TSUNAMI (คู่มือแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิ)

Page 1

TSUNAMI คูม ่ อ ื แนวทางการปฏิบต ั ต ิ น เพือ ่ ป้องกันและบรรเทาภัย จากคลืน ่ สึนามิ



Let’s talk about TSUNAMI คูม่ อื แนวทางการปฏิบตั ติ นเพือ่ ป้องกันและบรรเทาภัยจากคลืน่ สึนามิ เล่มนี้ เป็นการน�ำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง สึนามิและแนวทางการ ป้ อ งกั น และบรรเทาภั ย จากคลื่ น สึ น ามิ โดยภายในคู ่ มื อ จะมี เ นื้ อ หา มากมาย อาทิ ความหมายคลื่ น สึ น ามิ สาเหตุ ก ารเกิ ด คลื่ น สึ น ามิ ลั ก ษณะของคลื่ น สึ น ามิ แนวทางป้ อ งกั น ตนเองจากคลื่ น สึ น ามิ รวมไปถึงการตรวจพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคล นอกจากนี้คู่มือเล่มนี้ยังมี อินโฟกราฟิกเรือ่ งต่าง ๆ ทีส่ ามารถอธิบายเนือ้ หาให้ผอู้ า่ นสามารถเข้าใจ ได้งา่ ยมากยิง่ ขึน้ และยังมีสสี นั ทีด่ งึ ดูดใจผูอ้ า่ นให้สนใจคูม่ อื เล่มนีอ้ กี ด้วย ทัง้ นีท้ างคณะด�ำเนินงานหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ผูอ้ า่ นคูม่ อื เล่มนีจ้ ะได้รบั ความ รูใ้ นเรือ่ ง สึนามิและแนวทางการปฏิบตั ติ นเพือ่ ป้องกันและบรรเทาภัยจาก คลืน่ สึนามิ ไม่มากก็นอ้ ย และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าคูม่ อื เล่มนีจ้ ะสามารถน�ำ ไปใช้ประโยชน์ในด้านอืน่ ๆ ได้อกี ต่อไป


contents P.02 P.03 P.06 P.08 P.09 P.10 P.11 P.13 P.15 P.17 P.19 P.21

TSUNAMI สาเหตุการเกิดคลื่นสึนามิ จุดกำ�เนิดคลื่นสึนามิ เพราะอะไร ? ทำ�ไมคลื่นถึงสูงขึ้น รูปร่างอ่าว ส่งผลต่อความสูงของคลื่น น้ำ�ลึก - น้ำ�ตื้น ส่งผลต่อความเร็วของคลื่น การเกิดคลื่นสึนามิ ความแตกต่างระหว่างคลื่นปกติ vs คลื่นสึนามิ มาตราการวัดที่เกี่ยวข้องกับสึนามิ วงแหวนแห่งไฟ ผลกระทบของคลื่นสึนามิ เหตุการณ์สึนามิ ในมหาสมุทรอินเดีย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547


P.23 P.25 P.27 P.29 P.31 P.37 P.39 P.41 P.43 P.45 P.47

จำ�นวนผู้เสียชีวิตในมหาสมุทรอินเดีย สึนามิครั้งแรกในประเทศไทย จำ�นวนผู้เสียชีวิตในประเทศไทย ตรวจอัตลักษณ์ พิสูจน์บุคคล แนวทางปฏิบัติ เมื่อประสบภัย การรับมือสึนามิที่อาจจะเกิดขึ้นอีก สัญญาณขอความช่วยเหลือ แนวทางการป้องกันสึนามิเพื่อเฝ้าระวัง ระบบเตือนภัยสึนามิ ขอขอบคุณข้อมูล EDITORS


HOW TO USE BUTTON

กดคลิก เพื่อลิงก์ไปหน้านั้น

กดปุ่ม PLAY เพื่อเล่น วิดีโอ

กด เพื่อย้อนกลับสู่หน้า CONTENTS

01


TSUNAMI คลื่นสีนามิ (Tsunami) หมายถึง คลื่นที่ เคลือ่ นตัวในมหาสมุทรด้วยความเร็วสูง และ มีพลังรุนแรง สามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะ ไกล แต่เมื่อคลื่นเข้าสู่ชายฝั่งจะท�ำให้เกิด คลื่นขนาดใหญ่มาก ที่เรียกกันว่า คลื่นยักษ์ หรือค�ำว่า สึนามิ

สึนามิ ที่ใช้เรียกกันอยู่ในปัจจุบันนั้น มาจากภาษาญี่ปุ่น ที่แปลว่า อ่าวจอดเรือ แต่โดยทั่วไปทุกคนมักจะเรียกคลื่นนี้ว่า คลื่นยักษ์

02


สาเหตุ การเกิดคลื่นสึนามิ เกิดขึ้นจากการกระทบกระเทือนที่ท�ำให้น�้ำปริมาณมากเกิดการเคลื่อน ตัว เช่น แผ่นดินไหว ท�ำให้แผ่นดินใต้ทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปร่างกะทันหัน ท�ำให้น�้ำทะเลเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับให้เข้าสู่จุดสมดุลและก่อให้เกิดคลื่น สึนามิ ซึง่ การเปลีย่ นรูปร่างของพืน้ ทะเลมักเกิดจากแผ่นดินไหวสะเทือนของ แผ่นเปลือกโลกใต้พื้นท้องทะเลและมหาสมุทรอย่างรุนแรง และท�ำให้มวล น�้ำในมหาสมุทรเกิดการเคลื่อนไหวกลายเป็นคลื่นขนาดใหญ่ แผ่กระจาย เป็นวงกว้างออกไป

1. คลื่นสึนามิเกิดจากแผ่นดินไหว แผ่ น ดิ น ไหว คื อ สาเหตุ อั น ดั บ หนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด สึ น ามิ ม ากถึ ง 82% เมื่อแผ่นดินไหวใต้ทะเลหรือมหาสมุทรจะเกิดแรงสั่นสะเทือนมหาศาล จนกลายเป็นสึนามิ

สาเหตุหลัก ๆ ของการเกิดคลื่น สึนามิ เกิดจากแผ่นดินไหว ที่มีขนาดมากกว่า 8.0 ขึ้นไปตามมาตราริกเตอร์

03


แผ่นดินไหว

สาเหตุหลักของการเกิคลื่นสึนามิ

จุดเกิดแผ่นดินไหว

ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก

1

เคลื่อนที่แบบเคลื่อนผ่าน

2

เคลื่อนที่แบบแยกตัว

3

เคลื่อนที่แบบมุดตัว

แผ่นดินไหวเกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งโลก ของเรามีแผ่นเปลือกโลกทีต่ อ่ กันไม่สนิทและขยับอยูต่ ลอดเวลา ในบางครั้งก็จะเคลื่อนที่ชนกันเองด้วย จึงท�ำให้เกิดแผ่นดินไหว เกือบตลอดเวลาในหลาย ๆ ระดับ ตั้งแต่แผ่นดินไหวเบามากจน เราแทบไม่รู้สึก ไปจนถึงรุนแรงมากระดับท�ำลายล้าง

04


2.คลื่นสึนามิเกิดจากการไร้แผ่นดินไหว 2.1 ชนิดที่ไม่ได้เกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์

การเกิดแผ่นดินถล่มขนาดใหญ่ ใกล้ชายฝัง่

การปะทุของภูเขาไฟใต้ ทะเลหรือบนเกาะในทะเล อย่างรุนแรง

การพุ่งชนของอุกกาบาตลงบนพื้นน�้ำ ด้านในมหาสมุทร 2.2 ชนิดที่เกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์

คลื่นขนาดใหญ่เคลื่อนตัวมาชายฝั่งฟิลิปปินส์ จากการทดลองระเบิดปรมาณูของสหรัฐอเมริกา 05


จุดกำ�เนิด คลื่นสึนามิ เกิดจากการเกิดแผ่นดินไหวในบริเวณเขตมุดตัว หรือบริเวณ รอยต่อของแผ่นเปลือกโลกที่เคลื่อนที่เข้าหากัน ดังนั้น เมื่อแผ่น เปลือกโลกมหาสมุทรเคลื่อนที่ปะทะกับแผ่นเปลือกโลกทวีปแล้ว แผ่นมหาสมุทรจะจมตัวไปอยูท่ ฐี่ านธรณีภาค ท�ำให้เกิดแผ่นดินไหว อย่างรุนแรง และจะเกิดคลืน่ ยักษ์กบั น�ำ้ ทะเลในเวลาถัดมา

06


ฉะนั้นเมื่อคลื่นยักษ์ที่เกิดขึ้นเคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่งที่มีน�้ำตื้น จะท�ำให้คลื่นที่ซัดเข้าหาชายฝั่งมีขนาดสูงจนสามารถพังทลาย อาคาร บ้านเรือนหรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ได้อย่างง่าย แต่ความ สูงของคลื่นที่เกิดขึ้น จะขึ้นอยู่กับโครงสร้างของชายหาด เพราะ ฉะนั้นการเกิดคลื่นสึนามิจากแหล่งเดียวกัน อาจส่งผลแตกต่าง กัน หรืออาจเรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ว่า Drag-down คือ ระดับน�้ำจะลดลงอย่างกะทันหันและขอบน�้ำทะเลจะหดตัวลง อย่างรวดเร็ว และท�ำให้เกิดคลื่นในเวลาถัดมา ภาพการเกิดสึนามิ

07


เพราะอะไร? ทำ�ไมคลื่นถึงสูงขึ้น คลืน่ สึนามิเดินทางได้เร็วกว่า 800 กม./ชม. ในน�ำ้ ลึก แต่เมือ่ ถึงบริเวณน�ำ้ ตืน้ เช่น อ่าว หรือชายฝัง่ ความเร็วจะลดลงต�ำ่ กว่า 80 กม./ชม.เมือ่ ความเร็วลดลงท�ำให้คลืน่ ทีม่ าถึงน�ำ้ ตืน้ ก่อนชะลอตัว ในขณะทีค่ ลืน่ ลูกหลังก็เข้ามาสมทบด้วยความเร็วเท่าเดิม จึงเกิดการ รวมตัวของน�ำ้ กลายเป็นคลืน่ ขนาดสูงใหญ่โถมเข้าสูช่ ายฝัง่ ในทีส่ ดุ

08


รูปร่างอ่าว ส่งผลต่อความสูงของคลื่น

โดยคลื่นสึนามิจะสูงที่สุด เมื่อเกิดในอ่าวรูป V

09


น้ำ�ลึก-น้ำ�ตื้น ส่งผลต่อความเร็วของคลื่น ความเร็ ว ของคลื่ น สึ น ามิ สั ม พั น ธ์ กั บ ความลึ ก ของจุ ด เกิ ด แผ่ น ดิ น ไหว ยิ่ ง แผ่ น ดิ น ไหวเกิ ด ลึ ก มาก ความเร็ ว ของคลื่ น ก็ ยิ่งเพิ่มมากขึ้น คลื่นสึนามิอาจมีความเร็วสูงถึง 800 ก.ม/ชม. เทียบเท่ากับความเร็วของเครือ่ งบินเจ็ทเลยทีเดียว แต่เมือ่ ความลึก ลดลง ความเร็วของคลื่นก็ลดลงตามถ้าความลึก 4,000 เมตร คลื่นจะเร็วถึง 700-800 กม./ชม. แต่คลื่นก็จะไม่สูง ซึ่งบางที อาจดูไม่แตกต่างจากคลื่นธรรมดานัก ในขณะที่ความลึก 5 เมตร คลืน่ จะมีความเร็วลดลงเหลือ 40 กม./ชม. แต่กย็ งั ถือว่ามีความเร็ว เกือบเท่ามอเตอร์ไซค์ ส่วนคลื่นก็จะสูงมาก

10


การเกิดคลื่นสึนามิ สาเหตุ ส่ ว นใหญ่ ข องการเกิ ด สึ น ามิ ม าจากการเคลื่ อ นตั ว ของแผ่ น เปลื อ กโลก โดยมีจดุ ศูนย์กลางแผ่นดินไหวลึกไม่เกิน 60 กิโลเมตรจากผิวโลก การเคลือ่ นตัวของ แผ่นเปลือกโลก โดยเฉพาะในลักษณะ “การเคลือ่ นตัวแบบปกติ” (Normal Fault) คือ แผ่นเปลือกโลกเลือ่ นแผ่น บนเลือ่ นตัวลงต่ำ� หรือ “การเคลือ่ นตัวแบบกลับทิศ” (Reverse Fault) คือ แผ่นเปลือกโลกแผ่นล่างเกิดการมุดตัวและยกแผ่นบกให้สงู ขึน้ จะทำ�ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของมวลน้ำ�อย่างรวดเร็ว แรงดันทำ�ให้มวลน้ำ�ยกตัวขึน้ หรือ ยุบตัวลงในบริเวณทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงจนเกิดเป็นคลืน่ น้ำ�ทีผ่ วิ ทะเล เรียก “สึนามิ”

คลื่นปกติ ระดับน้ำ�ทะเลจะขึ้น-ลง ตามแรงดึงดูดของดวงจันทร์ โลก และดวงอาทิตย์

11


คลื่นสึนามิ แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เปลี่ยน ระดับในทิศทางที่ต�่ำลง

แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เปลี่ยน ระดับในทิศทางที่สูงขึ้น

ระดับน�้ำทะเลลดลงจากชายฝั่ง

ระดับน�้ำทะเลลดลงจากชายฝั่ง

น�้ำไหลไปรวมกันในจุดที่มี การเปลี่ยนแปลงระดับ

น�้ำไหลไปรวมกันในจุดที่มี การเปลี่ยนแปลงระดับ

เกิดคลื่นน�้ำขนาดยักษ์ ไหลย้อนกลับเข้าชายฝั่ง

เกิดคลื่นน�้ำขนาดยักษ์ ไหลย้อนกลับเข้าชายฝั่ง 12


ความแตกต่างระหว่าง คลื่นปกติ VS คลื่นสึนามิ คลื่นปกติ เกิดจากปรากฏการณ์ น�้ำขึ้นน�้ำลงตามปกติ

ความเร็วของคลื่น จะไม่เกิน 90 กม./ซม.

13

เมื่อลม พายุสงบลง คลื่นก็จะสงบตามทันที

โดยทั่วไปคลื่นจะสูง ไม่เกิน 2 เมตร

เกิดจากแรงลมและ พายุต่าง ๆ พัดบนผิวน�้ำ


คลื่นสึนามิ คลื่นสึนามิจะไม่สงบทันที แต่จะ ใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าจะสงบ

เมือ่ เข้าสูเ่ ขตน�ำ้ ตืน้ หรือชายฝัง่ จะมี ค วามสู ง หลายเมตรถึ ง หลายสิบเมตร

บางครั้งอาจเกิดจากฝีมือมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดปรมานู

เกิดจากปรากฏการณ์ ทางธรณีวิทยา

ในเขตน�ำ้ ลึกคลืน่ จะมีความเร็ว ได้มากกว่า 800 กม./ซม.

14


มาตราการวัด ที่เกี่ยวข้องกับสึนามิ เมอร์คัลลี่

ริกเตอร์

โมเมนต์ แมกนิจูด

15

มาตราสำ�หรับใช้กำ�หนดชั้นความรุนแรงของแผ่นดินไหว โดยมาตราเมอร์ คั ล ลี่ กำ�หนดได้ จ ากความรู้ สึ ก หรื อ การ ตอบสนองของผู้คนที่ได้รับจากการเกิดแผ่นดินไหวและ มาตราเมอร์คัลลี่ใช้หน่วยวัดระดับการเกิดแผ่นดินไหวเป็น ตัวเลขโรมัน

มาตราวัดขนาดของแผ่นดินไหว โดยบันทึกจากเครือ่ งวัด คลืน่ ไหวสะเทือน โดยตัวเลขทีบ่ ง่ บอกสามารถเปรียบเทียบ ขนาดแผ่นดินไหวต่างกัน ขนาดของแผ่นดินไหวทีเ่ ป็นตัวเลข ทีย่ งั บ่งชีค้ วามร้ายแรงของแผ่นดินไหวทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ เทียบกับ แผ่นดินไหวทีเ่ กิดขึน้ ทีร่ ะดับศูนย์

มาตราที่วัดขนาดของคลื่นแผ่นดินไหว โดยบันทึกได้จาก เครื่องบันทึกแผ่นดินไหวในลักษณะที่คล้ายคลึงกับค่าที่ บันทึกได้ในมาตราริกเตอร์ แต่มีความละเอียดและแม่นยำ� มากกว่า


เครื่องวัดแผ่นดินไหว

ไซโมกราฟ เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวชนิดการสั่นสะเทือนได้ทุกขนาดมี ทั้งการวัดขนาดของความลึกโดยการวัดจะคำ�นวณจากการหา จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว

เครื่องมือวัดขนาดความ รุนแรงของแผ่นดินไหว เครื่องมือวัดขนาดความรุนแรงของแผ่นดินไหว เพื่อหาอัตรา เร่งของพื้นดิน

16


สถิติ เรียงล�ำดับความรุนแรง ที่เกิดบริเวณวงแหวนแห่งไฟ

อันดับที่ 1 : 22 พฤษภาคม ค.ศ.1960 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.5 ริกเตอร์ ที่เมือง V อันดับที่ 2 : 27 มีนาคม ค.ศ.1964 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.2 ริกเตอร์ ที่อลาสกา ป อันดับที่ 3 : 26 ธันวาคม ค.ศ.2004 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.1 ริกเตอร์ ที่เกาะสุมาต อันดับที่ 4 : 4 พฤศจิกายน ค.ศ.1952 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.0 ริกเตอร์ ที่ KamC

17


วงแหวนแห่งไฟ พื้นที่เสี่ยงภัยการเกิดสึนามิ การเกิดสึนามิสว่ นใหญ่เกีย่ วข้องกับแผ่นดินไหว พื้ น ที่ ที่ เ กิ ด แผ่ น ดิ น ไหวมากมั ก จะมี โ อกาสเกิ ด คลื่นสึนามิและพื้นที่ที่มีความเสี่ยงมากที่สุด คือ บริเวณวงแหวนแห่งไฟ ซึง่ เป็นพืน้ ทีร่ อบมหาสมุทร แปซิฟิกยาวมาจนถึงหมู่เกาะสุมาตรา ซึ่งการเกิด แผ่นดินไหวที่ประเทศอินโดนีเซีย มีลักษณะคล้าย เกือกม้าในบริเวณนี้มีภูเขาไฟถึง 452 ลูก และยัง เป็นภูเขาไฟคุกรุ่นถึงร้อยละ 75 การเกิดแผ่นดิน ไหวกว่าร้อยละ 90 ที่เกิดทั่วโลกนั้นเกิดขึ้นจาก แผ่นดินไหวในบริเวณนี้ทั้งสิ้นและมากกว่าร้อยละ 80 เป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ซึ่งอาจท�ำให้เกิด สึนามิตามมา นอกจากวงแหวนแห่งไฟแล้ว ยังมีแนวแผ่นดิน ไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมี แนวต่อมาจากเกาะชวาสูเ่ กาะสุมาตราผ่านเทือกเขา หิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหว แห่งนีม้ แี ผ่นดินไหวเกิดขึน้ ร้อยละ 17 ของทัว่ ทัง้ โลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก โดยร่องเกือกม้าของวงแหวนแห่งไฟ เกิดจากการ เคลือ่ นทีแ่ ละการชนกันของแผ่นเปลือกโลกทีเ่ ลือ่ น และแยกตัวกันเป็นแผ่น ๆ

Valdivia ประเทศชิลี ประเทศสหรัฐอเมริกา ตรา ประเทศอินโดนีเซีย (เกิดคลื่นสึนามิที่ประเทศไทย) Chatka ประเทศรัสเซีย

18


ผลกระทบ ของคลื่นสึนามิ เมื่ อ เกิ ด คลื่ น สึ น ามิ ห ากขาดการป้ อ งกั น จะทำ�ให้ เ กิ ด ผลกระทบ ตามมามากมายมหาศาล ซึ่งสึนามินั้นถือว่าเป็นภัยจากธรรมชาติที่ รุนแรงสามารถสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน

สึนามิประเทศชิลี พ.ศ. 2553 แคว้นเมาเล ประเทศชิลี เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

1. ผลต่อชีวิต ประชาชนจ�ำนวนมากได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต เนื่องจาก ประเทศไทยไม่เคยมีภัยธรรมชาติที่รุนแรงเหมือนคลื่นสึนามิมา ก่อน จึงท�ำให้ประชาชนท้องถิน่ ไม่มคี วามรูแ้ ละประสบการณ์ อีก ทั้งชายฝั่งทะเลอันดามันยังไม่มีสัญญาณเตือนภัยคลื่นสึนามิ ท�ำให้ประชาชนไม่สามารถที่จะเอาชีวิตรอดได้ทันเวลา

19


2. ผลต่อจิตใจ หลังเกิดเหตุการณ์สึนามิท�ำให้เกิดการสูญเสีย ครัง้ ยิง่ ใหญ่สง่ ผลกระทบถึงจิตใจ ซึง่ ผูป้ ระสบภัย นัน้ จะมีอาการหดหู่ หวาดกลัว เนือ่ งจากสูญเสียคน ใกล้ชดิ ญาติพนี่ อ้ งและทีอ่ ยูอ่ าศัย

3. ผลต่อที่อยู่อาศัย สึนามิมีพลังงานมหาศาลสามารถพัดหอบและ ท�ำลายบ้านเรือน โรงแรม ร้านค้า ที่อยู่บริเวณ ชายฝั่งเป็นบริเวณกว้าง

4. ผลต่อเศรษฐกิจ การเกิ ด คลื่ น สึ น ามิ ท� ำ ให้ อุ ต สาหกรรมการ ท่องเทีย่ วได้รบั ผลกระทบมากทีส่ ดุ เนือ่ งจากพืน้ ที่ ทีเ่ กิดสึนามิเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีไ่ ด้รบั ความนิยม ท�ำให้สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ได้รับความเสียหายเป็น จ�ำนวนมาก นักท่องเที่ยวลดน้อยลง และส่งผล กระทบต่อการท�ำประมงของคนในพืน้ ที่

5. ผลต่อสิ่งแวดล้อม คลืน่ สึนามิทเี่ กิดขึน้ ส่งผลให้ชายฝัง่ ทีถ่ กู กัดเซาะ จนเปลีย่ นรูปร่าง แนวปะการังหักเกิดความเสียหาย สัตว์ในท้องทะเลสูญหาย เน่า ตาย ดินทีเ่ ปลีย่ นเป็น ดินเค็มจนท�ำให้ปลูกต้นไม้ไม่ได้ เกิดซากปรักหักพัง ใต้ทอ้ งทะเล 20


เหตุการณ์สึนามิในมหาสมุทรอินเดีย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 จากเหตุการณ์สนึ ามิเมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 นับเป็นภัยพิบตั ิ ทีร่ นุ แรงในประวัตศิ าสตร์ มียอดผูเ้ สียชีวติ กว่า 220,000 คน นับเป็น ภัยทางธรรมชาติทม่ี ผี เู้ สียชีวติ มากเป็นอันดับ 3 ของโลกเท่าทีม่ กี ารบันทึกไว้

คลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นมีจุดเริ่มต้นที่จุดก�ำเนิดของแผ่นดินไหวนอกชายฝั่งด้าน ตะวันตกของหัวเกาะสุมาตราในประเทศอินโดนีเซีย แล้วเคลื่อนตัวแผ่ขยาย ไปทั่วทะเลอันดามัน จนถึงชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและ เกาะศรีลังกา บางส่วนของคลื่นยังเคลื่อนตัวไปถึงชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกาด้วย รวมถึงประเทศทีป่ ระสบภัยจากคลืน่ สึนามิ และมีผเู้ สียชีวติ ในครัง้ นัน้ 11 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลงั กา มัลดีฟส์ โซมาเลีย แทนซาเนีย และเคนยา

21


ลำ�ดับเหตุการณ์

1

07.59 น. ตามเวลาประเทศไทย เกิดแผ่นดินไหวในทะเลเหนือเกาะ สุมาตราขนาด 9.0 ริกเตอร์ มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ บี่ ริเวณนอกฝัง่ ด้านตะวันตกทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย

2

หลังเกิดแผ่นดินไหวไม่นาน ได้เกิดคลื่นสึนามิ เคลื่อนตัวเข้า สู่ฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ในจังหวัดอาเจะห์ ความสูงราว 30 เมตร

3

เวลาประมาณ 10.00 น. คลื่นสึนามิเคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งทาง ตอนเหนือประเทศมาเลเซีย และ 6 จังหวัดทางภาคใต้ของไทย ได้แก่ กระบี่ พังงา ภูเก็ต สตูล ตรัง และระนอง

4

คลื่นสึนามิส่วนหนึ่งเคลื่อนตัวไปทางเหนือจนถึงชายฝั่งของ ประเทศพม่าและบังกลาเทศ อยูห่ า่ งจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว 1,500 - 1,700 กิโลเมตร

5

คลืน่ สึนามิเคลือ่ นตัวจากเกาะสุมาตราไปทางตะวันตกถล่มดินแดน ประเทศอินเดีย และบริเวณชายฝัง่ ตะวันออกของประเทศศรีลงั กา

6

ต่อจากประเทศศรีลังกา คลื่นสึนามิได้เคลื่อนตัวผ่านมหาสมุทร อิ น เดี ย ไปถึ ง หมู ่ เ กาะมั ล ดี ฟ ส์ ห่ า งจากเกาะศรี ลั ง กาไปทาง ตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 640 กิโลเมตร

7

คลื่นสึนามิส่วนหนึ่งยังคงเคลื่อนตัวไปถึงชายฝั่งตะวันออกของ ทวีปแอฟริกา อยูห่ า่ งจากจุดก�ำเนิดแผ่นดินไหว ประมาณ 5,500 กิโลเมตร ท�ำให้ชายฝั่งประเทศโซมาเลียและประเทศเคนยา เสียหายมากพอสมควร 22


23


จำ�นวนการเสียชีวิตในมหาสมุทรอินเดีย จากเหตุการณ์สึนามิ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 *เรียงล�ำดับผู้เสียชีวิตจากมากไปน้อย

24


สึนามิครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 คลืน่ สึนามิทเี่ กิดขึน้ กับ 6 จังหวัด ทางภาคใต้ของประเทศไทย น�ำพา ความสู ญ เสี ย อย่ า งมหาศาลทั้ ง ชีวิตและทรัพย์สิน โดยพื้นที่ที่เกิด เหตุเป็นพืน้ ทีอ่ ยูต่ ดิ กับชายฝัง่ ทะเล อันดามัน ได้แก่ ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล โดยเฉพาะที่ พังงา กระบี่ และภูเก็ตมีการสูญ เสียมากที่สุด ซึ่งคลื่นสึนามิที่เกิด ขึ้นมีความสูงถึง 10 เมตร นับว่า เป็นภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ อย่างรุนแรงและรวดเร็ว

25


ลำ�ดับเหตุการณ์

1

เวลา 09.35 น. น�ำ้ ทะเลแห้งจากบริเวณชายหาด โดยถดถอย ลงเป็นระยะทาง 100 เมตร เป็นเวลา 5 นาที

2

เวลา 09.38 น. คลื่นสูงประมาณ 2-3 เมตร เข้ากระทบฝั่ง

3

เวลา 09.43 น. คลื่นสูง 6-7 เมตร เข้ากระทบฝั่ง

4

เวลา 10.03 น. คลื่นสูงเกินกว่า 10 เมตร เข้ากระทบฝั่งเป็น เวลา 20 นาที

5

เวลา 10.20 น. คลื่นสูง 5 เมตร เข้ากระทบฝั่ง ท�ำให้เกิดน�้ำ ท่วมอยู่ประมาณ 1 ชั่วโมง

6

น�้ำทะเลกลับสู่ระดับปกติเวลาประมาณ 12.00 น.

26


จำ�นวนการเสียชีวิตในประเทศไทย จากเหตุการณ์สึนามิ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 *เรียงล�ำดับผู้เสียชีวิตจากมากไปน้อย

1. พังงา คนไทย ต่างชาติ ไม่ระบุสัญชาติ

เสียชีวิต 1,389 2,114 722

บาดเจ็บ 4,344 1,253

สูญหาย 1,428 305

เสียชีวิต 357 203 161

บาดเจ็บ 808 568

สูญหาย 329 240

เสียชีวิต 151 111 17

บาดเจ็บ 591 520

สูญหาย 256 354

2. กระบี่ คนไทย ต่างชาติ ไม่ระบุสัญชาติ

3. ภูเก็ต คนไทย ต่างชาติ ไม่ระบุสัญชาติ

ประเทศไทยมียอดผู้เสียชีวิตเป็นอันดับ 4 ของทั้ง 11 ประเทศที่ได้รับผลกระทบ 27


4. ระนอง คนไทย ต่างชาติ ไม่ระบุสัญชาติ

เสียชีวิต 153 6 0

บาดเจ็บ 215 31

สูญหาย 9 0

เสียชีวิต 3 2 0

บาดเจ็บ 92 20

สูญหาย 1 0

เสียชีวิต 6 0 0

บาดเจ็บ 15 0

สูญหาย 0 0

เสียชีวิต 2,059 2,436 900

บาดเจ็บ 6,065 2,023

สูญหาย 2,023 909

5. ตรัง คนไทย ต่างชาติ ไม่ระบุสัญชาติ

6. สตูล คนไทย ต่างชาติ ไม่ระบุสัญชาติ

รวม คนไทย ต่างชาติ ไม่ระบุสัญชาติ

28


ตรวจอัตลักษณ์ พิสูจน์บุคคล เป็นวิทยาศาสตร์ ลายพิมพ์นิ้วมือ เพือ่ น�ำมาเปรียบเทียบกับลายนิว้ มือ ที่ เ คยพิ ม พ์ ไ ว้ จ ากสิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ เรียกกันว่า ลายนิว้ มือแฝง

DNA ใช้เอ็นไซม์จำ� เพาะตัดเส้นนิวคลีโอไทด์ ออกเป็นท่อน ซึง่ การเปรียบเทียบ DNA สามารถพิสูจน์บุคคลได้และสามารถ พิสูจน์ความเป็นพ่อแม่ลูก ซึ่งตรวจ ได้จากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย รวมถึง คราบเลือด คราบอสุจิ กระดูก

ฟัน ตรวจสภาพฟั น ของศพจากการ X-Ray รากฟั น เพื่ อ เปรี ย บเที ย บ กั บ ฟั น จากทั น ตแพทย์ เนื่ อ งจาก ฟันแต่ละซี่มี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านลิ้น ด้านกระพุ้งแก้ม ด้านหน้า ด้านหลัง และด้ า นสบฟั น ซึ่ ง สภาพฟั น ของ แต่ละคนสามารถบอกอายุได้ 29


ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ สังเกตด้วยสายตา วิธีนี้ใช้มากที่สุดในการพิสูจน์บุคคลจากการดูรูปร่าง หน้าตาภายนอก แต่ไม่สามารถยืนยันบุคคลที่สูญหายได้

ไฝ ปาน รอยแผลเป็น ตรวจสอบไฝ ปาน และรอยแผลเป็นจากศพ

ความพิการ ความผิดปกติ หรือความพิการของอวัยวะบางส่วน ที่เกิดจากการผ่าตัด กรณีนี้ผู้แจ้งต้องระบุว่าผู้สูญหาย มีความผิดปกติส่วนไหน หากตรงจะต้องเทียบด้วยการ X-Ray อีกครั้ง เพื่อยืนยันว่าเป็นจริง

เอกสารประจ�ำตัว เช่น บัตรประชาชน พาสปอร์ต

ของใช้ติดตัว สิ่งของเครื่องใช้ติดตัวหรือรอยเย็บ ชนิด ลวดลาย เสื้อผ้าที่ใส่อยู่ หรือเครื่องประดับที่น�ำมาพิสูจน์ 30


วิธีการตรวจอื่น ๆ

1. กรณีที่ชิ้นส่วนของศพหรือกระดูก ไม่สามารถพิสจู น์บคุ คลจากรูปร่างหน้าตา ได้ อาจใช้วิธีตรวจเนื้อเยื่อของศพที่ได้มา เพือ่ ตรวจหาเพศของชิน้ ส่วนนัน้ โดยการท�ำ Cell Imprint คือ การเอาชิน้ เนือ้ แปะบน สไลด์กระจก ให้เซลล์หลุดติดอยูแ่ ล้วย้อมสี Quinacrine HCL 0.5% เพือ่ ตรวจเพศ

2. การท�ำภาพเชิงซ้อน คือ การน�ำ รูปถ่ายของผู้สูญหายถ่ายซ้อนกับภาพ กะโหลกศีรษะที่มีขากรรไกร โดยจัดท่า ของกะโหลกให้อยูใ่ นท่าเดียวกับภาพถ่าย

3. การตรวจทางซีโรโลยี่ คือ การตรวจ สารเคมีต่าง ๆ ในเลือด หรือสารคัดหลั่ง จากส่วนต่าง ๆ หรือจากเนื้อเยื่อ อาจใช้ ตรวจพิสูจน์ตัวบุคคลได้

31


แนวทางการปฏิบัติ เมื่อประสบภัย ก่อนเกิดสึนามิ 1. สังเกตรอบ ๆ ตัว โดยสั ง เกตและตรวจสอบว่ า ที่ พั ก ที่ ท� ำ งานมี ค วามสู ง ที่ พ ้ น จากพื้ น ที่ เตือนภัยจากหน่วยงานท้องถิ่นก�ำหนด หรื อ ไม่ หรื อ อยู ่ ใ นเขตชายฝั ่ ง ใกล้ กั บ ทะเลหรือไม่ และควรสังเกตว่าที่พักและ ที่ท�ำงานมีป้ายเตือนระบุว่าเป็นพื้นที่เสี่ยง ที่จะเกิดสึนามิหรือไม่

2. เตรียมของใช้จ�ำเป็น เช่น ถุงยังชีพทีป่ ระกอบด้วยอาหาร น�ำ้ อุปกรณ์ปฐมพยาบาล ยารักษาโรค และ อุปกรณ์สำ� หรับเอาชีวติ รอดส�ำหรับทุกคนใน ครอบครัวรวมถึงสัตว์เลีย้ ง เอาไว้ในทีท่ กุ คน สามารถหยิบจับได้งา่ ย

3. การเตือนภัย สั ง เกตการเตื อ นภั ย จากชุ ม ชนและ หน่วยงานปกครอง เพือ่ เตรียมข้อมูลส�ำหรับ เตือนภัยครอบครัว ที่ท�ำงาน คนในชุมชน ให้รเู้ ท่าทันเหตุการณ์กอ่ นทีจ่ ะเกิดขึน้ หาก ทางหน่วยงานท้องถิน่ มีแผ่นพับ เว็บไซต์ให้ ถ่ายเอกสารเพือ่ น�ำไปแจกจ่ายหรือขอร้องให้ หน่วยงานประกาศเตือนภัยให้แก่ประชาชน รับรู้ 32


4. เตรียมแผน อพยพ

5. ระวังระดับน้าทะเล ลดอย่างรวดเร็ว

6. สังเกตพฤติกรรมสัตว์

7. ระวังตัวให้มากขึ้น 33

เพือ่ เตรียมแผนอพยพเอาชีวติ รอดจากพืน้ ทีเ่ สีย่ ง โดยเริม่ จากตนเองและครอบครัวด้วยการออกมา จากพืน้ ทีใ่ ห้เร็วทีส่ ดุ และประสานงานกับหน่วยงาน ท้องถิน่ เพือ่ เตรียมแผนอพยพส�ำหรับ โรงเรียนและ ชุมชนให้ไปในเส้นทางทีป่ ลอดภัยทีส่ ดุ และติดต่อให้ หน่วยงานเตรียมเส้นทางทีม่ คี วามปลอดภัยไว้หลาย เส้นทาง เผือ่ มีเหตุแผ่นดินไหวหรือถนนขาดเกิดขึน้

หากระดับน�้ำทะเลลดลงอย่างรวดเร็ว จน เห็ น ผื น ทรายโล่ ง อาจเป็ น สั ญ ญาณเตื อ น ส�ำคัญที่บอกว่าจะเกิดคลื่นยักษ์ซัดเข้าฝั่งใน เร็ว ๆ นี้

เนื่ อ งจากสั ต ว์ จ ะหนี อ อกจากพื้ น ที่ ห รื อ มี พฤติกรรมแปลกไปจากเดิม เช่น พยายามเข้ามา หลบภัยในบ้านมนุษย์ หรือรวมกลุม่ กันแบบทีไ่ ม่ เคยท�ำมาก่อน

หากอาศัยอยูใ่ นเขตชายฝัง่ การเกิดเหตุการณ์ แผ่นดินไหวอาจเป็นสัญญาณให้ตื่นตัวและ อพยพทันที


ระหว่างประสบภัยสึนามิ

1. มีสติ

2. อย่าชะล่าใจ

3. คนที่อยู่บนเรือ ให้แล่นออกไปยัง ทะเลลึก

การมีสติ เป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด ควรคิดถึง สิง่ ของทีต่ อ้ งพกไป และอพยพขึน้ ทีส่ งู หรือ ทีป่ ลอดภัยและมัน่ คง หรือหลีกเลีย่ งการใช้ รถยนต์ เพราะถ้ารถติดจะท�ำให้หนีได้ชา้ ลง

คลื่นลูกที่เกิดขึ้นทีหลังอาจมีขนาดใหญ่ กว่าลูกแรกได้อีกด้วย ดังนั้นควรรีบหนี ตั้งแต่แรกจะดีที่สุด

ควรอยูใ่ ห้หา่ งจากชายฝัง่ ให้เร็วทีส่ ดุ เมือ่ สังเกตเห็นความผิดปกติขนึ้ เพราะในน�ำ้ ลึก คลื่นสึนามิจะไม่สูงจึงไม่มีอันตรายมาก

34


คนทีอ่ ยูบ่ นฝัง่ จะต้องหนีขนึ้ ทีส่ งู ทีม่ นั่ คงให้ เร็วทีส่ ดุ เช่น บนภูเขา หรือสถานทีท่ จี่ ดั เตรียม ไว้สำ� หรับหนีสนึ ามิ

4. หนีขึ้นที่สูง

ถ้าหนีไม่ทัน ให้รีบหาที่เกาะที่แข็งแรง เช่น ต้นไม้ใหญ่ และควรรีบขึ้นจากน�้ำจะได้ ไม่ถูกสิ่งของที่น�้ำพัดมาชน

5. หาที่ยึดเกาะ

6. อาจมีน�้ำท่วมบ้าน

อยูไ่ กลจากชายฝัง่ ไม่ได้หมายความว่าจะ รอด เพราะอาจมีนำ�้ ท่วมเข้าบ้านเรือน หรือ พื้นที่เพาะปลูกเแถวนั้นได้

ถ้าหนีพน้ แล้ว ควรรอจนกว่าจะมีการประกาศ ว่าเหตุการณ์สงบแล้วค่อยออกจากทีห่ ลบภัย

7. รอประกาศ 35


หลังประสบภัยสึนามิ

1. เตรียมเผชิญ

2. รอประกาศ

3. การเอาตัวรอด ยังไม่จบ

4. ฟื้นฟูชุมชน

เตรียมเผชิญอาฟเตอร์ช็อกและคลื่น ซัดอีกหน เนื่องจากคลื่นลูกที่ตามมา ทีหลังอาจจะใหญ่กว่าคลื่นลูกล่าสุด

เมื่อมีการประกาศแล้ว สามารถกลับ บ้ า นได้ แต่ อ าจต้ อ งใช้ เ ส้ น ทางอื่ น ที่ สามารถอพยพได้ เพราะถนนหลายสาย อาจโดนคลื่นสึนามิซัดจนเสียหาย

รู้ว่าการเอาชีวิตรอดจะยังไม่จบหลัง สึนามิผ่านไป เนื่องจากแหล่งน�้ำอาจ ถูกท�ำลายหรืออาจไม่มีอาหารเหลืออยู่ และอาจเกิดโรคแพร่ระบาดขึ้นรวมถึง สภาวะจิตใจที่ตกต�่ำ ดังนั้น ต้องมีสติ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

ฟื้นฟูชุมชนด้วยแผนคืนสภาพ ด้วย การเปิดบ้านและอาคารที่ไม่เสียหาย ให้ผู้คนเข้าไปอยู่และจัดหาน�้ำสะอาด เครือ่ งปัน่ ไฟ รวมถึงแจกจ่ายอาหารและ รักษาคนป่วยให้เร็วที่สุด 36


การรับมือสึนามิ ที่อาจจะเกิดขึ้นอีก

เลี่ยงการสร้างบ้านริมชายฝั่ง สึนามิจะท�ำลายพื้นที่บริเวณริมชายฝั่งเป็นหลัก ดังนั้นจึงควร หลีกเลี่ยงการสร้างบ้าน หรืออาคารต่างๆใกล้ริมชายฝั่งทะเล หรือ ล�้ำเข้าไปยังพื้นที่ชายฝั่งเพื่อลดความเสี่ยงจากสึนามิ

หันด้านแคบเข้าชายฝั่ง ถ้าเลี่ยงการสร้างบ้านใกล้ชายฝั่งไม่ได้ ก็ควรจะสร้างบ้านหรือ อาคารโดยหันด้านแคบเข้าแนวชายฝั่งเพื่อลดแรงปะทะสึนามิ

37


สร้างแนวป้องกัน เมื่อสร้างบ้านหรืออาคารต่างๆขึ้นมาแล้ว ควรที่จะสร้างแนว ป้องกันไว้ดว้ ย เช่น ปลูกต้นไม้ สร้างก�ำแพง หรือวัสดุตา่ งๆ ทีจ่ ะช่วย ลดแรงปะทะของสึนามิ

อนุรักษ์ธรรมชาติ 1. ป่าชายเลน เพราะป่าชายเลน

เปรียบเสมือนการปะทะคลืน่ แนวแรก ก่อนที่คลื่นสึนามิจะโถมเข้ามา การ มีแนวปะทะคลื่นจะท�ำให้คลื่นสึนามิ นัน้ แตกตัวมีขนาดเล็กลง และมีความ รุนแรงน้อยลงด้วย

2. แนวปะการั ง ใต้ ท ะเล

จะท�ำหน้าทีค่ ล้ายแถบชะลอความเร็ว บนถนน ช่วยสร้างแรงเสียดทานชะลอ ความเร็วของคลืน่ สีนามิกอ่ นถึงชายฝัง่ เมื่อความเร็วลดลงก็มีเวลาอพยพได้ มากขึน้

38


สัญญาณ ขอความช่วยเหลือ

1

2

โบกสิ่งของสีสด เช่ น ธงสี แ ดง หรือสีส้ม

3

39

ใช้กระจกเพื่อ สะท้อนแสง

ก่อกองไฟ


4

5

เป่านกหวีด

ส่องไฟฉาย

6

ท�ำสัญลักษณ์ SOS ลงบนพื้นที่กว้าง ๆ

40


แนวทางการป้องกัน สึนามิเพื่อเฝ้าระวัง

ภาครัฐบาล

1.รัฐควรศึกษาและพัฒนาการสร้างระบบเตือนภัย ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทัง้ ด้านเครือ่ งมือ และเจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบ เพือ่ ให้สามารถแจ้งข้อมูลข่าวสารได้ รวดเร็วและถูกต้องแม่นย�ำ รวมไปถึงความร่วมมือ กับนานาประเทศในเรือ่ งการพัฒนาระบบเตือนภัย คลืน่ สินามิอกี ด้วย

2.รั ฐ ควรมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ แ ละให้ ค วามรู ้ เ แก่ ป ระชาชนเกี่ ย วกั บ การป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิและแผ่นดินไหว

3.ควรมีการจัดวางผังเมืองให้เหมาะสม ชุมชนที่พักอาศัยบริเวณชายฝั่ง ควรก่อสร้างบ้านเรือนให้อยู่ห่างชายฝั่งในระยะที่ปลอดภัย ก�ำหนด โครงสร้างอาคารที่เหมาะสมในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยจากคลื่นสึนามิ

4.ควรมี ก ารวางแผนล่ ว งหน้ า หากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ จ ริ ง ต้ อ งมี ร ะบบ การประสานงานระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ก�ำหนดขัน้ ตอนการช่วยเหลือ บรรเทาภัย ระบบการให้บริการสาธารณสุข และการรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้าง 5.ควรมีการส�ำรวจเส้นทางเพื่อจัดเตรียมไว้ส�ำหรับใช้เป็นเส้นหลบภัย คลื่นสึนามิ พร้อมทั้งจัดเตรียมหรือก่อสร้างสถานที่ที่ปลอดภัยส�ำหรับ ประชาชนเมื่อประสบภัย 6.ควรมีการวางแผนในการฝึกซ้อมเพื่อหนีภัยจากคลื่นสึนามิ โดยอาศัย ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 41


ภาคประชาชน

1. ศึกษาหาความรูแ้ ละข้อเท็จจริงเกีย่ วกับ คลืน่ สึนามิ เช่น คลืน่ สึนามิสว่ นใหญ่เกิด จากแผ่นดินไหวในมหาสมุทร ซึง่ อาจเกิด ใกล้หรือไกลออกไป ความสูงของคลืน่ อาจ มากกว่า 10 เมตร เมือ่ ซัดเข้าหาชายฝัง่ จะ มีแรงมหาศาลสามารถท�ำลายสิง่ ก่อสร้าง และบ้านเรือนได้ คลื่นลูกแรกเกิดขึ้นลูก ต่อไปอาจมีความแรงกว่าเดิม บริเวณพืน้ ที่ ต�ำ่ เช่น ชายหาด เสีย่ งต่อการอยูอ่ าศัยหาก เกิดคลืน่ สึนามิ และคลืน่ สึนามิสามารถเกิด ขึน้ ได้ทงั้ กลางวันและกลางคืน

2. ต้องติดตามข่าวสารทางราชการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเกี่ยวกับการ พยากรณ์แผ่นดินไหว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่เกิดคลื่นสึนามิ

3. หากปลูกทีพ่ กั อาศัยอยูใ่ กล้ชายหาด ควรจัดท�ำเขือ่ น ก�ำแพง ปลูกต้นไม้ โดย เฉพาะการเพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ชายเลน เพือ่ ลดแรงปะทะของคลืน่ และปลูกสร้างทีพ่ กั อาศัยให้มนั่ คงและมีความเหมาะสม และอยูห่ า่ งจากชายฝัง่ ในระยะทีป่ ลอดภัย

4. ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ด้ ว ยความรอบคอบ ไม่ ป ระมาท และคอยสั ง เกต ความเปลีย่ นแปลงหรือสิง่ ผิดปกติของสภาพแวดล้อมใกล้ตวั

5. ให้ความร่วมมือกับส่วนราชการในการป้องกันภัยและแจ้งข้อมูล ข่าวสารเกีย่ วกับคลืน่ สึนามิหรือความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ กับสภาพแวดล้อม ทางทะเล 42


ระบบเตือนภัย สึนามิ 1. ทุ่นตรวจวัดคลื่นสึนามิ 1.1 เครื่องบันทึกความดันน�้ำ (BPR : Bottom Pressure Recorder) ติดตั้งอยู่ใน มหาสมุทร เพื่อตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงของระดับน�้ำทะเลแล้วส่งสัญญาณให้กับ ทุ่นที่ลอยอยู่บนพื้นน�้ำ

1.2 ทุ่นลอยบนผิวน�้ำ (Surface Body) ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว รั บ และส่ ง สั ญ ญาณ ระหว่างเครือ่ งบันทึกความดันน�ำ้ กับระบบ ดาวเทียมไปยังศูนย์เตือนภัย 45

43


การส่งสัญญาณเตือนภัยสึนามิ เมือ่ เกิดคลืน่ สึนามิขนึ้ ทุน่ จะส่งข้อมูลไปทีด่ าวเทียมเพือ่ เชือ่ มโยงไปทีศ่ นู ย์เตือนภัย ทางศูนย์จะมีนักสมุทรศาสตร์ที่พยากรณ์การเกิดคลื่นสึนามิและจะประกาศไปประเทศ สมาชิกต่าง ๆ ปัญหาด้านภัยพิบตั มิ คี วามรุนแรงแม้กระทัง่ การเกิดแผ่นดินไหวและสึนามิ เพราะ ความถีข่ องการเกิดขึน้ ท�ำให้หลายประเทศต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีมารองรับภัยทีจ่ ะ เกิดขึ้น โดยเริ่มพัฒนาเครื่องมือจนมาเป็นเครื่องมือการตรวจวัดคลื่นสึนามิ หรือเรียก ว่า Dart (Deep-ocean Assessment and Reporting of Tsunami)

ระบบการท�ำงานของ Dart 4. ศูนย์เตือนภัย นักสมุทรศาสตร์จะท�ำนายการ เกิดคลื่นสึนามิและประกาศเตือน ภัยไปยังประเทศสมาชิกต่าง ๆ

1. เครือ่ งวัดความดันน�ำ้ รายงานผลถึ ง การ เปลี่ ย นแปลงของน�้ ำ ในบริ เ วณพื้ น สมุ ท ร และน� ำ ค่ า ที่ ไ ด้ เ พื่ อ มา ค�ำนวณหาระดับความ สู ง ข อ ง น�้ ำ ด ้ า น บ น มหาสมุ ท ร เครื่ อ งวั ด ความดั น น�้ ำ สามารถ รายงานผลคลื่ น ที่ มี แอมพิจูดเพียง 1 ซม.

3.ดาวเทียม เป็ นตั ว เชื่ อมในการส่ ง ผ่ า นข้ อมู ล และ รายงานผลจากอุปกรณ์ตรวจวัดที่ติดตั้ง บริเวณทุ่นลอยสู่ห้องควบคุมหลัก และสั่ง การจากห้องควบคุมสู่อุปกรณ์ที่ติดตั้งไว้ กลางมหาสมุทร

2.ทุ่นลอย (Buoy) เ ป ็ น อุ ป ก ร ณ ์ ที่ ผลิตจากวัสดุที่มีความ ทนทาน และเป็นอุปกรณ์ ทีล่ อยน�ำ้ เพือ่ เป็นทีเ่ กาะ และเป็ น ที่ ค�้ ำ จุ น โดย ปกติ ทุ ่ น ลอยจะมี ส าย ยึดไว้กบั พืน้ สมุทร เพือ่ ป้ อ งกั น การเคลื่ อ นที่ และป้องกันการเปลี่ยน ต�ำแหน่งของทุน่

44


ขอขอบคุณข้อมูล 1 สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว, เรื่องที่ ๘ คลื่นสึนามิ, [Online], Available : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book. php?book=30&chap=8&page=t30-8-infodetail01.html, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 2 ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์, เรื่อง คลื่นสึนามิ, [Online], Available : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/tsunami, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 3 วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ, เรื่อง สึนามิ, [Online], Available : http://www.il.mahidol. ac.th/e-media/earth-science/chapter1_5.html, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 4 ASTV ผู้จัดการออนไลน์, รู้ไหมว่า...มาตราวัด “แผ่นดินไหว” ใช้หน่วยอะไรดี, [Online], Available : http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9580000054585, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 5 พจมาน ท่าจีน, เครื่องวัดแผ่นดินไหว, [Online], Available : http://www.vcharkarn. com/varticle/39066, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 6 Social-violence Saraburiwitthayakhom school, ผลกระทบจากสึนามิ, [Online], Available : https://sites.google.com/site/30867wynnz/disaster-effect, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 7 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการป้องกันและจัดการภัยพิบัติ, “วงแหวนแห่งไฟ”, [Online], Available : http://dpm.nida.ac.th/main/index.php/articles/tsunami-and-earthquake/ item/119-%E2%80%9C%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AB% E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87 %E0%B9%84%E0%B8%9F%E2%80%9D, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 8 พิมลพรรณ อิศรภักดี, สึนามิ : การตายและบาดเจ็บจากพืน้ ที,่ [Online], Available : http:// www.ipsr.mahidol.ac.th/IPSR/AnnualConference/ConferenceII/Article/Article06. htm, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 9 รี เ ลี้ ย ง หุ ย ประเสริ ฐ , บทที่ 4 การพิ สู จ น์ เ อกลั ก ษณ์ บุ ค คล, [Online], Available : http://www.ifm.go.th/th/ifm-book/ifm-textbook/142-identification.html, [13 กุมภาพันธ์ 2560]. 10 Social-violence Saraburiwitthayakhom school, แนวทางป้องกันภัย, [Online], Available : https://sites.google.com/site/30867wynnz/disaster-effect, [14 กุมภาพันธ์ 2560]. 11 wikiHow, วิธีการเอาชีวิตรอดจากสึนามิ, Online], Available : http://th.wikihow.co m/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8 %A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B 8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B6%E0%B8%99%E0% B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B4, [14 กุมภาพันธ์ 2560]. 12 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการป้องกันและจัดการภัยพิบัติ, “DART” ระบบตรวจวัดคลื่นสึนา มิ, [Online], Available : http://dpm.nida.ac.th/main/index.php/articles/tsunami-and-earthquake/item/73-%E2%80%9C-dart-%E2%80%9D-%E0%B8%A3% E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A 7%E0%B8%88%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8% A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B6%E0%B 8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B4, [14 กุมภาพันธ์ 2560].

45


13 ชัชนันท์ ลีระเติมพงษ์, 2556, คู่มือป้องกันและบรรเทาสารธารณภัยของต�ำรวจ เมื่อ เกิดเหตุสึนามิ 14 อี.คิว.พลัส กรุ๊ป, 2557, รับมือภัยพิบัติ สึนามิ 15 MGR Online, ประมวลภาพชิลี : “ภัยพิบตั ธิ รรมชาติ”, [Online], Available : http:// www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9530000030118, [10 มีนาคม 2560]. 16 บริษัท เลกะ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด, เทอร์โมกราฟ, ”, [Online], Available : https:// legatool.com/th/nsii-es1-remote-1-point-thermograph, [10 มีนาคม 2560]. 17 บริษัท เมเซอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด, Fluke 805 เครื่องวัดความสั่นสะเทือนขนาดเล็ก, ”, [Online], Available : http://www.measuretronix.com/products/fluke-805-%E0 %B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8% AD%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%84%E0 %B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B9% 88%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E 0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8 %B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81, [10 มีนาคม 2560]. 18 Habibi Nawaphat’sw, สึนามิในจังหวัดตรัง, [Online], Available : http:// nawaphatsawek.blogspot.com/p/blog-page_81.html, [11 มีนาคม 2560]. 19 เรื่องดีดี.com, ย้อนรอยสึนามิและวงแหวนแห่งฟพร้อมประมวลเหตุการณ์แผ่น ดินไหว 8.6 ริคเตอร์ บนเกาะสุมาตราและรวมคลิปแผ่นดินไหวในอินโดนีเซีย, [Online], Available: http://websiteruengdd.blogspot.com/2012/04/tsunami89.html, [11 มีนาคม 2560]. 20 ไทยรัฐ, “ฟ้าหลังฝน” 10 ปีสึนามิ! ชมภาพความเปลี่ยนแปลงที่อาเจะห์, [Online], Available: http://www.thairath.co.th/content/470990, [11 มีนาคม 2560]. 21 GuitarThai webboard, วันนี้ครบรอบ 8 ปี สึนามิในเมืองไทยครับ, [Online], Available: http://www.guitarthai.com/webboard/question.asp?QID=359311, [11 มีนาคม 2560]. 22 กองบรรณาธิการ พับลิกโพสต์, มัสยิดมหัศจรรย์ของอินโดนีเซีย ที่รอดจากสึนามิ!, [Online], Available: http://www.publicpostonline.net/58, [11 มีนาคม 2560]. 23 เว็บภัยพิบตั ,ิ วิเคราะห์การหยุดท�ำงานของทุน่ เตือนสึนามิอนิ เดียทัง้ 5 ตัว, [Online], Available: http://paipibat.com/?cat=73, [11 มีนาคม 2560]. 24 Noaa Ship Ronald H. Brown, Recovery and maintenance of buoy moorings, [Online], Available: https://noaateacheratsea.blog/tag/southeast-pacific/page/2/, [11 มีนาคม 2560].

46


EDITORS รศ.พ.ต.อ.ดร. ชัชนันท์ ลีระเติมพงษ์ ดร.พรรษา เอกพรประสิทธิ์ นางสาว นพรัตน์ กลับศรี ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นางสาว อรพรรณ สวัสดีผล ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นางสาว ลดากร ยี่สุ้นแสง ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

47




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.