคาสูงขึ้น รวมทั้งกิจกรรมการรวมกลุมดานการตลาดมีคอนขางจํากัด และเมื่อไดทําการ เปรียบเทียบผลการดําเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพบวา ครัวเรือนเกษตรกรของคุณ พิชญนรี ทําจะดี มีผลการดําเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยไดคะแนนรวมมากที่สุด


65 แมวารายไดเฉลี่ย จากการทําเกษตรทฤษฎีใ หมจะนอยกวารายไดเฉลี่ยของครัวเรือนเกษตรกร ทั้งหมดที่ทําการศึกษา อาภาพร ภควั ต ชั ย (2553:60-79) ศึ ก ษาเรื่ อ ง การศึ ก ษาการพึ่ ง ตนเองตามแนวคิ ด เศรษฐกิจพอเพียงของครัวเรือนในชุมชนสามจังหวัดชายแดนภาคใต พบวา หัวหนาครัวเรือนสวน ใหญเปน เพศชาย อายุต่ํากวา 40 ป นับ ถือศาสนาพุท ธ จบการศึกษาระดับ ชั้น ประถมศึก ษา ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายไดครัวเรือนตอป มากกวา 40,000 บาท มีสวนนอยที่เขารวมกลุม อาชีพและมีตําแหนงทางสังคม ประสบการณก ารฝก อบรมเศรษฐกิจ พอเพีย งมีเพียงสวนนอย ความรูความเขาใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับปานกลาง คานิยมเศรษฐกิจพอเพียงอยู ในระดับสูง ครัวเรือนไดรับการสนับสนุนจากผูนําชุมชน เจาหนาที่ของรัฐ และองคกรภายนอกอยู ในระดับ ปานกลาง มีครัวเรือนสวนนอยที่ไดสนับ สนุน ดานเงิน ทุน การพึ่งตนเองตามแนวคิด เศรษฐกิจพอเพีย งของครัว เรือนอยูใ นระดับมาก เมื่อพิจ ารณาเปน รายดาน พบวา ดานความ พอประมาณ ดานความมีเหตุผล ดานการมีภูมิคุมกัน และดานคุณธรรมอยูในระดับมาก สวนดาน ความรูอยูในระดับปานกลาง บุณ ฑริก าจัน ทรงาม (2552:121-125) ศึ ก ษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุม ชนโดยการ ประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา ชุมชนบานสระ อําเภอสามชุม จังหวัดสุพรรณบุรี พบวา กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนบานสระ ประกอบดวย 6 ขั้นตอน 1) ความตั้งใจมุงมั่น ในการการพึ่งพาตนเอง 2) ความรวมมือที่จะสรางกลุมอาชีพที่เ ขมแข็ง 3) การมีสวนรวมของ ประชาชนในทุก ขั้น ตอนการพัฒนา 4) การสรางเครือขายในชุมชน 5) การขยายเครือขายสู ภายนอกชุมชน6) การขับ เคลื่อนปรัช ญาสูวิถีชีวิตโดยทั่วไป สําหรับดัช นีชี้วัดเศรษฐกิจ ชุมชน เขมแข็งตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบวา เศรษฐกิจชุมชนในระดับครัวเรือนมีความ เขมแข็งในระดับ ปานกลาง โดยใหความสําคัญกับองคประกอบความมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวดาน สังคมเปนอันดับแรก สวนเศรษฐกิจชุมชนในระดับกลุมอาชีพมีความเขมแข็งในระดับเขมแข็ง โดย ใหความสําคัญกับองคป ระกอบความมีเ หตุผลดานสังคมเปนอันดับ แรก นอกจากนี้ เศรษฐกิจ ชุ ม ชนในระดั บ ชุ ม ชนมี ค วามเข ม แข็ ง ในระดั บ ปานกลาง แสดงว า ชุ ม ชนบ า นสระมี กระบวนการพัฒนาที่เนนการสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว โดยเฉพาะดานสังคม ผานทางความรวมมือ กันในการทํากิจกรรมตางๆ ที่กอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ควรมีการสนับสนุนกระบวนการ เรียนรูของชุมชน เนนการพัฒนาตามภูมิสังคมและสงเสริมความตองการของคนในชุมชนที่แทจริง


66 เพื่อที่จะจัดทําแผนชุมชนอยางมีสวนรวม ซึ่งจะนําไปสูความรวมมือในพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตางๆ ตอไป ดาราวรรณ พรหมกัลป (2551: 60-66)ไดทําการศึกษาเรื่องการศึกษาผลการดําเนินงาน หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา : หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตัวอยาง อําเภอปว จังหวัดนาน พบวา ผลการดําเนินงานรวมทุกดานอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานการลด รายจาย มีผลการดําเนินงานอยูในระดับมาก ดานการดํารงชีวิต มีผลการดําเนินงานอยูในระดับ มาก ดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีผลการดําเนินการอยูในระดับมาก และ ดานความเอื้ออาทร(การแบงปน/การชวยเหลือซึ่งกันและกัน) มีผลการดําเนินงานอยูในระดับมาก สวนในดานปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงอําเภอปวจังหวัด นาน มีปญหาดานบุคลากร คือ ประชาชน และผูนําชุมชนขาดความรู ความเขาใจเกี่ย วกับการ ดําเนินงานตามโครงการหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงอยางแทจริง เยาวลักษณ พิพัฒนจําเริญกุล (2554: 204)ศึกษาเรื่อง การพัฒนารูปแบบชุมชนแหงการ เรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบวา รูปแบบชุมชนแหงการเรียนรูตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงประกอบดวย กระบวนการและขั้นตอนเพื่อนําชุมชนกาวสูชุมชนแหงการเรียนรู ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดแก 1) ความสนใจและการเปดรับ 2) การสรางความรู ความ เขาใจ 3) การรวมกลุมความสนใจ 4) การสรางกิจกรรมเพื่อสนับสนุนกระบวนการเรียนรู สําหรับ ขั้นตอนการพัฒนารูปแบบชุมชนแหงการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบานมวง คําใต ประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนเลาประสบการณ 2) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3) สรุปแนวคิด 4) นําไปใช ในการนํารูปแบบชุมชนแหงการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชในพื้นที่ตนแบบ ณ บานมวงคําใต พบวา ประชาชนในชุมชนรวมกันกําหนดแผนกิจกรรมเพื่อ การเรียนรู ออกเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะที่ 1 เตรียมความรู ความเขาใจใหกับประชาชน ระยะที่ 2 กระตุนและพัฒนากลุมตางๆ ในชุมชน และระยะที่ 3 สรางเครือขายการเรียนรูรวมกันทั้งภายใน และภายนอกชุมชน ผลการประเมินการนํารูปแบบชุมชนแหงการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไปใชในพื้น ที่ตน แบบ พบวา ประชาชนสวนใหญย อมรับ และใหความสนใจกับแนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น หลังจากที่ไดลงมือปฏิบัติจริง


บทที่ 3 ขอมูลกรณีศึกษา ศึกษาการดําเนินงานและการควบคุมภายใน ของศูนยการเรียนรูตนแบบบานบานรัก ษ พอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเปน ธุรกิจที่มีการดําเนินงานภายใตแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงตามแบบพอหลวง ประวัติความเปนมา

ภาพที่ 3-1 ศูนยการเรียนรูตน แบบบานรักษพอเพียง ศูนยการเรีย นรูตนแบบบานบานรักษพอเพียง กอตั้งขึ้นเมื่อป 2544 ตั้งอยูที่ บานเลขที่ 199/19 หมู10 ตําบลดงขี้เหล็ก อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25000จากเดิมรับราชการครู 15 ป หลังจากนั้นทําธุรกิจรีไซเคิล (พลาสติก) ประมาณ 8 ป ดวยความตองการที่จะมีรายไดเพิ่มขึ้น จึง คิดที่จะทํารายไดเพิ่มโดยเลือกงานเกษตรเชิงเดี่ยวเปนรายไดรอง ทํามันสําปะหลังประมาณ 500 ไร โดยการเชาที่ดิน และทําไมประดับคือการปลูกโมก 10,000 ตน เนื่องจากงานเกษตรดังกลาว เปน การลงทุน ที่มี ผลตอบแทนเพีย งครั้ งเดีย วคือ หลั งจากเก็บ เกี่ ย วผลผลิต เมื่อผลผลิต จาก การเกษตรที่ไดไมเปนไปตามเปาหมาย ประกอบกับธุรกิจรี ไซเคิลเกิดปญหาจากภาวะเศรษฐกิจ ทําใหไมสามารถดําเนินธุรกิจตอไปไดปญหาดังกลาวทําใหคิดถึงคําสอนของพอหลวง “เศรษฐกิจ พอเพีย งเปน เหมือนรากฐานของชีวิต ” จึงเริ่มหัน มาดูวาเรามีท รัพยากรใดบางที่จ ะกอใหเ กิด


68 ประโยชนและมีมูลคา ถาพูดอยางงายคือ ทําอยางไรจะมีกิน จายนอยที่สุด ไมเพิ่มหนี้สิน คือไม ตองซื้อก็อยูได มีเทาไรใชเทานั้น และพึ่งพาตนเองได การเปลี่ยนแปลงดังกลาวทําใหไดสิ่งหนึ่งที่ไมสามารถซื้อไดไมวาจะมีเงินทองเทาใด คือ ความสุขใจ ที่ทุกคนในครอบครัวเขาใจกัน สรางกําลังใจใหกัน ชวยกันที่จะแกปญหาวิกฤตตางๆ เพื่อใหผานพนไปไดโดยใชหลักการของพอ ดวยคําวา “พอเพียง”คนในครอบครัวจึงหันหนาเขาหา กัน ปรึกษา หารือกันและเกิดแนวคิดการดําเนินธุรกิจแบบพอเพียง “ศูนยการเรียนรูตนแบบบาน บานรักษพอเพียง” ดําเนินงานอบรม และใหความรูเกี่ยวกับวิถีชีวิตแบบพอเพียงซึ่งเปนรากฐาน ของชีวิต วิสัยทัศน(Vision) ศูนยการเรียนรูตนแบบบานบานรักษพอเพีย ง สงเสริมใหหนวยงานและชุมชนเขาใจถึง หลักการของพอ ดวยคําวา “พอเพียง” และ “ตองบอกเลาสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต การแกไข และเปลี่ยน วิถีชีวิตใหกับผูอื่น” ซึ่งเปาหมายคือตองการใหรูจัก “พอ” พันธกิจ (Mission) 1. ใหบริการอบรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงแกบุคคล หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุงเนนการใหความรูดานวิถีชีวิตแบบพอเพียงซึ่งเปนรากฐานของชีวิต 2. สนับสนุนและสงเสริมใหโรงเรียน ชุมชนใกลเคียงใหมีความรูเกี่ยวกับการเกษตรแบบ พอเพียง และการพึ่งพาตนเอง วัตถุประสงค เผยแพรความรูสูชุมชน บุคคล หนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อให เกิดแนวคิดการ พึ่งพาตนเองตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง


69 ตารางที่ 3-1 สมาชิกในครอบครัว ที่

ภาพ

รายละเอียด

1.

(แม)อ.กัลยา ปอมสา (อ.จิ๊บ) เรียนจบ วิศวะอุตสาหการ อดีตขาราชการ(ครู)

2.

(พอ)อ.ธีรพล ปอมสา (อ.พล) เรียนจบ วิศวะเครื่องกล ปจจุบันขาราชการ(ครู)

3.

(ปา)กอบกุล อยูชมบุญ (ปาจุม) เรียนจบ วิทยาศาสตรคณิตศาสตร อดีตพนักงานธนาคาร

4.

(ลูกชายคนโต)กานต อยูช มบุญ (กั้ง) เรียนจบ วิศวะโยธา ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลา

5.

(ลูกสะใภคนโต)นิตยา อยูชมบุญ (นิด) เรียนจบ วิทยาศาสตร สถิติ ม.เกษตรศาสตร

6.

(ลูกชายคนเล็ก)ดุสิต ปอมสา (หมู) เรียนจบ วิศวะไฟฟา ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลา

7.

(ลูกสะใภคนเล็ก)ราตรีกาล ปอมสา (ตั้ม) เรียนจบ ปริญญาโท สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร


70

แผนผังองคกร (แม)อ.กัลยา ปอมสา (อ.จิ๊บ)

(ปา)กอบกุล อยูชมบุญ (ปาจุม)

(ลูกชายคนโต) กานต อยูชมบุญ (กั้ง)

(พอ)อ.ธีรพล ปอมสา (อ.พล)

(ลูกสะใภคนโต) นิตยา อยูชมบุญ (นิด)

คนงาน

(ลูกชายคนเล็ก) ดุสิต ปอมสา (หมู)

คนงาน

ภาพที่ 3-2แผนผังองคกรเกา

(ลูกสะใภคนเล็ก) ราตรีกาล ปอมสา (ตั้ม)


71 หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบงาน 1) อ.กัลยา ปอมสา (อ.จิ๊บ) หนาที่รับ ผิดขอบ บรรยายความรู และแสวงหาความรูโดยการเขารวมอบรมโครงการใหมๆอยู เสมอ ติดตอประสานงานกับองคกรตางๆ และบุคคลภายในชุมชนและชุมชนใกลเคียง จัดซื้อวัสดุ อุปกรณเพิ่มเติม และทําน้ํายาเอนกประสงค 2) อ.ธีรพล ปอมสา (อ.พล) หนาที่รับผิดขอบ บรรยายความรู จัดเตรียมอาหารสําหรับสัตวเลี้ยงภายในบานรักษพอเพียง เชน นําหยวกกลวย มาทําเปน อาหารสําหรับ หมู และจัดซื้อ อาหารสําเร็จ รูป สําหรับ เปดและไกไ ข จัดเตรียมมูลวัวเพื่อนํามาทําแกส ชีวภาพ จั ดหาเศษไม เ พื่ อนํ ามาเผาถา นและทํา การเผาถา น จัดซื้อวัสดุอุปกรณเพิ่มเติม 3) กอบกุล อยูชมบุญ (ปาจุม) หนาที่รับ ผิดขอบ ทําอาหาร ทําน้ํายาเอนกประสงค เตรียมสถานที่ใ นการบรรยาย ดูแลรักษา ความสะอาดของโฮมสเตย และนําไขเปด ไขไกที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนไปขายใหกับ รานคาในชุมชน อํานวยความสะดวกใหกับผูเขาฟงบรรยาย เชน เสิรฟน้ําและอาหารวาง 4) กานต อยูชมบุญ (กั้ง) หนาที่รับผิดขอบ บรรยายความรูใหกับเกษตรกรที่เขารวมอบรม ผสมปุย คลุกปุย ทําน้ําหมัก ชีวภาพ ควบคุมการใหน้ําเห็ด และคอยเก็บเห็ดที่เติบโตเต็มที่ จัดเตรียมมูลวัวเพื่อนํามาทําแกส ชีวภาพ จัดหาเศษไมเพื่อนํามาเผาถานและทําการเผาถาน 5) นิตยา อยูชมบุญ (นิด) หนาที่รับผิดขอบ บรรยายความรู ทําน้ํายาเอนกประสงค เปนฝายขายคอยจําหนายผลิตภัณ ฑ น้ํายาเอนกประสงค ติดตอประสานงานกับบุคคลหรือองคกรที่สนใจเขาฟงบรรยาย อัพเดทขอมูล ขาวสารตางๆใหบุคคลภายนอกไดรับทราบ และเผยแพรศูนยการเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงสู สือ่ ตางๆ เชน Internet, Facebook, Line และทางโทรศัพท


72 6) ดุสิต ปอมสา (หมู) ติดตอประสานงาน และกระจายความรูและความเปนมาของศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง สูบุคคลภายนอก เพื่อเปนการปลุกจิตสํานึก สรางแรงบันดาลใจในการดํารงชีวิตแบบพอเพียง หนาที่รับผิดขอบ 7) ราตรีกาล ปอมสา (ตั้ม) ติดตอประสานงาน และกระจายความรูและความเปนมาของศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง สูบุคคลภายนอก เพื่อเปนการปลุกจิตสํานึก สรางแรงบันดาลใจในการดํารงชีวิตแบบพอเพียง หนาที่รับผิดขอบ 8) คนงาน หนาที่รับผิดขอบ ทําอาหาร ทําน้ํายาเอนกประสงค ใหอาหารหมู เปด และไก เปนฝายขายคอย จําหนายผลิตภัณฑน้ํายาเอนกประสงค ดูแลรักษาความสะอาดภายในศูนยการเรียนรูตนแบบบาน รักษพอเพียงและโฮมสเตย 9) คนงาน หนาที่รับผิดขอบ ผสมปุย คลุกปุย บรรจุปุยใสถุง ใหอาหารหมู เปด และไก จัดเตรียมมูลวัวเพื่อ นํามาทําแกสชีวภาพ ดูแลและใหอาหารปลาที่เลี้ยงไวในกระชัง ทําความสะอาดสระโดยการตัก เศษใบไม ผักตบชวา ฯ ขึ้นจากสระเพื่อไมใหเกิดน้ําเนาเสีย และเปนการเพิ่มออกซิเจนใหกับน้ําใน สระ ตัดหญา และรดน้ําตนไมภายในศูนยการเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง ธุรกิจดานตางๆของศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง ศูน ยเรีย นรูตนแบบบานรัก ษพอเพีย งดําเนินธุรกิจ หลัก คือการใหบ ริก ารอบรม และให ความรูแกบุคคล หนวยงานและชุมชน เพื่อใหมีความรูใ นการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว ทําน้ําหมัก ชีวภาพ และสามารถทําน้ํายาเอนกประสงคไวใชในครัวเรือนของผูเขารับการอบรมเองได เปนการ แกปญหาวิกฤติการอาหารโลกที่เริ่มตนจากครัวเรือน และเปนการปลูกจิตสํานึกในการใชวิถีชีวิต แบบพอเพียงและพึ่งพาตนเองตามแนวพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง


73 การดําเนินธุรกิจหลัก ศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงไดใหบริการอบรมความรูมากมายหลายดาน ไดแก ดานวิธีการเพาะเห็ดฟาง, เห็ดนางฟา เพื่อใหรูตั้งแตขั้นตอนการซื้อเชื้อเห็ด จนถึงการลง มือเพาะและเก็บเกี่ยวเห็ดที่เติบโตเต็มที่

ภาพที่ 3-3 การเพาะเห็ดฟาง ดานวิธกี ารเลี้ยงหมูหลุมกลาวถึงขั้นตอนการเตรียมคอก และพื้นที่ทําเพื่อไมใหกอมลพิษ ทางอากาศ

ภาพที่ 3-4 การเลี้ยงหมูหลุม ดานวิธีการเผาถานดวยถัง และการเก็บน้ําสมควันไมที่ไดจากการเผาถานนําไปฉีดพนไล แมลงได

ภาพที่ 3-5 การเผาถานดวยถัง


74 ดานวิธกี ารเลี้ยงเปด-ไกไข เพื่อใหรูถึงวิธีการเลี้ยง การอนุบาลสัตวเลี้ยง การใหอาหารที่ พอเหมาะ

ภาพที่ 3-6 การเลี้ยงเปด-ไกไข ดานวิธีการหมักน้ําหมัก เพื่อใหทราบถึงวัตถุดิบ ขั้นตอนการทําน้ําหมัก ระยะเวลาในการ พักน้ําหมัก

ภาพที่ 3-7 การหมักน้ําหมัก และดานวิธีการทําน้ํายาเอนกประสงค เพื่อนํามาใชในครัวเรือนเปนการลดคาใชจายและ หากน้ํายาเอนกประสงคเหลือจะเปนการเพิ่มรายไดใหกับครอบครัวไดอีกทางเลือกหนึ่ง

ภาพที่ 3-8 การทําน้ํายาเอนกประสงค


75 การดําเนินธุรกิจรอง ภายในศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงนั้น เกิดขึ้นจากการที่ไดทําผลิตภัณฑเพื่อเปน สินคาตัวอยางในการอบรมเพื่อใหเกิดรายไดหลักแลว จากนั้นจะนําผลิตภัณฑตางๆ ที่ไดมาทําการ พณิชยกรรม เชน เห็ดที่ไดจากการเพาะเพื่อเปนตัวอยางในการอบรมเมื่อเติบโตเต็มที่จะทําการเก็บมาเพื่อ ประกอบอาหารภายในบานรักษพอเพียง และนําไปขายใหกับรานคาในชุมชน หมู เมื่อเติบโตเต็มที่แลวจะมีรถมารับซื้อภายในศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง ถานที่ไดจากการเผาจะนําไปใชเพื่อการประกอบอาหาร และเพื่อเชิงพณิชยกรรม ไขเปดและไขไกที่ไดก็จะนําไปประกอบอาหารเพื่อลดรายจายของครอบครัวและที่เหลือจะ นําไปขายใหรานคาในชุมชน และน้ํายาเอนกประสงคที่เหลือใชจะนําไปขายในวันที่มีการอบรม และเมื่อออกงานนอก สถานที่ดวย มูลจากหมู ไกและวัวนํามาทําเปนปุยคอกในการปลูกพืชผักสวนครัวเพือ่ ลดรายจาย


76 ตารางที3่ -2แบบประเมินการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดานการบริหาร ประเด็นการประเมิน 1. ภารกิจ 1.1 วัตถุประสงคหลัก  มีการกําหนดวัตถุประสงคหลักและภารกิจขององคกร  มีการกําหนดวิธกี าร เพื่อใหบุคลากรเขาใจในงานทีป่ ฏิบัตวิ า จะชวยใหบรรลุวัตถุประสงคของการดําเนินงานขององคกร  ภารกิจที่กําหนดมีความชัดเจน กะทัดรัด และเขาใจงาย  มีการประกาศใหบุคลากรทุกคนทราบภารกิจขององคกร 1.1 การวางแผน  มีการจัดทําแผนเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคและเปาหมาย การดําเนินงานทีก่ ําหนดหรือไม  มีการสื่อสารใหกับบุคลากรที่รับผิดชอบปฏิบัติตามแผนทราบ หรือไม  มีการวางแผนการแบงแยกหนาที่งานอยางชัดเจน โดยไมเกิด หนาที่งานทับซอนกัน  มีการมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบในการดําเนินการตาม แผนใหแกเจาหนาที่หรือไม 1.3 การติดตามผล  มีการประเมิน ความคืบหนาของการบรรลุวัตถุป ระสงคการ ดําเนินงานขององคกรเปนครั้งคราวหรือไม  การประเมินความคืบหนามีการดําเนินการในชวงเวลาและ ความถี่ที่เหมาะสมหรือไม  มีการแจงผลการประเมินใหบุคลากรที่รับผิดชอบทราบและ แกไขปรับปรุงการดําเนินงานหรือไม  บุคลากรที่รับผิดชอบไดรองขอใหมีการทบทวนหรือปรับปรุง วัตถุประสงคการดําเนินงานแผนและกระบวนการดําเนินงาน หรือไม

มี/ใช ไมม/ี ไมใช

/ / / / / / / /

/ / / /


77 ตารางที3่ -2แบบประเมินการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานการบริหาร ประเด็นการประเมิน 2. กระบวนการปฏิบัติงาน 2.1 ประสิทธิผล  กระบวนการปฏิบัตงิ านที่สําคัญในการดําเนินงานตามภารกิจ ไดรับการพิจารณาและกําหนดโดยหัวหนาครอบครัวหรือไม  ฝายบริหารมีการติดตามผลเกี่ยวกับประสิทธิ ผลของกระบวนการ ปฏิบัติงานหรือไม  ในชวง 2 – 3 ป ที่ผานมามีการประเมินผลการดําเนินงานใน ระดับผลผลิต (Output) หรือผลลัพธ (Outcome) ขององคกร วาบรรลุตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด หรือไม  ขอเสนอแนะจากมาตรการปรับปรุงประสิทธิผลของการ ดําเนินงานไดมีการนําไปปฏิบตั ิและจัดทําเปนเอกสารใน รูปแบบที่สามารถแกไขปรับปรุงไดงายและเปนปจจุบันหรือไม 2.1 ประสิทธิภาพ  มีการคํานวณและเปรียบเทียบตนทุนของการดําเนินงานกับ ผลผลิตหรือผลลัพธวามีประสิทธิภาพหรือไม  มีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพดังกลาวกับองคกรอื่นที่มี ลักษณะการดําเนินงานเชนเดียวกัน หรือไม  ขอเสนอแนะไดนํามาปรับปรุงแกไขทันตอเหตุการณและมี การดําเนินงานอยางเหมาะสมหรือไม 3. การใชทรัพยากร 3.1 การจัดสรรทรัพยากร  ทรัพยากรที่มีอยูภายในองคกรไดรับการจัดสรรใหกับ กระบวนการดําเนินงานทั้งหมดหรือไม  ทรัพยากรที่มกี ารใชประโยชนนอยไดรบั การแกไขปรับปรุงให ดีขึ้นหรือไม  มีการจัดลําดับความสําคัญของวัตถุประสงคการดําเนินงาน

มี/ใช ไมม/ี ไมใช

/ / /

/

/ / /

/ / /


78 ตารางที่ 3-2แบบประเมินการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานการบริหาร ประเด็นการประเมิน มี/ใช ไมม/ี ไมใช /  การจัดสรรทรัพยากรไดถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอเพื่อให องคกรบรรลุผลที่ดที ี่สุดในดานประสิทธิผลกับประสิทธิภาพ หรือไม 3.2 ประสิทธิผลของการใชทรัพยากร /  คุณลักษณะเฉพาะตําแหนง ของตําแหนงที่สําคัญ มีการ กําหนดหนาที่ไวชดั เจนและปฏิบตั ิงานตามที่กําหนดหรือไม /  มีการกําหนดวิธปี ฏิบัติเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรแตละ ประเภท เพื่อสนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงคของการ ดําเนินงานหรือไม /  กรณีการดําเนินงานต่ํากวาระดับที่กําหนด มีการปฏิบตั ิที่ เหมาะสม เพื่อปรับปรุงการดําเนินงานหรือไม /  มีแผนการฝกอบรมทีเ่ พียงพอสําหรับบุคลากรในการฝกฝน ทักษะและความสามารถที่จําเปนตอการปฏิบัติงานหรือไม /  มีแผนการจูงใจใหบคุ ลากรพัฒนาทักษะและความสามารถ ของตนเองหรือไม 4. สภาพแวดลอมของการดําเนินงาน 4.1 การปฏิบตั ิตามกฎระเบียบและขอบังคับ /  มีการระบุกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่สําคัญและจําเปนตอ การดําเนินงานหรือไม  มีการกําหนดวิธกี ารปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ทีก่ ําหนด / หรือไม 4.2 ความสอดคลองกับสภาพแวดลอมการดําเนินงาน /  มีการระบุปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบที่มีนัยสําคัญตอการ ดําเนินงานในอนาคตขององคกรหรือไม  มีการติดตามผลและวางแผนปองกันหรือลดผลกระทบที่จะ / เกิดขึ้นจากปจจัยภายนอกหรือไม


79 ตารางที3่ -2แบบประเมินการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานการเงิน ประเด็นการประเมิน 1. ดานเงินสดและเงินฝากธนาคาร 1.1 การรับเงิน  มีการแบงแยกหนาที่ดานการรับเงินอยางชัดเจน เชน การ อนุมัติการรับเงินสด, การเก็บรักษาเงินสด, การบันทึกบัญชี  กําหนดแนวทางปฏิบัติมกี ารรับเงินระหวางบุคคลหรือ หนวยงานเปนลายลักษณอักษร  มีการออกใบเสร็จรับเงินสําหรับการรับเงินทุกครั้งหรือไม  มีการสรุปยอดเงินที่ไดรับเงิน และบันทึกไวในบัญชีทุกสิน้ วัน หรือไม  การรับเงินโดยการโอนผานระบบอิเล็กทรอนิกส มีการยืนยันเปน ลายลักษณอักษรโดยระบุชื่อผูจายเงินและจํานวนเงิน และ วัตถุประสงคการจายหรือไม  ใบเสร็จรับเงินมีการพิมพหมายเลขกํากับเลมและ ใบเสร็จรับเงินเรียงกันไปทุกฉบับหรือไม  มีการจัดทําทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินหรือไม  มีการตรวจสอบจํานวนเงินที่รบั กับหลักฐานการรับและ รายการที่บันทึกไวในบัญชีทุกสิ้นวันหรือไม 1.2 การเบิกจายเงิน  มีการแบงแยกหนาที่ดานการเบิกจายเงินอยางชัดเจน เชน การอนุมัติการจายเงินสด, การบันทึกบัญชี  มีการกําหนดระเบียบเกี่ยวกับการอนุมัตเิ บิกจายเงินอยาง ชัดเจน  ในการเบิกจายมีใบสําคัญหรือเอกสารหลักฐานประกอบทีมี การอนุมัติหรือไม  มีการกําหนดวงเงินและผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินหรือไม

มี/ใช ไมม/ี ไมใช

/ / / / /

/ / /

/ / / /


80 ตารางที่ 3-2แบบประเมินการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานการเงิน ประเด็นการประเมิน

มี/ใช ไมม/ี ไมใช /  มีก ารตรวจสอบรายการจายเงิน และบัน ทึก ไว ในบัญชีกับ หลักฐานการจายทุกสิ้นวันหรือไม /  มี ก ารกํ า หนดให ก ารจ า ยเงิ น โดยการโอนผ า นระบบ อิเล็กทรอนิกสตองไดรับอนุมัติจากหัวหนาสวนงานหรือไม  มีก ารเขีย นหรื อประทั บ ตรายางว า “ชํ าระเงิ น แลว ” ไว ใ น / ใบสําคัญจายและหลักฐานการจายที่ชําระเงินแลวหรือไม 1.3 เงินสดในมือ /  มีการเก็บรักษาเงินสดไวอยางปลอดภัยหรือไม /  มีการนําเงินสดที่ไดรับ ฝากธนาคารภายในวันที่ไดรับเงิน หรือ วันทําการถัดไปหรือไม  มีการตรวจนับเงินสดคงเหลือเปนครั้งคราวหรือไม  การเปดบัญชีเงินฝากธนาคารเปนไปตามระเบียบทีก่ ําหนด และไดรับอนุมัติจากหัวหนาสวนงานหรือไม  บัญชีเงินฝากธนาคารเปดในนามของหนวยรับตรวจหรือไม 2. ดานทรัพยสิน 2.1 ความเหมาะสมของการใช  มีการแบงแยกหนาทีก่ ารรับผิดชอบ เชน การอนุมัตซิ ื้อ โอน จําหนายสินทรัพย, การใชสนิ ทรัพย  มีการกําหนดวัตถุประสงคของการใช และกําหนดผูใชงาน ของสินทรัพยไวอยางชัดเจน  มีการอบรมวิธีการใชที่ถูกตองใหแกผูใชสินทรัพยหรือไม 2.2 การดูแลรักษาทรัพยสิน  มีการกําหนดมาตรการปองกันและรักษาทรัพยสินที่สําคัญ หรือมีมูลคาสูงมิใหสญ ู หายหรือเสียหายหรือไม  มีการติดหรือเขียนหมายเลขรหัสไวทที่ รัพยสนิ หรือไม

/ / /

/ / / / /


81 ตารางที่ 3-2แบบประเมินการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานการเงิน ประเด็นการประเมิน  มีการมอบหมายผูรับผิดชอบในการดูแลรักษาทรัพยสนิ หรือไม  มีการบํารุงรักษาทรัพยสินตามระยะเวลาทีก่ ําหนดหรือไม 2.3 การบัญชีทรัพยสิน  มีการจัดทําทะเบียนทรัพยสนิ หรือไม มีรายละเอียดเชน หมายเลข รหัส สถานทีใ่ ช หรือสถานทีเ่ ก็บ  มีการตรวจนับทรัพยสนิ ประจําปหรือไม  มีการจัดทํารายงานผลการตรวจนับทรัพยสินเปรียบเทียบ ยอดจากการตรวจนับกับทะเบียนคุมและ/หรือบัญชีทรัพยสิน หรือไม 3. รายงานการเงิน 3.1 ขอมูลการเงิน  บัญชีแยกประเภทมีการบันทึกรายการถูกตองและครบถวน หรือไม  สามารถติด ตามตรวจสอบรายการจากเอกสารประกอบ รายการ หรือเอกสารเบื้องตนไปยังบัญชีแยกประเภทหรือไม  มี ก ารกระทบยอดบั ญ ชี ย อ ยกั บ บั ญ ชี คุ ม หรื อ บั ญ ชี แ ยก ประเภทมีบัญชียอย หรือรายละเอียดประกอบหรือไม  นโยบายการบั ญ ชี เ ป น ไปตามกฎหมายหรื อ ระเบี ย บ หลักเกณฑที่กําหนดหรือไม  มีการสอบทานหรือตรวจสอบการบันทึกบัญชีเปนครั้งคราว หรือไม  มีการฝกอบรมอยางเพียงพอใหแกเจาหนาที่การเงินและการ บัญชีหรือไม

มี/ใช ไมม/ี ไมใช / / / / /

/ / / / / /


82 ตารางที่ 3-2แบบประเมินการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานการเงิน ประเด็นการประเมิน มี/ใช ไมม/ี ไมใช 3.2 รายงานการเงิน  รายงานทางการเงินจัดทําขึ้นตามระยะเวลาที่กําหนดหรือไม / /  มีการสอบทานและใหความเห็นชอบรายงานทางการเงินโดย ผูมีอํานาจหรือไม /  มีก ารประเมินประโยชนจ ากรายงานการเงินเปนครั้งคราว หรือไม


83 ตารางที่ 3-2แบบประเมินการการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานการผลิตและการใหบริการ ประเด็นการประเมิน 1. การวางแผนการผลิต  มีการวางแผนการผลิต หรือประมาณการวัตถุดิบที่ตองใชใน ครั้งตอๆไปไวหรือไม  มี ก ารกํ า หนดมาตรฐานต า งๆขึ้ น ใช เ ช น มาตรฐานการ ปฏิบัติงาน ปริมาณการใชวัตถุดิบตอหนวยสินคาหรือไม  มีการประมาณการการใช และการซื้อวัตถุดิบตางๆหรือไม 2. การดําเนินการผลิต  มีการกําหนดอํานาจในการสั่งผลิตหรือการใหบริการหรือไม  มีการกําหนดมาตรฐานของสินคาหรือไม 3. การบริหารคลังสินคา  มีนโยบายการตรวจนับสินคาคงเหลือหรือไม  มีก ารแบงแยกจัด เก็บ สิน คา แตล ะชนิด อย างชัดเจนเป น ระบบ ระเบียบ  มีก ารแบง แยกหนา ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบในการจั ดการ สินคาอยางชัดเจน  มีการแบงแยกสินคาที่ไดวาสวนในใชในครัวเรือน สวนไหน นําไปจําหนายอยางชัดเจน  มีก ารจัด ทํารายงานสิ น คา เขา -ออกหรือ ไม เชน ไข , เห็ด , น้ํายาเอนกประสงคตางๆ

มี/ใช ไมม/ี ไมใช / / / / / / / / / /


84 ตารางที่ 3-2แบบประเมินการการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานอื่นๆ ประเด็นการประเมิน 1. การบริหารบุคลากร 1.1 การสรรหา  ฝายบริหารมีการกําหนดทักษะและความสามารถที่จําเปน ของตําแหนงงานสําคัญไวอยางชัดเจนหรือไม  มีก ารเผยแพร ขอ มูล อย างทั่ วถึ งในการรับ สมั ครบุค ลากร หรือไม  มีก ารกํ า หนดกระบวนการคั ดเลื อก เพื่ อ ให ไ ดบุ ค ลากรที่ เหมาะสมกับตําแหนงงานที่สุดหรือไม 1.2 คาตอบแทน  มีการจัดทําแนวทางการปฏิบัติเรื่องคาตอบแทนหรือไม  มีการบันทึกเวลาปฏิบัติงานของบุคลากรและมีหัวหนางาน ลงนามรับรองใบลงเวลาหรือไม  การเลื่อนขั้นเงิน เดือนมีก ารพิจ ารณาอนุมัติและจัดทําเปน ลายลักษณอักษรหรือไม 1.3 หนาที่ความรับผิดชอบ  มีการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแตละคน เปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจนเพื่อใหบุคลากรสามารถ ปฏิบัติงานไดตามวัตถุประสงคการดําเนินงานหรือไม  การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกี่ยวกับการมอบหมายงานมีการ จัดทําเปนลายลักษณอักษรหรือไม 1.4 การฝกอบรม  มีก ารพิจ ารณาความต อ งการฝก อบรมของบุ ค ลากรเพื่ อ พัฒนาทักษะหรือไม  มีก ารจัด สรรงบประมาณทรัพยากรเครื่อ งมือ และการจั ด ฝกอบรมใหกับบุคลากรหรือไม

มี/ใช ไมม/ี ไมใช

/ / /

/ / /

/

/

/ /


85 ตารางที่ 3-2แบบประเมินการการดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(ตอ) ดานอื่นๆ ประเด็นการประเมิน มี/ใช ไมม/ี ไมใช 1.5 การปฏิบัติงานของบุคลากร  มีการกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือไม / /  มีการประเมินการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่กําหนดเปนครั้ง คราว และจัดทําเปนลายลักษณอักษรหรือไม /  มีการยกยองหรือใหรางวัลแกบุคลากรที่มีผลการปฏิบัติงาน สูงกวามาตรฐานที่กําหนดหรือไม 1.6 การสื่อสาร /  มี ก ารสื่ อ สารข อ มู ล คํ า สั่ ง ให บุ ค ลากรระดั บ ปฏิ บั ติ อ ย า ง ตอเนื่องและสม่ําเสมอหรือไม 2. ระบบสารสนเทศ 2.1 อุปกรณคอมพิวเตอร  มี ก ารกํ า หนดนโยบายการนํ า คอมพิ ว เตอร ม าใช ใ นการ ดําเนินงานหรือไม  ผูไดรับอนุมัติเทานั้นที่สามารถเขาถึงอุปกรณคอมพิวเตอร  เมื่ออุปกรณคอมพิวเตอรเกิดความเสียหายหรือทํางานไมได มีการรายงานใหทราบและมีการแกไขไดทันทีหรือไม  มี ก ารบํ า รุ ง รั ก ษาอุ ป กรณ ค อมพิ ว เตอร ต ามระยะเวลาที่ กําหนดหรือไม 2.2 การปองกันดูแลรักษาสารสนเทศ  ผู ที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ เ ท า นั้ น ที่ ส ามารถเข า ถึ ง แฟ ม ข อ มู ล และ โปรแกรม  แฟมขอมูลคอมพิวเตอรที่สําคัญมีการกําหนดใหจัดทําแฟม สํารองและเก็บรักษาหรือไม  มีนโยบายควบคุมความเสี่ยงจากการใชอินเตอรเน็ตหรือไม 2.3 ประโยชนของสารสนเทศ  มีการแจงใหผูใชทราบเกี่ยวกับประสิทธิภาพใหมๆ ของระบบ สารสนเทศอยางสม่ําเสมอหรือไม

/ / / /

/ / / /


86 การดําเนินงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน เนื่องจากกรณีศึก ษาไมมีก ารแบงแยกแผนกและหนาที่งานที่ชัดเจน ทั้งทางดานบัญ ชี การเงิน การคลัง เปนตน บุคลากรทุกคนมีอํานาจหนาทีงานใกลเคียงกัน สามารถทําแทนกันไดทุก สวนงาน จึงไดอธิบายขั้นตอนการดําเนินงานหลักๆแบงเปน 6 ดานดังตอไปนี้ 1. ดานการบริหาร 1.1 ภารกิจ - วัตถุประสงคหลัก องคกรไดมีการกําหนดวัตถุประสงคและภารกิจไวอยางชัดเจน กะทัดรัด และเขาใจงายวา จะทําอะไร อยางไรบาง อีกทั้งยังมีการประกาศใหทุกคนรับรูถึงวัตถุประสงคนั้นดวย แตยังไมมีใน เรื่องของการกําหนดวิธีการและการทําความเขาใจรวมกันกับ บุคคลในครอบครัวเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานเพื่อทําใหธุรกิจบรรลุวัตถุประสงคของธุรกิจตอไปในอนาคต -การวางแผน ในการวางแผนทางดานการดําเนินงานตางๆของธุรกิจไดมีการวางแผนงาน รวมถึงมีการ จัด ประชุม เพื่อ ใหทุ ก คนรั บ ทราบถึง แผนการปฏิบั ติ งาน และทํ าการมอบหมายหนา ที่ ความ รับผิดชอบในการดําเนินการตามแผนงานที่ไดวางไว ซึ่งในแตละงานนั้นมีปญหาคือหนาที่ความ รับผิดชอบงานของแตละคนเกิดการทับซอนกันของงาน -การติดตามผล องคกรมีการติดตามผลโดยทําการประเมินการดําเนินงานในดานตางๆขององคกรเพื่อให บรรลุวัตถุประสงค รวมถึงจะมีการแจงผลการประเมินใหพนักงานรับทราบเพื่อปรึกษา พูดคุยและ แกไขปญหาที่เกิดขึ้นรวมกัน


87 1.2 กระบวนการปฏิบัติงาน -ประสิทธิผล ในกระบวนการปฏิบัติงานองคกรจะดําเนินงานเพื่อใหบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไวโดย หัวหนาครอบครัว ซึ่งจะมีการติดตามผลและประเมินผลเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงานเปนระยะๆ แตจะไมมีก ารนําขอเสนอแนะที่ไดจากการทําการประเมินมาจัดทําเปนเอกสารเพื่อไวใชในการ แกไขในครั้งตอไป -ประสิทธิภาพ องคกรไมมีการจัดทําการวัดประสิท ธิภาพจากกระบวนการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้น ภายใน องคกร ซึ่งในการวัดประสิทธิภาพทําไดโดยการคํานวณและเปรียบเทียบตนทุนของการดําเนินงาน และผลผลิต ทําใหองคกรไมมีขอมูลที่จะนํามาใชปรับปรุงแกไขทันตอเหตุการณปจจุบันได 1.3 การใชทรัพยากร -การจัดสรรทรัพยากร มีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูภายในองคกรเพื่อใหเพียงพอตอการดําเนินงานทั้งหมดอยาง สม่ําเสมอเพื่อใหองคกรบรรลุผลที่ดีที่สุดในดานประสิทธิผลกับประสิทธิภาพ แตองคกรจะไมมีการ จัดลําดับความสําคัญของการดําเนินงานที่ดี ซึ่งในอนาคตอาจทําใหเกิดปญหาดานทรัพยากรได -ประสิทธิผลของการใชทรัพยากร องคกรมีการกําหนดวิธีการปฏิบัติการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนใหบรรลุวัตถุประสงค การดําเนินงาน แตในเรื่องของทรัพยากรบุคคลองคกรมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบงานไม ชัดเจนจึงทําใหเกิดการทับซอนงานกันเกิดขึ้นและยังไมมีการฝกอบรมพนักงานรวมทั้งแผนการจูง ใจใหพนักงานพัฒนาความสามารถของตนเอง เนื่องจากเปนธุรกิจครอบครัวจึงไมไดมีขอกําหนด ในเรื่องของพนักงานมากนัก


88 1.4 สภาพแวดลอมของการดําเนินงาน -การปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับ องคกรไมมีการกําหนดกฎหมาย ระเบียบขอบังคับและวิธีการปฏิบัติในระเบียบนั้นๆไว -ความสอดคลองกับสภาพแวดลอมการดําเนินงาน องคกรมีการระบุปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบตอการดําเนิน งานในอนาคตขององคก ร รวมถึงการติดตามและวางแผนปองกันหรือการลดผลกระทบนั้นๆที่เกิดขึ้นจากสิ่งที่เราไมสามารถ กําหนดเองได 2. ดานการรับชําระเงิน หนาที่และหลักการสําคัญเกี่ยวกับการชําระเงิน องคกรไมมีก ารกําหนดหนาที่ในการรับเงินอยางชัดเจน โดยหนาที่ในการอนุมัติรับ เงิน (ตัดสินใจรับเงินแตไมมีการจัดทําเอกสารและเซ็นรับเงิน)สามารถตัดสินใจรับเงินไดหลายคน และ การเก็บรักษาเงินสดอาจเปนบุคคลคนเดียวกัน ไมมีการจัดทําเอกสารในการอนุมัติรับเงิน เงินที่ ไดรับในองคกรมาจากแหลงตางๆดังนี้ คาอบรมโครงการตางๆ การขายไขเปด-ไขไก การขายเห็ด นางฟา-เห็ดฟาง การขายถานการขายน้ํายาอเนกประสงคตางๆ ขั้นตอนการรับชําระเงิน 1. การออกใบเสร็จรับเงินใหแกลูกคา มีการออกใบเสร็จรับเงินใหลูกคาตามแตลูกคาจะขอ เชน ลูกคาจากหนวยงานภาครัฐ ทําใหในบางรายการไมมีหลักฐานประกอบในการบันทึกบัญชี 2. รวบรวมและตรวจสอบจํานวนเงินที่ไดรับ มีการรวมรวบตรวจสอบจํานวนเงินที่ไดรับในแตละวัน เงินวาไดรับจํานวนเงินรวมเทาใด 3. บันทึกบัญชีการเกี่ยวกับการรับเงิน มีการบันทึกบัญชีทุกสิ้นวันที่มีการรับเงินแตเปนการบันทึก เพียงบัญชีครัวเรือนซึ่ง


89 4. นําฝากธนาคารหรือเก็บรักษาไวในมือไมมีการรวมรวมเงินในแตละวันฝากธนาคารภายในสิ้น วันหรือวันถัดไป ไมมีกําหนดการที่แนนอนในการนําเงินไปฝากธนาคาร

ขั้นตอนรับชําระเงิน

ขั้นที่ 1

กรรับเงินออกใบเสร็จรับเงิน ใหแกลูกคา

ขั้นที่ 2

รวบรวมและตรวจสอบ จํานวนเงิน

ขั้นที่ 3

การบันทึกบัญชีครัวเรือน ดานรายรับ

ขั้นที่ 4

การเก็บรักษาเงิน

ภาพที่ 3-9ขั้นตอนการรับชําระเงิน


90 3. ดานการเบิกจายและชําระเงิน หนาที่และหลักการที่สาํ คัญเกีย่ วกับการเบิกจายและชําระเงิน องคกรมีการกําหนดอํานาจหนาที่และการตัดสินใจเกี่ยวกับการเบิกจายเงิน โดยไมไดมี การกําหนดวงเงินและผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน แตจะมีบอก กลาวดวยวาจาเทานั้น อีกทั้งยังไมมีการจัดทําเอกสารสําหรับประกอบการเบิกจายเงินและการ บันทึกบัญชี ขั้นตอนการเบิกจายและชําระเงิน 1. การจายเงินจะจายไดเฉพาะคาใชจายที่เกี่ยวเนื่อง กับองคกร เชน คาอาหารสัตว คาบรรจุ ภัณ ฑ ค า วั ตถุ ดิ บ ค าอาหาร คา อาหารวา ง และเครื่ อ งดื่ ม ในการอบรม ค า สาธารณู ป โภค คาใชจายสวนกลาง คาใชจายในการดําเนินงานขององคกร และเงินสวัสดิการของลูกจางประจํา 2. กอนการจายเงินจะมีการดําเนินการขออนุมัติจายเงินจากผูมีอํานาจอนุมัติสูงสุดดวยวาจา แต จะเปนครั้งคราวเฉพาะในเรื่องที่มีความสําคัญกับองคกร เชน การซื้อสุกร การซื้อไกไข เปนตน ถา เปน คาใช จายโดยปกติทั่ว ไปบุคคลในองค ก รที่ซึ่งไมไดเ ปน ลูก จางประจําจะมีอํานาจในการ ตัดสินใจอยางเทาเทาเทียมกันทุกคน 3. การจายเงินจะจายเปนเงินสดที่ถืออยูในมือ องคกรจะไมมีการจายเปนเงินฝากธนาคาร โดย การจายเปนเช็ค และจะจายเงินใหผูที่มีสิทธิ์รับเงินเทานั้น ซึ่งการจายเงินองคกรจะไมมีหลักฐาน การจายเงินเงิน เพื่อเปนประโยชนในการตรวจสอบในอนาคต 4. องคการจะไมมีการจัดทําเอกสารการเพื่อเปนหลักฐานการเบิกจายเงิน และในการบันทึกบัญชี การจายเงินทุกรายการจะมีการบันทึกรายการจายเงินนั้นไวในบัญชีเงินสดในวันที่จายเงินนั้น


91

ขั้นตอนการเบิกจายเงิน

ขั้นที่ 1

ขั้นที่ 2

ขั้นที่ 3

ขั้นที่ 4

รวบรวมหลักฐาน ประกอบการเบิกจายเงิน

การขออนุมตั ิจา ยเงิน

การจายชําระเงิน

บันทึกบัญชีครัวเรือน ดานรายจาย

ภาพที่ 3-10ขั้นตอนการเบิกจายเงิน


92 4. ดานการจัดซื้อและดูแลรักษาสินทรัพย หนาที่และหลักการที่สําคัญเกี่ยวกับการจัดซื้อและการดูแลรักษาทรัพยสิน องคกรไมมีการกําหนดวัตถุประสงคและแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบงานเกี่ยวกับการ จัดซื้อขององคกรอยางชัดเจน สวนในเรื่องของการรัก ษาทรัพยสิน ก็ยังไมมีการกําหนดระเบีย บ ขอบังคับในการใชทรัพยสินนั้นรวมถึงการบํารุงรักษาสินทรัพยนั้นดวย ขั้นตอนการจัดซื้อและดูแลรักษาทรัพยสิน 1. องคก รมีก ารปรึก ษาหารือเพื่อรวมกัน แสดงความคิดเห็น รวมกัน เกี่ย วกับ การจัดซื้อจัดหา ทรัพยสนิ แตจะไมมีการแบงแยกหนาที่งานอยางชัดเจนวาบุคคลใดเปนผูมีอํานาจสูงสุด 2. ทําการสั่งซื้อทรัพยสินที่ไดลงความเห็นแลววาควรใหมีการจัดซื้อ ซึ่งเปนการสั่งซื้อโดยวาจาจะ ไมมีการทําเปนเอกสาร เพื่อใชเปนหลักฐานในการประกอบการสั่งซื้อทรัพยสินนั้น 3. เมื่อไดรับทรัพยสินที่ไดทําการสั่งซื้อไป องคก รจะไมมีการกําหนดมาตรการปองกันและรักษา ทรัพยสินและไมมีการมอบหมายหนาที่งานใหผูรับผิดชอบในการดูแลรักษาทรัพยสินนั้น 4. องคกรมีการบันทึกการจัดซื้อทรัพยสินเปนรายการคาใชจายขององคกร โดยไมไดมีการจัดทํา ทะเบียนสินทรัพยไวเปนลายลักษณอักษร


93

ขั้นตอนการจัดซื้อและดูแลรักษา

ขั้นที่ 1

จัดประชุมปรึกษาหารือ ภายในองคกร

ขั้นที่ 2

สั่งซื้อทรัพยสิน

ขั้นที่ 3

รับทรัพยสิน

ขั้นที่ 4

บันทึกบัญชีการจายเงิน

ภาพที่ 3-11ขั้นตอนการจัดซื้อและดูแลรักษา


94 5. ดานการผลิต หนาที่และหลักการที่สาํ คัญเกีย่ วกับการผลิตและการใหบริการ องคก รมีก ารวางแผนการผลิตของการดําเนินงานรวมถึงการประมาณวัตถุดิบตางๆที่ จําเปนตองใชในการผลิตเพื่อทําใหเกิดความมีประสิทธิภาพในการผลิตและใหบริการ อีกทั้งในดาน การดําเนินการผลิตจะมีการกําหนดอํานาจและมาตรฐานของสินคาไวอยางชัดเจน แตจะไมมีการ บริหารจัดการสินคาคงเหลือ ขั้นตอนการผลิตและการใหบริการ 1.มีการประชุม ปรึกษาในการวางแผนการดําเนินการผลิตและบริการ รวมถึงการประมาณการ วัตถุดิบในการซื้อและการใชครั้งตอไป เพื่อกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบงานของพนักงาน 2. ดําเนินการผลิตและจัดเก็บผลผลิตตามแผนการที่ไดวางไว โดยจะมีการกําหนดอํานาจในการสั่ง ผลิตหรือใหบริการจากผูมีอํานาจสูงสุด และยังไดมีการกําหนดมาตรฐานของสินคาไวอยางชัดเจน 3. ดานการบริหารสิน คาคงคลังขององคกรยังไมมีนโยบายในการตรวจนับ จัดเก็บ และจัดทํา รายงานสินคาคงเหลืออยางเปนระบบระเบียบ รวมถึงไมมีการแบกแยงหนาที่ความรับผิดชอบของ การจัดการสินคาอยางชัดเจน


95

ขั้นตอนการผลิตและบริการ

ขั้นที่ 1

ขั้นที่ 2

ขั้นที่ 3

จัดประชุมวางแผนการผลิต และบริการ

ดําเนินการผลิต

การบริหารสินคาคงคลัง

ภาพที่ 3-12ขั้นตอนการผลิตและบริการ


96 6. ดานบุคลากรและเงินเดือนคาแรง หนาที่และหลักการที่สาํ คัญเกีย่ วกับบุคลากรและเงินเดือนคาแรง องคก รไม มี แผนกในดา นการจัด หาคนงานโดยตรง ส ว นใหญใ นการรับ คนงานหรื อ เลือกสรรหาคนงานจะมีการประชุมกันระหวางคนในครอบครัว การรับบุคลากรหรือคนงานเขา ทํางานไมไดมีการกําหนดทักษะ ความสามารถหรือวุฒิการศึกษาที่ชัดเจน ขั้นตอนการสรรหา กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบและการใหคาตอบแทนแกบุคลากร 1. การสรรหาบุคลากรมีการรับพนักงานโดยไมไดกําหนดคุณสมบัติที่สําคัญไว จะพิจารณาเพียง เล็กนอย และไมไดมีการเผยแพรขอมูลอยางทั่วถึง และไมไดกําหนดกระบวนการคัดเลือกเพื่อใหได บุคลากรที่เหมาะสมกับตําแหนงงานที่สุด หากมีการรับเขาทํางานแลว จะเรียนรูงานกันไปเองซึ่ง นั่นไมใชสิ่งที่ถูกตองเพราะอาจทําใหไมไดบุคลากรที่มีความรู ความสามารถตรงกับตําแหนงงาน นั้นๆ จนกอใหเกิดการทํางานที่ไมไดประสิทธิภาพที่ดีพอ 2. การมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบ หากมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกี่ยวกับการมอบหมาย งานจะไมไดมีการจัดทําเปนลายลักษณอักษร และไดมอบหมายหนาที่หลายๆอยางใหแตละคน โดยไมมีการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของแตละคนเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน ซึ่งจะ ทําใหบุคลากรไมสามารถปฏิบัติงานไดตรงตามวัตถุประสงคการดําเนินงานได 3. การฝก อบรม มีการพิจ ารณาความตองการฝกอบรมของบุคลากรเพื่อพัฒนาทักษะ และจะ จัดสรรงบประมาณทรัพยากรเครื่องมือและการจัดฝกอบรมใหกับบุคลากร หากคิดวา ประเด็นการ อบรมมีประโยชน เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจและการเจริญเติบโตในอนาคต 4. การจายคาตอบแทน ไม มีการจัดทําแนวทางการปฏิบัติเรื่องคาตอบแทนและไมมีก ารบันทึก เวลาปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะทําใหไมมีห ลัก ฐานดานขอกําหนดหนาที่ของพนัก งานกับ หลักฐานในการทํางานซึ่งมีความสําคัญตอการจายเงินเดือน และทําการจายคาจางใหกับลูกจาง แตละคนเปนรายวัน ซึ่งนั่นเปนความตองการของลูกจางเอง


97

ขั้นตอนการจัดการบุคลากรและเงินเดือนคาแรง

ขั้นที่ 1

การประชุม และสรรหา บุคลากร

ขั้นที่ 2

การมอบหมายหนาที่ความ รับผิดชอบ

ขั้นที่ 3

การฝกอบรม

ขั้นที่ 4

การจายคาตอบแทน

ภาพที่ 3-13ขั้นตอนการจัดการบุคลากรและคาแรง


98

ศูนยการเรียนรูตนแบบ บานรักษพอเพียง สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน องคประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ขอสรุป

1. สภาพแวดลอมการควบคุม 1.1 ปรัชญาและรูป แบบการทํางานของ ผู บ ริ ห ารมี ทั ศ นคติ ที่ ดี เ ยี่ ย มและมี ก าร ผูบริหาร สนับสนุนการปฏิบัติหนาที่งานของบุคลากร ภายในองคกร อีกทั้งยังมีความมุงมั่นอยาง ชัดเจนเพื่อทําใหองคกรบรรลุเปาหมาย แต ยังไมมีก ารแบงแยกหนาที่งานและติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานนั้นๆอยางชัดเจน รวมถึงการใหความสําคัญเกี่ยวกับการจัดทํา รายงานทางการเงิ น งบประมานการ ดําเนินงานตางๆภายในองคกร ซึ่งสิ่งเหลานี้ จะทําใหมีความเสี่ยงเกิดขึ้นจนทําใหสงผล กระทบตอองคกรในอนาคตได องค ก รได มี ก ารส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให พนักงานทุกคนมีความซื่อสัตยและจริยธรรม ในองค ก ร และมี ก ารกํ า หนดสิ่ งจู ง ใจเมื่ อ พนักงานมีความซื่อสัตยและถือปฏิบัติตาม จริยธรรมโดยจะเปน การใหรางวัลเปนครั้ง คราวไปเท า นั้ น แต ยั ง ไม มี ก ารกํ า หนด ระเบี ย บ กฎเกณฑ แ ละข อ บั ง คั บ ต า งๆ เกี่ ย วกับ การปฏิบัติงานดา นความซื่อสัต ย และจริยธรรมที่เปน ลายลักษณอักษรอยาง ชั ด เ จ น ซึ่ ง ทํ า ใ ห อ ง ค ก ร ไ ม ส า ม า ร ถ ดําเนินการกับพนักงานไดเมื่อมีขอผิดพลาด เกิดขึ้น ตารางที่ 3-3 สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน

1.2 ความซื่อสัตยและจริยธรรม


99

สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ) องคประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน / ขอสรุป 1.3 ความรู ทัก ษะและความสามารถ องค ก รไม ไ ด มี ก ารกํ า หนดระดั บ ความรู ของบุคลากร ทั ก ษะและความสามารถของพนั ก งาน ร ว ม ทั้ ง ก า ร จั ด ทํ า เ อ ก ส า ร บ ร ร ย า ย คุณลักษณะของงาน การฝกอบรมพนักงาน เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน และการประเมินผล การปฏิบัติงาน 1.4 โครงสรางองคกร

มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบ แตยัง ไมมีความชัดเจนมากนัก โดยแคทําความ เข า ใจร ว มกั น ว า บุ ค คลใดในองค ก รที่ มี อํา นาจการตั ด สิ น ใจสู ง สุ ด รวมทั้ ง การจั ด โครงสรางองคกรนั้นยังไมมีความเหมาะสม เนื่ อง จาก พ นั กง าน แต ล ะ ค นมี ห น าที่ รับผิดชอบงานขององคกรทับซอนกัน

1.5 การมอบอํ า นาจและหน า ที่ ค วาม มี ก าร มอบห มายอํ าน าจ หน าที่ ความ รั บ ผิ ด ชอบแต ยั ง ไม มี ค วามเหมาะสม รับผิดชอบ เนื่องจากหนาที่งานมีความทับซอนกันซึ่งจะ ทําใหยากตอการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงาน องค ก รไม มี ก ารกํ า หนดมาตรฐานหรื อ ข อ กํ า หนดว า จ า งบุ ค ลากรที่ เ หมาะสม รวมถึงการจัดปฐมนิเทศใหกับพนักงาน และ การประเมินผลการปฏิบัติงานดวยเนื่องจาก ธุรกิจเปนธุรกิจครอบครัว ตารางที่ 3-3 สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ)

1.6 นโยบายวิธีบริหารดานบุคลากร


100

สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ) องคประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ขอสรุป จึง ไมมี ก ารกํ าหนดแบบแผนเป น ทางการ มากนั ก แตจ ะมี ก ารลงโทษเป น ครั้ง คราว ตามความผิดเทานั้น

1.7 กลไกการติดตามการตรวจสอบการ องคกรยังไมมีคณะกรรมการตรวจสอบ และ ปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานภายในองคกรใหเปนไปตาม ระบบการควบคุ ม ภายใน รวมถึ ง การมี ผู ต รวจสอบภายใน ซึ่ ง จะทํ า ให อ งค ก รมี ความเสี่ยงอยางมากในการดําเนินงานตอไป ในอนาคต

2. การประเมินความเสี่ยง 2.1 วัตถุประสงคระดับหนวยรับตรวจ

ในระดั บ องค ก รหรื อ หน ว ยรั บ ตรวจมี ก าร กํ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค แ ละมี ก ารชี้ แ จ ง ให พนั ก งานทร าบแต ไ ม มี ก ารวั ด ผลการ ปฏิบัติงานในภาพรวมที่ชัดเจนเพื่อกําหนด เปาหมายขององคกรในอนาคต

2.2 วัตถุประสงคระดับกิจกรรม

มีก ารกํา หนดวั ตถุ ป ระสงค ระดับ กิ จ กรรม และมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคหลัก ขององคกร มีการวัดผลการปฏิบัติงานในแต ละกิจกรรมเปนครั้งคราว พนักงานระดับลาง ไม มี ส ว นร ว มในการกํ า หนดหรื อ แสดง ความเห็นเกี่ยวกับวัตถุประสงคขององคกร

ตารางที่ 3-3 สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ)


101

สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ) องคประกอบของการควบคุมภายใน 2.3 การระบุปจจัยเสี่ยง

ผลการประเมิน / ขอสรุป ไม มี ก ารประชุ ม เพื่ อ ระบุ ค วามสี่ ย งที่ อ าจ เกิดขึ้นทั้งจากภายในและภายนอกองคกร

2.4 การวิเคราะหความเสี่ยง

เนื่องจากองคกรไมมีการระบุความเสี่ยงจึง ไมมีการวิเคราะหความเสี่ยงในดานตางๆ

2.5 การกํ า หนดวิ ธี ก า รค วบ คุ ม เพื่ อ จากการที่ องค ก รไม มีก ารวิ เ คราะหค วาม เสี่ยงองคก รจึงมีความเสี่ยงในหลายๆดาน ปองกันความเสี่ยง ตั้งแตการรับ-จายเงิน การควบคุมสินทรัพย การควบคุมบุคลากรในการเขาถึงสินทรัพย เนื่องจากองคกรยึดแนวทางการดําเนินงาน แบบครอบครัวจึงไมมีการทําบัญชีที่ถูกตอง ตามหลักการบัญชี ไมมีการกําหนดนโยบาย ทางการบัญชี ไมมีการประเมินความเสี่ย ง เพื่อที่จะออกแบบและกําหนดกิจ กรรมการ ควบคุม อีกทั้งในการรับ-จายเงิน และการซื้อ ขาย ไมมีออกแบบเอกสารและใชเอกสารทั้ง ภายในและภายนอกองค ก ร รวมถึ ง การ อนุมัติเบิกจายเงินตางๆ ไมมีแบงแยกหนาที่ ของผูมีอํานาจในการสั่งจายอยางชัดเจนไม วาบุคคลใดในครอบครัวสามารถที่จะนําเงิน สวนกลางไปใชหรือการซื้อวัตถุดิบไดทุกคน เวนแตคนงานที่ตองไดรับความเห็นชอบ ตารางที่ 3-3 สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ)

3. กิจกรรมการควบคุม


102

สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ) องคประกอบของการควบคุมภายใน

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

ผลการประเมิน / ขอสรุป จากผูบริหาร ไมมีการควบคุม ดูแลปองกัน ทรัพยสินตางๆ ไมวาจะเปนผลิตภัณฑน้ํายา เอนกประสงคตางๆ ไก เปด ไข เห็ด ทั้งการ จัดตั้งเวรยาม และการติดตั้งกลองวงจรปด ในจุดที่สําคัญเนื่องจากในพื้นที่เปนแบบเปด จึงมีความเสี่ย งที่ท รัพยสินจะสูญ หาย และ การลั ก ขโมยจากคนงานได และไมมี ก าร กําหนดมาตรการบทลงโทษแก บุคลากรที่ กระทําผิด ในดา นสารสนเทศ องคก รไม มีก ารจัด ทํ า รายงานทางการบัญ ชี ไมมีก ารกําหนดผั ง บัญชีของกิจการ ทําเพียงแตบัญชีครัวเรือน เพื่อใหรูถึงรายรับ-รายจายในแตละวัน ไมมี การกําหนดกฎระเบียบตางๆเปนลายลักษณ อัก ษร ไมมีก ารจั ดทํ ารายงานที่จํ าเป น ต อ ภายในและภายนอกองค ก ร ระบบการ สื่ อ สารภายในและภายนอกเชื่ อ ถื อ ได พอสมควร ทั้งทางโทรศัพทหรืออินเตอรเน็ต ไมมีการสื่อสารดานการควบคุมภายในใหแก บุ ค ลากรทราบ เนื่ อ งจากไม มี ร ะบบการ ควบคุมภายในที่ชัดเจน

ตารางที่ 3-3 สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ)


103

สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ) องคประกอบของการควบคุมภายใน 5. การติดตามประเมินผล

ผลการประเมิน / ขอสรุป ประสิท ธิ ภ าพและประสิท ธิ ผ ลยั ง ไมเ พี ย ง พอที่ จ ะทํ า ให ก ารดํ า เนิ น งานขององค ก ร บรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ซึ่งมีบาง กิจกรรมที่ตองปรับปรุงกระบวนการควบคุม เพื่อใหก ารดําเนิน งานมีป ระสิท ธิภาพและ ประสิท ธิผลยิ่งขึ้น จึงตองมีก ารกําหนดวิธี และแผนการปรับ ปรุงการควบคุมภายในที่ เหมาะสมใหกับองคกร

ตารางที่ 3-3 สรุปผลการประเมินองคประกอบของการควบคุมภายใน(ตอ)


104 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน ขั้นตอนการ สภาพแวดลอมการ ดําเนินงาน ควบคุม 1.ดานการบริหาร 1.ผู บ ริ ห า ร มี ค ว า ม มุงมั่นในการดําเนินงาน ใ น ก า ร บ ร ร ลุ วั ต ถุ ประสงค ข ององค ก ร ดา นความพอเพี ย งแต ไม ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ รายงานทางการเงิ น แ ล ะ ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม ภายใน

ปจจัยเสี่ยง 1.พ นั ก ง า น ล ะ เ ล ย ก า ร ปฏิ บัติ ง านเนื่อ งจากไม มี ก าร กําหนดกฎ ระเบียบที่แนนอน 2.ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข า ด ประสิทธิภาพเทาที่ควร

3.การทํา งานซั บ ซอ น อาจทํ า ให ง านล า ช า ไม เ ป น ไปตาม เป าหมาย เนื่ อ งจากไม มีก าร 2. ผูบริหารไมมีความรู กําหนดหนาที่ๆแนนอน ท า ง ด า น ก า ร จั ด ทํ า รายงานทางการบั ญ ชี และการควบคุมภายใน

กิจกรรมการควบคุม

สารสนเทศและ การสื่อสาร 1.ไมการวางแผนประเมิน 1.ไ ม มี ก า ร จั ด ทํ า หรือวัดผลการปฏิบัติงาน เ อ ก ส า ร เ กี่ ย ว กั บ อยางตอเนื่อง ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ก า ร ปฏิ บั ติ ง านโดยรวม 2.ไมมีการแบงแยกหนาที่ เปนรายลักษณอักษร และกําหนด 2.ไ ม มี ร ะ บ บ สารสนเทศในการ จั ด เ ก็ บ ข อ มู ล ใ น ระบบคอมพิวเตอร

การติดตามและ ประเมินผล 1.ไม มี ก ารติ ด ตาม ประเมินผลในแตละ ส ว นงาน มี แ ต ก าร ประเมิน ผลโดยรวม เปนครั้งคราวเทานั้น


105 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ ดําเนินงาน

2.ดานการรับ ชําระเงิน

สภาพแวดลอมการ ควบคุม 3.ผังโครงสรางองคกรมี ความซั บ ซ อ นเพราะ ผู บ ริ ห า ร ไ ม มี ก า ร แบ ง แยกหนา ที่ง านใน แตละบุคคลอยาง 1.ผู บ ริ ห า ร ไ ม มี ก า ร กํ า หนดกฎ ระเบี ย บ เกี่ ย วกั บ การรั บ เก็ บ รั ก ษาเงิ น การบั น ทึ ก บัญชีดานการรับเงิน

ปจจัยเสี่ยง

กิจกรรมการควบคุม

สารสนเทศและ การสื่อสาร

1.ตัว เลขในการบัน ทึก การรั บ 1.ไมมีก ารจัด ทําและเก็บ 1.ไ ม มี ก า ร จั ด ทํ า เงินอาจผิดพลาด หลักฐานการบันทึกบัญชี เ อ ก ส า ร เ กี่ ย ว กั บ ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ก า ร 2.อาจเกิ ด การทุ จ ริ ต ขึ้ น ด า น 2.ไ ม มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ปฏิ บั ติ ง านด า นการ การรับเงินหรือการยักยอกเงิน ย อ ด เ งิ น ที่ ไ ด รั บ กั บ รั บ เ งิ น เ ป น ร า ย หลั ก ฐาน และยอดเงิ น ลักษณอักษร 2.ไ ม มี บุ ค ล า ก ร ที่ มี 3.การบันทึกบัญชีไมครบถวน รวมทุกสิ้นวัน ความรูดานบัญชีการรับ เงิน

การติดตามและ ประเมินผล

1.ไม มี ก ารติ ด ตาม ป ร ะ เ มิ น ผ ล ด า น ความเหมาะสม ตางๆดานการรับเงิน


106 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ ดําเนินงาน

สภาพแวดลอมการ ปจจัยเสี่ยง ควบคุม 3.ไ ม มี ก า ร บั น ทึ ก รายการขายหรือรับเงิน ทุกรายการ และถูกสอบ ทานโดยผูมีอํานาจ 3.ด า น ก า ร 1. ผู บ ริ ห า รไม มี ก า ร 1. พนักงานเกิดการทํางานทับ เ บิ ก จ า ย แ ล ะ มอบหมายงานให กั บ ซ อ น กั น ทํ า ใ ห เ กิ ด ค ว า ม ชําระเงิน พนักงานอยางชัดเจน บกพรองในการเบิกจายเงินได งาย 2. องค ก รไม มี ก าร กํา หนดข อ ปฏิ บั ติ ด า น 2. มี ก ารทุ จ ริ ต ในการเบิ ก ความซื่อสัตยและความ จายเงินเกิดขึ้นภายในองคกร มีจริยธรรม

กิจกรรมการควบคุม

1. ไม มี แ บง แยกหน า ที่ ความรับผิดชอบงานดาน เบิ ก จ า ยเงิ น โดยเฉพาะ พ ร อ ม ทั้ ง กํ า ห น ด ผู มี อํานาจในการอนุมัติเ บิก จายเงินใหมีความชัดเจน

สารสนเทศและ การสื่อสาร 2.ไ ม มี ร ะ บ บ สารสนเทศในการ จั ด เก็ บ ข อ มู ล ด า น การรับเงิน 1. องค ก รไม มี ก าร จั ด ทํ า เอกสารและ จั ด เ ก็ บ เ อก ส า ร ที่ เกี่ยวของกับการเบิก จายเงิน

การติดตามและ ประเมินผล

1. ไมมีการสอบทาน นโยบาย กฎระเบียบ แ ล ะ ข อ บั ง คั บ เกี่ยวกับการเบิกจาย และชําระเงิน

2.ไมมีการจัดทํา 2. ไมมีการติดตาม 2. องคกรไมมีการกําหนด รายงานการเบิกจาย ผลการปฏิบัติงาน บ ท ล ง โ ท ษ ใ น ก ร ณี ที่ และชําระเงินทุกสิน้ ของพนักงาน พนักงานกระทําความผิด วัน


107 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ ดําเนินงาน

สภาพแวดลอมการ ควบคุม 3. อ ง ค ก ร ไ ม มี ก า ร กํ า หนดความรู ค วาม สามารถและทักษะของ ผู ป ฏิ บั ติ ง านด า นการ เบิ ก จ า ยเงิ น ไว อ ย า ง ชัดเจน

ปจจัยเสี่ยง

กิจกรรมการควบคุม

สารสนเทศและ การสื่อสาร 3. พนัก งานทํ า งานอยา งไม มี รวมทั้งไมมีการอนุมัติทุก 3. องค ก รไมมี ก าร ประสิท ธิภาพ เพราะวางานที่ ครั้งที่มีการเบิกจายเงิน บั น ทึ ก บั ญ ชี โ ด ย ได รั บ มอบหมายไม ต รงกั บ ระบบคอมพิวเตอร ความสามารถของตนเอง 3.ไ ม มี ก า ร กํ า ห น ด นโยบายเกี่ย วกับ การรั บ พนั ก งานเข า ทํ า งานใน องคกร 4.ไม มี ก า ร กํ า ห น ด ใ ห พ นั ก ง า น ต อ ง เ ก็ บ หลั ก ฐานการชํ า ระเงิ น และมีการจดบันทึกทุกสิ้น วัน

การติดตามและ ประเมินผล


108 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ สภาพแวดลอมการ ดําเนินงาน ควบคุม 4.ดานการจัดซื้อ 1. ผู บ ริ ห า รไม มี ก า ร และดู แ ลรั ก ษา กํ า ห น ด ม า ต ร ก า ร สินทรัพย ปองกัน รัก ษาทรัพยสิน และไมมีการมอบหมาย ความรับผิดชอบในการ ดู แ ล รั ก ษาท รั พ ย สิ น อยางชัดเจน

ปจจัยเสี่ยง

1. เกิ ด การสู ญ หายของ ทรัพยสินเนื่องจากองคกรไมมี ก า ร ค ว บ คุ ม ดู แ ล ป อ ง กั น ทรั พ ย สิ น ต า งๆ ไม ว า จะเป น ผลิตภัณฑน้ํายาเอนกประสงค ตางๆ ไก เปด ไข เห็ด โรงเรือน วัสดุ อุป กรณ ทั้งการจัดตั้งเวร ยาม และการติดตั้งกลองวงจร 2. องค ก รไม มี ก าร ปดในจุดที่สําคัญ กํ า ห น ด ร ะ เ บี ย บ กฎเก ณฑ ข อบั งคั บ 2. องคก รมีการทุจริตเกิดขึ้น ต า ง ๆ ใ น ด า น ค ว า ม ด า น ก า ร จั ด ซื้ อ สิ น ท รั พ ย ซื่อสัตยและจริยธรรม เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม มี ข อ กํ า ห น ด เกี่ ย วกั บ ความซื่ อ สั ต ย แ ละ จริยธรรมไวอยางชัดเจน

กิจกรรมการควบคุม 1. ไมมีการจัดทําทะเบียน สิ น ท รั พ ย ไ ว เ ป น ล า ย ลัก ษณอักษรยากตอการ ตรวจสอบและวั ด มู ล ค า สินทรัพย

สารสนเทศและ การสื่อสาร 1. องค ก รไม มี ก าร จั ด ทํ า เอกสารและ จั ด เ ก็ บ เ อก ส า ร ที่ เ กี่ ย ว ข อง กั บ ก า ร จัดซื้อและดูแลรักษา สินทรัพย

2.ไมมีการแบงแยกหนาที่ ความรับผิดชอบงานดาน 2.อง ค ก ร ไม มี ก า ร การจัด ซื้อและดูแลรักษา จัดเก็บขอมูลเอกสาร สินทรัพยอยางชัดเจน ที่สําคัญเกี่ยวกับการ จัดซื้อและไมกําหนด 3. ไม มี ก ารกํ า หนด ห น า ที่ ค ว า ม มาตรการบทลงโทษแก รั บ ผิ ด ชอบใ นกา ร บุ ค ล า ก ร ที่ ก ร ะ ทํ า ผิ ด ดูแลรัก ษาสิ น ทรัพ ย เกี่ยวกับการจัดซื้อ อยางชัดเจน

การติดตามและ ประเมินผล 1. ไมมีการสอบทาน นโยบาย กฎระเบียบ แ ล ะ ข อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ การจั ด ซื้ อ แ ล ะ ดู แ ล รั ก ษ า สินทรัพย 2. องคกรไมมีระบบ การควบคุ ม ภายใน ด า นการจั ด ซื้ อ และ ดูแลรัก ษาสิน ทรัพย ที่ดีพอ


109 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ ดําเนินงาน

5.ดานการผลิต

สภาพแวดลอมการ ควบคุม 3. องค ก รไม มี ก าร กํ า หนดระดั บ ความรู ความสามารถของ พนั ก งานในการดู แ ล รั ก ษ า สิ น ท รั พย แ ล ะ จัด ทําเอกสารบรรยาย ข อ บ ข า ย ง า น อ ย า ง ชัดเจน

ปจจัยเสี่ยง

กิจกรรมการควบคุม

3. สินทรัพยเกิด การชํารุดสูญ หายขึ้นเนื่องจากพนักงานขาด ความรู ค วามสามารถในการ ดู แ ลรั ก ษาสิ น ทรั พ ย แ ละไม มี การอบรมใหกับพนักงาน

4.ไ ม มี ก า ร กํ า ห น ด วัต ถุป ระสงคข องการใช ผูใชงานสินทรัพยที่ชัดเจน แ ล ะ ไ ม มี ก า ร อ บ ร ม วิธีการใชที่ถูกตอง

5.ไม มี ก ารบั น ทึ ก บั ญ ชี เกี่ยวกับการซื้อ-ขาย การ เบิกใช ของสินทรัพย 1. ผู บ ริ ห ารไม มี ก าร 1. การดํ า เนิ น การผลิ ต ไม มี 1. ไม มีก ารวางแผนและ กําหนดนโยบายในการ ประสิทธิภาพมากพอ เนื่องจาก กํ า หนดผู มี อํ า นาจการ ดํ า เนิ น การผลิ ต ของ ไมไดมีการวางแผนไวลวงหนา ตั ด สิ น ใจเกี่ ย วการการ องคกรไวอยางชัดเจน ผลิตไวอยางชัดเจน

สารสนเทศและ การสื่อสาร

การติดตามและ ประเมินผล

1. องค ก รไม มี ก าร แ จ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ใ ห ผู มี ส ว น เกี่ ย วข อ งรั บ ทราบ เพื่อนําไปปฏิบัติ

1. องค ก รไม ทํา การ สอบทานกระบวน การในการผลิตใหมี ความเหมาะสมและ ถูกตอง


110 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ ดําเนินงาน

สภาพแวดลอมการ ควบคุม 2. องคก รไม ได มีก าร กํา หนดความรู ทั ก ษะ และความสามารถของ พนักงาน 3. ไมมีนโยบายและการ ม อ บ ห ม า ย อํ า น า จ ห น า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ ห กั บ พนักงาน

ปจจัยเสี่ยง

กิจกรรมการควบคุม

2. ผลการปฏิ บั ติ ง านของ พนั ก งานไม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สงผลใหผลผลิตขององคกรไม มีคุณภาพ

2. องคกรไมมีการกําหนด นโยบายและมาตรฐาน เกี่ ย วกั บ สิ น ค า เป น ลาย ลักษณอักษร

3. พนั ก งานเกิ ด หน า ที่ ค วาม รับผิดชอบของงานทับ ซอนกัน ทําใหการดําเนินการผลิตไมมี ประสิทธิภาพ

สารสนเทศและ การสื่อสาร 2. ไม มี ก ารจั ด ทํ า รายงานเกี่ยวกับการ บริหารสินคาคงคลัง เช น การตรวจนั บ การเข า -ออก ของ สินคา

3. ไ ม มี จั ด ฝ ก อ บ ร ม พนั ก งา น ใ ห เ ข าใ จ ถึ ง กระบวนการผลิ ต และ 3.อง ค ก ร ไม มี ก า ร สามารถนําไปปฏิบัติงาน จั ด ทํ า เ อ ก ส า ร ที่ ได เ กี่ ย ว ข อ ง แ ล ะ ใ ช 4. เกิ ด การสูญ หายและชํ ารุ ด คอมพิวเตอรใ นการ ของสิ น ค า แต องค ก รไม ไ ด 4. ไ ม มี ก า ร กํ า ห น ด บั น ทึ ก ข อ มู ล ข อ ง รับทราบ นโยบา ยเกี่ ย ว กั บ กา ร สินคาคงเหลือ จั ด การบริ ห ารสิ น ค า คง คลัง รวมถึงจัดทําเอกสาร

การติดตามและ ประเมินผล 2. ไมมีการสอบทาน ระบ บกา รจั ด กา ร บ ริ ห า ร เ กี่ ย ว กั บ สิ น ค า คงคลั ง อย า ง ตอเนื่อง 3. องค ก รไม มี ก าร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง พนักงาน โดยดูจ าก ประสิ ท ธิ ภ าพของ กระบวนการผลิต


111 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ ดําเนินงาน

สภาพแวดลอมการ ควบคุม

ปจจัยเสี่ยง

กิจกรรมการควบคุม

สารสนเทศและ การสื่อสาร

การติดตามและ ประเมินผล 4, ไมมีการสอบทาน รายงานการเขา-ออก ของสิ น ค า คงเหลื อ อยางตอเนื่อง

1.ไมมีการกําหนดทักษะ ความสามารถและ เผยแพรขอมูลใหทั่วถึงใน การสรรหาบุคลากร

1.อ ง ค ก ร ทํ า ก า ร เผยแพร ข อ มู ล การ สรรหาบุคลากรไดไม ทั่วถึง

1.ไ ม มี ก า ร บั น ทึ ก เวลาการปฏิบัติง าน ข อ ง บุ ค ล า ก ร ที่ ปฏิบัติงานแลวในแต ละวัน

2.ไม ไ ด ป ระเมิ น ผลการ ปฏิบั ติง านของพนั ก งาน ซึ่ ง ต อ งจั ด ทํ า เป น ลาย ลักษณอักษร

2.อง ค ก ร ไม มี ก า ร จั ด ทํ า เ อ ก ส า ร เกี่ ย วกั บ คํ า อธิ บ าย หน า ที่ ง านในแต ล ะ ตําแหนงงาน

และรายงานในการตรวจ นั บ รวมทั้ ง การจั ด เก็ บ สินคาคงเหลือทุกวัน 6.ด า นบุ ค ลากร 1.ไ ม มี ก า ร กํ า ห น ด 1.บุค คลภายนอกไม ส ามารถ แล ะ เ งิ นเ ดื อ น กระบวนการคั ด เลื อ ก รับทราบในการแจงประกาศรับ คาแรง บุคลากร สมั ค รงาน อาจทํ า ให มี ผู ม า สมัครนอย 2.ไม มี ก า ร พิ จ า ร ณ า อนุ มั ติ ก า ร เ ลื่ อ น ขั้ น 2.เนื่ อ งจากไม มี ก ารกํ า หนด เ งิ น เ ดื อน แ ล ะ ไม ไ ด คุณสมบัติที่ตองการไว อาจทํา จั ด ทํ า เป น ลายลั ก ษณ ให บุ ค ลากรที่ ม าสมั ค รงานมี อักษร คุณ สมบัติ ไม ต รงกั บ องค ก รที่ ตองการ

2.ไม ไ ด ป ระเมิ น ผล การปฏิ บั ติ ง านของ บุ ค ลากรว า เป น ไป ตามมาตรฐาน


112 ตารางที่ 3-4 สรุปผล 5 องคประกอบการควบคุมภายในกับการดําเนินงานทั้ง 6 ดาน(ตอ) ขั้นตอนการ ดําเนินงาน

สภาพแวดลอมการ ควบคุม

ปจจัยเสี่ยง 3.ไมมหี ลักฐานการทํางานของ บุคลากร หากเกิดขอผิดพลาด จะไมมีหลักฐานวางานนี้ใคร เปนผูท ํา 4.บุค ลากรไม รู มาตรฐานการ ทํางานในตําแหนงงานของตน ทําใหไมมีตัวชี้วัดคุณ ภาพการ ทํางาน 5.ไมรูวาเกิดขอผิดพลาด ใดบาง หรือบุคลากรตอง ปรับปรุงการปฏิบัตงิ านอยางไร

กิจกรรมการควบคุม

สารสนเทศและ การติดตามและ การสื่อสาร ประเมินผล 3.ไม มี ก ารกํ า หนด ที่กําหนดหรือไม ห น า ที่ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง บุ ค ลา กรเป นลา ย ลั ก ษณ อั ก ษรอย า ง ชัดเจน


บทที่ 4 ผลการศึกษา การศึกษาปญหาพิเศษเรื่องการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยง จากการดําเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษ พอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรีคณะผูจัดทําไดทําการประมวลขอมูลและวิเคราะหขอมูล จากการสัมภาษณผูบริหารและพนักงานในธุรกิจตามแผนงานการสอบบัญชี โดยมีการรวบรวม ขอมูลเกีย่ วกับธุรกิจ การดําเนินงาน และทําความเขาใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน เพื่อทํา การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยงตามแผนงานการสอบบัญชี สามารถ สรุปผลจากการประเมินความเสี่ยงไดดังตอไปนี้ ความเสี่ยงสืบเนื่อง จากกการศึกษาลักษณะการดําเนินงานขององคกร ลักษณะโดยรวมของธุรกิจซึ่งเปนธุรกิจ เกี่ยวกับการเกษตรกรรม สามารถสรุปไดเปนประเด็นตางๆดังนี้ ประเด็นที่ 1 ผูบริหารไมมีความชํานาญในธุรกิจ และเรียนจบสาขาอื่นซึ่งไมตรงกับลักษณะของ ธุรกิจ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นการที่ผูบริหารไมไดมีความรูในการดําเนินงาน ประกอบอาชีพใน ดานนี้โดยตรง จะไมมีความรูความเขาใจเพียงพอในการบริหารจัดการงานใหดี ทั้งดานการจัดการ คน และการเกษตรกรรม เพื่อใหประสบความสําเร็จไดในระยะยาว แนวทางแกไขผูบริหารจะตองเขารับการอบรม หรือศึกษาดูงานเพื่อเรียนรูงานในดานที่ เกี่ยวของกับธุรกิจ เชน เกษตรกรรมและการปศุสัตว และตองสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ธุรกิจใหผูบริหารองคกรและสรางกรอบของงานเพื่อใหผูบริหารไดจัดการกับความไมแนนอน ความ เสี่ยงและโอกาสเพื่อสงเสริมความสามารถในการสรางคุณคาเพิ่มใหกับองคกรและผูมีผลประโยชน รวม การบริหารความเสี่ยงจะชวยใหแนใจวา องคกรจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคได


114 ประเด็นที่ 2ความหลากหลายของธุรกิจ ทําใหยุงยาก ตอการบริหารดูแล จัดการงาน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นการที่องคกรประสบกับการบริหารงานหลายอยางเนื่องจากมี ธุรกิจ จํานวนมากที่ตองบริหาร ซึ่งอาจเกิดขอผิดพลาดหรือทําใหประสิท ธิภาพการบริห ารงาน นอยลง จึงตองมีการวางแผนงานไวลวงหนาเพื่อปองกันความเสียหายจากความผิดพลาดที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคต แนวทางแกไขการทํางานในแตละชวงเวลาผูปฏิบัติงานจะตองปรับกรอบแนวความคิด ใหมเพื่อเปน ทิศทางในการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับ สถานการณที่เ ปลี่ย นไปและหาคนงาน เพิ่มเติม เพื่อชวยแบงเบาภาระงาน ผูบริหารควรทําความเขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอธุรกิจ และเหตุแห งความเสี่ย งที่เ กิ ดขึ้น ตลอดเวลา เพื่อจะไดส ามารถควบคุมไดอยางเพีย งพอและ เหมาะสมตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้น โดยการจัดการความเสี่ยงใหบรรลุวัตถุประสงคของ องคกร องคกรตองมีการวางแผนการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพื่อปองกันเหตุการณที่อาจสงผลตอ ความลมเหลว โดยมีกระบวนการเพื่อเตรียมความพรอมขององคกร ทั้งหมด 10 กระบวนการ 1) การกําหนดเปาหมายในการเปลี่ยนแปลง 2) การระบุความตองการของการเปลี่ยนแปลง 3) การเลือกการเปลี่ยนแปลงที่จําเปน 4) การประเมินความสลับซับซอน 5) การวางแผนใหพนักงานเขามามีสวนรวม 6) การเลือกใชระยะเวลาการเปลี่ยนแปลง 7) การจัดทําแผนปฏิบัติ 8) การคาดการณผลกระทบ 9) การคาดการณการตอตานจากบุคลากร 10) การทดสอบ และตรวจสอบแผนการเปลี่ยนแปลง ประเด็นที่ 3การเกิดโรคระบาดจะสงผลตอชีวิตของเปดและไก ผลกระทบที่เกิดขึ้นหากตองประสบกับชวงฤดูของโรคระบาดในสัตวปก จะทําใหเปด และไกที่เลี้ยงไวตายได สงผลตอจํานวนไขที่ออกมา จึงตองสูญเสียรายไดในสวนนี้ไป และกระทบ


115 ตอรายไดการใหบริการอบรม เนื่องจากไมมีตัวอยางสัตวในการอธิบาย แนวทางแกไข การใหวัคซีนปองกันโรคโดยสม่ําเสมอ การสุขาภิบาล เปนสิ่งสําคัญมาก ในการปองกันโรคและพยาธิไก เพราะถาการสุขาภิบาลไมดีจะเปนสาเหตุใหไกสุขภาพแยลง ไม แข็งแรงเปนโรคตางๆ ไดงาย ผูดูแลจึงควรปฏิบัติ ดังนี้ 1)ควรดูแลทําความสะอาดเลาและภาชนะตางๆที่วางไวในเลาไกและบริเวณใกลเคียงดวยน้ํายาฆา เชื้อโรค และอยาปลอยใหเลาชื้นแฉะ เพราะจะเปนที่หมักหมมของเชื้อโรค 2) สรางเลาใหอากาศถายเทไดสะดวก 3) กําจัดแหลงน้ําสกปรกรอบ ๆ บริเวณบาน เลาไก และใกลเคียง 4) อาหารไกตองมีคุณภาพดี อาหารที่กินไมหมดใหทิ้ง อยาปลอยใหเนาเสีย 5) มีน้ําสะอาดใหไกกินตลอดเวลา 6) ถามีไกปวยไมมากนักควรรีบกําจัด และจัดการเผาหรือฝงใหเรียบรอยจะชวยกําจัดโรคไดเปน อยางดี 7) อยาทิ้งซากไกลงแหลงน้ําเปนอันขาด เพราะเชื้อโรคจะแพรกระจายไปได 8) กําจัดซากไกโดยวิธีเผาหรือฝง ไมควรนําไปจําหนาย เพราะจะทําใหเกิดโรคแพรระบาดได 9) เมื่อมีโรคระบาดเกิดขึ้น เจาของไกควรติดตอหารือกับสัตวแพทยโดยเร็ว การใชวัคซีนปองกันโรคระบาดไก ถึงแมวาเราจะไดมีการสุขาภิบาลที่ดีแลว แตโดยปกติใน สิ่งแวดลอมจะมีเชื้อโรคอยู ซึ่งสามารถทําใหไกเปนโรคไดทุกเวลา เราจึงตองสรางความตานทาน โรคใหกับ ไกของเรา โดยการใชวัคซีน ปองกัน โรค ควรใหตั้งแตอายุนอยๆ และทําตามตารางที่ กําหนดอยางสม่ําเสมอ เปนวิธีการปองกันโรคที่เสียคาใชจายนอย และไดผลคอนขางดี ประเด็นที่ 4ความผันผวนของราคาสินคาเกษตร ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดความผันผวนในสินคาเกษตรมีหลาย ประการ สภาพแปรปรวนของอากาศ ราคาสินคาเกษตรในตลาดโลก ตลอดจนปริมาณพืชผลที่ ออกสูตลาด มีลักษณะไมสอดคลองกับปริมาณความตองการในแตละชวง และอีกปจจัยหนึ่งที่ สําคัญ คือ ระบบขอมูลเกี่ย วกับ สินคาเกษตร เมื่อขอมูลไมสมบูรณก็ทําใหก ารคาดการณราคา ผิดพลาด เกษตรกรสวนใหญวางแผนการผลิตโดยอาศัยขอมูลราคาในอดีต โดยเกษตรกรจะแห ตามกันในการผลิตสินคาเกษตร ที่มีราคาดีในขณะนั้น ทําใหผลผลิตออกมาลน ตลาด สงผลให


116 ราคาตกต่ํา และทํา ให หั น ไปปลู ก พื ช อื่ น แทน ทํ า ให ร าคากลั บ มาสู ง อี ก เนื่ อ งจากมี ผ ลผลิ ต ตอบสนองความตองการลดลง ราคาสินคาเกษตรจึงขึ้นๆ ลงๆ ไมมีเสถียรภาพ และมีความผันผวน สูง แนวทางแกไขศึกษาและติดตามราคาจากตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย ซึ่งเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ.2542 โดยมี วัตถุประสงค คือ การเปนกลไกและเครื่องมือสําหรับเกษตรกร ผูผลิตและแปรรูปสินคาเกษตร และ บุคคลที่เกี่ยวของอื่นๆ ในการบริหารความเสี่ยงจากความผันผวน ของราคาสินคาเกษตรใหดีขึ้น ให มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตลาดสินคาเกษตรลวงหนา จึงเปนกลไกหนึ่งที่ทําใหขอมูลเรื่องราคา กลายเปน ขอมูล สาธารณะ การคาดหมายเรื่องราคา เปลี่ย นแปลงไปตามขอมูลใหม ตามสภาวะอุป สงคและ อุปทานที่เปลี่ยนแปลงไป แตตองระวังเชนเดียวกันวา ขอมูลที่ไดรับนั้นถูกตองเชื่อถือได และไมได เปนอุปสงคหรืออุปทานเทียม กระบวนการในการแสวงหาขอมูลใหไดราคาที่เหมาะสม เราอาจ เรียกวาเปน PRICE DISCOVERY ซึ่งเปนประโยชนตอผูที่เกี่ยวของกับสินคาเกษตร ประเด็นที่ 5ปญหาอุทกภัยสงผลตอเกษตรกรรมและปศุสัตว ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นอุทกภัย คือ มหันตภัยรายที่เกิดขึ้นโดยเงื้อมมือของธรรมชาติ และเปนสิ่งที่ไมสามารถควบคุมได โดยน้ําทวมออกเปนประเภทใหญ ๆ ไดดังนี้ คือ น้ําปาไหล หลาก (น้ําทวมฉับพลัน), น้ําทวมขัง (น้ําลนตลิ่ง) หากเกิดปญหาดังกลาวขึ้น จะสงผลรายแรงตอ ธุรกิจอยางมาก ทั้งทางตรงและทางออม แนวทางแกไขควรจัดระบบการเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดําริ "เกษตรทฤษฎี ใหม" โดยเลือกชนิดพืชที่ทนตอน้ําทวมขังเพื่อปลูกในระบบเกษตรผสมผสานหลากหลาย เพื่อเพิ่ม ความมั่นคงและลดความเสี่ยงในการเกษตรไดอยางเห็นเปนรูปธรรม และการปลูกหญาแฝกแกไข ปญหาจากเรื่องน้ําทั้งน้ําแลง น้ําทวม และดินถลม อีกทั้งองคกรควรมีการปองกันปญหาที่เกิดจาก ปจจัยภายนอกคือน้ําที่จะหลากเขาทวมโดยใชมาตรการปดลอมพื้นที่หรือชุมชนที่ไมตองการใหถูก น้ําทวมโดยการกอสรางระบบปองกันน้ําทวมโดยรอบ ไดแก การกอสรางคันกั้นน้ําตามแนวลําน้ํา หรือใกลเคียง การยกระดับของถนนบางสายใหสูงกวาระดับน้ําหลากสูงสุด รวมถึงการกอสราง


117 ประตูน้ําตามคู คลองตางๆ เปนตน เพื่อปดกั้นไมใหน้ําจากภายนอกเขามาในพื้นที่ปองกันได มีการ แกไขปญหาที่เกิดจากปจจัยภายในคือฝนที่ตกหนักลงในพื้นที่โดยตรงโดยการแกไขปรับปรุงระบบ ระบายน้ําใหมีประสิทธิภาพสามารถรองรับอัตราการไหลไดอยางเหมาะสม และจัดหาพื้นที่บาง สวนสําหรับทําเปนแกมลิงหรือบึงพักน้ําฝนชั่วคราว พรอมติดตั้งสถานีสูบน้ําเพื่อสูบน้ําระบายออก จากพื้นที่กรณีที่น้ําภายนอกสูงกวาระดับน้ําภายในพื้นที่ปองกัน และใหมีการออกแบบและกอสราง คลองระบายน้ําหรือคลองผันน้ําสายใหมเ พื่อผัน น้ําจากลําน้ําเดิมที่เคยไหลผานพื้นที่โดยตรง ออกไปทิ้งยังจุดที่ตองการ เพื่อมิใหเกิดการไหลบาเขาทวมพื้น ที่ปองกัน อีกทั้งใหมีก ารเรงออก ประกาศและบังคับใชกฎหมายผังเมืองอยางเครงครัด โดยองคกรควรใชการจัดการทรัพยากรน้ําตามแนวพระราชดําริ ผสมผสานกระบวนการ และหลักวิชาการหลากหลายแขนงเขาดวยกัน ไมวาจะเปน เทคนิคดานวิศวกรรมเพื่อสรางฝาย, เขื่อน, อางเก็บน้ํา การวางระบบชลประทานเพื่อจัดหาน้ําและนําน้ําไปใชตามพื้นที่เกษตรกรรม อีก ทั้งยังตองอาศัย กระบวนการดานเคมี , ฟสิก ส และอุตุนิย มวิท ยา เพื่อทําฝนหลวง การคิดคน เครื่องกลบําบัดน้ําเสีย เชน กังหันน้ําชัยพัฒนา ตลอดจนการปลูกปาดวยวิธีตางๆ เพื่อรักษาปาตน น้ําและปองกันน้ําทวม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระราชดําริในการแกไข ปญหาน้ําทวมคือ 1) การกอสรางคันกั้นน้ํา เพื่อปองกันน้ําทวมซึ่งเปนวิธีการดั้งเดิมแตครั้งโบราณโดยการกอสรางคันดินกั้นน้ํา ขนาด ที่เหมาะสมขนานไปตามลําน้ําหางจากขอบตลิ่งพอสมควรเพื่อปองกันมิใหน้ําลน ตลิ่งไปทวมใน พื้นที่ตางๆ ดานใน เชน คันกั้นน้ําโครงการมูโนะและโครงการปเหล็ง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ. นราธิวาส 2) การกอสรางทางผันน้ํา เพื่อผันน้ําทั้งหมดหรือบางสวนที่ลนตลิ่งทวมทนใหออกไป โดยการกอสรางทางผันน้ําหรือ ขุดคลองสายใหมเชื่อมตอกับลําน้ําที่มีปญหาน้ําทวมใหน้ําไหลไปตามทางผันน้ําที่ขุดขึ้น ใหมไปลง ลําน้ําสายอื่น หรือระบายออกสูทะเลตาม ความเหมาะสม


118 3) การปรับปรุงและตกแตงสภาพลําน้ํา เพื่อใหน้ําที่ทวมทะลัก สามารถไหลไปตามลําน้ําไดสะดวกหรือชวยใหกระแสน้ําไหลเร็ว ยิ่งขึ้น โดยใชวิธีการขุดลอกลําน้ําตื้นเขิน ใหน้ําไหลสะดวกขึ้น ,ตกแตงดินตามลาดตลิ่ง ใหเรียบ, กําจัดวัชพืช ผักตบชวา และรื้อทําลายสิ่งกีดขวางทางน้ําไหล, หากลําน้ําคดโคง มากใหหาแนวทาง ขุดคลองใหมเปนลําน้ําสายตรง, การกอสรางเขื่อนเก็บกักน้ํา ความเสี่ยงจากการควบคุม จากการศึกษาการดําเนินงานและระบบการควบคุมภายในทั้ง 5 องคประกอบของศูนย เรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ดังแสดงในตารางที่ 3-4 โดยแบง ออกเปน 6 ดาน ไดแก 1.ดานการบริหาร 2.ดานการรับชําระเงิน 3.ดานการเบิกจายและชําระเงิน 4.ดานการจัดซื้อสินทรัพย 5.ดานการผลิตและบริการ 6.ดานบุคลากรและเงินเดือนคาแรง ซึ่ง สามารถสรุปผลการวิเคราะหไดดังนี้ 1. ดานการบริหาร ประเด็นที่ 1ผูบริหารไมกําหนดระเบียบปฏิบัติและนโยบายที่สําคัญ ผลกระทบที่ อาจเกิ ด ขึ้ น การที่ ผู บ ริ ก ารไมมี ก ารกํา หนดนโยบายและระเบีย บการ ปฏิบัติงาน อาจทําใหบุคลากรสับสน และเขาใจผิดในกระบวนการดําเนินงาน แนวทางแกไขควรกําหนดระเบียบขอบังคับ นโยบายการดําเนินงานขององคกรอยาง ชัดเจน และสามารถวัดผลของนโยบายนั้นๆได พรอมทั้งแจงใหบุคลากรทุกคนรับทราบระเบียบ ขอบังคับ และนโยบายรวมกัน


119 ประเด็นที่ 2 ผูบ ริหารขาดความรูความเขาใจทางดานการจัดทํารายงานทางการเงิน และการ ควบคุมภายใน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เกิดความเสี่ยงแกทรัพยสินของกิจการ เนื่องจากไมมีการ กํ า หนดระบบการควบคุ ม ภายใน และไม มี ก ารจดบั น ทึ ก ทางบั ญ ชี อาจทํ า ให ก าร ปฏิบัติงานไมมีประสิทธิภาพ เกิดขอผิดพลาดและการทุจริตได แนวทางแกไข จัดหาผูที่มีความชํานาญทางดานบัญชี และการควบคุมภายใน เพื่อหา แนวทางการออกแบบระบบการควบคุมภายในรวมกัน ที่จะชวยใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น รวมถึงขอผิดพลาดในกระบวนการทํางานและการทุจริตจะนอยลง ประเด็นที่ 3การจัดโครงสรางองคกรยังไมมีแผนกที่ชัดเจน ผลการทบที่อาจเกิดขึ้น เมื่อผูบริหารไมมีการจัดโครงสรางองคกรที่ชัดเจน อาจทําให บุคลากรกาวกายหนาที่งานของกันและกัน ไมมีผูบังคับบัญชาในแตละดานอยางชัดเจน อาจทําให งานเปนไปอยางลาชา แนวทางแกไข ควรมีการกําหนดแผนก และนําไปทําโครงสรางองคกรใหชัดเจน ควรมี การกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของแตละคน มีการสอบทานงานสองฝาย โดยเฉพาะในสวน งานที่เกี่ยวของกับการเงิน สินคา และสินทรัพย ประเด็นที่ 4ขาดการวางแผนในการประเมินประสิทธิภาพการดําเนินงาน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากไมมีการประเมินประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อาจทําให เกิดขอผิดพลาดในการปฏิบัติงานซ้ําแลวซ้ําเลา ซึ่งไมไดรับแนวทางการแกไขที่เหมาะสม แนวทางแกไข ควรจัดทําแผนประเมินประสิทธิภาพในการดําเนินงานเปนระยะเพื่อหา ขอบกพรองและผิดพลาดในการดําเนินงาน หาแนวทางแกไขที่เหมาะสมทันเวลา รวมถึงการวาง แผนการดําเนินงานในภาพรวมขององคกร


120 ประเด็นที่ 5 ไมมีการจัดทําเอกสารเกี่ยวกับระเบียบการปฏิบัติโดยรวมเปนลายลักษณอักษร ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นพนักงานไมทราบกระบวนการทํางานที่แนนอนชัดเจนเกี่ยวกับ หนาที่ความรับผิดชอบของแตละบุคคล แนวทางแกไขจัดทําเอกสารเกี่ยวกับระเบียบการปฏิบัติงานเปนลายลักษณอักษร และ แจงเวียนเอกสารใหพนักงานทุกคนรับทราบ ประเด็นที่ 6 ไมมีระบบเอกสารและสารสนเทศในการจัดเก็บขอมูลในระบบคอมพิวเตอร ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นไมมีหลักฐานขอมูลตางๆขององคกร ไมวาจะเปนการขาย การ ซื้อตางๆ แนวทางแกไข ควรจัดทําใหมีระบบสารสนเทศในระบบคอมพิวเตอรเ พื่อบัน ทึก การ ดําเนินงานดานตางๆ เชน การบัน ทึกบัญชีการรับ -จาย ประวัติบุคลากร สินคาคงเหลือ เปนตน และควรมีการควบคุมการเขาถึงระบบสารสนเทศของพนักงาน 2. ดานการรับชําระเงิน ประเด็นที่ 1ไมมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบดานการรับเงิน บันทึกบัญชี และเก็บรักษา เงิน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นการไมกําหนดหนาที่งานใหชัดเจนในดานการรับชําระเงิน อาจ ทําใหเกิดการยักยอกเงิน หรือเงินที่ไดรับในแตละวันสูญหาย เนื่องจากไมมีการกําหนดแยกหนาที่ การรับ การบันทึก และการเก็บรักษาเงิน จึงไมสามารถยืนยันยอดเงินรับในแตละวันได แนวทางแกไข ควรแบงแยกหนาที่งาน การรับเงิน การบันทึกและการเก็บรักษาเงิน ควร เปนคนละคนกัน เพราะจะสามารถสอบทาน ยืนยันยอดกันไดและลดยอดเงินที่สูญหายหรือการ ยักยอกเงินได


121 ประเด็นที่ 2ไมมีการกําหนดกฎ ระเบียบ วิธีปฏิบัติงานดานการรับเงินใหชัดเจน เปนลายลักษณ อักษร ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นมีความเสี่ยงที่จะเกิดการทุจริต และการทับซอนของงาน ไมมี ความแนชัดหรือผูรับผิดชอบที่แนนอน แนวทางแกไข กําหนดกฎ ระเบียบ วิธีปฏิบัติงานเปนลายลักษณอักษรใหชัดเจน และ แจงเวียนระเบียบใหพนักงานที่เกี่ยวของในการรับชําระและเก็บรักษาเงินรับทราบโดยทั่วถึงกัน ประเด็นที่ 3ไมมีการออกใบเสร็จรับเงินใหลูกคาทุกครั้งที่มีการจําหนาย ผลกระทบที่อาจเกิด ขึ้น ไมมีห ลัก ฐานที่ชัดเจนในการบัน ทึก บัญ ชี ทําใหไมสามารถ ตรวจสอบยอนหลังไดวายอดเงินที่ไดรับมาในแตละวันถูกตอง ครบถวนหรือไม แนวทางแก ไ ข ควรมี ก ารออกใบเสร็ จ รั บ เงิน ทุ ก ครั้ งที่ มี ก ารรั บ ชํ า ระเงิ น จากลู ก ค า ใบเสร็จรับเงินตองมีการพิมพหมายเลขเรียงลําดับไว ในใบเสร็จตองมีลายเซ็นรับของลูกคา และผูมี หนาที่ควบคุมการเงินการบัญชี อีกทั้งควรจัดทําทะเบียนคุ มใบเสร็จรับเงิน รวมถึงการเก็บรักษา ใบเสร็จรับเงินที่ยังไมไดใชไวในที่ปลอดภัย ประเด็นที่ 4เงินสูญหายบอยเนื่องจากไมมีการเก็บรักษาเงินที่ดี ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นทําใหสินทรัพยของกิจการลดลงสภาพคลองของกิจการลดลง แนวทางแกไขกําหนดการถือเงินสดของพนักงานใหนอยที่สุด มีการตรวจนับเงินสดที่ ไดรับกับสําเนาใบเสร็จรับเงินทุกสิ้นวัน และนําเงินที่ไดฝากธนาคารภายในสิ้นวันหรือวันถัดไป ประเด็นที่ 5ไมมีการจดบันทึก และจัดทํารายงานทางการเงินเกี่ยวกับการรับชําระในทุกสิ้นวัน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากกิจการไมมีทั้งระบบเอกสารและการบันทึกบัญชีในทุก วัน ซึ่งถือวาไมมีระบบการควบคุมภายในที่ดี ทําใหไมสามารถตรวจสอบแหลงที่มาของรายได


122 แนวทางแกไข ควรกําหนดมอบหมายหน าที่ใ นการบัน ทึก บัญ ชี ก ารรั บ ชําระเงิน กั บ หลักฐานสําเนาใบเสร็จรับเงินทุกสิ้นวัน 3. ดานการเบิกจายและชําระเงิน ประเด็น ที่ 1องค ก รไมมี ก ารแบ งแยกหนา ที่ความรั บ ผิ ดชอบด านการเบิก จา ยและชํ าระเงิ น โดยเฉพาะ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นทําใหพนักงานมีหนาที่งานที่ทับซอนกัน เชน คนบันทึกรายการ บัญชีกับคนจายเงินเปนบุคคลคนเดียวกัน เปนตน แนวทางแกไของคกรตองมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบงานดานการเบิกจายและ ชําระเงินจากสวนงานอื่น รวมถึงตองกําหนดผูมีอํานาจในการอนุมัติเบิกจายเงินใหมีความชัดเจน และตองแจงใหพนักงานทุกคนทราบ ซึ่งจะทําใหองคกรมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานมากขึ้น ประเด็นที่ 2องคกรไมมีการกําหนดขอปฏิบัติที่เกี่ยวของกับความซื่อสัตยและจริยธรรม ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นพนักงานมีการยักยอกเงินขององคกรไปโดยที่องคกรไมมีการ รับรู และยังไมมีการเกรงกลัวตอมาตรการการลงโทษเมื่อมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น เนื่องจาก องคกรไมมีการกําหนดไวอยางชัดเจน แนวทางแกไขกําหนดหลักเกณฑและขอกําหนดดานความซื่อสัตยและจริยธรรม และ แจงใหพนักงานทุกคนรับทราบเพื่อจะสามารถนําไปปฏิบัติได โดยมีการใหรางวัลแกผูที่ปฏิบัติงาน ดีและมีความซื่อสัตยสุจ ริตในงาน รวมถึงกําหนดกฎระเบีย บในการลงโทษ เมื่อมีก ารกระทํา ความผิดเกิดขึ้น


123 ประเด็นที่ 3 องคกรไมมีการกําหนดระดับความรู ทักษะและความสามารถของพนักงานอยาง ชัดเจน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นพนักงานในองคกรมีระดับความรูและความสามารถไมตรงกับ ตําแหนงงานที่ไดรับ ทําใหมีการทํางานโดยไมมีประสิทธิภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอองคกรในอนาคต ได แนวทางแกไขกําหนดมาตรฐานในเรื่องของระดับความรู ความสามารถของพนักงาน ไวเปนลายลักษณอักษร เพื่อใชในการมอบหมายตําแหนงหนาที่งานใหเหมาะสมกับพนักงานแต ละคน ซึ่งจะชวยใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้น ประเด็นที่ 4เกิดการทุจริตในการเบิกจายเงิน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นมีรายการที่เกี่ยวกับรายการจายเงินมากผิดปกติ โดยผูบริหาร ไมมีการทราบถึงรายการที่ผิดปกตินั้น สงผลใหองคกรมีผลกําไรลดลง แนวทางแกไขเมื่อมีธุรกรรมเกี่ยวกับการเบิกจายและชําระเงินองคกรตองทําการกําหนด ผูมีอํานาจอนุมัติการเบิกจายใหชัดเจนและตองแจงใหพนักงานรับทราบดวย อีกทั้งในการเบิก จายเงินแตละครั้งจะตองมีลายเซ็นผูมีอํานาจอนุมัติการเบิกจายทุกครั้ง ประเด็นที่ 5 องคกรไมมีการจัดเก็บหลักฐานการเบิกจายเงิน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นการบันทึกบัญชีขององคกรไมมีความถูกตองและครบถวนตาม ความเปนจริง เชน เกิดการยักยอกเงินขององคกรโดยพนักงานหรือผูมีสวนรับผิดชอบ แนวทางแกไขกําหนดระเบียบ ขอบังคับ ใหพนักงานที่มีสวนเกี่ยวของกับการเบิกจายเงิน ตองทําการเก็บ หลักฐานการจายเงินเพื่อไวป ระกอบการบันทึกบัญชีและพนักงานจะตองมีการ บันทึกบัญชีทุกสิ้นวันทําการ


124 4. ดานการจัดซื้อและการดูแลรักษาสินทรัพย ประเด็นที่ 1องคกรไมมีการกําหนดมาตรการปองกันและรักษาทรัพยสินและไมมีการมอบหมาย หนาที่งานใหผูรับผิดชอบในการดูแลรักษาทรัพยสิน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นสินทรัพยขององคกรเกิดการสูญหายโดยที่องคกรไมไดรับทราบ เชน ผลิตภัณฑน้ํายาเอนกประสงค ไขไก เปนตน และเมื่อเกิดการชํารุดของสินทรัพยทําใหไมมี ผูรับผิดชอบอยางชัดเจน แนวทางแกไขผูบริหารควรกําหนดใหมีมาตรการปองกันและรักษาทรัพยสินขององคกร เปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน และองคกรยังตองจัดทําทะเบียนสินทรัพยขึ้นเพื่อปองกันการ สูญหาย ประเด็นที่ 2องคกรไมมีขอกําหนดเกี่ยวกับความซื่อสัตยและจริยธรรมไวอยางชัดเจน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นมีเกิดการทุจริตเกิดขึ้นในการจัดซื้อสินทรัพย และพนักงานยังไม มีความหวงแหนทรัพยสนิ ขององคกรใหเหมือนทรัพยสินของตน แนวทางแกไขกําหนดมาตรการบทลงโทษแกพนักงานทีก่ ระทําความผิดเกี่ยวกับการ จัดซื้อและดูแลรักษาสินทรัพยและแจงใหพนักงานทุกคนไดรับทราบดวย ประเด็นที่ 3องคกรไมมีก ารกําหนดวัตถุป ระสงคของการใชสินทรัพย และไมมีการอบรมใหกับ พนักงาน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น พนักงานไมมีความรู ความสามารถในการใชสินทรัพยไดตรง ตามวัตถุประสงคทําใหสินทรัพยเกิดการชํารุดเสียหาย แนวทางแกไขจัดฝก อบรมพนัก งานเกี่ย วกับ การใชสิน ทรัพยนั้น ๆใหถูก ตองและเกิด ประโยชนสูงสุดแกองคกร รวมทั้งกําหนดวัตถุประสงคในการใชของสินทรัพยในแตละประเภท


125 ประเด็นที่ 4ไมมีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการซื้อ-ขาย และเบิกใชของสินทรัพย ผลกระทบที่อาจเกิด ขึ้น องคกรไมมีก ารรับ รูถึงการเคลื่อนไหวของสินทรัพย ทําใหไม ทราบมูลคาคงเหลือที่แทจริงของสินทรัพยนั้น เนื่องจากองคกรมีการบันทึกบัญชีในระบบมือ ซึ่ง อาจเกิดขอผิดพลาดในการบันทึกรายการบัญชีได แนวทางแกไขมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบในงานดานการบันทึกบัญชีโดยเฉพาะ และควรสงเสริมและสนับสนุนใหผูจัดทําบัญชีไดศึกษา และพัฒนาความรูเกี่ยวกับหลักการบัญชี อยางตอเนื่อง เพื่อฝกฝนความชํานาญในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 5. ดานการผลิตและบริการ ประเด็นที่ 1 องคกรไมมีการวางแผนในการผลิตไวอยางชัดเจน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อกระบวนการดําเนินการผลิตมีปญหา จะทําใหไมสามารถ ดําเนินการแกไขอยางเรงดวนได เนื่องจากไมมีการวางแผนไวลวงหนา แนวทางแกไขกําหนดนโยบาย กฎเกณฑเ กี่ยวกับการวางแผนการผลิตและผูมีอํานาจ การตัดสินใจสูงสุดอยางชัดเจน และแจงใหพนักงานทุกคนไดรับทราบ ประเด็นที่ 2 องคกรไมมีการกําหนดนโยบายและมาตรฐานในการผลิตไวเปนลายลักษณอักษร ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น กระบวนการดําเนินการผลิตไมมีประสิทธิภาพและยากตอการ ควบคุมเมื่อมีปญหาเกิดขึ้น แนวทางแกไข กําหนดนโยบายและมาตรฐานเกี่ยวกับสินคาเปนลายลักษณอักษร เพื่อ ทําใหกระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ และตองแจงใหพนักงานทุกคนทราบ


126 ประเด็นที่ 3 บุคลากรในองคกรไมมีความรูความสามารถในการผลิต ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นผลการปฏิบัติงานดานการผลิตไมมีประสิทธิภาพ เชน สินคาเกิด ความเสียหาย สินคาไมมีคุณภาพ เปนตน แนวทางแกไขจัดฝกอบรมพนักงานอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหเขาใจถึงกระบวนการผลิตของ สินคาและยังสามารถนําความรูไปปฏิบัติงานไดจริง สงผลใหกระบวนการดําเนินงานขององคกรมี ประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 4 องคกรไมมีนโยบายในการตรวจนับ จัดเก็บและจัดทํารายงานเกี่ยวกับสินคาคงเหลือ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ทําใหเกิดความไมแนนอนของจํานวนสินคาคงเหลือที่เหลืออยู ในคลังสินคา เชน พนักงานอาจนําสินคาที่ไดไปใชสวนตัวสินคาเกิดการชํารุดจนไมสามารถนําไป จําหนายได เปนตน แนวทางแกไข กําหนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดการการบริหารสินคาคงคลังและตองแจง ใหพนักงานทุกคนรับทราบ รวมทั้งกําหนดใหพนักงานจัดทําเอกสารและรายงานในการตรวจนับ สินคาเขา-ออกของสินคาทุกวัน 6. ดานบุคลากรและเงินเดือนคาแรง ประเด็นที่ 1 ไมมีการกําหนดกระบวนการคัดเลือกบุคลากรทักษะ ความสามารถ คุณสมบัติที่ ตองการและเผยแพรขอมูลไมทั่วถึงในการสรรหาบุคลากร ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นบุคคลที่มาสมัครงานมีคุณสมบัติที่หลากหลาย อาจไมตรงกับ ความตองการที่แทจริง และการเผยแพรขอมูลไมทั่วถึงในการสรรหาบุคลากร จึงทําใหบุคคลอื่นไม สามารถรับทราบในการแจงประกาศนี้ อาจมีผูมาสมัครงานนอย เสียเวลาในการคัดเลือก ขาด ความนาเชื่อถือและไมโปรงใสในการคัดเลือกพนักงาน


127 แนวทางแกไขทําแผนกระบวนการคัดเลือกพนักงาน การคัดเลือกใหเปนไปตามลําดับ ขั้นตอนของมาตรฐานหรือแผนที่วางไวและมีความชัดเจน โปรงใส กําหนดทักษะ ความสามารถที่ จําเปนไวใหชัดเจนในใบประกาศรับสมัครพนักงาน พรอมทั้งเผยแพรขอมูลการสรรหาบุคลากรให ทั่วถึงในหลากหลายพื้นที่ ทุกชองทางการสื่อสารเพื่อใหหลายคนไดรับทราบ ประเด็นที่ 2 ไมมีการพิจารณาอนุมัติการเลื่อนขั้นเงินเดือนและไมไดจัดทําเปนลายลักษณอักษร ผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น พนั ก งานขาดขวั ญ กํ า ลั ง ใจในการทํ า งาน งานอาจไม มี ประสิทธิภาพ และไมมีเอกสารหลักฐานทางการเลื่อนขั้นของพนักงาน แนวทางแกไขจัดทําแผนการเลื่อนขั้นของพนักงานวาตองทํางานถึงระดับไหนถึงจะได เลื่อนขั้น เงินเดือนเพิ่มขึ้น และเพิ่มจํานวนเทาใด โดยทําเปนระเบียบเกี่ยวกับพนักงานเก็บไว ประเด็นที่ 3 ไมมกี ารกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและคําอธิบายหนาที่งานในแตละตําแหนง ไวเปนลายลักษณอักษรใหชัดเจน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น บุคลากรจะไมรูวาตําแหนงงานของตนมีมาตรฐานการทํางาน อยางไร ทําใหไมสามารถมีตัวชี้วัดวาไดทํางานดีแลวหรือไม อาจเกิดความเสียหายตองานได แนวทางแกไขกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคลากรแตละตําแหนงงานโดย ประกาศใหทราบโดยทั่วกัน วาตองปฏิบัติงานใหไดตามมาตรฐานที่กําหนดไว และประเมินผลการ ปฏิบัติงานของบุคลากรแตละคนวาไดทําตามมาตรฐานที่กําหนดหรือไม


128 ประเด็นที่ 4ไมมีการบันทึกเวลาการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานแลวในแตละวัน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นไมมีการบันทึกเวลาการปฏิบัติงานจึงไมมีหลักฐานการทํางาน ของบุคลากร ทําใหไมรูเวลาที่ไดปฏิบัติงาน ไมสามารถวิเคราะหประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ บุคลากรได แนวทางแกไขกําหนดใหมีการบันทึกเวลาปฏิบัติงานของบุคลากรในใบลงเวลาพรอมการ ลงนามรับรองเพื่อเปนหลักฐานดวยเพื่อเปนการบันทึกผลการทํางานและเพื่อจัดทําบัญชีเงินเดือน โบนัสใหพนักงานไดอยางถูกตองเหมาะสม ประเด็นที่5 ไมไดประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเปนลายลักษณอักษรวาปฏิบัติงานตาม มาตรฐานที่กําหนดหรือไม ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากไมทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร จะไมรูวา เกิดขอผิดพลาดใดบาง งานมีคุณ ภาพ รวดเร็ว ทันเวลาหรือไม หรือบุคลากรตองปรับ ปรุงการ ปฏิบัติงานอยางไร และไมมีห ลักฐานในการทํางานของพนักงาน หากเกิดขอผิดพลาดจะไมมี หลักฐานวางานนี้ใครเปนผูทํา แนวทางแกไขทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐาน ที่กําหนด ใหผลงานเกิดความมีประสิทธิภาพ ไมใหเกิดความเสียหายหรือความลาชาของ กระทํา การประเมินอยางสม่ําเสมอและไมแจงพนักงานใหทราบลวงหนา โดยจัดทําเปนลายลักษณอักษร


129 จากการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่องและความเสี่ยงจากการควบคุมขางตนพบวาผูสอบ บัญชีจะทําการยอมรับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดในระดับที่ต่ํามาก และความสามารถของผูสอบ บัญชีที่จะยอมรับความเสี่ยงจากการตรวจสอบอยูในระดับที่ต่ํามาก ดังตารางที่ 4-1 การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม สูง ปานกลาง ต่ํา ระดับของความเสี่ยงที่ยอมรับได ต่ํามาก๑ คอนขางต่ํา๒ กลาง๓ คอนขางต่ํา๒ กลาง๓ คอนขางสูง๔ กลาง๓ คอนขางสูง๔ สูงมาก๕

สูง กลาง ต่ํา

ประเมินความ เสี่ยงสืบเนื่อง

ตารางที่ 4-1แสดงระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได ผลการประเมิน ความเสี่ยง สืบเนื่อง

ความเสี่ยงจาก การควบคุม

ความสามารถของผูสอบบัญชี ที่จะยอมรับความเสีย่ งจาก การตรวจสอบ

สูง

สูง

ระดับต่ํามาก๑

ตารางที่ 4-2 แสดงความสามารถของผูสอบบัญชีทจี่ ะยอมรับความเสี่ยงจากการตรวจสอบ ขอเสนอแนะดานการบริหารและระบบทางเดินเอกสาร เนื่องจากองคกรเปนธุรกิจครอบครัวจึงไมมีการจัดโครงสรางองคกรที่เหมาะสม ผูศึกษาจึง ไดเสนอผังการจัดโครงสรางขององคกร โดยแบงเปนแผนกเพื่อแสดงความรับผิดชอบของงานใหมี ความชัด เจนมากขึ้น รวมถึง แนะนําแนวทางใหองคก รมีก ารจัดทําระบบทางเดิน เอกสารใน ระบบงานตางๆ เพื่อชวยใหองคกรมีระบบการควบคุมภายในที่ดี ซึ่งจากที่ไดทําการประเมินความ เสี่ยงจากการควบคุมภายในขององคกรขางตน ผูศึกษาสามารถแนะนําแนวทางการแกไข โดยแบง ออกได 6 ดาน ดังนี้


130 1. ดานการบริหาร ในดานการบริห ารทางผู ศึก ษาไดเ สนอผังองคก รใหมพรอมทั้งคําอธิบ ายลักษณะงาน เพื่อใหองคกรมี การดําเนินงานอยางเปนระบบ มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบใหชัดเจน ยิ่งขึ้น โดยจะเพิ่มความรับผิดชอบหรือหนาที่หลัก เพื่อกระจายภาระงานใหทั่วถึงทั้งองคกร และลด ความเสี่ย งในดานตางๆที่เ กิดขึ้ น สวนภาระงานเดิมในองคก ร เชน การดูแลการบรรยาย การ บรรยายใหความรู หรือการดูแลเลี้ย งสัตวในองคกร ก็ ยังสามารถที่จะปฏิบัติตอไปได แตตองไม กระทบกับระบบการควบคุมภายใน เนื่องจากบุคลากรในองคกรมีจํานวนนอย ซึ่งการจางคนเพิ่มก็ จะเปนการเพิ่มตนทุนใหองคกร ดังภาพที่ 4-1


131

แผนผังองคกร (แม)อ.กัลยา ปอมสา (อ.จิ๊บ) ผูบริหาร (พอ)อ.ธีรพล ปอมสา (อ.พล) ผูจัดการทั่วไป

(ปา)กอบกุล อยูชมบุญ (ปาจุม) แผนกขาย

(ลูกชายคนโต) กานต อยูชมบุญ (กั้ง) แผนกผลิตและคลังสินคา

คนงาน 2 คน ฝายผลิต

(ลูกสะใภคนโต) นิตยา อยูชมบุญ (นิด) แผนกบัญชีและบุคคล

คนงาน ฝายคลังสินคา

ภาพที่ 4-1แผนผังองคกรใหม

(ลูกชายคนเล็ก) ดุสิต ปอมสา (หมู) แผนกจัดซื้อ

(ลูกสะใภคนเล็ก) ราตรีกาล ปอมสา (ตั้ม) แผนกการเงิน


132 คําอธิบายงานและหนาที่ความรับผิดชอบ 1. ผูบริหาร (อ.กัลยา ปอมสา (อ.จิ๊บ)) หนาที่หลัก เปนผูบริหารระดับสูงสุดขององคกร ทําหนาที่กําหนดเปาหมาย และวัตถุประสงค ในการดําเนินงานกําหนดใหมีระบบสารสนเทศในการบันทึกขอมูล รายการทางบัญชีตางๆ หนาที่รองบรรยายความรู และแสวงหาความรูโดยการเขารวมอบรมโครงการใหมๆอยูเสมอ ติดตอประสานงานกับองคกรตางๆ 2. ผูจัดการทั่วไป (อ.ธีรพล ปอมสา (อ.พล)) หนาที่หลัก เปน ผูควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของทุกฝายในองคกร เพื่อใหก ารดําเนินการ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ หนาที่รอง จัดหาเศษไมเพื่อนํามาเผาถานและทําการเผาถาน 3. แผนกขาย (กอบกุล อยูชมบุญ (ปาจุม)) หนาที่หลัก มีหนาที่เกี่ยวกับการขายสินคาเกษตรใหกับลูกคา จัดหาลูกคา และติดตอลูกคา เขาฟงการบรรยาย หนาที่รอง เตรียมสถานที่ในการบรรยาย ดูแลรักษาความสะอาดของโฮมสเตยอํานวยความ สะดวกใหกับผูเขาฟงบรรยาย เชน เสิรฟน้ําและอาหารวาง 4. แผนกผลิตและคลังสินคา (กานต อยูชมบุญ (กั้ง)) หนาที่หลัก ทําหนาที่ควบคุมการผลิตสินคาน้ํายาเอนกประสงค และการเพาะเห็ด ควบคุม แรงงานในการผลิตและดูแลสัตวขององคกร


133 หนาที่รองบรรยายความรูใหกับเกษตรกรที่เขารวมอบรม ผสมปุย คลุกปุย ทําน้ําหมักชีวภาพ ควบคุมการใหน้ําเห็ด และคอยควบคุมเก็บเห็ดที่เติบโตเต็มที่ จัดเตรียมมูลวัวเพื่อนํามาทําแกส ชีวภาพ 5. แผนกบัญชีและบุคคล (นิตยา อยูช มบุญ (นิด)) หนาที่หลัก บันทึกขอมูล รายการตางๆ ทางบัญชีที่เกิดขึ้นทั้งหมดและสรุปผลการดําเนินงาน ประจํางวดพิจารณาคัดเลือกบุคลากร อัตราคาจาง/เงินเดือน จัดทําประวัติพนักงาน และคํานวณ คาแรง/เงินเดือน หนา ที่รองบรรยายความรู อัพเดทขอมูลขาวสารตางๆใหบุคคลภายนอกไดรับทราบ และ เผยแพรศูนยการเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงสูสื่อตางๆ เชน Internet, Facebook, Line และ ทางโทรศัพท 6. แผนกจัดซื้อ (ดุสิต ปอมสา (หมู)) หนาที่ มีหนาที่เกี่ยวกับการสั่งซื้อ วัตถุดิบ และวัสดุอื่นๆ ที่จําเปนตองใชภายในเชน อาหาร สําเร็จรูปของไก วัสดุ-อุปกรณทําสบู น้ํายาอเนกประสงค เชื้อเห็ด วัสดุที่ใชในการอบรม บรรยาย 7. แผนกการเงิน (ราตรีกาล ปอมสา (ตั้ม)) หนาทีร่ ับเรื่อง จัดทําเอกสารขออนุมัติเบิกจายเงินตางๆ รับและจัดเก็บเงินรายไดประจําวันโดย สอบทานกับทะเบียนคุมเงินรายไดประจําวัน จัดเก็บ รักษา เงินสดและบัญชีเงินฝากขององคกร จัดทําทะเบียนคุมเงิน 8. คนงาน (ฝายผลิต) หนาที่ เบิกวัตถุดิบในการจัดทําน้ํายาอเนกประสงค จัดทําน้ํายาอเนกประสงค ใหอาหารสัตว ไดแก หมู เปดไก ดูแลรักษาความสะอาดภายในศูนยการเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงและโฮมสเตย


134 9. คนงาน(ฝายผลิต) หนาที่ เบิกวัตถุดิบ ในการเพาะเห็ดดูแลและใหอาหารปลาที่เลี้ยงไวในกระชัง ทําความสะอาด สระโดยการตัก เศษใบไม ผัก ตบชวา ฯ ขึ้น จากสระเพื่อไมใ หเกิดน้ําเนาเสีย และเปน การเพิ่ม ออกซิเ จนใหกับ น้ําในสระ ตัดหญา และรดน้ําตน ไมภายในศูน ยก ารเรีย นรูตน แบบบานรัก ษ พอเพียง 10. คนงาน(คลังสินคา) หนาทีค่ วบคุมดูแลวัตถุดบิ และสินคาสําเร็จรูปตางๆ ไดแก สบู น้ํายาอเนกประสงค ไขเปด ไข ไก เห็ด ผสมปุย คลุกปุย บรรจุปยุ ใสถงุ ใหอาหารหมู เปด และไก จัดเตรียมมูลวัวเพื่อนํามาทํา แกสชีวภาพ 2. ดานการรับชําระเงิน กระบวนการดําเนินงาน 1. เมื่อสินคาในหนารานลดลงถึงระดับที่ตองสั่งเบิกสินคา แผนกขายจัดทําใบสั่งเบิกสินคาจาก คลังสินคาของบริษัท และเซ็นอนุมัติ ตนฉบับ สงใหแผนกคลังสินคา สําเนา แผนกขายจัดเก็บไวเปนหลักฐาน 2. เมื่อแผนกคลังสินคาไดรับใบสั่งเบิกสินคา - ตรวจสอบความถูกตองของเอกสารใบสั่งเบิกสินคา - จัดเตรียมสินคา และตรวจสอบสินคาที่เตรียมจัดสงกับเอกสารใบสั่งเบิกสินคาอีกครั้ง - เขาระบบฐานขอมูลสินคาคงคลัง ทํารายการตัดยอดสินคาออกจากฐานขอมูลสินคาคง คลังของบริษัท - จัดทําใบสงสินคา และเซ็นอนุมัติ ตนฉบับ สงใหแผนกขายพรอมกับสินคา สําเนา แผนกคลั ง สิ น ค า จั ด เก็ บ ไว เ ป น หลั ก ฐาน พร อ มประทั บ ตรา “จัดสงแลว” ในเอกสารทุกใบ


135 3. เมื่อแผนกขายไดรับสินคา - ตรวจสอบเอกสารใบสั่งเบิกสินคา ใบสงสินคากับสินคาที่ไดรับ และเซ็นอนุมัติในใบสงของ - นําสินคาจัดเก็บ และบันทึกเพิ่มสินคาในระบบฐานขอมูลสินคาคงคลัง - ประทับตรา “ไดรับแลว” ในเอกสารทุกใบ


136

ผังทางเดินเอกสารการรับเงิน ฝายคลังสินคา(แผนกผลิตและคลังสินคา)

แผนกขาย ใบสั่งเบิกสินคา ใบสั่งเบิจากคลั กสินคงา

ใบสั่งเบิกสินคา จากคลัง S

2 สินคา

ใบสั่งเบิกสินคา ใบสจากคลั งสินคาง S

จากคลัง

สินคา

N

จากคลัง

ใบสงสินคา จากคลัง

3

ภาพที4่ -2กระบวนการการรับเงิน

1

N


137 กระบวนการการรับเงิน (ตอ) 1. เมื่อลูกคาทําการเลือกสินคาไดแลว แผนกขายขายจะทําการคิดยอดขายทั้งหมดและแจงลูกคา ใหทราบ พรอมบรรจุหีบหอสินคาและสงมอบใหลูกคา 2. แผนกขาย บันทึกยอดขายสินคา พรอมแจงใหลูกคาทราบ และจัดเก็บเงินโดย - เงินสด จัดเก็บไวในลิ้นชักเงินสดและจัดพิมพใบเสร็จรับเงินมอบใหแกลูกคา พรอมสินคา แผนกขายเซ็นอนุมัติเซ็นอนุมัติ ตนฉบับ สงมอบใหลูกคาพรอมสินคา สําเนา สงใหแผนกการเงิน 3. เมื่อถึงเวลา 18.00 น. แผนกขาย - รวบรวมสําเนาใบเสร็จรับเงินจัดพิมพรายงานการขาย ตนฉบับ สงใหแผนกการเงินผูจัดการเซ็นอนุมัติและแผนกขายลงชื่อสงมอบ เงิน สําเนาฉบับที่ 1 แผนกขายจัดเก็บไวเปนหลักฐาน 4. แผนกขายนําเงินสด สําเนาใบเสร็จรับเงินไวเปนหลักฐาน และจัดสงใหแผนกการเงิน 5. แผนกการเงินทําการตรวจสอบเงินสดและเอกสารทั้งหมดที่ไดรับจากผูจัดการราน และนําเงิน สดและเอกสารทั้งหมดจัดเก็บเขาตูเซฟนิรภัย 6. เชาวัน ถัดไป แผนกการเงินนําสําเนาเอกสารทั้งหมดและสําเนาใบเสร็จ รับเงิน จัดเก็บ ไวเปน หลักฐาน และจัดทําใบนําฝากธนาคารโดยแนบเอกสารใบเสร็จรับเงินต นฉบับเปนหลักฐาน และ เขียนใบนําฝากเงินสดเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของบริษัท 7. แผนกการเงินจัดสงเอกสารทั้งหมดใหแผนกบัญชี 8. แผนกบัญชีทําการตรวจสอบความถูกตองของเอกสารทั้งหมดอีกครั้ง กอนบันทึกบัญชีการขาย สดลงฐานขอมูลในสมุดรายวันรับ


138

ลูกคา

ผังทางเดินเอกสารการรับเงิน (ตอ) แผนกการเงิน

แผนกขาย

แผนกบัญชี

1 สินคา

สินคา S

ใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน

ใบเสร็จรับเงิน

เงินสด

เงินสด

S

ใบเสร็จรับเงิน

S

ใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน

รายงานการขาย

รายงานการขาย

เงินสด

3

ใบนําฝาก

4

2

N

S

รายงานการขาย รายงานการขาย

ใบนําฝาก ใบนําฝาก

ภาพที4่ -2กระบวนการการรับเงิน(ตอ)

สมุดรายวันทั่วไป


139 3. ดานการเบิกจายและชําระเงิน กระบวนการดําเนินงาน 1. แผนกการเงินตรวจสอบเอกสารใบเสร็จรับเงิน ที่ไดสงมาจากพนักงานหรือเจาหนี้วาถูกตอง หรือไม หรือวาเปน คาใชจายของบริษัท หรือไม และจัดทําใบสําคัญจาย และทําการอนุมัติก าร จายเงิน ตนฉบับ สงใหแผนกบัญชี เพื่อบันทึกบัญชี สําเนาฉบับที่ 1 แผนกการเงินจัดเก็บไวเปนหลักฐาน 2. แผนกการเงินทําการจายคาใชจายเปนเงินสด 3. แผนกการเงินบันทึกขอมูลลงในแบบบันทึกรายการจายเงิน และจัดเก็บเอกสารทั้งหมดในแฟม “ใบสําคัญจายคางจาย” และรวบรวมเอกสารสงใหแผนกบัญชี 4. แผนกบัญชีตรวจสอบความถูกตองของเอกสารที่ไดรับจากแผนกการเงิน และบันทึก บัญ ชี ล ง ฐานขอมูลในสมุดรายวันจาย


140

ผังทางเดินเอกสารดานการเบิกจายและชําระเงิน แผนกการเงิน

แผนกบัญชี

ใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน

ใบเสร็จรับเงิน

ใบสําคัญจาย ใบสําคัญจาย

ใบสําคัญจาย

1

N s 2 เงินสด

ชําระใหเจาหนี้

4 3 แบบบันทึก รายการจายเงิน

สมุดรายวันจาย

ภาพที4่ -3ผังกระบวนการดานการเบิกจายเงิน


141 4. ดานการจัดซื้อสินทรัพย กระบวนการจัดซื้อ 1.แผนกที่ขอใหจัดซื้อสินทรัพย/คลังสินคาจัดทําใบขอซื้อสินทรัพย เสนอตอผูบริหารเพื่อทําการขอ ซื้อสินทรัพยหรือวัตถุดิบ 2. เมื่อผูบริหารอนุมัติรายการซื้อสินทรัพยแลว แผนกที่ขอใหจัดซื้อ/คลังสินคาสงเอกสารใบขอให ซื้อไปยังแผนกจัดซื้อ โดยมีเอกสารจํานวน 2 ฉบับ ตนฉบับ สงใหแผนกจัดซื้อ เพื่อทําการจัดซื้อสินทรัพยหรือวัตถุดิบ สําเนา แผนกที่ขอใหจัดซื้อเก็บไวเปนหลักฐาน 3. แผนกจัดซื้อตรวจสอบใบขอใหจดซื้อ/คลังสินคาและจัดทําใบสั่งซื้อโดยมีเอกสารจํานวน 5ฉบับ ตนฉบับ สงไปยังผูจัดจําหนาย สําเนาฉบับที่ 1 แผนกจัดซื้อเก็บไวเปนหลักฐาน สําเนาฉบับที่ 2 สงใหแผนกที่ขอใหจัดซื้อ/คลังสินคา เพื่อแจงใหทราบวาไดจัดซือ้ สินทรัพย/วัตถุดิบตามที่ตองการแลว สําเนาฉบับที่ 3 ส ง ให ผู จั ด การทั่ ว ไป เพื่ อ ตรวจสอบกั บ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ด รั บ และ รายการในใบสงของ สําเนาฉบับที่ 4 ส ง ให แ ผนกบั ญ ชี เพื่ อ ตรวจสอบกั บ ใบกํ า กั บ สิ น ค า ที่ ผู จั ด จําหนายทํา การสงมาให


142

ผังทางเดินเอกสารดานการจัดซื้อ แผนกบัญชี

แผนกที่ขอใหจัดซื้อ/คลังสินคา 1

แผนกจัดซื้อ

ผูจัดการทั่วไป

2

ใบขอใหจัดซื้อ ใบขอใหจัดซื้อ

ใบขอใหจัดซื้อ

S

N

ใบสั่งซื้อ

ใบสั่งซื้อ

ใบสั่งซื้อ ใบสั่งซื้อ ใบสั่งซื้อ

ใบสั่งซื้อ S

ภาพที4่ -4ผังกระบวนการจัดซื้อ

ใบสั่งซื้อ


143 กระบวนการตรวจรับสินทรัพย 1. เมื่อไดรับสินทรัพย/วัตถุดิบแลว ผูจัดการทั่วไปตรวจสอบสินทรัพย/วัตถุดิบกับใบสั่งซื้อที่ไดรับ จากแผนกจัดซื้อและจัดทําใบรับของ โดยประกอบดวยเอกสาร จํานวน 4 ฉบับ ตนฉบับ แผนกตรวจรับเก็บไวเปนหลักฐาน สําเนาฉบับที่ 1 สงใหแผนกที่ขอใหจัดซื้อ/คลังสินคา เพื่อตรวจสอบกับเอกสาร ใบสั่งซื้อและสินทรัพยที่ไดรับ สําเนาฉบับที่ 2 สงใหแผนกจัดซื้อ สําเนาฉบับที่ 3 สงใหแผนกบัญชี พรอมกับ เอกสารใบสงของที่ไดรับ จากผูจัด จําหนาย 2. ผูจัดการทั่วไปสงสิน ทรัพย /วัตถุดิบ ใหแผนกที่ขอใหจัดซื้อ/คลังสินคา แผนกที่ขอใหจัดซื้อ / คลังสินคา ตรวจสอบเอกสารใบสั่งซื้อ ใบรับของ และสินทรัพย/วัตถุดิบ 3. แผนกจัดซื้อตรวจสอบเอกสารใบสั่งซื้อและใบรับของ 4. แผนกบัญชีตรวจสอบเอกสารใบสั่งซื้อ ใบรับของ และใบสงของ โดยบันทึกบัญชีลงฐานขอมูล ในสมุดรายวันซื้อ


144

ผูจัดการทั่วไป

แผนกที่ขอใหจัดซื้อ/คลังสินคา

แผนกจัดซื้อ

แผนกบัญชี

ใบสั่งซื้อ วัตถุดิบ/ สินทรัพย

1

ใบสั่งซื้อ

วัตถุดิบ/ สินทรัพย

N

ใบรับของ

ใบสั่งซื้อ 2

N

s

ใบรับของ ใบรับของ ใบรับของ ใบรับของ

ใบสั่งซื้อ

N

ใบรับของ ใบรับของ ใบสงของ D

ใบสงของ ใบสงของ สมุดรายวัน ซื้อ

ภาพที4่ -5กระบวนการตรวจรับสินทรัพย


145 5. ดานการผลิตและบริการ กระบวนการดําเนินงาน 1. แผนกผลิตและคลังสินคาจัดทําแผนการผลิต ซึ่งแผนกการผลิตตองรวมมือกับแผนกการขาย เพื่อที่จะไดขอมูลเกี่ยวกับปริมาณความตองการและจํานวนลูกคา 2. แผนกผลิตและคลังสินคาจัดทําใบเบิกวัตถุดิบใหเปนไปตามแผนการผลิตที่ไดวางไว ตนฉบับ สงใหแผนกคลังสินคา เพื่อจัดทําการเบิกวัตถุดิบ สําเนาฉบับที่ 1ฝายผลิตจัดเก็บไวเปนหลักฐาน สําเนาฉบับที่ 2 สงใหแผนกบัญชี เพื่อบันทึกการเบิกใชวัตถุดิบ 3. เมื่อตองการเบิกวัตถุดิบ แผนกคลังสินคาตองตรวจสอบใบเบิกวัตถุดิบซึ่ง ต อ งมี ล ายเซ็ น การ อนุมัติในใบเบิกวัตถุดิบ และฝายคลังสินคาจะทําการจัดสง วัตถุดิบไปยังแผนกผลิต และบันทึกลด ยอดวัตถุดิบลงฐานขอมูลในทะเบียนสินคา 4. แผนกบัญชีบันทึกบัญชีลงฐานขอมูลในสมุดรายวันทั่วไป


146

ผังทางเดินเอกสารดานการผลิตและบริการ

1

ฝายผลิต

แผนกผลิตและคลังสินคา ฝายคลังสินคา

แผนกบัญชี

แผนการผลิต 3

2

ใบเบิกวัตถุดิบ ใบเบิกวัตถุดิบ ใบเบิกวัตถุดิบ

ใบเบิกวัตถุดิบ

s

ใบเบิกวัตถุดิบ

N N

วัตถุดิบ

4

N

วัตถุดิบ สมุดรายวัน ทั่วไป

ภาพที4่ -6ผังกระบวนการดานการผลิตและบริการ


147 กระบวนการปดบัญชีคุมยอดงานระหวางทําเขาบัญชีคุมยอดสินคาสําเร็จรูป 1. ฝายผลิตสงสินคาสําเร็จรูปพรอมใบโอนสินคาเขาคลังสินคาไปยังฝายคลังสินคา ตนฉบับ สงใหฝายคลังสินคา สําเนาฉบับที่ 1 ฝายผลิตจัดเก็บไวเปนหลักฐาน สําเนาฉบับที่ 2 สงใหแผนกบัญชี เพื่อจัดทํารายงานการผลิต 2. ฝายคลังสินคาตรวจสอบสินคาที่ไดรับใบโอนสินคาเขาคลังสินคา และบันทึกขอมูลจากใบโอน สินคาเขาคลังสินคาลงฐานขอมูลวัตถุดิบคงคลัง 3. ฝายผลิตจัดทํารายงานปริมาณการผลิต ณ วันสิ้นงวด ตนฉบับ สงใหแผนกบัญชี เพื่อจัดทํารายงานการผลิต สําเนา แผนกผลิตจัดเก็บไวเปนหลักฐาน 4. แผนกบัญชีทําการตรวจสอบเอกสารจาก ใบโอนสินคาเขาคลังสินคาและรายงานปริมาณการ ผลิต ณ วันสิ้นงวด และจัดทํารายงานการผลิต ตนฉบับ สงใหฝายคลังสิน คา เพื่อบัน ทึกตน ทุน ตอหนวยลงฐานขอมูล วัตถุดิบคงคลัง สําเนา แผนกบัญชีจัดเก็บไวเปนหลักฐาน 5. ฝายคลังสินคาทําการลงบันทึกตนทุนตอหนวยจากรายงานการผลิตลงฐานขอมูล วั ต ถุ ดิ บ ค ง คลัง 6. แผนกบัญชีบนั ทึกบัญชีจากรายงานการผลิตลงฐานขอมูลในสมุดรายวันทั่วไป


148 แผนกผลิตและคลังสินคา (ฝายคลังสินคา)

แผนกบัญชี (ฝายผลิต)

1

2

สินคา

สินคา

ใบโอนสินคาเขา คลังสินคา

s

ใบโอนสินคาเขา คลังสินคา

ใบโอนสินคาเขา ใบโอนสิ คลันงสิคนาเข คาา ใบโอนสิ คลันงคสิานเขคา คลังสินคา

รายงานปริมาณ การผลิต ณ สิ้นงวด

5 3

s

N

รายงานปริมาณ การผลิต ณมาณ สิ้นงวด รายงานปริ การผลิต ณ สิ้นงวด

4

รานงานการผลิต รานงานการผลิต

s รานงานการผลิต 6

สมุดรายวันทั่วไป

ภาพที4่ -7ผังกระบวนการปดบัญชีคุมยอดงานระหวางทําเขาบัญชีคุมยอดสินคาสําเร็จรูป

N


149 6. ดานบุคลากรและเงินเดือนคาแรง กระบวนการดําเนินงาน 1. เมื่อมีพนักงานใหม จัดทําไฟลขอมูลสวนตัวของพนักงาน เกี่ยวกับเลขประจําตัวพนักงาน ชื่อ-สกุล ประวัติการศึกษา อัตราเงินเดือน สิทธิในการลา และสิทธิประโยชนตางๆ รายการหักประเภทตางๆ รายการหักประเภทตางๆ เลขที่เงินฝากธนาคารและรูปถาย 2. ทําการโอนขอมูลจากระบบบันทึกเวลาเขาออกเขาสูระบบเงินเดือนคาแรง 3. องคกรทําการบันทึกขอมูลลงในสมุดรายงานการจายเงินเดือนพนักงาน ผังทางเดินเอกสารดานบุคลากรและเงินเดือนคาแรง พนักงาน

แผนกบุคคล

บันทึกขอมูล พนักงาน

ทะเบียน เงินเดือน

สมุดการจาย เงินเดือน

ภาพที4่ -8ผังกระบวนการการบันทึกประวัติของพนักงาน


150 กระบวนการบันทึกเวลาการทํางานของพนักงาน 1. เมื่อพนักงานมาถึงบริษัท พนักงานทุกคนตองทําการตอกบัตรลงเวลาพนักงาน เพื่อเปนการ บันทึกเวลาเขางาน 2. เมื่อถึงเวลาเลิกงาน พนักงานทุกคนตองทําการตอกบัตรลงเวลาออกจากงาน 3.หัวหนาพนักงานทําการเก็บบัตรตอกลงเวลา เพื่อสงใหแผนกบุคคล 4. แผนกบุคคลทําการตรวจสอบ และทําการบันทึกลงฐานขอมูลทะเบียนเงินเดือนคาแรง พนักงาน

บัตรลงเวลา งาน

หัวหนาพนักงาน

บัตรลงเวลา งาน

แผนกบุคคล

บัตรลงเวลา งาน

ทะเบียน เงินเดือน

ภาพที4่ -9ผังกระบวนการการบันทึกเวลาการทํางานของพนักงาน


151 กระบวนการจายเงินเดือนพนักงาน 1. 2. 3. 4.

แผนกบุคคลทําการรวบรวมบัตรลงเวลางานของพนักงานมาบันทึกลงฐานขอมูล แผนกบุคคลเซ็นอนุมัติรายการ เพื่อใหเปนหลักฐานในการคํานวณทะเบียนเงินเดือนคาแรง แผนกบุคคลทําการคํานวณเงินเดือน คํานวณรายการหักตาง ๆ คํานวณเงินไดสุทธิ ทําการจายเงินเดือนพนักงานเปนเงินสด พนักงาน

แผนกบุคคล(บัญชี)

บัตรลงเวลางาน

บัตรลงเวลางาน

ทะเบียนเงินเดือน

ทะเบียนเซ็นรับ s

เงินเดือน

เงินสด

เงินสด

ภาพที4่ -10ผังกระบวนการการจายเงินเดือนพนักงาน


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ ในการศึก ษาปญ หาพิเ ศษเรื่อง การประเมินประสิท ธิภาพการควบคุมภายใน จากการ ดําเนินธุรกิจตามหลั กหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพีย ง กรณีศึกษาศูนยเรียนรูตนแบบบานรัก ษ พอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวคิด หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย ง ของศู น ย เ รี ย นรู ต น แบบบ า นรั ก ษ พ อเพี ย ง อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ศึ ก ษา กระบวนการและขั้นตอนการดําเนินงานและการควบคุมภายใน รวมถึงประเมินประสิทธิภาพระบบ การควบคุมภายใน และความเสี่ยง ประกอบกับการมีหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนิน ธุรกิจของศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี สรุปผลการศึกษา ศูนยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงดําเนินงานในรูปแบบธุรกิจครอบครัว มีวัตถุประสงค เพื่อ เผยแพร บรรยายความรู สูบุค คล องค ก รทั้ งภาครัฐ และเอกชนเกี่ย วกับ วิ ถีชีวิ ตตามหลั ก เศรษฐกิจ พอเพีย ง ไมมีผังโครงสรา งองคก รที่แบงเปน แผนกอยางชัดเจน ทุก คนทํางานแบบ ชวยเหลือกัน โดยรายไดหลักขององคกรมาจากการใหบริการ บรรยายความรูเกี่ยวกับวิถีชีวิตตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจาย สรางรายได โดยเริ่มจากครอบครัว มีรายไดอื่นๆซึ่งไดจากการ ขายเห็ดนางฟา เห็ดฟาง การขายไขไก ไขเปด การขายน้ํายาอเนกประสงค โดยในภาพรวมไมมี ระบบการควบคุมภายในที่ดี ในการปองกันความเสี่ยงตางๆ จากการประเมิ นความเสี่ย งขององคก รทั้งความเสี่ย งสืบ เนื่องและความเสี่ย งจากการ ควบคุม พบวา สิ่งที่องคกรไมสามารถควบคุมไดจะประกอบดวยปจจัยภายในและภายนอก คือ ดานปจจัยภายใน ผูบ ริหารไมมีความรูความชํานาญและยังมีความหลากหลายของธุรกิจ สวน ปจจัยภายนอกนั้นจะขึ้นอยูกับสถานการณทางเศรษฐกิจเกี่ยวกับราคาสินคาเกษตร การเกิดโรค ระบาดในสัตวและปญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งจะมีความเสี่ยงอยูในระดับที่สูง และความเสี่ยง จากการควบคุมอยูในระดับที่สูงเชนเดียวกัน โดยจากการวิเคราะหทั้ง 6 ดาน ไดแก1.ดานการ บริหาร 2.ดานการรับชําระเงิน 3.ดานการเบิกจายและชําระเงิน 4.ดานการจัดซื้อสินทรัพย 5.ดาน การผลิตและบริการ 6.ดานบุคลากรและเงินเดือนคาแรง ซึ่งสามารถสรุปไดวา องคกรยังไมมีการ


153 แบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบของงานในแตละแผนกไวอยางชัดเจน และไมมีการจัดทํา จัดเก็บ เอกสารของระบบงานตางๆภายในองคก ร รวมทั้งพนัก งานไมมีความรูความสามารถในการ ปฏิบัติงานที่ไดรับ มอบหมาย สงผลใหผลการดําเนิน งานขององคก รไมมีประสิทธิภาพและยัง สามารถเกิดการทุจริตไดงาย เปนตน จากการประเมินทั้งสองสวน ทําใหผูสอบบัญชียอมรับระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับไดต่ํามาก และความสามารถของผูสอบบัญชีที่จะยอมรับความเสี่ยงจากการ ตรวจสอบอยูในระดับที่ต่ํามากเชนกัน ในฐานะผูสอบบัญชีจึงควรใสใจและใหความสําคัญกับระบบการควบคุมภายในและการ บริห ารความเสี่ย งซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งของการกํากับ ดูแลกิจ การที่ดี โดยความเสี่ย งหนึ่งที่ เกิดขึ้นจากสถานการณความไมมั่นคงทางอาหารจะสงผลกระทบตอตนทุน ซึ่งตนทุนเปนหัวใจ สําคัญของการดําเนิน ธุรกิจ จึงตองมีวิธีก ารจัดการลดตนทุน เพราะการที่มีตน ทุนเพิ่มขึ้น ยอม หมายถึงการมีกําไรที่ลดลง แตถาองคกรสามารถลดตนทุนลงไดโดยเฉพาะตนทุนการผลิต นั่นถือ เปนชองทางหนึ่งของการเพิ่มกําไร โดยจําเปนตองพิจารณาและแกไขเปนอันดับแรก เพื่อความอยู รอดจนสามารถจะดําเนินกิจการไปไดอยางตอเนื่อง และเพิ่มศักยภาพในการแขงขันขององคกร ภายใต สถานการณในปจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงและผัน ผวนอยางมากทั้งปจจั ยภายในและ ภายนอกองคกรการวางแนวทางการตรวจสอบที่ดีควรสอดคลองกับผลจากการประเมินความเสี่ยง โดยเฉพาะองคกรที่เกี่ยวของกับเกษตรกรรม ที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤติการณความไมมั่นคงทาง อาหาร ทําใหตนทุนทางการผลิตสูงขึ้น จากภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กลุมพอคาคนกลาง ภาวะแหงแลงและภัยธรรมชาติ เปนตน ควรเนนที่การตรวจสอบรายจายทางดานตนทุน หากการ ประเมินความเสี่ยงพบวากิจการมีความเสี่ยงดานตนทุน ผูสอบบัญชีจะตองตรวจสอบรายการที่ เกี่ยวของกับความเสี่ยงนั้นอยางระมัดระวังเปนพิเศษ โดยเนนสิ่งที่อาจสงผลตอการบันทึกรายการ และการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ซึ่งขั้นตอนการเตรียมงานและวางแผน จะตองพิจารณาความเสี่ยงและสาระสําคัญ ตรวจสอบและรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีที่มี ความเชื่อถือได จากนั้นทําการสรุปผลการตรวจสอบเพื่อแสดงความคิดเห็นตองบการเงินวางบ การเงินนั้นไดจัดทําในสวนสาระสําคัญเปนไปตามแมบทการบัญชีในการรายงานทางการเงิน ศูน ยก ารเรีย นรู ต น แบบบ านรัก ษพ อเพีย งสงเสริม และปรับ เปลี่ย นความคิด ใหทุก คน กลับมาใชชีวิตแบบพอเพียงตามคําสอนของพอหลวง “เศรษฐกิจพอเพียงเปนเหมือนรากฐานของ ชีวิต” และปองกันตนเองจากปญหาวิกฤตการณอาหารโลกที่มีผลมาจากผลผลิตอาหาร ทั้งจาก


154 พืชผลทางการเกษตรและปศุสัตว มีปริมาณที่ลดลง แตราคากลับสูงขึ้น และไมสามารถผลิตได เพียงพอกับความตองการที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของมนุษย จึงสงผลใหราคาสินคาอาหารสําคัญมี แนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องนั่นเอง เพราะอาหารไมใชเพียงโภคภัณฑ แตอาหารเปนหัวใจของ การอยูรอดของประชากรโลก ปญหาที่เกิดขึ้นไมไดเกิดขึ้น ณ ที่หนึ่งที่ใด แตกลายเปนปญหาใหญ ทางสังคมที่แผขยายไปทั่วโลก หากมีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดีจะชวย ในการระบุและประเมินความเสี่ยง อีกทั้งยังชวยใหองคกรสามารถระบุเหตุการณที่มีความเปนไป ไดที่จะเกิดขึ้น จนสามารถประเมินความเสี่ยงและจัดการตอบสนองตอความเสี่ยงที่เกิดขึ้น รวมถึง ลดสิ่งไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนความสัมพันธของตนทุนและการสูญเสีย ในกระบวนการ ทํางานขององคกร บวกกับการดําเนินชีวิต และดําเนินกิจการแบบพอเพียงทําใหองคกรสามารถ ดําเนินกิจการไดอยางยั่งยืนยิ่งขึ้น ขอเสนอแนะ 1. ในการศึก ษาครั้งตอไปควรศึก ษาระบบการควบคุมภายเพิ่มเติม ตามแนว COSO ERM ขององค ก รหลั ง จากที่ ไ ด มี ก ารนํา แนวทางการแก ไขไปปรั บ ใช และเมื่อ องค ก รมี ก าร เจริญเติบโตในอนาคตแลวจะเกิดสงผลตอระบบการควบคุมภายในอยางไร เพื่อมาทําการประเมิน ประสิทธิภาพการควบคุมภายในและความเสี่ยงตอไป 2. ในการศึกษาครั้งตอไปของศูน ยเรียนรูตนแบบบานรักษพอเพียงควรศึกษาในเรื่อง เกี่ยวกับตนทุนของบริการ และผลิตภัณฑตางๆเพื่อใหสามารถจัดการและวางแผนเกี่ยวกับตนทุน ซึ่งเปนอีกเครื่องมือหนึ่งที่จะชวยใหองคกรอยูรอดภายใตวิกฤตการณอาหารโลก ซึ่งเปนปญหาทีท่ วั่ โลกกําลังประสบอยูในปจจุบัน


เอกสารอางอิง กาญจนา แกวเทพ และ กนกศักดิ์ แกวเทพ. 2530. การพึ่งพาตนเองศักยภาพในการพัฒนา ชนบท.กรุงเทพมหานคร: รุงเรือนสาสนการพิมพ. โกวิทย พวงงาม.2553. ธรรมาภิบาลทองถิ่น วาดวยการมัสวนรวมและความโปรงใส. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง.2547. การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง.กรุงเทพฯ: (ม.ป.พ.). จรีวรรณ จันทรคง. 2551. การวิเคราะหผลการดําเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหมในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุร.ี วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรการเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. จุไรรัตน แสนใจรักษ. 2553. ชุมชนพอเพียง. กรุงเทพฯ: พิมพด.ี ฉายา บุญเสริม. 2551. การควบคุมภายในของสหกรณภาคการเกษตรในจังหวัดกระบี.่ การ คนควาแบบอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชนมณฐั ชา กังวานศุภพันธ. 2553. การควบคุมและตรวจสอบภายใน.กรุงเทพฯ: แอคทีฟพริ้น. ชมรมศิษ ยเ กาบูรณะชนบทและคณะ. 2543. ชาวไรมันสํา ปะหลังกับ ปญหาที่ตองเผชิญ . เอกสารเผยแพรความมั่นคงทางอาหารกับ ชาวไรมันสําปะหลังในการประชุมชาวไรมัน สําปะหลัง,27 ตุลาคม 2543.


156 ณฐพร พันธุอุดม. 2549. แนวทางการควบคุมภายในที่ด.ี กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย. ดาราวรรณ พรหมกัลป.2551. การศึกษาผลการดําเนินงานหมูบา นเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศกึ ษา:หมูบา นเศรษฐกิจพอเพียงตัวอยาง อําเภอปว จังหวัดนาน. วิทยานิพนธ ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราฎอุตรดิตถ. นิพันธ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรีจนั่ . 2549. คูมือสอบ CPA วิชาการสอบบัญชี 1. กรุงเทพฯ:(ม.ป.พ.). นพรัตน ละมุล. 2543.เสรีเกษตร: เงาแอกในความเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: เม็ด ทรายปริ้นติง้ . บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (มปป).ธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ: น้ําฝน. บุณฑริกาจันทรงาม. 2552. การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดยการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง กรณีศกึ ษา ชุมชนบานสระ อําเภอสามชุม จังหวัดสุพรรณบุรี.วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรการเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ประจักษ บุญอารีย, ม.ป.ป. “แนวทางการพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเอง หมูบานในชนบทอีสาน.” เดลี ไทม 14: 16. ประเวศ วะสี และคณะ. 2531. พึ่งตนเองในชนบท :อีกบทหนึ่งของการทบทวนโลกทัศน แหงการพึ่งตนเอง. ขอนแกน: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลันขอนแกน. ผูจัดการออนไลน. 2551. วิกฤติการณอาหารโลก (ออนไลน).แหลงทีม่ า:http://www.lube999 .com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538758321&Ntype=1, 9 ธันวาคม 2555.


157 พิเชีย น ลิมปหวังอยู, 2531, การพึ่งตนเองของประชาชนในโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ : ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการหลวงอาหารสําเร็จรูป อําเภอละหาญ ทราย จังหวัดบุรีรัมย. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต แผนกสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร , จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ยรรยง ธรรมธัชอารี. 2549. อุดรูรั่ว (ในองคกร) กอนลืน่ ลม.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. เยาวลักษณ พิพัฒนจําเริญกุล. 2554. การพัฒนารูปแบบชุมชนแหงการเรียนรูตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.วิทยานิพนธศึกษาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี การศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. วียา คัมเปชีนา. 2539, “ประชาสังคมในมิติความมัน่ คงทางาหาร : กลับคืนสูสามัญ.” จุลสาร ความมั่นคงทางอาหาร 3(ก.ค.-ก.ย. 39):1. สุธาทิพย พาโพธิ.์ 2551. การประเมินระบบการควบคุมภายในของสหกรณออมทรัพย ตํารวจนาน จํากัด.การคนควาแบบอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สุนันทธนา แสนประเสริฐ.2545.ความมั่นคงทางอาหารกับเกษตรกรรมในไทย. นนทบุร:ี ซีทรู มีเดีย จํากัด. สุพาณี ธนีวุฒ,ิ 2544, “ความมั่นคงทางอาหารของสังคมไทยในสายตาโลก.” จุลสารความมั่นคง ทางอาหาร 3(มี.ค.-เม.ย. 44): 9-13. สุภาพ บรรณบดี. 2551. การประเมินการควบคุมภายในของสหกรณการเกษตรในจังหวัด หนองบัวลําภู.การคนควาแบบอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.


158 อภิญญา เปนสูงเนิน. 2551. การวิเคราะหประสิทธิภาพการควบคุมภายใน กรณีศกึ ษา สหกรณโคนมจังหวัดนครราชสีมา.การคนควาแบบอิสระปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อาภาพร ภควัตชัย. 2553. การศึกษาการพึ่งตนเองตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของ ครัวเรือนในชุมชนสามจังหวัดชายแดนภาคใต. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. อุทุมพร ธรรมสนอง.2551. การประเมินผลการควบคุมภายในทางการบัญชีของเหมืองแม เมาะการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย.การคนควาแบบอิสระปริญญาบัญชี มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อุษณา ภัทรมนตรี.2552. การตรวจสอบภายในสมัยใหม. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. อวยพร สุธนธัญญากร และคณะ. 2547. ความมั่นคงทางอาหารของไทย.(ออนไลน). แหลงที่มา : http://library.hsri.or.th/hsrisumit/index.php?catalogy=2 , 7 มกราคม 2556.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.