ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี

Page 1


ราชอาณาจักรไทย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ได้รับอิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะวันตก แต่มีเอกลักษณ์ในด้านความ งดงาม ประณีต และผูกพันอยูก่ ับพระพุทธศาสนา

การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย สัมมาคารวะและให้เกียรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การขอบคุณ ขอโทษ หรือกล่าวลาด้วย

โดยเป็นการแสดงถึงความมี การไหว้ยังมีความหมายเพื่อ

ที่มา: http://province.m-culture.go.th/nan10/D2072%20comity.htm


โขน เป็นนาฏศิลป์เก่าแก่ของไทย มี ลักษณะสาคัญที่ผแู้ สดงต้องสวมหัวโขน ทั้งหมด ยกเว้นตัวนาง พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ทา่ ราและท่าทางประกอบ ทานองเพลง ดาเนินเรื่องด้วยบทพากย์ และบทเจรจา ส่วนเรือ่ งทีน่ ิยมแสดงคือ รามเกียรติ์

ที่มา: http://www.silpathai.com/nat/k1.html

สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิม ฉลองวันขึน้ ปีใหม่ของไทยที่ยดึ ถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการรดน้าขอพรผูใ้ หญ่ สรงน้า พระ ทาบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดียท์ ราย รวมทั้งมี การเล่นสาดน้าเพือ่ ความสนุกสนานด้วย

ที่มา: http://www.dmc.tv


สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมของฟิลปิ ปินส์เป็นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซึ่งส่วน ใหญ่จะได้รบั อิทธิพลจากสเปน จีน และอเมริกัน ฟิลิปปินส์มีเทศกาลทีส่ าคัญ ได้แก่

เทศกาลอาติ – อาติหาน (Ati – Atihan) จัดขึน้ เพื่อราลึกและแสดงความเคารพต่อ “เอตาส (Aetas)” ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บน เกาะแห่งหนึ่งในฟิลปิ ปินส์ และราลึกถึงพระเยซูคริสต์ ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบชนเผ่าเอตาส แล้ว ออกมารารื่นเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู (Kalibu)

ที่มา: http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_philippines3.html


เทศกาลซินูลอ็ ก (Sinulog)

งานนีจ้ ะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของ เดือนมกราคมทุกปี เพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) โดยจะจัดแสดงดนตรีและ มีขบวนพาเหรดแฟนซีทั่วเมืองเซบู (Cebu)

ที่มา: http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_philippines3.html

เทศกาลดินาญัง (Dinayang) งานนีจ้ ดั ขึ้นเพื่อราลึกถึงนักบุญ ซานโต นินอย (Santo Nino) เช่นเดียวกับ เทศกาลซินูล็อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมืองอิโลอิโล (Iloilo)

ที่มา: http://kengworldcloss.blogspot.com/2012/08/3.html


สหพันธรัฐมาเลเซีย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ด้วยเหตุที่มีหลายชนชาติอยูร่ วมกัน ทาให้ดนิ แดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัฒนธรรมที่แตกต่าง หลากหลายผสมผสานกัน ซึ่งมีทั้งการผสานวัฒนธรรมจากชนชาติอนื่ และการรักษาวัฒนธรรม ประเพณีของชนแต่ละกลุม่ ในแต่ละพื้นที่

การราซาบิน (Zabin) เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพืน้ เมืองของชาวมาเลเซีย โดยเป็นการฟ้อนราที่ ได้รับอิทธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิงชายจานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของ กีตาร์แบบอาระเบียน และกลองเล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว

ที่มา: http://www.aseanone.thmy.com/Page/Malaysia001.html


เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิน้ เดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิน้ สุดของฤดูการ เก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธกี รรมตามความเชื่อในการทาเกษตร และมีการแสดง ระบาพืน้ เมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลองด้วย

ที่มา: http://www.asean-info.com/asean_members/malaysia_culture.html


สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี มีชนพื้นเมืองหลายชาติพันธุ์กระจายกันอยูต่ ามเกาะ ทาให้วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องที่ แตกต่างกันไป

วายัง กูลติ (Wayang Kilit)

เป็นการแสดงเชิดหุน่ เงาที่เป็นเอกลักษณ์ของ อินโดนีเซีย และถือเป็นศิลปะการแสดงที่ งดงามและวิจิตรกว่าการแสดงชนิดอื่น เพราะ รวมศิลปะหลายด้านไว้ด้วยกัน โดยฉบับ ดั้งเดิมใช้หนุ่ เชิดทีท่ าด้วยหนังสัตว์ นิยมใช้วง ดนตรีพ้ืนบ้านบรรเลง ขณะแสดง

ที่มา: http://www.hedlomnews.com


ระบาบารอง (Barong Dance) ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัวละคร โดยมีการเล่น ดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการต่อสูก้ ันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่าย ความดีกบั รังดา พ่อมดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรรม โดยฝ่ายธรรมะจะได้รับชัยชนะในที่สุด

http://aseanwecan.weebly.com/culture.html

ที่มา: http://w3.thaiwebwizard.com/member/imageholiday/wizContent.asp?wizConID =1005&txtmMenu_ID=7 ผ้าบาติก (Batik) หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวธิ ีการทาโดยใช้เทียนปิดส่วนที่ไม่ตอ้ งการให้ติดสีและใช้ วิธีการแต้มระบาย หรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้ตดิ สี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่งกายของหนุ่ม สาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศีรษะชาย ผ้าคลุมศีรษะหญิง ผ้าทับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดย การพันรอบตัว ซึ่งส่วนทีเ่ รียกว่า “ปาเต๊ะ” คือส่วนที่ต้องนุ่งให้ตรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสันต่าง ไปจากส่วนอื่นๆ ในผ้าผืนเดียวกันนั่นเอง


สาธารณรัฐสิงคโปร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลากหลายเชือ้ ชาติหลากหลายศาสนา ทาให้ประเทศนีม้ ี ศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย สาหรับเทศกาลที่สาคัญของสิงคโปร์ก็จะเป็นเทศกาลที่เกี่ยวข้องกับ ความเชื่อทางศาสนาเช่น

เทศกาลตรุษจีน

เทศกาลปีใหม่ของชาวจีนที่จัดขึ้นใน เดือนกุมภาพันธ์

ที่มา: http://aec.ubru.ac.th/index.php/aec-group/msingapore/16-aec-singapore/56-laos-cultures


เทศกาล Good Friday

จัดขึน้ เพื่อระลึกถึงการสละชีวติ ของพระเยซู บนไม้กางเขนของชาวคริตส์ในเดือนเมษายน

ที่มา: http://aec.ubru.ac.th/index.php/aec-group/msingapore/16-aec-singapore/56-laos-cultures

เทศกาล Hari Raya Puasa

เทศกาลการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิม ที่จัดขึ้นเมื่อสิน้ สุดพิธีถือศีลอดหรือรอมฎอนใน เดือนตุลาคม

ที่มา: http://aec.ubru.ac.th/index.php/aec-group/msingapore/16-aec-singapore/56-laos-cultures


เทศกาล Deepavali ประมาณเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายนของทุกๆ ปีหรือตรงกับช่วงหลังออกพรรษาของบ้าน เรา ชาวอินเดียจะมีเทศกาลประจาปีเรียกว่าเทศกาล Diwali (ดีวาลี) หรือ Deepavali (ดีพาวลี) จะ เรียกแบบที่หนึ่งหรือที่สองก็ได้ Diwali เป็นภาษาฮินดี ส่วน Deepavali เป็นภาษาสันสกฤต Diwali หรือ Deepavali หมายความว่าแถวแห่งตะเกียง เป็นเทศกาลแห่งแสงและการประดับไฟของชาว ฮินดู งานเฉลิมฉลอง Deepavali คือ หนึ่งในงานสาคัญทางศาสนาของชาวอินเดีย ที่นับถือศาสนา ฮินดูและถือเป็นวันปีใหม่ นอกเหนือวันสาคัญทางศาสนาอื่น เช่น Chinese New Year, Hari Raya Aidil Fitri และ Christmas เป็นต้น ตามประเพณีงานฉลองวันปีใหม่ Dee-pavali ประกอบ 4 ปัจจัย สาคัญของงานครั้งนีค้ ือ ตานาน ประวัติความเป็นมา พิธีเตรียมงานฉลอง สุดท้ายจบลงด้วยการ รับประทานอาหาร

ที่มา: http://aec.ubru.ac.th/index.php/aec-group/msingapore/16-aec-singapore/56-laos-cultures


บรูไนดารุสซาลาม ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกายที่คล้ายคลึงกัน รวมทั้งยังมีวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่น สตรีชาวบรูไนจะแต่งตัวมิดชิด และจะไม่ย่นื มือให้ผชู้ ายจับมือทักทาย เป็นต้น


สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ศิลปวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของเวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนและฝรั่งเศส เทศกาลที่สาคัญ ได้แก่

เวียดนามมี

เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ “เต็ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan)” หมายถึง เทศกาลแห่งรุง่ อรุณแรกของปี ถือเป็นเทศกาลทางศาสนาทีส่ าคัญที่สดุ จัดขึน้ ในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์เป็นการเฉลิมฉลองความ เชื่อในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย

เทศกาลกลางฤดูใบไม้รว่ ง

จัดขึน้ ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทาขนมเปี๊ยะโก๋ญวนหรือบันตรังทู และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อ พระจันทร์

ที่มา: http://www.wonderfulpackage.com/guru


สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสานของไทยมาก ในด้าน ดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติ โดยมีวงดนตรีคอื วงหมอลา และมี ราวงบัดสลบ (Budsiob) ซึ่งเป็นการเต้นที่มีทา่ ตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบ ถือเป็นการ ร่วมสนุกกันของชาวลาวในงานมงคลต่างๆ

การตักบาตรข้าวเหนียว ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนียวเพียงอย่าง เดียว เพราะเมื่อถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสารับกับข้าวไปถวายที่วดั เรียกว่า “ถวายจังหัน” โดยเวลา ใส่บาตรจะนั่งคุกเข่าและผูห้ ญิงต้องนุ่งซิ่น ส่วนผูช้ ายนุง่ กางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สาหรับ เป็นผ้ากราบพระเหมือนกัน

ที่มา: http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=26241


สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี เนื่องจากได้รบั อิทธิพลจากจีน อินเดีย และไทยมานาน จึงมีการผสานวัฒนธรรมเหล่านีเ้ ข้า กับวัฒนธรรมของตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนีย้ ังได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา จึงเกิดประเพณี สาคัญ เช่น

ประเพณีปอยส่างลอง (Poy Sang Long) หรืองานบวชลูกแก้ว เป็นงานบวชเณรทีส่ ืบทอดกันมานาน และชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญมาก เพราะถือเป็นบุญ อันยิ่งใหญ่ของครอบครัว

ที่มา: http://www.asean-info.com/asean_members/myanmar_culture.html


งานไหว้พุทธเจดีย์ประจาปี นิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษา ถือเป็นงานเฉลิมฉลองที่สนุกสนานและได้ทาบุญสร้างกุศล ด้วย

ที่มา: http://www.asean-info.com/asean_members/myanmar_culture.html


ราชอาณาจักรกัมพูชา ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมประเพณีจึงมีความ เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ความเชือ่ และวิถีชีวิตของคนในประเทศ ศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่

ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการแต่งกายและท่าร่ายรามาจาก ภาพจาหลักรูปนางอัปสรที่ปราสาทนครวัด

ที่มา: http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=keaowchan


เทศกาลนา (Water festival) หรือ “บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk) เทศกาลประจาปีที่ย่งิ ใหญ่ของกัมพูชา จัดขึน้ ในเดือนพฤศจิกายนเพื่อเป็นการแสดงความ สานึกในพระคุณของแม่นาที ้ ่นาความอุดมสมบูรณ์มาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ และการแสดงขบวนเรือประดับไฟ

ที่มา: http://www.uasean.com/kerobow01/425


แหล่งข้อมูล ทัวร์บาหลี BALI PARADISE 4N3N. (2556). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://w3 .thaiwebwizard.com/member/imageholiday/wizContent.asp?wizConID=1005&txtmMenu _ID=7. ทัศพร ศรเกตุ. (2556). โขน. สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.silpathai.com/nat/k1.html. เทศกาลของเวียดนาม. (2012). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.wonderfulpackage .com/guru. เทศกาลน้าของประเทศกัมพูชา. (2556). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.uasean.com/ kerobow01/425. ประเทศสิงคโปร์. (2556). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://aec.ubru.ac.th/index.php/aecgroup /msingapore/16-aec-singapore/56-laos-cultures. ประเพณีและวัฒนธรรมประเทศมาเลเซีย. (2555). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www. aseanone.thmy.com/Page/Malaysia001.html. ฟิลิปปินส์. (2556). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_ philippines3.html. มาเลเซีย. (2556). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.asean-info.com/asean_members/ malaysia _culture.html.


เมียนมาร์. (2013). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.asean-info.com/asean_members/ myanmar_culture.html. วันสงกรานต์ ประเพณีไทย. (2556). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.dmc.tv/ pages /scoop. สานักงานสานักงานวัฒนธรรมนาหมื่น. (2556). มารยาทในการอยูร่ ว่ มกันของสังคม. สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://province.m-culture.go.th/nan10/D2072%20comity.htm. 7keng. (2555). ฟิลิปปินส์มีเทศกาลส้าคัญ 3 งาน. สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http:// kengworldcloss. blogspot.com /2012/ 08/3.html. Khanthaly Vaidhayakul . (2556). ประเพณีการท้าบุญตักบาตร. สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.noyshop.com/noy/luangprabang3.php. See Angkor and diE (3)....นครวัด. (2552). สืบค้น 9 มกราคม 2557, จาก http://www.bloggang .com / mainblog.php?id=keaowchan.


ASEAN Focus ออกแบบ: นางสาววิมลรัตน์ ทองปลาด หอประวัติและพิพธิ ภัณฑ์ จัดทา: นางปัทมพร โพนไสว ห้องสมุด ดร.ไสว สุทธิพทิ ักษ์ แผนกบริการสารสนเทศ ศูนย์สนเทศและหอสมุด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ www.dpu.ac.th/laic


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.