กองส่งเสริมการเกษตรในฐานะผู้รับผิดชอบการดำเนินงานจึงทำสรุปรายงานผลการ ดำเนินงานและผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดโครงการป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าฯ
คำนำ กองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ได้ดำเนินงานโครงการป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ตามโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและผ่าตัด ทำหมันสุนัขและแมว
เพื่อใช้ เป็นข้อมูลสารสนเทศประกอบการวางแผนปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานโครงการป้องกันและควบคุมโรคพิษ สุนัขบ้าฯ เพื่อป้องกันการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขและแมว และควบคุมจำนวนประชากรสุนัขและแมวใน ตำบลเหล่าโพนค้อต่อไป กองส่งเสริมการเกษตร พฤศจิกายน 2565
สารบัญ เรื่อง หน้า สรุปรายงานผลการดำเนินงาน 1 ชื่อโครงการ 1 หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 2 เป้าหมายของโครงการ 2 ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 สถานที่ดำเนินการ 2 วิธีการดำเนินการ 3 หน่วยงานที่รับผิดชอบ 4 ผู้มีส่วนร่วมในโครงการ 4 งบประมาณ 5 ผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการ 5 รายงานการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 6 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 7 ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 8 ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการให้บริการ 14 ภาพกิจกรรมให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและผ่าตัดทำหมันในสุนัขและแมว 15 ภาคผนวก 18
(WHO) และองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OE) ประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศหนึ่งที่ยังพบโรคพิษสุนัขบ้าซึ่งเป็นโรคจากสัตว์มาสู่คนที่มีความ
หรือปาก การพยายามกำจัดโรคนี้ให้หมดไปจึงมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติโรคพิษ สุนัขบ้า พ.ศ. 2535 และมีการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ากันมาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปจากประเทศ
1 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ตามโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรค พิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หลักการและเหตุผล โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนที่นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ผู้ติดเชื้อ หากแสดงอาการแล้วต้องเสียชีวิตทุกราย แต่โรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โดยกลุ่มประเทศในสมาชิกอาเซียนกำหนดไว้ให้พื้นที่ในภูมิภาคปลอดโรคพิษสุนัขบ้าในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดขององค์การอนามัยโลก
รุนแรงมาก ผู้ป่วยต้องเสียชีวิตทุกรายเป็นผลมาจากอาการสมองและไขสันหลังอักเสบ ผู้ป่วยจะมีไข้ ปวดเมื่อย ตามเนื้อตัว คันบริเวณรอยแผลที่ถูกสัตว์กัด ต่อมาจะหงุดหงิด ตื่นเต้นไว้ต่อสิ่งเร้า (แสง เสียง ลม ฯ) ม่านตา ขยาย น้ำลายไหลมาก กล้ามเนื้อคอกระตุกเกร็งขณะที่ผู้ป่วยพยายามกลืนอาหารหรือสำลักเวลาดื่มน้ำ ทำให้ เกิดอาการ กลัวน้ำ เพ้อคลั่ง ระยะสุดท้ายจะเกิดอาการอัมพาต และเสียชีวิต สาเหตุของโรคเกิดจากเชื้อไวรัส Rabies ไม่ใช่เพราะความเครียดเนื่องจากอากาศร้อน ซึ่งมีสัตว์เลือดอุ่นโดยเฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุก ชนิดเป็นพาหะแพร่เชื้อได้ ในประเทศไทยพบว่า สุนัขเป็นตัวแพร่เชื้อมากที่สุด รองลงมาคือ แมว การได้รับเชื้อ พิษสุนัขบ้านั้น จะมาจากน้ำลายของสุนัขหรือแมวที่ติดเชื้อ จากการถูกกัด ข่วน เลียบริเวณที่มีบาดแผล หรือ น้ำลายกระเด็นเข้าตา
พ.ศ
กรมควบคุมโรค จัดทำแผนยุทธ์ศาสตร์การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าขึ้น
หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
ไทย ปัจจุบันพื้นที่ตำบลเหล่าโพนค้อ มีสุนัขและแมวที่มีเจ้าของจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับการฉีด วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และยังพบมีสุนัขและแมวที่ไม่มีเจ้าของ ซึ่งจะพบได้มากในสถานที่สาธารณะ เช่น วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีประชาชนเข้าออกอยู่เป็นจำนวนมาก ทำให้เสี่ยงต่อการติด เชื้อโรคพิษสุนัขบ้าได้ หากสุนัขหรือแมวจรจัดนั้นได้รับเชื้อไวรัสเข้าไปในตัว ทางกองส่งเสริมการเกษตรได้ ตระหนักถึงปัญหาในเรื่องนี้ จึงจัดทำโครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โดยจัดรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษ สุนัขบ้าพร้อมกับให้บริการทำหมันสุนัขและแมว และออกให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแก่สุนัขและ แมวที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของ ทั้งที่อยู่ในบ้าน วัด โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด ในพื้นที่ตำบล เหล่าโพนค้อ ซึ่งจะทำให้ประชาชนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าได้เป็นอย่างดี หากสุนัขหรือแมวไม่ได้รับวัคซีน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอาจทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนในตำบลเหล่าโพนค้อได้ ซึ่งการดำเนินงาน
ซึ่งในปี
2552 ทางกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นได้เข้าร่วมลงนามร่วมกันระหว่างกรมปศุสัตว์
เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกันกับ
2 โครงการนี้ดำเนินการไปในแนวทางตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ส่วนที่ 3 มาตรา 66 มาตรา 67 (3) มาตรา 69 และ มาตรา 69/1 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 มาตรา 16(19), (29) และ (30) พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ 2560 มาตรา 55 (3) ระเบียบ กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2541 หมวด 2 ข้อ 14 (ค) ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 หมวด 3 ข้อ 21 (2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการ รับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 หมวด 4 ข้อ 38 ข้อ 39 ข้อ 47 ข้อ 50 ข้อ52 พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ.2535 มาตรา 28 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อให้สุนัขและแมวที่ไม่มีเจ้าของและมีเจ้าของในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพน ค้อได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี 2. เพื่อขึ้นทะเบียนสุนัขและแมวในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและการดูแลสัตว์ เลี้ยงอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ เป้าหมายของโครงการ 1. จำนวนสุนัขและแมวที่ไม่มีเจ้าของ ตามบริเวณวัด โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับ วัคซีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนที่สำรวจ 2. ประชาชนเจ้าของสัตว์เลี้ยง และผู้ที่ใช้สถานที่สาธารณะต่าง ๆ ที่มีสุนัขและแมวจรจัดมี ความพึงพอใจต่อการบริการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1. ระยะเวลาการเตรียมการก่อนเสนอโครงการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2565 2. ระยะเวลาการดำเนินการหลังเสร็จสิ้นการรณรงค์ให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และทำหมันสุนัขแมวในวันที่ 25 สิงหาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565 สถานที่ดำเนินการ 1. บริเวณวัด จำนวน 7 วัด สำนักสงฆ์ 3 แห่ง และสำนักชี 1 แห่ง ได้แก่ วัดบ้านโพนค้อ, วัดโพนไฮสามัคคีอุดม, วัดศรีบุญเรืองใต้, วัดศรีแก้วเหล่าอุดม, วัดโพธิ์ชัย, วัดป่าพุทธนิมิต, สำนักสงฆ์หนอง ทอย, สำนักสงฆ์ภูน้อยอ่างแก้ว, สำนักสงฆ์บ้านน้อยหนองไผ่สวน, วัดป่าอัมพวัน, สำนักแม่สุบรรณกัลยา 2. บริเวณโรงเรียน จำนวน 3 โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ร.ร.เหล่า โพนค้อเหล่าราษฎร์วิทยา, ร.ร.บ้านห้วยยาง, ร.ร.บ้านดงหนองเหียน, ศพด.บ้านโพนค้อ, ศพด.บ้านหนองเหียน, ศพด.บ้านห้วยยางเหนือ 3. ณ ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน ตามจำนวนข้อมูลที่มีการสำรวจ
โดยการอบรมให้ความรู้แก่อาสาปศุสัตว์และเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อในขั้นตอนการ ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
3 วิธีการดำเนินการ 1. การดำเนินการก่อนเสนอโครงการ 1.1 สำรวจปริมาณสุนัขและแมวที่มีเจ้าของ และจรจัด ในเขตพื้นที่องค์การบริหาร ส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ ร่วมกับกำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน และอาสาสมัครปศุสัตว์ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน ตำบลเหล่าโพนค้อทุกหมู่บ้าน เพื่อใช้ในการคำนวณการสั่งซื้อวัคซีนป้องการโรคพิษสุนัขบ้า 1.2 ประสานงานสำนักงานปศุสัตว์อำเภอโคกศรีสุพรรณในการดำเนินโครงการ
และมอบหมายหนังสือให้เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ เพื่อสามารถทำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้ 1.3 กำหนดวันเวลาและสถานที่ในการออกให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 1.4 นำข้อมูลการสำรวจที่ได้มาจัดทำโครงการเพื่อเสนอขอรับการอนุมัติในการดำเนิน โครงการ 2. การดำเนินงานหลังได้รับการอนุมัติให้ดำเนินโครงการ 3.1 ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบวันเวลาและสถานที่ในการออกให้บริการ วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โดยประชาสัมพันธ์ทางเสียงไร้สาย
โพนค้อ หนังสือแจ้งกำนันผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ เจ้าอาวาสวัด ผู้อำนวยการโรงเรียน 3.2 ประสานงานสำนักงานปศุสัตว์อำเภอโคกศรีสุพรรณ เพื่อส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมใน การออกให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 3.3 ดำเนินการจัดซื้อวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการ ดำเนินการ 3.4 จัดเตรียมเอกสารให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า 3.5 จัดเตรียมเอกสารในการสำรวจและขึ้นทะเบียนสุนัขและแมว รวมทั้งแบบสำรวจ ความพึงพอใจเพื่อใช้ในการสำรวจข้อมูลระหว่างการออกให้บริการ 3.6 ฝึกอบรมทบทวนให้ความรู้อาสาปศุสัตว์และเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วน ตำบลเหล่าโพนค้อ พร้อมฝึกปฏิบัติให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ตามวันเวลาสถานที่ที่ได้ ประชาสัมพันธ์ไว้ โดยการดำเนินการจะแบ่งได้ ดังนี้ - กรณีสุนัขและแมวที่ไม่มีเจ้าของ เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเหล่า โพนค้อที่ได้รับมอบหมายหนังสือให้เป็นผู้ฉีดวัคซีนป้องการโรคพิษสุนัขบ้าได้ ร่วมกับปศุสัตว์อำเภอโคกศรี สุพรรณ จะดำเนินการออกให้บริการถึงสถานที่ที่มีสุนัขและแมวที่ไม่มีเจ้าของอาศัยอยู่ โดยการนัดหมายกับ เจ้าของสถานที่ต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า ในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และยารักษาขี้เรื้อน ดังนี้ 1) บริเวณวัด จำนวน 7 วัด สำนักสงฆ์ 2 แห่ง และสำนักชี 1 แห่ง ได้แก่ วัดบ้าน โพนค้อ, วัดโพนไฮสามัคคีอุดม, วัดศรีบุญเรืองใต้, วัดศรีแก้วเหล่าอุดม, วัดโพธิ์ชัย, วัดป่าพุทธนิมิต , สำนักสงฆ์ หนองทอย, สำนักสงฆ์ภูน้อยอ่างแก้ว, วัดป่าอัมพวัน, สำนักแม่ชีสุบรรณกัลยา
เว็บไซต์ขององค์การบริหารส่วนตำบลเหล่า
เจ้าของสัตว์เลี้ยงก็สามารถนำสัตว์เลี้ยงของท่านมาที่ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้านเพื่อรับการ
และไม่สะดวกที่จะนำสัตว์เลี้ยงไป ขอรับการบริการ เจ้าของสัตว์เลี้ยงก็สามารถมารับเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการไปยังบ้านของท่านเพื่อไปฉีดวัคซีนให้ได้
กรณีที่เจ้าของสัตว์เลี้ยงสามารถฉีดเองได้
3.2
4 2) บริเวณโรงเรียน จำนวน 3 โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ร ร.เหล่าโพนค้อเหล่าราษฎร์วิทยา, ร ร.บ้านห้วยยาง, ร ร.บ้านดงหนองเหียน, ศพด.บ้านโพนค้อ, ศพด.บ้านหนองเหียน, ศพด.บ้านห้วยยางเหนือ - กรณีสุนัขและแมวที่มีเจ้าของ อาสาปศุสัตว์และเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วน
ร่วมกับสำนักงานปศุสัตว์อำเภอโคกศรี สุพรรณ จะดำเนินการออกให้บริการ ณ ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน ในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัข บ้า และยารักษาขี้เรื้อน ซึ่งมีวิธีการบริการ อยู่ 3 วิธี ดังนี้ 1) กรณีที่เจ้าของสัตว์เลี้ยงไม่สามารถฉีดเองได้ แต่สะดวกที่จะนำสัตว์เลี้ยงไปขอรับ การบริการ
ฉีดวัคซีน 2) กรณีที่เจ้าของสัตว์เลี้ยงไม่สามารถฉีดเองได้
3)
และไม่สะดวกที่จะนำสัตว์เลี้ยงไป ขอรับการบริการ เจ้าของสัตว์เลี้ยงก็สามารถมาขอรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ที่ศาลาอเนกประสงค์ประจำ หมู่บ้านได้ 3. การดำเนินงานหลังจากออกให้บริการ 3.1 รวบรวมข้อมูลจากการสำรวจและขึ้นทะเบียนสุนัขและแมวในระหว่างการออก ให้บริการมาลงระบบในระบบสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้า (Thai Rabies Net)
ตำบลเหล่าโพนค้อที่ได้รับมอบหมายเป็นหนังสือให้สามารถฉีดวัคซีนได้
รวบรวมและสรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจที่ได้ในระหว่างการออกให้บริการ เพื่อประเมินผลโครงการ 3.3 บันทึกรายงานผลการดำเนินการเสนอต่อคณะผู้บริหาร หน่วยงานที่รับผิดชอบ กองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ ผู้มีส่วนร่วมในโครงการ 1. สำนักงานปศุสัตว์อำเภอโคกศรีสุพรรณ 2. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 3. อาสาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน
5 งบประมาณ จากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน้าที่ 47 แผนงาน สาธารณสุข หมวดค่าใช้สอย ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวด อื่น ๆ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อจ่ายสำหรับค่าจัดซื้อวัคซีน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ยาต่าง ๆ วัสดุอุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่ตำบลเหล่าโพนค้อ โดยมีรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1. ค่าวัคซีนพร้อมวัสดุอุปกรณ์ฉีดสุนัขและแมว จำนวน 1,100 โด๊ส ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 33,000 บาท 2. เข็มพลาสติกเบอร์ 22 และไซริงค์ขนาด 3 มล. จำนวน 500 ชุด ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 3. ยาไอเวอร์เมคสำหรับฉีดรักษาโรคขี้เรื้อนและพยาธิ สุนัข, แมว 10 ขวด ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 4. ค่าอาหารเจ้าหน้าที่และอาสาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านวันรณรงค์ 30 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มวันรณรงค์สำหรับเจ้าหน้าที่, ผู้นำหมู่บ้านและอาสาปศุสัตว์ ประจำหมู่บ้าน จำนวน 30 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท 6. ค่าป้ายผ้าไวนิลประชาสัมพันธ์จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท รวมทั้งสิ้น 40,700 บาท หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวจ่ายด้วยกันได้ ผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการ 1. จำนวนสุนัขและแมวที่อาจเป็นพาหะนำโรคพิษสุนัขบ้ามีจำนวนลดลง
5.
2. มีข้อมูลที่ชัดเจนของสุนัขและแมวในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ 3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
6 รายงานการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ ได้ดำเนินการประเมินความพึง พอใจของประชาชนผู้ขอรับบริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นการวิจัย เชิงปริมาณ ที่มีรูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลสำหรับนำมาใช้ ในการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล นำเสนอผลการวิจัยในรูปของตาราง และการบรรยายประกอบโดย เรียงลำดับผลการวิจัย โดยคำนึงถึงการจัดบริการต่าง ๆ ดังนี้ ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ ด้าน ช่องทางการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก จากการสอบถามความพึงพอใจ ของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการของกองส่งเสริมการเกษตรที่จัดให้บริการในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน เพื่อนำ ข้อมูลมาประกอบการปรับปรุงพัฒนาการจัดบริการเพื่อตอบสนองความจำเป็น และความต้องการของ ประชาชนในตำบลเหล่าโพนค้อ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของประชาชนตำบลเหล่าโพนค้อต่อคุณภาพการให้บริการ ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการให้บริการ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันในการแปลความหมายของการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้กำหนด สัญลักษณ์ต่างๆ ในการแปลความหมายดังนี้ แทน ค่าเฉลี่ย (Mean) S.D. แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) n แทน จำนวนประชากรผู้ตอบแบบสอบถาม ค่าร้อยละของค่าเฉลี่ย = ค่าเฉลี่ย x 100 / ระดับความพึงพอใจ (5)
1
7
ดังตารางที่ 1 ตารางที่
n= 60 ปัจจัยส่วนบุคคล จำนวน ร้อยละ 1. เพศ 1) ชาย 28 46 67 2) หญิง 32 53 33 2. อายุ (ปี) 1) ต่ำกว่า 20 ปี 0 0 00 2) 21 – 40 ปี 22 36.67 3) 41 – 60 ปี 28 46.67 4) 60 ปีขึ้นไป 10 16.66 3 ระดับการศึกษา 1) ประถมศึกษา 6 10 00 2) มัธยมต้น/ปลาย/เทียบเท่า 23 38 33 3) ปริญญาตรี 28 46 67 4) สูงกว่าปริญญาตรี 3 5 00 4. สถานภาพของผู้มารับบริการ 1) เกษตรกร 42 70.00 2) ผู้ประกอบการ 0 0.00 3) ประชาชนผู้รับบริการ 18 30 00 4) องค์กรชุมชน/เครือข่ายองค์กรชุมชน 0 0 00 5) อื่นๆ 0 0 00 จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 60 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 32 คน คิดเป็น ร้อยละ 53 33 อายุส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 41-60 ปี 28 คน คิดเป็นร้อยละ 46 67 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ ระดับปริญญาตรี 28 คน คิดเป็นร้อยละ 46 67 และส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 70.00
ตอนที่
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม นำข้อมูลทั่วไปมาวิเคราะห์ผลโดยแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ ปรากฏผลการประเมิน
1 จำนวนและร้อยละของตัวอย่าง จำแนกตามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
และหาค่าร้อยละ
จากแบบสอบถามโดยปกติแล้วจะวิเคราะห์ความพึงพอใจในการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน แต่เพื่อการสรุปค่าที่ชัดเจนจึงสรุปค่าร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการวัคซีน
8 ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า การวิเคราะห์ผลจะแบ่งเป็น 2 ข้อมูล ดังนี้ 2.1 การวิเคราะห์ผลโดยแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ 2.2 การวิเคราะห์ผลโดยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.1 การวิเคราะห์ผลโดยแจกแจงความถี่
ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของกองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ ด้านช่องทางการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอำนวย ความสะดวก ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของตัวอย่าง จำแนกตามความพึงพอใจด้านกระบวนการขั้นตอนการ ให้บริการ n= 60 ความพึงพอใจด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ จำนวน ร้อยละ 1. มีการให้บริการฉีดวัคซีนแก่สุนัขอย่างสม่ำเสมอ 1) น้อยที่สุด 0 0.00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 4 6 67 4) มาก 32 53 33 5) มากที่สุด 24 40 00 2 การให้บริการรวดเร็ว ทันเวลา 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0.00 3) ปานกลาง 5 8.33 4) มาก 33 55.00 5) มากที่สุด 22 36 67 3 มีการทำทะเบียนประวัติการฉีดวัคซีนฯ 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 19 31 67 4) มาก 33 55 00 5) มากที่สุด 8 13.33
9 จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 60 คน ส่วนใหญ่พึงพอใจการให้บริการฉีด วัคซีนแก่สุนัขอย่างสม่ำเสมอ ในระดับมาก 32 คน คิดเป็นร้อยละ 53 33 การให้บริการรวดเร็ว ทันเวลา ในระดับมาก 33 คน คิดเป็นร้อยละ 55 00 การทำทะเบียนประวัติการฉีดวัคซีนฯ ในระดับมาก 33 คน คิดเป็น ร้อยละ 55 00 จะเห็นว่าประชาชนแทบไม่ได้ให้คะแนนในระดับน้อย และน้อยที่สุด ดังนั้น ความพึงพอใจของ ประชาชนในทั้ง 3 ข้อ จะรวมในระดับปานกลาง มาก มากที่สุด จะมีค่าร้อยละ มากกว่า 90 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของตัวอย่าง จำแนกตามความพึงพอใจด้านช่องทางการให้บริการ n= 60 ความพึงพอใจด้านช่องทางการให้บริการ จำนวน ร้อยละ 1 ช่องทางการติดต่อขอรับบริการมีความสะดวก 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 23 38 33 4) มาก 28 46 67 5) มากที่สุด 9 15.00 2 มีการประชาสัมพันธ์รายละเอียดของการให้บริการ 1) น้อยที่สุด 0 0.00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 3 5 00 4) มาก 26 43 33 5) มากที่สุด 31 51 67 3. วันเวลาการให้บริการมีความสะดวก 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0.00 3) ปานกลาง 15 25 00 4) มาก 37 61.67 5) มากที่สุด 8 13 33 จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 60 คน ส่วนใหญ่พึงพอใจช่องทางการติดต่อ ขอรับบริการมีความสะดวก ในระดับมาก 28 คน คิดเป็นร้อยละ 46 67 การประชาสัมพันธ์รายละเอียดของ การให้บริการ ในระดับมากที่สุด 31 คน คิดเป็นร้อยละ 51 67 วันเวลาการให้บริการมีความสะดวก ในระดับ มาก 37 คน คิดเป็นร้อยละ 61 67 จะเห็นว่าประชาชนแทบไม่ได้ให้คะแนนในระดับน้อย และน้อยที่สุด ดังนั้น ความพึงพอใจของประชาชนทั้ง 3 ข้อรวมกันในระดับปานกลาง มาก มากที่สุด จะมีค่าร้อยละ มากกว่า 90
10 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของตัวอย่าง จำแนกตามความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ n= 60 ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ จำนวน ร้อยละ 1. เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถ 1) น้อยที่สุด 0 0.00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 3 5 00 4) มาก 32 53 33 5) มากที่สุด 25 41 67 2 เจ้าหน้าที่ตอบคำถามและให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0.00 3) ปานกลาง 4 6.67 4) มาก 44 73.33 5) มากที่สุด 12 20 00 3 เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความเต็มใจ 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 1 1 66 4) มาก 22 36.67 5) มากที่สุด 37 61.67 4. เจ้าหน้าที่มีจำนวนเพียงพอในการบริการ 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 3 5 00 4) มาก 50 83 33 5) มากที่สุด 7 11 67 จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 60 คน ส่วนใหญ่พึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่มี ความรู้ ความสามารถ ในระดับมาก 32 คน คิดเป็นร้อยละ 53 33 ด้านเจ้าหน้าที่ตอบคำถามและให้คำแนะนำ ที่เป็นประโยชน์ ในระดับมาก 44 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33 ด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความเต็มใจ ในระดับ มากที่สุด 37 คน คิดเป็นร้อยละ 61 67 ด้านเจ้าหน้าที่มีจำนวนเพียงพอในการบริการ ในระดับมาก 50 คน คิด เป็นร้อยละ 83 33 จะเห็นว่าประชาชนแทบไม่ได้ให้คะแนนในระดับน้อย และน้อยที่สุด ดังนั้น ความพึงพอใจ ของประชาชนทั้ง 4 ข้อ จะรวมในระดับปานกลาง มาก มากที่สุด จะมีค่าร้อยละ มากกว่า 90
11 ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละของตัวอย่าง จำแนกตามความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก n= 60 ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก จำนวน ร้อยละ 1. อุปกรณ์ในการฉีดวัคซีนมีคุณภาพดี 1) น้อยที่สุด 0 0.00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 3 5 00 4) มาก 46 76 67 5) มากที่สุด 11 18 33 2 วัสดุอุปกรณ์มีจำนวนเพียงพอ 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0.00 3) ปานกลาง 17 28.33 4) มาก 27 45.00 5) มากที่สุด 16 26 67 3 สถานที่ในการให้บริการมีความเหมาะสม 1) น้อยที่สุด 0 0 00 2) น้อย 0 0 00 3) ปานกลาง 18 30 00 4) มาก 37 61.67 5) มากที่สุด 5 8.33 จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 60 คน ส่วนใหญ่พึงพอใจด้านอุปกรณ์ในการ ฉีดวัคซีนมีคุณภาพดี ในระดับมาก 46 คน คิดเป็นร้อยละ 76 67 ด้านวัสดุอุปกรณ์มีจำนวนเพียงพอ ในระดับ มาก 27 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00 ด้านสถานที่ในการให้บริการมีความเหมาะสม ในระดับมาก 37 คน คิดเป็น ร้อยละ 61 67 จะเห็นว่าประชาชนแทบไม่ได้ให้คะแนนในระดับน้อย และน้อยที่สุด ดังนั้น ความพึงพอใจของ ประชาชนทั้ง 3 ข้อ จะรวมในระดับปานกลาง มาก มากที่สุด จะมีค่าร้อยละ มากกว่า 90
12 2.2 การวิเคราะห์ผลโดยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า ของกองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ ปรากฏผลดังตารางที่ 6 - 10 เกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจและแปลผลข้อมูลดังนี้ ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4 50 ขึ้นไป หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3 50–4 49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.50–3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.50–2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยต่ำกว่า 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสำคัญที่มีผลต่อระดับความพึงพอใจใน การให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า n = 60 ความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ อันดับ S.D. ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ 2 4.14 0.62 ด้านช่องทางการให้บริการ 3 4.04 0.64 ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 1 4 29 0 50 ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 4 3 97 0 60 จากตารางที่ 6 พบว่า ความพึงพอใจในการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า อันดับแรก คือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.29 (อยู่ในระดับมาก) รองลงมา คือ ด้านกระบวนการขั้นตอน การให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 14 (อยู่ในระดับมาก) อันดับที่สาม คือ ด้านช่องทางการให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ ที่ 4.04 (อยู่ในระดับมาก) และอันดับที่สี่ คือ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.97 (อยู่ในระดับ มาก)
13 ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสำคัญที่มีผลต่อความพึงพอใจของ ประชาชนในด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ n = 60 ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ ระดับความพึงพอใจ อันดับ S.D. มีการให้บริการฉีดวัคซีนแก่สุนัขอย่างสม่ำเสมอ มาก 1 4.33 0.60 การให้บริการรวดเร็ว ทันเวลา มาก 2 4 28 0 61 มีการทำทะเบียนประวัติการฉีดวัคซีนฯ มาก 3 3 82 0 65 รวม มาก 4.14 0.62 จากตารางที่ 7 พบว่า ในการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการวัคซีนป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ อันดับแรก คือ การ ให้บริการฉีดวัคซีนแก่สุนัขอย่างสม่ำเสมอ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 33 (อยู่ในระดับมาก) รองลงมา คือ การให้บริการ รวดเร็ว ทันเวลา มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 28 (อยู่ในระดับมาก) เมื่อมองในภาพรวมด้านกระบวนการขั้นตอนการ ให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 14 (อยู่ในระดับมาก) ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสำคัญที่มีผลต่อความพึงพอใจของ ประชาชนในด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ n = 60 ด้านช่องทางการให้บริการ ระดับความพึงพอใจ อันดับ S.D. ช่องทางการติดต่อขอรับบริการมีความสะดวก มาก 3 3 77 0 70 มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ มาก 1 4 47 0 60 วันเวลาการให้บริการมีความสะดวก มาก 2 3 88 0 61 รวม มาก 4.04 0.64 จากตารางที่ 8 พบว่า ในการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการวัคซีนป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในด้านช่องทางการให้บริการ อันดับแรก คือ การ ประชาสัมพันธ์การให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 47 (อยู่ในระดับมาก) รองลงมา คือ วันเวลาการให้บริการมี ความสะดวก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3 88 (อยู่ในระดับมาก) เมื่อมองในภาพรวมด้านของทางการให้บริการ มีค่าเฉลี่ย อยู่ที่ 4 04 (อยู่ในระดับมาก)
14 ตารางที่ 9 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสำคัญที่มีผลต่อความพึงพอใจของ ประชาชนในด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ n = 60 ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ระดับความพึงพอใจ อันดับ S.D. มีความรู้ ความสามารถ มาก 2 4.37 0.58 ตอบคำถามและให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ มาก 3 4 13 0 50 ให้บริการด้วยความเต็มใจ มากที่สุด 1 4 60 0 53 มีจำนวนเพียงพอในการบริการ มาก 4 4 07 0 41 รวม มาก 4.29 0.50 จากตารางที่ 9 พบว่า ในการสำรวจความพึงใจของประชาชนผู้รับบริการวัคซีนป้องกันโรคพิษ สุนัขบ้า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ อันดับแรก คือ ให้บริการด้วยความ เต็มใจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 60 (อยู่ในระดับมากที่สุด) รองลงมา คือ มีความรู้ ความสามารถ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 37 (อยู่ในระดับมาก) เมื่อมองในภาพรวมด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 29 (อยู่ในระดับมาก) ตารางที่ 10 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสำคัญที่มีผลต่อความพึงพอใจของ ประชาชนในด้านสิ่งอำนวยความสะดวก n = 60 ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ระดับความพึงพอใจ อันดับ S.D. อุปกรณ์ในการฉีดวัคซีนมีคุณภาพดี มาก 1 4 13 0 47 วัสดุอุปกรณ์มีจำนวนเพียงพอ มาก 2 3 98 0 75 สถานที่ในการให้บริการมีความเหมาะสม มาก 3 3 78 0 58 รวม มาก 3.97 0.60 จากตารางที่ 10 พบว่า ในการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการวัคซีนป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในด้านสิ่งอำนวยความสะดวก อันดับแรก คือ อุปกรณ์ใน การฉีดวัคซีนมีคุณภาพดี มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4 13 (อยู่ในระดับมาก) รองลงมา คือ วัสดุอุปกรณ์มีจำนวนเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3 98 (อยู่ในระดับมาก) เมื่อมองในภาพรวมด้านสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3 97 (อยู่ในระดับมาก) ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการให้บริการ จากแบบสอบถามจะเป็นระบบปลายเปิด พบว่า มี 2 ข้อเสนอแนะที่คล้ายกัน ดังนี้ 1. ประชาชนเสนอแนะให้กองส่งเสริมการเกษตรบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเป็น ประจำทุกปีอย่างต่อเนื่อง 2. ประชาชนเสนอแนะให้กองส่งเสริมการเกษตรมีบริการทำหมันเป็นประจำทุกปี
15 ภาพกิจกรรมให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและผ่าตัดทำหมันในสุนัขและแมว ในวันรณรงค์ วันที่ 24 สิงหาคม 2565 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ
16
17
18
ภาคผนวก
1. มีการให้บริการฉีดวัคซีนแก่สุนัขอย่างสม่ำเสมอ
2. การให้บริการรวดเร็ว ทันเวลา
3. มีการทำทะเบียนประวัติการฉีดวัคซีน
1. ช่องทางการติดต่อขอรับบริการมีความสะดวก
2. มีการประชาสัมพันธ์รายละเอียดของการให้บริการ
3. วันเวลาการให้บริการมีความสะดวก
1. เจ้าหน้าที่มีความรู้
2. เจ้าหน้าที่ตอบคำถามและให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
3. เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความเต็มใจ
4. เจ้าหน้าที่มีจำนวนเพียงพอในการบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
1. อุปกรณ์ในการฉีดวัคซีนมีคุณภาพดี
2. วัสดุอุปกรณ์มีจำนวนเพียงพอ
3. สถานที่ในการให้บริการมีความเหมาะสม
19 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองส่งเสริมการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าโพนค้อ อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร คำอธิบาย แบบประเมินฉบับนี้มีทั้งหมด 3 ตอน ขอให้ผู้ตอบแบบประเมินตอบให้ครบทั้ง 3 ตอน เพื่อให้การดำเนินโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเพื่อเป็นประโยชน์ในการนำไปใช้ต่อไป ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไป คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่อง หน้าข้อความ 1.เพศ หญิง ชาย 2 อายุ ต่ำกว่า 20 ปี 21 – 40 ปี 41 – 60 ปี 60 ปีขึ้นไป 3. ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมต้น/ปลาย/เทียบเท่า ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี 4. สถานภาพของผู้มารับบริการ เกษตรกร ผู้ประกอบการ ประชาชนผู้รับบริการ องค์กรชุมชน/เครือข่ายองค์กรชุมชน อื่นๆ ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจ / ความรู้ความเข้าใจ / การนำไปใช้ ต่อการเข้าร่วมโครงการ คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของท่านเพียงระดับเดียว ประเด็นความคิดเห็น ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำความรู้ไปใช้ มากที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ด้านกระบวนการให้บริการ
ด้านช่องทางการให้บริการ
ด้านด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
ความสามารถ
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ ติ ชม ในการจัดทำโครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามครับ