ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ในพื้นที่ลพบุรี นครสวรรค์ และสิงห์บุรี
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคกลาง
โดยการสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
โดย รุจิรา เชาว์ธรรม สมปอง บุญเติร นรินทร์ พันธุ์รอบ สุนทรีย์ นิมาภัณฑ์ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
กันยายน ๒๕๔๕
ด ู แ ล ง า น ว ิ จ ั ย โ ด ย ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ะ ุ ์ w w w. l e k - p r a p a i . o r g
บทคัดยอ สังคมวัฒนธรรมในภาคกลางของประเทศไทย มีการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมอยางคอยเปนคอยไป ซึ่งเปนสิ่งสำคัญในการ สรางบูรณาการใหชุมชนของกลุมชาติพันธุตางๆ อยูรวมกันโดยปราศจากเหตุการณขัดแยงรุนแรงระหวางกลุม โดยการดูดกลืน วัฒนธรรมบางอยางของกลุมชาติพันธุเหลานี้ใหกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยลุมแมน้ำเจาพระยาหรืออาจเรียกวาวัฒ ธรรมหลวง อิทธิพลของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่ผานมา ไดสรางสถานการณในปจจุบันที่ไมสามารถแยกแยะกลุม ชาติพันธุกลุมตางๆ ออกจากกันอยางชัดเจนหากสังเกตเพียงสภาพโดยทั่วไป นอกเสียจากความเชื่อบางประการที่ยังคงหลงเหลือ และมีหนาที่ทางสังคมอยูในชุมชนนั้นๆ กลุมชาติพันธุลาวถูกมองมองอยางเปนคนอื่นอยูตลอดเวลา เพราะโครงสรางแหงการดูถูกทางชาติพันธุฝงแนนอยูในความรูสึก ของรัฐ ดังมีอคติตอกลุมลาวดังปรากฏในเอกสารตางๆ ความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมลาวที่ถูกมองวาดอยกวา ทำใหเกิด การดูถูกและเขาใจผิดรวมไปถึงไมพยายามเขาใจในสังคมและวัฒนธรรมของกลุมลาวมากขึ้น ผูคนเชื้อสายลาวแงวในทามกลางความเปนคนไทยของรัฐไทย บริเวณเขตภาคกลางของลุมเจาพระยาในชุมชนเกษตรกรรมที่ทำ นาเปนอาชีพหลัก ถูกเรียกวา “ลาวแงว” จากผูคนกลุมอื่นและยอมรับการเรียกชื่อกลุมนี้ของตนโดยเปนที่ยอมรับกันทั้งภายใน กลุมและภายนอก เปนกลุมที่อาจถูกละเลยและมองขาม เพราะปะปนอยูกับกลุมพวน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุในทองถิ่นเดียวกันที่มี จำนวนชุมชนและประชากรมากกวา กลุมลาวแงวนี้ แมจะมีลักษณะเฉพาะทางประเพณีและวัฒนธรรมไมโดดเดน แตก็ยังคง สำนึกทางชาติพันธุที่เกาะเกี่ยวการรวมกลุมเขาไวดวยกันได และสืบมาจนถึงปจจุบัน แตสำนึกทางชาติพันธุของผูคนเชื้อสายลาวแงว ก็ยังคงอยูในรูปแบบของ ความเชื่อ โดยเฉพาะในเรื่องอำนาจเหนือธรรมชาติและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน ภาษาและสำเนียงการพูดแบบลาวแงว สวนความเครงเครียดในชีวิตซึ่งไดรับผลกระทบจากกระบวนการ พัฒนาของรัฐ และโครงสรางที่ไมกอใหเกิดความเปนธรรมแกชาวนา สรางภาระหนี้สินที่ไมมีวันหลุดพน ทำใหเกิดการถวิลหา ความเปนอยูที่เรียบงาย สามารถพึ่งตนเองได ระลึกถึงอดีตที่งดงามในชีวิตของผูคนและในชุมชนที่สงบสุข การรวมกลุมเพื่อธำรงรักษาอัตลักษณของตนเองในกลุมฃองชาวลาวแงวอาจจะฉายภาพไมชัดเจนนัก แตเชื่อแนวา หากมีสภาพ การณที่บีบรัดชุมชนลาวแงวยิ่งขึ้นกวาในปจจุบัน อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุก็อาจจะถูกผลิตซ้ำเพื่อสรางอำนาจตอรองของ กลุมขึ้นมาใหม และนับวาเปนประเด็นที่ตองเฝาติดตามในอนาคต
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
1
บทนำ ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยประกอบไปดวยกลุมชาติพันธุอันหลากหลาย ซึ่งเคลื่อนไหวอพยพโยกยายถิ่นฐานเขามาตั้ง หลักแหลงหรือชุมชนในทองถิ่นตางๆ ตามสาเหตุและปจจัยหลายประการ และเหตุสำคัญที่สุด คือ การสงครามในชวงตั้งแต ปลายกรุงศรีอยุธยาจนถึงชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ทั้งนี้ เนื่องจากพื้นที่ในภาคกลางของประเทศไทยเปนที่ตั้งของศูนยกลางอำนาจรัฐมาอยางยาวนาน ทั้งเปนที่ราบอันอุดมสมบูรณ มีลำน้ำหลายสายที่สะดวกแกการคมนาคมติดตอทั้งภายในผืนแผนดินและภายนอกโพนทะเล จากเหตุที่ผูคนเบาบางในบริเวณนี้ เนื่องจากเกิดศึกสงครามเปนสวนสำคัญอยางยิ่งในการกำหนดพื้นที่อยูอาศัยใหอยูใกลชิดกับมูลนายในระบบการพึ่งพาการ เกณฑแรงงานเพื่อหลอเลี้ยงหลวงหรือรัฐในขณะนั้น โดยรอบเมืองหลวงที่กรุงเทพฯ จึงมีกลุมชาติพันธุตางๆ มากมายอยูอาศัย เปนชุมชนรวมกันในรัศมีไมหางไกลจนเกินไปนัก ในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของภาคกลาง ซึ่งประกอบไปดวยชุมชนชาวลาวกลุมตางๆ ชุมชนชาวมอญที่อพยพเขามากัน หลายระลอก ชุมชนชาวมุสลิมทั้งที่เคยอยูมาแตกอนและเคลื่อนยายเขามาใหม ชาวจีนที่อพยพเขามาอยางตอเนื่อง พื้นฐานของ ชุมชนกลุมชาติพันธุโดยสวนใหญเมื่อตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นตางๆ คือ สังคมชาวนา [Peasant society] จึงมีการแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรมทางวัตถุ ความคิด ระบบความเชื่อระหวาง บาน และ เมือง ในลักษณะพึ่งพาอาศัยกันโดยไมสามารถแยกอยูอยางโดด เดี่ยว ซึ่งในความสัมพันธนี้ สังคมชาวนาเรียกไดวาเปนวัฒนธรรมยอยหรือวัฒนธรรมราษฎร [Little Tradition] สวนศูนยกลาง ความเจริญที่เปนเมืองที่มีความซับซอนกวาเรียกวา วัฒนธรรมใหญหรือวัฒนธรรมเมืองหรือวัฒนธรรมหลวง [Great Tradition] ทั้งสองสวนตางถายทอดวัฒนธรรมสูกันและกัน โดยวัฒนธรรมหลวงมักจะถูกแตงเติมหรือแยกยอยลงมาสูวัฒนธรรม ราษฎร มากกวาจะปรากฏวาวัฒนธรรมราษฎรหลั่งไหลสูเมือง กลาวไดวา สังคมวัฒนธรรมในลุมน้ำเจาพระยาหรือในภาคกลางของประเทศไทย นับเปนวัฒนธรรมหลวงหรือวัฒนธรรมใหญ [Great tradition] หรือวัฒนธรรมอยางเปนทางการ อันเปนตัวแทนของรัฐไทยหรือชาติไทยในยุคตอมาที่สราง การผสม กลมกลืนทางวัฒนธรรม [Acculturation]1 อยางคอยเปนคอยไป ซึ่งเปนสิ่งสำคัญในการสรางบูรณาการใหชุมชนของกลุม ชาติพันธุตางๆ อยูรวมกันโดยปราศจากเหตุการณขัดแยงรุนแรงระหวางกลุม จากการดูดกลืนวัฒนธรรมบางอยางของกลุม ชาติพันธุเหลานี้ใหกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมใหญ จากอิทธิพลของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่ผานมา นอกจากจะเปนการรวบอำนาจทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และ ระบบความเชื่อจากทองถิ่นเขาสูศูนยกลางแลว ยังสรางสถานการณในปจจุบันที่ไมสามารถแยกแยะกลุมชาติพันธุกลุมตางๆ ออก จากกันอยางชัดเจนหากสังเกตเพียงสภาพโดยทั่วไป นอกเสียจากความเชื่อบางประการที่ยังคงหลงเหลือและมีหนาที่ทางสังคม
1
Acculturation หรือการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม คือ ขบวนการซึ่งสมาชิกในกลุมสังคมหนึ่งรับเอาความเชื่อและพฤติกรรม จากกลุมสังคมอื่น ซึ่งเกิดขึ้นทั้งสองฝายไมวาจะระหวางคนกลุมนอยหรือกลุมใหญ การกลมกลืนนี้อาจเห็นไดจาก การเปลี่ยนแปลง การใชภาษา การเปลี่ยนทัศนคติและการใหคุณคาตอสิ่งตางๆ การกลายเปนสวนหนึ่งของสังคมหรือสถาบันนั้นๆ และสูญเสียอำนาจ ทางการเมืองและอัตลักษณในกลุมชาติพันธุไป ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
2
อยูในชุมชนนั้นๆ ซึ่งสิ่งเหลานี้อาจเรียกไดวาเปน สำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity]2 อยางหนึ่ง ที่จะเปนกุญแจสำคัญในการ ศึกษาเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุที่อยูภายใตสังคมไทยทุกวันนี้ การศึกษาเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุลาวในประเทศไทยที่ผานมามีจำนวนมาก งานศึกษาเหลานี้ประกอบไปดวย การศึกษาเชิง ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี และภาษาศาสตร ภาพโดยรวมสะทอนใหเห็นความนิยมในการศึกษาลักษณะของกลุม ชาติพันธุโดยการแสดงออกถึงเอกลักษณทางวัฒนธรรมที่แตกตาง เชน ประเพณีสิบสองเดือนที่มีเอกลักษณของตนเอง การแตง กายโดยเฉพาะมรดกที่สืบทอดตอกันมาผานผาทอ เชน ในผาทอในกลุมลาวครั่ง และภาษาพูดและสำเนียงเฉพาะที่บงบอกถึง กลุมซึ่งสวนใหญเปนงานศึกษาในดานลึกเกี่ยวกับภาษาศาสตร เชน ภาษาในกลุมลาวครั่ง ลาวเวียง ลาวพวน ลาวโซง (ลาวโซงจัด อยูในกลุมไทดำที่มีความแตกตางไปจากกลุมลาวที่กลาวมาอยางชัดเจน) และ ลาวแงว อันเปนกลุมลาวที่ไมมีการกลาวถึงใน เอกสารจดหมายเหตุทางราชการและมีการศึกษาลาวกลุมนี้นอยมาก ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ไดพยายามทำความเขาใจวา ทำไมกลุม ชาติพันธุลาวแงวจึงเปนที่รูจักนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับลาวกลุมอื่นๆ และความสนใจตอมาก็คือ เหตุของการอพยพเขามาของ กลุมชาติพันธุลาวอันเนื่องมาจากการสงครามสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร จากการรวบรวมสถิติของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคนชาติพันธุตางๆ จากหองสมุดมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งพบวา กลุมชาติพันธุที่รัฐ สวนกลางเรียกวาลาวพบวามีสถิตินาสนใจ โดยเรียงตามลำดับ ดังนี้ ไทดำ หรือโซง หรือลาวโซง ๓๓ หัวขอ แบงเปน ประวัติศาสตร ประเพณี และวัฒนธรรมทั่วไป ๘ เรื่อง ภาษาและภาษาศาสตร ๗ เรื่อง การแตงกาย ๓ เรื่อง ประเพณีและพิธีกรรม ๑๐ เรื่อง การศึกษาชุมชน โครงสรางสังคมและความเปลี่ยนแปลง ๕ เรื่อง พวน ๑๙ หัวขอ แบงเปน ประวัติศาสตร ประเพณี และวัฒนธรรมทั่วไป ๕ เรื่อง ภาษาและภาษาศาสตร ๖ เรื่อง ประเพณีและ พิธีกรรม ๒ เรื่อง การศึกษาชุมชน โครงสรางสังคมและความเปลี่ยนแปลง ๔ เรื่อง สำนึกทางชาติพันธุ ๒ เรื่อง ครั่ง ๑๕ หัวขอ แบงเปน ประวัติศาสตร ประเพณี และวัฒนธรรมทั่วไป ๒ เรื่อง ภาษาและภาษาศาสตร ๖ เรื่อง ผาและเครื่องแตง กาย ๒ เรื่อง ประเพณีและพิธีกรรม ๒ เรื่อง โครงสรางสังคมและความเปลี่ยนแปลง ๓ เรื่อง ลาวเวียง ๓ เรื่อง แบงเปน ภาษาและภาษาศาสตร ๑ เรื่อง ระบบสัญลักษณ ๑ เรื่อง ความเชื่อ ๑ เรื่อง ลาวแงว ๓ เรื่อง เปนเรื่องภาษาและภาษาศาสตรทั้ง ๓ เรื่อง นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบทางภาษาศาสตรของภาษาลาวหลายๆ กลุม อีก ๓ เรื่อง และประวัติศาสตร ทั่วไปที่เกี่ยวของกับกลุมลาวอีก ๔ เรื่อง 2
ปจจุบัน โดยทั่วไปคำวา ethnicity หรือสำนึกทางชาติพันธุยังคงใชในความหมายเกี่ยวกับ “ชนกลุมนอย” และ “ความสัมพันธ ระหวางเชื้อชาติ” อยู แตในทางมานุษยวิทยาสังคมหมายถึงมุมมองเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางกลุมทั้งตนเองและกลาวถึงโดยผูอื่น โดยที่สมาชิกในกลุมนั้นคิดวาแตกตางและเกี่ยวของกับชนชั้นซึ่งเปนเรื่องทางวัฒนธรรม แมจะเปนจริงที่วา วาทกรรมเกี่ยวกับ ethnicity มีแนวโนมที่เปนเรื่องของหนวยทางสังคมที่เล็กกวา อยางไรก็ตาม กลุมที่ครอบงำก็นับเปนกลุม ethnicity ได ความสัมพันธ ทางสังคมเปนสวนสำคัญทางชาติพันธุ และเปนไดทั้งในแงมุมที่รับและสูญเสียในความสัมพันธระหวางกัน และในมุมมองของการ สรางสรรคอัตลักษณ ซึ่ง ไดแก ทางการเมือง องคกรทางสังคม และกลุมสัญลักษณตางๆ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
3
อยางไรก็ตาม งานศึกษาเหลานี้เปนตัวอยางที่บงบอกใหทราบวา มีความสนใจเกี่ยวกับประวัติศาสตรชาติพันธุและการดำรง เอกลักษณทางวัฒนธรรมของกลุมลาวในพื้นที่ตางๆ นอยมาก (โปรดดู เรื่องการจำแนกประเภทของงานศึกษาเกี่ยวกับกลุม ชาติพันธุลาว (กลุมไต-ลาว) ทั้งหมดในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยในภาคผนวก) สาเหตุสำคัญประการหนึ่งนาจะเปนเพราะ กลุมชาติพันธุลาว มีลักษณะทางวัฒนธรรมตลอดจนภาษาที่คลายคลึงกับชุมชนใน สังคมวัฒนธรรมลุมน้ำเจาพระยาหรือภาคกลางของประเทศไทยอยางมาก (การใชคำ “ชุมชนในสังคมวัฒนธรรมลุมน้ำ เจาพระยา” คือการนิยามสังคมในลุมน้ำเจาพระยาที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีผูคนหลายกลุมชาติพันธุ แตรวมกันอยู ภายใตอัตลักษณของความเปนรัฐไทย ที่ตอมาพัฒนาเปนชาติไทยหรือประเทศไทย และนิยามกลุมผูคนที่รวมกันอยูนี้วา “คน ไทย”) และวิธีการศึกษากลุมชาติพันธุที่ผานมาซึ่งมักจะเนนสีสันของความเปนอยู ประเพณี การแตงกาย และสิ่งที่แสดงถึงความ แตกตางไปจากวัฒนธรรมมาตรฐานของชุมชนในเขตลุมน้ำเจาพระยา ซึ่งอาจเรียกวา วัฒนธรรมใหญหรือวัฒนธรรมหลวง [Great tradition] ซึ่งวัฒนธรรมลาวกลุมตางๆ เหลานี้ถูกประสมกลมกลืนระหวางกลุมผูคนและวัฒนธรรมจนยากที่จะเห็น ความแตกตางอยางชัดเจน กลายเปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหงานศึกษาเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุลาวมีความสนใจเฉพาะเรื่อง เชน ภาษาศาสตร การทอผา ประเพณีบางประการ เปนตน โดยขาดมิติของความเคลื่อนไหวในเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรมอยางเห็นไดชัด ลักษณะความคลายคลึงทางวัฒนธรรมนี้เอง ที่ทำใหเกิดความเขาใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับสำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity] ใน กลุมชาติพันธุลาว ที่ดูจะไมเห็นความแตกตางไปจากวัฒนธรรมใหญหรือวัฒนธรรมหลวงในปจจุบันเทาใดนัก ภายใตความสงบ นิ่งเหลานี้ ลักษณะพลวัตของกลุมชาติพันธุลาวโดยเฉพาะในเขตภาคกลางของประเทศไทย มีความเคลื่อนไหวไปในทิศทางใดนั้น เปนสิ่งที่นากลาวถึงและควรจะมีการศึกษาอยางยิ่ง เมื่อประกอบกับแนวคิดหลักที่ไดจากการประชุมทางวิชาการโครงการเมธีวิจัยอาวุโส รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ของสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัยเรื่อง สำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity] เมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๔ มีขอแนะนำเกี่ยวกับการศึกษาทางชาติพันธุวา ควรมีลักษณะการศึกษาที่ชี้ใหเห็นถึงการใหความหมายของกลุมชาติพันธุ พลวัตของลักษณะทาง ชาติพันธุ และความสัมพันธของรัฐกับกลุมชาติพันธุ รวมทั้งปญหาของแนวคิดความกลมกลืนทาง ชาติพันธุ โดยชี้ใหเห็นถึงอันตรายจากอคติที่ถูกสรางขึ้น ซึ่งมักจะนำไปสูการใชความรุนแรงตอกลุม ชาติพันธุที่เปนชนกลุมนอย รวมไปถึงการศึกษาเรื่องพื้นที่ทางสังคมและขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ของกลุมชาติพันธุตางๆ ซึ่งแนวคิดดังกลาวจะนำมาเปนแนวคิดหลักในการศึกษาครั้งนี้ ในการศึกษาเรื่อง ประวัติศาสตรทองถิ่นและกลุมชาติพันธุลาวแงว นอกจากจะศึกษาเชิงประวัติศาสตรของพื้นที่ในการอพยพ และการตั้งถิ่นฐาน และอัตลักษณทองถิ่นหรือลักษณะความแตกตางของกลุมชาติพันธุลาวโดยเฉพาะกลุมลาวแงวแลว การให ความสำคัญกับบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการเปลี่ยนแปลงเขาสูระบบทุนนิยมในภาวะปจจุบันนับเปนประเด็น สำคัญในงานศึกษานี้ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
4
วิธีการศึกษา ประวัติศาสตรทองถิ่นและกลุมชาติพันธุลาวแงว ประกอบขึ้นจากผูศึกษา ๒ กลุม กลุมแรก ไดแก ผูศึกษาที่เปน คนในพื้นที่ซึ่งสวนใหญเปนครูอาจารยในโรงเรียนมัธยมและเปนผูมีเชื้อสายลาวแงว ซึ่งมีความคุนเคยและสามารถเก็บขอมูลใน ดานลึกของผูคนในทองถิ่นกลุมตางๆ ไดสะดวกมากกวาผูศึกษาจากภายนอก และกลุมที่สองคือ ผูศึกษาซึ่งเปนคนนอกชุมชนทำ หนาที่เปนผูประสานงานศึกษา มีหนาที่ในการตั้งขอสังเกตและบูรณาการความคิดและเรียบเรียงขอมูลเหลานั้นออกมาเปนงาน ศึกษาที่ผานการวิเคราะหและมีลักษณะของงานวิชาการที่เปนสากล ความรวมมือของผูศึกษาทั้งสองกลุมผานการเก็บขอมูลภาค สนาม ถกเถียงสอบถาม และผานการตั้งขอสังเกตรวมกัน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคในการเติมเต็มสวนที่ขาดอันเปนขอบกพรอง ของผูศึกษาทั้งสองกลุมที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได เมื่อมีการเก็บขอมูลภาคสนามแลว ผูศึกษาซึ่งเปนคนทองถิ่นจะจดบันทึกเปนรายงานสงมอบแกผูประสานงานโครงการ ซึ่งจะมี การพูดคุยซักถามขอมูลตางๆ จนเกิดความกระจางชัดมากขึ้น แลวจึงลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบความเขาใจ กอนจะนำขอมูลเหลานั้น มาสังเคราะหเพื่อนำเสนอเปนรายงานการศึกษาตอไป จากวิธีการรวมงานระหวางผูศึกษาจากภายในและภายนอกทองถิ่นพบวา ขอบกพรองสำคัญในการรวมงานกันคือ ปญหาของการ ถายทอดขอมูลจากประสบการณภายในใหออกมาเปนการบันทึกขอมูลภาคสนามรวมไปถึงการทดลองใหผูรวมศึกษาจากภายใน เขียนขอมูลเหลานั้นในรูปแบบของการเรียบเรียงงานวิจัย ปญหาดังกลาวทำใหประเด็นปญหาที่ตั้งไวคลาดเคลื่อนเนื่องจากผูเก็บ ขอมูลไมสามารถบันทึกทั้งประสบการณและสิ่งที่พบเห็นในแนวลึกลงเปนขอมูลเอกสารได ปญหาเหลานี้ตองการคำแนะนำวิธีการ ศึกษาอยางเอาใจใสโดยตลอดและจำเปนตองใหเวลากับการพูดคุยปรึกษาระหวางผูเก็บขอมูลในพื้นที่และผูประสานงานใหมาก ที่สุดเทาที่จะเปนไปได จึงสามารถทำใหประเด็นปญหาทั้งที่ไดตั้งไวรวมกันและที่เกิดจากประสบการณของคนในทองถิ่นสงผาน มาถึงผูประสานงาน ซึ่งจะเปนผูรวมวิเคราะหและสังเคราะหเปนงานศึกษาวิจัยตอไป พื้นที่ในการศึกษาครั้งนี้ ขึ้นอยูกับการกระจายตัวในการตั้งถิ่นฐานของกลุมชาติพันธุลาวแงว ในเขตจังหวัดสระบุรี ลพบุรี สิงหบุรี และนครสวรรค แมพื้นที่ดังกลาวจะมีกลุมลาวอยูเปนจำนวนมากและหลายกลุมดวยกัน แตผูศึกษาไดทำการสำรวจขอมูลโดย ทั่วไปของชุมชนเฉพาะกลุมลาวแงวที่ปรากฏและศึกษาเฉพาะชุมชนอีก ๒ หมูบาน ซึ่งพบวามีการกระจายตัวของกลุมชาติพันธุ ลาวแงวที่แทรกตัวและอยูรวมกันกับกลุมลาวอื่นๆ เชน ลาวพวนและลาวเวียง โดยมีความตางกันเพียงเล็กนอยทางสำเนียงและ ภาษาพูด และประเพณีเฉพาะอยางเทานั้น นอกจากนี้ ก็ยังอยูรวมกับกลุมชาติพันธุที่มาจากพื้นที่ตางๆ เชน คนจีน (จีนโพนทะเล ที่เคยเปนกรรมกรสรางทางรถไฟมากอน) คนลาวจากอีสาน (สวนใหญเคยรับจางเกี่ยวขาวกอนจะมาปกหลักหากินอยางถาวร) คนไทยแมน้ำ (ที่อพยพจากชุมชนริมแมน้ำเจาพระยาแลวเขามาแสวงหาพื้นที่ทำกินภายในที่อยูลึกเขามาจากแมน้ำ) เปนตน การ อยูรวมกันในชุมชนเหลานี้ หากไมใชคนในพื้นที่ก็อาจแยกความแตกตางของคนกลุมตางๆ ดังกลาว ไมไดโดยทันที ผลจากการศึกษาทำใหทราบวา ในทามกลางความเปนคนไทยของรัฐไทย บริเวณเขตภาคกลางของลุมเจาพระยาในชุมชน เกษตรกรรมที่ทำนาเปนอาชีพหลัก มีกลุมชาติพันธุกลุมหนึ่งที่ถูกเรียกวา “ลาวแงว” อยูอาศัยมาตั้งแตเมื่อสงครามครั้งกวาดตอน เชลยศึกชาวลาวกลุมใหญเขาสูหัวเมืองชั้นใน สมัยรัชกาลที่ ๓ เปนลาวที่เปนกลุมที่อาจถูกละเลยและมองขาม เพราะปะปนอยูกับ กลุม พวน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุในทองถิ่นเดียวกันที่มีจำนวนชุมชนและประชากรมากกวา กลุมลาวแงวนี้ แมจะมีลักษณะเฉพาะ ทางประเพณีและวัฒนธรรมไมโดดเดน แตก็ยังคงสำนึกทางชาติพันธุที่เกาะเกี่ยวการรวมกลุมเขาไวดวยกันได และธำรงสืบมา จนถึงปจจุบัน ซึ่งสำนึกทางชาติพันธุที่ยังคงอยูและแสดงถึงอัตลักษณของกลุมอยางโดดเดนนั่นคือ ระบบความเชื่อในเรื่องอำนาจ นอกเหนือธรรมชาตินั่นคือ การนับถือผี ที่สัมพันธอยูกับวิถีชีวิตการเกษตรในบางสวน การควบคุมทางสังคมที่ยังคงเหลือ และ ความสำนึกรวมในการเปนกลุมผูอพยพมาจากเมืองลาวครั้งบรรพบุรุษ และอีกสวนหนึ่งที่แสดงถึงอัตลักษณของกลุมชาวลาว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
5
แงวคือ การเปนชาวนา ที่ทำนามาหลายชั่วคนดวยความขยันขันแข็ง แตการเปนชาวนาในสังคมไทย เปนภาวะที่ถูกกดดันใน อำนาจของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมซึ่งนำพาการพัฒนาของรัฐเขามาปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมและวิถีการผลิตอยางขนาน ใหญ จนทำใหปจจุบัน เกิดภาวะหนี้ชั่วชีวิตที่ชาวลาวแงวไมสามารถหลุดพนไปจากวงจรเหลานี้ไดl แมวาการวิเคราะหถึงความสัมพันธและสำนึกทางชาติพันธุในกลุมลาวในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยจะเปนเรื่องที่ทำไดยาก ซึ่งแตกตางจากกลุมชาติพันธุอื่น เชน กลุมชาติพันธุในเขตภาคเหนือหรือภาคใตที่มีเอกลักษณของกลุมและอยูหางไกลจาก ขอบเขตอำนาจรัฐและวัฒนธรรมสวนกลางมากกวาและถูกมองวาเปนชนกลุมนอยอยางชัดเจน ตางจากกลุมชาติพันธุลาวที่ถูก ผสมกลมกลืนจนไมอาจหาเอกลักษณของกลุมหรือของชุมชนไดโดยงาย พัฒนาการดังกลาวสามารถบงบอกถึงความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทามกลางกลุมชาติพันธุลาวในปจจุบัน นับเปนความเคลื่อนไหวในความเปลี่ยนแปลงที่เสมือนแสงแหง ความสงบยามรุงอรุณ ฉาบลงบนรองรอยทางประวัติศาสตรแหงความเดียดฉันท การตอสู ความรันทด และศรัทธาของผูคนกลุม ใหญเอาไวภายใตความเปนระเบียบเรียบรอยและความกลมกลืนที่สงบสุขเหลานั้น
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
6
บทที่ ๑ ความเปนมาของกลุมชาติพันธุลาวแงว ขอมูลอยางเปนทางการในประวัติศาสตรประเทศลาว ซึ่งแบงเนื้อหาออกเปนระยะตางๆ กลาวถึงชวงเวลาที่เรียกวา The Hold of Siam หรือ ภายใตการปกครองของสยาม3” รวมทั้งในหนังสือประวัติศาสตรลาวที่เขียนขึ้นโดยมหาสิลา วีรวงศ ก็ มีบทที่กลาวถึง“อาณาจักรลาวทั้ง ๓ อยูภายใตการปกครองของไทย (พ.ศ.๒๓๒๒–พ.ศ.๒๔๓๖)4” ซึ่งเปนชวงกอนที่ฝรั่งเศส จะเขายึดครองเปนอาณานิคม และในแบบเรียนประวัติศาสตรลาวชั้นมัธยมปลายของกระทรวงศึกษาธิการลาว5 แสดงถึงการ ยอมรับอยางเปนทางการวา ครั้งหนึ่งภายใตประวัติศาสตรลาว สยามเคยยึดครองและเกิดความขัดแยงที่นำมาสูการสูรบ การปราบปราม การสูญเสีย และการกวาดตอนผูคนใหอพยพโยกยายถิ่นฐานอันเนื่องมาจากผลของสงคราม ซึ่งเหตุการณ เหลานี้ถูกบันทึกไวเปนหนาสำคัญในประวัติศาสตรของประเทศลาวทีเดียว ในขณะที่แบบเรียนประวัติศาสตรไทย ซึ่งเปนแบบเรียนประวัติศาสตรในระดับพื้นฐาน เชน หนังสือ ประวัติศาสตรไทย การ ปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธกับตางประเทศกอนสมัยสุโขทัยจนถึง พ.ศ. ๒๔๗๕6 ของ บังอร ปยะพันธุ ไม ไดเนนเหตุการณที่กลาวถึงความสัมพันธระหวางไทยลาวชวงตนรัตนโกสินทร ในฐานะที่ลาวอยูภายใตการปกครองของ สยาม ในประวัติศาสตรของประเทศไทยการมีหัวเมืองประเทศราช เชน ลาว ในระยะเวลาหนึ่งนั้น ไมใชความรูทาง ประวัติศาสตรโดยทั่วไป ความแตกตางระหวางการใหความสำคัญในเหตุการณประวัติศาสตรดังกลาว สะทอนใหเห็น สำนึกทางประวัติศาสตร ของ ประเทศ ระหวางผูเคยปกครองและผูเคยถูกปกครองที่มีระดับของความทรงจำความรูสึกและการใหความสำคัญที่ไมเหมือน กัน7 และสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นภายในชวงเวลาสั้นๆ ที่ผานมาเพียงไมถึง ๑๐๐ ป (หากเริ่มนับจากการเปลี่ยนการปกครองมาเปน รวมศูนยแบบประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๕) อยางไรก็ตาม แมรัฐสยามหรือรัฐไทยในปจจุบัน จะไมใหความสำคัญกับความทรงจำทางประวัติศาสตรในชวงนี้ ดวยเหตุผล ที่อาจวิเคราะหไดในลำดับตอไป แตผูคนและชุมชนที่ยังคงมีสำนึกตัวตนทางชาติพันธุวาเปน คนลาว และมีบรรพบุรุษเปนผู ถูกกวาดตอนจากศึกสงครามแตครั้งโบราณก็ยังคงอยู แมจะไมมีขอมูลอยางเปนทางการวามีจำนวนเทาใดแตก็นาจะมี จำนวนไมใชนอย ยังคงมีภาษาพูด วิถีชีวิต วัฒนธรรม และประเพณีบางประการที่ตกทอดจากบรรพบุรุษอันแสดงถึงความ 3
http://lcweb2.loc.gov/cgi-bin/query/r?frd/cstdy:@field (DOCID+la0020)
4
มหาสิลา วีระวงศ เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต แปล. ประวัติศาสตรลาว โรงพิมพเทคนิคการพิมพ: ลำพูน, ๒๕๓๕
5สมชาย
นิลอาธิ, แปล. ประวัติศาสตรฉบับกระทรวงศึกษาธิการลาว สำนักพิมพมติชน กรุงเทพฯ, ๒๔๔๕.
6
บังอร ปยะพันธุ. ประวัติศาสตรไทย การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธกับตางประเทศกอนสมัยสุโขทัย จนถึง พ.ศ. ๒๔๗๕ สำนักพิมพโอเดียนสโตร: กรุงเทพฯ, ๒๕๓๘ 7
ความทรงจำเกี่ยวกับอดีต เปนสวนหนึ่งของความพยายามในการนิยามความหมายตัวตนในความสัมพันธกับคนกลุมอื่นๆ การสราง สำนึกทางประวัติศาสตรทำใหรูไดถึงความสืบเนื่อง ความเชื่อมโยง และความรูสึกเปนพวกพอง ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
7
ตางไปจากคนกลุมอื่นๆ อยางไมอาจหลีกเลี่ยง แมชีวิตวัฒนธรรมประจำวันในปจจุบันจะกลมกลืนจนกลายเปนสวนหนึ่งของ สังคมไทยไปแลว และหากสอบถามประวัติความเปนมาผูคนจำนวนมากในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยทุกวันนี้ คงจะไดคำ ตอบวา บรรพบุรุษไมทางใดก็ทางหนึ่งเปนคนเชื้อสายลาว สิ่งนี้คือสภาพความเปนจริงของการผสมกลมกลืนทางเชื้อสายและวัฒนธรรมระหวางกลุมชาติพันธุที่ควรมีการศึกษาถึงปจจัย ความสัมพันธของรัฐกับกลุมลาวทั้งในอดีตและปจจุบัน รวมทั้งปญหาของแนวคิดความกลมกลืนทางชาติพันธุ อคติที่กอตัวและ ถูกสรางขึ้นอยางไร ผลที่เกิดขึ้นนำไปสูเหตุการณเชนใด และการศึกษาเรื่องพื้นที่ทางสังคมและขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ของกลุมชาติพันธุลาว การสังสรรคกันในระหวางกลุมลาว ซึ่งมี “ลาวแงว” เปนสวนหนึ่ง การศึกษานี้พยายามทำความเขาใจและ ศึกษาในกระบวนการดังกลาว
ความหมายของคำวา ลาว และ ลาว ในสำนึกของกรุงเทพฯ ในอดีต คนไทยในภาคกลางเหมารวมเรียกกลุมชาติพันธุที่อยูทางเหนือวา “ลาว” ไมวาจะอยูในเขตหัวเมืองทางภาคเหนือหรือทาง ตะวันออกเฉียงเหนือ เชน เชียงใหม-เชียงราย, หลวงพระบาง, เวียงจันทน, จำปาศักดิ์ จนกระทั่งถึงสิบสองจุไทสวนที่ตอกับ เวียดนามตอนเหนือ, จีน และลาวที่เปนกลุมไทดำ และหัวเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนกลุมที่พูดภาษาไต-ลาวทั้งสิ้น ไมมีขอมูลเพียงพอที่จะตัดอยางแนชัดวา เหตุใดผูคนในลุมน้ำเจาพระยาจึงเรียกคนในแถบลานนาวา “ลาว” มาอยางนอยตั้งแต สมัยพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เหตุหนึ่งที่อาจจะเชื่อมโยงไดก็คือ ในตำนานของบานเมืองในเขตลุมน้ำกกและแมน้ำโขง แถบเชียงรายเชียงแสนตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ เมืองเชียงลาว/เงินยาง8 ตนราชวงศคือ ลวจักราช ที่มีผูปกครองตอๆ มานำหนาชื่อดวยคำ วา “ลาว” เปนสวนใหญ จนถึงลาวเม็งซึ่งเปนบิดาของพญามังราย ผูสรางเมืองเชียงใหมในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ขุนเจืองวีรบุรุษ สองฝงโขงของบานเมืองลุมน้ำโขงที่ไปรบถึงเมืองปะกันในทุงเชียงขวางและตายบนหลังชาง เมื่อทำสงครามกับขุนลอบุตรขุนบรม ผูใหกำเนิดอาณาจักรลาวลานชาง ก็เปนหนึ่งในราชวงศนี้ จิตร ภูมิศักดิ์ วิเคราะหวาในอดีต คำวา “ลาว” นาจะมีความหมายสูงสง มีฐานันดรเปนนายเหนือสังคม โดยมีเคาเงื่อนแตดั้งเดิมคงจะมีความหมายวา “คน” และเนนวาเปน คนผูเจริญ” แลว จนกลาย เปนคำนำหนาผูปกครองหรือกษัตริย ซึ่งตอมามีการใชคำวา พญา ขุน ทาว แทน ตั้งแตสมัยพญามังรายเปนตนมาก็ไมมีการใชคำ
8
เชียงลาว/เงินยาง เปนชื่อเมืองที่ปรากฏในตำนานพื้นเมืองเชียงใหมและในพงศาวดารโยนกของพระยาประกิจกรจักร ซึ่งอางวาเปน ชื่อเดิมของเมืองเชียงแสน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
8
วาลาวนำหนาชื่อกษัตริยอีกเลย ทั้งนี้จากวรรณคดีทาวฮุงขุนเจืองก็พบวา ชาวเมืองในลุมน้ำกกน้ำโขงที่เปนเมืองเชียงลาว/เงินยาง นี้เรียกตัวเองวา “ลาว” ดวย แตก็ไมไดระบุอยางชัดเจนวากลุมชาติพันธุใด9 มีการแสวงหาความหมายของคำวา “ลาว” อยูหลายทาง และมีผูเชื่อถือกันไปตางๆ แตสมมุติฐานใหญนั้นมี ๒ กระแส คือ ๑. มาจากคำวาอายลาว จากภูเขาอายลาวในมณฑลเสฉวนและสืบเนื่องมาเปนขุนบรม ๒. ตนราชวงศลวจักราชแหงเมือง เชียงลาว/เงินยาง นั่นคือ ลาวจก ซึ่งลักษณะทางวัฒนธรรมในตำนานนั้นนาจะเปนกลุมคนอยู อาศัยในที่สูงมากอน หมายถึงพวก ลัวะ ดังนั้น ตนราชวงศลาวในตำนานเมืองเงินยางนั้นคือกลุมลัวะ ในประวัติศาสตรลาวของมหาสิลา วีรวงศ10 ไดลงความเห็นวาอาณาจักรลานชางนั้นเกิดขึ้นสืบเนื่องจากขุนลอบุตรของขุนบรม จากเมืองกาหลงซึ่งอาจจะอยูในเขตสิบสองปนนาไดตีเมืองชวา (หลวงพระบาง) และตั้งขึ้นเปนราชธานีแหงแรกของลาวลานชางใน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ เปลี่ยนชื่อเมืองชวาเปนเชียงทอง และนับจากนั้นมาชาวลาวไดเขามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนแถบหลวงพระ บางและขยายพื้นที่ออกไปเรื่อยมาตั้งแตสมัยขุนลอ ดังนั้น อาจสรุปไดวากลุมผูเรียกตนเองวา “ลาว” แตดั้งเดิมมีพื้นถิ่นอยูในแถบลุมน้ำกกตอกับน้ำโขงในเขตเชียงราย-เชียงแสน มี ความสัมพันธกับบานเมืองในแถบพะเยา-นานไปจนถึงหลวงพระบาง ตอมาขยายบานเมืองและผูคนไปสูลุมน้ำปงสรางเมือง เชียงใหม-ลำพูน-ลำปาง ซึ่งเคยมีบานเมืองมั่นคงอยูแลวคือ “หริภุญไชย” มีการผสมกลมกลืนกับผูคนหลายเชื้อชาติจนกลายเปน อาณาจักรลานนาเริ่มขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ และเรียกตนเองวา “ไทหรือไต” สืบตอมา สวนผูคนที่เรียกตนเองวา “ลาว” แหงลานชาง กำเนิดขึ้นจากขุนลอโอรสขุนบรมมีถิ่นฐานเดิมอยูแถบสิบสองปนนา สรางเมืองชวา ใหมเรียกวาเชียงดงเชียงทองและเปนจุดกำเนิดอาณาจักรลาวลานชาง ที่ตอมาไดผนวกเอาดินแดนไปถึงเวียงจันทนและจำปา ศักดิ์ และชื่อลานชางนี้ พงศาวดารพมา เชนในมหาราชวงศเรียกชื่อลานชางวา “เลียงเชียง” อยางไรก็ตาม นี่อาจเปนเคาเงื่อนที่ไมชัดเจนนัก วาทำไมคนในบานเมืองแถบลุมเจาพระยาจึงเรียกชาวลานนาวาลาว และเรียกชาว ลานชางวาลาวเชนเดียวกัน ในเอกสารสมัยอยุธยาจำนวนหนึ่ง คำวา ลาว”หมายถึงการเรียกผูคนและหัวเมืองภาคเหนือปะปนไปกับคำวา ยวน”เชน วรรณคดี เรื่อง “ยวนพาย” ซึ่งเปนการรบระหวางอยุธยากับเชียงใหมในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถก็มีถอยคำเรียก “ลาว” มากกวา 9
จิตร ภูมิศักดิ์. ความเปนมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ กรุงเทพฯ: บริษัทสำนัก พิมพดวงกมล จำกัด, ๒๕๒๔, หนา ๖๐๐–๖๐๑. ดังโคลงที่กลาวถึงทัพชาวเงินยางรบกับแกว (เวียดนาม) ดังนี้ g g g g แกวตามลมเท็งคูg g คุงเขื่อน g g ไพรพรองลาวลาวยื้อ g ยาดของ แปลไดความวา ชาวแกวตายเต็มคูเมืองจนถึงเขื่อนกำแพง ไพรพลแตกระส่ำระสาย พวกลาวซึ่งเปนชาวเงินยางก็เขายื้อแยงเอา สิ่งของ 10
มหาสิลา วีระวงศ เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต แปล. ประวัติศาสตรลาว โรงพิมพเทคนิคการพิมพ: ลำพูน, ๒๕๓๕
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
9
เรียกวา “ยวน” อยูทั่วไป แตในลิลิตพระลอ บทประนามพจนซึ่งเปนรายสรรเสริญกรุงศรีอยุธยาแยกลาวกาว, ลาว และยวนออก จากกัน ซึ่งเปนการแยกแยะชื่อชนชาติที่แยกละเอียดกวา นั่นคือ “..รอนลาวกาวตาวตัดหัว ตัวกลิ้งกลาดดาษดวน ฝายขางยวน พายแพ ฝายขางลาวประไลย ฝายขางไทยไชเยศร…” ความเขาใจที่สับสนในการเรียกชื่อชนชาติ [Race] ของผูคนในบานเมืองทางตอนบนของลุมเจาพระยามีมาแลวตั้งแตสมัยอยุธยา ตอนตน และในเอกสารของชาวฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณฯ คือ นิโคลาส แชแวส [Nicolas Gervaise] เมื่อกลาวถึง ประชากรของอาณาจักรอยุธยาวา หนึ่งในสามของประชากรที่ไมใชสยามนั้นคือลูกหลานของเชลยชาวลาวและมอญพมา(pagan) จากศึกสงครามเมื่อสองรอยปกอนและผสมผสานกับคนสยามจนแทบแยกไมออก มีชุมชนลาวรอบนอกกรุงจำนวนมากโดยมี นายกองเปนผูควบคุม11 นอกจากนี้ยังมีกรมลาวอาสาทำหนาที่เชนเดียวกับกรมอาสาของชาวเชื้อชาติอื่นๆ การกลาวถึงลาวใน เอกสารเหลานี้ก็ไมสามารถแยกไดวาเปนลาวลานนาหรือลาวลานชางไดอยางแนชัด และนาจะเปนการเหมารวมๆ กันไป การกวาดตอนผูคนในสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ ก็เรียกชื่อผูคนและบานเมือง ทางตอนบนวาลาวปนๆ กันไปเชนเดียวกัน ดังนั้น การบันทึกในเอกสารจดหมายเหตุของทางการ จึงมีการใชคำวา “เมืองลาว” “พวกลาว” หรือ “ครัวลาว” โดยรวมๆ เชน ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ เมื่อกลาวถึงหัวเมืองทางเหนือที่ ยอมสวามิภักดิ์ ทั้งฟากตะวันออกของแมน้ำโขง ลำปาง เชียงใหม เวียงจันทน แพร นาน เถิน หลวงพระบาง นับเปนประเทศราช โดยเรียกวา ประเทศราชลาวพุงดำ ลาวลื้อ ลาวพุงขาว 12 เมื่อกลาวถึงบานเมืองหรือกลุมลาวที่ถูกกวาดตอนเขามาหลายครั้ง ก็จะ กำกับดวยชื่อเฉพาะของกลุมซึ่งเปนที่รูกัน เชน ลาวเชียงใหม ลาวเวียงจันทน ลาวพวน รวมไปถึงผูไทหรือไทดำ ก็พลอยถูกเรียก วา ลาวโซง ไปดวย ทั้งๆ ที่คนลาวนั้นไมยอมรับวาผูไทเปนลาว และผูไทหรือไทดำก็ถือตัวเองวาเปนคนไท ความปนๆ กันไปเชนนี้ ปรากฏในอักขราภิธานศรับทของหมอบรัดเล ตีพิมพครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๔๑๖ ใหนิยามคำวา “ลาว” วา “เปนชื่อคนภาษาหนึ่ง อยูขางฝายเมืองเหนือ มีเมืองเชียงใหม เปนตน ลาวพุงดำ คือพวกลาวที่สักตัวทองดำ ดูเชนเอากางเกงดำมาใสนั้น ลาวพวน คือพวกลาวที่อยูเมืองพวนเหนือเมืองเวียงจันขึ้นไป พวกพุงดำบาง ขาวบาง ลาวเวียงจัน คือพวกลาวชาวเมืองเวียงจันที่บูราณเรียกเมืองศรีสัตนาคะนะหุตนั้น”13 แตการจำแนกกลุมบานเมืองลาวเหลานี้ในความรับรูของชาวกรุงเทพฯ เห็นไดชัดเจนขึ้นจากพระราชสาสนของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวทั้งสองฉบับ ไดแก พระราชสาสนกำกับสุพรรณบัตร ซึ่งเซอรยอนบาวริง อรรคราชทูตอังกฤษเชิญไปถวาย สมเด็จพระนางเจาวิกตอเรีย เมื่อปเถาะ พ.ศ. ๒๓๙๘ ความวา 11
Nicolas Gervaise. The Natural and Political History of the Kingdom of Siam White Lotus Co.,LTD, Bangkok, 1989. P.53. 12
นิธิ เอียวศรีวงศ, บรรณาธิการ. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับเจาพระยาทิพากรวงศ สำนักพิมพ อมรินทรวิชาการ,กรุงเทพฯ, ๒๕๓๙, หนา ๑๙๑. 13
แบรดเลย,แดนบีช.ดร. อักขราภิธานศรับท. โรงพิมพคุรุสภา กรุงเทพฯ ๒๕๑๔
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
10
“พระราชสาสน ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏ พระจอมเกลาพระเจากรุงสยาม ซึ่งเปนพ ระเจาแผนดินใหญ ในรัชกาลที่ ๔ ในพระบรมราชวงศ ซึ่งดำรงกรุงรัตนโกสินทรมหินทราอยุธยา ณ ประเทศบางกอกนี้ ไดครอบครองเปนเจาของพระมหานครราชธานีใหญ ในพระราชอาณาจักรฝาย สยามเหนือใต แลแผนดินแดนตางๆ อยูเดียวอยูใกลในที่นั้นๆ บางแหง แลเปนที่อยูของชนชาวตาง ประเทศ มีเพศภาษาหลายอยาง คือ ลาวเฉียง ลาวกาว แลกำพูชา มาลายู กระเหรี่ยง แลอื่นๆ ในทิศ ตางๆ โดยรอบคอบขอบขัณฑสิมาอาณาจักรสยาม….”14 และเอกสารที่บงบอกถึงความแตกตางของกลุมลาวเฉียงและลาวยวน โดยแบงเขตระหวางลาวเฉียงกับลาวยวนที่ชัดยิ่งขึ้น คือ สำเนารางประกาศตั้งกงศุลเมืองสิงคโปร พ.ศ.๒๔๐๖ มีขอความตอนหนึ่งวา “สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจากรุงสยามซึ่งเปนพระเจาแผนดินใหญที่ ๔ ใน พระบรมวงศนี้ แลเปนเจาเปนใหญไดครอบครองพระราชอาณาจักรสยามราษฎร แวดลอมดวยนานา ประเทศราชชนบทตางๆ ทุกทิศ คือ ลาวโยน ลาวเฉียงในทิศพายัพแลอุดร ลาวกาวแตทิศอิสาณจน บูรพ กัมโพชาเขมรแตบูรพจนอาคเนย เมืองมลายูเปนอันมากแตทิศทักษิณจนหรดี, แลบานเมือง กะเหรี่ยงบางเหลาแตทิศปจิมจนพายัพ แลขาซองแลชาติตางๆ อื่นๆ อีกเปนอันมาก…”15 ดังนั้น ลาวเฉียง 16 คือ ลาวที่เรียกรวมๆ อยูในเขตลานนา แตถาแยกยอยออกไปอีก ไดแก ลาวโยนหรือลาวยวน คือ ชาว เชียงใหม ลำปาง ลำพูน คือ บานเมืองทางฝงตะวันตกทางทิศพายัพหรือตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ สวน ลาวเฉียง อยูทาง ทิศอุดรหรือทางเหนือของกรุงเทพฯ ไดแกเมืองทางฝงตะวันออก เชน เชียงราย แพร นาน ดังนั้น แมจะรับรูวา “ยวน” คือคำที่ เรียกชาวลานนามาแตเดิม แตในสำนึกของกรุงเทพฯ ก็พอใจที่จะเหมาเรียกรวมๆ ไปวา “ลาวเฉียง” สวน ลาวกาว นั้นอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนถึงตะวันออกของกรุงเทพฯ นั่นคือลาวที่อยูในเขตลานชางและภาคอีสาน ปจจุบันนี้ จะเห็นวา สำนึกเรื่องเชื้อชาติของคนกรุงเทพฯ ที่มีตอบานเมืองและผูคนที่อยูตอนบนหรือที่เรียกวาหัวเมืองฝายเหนือนั้น เปนการ เรียกอยางเหมารวม เรียกตามๆ กันมาอยางนอยตั้งแตสมัยอยุธยาตอนตน โดยไมไดแยกแยะหรือมีความสนใจที่จะเรียกตาม คนในทองถิ่น และกลายเปนการเรียกชื่อกลุมคนตามเชื้อชาติที่แฝงนัยะของการดูถูกอยางชัดเจนในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ไม
14
พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
15
จิตร ภูมิศักดิ์, อางในปรีดา ศรีชลาลัย, ตนรางประกาศตั้งกงศุลเมืองสิงคโปร พ.ศ.๒๔๐๖, สราญรมย ๒๔๙๙, หนา ๑๐๖.
16
จิตร ภูมิศักดิ์ วิเคราะหคำวา “เฉียง” วานาจะมีที่มาเดียวกับคำ ชาน-ซาม-เซียม-เสียม อันเปนชื่อเรียกชนชาติไตทั้งหมด โดยได รับอิทธิพลทางภาษาจากพมาซึ่งเปนผูปกครองอยูเปนเวลานานจากคำวา ชาน ซึ่งเปนคำเรียกชนพื้นเมืองในลานนาทั่วไปมาเขียนใน รูปแบบอักษรพมาซึ่งชาวลานนานำมาใชแตออกเสียงเปน “เสียง” เมื่อนำมาใชในภาษาทางภาคกลางจาก “ส” ก็กลายเปน “ฉ” จาก “เสียง” จึงเปน “เฉียง” ซึ่งยังคงความหมายถึงคนพื้นเมืองในลานนาเชนเดียวกับพมา และในปจจุบันไมมีการใชคำวาเฉียงใน ความหมายนี้แลว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
11
วาจะเปน ลาวเฉียง ลาวยวน ลาวพุงดำ ลาวพุงขาว และมีมายาคติในทางลบที่เห็นไดชัดจากวรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน17 ที่มอง เห็นคนจากหัวเมืองลานนาต่ำกวาตน มักดูถูกวาเปนลาว เปนพวกนุงซิ่น (ซึ่งถือวาตางไปจากพวกตนที่นุงโจง) พวกกินกิ้งกา กิน กบ ซึ่งถือเปนของกินต่ำชั้น และสืบตอมาไมขาดสายในบันทึกที่เกี่ยวกับเจาดารารัศมี เมื่อเปนเจาจอมตองมาอยูในราชสำนักภาย ใตตำหนักของสมเด็จพระนางเจาเสาวภาผองศรี และถูกกลั่นแกลงดูถูกตางๆ มากมาย คนในลานนานั้นถือตัววาเปน คนไทหรือคนไต”ไมไดเรียกตัวเองวา ลาว”แตอยางใด ปฏิกริยาแหงการดูถูกจึงพากันเรียกตัวเอง วา คนเมือง”และเรียกภาษาของตนวา คำเมือง ซึ่งมีการอธิบายวา เพื่อใหแตกตางไปจาก คนมาน (พมา) หรือคนใต (อยุธยาหรือ กรุงเทพฯ) เปนคำที่ปรากฏในชวงอยูภายใตการปกครองของพมาและกรุงเทพฯ นี่เอง และกลายมาเปนคำเรียกอยางกลางๆ ซึ่ง พวกไทใหญเรียกวา พวก ยน หรือ ไตยวน เปนการแสดงตัวตนโดยเฉพาะคนในฟากตะวันตก เชน เชียงใหม ลำพูน ลำปาง ซึ่งใช กันอยางกวางขวางจนปจจุบันนี18้ ” ตางจากผูคนในบานเมืองแถบลานชางที่พอใจจะเรียกตนเองวา “ลาว” และมีความรูสึกวาตนตางไปจากคน “ไทหรือไต” ทั้งที่กลุม ภาษานั้นก็อยูในกลุมไตเชนเดียวกัน เหตุที่เปนคำดูถูกและความเขาใจผิดเกี่ยวกับเชื้อชาติลาวที่ถูกเหมารวมโดยรัฐในลุมน้ำเจาพระยา ปรากฏใน นิทานโบราณคดี ที่ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเลาไวเมื่อเสด็จตรวจราชการมณฑลนครราชสีมาและมณฑลอุดรและอีสานเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๙ ทรงคนพบถึงความแตกตางทางเชื้อชาติ สำเนียงภาษาของกลุมชาติพันธุที่ทางการเคยเขาใจกันตอๆ มานั้นไมถูกตองก็เมื่อทรง พระนิพนธนิทานโบราณคดีใน พ.ศ. แลว ดังกรณีความแตกตางของคนในเมืองนครราชสีมากับหัวเมืองทางอีสาน ดังนี้ “ฉันเดินบกไปจากเมืองนครราชสีมา ๕ วัน เขาเขตมณฑลอุดรที่เมืองชนบท พอถึงเมืองชนบทก็เห็น ชาวเมืองผิดกับชาวเมืองนครราชสีมา ทั้งเครื่องแตงตัวและฟงสำเนียงพูดภาษาไทยแปรงไปอีกอยาง หนึ่ง ซึ่งชาวกรุงเทพฯ สำคัญกันมาแตกอนวาเปนลาว แตเดี๋ยวนี้รูกันมากแลววาเปนไทยมิใชลาว ถึงในราชการแตกอนก็อางวาหัวเมืองในมณฑลพายับ กับมณฑลอุดร และอีสาน เปนเมืองลาว เรียก ชาวมณฑลพายับวา “ลาวพุงดำ” เพราะผูชายชอบสักมอมตั้งแตพุงลงไปถึงเขา เรียกชาวมณฑลอุดร และอีสานวา “ลาวพุงขาว” เพราะไมไดสักมอมอยางนั้น เมื่อจัดหัวเมืองชายพระราชอาณาเขตเปน มณฑลในรัชกาลที่ ๕ ราว พ.ศ.๒๔๓๓ แรกก็ขนานนามหัวเมืองลาวพุงดำวา “มณฑลลาวเฉียง” ขนาน นามหัวเมืองลาวพุงขาววา “มณฑลลาวพวน” มณฑลหนึ่ง “มณฑลลาวกาว” มณฑลหนึ่ง”19e ใน พ.ศ.๒๔๓๐ เริ่มมีการจัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล รวบรวมการบังคับบัญชาหัวเมืองทั้งปวงใหขึ้นอยูกับกระทรวง มหาดไทยกระทรวงเดียว และรวมหัวเมืองขึ้นเปนมณฑล มีขาหลวงมณฑลปกครองขึ้นตรงกับกระทรวงมหาดไทยอีกชั้นหนึ่ง ใน หัวเมืองลาวมีการแยกออกเปนหัวเมืองลาวฝายตางๆ ตอมาราว พ.ศ.๒๔๓๓ จึงแบงออกเปนมณฑลลาวเฉียง, มณฑลลาวพวน, มณฑลลาวกาว, มณฑลลาวกลาง, มณฑลเขมร ปกครองโดยพระอนุชา เชน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร และ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นประจักษศิลปาคม เปนตน เพราะในระยะนี้เปนชวงที่ฝรั่งเศสไดเวียดนามเปนเมืองขึ้น 17
เชนตอนนางวันทองหึงนางลาวทองที่มาจากเมืองเหนือวา “ทุดอีลาวดอนคอนเจรจา อีกินกิ้งกากบจะตบมัน”
18
สงวน โชติสุขรัตน. ไทยยวน-คนเมือง บางสะแกการพิมพ ธนบุรี : ๒๕๑๒, หนา ๑๘๘–๑๙๐.
19
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี กรุงเทพฯ สำนักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๑๗ นิทานเรื่องที่ ๑๖
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
12
รวมทั้งเขมร สวนพมาก็ตกอยูภายใตอารักขาของอังกฤษ จึงตองใสใจกับหัวเมืองลาวเปนพิเศษ แตเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๖ ลาวในเขต ฝงซายของแมน้ำโขงก็ตกเปนของฝรั่งเศสทั้งหมด ลัทธิอาณานิคมของชาวตะวันตกเปนแรงขับดันอยางเห็นไดชัด ใหเกิดการปกครองแบบรวมศูนยและรัฐชาติในเวลาตอมา และ แรงผลักดันนี้ทำใหราชสำนักรับรูวา การเรียกชื่อปนๆ ที่มีลักษณะดูถูกทางเชื้อชาตินี้อาจทำใหเกิดการแตกแยกภายในพระราช อาณาเขตและสูญเสียดินแดน จึงตองพยายามทำใหเกิดการกลายเปน “ไทย” หรือ “สยาม” ใหมากที่สุด20 ดังสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ใหเหตุผลที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเปลี่ยนแปลงการปกครองพระ ราชอาณาเขตจากลักษณะการปกครองแบบเดิมอยาง ประเทศราชาธิราช [Empire] มีเมืองตางชาติตางภาษาเปนเมืองขึ้น ซึ่ง ถือวาเมืองชายพระราชอาณาเขตคือ มณฑลลาวเฉียง มณฑลลาวพวน และมณฑลลาวกาว นั้นเปน เมืองลาว และเรียกชาวเมือง นั้นวา ลาว แตการปกครองแบบนั้นอาจใหโทษแกบานเมือง หลังจากเสียดินแดนฝงซายแมน้ำโขงใหกับฝรั่งเศสแลว จึงเปลี่ยนมา เปนลักษณะแบบ พระราชอาณาเขต [Kingdom] ประเทศไทยรวมกัน เลิกประเพณีประเทศราช เปลี่ยนนามมณฑลลาวเฉียง เปนมณฑลพายัพ มณฑลลาวพวนเปนมณฑลอุดร และมณฑลลาวกาวเปนมณฑลอุดร ตามทิศของพระราชอาณาเขต และใหเลิก เรียกไทยชาวมณฑลทั้ง ๓ นั้นวาลาวดวย ใหเรียกรวมกันวา “ไทยเหนือ” แทนเรียกวาลาว หรือเรียกชื่อวา ชาวมณฑลพายัพ ตอ มาเมื่อยกเลิกการปกครองระบบมณฑลเทศาภิบาลใน พ.ศ.๒๔๗๕ แลว มีผูนำชื่อ “ลานนา” ซึ่งเปนชื่อแตโบราณมามณฑลพายัพ คนในที่นี้จึงเรียกวาชาวลานนา และเรียกวาลานชางคูกับลานนาตอมา21 ลาว ในสำนึกของชาวอยุธยาจากเรื่อง “ยวนพาย” ก็ไมไดแฝงไวดวยความรูสึกดูหมิ่นดูแคลนนอกจากโกรธแคนในฐานะศัตรู ตอ เมื่อสมัยตนรัตนโกสินทรจึงเห็นชัดวา การเรียกชื่อ กลุมคนวา “ลาว” ตางๆ นานา บริบทของคำมีความหมายแฝงไวซึ่งการดูถูก ทางชาติพันธุอยางชัดเจน โดยเฉพาะบานเมืองและกลุมคนทางภาคเหนือ มีการพูดถึงสาเหตุการดูถูกทางชาติพันธุดังกลาววา เกิดจากบานเมืองในเขตลานนา เปนประเทศราชของราชสำนักพมาและตอมา ก็เปนประเทศราชของราชสำนักสยามตั้งแตสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีเปนตนมาและรวมไปถึงหัวเมืองลาวลานชางดวย ระดับ ของความสัมพันธที่ไมทัดเทียมกันนี้ เปนสาเหตุใหเกิดการดูถูกประการหนึ่ง ผูคนในวัฒนธรรมหลวงที่ดูถูกวัฒนธรรมราษฎร หรือวัฒนธรรมใหญดูถูกวัฒนธรรมยอย เปนปฏิกริยาที่เกิดขึ้นอยางปกติทั่วไป แมแตในสังคมของลานนาเองก็มีการดูถูกเชนเดียวกันนี้มาตลอด เชน การดูถูกกลุมขาหรือลัวะ เปนตน ผลก็คือเกิดการปฏิเสธ หรือมีปฏิกริยาตอบโตในลักษณะตางๆ แตก็นาคิดวา นัยะที่แฝงเรนการดูถูกทางสังคมเชนที่เกิดกับ “ลาว” นี้ ไมไดเกิดขึ้นกับเขมรจากกัมพูชา ญวนหรือแกวจาก เวียดนาม แขกหรือมุสลิมจากหัวเมืองประเทศราชทางใต และไมตองนับถึงชาวตะวันตกที่ออกจะยกยองเชิดชูอยางออกหนา ใน ดินแดนแหงการเปนเมืองทาและเปนเมืองนานาชาติอยางอยุธยาหรือกรุงเทพฯ ที่แทบไมมีความสัมพันธที่ตรึงเครียดจนกลาย 20
จะเห็นไดวา ชาติตะวันตกโดยเฉพาะฝรั่งเศสนั้น ใหความสำคัญกับการศึกษาขอมูลของกลุมคนพื้นเมืองในทางประวัติศาสตรและ วัฒนธรรม เชน กรณีการศึกษาทางประวัติศาสตรวัฒนธรรมและทำแผนที่ของ ม. ปาวี หรือแมแต งานทางวิชาการของ ศ. ยอรจ เซเดส เพื่อเปนขอตอรองสำคัญในทางการฑูตและการหาขอไดเปรียบในการยึดครองอาณานิคมตางๆ มากกวาการใชกำลังบีบบังคับ ทางการทหารแตอยางเดียว จึงนาจะเปนเหตุใหมีการทบทวนการเรียกชื่อกลุมคนและชื่อมณฑลตางๆ ที่เคยตั้งขึ้นไวแลว 21
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี กรุงเทพฯ สำนักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๑๗ นิทานเรื่องที่ ๑๖, หนา .
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
13
เปนการนองเลือดระหวางผูอยูอาศัยซึ่งเปนคนสยามหรือคนไทยกับชาวตางภาษา อาจนับไดวาเปนสถานที่ซึ่งเปดกวางสำหรับ ความแตกตางทางวัฒนธรรม และเปนวัฒนธรรมที่คุนเคยกับความเปน “คนนอก” อยูมาก คำถามวา “ทำไมกรุงเทพฯ (ในความ หมายทั้งผูคนและวัฒนธรรม) จึงดูถูกลาว” จึงเปนคำถามที่สำคัญ ซึ่งการแฝงนัยะแหงการดูถูกนี้มีผลอยางไรกับการศึกษากลุม ชาติพันธุลาวในพื้นที่ศึกษานี้ จะกลาวถึงในบทตอไป หลังจากความพยายามผอนปรนอาการดูถูกลาว ดังเหตุการณที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงพระนิพนธไวในนิทาน โบราณคดีแลว วาทกรรมที่คนในพื้นที่คือเขตลานนาเริ่มตอบโตกับฝายกรุงเทพฯ ในการประกาศตัวเปน คนเมือง”(รวมไปถึงคำ เมือง, อาหารเมือง) ก็กลายเปนคำเรียกที่รับรูกันทั่วไปแทนคำวา “ลาว” จาก “เมืองลาว” ที่หางไกลก็กลายเปน “ลานนา” ดินแดน บริสุทธิ์ในฝนของคนกรุงเทพฯ และจากหญิงที่เคยเปน “อีลาว” กินปลารา กิ้งกา กบ ก็กลายเปน “สาวเครือฟา” หญิงสาวงดงามใสสะอาด แตใจงายและพรอมจะ ถูกหลอก เรื่องของหญิงสาวชาวเหนือแบบสาวเครือฟากลายมาเปนวาทกรรมที่โตตอบกันดวยความรูสึกนอยเนื้อต่ำใจจนถึง ปจจุบัน อยางไรก็ตาม ในกรณีนี้ แมจะไมมีคำวาลาวประกอบถอยคำ แตก็ยังคงแฝงเรนไวดวยการดูถูกไมตางจากเดิม ในปจจุบัน คำวา “ลาว” ที่แฝงอาการดูถูกทางสังคมและทางชาติพันธุนี้ เคลื่อนยายไปสูผูคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ คนอีสาน ของประเทศไทยมากกวาที่จะดูถูกคน “ลาวจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว”แตความผูกพันทางวัฒนธรรม ที่มาจากรากเหงาเดียวกันก็มักทำใหเกิดความกินแหนงแคลงใจตอคนลาวในประเทศลาวอยูเนืองๆ จนถึงขั้นระแวงในถอยคำที่ มักจะพบไดตามสื่อ ซึ่งเปนสิ่งที่คนไทยในปจจุบันอาจไมไดคาดคิด ลาวกลายเปนคำดูถูกคนอีสานวาเปนพวก ลาว” ซึ่งหมายถึง บานนอก ลาหลัง เปนพวกกินขาวเหนียว อยูอาศัยในพื้นที่แหงแลง ทุรกันดารและตองไดรับการชวยเหลือแกไข รูปรางหนาตาก็ไมสวยงาม เชน กรามใหญ ดั้งหัก เปนพวก เสี่ยว”ที่แปลงความหมาย ไปในทางลบ จากเพื่อนที่ผูกพันกลายเปนพวกบานนอก เชย สกปรก มีฐานะความเปนอยูที่ต่ำกวา และขายแรงงานเปนหลัก เมื่อกลาวคำวา ลาว ตั้งแตอดีตจนปจจุบัน ในสำนึกของเมืองหลวงและกรุงเทพฯ ก็ยังคงเปนการกลาวถึงกลุมชาติพันธุอื่นที่ตอย ต่ำกวาตน แฝงไวดวยอาการดูถูกอยางไมปกปด เพียงแตเปลี่ยนกลุมคนและเปลี่ยนพื้นที่ไปจากเดิมเทานั้น
การอพยพยายถิ่นฐานลาว เขาสูหัวเมืองชั้นในบริเวณลุมน้ำเจาพระยา ลาวในภาคกลางของประเทศไทย คือ กลุมชาติพันธุกลุมใหญที่ปรากฏหลักฐานในการเคลื่อนยายเขามาสูดินแดนประเทศไทย เมื่อสมัยตนรัตนโกสินทร เนื่องจากสงครามที่นำไปสูการกวาดตอนผูคน ประกอบดวยผูคนหลายกลุมหลายพื้นที่ หากแต กวาดตอนมาจากบานเมืองทางฝายเหนือ ดังนั้นจึงถูกเหมารวมเรียกวาลาวทั้งหมด หลังสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาแลว บานเมืองและผูคนถูกทำลายและกวาดตอนไปมาก ขาดแคลนพลเมืองที่เปนฐานทรัพยากร สำคัญของราชอาณาจักร ซึ่งมีผืนแผนดินรกรางอยูมากมาย การเกณฑแรงงานในระบบไพรเพื่อทำสาธารณูปโภคของรัฐ สราง ปราสาทราชวัง และงานกิจการของราชสำนักตางๆ รวมทั้งมีผลประโยชนในการเรียกเก็บสวยอากร ตองพึ่งพาฐานกำลังพลเพื่อทำ กินเลี้ยงพระนครที่เคยบอบช้ำจากการสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาตอพมา ซึ่งพมาไดกวาดตอนผูคนไปมาก และเมื่อเกิดศึก ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
14
สงครามตอมา นอกจากจะเปนการปราบปรามกอบกูพระราชอาณาจักรขึ้นใหมแลว การแสวงหากำลังคนมาเปนฐานประชากรจึง นาจะเปนเหตุผลที่สำคัญมาก ดังจะเห็นจากในสมัยแผนดินกรุงธนบุรีและตนรัตนโกสินทร การกวาดตอนผูคนมาเปนพลเมือง ของรัฐเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ซึ่งอาจจะเปรียบเทียบกับบานเมืองในนครเชียงใหมในยุคเดียวกันที่มีคำกลาววา “เก็บผักใสซา เก็บ ขาใสเมือง” ก็จะเห็นภาพไดชัดเจน จากการรวบรวมของ บังอร ปยะพันธุ22 พบวามีการเคลื่อยยายกลุมลาวเขาสูหัวเมืองชั้นในกรุงรัตนโกสินทรดังนี้ สมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี หลังจากทำสงครามกับพมาที่ยังคงตั้งฐานที่มั่นในเขตลานนาและลานชาง มีการอพยพของลาวจาก เวียงจันทนและเมืองใกลเคียงหลายหมื่นเขามาพักอยูที่นครราชสีมา และตอมาไดยายมาอยูที่สระบุรที ั้งหมด เมื่อมีอิทธิพลเหนือหัวเมืองเหลานี้แลว หลัง พ.ศ.๒๓๒๒ กองทัพยึดเวียงจันทนแลวจึงกวาดตอนครัวเวียงจันทนหลายหมื่นไป รวมไวที่เมืองสระบุรี บางสวนสงไปอยูทรี่ าชบุรี และตามหัวเมืองตะวันตกบาง จันทบุรบี าง สวนเจานายที่นำมาเปนตัวประกัน เชน เจานันทเสน เจาอินทวงศ เจาอนุวงศ โปรดเกลาฯ ใหตั้งบานเรือนอยูทบี่ างยี่ขัน ชวงเวลาเดียวกันนี้ไดครัวลาวทรงดำ (ไทดำ) ที่อยูริมเขตแดนเวียดนามจากเมืองทันตและเมืองมวย ใหไปตั้งบานเรือนอยูที่เมือง เพชรบุรี เพราะภูมิประเทศคลายคลึงกับบานเมืองเดิมกลุมใหญแตดั้งเดิมคือที่บานหนองปรง กอนจะแยกยายกันออกไป ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ เปลี่ยนแผนดินมาเปนกรุงรัตนโกสินทร พ.ศ.๒๓๒๕ เจานครเวียงจันทน กวาดตอนชาวพวนเขามาถวาย พ.ศ.๒๓๓๕ ก็กวาดตอนชาวพวนและไทดำรวมกันราว ๔,๐๐๐ เศษมาถวายอีก โปรดเกลาฯ ให ชาวพวนนั้นตั้งหลักแหลงในกรุงเทพฯ แถบเฉลิมกรุงในปจจุบัน (ที่เคยเรียกวาถนนบานลาว) การกวาดตอนชาวพวนนี้ก็เพื่อจะ ขอแลกกับครัวเวียงจันทนที่ถูกกวาดตอนมาอยูที่เมืองสระบุรกี ลับคืนไป เมื่อ พ.ศ.๒๓๔๕ ยังคงมีศึกสงครามระหวางหัวเมืองลานนาและพมาที่ยึดเอาเมืองเชียงแสนไวอยู พ.ศ.๒๔๔๗ จึงตีเมือง เชียงแสนได และแบงผูคนออกเปน ๕ สวน สงไป เวียงจันทน นาน เชียงใหม ลำปาง และกรุงเทพฯ โดยใหไปตั้งถิ่นฐานอยูที่เมือง สระบุรแี ละราชบุรี เรียกวา ลาวพุงดำ สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย พ.ศ.๒๓๕๒ ครัวลาวจากเมืองนครพนมสวนหนึ่งที่มีปญหาภายใน อพยพผูคนมา พึ่งพระบรมโพธิสมภาร โปรดเกลาฯ ใหไปตั้งบานเรือนยอยูที่ คลองมหาหงษ เมืองสมุทรปราการ เรียกวา “ลาวอาสาปากน้ำ” ขึ้น อยูกรมทา ตอมา พ.ศ.๒๓๗๑ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ก็ขอพระราชทานไปอยูที่เมืองพระรถ จึงโปรดเกลาฯ ให ตัดเอาแขวงเมืองชลบุรีและเมืองฉะเชิงเทราสวนหนึ่งมาตั้งเปนเมืองขึ้น ชื่อ เมืองพนัสนิคม มีเจาเมืองเปนชาวลาวอาสาปากน้ำ และเมื่อผานศึกเจาอนุวงศแลวพระอิทรอาสานี้ก็ไปเกลี้ยกลอมชาวเมืองนครพนมอีกสวนหนึ่งมารวมไวที่เมืองพนัสนิคมดวย พ.ศ.๒๓๕๘ จาเมืองเวียงจันทนสงสวยและครัวลาวจากเมืองภูครังมายังกรุงเทพฯ โปรดเกลาฯ ใหไปตั้งชุมชนอยูที่เมือง นครชัยศรี พรอมกับลาวเมืองพุกราง ลาวเมืองภูครังถูกกวาดตอนมาอีกหลายครั้ง พ.ศ.๒๓๖๐ สงมาพักไวที่เมืองพิษณุโลกกอน จะสงไปอยูกับพวกเดิมที่เมืองนครชัยศรี
22
บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร: กรุงเทพฯ, ๒๕๔๑, หนา ๒๑–๑๐๙.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
15
เหตุการยายถิ่นอพยพคนลาวครั้งใหญเกิดขึ้นเมื่อศึกเจาอนุวงศ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เมื่อ พ.ศ.๒๓๖๙ ผลจาก ศึกครั้งนั้นไดมีการกวาดตอนชาวลาวจากหัวเมืองเวียงจันทนและใกลเคียงสงลงมาหลายครั้ง และผูคนปะปนจากครัวลาวจาก เมืองสระบุรี เมืองนครราชสีมา และเมืองหลมศักดิ์ ที่ถูกกองทัพเจาอนุวงศกวาดตอนคืนกลับไปเวียงจันทน ครั้งนี้ก็กวาดตอน มายังกรุงเทพฯ แตไมทราบวาสงไปตั้งบานเรือนอยูที่ใด พ.ศ.๒๓๗๑ เจาอนุวงศที่หนีไปอยูวียดนามกลับมายังเวียงจันทนและยึดเมืองเวียงจันทนคืน ครั้งนี้เจาพระยาราชสุภาวดี (ตอมา คือเจาพระยาบดินทรเดชา) รับพระราชประสงคจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เผาทำลายเมืองเวียงจันทนเสียจนยอยยับเพื่อ มิใหตั้งตัวไดอีก และกวาดตอนครัวเวียงจันทนที่เหลือมายังกรุงเทพฯ อีกครั้ง พ.ศ.๒๓๗๒ เมืองหลวงพระบางสงครัวลาวจากเมืองสามมิ่น เมืองเพวิง เมืองเลย เมืองแกนทาวมายังเมืองพิษณุโลกกอน แลวให ไปตั้งหลักแหลงอยูกับพวกเดียวกัน ในปเดียวกันนั้น จากนั้นก็ไดสงครัวลาวหลวงพระบางไปอยูยังเมืองพรม ๖๐๐ กวาคน และ แบงไปยังบานอรัญญิกและกรุงเทพฯดวย ใน พ.ศ.๒๓๗๓ โปรดเกลาฯใหไปชำระครัวลาวที่เมืองหลวงพระบางกวาดตอนมาจากเมืองเลย เมืองลม เมืองแกนทาว เมืองปาก ลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูครัง มาไวที่เมืองพิชัย ซึ่งมีการสงมาถึง ๗ ครั้ง รวมประมาณ หมื่นหกพันคนเศษ โปรด เกลาฯ ใหไปอยูกับพวกที่เคยอยูมากอน ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๖–พ.ศ.๒๓๗๘ เกิดศึกกับเวียดนามเนื่องจากเมืองชนแดนคือ หัวพัน และเมืองพวน เมื่อกองทัพไดชัยชนะ จึง กวดตอนลาวพวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ ตอมาใน พ.ศ.๒๓๘๐ ก็ไดรวบรวมครัวลาวเวียงจันทน ทาสาร เวียงครัง พัน พราว หวยหลวง และลาวเกาที่เคยอยูบาน อรัญญิก และเมือง สระบุรี ราว ๑,๗๐๐ คน เปนลาวพวนราว ๖๐๐ เศษ ครัวลาวเวียง สงมาทางเมืองประจิมหรือปราจีนบุรี สวนครัวลาวเวียงครัง ลาวพันพราวสงมาทางเมืองสระบุรี ครัวลาวพวนสงไปยังฉะเชิงเทรา และกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๘๒ ครัวลาวทรงดำก็ยายลงมาอีก และ พ.ศ.๒๓๘๗ ลาวเวียงจันทนและลาวเมืองวังก็ยายลงมาเปนครั้ง สุดทายในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เจาอยูหัว ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ โปรดเกลาฯ ใหลาวจากเวียงจันทนไปไวที่เมือง พนมสารคาม การปราบฮอในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เริ่มตั้งแต พ.ศ.๒๔๒๓ พวกโจรจีนฮอเขามาปลนจนถึง เวียงจันทน ใชเวลาปราบฮออยูจนถึง พ.ศ.๒๔๓๐ ปนั้นไดนำลาวทรงดำมายังเมืองไทยเปนรุนสุดทาย แลวจึงสงไปอยูยังเมือง เพชรบุรี เชนเคย
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
16
ตารางแสดงลำดับของการโยกยายถิ่นฐานของผูที่ถูกเรียกวาลาว” ในสมัยกรุงธนบุรีและตนรัตนโกสินทร เวลา เหตุการณ กอน พ.ศ. ลาวจากเวียงจันทนและเมืองใกลเคียงสมัครใจ ๒๓๒๒ อพยพ
กลุม ลาวเวียง
หลัง พ.ศ. ทัพกรุงธนบุรียึดเวียงจันทนแลวกวาดตอนครัว ๒๓๒๒ เวียงจันทนหลายหมื่นมาอยูใกลกับพระนคร
ลาวเวียง
พ.ศ.๒๓๒๕ เจานครเวียงจันทนกวาดตอนชาวพวนเขามาถวาย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ
ลาวพวน
พ.ศ.๒๓๓๕ ก็กวาดตอนชาวพวนและไทดำรวมกันราว ๔,๐๐๐ เศษมาถวาย
ตั้งถิ่นฐาน สระบุรี
จากเอกสาร จดหมายเหตุความทรงจำกรม หลวงนรินทรเทวีและพระราช วิจารณรัชกาลที่ ๕
สระบุรี ราชบุรี พระราชพงศาวดารกรุง หัวเมืองตะวันตก รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับ จันทบุรี,บางยี่ขัน เจาพระยาทิพากรวงศ (เจานาย) จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๑
ลาวพวน, ลาว พวนอยูที่กรุงเทพฯ พระราชพงศาวดารกรุง ทรงดำ(ไทดำ) แถบเฉลิมกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ
พ.ศ.๒๓๔๗ สงครามระหวางหัวเมืองลานนาและพมาที่ยึดเอา ลาวพุงดำ เมืองเชียงแสนไว เมื่อตีเมืองเชียงแสนได ก็แบงผูคน ออกเปน ๕ สวน สงไป เวียงจันทน นาน เชียงใหม ลำปาง และกรุงเทพฯ
สระบุรีและราชบุรี พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ
พ.ศ.๒๓๕๒ รัชกาลที่ ๒ ครัวลาวจากเมืองนครพนมสวนหนึ่งที่มี และพ.ศ. ปญหาภายใน โปรดเกลาฯ ใหไปตั้งบานเรือนอยูที่ ๒๓๗๑ คลองมหาหงษ เมืองสมุทรปราการ ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ก็ขอพระราชทานไป อยูที่เมืองพระรถตั้งเปนเมืองชื่อ พนัสนิคม
ลาวอาสา ปากน้ำ
พนัสนิคม
จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๒
พ.ศ. เจาเมืองเวียงจันทนสงสวยและครัวลาวจากเมืองภู ๒๓๕๘และ ครังพรอมกับลาวเมืองพุกราง โปรดเกลาฯใหไปตั้ง พ.ศ.๒๓๖๐ ชุมชนอยูที่เมืองนครชัยศรี ตอมาลาวเมืองภูครังถูก กวาดตอนอีกหลายครั้ง
ลาวภูครัง
นครชัยศรี
จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๒
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
17
เวลา เหตุการณ พ.ศ.๒๓๖๙ ศึกอนุวงศมีการกวาดตอนชาวลาวจากหัวเมือง เวียงจันทนและใกลเคียงสงลงมาหลายครั้งและมี ปะปนจากครัวลาวเมืองสระบุรี นครราชสีมา และ หลมศักดิ์ ที่ถูกกองทัพเจาอนุวงศกวาดตอนคืนกลับ ไปเวียงจันทน ครั้งนี้ก็กวาดตอนมายังกรุงเทพฯ แต ไมทราบวาสงไปตั้งบานเรือนอยูที่ใด
กลุม ลาวเวียง
ตั้งถิ่นฐาน
จากเอกสาร พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ และ จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓
พ.ศ.๒๓๗๑ เจาอนุวงศที่หนีไปอยูวียดนามกลับมายังเวียงจันทน และยึดเมืองเวียงจันทนคืน ครั้งนี้เจาพระยาราชสุภา วดีรับพระราชประสงคจากพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาฯ เผาทำลายเมืองเวียงจันทนเพื่อมิใหตั้งตัวได อีก และกวาดตอนครัวเวียงจันทนที่เหลือมายัง กรุงเทพฯ
ลาวเวียง
พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ และ จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓
พ.ศ.๒๓๗๒ เมืองหลวงพระบาง สงครัวลาวจากเมืองสามมิ่น เมืองเพวิง เมืองเลย เมืองแกนทาวมายังเมือง พิษณุโลกกอน แลวใหไปตั้งหลักแหลงอยูกับพวก เดียวกัน ในปเดียวกันนั้น จากนั้นก็ไดสงครัวลาว หลวงพระบางไปอยูยังเมืองพรม ๖๐๐ กวาคน และ แบงไปยังบานอรัญญิกและกรุงเทพฯดวย
ลาว(แงว?)
จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓
พ.ศ.๒๓๗๓ โปรดเกลาฯใหไปชำระครัวลาวที่เมืองหลวงพระบาง ลาวเวียง กวาดตอนมาจากเมืองเลย เมืองลม เมืองแกนทาว ลาวภูครังหรือ เมืองปากลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูค ลาวครัง่ ลาว รัง มาไวที่เมืองพิชัย ซึ่งมีการสงมาถึง ๗ ครั้ง รวม แงว? ประมาณ หมื่นหกพันคนเศษ โปรดเกลาฯ ใหไปอยู กับพวกที่เคยอยูมากอน
จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓
ระหวาง พ.ศ. ทำศึกกับเวียดนาม เมื่อไดชัยชนะ จึงกวาดตอนลาว ลาวพวนและ ๒๓๗๖– พวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ ลาวทรงดำ ๒๓๗๘
ประชุมพงศาวดารเลม ๔๑
พ.ศ.๒๓๗๙ หัวเมืองลาวขึ้นตอไทย อุปราชเมืองหลวงพระบางยก ลาวทรงดำ และ พ.ศ. ทัพไปตีเมืองของไทดำ แลวกวาดตอนไทดำสงมาที่ ๒๓๘๑ กรุงเทพฯ
พงศาวดารเมืองหลวงพระบาง
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
18
เวลา เหตุการณ กลุม ตั้งถิ่นฐาน จากเอกสาร พ.ศ.๒๓๘๐ ไดรวบรวมครัวลาวเวียงจันทน ทาสาร เวียง ลาวเวียง ลาวเวียง, ลาวครั่ง จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ ครัง พันพราว หวยหลวง และลาวเกาที่เคยอยูบานอ ลาวภูครังหรือ อยูที่อรัญญิกและ รัญญิกและเมืองสระบุรี ครัวลาวเวียงสงมาทางเมือง ลาวครั่ง สระบุรี ประจิมหรือปราจีนบุรี สวนครัวลาวเวียงครัง ลาวพัน ลาวพวน ลาวพวนที่ พราวสงมาทางเมืองสระบุรี ครัวลาวพวนสงไปยัง ฉะเชิงเทราและ ฉะเชิงเทราและกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๘๒ ครัวลาวทรงดำก็ยายลงมาอีก
ลาวทรงดำ
จดหมายเหตุเกี่ยวกับเขมรและ ญวน
พ.ศ.๒๓๘๗ ลาวเวียงจันทนและลาวเมืองวังยายลงมาเปนครั้ง สุดทายในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เจา อยูหัว
ลาวเวียง
จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓
พ.ศ.๒๔๐๔ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ โปรดเกลาฯ ใหลาวจากเวียงจันทนไปไวที่เมือง
ลาวเวียง
พนมสารคาม จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔
พ.ศ.๒๔๓๐ การปราบฮอในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดนำลาวทรงดำมายังเมือง ไทยเปนรุนสุดทาย
ลาวทรงดำ
เพชรบุรี
ประวัติเจาพระยาสุรศักดิ์ มนตรี
ในประวัติศาสตรลาว ของมหาสิลา วีรวงศ กลาววาทางกรุงเทพฯ เรียกลาวที่มีถิ่นฐานบริเวณนี้วา ลาวใน และเรียกชาวลาวที่อยู ในเขตหัวเมืองลาววา ลาวนอก ถิ่นฐานของลาวใน ที่ตั้งชุมชนอยูในบริเวณภาคกลางหรือหัวเมืองชั้นในในอดีต ประชากรจำนวนมากในภาคกลางมีเชื้อสายของ กลุมชาติพันธุลาว และมีอยูทั่วไป กระจัดกระจายปนเปไปกับชุมชนชาติพันธุอื่นๆ การตั้งถิ่นฐานระยะแรกๆ คงอยูในพื้นที่เดิม มี มูลนายลาวเปนหัวหนาปกครองเปนนายกองขึ้นตอขุนนางไทย เก็บภาษีอากร และเปนแรงงานสำคัญในการสรางและปฏิสังขรณ วัดหลวง สรางสาธารณูปโภคและราชการทัพศึกตางๆ กิจการที่ตองเกณฑสวยหรือแรงงานเปนกรณีพิเศษเนื่องในพระราชพิธีและ การคาสำเภาหลวง เชน ซอมสรางพระราชวัง พระราชพิธีพระบรมศพ ตัดฟน ตัดซุง สวยเรว ดังนั้น ลาวที่ถูกกวาดตอนมาจึง เปนกลุมประชากรสำคัญ ถูกควบคุมและโยกยายถิ่นฐานไดยากมาก ทั้งนี้ รวมไปถึงการเก็บสวยจาก ลาวนอก เปนรายไดแกรัฐ ในระยะนั้นเปนจำนวนมากดวย23 23
สุวิทย ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตรลาว สำนักพิมพสรางสรรค จำกัด, ๒๕๔๓. ดูไดจาก บทที่ ๔ “การเก็บสวยของไทยจากลาว” หนา ๗๑–๙๕. ซึ่งลงความเห็นวาในสมัยที่ไทยปกครองลาวเปนชวงของการขูดรีดเก็บสวยจากคนลาวทั้งฝงซายและฝงขวาของแมน้ำ โขง โดยแบงกันระหวางวังหลวงและวังหนารวมทั้งขาราชการผูใหญและกรมการเมืองลาว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
19
เมืองเชนสระบุรีและพนัสนิคมแทบจะมีประชากรเปนลาวกลุมตางๆ ทั้งหมด ในระยะแรกทั้งสองเมืองนี้จึงมีเจาเมืองเปนลาว แลว มีกองลาวแบงออกเปนกองๆ ขึ้นอยูกับนายกองซึ่งเปนชาวลาว แตละกองประกอบดวยหมูบานหลายหมูบาน ชาวลาวตางอยูใน ระบบไพร เรียกวา ไพรลาวหรือเลกลาว และเปนไพรหลวงทั้งสิ้น หลังจากการยกเลิกระบบไพรในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว อันเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการโดยเฉพาะ การคุกคามหากำลังคนในบังคับจากฝรั่งเศส ทั้งเปนการเฉลี่ยในการเสียเงินคาราชการแกรัฐอยางเสมอภาคกันทั่วไป ทำใหไมมี ความจำเปนเรื่องการเกณฑแรงงานและเขาเดือนรับราชการแกมูลนายดังที่เคยเปนมา ทั้งจำนวนผูคนในกลุมลาวมากขึ้นกวาเดิม และระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนเปนการผลิตเพื่อสงออก โดยเฉพาะสินคาขาว ทำใหคนในชุมชนเดิมไมมีที่ทำกิน หรือไมก็ตองการ โยกยายเพราะเห็นวาพื้นที่ไมอุดมสมบูรณ จึงมีการอพยพจากถิ่นเดิมไปแสวงหาที่ทำกินใหม ทำใหชุมชนลาวกระจายตัวออกไป อยูตามทองถิ่นตางๆ มากมาย ผสมผสานกับผูคนอพยพอีกหลายกลุม เชน จีน ลาวกลุมอื่นๆ คนไทยจากชุมชนเดิมๆ รวมกันตั้ง ขึ้นเปนหมูบานใหมๆ ในพื้นที่บุกเบิกหางไกล ลักษณะของการตั้งถิ่นฐานและการกระจายตัวของกลุมชาติพันธุในทองถิ่นที่เห็นไดชัดคือที่อำเภอบานหมี่ ซึ่งไดชื่อวาเปนอำเภอที่ กลุมชาติพันธุลาวเกือบทั้งอำเภอและมีอยูหลากหลายกลุม การสำรวจกลุมคนในอำเภอบานหมี่โดยคนในทองถิ่นเองแบงออกเปน ๔ กลุม คือ พวน รอยละ ๖๕ ลาวเวียง หรือ ลาวแงว รอยละ ๒๐ ไทย รอยละ ๑๐ จีน รอยละ ๕ กลุมลาวเวียงจันทรหรือลาวเวียงหรือแงวเขามาตั้งถิ่นฐานในเวลาใกลเคียงกับชุมชนพวนหรืออาจจะอพยพเขามาพรอมกัน และ เปนที่สังเกตุในการตั้งถิ่นฐานบานเรือนของกลุมคนไทยพวนและกลุมคนลาวเวียงหรือลาวแงวจะไมปะปนกัน แตจะแยกกันอยาง เดนชัด มีความนิยมนำเอาชื่อหมูบานเดิมที่เคยตั้งถิ่นฐานอยูที่เมืองพวนมาเปนชื่อบานใหม เชน บานกลวย บานทราย บานเชียงงา บาน โพนทอง บานเซา ซึ่งเพี้ยนมาจาก บานซาว บานหมี่ เปนตน ตอมาการอพยพขยับขยายพื้นที่เริ่มมีอยางตอเนื่อง ดวยสาเหตุหาที่ทำกินและทำเลที่ตั้งถิ่นฐานบานเรือนใหมหรือการติดตามหา ญาติพี่นอง เมื่อเขามาตั้งถิ่นฐานอยูใกลกับชุมชนที่ตั้งอยูกอนแลวก็มักจะใชชื่อชุมชนที่ตั้งอยูกอนและจะนิยมเอาชื่อทิศมาตอทาย หรืออาจจะใชคำวานอยมาตอทายเนื่องจากชุมชนเดิมมีขนาดใหญกวา หรืออาจจะไปตั้งหมูบานใหมที่กลางทองทุงหางจาก หมูบานเดิมก็จะใชคำวาทุง ตอทาย เชน บานหินปกเหนือ บานหินปกทุง บานวังวัดใต บานวังวัดเหนือ บานสำโรงใหญ บานสำโรง นอย บานหมี่ใหญ บานหมี่ทุง 24 ตอมาก็กระจายตัวไปหาที่ทำกินแหงใหมที่อยูไกลออกไปอีกเมื่อราวหลัง พ.ศ.๒๕๐๐ เปนตนมา ดวยเหตุผลการสงเสริมการทำไรและเพาะปลูกในพื้นที่หางไกลซึ่งเปนที่ดอนซึ่งไมเคยมีการบุกเบิกมากอน เชน คนในบานหมี่ไป
24
http://www.mis.moe.go.th/ambnmae/prawutbanmi2.htm
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
20
อยูแถบอำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ เพื่อจับจองพื้นที่ทำไร และอีกจำนวนหนึ่งไปอยูที่อำเภออำเภอ ชัยบาดาล เพราะตองการแสวงหาที่ทำกินใหมถิ่นที่อยูเดิมแออัด เปนตน ชาวลาวที่เคยอยูอาศัยในชุมชนเดิมเมื่อแรกถูกกวาดตอนเขามา จึงกระจายตัวออกไปอยางชาๆ กลายเปนหมูบานเกิดใหมขึ้นอีก มาก และในหลายๆ หมูบานนั้นก็เปนการผสมผสานกันระหวางกลุมชาติพันธุกลุมอื่นๆ ดวย จากจดหมายเหตุ พระราชพงศาวดาร และการสืบคนในปจจุบันของผูสนใจเกี่ยวกับเรื่องกลุมชาติพันธุลาว สามารถประมวลทอง ถิ่นที่ปรากฏ ลาวใน”หรือ กลุมลาวถูกกวาดตอน”มาตั้งถิ่นฐานตามหัวเมืองรอบๆ พระนคร เนื่องจากสงครามในสมัยกรุงธนบุรีตนกรุงรัตนโกสินทร ไดดังนี้ ๑. ลาวเวียง และลาวจากเมืองตางๆ ใกลเวียงจันทน เหตุการณครั้งที่อพยพลาวเวียงมาเปนจำนวนมากที่สุดเกิดขึ้นสมัยสงคราม เจาอนุวงศเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๙ และ พ.ศ.๒๓๗๑ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ซึ่งในที่สุดมีพระราชประสงคใหเผาเมือง เวียงจันทนเสียใหสิ้น และทำใหลาวกลายเปนประเทศราชตอมาจนกระทั่งฝรั่งเศสเขามามีอำนาจเปนเจาอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ แตกอนหนานั้น ในแผนดินสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ก็มีการไปตีเวียงจันทน และอพยพผูคนมาไวที่สระบุรี รวมทั้งเจานายก็เอา มาเปนตัวประกันที่กรุงเทพฯ แถบสวนบางยี่ขัน ถิ่นฐานเดิมของลาวเวียงอยูที่ สระบุรี ราชบุรี หัวเมืองตะวันตก และจันทบุรี และ ลาวเวียงรุนตอๆ มา ก็มักจะใหไปรวมอยูกับพวกพองเดียวกันในบริเวณที่กลาวมาแลว และพบวาในบริเวณจังหวัดสิงหบุรี ลพบุรี ก็มีอยูมาก ปจจุบันพบวามีกลุมลาวเวียงตั้งบานเรือนอยูหลายแหง เชน บานอรัญญิกในจังหวัดอยุธยา ในอำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี ตำบลทัพหลวง อำเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี อำเภอพนมทวน, อำเภอบอพลอย และอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี อำเภอ พนมสารคาม, อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนตน ยังไมมีการสำรวจอยางแนนอนวาผูคนเชื้อสายลาวเวียงตั้งบาน เรือนอยูในที่ใดอยางละเอียดเชนเดียวกับการศึกษาของกลุมพวน ๒. ลาวครั่ง หรือลาวภูครัง หรือลาวภูคัง ในเอกสารกลาววาเปนเมืองอยูทางฝงซายของแมน้ำโขง ปจจุบันเปนที่ทราบกันแลววา ภู ครัง เปนชื่อภูเขาอยูในเขตอำเภอภูเรือในปจจุบัน เชิงเขานี้มีบานหนองบัวตั้งอยูและเปนที่ตั้งของเมืองภูครังแตเดิม และเปนเมือง มีเจาเมืองปกครองอยูจนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ ๕ จึงไดยายเมืองไปตั้งเมืองดานซายริมน้ำหมันใกลกับพระธาตุศรีสองรักษรวมทั้ง เจาเมืองภูครังก็ยกใหเปนเจาเมืองดานซายดวย ในบริเวณนี้มีที่ราบแคบๆ ที่สามารถเดินทางติดตอกับเมืองแกนทาว เมืองเลยซึ่ง เมื่อเลียบริมน้ำโขงก็ตอไปถึงเวียงจันทน และยังเปนทางขึ้นไปเมืองหลวงพระบางอีกทางหนึ่งนอกจากที่น้ำปาด ดังนั้นเมื่อมีการ อพยพผูคนจากหัวเมืองลาว จากเมืองหลวงพระบาง เมืองเลย เมืองแกนทาว เมืองพันพราว (ในจังหวัดหนองคาย) ก็จะใชเสนทาง นี้พักอยูที่เมืองพิษณุโลกไมก็เมืองพิชัย กอนจะเดินทางเขาสูหัวเมืองชั้นใน สวนกลุมพวน หรือกลุมลาวเวียง ก็จะเขามาตามเสน ทางเมืองทาบอซึ่งตรงขามกับฝงเวียงจันทน ผานบานผือไปยังหนองบัวลำพู ผานดงพญาเย็น แลวเขามาพักที่สระบุรี ลาวภูครังที่ถูกกวาดตอนในรัชกาลที่ ๒ ใหไปอยูที่เมืองนครชัยศรีหรือในจังหวัดนครปฐม สวนลาวที่เมืองหลวงพระบาง กวาดตอนมาอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๓ เนื่องจากศึกเจาอนุวงศ ก็ใหไปพักที่เมืองพิษณุโลกและพิชัย กอนจะสงไปอยู ณ ที่พวก จากเมืองของตนเคยอยู ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
21
ในปจจุบันพบวามีชาวลาวครั่งหรือลาวภูครังอยูที่ อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย, อำเภอพรหมพิราม อำเภอวังทอง จังหวัด พิษณุโลก, ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง บานโคงวิไล อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค, อำเภอคลองขลุง จังหวัด กำแพงเพชร, อำเภอบานไร อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี, อำเภอหันคา อำเภอวัดสิงห จังหวัดชัยนาท, อำเภอสระกระโจม อำเภอจรเขสามพัน อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี และอำเภอดอนตูม อำเภอกำแพงแสน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ๓. ลาวจากหัวเมืองแถบหลวงพระบาง เนื่องมาจากสงครามศึกเจาอนุวงศ ตั้งแต พ.ศ.๒๓๗๑–พ.ศ.๒๓๗๓ นอกจากจะเผาเมือง เวียงจันทนเสียจนสิ้นแลว ยังไดกวาดตอนผูคนระลอกใหญอยางตอเนื่องตอมาอีก ๒-๓ ป กลุมคนที่เดินทางมาจากหัวเมืองที่ ลาวทางฝายเมืองหลวงพระบางรับผิดชอบชำระสงมานั้น เดินทางมาพักอยูที่พิษณุโลกและพิชัยตามเอกสาร ไดแก เมืองสามมิ่น เมืองเพวิง เมืองเลย เมืองแกนทาว ครัวลาวหลวงพระบาง เมืองลม เมืองปากลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูครัง และ ตอมาใหไปอยูเมืองพรหมและที่อื่นๆ เสนทางเดินทางนั้น ก็นาจะมาทางทั้งทางเมืองปากลายอุตรดิตถเขาสูเมืองพิษณุโลกและ เมืองพิชัย อีกทางหนึ่งคือเมืองแกนทาวขามน้ำเหืองมาทางเมืองภูครังและเมืองดานซาย ลงสูที่ราบเมืองหลมเกาหลมสักและ เพชรบูรณ ซึ่งสามารถเดินทางไปยังเมืองพิษณุโลกหรือลงสูเมืองสระบุรีไดสะดวกทั้งสองทาง การกวาดตอนครั้งนี้มีทั้งครัวลาวเวียงและลาวจากเมืองอื่นโดยเฉพาะหัวเมืองที่ขึ้นตอเมืองหลวงพระบางทั้งฝงซายและฝงขวา ของแมน้ำโขงรวมเดินทางมาในคราวเดียวกัน แตในเอกสารตางๆ ไมมีบันทึกใดๆ กลาวถึงชื่อ ลาวแงว”ในกลุมลาวที่ถูก กวาดตอนมาดวยเลย ในเอกสารสวนใหญมักจะเรียกรวมๆ กันวา “ลาวเวียง” ดังนั้น จึงเห็นไดชัด สำหรับทางราชการการเรียก ชื่อลาวแงวไมไดเปนที่รูจักแตคงเปนการรูกันภายในเฉพาะกลุมเทานั้น การกวาดตอนครั้งนี้นาจะมีทั้งลาวเวียง ลาวครั่ง และ “ลาวแงว” ดวย เหตุที่สันนิษฐานวา ลาวแงวนาจะเปนกลุมลาวกลุมใหญ กลุมหนึ่งที่ถูกกวาดตอนกันมาในครั้งนี้ก็เพราะ การสำรวจในปจจุบันพบวา มีกลุมผูเรียกตนเองวาลาวแงวตั้งเปนชุมชนจำนวน มากกระจัดกระจายตั้งแตเขตสระบุรี ลพบุรี สิงหบุรี และนครสวรรค ปะปนกับกลุมพวนและลาวเวียงซึ่งคนในทองถิ่นก็จะทราบ กันเองวาลาวแงวเปนกลุมที่แตกตางไปจากลาวกลุมอื่นๆ ที่กลาวมา อีกทั้งการศึกษาทางภาษาศาสตรพบวา แมภาษาลาวทั้งหมด จะอยูในตระกูลภาษาเดียวกัน คือ ภาษาไท-กะได แตเมื่อแยกเสียงวรรณยุกตแลว ภาษาลาวแงวมีเสียงวรรณยุกตใกลเคียงกับ ภาษาลาวกลุมหลวงพระบางและยังใกลเคียงกับการแยกเสียงวรรณยุกตในภาษาลาวครั่งที่นครชัยศรีดวย25 สัมพันธกับเรื่องเลาที่ตกทอดสูลูกหลานในกลุมลาวแงวหลายๆ คน กลาววา ไดอพยพมาจากเมืองหลวงพระบางบาง เมืองที่อยู ใกลๆ กับหลวงพระบางบาง (แตในขณะที่บางคนก็บอกเลาวามาจากเวียงจันทนในครั้งศึกเจาอนุวงศ เห็นไดวามีการรวมกลุมมา ดวยกันทั้งกลุมลาวเวียง ลาวเมืองอื่นๆ แตภายหลังคงมีการแยกหมูบานตามกลุมของตน ความทรงจำจึงคอนขางสับสนวาตน เปนลาวกลุมใด และถูกกวาดตอนมาแตครั้งใด) ดังนั้น ลาวแงวจึงนาจะเปนกลุมลาวที่อพยพมาจากหัวเมืองแถบรอบๆ เมือง หลวงพระบางในครั้งศึกเจาอนุวงศมากกวาจะเปนกลุมลาวเวียงหรือบานเมืองที่อยูใกลเคียงเมืองเวียงจันทน ในปจจุบัน กลุมลาวแงวที่สำรวจพบ อยูในเขต อำเภอเมือง อำเภอบานหมี่ และอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรีมากที่สุด นอกนั้น ก็เปนกลุมที่อยูดั้งเดิมคือในตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ซึ่งมีชาวลาวแงวอยูเกือบทั้งตำบลแลว ในเขตวัดมวง 25
นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๗, หนา ๒๒๒. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
22
วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร อำเภออินทรบุรีมีคนเชื้อสายลาวแงวอาศัยอยูมาก นอกจากนี้ยังมีที่วัดทาอิฐ วัดเกาะแกว วัดตุมหู บาง โฉมศรี ตำบลบุงชีน้ำราย อำเภออินทรบุรี และแถบตำบลบานสิงห วัดสาธุ ตำบลโพงพางเสือ อำเภอบางระจันก็มีลาวแงวอาศัยอยู สวนในเขตอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค และอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เปนกลุมลาวแงวที่ขยับขยายหาพื้นที่ทำกินแหง ใหม แยกออกจากชุมชนเดิมและอยูรวมกลุมกับคนที่อพยพมาเชนเดียวกันจนกลายเปนหมูบานเกิดใหมอีกหลายแหง ๔. ลาวพวน หรือ พวน หมายถึงกลุมชาวผูไทจากเมืองพวนและบานเมืองในเขตที่ราบเชียงขวาง จากเอกสารเรื่องกลุมชาติพันธุ ปรากฏวา มีการประเมินขอมูลจำนวนคนพวนที่อยูในที่ราบเชียงขวางมีมากพอๆ กับคนเชื้อสายพวนที่อยูในประเทศไทย คือ เกือบหนึ่งแสนคน ซึ่งขอมูลนี้อาจไมถูกตองก็ได แตอนุมานใหเห็นวามีการประเมินจำนวนคนพวนจากเชียงขวางใกลชายแดน เวียดนามในสมัยที่ถูกกวาดตอนมานั้น โยกยายกันมานาจะเปนจำนวนครึ่งหนึ่งของประชากรทีเดียว พวนนาจะเปนคนกลุมใหญที่สุดที่ถูกอพยพเขามาสูหัวเมืองชั้นใน เนื่องพวนเปนกลุมไทดำกลุมหนึ่ง และมีวัฒนธรรมใกลชิดกับ ชาวผูไทในเขตเมืองแถง และถือตัววาเปนคนพวนไมใชคนลาว รวมทั้งคนลาวก็เรียกวาพวนโดยไมนับเปนลาวดวย ดังนั้น ภาษา พูดจึงมีความใกลชิดกับลาวโซงหรือไทดำ พวนถูกกวาดตอนเขามาตั้งแตในสมัยรัชกาลที่ ๑ และเขามามากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ ๓ ครั้งศึกรบกับเวียดนามและศึกเจา อนุวงศ ครัวพวนถูกอพยพมาสมทบกับพวกพองทั้งที่เมืองฉะเชิงเทรา ลพบุรี สระบุรี ปราจีนบุรี ซึ่งในปจจุบัน กลุมผูมีเชื้อสาย พวนตั้งถิ่นฐานอยูในจังหวัดตางๆ หลายแหงทั้งในภาคกลาง อีสาน และภาคเหนือตอนลาง ความแตกตางไปจากกลุมลาวอื่นๆ ที่ อยูในทองถิ่นเดียวกัน ทำใหพวนมีเอกลักษณพิเศษทั้งภาษาพูด ขนบประเพณี พิธีกรรม และลักษณะพฤติกรรม ดวยเหตุที่เปนก ลุมใหญและมีเอกลักษณนี้เองทำใหมีการรวมตัวเกิดสมาคมไทพวน จัดกิจกรรมตางๆ สำหรับคนเชื้อสายพวนในปจจุบัน ซึ่งเปน ลักษณะพิเศษที่ลาวในกลุมอื่นๆ ไมสามารถรวมตัวกันเชนนี้ได ๕. ลาวโซง หรือ ไทดำ หรือ ผูไท เปนกลุมที่อยูในเขตเมืองแถงหรือเดียนเบียนฟูในเวียดนาม ใกลชิดกับกลุมบานเมืองที่อยูใน พื้นที่ซึ่งเรียกวาสิบสองจุไทหรือสิบสองเจาไท (ไทดำ ๘ เมือง, ไทขาว ๔ เมือง) บริเวณนี้มีทั้งกลุมไทดำและไทขาวโดยสังเกตจาก เครื่องแตงกายและภาษาพูด เปน “เมืองสามฝายฟา” เพราะขึ้นกับทั้งหลวงพระบาง-เวียงจันทน จีน และเวียดนามในชวงเวลา ตางๆ ดังนั้น ลักษณะทางวัฒนธรรมจึงมีทั้งวัฒนธรรมแบบไต-ลาว จีน และเวียดนามดวย ไทดำเขามายังหัวเมืองชั้นในหลายครั้งตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑ ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๖–๒๓๗๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ทำศึก กับเวียดนามเมื่อชนะจึงกวาดตอนลาวพวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๗๙, พ.ศ.๒๓๘๑ และ พ.ศ.๒๔๘๒ อุปราช เมืองหลวงพระบางยกทัพไปตีเมืองไทดำแลวกวาดตอนสงมาบรรณาการอีก จนครั้งสุดทายเมื่อสมัยปราบฮอในรัชกาลที่ ๕ ถิ่นฐานดั้งเดิมของไทดำในหัวเมืองชั้นใน คือ ที่เมืองเพชรบุรีหลังจากนั้นจึงแยกออกไปอยู ณ ที่อื่นๆ เชน อำเภอทายาง อำเภอ บานลาด จังหวัดเพชรบุรี อำเภอบางแพ อำเภอปากทอ อำเภอดำเนินสะดวก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร อำเภอกำแพงแสน อำเภอเมือง อำเภอดอนตูม อำเภอสามพราน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม อำเภอ สองพี่นอง อำเภอบางปลามา อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอดานมะขามเตี้ย อำเภอพนมทวน อำเภอบอพลอย จังหวัด กาญจนบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
23
ลาวโซงหรือลาวทรงดำในแถบเมืองเพชรบุรีในปจจุบัน ยังคงรักษาความเอกลักษณทางชาติพันธุไวอยางเหนียวแนนกวากลุมอื่นๆ เพราะมีทั้งพิธีกรรม เชน การเสนเรือนหรือการเลี้ยงผีบรรพบุรุษ การเสนเมืองหรือการเลี้ยงผีเมือง พิธีกรรมงานศพ การแตงกาย บานเรือน ภาษาพูด บงบอกถึงเอกลักษณตนเองอยางเหนียวแนน ๖. ลาวยวน หรือ ไตยวน หรือ ลาวพุงดำ สงครามระหวางหัวเมืองลานนาและพมาที่ยึดเอาเมืองเชียงแสนไว ในสมัยรัชกาลที่ ๑ เมื่อ พ.ศ.๒๓๔๗ ทัพของกรุงเทพฯ และเชียงใหมตีเมืองเชียงแสนไดก็แบงผูคนออกเปน ๕ สวน สงไปยัง เวียงจันทน นาน เชียงใหม ลำปาง และกรุงเทพฯ ซึ่งโปรดเกลาฯ ใหไปตั้งถิ่นฐานที่สระบุรีคือเสาไหและราชบุรีที่คูบัว ในระยะหลังๆ จึงขยับขยาย ถิ่นฐานไปยังที่อื่นๆ เชน แถบวัดรางบัว ในอำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ในทองถิ่นของชาวยวนทั้งสระบุรีและราชบุรี ยังคงรักษาวัฒนธรรมการทอผาซิ่นตีนจก ประเพณีงานบุญและวัดวาอารามแบบลาน นา รวมทั้งภาษาพูด และการแตงกายเฉพาะโอกาสไวไดอยางเดนชัด และสามารถอยูรวมกับชุมชนอื่นๆ ที่ไมใชชาวยวนไดอยาง กลมกลืน เนื่องจากความตองการประชากรหรือ “ไพร” เปนกำลังสำคัญของรัฐในยุคสมัยนั้น การกวาดตอนผูคนจากหัวเมืองชั้นนอกที่อยู หางไกลจึงเปนวิธีการสรางฐานกำลังของ “รัฐ” ที่สำคัญซึ่งที่ชัดเจนก็คือ การสรางฐานกำลังอำนาจของราชสำนักและขุนนางบาง กลุม เพราะไพรชาวเมืองตางๆ ที่ถูกกวาดตอนมาลวนถูกจัดเปน “ไพรหลวง” เกือบทั้งสิ้น ดังที่ไดกลาวไวเบื้องตน สำหรับราชสำนักความสนใจหรือความรูเกี่ยวกับลักษณะทางวัฒนธรรมของผูคนที่ถูกกวาดตอนมาเปน ไพรในหัวเมืองชั้นในหลายตอหลายกลุมมีอยูนอยมาก ดังเราจะเห็นวาผูคนและบานเมืองที่อยูทางเหนือหรือตอนบนถูกเหมารวม เรียกวา “ลาว”ประเภทของกลุมคนที่ถูกกวาดตอนเนื่องจากการสงครามเปนไปในลักษณะการดูถูกทางชาติพันธุอยางเห็นไดชัด เชน การเรียกชื่อ “ลาวพุงดำหรือลาวพุงขาว” เปนตน” ซึ่งความเปนจริงแลว กลุมที่เรียกตนเองวา “ลาว” นั้น มีเพียง ๒-๓ กลุม คือ “ลาวเวียง” “ลาวครั่ง” และ “ลาวแงว” หรือลาวในกลุมเมืองหลวงพระบางและใกลเคียง นอกเหนือจากนั้น ก็เรียกตนเองวา “พวน”(ลาวพวน), “ยวน”(ลาวพุงดำ) และ “ไทดำ”(ลาวทรงดำหรือลาวโซง) คำเรียกกลุมลาวซึ่งเปนกลุมที่เรียกตนเองวาลาว ก็ยังถูกเรียกใหตางไปจากคนรวมทองถิ่นโดยเฉพาะกลุมชาติพันธุอื่นเรียกชื่อที่ รูจักในทองถิ่นตางกันไปตามถิ่นที่อยูอาศัย เชน ในอำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค เรียกชื่อ “ลาวครั่ง” ตามถิ่นที่อยูซึ่ง เปนชื่อหมูบานหรือทองถิ่นวา “ลาวโนนปอแดง” และ “ลาวหนองเหมือด” หรือบางคนก็นำคำลงทายประโยคที่ชาวลาวครั่งมักจะ ใชกันคือคำวา “กะละ” มาเรียกเปนชื่อกลุมโดยจะเรียกวา “ลาวกะละ” บางก็เรียกกันเลนๆ วา “ลาวลอกอ” หรือกลุมลาวครั่งที่ไป อยูรักษาเมืองดานแถบสุพรรณบุรีก็เรียกวา “ลาวดาน” นอกจากนี้ยังปรากฏชื่อกลุมลาวที่ไมไดบันทึกไวในเอกสารทางการ หรือมีการศึกษาสืบคนประวัติอยางแนชัดในปจจุบันสำหรับ ลาวกลุมนี้ก็คือ ลาวใต ซึ่งกลาววาเปนลาวกลุมหนึ่งที่ถูกกวาดมาพรอมๆ กัน อยางไรก็ตาม ในงานศึกษานี้ยังไมทราบวาลาวใต เปนกลุมลาวกลุมใดและถูกกวาดตอนมาจากเมืองหรือทองถิ่นใดกันแน26
26
มีการกลาวถึงกลุมลาวใตหลายครั้ง แตก็ยังไมมีการจำแนกหรืออธิบายที่มาของลาวกลุมนี้อยางชัดเจน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
24
ในกลุม “ลาวแงว” ก็มีชื่อที่ถูกเรียกวา “ลาวกรอ”, “ลาวตะโก” แถบบานโคกกระดี่ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค “ลาวทอง เอน” แถบบานทองเอน ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี คนเชื้อสายลาวแงวมักชอบพูดลงทายประโยควา “ตี้” จึงมี บางคนเรียกวา “ลาวตี้” ดวย ดังนั้น คำเรียกชื่อกลุมลาวที่แสดงถึงกลุมดั้งเดิมซึ่งมักจะเปนชื่อของเมือง เชน ลาวพวน ลาวเวียง ลาวครั่ง ก็ลืมเลือนหรือหายไป จึงเกิดความสับสนอยูบอยๆ ในระหวางกลุมคนเชื้อสายลาวดวยกันหรือคนกลุมอื่นๆ ในทองถิ่นเดียวกัน วาตนเปนลาวมาจาก เมืองใดและอพยพมาตั้งแตเมื่อไหร หรือแมแตเปนลาวกลุมใดกันแน เพราะชื่อของลาวในทองถิ่นตางๆ ถูกเรียกชื่อไปตางๆ นานานั่นเอง
ความเปนมาของลาวแงวจากประวัติศาสตรบอกเลา นักภาษาศาสตรจัดใหภาษาลาวครั่งและภาษาลาวแงวอยูใน “ตระกูลภาษาไท-กะได”กลุมตะวันตกเฉียงใตหมายถึงสำเนียงภาษา แบบหลวงพระบาง โดยศึกษาดวยการแยกเสียงวรรณยุกตพบวา การแยกเสียงวรรณยุกตในภาษาลาวแงวมีความใกลเคียงกับ ภาษากลุมลาวหลวงพระบาง และยังใกลเคียงกับกลุมลาวครั่งที่อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ซึ่งเปนลาวเมืองภูครังที่ตั้งอยูทางฝง ซายของแมน้ำโขงในเขตดานซาย-ภูเรือ จึงสรุปวา ภาษาลาวแงวอยูในกลุมภาษาหลวงพระบาง27 และจากการสังเกตสำเนียงพูด พบวา ปจจุบันมีการพูดในสำเนียงนี้แถบบริเวณเมืองเลย เชียงคาน ดานซาย บางสวนของนครไทย จนถึงหลมเกา-หลมสักดวย จากขอสังเกตดังกลาว กลุมลาวแงวจึงนาจะถูกกวาดตอนมาเมื่อชวงสงครามเจาอนุวงศ ตั้งแต พ.ศ.๒๓๗๑ – พ.ศ.๒๓๗๓ ซึ่ง เปนการอพยพกลุมคนระลอกใหญหลายครั้ง จากเมืองเพวิง เมืองสามมิ่น เมืองเลย เมืองแกนทาว ครัวลาวหลวงพระบาง เมือง ลม เมืองปากลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูครัง ซึ่งลาวทางฝายเมืองหลวงพระบางรับผิดชอบชำระสงมา โดยใหมาพัก อยูที่พิษณุโลกและพิชัย ตอมาใหไปอยูเมืองพรหมบุรีในเขตสิงหบุรีและที่อื่นๆ ซึ่งคนเชื้อสายลาวแงวในจังหวัดสิงหบุรีก็เลาวา ครั้งแรกมาตั้งถิ่นฐานอยูที่บริเวณวัดสาธุการาม บานสิงห ตำบลโพงพางเสือ อำเภอบางระจัน ตอมาบางสวนก็อพยพแยกยายลง มาตามลำน้ำเจาพระยา ตั้งหลักแหลงอยูที่อำเภออินทรบุรี แถบวัดมวงและวัดโพธิ์ศรี แลวขยับขยายมาอยูที่ตำบลทองเอนใน ปจจุบันนี้ 28
27
เชนใน วิทยานิพนธของ นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี, ๒๕๒๗ และ วิทยานิพนธของ ศิวพร ฮาซันนารี. การศึกษาระบบเสียงในภาษาลาวหลวงพระบาง: ศึกษาเปรียบเทียบกับภาษา ลาวครั่ง ลุมน้ำทาจีน และภาษาลาวดานซาย, ๒๕๔๓. ที่ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องระบบเสียงของภาษาลาวแงวและลาวครั่งเปรียบ เทียบกับเสียงในภาษาหลวงพระบาง 28
http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html วิชาทองถิ่นศึกษาของบานไผดำ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัด สิงหบุรี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
25
จากการที่เอกสารตางๆ ไมมีบันทึกที่กลาวถึงชื่อลาวแงว”ในกลุมที่ถูกกวาดตอนเลย จึงไมอาจสันนิษฐานไดวา กลุมลาวแงว นา จะเปนลาวมาจากเมืองใด เพียงแตทราบวาอยูในเขตวัฒนธรรมที่มีสำเนียงการพูดแบบเดียวกับทางหลวงพระบาง แตกตางไป จากกลุมลาวพวนหรือพวนอยางเห็นไดชัดแตก็ไมแตกตางอยางสิ้นเชิงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุมลาวเวียง29 ความหมายที่ถูกตอง ของคำวา “แงว” หมายถึงอะไร นอกจากจะเรียกตนเองและถูกเรียกวา “ลาวแงว” แลว ยังมีชื่อที่ผูคนเชื้อสายลาวแงวถูกเรียกจากคนกลุมอื่นอีกวา ลาวตี้ เพราะ มักชอบพูดลงทายประโยควา ตี้, ลาวกรอ, ลาวตะโก และ ลาวทองเอน เนื่องจากอยูในแถบบานทองเอน ในอำเภออินทรบุรี ที่ กลาวมาเปนการเรียกเฉพาะทองถิ่นเฉพาะกลุม แตในความสำนึกรวมผูคนในกลุมนี้ตางถือตนเองวาเปนลาวแงว ดังนั้น คำวาแงว จึงนาจะเปนคำเกาที่ตกทอดแตดั้งเดิม อาจจะเปนชื่อ เมือง หรือแมน้ำ หรือภูเขา หรือหมูบาน ก็เปนได คำวา “แงว” เปนชื่อเฉพาะ แทนตัวตนหรือเอกลักษณของลาวกลุมใหญกลุมหนึ่ง เพราะพบวากลุมที่เรียกตนเองวาลาวแงวมีอยูมากและกระจายกันอยูถึง ๔ จังหวัด คือ สระบุรี ลพบุรี สิงหบุรี และนครสวรรค ซึ่งนับวามีไมใชนอย ลาวแงวแถบบานหนองโดนซึ่งเปนหมูบานใหญเปนที่ตั้งของอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อยูทางเหนือของอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี กลุมบานหนองโดนเคยประกอบดวย บานหนองโดน บานหนองระกำ บานโคกงาม และหมูบานลาวแงวอีกสองสาม แหง และใชน้ำผุดซึ่งเปนสระน้ำจากตาน้ำเดียวกัน เพราะเปนพื้นที่หางไกลลำน้ำเรียกกันวา หนองโดน ตอมาเกิดอหิวาตกโรค ระบาดผูคนลมตายและบางสวนไดยายหนีออกไป และก็เริ่มเขามาอยูกันตอมาแตก็ไมใชกลุมใหญเชนเดิม หนองโดนปจจุบันใช เปนแหลงน้ำสำหรับทำน้ำประปา มีวัดหนองโดนซึ่งมีชุมชนลาวแงวอยูรอบๆ สวนที่เปนตัวอำเภอหรือตลาดก็จะมีคนไทยและคน จีนอยูอาศัยกันมากกวาลาวแงว มีศาลตาปูเรียกวา ปูจุย มีการเลี้ยงตาปูกลางเดือน ๖ เอาวันพุธเปนวันสุกดิบและเลี้ยงกันวันพฤหัส โดยมี “คนทรง” เปนผูหญิง สวน “จ้ำ” เปนผูชาย ทำหนาที่ติดตอระหวางชาวบานและรางทรง ที่บานปาหวาย บานขุนนวน บานดงนอย บานกกโก บานหวยเปยม บานโคกกระเทียม บานดอนมะกัก บานไผขวาง เปนหมูบาน ลาวแงวที่อยูในอำเภอเมืองลพบุรี เปนพื้นที่ซึ่งติดตอกับทางอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี แมจะมีลาวแงวอยูมากแตก็ปนกับ ไทยและจีนบาง และบางหมูบานกลายเปนสวนหนึ่งของปริมณฑลตัวเมืองลพบุรี จึงมีการนำพื้นที่มาสรางบานจัดสรรทำใหมีคน หลายกลุมเขามาอยูรวมกัน สภาพแวดลอมและโครงสรางทางสังคมของชุมชนเดิมก็เปลี่ยนไป
29
ผูศึกษาซึ่งเปนคนเชื้อสายลาวแงว จากบานน้ำจั้น อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี นางรุจิรา เชาวธรรม สังเกตจากสำเนียงภาษา และลักษณะทางวัฒนธรรม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
26
จากการสำรวจชุมชนลาวแงวในเขตพื้นที่ศึกษาในจังหวัดสระบุรี ลพบุรี นครสวรรค และสิงหบุรี พบวามีการตั้งถิ่นฐานดังนี้ ลำดับ ๑
ชื่อหมูบาน กลุมบานหนองเมือง
สถานที่ตั้ง
บานหวยกรวด นา จาน หมู ๑ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองบัวขาว จังหวัดลพบุรี หมู๒ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองเมือง จังหวัดลพบุรี หมู ๓ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองแก จังหวัดลพบุรี หมู ๔ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานน้ำปา จังหวัดลพบุรี หมู ๕ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองเมือง จังหวัดลพบุรี หมู ๖ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองกระเบียน จังหวัดลพบุรี นอย หมู๗ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
ลักษณะทั่วไป ตำบลหนองเมืองมี ๗ หมูบานติดตอกัน ทุก หมูบานเปนลาวแงว อยูมาก ปจจุบันเปนหมูบาน ใหญผูที่เขามาอยูใหมเปนเขยสะใภที่เปนคนจีน หรือคนไทย หมู ๑,๒,๓,๖ หมูบานติดกัน เมื่อ กลุมใดมีบานเรือนมากกวา ๑๒๐ หลังคาเรือนจะ แยกออกเปนอีกหมู หมูบานนี้ติดกับบานหนองเมืองแยกเปนอีกหมู หนึ่งมีลาวแงวมากกวากลุมใด วัดสราง พ.ศ. ๒๔๕๔ มีลาว ไทย พวน ยวน
๒
บานน้ำจั้น
หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่
มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๗ ในหมูบานเปนลาว แงว ที่ยายมาจากที่อื่น เชนบานหนองเมือง บาน น้ำจั้นอำเภอเมือง บานโคกเสลา มาตั้งบานเรือน แตเสียงพูดจะหวน สั้น กวาลาวแงวบานอื่น เนื่องจากอยูระหวางกลุมคนไทยและคนพวน ผูคนที่ยายเขามาอยูจะเปนเขยสะใภ และคนภาค อีสานเปนสวนนอย
๓
บานไผใหญ
หมู ๒ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
มีวัดไผใหญสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ บานไผใหญ มีลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน หมูบานนี้มีทางรถไฟ ผาน
๔
บานหนองหินใหญ หมู ๑ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
จังหวัดลพบุรี
มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ มีลาวแงว พูด สำเนียงคลายกับลาวบานทองเอน
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
27
ลำดับ ๕
ชื่อหมูบาน บานโปง
สถานที่ตั้ง หมู ๓ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
ลักษณะทั่วไป เปนหมูบานเล็กๆแตมีลาวแงวทั้งหมูบาน สวน ใหญอพยพเขามาอยูใหม มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐
๖
บานหนองเตา
บานหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
บานหนองเตามีลาวแงวมาก และมีพวน ไทย
๗
บานวังจั่น
อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงวทั้งหมูบาน
๘
บานสายหวยแกว
หมู๕ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๒ บานนี้รวมอยูกับ บานไผใหญ มีทางรถไฟกั้น ทั้งที่หมูบานติดกัน ทำใหไปรวมกับบานสายหวยแกว บอกวาตนเอง เปนลาวแงว
๙
บานลาด
ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพุบรี
บานนี้มีลาวมากมากวากลุมอื่น อยูรวมกับ ผูมา ใหมเชน เขยสะใภ
๑๐
บานสระตาแวว
ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗ มีลาวมากกวากลุม อื่น
๑๑
บานหนองเตา
ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
มีวัด ชาวบานบอกวาตัวเองเปนลาวแงว
๑๒
บานหนองเลา
ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัด มีลาวแงวมากกวาไทย ลพบุรี
๑๓
บานโคกสุข
ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัด วัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ บานนี้มีคนลาวแงว มี ลพบุรี โรงเรียน
๑๔
บานหนองเกวียนหัก ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
วัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๖ มีลาวแงวเกือบทั้งหมุ บาน ผูที่ยายเขามาคือคือเขยสะใภ
๑๕
บานสระตาแวว
หมู ๒ ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
ประวัติสรางวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗
๑๖
บานโคก
ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงว มากกวากลุมพวนไทย
๑๗
บานดงพลับ
หมู ๑ ตำบลดงพลับ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
ประวัติวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๐ คนหมูบานนี้ อพยพไปอยูบานน้ำจั้นในตำบลไผใหญ
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
28
ลำดับ ๑๘
ชื่อหมูบาน บานโปรงนอย
สถานที่ตั้ง หมู ๗ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
ลักษณะทั่วไป พื้นที่สวนใหญติดทางรถไฟ วัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓ ชาวบานบอกวาตัวเองเปนลาวแงว บาง กลุมอพยพไปอยูบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ ปจจุบันมีการติดตอกันอยู
๑๙
บานโคกลำพาน
อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงว และไทยปะปนกัน
๒๐
บานปาหวาย
ตำบลลำทราย อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงว มีไทย จีนปน เพราะอยูในเมือง
๒๑
บานดงนอย
ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
แมวาจะใกลหางสรรพสินคา บิ๊กซี แตยังชนบท อยู บานตนเองเปนลาวแงว
๒๒.
บานหวยเปยม
ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น
๒๓
บานคอกกระบือ
ตำบลโคกกระเทียม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
บานนี้พูดลาวบอกไมไดวาตนเองเปนลาวกลุมใด แน ลาวแงวมากที่สุดในหมูรองลงมามีคนไทย มี ศาลตาปู แตไมมีชื่อ
๒๔
บานดอนมะกัก
ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมือง จังหวัด ลพบุรี
มีลาวแงว แตนอยกวา ไทย
๒๕
บานไผขวาง
ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น
๒๖
บานน้ำจั้น
หมู ๒ ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
มีวัดมาตั้ง พ.ศ. ๒๔๐๐ มีลาว และพวนปะปน กัน คนบานหนองเกวียนหักบอกวาคนบานน้ำจั้น เอาหมากเขียบไปขายบานหนองเกวียนหัก
๒๗
บานถลุงเหล็ก
หมู ๓ ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอโคกสำโรง สรางวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๒มีลาวแงวอยูบาง จังหวัดลพุบรี
๒๘
บานโคกพรม
ตำบลหลุมขาว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น มีครอบครัวไทยอยู ๒-๓ หลัง มีศาลตาปู ไมระบุชื่อวาชื่อใด
๒๙
บานหวยวัวตาย
ตำบลวังขอนขวาง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น มีศาลตาปูไมชื่อเรียก วาอยางใด
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
29
ลำดับ ๓๐
ชื่อหมูบาน สถานที่ตั้ง ลักษณะทั่วไป บานพรหมทินเหนือ ตำบลหลุมขาว อำเภอโคกสำโรง จังหวัด บานนี้เรียกตัวเองวาลาวในหมูบานมี ลาวพวน บานพรหมทินใต ลพบุรี จีน มีศาลตาปูชื่อสนั่น มีลาวแงวอพยพมากจาก บานน้ำจั้น ตำบลใผใหญอำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี
๓๑
บานสระพานนาค
๓๒
บานสระพานจันทร ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงว ไทย พวน มากตามลำดับ อพยพมา จากบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
๓๓
บานสระพานขาว
ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี
มีคนพวนมาก รองลงมาคือลาวแงว
๓๔
บานหมอ
อำเภอบานหมอ จังหวัดสระบุรี
มีลาวแงวนอยกวากลุมอื่น เนื่องจากเดิม บานหมอ บานหนองโดน อยูรวมกัน ตอมาแยก ออกเปนอำเภอบานหมอ อำเภอหนองโดน กลุม ที่เปนลาวแงวบานหมอจึงเหลือนอย และมีบาง สวนที่อพยพไปบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี
๓๕
บานหนองโดน
ตำบลหนองโดน อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี
เรียกตนเองวาลาวแงวมีมาก กวากลุมอื่น พูด เสียงนาฟงกวากลุมลาวแงวอื่น เวลาพูดเสียงสูง มาก
๓๖
บานดงยาง
ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
เปนลาวแงวโดยมาก มีคนไทยและคนจีนปนอยู บาง
๓๗
บานกลาง
ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
เปนลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน
๓๘
บานไผดำ
ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัด เปนลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน สิงหบุรี
๓๙
บานลองกะเบา
ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
มีลาวแงวกับคนไทยมากพอกัน
๔๐
บานคลองโพธิ์ศรี
ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
มีลาวแงวกับคนไทยมากพอกัน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
หมุ ๗-๘ ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี
มีลาวแงวมากที่สุด รองลงมาคือลาวสระบุรี ไทย จีน มีศาลตาปู ชื่อวา เจาพอบัวศรี
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
30
ลำดับ ๔๑
ชื่อหมูบาน บานไผลอม
สถานที่ตั้ง ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
ลักษณะทั่วไป มีลาวแงวเกือบทั้งหมด
๔๒
บานตาลเดี่ยว
ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
มีลาวแงวเกือบทั้งหมด
๔๓
บานตาลเดี่ยวเกาะขี้ หมู ๑๒ ตำบลทองเอน แพะ-ดงยาง อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
มีลาวแงวเปนสวนมาก
๔๔
บานบึงออ
ตำบลทองเอน จังหวัดสิงหบุรี
มีลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน
๔๕
บานจันเสน
หมู ๑ ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัด ยายบานเรือนมาจากบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ นครสวรรค อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี มีพื้นที่ติดตอกัน หางกัน ๒ กิโลเมตร ยายมามากกวา ๑๐ ครอบครัว บานคนก็มาเปนเขย สะใภ คนใน ตำบลจันเสนอีกทั้ง เนื่องจากอยูใกลตลาด เดิน ทางโดยรถไฟสะดวกกวา
๔๖
บานโคกกระดี่
อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค
ยายไปจากบานน้ำจั้น บานโคกกระดี่อยูติดกับที อำเภอตาคลี ในหมูบานมีคนไทยมาก มีคนลาว นอยกวา เพราะเพิ่งโยกยายไป
ลาวแงวแถบบานหนองโดนซึ่งเปนหมูบานใหญเปนที่ตั้งของอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อยูทางเหนือของอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี กลุมบานหนองโดนเคยประกอบดวย บานหนองโดน บานหนองระกำ บานโคกงาม และหมูบานลาวแงวอีกสองสาม แหง และใชน้ำผุดซึ่งเปนสระน้ำจากตาน้ำเดียวกัน เพราะเปนพื้นที่หางไกลลำน้ำเรียกกันวา หนองโดน ตอมาเกิดอหิวาตกโรค ระบาดผูคนลมตายและบางสวนไดยายหนีออกไป และก็เริ่มเขามาอยูกันตอมาแตก็ไมใชกลุมใหญเชนเดิม หนองโดนปจจุบันใช เปนแหลงน้ำสำหรับทำน้ำประปา มีวัดหนองโดนซึ่งมีชุมชนลาวแงวอยูรอบๆ สวนที่เปนตัวอำเภอหรือตลาดก็จะมีคนไทยและคน จีนอยูอาศัยกันมากกวาลาวแงว มีศาลตาปูเรียกวา ปูจุย มีการเลี้ยงตาปูกลางเดือน ๖ เอาวันพุธเปนวันสุกดิบและเลี้ยงกันวันพฤหัส โดยมี “คนทรง” เปนผูหญิง สวน “จ้ำ” เปนผูชาย ทำหนาที่ติดตอระหวางชาวบานและรางทรง ที่บานปาหวาย บานขุนนวน บานดงนอย บานกกโก บานหวยเปยม บานโคกกระเทียม บานดอนมะกัก บานไผขวาง เปนหมูบาน ลาวแงวที่อยูในอำเภอเมืองลพบุรี เปนพื้นที่ซึ่งติดตอกับทางอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี แมจะมีลาวแงวอยูมากแตก็ปนกับ ไทยและจีนบาง และบางหมูบานกลายเปนสวนหนึ่งของปริมณฑลตัวเมืองลพบุรี จึงมีการนำพื้นที่มาสรางบานจัดสรรทำใหมีคน หลายกลุมเขามาอยูรวมกัน สภาพแวดลอมและโครงสรางทางสังคมของชุมชนเดิมก็เปลี่ยนไป
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
31
หากนับวา เมืองหลม ซึ่งในปจจุบันทราบกันดีวาคือ เมืองหลมเกา เปนสวนหนึ่งในพื้นที่ซึ่งผูคนในปจจุบันมีสำเนียงพูดใกลเคียง กับทางดานซาย, เมืองเลย ซึ่งก็ใกลเคียงกับทางหลวงพระบาง มีผูเรียกตนเองวา ลาวหลม ที่บานดอนประดู บานหนองแขม บาน ปากลวย และบานทาแค ตำบลทาแค อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี รวม ๔ หมูบาน สำเนียงการพูดที่สื่อสารกับลาวแงวไดใกลเคียง กัน ในหมูบานมีศาลเจาพอหลวง มีประเพณีการเลี้ยงผีเมื่อถึง เดือน ๖ ขึ้น ๖ ค่ำ ดวย ลาวหลมกลุมนี้นาจะถูกกวาดตอนมาคราว เดียวกับครัวลาวแงวหรือลาวในกลุมเมืองหลวงพระบางที่มาพักอยูที่เมืองพิษณุโลกและพิชัยตามเอกสารในชวงสงครามเจา อนุวงศ ตั้งแต พ.ศ.๒๓๗๑–พ.ศ.๒๓๗๓ ลาวแงวกลุมที่จัดวาใหญและเปนชุมชนดั้งเดิมอีกกลุมหนึ่งในเขตจังหวัดลพบุรีคือ ที่บานหนองเมือง ตำบลหนองเมือง บานไผ ใหญ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ชาวลาวแงวในอำเภออื่นๆ เชน ที่อำเภอทางาม แถบวัดทาอิฐ เกาะแกว วัดตุมหู บางโฉมศรี ในตำบลชีน้ำราย อำเภออินทรบุรี สวนในอำเภอบางระจัน แถบตำบลบานสิงห โพงหางเสือ แถบวัดสาธุการาม มีชาวลาวแงวอยูบาง บานไผลอมในตำบลทองเอน มีลาวแงวอยูมาก เปนพื้นที่ซึ่งอุดมสมบูรณ น้ำไมทวมและเปนที่ดอน อพยพยายมาจากตำบลบาน สิงหในอำเภอบางระจัน ศาลตาปูที่นี่เรียกวาศาลเจาปู ชื่อ “เจาปูละหาน” เปนที่นับถือของชุมชนในทองถิ่นตำบลทองเอน และอยู ติดกับหนองน้ำขนาดใหญพื้นที่ราว ๑๐๐ ไร ในเดือน ๖ มีทั้งพิธีเลี้ยงเจาปูและการทำบุญกลางบาน ซึ่งจะทำพิธีกันที่วัดดงยาง เรียกวาทำบุญเบิกบาน ในเขตอำเภออินทรบุรี นอกจากตำบลทองเอนที่มีชาวลาวแงวอยูหนาแนนที่สุดแลว รองลงมาคือ ตำบลอินทร มีชาวลาวแงวใน เขตวัดมวง วัดโพธิ์ศรี เปนชุมชนดั้งเดิมกอนที่จะยายมาอยูที่ตำบลทองเอนเปนกลุมใหญ สวนอายุต่ำกวานี้ใชภาษาไทยกลางกัน หมด สวนลาวแงวที่ตำบลโคกสวาง ตำบลหนองไมเสียบ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสรรค ก็มีชาวลาวแงวอยูเปนกลุมๆ โดย อพยพถิ่นฐานไปจากตำบลทองเอนเพื่อไปประกอบอาชีพทำไร ทำนา ในหมูบานเหลานี้แทบจะไมไดใชภาษาลาวแงวพูดกันแลว ยกเวนในกลุมอายุตั้งแต ๕๐ - ๖๐ ปขึ้นไป มีชาวลาวแงวที่อพยพไปบุกเบิกที่ทำกินใหมโดยเฉพาะในแถบลุมน้ำปาสัก ทั้งที่อำเภอทาหลวง อำเภอโคกสำโรง อำเภอชัยบาดาล และแถบอำเภอวิเชียรบุรี ก็มีอยูไมใชนอย บางคนก็กลับถิ่นฐานเดิม บางคนก็อพยพครอบครัวไปตั้งถิ่นฐานอยูที่นั่นกลายเปน หมูบานใหมขึ้นมา เปนลักษณะแสวงหาที่อยูใหมตามความสนใจของตน30 จากการสัมภาษณชาวบานซึ่งเปนคนเชื้อสายลาวแงวจากที่ตางๆ มักจะเลาเริ่มตนดวยวาตนมาจากเวียงจันทนเปนสวนใหญ เกิด ศึกสงครามจึงเดินทางอพยพมาอยางฉุกละหุ และมีความลำบากตางๆ นานา ทั้งๆ ที่เราสืบคนจากลักษณะทางภาษาศาสตร ลง ความเห็นวา ลาวแงวอยูในกลุมภาษาที่มีเสียงวรรณยุกตแบบหลวงพระบาง ซึ่งไมใชกลุมลาวเวียงหรือลาวที่มาจากเวียงจันทน
30
ภูธร ภูมะธน, บรรณาธิการ. มรดกวัฒนธรรมไทยเบิ้ง ลุมแมน้ำปาสักในเขตที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนปาสัก ลพบุรี ; ศูนยศิลปวัฒนธรรม: สถาบันราชภัฏเทพสตรี .๒๕๔๑ หนา ๑๑. อางจากการสัมภาษณนางนาง บรรฑิตย ปจจุบันอายุ ๘๔ ป และนางยิน ขันคำ เดิมเปนลาวแงวจากบานถลุงเหล็ก อำเภอโคกสำโรง นายมา ขันคำ ปจจุบันอายุ ๗๖ ป เปนลาวแงวจากบาน หนองเมือง อำเภอบานหมี่ ทั้งหมดอพยพมาอยูอาศัยที่บานมะกอกหวาน อำเภอชัยบาดาลนานกวาครึ่งศตวรรษแลว ดวยเหตุผล ตองการแสวงหาที่ทำกินใหม เพราะที่อยูเดิมแออัด ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
32
สาเหตุดังกลาวอาจจะมีที่มาจากสงครามครั้งนั้นเปนครั้งใหญ สงครามคราวเจาอนุวงศสงผลสั่นสะเทือนบานเมืองทั้งราช อาณาจักรลาวใหกลายเปนประเทศราชของไทยโดยสมบูรณ และผูคนพลเมืองซึ่งเปนหัวใจของรัฐถูกกวาดตอนเขามาสูหัวเมือง ชั้นในของสยามอาจจะมากกวาครึ่งหนึ่งของประชากร และในครั้งนั้น เวียงจันทนที่เปนพระนครหลวงมานานก็ถูกเผาทำลายจน ยอยยับไปทั้งเมือง เรื่องนี้มีความสำคัญตอความรูสึกคนลาวทั้งมวลนาจะทั้งในระยะนั้นและสำนึกตอๆ มา การบอกเลาแบบมุข ปาฐะและการบันทึกทางประวัติศาสตรในครั้งศึกเจาอนุวงศคงจะสรางหรือตอกย้ำความสำคัญของเมืองเวียงจันทนจนกลบความ ทรงจำเกี่ยวกับบานเมืองหรือทองถิ่นดั้งเดิมของตนเอง จนกลายเปนคนลาวแมวามาจากเมืองอื่นๆ แตก็มีความรูสึกหรือสำนึก เดียวกันวา ตนเองมาจากเวียงจันทนเมืองที่ถูกทำลายยอยยับครั้งศึกสงครามที่นารันทดที่สุดในประวัติศาสตรลาว ประวัติศาสตรบอกเลาของชุมชนลาวแงวในที่ตางๆ สืบทอดตอกันมาดังนี้ พระครูปลัด กัลยาณวัฒน (รด ถาวโร) จำพรรษาอยูที่วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร อำเภออินทรบุรี เลาประวัติของชาวลาวแงวไววา เดิมอยูที่ตำบลพังคี แขวงเมืองหลวงพระบาง ในครั้งนั้นครอบครัวลาวแงวตำบลพังคีก็ถูกกวาดตอนมาดวย คุณยายของทาน พระครูชื่อแมเฒาแดง (ซึ่งมีอายุถึง ๑๐๐ ป) ไดเลาใหทานฟงวา …ครอบครัวชาวบานพังคีที่ถูกกวาดตอนมาคราวนั้นมีหัวหนาใหญชื่อพอเฒาบักจา แมของแมเฒา แดงซึ่งอพยพมาครั้งนั้นชื่อแมเฒาขวด เวลานั้นอายุได ๑๑ ขวบ เขาใหถือกระบั้งน้ำกับแบกดุนไฟอัน หนึ่งเทานั้น เดินทางรอนแรม มาประมาณ ๒ เดือนเศษ จึงถึงเมืองอินทรบุรี มาเห็นที่ตรงนี้ทำเลดี เหมาะสมที่จะพักอาศัยเปนที่ทำมาหากินตอไป … พอเฒาบักจาจึงขอรองหัวหนาคนไทยขอตั้งถิ่นฐานอยูที่เมืองอินทร ครอบครัวบักจาตั้งบานเรือนอยูที่ บานบางกะป คือ แถบวัดมวง, วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร สวนครอบครัวอื่นเชน ครอบครัวเชียงปา ไป ตั้งรกรากอยูบานทองเอนบาง บานปลาไหลบาง บานสิงห ในอำเภอบางระจันบาง….. 31 ในเอกสารทางราชการของไทยกลาววา “สงครัวลาวหลวงพระบางไปอยูยังเมืองพรม ๖๐๐ กวาคน” เมืองพรม หมายถึงอำเภอ พรหมบุรีในปจจุบันที่อยูตอจากอำเภออินทรบุรี ในอำเภอพรหมบุรีมีลาวกลุมใหญที่เรียกตนเองวา “ลาวเวียง” บานแปง และบาน ลาวอีก ๒-๓ หมูบานซึ่งเปนกลุมที่ไมเปนกลุมใหญเทากับที่อินทรบุรี ดังนั้น การที่เอกสารกลาวถึง เมืองพรม ก็นาจะหมายรวมถึง ทองถิ่นเมืองอินทรบุรีที่อยูติดกันดวย คำบอกเลานี้ นับเปนเรื่องที่ชัดเจนที่อางวาบรรพบุรุษของตนอพยพมาจากเมืองพังคี แถบเมืองหลวงพระบาง คนเฒาคนแกใน แถบตำบลทองเอนซึ่งเรียกตนเองวาลาวแงว บางก็วามาจากหลวงพระบาง บางก็วามาจากเวียงจันทน จนผูศึกษาภาษาลาวแงวก็ กลาววายังไมกลาสรุปมาจากเมืองใดกันแน32 แตการกลาวถึงวาบรรพบุรุษมาจากเมืองหลวงพระบางสัมพันธกับเอกสารทาง ราชการของไทยที่บันทึกไว และการวิเคราะหลักษณะของเสียงวรรณยุกตของภาษาลาวแงว ซึ่งสรุปวามีความใกลเคียงกับเสียง วรรณยุกตทางหลวงพระบาง 31
http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html ทองถิ่นศึกษา
32
นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหา บัณฑิตจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๗, หนา ๑๖–๑๘. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
33
แตคำบอกเลาของผูที่เรียกตนเองวาลาวแงวหลายคนและหลายชุมชน กลับบอกวาตนเองมาจากเวียงจันทนไมใชเมืองหลวงพระ บาง เชน ยอด พรหมสโร (พ.ศ.๒๔๓๐–พ.ศ.๒๕๒๘) เมื่อ ป ๒๕๒๕ ขณะมีอายุ ๙๕ ป เปนทั้งปราชญของหมูบานและถือวาเปนผู นานับถือและอาวุโสสูงสุดในยุคนั้น ไดเลาถึงความเปนมาของชาวลาวแงวที่ตำบลทองเอนวา …บรรพบุรุษรุนทวด เปนชาวลาวแงวรุนแรกที่อพยพมาจากประเทศลาว ชื่อทวดพุด เมื่ออายุ ๑๖ ป กำลังจะบวชเณร แตถูกกวาดตอนเปนเชลย มาอยูเมืองไทยที่บานสิงหแถบวัดสาธุการาม ไดแตงงาน กับยาทวดชื่อ ดง มีลูกชื่อ ปูหวัน ซึ่งเปนปูของปูยอด33 และเปนผูตั้งขอสันนิษฐานวา หากผูคนมีถิ่นฐานอยูในชนบทนอกเขตเมืองเวียงจันทนจึงเรียกวา แงว แตถาอยูในเมือง เวียงจันทน เรียกวา ลาวเวียง ซึ่ง เขตนอกเมืองเวียงจันทนดังกลาวก็ไมไดชี้เฉพาะลงไปวาอยูรอบๆ เวียงจันทน หรือเมืองใดก็ได ที่ไมใชเวียงจันทน ซึ่งเปนการแยกกลุมลาวเวียงออกจากกลุมลาวจากเมืองอื่นอยางชัดเจน อันเนื่องจากอยูในกลุมลาวที่ถูก กวาดตอนมาพรอมๆ กัน ชาวบานหนองเมือง ในอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี เลาวา แมจะเรียกตนเองวาลาวแงว แตก็กลาววามาจากเวียงจันทน “…มาจากเวียงจันทนไปนครพนม แลวมาที่บานชองแค อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค แลวยายมา ที่บานหนองเมือง ตอนมาจากเวียงจันทน หนีขาศึกมา มีขาวตากแหงมาดวย”34 และลาวแงวที่บานกกโก ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี บรรพบุรุษเลาวาอพยพมาจากเมืองภูมิซึ่งอยูติดกับเขาใกลกับ เมืองเวียงจันทร อพยพเรื่อยมาจนมาถึงบานกกโกจึงตั้งหลักแหลงกันที่นี่ เรื่องที่เลานั้น เห็นภาพของไพรชาวบานที่กลายเปน เชลย ถูกกวาดตอนมาอยางไมรูตัว และเดินทางรอนแรมมาดวยความลำบาก …ตระกูลมาจากเวียงจันทน ถูกเขารุกมา แตกตื่นกันมาหลายคน พวกผูชายถูกเกณฑแรงมารบ บางก็ รองไห มีอาวุธ คือหอกกับดาบ การเดินทางมาผูหญิงบางคนก็เพิ่งคลอดลูกกำลังอยูไฟก็มี บางบาน ยังตมน้ำก็ทิ้งไว แตก็ตองเดินทางกันมา ตอนเดินก็ไมมีน้ำจะดื่ม….35 ….ปูยาตายายเลาวา อพยพมาจากเวียงจันทน ตกทุกขไดยาก เกิดสงครามแยกยายแตกซะนโมมา เขาตองการนำมาเปนทาส แตไมยอม หนีมาพรอมกับจุดไฟดักคนตามมา ตอนอพยพมาเตรียมขาว ตากแหง หอใสผาทำเปนถุงยาวมัดรอบเอว เวลาหิวก็อม…36
33
อางแลว, และจากวิชาทองถิ่นศึกษาของบานไผดำ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html 34
สัมภาษณ นายราช มีเครือ
35
สัมภาษณนางมวน เหมหอม, อายุ ๘๖ ป, ๑๓ หมู ๒ บานกกโก ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี และพระชงค แสนลอม ฉายาติสสวํโส วัดกกโก ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี , ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒. 36
นายปรีชา เชื้อมุข หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, อายุ ๖๕ ป, ๕ เมษายน ๒๕๔๑
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
34
สวนลาวแงวจากบานไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ก็บอกเลาถึงความทรงจำที่ถูกถายทอดกันตอๆ มา ทำใหเห็นสภาพ บานแตกสาแหรกขาดพลัดหลงกับญาติพี่นอง การเดินทางอันยากลำบากอันเนื่องมาจากการสงคราม แตความทรงจำนี้ก็ยังบอก วามาจากเวียงจันทน ..แมโซน(ยายทวด)บอกวาเปนลาวมาจากเวียงจันทน เวียงแตกก็หนีกะชะกะชามา ตอนมามีพี่นองมา นำกันแลวหลงกัน มาอยูบานหนองโดน(สระบุรี) แลวมาอยูบานหนองเมือง แลวมาอยูบานนอยหรือ บานโนนหนองหินกอนถึงไผใหญราวครึ่งกิโลเมตร ตรงที่มีศาลตาปูติดกับสระน้ำอยูกลางทุงนา แลว มาอยูบานไผใหญ บางก็วาขี่ชางมา มีการตากขาวเหนียว มีการคั่วขาวตอกมา เวลาเดินทางก็อมกันมา คนเฒาคนแกเลาวา อพยพมาทำมาหากินและเกิดรบทำสงครามกัน..37 แตกลุมลาวเวียงที่บานแปง อำเภอพรหมบุรี ซ฿งนาจะอพยพมาพรอมๆ กับลาวแงวที่อินทรบุรี และลาวอีกหลายกลุมที่อำเภอ บานหมี่ และเรียกตนเองวา ลาวเวียง เพราะบรรพบุรุษมาจากเวียงจันทน เลาวา 38 ….ยายเปนลาวเวียง พอแมเลาวา แตกมาจากเวียงจันทน ปู ยา ตายาย บอกมาแตกบานลายเมือง ขาศึกมันไลมา มาตั้งรกรากบานนี้เลย บานนี้มีพวน มีลาว มีไทยอยูวัดเสาธง มีเจกเขาขายของ พวก พวนเขามีกำฟา เผาขาวหลาม ตรุษสงกรานตทำเหมือนกัน บุญกลางเดือน ๓ เดือน ๔ ทำบุญพระบาท ทำทุกป ฟงธรรม ฟงเทศนเหมือนกัน แตภาษาไมเหมือนกัน มาอยูรวมกับคนไทยก็ไมเปนไร รูวาเขา พูดไทยเราก็พูดไทยกับเขา แตยายมีลูกหลานเขาพูดไทยกันหมด เวากับมัน มันรูทุกคำบอกหยิบได จับได ตอบได เด็กบอกวาพูดไมเปน กะเดิ่ง กะดาง ยายรูวารกรากเราอยูเวียงจันทน ก็อยากไป….. 39 ประวัติศาสตรบอกเลาของผูคนเชื้อสายลาวแงว ไดแสดงใหเห็นวามีความสับสนในแหลงที่อพยพมาวาอยูในเขตหลวงพระบาง หรือเวียงจันทนกันแน ซึ่งเฉพาะเพียงคำบอกเลาสืบตอกันมาอาจไมใชขอยุติสำหรับขอสันนิษฐานดังกลาว เพราะกลุมผูที่เรียก ตนเองวาลาวแงวเปนกลุมที่ใหญกระจัดกระจายอยูหลายพื้นที่ แตก็มีลักษณะทางวัฒนธรรมรวมกัน เชน สำเนียงภาษา การเรียก ชื่อกลุมของตนเอง และประเพณีพิธีกรรมความเชื่อบางประการ สำหรับคำวา “แงว” ก็ไมอาจสันนิษฐานไดอยางแนชัดวาหมายถึงอะไร นอกจากการบอกเลาของผูอาวุโสในหมูบานตำบลทองเอน วา เปนการแยกกลุมลาวแงวออกจากลาวเวียง หมายถึงลาวจากเวียงจันทน และลาวจากบานเมืองอื่นๆ ซึ่งก็อาจเปนไปไดอยางยิ่ง จากคำบอกเลาและการเทียบเคียงเวลากับเอกสารทางราชการ คอนขางแนชัดวา ลาวในเขตพื้นที่ศึกษานี้เปนกลุมลาวกลุมใหญที่ อพยพมาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๑ – พ.ศ.๒๓๗๓ คราวศึกเจาอนุวงศ ที่มีการ เผาเมืองเวียงจันทนจนเสียหายยอยยับคลายคราวกรุงศรีอยุธยาเสียกรุงครั้งที่ ๒ แกพมา 37
สัมภาษณนางสังเวียน วันทอง, อายุ ๗๔ ป, ๑๓ หมู ๒ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี,
38
นายสมจิตร บุญเติร อายุ ๗๒ ป, บานแปง
39
นางปน เทพธุลี อายุ ๗๕ ป, หมู ๓ ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี, ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
35
เสนทางอพยพของลาวกลุมนี้สวนใหญมาจากทางแถบหัวเมืองใกลเคียงกับเมืองหลวงพระบาง และเดินทางผานมาทางเมือง พิษณุโลกทางหนึ่ง เมืองพิชัยทางหนึ่ง มีการแบงกลุมลาวกลุมเดียวกันใหไปอยู ณ เมืองที่เคยมีพรรคพวกของตนอยูกอนแลว แตมีอีกเปนจำนวนมากที่ตั้งถิ่นฐานบานเรือนอยูทางแถบแมน้ำลำคลอง ทั้งบริเวณริมแมน้ำเจาพระยาในเขตเมืองอินทรเมือง พรหม ลำคลองสายตางๆ ในเขตอำเภอบานหมี่ อันเปนบริเวณที่มีน้ำทาอุดมสมบูรณ ซึ่งในภายหลังก็อพยพโยกยายถิ่นฐาน กระจักกระจายเพื่อแสวงหาที่ทำกินตอไปอีก ดังเราจะเห็นวามีกลุมลาวดังกลาวในเขตที่ดอนหางไกลออกไป เราจึงพบกลุมลาวทั้งลาวเวียง พวน และลาวแงว อยูอาศัยในบริเวณนี้ตั้งแตเขตอำเภอหนองโดนในจังหวัดสระบุรี อำเภอเมืองถึง อำเภอบานหมี่และโคกสำโรงในจังหวัดลพบุรี ริมแมน้ำในจังหวัดสิงหบุรี และขยายชุมชนออกไปจนถึงในเขตอำเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค ประวัติศาสตรบอกเลาของชุมชนลาวแงว ยังคงจดจำความยากลำบากในการเดินทางรอนแรมมาเปนเวลาหลายเดือนการถูก กวาดตอนโดยไมไดเตรียมเนื้อเตรียมตัวทั้งผูใหญและเด็กเล็กๆ ไมเวนแมแตพระสงฆ การพลัดพรากสูญเสียญาติพี่นอง นคร เวียงจันทนที่ถูกตีแตกโดยขาศึก และทุกสิ่งนั้นเกิดขึ้นจากสงครามครั้งใหญที่เวียงจันทนก็เสี่อมสูญไป และลาวกลายเปน ประเทศราชของสยามอยางแทจริงจนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ ความรูสึกสูญเสียของผูแพนั้น คงไมแพความในใจของสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทเมื่อนึกถึงกรุงเกาที่ยอยยับไป วา “เสียยศเสียศักดิ์นคเรศ เสียทั้งพระนิเวศนพงศา เสียศักดิ์ตระกูลนานา เสียทั้งไพรฟาประชากร” และคำบอกเลาของลูกหลานชาว ลาวแงว สะทอนความรูสึกสูญเสียโทมนัส ของไพรฟาประชากรที่กลายเปนไพรฟาในดินแดน ใหมไดอยางดี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
36
บทที่ ๒ ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมของลาวแงว จากการสำรวจตามหมูบานตางๆ ที่เปนคนเชื้อสายลาวแงว ในเขตพื้นที่ศึกษาโดยเฉพาะในเขตจังหวัดลพบุรีและสิงหบุรี พบวา ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของลาวแงวโดยทั่วไปในปจจุบัน ไมเปนที่แตกตางไปจากคนกลุมอื่นๆ ที่อยูในสังคมชาวนา แบบภาคกลางเทาใดนัก อันนาจะเปนผลมาจากวิถีการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปจากการผลิตเพื่อยังชีพเปนการผลิตขนาดใหญและ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่เขามาแทนที่ ทำใหชุมชนแตละแหงมีลักษณะที่คลายคลึงกันในเรื่องอาชีพและความเปนอยู แต เมื่อไดศึกษาถึงรายละเอียดก็พบวาในความคลายคลึงทั่วๆ ไปเหลานั้น มีความแตกตางซึ่งเปนเอกลักษณของกลุมอยู ซึ่งแฝงไว ในรูปแบบของมิติทางความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม มากกวาอยางอื่น นอกจากนี้ การใชภาษาพูดในชีวิตประจำวันก็เปนอีกสิ่งหนึ่ง ที่สามารถแยกออกจากภาษาพูดแบบไทยภาคกลางได แตก็อยูในกลุมผูสูงอายุหรือพูดกันในพวกเดียวกันเองเทานั้น หากเปน เด็กๆ ก็อาจจะฟงไดรูเรื่องแตไมมีใครยอมพูดหรือกลาพูดกับคนนอกแตอยางใด ซึ่งเหลานี้นับเปนอัตลักษณที่โดดเดนของกลุมชาติพันธุลาวแงว
ลักษณะทางภูมิศาสตร กลุมของลาวแงวตั้งถิ่นฐานเปนชุมชนหมูบานตางๆ คือ อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อำเภอเมือง อำเภอบานหมี่ อำเภอ โคกสำโรง จังหวัดลพบุรี อำเภออินทรบุรี อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี และอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค ลักษณะ ภูมิประเทศในบริเวณนี้อาจแบงไดเปนสองสวนคือ ๑. ริมน้ำหรือใกลกับลำน้ำ อยูในบริเวณใกลกับแมน้ำหรือริมแมน้ำเจาพระยาและแมน้ำนอยในเขตอำเภออินทรบุรีและอำเภอ บางระจันในจังหวัดสิงหบุรี สวนอำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี และอำเภอบานหมอ อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี ใกลกับลำน้ำ สาขาของแมน้ำลพบุรีและแมน้ำปาสัก และอีกแหงหนึ่งคือ ริมน้ำสนามแจงหรือลำน้ำสาขาที่ติดตอกับลำน้ำสนามแจงซึ่งอยูใน อำเภอบานหมี่และอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี บริเวณดังกลาวเปนเขตที่ลุมต่ำและที่ราบเชิงเขาซึ่งมีลำน้ำสายเล็กๆ ไหลผาน ในอดีตตองใชการคมนาคมทางน้ำเปนหลักในการติดตอกับชุมชนตางๆ รวมทั้งการทำนาที่อาศัยน้ำหลากจากลำน้ำเหลานี้ ๒. เขตติดตอกับที่ราบลอนลูกคลื่นหางลำน้ำ บริเวณนี้ไดแกชุมชนบางแหงในอำเภอโคกสำโรง อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค มักจะเปนชุมชนใหมที่ผูมีเชื้อสายลาวแงวอพยพตอมาจากชุมชนเดิมที่อยูใกลลำน้ำ เพราะความแออัดหรือตองการแสวงหาที่ทำ กินแหงใหม บริเวณนี้อาจมีลำน้ำสายเล็กๆ ที่เกิดจากเขตภูเขาหรือที่สูงทางฝงตะวันตกหลายแหง หรือเปนบริเวณที่มีน้ำพุใตดิน หรือที่ชาวบานในแถบนี้เรียกกันวา พุ หรือ ชอน หรือ ซับ ซึ่งจะกลายเปนหนองน้ำขนาดใหญที่เปนแหลงน้ำสำคัญของหมูบาน บริเวณเหลานี้เปนที่ดอนกวาหางลำน้ำสายใหญ แตก็ยังเปนพื้นที่ปลูกขาวที่ใหผลดี ในอดีตตองใชการเดินทางโดยเกวียนหรือ ระแทะขามทุงแตปจจุบันก็เปลี่ยนมาเปนทางรถยนตแลว นอกจากนี้ ยังมีคนเชื้อสายลาวแงวอีกหลายกลุมหลายหมูบาน เขาไปบุกเบิกที่ทำกินในพื้นที่หางไกลออกไป เชน ในบริเวณอำเภอ ลำนารายณ จังหวัดลพบุรี หรือในอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งเปนที่ราบสูงสลับลอนลูกคลื่นเหมาะสำหรับปลูกพืชไร และอากาศคอนขางแหงแลง บริเวณนี้จึงตองทำไรปลูกพืช เชน ออย ฝาย ขาวฟาง ตางๆ มากกวาการทำนา ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
37
โครงสรางกลุมคนในทองถิ่น ในบริเวณอำเภอเมือง อำเภอบานหมี่ ตอเนื่องมาจนถึงอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี และบางสวนที่ติดตอกับอำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี แมพื้นที่อยูหางแมน้ำเจาพระยาเขามาทางฝงตะวันออก แตก็มีลำน้ำเกาและเสนทางน้ำติดตอกับแมน้ำเจาพระยา หลายแหงหลายสายรับน้ำจากเขตที่สูงและสวนหนึ่งของเทือกเขาเพชรบูรณ ลำน้ำตางๆ เหลานี้เมื่อกอน พ.ศ.๒๔๙๘ ที่มีการขุด คลองชลประทานเจาพระยา-ปาสักหรือคลองอนุศาสนนันท แบงพื้นที่การชลประทานและสรางเครือขายคลองสงน้ำชลประทาน เชนในปจจุบัน ลำน้ำเกาเหลานี้มีหนาที่เปนเสนทางขนสงทางน้ำ ทั้งผลผลิตและการคมนาคม ในทองถิ่นนี้ประกอบไปดวยคนสาม กลุมใหญดวยกัน คือ คนแมน้ำ (เปนชื่อที่ถูกเรียกจากคนทองถิ่น เนื่องจากเปนกลุมที่อพยพมาจากชุมชนเการิมฝงแมน้ำ เจาพระยาเขามาแสวงหาที่ทำกินภายในเปนกลุมที่พูดภาษาไทยภาคกลาง) คนลาว (แบงออกเปน พวน และลาวแงว) และ คนจีน (สวนใหญเปนแตจิ๋วทำอาชีพคาขาย จีนแคะทำสวนผักตางๆ) ทั้งสามกลุมนี้มีที่มาและเหตุผลในการเขามาตั้งถิ่นฐานในแถบนี้ แตกตางกัน แตก็สามารถอยูรวมกันได โดยมีกลุมเชื้อสายพวนมากที่สุด รองลงไปคือเชื้อสายลาวแงว คนแมน้ำ และคนเชื้อสาย จีนที่มีจำนวนนอยแตกุมอำนาจทางเศรษฐกิจไวมากที่สุด บริเวณลำน้ำบางขามมีชุมชนคนแมน้ำอาศัยอยูทั่วไป ริมฝงแมน้ำบางขาม ฝงตะวันออก คือ ตำบลบางพึ่ง บานชี ฝงตะวันตก คือ มหาสอนและกับบางขาม ราวๆ พ.ศ.๒๕๓๗ มีการสรางประตูระบายน้ำที่แมน้ำบางขามเสร็จก็เริ่มกักเก็บน้ำใช สภาพแวดลอม ภายในบริเวณนี้เปลี่ยนแปลงไปหลังจากสรางเขื่อนเจาพระยา ทำใหแมน้ำเหือดแหงไมหมุนเวียนดังเกา ในแถบนี้เปนศูนยกลาง การคมนาคมภายในเพราะมีโรงสีเปนจำนวนมาก มีทำเลเหมาะสมที่จะตั้งถิ่นฐานดวยความอุดมสมบูรณและอยูใกลกับชุมชนที่มี ความเจริญรุงเรืองมากอนในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือแถบวัดไลย อำเภอทาวุง และสามารถติดตอคาขายไดสะดวก ชุมชนรุงเรือง มากคือที่ตลาดทาโขลง จึงไดตั้งหมูบานขึ้น มักจะเรียกชื่อหมูบาน เชน บาง หรือ คุง เชน บางขาม บางพึ่ง บางโพธิ์ ทองคุง คุงทา เลา แถบนี้ยังคงเหลือพอเพลงแมเพลงจำนวนมากที่ยังวาเพลงกันไดเมื่อยามหนาน้ำ เพราะในอดีตมีกิจกรรมของชุมชนทางน้ำ มากมาย รวมไปถึงงานแหของวัดไลย คือแหพระศรีอาริยทางน้ำที่โดงดังดวย ตามประวัติการตั้งหมูบานแถบนี้ซึ่งเปนประวัติวัด เสียสวนใหญจะอยูในชวงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ลำน้ำลำคลองเหลานี้สรางวิถีชีวิตของผูคนที่สัมพันธอยูกับน้ำ ตอเนื่องไปจนถึงลำโพธิ์ชัยที่ตอกับคลองทาตะโก คลองสนามแจง ในอำเภอบานหมี่ อันเปนถิ่นที่อยูของกลุมพวน และลาวแงว ลาวเวียง หากเชื่อตามขอสันนิษฐานวากลุมลาวถูกกวาดตอนมาเมื่อสมัยสงครามเจาอนุวงศในสมัยรัชกาลที่ ๓ ระหวาง พ.ศ.๒๓๖๙–พ.ศ. ๒๓๗๓ เปนชวงที่กลุมพวน ลาวแงว ลาวเวียง ถูกกวาดตอนมาและเริ่มตั้งชุมชนอยูบริเวณริมคลองสนามแจงและลำน้ำสาขา ตลอดจนบริเวณริมแมน้ำนอยและใกลกับแมน้ำเจาพระยา กลุมคนไทยแมน้ำก็คงมีอยูแลวแถบแมน้ำบางขามมาจนถึงลำโพธิ์ชัย สืบคนไดวา ในชวง พ.ศ. ๒๔๔๔-พ.ศ.๒๔๔๘ เริ่มมีกลุมคนไทยแมน้ำจากแถบริมแมน้ำเจาพระยารุนตอๆ มาเขามาบุกเบิกหาที่ ทำกินในพื้นที่วางเปลา ที่อยูไกลออกมาจากบานหมี่ ในบริเวณตำบลจันเสน ตำบลสรอยทอง ตำบลชองแค อำเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค ซึ่งเปนพื้นที่ราบลุมตอเนื่องกับที่ราบลอนลูกคลื่น40
40วลัยลักษณ
ทรงศิริ. “ลักษณะโดยทั่วไปของสังคม, วัฒนธรรม, กลุมชาติพันธุ และเศรษฐกิจในตำบลจันเสน” สังคมและ วัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุมลพบุรี-ปาสัก เรือนแกวการพิมพ, กรุงเทพฯ , ๒๕๓๘ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
38
ในเวลาใกลเคียงกัน ราว พ.ศ.๒๔๕๐ ทางรถไฟสายเหนือเปนชวงที่ทำจากลพบุรีถึงปากน้ำโพ เมื่อทำเสร็จก็ไดสรางชุมชนริมทาง รถไฟขึ้นมากมาย คนจีนจำนวนมากที่เคยเปนกรรมกรสรางทางรถไฟเมื่อการกอสรางเสร็จก็ไดลงหลักปกฐานแลวชักชวนพรรค พวกพี่นองใหเขามาทำมาหากิน โดยเฉพาะการคาในชุมชนทั้งใหญและเล็กในบริเวณที่ทางรถไฟพาดผาน เกิดเปนชุมชนสองแบบ คือ ชุมชนคาขายริมทางรถไฟซึ่งอาจเรียกวาเปนชุมชนเมืองเล็กๆ และชุมชนที่อยูหางทางออกไปและพึ่งพาตลาดริมทางรถไฟนั้น กลุมคนจีนโดยเฉพาะจีนแตจิ๋วไดลงหลักปกฐานทำการคา และขยายกิจการในระหวางคนในครอบครัวและเครือญาติ สวนชาว จีนแคะเขามาตั้งบานเรือนไกลจากริมทางรถไฟ ไมนิยมคาขาย มีอาชีพยกรองปลูกผักและมีจำนวนนอย นอกจากนี้ ยังมีกลุมคนที่มีที่มาจากหลายหลายชวงเวลา ไดแก ไทเบิ้ง อพยพมาจากทางโคราชเปนกลุมใหญ ยังมีกลุมคนจาก ภาคอีสาน เชน จากจังหวัดรอยเอ็ด อพยพเขามาเมื่อราวทศวรรษที่ ๒๔๗๐ เพื่อมาเปนลูกจางทำนา หนีแลงและเมื่อไดหลักแหลง แนนอนแลวจึงไปรับครอบครัวมาอยูดวยตั้งรกรากถาวร และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็มีผูคนอพยพหนีสงครามมาจาก กรุงเทพฯ มาตั้งถิ่นฐานอยูหลายคน บางคนไมไดกลับไปและไดกลายเปนคนทองถิ่นอยางกลมกลืน41
การทำมาหากิน ระยะแรกของการตั้งถิ่นฐานนอกจากจะทำนาในพื้นที่ราบลุมริมน้ำแลว หลายๆ ชุมชนยังมีการเลาสืบตอมาวา เคยรอนทองคำใน แมน้ำแลวนำไปขาย สืบเนื่องจากทองคำเคยเปนสวยโดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ ๓ ที่เรียกเก็บสวยทองคำจาก เมืองกาญจนบุรี เพชรบุรี พนมสารคาม กำเนิดนพคุณ ฉะเชิงเทรา อางทอง อินทรบุรี สิงหบุรี เรียกวา ทองคำผุย42 เห็นไดวาเก็บเอาจากพื้นที่ซึ่งมี ลาวอยูมาก เปนพื้นที่ซึ่งมีผูอพยพชาวลาวกลุมตางๆ อาศัยอยู การรอนทองจากลำน้ำนี้เปนสิ่งที่คนลาวถนัดมากกวาคนกลุมอื่น ชาวบานที่เปนลาวเวียงบานแปงอายุราว ๗๐ กวาปเลาวา แมบานแปงมีพื้นที่ทำนามาก แตก็มีการรอนทองตามริมแมน้ำในรุนพอ แม เพราะอาศัยอยูตามริมแมน้ำเจาพระยาก็เห็นเขารอนทองเอาดินที่แมน้ำมาแชแลวรอน สมัยนั้นทองบาทละ ๔ บาท เรียกวา หนักตำลึงหนึ่ง บางบานก็เปนชางทองรูปพรรณ ตอมาก็เปลี่ยนมาเปนการทำนาควบคูกัน เมื่อทำรอนเสร็จแลวพอก็ตัดปลอง ไมไผยาวสองปลองปอกเปลือกออกแลวเจาะเอาทองใส ขางบนก็เปนขาวตากคั่วเหลืองเอาไปกินตามทาง มีมีดดาบคนละเลม เดิน ทางเอาทองไปขายที่ตลาดบานหมี่ การรอนทองคำผุยจากแมน้ำเจาพระยาเปนสิ่งที่คนปจจุบันไมเคยทราบหรือรูจักวิธีการรอน ทองเหลานั้นอีกแลว l
l
ตอนยายเปนเด็กพอแมก็พาทำนา ชาวบานบางบานเขารอนทองตามริมแมน้ำแตเปนรุนพอแม สมัยนั้น ทองบาทละ ๔ บาท เขาเรียกวาหนักตำลึงหนึ่ง ทำเสร็จแลวพอก็ตัดปลองไมใผ ทำสองปลองปอกเปลือก ออก เจาะเอาทองใส ขางบนก็เปนขาวตากคั่วเหลืองเอาไปกินตามทาง มีมีดดาบคนละเลม ไมมีปนเหมือน สมัยนี้ เมื่อกอนเอาทองไปขายที่บานหมี่ สวนบานยายปนหมอพอแมทำทอง แลวเปลี่ยนมาทำนา43
41
อางแลว
42
สุวิทย ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตรลาว สำนักพิมพสรางสรรค จำกัด, ๒๕๔๓.
43นางปน
เทพธุลี อายุ ๗๕ ป, หมู ๓ ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี, ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
39
พื้นที่ของชุมชนลาวแงวแตแรกเริ่มเปนการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นอันอุดมสมบูรณ ดังนั้น การทำนาจึงเปนอาชีพหลักกอนที่จะมีการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมที่นับไดจากการขุดคลองชลประทานเจาพระยา-ปาสัก การทำนาเปนการผลิตตามฤดูกาลและวิถีชีวิต ก็ขึ้นอยูกับวงจรการผลิตเชนนั้นดวย หนารอนหรือยามวางจากงานนาผูหญิงจะทอผา ผาที่ทอไมใชซิ่นหมี่แบบพวนแตเปนผาฝาย ธรรมดา นิยมทอเปนผาขาวมาหรือผาสำหรับทำหมอนและผาหม การทอผาเพื่อไวใชในครอบครัวไมไดทอเปนอาชีพเสริมแต อยางใด สวนฝายชายยามวางมักจะสานเครื่องมือจับปลาแบบตางๆ หรือสานกระบุง ตะกรา เอาไวใชในครัวเรือน ถึงหนาฝนก็หวานกลาดำนา การเตรียมดินหากทำนาปละครั้งใชขี้วัวใสนาก็เพียงพอ ขาวพันธุดั้งเดิมที่ปลูกก็จะมีพันธุเหลือง นางงาม พันธุหนามล พันธุทองมะเอ็ง พันธุขาวคด พันธุสายบัว ซึ่งจะมีลักษณะพิเศษตนขาวจะยืดตามน้ำเมื่อน้ำหลากในเดือน ๑๐ พันธุขาวปอม ซึ่งเปนพันธุขาวเจา ซึ่งจะใหผลผลิตราวๆ ๕๐–๗๐ ถังตอไรเมื่อถึงหนาน้ำก็จะมีเรือมาซื้อขาวตามชุมชนที่ลำน้ำ เชื่อมถึงเปนเรือมาดของพอคา บรรทุกไดครั้งละหนึ่งเกวียนครึ่งถึงสองเกวียน หากนำขาวไปขายเอง ก็จะลองไปตามคลองธรรมชาติขายตามโรงสีริมน้ำในอำเภอบานหมี่ตอไปจนถึงมหาสอน ซึ่งมีโรงสีของชาว จีนอยูมากมาย โรงสีกลางซึ่งเปนโรงสีใหญและใหราคาคอนขางมาตรฐานมีอยูสองสามแหง แถววัดปฐมพานิชและหนาโรงเรียน บานหมี่วิทยา เปนโรงสีของคนจีน มีนายหนาของโรงสีมาซื้อมีการตกลงกันเรื่องการขนถายระหวางผูซื้อกับผูขาย กลไกตลาดของ ราคาขาวขึ้นอยูกับผูซื้อซึ่งมักจะตั้งราคาเอง หากพอใจก็ขายถายังนอยหรือถูกจะไมขายเก็บไวกอน เพราะบางครอบครัวมีการ ครอบครองที่ดินมากบางทีถึง ๔๐๐–๕๐๐ ไร ซึ่งภายหลังการถือครองที่ดินก็นอยลง เพราะการแบงมรดกใหลูกหลานและถูกขาย ผานมือเปลี่ยนเจาของไป การปรับตัวครั้งใหญของชนชั้นปกครองในสังคมไทยกับกระแสทุนนิยมภายนอก นับแตเริ่มสนธิสัญญาเบาวริ่ง (พ.ศ.๒๓๙๘) ได เปลี่ยนวิถีการผลิตจากการผลิตพอยังชีพมาเปนการผลิตเพื่อขายและไดเปดระบบเศรษฐกิจของไทยเปนระบบเศรษฐกิจแบบเสรี มากขึ้น เกื้อหนุนใหเกิดการสะสมทุนของผูที่มีโอกาส ไดแก ขุนนาง ชาวตะวันตก ชาวจีนอพยพที่มีโอกาสดีกวาคนไทยหรือผู อพยพชาวลาวที่เคยเปนไพรหลวงโดยไมตองผูกพันกับระบบไพร ในขณะเดียวกัน ปญหาการปกครองภายในรวมถึงผลกระทบจากปจจัยภายนอก ทำใหเกิดการกำเนินการยกเลิกระบบไพรในชวง พ.ศ.๒๔๑๑–พ.ศ.๒๔๕๓ นับเปนความสำเร็จในการแกปญการปกครองและปญหาทางเศรษฐกิจของสถาบันกษัตริยและขุนนาง มากกวาที่จะมีผลดีกับระบบเศรษฐกิจของไพรหรือประชาชนโดยสวนรวม เพราะรัฐมิไดแกปญหาในการผูกขาดจากกลุมทุนที่มี โอกาสพัฒนากลไกตลาดเสรีและวิธีการดำเนินธุรกิจใหเอื้อกับกลุมของตน44 การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลกระทบอยางจริงจัง เห็นไดชัดในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของภาคกลางตอมา45 ในชวงเวลาเดียวกันนี้เองที่เกิดการขยายตัวของชุมชนและผูคนกลุมตางๆ เขาไปสูพื้นที่ภายใน บุกเบิกที่นาเพื่อทำนาจากดงจาก ปาใหเปนผืนนา ซึ่งเปนชวงที่กลุมลาวแงว พวนจากชุมชนเดิมขยายไปสูชุมชนใหมเชนเดียวกัน วิธีการบุกเบิกที่ดินถากถางปาของ 44ปยะฉัตร
๑๗๑-๑๗๖.
ปตะวรรณ. ระบบไพรในสังคมไทย สำนักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ, ๒๕๒๖ กลาวในบทสรุป หนา
45รายละเอียดเห็นไดจาก
การนำเสนอขอมูลสัมภาษณการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจและสังคมแบบพอยังชีพไปสูเศรษฐกิจเพื่อ การขายในชุมชนภาคกลางในชวงป พ.ศ.๒๓๙๘–พ.ศ.๒๔๗๕ ฉัตรทิพย นาถสุภา. เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต สำนักพิมพ สรางสรรค กรุงเทพฯ, ๒๕๓๓ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
40
ผูเขามาใหม ซึ่งสวนมากเปนปาไผจึงตองเผาปาและทำนาหยอดหลุมกอนเนื่องจากตอไมเยอะ ตอมาก็ใชชางไถนาจนตอไมหมด ไป จึงนำควายมาใชในภายหลัง 46 แมการบุกเบิกที่ทำกินจะทำใหชาวนาเปนเจาของที่ดินผืนใหญจำนวนมาก ตอมามีการแบงขายบาง แบงเปนมรดกบาง ทำใหการ ครอบครองที่ดินกระจายเปนรายยอย และ ชาวนาในภาคกลางเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็เปลี่ยนผานจากระบบเศรษฐกิจ แบบยังชีพอยางรวดเร็วเปนการผลิตจำนวนมาก โดยเฉพาะเมื่อเริ่มมีการขุดคลองชลประทานแจกจายน้ำไปยังนาที่ลุมอยางได ผลมากขึ้น การทำนาเพียงครั้งเดียวก็ไมพอเพียงกับคาใชจายเสียแลว จึงตองพึ่งพาเงินจากพอคาชาวจีน จนเกิดวิธีการตกขาว และตกหนี้ การตกขาวคือการรับซื้อขาวจากชาวนาที่เปนลูกหนี้หรือเชาที่ดินของพอคาในราคาถูกกวาราคาตลาด เปนการบังคับ ซื้อเพื่อเปนการหักหนี้ สวนการตกหนี้หรือตกเงิน คือการออกเงินใหชาวนากู โดยคิดดอกเบี้ยสูงๆ หรือบางครั้งมีการเพิ่มจำนวน เงินใหสูงขึ้นโดยที่ชาวนาไมรู สวนมากใชโฉนดที่ดินจำนองและมักจะขาดจำนอง วิธีการเหลานี้ ทำใหชาวนาจำนวนมากสูญเสีย ที่ดินของบรรพบุรุษไป และเปนชาวนาที่ไมมีที่ดินของตนเอง การเปลี่ยนมือเจาของที่ดินซึ่งเกิดขึ้นมาไมต่ำกวา ๕๐–๖๐ ปแลว ในปจจุบันชาวนาลาวแงวและชาวนาอื่นๆ มีที่นาจำนวนนอยลง และเปลี่ยนเปนการทำนาโดยไมเกี่ยวของกับฤดูกาล เพราะทุก ครั้งชลประทานปลอยน้ำมาก็จะ ไถ คราด หวานขาวทันที โดยใชปุยเคมี ฉีดยาฆาหญา ฆาแมลง การไถ การหวาน การจางรถ เกี่ยว กลายเปนกิจกรรมเรงรีบทั้งนั้น บางรายที่ไมมีเงินทุนตองกูเงิน ธ.ก.ส. นำเงินมาซื้อสิ่งของอุปกรณทำนา เชน บานหนึ่งเลาวา ตองซื้อปุย ๓ ตันราคา ๒,๑๐๐ บาท ยาฉีด ยาฆาแมลง ยาฆาหญา ราวๆ ๕๐๐ บาท คาเกี่ยวขาวไรละ ๓๐๐ บาท ๕๐ ไร รวม ๑๕,๐๐๐บาท คาเชานาอีก ๑,๒๐๐ บาท แตละครั้งก็มีตนทุนเยอะ ตามบานตางๆ มักมีอาชีพเลี้ยงวัวเสริมไวเปนวัวตัวผู เพราะ การทำนาอยางเดียวมีรายไดไมพอคาใชจาย บานหนึ่งๆ ก็เลี้ยงกันราว ๑๐ ตัว ๖-๗ เดือนจึงจะขาย ประมาณตัวละ ๘,๐๐๐ บาท แลวเอาเงินไปสง ธ.ก.ส. เพราะปูยาตายายก็ทำนามาตั้งแตแรก ก็ตองทำไปทั้งๆ ที่ราคาขาวถูกมาก จะใหเปลี่ยนไปทำอยางอื่นก็ คงไมได เพราะคาขายก็ไมเปนคงเปลี่ยนแปลงอาชีพยาก ในปจจุบันชาวบานทำนาทั้งที่เปนนาของตนเองและนาที่เชาผูอื่นเกือบครึ่งตอครึ่ง เชน นาตนเอง ๒๕ ไร นาเชา ๑๘ ไร โดยคาเชา ไรละ ๕๐๐ บาทตอป เปนตน47 แตชาวบานบางแหง เชน บานหนองหินใหญ ในอำเภอบานหมี่ กลุมคนอายุราว ๔๐ ปขึ้นไปจะซื้อรถมือสองมาวิ่งรับสงผักหรือผล ไมที่ตลาดไทหรือตลาดสี่มุมเมือง ชาวบานรุนนี้สวนหนึ่งไมทำนากันแลวเพราะรายไดไมพอใช มีการแนะนำใหทำนาสวนผสมขึ้น สำหรับคนที่มีที่นานอยๆ และสวนสมซึ่งมีการเชาที่ดินที่เคยเปนที่นาแลวทำการเปลี่ยนสภาพยกรองใหเปนสวนสม ซึ่งมักมี สัญญาเชากันประมาณ ๒๐ ป ชาวนาเชาที่ดินบางสวนตองเปลี่ยนสถานะเปนคนงานในสวนสม ซึ่งมีการใชยาฆาแมลงมาก บาง คนก็ตองเลิกทำนาไป เพราะเจาของที่ดินที่ใหเชาเหลานั้นมักเปนคหบดีเชื้อสายจีนในตลาด ซึ่งเปนเจาของที่ดินรายใหญ สวนชาว บานที่เปนเจาของที่ดินเองก็มักไมอยากใหเชาทำสวนสมเพราะไมแนใจวาจะสามารถเปลี่ยนใหกลับมาเปนที่นาไดดังเดิมหรือไม เหลานี้เปนสิ่งใหมที่เกิดขึ้นมาไมถึง ๑๐ ป
46
สัมภาษณ พระครูนิวิฐธรรมขันธ (เจริญ) เจาอาวาสวัดจันเสน, ธันวาคม ๒๕๓๖
47
สัมภาษณนายสา นางปน อินรุณ, อายุ ๗๕ ป, ๔๓ หมู ๘ บานโปงนอย ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
41
แมอาชีพหลักของชาวลาวแงวในปจจุบัน คือ ทำนา แตก็มักมีอาชีพเสริม เชน ทำสวน เลี้ยงสัตว ปลูกผัก คาขาย ยามวางจากทำ นาบางแหงเชนในตำบลทองเอนจะเย็บงอบ เปนสินคาของตำบลที่สำคัญ บางแหงก็จะทอผาในกลุมสตรีที่เริ่มมีการทำขึ้นใหม หมูบานและที่อยูอาศัย นอกจากจะอยูตามริมน้ำลำคลอง บางแหงก็เลือกพื้นที่ของชุมชนที่หนองน้ำที่มีปาลอมรอบ มีอยูดวยกันหลายหมูบานที่ใชแหลง น้ำใหญรวมกัน ในหมูบานของชาวลาวแงวแตละแหงจะมี ศาลตาปู ซึ่งเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำหมูบานมีอยูทุกแหง ชาวบานทั่วไป เรียกวา ตาปู ซึ่งจะอยูแยกออกมาจากหมูบาน ไมไดอยูในเขตชุมชนที่อยูอาศัย ชาวบานเชื่อวาในหมูบานมีตาปูที่คอยคุมครอง ปองกันคนในหมูบานและทุกปจะมีการเลี้ยงตาปู เชน งานเลี้ยงตาปูของหมูบานหนองหินใหญ เวลาทรงมีจ้ำหรือคนกลาง เจาพอ ที่มาเขาชื่อเจาพอสนั่นองคหนึ่ง ชื่อขุนไกรองคหนึ่ง มีศาลเจาพอกับสนั่นศาลเจาพอขุนไกรคูกัน ลาวแงวมีความเคารพและกตัญูตอผีที่เชื่อวาใหคุณ เลาตอกันมาวามีการทำบุญประจำปมาโดยตลอดตั้งแตครั้งอพยพมา ลาว แงวที่หนองเมืองเลาวาปูยาตายายไดเลาใหฟงวาไดเชิญผีตาปูมาจากเวียงจันทนดวย เพราะเพื่อปกปองคุมครองใหอยูเย็นเปนสุข ลาวแงวที่บานหนองเมืองในปจจุบันไดตั้งศาลตาปูไวกลางหมูบาน ศาลตาปูนี้ชาวหนองเมืองเรียกชื่อวา ศาลเจาผีบาน ซึ่งแตเดิมก็ เรียกกันมาเชนนี48้ สวนลาวแงวที่ที่บานกกโก เขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี เลาวาลาวแงวที่นี่นับถือผีตาปูมาแตครั้ง บรรพบุรุษและไดเชิญมาจากเวียงจันทนเชนกัน ในหมูบานนอกจากจะมีศาลตาปูแลว ก็จะมีวัดประจำหมูบาน แตละวัดจะมีขนาดใหญเล็กแตกตางกันไปตามฐานะของชุมชน ใน ระยะแรกๆ คงมีแตหอฉัน ไมมีโบสถวิหารแตอยางใด หากบวชนาคก็ตองไปอาศัยวัดประจำทองถิ่นที่ใหญกวา หรือบางแหงเชน บานน้ำจั้นมีอุโบสถเปนไมทั้งหลัง มีปาชามีกองฟอนสำหรับเผาศพ ปจจุบันแทบทุกแหงก็จะมีโบสถกออิฐถือปูนของตนเองแลว กองฟอนเปลี่ยนเปนเมรุ ปาชาทำเปนที่นาใหชาวบานเชา ศาลาเปลี่ยนเปนศาลาประชาชนใชประกอบพิธีทางศาสนา บานไผใหญในอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ที่วัดไผใหญไมมีอุโบสถ วันสำคัญทางศาสนานาก็มีการเวียนเทียนรอบศาลาเล็กๆ ที่ มีการประดิษฐานพระพุทธรูป เดิมใชวิธี “ขึ้นพระ” หมายถึงนำพระพุทธรูปออกมาตั้งที่โตะกลางแจงทำเปนปะรำพิธี นิมนตพระ มาแลวทำบุญ ความสำคัญของศาลาวัดในอดีตอีกอยางหนึ่ง คือ ใชเปนโรงเรียนของเด็กๆ ในหมูบาน มีกระดานดำแบงเปนหองๆ โรงเรียนหยุด วันโกนกับวันพระ ตอมาก็จะมีโรงเรียนระดับประถมแทบทุกหมูบานและโรงเรียนมัธยมระดับตำบล หากเปนการสรางศาลาลาว จะไมมีการฝงเสาลงในดิน แตจะวางเสาลงบน “ตีนเสา” ซึ่งอาจเปนทอนไมเนื้อแข็งหรือหินมารองรับ ก็ได บางแหงก็ใชหลอแทงซีเมนตรองรับแลวใชวิธี ขื่อแปและคานเสา เหตุที่ไมฝงเสาลงดินเพราะเมื่อฝนตกชุกสภาพดินยืดหยุน โอกาสเสาจะทรุดมีไดมาก นอกจากนั้นพื้นดินที่ชุมชื้นดวยน้ำฝนเปนที่อยูของปลวกและเชื้อราตางๆ สิ่งเหลานี้จะกัดกรอนทำให เสาผุพังเร็วขึ้น การใชตีนเสารองรับจะชวยบรรเทาปญหาเหลานี้ได นอกจากนี้การใชตีนเสารองรับยังชวยใหเปนผลดีในการยาย บาน เปนแนวคิดที่เผอิญพองกับเรือนไทยทางภาคใต
48
นายราช มีเครือ, อายุ ๘๗ ป, บานหนองเมือง ตำบลไผใหญ จังหวัดลพบุรี,
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
42
วิธีการปลูกศาลาโดยไมใชการขุดฝงเสาลงพื้นเปนลักษณะเรือนแบบลาวที่ยังพบอยูทั่วไปในแถบประเทศลาว และบางแหงในเขต จังหวัดเลย อำเภอดานซาย เปนตน ในกลุมลาวเวียง ที่วัดจินดามณี ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี เริ่มสรางวัดในราว พ.ศ.๒๔๓๐ โดยพระจันดาและพระพุทธาพี่ นอง มีการสรางศาลาที่ชาวบานเรียกวา วัดจินดามณีศาลาลอย สรางมาประมาณ ๗๐ ป ศาลาวัดที่นี่สรางโดยการใชตีนเสารองรับ สูงราว ๓๐ เซนติเมตร ซึ่งเปนสิ่งกอสรางที่มีรูปแบบแปลกไปกวาศาลาอื่นๆ ในทองถิ่นนี้หรือในพื้นที่ภาคกลาง ปจจุบันศาลานี้ ตองการบูรณะโดยดวน lบานผูคนสมัยกอน เวลาจะสรางบานก็ชวนพรรคพวกกันไปตัดไมในปาเพราะมีไมอยูมากการปลูกบานไมไดทำใหญโตหลังคามุง ดวยหญาคา หมูบานเริ่มขยายตัวเพราะเปนประเพณีที่แตงงานแลวตองนำเขยเขาบานฝายหญิง ดังนั้น เมื่อลูกสาวแตงงานบาน ลูกเขยก็จะปลูกอยูรายรอบบานพอตา เปนสาเหตุที่หมูบานขยายใหญขึ้น อาหารการกิน อาหารการกินคนลาวแงวในอดีตนั้นกินอยูอยางงายๆ ผักมากมายเก็บเอาตามที่มีในหมูบานหรือตามปาละเมาะหลังหมูบาน หมู เนื้อ ไก ปลา เพิ่งนำมาใชประกอบอาหารกันบางในปจจุบัน คนลาวแงวสวนใหญไมนิยมรับประทานอาหารที่มีสวนผสมของกะทิ อาหารสวนมากจึงเปนแกงเลียง แกงสม น้ำพริกปลารา และอาหารหลักๆ ที่นิยมทำกินกันมาก คือ ปลารา ปลาจอม ปลาเจา ปลาสม น้ำพริก แจว แจวกุง ลาบ และแกงออม โดยกินแนมกับผักสดชนิดตางๆ ในสมัยที่ไมมีตูเย็น วิธีการถนอมอาหารสำหรับลาวแงว คือ นำเนื้อปลา เนื้อไก เนื้อกบหรือแมแตปลาไหลมารวนใหสุกพรอมกับ ใสน้ำปลาราคลุกเคลาตั้งไฟออนๆ จนแหง เก็บไวประกอบอาหารในวันตอ เวลาไดปลามามากๆ ก็จะแบงบางสวนมาทำปลายาง บาง ปลาเกลือบาง วิธีการทำปลาเกลือก็คือนำปลาชอนมาขอดเกล็ดเคลาเกลือหมักไว ๑ คืน เชาลางน้ำตากแดด ใหแหงสนิท จะ เก็บไวไดนานและกินอรอย ปลาราชาวบานหากขึ้นชื่อจะไมใชเพียงปลาตะเพียนอยางเดียวตองเอาปลาทุกอยางมาผสมกันจึงจะดี และตองหมักไวนานหลาย เดือนใหตัวสีแดง กลิ่นหอม ซึ่งคนไทยหรือคนคนกลุมอื่นอาจไมชอบ โดยใชเกลือหมักไมใชขาวคั่วแบบคนไทย คนลาวไมชอบ กินปลาราขาวคั่ว เพราะรูสึกวามีกลิ่นตุๆ แตก็สามารถกินได ปลาราทำจากเกลือตัวจะแข็งเก็บไวไดนาน เมื่อหมักนานเขาก็เริ่มเปนน้ำ สวนเนื้อปลาจะเละๆ ทำเสร็จแลวตองหมั่นดูน้ำสังเกตดู วามีหนอนหรือไม หากมีก็จะตมน้ำเกลือปลอยใหเย็น นำมาเทใหทวมเพื่อทำใหหนอนลอยออกมาก คอยตักหนอนออกใหหมด อาหารของลาวแงวมีหลายอยางที่ใชปลาราเปนเครื่องปรุง เชน แกงเลียง แกงสม พอตมน้ำรอนแลว จะเอาเนื้อปลาราใสคอยคน แลวกรองเอาแตน้ำปลาราใสในหมอแกง จากนั้นใสพริกแกง ใสผักแลวปรุงรสใหกลมกลอม สำหรับพริกปลารา วิธีทำเริ่มจากนำหอมเผามาตำ ใสปลาและน้ำปลาราตม พริกลาบใสเครื่องลาบ ปลาราสับ เปนตน ปลาสมนั้น เปนอาหารอรอยขึ้นชื่อและแพรหลายเปนที่นิยมทั่วไปทั้งในและนอกทองถิ่น
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
43
น้ำพริกหรือบางบานเรียกวา “แจว” วิธีการทำคือนำพริกเม็ดใหญมาเผาคอยดูอยาใหไหม หอมแดงเผารวมดวยกันสุกแลวเอา ออกมาจากไฟ ปลอยใหเย็น ลอกสวนที่ไหมออก นำไปโขลกใหละเอียด จากนั้นตมน้ำปลาราใหเดือด ใสปลาชอนหรือปลาดุกที่ ลางสะอาดลงในหมอปลารา ตั้งไฟจนเดือดรอใหสุก ตักขึ้นมาแลวปลอยใหเย็น เอาแตเนื้อปลาโขลกรวมกับพริกหอมแดงและ เกลือ เมื่อโขลกใหเขากันแลวตักใสถวยเทน้ำปลาราตมลงไป หากเค็มเติมน้ำมะนาวหรือน้ำมะขาม ตั้งสำรับทานกับผักสด ผักตม ก็ได นอกจากนี้ น้ำพริกปลาราของลาวแงว มีทั้งตำพริกสดเผา ตำพริกแหงปน ตำพริกขี้หนูคั่วซึ่งบางบานเรียกพริกแกว โดยใสปลาสด ตม หรือเปลี่ยนเปนปลาปน ปลายาง เขาไปดวยก็ได ปลาราสับ วิธีทำคือเลือกปลาราที่เปนตัว มาสับใหละเอียด ระหวางนั้นเอากระชาย ขา ตระไคร หอม กระเทียม หรือจะแยกตำให ละเอียดก็ไดใสรวมกับเนื้อมะขามเปยกรวมกับปลาราสับใหละเอียด ใสพริกแหงปนไปพรอมกัน จากนั้นนำใสถวยซอยใบมะกรูด โรยขางบน กินกับผักสด เชน ยอดมะมวงออน ใบชะพลู ถั่วฝกยาว ผักชะอม ผักกระเฉด ผักบุงสดและตม ผักกระถิน บางทีมี คนไมกินปลาราสับดิบ ก็จะนำปลารามาผัดน้ำมันหมูหรือน้ำมันพืช ขณะเดียวกันก็ทอดพริกแหงแนมดวยเพื่อเพิ่มสีสัน เคยมีคนนำปลาราสับที่เหลือ นำมาผัดกับไขไกหรือไขเปดแบบแหง แลวคลุกกับขาวกินอรอยไปอีกแบบหนึ่ง แกงหนอไมปาใสยานางหรือแกงเปรอะที่ขาดไมไดเลยคือน้ำปลารา และหมกหมอหรือหมกหนอไมก็ใสน้ำปลารา การทำหมกหมอ ตองนำหนอไมมาเจียนเปนเสนๆ น้ำปลาราขาดไมได พริกแกงนอกจาก พริก หอม กระเทียม ตะไคร แลวตองใส มักเขน เปน เครื่องเทศที่ทำใหหอม ขาวเบือ คือ นำขาวสารมาแชน้ำจนยุยแลวนำมาโขลกใหละเอียด สวนใบหญานางนำมาขยี้คั้นจนไดน้ำสี เขียว และอาจจะใสเนื้อหมูหรือไมใสก็ได นำพริกแกงมาละลายน้ำ ใสน้ำใบหญานาง ใสหนอไมและหมู ตั้งไฟ คนไปเรื่อยๆ แลว ใสน้ำปลารา ขาวเบือใสทีหลังสุด ชิมรสจนไดที่เคี่ยวไปเรื่อยๆ จนน้ำแกงเริ่มงวด แลวจึงใสใบแมงลัก ยกลงจากเตา ตำสมหมากหุงใสปลาราหรือสมตำก็ตองใสปลาราจึงจะอรอย โดยเฉพาะตำสมถั่ว ซึ่งมีเครื่องปรุงคือ ถั่วฝกยาว ปลารา พริก กระเทียม และน้ำมะขาม วิธีทำคือ ตำพริก กระเทียม ถั่วฝกยาว แลวใสน้ำปลาราหรือตัวปลาราตามใจชอบ ชิมรสเปรี้ยว เค็ม หวานใหอรอย ขนมจีนน้ำยาก็เปนอาหารที่ขาดปลาราไมได ทุกครั้งที่มีการทำน้ำยาจะตองมีสวนผสมของปลาราทุกครั้งไป ไมมีบานใดที่ทำน้ำยา แลวไมใสปลารา ในทองถิ่นนี้ปลาราที่มีชื่อที่สุดคือ ปลาราบานแปง49 เปนหมูบานริมแมน้ำเจาพระยาแตกอนจะใชปลาจากแมน้ำมาทำปลาราและ น้ำปลา เกือบทุกบานจะมีบอซีเมนตรูปสี่เหลี่ยมขนาด ๒X๒ เมตร ขางลางมีรูสำหรับน้ำออก สวนดานบนใชเสื่อคลุม เพื่อหมัก
49บานแปงเปนชุมชนเชื้อสายลาวเวียง
และเปนชื่อตำบล อยูในอำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี แบงออกเปนสองสวนคือ ไทยบาน แปงกับลาวบานแปง ติดกับฝงแมน้ำเจาพระยาทางฝงตะวันออกและติดกับถนนสายเอเชีย ชุมชนที่เรียกวาบานแปงลาวนั้นกลาวกัน วาเปนลาวเวียงที่อพยพมาจากเวียงจันทน และในทองถิ่นนี้มีวัดของกลุมลาวเวียง คือ วัดคู วัดกลางธนรินทร (ซึ่งเปนวัดเกาแก สราง เมื่อราว พ.ศ. ๒๓๘๐ มีพญากลางนรินทร หรืออีกชื่อหนึ่งคือ “เจาคุณเมืองกลาง” เชื้อสายขุนนางลาวเวียงจันทรเปนหัวหนาตั้ง ถิ่นฐานในบริเวณนี้) วันจินดามณี และวัดพุทธาราม ชาวลาวบานแปงไมไดทำบุญกลางบานกันแลว และไมมีประเพณีเลี้ยงผีตาปู ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
44
ปลาราน้ำปลา แตเดิมจะใชปลาในแมน้ำเจาพระยาโดยผูชายจะเปนคนหา และผูหญิงจะเปนคนทำ ตอมาตองซื้อปลาจากลพบุรี หรือสิงหบุรี มาทำแทนเพราะปลาจากแมน้ำเจาพระยาหมดไปนานแลว การทำปลาราของลาวเวียงบานแปงจะตางกับปลาราของคนไทยที่ปลอยใหปลามีกลิ่น แลวจึงนำไปเคลากับเกลือและขาวคั่ว แต ปลาราของชาวลาวเวียง จะนำปลาที่ไดทุกอยางเอาตัวที่ไมเล็กนักมาใช ขอดเกล็ดปลา แหวะทองเอาขี้และไสออก จากนั้นลางน้ำ ใหสะอาด นำปลามาคลุกเคลากับเกลือปนทิ้งรวมไว ๑ คืน วันรุงขึ้นดูวาปลาตัวแข็งหรือไม หากตัวตัวออนก็เติมเกลือปนลงไปอีก จากนั้นนำปลามาสัวะคือตำในครกไมแลวใสรำลงไปคลายกับปลาราคนไทย สัวะใหปลา เกลือ และรำ เขากันใหดี แลวนำไปใสใน โองหรือไหใหแนน ปดดวยกาบหนอไผแลวขัดดวยไมอีกที หลังจากนำมาใสโองหรือไหแลว ตองคอยดูหากปลาราที่ทำแลวมีหนอนขึ้น ตองตมน้ำเกลือปลอยใหเย็นสนิท แลวนำไปเติมใน ไหปลาราเพื่อใหหนอนที่อยูดานบนลอยออกมาและคอยตักทิ้ง การหมักปลาราใหเปนหรือไดที่ใชเวลาราวๆ ๔-๕ เดือน การทำน้ำปลานั้นสมัยกอนทุกบานทำเอง บานไหนซื้อน้ำปลากินจะถูกมองวาขี้เกียจ วิธีทำ คือ นำปลาทุกชนิดที่ไดมาคัดเลือกเอา ปลาขนาดเล็ก เชน ปลาสรอย ปลาซิว ไปเคลาเกลือ แลวนำไปหมักโดยใสถังที่เตรียมไวใหไดที่ใชเวลาหลายเดือน คอยตักน้ำปลา หมักไวในถังซีเมนตอีกทีหนึ่งแลวตากแดดทิ้งไว หรือจะนำน้ำมาตม กรองใสขวดก็ไดหัวน้ำปลา ปจจุบันเหลือคนที่ทำปลาราและน้ำปลานอยมาก เหตุที่เปลี่ยนไปเพราะปลาในแมน้ำเจาพระยาหายากขึ้นจนแทบไมมี และแม อาชีพทำนาเปนอาชีพสำคัญ บางครอบครัวก็ขายนาไปแลว มีการประกอบอื่นโดยการใชรถยนต เชน การเรคาขาย ทั้งการ คมนาคมสะดวกขึ้นเลือกซื้อสินคาไดเอง ไมตองทำเอง ไมยุงยาก ไมตองรอ ลูกหลานก็มีงานทำ สงเงินมาใหใชทำใหไมเดือดรอน หรือมีความจำเปนตองทำใชเองแตอยางใด สวนขนมนั้น นิยมทำกันอยางงายๆ เชน ถาขาวเหลือก็ตากใหแหงนำมาคั่วใหเหลืองแลวใสน้ำตาล เรียกวา ขนมขาวตาก สวน ขนมดาดกะทะ มีแปงขาวจาว กลวยน้ำวาสุก มะพราวขูด น้ำตาลปบ ผสมใหเขากัน นำมาดาดกับกะทะโดยใสน้ำมันเล็กนอย (การดาดคือลักษณะการทอดแบบแหงๆ) ซาละเปาก็นิยมทำกัน มักทำใสถั่วนำมาทอดกับน้ำมัน เนื่องจากตามทุงชาวนาจะหวาน พันธุถั่วตางๆ เชน ถั่วทอง ถั่วหลังแตก ถั่วลิสง ไวตามหัวไรปลายนา เก็บมาทำขนมไดงาย ขนมลอดชอง ตองใชแปงขาวจาว วิธีการทำสมัยกอนชาวบานจะนำขาวมาแชแลวโมจนไดแปงใสใบเตยใหหอมนำมากวนจนไดที่ แลวใสในกะลามะพราวที่เจาะรูใชกนขวดที่สะอาดกดใหแปงลอดชองออกมา ตมในน้ำเดือด ก็จะไดกินขนมลอดชองทำเองไม ตองไปซื้อตามตลาดกันแตอยางใด
ภาษาลาวแงว ภาษาของลาวแงวอยูในกลุม ตระกูลภาษาไท-กะได ทางตะวันตกเฉียงเหนือหรือในกลุมสำเนียงแบบเมืองหลวงพระบาง ในชุมชน ลาวแงวการพูดภาษาลาวแงวยังมีอยู เปนที่นาสังเกตวาหากบานใดที่แมเปนลาวแงวลูกจะพูดลาวแงวตามแม และมักพบบอยๆ วาคนเชื้อสายลาวแงวที่อายุมากกวา ๓๐ ป เมื่อพูดไทยแลวจะพลั้งเผลอหลุดภาษาลาวแงวออกมาบอยๆ ลาวแงวจะใชภาษาแงวติดตอกับคนกลุมเดียวกัน หากพูดกับคนตางกลุมจะใชภาษาไทยกลาง เดิมคนเชื้อสายลาวแงวจะสอนลูก หลานใหพูดภาษาลาวแงว แมปจจุบันนี้ก็ยังสอนใหพูดภาษาลาวแงวอยูแตนอยลงมาก เนื่องจากความเจริญของทองถิ่น การ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
45
ติดตอกับคนตางกลุมมีมาก ลาวแงวก็ไดรับการศึกษาในระบบมากขึ้นโอกาสในการใชภาษาลาวแงวนอยลง ตลอดจนมีการ แตงงานกับคนไทย จึงสอนลูกหลานและใชภาษาไทยกลางมากกวา ชาวลาวแงวในทองถิ่นตางๆ ก็มีลักษณะเชนเดียวกัน ดังนั้น จึงมีแนวโนมที่จะละทิ้งภาษาถิ่นของตน หันมาใชภาษาไทยกลางมากขึ้นทุกที ลาวแงวหลงเหลือแตภาษาพูดไมปรากฏวามีภาษาเขียนหรือหนังสือโบราณที่เปนตัวอักษรไทยนอยหรือักษรลาวแตอยางใด การ ใชภาษาลาวแงวในปจจุบันยังมีอยูในแทบทุกหมูบานและชาวบานลาวแงวพูดภาษาลาวแงวไดมากกวาครึ่ง การใชภาษาพูดในชีวิต ประจำวัน คนที่อายุตั้งแต ๔๐ ป ขึ้นไปมักพูดลาวแงวไดคลอง 50 การบันทึกภาษาคำลาวแงวที่ใชแตกตางจากภาษาไทยกลางอยางเห็นไดชัด เชน l
l
กำไร l
l
ใชวา l
กองแขน
l
l
กางเกงl l
ใชวาl
โซง
l
l
นอยหนาl l
ใชวาl
หมากเขียบ
l
l
ใบแมงลักl l
ใชวาl
อีตู
l
l
ฟกทองl l
ใชวาl
มะอึ
l
l
ขนุนl
l
ใชวาl
หมักมี้
l
l
มะละกอl l
ใชวาl
หมากหุง
l
l
รองเทาl l
ใชวาl
เกิ๊บ
l
l
มะเขือเทศll
ใชวา l
หมากอีเดน
l
l
นาบาว l l
ใชวาl
นาชาย
l
l
เพิ่น l l
ใชวา l บุคคลที่ ๓ /ทาน
l
l
ผเขา l l
ใชวา l สำรับขาว
l
l
โจะ
ใชวา l ยาย
l l
50
ทองถิ่นศึกษา การศึกษาขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปญญาชาวบานของชาวบานบานไผดำและชาวตำบลทอง เอน http://www.phaidam.f๒s.com/thong_en/sub_local.html ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
46
l
l
โสน
ll
ใชวา l
ทวด
l
l
พี่เขยl
l
ใชวาl
พี่อาย
l
l
รองเทาผาใบl
ใชวา l
เกิบโบก
l
l
จับl
ใชวาl
จก
ใชวาl
สาด
l
และคำที่ใชอยูในชีวิตประจำวัน เชน l
l
เสื่อ l
l
l
l
ฟูก/ที่นอนll
ใชวา l บอนนอน
l
l
ใครl
l
ใชวาl
ไผ
l
l
ทานl
l
ใชวาl
เพิ่น
l
l
ฉัน/เราl l
ใชวาl
เฮา
l
l
ริมl
l
ใชวาl
ฮิม
l
l
ชวยl
l
ใชวาl
ซอย
l
l
ทำอะไรl l
ใชวาl
เฮ็ดอิหยัง
l
l
ที่ไหนl
l
ใชวาl
ที่ได
l
l
โกหกl
l
ใชวาl
ขี้ตั๋วะ
l
l
ดวงอาทิตยl
ใชวา l ตะเว็น
l
l
ขอหนอยl l
ใชวา l
l
l
ลาน (บาน)ll
ใชวา l เดิ่น (บาน)
ขอแด
ขอสังเกตในการใชภาษาลาวแงว ๑. ร ของไทย ลาวแงวจะออกเสียงเปน ฮ ดังคำตอไปนี้
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
47
รักl l
เรือ l
l
เรือนl
l
รองl
l
รดราด
ฮักl l
เฮือ l
l
เฮือนl
l
ฮองl
l
ฮดฮาด
๒. ช ในภาษาไทย ลาวแงวจะออกเสียงเปน ซ ส ดังคำตอไปนี้ ชวยl l
ใชl
l
ชอนl
l
แชl
l
เชานา
สวยl l
ไซl
l
ซอนl
l
แซl
l
เสานาl
๓. ญ ในภาษาไทย จะเปน ย ใน ลาวแงว ผูใหญll
แมใหญl l
ผูหญิง l l
ผูหยายll
แหมหยายll
ผูหยิง
๔. คำเรียก ชื่อนำหนาผลไม จะมีคำนำหนาวา หมาก /บัก แทบทั้งสิ้น เชน มะละกอl
แตงโมl l
มะเขือเทศlนอยหนา
หมากหุง l
หมากโมl l
หมากเดนl หมากเขียบ/บักเขียบ
๕. ง คำที่เปน คุณศัพทหรือกริยาวิเศษณเมื่อเปนภาษาลาวแงว จะมีคำวา คี้ นำหนา เชน โกหกl l
ตระหนี่
คี้ตัวะl l
คี้ถี่
๖. เสียงใดก็ตามที่มี ใ- ไ- เปนคำนำหนา จะออกเสียง เปนคำที่มีวรรณยุกตจัตวา แทบทั้งสิ้น สวนสำเนียง ของพวน จะออก เสียง เ-อ เชน ภาษาไทยl
ที่ไหนl
l
ใครl
l
ได l
ภาษาลาวแงวl
ที่ไดl
l
ไผl
l
ได
ภาษาพวนl
กะเลอl
เผอl
l
-
๗. ภาษาลาวเวียง/ลาวแงว (ตางกันตรงสำเนียง) ๘. ภาษาลาวแงวกับพวน ตางกันทั้งคำและสำเนียง ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
48
การละเลนและการพักผอน วันสงกรานต ในอดีตมีการละเลนหลายอยาง ลวนเปดโอกาสใหหนุมสาวมาพบปะกัน เปนโอกาสพิเศษแหงป เชน สะบา เลนลูก ชวง ตี่จับ เลนหมากเบี้ย เขาผีนางกวัก เขานางแมว แหนางแมว บางชุมชนมีการพากันไปขุดดินสอพองมาใชในงานสงกรานตถือ เปนโอกาสใหหนุมสาวมีการเกี้ยวพาราสีกัน ตอนเย็นที่วัดจะมีการตกพระทราย การละเลนของสาวๆ กับหนุมๆ ซึ่งชอบเลนสะบาซึ่งลาวเวียงเชนที่บานแปงไมเลน เมื่อไมมีลูกสะบามาเลน เพราะไมใชพื้นที่ปาเขา หรือมีปาทึบพอที่จะหาลูกสะบาได เมื่อสัก ๓๐ ปมาแลว หนุมสาวจะเอากระปองเปลาของปลากระปองที่ใชแลวรูปทรงยาวรีมาวาง เปนเปาแทนลูกสะบา วางหางกันราวหนึ่งคืบเรียงกันเทาที่จะหากระปองได ระยะหางประมาณ ๕ เมตร แลวขีดเสนไว นำเอากน ครกที่แตกเฉพาะตรงที่เปนกอนกลมถากเหลี่ยมคมใหหมดใชแทนลูกสะบาสำหรับทอย มาวางไวบนหลังเทา ใชเทาโยนใหกน ครกไปถูกกระปอง ไดแตมเปนลูกอมเปนสตางค แตเด็กๆไมใหเลน เพราะเปนการละเลนของหนุมสาวที่นานๆ จะมีโอกาสพูดคุย กัน เพราะหากไมใชเทศกาลหนุมสาวจะทำงานอยูบานกับพอแม เมื่อมีโอกาสจึงตองใชใหเต็มที่ ในชวงลอยกระทง มีการลอยกระทงที่สระน้ำของวัด มีกรรมการวัดจัดงาน เฮ็ดเอง ลอยเอง เด็กๆ ชอบที่จะเลนขายของ การเลนแอดตะไพหรือเลนซอนหาเลนแอบกันตามกองฟาง เลนไมหึ่ม เสือตะครุบหาน ไมขามซาว เปนตน แตที่สนุกเห็นจะเปนเลนไมหึ่ม อุปกรณมีไมแม ยาวสัก ๑ เมตร ถึง ๑ เมตรครึ่ง ไมลูกยาว ๒๐ เซนติเมตร หลุมขุดกวางยาวไม เกินหนึ่งฟุต วิธีเลนแบงออกเปนสองฝายเทากัน ใชการเสี่ยงทายโดยใหแตละฝายเดาะไมโดยเอาไมแมกับไมลูกใหตัวแทนแตละฝายเดาะ หากใครไดแตมมากกวากันก็จะเปนฝายเลนกอน โดยเลนตาที่ ๑ เอาไมลูกวางไวปากหลุมงัดไมออกไปขางหนาใหฝายตรงขามรับ หากรับได ก็จะมาเปนฝายเลน อีกฝายหนึ่งจะไปรับ หากฝายใด เลนตาที่สองเอาไมแมมาถือไวโดยใหปลายไมเลยไปขางบน ประมาณ ๑๐ ซม. พรอมนำไมลูกมาวางไวหนาไมแม โยนลูกขึ้นใชปลายไมแมดีดออกไปขางหนา ถาฝายตรงขารับไมได ฝายที่ ครองการเลนอยูมีกี่คนมาเดาะแลวนับรวมกัน สมติวารวมแลวได ๒๐ ไม ก็จะตองตีใหไกลไปตกที่ใดนับเปนหนึ่งครั้ง ทำไปจน ได ๒๐ ครั้ง อีกฝายหนึ่งตองเริ่มฮึ่มมาถึงจุดที่เริ่มเลน วิธีหึ่งตองวิ่งออกเสียง “ฮึ่ม” หยุดที่ใดก็ใหสมาชิกที่เหลือวิ่งตอจนถึงจุด เริ่มตน การเลนนี้สนุกก็ตอนที่ทุกคนตองไปพรอมกันไปดูไปจับผิดวาเพื่อนจะหยุดหึ่มตอนไหน บางที่เด็กๆ เลนกันจนเพลินพอ แมตองมาตามใหกลับบานไปกินขาว อาบน้ำ กันบอยๆ พอแมจะหามเลนหมากเก็บบนบาน เพราะถือวาเลนไดเฉพาะบานที่มีคนตายเทานั้น สวนในการทำบุญฉลองงานของคนลาวสมัยกอน โดยเฉพาะชายผูสูงอายุมักฟงหมอลำ จากวิทยุ นิยมฟง ลำเพลิน ลำกลอน ลำ เดินเรื่อง มักจะมีการจางลิเกลาวมาเลนฉลองงานตางๆ เชน บวชนาค ฉลองหอฉัน เปนตน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
49
ภาพที่ ชาวลาวแงวไมมีลักษณะการแตงกายโดดเดนถือเปนวัฒนธรรมเฉพาะตัวจนเปนอัตลักษณของกลุมแต อยางใดทั้งในโอกาสพิเศษหรือการแตงกายในชีวิตประจำวัน การแตงกายในอดีตก็เปนแบบเดียวกับสมัยนิยมใน ระยะนั้น g
การรักษาโรค หมองู หมอตำแย สุขภาพอนามัย ของชาวบานน้ำจั้น เดิมในหมูบานมี ผูทำการรักษาโรคตางๆ คือ หมองู เปนคนจีน ชาวบาน เรียกวา เจกหลี แซตั้ง อีกคนหนึ่งชื่อนายหวั่น พุมเกตุ หมอผี เปนคนภาคอิสาน มาอยูที่บานบานน้ำจั้น ชาวบานเรียกวา หมอลำซอง ? หมอตำแย มีนางจันที ไมทราบนามสกุล และนางแอ พุมเกตุ หมอยาที่รักษาโรค โดยใชสมุนไพร คือนายเงิน ทองโท และอาจารยภัตรซึ่งอพยพมาจากภาคอีสาน ทานยังเปนปราชญของบานน้ำจั้น มีความรูเกี่ยวกับยารักษาโรค เกี่ยวกับการรักษา มีความเชื่อเรื่องผี ผีปอป ผีโพรง เมื่อกอนหมูบานมีปาชา
ขอหามและความเชื่อของลาวแงว ความเชื่อของคนลาว เชน หามกวาดบานตอนกลางคืนเพราะเชื่อวาเปนเสนียดจัญไร แตถากวาดดินตอนกลางคืนไมเปนไร คน ตายโหงหามนำศพเขาบาน กินสาเกแลวผมหายรวง น้ำเตาและหอยโขง ถากินแลวของดีจะเสื่อม ตนลั่นทมหามปลูกในบานเพราะ เปนตนไมสำหรับปลูกในวัด และหามปลูกตนมะขามเทศ เพราะจะทำมาหากินไมขึ้น ถาปลูกตนรักซอนภรรยาจะมีชู และใหไวผม แกละหากมีลูกแฝด51
ประเพณีและพิธีกรรม 51
จากหนังสือเอกลักษณ จังหวัดลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
50
ชาวลาวที่อพยพและถูกกวาดตอนจากการสงครามมาเมื่อตนรัตนโกสินทร เมื่อมาอยูตามหัวเมืองตางๆ ยังคงสืบทอดประเพณี วัฒนธรรม คานิยม และความเชื่อดั้งเดิมของบรรพบุรุษไว l ในขณะเดียวกันก็รับเอาวัฒนธรรมในทองถิ่นที่ตนอาศัยอยู ไปยึดถือปฏิบัติดวยเชนกัน นับไดวาเปนการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมลาวและไทยภาคกลางเขาดวยกัน เปนที่นาสังเกตวา คนลาวเหลานี้จะเครงครัดปฏิบัติตามความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม คอนขางมากกวาคนไทยเสียอีก เพราะเวลามีงานบุญหรือ งานประเพณีเราเห็นชาวลาวในงานนั้นๆ อยางพรอมเพรียงหนาหูหนาตามากกวา การทำบุญที่วัด ในอดีตเมื่อถึงวันพระที่เปนวันประเพณี ชาวบานจะพรอมใจกันมาทำบุญที่วัด หยุดงานในไรนา ไมวาจะเปนเด็ก หนุมสาว หรือ คนแก จะแตงตัวสวย ใครมีทอง มีเสื้อผาชุดใหมก็จะแตงมาอวดกันเต็มที่ สาวๆ ใสผาถุง คนแกนุงโจงกระเบนใสเสื้อสีขาวเปน สวนใหญ ผูชายก็ใสเสื้อผาสุภาพเรียบรอย เปนชวงหนุมสาวมีโอกาสมาเจอกันคุยกัน กับขาวที่นำมาถวายพระจะเปนของที่ดีที่สุดทำกันสุดฝมือ อาหารประจำคือหมี่กรอบ โดยนำหมี่มาทอดในน้ำมันที่รอนจัด พักไว เคี่ยวน้ำตาล ใสน้ำมะขามเปยก เคี่ยวใหไดที่แลวนำหมี่ที่ทอดไวคุกใหเขากัน ของหวานคือขนมหมอแกง ขนมลอดชองเปนสวน ใหญ ใครมีผลไมก็นำมา ใสไวในพาขาวหรือสำหรับ สวนขาวสุกใสขันบาตรซึ่งสวนมากจะเปนขันเงิน เตรียมธูป ดอกไมมาดวย ชวยกันถือมาวัด ผูชายแบกพาขาว ผูหญิงถือขันหรือตะกรา เมื่อถึงวัดจะยกทั้งพาขาวถวายพระ สวนขาวสุกตองใหเหลือติดกนขัน ขณะที่ฟงพระสวดถาเด็กคนไหนนอนผูใหญจะสอนวา ระวังเกิดชาติหนาจะเปนงูเหลือม หรือเด็กคนไหนดื้อชอบดาคนอื่นจะบอกวา ถายังดาอีกระวังปากจะเทารูเข็ม คนไหนที่ชอบตีพอ แมก็จะบอกวามือจะเทาใบลาน ซึ่งจะทำใหเด็กกลัวไมกลาดื้อและเชื่อฟงผูใหญกันทั้งนั้น ทำบุญเสร็จแลวกอนกลับบานจะมีการแลกกับขาว บางคนก็จะแบงกับขาวใหกับคนแกที่จำศีลอยูวัด นี่เปนเหตุผลอีกอยางหนึ่งที่ ชาวบานจะตองทำกับขาวอยางสุดฝมือเพื่อจะไดอวดฝมือกัน สวนขาวที่เหลือติดกนบาตรเมื่อตอนใสบาตรก็เพื่อจะนำมาใหเด็ก กินหรือผูใหญจะกินเองก็ไดถือวาจะไดบุญไมเปนโรคภัยไขเจ็บเลี้ยงงาย ปจจุบันการทำบุญของชาวบานไดเปลี่ยนไป จากที่เคยทำทุกวันพระวันโกน บางคนจะมาทำบุญเฉพาะวันพระใหญ เชน วันพระ ๑๕ ค่ำ วันตรุษหรือวันสงกรานต วันสารท วันเขาพรรษา วันออกพรรษา เทานั้น การบูชาพระสงฆผูใหญ : การบูชาหลวงพอโอดของลาวแงว ในทองถิ่นนี้มีพระดังๆ อยางหลวงพอโอดที่วัดจันเสน หลวงพอพรหมที่ชองแค หลวงพอแพวัดพิกุลทองที่สิงหบุรี ทั้งชาวลาว พวน ไทย และจีนตางนับถือและเขาวัดทำบุญกับวัดดังกลาวอยูเสมอ ถือวาเปนพระสำคัญในเขตนี้
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
51
สวนศูนยรวมจิตใจของผูคนในทองถิ่นนี้ คือ พระครูนิสสัยจริยคุณหรือหลวงพอโอดแหงวัดจันเสนผูลวงลับไปแลว ลาวแงวใน ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ประกอบดวย บานน้ำจั้น บานโปง บานหนองหินใหญ บานหนองตะโก บานไผใหญ เปนหมูบานที่อยูรายรอบวัดจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค ไมเพียงแตลาวแงว แตยังครอบคลุมไปถึงคน ตางกลุมตางชาติพันธุ เพราะวัดจันเสนเปนวัดใหญที่สุดในพื้นที่นี้ วัดจันเสนมีการจัดงานประจำปตลอดทั้งปทำใหคนเขาวัด สม่ำเสมอจากในหมูบานตางๆ เชน เมื่อทานยังมีชีวิตอยูในราวเดือนยี่เปนงานวันเกิด งานสงกรานตสรงน้ำพระวันที่ ๑๖ เมษายน ของทุกป จะมีงานในวันที่ ๑๔–๑๖ เมษายน หากวันเสารมีเดือนหา ขึ้น ๕ ค่ำ จะมีงานเรียกวา “งานเสารหา” ของวัดจันเสน มีการหุงน้ำมันโดยพระครูนิสัยจริยคุณรวมทำพิธี ดวยตนเอง มีทรายเสกสำหรับชาวบานเชื่อวาปองกันภัยอันตรายเปนอยางดีงานประเพณีลอยกระทง วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ทุก ครั้งที่มีงานประจำป วัดจะมีการจำหนายวัตถุมงคล มอบของที่ระลึกสำหรับผูที่ทำบุญรายเล็กรายนอย นับตั้งแต ดายสายสิญจน กระตุด (ตะกรุด) พระเครื่อง เหรียญ ที่จัดทำเฉพาะงานนั้น52 และที่ขาดไมไดเลยคือการจัดมหรสพใหชาวบานไดชม เชน ภาพยนตร ลิเก งานใหญๆ เชน งานสงกรานต งานลอยกระทง จะมีวงดนตรีดังๆ ใหชม เชน วงของไพวัลย ลูกเพชร เพลิน พรมแดน ไวพจน เพชรสุพรรณ รวมดาวกระจาย พุมพวง ดวงจันทร ในสมัยนั้นมีผูมาเที่ยวงานหลั่งไหลมาที่วัดจันเสนเปน จำนวนมาก มีทั้งมาทางรถไฟ ทั้งขบวนเที่ยวขึ้น และขบวนรถไฟเที่ยวลอง หมูบานที่อยูรายรอบวัดจันเสนเมื่อตกเย็นชาวบานก็ จะชักชวนเดินกันมาเที่ยวงานวัดจันเสนเปนกลุมๆ มีทั้งผูใหญ หนุมสาวที่มากับพอหรือแม เพราะที่บานจะมีใครคนหนึ่งที่ตอง เฝาบานหรืออาจมีการผลัดเปลี่ยนกันมาเที่ยวงาน ดวยเหตุนี้พระครูนิสสัยจริยคุณ จึงมีอุบายใหผูที่มางานอยูในงานจนใกลแจง ดวยเกรงวาเมื่อกลับบานยามดึก อาจถูกคนอื่นทำราย โดยการกำหนดใหลิเกหรือภาพยนตรทำการแสงจนแจง ชาวบานจะไดเกิน ทางกลับบานดวยความปลอดภัย แตที่นาสนใจอยางหนึ่งคือเมื่อกำหนดใหมหรสพแสดงจนแจง พระครูนิสัยจริยคุณจะจางใหมหรสพหยุดการแสดงดวยการจาง ใหหยุดการแสดงดวยเงินครั้งละ ๓๓ บาท สำหรับลิเก ๑๗๙ บาทสำหรับภาพยนตร และระนาด ๒๐ บาท ชาวบานจะคอยฟงวา งานนี้มีการจางใหหยุดแสดงการดวยเงินเทาใด แลวก็จะไปเสี่ยงโชคกันตามอัธยาศัยบาง บางถูกรางวัลก็มาก บางวาเฉียดไป เฉียดมาก็มี ทำใหเขาใจวาหลวงพอใหโชคแมนนัก แมคนลาวแงว บานตางๆ มิไดอาศัยอยูในเขตตำบลจันเสน แตก็มีเปนจำนวนมากที่ตองมาซื้อหาของใชของกินที่ตลาดจันเสน และยังมารวมบุญของวัดจันเสนอยางสม่ำเสมอ กิตติศัพทอยางหนึ่งของหลวงพอโอด ในหมูลาวแงว คือ ทานทัก ทานทายใจ แมนยำ หากชาวบานใดมีเรื่องเดือดรอนใจ เชน ของหาย คนหาย หรือของถูกลักขโมย เมื่อมาหาทานบอกเลาเรื่องราวที่รอนใจ ทานจะจับยามสามตาบอกวาพบหรือไมพบหรือของนั้นอยูที่ใด กับบุคคลลักษณะใด เขาทำนองวา มีเรื่องรอนมาก็จะเย็นไปและ สบายใจเมื่อกลับบาน หลวงพอโอดทานพูดนอย ใบหนายิ้มแยมตลอดเวลา ใจดี เยือกเย็น จากบุคลิกนี้ แมชาวบาน จีน ไทย ลาว พวน ตางก็ศรัทธา และนับถือทานเปนอยางยิ่ง และเชื่อวาวัตถุมงคล นับจากดายสายสิญจน ลูกอม เหรียญ สีผึ้ง ตะกรุด พระรูปหลอหลวงพอนาค รูปหลอหลวงพอโอด หากบุคคลใดมีไวติดตัวจะคลาดแคลว แลอยูยงคงกระพันมีเมตตามหานิยม
52
พระสิทธิพันธ โสโก อายุ ๔๕ ป ๒๒ พรรษา
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
52
ชาวลาวแงวในละแวกนี้ตางมีวัตถุมงคลของหลวงพอโอดติดตัวไวแทบทุกคนทุกบาน บางคนตองจัดหาคนในครอบครัวทั้งตนเอง บุตรสาว บุตรชาย
ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต การเกิด ในชุมชนลาวแงว สำหรับหญิงที่มีครอบครัวเมื่อสัก ๔๐ - ๕๐ ปมาแลว มักจะสังเกตตัวเองหากประจำเดือนไมมาก็แสดงวาทอง และไมไดไปอนามัยหรือหาหมอฝากครรภแตอยางใด เพราะทุกหมูบานมีหมอตำแยก็จะออกไปทำงานในไรในนาตามปกติ บาง คนทำงานจนไมรูตัววาถึงกำหนดคลอด ออกไปทำนาก็คลอดลูกนอกบานหรือที่นาก็มี บางคนจะมีอาการ เชน ตัวบวม จึงหยุดอยู บานและเตรียมพรอมที่จะคลอด เมื่อตั้งทองราวแปดเดือนฝายสามีจะไปตัดฟน พวกไมสะแก ไมมะขาม ไมตะโก เพราะวาควันทำใหไมแสบตา เวลาอยูไฟจะไม ออกรอนมากเกินไป กวาจะถึงกำหนดคลอดฟนก็แหงพอดี พอรูวาจะมีคนคลอดลูกเพื่อนบานก็จะมาอยูชวยกัน บางคนก็ทำเบาะ ให เพราะมีขอหามวาเวลามีทองตอนอยูไฟหามยัดนุน หามทำอะไรที่ตองยัดนุน เชน หมอน เบาะ หรือที่นอนของลูก และคนสมัย กอนจะไมเตรียมเสื้อผาไวเพราะถือวาเปนลางไมดี เวลาแมจะพาลูกออนออกจากบานก็เอาดินหมอปายหนา วากันวาเด็กนาชังผี จะไมเอาตัวไป และหากเมียมีทองหามผัวหามผีถือกันวาลูกเกิดมาจะเปนใบ เวลาคลอดลูกจะตองมีการอาบน้ำบนบาน ก็จะเอาไมที่มีหนามมาสะไวใตถุนปองกันผีไมใหเขามา สวนอาหารคนหลังคลอดก็จะ กินขาวกับเกลือหรือกับปลาเกลือ กินแกลมกับกระเทียมดอง ขิงดอง บางทีก็มีแกงเลียงเพราะจะทำใหแมมีน้ำนม หามกินของ เย็นหรืออาหารที่เปนเมือกๆ สวนผาออมมักจะใชผานุงเกามาฉีกเปนผาออม แมมักจะเลี้ยงลูกจนเกือบหนึ่งป เพราะจะใหกินนม แมตลอด ก็มีความผูกพันกันดี การอยูไฟก็ยังมีการทำกันอยูบาง แมจะเปนสิ่งที่ถูกมองวาเปนการรักษาแบบโบราณ แตก็เปนการดูแลที่เชื่อมความรักความ อบอุนสงผานแกเมียหรือลูกสาวของพอแม เพราะแมของลูกสาวจะดีใจที่ทำกันอยางธรรมเนียมเดิมๆ พอกับแมไปหาไมฟนไม สะแกมาเตรียมไวเพราะเชื่อวา ถาใครอยูไฟไดรางกายจะแข็งแรง ไมหนาว ไมสะบั้นเวลาฟาฝนมา ไมอวนไมบวม ทำใหรางกาย สมสวน การอยูไฟ ตองเลือกบริเวณที่เปนเพิงมิดชิดกันลม นำไมกวาง ๑ เมตร ยาว ๑ เมตร วางบนสังกะสีที่อยูบนดินที่ปรับใหเรียบ นำ ฟนมาเรียงกอไฟ ตองคอยระวังไมใหไฟลุกโชน และตองมีคนคอยดูไฟให เพราะบางทีแมลูกออนนอนหลับเพลินไฟก็จะรอนเกิน ไป หากไมไหวหรือแอบราไฟ คนเฝาก็จะคอยเดิมใหสม่ำเสมอ ระหวางอยูไฟคำใดไมเปนมงคลหามพูด เวลาคนอยูไฟเปนผื่นหามทัก ใหอาบน้ำวันละครั้ง การอาบน้ำอยูไฟยุงยากมาก เพราะจะ ตมน้ำใสหมอใบใหญ ใสใบมะขาม ใบสมปอย กอนจะอาบยกหมอน้ำที่ตมเดือดไวลงวางบนพื้นใหแมลูกออนมานั่งโดยกมหนา ใหตรงกับหมอใหใบหนาถูกไอน้ำแลัวเอาผามาคลุมทำเปนกระโจมรมใหเหงื่อออก นานสัก ๒๐–๓๐ นาที พอน้ำเย็นลง นำน้ำนั้น อาบใหอาบอยางเดียวไมใหถู โดยเฉพาะใบหนา เพราะจะทำใหเนื้อหนังหยอน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
53
หากมีอาการของพิษไฟ ตัวรอนเปนผื่นทุรนทุราย ตองหาคนที่ดับพิษไฟเปน สวนใหญก็จะเปนหญิงสูงอายุ เอาสะระแหนเคี้ยวกับ เหลาขาว ทองคาถาแลวพนใสตัว คนที่ไมไดอยูไฟ มักจะบอกวา เวลาครึ้มฟาครึ้มฝนจะหนาวสะบั้น ทำอะไรอยูกลางแจงก็ทนไมไดตองรีบขึ้นบาน ทำรางกายให อบอุน หาเสื้อผาหรือผาหมมาหมไว แตคนที่เคยอยูไฟหลังคลอดลูกจะไมมีอาการเชนนั้น ในอดีตตามหมูบานมักมีหมอตำแย กอนที่จะมีสถานีอนามัยหรือกอนที่มีการคมนาคมที่สะดวก ถาหมอตำแยทำคลอดใหเด็ก รอดปลอดภัย บานนั้นตองมีการสมมา คือ ตอบแทนเงินคาครูคาย หมากพลู สวนการโกนผมไฟจะทำกันเองในครอบครัวโดยผูใหญของบาน เริ่มจากเอาคนเฒาคนแกตัดผมหรือขลิบผมเด็กๆ ถามีลูกแฝด หรือเลี้ยงยาก หรือลูกรองไมหยุด ไมสบายบอย คนเฒาคนแกจะทำตุกตา แลวทำทรง ผมจุก ผมแกละ ผมโกะ เสี่ยงทายใหเด็ก นอยจับจับไดตุกตาแบบใดก็จะไวผมทรงนั้น การแตงงาน มีการทำพาขวัญทำที่บานเจาสาว ตั้งพาขวัญไวที่หัวนอนสามคืนจึงรื้อทิ้ง ประกอบดวย บายศรีปากชาม มีการไหวผีของตระกูล บอกกลาวแตก็ไมเปนกิจลักษณะเทาใดนัก เวลาทำพิธีมีครูคาย ในปจจุบันการแตงงานเปลี่ยนแปลงไปตามสมัยนิยม ผูที่ออกไป ทำงานนอกหมูบานก็มักจะไดเขยและสะใภตามภูมิลำเนาที่ตนไปทำงานหรือโยกยายไปอยูอาศัย อยางไรก็ตาม ในปจจุบันก็ยัง นิยมแตงงานกันในเดือนคู เชน เดือน ๔ หรือเดือน ๖ การอุปสมบท กรณีที่ลูกมีความประสงคจะบวช พอแมจะดีใจและรีบบวชให เพราะเปนความสมัครใจไดอานิสงฆทั้งผูบวชและพอแม ผูบวชจะ เตรียมตัวโดยการไปอยูวัด ๓-๗ วัน เพื่อทองบทสวดมนตตางๆ ซึ่งในปจจุบันก็ยังคงปฏิบัติกันอยู ในวันงานพิธี มีการนำนาคมาโกนผมโดยพอแมจะเปนผูตัดปอยผมกอน ตามดวยญาติผูใหญ นำใบตองมาหอผมที่โกนไปไวตาม ตนไม เชื่อกันวาจะทำใหอยูเย็นเปนสุข แลวอาบน้ำนาค แตงกายดวยเสื้อผาสีขาว ญาติจะนำสรอยทอง เข็มขัดนากมาใหนาคใส มี การสอนนาคโดยพระสงฆหรือเจาอาวาสหรือพระผูใหญที่นับถือที่แตเดิมใหหมอทำขวัญ แลวมีการกินเลี้ยงทั้งเชาเที่ยงเย็น หาก บานใดเลี้ยงดูบกพรองก็จะเปนที่เสียหนาได หลังจากนั้นจึงนำนาคเขาพระอุโบสถทำพิธิบวช แลวจึงมีการฉลองพระใหมอีกโดย ญาติมิตรซึ่งพระบวชใหมไมไดเกี่ยวของดวยแลว ในปจจุบันการบวชกลายเปนเรื่องของความมีหนามีตาในสังคม ตองมีวงดนตรี มีการกินเลี้ยง และพอแมตองเปนฝายเตรียมเงิน สำหรับจัดงาน บางครอบครัวตองกูยืมเงินทองมาสำหรับการจัดงานโดยเฉพาะ เพราะบานใดไมสามารถจัดงานเชนนี้ไดก็จะรูสึก ตอยต่ำกวาเพื่อนบานและเปนการเสียหนาของครอบครัว การตาย ในอดีตเมื่อมีคนตาย คนเฒาคนแกมักไมใหลูกหลานไปงานศพ การสวดศพสวนใหญจะสวดกัน ๓ คืนที่บานผูตายแลวจึงเผา หากมีการแหคนตายผานหนาบานทุกบานจะปดประตูหนาตางหามเด็กๆ ออกมา การแหคนตายไปเผาจะใชเชือกคลองโลงดาน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
54
หนาและหลัง ใชไมสอดมีคนหามสองคนหัวและทาย และหากบานใดมีงานศพหากนำศพลงจากบานจะถือเคล็ดตองเทน้ำในโอง บนบานใหหมด เวลาเผาศพก็จะใชเชิงตะกอนกลางแจงตองมี “ไมขมศพ” คือไมทอนหนักๆ ที่จะทับศพไมใหโคลงตัว หากคนตายโหงจะนำไปฝง ไวที่ปาชากอนราว ๑ ป แลวจึงนำมาเผาภายหลัง เวลาเผาศพ จะมีถังน้ำใสลูกมะกรูดเผา เพื่อใหชาวบานที่มาเผาศพลูบหนา ถือวา จะไดไมติดตา ซึ่งยังคงทำสืบเนื่องมาจนถึงปจจุบันในวัดบางแหง และในอดีตคนเฒาคนแกที่ไปงานศพจะถือมีดมาดวยแลวขาก ลับจะใชมีดฟนกิ่งไมกิ่งเล็กๆ เพื่อเปนเคล็ดวาผีที่อาจมาดวยจะไดจำทางกลับได การนำศพเขาสูเชิงตะกอน จะมีพระสงฆจูงหนาศพ ตอมาคือผูนำทางถือหมอดินใสขาวตอกคอยหวาน และลูกหลานถือรูป กระถางธูปชวยแบกโลงหรือเข็นโลงวนรอบเมรุ ๓ รอบ แลวจึงประชุมเพลิง ตางจากปจจุบันที่ไมวาจะตายอยางไร ก็จะสวดศพทำพิธีที่วัดอยางนอย ๓ วัน และปาชาของหมูบานก็กลายเปนที่นาไปจนหมด
ภาพที่ การอุปสมบทของลูกหลานคนลาวแงวตางชวงเวลา
ประเพณีเกี่ยวกับการทำมาหากิน ^การทำขวัญขาว การทำนาในอดีตมีพิธีกรรมหลายอยาง ตั้งแตเริ่มทำนาก็คือ แรกนา ทำเฉพาะพื้นที่เล็กๆ และเมื่อขาวเริ่มตั้งทองก็จะมีเลี้ยงขวัญ ขาว เชน สมเขียวหวาน มีการหาบขาวเขาลาน เก็บขาวเขายุงก็จะมีพิธีเรียกขวัญหรือเอิ้นขวัญ และพิธีเปนที่ทราบกันทั่วไปและยังมีผูจดจำได คือ การเรียกขวัญขาว จะทำในขณะที่ขาวเริ่มตั้งทองออกรวงในราว เดือน ๑๐ ชาวบานลาวแงวเรียกวา เอิ้นขวัญขาว ตามบานมีไมแมโพสพเรียกวา ไมคาถา พอโซนหรือผูเฒาที่เปนปูหรือตาจะเปนคนทำให เรียกขวัญเวลาขาวตั้งทอง ซึ่งจะมีขนมจันอับ เผือกตม มันตม กระจก น้ำหอม เสื้อผา เพื่อเอาใจแมโพสพ เมื่อเกี่ยวขาวแลว จึงมีการนวดขาวบนลานบานโดยใชแรงวัวควายย่ำลงบนฟอนขาว บางบานจะทำบุญนวดขาวโดยการทำบุญ เลี้ยงพระ เมื่อจะนำขาวเขายุงมีการ “เอิ้นแมโพสพ” เพื่อเรียกใหแมโพสพไปอยูในยุงในฉางในราวเดือน ๓ ขึ้น ๓ ค่ำ สวนใหญถือ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
55
เอาวันศุกร ไมใหพอชายไปเอิ้น เพราะมีนิทานเลาวา แมโพสพเปนหญิงสาวไมมีผัว มีคราวหนึ่งเมียไมวางยุงอยูใชผัวไปเอิ้นแม โพสพ เมื่อผัวเห็นแมโพสพเปนแมหญิง ผัวจะทำมิดีมิราย แมโพสพเลยหนีไป ตั้งแตนั้นมาตองใหผูหญิงไปเรียกแมโสพ เวลาไป เรียกแมโพสพตองเตรียมของใสตะกราไป มีขนม แปง กระจก น้ำอบ น้ำมัน หวี ผาถุงใหม ขาวสุก ไขตม และมีไมคาถา ๔ อัน แทนทิศทั้ง ๔ ทำจากไมไผขนาด ๑ ฟุต เขียนเปนอักษรขอม เวลาเอิ้นตองไปที่นาแลวหันหนาบอกแมโพสพทั้งสี่ทิศ เอิ้นแลวเอาผาคลุมตะกราแมโพสพกลับบาน ไมพูดคุณกับใครจนกวาจะ นำตะกราแมโพสพไปวางไวในเลาขาว หากถึงเวลาขายขาวในเลา ตองจง (แบงหรือเก็บ) ขาวไวในเลาหรือยุงขาวเพื่อใหแมโพสพ ดวย แลวบอกแกแมโพสพวา แมโพสพกลับมาอยูยุงกระดานฝาแปน อยูแลวก็กันบใหตกจกบพรอง ใหอยูในเลาเดอ53 แตเดิมหากชวงกอนทำนาปใดฝนฟาแลงก็จะมีการแหนางแมว เพื่อขอใหฝนตกเพื่อเตรียมตัวในการทำนาตอไป นอกจากนี้ยังมี การกองขาวทำบุญลาน ซึ่งตองนิมนต ๙ รูป ทำบุญที่ลานบาน
ประเพณีสิบสองเดือน สำหรับความเชื่อโดยทั่วไปที่ยังคงประเพณีสิบสองเดือนแบบดั้งเดิมของวัฒนธรรมลาวแงวในชุมชนตางๆ ในปจจุบัน คือ การ ทำบุญเลี้ยงตาปูซึ่งเปนศาลผีประจำหมูบาน ทำบุญตรุษสงกรานต ทำบุญเขาพรรษา กอนวันเขาพรรษามีการหลอเทียนถวายพระ การทำบุญขาวยาคู การจุดไตหางประทีปในวันออกพรรษา และการทำบุญกลางบาน เชน บานไผใหญจะทำบุญกลางบานเดือน ๖ วันอังคารขึ้นแรมแลวแตชาวบานจะตกลงกัน สารทลาวจะมีกลางเดือน ๑๐ และการทำบุญสลากภัตร เปนตน แมสภาพสังคมจะเปลี่ยนแปลงไป ประเพณีตางๆ ซึ่งเกี่ยวของกับการทำนาไดเปลี่ยนแปลงไปจนหมดสิ้น แตก็ยังคงมีประเพณี สิบสองเดือนที่ยังคงทำสืบเนื่องอยูในชุมชนลาวแงวอยู และมีลักษณะที่ไมเหมือนกับชุมชนคนไทยในภาคกลางทั่วไป ไดแก ^เดือนอาย ทำบุญขาวยาคู เดือนอายหรือราวเดือนธันวาคม เปนชวงการเกี่ยวขาวหนัก และหมูบานบางแหงจะมีการทำบุญขาวยาคู การทำบุญขาวยาคูของ ลาวแงวแตเดิมไมไดทำ แตเมื่อมีอาจารยมาจากภาคอีสานมาเริ่มแนะนำใหทำเฉพาะที่บานน้ำจั้น54 ซึ่งชาวลาวแงวก็รับมาปฏิบัติได อยางกลมกลืน แมอาจารยภัตรจะนำการกวนขาวยาคูมาจากภาคอีสานนานแลว แตชาวบานก็ยังถือปฏิบัติติดตอกันมาจนถึง ปจจุบัน การทำบุญขาวยาคูในทุกวันนี้ที่บานน้ำจั้นจึงเปนการทำบุญแบบภาคอีสาน วันที่มีการทำบุญยาคูตรงกับเดือน ๑๒ แรม ๘ ค่ำ ชวงวันเวลาดังกลาว ขาวของชาวบานกำลังตั้งทอง กอนวันทำบุญหนึ่งวัน ชาวบานจะมาพรอมกันที่วัดเวลา ๑๙.๐๐ น. เพื่อ ชวยกันกวนขาวยาคู
53
สัมภาษณนางสังเวียน วันทอง อายุ ๗๔ ป บานเลขที่ ๑๓ หมู ๒ บานไผใหญ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
54
นางไร มะเริงสิทธิ์ อายุ ๖๐ป, ๘๐ หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
56
ขาวยาคูมีสวนประกอบดังนี้ ขาวน้ำนมที่ชาวบานนำมาจากนา น้ำตาล น้ำกะทิ แปงขาวจาว มาผสม กอนจะกวนขาวยาคู จะตองนำ เด็กหญิงพรหมจารี55 มากวนกอน ชาวบานจะชวยกันกวนใหครบทั้ง ๓ กะทะ จนกวาจะสุก สังเกตวามีสีออกเขียวนวล จากนั้นนำ ขาวยาคูมาเทใสถาดที่เตรียมไว ปลอยไวใหเย็นเก็บไวในที่มิดชิด ชวยกันทำความสะอาดอุปกรณทั้งหมด ใชเวลาในการกวน ทั้งหมดเกือบ ๓ ชั่วโมง จากนั้นจึงแยกยายกันกลับบาน รุงขึ้นคือวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ชาวบานมาทำบุญตามปกติ โดยจะเตรียมขาวมาตักบาตร มีของคาวหวานมาทำบุญ ชาวบาน ซึ่งเปนผูรูนำขาวยาคูที่กวนไวตอนกลางคืนมาตัดเปนชิ้นโรยดวยมะพราวจัดใหสวยงาม เตรียมถวายพระพรอมกับอาหารของชาว บาน จากนั้นมัคทายกกลาวบูชาพระรัตนตรัย อาราธนาศีล รับศีล พระสงฆเริ่มสวดมนต ถึงบทพาหุง ชาวบานเริ่มลงมือตักบาตร เตรียมไวใหพรอมทั้งของคาวของหวานพรอมดวยขาวยาคูเตรียมไวสำหรับพระพุทธและพระสงฆ เมื่อพระสวดมนตจบแลวก็จัด ถวายไดทันที เมื่อพระสงฆฉันเสร็จแลวพระสงฆอนุโมทนา ขณะพระวาบทยะถา ใหเริ่มกรวดน้ำ พอพระวาบทสัพพี พึงประนม มือรับพรไปจนจบ เมื่อเสร็จสิ้นการทำบุญแลวจะมีการนำขาวยาคูทั้งหมดมาแจกจายใหกับชาวบานโดยทั่วกัน การทำขาวยาคูนี้เชื่อวา เปนยา เปน ของดี กินแลวหายโรค หายภัย ปจจุบันมีการเปลี่ยนวันกวนและการถวายขาวยาคูมาเปนวันที่ ๕ ธันวาคม ซึ่งเปนวันพอแหงชาติของทุกป เนื่องจากปจจุบัน ชาวนาทำนาไมพรอมกันขึ้นอยูกับน้ำจากชลประทาน จึงกำหนดใหมีการกวนขาวยาคูมาเปนวันที่ ๔ ธันวาคม และถวายขาวในวัน ที่ ๕ ธันวาคม กลางเดือน ๕ งานบุญสงกรานต ในอดีตประเพณีสงกรานตตามหมูบานบางแหง เชน บานน้ำจั้น ทำกันถึง ๑๕ วัน ซึ่งจะทำกลางเดือน ๕ ในวันสุดทายของการ ทำบุญสงกรานตจะมีพิธีสรงน้ำพระ เรียกวา ฮดสง การสรงน้ำพระแตเดิมมีการปลูกรานใหพระนั่ง สานตะแกรงไมไผกวาง ประมาณ ๑ เมตรครึ่ง วางไวบนราน จากนั้นก็หาไมไผลำยาวๆ เจาะรูหางเทาๆ กัน ระยะเทากัน จำนวนรูเทากับจำนวนพระ จาก นั้นนำลำไมไผที่เจาะรูแขวนไวกับตนไม นิมนตพระนั่งเรียงลำดับจากหัวแถวถึงทายแถว เมื่อถึงพิธีสรงน้ำพระ ชาวบานจะนำน้ำอบและดอกไมลอยในขัน แลวใสลงไปในลำไมไผ น้ำจะไหลไปตามลำและเมื่อถึงรูที่เจาะ ไวน้ำก็จะไหลลงไปยังองคพระที่นั่งอยู จากตนแถวถึงปลายแถว สวนดอกไมในน้ำก็จะไหลตกลงบนตะแกรงที่สานไวบนรานที่ พระนั่ง เปนการสรงน้ำพระ และบางหมูบานยังมีพิธีอาบน้ำตาปูดวย56 พิธีที่สำคัญในวันสรงน้ำพระจะมีการ กอเจดีย” เพื่อหาเงินเขาวัด บางแหงที่หมูบานไมติดกับลำน้ำ แตเดิมนั้นใชกอนกรวดที่หาได ในหมูบานมากอเปนเจดีย มีธงปก แลวใสเงินเขาไปในกองกรวด จะใสเทาไรแลวก็แตศรัทธา สาเหตุที่ใชกรวดเพราะแตเดิมไมมี 55
นางวันเพ็ญ จำปาแดง อายุ ๔๐ ป, หมูที่ ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
56
สัมภาษณ นายที นางบุญรอด ชางเสา, อายุ ๘๐ ป, ๑๔ หมู ๒ บานไผใหญ ตำบลสายหวยหวย อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, เลา วาที่บานไผใหญไมเปลี่ยน การเรียกชื่อ “ตาปู” เหมือนหมูบานอื่น เพราะเคยเรียกเปนอยางอื่นแลวเจ็บไขไดปวย ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
57
ทราย ตอมาเมื่อในหมูบานมีการกอสรางมีทรายเขามา ชาวบานก็กอเจดียทรายหรือที่เรียกวา กอพระทราย แบบเดียวกับกอกอง กรวด ตอมาก็เปลี่ยนจากกอกองทรายเปนกอเจดียขาวเปลือก โดยชาวบานจะนำขาวเปลือกมากอในบริเวณลานวัด แลวแตใคร จะนำมามากนอยเพียงไร มากอรวมกันไวในลานวัด ปหนึ่งๆ ไดประมาณ ๓๐-๔๐ ถัง ซึ่งพระก็นำขาวเปลือกไปสีและเก็บไว เปนภัตตาหารของพระสงฆหรืออาจจะนำไปขายแลวนำเงินมาบำรุงวัดแลวแตทางวัดจะจัดการ แตพอมาถึงปจจุบันก็เปลี่ยนจาก กอเจดียขาวเปลือกมาเปนกอเจดียขาวสาร ซึ่งชาวบานก็นำมามากนอยแลวแตศรัทธาใหทางวัดเก็บไว การกอเจดียขาวสารนี้มิไดกอที่ลานวัดเพราะเกรงวาจะสกปรก จึงขึ้นมากอบนศาลา โดยพื้นศาลามีการปูเสื่อ ซึ่งการกอเจดียนี้จะ มีการใสเงินและปกธงไวที่เจดียทุกครั้ง นอกจากพิธี กอเจดีย แลว ชาวบานจะมีประเพณี อาบน้ำผูใหญ เด็กๆ หรือหนุมสาวตางไมลืมประเพณีการอาบน้ำผูใหญใน หมูบาน ซึ่งประเพณีนี้ไมกำหนดวันตายตัวอาจจะเปนวันที่ ๙ หรือ ๑๐ ของงานสงกรานต หนุมสาวจะพากันตระเวนอาบน้ำคน เฒา คนแกในหมูบานมีการน้ำเสื้อ ผาถุง หรือผาขาวมา อาจมีปจจัยเปนเงินทองมอบใหกับผูเฒาผูแกดวย ทางบานของผูเฒาก็จะ ทำน้ำขาวไวแจกใหกับลูกหลานไดดื่มกัน และเมื่อลูกหลานอาบน้ำใหผูเฒาแลวก็จะขอพรจากผูเฒา ผูเฒาก็จะสวดยถา สัพฺพี ไป จนจบ จากนั้นก็จะอวยพรพรอมทั้งผูกสายสิญจนใหกับหนุมสาวที่มาขอพร ซึ่งชาวบานถือวาการอาบน้ำผูใหญและไดรับพรจาก ผูใหญถือเปนศิริมงคลแกชีวิต จะทำใหชีวิตพบกับความเจริญรุงเรือง ลาวแงวบานทองเอนจะมีพิธีที่เปนเอกลักษณแตกตางคือ “การสงหอขาว” หมายถึงการนำหอขาวไปเซนไหวบรรพบุรุษและผูที่ ลวงลับไปแลวตามธาตุ เจดียในวัดของชุมชน57 การละเลนในงานสงกรานต นอกจากจะเปนประเพณีกอเจดียแลว ยังมีการเลนสนุกสนานเชน การเลนสะบา หรือลงผีนางดง นาง สุม นางกวัก และการแหนางแมวที่แฝงนัยยะของประเพณีเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ สำหรับในปจจุบันประเพณีตางไปจากที่กลาวมาแลว และคอนขางจะหลงเหลืออยูนอย เพราะลูกหลานสวนมักยายถิ่นฐานไป ตามชีวิตที่หนาที่การงานเปลี่ยนแปลง โดยโยกยายออกไปทำงานที่อื่นหรือทำงานในเมืองหรือการแตกแยกครัวเรือนไปอยูที่อื่น ทำใหไมสะดวกตอการที่จะกลับมารดน้ำผูใหญในวันสงกรานต แตก็ยังพอมีอยูบางในชุมชนลาวแงวบางแหง58
เดือน ๖ ทำบุญกลางบาน เลี้ยงตาปู การทำบุญกลางบานซึ่งบางชุมชนก็เรียกวา “ทำบุญเบิกบาน”59 มักจะมีอยูในชุมชนลาวแงวแทบทุกชุมชน คือ การทำบุญที่ชาว บานทุกครัวเรือนจะมารวมกันบริเวณกลางลานวัด โดยประมาณมักจะเปนวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ เชน ที่บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ 57
สัมภาษณ นายวันดี อวนพี, อายุ ๖๕ ป, ๕๐ หมู ๓ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
58
นายมวน หนูแสง อายุ ๗๘ ป อาชีพ ทำนา บานเลขที่ ๗๔ หมู ๔ ตำบลน้ำจั้น อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๔. 59
สัมภาษณ นายวันดี อวนพี, อายุ ๖๕ ป, ๕๐ หมู ๓ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ลาวแงวทองเอน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
58
อำเภอบานหมี่ พระสมุหยงค ธมจารี60 เลาวา ชาวบานจะทยอยกันมาตั้งแตเวลา ๖.๓๐ น. ชาวบานความเชื่อวาการทำบุญกลาง บาน เปนการทำบุญเพื่อเปลี่ยนรางเสียเคราะห หรือที่เรียกวาเปนการทำบุญสะเดาะเคราะหนั่นเอง สิ่งที่ตองจัดเตรียมมารวมในการทำพิธีคือกระทงสามเหลี่ยมหนาวัว ภายในกระทงประกอบดวย ✴ รูปปนตุกตาชายหญิงเทาจำนวนสมาชิกภายในครอบครัว พรอมทั้งรูปปนสัตวเลี้ยงภายในบานที่มีอยู รูปปนอุปกรณ เครื่องมือ
การเกษตรที่มีอยูทุกชิ้น บางทีก็ใชดินเหนียวปน บางบานปนเปนสีขาวเพราะใชแปงขาวเหนียว และเชื่อวาจะไดมีผิวพรรณขาว หมดจดนาดูนาชม ถาใชดินเหนียวปนก็จะทำใหผิวพรรณดำคล้ำไมผองใสไมชวนมอง บางบานใสเสื้อผาใหกับตุกตาที่ปนโดยใช กระดาษแกวที่ทำกระดาษวาว ซึ่งชาวบานเชื่อวาจะไดมีเสื้อผาไวสวมใสตอไป ✴ สิ่งของในครัว ไดแก หอมแดง พริกแหง ปลารา เพื่อความอุดมสมบูรณในเรื่องอาหารการกิน ✴ ผลไมสุก เชน มะมวง ขนุน และทุเรียน เพื่อจะไดมีความสุข มีผูอุปถัมภค้ำชูและมีเงินทองมากมาย ✴ ขนมหวาน ไดแก ขนมหมอแกง ขนมชั้น และเม็ดขนุน เพื่อชีวิตที่สดชื่น มีขาวปลาอาหารที่อุดมสมบูรณมิไดขาด ✴ ขาวดำ ขาวแดง ขนมจีนหรือเสนหมี่ ซึ่งของสามสิ่งนี้จะขาดไมได เพราะขาวดำกับขาวแดงเปนสัญลักษณแทนความชั่วรายหรือ
สิ่งที่ไมดี จะไดสงหรือสะเดาะเคราะหออกไปจากตัว สำหรับเสนหมี่ เมื่อสะเดาะเคราะหแลวจะมีชีวิตใหมที่ยืนยาว ✴ น้ำ ๑ ขวด โดยมีหญาคา ๙ เสนขมวดรัดขวดน้ำ เพื่อจะไดมีน้ำดื่มตอไป ✴ ธูป ๑ ดอก ดอกไมเทาไรก็ได และธงสามสีตัดผมตัดเล็บใสลงในกระทง
ภาพที่ ๑๕ การทำบุญกลางบานหรือบางหมูบานเรียกวาบุญเบิกบานที่บานน้ำจั้น รวมทำบุญบริเวณ ลานวัดหนาโบสถ ซึ่งจะนำสิ่งของตางๆ มารวมกันกอน มักจะทำกันในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖
60
พระสมุหยงค ธมจารี ซึ่งมีอายุ ๗๔ ป บวชได ๑๖ พรรษา
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
59
ภาพที่ ๑๗ และ ภาพที่ ๑๘ แตละบานหรือแตละครอบครัวจะแทนดวยกระทงสามเหลี่ยมหนึ่งกระทง ซึ่ง บรรจุขาวเหนียวปนเปนรูปบุคคลเทากับจำนวนสมาชิกในครอบครัว สัตวเลี้ยงในบาน อาหารคาวหวาน พริก หอม กระเทียม น้ำ และถังทรายใสหญาคา ซึ่งเชื่อวา กระทงเหลานี้จะเปนตัวแทนของการเปลี่ยน รางเสียเคราะห หมายถึงใหโชครายหรือเคราะหกรรมตางๆ หายไปกับกระทงสามเหลี่ยม และเมื่อเสร็จพิธี ก็จะนำน้ำที่ใชในพิธีนี้ไปประพรมรอบบาน ถือเปนการทำบุญบานไปดวย
เมื่อเตรียมสิ่งของในกระทงของแตละบานเรียบรอยแลว สิ่งที่ตองนำมานอกจากนี้ คือ น้ำ ๑ ขวด สำหรับทำน้ำมนต หญาคามัด รวมกัน จำนวน ๓ หรือ ๕ หรือ ๗ หรือ ๙ ตนก็ได มัดรวมกันแลวใสไวในขวดน้ำ สายสิญจนพันไวรอบๆ ขวดน้ำ ทรายใสในถัง น้ำ และอาหารคาวหวานจัดใสปนโตสำหรับถวายภัตตาหารแดพระสงฆเมื่อเสร็จพิธี เมื่อถึงเวลาประมาณ ๗.๐๐ น. พระจะเริ่มพิธีโดยสวดมนตเย็น ซึ่งแตเดิมจะทำกันในวันกอนที่ทำบุญ แตปจจุบันเนื่องจาก เปลี่ยนไปทำพิธีใหเสร็จในวันเดียวจึงเริ่มแตเชา จากนั้นจะสวดบทมงคลคาถา ๓๘ ประการ ขณะที่สวดก็ทำน้ำมนตไปดวย เมื่อ สวดจบพระจะเดินปะพรมน้ำมนตใหชาวบาน ขณะที่พระพรมน้ำมนตชาวบานทุกคนจะตองหันหนาไปทางทิศตะวันตก เพราะเชื่อ วาเคราะหกรรมจะไดตกหายจากไปไมกลับมาเปนการสิ้นเคราะหสิ้นโศก ชีวิตจะมีความสุขสมบูรณหลังทำพิธีแลว เมื่อเสร็จพิธีสงฆ ชาวบานทุกคนจะตองนำกระทงหนาวัวไปวางไวที่ทางสามแพรง กอนจะนำกระทงไป ใหจุดธูปที่ปกอยูในกระทง กอน เมื่อนำกระทงไปวางที่ทางสามแพรงแลวจะพูดวา เอามาสงเนื้อสงตัวแทนรางเจาของที่เราอยู หรือ ขอใหอยูเย็นเปนสุข จาก นั้นก็ถอยหลังมา ๑ กาว แลวใชมีดกรีดลงไปบนพื้นดินเปนสัญลักษณของการตัดทิ้งระหวางที่ยืนอยูกับกระทงหนาวัว แลวหัน หลังกลับ หามหันกลับไปมองอยางเด็ดขาด เพราะเชื่อวาถาหันไปมองอาจจะตองไดรับเคราะหที่เราไดตัดทิ้งไปแลว จากนั้นนำขวดน้ำที่มีหญาคาเสียบอยูกับถังทรายกลับบาน เอาหญาคาเสียบไวที่หลังคาบานเปนการปองกันพายุที่จะพัดเอา หลังคาบานไป ซึ่งชาวบานถือเคล็ดคำวา คา ในคำวาหญาคา หลังคาจะไดติดคาอยูกับบานไมหลุดลอยไปตามกระแสลม สำหรับทรายก็หวานไวรอบๆ บาน โดยหวานจากซายไปขวา ขณะหวานก็อธิษฐานวา ขอใหอยูเย็นเปนสุขอยาไดมีสิ่งใดมารบกวน สวนดานสายสิญจนก็โยงไวรอบๆ บานเพื่อปองกันความชั่วรายที่จะกล้ำกรายเขามาในบาน น้ำมนตในขวดนำไปเทใสโองอาบน้ำ และดื่มแกสมาชิกภายในบานเพื่อใหเปนสิริมงคลแกตัว
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
60
การทำบุญกลางบานนี้แตเดิมจะทำกันกลางแจงจริงๆ แตปจจุบันอากาศรอนมาก ชาวบานจึงตองกางเต็นทเพื่อไมใหเกิดความ กระวนกระวายใจในขณะทำพิธี เพื่อพิธีจะไดเปนไปอยางราบรื่นชีวิตก็จะราบรื่นเชนกัน และพิธีเลี้ยงตาปู โดยกำหนดกันตามความเหมาะสม สวนใหญจะอยูในราวกลางเดือน ๖ อดีตถือกันวาจะตองเลี้ยงตาปูกอน ลงมือกับงานในไรนา ปจจุบันก็ถือวันกันตามสะดวกแตก็ยังอยูในชวงกลางเดือน ๖ กลางเดือน ๑๐ ทำบุญสารทลาว สำหรับวันสารทชาวลาวแงวทำบุญสารท ๒ ครั้ง ในกลางเดือนสิบครั้งหนึ่ง คือ ทำบุญสารทลาว เชื่อวาประเพณีนี้สืบเนื่องมาแต เมืองลาว และสิ้นเดือนสิบทำบุญสารทไทย อีกครั้งหนึ่ง การทำบุญสารทลาวซึ่งตรงกับขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ สารทไทยเริ่มเมื่อแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ และสารทพวนแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๙ และสารทจีนตรงกับราวๆ กลางเดือน ๙ ดังนั้น ชุมชนขนาดใหญที่มีคน ตางกลุมตางเชื้อสายรวมกันอยูก็จะมีการทำบุญสารทไมตรงกันดังระยะเวลาที่แสดงไว แตก็มีการรวมทำบุญดวยกันทั้งสารทลาว สารทไทย สารทพวน และสารทจีน ที่วัดเดียวกัน แมเปนพิธีของแตละกลุมแตผูคนตางเชื้อสายก็รวมทำบุญรวมชวยงานกันได โดยไมมีปญหาแตอยางใด เมื่อถึงวันสารท นำขนมสารทมาทำบุญถวายพระ หลังจากนั้นก็นำขนมที่ทำมาแลกเปลี่ยนกัน ตางติชมหรือ ถามกันวา เวลาทำ ขนมใชมะพราวกี่ลูก ขาวตอกกี่ถัง ถือวาเปนการประชันฝมือกัน บางบานก็ทำเหนียว กรอบ บางบานก็รวนซุย ขนมไมติดกัน บาง ครั้งก็มีการฝากขนมไปใหเพื่อนบานกลุมอื่นที่ไมใชลาวแงว เชน พวน ชาวไทยแมน้ำ หรือคนจีนในตลาด ซึ่งเมื่อถึงวันสารทของ เขา เขาก็จะนำขนมสารทของเขามาคืนแกเราเพราะสารทพวน สารทไทย สารทจีนไมตรงกัน ในกลุมชุมชนที่ไมใชลาวแงวทั้งหมูบาน หรือหมูบานที่มักจะติดกับหมูบานที่ไมใชแงว จะไมไดอยูกันเฉพาะกลุม แตมีการติดตอ สัมพันธกับคนกลุมอื่น ทั้งในและนอกหมูบาน ขนมกระยาสารทจึงเปนสื่อสัมพันธอยางหนึ่งที่แสดงถึงการติดตอระหวางกลุมที่ เปนไปดวยดี ในหมูบานลาวแงว เชนที่บานโปงนอย ในอำเภอเมืองลพบุรีมีการทำกระยาสารท เรียกวา “กวนสารทลาว” วิธีการคือ ทุกบาน เตรียมของทำกระยาสารททุกอยางมารวมกัน ชวยกันกวนทีละกะทะ สมมติวามี ๔ บานมารวมกวนดวยกันก็กวน ๔ ครั้ง ยัง เปนการรวมมือที่ยังเห็นอยูในปจจุบัน ขนมสารทของลาวมีสวนผสม ดังนี้ ขาวเมา ขาวตอก ถั่วลิสง งา น้ำตาล แบะแซ มะพราวขูดเพื่อมาทำเปนน้ำกะทิ กอนพ.ศ. ๒๕๒๐ เวลาชาวบานจะทำขนมสารทจะตองมาตลาดหาซื้อของที่ตองการ เชน น้ำตาล แบะแซ มะพราว งา แตบางอยางก็มีอยู แลว เชน ถั่วลิสง ขาวเมา ขาวตอก โดยตองทำเองทุกขั้นตอน เริ่มจากทำขาวเมา คือ นำขาวเปลือกขาวเหนียวมาแชน้ำในโอง ๑ คืน จากนั้นทำใหสะเด็ดน้ำแลวนำมาคั่ว พอขาวเริ่มแตกนำมาใส ครกมองหรือครกตะลุมพุก ใชแรงคนตำบางครั้งจะมีเพื่อนบานมาชวย กะวาพอไดที่แลวนำขาวมาฝด เก็บกากใหดี แลวนำ ขาวเมามาคั่วใหพอง จากนั้นพักไว การทำขาวตอกทำโดยนำขาวเปลือกมาคั่วใหแตกเปนดอกขาว นำมาฝดเลือกสวนที่ตองการคือขาวที่แตกเปนดอก นำถั่วลิสงมา คั่วใหเหลือง งามาคั่วใหสุก นำทั้งหมดแยกสวนพักไว แลวเอามะพราวมาขูดแลวคั้นใหไดกะทิ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
61
เมื่อเตรียมสวนผสมไวพรอมแลว นำกะทิมาเคี่ยวกับน้ำตาล แบะแซ สังเกตวาถานำสวนผสมมาหยอดในขันน้ำแลวไมละลายก็ ใชได ใสขาวเมา ขาวตอก กวนไปสักพักใสถั่วลิสงและงาบางสวน ชวงนี้ตองลาไฟแลวคอยๆ กวนไปจนกวาขนมจะไมติดกะทะ จากนั้นนำงาที่เหลือมาโรยในกระดง ยกขนมจากกะทะมาใสในกระดง กดใหแบนเรียบเสมอกัน แลวตัดเปนชิ้นพอเหมาะ เพราะ งายตอการจัดเก็บ การทำขนมสารทนี้ตองชวยกันทั้งครอบครัว แตละบานตองทำขนมนี้ใหมากๆ และเก็บไวใหพนจากมด ปองกันไมใหขนมชื้น61 หลวงพอโอดเกจิอาจารยที่เปนที่นับถือของทองถิ่นนี้อดีตเจาอาวาสวัดจันเสน เคยเทศนเรื่องอานิสงฆของการทำขนมกระยาสารท หรือ สารทไทย สารทลาว สารทพวน วา62 เริ่มตั้งแตการทำขนมตองใชคนทั้งครอบครัว ตองอาศัยความสามัคคี ความอดทน เชน การขูดมะพราวมากกวา ๑๐ ลูก การตำขาวเมาและตองเลือกเก็บกาก เก็บสิ่งที่ไมตองการออก การคั่วขาวตอกที่ตองคอยหัก เปลือกขาวออกจากขาวที่แตกแลว การคั่วถั่ว คั่วงา ดังคำพังเพยที่วา กวาถั่วจะสุกงาก็ไหม สองสิ่งนี้ตองการความพิถีพิถันเปน อยางมาก หากไมมีฝมือในการทำขนมของผูอาวุโสในครอบครัวแลว ไฉนเลยขนมจะอรอย การทำบุญสารทจึงเปนงานบุญที่สราง ความสามัคคีภายในครอบครัว ทำจิตใหปราณีตและเปนคนใจเย็นขึ้น วันนี้ชาวลาวแงวสวนใหญไมทำขนมสารทลาวแลว เพราะมัวแตเรงรีบทำนาหรือทำอาชีพของตน ขนมสารทลาววันนี้ ไดมีการ เปลี่ยนแปลงไปเปนอยางมากนับตั้งแต ไมมีการปลูกถั่วปลูกงาไวที่ปลายไรปลายนา ไมมีเตรียมสวนผสมของขนมรวมกันภายใน ครอบครัว มีนอยบานนักที่ยังมีการกวนขนมในครอบครัวแมวาจะตองซื้อของที่เตรียมแทบทั้งหมด มากกวาครึ่งของหมูบานจะ ซื้อหรือสั่งทำขนมสารทจากเจาที่รูจักหรือเจาที่มีชื่อเสียงในจังหวัดอื่นๆ แตถึงแมไมไดทำขนมเองก็ยังมีการฝากขนมใหแกกันและ กันอยู X X gเดือน ๑๑ ออกพรรษา บุญไตหางประทีป เทศนมหาชาติ ชวงเดือน ๑๑ เปนเทศกาลออกพรรษาและมีการทำบุญไตหางประทีป และมีการ เทศนมหาชาติ กอนวันที่จะมีการเทศนก็มีการ จับสลากวาบานใดไดกัณฑอะไรถือวาเปนการเสี่ยงทายโดยจะรวมกันไปเปนครอบครัวในกัณฑที่เปนเจาภาพ สถานที่เทศนคือวัด ประจำหมูบาน ซึ่งมีการจัดเตรียมและตกแตงอยางสวยงามใหมีบรรยากาศคลายกับปาหิมพานต ประดับดวยตนไม ดอกไม รัง ผึ้ง เครื่องจักสานเปนรูปสัตวตางๆ หรือทำดวยกระดาษอยางสวยงาม เครื่องกัณฑเทศนจะประกอบดวยสิ่งของที่หาไดงาย เชน กลวย ออย พริก แฟง ขาวสาร ผักสด ธูป เทียน แลวตัดกระดาษทำเปนพวงมาลัย กอนการเทศนวันหนึ่ง ในชวงเย็นจะมีการแหขาวพันกอนโดยชาวบานหญิงชายรวมกับกรรมการวัด ตั้งขบวนแหเริ่มที่วัดแหมา ตามบานเรือน ในขบวนมีเครื่องประโคม ฆองกลอง ขบวนผานหนาบานใดก็จะเตรียมขามตมมัดพรอมปจจัยใสในบาตรหรือใน ยาม เสร็จจากแหแลวจะนำสิ่งของทั้งหมดไปรวมกันไวที่ศาลาวัดเพื่อเตรียมถวายพระในตอนเชา แลวขบวนแหจะเดินรอบศาลา ๓ รอบ มีสาแหรกสำหรับวางขาวพันกอนประมาณ ๗–๑๐ จุด การใสขาวพันกอนไมจำเปนวาจะตองปนขาวใหได ๑,๐๐๐ กอน เวลาใสขาวพันกอน ประมาณ ตี ๕ เมื่อเสร็จแลว พระจึงจะเริ่มเทศนมหาชาติ แตบางแหงจะเริ่มเทศนในตอนเที่ยงคืนของวัน 61
นางวันดี เชาวธรรม, อายุ ๖๘ ป, ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔.
62
นางสมปอง บุญเติร, อายุ ๔๐ ป, ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
62
เรื่อยไปเสร็จราว ๔ โมงเย็น สวนขาวพันกอนไดวางไวเมื่อตอนเชา ชาวบานจะนำไปไวตามนา ของตนเอง 63 การเทศนมหาชาติใน หมูบานของลาวแงวในปจจุบันจะนิมนตพระที่อื่นๆ และพระทางอิสานก็นิยมนิมนตหากมีเสียงไพเราะและเทศนแบบแหลหรือลำ กลอนไดดี ในปจจุบันบางชุมชน เชน แถบบานไผลอมในตำบลทองเอน ยังมีการทำบุญขาวพันกอนโดยชาวบานจะรวมกันนำขาวเหนียวมา นึ่งที่วัด เมื่อสุกแลว นำมาปนเปนกอนใหไดพันกอน โดยรวมมือกันทำ กอนรุงเชานำไปแหรอบศาลาที่จะเทศนมหาชาติ ๓ รอบ แลวนำไปวางไวหนาธรรมาสนกอนพระเทศนมหาชาติ เปนการแหขาวพันกอน นอกจากนี้ยังมีการทำบุญไตหางประทีปในชวงเทศกาลออกพรรษา จุดประสงคของการจุดไตหางประทีปเปนการบูชาพระพุทธเจา เพื่อความเปนสิริมงคลในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิต ทำกันในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เวลาราว ๑๕.๐๐ น. อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลายจะมารวมกันที่ลานวัด เพื่อมาทำมาจากตนกลวยและใชไมทำขามา เมื่อทำเสร็จแลวนำมาไวที่กลางแจงดานหนา ศาลาวัด เวลาราว ๑๙.๐๐ น. ชาวบานจะมาพรอมกันที่ลานวัดเพื่อนิมนตพระสงฆจุดธูปเทียน ชาวบานเตรียมเครื่องสักการะ ตางๆ ประกอบดวย ธูป ๙ ดอก เทียน ๑ เลม ขาวตั้งทอง ๑ ตน และดอกไม64 แลวกลาวอธิษฐานวา ใหขาวงาม ไมใหเปนเพลี้ยเปนมอด ใหมีรูปสวย รูปงาม สาธุ สาธุ สาธุ65 เมื่อกลาวอธิษฐานแลวนำเครื่องสักการะทั้งหมดไปปกไวที่ตัวมา จากนั้น อาจจะมีการเฉลิมฉลองเพื่อความสนุกสนาน เชน การ รำวง วันที่มีการบูชาไตหางประทีป เมื่อกลับมาถึงบานจะมีการบูชาหัวแมกะได เลือกหัวกะไดที่สูงกวา จุดธูป ๕ ดอก ดอกไม ๕ ดอก เทียน ๑ เลม ดายขาวสำหรับมัดหัวบันได จุดประสงคที่ทำคือ เพื่อใหมีสติ และแสดงความกตัญูตอบันไดที่ตลอดปที่ผานมา ไมมีใครไดรับบาดเจ็บจากการใชบันได66 ? เดือน ๑๒ ลอยกระทง จะมีการจัดงานลอยกระทงกันทุกป แมชุมชนลาวแงวบางสวนจะไมใชชุมชนริมน้ำ แตก็มีงานลอยกระทงซึ่งจัดวาเปนงานใหญอยู ที่วัดจันเสน ซึ่งใชสระน้ำขนาดใหญของชุมชนเปนที่ลอยกระทง และชาวบานทั่วสารทิศจะมาชุมนุมกันที่นี่มากกวาที่อื่นซึ่งยังคง เปนเชนนี้อยูจนถึงปจจุบัน การลอยกระทงถือกันวาเปนลอยเคราะหและบูชาแมพระคงคา และขอพรเพื่อเปนสิริมงคลแกชีวิต
ตารางเปรียบเทียบประเพณีสิบสองเดือนในอดีตบริเวณตางๆ
63
สัมภาษณนายสา นางปน อินรุณ, อายุ ๗๕ ป, 43 บานโปงนอย ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี,
64
พระสมุยงค เจาอาวาสวัดน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
65
นางไร มะเริงสิทธิ์ อายุ ๖๐ป, ๘๐ หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี
66
นางเฮียง บุญนกแกว, อายุ ๗๐ป, ๗๕ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
63
เดือน กลาง ๕ ตรุษสงกรานต
อีสาน บุญสงกรานตหรือบุญน้ำสรง
บริเวณศึกษา งานสงกรานต, แหนางแมว
๖ แรกไถนา, ประเพณีเวียนเทียนใน บุญบั้งไฟ หรือบุญวิสาขบูชา วันวิสาขบูชา, ประเพณีวันอัฏฐมีบูชา
ทำบุญกลางบาน, เลี้ยงตาปู
๗
บุญสลากภัตร
บุญซำฮะหรือบุญเบิกบาน
๘ เทศกาลเขาพรรษา-ประเพณีถวาย บุญเขาพรรษา สลากภัต
ทำบุญตักบาตรวันเขาพรรษา
๙
บุญขาวประดับดิน
สารทจีน, สารทพวน
๑๐ สิ้นเดือน เทศกาลสารท
บุญขาวสลากหรือบุญขาวสากหรือ กลางเดือนงานสารทลาว สิ้นเดือนงาน บุญสลากภัต สารทไทย
๑๑ เทศกาลออกพรรษาประเพณี บุญออกพรรษา บุญจุดประทีป บุญออกพรรษา, บุญไตหางประทีป, ตักบาตรเทโว, ประเพณีทอดกฐิน หรือบุญไตประทีป ประเพณีไหล เทศนมหาชาติ แหขาวพันกอน เรือไฟ บุญผาสาทเผิ้งหรือบุญ ปราสาทผึ้ง ๑๒ ประเพณีลอยกระทงหรือลอย ประทีป,ประเพณีเทศนมหาชาติ
บุญกฐิน
ลอยกระทง
๑(อาย) เทศกาลปใหม
บุญเขากรรม
เกี่ยวขาวหนัก บางหมูบานทำบุญยาคู
๒(ยี่)
บุญคูณลานหรือบุญกุมขาวใหญ เอิ้นแมโพสพหรือเรียกขวัญขาว
๓ วันมาฆบูชา
บุญขาวจี่และบุญมาฆบูชา
๔
บุญผะเหวดหรือบุญมหาชาติ
งานเทศนมหาชาติ
ความเชื่อ ชาวลาวแงวนับถือศาสนาพุทธ มีความเชื่อในเรื่องบุญ-กรรม และเขาวัดฟงธรรมกันอยูเสมอ แตก็ยังเชื่อเรื่องผี อันไดแก ผี บรรพบุรุษ ผีบานผีเรือน พระภูมิเจาที่ แมโพสพ เปนความเชื่อที่คูขนานกันไป
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
64
?การทำบุญเลี้ยงตาปู ในหมูบานลาวแงวมีการเลี้ยงตาปูซึ่งชาวบานถือวาเปนเจาบานหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประธานของหมูบาน เชื่อวามีการเลี้ยงตาปูมาโดย ตลอดตั้งแตครั้งเมื่อตอนที่อพยพมา ตามปกติพิธีเลี้ยงผีของหมูบานตางๆ ในชุมชนลาวแงว ชาวบานจะเตรียมสิ่งของมาเลี้ยงผี ประกอบดวย ขาว น้ำ ขนมหวาน ๒ คู หรือ ๔ ถวย ขนมหวานเหมือนขนมบัวลอยตมกับน้ำตาลแตไมใสกะทิ หมู ๑ หัว หรือ ๑ แถบ ไก ๑ ตัว หรือ ครึ่งตัว เหลา ๑ ขวดเล็กหรือขวดใหญก็ได บางคนมีน้ำอัดลม ธูป ๒ ดอก ของทั้งหมดใสผาขาว เรียกวา ๑ สำรับ มีขบวนกองยาวคอยตีเปนระยะๆ แหจากในบานไปที่ศาล แลวนำไปวางไวภายในศาลตาปู ลาวแงว บานหนองเมือง มีความเชื่อเรื่องผีตาปูเพราะปูยาตายายเลาสืบตอกันมาวา เชิญผีตาปูมาดวยจากบานเดิมที่เวียงจันทน67 ชาวบานที่นี่เชื่อวาบรรพบุรุษของตนมาจากเวียงจันทนเพื่อปกปองคุมครองใหอยูเย็นเปนสุข ลาวแงวที่บานหนองเมืองไดตั้งศาล ตาปูไวกลางที่หมูบาน เรียกชื่อวา ศาลเจาผีบาน” ศาลเจาพอสนั่นวัดหนองเมือง มีพื้นที่ศาลเปนสัดสวนมีรั้วรอบ มีประตูทางเขา สรางขึ้นมาใหม ผูบริจาครายใหญคือกำนันของบานหนองเมือง ภายในศาลมี รูปเคารพ แผนปายของจีน มีดอกบัวขนาดใหญ ทำ ดวยไมมีที่ตั้งอยางดี มีพวงมาลัยคลองไวจนทวมดอกบัว มีตุกตาหญิงชาย รูปปนมาชาง พวงมาลัยมากจริงๆ รอบๆศาลมีคน นำศาลพระภูมิชำรุดมาวางเรียงไวมากมาย ภายในศาลขางฝามีไมทำเปนดอกบัวขนาดเล็ก วางกองรวมกันไว บานหนองหินใหญ มีศาลเจาปูสนั่น เปนศาลเกามาจากลพบุรี กอนหนานั้นไมทราบแนวามีคนทรงหรือไม แตวันนี้คนทรงชื่อปานั น คำศรี อายุ ๗๐ ป เปนคนเลี้ยงคนดูแลเจาศาลเจาปู สภาพบริเวณศาล มีตนไมใหญ รมรื่น มีคลองสงน้ำขนาบซายขวา ดาน หนาของศาลคือวัดบานหนองหิน มีตนไมใหญอยูเกือบ ๑๐ ตน ติดกับศาลคือศาลาวัดกำลังกอสราง สวนลาวแงวที่ บานกกโก เขาสามยอด เลาวาชาวลาวแงวที่นี่นับถือผีตาปูมาแตครั้งบรรพบุรุษเชนกันและไดเชิญมาจาก เวียงจันทนซึ่งเหมือนกับชาวบานหนองเมือง บานโปงนอย เรียกตัวเองวาลาวแงว มีการเลี้ยงตาปู ขางขึ้น เดือน ๖ เรียกวา เจาพอหลวงสอน แตเดิมเรียก “ตาปู” แตเดี๋ยวนี้ เรียก “เจาพอ” ศาลตาปู บานหนองเมือง มีสองแหงเพราะเปนชุมชนใหญ ศาลตาปูมีในหมูบานแหงหนึ่งและในบริเวณวัดหนองเมืองแหงหนึ่ง เรียกวาศาลเจาพอสนั่น บริเวณศาลเปนสัดสวนมีรั้วรอบและประตูทางเขาที่เพิ่งสรางขึ้นมาใหม โดยมีผูบริจาครายใหญคือกำนัน ของบานหนองเมือง ภายในศาลมีแผนปายแบบจีน ดอกบัวขนาดใหญทำดวยไมมีที่ตั้งอยางดี และมีพวงมาลัยคลองไวจนทวม ดอกบัว และมีไมทำเปนดอกบัวขนาดเล็กวางกองรวมกันไว ทั้งมีตุกตาหญิงชายรูปปนมาชาง รอบๆ ศาลเจาพอสนั่นมีคนนำศาล พระภูมิชำรุดมากองไวมากมาย เดี๋ยวนี้เวลามีการเลี้ยงตาปู มีการฝากเลี้ยงโดยเรี่ยไรเงินไปทำบุญ ศาลตาปู การทำงานเพื่อเสียง ทาย เมื่อสมประสงคแลว ก็มีการแกบน เลี้ยงตาปู ปจจุบันคนรวมกิจกรรมนอย แตกอนไมมีการฟอนรำแตเดี๋ยวนี้เพิ่มมาอีก บานหนองเกวียนหัก ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ มีศาลตาปูเชนเดียวกัน และเลี้ยงตาปูกลางเดือน ๖ ซึ่งเปนเดือนเดียวกับการ ทำบุญกลางบาน แตจะกำหนดวันกันเมื่อสะดวก ของทีน่ ำมาเลี้ยงไดแก ไกตม ขนมหวาน มะพราวออน ขนมบัวลอย ชาวบาน
67
นางวิน นาคแยม
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
65
นับถือตาปูโดยไมมีการเขาทรงแตอยางใด หากชาวบานหนองเกวียนหักจะเดินทางไปไหน ก็จะบอกกลาวเพื่อใหเกิดความอุนใจ และปลอดภัย บานโปรง ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี มีศาลเจาพอทองคำซึ่งเปนศาลที่สรางขึ้นมาใหมจากเดิมที่สรางดวยไมมุง หลังคาสังกะสี มีการเลี้ยงเจาพอเดือน ๖ ขึ้น ๙ ค่ำ เมื่อมีการเลี้ยงจะมีการทรงหรือการจ้ำ มีรางทรงมาแลว ๔ รุน เปนผูหญิง ทั้งหมด คนที่เปนรางทรงจะเปนคนดี ซื่อสัตย ฐานะปานกลางไมจนไมรวย มีผัวเดียว บริเวณศาลดานหลัวมีตนกามปูใหญ ถัด ไปเปนสระน้ำที่ขุดใหม ดานหนาเปนที่พื้นวางสำหรับทำกิจกรรม ภายในศาลมีตุกตาหญิงชาย มา และไมทำเปนดอกบัวทำจากไม สะเดา และพวงมาลัยมากมาย สวนศาลตาปู บานไผใหญ อำเภอบานหมี่ ศาลตาปูบานนี้อยูที่เดิมบริเวณใกลสระน้ำกลางทุงนาและไมมีชื่อตาปู แตเดิมศาลจะมี ตนไม มีตนคาง กฐิน สะแก สะเดา หนาศาลมีสระน้ำ ชาวบานเชิญใหมาอยูในหมูบานหรือใกลๆ หมูบานแตก็ไมยอมมาทราบจาก ตอนเขาทรง ภายในมีตุกตา ชางมา หญิงชายเหมือนกับที่ทำใสไวในศาลพระภูมิ มีดอกบัว ทำจากไมงาว ทาแดงปลายไม ดอกบัว ก็เหมือนกับอวัยวะเพศชาย พวงมาลัย แกวปกธูป เพิ่งมีการทรงมาสามรุนและไมเกี่ยวของกับพิธีกรรมเลี้ยงตาปูและการเลี้ยงผีก็ ใชวิธีเรียบงาย งานเลี้ยงผีทำกันกลางเดือน ๖ ใชดอกบัว ๑ คู ขนมบัวลอย ไก หมู เหลา มีการบอกกลาวและบนเมื่อมีการเดินทาง ของหาย หรือถามขาวญาติพี่นองที่จากไปไกล แตละคนหากสมประสงคแลวก็ไปแกบน ศาลตาปู บานน้ำจั้น อยูทางทิศตะวันออกของวัดน้ำจั้น ชาวบานตั้งศาลตาปูหรือ ศาลเจาพอสนั่น ไวกลางหมูบาน เดิมเปนศาลทำ ดวยไมเสา ๔ ตน ตอมามีการสรางใหมทำเปนอาคารขนาดยอมกออิฐถือปูนทั้งหมด ดานหนาโลง ภายในมีมาไมมีรูปปนรูปชาย แกเปนสัญลักษณแทนตาปู กระถางธูป เครื่องบวงสรวง เชน พวงมาลัย ถาดอาหาร แตเดิมการไหวผีตาปูไมมีการลงทรง ตอมา เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๓๐ จึงมีการทรงเกิดขึ้น ชาวบานน้ำจั้นเรียกวิญญาณที่มาลงทรงวา เจาพอสนั่น”ชื่อ สนั่น นั้นอางวาเปนชื่อ เดิมของตาปูที่ลาวแงวไดอัญเชิญมาจากบานเมืองเดิม เชื่อกันวามาจากเวียงจันทน และเวลาลูกหลานจะบวชนาคมีการนำนาคมา ไหวบอกกลาวขอขมาเจาพอ ศาลตาปูของเดิมมักจะอยูกลางทุงนา หรือไมก็นอกชุมชนใกลกับกลุมบาน ลักษณะเปนศาลไมขนาดเล็กๆ ใชเสาสี่เสาอันเปน ลักษณะทั่วไปของศาลผี และปจจุบันมีอยูหลายหมูบานที่เรียกกันวาเจาพอสนั่น และเจาพอสนั่นนี้ปรากฏวาเปนชื่อตาปูในหลายๆ หมูบาน เชน บานหนองหินใหญ บานหนองเมือง ซึ่งเปนหมูบานลาวแงวดั้งเดิม และบานน้ำจั้นซึ่งเปนหมูบานลาวแงวที่ขยับขยาย ตอมา แตสิ่งที่เคารพนับถือของลาวแงวที่ทองเอนกลับนับถือ “เจาปูละหาน” ซึ่งเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่รักษาหนองน้ำขนาดใหญของ ทองถิ่น อันมีกฎขอหามไมใหชาวบานใชอวนลากแตสามารถจับสัตวน้ำไดเพียงพอกินเทานั้น จะเห็นวาในอดีตศาลตาปูหรือในอีสานสวนใหญเรียกวา “ปูตา” จะอยูบริเวณชายทุงหรือบริเวณชายหมูบาน (หรือกลางหมูบา นวะ) เปนศาลไมขนาดเล็กๆ ชุมชนในภาคอีสานหรือในประเทศลาวจะมีศาลปูตาในสถานที่ที่เรียกวา “ดอนปูตา” ซึ่งเปนปาครึ้ม อยูใกลๆ กับชุมชนและมีประจำหมูบานแทบทุกแหง เรียกไดวาเปนปาของหมูบานที่ชาวบานรักษารวมกันและไมใชประโยชนจาก ดอนปูตานี้หากไมไดรับการยินยอมจากสวนรวม และจะเขาไปในสถานที่นี้เฉพาะมีงานพิธี เชน การเลี้ยงผีปูตา เทานั้น ศาลปูตามักมีประจำทุกหมูบาน แตหากชุมชนนั้นมีขนาดใหญในระดับเมือง ศาลประจำชุมชนก็จะเรียกวา มเหสักขหลักเมือง สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ในระดับนี้ก็จะมีความซับซอนและเปน “ผี” ที่มีอำนาจใหญกวา “ผี” หรือสิ่งศักดิ์สิทธิในระดับหมูบาน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
66
กลุมลาวแงวแตเดิมจะเรียกสิ่งเคารพของหมูบานวา “ตาปู” และไมมีชื่อ ตอมาในระยะหลังนาจะไดรับอิทธิพลของการทรงเจา ทำใหมีการเปลี่ยนแปลงจากการนับถือ ตาปู เปน “เจาปู…” หรือ “ปู…” และตอมาก็เปน “เจาพอ…”ตามลำดับ การทรงเจาเพิ่งจะ ปรากฏขึ้นในราวไมถึง ๒๐ ป และรางทรงจะเปนหญิงสาวหรือหญิงวัยกลางคน
ภาพที่ ๑๐ ศาลเจาพอหลวงบานทาแค ตำบลทาแค อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ซึ่งชาวบานบอกวา ตนเปนลาวหลม ภาพที่ ๑๑ ศาลตาปูที่บานหนองเมือง ซึ่งเปลี่ยนเปน “ศาลเจาปูศรีเมือง” ซึ่งทุกวัน นี้ชาวลาวแงวมักเปลี่ยนชื่อจากตาปูเปน เจาปูบาง หรือ เจาพอบาง
ภาพที่ ๑๒ ศาลเจาพอสนั่น บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี ยังคงรูปแบบเดิมอยางใกลเคียงแมเปน ศาลที่สรางขึ้นใหม
บานศรีนวล ในบานนี้จะมี ศาลเจาพอเขาตก อยูกลางหมูบาน ซึ่งภายในศาลนำไมมาทำเปนมีด ปน ดอกบัว หมูบานศรีนวลที่ หนองโดนจะมีการเขาทรงโดยหญิงอายุราว ๗๐ ป และจะมี “จ้ำ” ซึ่งเปนผู ? ทำหนาที่คอยถามเจาพอเวลาเขาทรงแลว ของที่นำ มาเลี้ยงผีคือ ขนมตมแดงตมขาว ขนมปลากริม หากผูใดบนหมูหรือไกไวก็จะนำมาแกบนในคราวนั้น หมูบานนี้ก็เชนเดียวกับ หมูบานลาวแงวอื่นๆ คือจะเกรงกลัวเรื่องผีปอบแมปจจุบันจะไมมีเรื่องปอบเขาแลวก็ตาม ประเพณีตามวาระของหมูบานนี้ การก วนขาวทิพย เมื่อกลางเดือน ๖ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
67
งานเลี้ยงผีตาปู บานน้ำจั้น บานน้ำจั้น อยูในตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี เปนสวนที่ติดตอกับตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค จนนับไดวาเปนทองถิ่นเดียวกัน ลาวแงวที่บานนี้เลี้ยงผีในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกป ผูคนที่มารวมงานสวนใหญเปนหญิงสูง อายุ การเลี้ยงผีประจำปในอดีตไมมีการลงทรง เพิ่งจะมีเมื่อยายซอนเริ่มรับเจาพอสนั่นแลวเปนคนทรงมาเมื่อเกือบ ๒๐ ปมาแลว ใน อดีต เจาพอมาเขาบอย ทั้งเขาพรรษา ออกพรรษา สงกรานต แตปจจุบันมาลงทรงปละครั้งคือในงานเลี้ยงผีตาปูประจำป bคนทรง ที่บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี มีงานเลี้ยงผีตาปู คนทรงเปนผูหญิงอายุราว ๗๐ ป ตระกูลเดิมเปนลาว แงวที่จังหวัดสระบุรี ตอมายายมาอยูที่บานน้ำจั้นราว ๕๐-๖๐ ปแลว ชาวบานเชื่อกันวา “ผี” หรือ “เจา” ซึ่งเปนคำที่ชาวบานในปจจุบันเรียกกัน จะเขารางคนที่มีนิสัยใจคอหรือชีวิตความเปนอยูที่เรียบ งาย สภาพครอบครัวมีความสุข สมาชิกภายในครอบครัวรักใครกลมเกลียวกัน และอบรมใหลูกเปนคนดี ขยันทำมาหากิน และ ประกอบอาชีพสุจริต มีนิสัยใจคอเยือกเย็น รักษาความสะอาด คนทรงบานน้ำจั้น ก็เปนคนที่มีลักษณะนิสัยดังกลาว ซื่อสัตยตอ สามีแตงงานมีลูกดวยกัน ๔ คน สามีตั้งแตลูกยังเล็กๆ ก็อดทนเลี้ยงลูกมาคนเดียวโดยไมยอมแตงงาน จนถึงทุกวันนี้ ครอบครัว เปนที่รักใครของคนในหมูบาน ชาวบานบอกวายายคนทรงเปนคนตรง ใจดี จริงใจ ไมโกหก ไมหลอกลวงใคร เลี้ยงลูกจนไดสะใภ ไดเขย ไมดางพรอย ดีทุกคน บางคนเปนมัคทายก เปนพิธีกรในงานสำคัญ เวลามีการทำบุญ ลูกๆ ที่อยูน้ำจั้นจะมาทำบุญกันทุกคน และไมมีปญหาเรื่องเงิน ทองกับใครดวย68 เปนการยอมรับนับถือครอบครัวนี้ทั้งครอบครัวจากคนในหมูบาน แตการที่เริ่มเปนคนทรงในระยะแรกๆ มีทั้งยอมรับและไมยอมรับ มีเรื่องเลาวาเปนคนกลัวผีมาก ครั้งหนึ่งลุกขึ้นมากลางดึกเดิน ลงเรือนลูกสาวเห็นเปนคนแกอายุสัก ๘๐ ป ลงไปขางลางหารากไมมาแลวไมพูดจากับใคร คิดวานาจะเปนผีปอบเขา ก็ไปตาม หมอผีมาไลให ชาวบานเชื่อวาในบานนี้มีผีปอบแตไมรูวาเปนใคร ผีปอบก็ออกชื่อใหลูกสาวมาของหญิงคนหนึ่งใหมาชวย พอ ครอบครัวนั้นรูทำกำกะแทะวางไว ๔ ทิศ เพื่อกันไมใหผีเขาบาน กลัวไปเขาไปกินลูกหลาน หมอก็รดน้ำมนตแลวบอกวาเชิญเจา พอเขาเลย จึงกลายเปนคนทรงเจาพอสนั่นมาจนปจจุบัน ตอมาลูกหลานและชาวบานก็ยอมรับกันทุกคนที่เปนคนทรงของเจา พอ 69 วันหนึ่งขณะที่ยายคนทรงอยูทามกลางคนในหมูบานบริเวณศาลาวัด ก็เกิดการเขาราง เวลาพูดจาไมใชภาษาลาวแงว สำเนียงผิด เพี้ยนไปเปนลาวอื่น คลายๆ กับลาวอีสาน วันนั้นยายรางทรงก็สูบยา ดื่มเหลา ทั้งที่ไมเคยมีพฤติกรรมเชนนี้มากอน เมื่อมีคนถาม รางทรงก็เลาใหฟงวา มาจากเวียงจันทน ขี่มาแกขาหักมา”ซึ่งก็เปนเหตุหนึ่งที่ทำใหลาวแงวที่บานน้ำจั้นบอกผูอื่นวาบรรพบุรุษของ พวกตนมาจากเวียงจันทน เมื่อถึงเวลาไหวตาปูในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกปก็จะมีพิธีเลี้ยงผี 68
นางสาวสำเนียง บัวตา, อายุ ๔๔ ป, บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔.
69
สัมภาษณนายสมยงค สมทรง บุตรนางซอน สมทรง, อายุ ๔๖ ป, ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
68
ภาพที่ ๘ และ ภาพที่ ๙ ศาลตาปู ซึ่งปจจุบันชาวบานเรียกกันวา “เจาพอสนั่น” และภายในศาลเจา พอสนั่น ซึ่งมีพวงมาลัย ชางมาจำลอง กระถางธูป ราวเทียน โดยปรับปรุงเปนศาลใหญกออิฐถือปูนจาก ศาลไมสี่เสาหลังเล็กๆ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
พิธีกรรม การเลี้ยงตาปูของชาวบานน้ำจั้น จะถือทำกันในวันอังคารขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ พิธีกรรมที่เขาไปสังเกตการณตรงกับวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ราว ๗ โมงเชา ชาวบานจะแตงกายเชนเดียวกับเมื่อมางานบุญ นำของเลี้ยง เชน ขาว น้ำ ขนมหวาน หัวหมู หรือ ไก เหลา ธูป ของ ทั้งหมดใสผาขาว เรียกวา ๑ สำรับ ใสพาขาวมาวางไวในบริเวณศาลตาปู แลวจุดธูปบอกการเลี้ยงตาปู อธิษฐานขอพรใหกับตนเอง และครอบครัว ผูที่นำของมาสวนใหญจะเปนหญิงมากกวาชาย ระหวางนั้นกลองยาวก็ตีแบบเถิดเทิงรวมขบวนมาดวย ชาวบานจะ รอคนทรงมาถึง จนเกือบ ๗ โมงครึ่ง คนทรงซอนทายจักรยานยนตของลูกชายโดยไมตองมีการแหมาจากบานหรือมีผูชวยใดๆ สวมเสื้อสีเหลือง ใสผาถุงสีชมพู ทา แปงหนาขาวนวล ยิ้มแยมแจมใส ซึ่งตามปกติจะนุงแตผาโจงกระเบน เขามาในบริเวณศาลตาปูที่ชาวบานเตรียมที่นั่งไวให จะมี หญิงกลางคนเปนผูชวยคนนำขัน ๕ มาเชิญยายซอนเพื่อเขาทรง เมื่อยายซอนรับขัน ๕ แลวโดยการยกมือไหวหันหนาไปทางศาล แลวเดินไปปกธูปเปนการเริ่มลงทรง จากนั้นผูชวยนำพานขัน ๕ ไปไวที่โตะบูชา ชาวบานเตรียมหมากพลูบุหรี่ไวให รางทรงเลือก สูบบุหรี่ กลองยาวก็ตีบรรเลงรับเปนชวงๆ ชาวบานที่เปนนางรำมาเชิญรางทรงออกไปรำกันอยางครึกครื้น เมื่อกลับเขามาเจาพอ ในรางทรงบอกวาไมไดรำวงมานานแลว เมื่อเจาพอนั่งลงมีการตอบโตไถถาม ทุกคนจะเงียบ สำรวมสงบ ชาวบานก็เริ่มถามเรื่องที่ของใจ เชน อยากรูวามันเปนยังไงอากาศรอนหลาย คนทำนาไดแยงน้ำกันแลว ฝนฟามันจะดีเดือนไหนวันไหน ลองจับยามสามตาดูบาง ซึ่งเจาพอสนั่นในรางทรงก็จับกระดูกคางไกเสี่ยงทาย แลวบอกวา ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
69
บานนี้ขาวเขาแตงตัวสวย ไมเหมือนบานโนน นุงซิ่นสั้นๆ คนทางโนน แบกโนนแบกนี่ ไมตองกลัว ฝนจะตกเร็วๆ นี้ แลวลมจะแรง เจาพอพอใจไหมที่ชาวบานมาพรอมเพรียงกัน ของกินมากจริง ของเซนทำใหมนะ อยางของหวานใหมี ๔ ขา ๔ ถวย อยาทำมา ๓ หรือ ๕ หวานเหมือนกัน ๔ ถวย แตไมเปนอะไร บอกไว ขนม ๔ ถวย เอาน้ำมาดวย แลวมีชาวบานบอกใหเชิญเจาแมผมหอมมาดวย วา ไมไปรับ มาไมไดก็ไมตองมา…. แคนี้มาไมไดก็ไมตองมา ๆ เอาธูปสองดอกไปบอกใหมานี้ แลวเอากลองยาวไป รับ เอาพวงมาลัยไปดวย ลูกหลานไปสอบเรียนตอจะไดหรือไม ไดอยู ไมอยางก็ตองอยางหนึ่ง อยูทางเหนือโนน วันไหนฝนตกละเจาพอ จะตายแลงกันแลว โคกดอนรับคมเกี่ยวคือกับถั่วนะ แตขาวไมคอยจะสวย ทำไมหนูเยอะจัง หนูก็หากินเหมือนกับคน นอกจากนี้ ชาวบานถามเรื่องลูกชายที่ไปทำงาน ถามเรื่องการสอบเรียนตอของลูก ถามเรื่องการเดินทางจะปลอดภัยไหม บางคน ถามเรื่องที่สงสัย เชน ถามเจาพอถึงการเดินทางวาเดินทางมาอยางไร เจาพอตอบวา “ขี่มามามาก็แก วิ่งก็ชา มาตั้งแตกลางคืน เจา พอมาจากเวียงจันทน” ชาวบานก็ถามวา “ทางโนนมีความเปนอยูอยางไร สบายดีหรือไม” จากนั้นจะดื่มเหลาที่มีคนเทใสแกวมอบ ให บางครั้งจะสูบยาและเคี้ยวหมากดวย เจาพอสนั่นจะพูดเปนภาษาอิสานโตตอบกับชาวบานที่รองถามเรื่องตางๆ ปกติรางทรงจะพูดลาวแงวเวาภาษาอีสานไมไดและไม คลอง จากนั้น ชาวบานที่ทำนาก็จะใจจดจออยูกับการแกะคางไกเสี่ยงทายของคนทรงเพื่อพยากรณวาปนั้นน้ำจะมากหรือน้ำจะนอย ระหวางนั้นก็มานั่ง แตยังมีการถามกันอยู ชาวบานบอกวา “เจาพอยังเทียมอยู””ในระหวางนี้มีการขอใหเจาพอเปาหัว ผูกดายสาย สิญจนใหเด็กและผูหญิง จากนั้นเมื่อเสร็จพิธีชาวบานก็จะรองรำทำเพลงและแบงอาหารที่ทำมาไหวตาปูกลับไปครึ่งหนึ่งเพื่อรับ ประทานเปนสิริมงคลแกครอบครัว เมื่อเสร็จพิธีลูกหลานรางทรงก็จะพากลับบาน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
70
แตเดิมชาวบานก็เรียกผีที่ลงทรงกันวา “ตาปู” แตมาเดี๋ยวชาวบานจะเรียกวา “เจาพอสนั่น” ชาวบานที่นับถือเจาพอสนั่นมีอยู หลายหมูบาน นาจะเปนการนับถือเลียนแบบกันตอๆ มา
ภาพที่ ๑๒ ภาพที่ ๑๓ พิธีเลี้ยงผีตาปูบานน้ำจั้น ลาวแงวที่บานนี้เลี้ยงผีในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกป ผูคนที่มารวมงานสวนใหญเปนหญิงสูงอายุ การเลี้ยงผีประจำปในอดีตไมมีการลงทรง เพิ่ง จะมีเมื่อคนทรงเมื่อเกือบ ๒๐ ปมาแลว ในอดีตเจาพอมาเขาบอย ทั้งเขาพรรษา ออกพรรษา และ สงกรานต แตปจจุบันมาลงทรงปละครั้งคือในงานเลี้ยงผีตาปูประจำป ในปนั้นปรากฏวาเปนเมียเจา พอสนั่นมา คนทรงจึงแตงกายสวยงาม ฟอนรำเลนกับชาวบานอยางสนุกสนาน กอนจะมีการทำนาย ทายทักตางๆ แลวเสี่ยงทายกระดูกคอไก ซึ่งยังคงรักษาธรรมเนียมเสี่ยงทายแบบเกานี้ไว
bความเชื่อเรื่องผีปอบ ความเชื่อเรื่อง “ผี” นอกจากผีตาปู ผีไรผีนาซึ่งเปนผีดีแลว ยังมีผีรายคือ “ผีปอบ” ในหมูคนลาวยังมีความเชื่อและหวาดกลัว “ผี ปอบ” อยูจนถึงปจจุบัน ปอบเปนไดทั้งหญิงและชาย แตผูถูกเพ็งเล็งมักเปนหญิงแกมีอายุ หากมีคนเจ็บไขไดปวย ตายบอยๆ เปนไขตายออกลูกตาย จะมีคนถูกเพงเล็ง และเมื่อใครถูกกลาวหาวาเปนปอบก็จะถูกกีดกันออกจากสังคมหมูบานนั้น ไมมีใคร คบหาดวย แมความกลัวผีปอบจะมีมากในชุมชนคนลาว แตก็ทำใหคนไทยที่อยูหมูบานใกลเคียงหามปรามลูกหลานไมใหไปเที่ยวบานคน ลาวเพราะกลัวผีจะมาเกี่ยวของดวย แตปจจุบันเสื่อมคลายไปบางแลว แสดงถึงการรังเกียจหรือกลัว “ผีปอบ” ไมเพียงมีอยู เฉพาะในหมูคนลาว
ใครเปนปอบ ชาวบานเชื่อวา ปอบมี ๒ อยาง คือ ปอบวิชา”คนจะเปนผีปอบลักษณะนี้นับถือคุณไสยแลวทำพิธีเซนไหวผิดจากที่เคยเปน เชน ผี ปอบที่บานโปง อำเภอบานหมี่ เปนผีมีครูทำใหผูบาวหลง เวลาตายแลวไมตองหาคนสืบทอดเปนปอบและถาตายไปปอบก็ตายไป ดวย อยางที่สองคือ ปอบเชื้อ”ตายทรมานตองใหลูกหลานมารับ ถาไมรับก็จะกินลูกกินหลาน หมายถึง ลูกหลานจะเจ็บจะไขอยู ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
71
ตลอดเวลาไมก็ตายไปเลย ในปจจุบันชาวบานก็ยังกลัวผีปอบอยู เพราะพวกนี้เวลาใครเจ็บไข มันก็จะไปกับคนไปเยี่ยม บางที่ผี จะไปกับพี่นองที่เขาเรียกวาผีช้ำด้ำพลอย และชาวบานเชื่อสนิทวาเปนอยางนั้นจริงๆ 70 คนที่เปนญาติกับปอบมักจะระมัดระวังตัวมาก เวลาเพื่อนบานไมสบายจะไมไปเยี่ยมคนปวยกลัวถูกกลาวหาวาพาปอบไปดวย และจะถูกกลาวหาหากผูปวยนั้นทรุดหนักไปอีก สมัยกอนหากมีคนตายโดยหาสาเหตุไมไดก็จะโทษปอบ คนที่ถูกผีหรือปอบเขาจะมีลักษณะเปนคนออนแอ ขี้โรค และเปนคนนาสงสาร คนที่ถูกปอบเขาจะมีลักษณะออนแอ เชน เมื่อ ปอบเขาก็นั่งกมหนาแลวพูดเปนเสียงคนแกพูดวา “กูเห็นมึงยางแหยงแยะๆ กูก็มากับตาเต็มขึ้นบามันมา” บางคนชาวบานบอกวา อยูเฉยๆ ผีผลักลมนับแตนั้นมาก็ไมสบาย เขาโรงพยาบาลนอนแหมบตลอดเวลาแลวก็ตาย แมหมอจะสรุปวาเปนโรคเบาหวาน แตชาวบานบอกวาปอบเขา เวลาที่ปอบเขาจะรองโหยหวน ญาติๆ ตองหาหมอหรือหาพระมาไล เวลาหมอไลผี คนที่ถูกผีหรือปอบเขาจะรองหาลูกของคนที่ เปนปอบ “ซอยแหมแด นวยมาซอยแมแด” ซึ่งเปนการกลาวหาวาแมของลูกชายที่ออกชื่อเปนปอบ บางคนถึงกับจะเอาปนมายิง คนที่ถูกปอบเขา เพราะโกรธที่กลาวหาวาแมของเขาเปนปอบ เมื่อชาวบานเขาไปพูดคุยก็จะเกิดการเลาลือกันไปตางๆ นานา ทุกคนที่ถูกผีเขาจะบอกวาไมรูตัววาพูดอะไรบาง และจะมีการกลา วหาผูอื่นอยูเสมอ เชน บอกวาใครในหมูบานเปนปอบ ใครเปนผูดูแลเลี้ยงดูผีเหลานี้ จนชาวบานจัดกลุมคนที่เปนปอบและเลี้ยงผี ได เวลาที่ปอบเขา ปอบในรางของคนก็จะบอกวาชื่ออะไร เคยกินคนนั้นคนนี้มาแลว บางตัวยังบอกวาคนนี้ตับใหญ คนนั้นตับ อรอยก็มี เวลายามค่ำคืนคนเฒาคนแกจะสอนไมใหปากไวหรือทัก ถามสิ่งไมเห็นตัว อยางเมื่อเกิดเสียงดัง แลวถามวา เสียงอะไร เดี๋ยว ปอบจะเขาหลายคนยืนยันวามีจริง บางคนเห็นเปนหมาตัวใหญ เห็นเปนคนแก ตอนเย็นๆ หรือกลางคืนเดินออกหนา พอเรา เดินตามมันจะหันหนามาหลอกทำใหตกใจ แลวจะเขาหาหากเปนคนขวัญออน ลักษณะคนที่เปนปอบ ลักษณะของคนที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบ คือ จะไมสุงสิงกับใครจะอยูแตเฉพาะกลุมตน เปนคนแปลกไปจากคนในสังคมหมูบาน นั้น โดยเฉพาะไมแตงงาน มีความเปนอยูตางจากคนอื่น มีฐานะดีกวาคนอื่นหรือคนที่กลาวหา บรรพบุรุษอาจจะประพฤติตนไมดี คนที่เก็บตัวหรือถูกคนในสังคมรังเกียจก็จะถูกกลาวหาวาเปนปอบ ครอบครัวที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบจะไมชอบสุงสิงกับใคร ฐานะความเปนอยูไมเดือดรอน สามารถพึ่งตนเองไดและชอบเก็บตัว วากันวาปอบชอบเขาคนขวัญออน คนใจออน นาจะเปนคน ตกใจงาย คนที่ไมคอยเปนตัวของตัวเอง เชื่อคนอื่นงาย ครอบครัวหนึ่งถูกกลาวหาวาเปนปอบ ผูชายคนหนึ่ง ผูหญิงสอง ฐานะดีไมตองพึ่งพาใคร เมื่อพี่ชายที่แตงงานแยกครัวไปแลวมา เอาสรอยทองของมีคาของนองสาวไปหมด ทั้งสองคนพี่นองก็ไมพูดจากับใครๆ ทำใหชาวบานพูดถึงคนบานนี้วา วันๆ มันไมพูด กับใคร น้ำก็ไมอาบ ไมออกไปไหน พูดทีบอกทีก็ปากสั่นมุบมิบ สงสัยจะทองคาถา และหญิงพี่นองสองคนนี้ก็ถูกหาวาเปนปอบ สาวรวมจะผูกคอตาย กอนหนานั้นก็เคยผูกคอตายมากอนแตมีคนชวยไวไดทัน ชาวบานบอกวาอยากใหมันตาย จะไดหมดไป 70
สัมภาษณนายสมยงค สมทรง, อายุ ๔๖ ป, ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
72
จากหมูบานเสียที คนภายนอกมองวาผูหญิงบานนี้ทำตัวลึกลับ เชน ตอนกลางวันไมทำอะไรเอาแตนอน บานชองเงียบเชียบ เวลา มองเขาไปในบานก็นากลัวมากมืดๆ ทึบๆ พอกลางคืนเปดไฟทำงานเหมือนตอนกลางวัน บางทีออกมาอาบน้ำเพราะหองน้ำอยู นอกบาน เวลาพวกมันอยูบาน อาปากเลียปากเหมือนมันอยากกินอะไร อีกอยางไมยอมออกมาพูดคุยกับใคร แมแตคนขางบานที่ เคยทักทายกันมากอน คนหมูบานอื่นที่เปนคนไทยก็มองลักษณะของคนที่เปนปอบเชนเดียวกัน มีการเลาวา หญิงชาวบานคนหนึ่งตายไปนานกวา ๓๐ ป แลว มีฐานะปานกลาง นุงโจงกะเบน แตสายตาลอกแลก เมื่อมาถือศีลที่วัดจันเสนจะอยูมุมศาลาไมมีใครเขาใกลดวย ถาคนใน หมูบานเจ็บไขไดปวยก็จะถูกเพงเล็ง เวลามีผีเขาเขาไลผีจะอางชื่อหญิงคนนี้ หมอผีจะใชตนขาเฆี่ยนจนกวาผีจะออก คนที่ผีเขา สามารถดื่มเหลาเปนขวดๆ โดยไมเปนไร ไกเปนๆ ฉีกกินดิบๆ สูบบุหรี่มวนโต พูดวาเขาไมใชคนที่เปนรางนี่ก็เปนลักษณะของผี ปอบเขา แตเวลานี้คนสวนใหญที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบก็ตายไปหมดแลว71 l
l
l
g g
71
ภาพที่ ๑gสระน้ำหรือหนองน้ำ ที่บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี สระg น้ำเปนสิ่งจำเปนมากในอดีตสำหรับชุมชนชาวลาวแงวหลายแหง ศาลตาปูก็มักตั้งอยูg ใกลกับหนองน้ำหรือสระน้ำเหลานี้
สัมภาษณพระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน, ๑๖ เมษายน ๒๕๔๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
73
ภาพที่ ๒ และ ภาพที่ ๓ บานเรือนที่อยูอาศัยของชาวลาวแงวบานหนองเมืองและบานไผใหญ ภายในบริเวณบานไม เรียบรอยพิถีพิถัน เพราะไมไดใสใจตอความสวยงามนัก ดังเปนความเห็นที่กลุมชาติพันธุอื่นมีตอชาวลาวแงว ?
การกลาวหา ในกรณีที่ยกตัวอยางได ที่หมูบานลาวแงวแหงหนึ่งในอำเภอบานหมี่ มีครอบครัวหนึ่งถูกกลาวหาวาเปนปอบซึ่งเขาใจกันวาแมเปน มากอน หญิงผูนี้อยูกับพอแมอยูบานเรือนไทยหลังคามุงแฝกฝาไมฟากหลังใหญมากแสดงถึงฐานะที่ร่ำรวยพอควร และเปนคนผู งามคือคนสวย แตงงานมาแลวครั้งหนึ่งกอนไปฟองหยาวาตนเองเปนหมันไมมีลูกขอเลิกกับผัว ชาวบานเขาใจวาหาเหตุอยากเอา ผัวใหม พอเลิกแลวมีลูกติดคนหนึ่งเปนผูชาย ซึ่งปจจุบันยังมีชีวิตอยูอายุ ๗๕ ป ตอมาไดผัวใหมมีลูกอีก ๕ คน ชาวบานยังนินทา กันวา บอกวาตัวเองเปนหมันเปนหยังมีลูกหลายแท พอตอนที่แมเธอตายปอบคงไมมีที่ไปและหญิงคนนี้คงรับเอามา และเมื่อ ตายไปแลว ปอบก็มาอาศัยอยูกับลูกสาว ลือกันวาลูกสาวคนนี้ตอนเชาไปนากลับมาตอนเย็นก็ตายโดยไมมีเหตุ ชาวบานเชื่อวา ปอบคงกินขางในมานานแลว ปอบคนหนึ่งที่มีพื้นเพมาจากภาคอีสานและมีผัวหลายคน ตอมาไดกับคนหมูบานหนึ่งเลากันวาเวลาถึงวันพระก็จะปนขางฝาตอน กลางคืน แลวขึ้นไปบนหลังไปนั่งคอมจั่วบาน หญิงคนนี้เปนปอบเพราะไปเรียนวิชาที่ใหผูชายรักชาวบานเรียกวา “ครูห…(อวัยวะ เพศหญิง)ใหญ” ชาวบานรูจักในชื่อครูอีเปอ เลาลือกันวายายคนนี้ชอบกินเด็ก หักคอเด็ก เดี๋ยวเด็กบานนั้นตายบานนี้ตาย ซึ่ง เปนการตายติดๆ กันโดยไมรูสาเหตุ จึงเปนเหตุทำเกิดการรุมฆาปอบขึ้น ชวงเย็นๆ ใกลค่ำ หญิงแกที่ถูกหาวาเปนปอบไปขอปลาชาวบานที่กำลังชวยกันวิดสระ มีทั้งปลาเปนปลาตาย แตพอเดินมาสัก หนอยในปาละเมาะ ก็มีพอตาลูกเขยคูหนึ่งตามมาเอาไมคานตีปอบจนตายทามกลางคนเห็นเหตุการณหลายคน เพราะโกรธที่เปน ปอบที่ชาวบานเชื่อกันวาไปหักคอเด็กในหมูบานตายหลายคนซึ่งเด็กคนหนึ่งเปนหลานของทั้งสองคนดวย ยายแกที่ถูกหาวาเปนปอบถูกตีจนแตตายปลาที่ถือมาก็ดิ้นอยูขางๆ คนที่ไปมุงดูก็พูดกันวาปอบมันยังอยู แมจะถูกตีจนตายตอน เย็นใกลค่ำแตก็ไมมีใครกลาไปเก็บศพ ผัวก็รองไหสงสารเมียและมาเฝาทั้งคืน รุงเชาจึงมีคนมาเก็บศพไปทำพิธี ทั้งพอตาและลูกเขยที่ใชไมคานรุมตียายแกตายไมติดคุก เพราะเสียเงินใหตำรวจไป คนละ ๔,๐๐๐ บาท รวม ๘,๐๐๐ บาท ซึ่ง เมื่อราว ๔๐ ปกอนก็เปนจำนวนเงินที่มากเอาการอยูตอนยายแกที่ถูกหาวาเปนปอบโดนฆาตายมีคนเห็นเหตุการณหลายคน แต ไมมีใครเขาไปชวย กลายเปนเรื่องเลาที่เลาตอกันมา ชาวบานแชงใหคนที่เปนปอบใหตายไปเสีย โดยบอกวามันไปเขาสิงเขา เฮ็ดใหเขาเดือดรอน เด็กนอยหยาน(กลัว) ลูกหลานนอน หลับละเมอรองไห อีกอยางเวลาเขาไปสิงใคร จะออกชื่อวาอาศัยอยูกับคนนั้นคนนี้เปนการกลาวหากันตอไปอีก ทำใหทั้ง ครอบครัวคนที่ถูกหาวาเปนปอบขายหนาเพราะกลัวถูกกลาวหาวาเปนปอบดวย
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
74
การกลาวหาคนที่เปนปอบมักจะเปนเหตุการณใดก็ไดตามแตชาวบานที่ไมสามารถใหเหตุผลได เชน หญิงสาวคนหนึ่งยืนลาง หนาที่หนาตางแลวตกลงมาจากบานซึ่งสูงขนาดบันได ๗ ขั้น ชาวบานก็เลาลือวาเพราะนองเขยไปหวานแหที่สระในนาของหญิงที่ ถูกหาวาเปนปอบ เมื่อกลับมาจากนาได ๒-๓ วัน ก็เจ็บขาเดินไมได ชาวบานวาสงสัยปอบจะทำใหเจ็บไข และปอบโกรธแคนจน ทำใหพี่สะใภตกบันไดบาน กลายเปนหัวขอที่ทุกคนในหมูบานใหความสนใจ บางก็แนะนำใหแกไปหาหมอที่รักษา แมแตถานำเด็ก ไปเลนใกลบานนี้หรือเด็กเห็นหนาคนที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบ เด็กก็จะรองไหดวยความหวาดกลัว หรือตอนกลางคืนก็จะรอง หวีดหวาดกลัว ชาวบานกลัวกันจนไมอยากทักทาย ปอบยังมีอยูในปจจุบันb เมื่อราว ๓๐ ปมาแลว ปอบเขาคนนั้นคนนี้บอยมาก ปจจุบันเปลี่ยนไปแมจะยังมีการเลาลือเรื่องปอบอยู แตก็ไมพบวามีการเขากัน บอยๆ เหมือนในอดีต เมื่อสอบถามวาหมูบานนี้มีปอบไหม กลัวไหม ชาวบานก็จะบอกวาบานนี้ผีเขามาไมได เพราะมีการทำพิธีคุมครองไวดีแลว แตบาง คนบอกวาที่หมูบานก็ยังมีผีปอบ ยามกลางคืนมีแสงวาบ วาบ พอคนเห็นจะหายไปเปนปอบวิชา ซึ่งเชื่อวาตอนนี้ผียังไมตายไม หมดไปจากหมูบาน บางหมูบานเลาวา ยังมีการกลัวเรื่องผีปอบกันอยู แตปจจุบันก็ไมคอยพบวามีปอบเขาแลว สวนเรื่องปอบเชื้อ หรือที่เคยถูกกลาวหาวาเปนปอบญาติก็จะใหหมอผีมาทำพิธีเรียกเขาหมอแลวนำไปฝงดินหรือแลวแตวาหมอจะนำไปทำอะไร แตเวลาใครพูดเรื่องปอบก็จะทำเสียงคอยๆ แตเวลาเลาเรื่องปอบไปทำอยางนั้นอยางนี้ ผูเลาจะออกทาทางและเสียงดังจะโยงถึง เรื่องเกาๆ ที่เคยเกิดขึ้นใหฟงอยางออกรสออกชาติ เชน “มีอยางหรือเอาหมาไปนอนดวย คนดีๆ เขาเฮ็ดกันหรือ” “เดี๋ยวนี้มัน กินขาวกับไขกับถั่วลิสง” แตก็ยังกลาวดวยเสียงเบาๆ อยางกลัวๆ วา มันไดยินนะวาเราพูดถึงมัน บางคนบอกวามีวิชาดีกันไมใหผีปอบเขาหรือหลอกได บางคนก็บอกวามีเคล็ดที่ทำใหปอบไมเขาใกล เมื่อจะเดินผานบานปอบ จะ ตองรีบทักมันกอนแมไมเห็นตัว ใหรีบพูดวา “ปอบปอบ” พูดทั้งตอนผานบานปอบไปและตอนกลับ ปอบยังคงเขาคนในหมูบานชาวลาวแงวอยู แมจะเปนคนมีอาชีพเปนครู เชน เมื่อไมสามารถหาสาเหตุไดจากการที่รถลมลงใกล จอมปลวกใหญ ก็มีอาการไมรูสึกตัว ญาติพี่นองเห็น หมาแกๆ นาเกลียดมากนั่งเฝาอยู ชาวบานและญาติๆ ก็เชื่อวาครูคนนั้นถูก ผีหรือปอบเขาแตก็ไมกลาบอกใหรูตัวเพราะกลัวจะไมเชื่อและไมอยากใหกลัวจนไมเปนอันทำอะไร ผูที่เปนปอบในสังคมของชุมชนลาวแงวคือผูที่ประพฤติตนตางไปจากคนสวนใหญ ในอดีต จะเพ็งเล็งไปที่คนที่มีคุณไสยที่ ประพฤติผิดศีลธรรมเปนไสยดำ โดยเฉพาะเพศหญิง หญิงที่มีมากกวาผัวเดียว หรือคนที่ไมยุงเกี่ยวกับเพื่อนบานกับกิจกรรม ของชุมชน ก็จะถูกมองวาเปนปอบ แตในปจจุบัน ผูที่ถูกหาวาเปนปอบมักจะเกี่ยวกับความตึงเครียดในชีวิต เชน หญิงที่มีปญหา ทางเศรษฐกิจ เชน ถูกพี่ชายโกงที่นาหรือสมบัติจนไมสามารถชวยเหลือตนเองได เมื่อหมกมุนกับปญหาของตัวเองจนตัดขาด ออกจากสังคมภายนอกก็จะถูกกลาวหาวาเปนปอบ ลักษณะของการถูกกลาวหาวาเปนปอบยังคงอยูในชุมชนลาวแงวจนถึงปจจุบัน แมจะมีการคลี่คลายลดความตึงเครียดไปจาก เดิมอยางมากก็ตาม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
75
บทที่ ๓ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง กับสำนึกทางชาติพันธุ จากอดีตเชลยศึกหัวเมืองไกลโพนที่ถูกกวาดตอนอพยพครัวเรือนมาสูลุมน้ำเจาพระยา ปจจุบันผูสืบเชื้อสายจากกลุมชาติพันธุ ไต-ลาวเหลานี้กลายเปนสวนหนึ่งของสังคมไทยอยางกลมกลืน เพราะถูกบูรณาการอยูภายใตรัฐไทยมาเปนระยะเวลานาน ภายใตสังคมแหงความคลายคลึงของผูคนในพื้นที่ราบลุมแหงภาคกลางของประเทศไทย ความแตกตางของชุมชนที่มีพื้นฐาน ความเปนมาและความเปนกลุมที่แตกตางกันก็ปรากฏอยางชัดเจน ในอดีตแมจะอยูในทองถิ่นเดียวกัน แตก็มีการแบงแยก ระหวางชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุอยางแนชัด เชน บานไทยอยูสวนไทยบานลาวอยูสวนลาว ไมไดไปมาหาสูหรือหลอมรวมกลาย เปนหนึ่งเดียว ตอมา เมื่อพื้นที่ทำกินตองแสวงหากันใหม กลุมคนจีนที่มาพรอมกับอาชีพคาขาย ออกเงินกู สรางโรงสีซื้อขายขาวที่ เปนฐานทรัพยากรสำคัญ การผสมผสานระหวางกลุมชาติพันธุจึงเกิดขึ้นในชุมชนระยะตอมา จนถึงปจจุบัน ผูคนก็ติดตอกัน ตลอดไมไดแบงเปนกลุมลาว กลุมไทย หรือกลุมจีน ดังเชนที่เคยเปนมา ชวงเวลาเกือบสองรอยปที่ผานมาแมนโยบายของรัฐมีสวนกำหนดแนวทางและวิถีชีวิตของไพรพลหรือประชากรอยูมาก แตใน ทามกลางสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง ชีวิตของผูคนที่ถูกทางการหรือราชสำนักเรียกวา “ลาว” ก็ปรับเปลี่ยนไปจนอาจไมมีอะไร คลายคลึงกับรากเหงาของวัฒนธรรมที่บานเมืองเดิม จากการศึกษาในกลุมชาติพันธุลาวแงวทำใหพบวา รูปธรรมที่ชัดเจนของการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เปนแรงผลักดันจากภายใน กลุมลาวแงวเองนั้นไมปรากฏชัดเจนแตอยางใด ตลอดชวงเวลาทั้งในทางประวัติศาสตรเปนตนมา ไมวาจะในฐานะเชลยสงคราม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
76
ไพรฟาขาแผนดิน และประชาชนผูเปนเกษตรกรของประเทศ แตกตางจากกลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่แมเปนเชลยสงครามเมื่อครั้งตน รัตนโกสินทรเชนเดียวกัน แตก็มีการรวมกลุมกันอยางชัดเจนกวา ไดรับความสนใจจากนักศึกษาและนักวิชาการจากสถาบันการ ศึกษาตางๆ มากกวาอยางเห็นไดชัด สาเหตุหนึ่งที่อาจสันนิษฐานได คือ ในกลุมตางๆ ที่กลาวมานั้น มีเอกลักษณของกลุมชาติพันธุที่ชัดเจนกวา เชน การแตงกาย ภาษาพูด ความเปนมาทางประวัติศาสตรจากถิ่นฐานเดียวกัน และประเพณีและพิธีกรรมความเชื่อ ซึ่งเปนเหตุผลที่สำคัญในการบู รณาการชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุเดียวกัน เขาไวเปนกลุมที่มีอัตลักษณโดดเดนและธำรงสำนึกทางชาติพันธุไดมากกวา ในสังคมปจจุบันที่เปดกวางขึ้น พรอมทั้งการเดินทางที่สะดวกสามารถออกไปสูโลกภายนอกไดอยางรวดเร็ว และจากระบบการ ศึกษาที่เปนเหตุหลักทำใหเกิดการยายถิ่นฐานอยางมากที่สุดในทองถิ่นนี้ ทำใหผูคนในทองถิ่นนี้มีการติดตอกันรวมทั้งมีการ แตงงานขามกลุมจนกลายเปนเชื้อสายที่ผสมผสานกันทั้งหมดโดยไมไดแบงเปนกลุมลาว กลุมไทย หรือกลุมจีน แมจะเกิดการผสมผสานกันก็ตาม แตสำนึกทางชาติพันธุยังคงอยู รองรอยตางๆ ปรากฏใหเห็นเมื่อเขาไปศึกษา แมจะออนแรง และเบาบางจนอาจถูกมองขามไปไดอยางงายดาย
สำนึกทางชาติพันธุลาวแงว การปรับตัวและการเปลี่ยนแปลง จากผลของสงครามครั้งศึกเจาอนุวงศ นอกจากจะทำใหเวียงจันทนยอยยับลงไปแลว กลุมชาวลาวที่ถูกกวาดตอนเขามาอยูใน กรุงเทพฯและหัวเมืองโดยรอบซึ่งเปนเชลยทั้งหลาย ตองตกระกำลำบาก สะทอนความรูสึกทุกขยากดังกลอนลำพรรณนาไว และ มีผูนำมาเปนบทรองเพลง “ลาวแพน” ดังนี้ มาขอยจะกลาว ถึงพวกลาวเปาแคนแสนเสนาะ มาสอเพาะ เขากับแคนแสนขยัน เปนใจความ ยามยากจากเวียงจันทน ตกมาอยูเขตขัณฑ อยุธยา อี่แมคุณเอย เฮาบเคยจะตกยาก ตกระกำลำบาก แสนยากก็นี่นักหนา พลัดทั้งที่ดินถิ่นฐาน พลัดทั้งบานเมืองมา พลัดทั้งปู พลัดทั้งยา พลัดทั้งตาทั้งยาย พลัดทั้งแมลูกเมีย พลัดทั้งเสียลูกเตา พลัดทั้งพงศทั้งเผา ทั้งลูกเตาก็หนีหาย บักไทยมันเฆี่ยน บักไทยมันขัง จนไหลจนหลังของขอยนี่ลาย จะตายเสียแลวหนา ที่ในปาดงแดน ผาทอก็บมีนุง ผาถุงก็บมีหม คาดแตเตี่ยวเกลียวกลม หนาวลมนี่เหลือแสน ระเหินระหกตกยาก ตองเปนคนกากคนแกน มีแตแคนคันเดียว ก็พอไดเที่ยวขอทานเขากิน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
77
ตกมาอยูในเมือง ตองถีบกระเดื่องกระดอย สีซอมตำตอย ตะบิดตะบอยบฮูสิ้น ถือแตเคียวเกี่ยวหญา เอาไปใหมาของเพื่อนมันกิน เที่ยวซมซาน ไปทุกบานทุกถิ่น จะไดกินก็แตเดน แสนอึดแสนจน เหมือนอยางคนตกนาฮก มืดมนฝนตก เที่ยวหยกๆ ถกเขมร ถือของสองคบ จับกบทุงพระเมรุ เปอนเลน เปอนตม เหม็นขมเหม็นคาว จับทั้งอางทองขึง จับทั้งอึ่งทองเขียว จับทั้งเปยวทั้งปู จับทั้งหนูทองขาว จับเอามาใหสิ้น มาตมกินกับเหลา เปนกรรมของเฮา เพราะอายเจาเวียงจันทนเพื่อนเอย
ความรูสึกที่สงผานกลอนลำลาวแพนนี้ คงสะทอนใหเห็นเพียงความยากลำบากในระยะแรกๆ ของชีวิตเชลยศึก ซึ่งตอมาเมื่อ สรางหลักฐานมีถิ่นฐานที่เปนชุมชนลาวและถูกบูรณาการทางการเมืองและสังคมวัฒนธรรมจากรัฐรวมเปนสวนหนึ่งของประชากร สยาม การอยูอาศัยในพื้นที่ราบลุมภาคกลางอันมีสภาพแวดลอมที่อุดมสมบูรณตามธรรมชาติ และวีถีชีวิตที่สัมพันธกับการทำนา เพียงอยางเดียวก็สามารถดำรงชีวิตไดอยางไมยากลำบากแตประการใด ทั้งยังไมมีความขัดแยงระหวางกลุมชาติพันธุอยาง รุนแรงเนื่องจากนโยบายของรัฐ หากมองภาพรวมเชนนี้ก็อาจเขาใจเหตุผลของขอมูลที่วา “ไมมีรูปธรรมที่ชัดเจนในการ เคลื่อนไหวทางสังคม ที่เปนแรงผลักดันจากภายในกลุมลาวแงว” เนื่องเพราะ “สำนึกทางชาติพันธุ” หรือ “ethnicity” จะมีความหมายตอสังคมหรือชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุ [ethnic group] ก็เมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงและความขัดแยงทางสังคม มีนัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและความขัดแยงทางสังคม การแสวงหาอัตลักษณตัว ตนทางวัฒนธรรมและอาจรวมถึงการตอรองทางการเมืองในบางกรณี การสรางตัวตนของกลุมและความสัมพันธระหวางเชื้อชาติ ซึ่งถือเปนการตอรองทางการเมืองหรือความอยูรอดของกลุมชาติพันธุดังกลาว ซึ่งผูคนในกลุมนั้นๆ พยายามบอกเลาแสดงตัวตน ใหคนในสังคมไดรับรูและประกาศพื้นที่ของตนเอง ซึ่งนำไปสูการเคลื่อนไหวทางสังคมหรือการเคลื่อนไหวทางการเมือง กลุมชาติพันธุ หรือ ethnic group หมายถึงคนกลุมหนึ่งในหมูคนกลุมใหญ มีลักษณะรวมที่เปนที่ยอมรับกันภายในกลุมวา ตนเองวาเปนคนกลุมเดียวกัน เชน ภาษา สำเนียงพูด การแตงกาย อาหาร ประเพณีวัฒนธรรม จนกระทั่งการบอกเลาทาง ประวัติศาสตรที่รวมไปถึงในความหมายของการสรางจินตนาการในอดีตรวมกันของกลุม จากนิยามความหมายในลักษณะการอธิบายขางตน การเคลื่อนไหวทางสังคมในการรวมกลุมอยางชัดเจนของกลุมลาวแงวจึงไม อาจนับวามีลักษณะของสำนึกทางชาติพันธุที่รับรูโดยทั่วไปแตอยางใด ซึ่ง “การรับรูโดยทั่วไป” ในที่นี้หมายถึง มีกระบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองอยางชัดเจน หรือ มีการเคลื่อนไหวรวมตัวกันทาง สังคม ฟนฟูวัฒนธรรมและประเพณีในระดับทองถิ่น พยายามแสวงหาอัตลักษณของกลุมทั้งที่สรางขึ้นมาใหมและการนำ แบบแผนดั้งเดิมมาผลิตขึ้นใหม เปนตน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
78
อยางไรก็ตาม หากศึกษาลงไปในรายละเอียดภายในกลุมลาวแงว จะพบวา มีการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เปนที่รับรูกันภายในกลุม และชุมชนกลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่อยูในทองถิ่นเดียวกัน ถึงอัตลักษณและการดำรงความเปนกลุมชาติพันธุของลาวแงว อันเปนที่ รับรูกันโดยทั่วไปซึ่งอยูภายในระดับทองถิ่น แตในระดับชาติหรือประเทศนั้น กลุมชาติพันธุลาวแงวอาจไมมีตัวตนโดยสิ้นเชิง เพราะถูกมองวาเปนประชากรไทยสวนหนึ่งของพื้นที่ราบภาคกลางเทานั้น ความสมานฉันทและความกลมกลืนของประชากรเปนภาพรวมที่เกิดขึ้นจากการอธิบายของรัฐ ทำใหเราเพิกเฉยตอการ เปลี่ยนแปลงและการแสวงหาอัตลักษณของกลุมชนกลุมตางๆ ซึ่งสวนใหญจะเปนปญหาในกลุมคนชายแดนหรือชนกลุมนอยที่ ถูกมองวาเปนปญหา จนแมในกลุมชนที่ดูเหมือนวาจะไมมีความแตกตางแตประการใด เชน กลุมลาวแงว ในพื้นที่ภาคกลางนี้ก็ ถูกมองวาไมมีตัวตนและไมมีการเคลื่อนไหวทางสังคมที่แสดงถึงอัตลักษณของกลุม ซึ่งขอมูลจากทองถิ่นทำใหเราทราบวา แมมีการเปลี่ยนแปลงความเปนอยู มีการสรางบานเรือนใหม มีคานิยมในการบริโภคเหมือนกับสังคมของคนกลุมอื่นๆ ใน ประเทศไทย แมจะไมพูดลาวเวลาออกนอกหมูบาน ไมฟงหมอลำเพลิน ไมฟงลำกลอน ไมดูลิเกลาวเหมือนกับปูยาตายาย วันนี้ คนลาวก็คือคนไทย แตงกาย ฟงเพลง ไปหางสรรพสินคา ใครจะรูวาที่เดินไปขางๆ จะเปนคนเชื้อสายลาวแงว แตเมื่อพิจารณาถึง ประเพณีพิธีกรรมที่ยังคงทำกันอยูและสภาพชีวิตการทำมาหากินของกลุมลาวแงว เราก็จะพบกระบวนการเคลื่อนไหว ความ เปลี่ยนแปลง และที่สำคัญสิ่งเหลานี้แสดงอัตลักษณของกลุมลาวแงวอยางชัดเจน โดยไมตองมีเหตุแหงความขัดแยงทางสังคม เปนพลังผลักดันใหเกิดการรวมกลุมแตอยางใด ในกลุมชาติพันธุลาวแงว ทามกลางการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง พบวามีลักษณะเดนที่อาจจะ เรียกไดวาเปนอัตลักษณของกลุมลาวแงว ๒ ประการ คือ ความเชื่อเรื่องผี ซึ่งยังมีบทบาทสำคัญตอชีวิตผูคนและโครงสรางทาง สังคมของชุมชนอยางมาก สวนอัตลักษณอยางที่สองคือ ผลกระทบตอชุมชนลาวแงวจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจของรัฐและ ความสัมพันธระหวางรัฐกับชุมชน ซึ่งอาจกลาววาเปนลักษณะที่พบเห็นไดทั่วไปของกลุมชาวนาในทองที่ภาคกลาง ไมอาจแสดง ความเปนกลุมชาติพันธุแตอยางใด แตความเดนชัดดังกลาว กลายเปนวีถีชีวิตในปจจุบันของชาวลาวแงวซึ่งสวนใหญเปนชาวนา หรือเกษตรกรที่ไดรับผลกระทบจากปจจัยตางๆ และเปนปจจัยสำคัญที่นำการเปลี่ยนแปลงตางๆ มาสูชุมชนลาวแงว แมจะไมมีการแสดงออกถึงเอกลักษณทางวัฒนธรรม ประเพณี การแตงกาย ภาษาพูด อยางโดดเดนชัดเจน จนเปนที่รับรูทั่วไป แตสำหรับผูคนในทองถิ่นเดียวกัน แตอยูตางหมูบาน ก็มองกลุมลาวแงวแตกตางไปจากกลุมของตน และแนนอน แฝงไวดวย การดูถูกทางชาติพันธุที่ชาว “ลาว” ยังคงไดรับสืบทอดตอเนื่องมาตลอด จนกระทั่งปจจุบัน ผูศึกษาซึ่งเปนชาว “ลาวแงว”72 ไดสอบถามชาวบานในหมูบานใกลเคียงที่ไมมีเชื้อสายลาว เชน กลุมคนไทยแมน้ำ พวน และจีน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุที่อยูใกลชิดและเปนคนในทองถิ่นเดียวกัน เมื่อนึกถึงกลุม “ลาว” สิ่งที่นึกถึงเกี่ยวกับคนลาว มีลักษณะที่นา สนใจ ดังนี้ คนลาวตองกินปลารา คงเห็นวาคนลาวสวนใหญจะทำปลารากินเอง และเมื่อทำอาหารทุกครั้งตองมีสวนผสมของปลาราหรือ น้ำปลาราอยูในอาหารดวย และไมวาอาหารมื้อใดจะตองมีน้ำพริกปลาราบาง ปลาราสับบาง หรืออยางนอยที่สุดก็ตองทำน้ำปลารา ละลายพริกผง กินกับผักสดหรือผัดตม 72
รุจิรา เชาวนธรรม, มิถุนายน ๒๕๔๕.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
79
คนลาวสกปรก หากมองเขาไปในบานคนลาวเห็นวาไมมีการเก็บมุง กางอยูตลอดเวลา ดูวาสกปรกไมมีการซักตาก และเสื้อผา สวนใหญก็ไมสะอาด รวมทั้งเรื่องการทำอาหารตางๆ ก็ไมพิถีพิถันเทาเทียมคนกลุมอื่น มีความเปนอยูงายๆ บางทีเหมือนเปนคำดู หมิ่น กดกลุมลาวใหต่ำตอยลง หากถูกวากลาววา “ทำอะไรเหมือนลาว” จะหมายถึงการกระทำในความหมายที่ไมดีทั้งหมด เชน คนลาวชอบขอ เห็นอะไรของคนอื่นที่ตนไมมีก็ขอไมเกรงใจผูให หากใหนอยก็จะเอาจากผูอื่นมากๆ คนลาวทำนา ดูเหมือนอาชีพทำนาเปนเรื่องต่ำตอยของสังคมในประเทศไทยทั้งๆ ที่ขาวเปนอาหารหลักของคนไทยทุกคน และ การทำนาดูจะเปนสิ่งที่คูมากับกลุมชาติพันธุลาว เพราะอยูในพื้นที่เพาะปลูกในที่ราบที่อุดมสมบูรณ ชาวลาวแงวสวนใหญไม สามารถเปลี่ยนอาชีพมาทำอยางอื่นได โดยเฉพาะการคาขายนั้นไมอาจทำไดอยางสิ้นเชิง บางทีจะพบวาคนลาวถูกเอาเปรียบ ตลอดมาจากพอคาคนกลาง ทั้งที่เปนคนไทยและคนจีน เวลาขายขาวแลวไดเงินมาเหมือนกับไมคุมกับที่ลงแรงไป ดังนั้น นัยยะ ในการมองวา “คนลาวทำนา” ก็คือมองเปนวาเปน “คนจน” นั่นเอง และคนจนในสังคมไทยหมายถึงเปนผูที่ดอยโอกาส และเปน ชนชั้นที่ถูกดูถูกนั่นเอง คนลาวเอื้อเฟอ มีการแบงปน ไววางใจคนอื่นงาย คิดวาคนอื่นจะเหมือนกับตนและมักถูกคดโกงอยูบอยๆ คนลาวซื่อและอดทน ความรูสึกนี้คนกลุมอื่นมองคนลาวแงวไปรวมกับคนอิสาน คือ “ซื่อ” แตไมมีไหวพริบ ซึ่งเปนความหมาย ที่แตกตางจาก “ซื่อสัตย” และยอมทำงานหนักขยันขันแข็งอดทนในแบบที่คนกลุมอื่นไมทำ คนลาวขี้กลัวและตระหนี่ มักกลัว เชน กลัวเทคโนโลยีที่ตนเองไมมีความรูและไมแนใจ ตื่นตระหนกในทามกลางกระแสสังคมที่ กำลังเปลี่ยนแปลง และคนลาวสวนใหญมีที่ดินและทรัพยสินมากเพราะตระหนี่ ไมเหมือนกับกลุมชาติพันธุอื่นๆ เชน พวน ที่ชอบ ปลูกบานชองประณีตใหญโต แตงกายสวยงาม แตการทำมาหากินและการเก็บงำเงินทองไมอาจเทียบไดกับลาวแงว คนลาวมักทำ เปน เชย ไมถูกกาละเทศะ เชน ชอบพูดเสียงดัง ไมมีมารยาท มักชอบโวยวาย เรื่องมาก คนลาวมักถูกดูหมิ่น เมื่อลาวเปนคนกลุมนอย หากอยูในทองถิ่นหรือหมูบานใดมักถูกดูหมิ่นจากคนกลุมอื่นๆ ลาวที่อยูในกลุม คนพวน หรือลาวในหมูคนไทย หรือลาวไปเปนสะใภหรือเขยบานคนไทย คนจีน คนพวนก็จะโดนกดขี่ดูหมิ่นอยางมาก คนลาวเลี้ยงผี มีคนไทยมักเตือนลูกหลานหรือผูรูจักวา “เวลาไปบานลาวระวังผี คนลาวถือผี” ใหระวังตัว การพูดจา อยาไปกิน อาหารบานคนลาว เดี๋ยวจะไปผิดผีเขา ซึ่งเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนในอดีตจนทำใหกลุมลาวออกจะโดดเดี่ยวจากหมูบา นอื่นๆ ในกลุมคนไทยและพวน แตปจจุบัน ความหวาดกลัวนี้นอยลงเนื่องจากสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป โดยหมูบานไทยลาวที่ การติดตอสัมพันธกันมากขึ้น พระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน ซึ่งเปนคนไทยแมน้ำในทองถิ่นนี้ ใกลชิดกับกลุมชาติพันธุตางๆ มาโดยตลอด เพราะ วัดจันเสนเปนพื้นที่ขยายตัวจากการบุกเบิกที่ดินทำกินของคนกลุมตางๆ ดังนั้น จึงตองพบปะคนกลุมชาติพันธุตางๆ อยูเสมอ ให ความเห็นถึงคนเชื้อสายลาวแงววา l
“จากการพูดคุยกับคนลาว เขาเปนคนจุกจิก คิดเล็กคิดนอย ทำใหเปนเรื่องเปนราว ความคิดนี้ทำให เปนปญหาของชุมชน เกิดความขัดแยง แตถาถูกใจเขา อะไรก็ได ทุมเท เต็มที่ ถาไมถูกใจเขา จะพลิก
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
80
เลย จากหนามือเปนหลังมือ ถาดึงเขามาทำงานรวมกับวัดตามแนวทางที่ถูกตอง คือ ตองตามใจเขา จะทุมเทและรวมมือ e
มีความขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ ไมเหมือนคนแถบแมน้ำ ที่อพยพมาจากอำเภออินทรบุรี มา ใหมๆ ก็ขยันขันแข็ง ในการประกอบอาชีพดี แตบางคนก็หลงดื่ม หลงกิน หลงเลน ทำใหไมคอยได เก็บรักษาเงินทองเทาที่ควร ที่มาอยูแรกๆ มีทั้ง คนที่ประหยัดและฟุมเฟอย มีทั้งบวกและลบ
e
การประกอบอาชีพของเขามีบางคนสายตายาวไกล แสวงหาที่ดิน แสวงหาอาชีพใหม โดยมีชาวลาว แงวในบางชุมชนไปมีไรนา แถวอำเภอลำนารายณ อำเภอวิเชียรบุรี อำเภอหนองไผ ในจังหวัด เพชรบูรณ เพื่อเพิ่มพูนรายได จัดวามีสายตายาวไกล การรวมประเพณีของชาวลาวแงวกับวัดจันเสน ก็มี สารทลาว สารทไทย พิธีคลายคลึงกัน ทำบุญเสร็จแลวก็จะทำขวัญขาว ชวงเดือน ๙ เดือน ๑๐ ขาวกำลังงามใชได มีกระยาสารท หมากพลู ใสชะลอมไปปกที่ทองนา73
ในขณะที่คนเชื้อสายพวนซึ่งอยูในหมูบานเดียวกับคนเชื้อสายลาวแงว มองวา “คนลาวสกปรก ไมพิถีพิถัน” ในขณะที่ลาวแงวมอง พวนวา “ชอบแตงตัวสวยๆ งามๆ ขี้โอ ไมขยัน และถือตัวไวตัว และขี้โอในบางครั้ง” เหลานี้แสดงถึงการแบงกลุมดวยลักษณะ การดำรงชีวิตและพฤติกรรมที่แตกตางกัน ในคนตางกลุมก็จะมีวิธีคิดในการมองคนกลุมอื่นที่สงผานสืบทอดตอมาเรื่อยๆ ดังนั้น ความเปนกลุมชาติพันธุจึงไมอาจวัดเพียงเฉพาะประเพณีวัฒนธรรม ภาษาพูด หรือการแตงกาย ดังที่ไดกลาวไวแลว สำหรับกลุมคนเชื้อสายลาวแงวที่ผูศึกษาประมวลความคิดเห็นจากการสัมภาษณคนเชื้อสายลาวแงวในหมูบานตางๆ ในพื้นที่วิจัย พบวา ลาวแงวมองความเปนตนเองดวยความรูสึกนอยเนื้อต่ำใจ และรับทราบสิ่งที่ชาวบานกลุมอื่นๆ มองพวกตนวาเปนอยางไร โดยจะเห็นวามีการตอบโตวิธีคิดของคนกลุมอื่นๆ ที่มองพวกตนไวดวย ดังนี้ คนลาวก็เปนเหมือนคนไทยอื่นๆ จะใชคนลาวหรือไมใชคนลาว ก็เปนเชนเดียวกับคนทั่วไปในสังคมที่อยูในประเทศไทย มีทั้ง ลาวที่เปนคนดีและคนไมดี ไมดีในที่นี้หมายถึงสิ่งที่คนชาติพันธุอื่นๆ มองตนเองในเรื่องตางๆ ไมคิดวาเปนเรื่องแปลกเพราะไมวา คนกลุมใดก็เปนเชนนี้ทั้งนั้น ความรูสึกของคนลาวแงวก็คือ เปนคนไทยอยูในประเทศไทย จะแตกตางจากกลุมอื่นเพียงภาษาพูด ที่มีเฉพาะกลุมเทานั้น แตการแตงกาย การดำเนินชีวิต หรือการพูดก็สามารถพูดไทยไดดี ไมคิดวาแตกตางจากคนกลุมอื่นแต อยางใด ดังนั้น ลาวแงวจึงถือวาตนเปน “คนไทยที่แตกตาง” เทานั้น คนลาวสามารถพึ่งตนเองได เปนสิ่งที่คนลาวภาคภูมิใจมากกวาสิ่งอื่นๆ จากความขยันขันแข็งทำใหสรางฐานะมีหลักฐานมั่นคง มากกวาคนกลุมอื่น เชน สามารถเปนเจาของที่ดินขนาดใหญจนไดแบงใหลูกๆ ไดทั่วทุกคน มีการสรางบานเรือนใหญโต มีศรัทธา ในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และชวยเหลือกิจของสงฆ เสมอตนเสมอปลาย
73
สัมภาษณพระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน, ๑๖ เมษายน ๒๕๔๔
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
81
คนลาวแงวไมสามารถรวมกลุมได คนเชื้อสายลาวแงวใหความเห็นเรื่องที่ไมสามารถรวมกลุมได เชน คนพวนวา เพราะคนลาวก ลายเปนคนไทยโดยไมเหลือสำนึกของความเปนลาวกันหมดแลว และไมมีผูนำในการรวมกลุม ไมมีเงินทุนมากเหมือนกับพวนซึ่ง มีศูนยกลางของสมาคมชาวพวนที่บานกลวย และคนพวนก็เปนใหญเปนโตกันมากกวา74 เนื่องจากกลุมพวนมักไมไดเปนเจาของที่ดินรายใหญเหมือนลาวแงว จึงพยายามหาชองทางสงเสียใหลูกหลานเรียนหนังสือและ รับราชการมากกวารับมรดกทำงานในไรนา ซึ่งผลดังกลาวทำใหคนเชื้อสายพวนจากกลุมบานหมี่หลายคนเปนใหญเปนโตในวง ราชการ และขยายขอบเขตในสำนึกทางชาติพันธุออกไปอยางกวางขวาง จนในปจจุบัน คนลาวแงวมีความพอใจในตนเองแตขณะเดียวกันก็ยอมรับการเปลี่ยนแปลงโดยไมโตแยง ในทามกลางสภาพสังคมปจจุบัน แมชาวลาวแงวจะมีอาชีพสวนใหญเปนเกษตรกรทำไรทำนา ซึ่งยังคงรักษาความถนัดในอาชีพของตนสืบตอกันมา ปู ยา ตายาย เคยมีที่นา เคยมีฐานะดี แมในปจจุบันจะมีความยากลำบากมากขึ้นก็ไมไดยึดมั่นถือมั่น เพราะคิดวามีกับไมมีเปนของคูกัน วันนี้ ลูกหลานลาวก็สามารถดำเนินชีวิตได แมจะพบกับปญหาทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ แตก็ประคับประคองตนไดตามอัตภาพ แมบาง คนจะแปลกใจวาทำไมคนลาวไมเปลี่ยนอาชีพอยางอื่น ยังคงปลูกขาวอยางเดียว ทั้งๆ ที่ทำแลวก็ยังเปนหนี้อยู ทำไมไมคิด เปลี่ยนไปทำอาชีพอื่นอยางอื่น เหตุผลที่คนลาวยังตองทำนาเหมือนเดิม ไมอยากเปลี่ยนแปลงเพราะหากคิดจะทำอะไรใหมก็ตอง ลงทุน ตองเริ่มตนใหมทุกอยาง จึงไมอยากเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิตใหม ในขณะที่คนลาวบางกลุมตองการเปลี่ยนแปลง มีการไป ซื้อไรในแถบจังหวัดเพชรบูรณ เปลี่ยนไปทำ ไรขาวโพด ไรออย และโยกยายออกไปจากชุมชนเดิม แตในขณะเดียวกัน ความเปลี่ยนแปลงในสังคมและวัฒนธรรมในปจจุบัน ก็ไมไดทำใหเกิดความวิตกกังวลใดๆ เชน คนที่เปน ลาวแงวรุนหลังไมนิยมพูดลาว แตถาบานไหนมีปู ยา ตา ยาย อยูรวมกัน ลูกหลานก็จะพูดลาวได คนสูงอายุยังอยากใหเด็กรุน หลังพูดลาวเปนบาง แตก็คิดวาทุกสิ่งทุกอยางยอมมีการเปลี่ยนแปลง จะพูดลาวหรือไมพูดลาวความเปนอยูก็ไมไดแตกตางไป เพราะยังคงเปนลูกหลานลาวแงวเชนเดิม และการเปลี่ยนแปลงนี้ หากมีผลกระทบมาถึงการปรับเปลี่ยนอาชีพในทุกวันนี้ การทำ นาที่ปูยา ตายาย พอแม ทำกันก็เปลี่ยนไปเมื่อไดรับการศึกษา พอแมหวังใหลูกเปนเจาคนนายคน หลายครอบครัวมีลูกหลานไป ทำงานในหนวยงานราชการ ทำงานบริษัทก็มาก บางรับจางใชแรงงานทำงานหนักก็มี ลาวแงวในปจจุบันสงลูกเรียนหนังสือเพื่อให ไดงานทำเพื่อไมตองทำงานหนักเหมือนพอแม ตองการใหลูกหลานมีการเปลี่ยนแปลงจากที่เปนอยู ไมตองมาอยูที่บานของตน และผลักดันใหไปทำงานที่อื่น เพื่อชีวิตที่ดีกวา และหากตองปรับเปลี่ยนตัวเองและชุมชนไปในทิศทางนี้ กลุมลาวแงวก็ไมมีปญหา แตอยางใด เพราะตองการเปนสวนหนึ่งของความเปน “คนไทย” อยูแลว
สำนึกทางชาติพันธุและการดำรงอยูของกลุมลาวแงวในสังคมปจจุบัน สำหรับกลุมชาติพันธุลาวแงว เพื่อจะพิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลงและการดำรงอยูของกลุมในภาวะปจจุบัน ซึ่งพิจารณาจากการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง พบวามีลักษณะเดน ๒ ประการ คือ ๑. อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุของกลุมลาวแงว ผานทางความเชื่อเรื่องผี ซึ่งยังมีบทบาทสำคัญตอชีวิตผูคนและโครงสราง ทางสังคมของชุมชนอยางมาก
74สัมภาษณ
นายศิริ –นางบุญเทือง มีเกษร, อายุ ๕๒ ป อาชีพ ทำนา, ๓ หมู ๑ บานหนองเกวียนหัก ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๒ สิงหาคม ๒๕๔๕. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
82
๒. ผลกระทบตอชุมชนลาวแงวจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจของรัฐและความสัมพันธระหวางรัฐกับชุมชน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ อัตลักษณทางวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลง: พิธีกรรมและความเชื่อเรื่องผี อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุของกลุมลาวแงวที่สำคัญนับจากอดีตจนถึงปจจุบัน ที่แสดงถึงความเปนกลุมลาวแงวไดอยาง ชัดแจง คือ พิธีกรรมและความเชื่อเรื่องผี ที่ยังคงมีความบทบาทสำคัญตอชีวิตผูคนและโครงสรางทางสังคมของชุมชนอยางมาก นอกจากนี้ จากการสำรวจชุมชนลาวแงวในบริเวณศึกษา โดยเฉพาะหมูบานในเขตอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี พบวา ยังมีการให ความสำคัญกับประเพณีของชุมชนที่ยังมีหนาที่ทางสังคมอยูในปจจุบันและเปนประเพณีที่แสดงเอกลักษณของกลุมสังคมลาวแง วอยู คือ สารทลาว กลางเดือน ๑๐ สวนงาน เลี้ยงผีตาปู ในเดือน ๖ กอนงาน ทำบุญกลางบาน ในเดือน ๖ มักจะทำกันในวันพระ เดือน ๖ ที่ตอเนื่องกัน ก็เปนลักษณะทางวัฒนธรรมและความเชื่อที่แสดงถึงกลุมลาวแงวอยางชัดเจน การทำบุญสารท ซึ่งมีความหมายถึงการตอนรับฤดูกาลใหมเปนฤดูแหงการเก็บเกี่ยว ซึ่งสัมพันธกับการทำขวัญขาวเพราะชวงนี้ ขาวกำลังทองแกไดที่ เปนวิธีที่มองเห็นความสำคัญของตนขาวที่เสมือนหญิงสาวทองแกตองไดรับการดูแลอยางดี เปนชวงเวลาที่ สำคัญสำหรับชุมชนเกษตรกรรม ดังนั้น เทศกาลสารทจึงยังคงเปนชวงเวลาที่สำคัญของกลุมลาวแงว การเลี้ยงผีตาปู เปนการรวมกันทำบุญใหกับผีที่ปกปกรักษาชุมชน ซึ่งชาวบานเรียกวา “ตาปู” ซึ่งหมายถึงเปนบรรพบุรุษของพวก ตน เปนการทำบุญเพื่อแสดงความเคารพตอผีที่คุมครองหมูบาน ถือกันวาหากยังไมไดเลี้ยงตาปูฤดูกาลเริ่มทำนาก็จะยังไม สมบูรณ เปนการสรางความอุนใจสำหรับชีวิตตอไปในภายหนาจากการลงทรงและทำนายทายทัก แมจะมีความเปลี่ยนแปลงรูป แบบพิธีกรรมไปมาก แตหัวใจของการทำบุญเลี้ยงผีตาปูนี้ยังคงอยู นั่นคือ แสดงความเคารพตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกเหนือธรรมชาติ ที่คุมครองใหคุณแกชาวบาน ตราบใดที่ยังคงใหความเคารพยำเกรง ก็จะไมเกิดภัยอันตรายแตชีวิตของผูคนในชุมชนแตอยางใด และการทำบุญกลางบานซึ่งบางชุมชนก็เรียกวาทำบุญเบิกบาน การทำบุญที่ชาวบานทุกครัวเรือนจะมารวมกันบริเวณกลางลานวัด ในชวงวันเพ็ญ เดือน ๖ ชาวบานมีความเชื่อวาการทำบุญกลางบาน เปนการทำบุญเพื่อเปลี่ยนรางเสียเคราะห หรือที่เรียกวา เปนการทำบุญสะเดาะเคราะห โดยใชตุกตาและกระทงสามเหลี่ยมใสสิ่งของตางๆ สวนหนึ่งอุทิศใหกับผีบรรพบุรุษ โดยจะไปวาง ไวที่ธาตุเจดียตามวัด หรือบริเวณแพรงเพื่ออุทิศใหกับผีไมมีญาติ ซึ่งก็เปนรูปแบบเดียวกับกลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่ทำบุญสารท เดือน ๑๐ เพื่ออุทิศใหผีบรรพบุรุษ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมวัฒนธรรมในทองถิ่นตางๆ จะเห็นไดวา ทั้งสามพิธีเปนพิธีกรรมที่เลือกสรรแลวจากประเพณีสิบสอง เดือนที่สนิทแนนอยูในชุมชนหลายๆ แหงในกลุมวัฒนธรรมลาวซึ่งมีฐานเปนชุมชนเกษตรกรรม และยังคงมีความคลายคลึงกับ ประเพณีพิธีกรรมของผูคนในกลุมวัฒนธรรมแถบสิบสองปนนา (ลื้อ) - หลวงพระบาง ในกลุมชุมชนแถบชาติตระการ นครไทย นาแหว ดานซาย ภูเรือ ไปจนถึงเมืองเลย และกลุมชาติพันธุญอที่เคยมีถิ่นฐานอยูในแถบดินแดนสวนหนึ่งของสิบสองปนนา ที่ เนนในเรื่อง ความเชื่อเรื่องอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ เชน การเลี้ยงผี “ปู” การทำบุญใหแกบรรพบุรุษ ซึ่งควบคูไปกับความเชื่อ ในพุทธศาสนาซึ่งมีประเพณีการทำบุญในวาระโอกาสตางๆ แมจะเปนความสัมพันธที่ยังไมชัดเจน แตเราพอมองเห็นสายใยบางๆ ที่มีความคลายคลึงกันอยูในเบื้องตน ซึ่งเราอาจจะศึกษาถึงความสัมพันธดังกลาวตอไปในอนาคต ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
83
ความเชื่อเรื่องผี เปนอัตลักษณของกลุมลาวแงวซึ่งเปนที่รับทราบกันดีในทองถิ่น ฝงรากลึกอยูในชุมชนลาวแงวมานาน แบงออก เปนขั้วที่ตรงขามกันระหวาง ผีดี และ ผีราย ไดแก ความเชื่อ ผีตาปู ซึ่งเปนผีบรรพบุรุษ เปนผีดีที่ชวยปกปกรักษาหมูบานและลูก หลานในหมูบาน เมื่อถึงวาระในรอบปก็จะมีพิธีเลี้ยงผีตาปูครั้งหนึ่ง ใครจะบนบานสิ่งใดก็ตองมาแกบนจึงมีหนาที่ในการสราง ความมั่นใจใหเกิดขึ้นกับชาวบานดวย ในขณะเดียวกัน หากผูใดลวงละเมิดขาดความยำเกรงก็จะทำใหเกิดความเดือดรอนได สวนผีที่เปนขั้วตรงขามคือ ผีปอบ ซึ่งเปนผีราย มีทั้งที่เกิดจากการเรียนวิชาหรือเรียนไสยศาสตรที่นำไปใชในทางที่ผิดศีลธรรม และผีที่สืบทอดตอมาจากบรรพบุรุษที่ประพฤติไมดี การถูกกลาวหาวาเปนปอบมักจะเปนเรื่องใหญเสมอในชุมชนลาวแงวและ เห็นไดชัดวาเปนระบบควบคุมทางสังคมที่เครงเครียดและยังไมหมดไป แมสภาพสังคมในปจจุบันจะเปลี่ยนแปลงไปจนคนใน สังคมอื่นๆ คงไมอาจยอมรับได ผีด:ี ผีตาปู ชุมชนของคนในกลุมวัฒนธรรมไต-ลาว จะมีพื้นที่สาธารณะสำหรับปลูกศาลสี่เสาหรือตูบเล็กๆ ที่เรียกกันวาศาลผีหรือหอผี ซึ่ง เปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน สำหรับใชทำพิธีเลี้ยงผี ชุมชนในภาคอีสานหรือในประเทศลาวจะมีศาลปูตาในสถานที่ซึ่งเรียกวา “ดอนปูตา” ซึ่งเปนปาไมรกครึ้มขนาดกวางใหญอยู ใกลๆ กับชุมชน และมีประจำหมูบานแทบทุกแหง เรียกไดวาเปนปาของหมูบานที่ชาวบานรักษารวมกันและไมใชประโยชนจาก ดอนปูตานี้หากไมไดรับการยินยอมจากสวนรวม ชาวบานมักหวาดกลัวพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์นี้ และจะเขาไปเฉพาะมีงานพิธี เชน การ เลี้ยงผีปูตา เทานั้น ศาลปูตามีประจำทุกหมูบาน แตหากชุมชนนั้นมีขนาดใหญในระดับเมือง ศาลประจำชุมชนก็มักจะเรียกวา ศาลมเหสักข ซึ่งเปน หลักบานหลักเมือง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในระดับนี้ก็จะมีความซับซอนและเปน “ผี” ที่มีอำนาจใหญกวา “ผี” หรือสิ่งศักดิ์สิทธิในระดับ หมูบาน ในหมูบานลาวแงวมีการเลี้ยงตาปูซึ่งชาวบานถือวาเปนเจาบานหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประธานของหมูบาน เชื่อวามีการเลี้ยงตาปูมาโดย ตลอดตั้งแตครั้งที่อพยพมา ศาลตาปูของเดิมมักจะอยูกลางทุงนาหรือไมก็นอกชุมชนใกลกับหมูบาน ลักษณะเปนศาลไมขนาด เล็ก ใชเสาสี่เสาอันเปนลักษณะทั่วไปของศาลผี เพียงแตไมเหมือนกับในภาคอีสานหรือในลาวที่อยูในดอนปูตาเปนพื้นที่ปาครึ้ม แตศาลตาปูที่หมูบานลาวแงวถูกปรับเปลี่ยนพื้นที่สาธารณะจากที่เคยอยูนอกชุมชนและกลายเปนอยูทามกลางกลุมบานเรือน และโดยสวนมากมักติดกับหนองน้ำสาธารณะ เชน ลาวแงวที่ทองเอนนับถือ เจาปูละหาน”ซึ่งเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่รักษาหนองน้ำ ขนาดใหญของทองถิ่น อันมีกฎขอหามไมใหชาวบานใชอวนลากแตสามารถจับสัตวน้ำไดเพียงพอกินเทานั้น เปนที่นาสังเกตวา แม จะไมมีที่ดอนหรือปารกครึ้มเปนสถานที่ของหอผีปูตา แตชาวลาวแงวก็ใชหนองน้ำซึ่งเปนหนองน้ำสาธารณะ อันเปนสิ่งสำคัญของ ชุมชนในทองถิ่นนี้เปนสถานที่ตั้งของศาลผีตาปู เปนการปรับตัวตามสภาพแวดลอมในการตั้งถิ่นฐาน เพราะพื้นที่ในบริเวณหางจากลำน้ำเขามาภายในเขตที่ราบลอนลูกคลื่อนใน ลุมลพบุรี-ปาสักนี้ สวนใหญจะใชน้ำจากตาน้ำ และมีการขุดหนองน้ำหรือสระน้ำสาธารณะของชุมชนไวใชรวมกัน ซึ่งศาลตาปูแทบ ทุกชุมชนก็มักอยูใกลชิดกับสระน้ำสาธารณะของชุมชนดังกลาว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
84
ในกลุมลาวแงวแตเดิมจะเรียกสิ่งเคารพของหมูบานวา “ตาปู” ตางไปจากในอีสานหรือในลาวโดยสวนใหญเรียกวา “ปูตา” สวนใน เขตชาติตระการ นครไทย ในสวนที่ติดตอกับทางฝงซายของแมน้ำโขงเรียกวา “ปู” ยังไมมีคำอธิบายอยางแนชัดวา การเรียกชื่อที่ แตกตางกันของผีบรรพบุรุษของคนในกลุมไต-ลาวนี้ มีสาเหตุใดถึงเรียกชื่อตางกันเล็กนอย อยางไรก็ตาม วิธีคิดในการนับถือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ดังกลาวนั้นมีรูปแบบเดียวกันอยางชัดเจน เดิมชาวลาวแงวในชุมชนตางๆ เรียกผีที่ปกปกรักษาหมูบานเพียงในชื่อ “ตาปู” ปจจุบันมีอยูหลายหมูบานที่เปลี่ยนจากการเรียก ตาปูวาเจาพอในชื่อตางๆ ซึ่งสำรวจแลว พบวาชื่อ เจาพอสนั่น เปนชื่อของตาปูที่พบมากกวาชื่อเจาพออื่นๆ เชน บานหนองหิน ใหญ บานหนองเมือง ซึ่งเปนหมูบานลาวแงวดั้งเดิม และบานน้ำจั้นซึ่งเปนหมูบานลาวแงวที่ขยับขยายตอมา บางหมูบานที่ไมได เปลี่ยนเพราะมีเลากันวา เคยเรียกเปนอยางอื่นแลวเจ็บไขไดปวย สำหรับผูทำพิธีกรรม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวบานเรียกวา “จ้ำ” ทำหนาที่เปนตัวแทนของชุมชนติดตอสื่อสารกับผีปูตา ทำพิธีกรรมเกี่ยวกับผีปูตาและศาลที่อยูในดอนปูตา บางทีก็เรียกชื่อวา เฒาจ้ำ บาง มักเปนชาวสูงอายุที่มีความประพฤติดี อาจจะ คัดเลือกจากสายตระกูลหรือเสี่ยงทาย และชุมชนจะใหความเคารพศรัทธา จ้ำสวนใหญมักเปนผูชายเปนหญิงแทบไมมี แตตอมา ก็มีนางเทียม ซึ่งสวนใหญจะเปนรางทรงในการติดตอกับผีบรรพบุรุษอื่นๆ ซึ่งหากหมูบานใดมีนางเทียมก็จะอยูในตำแหนงที่ มี ความสำคัญนอยกวา สวนในกลุมลาวฝงตะวันตกและแถบเลยจนถึงดานซาย เรียกวา กวน หรือ เจากวน หรือไมบางแหงก็เรียกควบกันไปวา กวนจ้ำ ผูติดตอสื่อสารที่พบในปจจุบันจะถูกเรียกวารางทรงจะเปนหญิงชราหรือหญิงวัยกลางคน ซึ่งในบางหมูบานก็เปนหญิงสาวก็มี ชาวบานเชื่อกันวา “ผี” หรือ “เจา” ซึ่งเปนคำที่ชาวบานในปจจุบันเรียกกัน จะเขารางคนที่มีนิสัยใจคอหรือชีวิตความเปนอยูที่เรียบ งาย สภาพครอบครัวมีความสุข สมาชิกภายในครอบครัวรักใครกลมเกลียวกัน และอบรมใหลูกเปนคนดี ขยันทำมาหากิน และ ประกอบอาชีพสุจริต มีนิสัยใจคอเยือกเย็น รักษาความสะอาด ไมมีตำแหนง “จ้ำ” ที่เปนผูชาย นอกจากจะมีผูชวยในการทำพิธีซึ่งมีทั้งผูชายและผูหญิง การเปลี่ยนแปลงจากการนับถือ ตาปู เปน “เจาปู…” หรือ “ปู…” และตอมาก็เปน “เจาพอ…”ตามลำดับ นาจะไดรับอิทธิพลจากการทรงเจา ผูเปนรางทรงติดตอกับผีเจา พอก็ไมไดเรียกวานางเทียม การทรงเรียกวาการจ้ำแตเมื่อผีเขารางแลวก็เรียกวา “เทียม” เชนกัน ในหลายๆ หมูบานพอจะสืบคนไดวา การลงทรงหรือการจ้ำ หรือการเขาทรงในงานพิธีเลี้ยงผีในเดือน ๖ นั้น เพิ่งเริ่มขึ้นไมนาน เทาใดนักเพียงสิบกวาปที่ผานมา แตเดิมมีเพียงการเตรียมสิ่งของไปทำพิธีแบบงายๆ และบางหมูบานในขณะนี้ก็ไมมีการลงทรง แตอยางใด ตามปกติพิธีเลี้ยงผีของหมูบานตางๆ ในชุมชนลาวแงว ชาวบานจะเตรียมสิ่งของมาเลี้ยงผีประกอบดวย ขาว น้ำ ขนมหวาน ๒ คู หรือ ๔ ถวย ขนมหวานเหมือนขนมบัวลอยตมกับน้ำตาลแตไมใสกะทิ หมู ๑ หัว หรือ ๑ แถบ ไก ๑ ตัว หรือ ครึ่งตัว เหลา ๑ ขวดเล็กหรือขวดใหญก็ได บางคนมีน้ำอัดลม ธูป ๒ ดอก ของทั้งหมดใสผาขาว เรียกวา ๑ สำรับ มีขบวนกลองยาวคอยตีเปนระ ยะๆ แหจากในบานไปที่ศาล แลวนำไปวางไวภายในศาลตาปู ในการเลี้ยงผีตาปูนี้ผูรวมพิธีที่ใหความสนใจมากกวาเกือบทั้งหมด จะเปนผูหญิง การปรับเปลี่ยนผีประจำหมูบานจากตาปูเปนเจาพอ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
85
ลาวแงว บานหนองเมือง ตั้งศาลตาปูไวกลางที่หมูบาน เรียกชื่อวา ศาลเจาผีบาน และศาลเจาพอสนั่น ที่วัดหนองเมือง บานหนอง หินใหญ มี ศาลเจาปูสนั่น เปนศาลเกามาจากลพบุรี กอนทุกวันนี้คนทรงเปนผูหญิงอายุราว ๗๐ ป เปนคนดูแลเจาศาลเจาปู สภาพบริเวณศาล มีตนไมใหญ รมรื่น มีคลองสงน้ำขนาบซายขวา ดานหนาของศาลคือวัดบานหนองหิน มีตนไมใหญอยูเกือบ ๑๐ ตน บานกกโก เขาสามยอดในเมืองลพบุรี เลาวา ที่นี่นับถือผีตาปูและเชื่อวาไดเชิญมาจากเวียงจันทน บานโปงนอย ในเมือง ลพบุรี เรียกวา เจาพอหลวงสอน แตเดิมเรียก “ตาปู” แตเดี๋ยวนี้เรียก “เจาพอ” บานหนองเกวียนหัก อำเภอบานหมี่ มีศาลตาปู ชาวบานนับถือตาปูโดยไมมีการเขาทรงแตอยางใด หากชาวบานจะเดินทางไปไหนก็จะบอกกลาวเพื่อใหเกิดความอุนใจและ ปลอดภัย ที่ บานโปง ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ มี ศาลเจาพอทองคำ มีรางทรงมาแลว ๔ รุน เปนผูหญิงทั้งหมด บริเวณศาล ดานหลัวมีตนกามปูใหญ ถัดไปเปนสระน้ำที่ขุดใหม ดานหนาเปนที่พื้นวางสำหรับทำกิจกรรม ภายในศาลมีตุกตาหญิงชาย มา และไมทำเปนดอกบัวทำจากไมสะเดาซึ่งเปนสัญลักษณแทนปลัดขิกและพวงมาลัยมากมาย บานไผใหญ อำเภอบานหมี่ ศาลตาปู บานนี้อยูที่เดิมบริเวณใกลสระน้ำกลางทุงนาและไมมีชื่อตาปู หนาศาลมีสระน้ำ ชาวบานเชิญใหมาอยูในหมูบานหรือใกลๆ หมูบานแตก็ไมยอมมาทราบจากตอนเขาทรง เพิ่งมีการทรงมาสามรุน และไมเกี่ยวของกับพิธีกรรมเลี้ยงตาปู และศาลตาปู บาน น้ำจั้น ชาวบานตั้งศาลตาปูหรือ ศาลเจาพอสนั่น ไวกลางหมูบาน เดิมเปนศาลทำดวยไมเสา ๔ ตน ภายในมีมาไมมีรูปปนรูปชาย แกเปนสัญลักษณแทนตาปู การลงทรงเจาพอหรือที่ชาวบานปรับเปลี่ยนจากตาปูซึ่งเปนผีบรรพบุรุษใหกลายเปนผีในระดับเจาพอ นาจะมีความหมายในการ เพิ่มความศักดิ์สิทธิ์ เพิ่งปรากฏขึ้นเมื่อราวสิบกวาปที่ผานมา เจาพอในชื่อตางๆ มักจะปรากฏหลังจากมีการลงทรงและไมอาจสืบ ทราบวา มีการกระจายความเชื่อเหลานี้จากแหลงหรือชุมชนใดกอน lการเรียกชื่อวิญญาณศักดิ์สิทธิ์วา “ตาปู” แตเพียงเทานี้ ในความรูสึกของคนรุนปจจุบันนั้น ไมเพียงพอและดูขลังมากเทากับคำ วา “เจาพอ” แทบทุกชุมชนจะเปนเชนนี้ นอกจากบางแหงที่เลาวา ตาปูไมยอมปรับเปลี่ยนเปนเจาพอ แมชาวบานอยากจะเปลี่ยน เพราะเมื่อฝาฝนแลวก็เกิดภัยพิบัติแกหมูบาน และยังคงเรียกชื่อวาตาปูตอมา lในกระแสความเชื่อที่ซับซอนของผูคนในภาคกลาง ความเชื่อถือในอำนาจนอกเหนือธรรมชาติมีสัดสวนเพิ่มขึ้นตามสภาพการ บีบรัดทางสังคมและเศรษฐกิจที่เครงเครียดมากขึ้น ในความเชื่อดังกลาวจึงปรากฏอุบัติการณที่มี “เจาพอ” และ “เจาแม” เกิดขึ้น มากมาย โดยเฉพาะยุคเศรษฐกิจแบบฟองสบู เกิดตำหนักการลงทรงที่ไมสัมพันธกับความเชื่อดั้งเดิม ผีที่ลงทรงก็เปนผีในระดับ อดีตกษัตริยผูลวงลับไปแลว หรือบุคคลสำคัญในประวัติศาสตรหรือในตำนาน หรือผีที่อาจจะมีชื่อเสียงและเปนที่รูจักกันอยาง กวางขวาง ดวยเหตุผลดังกลาว จึงนาจะเกี่ยวของกับการปรับเปลี่ยนผีบรรพบุรุษของชุมชนลาวแงว จาก “ตาปู” ที่ไมมีชื่อเฉพาะ กลายเปน “เจาพอ” ในชื่อตางๆ โดยชื่อเฉพาะดังกลาวก็ยังไมทราบที่มาวา ทำไมจึงเรียกกันในชื่อเหลานี้ เชน สนั่น สอน หรือ ทองคำ โดย ชุมชนที่มีความสัมพันธทางเครือญาติก็มักจะนับถือเจาพอองคเดียวกัน ทั้งยังสรางเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับการมีบรรพบุรุษที่ อพยพโยกยายมาจาก “เวียงจันทน” เมื่อเกิดศึกสงครามในอดีต แมตนเองจะไมใชลาวเวียงก็ตาม เมื่อการเลี้ยงผีตาปูมีการลงทรง รางทรงในชุมชนตางๆ มักจะเปนหญิงชราหรือหญิงวัยกลางคน ไมปรากฏวาผูชายเปนเทียมหรือ รางทรงแตอยางใด ฝายหญิงที่เปนรางทรงนี้มักมีสถานภาพคาบเกี่ยวกับการเปนผูทำพิธีงานเลี้ยงผีตาปูของหมูบาน จากหมูบาน ในอีสานที่เฒาจ้ำหรือจ้ำที่เปนชายชราผูมีหนาที่เปนสื่อกลางติดตอกับผีบรรพบุรุษหรือในบางแหงก็เปนรางทรงดวยก็ถูกเปลี่ยน มาเปนหนาที่ของฝายหญิง ชุมชนบางแหงในเขตบานหมี่ยังมีตำแหนง “จ้ำ” อยู แตก็เปนเพียงผูชวยประกอบพิธี และในปจจุบัน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
86
แมแตในอีสานตำแหนงผูติดตอกับวิญญาณที่ลงทรงก็จะมี “นางเทียม” เพิ่มขึ้นมาอยูหลายแหงและมีบทบาทไมแพเฒาจ้ำหรือจ้ำ ที่เปนผูชายแตอยางใด lนาสังเกตวาการปรับเปลี่ยนชื่อจากการเรียก “ปูตา” ในอีสานหรือในลาว ก็เปลี่ยนเปน “ตาปู” ซึ่งขึ้นชื่อบรรพบุรุษในฝายหญิง กอน แสดงใหเห็นวา มีการปรับบทบาทและสถานภาพของเพศหญิงที่เกี่ยวของกับงานพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนใหมีความสำคัญ มากขึ้น โดยเฉพาะในชุมชนลาวแงวที่ตั้งถิ่นฐานในภาคกลาง จนถึงแมชุมชนในเขตหมูบานประมงที่มีสภาพเศรษฐกิจดีมากจน อาจจะกลาวาเปนอุตสาหกรรมขนาดยอมในครัวเรือน เชน ชุมชนที่บานปากยาม จังหวัดนครพนม จากการศึกษาของ อาภาภิรัตน วัลลิโภดม ก็พบวานางเทียมของชุมชนมีอยูถึงสองคน และมีบทบาททางสังคมและพิธีกรรมไมแพจ้ำผูชายแตอยางใด สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นบทบาทและสถานภาพของผูหญิงที่มีตอชุมชนมากขึ้น นอกเหนือไปจากครัวเรือน ก็ยังไดรับการยอมรับ แมเมื่อเกี่ยวของกับงานพิธีกรรมของชุมชนที่เกี่ยวกับความเชื่อเรื่อง “ผี” ดวยเหตุผลหลายประการ ทั้งในทางจิตวิทยาที่อาจกลาว วา มีความเชื่อวา เพศหญิงมีจิตใจที่ออนแอ สามารถสื่อและติดตอกับวิญญาณหรือผีไดมากกวาเพศชาย และความเชื่อเรื่องผี เปนความเชื่อที่เปนรองจากความเชื่ออยางเปนทางการคือ ความเชื่อในทางพุทธศาสนา สวนความเชื่อเรื่องผีมักจะอยูในความ สนใจของฝายหญิงมากกวาชาย ตางจากเพศชายที่มีบทบาทตอวัดในทางพุทธศาสนาที่ถือวาเปนความเชื่ออยางเปนทางการ รวมถึงการปกครองที่ผานอำนาจรัฐ ซึ่งในอดีตฝายหญิงแทบจะไมมีบทบาทตอชุมชนในเรื่องดังกลาว อยางไรก็ตาม บทบาทที่เพิ่มมากขึ้นของเพศหญิงนี้ นาจะมี ความสัมพันธกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบของการเขามาของทุนนิยมและวิถีการผลิตขนาดใหญแมจะเปนใน ระดับครัวเรือนก็ตาม สภาพสังคมและเศรษฐกิจในยุคปจจุบันสะทอนออกมาในรูปแบบของกรณีฝายหญิงมีบทบาทนำในการทำ พิธีกรรมมากขึ้น และเราสามารถเห็นไดเมื่อมองผานจากพิธีกรรมการเลี้ยงผีตาปูของชุมชน ผีราย : ผีปอบ ?ความเชื่อเรื่อง “ผี” นอกจากผีตาปู ผีไรผีนาซึ่งเปนผีดีที่ปกปกรักษาชุมชนหมูบานและผลผลิตในนาแลว ยังมีผีรายคือ “ผีปอบ” ในหมูคนลาวแงวยังมีความเชื่อและหวาดระแวง “ผีปอบ” อยูจนถึงปจจุบัน จนกลายเปนอัตลักษณที่มิไดสรางขึ้นและผูคนใน กลุมอื่นๆ ตางรับทราบและออกจะรังเกียจและกลัวในความเชื่อดังกลาวดวย lปอบเปนไดทั้งหญิงและชาย แตผูถูกเพ็งเล็งมักเปนหญิงแกมีอายุ หากมีคนเจ็บไขไดปวย ตายบอยๆ เปนไขตายหรือออกลูก ตาย จะมีคนถูกกลาวหา และเมื่อใครถูกกลาวหาวาเปนปอบก็จะถูกกีดกันออกจากสังคมของหมูบานนั้น ไมมีใครคบหาดวย แมความกลัวผีปอบจะมีมากในชุมชนคนลาว จนทำใหคนไทยที่อยูในละแวกหมูบานใกลเคียงหามปรามลูกหลานไมใหไปเที่ยว บานคนลาวเพราะกลัวผีจะมาเกี่ยวของดวย แมจะไมเขาใจที่มาที่ไปนักก็ตาม แตปจจุบันความหวาดกลัวและระแวงภัยจากผีใน ชุมชนลาวแงวเสื่อมคลายไปบางแลว นั่นแสดงถึงการรังเกียจหรือกลัว “ผีปอบ” ไมเพียงมีอยูเฉพาะในหมูคนลาว แตยังทำใหคน เชื้อสายอื่นๆ มองคนลาวอยางระแวดระวังและรังเกียจคนลาวจากเรื่องผีปอบนี้ดวย
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
87
การกลาวหา ถือวาเปนกระบวนการควบคุมทางสังคมอยางหนึ่ง เพื่อใหสังคมอยูในสภาพปกติในลักษณะเสมอภาค มีการสราง ความสัมพันธในระหวางคนในชุมชนหมายถึงรวมกิจกรรมของชุมชนอยางพรอมหนา ไมวาจะเปนงานพิธีกรรมหรืองานสาธารณะ สวนรวม ผูที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบมักจะมีลักษณะหรือความประพฤติในชวงชีวิตหนึ่งที่ไมเปนปกตินักสำหรับบรรทัดฐานของ สังคมในหมูบานลาวแงว เมื่อถูกกลาวหาวาเปนปอบก็มักจะนำอันตรายมาสูชีวิตตนเองและครอบครัว ทั้งกลายเปนคนที่สังคมใน ชุมชนเพิกเฉย ถูกปายความผิดในกรณีที่ไมอาจหาสาเหตุ ในกรณีที่ยกตัวอยางได ที่หมูบานลาวแงวแหงหนึ่งในอำเภอบานหมี่ มีครอบครัวหนึ่งถูกกลาวหาวาเปนปอบซึ่งเขาใจกันวาแมเปน มากอน หญิงผูนี้อยูกับพอแมมีบานเรือนไทยหลังคามุงแฝกฝาไมฟากหลังใหญมากแสดงถึงฐานะที่ร่ำรวยพอควร และเปนคนผู งามคือคนสวย แตงงานมาแลวครั้งหนึ่งกอนไปฟองหยาวาตนเองเปนหมันไมมีลูกจึงขอเลิกกับผัว ชาวบานเขาใจวาหาเหตุอยาก เอาผัวใหม พอเลิกแลวมีลูกติดคนหนึ่งเปนผูชายซึ่งปจจุบันยังมีชีวิตอยูอายุ ๗๕ ป ตอมาไดผัวใหมมีลูกอีก ๕ คน ชาวบานยัง นินทากันวา “บอกวาตัวเองเปนหมันเปนหยังมีลูกหลายแท” ตอนที่แมเธอตายชาวบานคิดวาปอบคงไมมีที่ไปและหญิงคนนี้คงรับ เอามา และเมื่อเธอตายไปแลวปอบก็มาอาศัยอยูกับลูกสาวตอมา ลือกันวาลูกสาวของหญิงคนนี้ตอนเชาไปนากลับมาตอนเย็นก็ ตายโดยไมมีเหตุ ชาวบานเชื่อวาปอบคงกินขางในมานานแลว และปอบก็ยังคงอยูกับลูกหลานตระกูลนี้ ชาวบานแชงใหคนที่เปนปอบใหตายๆ ไปเสีย เพราะทำใหเด็กๆ หวาดกลัว รวมไปถึงผูใหญดวย ทั้งเวลาเขาไปสิงใคร จะออกชื่อ วาอาศัยอยูกับคนนั้นคนนี้เปนการกลาวหากันตอกันเปนทอดๆ อีก ทำใหครอบครัวคนที่ถูกหาวาเปนปอบขายหนาเพราะความ กลัวที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบดวย การกลาวหาคนที่เปนปอบ มักจะเกิดจากเหตุการณใดก็ไดตามซึ่งชาวบานไมสามารถใหเหตุผลได เห็นไดชัดเจนวา ภาวะของ ความเปนปอบ คือ ภาวะของ การถูกกลาวหา”ผูที่ถูกกลาวหานั้นมักจะประพฤติตนตางไปจาก บรรทัดฐานหรือการคาดหวังของสังคมในชุมชนนั้นๆ เชน แปลกแยกเพราะร่ำรวย มีทรัพยสมบัติที่นามาก เปนคนที่ไมชอบของ เกี่ยวกับผูอื่นหรือมีบุคลิกเงียบๆ เก็บตัว ไมมีครอบครัวหรือเปนหญิงมากผัว หรือมีบรรพบุรุษที่เคยถูกกลาวหาวาเปนปอบมา กอน นาสังเกตวา คานิยมแบบผูหญิงยุคใหมในสังคมไทยที่สามารถพึ่งตนเองได มีชีวิตแบบปจเจกชน แยกยายไปอยูตางชุมชนหรือ ไมไดอยูเปนแบบมีชุมชนแบบดั้งเดิม เปลี่ยนคูควงเมื่อไมพึงใจ และมีชีวิตอยูกับการทำงานจนอยูเปนโสดนาน ซึ่งนาจะเปน คุณสมบัติขั้นพื้นฐานของการถูกกลาวหาวาเปนปอบในสังคมลาวแงวทั้งนั้น แตในชุมชนลาวแงวในปจจุบัน หญิงผูมีการศึกษาและสามารถพึ่งตนเองไดในสังคมยุคใหมก็มักจะโยกยายออกไปจากชุมชน ไป ทำงานตางถิ่น หรือมีครอบครัวที่อื่นซึ่งไมไดอยูในชุมชนเดิม จึงไมเห็นถึงผลกระทบเทากับผูที่ยังอยูในชุมชนเดิม โดยผูที่ยังคงรักษาวิธีคิดและความเชื่อในเรื่อง “ความเปนปอบ” ที่เปน “การกลาวหาผูอื่น” ในอดีตจะเพ็งเล็งไปที่คนที่มีคุณไสยที่ ประพฤติผิดศีลธรรมเปนไสยดำ หญิงที่มีมากกวาผัวเดียว และคนที่ไมยุงเกี่ยวกับเพื่อนบานกับกิจกรรมของชุมชน ก็จะถูกมอง วาเปนปอบ แมจะเสื่อมคลายไปบางก็ตาม โดยเห็นไดชัดวา ผูหญิงที่ถูกกลาวหาในปจจุบัน มักจะไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผูที่ถูกหาวาเปนปอบมักจะเกี่ยวกับความตึงเครียดในชีวิต มีความยากลำบากในการดำรงชีพ มีฐานะทางสังคมที่ดอยกวาผูอื่น และไมมีครอบครัวหรืออยูเปนโสดขาดการเลี้ยงดูเอาใจใสจากลูกหลาน หมกมุนกับปญหาของตัวเองจนตัดขาดออกจากสังคม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
88
ภายนอกก็จะถูกกลาวหาวาเปนปอบ เปนการปรับเปลี่ยนจากการถูกกลาวหาเพราะความประพฤติขัดกับบรรทัดฐานที่ถือวาดีงาม ของสังคม เชน อาจจะร่ำรวยเกินไป มาเปนบรรทัดฐานที่ถือในเรื่องความสำคัญทางเศรษฐกิจและสถานภาพทางสังคมที่วัดคุณคา ดวยฐานะทางการเงิน นาสังเกตวาปอบในปจจุบันกลายเปนคนที่อาจเลี้ยงตนเองไมไดและยากจน ซึ่งวิธีคิดที่แฝงการกลาวหานี้ เห็นไดชัดเจนวาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ปอบยังคงมีอยูในปจจุบัน เมื่อราว ๓๐ ปมาแลว ปอบเขาคนนั้นคนนี้บอยมาก ปจจุบันเปลี่ยนไปแมจะยังมีการเลาลือเรื่องปอบ อยู แตก็ไมพบวามีการเขากันบอยๆ เหมือนในอดีต นั่นหมายถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบความเชื่อไปตามสภาพสังคมสมัยใหม ซึ่ง มีชองทางติดตอกับโลกภายนอกไดอยางสะดวกงายดาย ไมจำเปนตองสรางกฎเกณฑการกลาวหามารองรับกระบวนการควบคุม ทางสังคมเชนในอดีต ซึ่งยังอยูในภาวะเปลี่ยนผาน จึงยังคงความเชื่อไวในกลุมคนบางสวนของสังคม และถูกเพิกเฉยและไมเชื่อ ถือจากกลุมคนอีกบางสวน และความลักลั่นในความเชื่อเรื่อง “ผี” เหลานี้ ยังคงอยูในชุมชนลาวแงวไปอีกนาน
ความสัมพันธระหวางรัฐกับชุมชน และผลกระทบตอชุมชนลาวแงวจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจของรัฐ ความสัมพันธของรัฐกับกลุมลาวทั้งในอดีตและปจจุบัน เมื่อถูกกวาดตอนมาเปนเชลยศึกสงครามใหมๆ มีบันทึกวาชาวลาวที่ถูกกวาดตอนมาโดยเฉพาะที่ไปอยู ณ เมืองสระบุรี มักจะ หลบหนีกลับบานเมืองเกาของตนไมไดขาด สวนใหญเปนกลุมยอยเล็กๆ หลบหนีรอนแรมเพื่อหาทางกลับไปอยูยังบานเกิดเมือง นอนของตน ทางการจะสั่งกรมการเมืองใหตามหาตัวตามบานราษฎรตามวัดวาอารามตางๆ จับกลับทำสวยสงหลวง เชน สวยเรว เพื่อใหทันกำปนบรรทุกไปขาย คนลาวในอดีตเมื่อเปนไพรหลวงจึงตองทำงานสงสวย รวมทั้งตองสรางชุมชนหมูบานของตนเอง ชีวิตที่มีภาระตอหลวงจึงเปนเรื่องที่คอนขางเครงเครียดและถูกกดขี่พอควร การที่รัฐใชวิธีการปกครองกลุมชาติพันธุตางๆ โดยใหกรมการเมืองที่บางเปนขุนนางกลุมเดียวกันและบางเปนขุนนางจากสวน กลางปกครอง แบงเขตการปกครองออกเปนหัวเมืองตางๆ โดยมีเจาเมือง ซึ่งจะมีตำแหนงลดหลั่นกันไป เชน ปลัดเมือง นายกอง ปลัดกอง นายรอย สมุหบัญชี สารวัต นายหมวด เสมียนกอง และเลก ซึ่งอยูภายใตระบบไพร75 และไพรลาวหรือเลกลาว เปนสิ่งที่มีคามากสำหรับราชสำนักและรัฐในสมัยตนรัตนโกสินทร เพราะเปนไพรหลวงที่ทำงานสงสวย โดยตรง จึงตองมีการสรางกฎเกณฑและระเบียบแบบแผนสำหรับชุมชนลาวไมใหเดินทางไดอยางใจนึก แมในระยะตอมา เมื่อมีการปรับปรุงการปกครอง ยกเลิกระบบไพร ในสมัยรัชกาลที่ ๕ กลุมลาวจึงมีอิสระในการบุกเบิกการทำมา หากิน แตอำนาจรัฐในการควบคุมดังกลาวก็ยังมีตอผลชุมชนลาวแงว ความสัมพันธระหวางเจาหนาที่หนวยงานของรัฐโดยเฉพาะ ฝายปกครองจึงเปนไปดวยความหวาดระแวงจากชาวบาน และสงผลจนถึงปจจุบัน คำบอกเลาจากชุมชนลาวแงว จะเกลียดและกลัวตำรวจมาก จนถึงปจจุบันก็ยังไมอยากเกิดเปนความที่ตองไปยังสถานที่ราชการ เพื่อติดตอ โดยเฉพาะสถานีตำรวจหรือการขึ้นโรงขึ้นศาล
75
บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร, กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทนายัลธรรมศาสตร, ๒๕๔๑, หนา ๑๑๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
89
กอน พ.ศ.๒๕๐๕ มีหลายกรณีที่ทำใหชาวบานลาวแงวไมอยากเขาไปยุงกับอำนาจของรัฐผานทางกำนันผูใหญบานที่ไมใชกลุม ชาติพันธุเดียวกับตนและพวกตำรวจ เชน ชาวบานมักถูกจับในขอหาตมเหลาเถื่อนกันอยูเสมอ และเอาเถิดเจาลอกับตำรวจอยูเปนประจำ แตหากถูกจับไดก็จะยอมความ หรือติดสินบนตำรวจไป ตำรวจจับไปแลวเสียเงินใหแลวก็กลับมาตมอีก เพราะเปนอาชีพเสริมเพียงอยางเดียวและสามารถขายได เรื่อยๆ บางครั้งหากไปซื้อขายขาวในตลาดกับคนจีนก็จะถูกโกง ชาวบานมักมองวาทั้งตำรวจและกำนันจะเปนฝายเขาขางคนจีนที่เปน นายทุนในตลาด ถาชาวบานเมื่อมีเรื่องกับตำรวจและถูกยิงตาย บางคนที่โดนลูกหลงก็ตายฟรี เปนเชนนี้เพราะญาติไมกลาเอา เรื่อง เมื่อมีการตีหญิงคนหนึ่งตายดวยเขาใจวาเขาเปนปอบ เมื่อตีแลวก็หลบซอนตัวกอน จากนั้นจึงติดตอกับตำรวจ เสียเงินใหกับ ตำรวจเมื่อราว ๔๐ ปกอน ๘,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนเงินจำนวนมาก เรื่องราวก็จบไป กรณีพิพาทระหวางชาวบานกับตำรวจคนของรัฐ ชาวบานมองวาจะถูกกลั่นแกลงไดงาย มีเรื่องที่ไรก็ตองเสียเงินทุกทีและตองเปน ฝายเสียเปรียบอยูตลอดเวลา ทำอยางไรก็ไดใหอยูหางตำรวจไวใหมากที่สุด มีหลายคนที่ฐานะแยลงเพราะไปมีเรื่องกับตำรวจ หรือถูกกลั่นแกลง อีกทั้งคนของรัฐมักใชอำนาจที่มีอยูไปหาผลประโยชนใสตัวเองจากชาวบาน การรักษาสิทธิและการมีเสรีภาพ เปนเรื่องไกลตัวของชาวบานสมัยกอน เนื่องจากรัฐขาดการประชาสัมพันธหรือชาวบานยังไมรูจึงละเลยสิทธิที่ควรไดรับ กอน พ.ศ.๒๕๑๔ ไมมีผูปกครองสนับสนุนใหลูกหลานเรียนหนังสือ ในระดับประถมศึกษาในหมูบานขนาดกลางๆ แตละชั้นปมี นักเรียนไมถึง ๒๐ คน และสงใหเรียนตอกันนอยมากเพราะเชื่อวาผูที่มีการศึกษาก็ไมเห็นจะไดงานดีแตอยางใด ชาวลาวแงวกอน หนานั้นจึงจะจบการศึกษาเพียงประถม ๔ จากนั้นก็ออกมาทำนา แตปจจุบันสถานการณเปลี่ยนไป เนื่องจากที่ดินทำกินลดลงและ มองวา การไมมีการศึกษามากพอจะเกิดความลำบากในการดำเนินชีวิต ถูกเอารัดเอาเปรียบอยูตลอดเวลา จนแมจะมีโรงเรียนชั้นประถมในหมูบาน แตชาวบานที่หมูบานใกลเมืองก็ไมนิยมใหลูกหลานเรียนในหมูบาน แตจะใหนั่งรถสอง แถวไปเรียนในเมืองมากกวา เพราะไมศรัทธาหรือไววางใจการจัดการศึกษาในชุมชน หากมีทางเลือกที่ดีกวาก็มักจะเลือกดังทาง ดังกลาว การสนับสนุนใหลูกหลานเรียนหนังสือก็เพราะไมอยากใหลูกหลานทำนาเหมือนตน เพราะลำบาก เสี่ยงตอการถูกกด ราคา ทั้งภัยธรรมชาติ อยากจะใหเปนเจาคนนายคน ปจจุบันขาวสารของทางราชการมีการประชาสัมพันธ ทั้งทางวิทยุโทรทัศนและหอกระจายของหมูบานทำใหชาวบานไดรับรูเรื่อง ราวที่เกี่ยวของกับตนเองมากขึ้น คนที่มีอายุ ๗๐ ปลงมาสวนมากสามารถอานหนังสือได บางคนมีความคิดกวางขวางเห็น แนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดีงามและสามารถนำมาปรับใชในชีวิตประจำวัน ถาเปนหมูบานที่ไมใชลาวแงวทั้งหมูบานการมีกำนัน เปนคนแงว ทำใหใกลชิดกับกลุมของตน รักษาผลประโยชนของคนในหมูบาน คอยดูแลชวยเหลือลูกบานทุกหมูบาน มีความเปน กันเอง โอกาสที่จะแสวงหาผลประโยชนใหตนเองแทบไมมีเลยอีกทั้งตำแหนงผูใหญบาน กำนัน ไดมาจากการเลือกตั้ง มีกำหนด ในการดำรงตำแหนงวาระ ๔ ป จะเลือกตั้งกันใหม
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
90
ในชุมชนลาวแงวเมื่อมีการเลือกตั้งกำนัน ก็มีทั้งคนไทยและคนลาวไดเปนกำนันสับเปลี่ยนกันไป ชาวบานจะเลือกกำนันหรือ ผูใหญบานโดยมีเกณฑ คือ จะมองวาสามารถชวยเหลือลูกบานไดอยางไร มีฐานะหรือไม นิสัยใจคอ ภูมิหลังของพอแม มีความ เอื้ออาทรหรือไม และจะไมเวนที่จะกลาวถึงเชิงลบ ถาเปนผูนำที่ทำหนาที่บกพรอง ในปจจุบันมีการกระจายอำนาจปกครองในระดับตำบล และเกณฑในการเลือกตั้งกรรมการองคการบริหารสวนตำบล มักจะเลือก จากฐานะความมั่งคั่งวามีหรือไม การกลาพูดกลาทำเปนตัวแทนรักษาผลประโยชนใหไดหรือไม หรือหากไมมีฐานะก็จะดูที่ความ ขยันขันแข็ง มีความตั้งใจจริง ใหขอมูลขาวสารของทางราชการทุกครั้งที่ไดรับเรื่องมาเพื่อรักษาผลประโยชนของชุมชน ซึ่งเปนธรรมชาติของสังคมไทยในปจจุบันไมตางจากการเลือกตั้งผูแทนราษฎรเทาใดนัก ที่จะเลือกคนฐานะร่ำรวยเพราะคิดวามี อำนาจและบารมี ที่สามารถแสวงหาสิ่งที่เปนผลประโยชนใหกับกลุมของตนได โดยไมพิจารณาถึงเงื่อนไขอื่นๆ ความเชื่อดังกลาว เปนเหตุใหเกิดการคอรับชั่นจากคนกลุมดังกลาวไดงาย ในหมูบานของลาวแทบทุกกลุมจะมีผูนำที่ไมใชทางการจัดสรรมา คือผูนำชุมชนที่ไมเปนทางการซอนอยู เชน ผูที่ประกอบอาชีพ โดยสุจริต ผูที่มีการพึ่งตนเองไดมากที่สุด ผูที่มีความขยัน ผูมีฐานะทางเศรษฐกิจดี เชน มีนามากกวา ๕๐ ไร หรือผูที่ทำมาหากิน โดยไมตองเชาจากนายทุนอื่น เพราะในหมูบานก็จะมีผูมีฐานะร่ำรวยจนกระทั่งเปนนายทุนเงินกู โดยเมื่อถึงหนานาก็จะรับซื้อขาว เปลือกพรอมทั้งหักดอกเบี้ยกันทันที ผูนำชุมชนของลาวจะถูกมองจากคนนอกกลุมเชน คนไทยวา ในอดีตนั้นไมคอยจะ “พัฒนา” นัก แตปจจุบันนี้เขาพัฒนาตนเอง กันมาก76 ความหมายของการพัฒนานี้ คือ รับรูขอมูลขาวสารจากราชการทันทวงที มีลักษณะทันคนหรือฉลาดขึ้น มีความ สามารถทัดเทียมกับกำนันผูใหญบานซึ่งเปนคนในกลุมชาติพันธุอื่นๆ ปจจุบันความสัมพันธระหวางรัฐกับชาวบานเปลี่ยนไป อีกทั้งขาราชการ ตำรวจ ทหาร ครู ในปจจุบันก็เปนลูกหลานของคนลาวใน หมูบาน จึงเห็นเปนบุคคลธรรมดา ไมไดนากลัวดังแตกอน และความรูเทาทันดังกลาว ชาวบานเชื่อวาเจาหนาที่ของรัฐจะมารีดไถ ไมไดอีกตอไป
การพัฒนาของรัฐกับผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจตอชุมชนลาวแงว พื้นที่ของชุมชนลาวแงวแตแรกเริ่มเปนการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นอันอุดมสมบูรณ ดังนั้น การทำนาจึงเปนอาชีพหลักกอนที่จะมีการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมที่นับไดจากการขุดคลองชลประทานเจาพระยา-ปาสัก การทำนาเปนการผลิตตามฤดูกาลและวิถีชีวิต ก็ขึ้นอยูกับวงจรการผลิตเชนนั้นดวย หนารอนหรือยามวางจากงานนาผูหญิงจะทอผา ผาที่ทอไมใชซิ่นหมี่แบบพวนแตเปนผาฝาย ธรรมดา นิยมทอเปนผาขาวมาหรือผาสำหรับทำหมอนและผาหม การทอผาเพื่อไวใชในครอบครัวไมไดทอเปนอาชีพเสริมแต อยางใด สวนฝายชายยามวางมักจะสานเครื่องมือจับปลาแบบตางๆ หรือสานกระบุง ตะกรา เอาไวใชในครัวเรือน ถึงหนาฝนก็หวานกลาดำนา การเตรียมดินหากทำนาปละครั้งใชขี้วัวใสนาก็เพียงพอ ขาวพันธุดั้งเดิมที่ปลูกก็จะมี พันธุเหลือง นางงาม พันธุหนามล พันธุทองมะเอ็ง พันธุขาวคด พันธุสายบัว ซึ่งจะมีลักษณะพิเศษตนขาวจะยืดตามน้ำเมื่อน้ำหลากในเดือน
76
สัมภาษณพระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน, ๑๖ เมษายน ๒๕๔๔
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
91
๑๐ พันธุขาวปอม ซึ่งเปนพันธุขาวเจา ซึ่งจะใหผลผลิตราวๆ ๕๐–๗๐ ถังตอไร เมื่อถึงหนาน้ำก็จะมีเรือมาซื้อขาวตามชุมชนที่ลำน้ำ เชื่อมถึงเปนเรือมาดของพอคา บรรทุกไดครั้งละหนึ่งเกวียนครึ่งถึงสองเกวียน หากนำขาวไปขายเอง ก็จะลองไปตามคลองธรรมชาติขายตามโรงสีริมน้ำในอำเภอบานหมี่ตอไปจนถึงมหาสอน ซึ่งมีโรงสีของชาว จีนอยูมากมาย โรงสีกลางซึ่งเปนโรงสีใหญและใหราคาคอนขางมาตรฐานมีอยูสองสามแหง แถววัดปฐมพานิชและหนาโรงเรียน บานหมี่วิทยา เปนโรงสีของคนจีน มีนายหนาของโรงสีมาซื้อมีการตกลงกันเรื่องการขนถายระหวางผูซื้อกับผูขาย กลไกตลาดของ ราคาขาวขึ้นอยูกับผูซื้อซึ่งมักจะตั้งราคาเอง หากพอใจก็ขายถายังนอยหรือถูกจะไมขายเก็บไวกอน เพราะบางครอบครัวมีการ ครอบครองที่ดินมากบางทีถึง ๔๐๐–๕๐๐ ไร ซึ่งภายหลังการถือครองที่ดินก็นอยลง เพราะการแบงมรดกใหลูกหลานและถูกขาย ผานมือเปลี่ยนเจาของไป การปรับตัวครั้งใหญของชนชั้นปกครองในสังคมไทยกับกระแสทุนนิยมภายนอก นับแตเริ่มสนธิสัญญาเบาวริ่ง (พ.ศ.๒๓๙๘) ไดเปลี่ยนวิถีการผลิตจากการผลิตพอยังชีพมาเปนการผลิตเพื่อขายและไดเปดระบบเศรษฐกิจของไทยเปนระบบเศรษฐกิจแบบ เสรีมากขึ้น เกื้อหนุนใหเกิดการสะสมทุนของผูที่มีโอกาส ไดแก ขุนนาง ชาวตะวันตก ชาวจีนอพยพที่มีโอกาสดีกวาคนไทยหรือผู อพยพชาวลาวที่เคยเปนไพรหลวงโดยไมตองผูกพันกับระบบไพร ในขณะเดียวกัน ปญหาการปกครองภายในรวมถึงผลกระทบจากปจจัยภายนอก ทำใหเกิดการกำเนินการยกเลิกระบบไพรในชวง พ.ศ.๒๔๑๑–พ.ศ.๒๔๕๓ นับเปนความสำเร็จในการแกปญการปกครองและปญหาทางเศรษฐกิจของสถาบันกษัตริยและขุนนาง มากกวาที่จะมีผลดีกับระบบเศรษฐกิจของไพรหรือประชาชนโดยสวนรวม เพราะรัฐมิไดแกปญหาในการผูกขาดจากกลุมทุนที่มี โอกาสพัฒนากลไกตลาดเสรีและวิธีการดำเนินธุรกิจใหเอื้อกับกลุมของตน77 การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลกระทบอยางจริงจัง เห็นไดชัดในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของภาคกลางตอมา78 ในชวงเวลาเดียวกันนี้เองที่เกิดการขยายตัวของชุมชนและผูคนกลุมตางๆ เขาไปสูพื้นที่ภายใน บุกเบิกที่นาเพื่อทำนาจากดงจาก ปาใหเปนผืนนา ซึ่งเปนชวงที่กลุมลาวแงว พวนจากชุมชนเดิมขยายไปสูชุมชนใหมเชนเดียวกัน วิธีการบุกเบิกที่ดินถากถางปาของ ผูเขามาใหม ซึ่งสวนมากเปนปาไผจึงตองเผาปาและทำนาหยอดหลุมกอนเนื่องจากตอไมเยอะ ตอมาก็ใชชางไถนาจนตอไมหมด ไป จึงนำควายมาใชในภายหลัง 79 แมการบุกเบิกที่ทำกินจะทำใหชาวนาเปนเจาของที่ดินผืนใหญจำนวนมาก ตอมามีการแบงขายบาง แบงเปนมรดกบาง ทำใหการ ครอบครองที่ดินกระจายเปนรายยอย และ ชาวนาในภาคกลางเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็เปลี่ยนผานจากระบบเศรษฐกิจ แบบยังชีพอยางรวดเร็วเปนการผลิตจำนวนมาก
77ปยะฉัตร
๑๗๑-๑๗๖.
ปตะวรรณ. ระบบไพรในสังคมไทย สำนักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ, ๒๕๒๖ กลาวในบทสรุป หนา
78รายละเอียดเห็นไดจาก
การนำเสนอขอมูลสัมภาษณการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจและสังคมแบบพอยังชีพไปสูเศรษฐกิจเพื่อ การขายในชุมชนภาคกลางในชวงป พ.ศ.๒๓๙๘–พ.ศ.๒๔๗๕ ฉัตรทิพย นาถสุภา. เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต สำนักพิมพ สรางสรรค กรุงเทพฯ, ๒๕๓๓ 79
สัมภาษณ พระครูนิวิฐธรรมขันธ (เจริญ) เจาอาวาสวัดจันเสน, ธันวาคม ๒๕๓๖
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
92
ในราว พ.ศ.๒๔๙๘ เริ่มมีการขุดคลองชลประทานสายใหญเจาพระยา-ปาสัก หรือคลองอนุศาสนนันทน นอกจากนี้ยังมีการขุด คลองชลประทานเล็กๆ แยกยอยกันเปนเครือขายกางปลา ทั้งที่เปนคลองหรือลำน้ำแตเดิมก็ถูกปรับใหเปนคลองชลประทาน ใน ขณะเดียวกัน การสรางเขื่อนเจาพระยาและเขื่อนภูมิพล มีผลอยางยิ่งตอลำน้ำสายในทางฝงตะวันออกของเจาพระยาดวย เพราะ ทำใหการหมุนเวียนของน้ำมีไมเพียงพอ ลำน้ำสายเดิมๆ ที่เปนหัวใจของชุมชนในแถบบานหมี่ บางขาม ทาวุงจึงหมดความสำคัญ ลง
ภาพที่ ๑๙ แรงงานในการเกษตรปจจุบัน เปลี่ยนเปนใชเครื่องจักรกลแทบทุกขั้นตอน ในภาพ เปนการขนขาวเพื่อนำมาตากแดดลดความชื้น การขนขาวหากตองจาง คิดราคาถังละ ๑ บาท
การทำนาเพียงครั้งเดียวก็ไมพอเพียงกับคาใชจายเสียแลว จึงตองพึ่งพาเงินจากพอคาชาวจีน จนเกิดวิธีการตกขาวและตกหนี้ การตกขาวคือการรับซื้อขาวจากชาวนาที่เปนลูกหนี้หรือเชาที่ดินของพอคาในราคาถูกกวาราคาตลาด เปนการบังคับซื้อเพื่อ เปนการหักหนี้ สวนการตกหนี้หรือตกเงิน คือการออกเงินใหชาวนากู โดยคิดดอกเบี้ยสูงๆ หรือบางครั้งมีการเพิ่มจำนวนเงินให สูงขึ้นโดยที่ชาวนาไมรู สวนมากใชโฉนดที่ดินจำนองและมักจะขาดจำนอง วิธีการเหลานี้ ทำใหชาวนาจำนวนมากสูญเสียที่ดิน ของบรรพบุรุษไป และเปนชาวนาที่ไมมีที่ดินของตนเอง การเปลี่ยนมือเจาของที่ดินซึ่งเกิดขึ้นมาไมต่ำกวา ๕๐–๖๐ ปแลว ในปจจุบันชาวนาลาวแงวและชาวนาอื่นๆ มีที่นาจำนวนนอยลง และเปลี่ยนเปนการทำนาโดยไมเกี่ยวของกับฤดูกาล เพราะทุก ครั้งชลประทานปลอยน้ำมาก็จะ ไถ คราด หวานขาวทันที โดยใชปุยเคมี ฉีดยาฆาหญา ฆาแมลง การไถ การหวาน การจางรถ เกี่ยว กลายเปนกิจกรรมเรงรีบทั้งนั้น บางรายที่ไมมีเงินทุนตองกูเงิน ธ.ก.ส. นำเงินมาซื้อสิ่งของอุปกรณทำนา เชน บานหนึ่งเลาวา ตองซื้อปุย ๓ ตันราคา ๒,๑๐๐ บาท ยาฉีด ยาฆาแมลง ยาฆาหญา ราวๆ ๕๐๐ บาท คาเกี่ยวขาวไรละ ๓๐๐ บาท ๕๐ ไร รวม ๑๕,๐๐๐บาท คาเชานาอีก ๑,๒๐๐ บาท แตละครั้งก็มีตนทุนเยอะ ตามบานตางๆ มักมีอาชีพเลี้ยงวัวเสริมไวขายเปนวัวตัวผู เพราะการทำนาอยางเดียวมีรายไดไมพอคาใชจาย บานหนึ่งๆ เลี้ยงกันราว ๑๐ ตัว ๖-๗ เดือนจึงจะขาย ประมาณตัวละ ๘,๐๐๐ บาท ในปจจุบันชาวบานทำนาทั้งที่เปนนาของตนเองและนาที่เชาผูอื่นเกือบครึ่งตอครึ่ง เชน นาตนเอง ๒๕ ไร นาเชา ๑๘ ไร โดย คาเชาไรละ ๕๐๐ บาทตอป เปนตน80
80
สัมภาษณนายสา นางปน อินรุณ, อายุ ๗๕ ป, ๔๓ หมู ๘ บานโปงนอย ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
93
สำหรับคนที่หมดที่นา เนื่องจากการฝากขายที่นากับนายทุน ก็กลับมาเปนผูรับจางและใชแรงงาน เชนรับจางไถนา รับจางหวานปุย รับจางขับรถไถ หรือแลวแตวาใครจะจางไปทำงาน โดยคาแรงขั้นตำประมาณ ๑๐๐ บาทขึ้นไป แตชาวบานบางแหง เชน บานหนองหินใหญ ในอำเภอบานหมี่ กลุมคนอายุราว ๔๐ ปขึ้นไปจะซื้อรถมือสองมาวิ่งรับสงผักหรือผล ไมที่ตลาดไทหรือตลาดสี่มุมเมือง ชาวบานรุนนี้สวนหนึ่งไมทำนากันแลวเพราะรายไดไมพอใช มีการแนะนำใหทำนาสวนผสมขึ้น สำหรับคนที่มีที่นานอยๆ และสวนสมซึ่งมีการเชาที่ดินที่เคยเปนที่นาแลวทำการเปลี่ยนสภาพยกรองใหเปนสวนสม ซึ่งมักมี สัญญาเชากันประมาณ ๒๐ ป แมอาชีพหลักของชาวลาวแงวในปจจุบัน คือ ทำนา แตก็มักมีอาชีพเสริม เชน ทำสวน เลี้ยงสัตว ปลูกผัก คาขาย ยามวางจากทำนาบางแหงเชนในตำบลทองเอนจะเย็บงอบ เปนสินคาของตำบลที่สำคัญ บางแหงก็จะทอผาใน กลุมสตรีที่เริ่มมีการทำขึ้นใหม แมบานที่อยูวางรับเย็บผาโหล ซึ่งไดคาจางโหลละ ๒๐–๒๕ บาท หรือถักคอเสื้อคอกระเชา ไดตัว ละ ๓ บาท นักเรียนที่จบมัธยมตนจนถึงมัธยมปลายมักจะทำงานที่บริษัทมินิแบ ไปทำงานกรุงเทพฯ เปนทหาร ตำรวจ ครู ปะปน กันไป
ภาพที่ ๒๓ และ ภาพที่ ๒๔ การทำสวนสมในพื้นที่ทำนาของนายทุนสวนสมจากปทุมธานี โดยเชาที่ ของชาวนาในระยะ ๒๐ ป และใหคาเชามากกวาคาเชานาอยางเทียบไมติด โดยไมมีการจางแรงงานจาก ชาวบานแตอยางใด พื้นที่ทำสวนสมเปนพื้นที่อุดมสมบูรณดวยระบบชลประทานอยางดี และหากชาวนา รายใดไมใหเชาที่ก็มักจะปลูกขาวไดยาก เพราะถูกลอมรอบดวยสวนสม และมีปญหาในเรื่องน้ำและการใช ยาฆาแมลง
แมวาการทำสวนสม จะมีอยูรายรอบหมูบาน ไมปรากฏวามีการจางแรงงานในหมูบานน้ำจั้นเลย บางสวนจำนำแรงงานมาจากตาง ถิ่นโดยมาจากภาคอีสานเปนสวนมาก รอบหมูบานที่มีลาวแงวอยูจะมีการเชาที่ขนาดใหญเพื่อทำสวนสม นับจากบานหนองหินใหญ บานไผใหญ บานโปรง บานน้ำจั้น บางคนที่มีนาเปนของตนเองไมอยากใหเชาทำ แตก็มีการลอมรอบที่นาจึงจำใจตองใหเชาระยะ ๒๐ ป เพราะนายทุนสวนสม ตองการเชาที่เทานั้น เปนที่นาสังเกตวานาเหลานี้เปนนาเชา เจาของที่ดินยังตองการใหทำนามากกวา แมวาจะไดคาเชาเพียงไรละ ๕๐๐ บาทตอป แตผูเชานาจายเงินไมตรงตามกำหนดและมักตอรองกับเจาของนา ทำใหเจาของนาตัดความรำคาญยอมใหเชาทำ สวนสม การเชาสวนสมจะมีวิธีการ คือ ถาเชาที่ ๒๐ ไร คาเชาที่ไรละ ๒,๐๐๐ บาทตอป รวม ๒๐,๐๐๐ บาทตอป หากที่ดินใครมี การเชาอยูกอนก็จะจายคาออกจากนาไรละ ๑,๐๐๐-๒,๐๐๐ บาท โดยกอนทำสัญญาจายมัดจำในราคาไรละ ๒,๐๐๐ บาท การจาย คาเชาจาย ๕ ป ตอ ๑ ครั้ง จนครบสัญญา หมายความวาที่ดิน ๒๐ ไร เมื่อครบ ๕ ปก็จะตองจาย ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนคา ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
94
ตอบแทนที่ดูแนนอนและมีมูลคาสูงกวาการใหเชาที่ทำนาแบบเดิม แตเจาของที่ดินไมแนใจวา เมื่อครบ ๒๐ ป จะใชที่ดินไดดัง เดิมหรือไม ชาวบานบางคนกลัวสารเคมีที่มากับสวนสม และบางบานที่อยูใตลมก็เริ่มมีปญหากันแลว และกลัวเปนมะเร็งเพราะมี การทำสวนสมอยูรายรอบหมูบาน อีกทั้งสารเคมีที่ชาวนาใชตามทุงนา ชาวบานบางคนถึงกับบอกวามีชีวิตอยูอยางตายผอนสง lชาวนาเชาที่ดินบางสวนตองเปลี่ยนสถานะเปนคนงานในสวนสม ซึ่งมีการใชยาฆาแมลงมาก บางคนก็ตองเลิกทำนาไป เพราะ เจาของที่ดินที่ใหเชาเหลานั้นมักเปนคหบดีเชื้อสายจีนในตลาด ซึ่งเปนเจาของที่ดินรายใหญ สวนชาวบานที่เปนเจาของที่ดินเองก็ มักไมอยากใหเชาทำสวนสมเพราะไมแนใจวาจะสามารถเปลี่ยนใหกลับมาเปนที่นาไดดังเดิมหรือไม เปนสิ่งใหมที่เกิดขึ้นมาไมถึง ๑๐ ป พื้นที่การทำนาสวนใหญของชุมชนลาวแงวในปจจุบัน จะอยูในเขตปฏิรูปที่ดินเปนพื้นที่เฉพาะเกษตรกรรม ไมสามารถเปลี่ยนทำ เปนโรงงานหรือบานจัดสรรได มีคลองชลประทานทั้งเล็กและใหญหลอเลี้ยงตามนาอยูทั่วไป ทำใหตองมีการทำนาตลอดทั้งปที่มี การปลอยน้ำมา จึงทำนามากกวา ๒ ครั้ง ซึ่งทำกันเชนนี้มากวา ๓๐ ปแลว มีการพึ่งปุยเคมี ยาฆาแมลง ใชเครื่องจักรกลคือรถไถ เดินตามและรถไถสีสมแบบนั่งขับ เวลาหวานปุย ฉีดยา มีการจางคนในหมูบานที่ไมมีนาเปนของตนเอง การทำงานหนักเชนนี้ ทำใหชาวนาตองพึ่งเครื่องดื่มบำรุงกำลังจนติด และเกิดปญหาสำหรับคนใชแรงงานมากๆ ทำใหติดยาบาดวยเชนกัน ระยะหลัง พ.ศ.๒๕๔๐ ยาเสพติดระบาดมากในหมูบานทั่วไป เนื่องจากพื้นที่มีการใชแรงงานมาก โดยเฉพาะอาชีพรับจาง เชน แรงงานในสวนสม รวมทั้งเยาวชน ทุกวันนี้ยังไมมีหนวยงานใดคิดแกปญหาอยางเต็มที่ เพราะบางครอบครัวก็กินยาทั้งพอและ ลูก คนขายก็เปนคนในหมูบาน คนซื้อก็ซื้อกันในหมูบาน ในปจจุบัน ครอบครัวหนึ่งๆ สามารถทำนาไดดวยตัวเองเพียงคนเดียว แตตองอาศัยแรงงานรับจางทำนา ซึ่งเมื่อหักคาใชจายแลว แทบไมไดคาตอบแทนเลย แมวาบางบานจะมียุงขาว แตก็ไมไดใชประโยชนมากนัก ลุงบอกวาเดี๋ยวนี้ไมมีการทำขวัญขาวแลว ใช รถ ใชเครื่องจักร เวลาทำนา ใชรถเกี่ยว แลวขายเลย ไมมีการเก็บ แมราคาไมคอยถูกใจก็ตองจำใจขาย เพราะไมอยากยุงยาก รีบ ขาย รีบนำเงินไปใชจาย หนี้สิน คาปุย คายา จายหนี้หรือดอกเบี้ย ธ.ก.ส หนี้ชั่วชีวิต จากเดิมที่ชาวบานกูเงินกับนายทุนในตลาดซึ่งเปนคนเชื้อสายจีน ตอมาก็มีการรวมกลุมเปนสมาชิกสหกรณธ.ก.ส. กูเงินโดยมี การนำเอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดินไปจำนำตามวงเงินที่สามารถกูได จึงเรียกวา เงินกลุม เงินที่ไดจะนำไปใช เชน ✴
✴ ✴ ✴ ✴
จายคาปุย ซึ่งบางทีเปนของธกส. ที่ไปตกลงกับรานคาเอาไว หรือไปซื้อในตลาดบาง บางครั้งจะมีคนนำปุยมาขายแบบ ขายเชื่อ วิธีการเหมือนตกดอก ทำใหเปนหนี้เพิ่มขึ้น ซื้อสิ่งอำนวยความสะดวก เชน เครื่องใชไฟฟา รถ สรางบานตอเติมบานใหม ใชหนี้ กูเพื่อนำมาใชจัดงานบวช งานแตง ใหทัดเทียมเพื่อนบาน ซื้อที่นา ซื้อรถไถ โดยผอนชำระเปนงวดๆ
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
95
แตปจจุบันเงินทุนที่ลงไปสูชาวบานเริ่มเปลี่ยนแหลงที่มา โดยสวนใหญมาจากรัฐบาลในรูปแบบของเงินกองทุนตางๆ ฝายนายทุน ในหมูบานกลายเปนผูรับประโยชนจากดอกเบี้ยหรือการเปนพอค้คนกลางที่ชาวบานตองมาพึ่งพา สวนเงินรูปแบบตางๆ เชน กองทุนหมูบาน ชาวบานบางคนกลาววา กองทุนหมูบานละ ๑ ลานบาท มันก็ดีถาเขาชวยคนจน แตไมนามีดอกเบี้ย จะไดมีเงินหมุน ชาวบานคิดวามันยุงยาก เลยตกลง กันวาไมเขากองทุนดีกวา เพราะกังวลวาเมื่อถึงกำหนดสงจะหาเงินไมทัน ไมเอาดวยเพราะไมอยากยุงยากไปรับประกันใคร การที่ มีเงินลงในหมูบานละ ๑ ลานบาท ไมไดชวยใหเกิดความสามัคคีขึ้นแตอยางใด กลับทำใหเกิดปญหาหลายอยางตามมา 81 ในปจจุบัน เงินกองทุนที่เขาสูหมูบานมีหลายประเภท ที่ดูเหมือนจะเปนโครงการในระยะยาวและมีวงเงินกูไมมากนัก เชน เงิน กองทุนฟนฟูหมูบานโครงการตางๆ เปนของกลุม เชน กลุมทอผา ใหกูไดไมมีดอกเบี้ย บริหารรวมกัน หากสมาชิกคนใดไมนำเงิน มาใชคืน สมาชิกทั้งหมดตองชดใชเงินรวมกัน ระยะเวลากูและสงคืน ๑ ป สมาชิกบอกวา ดีกวาไปกูคนอื่น กูเงินมาใชจายเกี่ยว กับจางดำนา ซื้อของใชจายในครอบครัวเพื่อการศึกษาของลูก และกองทุนเงิน ก.ข.บ.จ. กรรมการบริหารเปนผูอาวุโสในหมูบาน เชน กำนัน ผูใหญบาน สมาชิกอบต ผูชวยสารวัตรกำนัน ผูกูจำตองเขียนโครงการเอง ที่ผานมาผูกูมักจะเขียนโครงการผิดแกไข บอย จึงใหกรรมการเขียนใหฉบับละ ๕ บาทเอกสารจะไดไมผิด กรรมการทั้ง ๑๒ คนเปนผูพิจารณา เมื่อใครเขียนโครงแลว กรรมการอนุมัติ ใหกูได ผูกูตองไปเปดธนาคาร เมื่อเงินเขาบัญชี จึงไปรับเงินได เงินกองทุนหมูบาน (ก.ท.บ.) วงเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท สมาชิกในหมูบานเปนผูเลือกกรรมการจำนวน ๑๕ คน คุณสมบัติของ กรรมการคือ ไมติดยาเสพติด ไมเคยตองโทษมากอน ไมเปนบุคคลที่ถูกไลออกจากราชการ ผูดูแลและที่ปรึกษาคือพัฒนากร ชุมชน จำนวนผูขอกูมีมากเกือบทั้งหมูบาน ขอกูไดหมดทุกคนแตจะไดมากหรือนอยตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการ เชน มีผูขอกูสูงสุดเปนเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท และต่ำสุด ๒,๐๐๐ บาท ในขณะเดียวกันผูที่เปนกรรมการสามารถกูได ๒๐,๐๐๐ บาท จึงมีขอครหาตอกรรมการอยูเสมอ ผูกูสวนมากยอมรับมติของกรรมการ เนื่องจากกรรมการและผูกูมีแนวคิดตรงกันคือทุก คนที่กูจะตองไดเงินมากนอยตามความสำคัญของโครงการ และจะเฉลี่ยเงินใหเทาๆ กัน กอนกูตองเขียนโครงการ ใหกรรมการ พิจารณาโครงการเพื่ออนุมัติ เมื่อโครงการผานตองมาทำสัญญาและรับเงิน ถึงกำหนดสงก็สงเงินตามกำหนดตามสัญญา สมาชิก ตองนำเงินกูไปทำตามโครงการที่เขียนไว บางคนก็ปฏิบัติตามโครงการมีบางที่นำเงินไปทำอยางอื่น เชน ✴ ✴ ✴
มีการนำเงินกูไปทำอยางอื่นแตเมื่อถึงเวลา ผูกูสามารถสงดอกและตนครบถวน เมื่อถึงกำหนดสง ก็ จะไปกูที่อื่นมาสง พอเงินออกก็นำเงินไปใชคืนพรอมดอกเบี้ย แจงวากูเงินไปเลี้ยงปลา แตไมไดเลี้ยงจริง เมื่อกำหนดสง มีเงินมาสงทั้งตนและดอก
ปญหาที่พบในกองทุนทุกประเภท คือ เงินที่กูไดเปนเงินจำนวนนอย เงินที่กู ไดออกไมตรงกับเวลาที่ตองการใช บางทีเกี่ยวขาว แลวเงินจึงออกไมทันกับความตองการ ดังนั้นเงินกูตางๆ จึงไมมีประโยชนถึงที่สุดของชาวบาน แตกลับทำใหเกิดวัฎจักรกลับมาเปนหนี้อีก วนเวียนไปอยางนี้ตลอดเวลา จนกลายเปหนี้ที่ชั่วชีวิตนี้ก็คงไมสามารถหลุดออกไป พนจากวงจรนี้ได บางคนบอกวาหากเปลี่ยนไปประกอบอาชีพตองไปเริ่มตนใหมนับตั้งแตตองซื้อเครื่องมือเครื่องใชใหมทั้งหมด
81
สัมภาษณนายพุย เหี้ยมหาญ, อายุ ๖๕ ป, บานหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
96
มีชาวนาคนหนึ่งเปลี่ยนจากการทำนาไปทำสวนสม แตก็ถูกมองวาคงไมสามารถทำตอไปได เพราะไมมีทุนเชนเดียวกับนายทุน สวนสมจากปทุมธานี รวมถึงความชำนาญในอาชีพการปลูกสมก็ไมมีแตอยางใด ผลจากการทำงานหนักตั้งแตคนในรุนบรรพบุรุษของลาวแงวในการบุกเบิกที่ดินทำกิน และสวนใหญเปนเจาของที่นาแปลงใหญ ถูกโครงสรางการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐทำใหคนสวนหนึ่งกลายเปนเจาของที่ดินรายยอย บางรายกรรมสิทธิ์ที่ดินก็หลุดมือไป เนื่องจากการกูยืมเงินมาใชในการทำเกษตรกรรม แมจะอยูในพื้นที่ปฏิรูป น้ำทาอุดมสมบูรณ สามารถทำนาไดมากกวา ๒ ครั้ง หรือทำทุกครั้งที่ชลประทานปลอยน้ำมา แตก็ตองมีตนทุนคาปุย คายาฆาแมลง การดูแลรักษา ซึ่งทำใหตนทุนเปนจำนวนเงินที่สูง แมจะสามารถทำนาไดเพียงคนเดียวไมตองชวยเหลือกันในระหวางครอบครัว แตตนทุนกับราคาขาวที่ขายได ทำใหชาวนาบางราย ไมมีเงินเหลือหลังจากขายขาวแลว กลายเปนการทำงานเพื่อนายทุนที่ไมเห็นตัวตน และเปนการสนับสนุนจากรัฐบาล ผลเสียของการกลายเปนวัฎจักรหนี้ที่ไมมีวันสิ้นสุด กำลังเปลี่ยนผานจากมือของนายทุนในตลาดที่เปนคนเชื้อสายจีน กลาย เปนการสนับสนุนจากรัฐบาล ผูไดรับผลประโยชนจากการทำงานหนักของชาวนาชาวลาวแงว คือ การกระจายรายไดไปสูกลุมคน ตางๆ ไมวาจะเปนพอคาคนกลางผูรับซื้อขาว ผูผลิตปุยเคมีและยาฆาแมลง ผูผลิตเครื่องดื่มบำรุงกำลัง ผูผลิตและผูขายยาบา เห็นไดอยางชัดเจนวา ชาวนาชาวลาวแงวกำลังตอสูเลี้ยงปากทองใหกับคนที่พวกเขาอาจไมเคยรูจักตัวตนจริงๆ และจะตางกันอยางไรกับเชลยลาวที่ตองทำงานสงสวยใหแกหลวงอยางลำบากยากเย็น
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
97
บทที่ ๔ สรุป สังคมวัฒนธรรมในลุมน้ำเจาพระยาหรือในภาคกลางของประเทศไทย มีการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมอยางคอยเปนคอยไป ซึ่งเปนสิ่งสำคัญในการสรางบูรณาการใหชุมชนของกลุมชาติพันธุตางๆ อยูรวมกันโดยปราศจากเหตุการณขัดแยงรุนแรงระหวาง กลุม โดยการดูดกลืนวัฒนธรรมบางอยางของกลุมชาติพันธุเหลานี้ใหกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยลุมแมน้ำเจาพระยา จากอิทธิพลของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่ผานมา นอกจากจะเปนการรวบอำนาจทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และ ระบบความเชื่อจากทองถิ่นเขาสูศูนยกลางแลว ยังสรางสถานการณในปจจุบันที่ไมสามารถแยกแยะกลุมชาติพันธุกลุมตางๆ ออก จากกันอยางชัดเจนหากสังเกตเพียงสภาพโดยทั่วไป นอกเสียจากความเชื่อบางประการที่ยังคงหลงเหลือและมีหนาที่ทางสังคม อยูในชุมชนนั้นๆ สิ่งเหลานี้อาจเรียกไดวาเปน สำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity] อยางหนึ่ง ซึ่งจะเปนกุญแจสำคัญในการศึกษา เกี่ยวกับกลุมชาติพันธุที่อยูภายใตสังคมไทยทุกวันนี้ จากการศึกษาพบวา หากพิจารณาไมวาในทางประวัติศาสตรหรือในความรูสึกของผูคนปจจุบัน ลักษณะการดูถูกทางชาติพันธุตอ กลุมลาวยังคงดำรงอยูอยางไมเสื่อมคลาย กลุมชาติพันธุลาวถูกมองมองอยางเปนคนอื่นอยูตลอดเวลา แมจะเปนลาวเชลยศึกที่ เขามาตั้งถิ่นฐานอยูในภาคกลางตั้งแตเมื่อเกือบ ๒๐๐ ปมาแลว ซึ่งเปนชวงเวลาที่ไมไดนอยไปกวากลุมชาติพันธุอื่นๆ ในทองถิ่น ภาคกลางนี้สักเทาใด เพราะโครงสรางแหงการดูถูกทางชาติพันธุฝงแนนอยูในความรูสึกของรัฐ ตั้งแตในครั้งราชสำนักปกครอง ซึ่งมองกลุมลาวเปน เพียงกำลังพลที่จะสนับสนุนและหลอเลี้ยงพระนครหรือราชสำนักในชวงหลังศึกสงคราม ทั้งยังมีอคติตอกลุมลาวดังปรากฏใน เอกสารตางๆ และวรรณกรรมที่เผยแพรสูสามัญชน ความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมลาวที่ถูกมองวาดอยกวา และไม ทัดเทียมกับวัฒนธรรมหลวงแบบภาคกลาง ทำใหเกิดการดูถูกและเขาใจผิดรวมไปถึงไมพยายามเขาใจในสังคมและวัฒนธรรม ของกลุมลาวมากขึ้น หากฟงกลอนลำพรรณนาถึงความทุกขยากของเชลยลาว ซึ่งมีผูนำมาเปนบทรองเพลง “ลาวแพน” ก็จะรับรู ถึงความนอยใจในการถูกมองวาตอยต่ำ ที่ไมตางกันกับที่เราคนพบในการศึกษานี้เลย ผูคนเชื้อสายลาวแงวในทามกลางความเปนคนไทยของรัฐไทย บริเวณเขตภาคกลางของลุมเจาพระยาในชุมชนเกษตรกรรมที่ทำ นาเปนอาชีพหลัก ถูกเรียกวา “ลาวแงว” จากผูคนกลุมอื่นและยอมรับการเรียกชื่อกลุมนี้ของตนโดยเปนที่ยอมรับกันทั้งภายใน กลุมและภายนอก อยูอาศัยตั้งถิ่นฐานมาตั้งแตเมื่อสงครามครั้งกวาดตอนเชลยศึกชาวลาวกลุมใหญเขาสูหัวเมืองชั้นใน สมัย รัชกาลที่ ๓ เปนลาวที่เปนกลุมที่อาจถูกละเลยและมองขาม เพราะปะปนอยูกับกลุม พวน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุในทองถิ่นเดียวกัน ที่มีจำนวนชุมชนและประชากรมากกวา กลุมลาวแงวนี้ แมจะมีลักษณะเฉพาะทางประเพณีและวัฒนธรรมไมโดดเดน แตก็ยังคง สำนึกทางชาติพันธุที่เกาะเกี่ยวการรวมกลุมเขาไวดวยกันได และธำรงสืบมาจนถึงปจจุบัน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
98
สำนึกทางชาติพันธุที่ยังคงอยูและแสดงถึงอัตลักษณของกลุมอยางโดดเดนนั่นคือ ระบบความเชื่อในเรื่องอำนาจนอกเหนือ ธรรมชาตินั่นคือ การนับถือผี ที่สัมพันธอยูกับวิถีชีวิตการเกษตรในบางสวน การควบคุมทางสังคมที่ยังคงเหลือ และความสำนึก รวมในการเปนกลุมผูอพยพมาจากเมืองลาวครั้งบรรพบุรุษ และอีกสวนหนึ่งที่แสดงถึงอัตลักษณของกลุมชาวลาวแงวคือ การ เปนชาวนา ที่ทำนามาหลายชั่วคนดวยความขยันขันแข็ง แตการเปนชาวนาในสังคมไทย เปนภาวะที่ถูกกดดันในอำนาจของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมซึ่งนำพาการพัฒนาของรัฐเขามาปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมและวิถีการผลิตอยางขนานใหญ จนทำให ปจจุบัน เกิดภาวะหนี้ชั่วชีวิตที่ชาวลาวแงวไมสามารถหลุดพนไปจากวงจรเหลานี้ไดl ในทามกลางสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลงอยางขนานใหญ ทั้งในทางสังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งมีการใชทรัพยากรอยางไมจำกัด และ กลายเปนผลรายที่สงผลกระทบตอชุมชนชาวนาในภาคกลางซึ่งรวมไปถึงชุมชนลาวแงวอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ชุมชนลาวแง วอาจจะยังไมมีกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมไมวาจะในทางวัฒนธรรมหรือในทางการเมือง จนสามารถเห็น สำนึกทาง ชาติพันธุ ที่แสดงออกอยางโดดเดนชัดเจน เพราะสภาพสังคมในอดีตไดดูดกลืนความแตกตางของกลุมลาวใหกลายเปนความ เหมือนโดยเฉพาะในทางกายภาพจนเกือบหมดสิ้นแลว แตสำนึกทางชาติพันธุของผูคนเชื้อสายลาวแงว ก็ยังคงอยูในรูปแบบของ ความเชื่อ โดยเฉพาะในเรื่องอำนาจเหนือธรรมชาติและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน ภาษาและสำเนียงการพูดแบบลาวแงว สวนความเครงเครียดในชีวิตซึ่งไดรับผลกระทบจากกระบวนการ พัฒนาของรัฐ และโครงสรางที่ไมกอใหเกิดความเปนธรรมแกชาวนา สรางภาระหนี้สินที่ไมมีวันหลุดพน ทำใหเกิดการถวิลหา ความเปนอยูที่เรียบงาย สามารถพึ่งตนเองได ระลึกถึงอดีตที่งดงามในชีวิตของผูคนและในชุมชนที่สงบสุข ดังที่นายมานะ สารท พงษ อายุ ๕๓ ป หมู ๓ บานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี กลาวถึงอดีตของพวกตนวา
ประเพณีของหมูบานเดี๋ยวนี้เปลี่ยนไปหลาย ตามสมัยนิยมแลว คนสมัยนี้บคือคนตะกอน ขี้เกียจ มัก งาย บใสใจเรื่องเกาๆ อิหยังอิหยังก็ซื้ออยางเดียวหาแตความสบาย วาเรื่องโบราณไมคอยดี เฮายังวา เรื่องโบราณมีดีอยูหลายอยาง ดูตามบานนี่ซิ ผักหญาหลายอยางก็ปลูกกินเอง ไมตองไปซื้อ สมัย กอนไมตองใชเงิน ไมตองเสี่ยงกับสารเคมี
ความในใจดังกลาว สะทอนความยากลำบากในชีวิตของกลุมคนที่ ครั้งหนึ่งเคยพึ่งพาตนเองได และมีชีวิตในแบบที่เรียบงาย สงบ สุข การรวมกลุมเพื่อธำรงรักษาอัตลักษณของตนเองในกลุมฃองชาวลาวแงวอาจจะฉายภาพไมชัดเจนนัก แตเชื่อแนวา หากมี สภาพการณที่บีบรัดชุมชนลาวแงวยิ่งขึ้นกวาในปจจุบัน อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุก็อาจจะถูกผลิตซ้ำเพื่อสรางอำนาจตอ รองของกลุมขึ้นมาใหม และนับวาเปนประเด็นที่ตองเฝาติดตามในอนาคต
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
99
ขอมูลสัมภาษณ กนกวรรณ นาสิงห บานหนองเมือง. สัมภาษณ ๒๖ เมษายน ๒๕๔๑. เจาอาวาสวัดจินดามณี. อายุ ๔๖ ป ๓๒ พรรษา. บานแปง ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑๔ เมษายน ๒๕๔๔. จั่น ชูศรี. อายุ ๖๑ ป. ๕๒ หมู ๓ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๔. จำรัส แกวเหล็ก. อายุ ๖๓ ป. ๖๐ หมู ๑๐ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. ซอน สมทรง. หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๑. ถนอมศรี บุตรดี. อา ยุ ๖๖ป. ๙๒ หมู ๓ ตำบลทาแค อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. ที - บุญรอด ชางเสา. ๑๔ หมู ๒ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๔. ทุย หนูคง อายุ ๗๔ ป. ๕๘ หมู ๑ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. ประสิทธิ์ โสภา. อายุ ๗๑ ป. ๑/๑ หมู ๑๑ บานไผลอม ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. ปรีชา เชื้อมุข. อายุ ๖๕ ป. บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๕ เมษายน ๒๕๔๑. ปลิว กำเพชร. อายุ ๖๓ ป. ๑/๑ หมู ๑ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. ปน- ทุย เทพธุลี. อายุ ๘๕ และ ๗๕ ป. หมู ๓ ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔. พระชงค แสนลอม ฉายา ติสสวํโส. วัดกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. พระณรงคฤทธิ์ ยโสธโร. อายุ ๔๕ ป ๔ พรรษา. รองเจาอาวาสวัดพระปรางค บานไผลอม อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. พระสมุยงค เจาอาวาสวัดน้ำจั้น. ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. ภู อนุภาพ. ๔ หมู ๑๑ ตำบลหลุมขาว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. มานะ สารทพงษ. อายุ ๕๓ ป. หมู ๓ บานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔. มวน เหมหอม อายุ ๘๖ ป. ๑๓ หมู ๒ บานกกโก ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑. ราช มีเครือ อายุ ๘๗. บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๑. ราตรี กองเงิน. อายุ ๖๖ ป อาชีพ ทำนา. ๕๑/๑ หมู ๗ ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ไร มะเริงสิทธิ์. อายุ ๖๐ ป. ๘๐ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
100
ละเอียด นวลแปง. อายุ ๕๓ ป. ๓๖/๒ หมู ๘ ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. วิน นาคแยม. อายุ ๕๗ ป. ๕๒/๑ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๔. วันดี เชาวธรรม. อายุ ๖๖ ป. สัมภาษณ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๒. ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔. วันดี อวนพี. บานกลาง ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. วันเพ็ญ จำปาแดง. อายุ ๔๐ ป. หมูที่ ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. ศรี ศุภลักษณหิรัญ. ๕๒/๑ หมู ๒ ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. สมจิตร บุญเติร. อายุ ๗๒ ป. ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๑. สมปอง บุญเติร. อายุ ๔๐ ป. สัมภาษณ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔. สา อินรุน. อายุ ๗๕ ป. ๔๓ หมูที่ ๘ ตำบลโคกเสลา อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑ กันยายน ๒๕๔๔. สุนีย สอนเครือ. อายุ ๗๐ ป. บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๑. เสนอ คำกระสินทร. บานกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. อายุ ๖๕ ป. บานกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒. สังเวียน วันทอง. อายุ ๗๔ ป. ๑๓ หมู ๒ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สำรวย พงษตน. อายุ ๔๒ ป อาชีพทำนา. ๑๐๗ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๔. อำไพ อะโหสี กำนันตำบลไผใหญ. สัมภาษณ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๔๕.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
101
บรรณานุกรม จิตร ภูมิศักดิ์. ความเปนมาของคำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ กรุงเทพฯ : บริษัทสำนัก พิมพดวงกลม จำกัด, พิมพครั้งที่ ๒, ๒๕๒๔ โพธิ์ แซมลำเจียก. ตำนานไทยพวน กรุงเทพฯ :บริษัท ก. พลพิมพ พริ้นติ้ง จำกัด ๒๕๓๗ ภูธร ภูมะธน บรรณาธิการ. มรดกวัฒนธรรมไทยเบิ้ง ลุมแมน้ำปาสักในเขตที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนปาสัก ลพบุร;ี ศูนยศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏเทพสตรี ,๒๕๔๑ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดลพบุรี สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี กรุงเทพฯ : สำนักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๑๗ สุจิตต วงษเทศ บรรณาธิการ. นิราศทัพเวียงจันทนกรุงเทพฯ; สำนักพิมพมติชน, ๒๔๔๔ สุเทพ สุนทรเภสัช บรรณาธิการ. สังคมวิทยาของหมูบานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงพิมพสมาคมสังคมศาสตรแหง ประเทศไทย, พระนคร; ๒๕๑๑. สุวิทย ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตรลาว ๑๗๗๙–๑๙๗๕ สำนักพิมพสรางสรรค: กรุงเทพฯ, ๒๕๔๓ บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ; ๒๕๔๑ มหาสิลา วีระวงศ เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต แปล. ประวัติศาสตรลาว โรงพิมพเทคนิคการพิมพ; ลำพูน, ๒๕๓๕ นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี วิทยานิพนธมหาบัณฑิต ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๗ ศิวพร ฮาซันนารี. การศึกษาระบบเสียงในภาษาลาวหลวงพระบาง: ศึกษาเปรียบเทียบกับภาษาลาวครั่ง ลุมน้ำทาจีน และภาษา ลาวดานซาย วิทยานิพนธมหาบัณฑิตศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๓. http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
102
ภาคผนวกที่ ๑ การจำแนกบรรณานุกรรมเกี่ยวการศึกษาเรื่องลาวในทองถิ่นภาคกลาง ชุมชนและกลุมชาติพันธุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. รายงานการศึกษาชุมชน ชาวพวน-หมูบานโพธิ์ศรี ตำบลบางปลามา จังหวัดสุพรรณบุร.ี กรุงเทพ : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, ๒๕๒๑. สถาบันไทยศึกษา เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง "ไทดำ : จากสิบสองจุไท ผานลาว สูภาคกลางของประเทศไทย" จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ :, ๒๕๔๑ มงคล สำราญสุข. “ชาวครั่งแหงจังหวัดสุพรรณบุรี” พิพิธภัณฑสาร. ปที่ ๖, ฉบับที่ ๑ (ต.ค.-พ.ย. ๒๕๓๕) : หนา ๓-๒๑ วิเศษ เพชรประดับ. “ลาวครั่งในจังหวัดชัยนาท” พิพิธภัณฑสาร. ปที่ ๓, ฉบับที่ ๓ (พ.ค. ๒๕๓๓) : หนา ๑๕-๒๒ ชูชีพ อุดม, จิราพร แสงศิลป และเรืองยุทธ ตีระวณิช “ลาวโซง” วารสารเมืองโบราณ. ปที่ ๑ ฉบับที่ ๔ กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๑๘ : ๒๘-๓๑. นิพนธ เสนาพิทักษ. “ผูไทยโซง” สาสนผูไทย. คณะกรรมการชมรมไทยโซง, บรรณาธิการ. กรุงเทพ : โรงพิมพอักษรพิทยา, ๒๕๒๓ : ๖-๓๖. สุมิตร ปติพัฒน, บัณฑร ออนดำ และพูนสุข ธรรมภิมุข. ลาวโซง. กรุงเทพ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๑. ผวน พวงชวาลวงศ. ไทยพวนหาดเสี้ยว. เอกสารพิมพดีดประกอบหารบรรยาย, ๑๒ หนา โพธิ์ แซมลำเจียก. ตำนานไทยพวน เลาเรื่องเกาแก. กรุงเทพ : ดอกหญา, ๒๕๓๗. วิเชียร วงศวิเศษ. ไทยพวน. พิมพเปนอนุสรณเนื่องในงานทอดกฐินขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ณ วัดหาดเสี้ยว อ. ศรีสัชนาลัย จ. สุโขทัย ๒๗ ตุลาคม ๒๕๑๗ สุดแดน วิสุทธิลักษณ. “พวนบานหาดเสี้ยว ความคำนึงถึงเมื่อสามปใหหลัง” วารสารเมืองโบราณ. ปที่ ๑๙ ฉบับที่ ๔ กรุงเทพ: เมืองโบราณ, ๒๕๓๖. ๑๐๐-๑๑๑ ราชบัณฑิตยสถาน.“พวน สารานุกรมไทย เลม ๒๐. กรุงเทพ : ไทยมิตรการพิมพ, ๒๕๒๙. ๑๓๐๑๗-๑๓๐๒๑
ภาษาศาสตร กันทิมา วัฒนะประเสริฐ และสุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. รายงานการวิจัย ระบบเสียงภาษาลาวของลุมน้ำทาจีน. พิมพครั้งที่ ๒. นครปฐม : ภาควิชา ภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๒๕๓๑. กาญจนา พันธคา. ลักษณะเฉพาะทางดานเสียงของภาษาลาวในอำเภอเมืองจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา ภาษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓. จินดา ชาติวงษ. การศึกษาลักษณะของภาษาลาวครั่งที่ตำบลหวยดวน อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๒๙
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
103
จารุวรรณ สุขปต.ิ การศึกษาลักษณะของภาษาลาวพวนที่ตำบลหัวหวา อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิต วิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๓๒ ชลลดา สังวาลทรัพย. การศึกษาลักษณะของภาษาลาวพวนที่ตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก วิทยานิพนธ ศศ.ม. จารึกภาษา ไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๔ เชน นคร. ระบบคำวากยสัมพันธในภาษาลาวครั่ง หมูบานวังเลา ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๒๕๔๔. ธนากร สังเขป ระบบเสียงภาษาลาวแงวและเปรียบเทียบกับภาษาถิ่นไท ๕ ภาษา วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตสาขาภาษาศาสตรอาเซียอาค เนย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๖ วรรณา รัตนประเสริฐ. คำและลักษณะคำในภาษาลาวเวียงในจังหวัดฉะเชิงเทรา มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๒๘ วรนุช ประพิณ. การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพทภาษาลาวโซงในจังหวัดนครปฐม ราชบุรีและเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๓๙ วิจิตร คำมัญ. ๒๕๓๕. ระบบเสียงภาษาลาวครั่ง อำเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษา ไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. วิไลลักษณ เดชะ. ๒๕๓๐. ศึกษาเปรียบเทียบระเบียบเสียงของภาษาไท ๖ ภาษาที่พูดใน อ.ทาตะโก จ.นครสวรรค. วิทยานิพนธปริญญามหา บัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วัลลียา วัชราภรณ. ๒๕๓๔. การศึกษาคำลงทายในภาษาลาวครั่ง. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาชนบท บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย ๒๕๒๗ ศิริกุล กิติธรากุล. ๒๕๓๙. ความสัมพันธระหวางความใกลชิดชุมชนกับการเลือกใชศัพท ของชุมชนลาวครั่งที่บานหนองกระพี้ ตำบลบานหลวง อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศิวพร ฮาซันนารี. ๒๕๔๓. การศึกษาระบบเสียงในภาษาลาวหลวงพระบาง :ศึกษาเปรียบเทียบกับภาษาลาวครั่ง ลุมน้ำทาจีน และภาษาลาว ดานซาย วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. รายงานการวิจัยเรื่อง วิเคราะหการใชคำและการแปรของภาษาของ คนสามระดับอายุ ในชุมชนภาษาลาวลุมน้ำทาจีน นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๖ พิณรัตน อัครวัฒนากุล. การศึกษาเปรียบเทียบระบบวรรณยุกตในภาษาของคน "ลาว" คน "ญอ" และคน "ผูไท" ในอำเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. อักษรศาสตร (ภาษาศาสตร) ๒๕๔๑ พนิดา เย็นสมุทร. คำและความหมายในภาษาลาวโซง มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษา ตะวันออก) ๒๕๒๔ พรศรี ชินเชษฐ. วรรณยุกตภาษาลาวแงวในคำเดี่ยวกับในคำพูดตอเนื่อง วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
104
อรพันธ อุนากรสวัสดิ์. การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาผูไทกับภาษาลาวโซง กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๖ อรพิน มณีวงศ. การศึกษาเปรียบเทียบภาษาลาวโซงที่จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตสาขาภาษาศาสตรอา เซียอาคเนย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๐ อัญชนา พานิช คำลงทายในภาษาลาวโซง วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๗ เอมอร เชาวนสวน, การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพทภาษาลาวในจังหวัดนครปฐมและภาษาลาวในแขวงบอแกว ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว วิทยานิพนธ ศศ.ม. จารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๗ Boonprasert, Chaluay. Discourse Structure in Phuan. M.A. Thesis(Linguistics). Institute of Language and Culture for Rural Development, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University, ๑๙๘๕. Eam-Eium, Chalong. A Phonological Description of Phuan at Tambon Hat Siaw, Si Satchanalai District Sukhothai Province. M.A. Thesis(Linguistics). Institute of Language and Culture for Rural Development, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University, ๑๙๘๖.
ผาและเครื่องแตงกาย กมลา กองสุข. ผาจก : กลุมลาวคั่งบานกุดจอก ชัยนาท-บานทับผึ้งนอย สุพรรณบุรี กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ, ๒๕๓๖ แกมนวล. “ผาลาวครั่ง รอยตอของชุมชน” ไลฟแอนดเดคคอร. ปที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ (พ.ค. ๒๕๓๗) : หนา ๑๒๓-๑๒๗ แกมนวล. “ผาลาวครั่ง: จินตนาการจากสิ่งแวดลอม”. ไลฟแอนดเดคคอร. ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔๙ (ก.ย. ๒๕๓๘) : หนา ๑๖๒-๑๖๗ ชนิดา ตั้งถาวรสิริกุล. สื่อสัญลักษณผาลาวเวียงจันทน ชนิดา ตั้งถาวรสิริกุล ; บรรณาธิการ ชาญวิทย เกษตรศิริ, กาญจนี ละอองศรี. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, บานทุงนา ต.ทัพหลวง อ.บานไร จ.อุทัยธานี.) วิบูลย ลี้สุวรรณ. ลาวศิลปะการถักทอเสนใย. ปที่ ๓๘, ฉบับที่ ๓ (ต.ค. ๒๕๔๐) : อนุสาร อสท. มหาวิทยาลัยศิลปากร. สถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตก. ลาวโซง : การแตงกาย ประเพณีและความเชื่อ สถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตก มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม : ๒๕๓๗ ธนิษฐา แดนศิลป. เสื้อผาและทรงผม วัฒนธรรมที่ยังไมตายของลาวโซง. ปที่ ๓๖, ฉบับที่ ๖ (มี.ค. ๒๕๔๒) : หนา ๒๙-๓๘ ; อมรรัตน วิศิษฏวุฒิพงศ เสื้อผาเครื่องนุงหมของลาวโซง การณีศึกษาชุมชนลาวโซงบานยางลาว ต.บานดอน อ.อูทอง จ.สุพรรณบุรี สารนิพนธ สาขามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๕ อรชร เอกภาพสากล. “เสนทางสายผาลาวครั่ง” เมืองโบราณ. ปที่ ๒๔, ฉบับที่ ๔ (ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๔๑) หนา๑๑๒-๑๑๖
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
105
พิธีกรรมและความเชื่อ นิภาพร โชติสุดเสนห. พระราหู : ภาพสะทอนการผสมกลมกลืนทางความเชื่อของกลุมชาติพันธุ ลาวเวียง. สารนิพนธภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๔๑ วันวิสาข สูศิลวัฒน. ความสัมพันธระหวางพิธีเสนเรือนกับวิถีชีวิตของชุมชนลาวโซง หมูบานดอนไฮ ตำบลเขายอย อำเภอเขายอย จังหวัด เพชรบุรี สารนิพนธ ศศ.บ. มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๘ วลีรัตน มีกุล. ผีบาน : บทบาทและความสำคัญตอวิถีชีวิตคนในชุมชน กรณีศึกษา : ลาวโซงบานสระ ตำบลสระพัฒนา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม สารนิพนธ ศ.บ. มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๐ ราตรี มฤคทัต พิธีลาสิกขาของลาวพวน : วิเคราะหในเชิงมานุษยวิทยา วารสารภาษาและวัฒนธรรม : ๙, ๒(๒๕๓๓) ยุรี ใบตระกูล. พิธีบุญกำฟาของลาวพวน : กรณีศึกษาหมูบานพวน ตำบลบางน้ำเชี่ยว อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี กรุงเทพฯ : ภาควิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๗ วาสนา อรุณกิจ. พิธีกรรมและโครงสรางทางสังคมของลาวโซง กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙ นารถฤดี วิวัตติกุล. ๒๕๔๒. การดำรงอยูรวมกันของกลุมความเชื่อผีเจานายและกลุมความเชื่อ ผีเทวดา กรณีศึกษา : ชาวลาวครั่งหมูบานโคก ตำบลอูทอง จังหวัดสุพรรณบุร.ี สารนิพนธ ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุคนธ ศีลบุตร. ๒๕๓๘. พิธีกรรมเลี้ยงผี ความเชื่อของชาวครั่ง หมูบานโคก อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร มหาวิทยาลัยศิลปากร. จิราพร เจริญสุข. พิธีศพของลาวโซง ที่อำเภอบานดอน อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุร.ี ปริญญานิพนธศิลปศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๑๗. นุกูล ชมภูนิช. ประเพณีชาวไทยโซงหมูบานเกาะแรด. กรุงเทพ : เพชรเกษมการพิมพ, ๒๕๓๘. มณีรัตน ทวมเจริญ. “พิธีเสนเรือนของโซง” ศิลปและโบราณคดีในประเทศไทย. ปที่ ๑ ฉบับที่ ๒, ๒๕๑๓. มยุรี วัดแกว. “พิธีศพของโซง-แนวความคิดเกี่ยวกับศาสนาพิธีกรรม.” วารสารสังคมศาสตร วิทยาลัยครูเพชรบุรี กันยายน ๒๕๒๒. ๒:๒๓-๒๗ สุกัญญา จันทะสูน. ภูมิปญญาชาวบาน และกระบวนการถายทอด : การศึกษา "พิธีเสนเรือน" ของชาวลาวโซง จังหวัด กรุงเทพฯ : สาขาวิชาการ ศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง ภาควิชาการศึกษานอกโรงเรียน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๘ วาสนา อรุณกิจ. พิธีกรรมและโครงสรางทางสังคมของลาวโซง วิทยานิพนธ อ.ม. สังคมวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙ Lise Rishoj Peterson. “Religious Activities during Dry Season among the Loa Song Dam, Thailand” Folk Vol. ๑๖-๑๗, ๑๙๗๔ : ๓๔๕-๓๗๙.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
106
ศิลป ประเพณี และวัฒนธรรม ภัทรพงษ เกาเงิน. จิตรกรรมฝาผนังวัดหนอพุทธางกุร : การผสมผสานกันอยางลงตัวของศิลปะไทย จีน และลาว. ปที่ ๔๔, ฉบับที่ ๓ (พ.ค. มิ.ย. ๒๕๔๔) : หนา ๔๖-๔๕ ; สันติ เล็กสุขุม. โครงการศิลปะลาวในประเทศไทย กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๘ พรพิมล ชันแสง อิ่นกอน : ประเพณีการละเลนของลาวโซง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี กรุงเทพฯ : สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา บัณฑิตวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๑ วนิดา พิเศษพงษา. วัฒนธรรมไทยโซงหมูบานเกาะแรด. ศุนยวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม, ๒๕๓๐. สมทรง บุรุษพัฒน. “อิ่นกอน” ภาษาและวัฒนธรรม ๑.๒ กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๒๔ : ๗-๑๖. สมทรง บุรุษพัฒน. การเลนคอนของลาวโซงที่บางกุง. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท, มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๔. อุบลทิพย จันทรเนตร. ความสัมพันธระหวางเพลงกลอมเด็กกับโลกทัศนของลาวพวน : จังหวัดสิงหบุรี. กรุงเทพ : ภาควิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๗ จิรัชณา วานิช การทดลองใชเรื่องเลาจากโครงเรื่องวรรณกรรมตะวันตกเพื่อวัดทัศนคติที่มีตอการแกปมปญหาครอบครัวของชาวบานลาวโซง ต.หนองปรง อ.เขายอย จ.เพชรบุรี กรุงเทพฯ : สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๑. ความสัมพันธระหวางเพลงกลอมเด็กกับโลกทัศนของลาวพวน : กรณีศึกษาหมูบานวัดกุฎีทอง จังหวัดสิงหบุรี กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๗ มานิตา เขื่อนขันธ. ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่นชาวลาวโซง บานดอนมะเกลือ ตำบลดอนมะเกลือ อำเภออูทอง จังหวัด สุพรรณบุรี กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๑ ฤดีมน ปรีดีสนิท. รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง วิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรมประเพณีและประวัติศาสตรชุมชนกรณีไทย-พวน อำเภอบานผือ. อุดรธานี : ศูนยศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏอุดรธานี, ๒๕๓๙. อุบลทิพย จันทรเนตร. ความสัมพันธระหวางเพลงกลอมเด็กกับโลกทัศนของลาวพวนกรณีศึกษา หมูบานวัดกุฎีทอง จังหวัดสิงหบุรี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. รัฐศาสตร (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) ๒๕๓๖ ฤทัย จงใจรักษ. “เครื่องใชไมสอยของลาวโซง”. วารสารเมืองโบราณ ๒๒:๘ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๑๙ : ๗๘-๘๔.
โครงสรางสังคม ระบบเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงและการผสมกลมกลืน มยุรี วัดแกว. การศึกษาโครงสรางสังคมชาวโซง. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาพัฒนาสังคม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๒๑. สมพร เกษมสุขจรัสแสง. การผสมผสานทางวัฒนธรรมของลาวโซงในเขตอำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศึกษาศาสตร (การศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง) ๒๕๒๖ คนึงนุช มียะบุญ. ๒๕๓๗. การปรับตัวตอสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงของลาวครั่งที่บานโคก จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา บัณฑิควิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
107
วรณัย พงศาชลากร. ๒๕๓๘. พืชเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในชุมชนลาวครั่ง : ศึกษากรณีบานโคก ตำบลอูทอง อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธสังคมวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. เกรียงศักดิ์ ออนละมัย. วิถีการดำเนินชีวิตของชาวชนบทในกระแสโลกาภิวัฒน : ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนไทพวน ตำบลหินปก อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. กรุงเทพ : คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, ๒๕๔๐. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมในชุมชนบานเยอ บานไทยดำ และบานไทยลาว : การ ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณี ขอนแกน : คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, ๒๕๓๐ ชนัญ วงษวิภาค. ๒๕๓๒. การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นกับการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม : ศึกษาเฉพาะลาวครั่งอูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. เอกสารการพิมพโรเนียว กรุงเทพฯ : ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุมิตร ปติพัฒน. ลาวโซง : พลวัตของระบบวัฒนธรรมในรอบสองศตวรรษ กรุงเทพฯ : หาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๐ สมพร เกษมสุขจรัสแสง. การผสมผสานทางวัฒนธรรมของลาวโซงในเขตอำเภอเขายอยจังหวัดเพชรบุรี กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ ศษ.ม. การ ศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๖ นำพวัลย กิจรักษกุล. การศึกษารูปแบบการตั้งถิ่นฐาน ประชากร เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของลาวโซง ในจังหวัดนครปฐม นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๒ วิริยะ สวางโชติ. ความสัมพันธแบบ “ละแวกบาน” และแบบ “สังคมประชา” ในชุมชนชาติพันธุ ไทย-ลาว แหงหนึ่งที่จังหวัดลพบุรี ปที่ ๑๙, ฉบับ ที่ ๔ (ต.ค. - ธ.ค. ๒๕๓๖) : หนา ๖๘-๗๗
สำนึกทางชาติพันธุ กนกพรรณ แสงเรือง. ความสำนึกในเอกลักษณชาติพันธุของลาวพวน. กรุงเทพ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒. ปยะพร วามะสิงห. ความสำนึกในชาติพันธุของลาวพวน. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร มานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร ๒๕๓๘
ประวัติศาสตรกลุมชาติพันธุ บังอร ปยะพันธุ. ประวัติศาสตรของชุมชนชาวลาวในหัวเมืองชั้นในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. อักษรศาสตร (ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต) ๒๕๒๙ บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๑. ศรีศักร วัลลิโภดม. “ลาวในเมืองไทย เมืองโบราณ ปที่ ๖, ฉบับที่ ๒ (ธ.ค. ๒๕๒๒-ม.ค. ๒๕๒๓) : หนา ๕๕-๗๐ ;
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
108
ฉลอง สุนทราวาณิชย. สัมพันธภาพไทย-ลาว เชิงประวัติศาสตร กอนคริสตศตวรรษที่ ๒๐ ปที่ ๘, ฉบับที่ ๑ (พ.ย. ๒๕๒๙) : หนา ๑๔๒-๑๕๐ ศิลปวัฒนธรรม สุที หริมเทพาธิป. วังหนา” ในชุมชนลาวที่สระบุรี : วังสีทาของพระปนเกลาฯ ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ ๒๑, ฉบับที่ ๑๐ (ส.ค. ๒๕๔๓) : หนา ๔๔-๕๑ สมบัติ พลายนอย ลาวบางกอก. ปที่ ๒๓, ฉบับที่ ๓ (ม.ค. ๒๕๔๕) : หนา ๙๘-๑๐๓ ลอม เพ็งแกว. จดหมายเหตุฉบับเชลยศักดิ์ครั้งรัชกาลที่ ๑ ใหพระลาวสึก บวชใหม ดวยเหตุออกเสียงอักษรไมชัด. ศิลปวัฒนธรรม ปที่ ๙, ฉบับที่ ๒ (ธ.ค. ๒๕๓๐) : หนา ๘๖-๙๐ “ผูชวยเจาอาวาส พระครูวิสุทธิญาณสุนทร เลาเรื่อง “ลาว” ที่วัดปทุมวนาราม” ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ ๑๒, ฉบับที่ ๙ (ก.ค. ๒๕๓๔) : หนา ๕๒-๕๘ พูนพิศ อมาตยกุล. ลาวแพน. ปที่ ๔, ฉบับที่ ๑๐ (ส.ค. ๒๕๒๖) : ศิลปวัฒนธรรม. หนา ๑๘-๒๕ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องแนวทางการวิจัยลาวศึกษาในประเทศไทย มหาสารคาม กรุงเทพฯ : ๒๕๓๗
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
109
ภาคผนวกที่ ๒ ถิ่นฐานของลาวใน คือกลุมลาวที่อพยพเขามาสรางชุมชนในพื้นที่หัวเมืองชั้นใน ใกลพระนคร จากการศึกสงครามเมื่อสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร ลาวพวน หรือ พวน หมายถึงกลุมชาวผูไทจากเมืองพวนและบานเมืองในเขตที่ราบเชียงขวาง จากเอกสารเรื่องกลุมชาติพันธุ ปรากฏวา มีการประเมินขอมูลจำนวนคนพวนที่อยูในที่ราบเชียงขวางมีมากพอๆ กับคนเชื้อสายพวนที่อยูในประเทศไทย คือ เกือบหนึ่งแสนคน ซึ่งขอมูลนี้อาจไมถูกตองก็ได แตอนุมานใหเห็นวามีการประเมินจำนวนคนพวนจากเชียงขวางใกลชายแดน เวียดนามในสมัยที่ถูกกวาดตอนมานั้น โยกยายกันมานาจะเปนจำนวนครึ่งหนึ่งของประชากรทีเดียว พวนนาจะเปนคนกลุมใหญที่สุดที่ถูกอพยพเขามาสูหัวเมืองชั้นใน เนื่องพวนเปนกลุมไทดำกลุมหนึ่ง และมีวัฒนธรรมใกลชิดกับ ชาวผูไทในเขตเมืองแถง และถือตัววาเปนคนพวนไมใชคนลาว รวมทั้งคนลาวก็เรียกวาพวนโดยไมนับเปนลาวดวย ดังนั้น ภาษา พูดจึงมีความใกลชิดกับลาวโซงหรือไทดำ พวนถูกกวาดตอนเขามาตั้งแตในสมัยรัชกาลที่ ๑ และเขามามากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ ๓ ครั้งศึกรบกับเวียดนามและศึกเจา อนุวงศ ครัวพวนถูกอพยพมาสมทบกับพวกพองทั้งที่เมืองฉะเชิงเทรา ลพบุรี สระบุรี ปราจีนบุรี ซึ่งในปจจุบัน กลุมผูมีเชื้อสาย พวนตั้งถิ่นฐานอยูในจังหวัดตางๆ หลายแหงทั้งในภาคกลาง อีสาน และภาคเหนือตอนลาง ความแตกตางไปจากกลุมลาวอื่นๆ ที่ อยูในทองถิ่นเดียวกัน ทำใหพวนมีเอกลักษณพิเศษทั้งภาษาพูด ขนบประเพณี พิธีกรรม และลักษณะพฤติกรรม ดวยเหตุที่เปนก ลุมใหญและมีเอกลักษณนี้เองทำใหมีการรวมตัวเกิดสมาคมไทพวน จัดกิจกรรมตางๆ สำหรับคนเชื้อสายพวนในปจจุบัน ซึ่งเปน ลักษณะพิเศษที่ลาวในกลุมอื่นๆ ไมสามารถรวมตัวกันเชนนี้ได บานน้ำจั้น บานเขาพระงาม บานถนนใหญ บานถนนแค บานทาแค บานโคกกระเทียม อำเภอเมือง จังหวัด ลพบุรี บานกลาง บานหัวเขา บานสวางอารมณ บานเชียงงา บานโพนทอง บานหมี่ใหญ บานหมี่นอย บานทุงทะเล หญา บานคลองไมเสียบ บานหวยแกว บานเขาวงกต บานกลวย บานทราย บานมะขามเอน บานสำโรงนอย บานสำโรงใหญ บานหินปกใหญ บานหินปกทุง บานหินปกเหนือ บานวัดวังเหนือ บานวัดวังใต บานวังกะพี้ ใหญ บานวังกะพี้นอย บานเขาดอนดึง บานสระใหญ บานไผใหญ บานหนองทรายขาว บานเนินยาว บานสระ เตยใหญ บานสระเตยนอย บานมะขามเฒา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี (อำเภอบานหมี่มีชาวพวนเกือบทั้ง อำเภอ) บานหลุมขาว บานดงพลับ บานหนองมวง บานหนองพิมาน บานทุงทะเลหวา (อพยพปะปนมากับกลุมลาว เวียงและลาวหลวงพระบาง) อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี บานกลับ บานครัว บานคลอง บานคลองบุญ บานคลองโดน บานสราง อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อำเภอดอนพุดมีพวนอยูเกือบทั้งอำเภอ จังหวัดสระบุรี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
110
บานสราง อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี (อพยพมาจากอำเภอบานนา จังหวัดนครนายก) บานฝงคลอง บานทาแดง บานหนองแสง บานคลองตะเคียน บานคลองคลา บานเกาะคา บานแขมโคง บาน สะแกซึง บานขุมขาว บานหนองหัวลิง บานโพธิ์ศรี บานโพธิ์ทอง บานกลางโสภา บานเกาะหวาย อำเภอ ปากพลี จังหวัดนครนายก (อำเภอปากพลีเปนพวนเกือบทั้งอำเภอ) บานเขาเพิ่ม บานเขากะอาง อำเภอบานนา จังหวัดนครนายก (อพยพมาจากอำเภอปากพลี) บางกลุมที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก บานบางน้ำเชี่ยว บานโภคา (ดอนคา) บานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี บานชองแค บานจันเสน บานวังรอ บานขอนคู อำเภอตาคลี, จังหวัดนครสวรรค อำเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค อำเภอทาตะโก, จังหวัดนครสวรรค อำเภอชุมแสง, จังหวัดนครสวรรค อำเภอไพสาลี, จังหวัดนครสวรรค อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี (อพยพมาจากแถบจังหวัดนครสวรรค) บานดงขุย อำเภอชนแดน, อำเภอหนองไผ, ตำบลสระกรวด อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ บานดงนอย บานเมืองแมด บานเมืองกาย อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา (มาพรอมกับลาวอาสา ปากน้ำที่ยายมาจากปากน้ำสมุทรปราการ ถิ่นฐานเดิมคือเมืองนครพนม) อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี อำเภอศรีมหาโพธิ, บานหัวซา บานหัวหวา บานหัวนา บานหัวสระขอย บานหายโศก บานโคกปบ บานโคกวัว บานโคกพนมดี บานหนองเสือ บานหนองสระแก บานหนองเกตุ บานหนองนก บานหนองหมู บานโพนไทร บานโพนกะเบา บานดอนสับฟาก บานดอนกะทง บานยาบ บานแลง บานคูลำพัน บานไผขาด บานละเมาะไผ บานหนองปรือ บานปรือหวาย บานสมแสง บานแปรงไผ บานเกาะกระตาย บานมวงขาว บานซำหวา บานโคกมอญ บานสระ ขอย อำเภอศรีมโหสถ (โคกปบ), อำเภอบานสราง,จังหวัดปราจีนบุรี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
111
อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี บานลานคา บานกกมวง บานดาน บานสูตร บานอุทุมพร บานหมี่ บานเกา บานดอกไม บานไผเดี่ยว บานเกา หอง บานมะขามลม อำเภอบางปลามา, อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอเขายอย, อำเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี บานวังลุม บานปาแดง บานวังทับคลอ บานทุงโพธิ์ อำเภอทับคลอ, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร บางสวนอพยพกระจัดกระจายไปในหลายทองถิ่น เชน ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก บานหาดเสี้ยว บานหาดสูง บานใหม บานแมราก อำเภอศรีสัชนาลัย บานคลองมะพลับ อำเภอสวรรคโลก บานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย บานเข็ก อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก บานปากฝาง บานผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ (เปนพวนที่ไมสามารถพูดพวนไดแลว) บานทุงโฮงเหนือ บานทุงโฮงใต อำเภอเมือง จังหวัดแพร บานหลับมืนพวน อำเภอเวียงสา, บานฝายมูล อำเภอทาวังผา จังหวัดนาน บานหวยกั้น อำเภอจุน, บานปากอย อำเภอแมสาย, บานศรีดอนมูล, บานปาสักนอย อำเภอเชียงแสน, ตำบลศรีดอนชัย อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย บานเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี อำเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
112
ลาวเวียง และลาวจากเมืองตางๆ ใกลเวียงจันทน เหตุการณครั้งที่อพยพลาวเวียงมาเปนจำนวนมากที่สุดเกิดขึ้นสมัยสงครามเจา อนุวงศเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๙ และ พ.ศ.๒๓๗๑ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ซึ่งในที่สุดมีพระราชประสงคใหเผาเมือง เวียงจันทนเสียใหสิ้น และทำใหลาวกลายเปนประเทศราชตอมาจนกระทั่งฝรั่งเศสเขามามีอำนาจเปนเจาอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ บานวัดคู บานวัดกลาง บานแปงลาว ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี อำเภอพนมทวน อำเภอบอพลอย อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี คลองทาไข อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี บานเมืองกาย อำเภอพนมสารคาม บานดอนทานา ตำบลคูยายหมี อำเภอสนามชัยเขต และมีลาวเมืองพลาน จังหวัดฉะเชิงเทรา บานอรัญญิกในจังหวัดอยุธยา ตำบลทัพหลวง อำเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี อำเภอพนมสารคาม อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ลาวตี้มีที่ บานสูงเนิน บานทำเนียบ บานเกาะ บานหนองบานเกา และบานวังมะเดื่อ อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ลาวครั่ง หรือลาวภูครัง หรือลาวภูคัง ในเอกสารกลาววาเปนเมืองอยูทางฝงซายของแมน้ำโขง ปจจุบันเปนที่ทราบกันแลววา ภูค รัง เปนชื่อภูเขาอยูในเขตอำเภอภูเรือในปจจุบัน เชิงเขานี้มีบานหนองบัวตั้งอยูและเปนที่ตั้งของเมืองภูครังแตเดิม และเปนเมืองมี เจาเมืองปกครองอยูจนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ ๕ จึงไดยายเมืองไปตั้งเมืองดานซายริมน้ำหมันใกลกับพระธาตุศรีสองรักษรวมทั้ง เจาเมืองภูครังก็ยกใหเปนเจาเมืองดานซายดวย ในบริเวณนี้มีที่ราบแคบๆ ที่สามารถเดินทางติดตอกับเมืองแกนทาว เมืองเลยซึ่งเมื่อเลียบริมน้ำโขงก็ตอไปถึงเวียงจันทน และยัง เปนทางขึ้นไปเมืองหลวงพระบางอีกทางหนึ่งนอกจากที่น้ำปาด ดังนั้นเมื่อมีการอพยพผูคนจากหัวเมืองลาว จากเมืองหลวงพระ บาง เมืองเลย เมืองแกนทาว เมืองพันพราว (ในจังหวัดหนองคาย) ก็จะใชเสนทางนี้พักอยูที่เมืองพิษณุโลกไมก็เมืองพิชัย กอนจะ เดินทางเขาสูหัวเมืองชั้นใน สวนกลุมพวน หรือกลุมลาวเวียง ก็จะเขามาตามเสนทางเมืองทาบอซึ่งตรงขามกับฝงเวียงจันทน ผา นบานผือไปยังหนองบัวลำพู ผานดงพญาเย็น แลวเขามาพักที่สระบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
113
ลาวภูครังที่ถูกกวาดตอนในรัชกาลที่ ๒ ใหไปอยูที่เมืองนครชัยศรีหรือในจังหวัดนครปฐม สวนลาวที่เมืองหลวงพระบาง กวาดตอนมาอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๓ เนื่องจากศึกเจาอนุวงศ ก็ใหไปพักที่เมืองพิษณุโลกและพิชัย กอนจะสงไปอยู ณ ที่พวก จากเมืองของตนเคยอยู โดยกระจายอยูในทองถิ่น ดังนี้ Oบานหนองตาสาม บานโคก บานทามา ตำบลสระพังลาน อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี lหมู ๘ ตำบลศรีสำราญ อำเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี lบานวังดัน บานหนองอีเงิน บานทัพผึ้งนอย บานดงรัง บานทุงกวาง บานทับละคร ตำบลวังดัน, บานวังกุม บานชัฎ หนองยาว บานนกจาน บานทุง บานพุบอง บานแฝก บานปาชี บานกกเต็น บานตาด บานหนองพลับ, ตำบลหวยขมิ้น บานหนองแกสามหนอง บานสระบัวกำ บานเขานางงาม บานน้ำโจน บานปาสัก ตำบลหนองมะคาโมง บานดานชาง บานทับกระดาษ บานพุน้ำรอน บานหนองปลากระดี่ บานดอนประดู บานพุหวาย บานหนองผือ บานวังหนอไม บานวัง น้ำเขียว ตำบลดานชาง อำเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี (กลุมนี้ถูกเรียกวา “ลาวดาน” ) lบานทุงสี่หลง บานภูมิ บานนิคม บานรางมูก บานใหม บานปาแก บานลำเหย ตำบลลำเหย บานบางหลวง บานฝง คลอง บานหนองกระพี้ ตำบลบางหลวง บานดอนแกะแระ บานหวยดวน บานทุงผักกูด บานกงลาด ตำบลหวยดวน, บานสวนใหม บานดอนรวก บานหวยกรด บานสระสี่เหลี่ยม ตำบลดอนรวก อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม lหมู ๑๓ ตำบลสุขเดือนหา อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท lบานโคกหมอ อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี ลาวแงว ถิ่นฐานสำคัญของลาวแงวในจังหวัดลพบุรี คือที่บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่, บานหวยโปง อำเภอโคกสำโรง บานทา แค บานทาศาลา บานดงนอย อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี และมีถิ่นฐานในจังหวัดสระบุรี ที่บานนายาว บานตาลเสี้ยน บาน สมปอย อำเภอพุทธบาท และบานหนองโดน อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี l
ตัวอำเภอบานหมอ อำเภอบานหมอ, บานหนองโดน ตำบลหนองโดน อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี
l l l l l l l l
บานโปรงนอย บานโคกลำพาน บานปาหวาย ตำบลลำทราย / บานขุนนวน บานดงนอย บานกกโก บานหวยเปยม ตำบลl กกโก / บานโคกกระเทียม ตำบลโคกกระเทียม บานดอนมะกัก บานไผขวาง ตำบลเขาพระงาม / บานน้ำจั้น ตำบลเขา l สามยอด อำเภอเมือง, บานน้ำจั้น บานไผใหญ บานโปรง ตำบลไผใหญ / บานหนองเกวียนหัก บานลาด บานสระตาแวว l ตำบลพุคา / บานสายหวยแกว ตำบลสายหวยแกว / บานหนองเมือง บานหวยกรวด ตำบลหนองเมือง / บานหนองเตา l บานหนองเลา บานโคกสุข บานสระตาแวง ตำบลหนองเตา / บานดงพลับ ตำบลดงพลับ อำเภอบานหมี่, บานถลุงเหล็ก l ตำบลถลุงเหล็ก บานพรหมทินเหนือ บานพรหมทินใต ตำบลหลุมขาว / บานสระพานนาค บานสระพานจันทร บานสระl พานขาว ตำบลหวยโปง / บานวังจั่น บานโคกพรหม ตำบลหลุมขาว / บานหวยโปง ตำบลหวยโปง บานหวยวัวตาย l ตำบลวังขอนขวาง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
114
บานคอกกระบือ (คอกควาย) บานทุงทะเลทราย ตำบลสรอยทอง / บานจันเสน ตำบลจันเสน บานโคกกระดี ตำบลตาคลี อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค เริ่มแรกอยูแถบวัดสาธุการาม บานสิงห ตำบลโพงพางเสือ อำเภอบางระจัน, วัดมวง วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร บานไผดำ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี (อพยพมาจากอำเภอบางระจัน) วัดทาอิฐ เกาะแกว วัดตุมหู บาง โฉมศรี ตำบลชีน้ำราย อำเภอทางาม จังหวัดสิงหบุรี ลาวโซง หรือ ไทดำ หรือ ผูไท เปนกลุมที่อยูในเขตเมืองแถงหรือเดียนเบียนฟูในเวียดนาม ใกลชิดกับกลุมบานเมืองที่อยูในพื้นที่ ซึ่งเรียกวาสิบสองจุไทหรือสิบสองเจาไท (ไทดำ ๘ เมือง, ไทขาว ๔ เมือง) บริเวณนี้มีทั้งกลุมไทดำและไทขาวโดยสังเกตจากเครื่อง แตงกายและภาษาพูด เปน “เมืองสามฝายฟา” เพราะขึ้นกับทั้งหลวงพระบาง-เวียงจันทน จีน และเวียดนามในชวงเวลาตางๆ ดัง นั้น ลักษณะทางวัฒนธรรมจึงมีทั้งวัฒนธรรมแบบไต-ลาว จีน และเวียดนามดวย ไทดำเขามายังหัวเมืองชั้นในหลายครั้งตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑ ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๖–๒๓๗๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ทำศึก กับเวียดนามเมื่อชนะจึงกวาดตอนลาวพวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๗๙, พ.ศ.๒๓๘๑ และ พ.ศ.๒๔๘๒ อุปราช เมืองหลวงพระบางยกทัพไปตีเมืองไทดำแลวกวาดตอนสงมาบรรณาการอีก จนครั้งสุดทายเมื่อสมัยปราบฮอในรัชกาลที่ ๕ ถิ่นฐานดั้งเดิมของไทดำในหัวเมืองชั้นใน คือ ที่เมืองเพชรบุรีหลังจากนั้นจึงแยกออกไปอยู ณ ที่อื่นๆ เชน อำเภอทายาง อำเภอ บานลาด จังหวัดเพชรบุรี อำเภอบางแพ อำเภอปากทอ อำเภอดำเนินสะดวก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร อำเภอกำแพงแสน อำเภอเมือง อำเภอดอนตูม อำเภอสามพราน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม อำเภอ สองพี่นอง อำเภอบางปลามา อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอดานมะขามเตี้ย อำเภอพนมทวน อำเภอบอพลอย จังหวัด กาญจนบุรี บานสะพานยี่หนเวียงคอย บานวังตะโก บานหนองพลับ บานทุงเฟอ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เขากระจิว บานแมประจันต บานทาโล อำเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี บานหวยของ บานหนองโสน บานกรวย อำเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี บานหวยทาชาง บานหนองเข บานหนองปรง บานหนองจิก บานทับคาง บานดอนทราย บานเขายอย บาน หนองชุมพล บานหนองประดู บานหนองกระพอ บานหนองซอ บานหัวเขาจีน อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี บานตลาดดอนควาย อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี (อพยพมาจากอำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี) บานดอนคลัง บานบัวงาม และบานโคกตับเปด อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บานดอนคา อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี บานเขาภูทอง อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
115
บานบางกุง, บานบางหมัน อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี บานคลองพิศมัย ตำบลบางไทรปา บานดอนขมิ้น บานหัวทรายไทย บานหัวทรายลาว ตำบลดอนตูม บาน เกาะแรด ตำบลบางปลา บานหนองปรง บานปลายคลองบานเลน บานไผหูชาง ตำบลไผหูชาง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม บานลำเจียก บานตากแดด บานหนองอีแบน ตำบลตลาดจินดา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม บานหัวถนน ตำบลดอนพุทรา บานแหลมกะเจา ตำบลสามงาม อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม บานสระแกราย บานดอนขนาด ตำบลดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม
บานดอนทราย ตำบลสระกระเทียม อำเภอเมือง
บานยาง ตำบลทุงกระพังโหม บานหนองขวาง ตำบลทุงขวาง บานหาง บานชาวไร ตำบลกระดิบ บานไผดอย บานไผสงคราม บานไผโทน ตำบลสระสี่มุม บานดอนทอง บานดอนมะกอก บานบอน้ำจืด ตำบลดอนขอย บานสระ บานหัวชุกบัว บานหนองหมู บานหนองกระเทียม บานไรใหม บานหนองพงนก ตำบลสระพัฒนา บานกำแพงแสน ตำบลทุงบัว อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม (อพยพมาจากบานหนองปรง อำเภอ เขายอย จังหวัดเพชรบุรี) บานกลาง ตำบลหนองสองหอง ตำบลโรงเข ตำบลยกกระบัตร อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร บานดอนมะนาว ตำบลบางเลน, บานลาดมะนาว อำเภอสองพี่นอง, บานดอนโก ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอบางปลามา, ตำบลดอนมะเกลือ, ตำบลสระยายโสม, ตำบลหนองโอง, ตำบลคณฑี, ตำบลบานดอน อำเภออูทอง จังหวัด สุพรรณบุรี บานแหลมทอง ตำบลกลอนโด อำเภอดานมะขามเตี้ย, อำเภอพนมทวน, อำเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดพิจิตร ไทยวน อพยพมาจากบานหวยไผ อำเภอเมือง มาอยูที่บานหนองกะเหรี่ยง ซึ่งเดิมกะเหรี่ยงเคยอยูเมื่อยายมาจากบานเกา กะเหรี่ยง แตไดเปลี่ยนเปน บานหนองนกกระเรียน จากนั้นก็เคลื่อนยายไปอยูบานราง(ดอก)อาว บานราง(ดอก)บัว ทุงกวางและ ชัฏใหญ บางกลุมแยกไปทางตะวันตกจนถึงบานนาขุนแสนบานทาเคย ไท-ยวน ยังคงรักษาวัฒนธรรมการทอผาซิ่นตีนจกโดยมี ศูนยรวมการผลิตอยูที่วัดรางบัว จังหวัดราชบุรี
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
116
ภาคผนวกที่ ๓ ตารางเปรียบเทียบภาษา ภาษาไทยกลาง กำไร กางเกง กระชาย(หัวกระชาย) กิ้งกา กดทับ กอไฟ แกวง เกวียน กะลา กระจก โกหก
ลาวแงว กองแขน โซง การซาย กะปอม เต็ง ดังไฟ แกง กะแทะ กะโปะ กระจก ขี้ตั๊วะ
ตนกระทือ เกลือ ขางบน ขนมจีน ขอหนอย ขนุน ใคร คางคก คิดถึง ครั้งเดียว ควันไฟพวยพุง คนโต/คนหัวป คนจน คุณ ตัวเรา จริง จริงหรือ โจงกะเบน
กระทือ เกลือ เทิง ขาวปุน ขอแด หมากมี้ ไผ คันคาก คิดฮอด บาดเดียว ควนกุมขึ้น คนใหย คุนทุกข/คนยาก โต/เจา โตเฮา แทแท แทบ โจงกะเบน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
พวน กองแขน โซง กระซาย กิ้งโกน เทิน/เต็ง ดังไฟ ไกว กะแทะ กะโปะ กระจก ขี้ตั๊วะ
ลาวเวียง กองแขน โซง กระซาย ปอม กดทับ ดังไฟ ไกว เกวียน กระบวย แวน ขี้ตั๊วะ
กระทือ เกลือ เทิง
อีทือ เกลือ เทิง
ขอแด มามี้ เผอ คางคะ คิดฮอด ที่เดียว ควันขึ้นพูน ลูกผูใหย คนหยะ คนจน เจา ขอย แทแท แทนี่แหละ หางกะเบน
ขอแด บักมี้ ผูได ขี้คางคก คิดฮอด เถื่อเดียว ควันควัย คนหัวป คนยาก โดเฮา แหมน แทบ ผูเหน็บเตี่ยว
อิสาน กองแขน โซง ขิงซาย กะปอม กด ดังไฟ แกง กะแทะ/เกียน กะโปะ แหวน ขี้ตั๊วะ เกลือ/เกีย คั่งเทิง เขาปุน ขอแหน หมักมี้ ไผ คันคาก คิดฮอด เถื่อเดียว ควนไปขึ้น คนใหย คนยาก/คนตน/คนทุกข ผูนั่น ขอย แหมน แหมนบ นุงปากะเตี่ยว
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
117
ภาษาไทยกลาง จิ้งจก จมูก ภาษาไทย ไฟฉาย ฉิ่ง ฉัน ชวย ชาง ชอน ดู/มอง ดวงอาทิตย เด็กผูชาย ตนขา ตุกแก แตงโม พอของแม แมของแม ตัวเรา ตู บน ที่นอน ทาน ทำอะไร ที่ไหน ทะลึ่ง ทันทีทันใด ทำงาน แทจริง ทัพพี นอยหนา น้ำพริก นาน นองสาวแม บาน ใบแมงลัก
ลาวแงว จักกกะเจี๊ยม ดัง ลาวแงว ไฟฟา สิ่ง เฮา/ขอย ซอย ซาง ซอน เบิ่ง ตะเว็น บักแดง/บักแอ ขาโต กับแก หมากโม พอใหย/โจะ แมใหย/โจะ โตเฮา ตู เทิง บอนนอน/ผาเสื่อ เพิ่น เฮ็ดอิหยัง ที่ได ขึ้นหนา โลด เฮ็ดงาน แทแท สารภี หมากเขียบ แจว ดน สาว เฮือน ใบอีตู
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
พวน
ลาวเวียง จักเจี๊ยม ฮูดัง ลาวเวียง ไฟฟา สิ่ง ขอย ซอย ซาง ซอน เบิ่ง ตะเว็น ไอหำ กกขา กับแก บักโม พอโซน แมโซน โตเฮา ซัวะ เทิง บอนนอน เพิ่น เฮ็ดหยัง ที่ได ดื้อ โลด เฮ็ดงาน แมนบ กะจอง บักเขียบ แจว เหิง แมเฒา เฮียน ใบอิตู
จีเจี้ยม ฮูดัง พวน ไฟฟาสาย สิ่ง ขอย ซอย ซาง บวง เบิ่ง ตะเง็น บะนั้น ขาตูน กับแก มะโม พอใหญ แมใหย ขอย สั้ว เทิง เสื่อ เพิ่น/เจา เอ็ดพิเลอ อยูกะเลอ/ไปกะเลอ ซื้นลื้น เคียวไปเคียวมา เอ็ดงาน เอ็ดแท สารพี หมากเขียบ แจว นาน นา เฮือน อีตู
อิสาน ขี้เกี้ยม ดัง อิสาน ไฟฟา สิ่ง ขอย ซอย ซาง บวง แนมเบิ่ง ตะเว็น บักหำ ขาโอง ขี้แก หมักโม พอใหย แมใหญ โตเฮา ตู เทิง ผาเสื่อ เพิ่น เฮ็ดหยัง บอนได ดื้อ โลด เฮ็ดงาน แมนแทแท บักเสียบ ปน ดน สาน/นา เฮือน ผักอิตู
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
118
ภาษาไทยกลาง ไปจนถึง ไปทางโนน ไทย ผูใหญ ผาถุง ผาสะไบ ผาขาวมา ผาเช็ดหนา ผาปูที่นอน ฝรั่ง(ผล) ฟกทอง พระจันทร พบ พี่ชาย เพื่อน วันนี้ พรุงนี้ พี่เขย พอทวด ฟน มะละกอ มะเขือเทศ แมงปอง มะเขือ ไมรู ยาย รองเทา รองเทาผาใบ ริม รัก รุง ราง รอน รดราด
ลาวแงว ไปจนฮอด ไปทางพูน ลาวแงว คนใหญ ผาซิ่น ผาเบี่ยงบาย ผาขาวมา ผาตะเกียบ ผาหลบบอน หมากสีดา หมากอึ พระจันทร เจอ อาย หมู มื้อนี้ มื้ออื่น พี่อาย ชวด แคว หมากหุง หมากเดน แมงงอด บักเขือ บอู/ จักแลว แมหยาย/โจะ/ แมโซน/แมคุณ เกิ๊บ เกิ๊บโบก ฮิม ฮัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮดฮาด
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
พวน ไปฮอด กูน พวน ผูเหยอ ผาซิ่น ผาพาดโตง ผากะถง ผาเช็ดหนา ผานอน หมากโอย ฟก เกิ้งกาง เจอ อาย เสี่ยว มื้อนี้ มื้อหนา อายเขย ชวด แฮว หมากหุง มะเดน แมงงอด หมากเขือ บฮู
ลาวเวียง ไปจนฮอด ไปทางพูน ลาวเวียง ผูเฒา ผาหนุง ผาแทบ ผาอีโผ ผาเซ็ดหนา ผาปูนอน บักสีดา บักอึ พระจันทร พบ อาย เสี่ยว มื้อนี่ มื้ออื่น อายเขย พอตู เคี้ยว บักหุง หมากเดน แมงงอด มะเขีย บอู แมหยาย
เกิ๊บ เกิ๊บ เซิง ฮัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮวด
เกี๊บ เกิ๊บผาใบ ฮิม มัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮดใส
อิสาน ไปฮอด ไปพูน อิสาน ตนใหย ซิ่น ผาเบี่ยง แพร ผาปูบอน บักสีดา บักอึ อีเกิ้ง/เดือน พอ อาย เสี่ยว มื้อนี้ มื้ออื่น อาย พอตู แคว บักหุง บักโตน แมงงอด หมักเขือ บฮู แมโซน เกบ ฮิม ฮัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮด
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
119
ภาษาไทยกลาง เรือ รอยดาง ไทย เรียก รีบ ราว ลนไฟ วางทับไวขางบน หัวใจ หนาตาง หลุม หมอบ เหมือนกัน
ลาวแงว เฮือ ฮอยแปว ลาวแงว เอิ้น ฟาว ฮาว ขางไฟ วางยองทางเทิง หัวใจ หนาตาง ขุม หมูบ คือกัน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
พวน
ลาวเวียง
เฮือ ดาง พวน ฮอง เคียวไปกะเลอ ฮาว เหลาะไฟ วางเทิง หัวเจอ ปองเอี้ยม หลุม กมลง คือกัน
เฮือ ดาง ลาวเวียง เอิ้น ฟาว ฮาว ขางไฟ หัวใจ หนาตาง หลุม หมอบ คือกัน
อิสาน เฮือ ฮอย อิสาน เอิ้น ฟาว ฮาว ลนไฟ วางเต็ง หัวใจ หนาตาง ขุม หมูบ คือกัน
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
120
ภาคผนวกที่ ๔ การศึกษาเฉพาะชุมชนลาวแงวบานหนองเมืองและลาวแงวบานน้ำจั้น รุจิรา เชาวธรรม สมปอง บุญเติร
การศึกษาเฉพาะชุมชนลาวแงวบานหนองเมือง บานหนองเมือง ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอบานหมี่ สามารถ เดินทางเขาหมูบานไดตามทางถนนคันคลองชลประทานสายบานหมี่-ตาคลี จากอำเภอบานหมี่ มาประมาณ ๑๐ กิโลเมตรแยกขวา มือ ขามสะพาน จะเห็นที่พักสายตรวจอยูบริเวณเชิงสะพานทางเขาหมูบาน จากนั้นจะเปนสวนสมขนาดใหญตั้งอยูทางเขาหมูบาน ชาวบานหนองเมืองสวนใหญประกอบอาชีพการทำนา และการทำไรนา สวนผสม ทางเขาหมูบานเปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก กอนถึงหมูบานจะพบที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลหนองเมือง และตรงกันขามเปนโรงเรียนวัดหนองเมือง และมีวัดหนอง เมืองตั้งอยูกลางหมูบาน ในหมูบานมีสถานอานามัยประจำตำบล
สภาพภูมิศาสตร หมูบานหนองเมืองตั้งอยูบริเวณหนองน้ำ เดิมมีปาลอมรอบรวมอยูดวยกันหลายหมูบานบริเวณที่ตั้งบานหนองเมืองมีพื้นที่ ๖๑.๒๙ ตารางกิโลเมตร พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม มีการทำนา และทำไรสวน มีพื้นที่ใกลเคียง ดังตอไปนี้ l
ทิศเหนือl
ติดตอกับตำบลหนองกระเบียนและตำบลชอนมวง อำเภอโคกสำโรง
l ทิศใตติดตอกับตำบลบานกลวย ตำบลบานทราย และตำบลหินปก อำเภอบานหมี่ l
ทิศตะวันออกl ติดตอกับตำบลดอนดึง อำเภอโคกสำโรง
l
ทิศตะวันตกl
ติดตอกับตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่
ภูมิอากาศของหมูบานอยูในเขตรอนชื้นสลับกับแหงแลงอยางเห็นชัดเจน ในชวงฤดูฝนจึงมีความชื้น สวนใหญฝนจะตกในเดือน ๗-๘ นอกจากนี้ยังมีฝนที่เกิดจากการพาความรอนในชวงเดือนเมษายน และพฤษภาคม ชวงนี้จึงเกิดพายุฝนฟาคะนอง ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือ หนองน้ำ ลำรางที่เกิดจากธรรมชาติสามารถใชเดินทางเรือไดในยามน้ำหลาก มีปาไผและสัตวน้ำ กุง หอย ปู ปลา อยูตามหนองน้ำธรรมชาติ และที่ไหลบาเมื่อฝนตก จากสภาพภูมิศาสตรของหมูบานหนองเมือง เห็นวามีลักษณะเหมาะสมในการตั้งถิ่นฐานเปนทำเลดีและเปนที่ดอน82 มีพื้นที่เหมาะ ในการเพาะปลูกและยังอุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ อันเปนสิ่งจำเปนในการดำรงชีวิต จึงไดชักชวนญาติพี่นองมาตั้งบานเรือน 82
นายราช มีเครือ ลาวแงวบานหนองเมือง
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
121
ประวัติและเรื่องเลาของหมูบานหนองเมือง ชุมชนบานหนองเมืองจากการสอบถามพบวาบานหนองเมืองตั้งเปนบานเรือนมาตั้งแตพ.ศ.๒๔๒๕ กอนชุมชนลาวจะเขามาอยูบานหนองเมืองนั้น พบวาบริเวณนี้เคยเปนชุมชนมากอนซึ่งมีหลักฐานปรากฏคือ เปนวัดเกามีซากอิฐ ปรักหักพังหลงเหลือยู อีกทั้งสภาพภูมิประเทศยังเปนปาที่ราบลุมน้ำทวมในฤดูฝนจึงเรียกวาบานหนองเมืง มีผเู ลาวาบานหนอง เมืองมีชื่อนี้เพราะมีเจาเมืองมาตายที่นี่ จึงเรียกบานหนองเมือง83 พอบอกวามาจากเวียงจันทนหนีขาศึกมา ไปอยูนครพนม ยายไปบานชองแค อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค แลวยายมาบาน หวยกรวด แลวยายมาบานหนองเมือง 84 ทั้งสองบานพูดลาว มีพระเปนผูนำในหมูบาน คนลาวจะทำนา มีการคาขายกับคนจีน เจกจะมาตีราคาขาว คนที่มีฐานะในหมูบานนามสกุล เหลืองทอง สุขสด (เดิมแซอึ้งและแซโล) คนจีนในบานหนองเมืองจะอยูรวม กับคนลาวมีการแตงงานกันระหวางคนลาว คนจีน ทำใหมีการชวยเหลือเกื้อกูลกัน คนลาวเดี๋ยวนี้จะสงลูกหลานใหเรียนหนังสือมากขึ้น ที่เห็นไดชัดคนอายุราว ๔๐ ปขึ้นไปในหมูบานจะไปเรียนในระดับมัธยมที่ โรงเรียนบานหมี่วิทยาและประสบผลสำเร็จในหนาที่การงานก็มาก แตสวนใหญจะไปทำงานที่อื่นอยูกรุงเทพฯก็มาก การแตงงานของคนลาวในสมัยกอน มีการทำพาขวัญ ทำที่บานเจาสาว ตั้งพาขวัญ มีบายศรีปากชาม เวลาทำมีเงินคาครูคาย หมอ หมากพลู ตั้งไวที่หัวนอนสามคืน จึงริ้อทิ้ง ตาปู เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประจำหมูบาน เชื่อวาเมื่อมีการเลี้ยงจะทำใหแคลวคลาด อยูเย็นเปนสุข เลี้ยงตาปูผูเฒาพาทำพาเลี้ยง บานหนองเมืองมีศาลตาปู เวลาทรงเปนเจาพอสนั่นl
ประชากรและการตั้งถิ่นฐาน บานหนองเมืองเปนหมูบานเมื่อราว พ.ศ.๒๔๒๕ โดยมีกลุมคนเขามาอาศัยอยูหลายกลุมดวยกัน กลุมคนที่เคลื่อนยายมาบาน หนองเมืองรุนแรกมีดังนี้ กลุมกำนันชม แพรสี เปนคนไผขวาง ผานมาจะไปลาสัตว ที่ชองแคเห็นวาบานนี้มีทำเลดี เปนที่ดอน จึงชักชวนญาติพี่นองมาตั้ง บานเรือน กลุมแมเฒาลิ้ม ยายมาจากบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดลพบุรี กลุมหนองบัวขาว ยายมาจากหนองบัวขาว จังหวัดลพบุรี เกิดบานหนองเมือง พอใหญอยูบานไผขวาง ลพบุรี แลวยายไปอยูบานชองแค แลวมาที่เขาพระงาม ตอนยายมาบานหนองเมืองมี คนอยูแลวประกอบดวยตระกูลมีเครือ วงศจันนา เมืองคำ85
83
สัมภาษณนายราช มีเครือ
84
อาจารยกนกวรรณ นาสิงห. ๒๖ เมษายน ๒๕๔๑.
85
นายราช มีเครือ. อายุ ๘๗. ๑๑ เมษายน ๒๕๔
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
122
ทั้ง ๓ กลุมเปนกลุมคอนใหญที่เขามาในระยะแรก แตมีตระกูล มีเครือ ยายมาจากบานไผขวาง จังหวัดลพบุรีแลวยายไปที่บาน ชองแคมาที่เขาพระงาม และมาตั้งถิ่นฐานที่บานหนองเมือง ตระกูลแพรสี ตระกูลวงศจันนา ตระกูลเมืองคำ อพยพตามมาภาย หลัง การเมืองการปกครอง บานหนองเมืองตั้งเปนหมูบานเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๕ มีกำนันชม แพรสี เปนกำนันคนแรกของบานหนองเมือง ปจจุบันมีกำนันคนที่ ๑๐ คือ นายนัฏฐพงษ เหลืองทอง ตำบลหนองเมืองมีหมูบานในเขตการปกครอง ทั้งหมด ๗ หมู ประกอบดวย l
หมู ๑ บานหวยกรวด บานนาจาน
l
หมู ๒ บานหนองเมือง
l
หมู ๓ บานหนองเมือง
l
หมู ๔ บานบานหนองแก
l
หมู ๕ บานสระมะเกลือ บานน้ำบา
l
หมู ๖ บานหนองเมือง
l
หมู ๗ บานหนองกระเบียน
ปจจุบันมีบานเรือนจำนวน ๑,๒๒๕ ครอบครัว มีประชากรจำนวน ๔,๖๑๖ คน ตำบลบานหนองเมือง มีสถานศึกษา อยู ๓ แหง คือโรงเรียนวัดน้ำบา โรงเรียนวัดหนองแก โรงเรียนวัดหวยกรวด และโรงเรียนวัดหนองเมือง เดิมบุตรหลานของชาวบานหนองเมือง สวนใหญรับการศึกษาในภาคบังคับเทานั้น เนื่องจากการเดินมาเรียนตอในระดับ มัธยมศึกษาในเขตอำเภอบานหมี่ คอนขางลำบาก คือถนนไมสะดวก ปจจุบัน ผูปกครองใหความสำคัญของการศึกษามากขึ้นสง บุตรหลานเขามาเรียนในระดับมัธยมศึกษาที่อำเภอบานหมี่ อีกทั้งกรรมการศึกษาโรงเรียนวัดหนองเมืองรวมกันขยายการเรียน การสอนจากประถมจาก ๖ เปน ๙ ป การพัฒนาการทางการศึกษามีสวนทำใหแนวคิดของคนรุนใหมไดรับการศึกษาสูงมีอาชีพรับราชการหรือเดินทางไปทำงานที่ กรุงเทพฯ ตางประเทศ สวนบางคนมีปญหาทางดานการศึกษาอาจจะออกมาหางานทำในสวนสมที่มีการจางแบบรายวัน ชาวบาน สนใจในเรื่องวัตถุมากขึ้น บางครอบครัวอาจขายที่ดินอันเปนมรดกที่ไดจากพอแม หรือบรรพบุรุษ ขายไป แลวนำเงินมาซื้อรถ หรือเครื่องใชในครัวเรือน เปนการมองที่แคบไป เมื่อหมดเงินหมดนา ก็ตองหันมารับจางตอไป
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
123
วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจของหมูบานหนองเมือง สภาพสังคมวัฒนธรรมโดยทั่วไปของบานหนองเมือง มีอพยพเขามารวมกันเปนกลุม ตอมามีการสรางวัด โดยคนในพื้นที่นี้ พรอมใจกันประกอบพิธีกรรมทางศาสนา มีการสรางวัดอยูรายรอบหมูบานประกอบดวย วัดหนองเมือง วัดหนองบัวขาว วัดหวย กรวด วัดนาจาน วัดน้ำบา วัดสระมะเกลือ วัดหนองแก การทำเกษตรกรรมในอดีต อาชีพหลักของชาวบานคือการทำนา เลี้ยง วัว ควาย เมื่อกอนยังไมมีคลองชลประทาน น้ำมักจะทวม เวลาทำนาก็จะปลูกขาวพันธเจ็กเชย ขาวเหลืองนางาม ขาวขาวตาแหง ปจจุบันทำนาป นาปลัง ขาวที่ตนเตี้ยๆ ขาวคต เปนพันธขาว หนัก บานนี้เคยน้ำทวมอยูสองปตองซื้อขาวกิน เวลาทำนา ทำนาดำ พอ พ.ศ.๒๕๐๑ มีการขุดคลองชลประทานชาวนาจะทำนา หวาน อาชีพสวนใหญประกอบอาชีพทำนา อาศัยน้ำจากธรรมชาติ มีการปลูกขาวพันธุเจ็กเชย ขาวเหลืองนางาม ขาวขาวตาแหง ตอมา เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๐๐ มีการขุดคลองชลประทาน พันธุขาวที่ปลูกคือพันธุ ขาวนาปลัง เปนขาวตนเตี้ย มีการทำนามากกวาหนึ่ง ครั้ง ปจจุบันมีการทำสวนสมขนาดใหญรอบๆ หมูบาน มีการปลูกสวนปา เสนทางการคาขาวของบานหนองเมือง เมื่อมีการเก็บเกี่ยวชาวบานสวนใหญจะเก็บขาวเปลือกไวเดิมทำนาเพื่อเก็บไวกิน ตอมาทำ เพื่อการคา หากไดราคาดี86 จึงจะนำขาวออกมาขาย มีนายหนามาติดตอซื้อขาว แลวแตจะตกลงกันเรื่องการขนสง การซื้อขายแลว แตความพอใจ อาจมีนำขาวมาขายถึงตลาดทาโขลงหนาน้ำมีเรือมาซื้อขาว ใสเรือมาดบรรทุกไดครั้งละ หนึ่งถึง สองเกวียน ไปตาม คลองธรรมชาติ ในหนาแลงมีการใชเสนทางติดตอคาขายกับชาวอำเภอบานหมี่ โดยใชเกวียนมีลอลากดวยวัว สองตัวเทียม เกวียนไว ลาวแงวเรียก เกวียนวา “กระแทะ” ที่อำเภอบานหมี่โรง สีสองแหงคือ แถววัดปฐมพานิช และโรงสี บริเวณโรงเรียน บานหมี่วิทยาเปนโรงสีของคนจีน ราคาขาวผูซื้อมักจะตั้งราคาเอง หากเราพอใจ ก็ขาย ถาราคามันนอยไปก็ไมขาย การสีขาว ชาว บานหนองเมืองมักจะไปสีขาวที่โรงสีไทยดำรง มีการสีขาวและรับซื้อขาว สวนการสีขาวเปลือก ๑๐๐ ถังจะไดขาวสารประมาณ ๔๒ ถังโดยรำและปลายหักใหโรงสีไปเปนคาจาง สวนการซื้อของใชในครัวเรือน มักจะเดินทางเทาและหาบของของกลับบาน การถือครองที่ดินสมันกอน มีการหักรางถางพง หรือมีการซื้อขาย ในระยะแรกเริ่มจากที่นาราคาไรละ ๔๐๐-๕๐๐ บาท หรือขยับ เปนไรละหนึ่งพันบาท รองลงมามีการทอผาเปนอาชีพเสริม จึงแตเดิมการทอผาของลาวแงว เพียงเพื่อทอไวใชในครัวเรือน เปนผาขาวมา ผาที่ใชตัดเย็บ มิไดทอผามัดหมี่เหมือนกับชาวพวนที่บานหมี่ การสาธารณสุข สมัยกอนมีหมอยาของหมูบาน คือ นายลา ทองแผน นายอรุณ สัจจยานนท มีหมอตำแย คือแมศรีวิไล เมรุทอง
86
สัมภาษณนายราช มีเครือ
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
124
ปจจุบันมีสถานีอนามัยประจำตำบลบานหนองเมือง เดิมมีคลองธรรมชาติใชเปนที่สัญจร สวนทางบกใชกระแทะ คือ เกวียนมีลอ ลากดวยวัวสองตัว ปจจุบันมีรถประจำทางวิ่งระหวางหมูบานกับอำเภอใกลเคียง การศึกษามีโรงเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน ๓ โรงคือ โรงเรียนวัดน้ำบา โรงเรียนวัดหนองแก โรงเรียนวัดหวยกรวดโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาคือโรงเรียนวัดหนองเมือง ศาสนาและประเพณี ชาวบานนับถือศาสนาพุทธมีประเพณีตางๆที่สืบทอดกันมาจนถึงปจจุบันมี งานบุญเขาพรรษา กลางเดือน๘ บุญออกพรรษา กลาง เดือน ๑๑ มีการทำบุญตักบาตรเทโว มีการจุดพลุและปลอยโคม ไตหางประทีปสมัยกอนมีการจุดบั้งไฟ ทำบุญกลางบาน เดือน๖ เลี้ยงตาปู วันอังคารขางขึ้นเดือน ๖ งานลอยกระทง ซึ่งมีสระน้ำอยูทางทิศตะวันออกของวัด และวันสงกรานต การสัญจร เดินทางเมื่อกอนเดินกันไปถาหนาน้ำก็พายเรือกันไป เคยไปทางบานมหาสอน ไปไหวพระวัดไลยมีทางคนเดิน เหยียบ ยางตามคันนา ไปทางบางโพ บางพึ่ง ผานตลาดทาโขลง ริมแมน้ำมีโรงสี หนาน้ำมีเรือมาดมาซื้อขาว บรรทุกไดครั้งละ หนึ่งเกวียน ครึ่ง ถึงสองเกวียน การขาย ขาว ไปขายที่บานหมี่ ไปตามคลองธรรมชาติ มีโรงสีกลาง อยูสองสามโรง แถววัดปฐมพานิช ๑ หนา โรงเรียนบานหมี่วิทยา๑ เปนโรงสีของเจก ราคาขาวผูซื้อมักตั้งราคาเอง หากเราพอใจก็ขาย ถาราคานอยไปหรือถูกไปก็ไมขาย มี นายหนาของโรงสีมาซื้อมีการตกลงกันเรื่องขนถาย ระหวางผูซื้อกับผูขาย คนจีนบานหนองเมืองจะมีอาชีพหลักคือการคาขาว ระหวางบานหนองเมือง หนองมวงกรุงเทพฯ การคาขายเมื่อกอนมีเรือกระแชง ถาน้ำแหงมีทางดินใชกระแทะ คือเปนเกวียนมีลอ ลากดวยวัวสองตัว เวลาสีขาวก็ที่โรงสีไทยดำรงเขารับซื้อขาว แลวสีขาวดวย บางที่ก็สีในหมูบาน ถาขาเปลือก ๑๐๐ ถังสีแลวได ขาวสาร ๔๒ ถัง โรงสีจะไดปลายรำ เปนคาจาง ของซื้อของกินชาวบานก็จะมาซื้อที่บานหมี่ เดินหาบของกันมาก การครอบครองที่ดิน เมื่อกอนก็ซื้อ เฮาเกิดบทันตอนที่เขา ถากถางกัน ทันซื้อไรละสี่รอยถึงพันบาท ลุงราชเลาวาบานนี้ชื่อหนองเมือง เพราะวาเจาเมืองมาตายที่นี่ จึงเรียกวาบานหนองเมือง
ความเชื่อและพิธีกรรม ^๑. ศาลตาปูบานหนองเมือง มีการเลี้ยงตาปู ศาลตาปูบานหนองเมืองมี ๒ แหง ปู ยาตา 87 ยายพาเฮ็ด พาเลี้ยง โดยจะเลี้ยงในวังอังคาร ขางขึ้น เดือน ๖ มี ของเลี้ยงคือ ขนมบัวลอย ขนมตม เหลา ในวันดังกลาวจะมีคนทรงเปนตัวแทนตาปู คอยเชื่อมระหวางชาวบานกับตาปู มีการ โตตอบ ถามขอของใจโดยผานคนทรง ซึ่งทำหนาที่ทำนายอากาศ ฝนฟา การขอความคุมครอง ในปจจุบัน เวลามีการเลี้ยงตาปู มี การฝากเลี้ยงโดยเรี่ยไรเงินไปทำบุญ อีกทั้งการเรียกตาปู ก็เปลี่ยนมาเปนเจาพอ ชาวบานบอกวาตาปู ชื่อเจาพอสนั่น มาจาก เวียงจันทน ปจจุบันมีคนมารวมกิจกรรมนอย แตเดิมไมมีการฟอนรำ เพิ่งมาเพิ่ม ไมรูวานำธรรมเนียมใดมา
87
สัมภาษณนางสุนีย สอนเครือ. บานหนองเมือง.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
125
ในยามปกติมีการบะบน ตอตาปู เชนการเดินทาง ขอใหเดินทางโดยสะดวก การกลับมาถึงบานโดยปลอดภัย การเสี่ยงทายการ ทำนา การรองขอความคุมครอง หากสิ่งที่ตนไดบนไวสำเร็จหรือสมประสงค ก็มีการนำสิ่งของ เชน ไก หรือหมู ขนมตมแดง ตม ขาว เหลา ที่บนไวมาแก นำของบนใสถาด จุดธูปบอกกลาว คะเนวาธูปหมดดอก จึงนำของนั้นไวที่ศาลหรือจะนำกลับบานก็ได การแตงงาน คนลาวสมัยกอน มีการไหวผี คงจะทำกันเปนบางบาน เมื่อมีการแตงงาน 88มีการทำพาขวัญ ทำที่บานเจาสาว ตั้งพา ขวัญ มีครู /หมอครู มาตั้งมีบายศรีปากชาม และวางเงินไวดวย วางไวที่หัวนอน ตั้งไวสามคืน จุดประสงคเพื่อเปนบอกผีบานผี เรือน จากนั้น จึงนำไปไวที่สมควรนอกบาน ปจจุบันไมมีแลว มีการโกนผมไฟ การไวผมแกละ หากบานใดมี ลูกแฝด แลวลูกเลี้ยงยาก ก็จะปนตุกตาไวผมจุก ผมแกละ หรือทรงอื่นๆใหเด็ก เลือกเชื่อวาเด็กจะเลี้ยงงายและไมเจ็บปวย การไวผม จุก แกละ พอเด็กอายุ ประมาณ ๗-๘ ปจึงมีการโกนผม การโกนผมไฟ ทำ กันเองในครอบครัว ไมตองนิมนตพระมาบาน เอาคนเฒาคนแกตัดผมกอน เคยเห็นเขาสรางวัดหนองเมือง มีโบสถเกาฝาดวยไม มีเมรุ การกอสราง จางชางมาทำทั้งหมด ประเพณี มีบุญเขาพรรษา เดือน ๘ สารทลาวกลางเดือน ๑๐ ทำบุญกลางบานกลางเดือน ๖ ทำเปนกลุม ไตหางประทีป ตะกอนมีบั้งไฟจุดพลุ ปลอยโคมเวลาออก พรรษา บานนี้มีลอยกระทง ตรงสระน้ำทิศตะวันออกของวัด เฮ็ดเองลอยเอง กรรมการวัดจัดเอง วันสงกรานตก็เวลามีงานมี สอยดาว เมื่อกอนเวลาแตงงานเขามีไหวผี แตไมไดทำทุกบาน ไมรูวาเขาทำอยางไร ศาลตาปูบานหนองเมืองมี ๒ แหง เดี๋ยวนี้เวลาเลี้ยงกลางเดือน ๖ มีเจาพอสนั่น ของเลี้ยงมีขนมหวาน เปนขนมบัวลอย ขนมตม ตอนหลังมีคนทรง ทำนายอากาศ น้ำฝน ขอความคุมครอง เหลามีการฝากเลี้ยงโดยเรี่ยไรไมตองไปเลี้ยงเอง เงินไปทำบุญ เขาก็ จะไปซื้อหมู ไก ทำขนมเลี้ยงตาปู แทนเรา ที่เปลี่ยนเปนแบบนี้เพราะคนมัวยุง อยูกับการทำไรทำนา อยางเฮาเห็นเขามีฟอนรำ มี กลองยาว รอเขาทรง ทำไมเหมือนเมื่อกอน คนไปเลี้ยงตาปูนอยกวาเกา เมื่อกอนไมมีฟอน ไมมีรำเพงมาเพิ่มกันที่หลัง ไมรูวานำ ธรรมเนียมนี้มาจากไหน ศาลตาปูอยูประจำหมูบาน เพิ่นเปนเจาบานเวลาไปไหนมาไหนตองบอก ตองกลาว บางทีไปบนเรื่องการ เดินทาง การกลับมาบาน กรณีที่เดินทางไปหลายๆวัน เมื่อสมประสงคแลว มีการแกบน l พิธีกรรมเดิมแตกอน มีการไวผมแกละ ถามีลูกแฝด เลี้ยงยาก ลูกฮองไมหยุด บสบายบอย คนเฒาคนแก ก็จะทำตุกตา แลวทำ ทรง ผมจุก ผมแกละ ผมโกะ เสียงทายใหเด็กนอยจับ อยางแมใหญ (ภรรยาลุงราช เปนลูกแฝด)ก็เคยไวผมจุกมากอน ในหมูบานมีหมอตำแย หากเขาทำคลอดใหลูกออกรอดปลอดภัย บานนั้นตองมาสมมามีเงินคาครูคาย หมากพลู 89 อาชีพหลักของชาวบานเขาทำนา ทำนาดำ สวนขาวคต เปนขาวพันธุหนัก เมื่อกอนน้ำทวม ชาวนาจะปลูกขาวเจกเชย ขาวเหลืองนา งาม ขาวขาวตาแหง เลี้ยง วัว ควาย เมื่อกอนยังไมมีคลองชลประทาน เพิ่งมาขุดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑ ชาวนาจะทำนาหวาน เดี๋ยวนี้
88
สัมภาษณนางกนกวรรณ นาสิงห
89
นายราช มีเครือ อายุ ๘๗, ๑๑ เมษายน ๒๕๔๑
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
126
ชาวบานทำนาปลัง เปนขาวตนเตี้ยๆ บานนี้เคยนำทวมอยูสองป ตองซื้อขาวกิน สวนอาหาร มีขาว ปลา หมูไก คือสวนประกอบ ในการปรุงอาหาร แกงเลียง แกงสม น้ำพริก เมื่อกอนใกลๆบานหนองเมือง สามารถลาเกงกวาง มากิน90
การศึกษาเฉพาะชุมชนลาวแงวบานน้ำจั้น บานน้ำจั้นตั้งอยูบริเวณ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี อยูทางเหนือสุดของบานหมี่ ติดกับตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค เปนหมูบานขนาดปานกลาง ตั้งอยูที่ราบลุมหางจากแมน้ำเจาพระยาประมาณ ๑๗ กิโลเมตร มี พื้นที่อาศัยอยูประมาณ ๒๐๐ ไร ปจจุบันพื้นที่โดยรอบถูกถากถางเปนไรนาแทบทั้งสิ้น มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่และหมูบานใกลเคียง ดังนี้ l
ทิศเหนือll
ติดกับบานคลอง ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค
l
ทิศตะวันออกl
ติดกับบานหนองนางาม ตำบลไผใหญ อำเภอบาน จังหวัดลพบุรี
l
ทิศใตl l
ติดกับบานลำ ตำบลโพธิ์ชัย อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี
l
ทิศตะวันตกl
ติดกับ บานดงมัน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค
การเดินทางมีหลายเสนทาง ๑. หากนั่งรถยนตจากอำเภอบานหมี่ตามถนนสายคันคลองชลประทาน บานหมี่–ตาคลี ประมาณ ๒๔ กิโลเมตร แยกซายมือเขา มาผานบานจันเสน ไปอีกประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร จะถึงบานน้ำจั้น ๒. หรือเดินทางมาโดยรถไฟ สายเหนือ จากสถานีบานหมี่มาประมาณ ๑๗ กิโลเมตร มาลงที่สถานีรถไฟจันเสน และเดินทางจาก บานจันเสนไปอีกประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร ๓. หากเดินทางมาตามถนนสายเอเชีย กรุงเทพฯ- นครสวรรค แยกจากสายเอเชีย เขาตากฟามาประมาณ ๓๐๐กิโลเมตร จะเห็น ทางแยกมาบานจันเสน ประมาณ ๘ กิโลเมตร บานบานจันเสนและผานวัดจันเสนออกไปบานน้ำจั้น ๒.๕ กิโลเมตร ทางเขาหมูบานผานคลองชลประทานขนาดเล็กมีซุมประตูวัดอยูดานหนา หากตามคลองชลประทานไปทางซายมือประมาณ ๑๐๐ เมตรจะพบโรงเรียนบานน้ำจั้น ผานซุมประตูไปตามทางประมาณ ๓๐๐ เมตร จะเห็นสถานีอานามัย ศูนยทอผาของแมบานวัดน้ำ จั้น ภายในบริเวณวัดน้ำจั้นมีสิ่งกอสรางดังนี้ตอไปนี้คือ มีอุโบสถสรางเสร็จเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งสรางแทนหลังเดิมที่เปน ไมหลังคาสังกะสีติดกับโบสถมีสระน้ำเกาแก มีศาลาวัด มีหอระฆัง หอฉัน ฌาปณกิจสถานและกุฏิพระสงฆ อนุสรณสถานของ อดีตเจาอาวาสวัด ในพื้นที่ใกลเคียงกับวัด มีศาลตาปูอยูทิศตะวันออก 90
นายราชมีเครือ อายุ ๘๗ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๑
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
127
ในหมูบานมีตูโทรศัพทสาธารณะ ๒ ตู และที่รานคาหนาวัดน้ำจั้นมีบริการโทรศัพทที่สามารถประกาศเรียกทางหอกระจายเสียง ตามตัวมารับโทรศัพทได ในหมูบานมีรานคาจำนวน ๕ ราน ที่จำหนายของใชนับตั้งแตอาหารแหง อาหารสด เครื่องดื่มทุกชนิด ของใชเบ็ดเตล็ด ตลอดจนยาฆาวัชพืช ปุย น้ำมัน บานน้ำจั้นเปนที่ตั้งของตำบลไผใหญ มีที่ทำการตำบล ไผใหญ ปจจุบันมีหมูบานในเขตรับรับผิดชอบ จำนวน ๖ หมูบาน l
หมู ๑ บานหัวบึง ชาวบานสวนใหญ เปนชาวพวน
l
หมู ๒ บานไผใหญ มีชาวลาว และชาวไทยอยูบนกัน
l
หมู ๓ บานโปรง มีลาวแงวมากกวา ชาวไทย
l
หมู ๔ บานน้ำจั้น มีลาวแงวมากกวากลุมใดๆในหมูบาน
l
หมู ๕ บานหนองนางาม มีคนไทยอาศัยอยูมาก l
หมู ๖ บานหนองกวาง มีชาวไทยแถบแมน้ำเจาพระยามาอาศัยอยูมาก
ปจจุบันบานน้ำจั้นมีประชากรทั้งสิ้น ๖๔๒ คน เปนชาย ๓๒๐ คน หญิง ๓๒๒ คน มีบานเรือนจำนวน ๑๕๒ หลังคา วัด ๑ แหง โรงเรียน ๑ แหง สถานที่ของกลุมสตรีทอผาบานน้ำจั้น ๑ แหง สถานีอนามัย ๑ แหง ปจจุบันมีนายอำไพ อะโหสี เปนกำนัน
ลักษณะภูมิประเทศ บานน้ำจั้น ตั้งอยูในระหวางที่ราบลุมแมน้ำเจาพระยาและรอยตอที่ราบสูงลอนลูกคลื่น บานน้ำจั้นอยูหางบานโคกจันเสนเมือง โบราณประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของชาวบาน คือ สัตวน้ำจำพวกปลา กุง หอย สวนปาละเมาะเดิม เปนไมหนามระกำ ปจจุบันมีไมไผอยูจำนวนมาก และพวกตนมะขาม ตนมะขามเทศ บานน้ำจั้นเปนที่ดอน และชาวบานมักเรียกนาแตกตางกันไป เชน นาดอน คือนาอยูในที่ดอน นาหนองมะใน คือมีนาอยูรอบหนอง น้ำนี้ นาหนองชะโด ซึ่งแตเดิมเปนหนองน้ำใหญ มีปลาชุกชุม ทำใหคนในถิ่นอื่นมาจับปลากันที่นี่ และลำรางน้ำนี้เปนทางน้ำไหลมา สูสระหลวงที่บานคลอง จันเสนและไหลลงสูคูน้ำเมืองโบราณจันเสน มีพื้นที่เปนที่ดอน เดิมทางดานทิศใตของหมูบาน เปนปาละเมาะ ชาวบานสามารถหาอาหารปามารับประทาน มีสัตว เชน กระตาย มีเห็ด มีการนำไมมาทำเปนฟน ถาน ใชในครัวเรือน ปจจุบันสภาพปาหมดไปแลว และมีการ จับจอง และถือครองที่ดินหมดทั้ง สิ้นที่ตั้งของหมูบานเปนที่โคกเล็กนอย ลักษณะของดิน เปนดินเหนียวสีดำ มีการใชน้ำจากน้ำบาดาล คอนขางขาดแคลนในเดือน ๔-๕ ในหมูบานมีบอน้ำใหญ และเปนตาน้ำอยูแหงเดียว มีการขุดโดยแรงงานของชาวบาน แลวใชไมแสมขัดปองกันดินไมใหพัง ทลาย ทำอยูสองครั้ง ตอมาภายหลังมีการใชวงซีเมนตแทน และในป พ.ศ.๒๕๓๖ เริ่มมีการทำน้ำประปาประจำหมูบาน โดยแจก จายใหใชไดทุกครัวเรือนมีการบริหารงานในรูปของประปาหมูบาน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
128
ประวัติศาสตรของชุมชน เอกสารการตั้งวัดน้ำจั้นระบุวา บานน้ำจั้นเปนหมูบานมาตั้งแตป พ.ศ.๒๔๓๗ มีชนชาวลาว โดยเฉพาะลาวแงวอยูเปนจำนวนมาก กลุมคนที่เขามาอาศัยในบานน้ำจั้นระยะแรก คือ นายปรีชา เชื้อมุข พอแมเกิดที่บานหนองโดน อำเภอบานหมอ จังหวัดสระบุรี แลวยายไปอยูบานแคสูง ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แลวยายมาบานน้ำจั้น บรรพบุรุษเลาวา ตอนยายมาเห็นมีน้ำใส จึงตั้งชื่อบานวาบานน้ำจั้น91 สวนนางซอน สมทรง เลาวาเฒาออนบอกวาอพยพมาเพราะที่เดิมมีสงครามเวลามาก็เตรียมขาวคั่ว ขาวตอก มาอยูบานโคกเสลา ในจังหวัดสระบุรีกอน แลวถึงยายมาอยูบานน้ำจั้น ตอนนั้นมีบานเรือนอยู ๓๐ ครัวเรือน92 นางวันดี เชาวธรรม เลาวาตายายยายมาจากบานน้ำจั้น อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี สวนปูยายายมาจากบานหนองเมือง อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี ตอนยายมามีบานเรือนอยูแลวมากันหลายกลุมเขาก็เปนบานใหญ พื้นที่ตั้งหมูบานเปนที่ดอนน้ำไมทวม ที่ ตั้งบานมีบอน้ำหลวงอยูในหมูบาน จะเปนตาน้ำมีน้ำใชตลอดป เดิมที่วัดมีบอน้ำอีกแหงหนึ่งมีน้ำไหลตลอดป มีมากจนเปนสระน้ำ ขนาดใหญ มีกอบัวขึ้นมากมาย ปจจุบันไดถมไปครึ่งหนึ่ง เหลืออยูทางตะวันออกของอุโบสถ93 การสรางบานของลาวบานน้ำจั้น ถาคนมีฐานะจะเปนบานทรงไทยเชนบานพอสุด มุยแกว พออน มุยแกว (ปจจุบัน ๒ หลังนี้ไดรื้น ถอน ถวายวัดแลว) บานพอไสว นาคแยม หรือเปนทรงปนหยา ในบานหนึ่งหลังจะมีสวนประกอบ คือ หองเก็บของสำคัญที่ใช เปนที่นอนของลูกสาว (กรณีที่มีลูกสาว )เรียกวาในเฮือน (ในเรือน) ในครัว เพิง (หองกวางโลง) นอกชาน ที่ไมมีหลังคา อาจจะเปน ที่อาบน้ำของเด็กและคนแก ตอกับบันได สวนบานเรือนโดยทั่วไปจะเปนทรงประยุกต หรือรูปทรงสมัยใหม ที่เล็กกะทัดรัด คนเกาของบานน้ำจั้น ที่รูจัก คือ เฒาตุม กับแมใหญจำปา มุยแกว เฒานาค นาคแยม ชาวบานน้ำจั้นประกอบดวย คนไทย คนลาว คนจีน คนลาวอีสาน และลาวแงว คนไทยที่มาอยูบานน้ำจั้นกลุมแรกคือ กลุมบัวตั๋า กลาวคือนายบุญธรรม จำปาแดง สมัยเปนหนุมไดไปเที่ยวบานโพธิชัยซึ่งการ เดินทางสมัยนั้นลำบากมากถึงหนาน้ำ น้ำทวมจะตองไปทางเรือ หนาแลงก็เดินเทาหรือไปทางกระแทะ ไปไดเมียแลวพากลับมา อยูบานน้ำจั้น เมื่อมาเห็นทำเลดีก็กลับไปชวนญาติพี่นองมาตั้งหลักฐานที่น้ำจั้น ผูหญิงก็มาแตงงานกับผูชายลาวแงว สวนผูชายก็ แตงกับสาวแงว ลูกหลานที่มีก็พูดลาวแตก็พูดไดทั้งลาวและไทย การดำรงชีวิตก็อยูในกลุมลาว สวนนายถนอม บัวตั๋า เกิดที่บานโพธิ์ชัย มาโตที่บานน้ำจั้น และไดแตงงานกับนางจันที มุยแกว และตอมาไดเปนผูใหญบาน
91
นายปรีชา เชื้อมุข บานน้ำจั้น หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
92
นางซอน สมทรง บานน้ำจั้น หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี
93
นางวันดี เชาวธรรม ๒๙๘/๑ หมู ๑ ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
129
คนจีน ชื่อ เจกจุน แซตั้ง เกิดที่เมืองจีน แตงงานกับนางสัมฤทธิ์ ชาวบานจันเสน แลวยายมาอยูบานน้ำจั้น จะตั้งบานเรือนอยู เปนกลุมของตนเองแตก็อยูที่บานน้ำจั้น ลูกก็พูดลาว เขาสังคมลาว แตก็ยังนับถือประเพณีแบบจีนอยู คนพวน นายเงิน ไปไดเมียคนพวนที่บานหมี่ แลวมาอยูที่บานน้ำจั้น เมื่อมีลูกจะสงใหลูกเรียนหนังสือ จะไมใหลูกทำนา หรือสง ลูกไปอยูบานตายายที่ บานหมี่ คนลาวอีสาน สวนมากจะเปนผูชายมาแตงงานกับสาวแงว คนอีสานจะขยันทำมาหากินเปนคนซื่อสัตยจะมีที่นามากและจะมีลูก มาก แตเมื่อมีการแบงนาใหลูกจะแบงใหเทากันจากที่มีมากก็เหลือนอย จึงดูเหมือนวามีที่ทางนอย ตระกูล เชื้อมุข ยายมาจากบานหนองโดน อำเภอบานหมอ จังหวัดสระบุรี ตระกูลมุยแกว ยายมาจากบานหนองเมือง อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี ตระกูลเผาหล มาจากบานน้ำจั้น อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ตระกูลนาคแยม มาจากบานดาบโกงธนู อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ตระกูลหนูแสง มาจากบานโคกเสลา จังหวัดสระบุรี ตระกูลหวางผา มาจากบานหนองโดน จังหวัด สระบุรี ตระกูลคำกอน ตระกูลจำปาแดงมาจากบานดงพลับ บานแคสูง อำเภอบานหมี่ ตระกูลอะโหสี มาจากจังหวัด มหาสารคาม ลุงมวนเปนลาวผูใหญที่มีบุคลิกนานับถือ มีนิสัยใจคอซื่อตรง มีความขยันขันแข็งมาโดยตลอด คณะของเราคิดวาคุณลุงอายุ เพียง ๖๕ - ๖๖ ป แตคุณลุงอายุถึง ๗๘ ป ยังไมมีทีทาวาจะแกงายๆ เลย พวกเราไดสัมภาษณถึงการยายถิ่นฐานของทานๆ ไดเลาใหฟงวา บรรพบุรุษของทานไดยายมาประมาณ ๙๐ - ๙๕ ปแลว เมื่อมาก็จับจองที่นากันและเมื่อมีลูกก็แบงปนใหลูกๆ กันไป ตัวคุณลุงเองเกิดในป พ.ศ. ๒๔๖๖ พออายุได ๗ ขวบ ก็ไปเปนลูกศิษยวัด ก็เรียนหนังสือไปดวย คุณลุงเรียน โรงเรียนราษฎร เรียกวาโรงเรียนสอนจาง คาบำรุงปละ ๓ บาท ผูสอนคือ อาจารยพัฒน ซึ่งบวชเปนพระ พอลุงอายุได ๑๗ ป หลวงก็มาตั้งโรงเรียน ครูใหญชื่อ เพ็ญศรี โรงเรียนในสมัยกอนก็ใชศาลาวัดเปนโรงเรียนสอนนักเรียน สำหรับลุงมวน เมื่อครั้งอยูวัดไดเปนลูกศิษยพระอาจารยสิงห ซึ่งเปนเจาอาวาสวัดน้ำจั้น ซึ่งมาจากทางภาคตะวันออกเฉียง เหนือ อายุประมาณ ๔๐ ปกวาๆ จำไมไดแนนักวากวาเทาไร ตัวลุงมวนมีหนาที่ชงน้ำชาใหเจาอาวาส คอยรับปนโตเมื่อเจา อาวาสบิณฑบาตรกลับมาตอนเชา และคอยรับใชเรื่องเล็กๆ นอยๆ เนื่องจากกลางวันตองไปโรงเรียน ลุงเรียนอยูจนจบ ป.๖ ก็หยุดเรียน สาเหตุที่พวกน้ำจั้นยากจนลงเพราะชาวบานที่มีนา ๔๐-๕๐ ไร เมื่อมีลูกมากก็แบงใหคนละเทาๆ กัน เหลือประมาณคนละ ๕-๑๐ ไร เมื่อทำนาก็ไดขาวนอย ในขณะเดียวกันชาวบานก็มีลูกหลานที่ตองสงเขาโรงเรียน เงินทองก็ตองใชมาก เมื่อมีนานอย รายไดก็ตองนอย ก็จำเปนตองไปกูเงินและกูดวยวิธีขายฝาก และเมื่อปใดนาลมหรือไมมีผลผลิตก็ตองถูกยึดที่ดินไป ยิ่งทำให ขาดรายได สภาพชีวิตก็ย่ำแยลงกวาเดิม ไดแตรับจางไปวันหนึ่งๆ ลุงมวนเลาวายิ่งปจจุบันมียาบาเขามาในหมูบาน บางบานก็คายาบาก็มีแตลุงไมกลาใหขอมูลหรือขอเสนอแนะใดๆ เพราะเกรงวา อันตรายจะมาถึงตัวทาน
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
130
วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจของบานน้ำจั้น บางคนเลาวา94 เกิดมาก็เห็นเปนบานน้ำจั้นที่นาสวนมากจะเปนของคนพวน แตคนคนพวนไดไดอาศัยอยูบานน้ำจั้น คนพวนจะ มาปลูกบานชั่วคราวเพื่อมาจับจองถากถางเมื่อไดที่ตองการแลวก็กลับไป เชนเดียวกับคนไทยแมน้ำ เชนบานหางน้ำ บานโพธิ์ชัย แตก็มีที่ลาวแงวไดจับจองที่ดินไวเอง บางคนจับจองที่ไมทันก็ขอซื้อที่นากับคนพวนและคนไทยในราคาถูก มีบางครั้งที่ขอซื้อที่นา ไวแลวผูขายยังไมมีการถากถางผูซื้อตองถากถางเอง ระบบเศรษฐกิจของบานน้ำจั้นเดิมเปนเกษตรแบบยังชีพ ทำนาเพื่อใชในครัวเรือน เมื่อมีมากเหลือใชจากครัวเรือนก็จำหนาย ให กับพอคา ทั้งที่มาซื้อดวยตนเอง หรือเปนนายหนามาติดตอซื้อขาย ตามแตราคาที่จะตกลงกัน ตามความพอใจของผูซื้อและผูขาย แตเดิมนั้นผลไม และอาหารประเภทพืชผักตองมาซื้อที่ตลาดจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี หรือเดินทางไปซื้อที่ตลาด บานหมี่ จังหวัดลพบุรี อีกทั้งหากมีขาวของภายในครัวเรือน ก็นำมาแลกเปลี่ยนกัน บางก็แบงกันกิน เสนทางการคาขาย เชน การนำขาวใหกับโรงสี หรือการนำขาวเปลือกไปสีเปนขาวสาร ชาวบานน้ำจั้น จะนำขาสารไปสีที่โรงสีบาน บางกะเพียง โรงสีบานสานหวยแกว ซึ่งอยูอำเภอบานหมี่และโรงสีที่ตลาดจันเสน อำเภอตาคลี การดำรงชีวิตแบบดั้งเดิมไดเปลี่ยนไปเนื่องจากมีการตัดคลองชลประทานการทำนาแบบปละครั้ง เปลี่ยนเปนการทำนามากกวา ๑ ครั้งแลวแตน้ำจะอำนวยใหทำนา เมื่อ มีการเรงจำนวนผลผลิตทำใหมีการนำสารเคมี และปุยเคมี เขามา รวมถึงการนำเทคโนโลยี มาใชอยางไมคำนึงถึงผลกระทบตามตามมา อีกทั้งการใชยาเพิ่มกำลัง จนถึงสารเสพยติด การทำนาในสมัยกอนจะตองทำเมื่อถึงฤดูฝน ขณะทำนาชาวจะใชลอบ ไซไปดักปลา ตามทุงนา เพื่อนำมาเปนอาหาร ที่เหลือก็ทำ ปลารา ปลาเกลือ ตามคลองที่ใกลนา หรือใกลกับหมูบาน ก็มีการยกโตง ยกยอ ลงขาย ทอดแห ชวงที่ฝนตกใหม ชาวนาก็จะออก ไปจับกบ เพื่อนำมาเปนอาหาร หากมีมากก็จะขายกันในหมูบาน สวนตามคันนา ชาวนาก็จะปลูกถั่วฝกยาว ถั่วพู พริก ตะไคร นา แตละแปลงจะขุดสระ เพื่อ เก็บน้ำไวดื่ม ไวใช สมัยกอนยังไมมีการใชสารเคมี นอกจากนี้เปนที่อยูของปลา กอนนั้นมีการใชแรง คนเกี่ยวขาวตองเก็บน้ำไวใช รวมถึงการนำน้ำมาทำลานขาว ตามขอบสระมีการปลูกพืชยืนตน เชน มะมวง กลวย งิ้ว ขี้เหล็ก ตน แค พืชไมเลี้อย ฟกทอง แตงกวา เมื่อหมดหนา ทางชลประทานจะปลอยน้ำมา ชาวนาจะมีการบำรุงดินโดยปลูกพืชหมุนเวียน โดยการหวานงา ปลูกถั่วเหลือง หรือ ถั่วดิน(ถั่งลิสง) ลงในนาของตน เดิมชาวนาจะไมเผาฟาง มีการนำมูลสัตวไปหวานในนาดวย บานชาวนาทุกบานจะตองมีวัว ควายไวในการทำนา ขนขาว หรือนำของไปขายตางหมูบานโดยการเทียมกระแทะ มูลสัตวเรา สามารถนำมาเปนปุยได เมื่อมีเทคโนโลยีใหมๆ เชน มีรถไถนา ตอมามีรถควายเหล็ก รถตอก วัว ควายชาวนาก็ไมใช ก็มีการขาย วัว ควาย เพื่อนำเงินไปซื้อรถ บางบานก็ไมขายก็เพราะสงสารสัตว ใชงานมานานแลวสมควรที่สัตวเหลานี้จะไดพักผอนบางบางคน ก็รูถึงบุญคุณของสัตวเหลานี้ก็เลี้ยงไวสวนมากจะมีกันบานละตัวสองตัว แตก็มีบางบานที่หาซื้อวัวควายมาเลี้ยงเปนอาชีพ ซึ่งที่ บานน้ำจั้นมีนายราญเปนคนไทยแมน้ำที่อพยพมาตั้งรกรากอยูที่น้ำจั้น มีอาชีพเลี้ยงควายมาแตแรก
94
นางวันดี เชาวธรรม อายุ ๖๖ ป, ๑๐ เมษายน ๒๕๔๒
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
131
การขายขาวเปลือกของคนบานน้ำจั้น จะมีเจ็กมาหาซื้อ ชาวนาในสมัยนั้นมักจะเก็บขาวไวในยุง หากจะขายจะมีการตวงขาว โดย ใชถัง (เรียกวา สัด ซึ่งเทากับ ๑๘ ทะนาน) ผูมาซื้อจะมีกระแทะมาขนเอง ขณะตวงขาวจะมีหมายนับจำนวน คือมีการใชไมติ้ว การซื้อขาย ตามแตจะตกลงกันระหวางผูซื้อและผูขาย หากพอใจ โรงสี แตเดิมเปนของครูสด เพิ่นมาสอนอยูบานน้ำจั้น ชาวบาน จะหาบขาวมาสี ทางเดินสมัยกอนลำบาก พอมาตอนหลังครูสดขายโรงสีใหกำนันละมัย จำปาแดง การทำมาหากิน ใชจอบเสียม ยังไมมีเครื่องทุนแรงอื่น ในการทำนา ตามปา จะมีเผือก มัน หนอไม เพราะมีปาไผ พูดถึงสมัยกอน ๑. มีทำหนอไม แลวหาบไปขายที่บานหมี่ใสปบไปหรือทำเปนพวง ๆ ละ ๕ มัด เอายานางไปพรอม หาบไตหมอนรถไฟไป ๒. ขาวเปลือกก็เคยหาบไปขายตอนนั้นขายถังละ สองสลึง (ปาซอนอายุ ๑๓ ป) ขนมทอด เชน ซาละเปาทอดก็ ๖ หนวย ๕ สตางค ๓. เวาถึงโจรขโมย เวลามันมามีดาบมา ตะกอนเวลามันจะมาปลน จะปกสลากไวหนาบานนั้น เรารูก็จะเตรียมหนี โจรไมไดของ มันก็ขึ้นเฮือนเปลา ตางกับเดี๋ยวนี้ มันเอาตาย เวลาขายเอาสตางคใสไวในกระบุงเอาผักเอาหญามาปกไว บางบานเอาฝงดินไว เคยใชเหรียญ ๑๐ สตางค ๕๐ สตางค การแลกเปลี่ยนเงิน สมัยกอนจะตองเอาเงินไปขึ้นที่อำเภอ เมื่อมีลิเกขอทานมาเลนขอ ขาวสาร อาหาร ปลาแหง ลิเกแตงตัวสวย เฒาตุม สรางศาลาวัดศาลานั้นมีกลองหนัง สีออกขาวๆ เวลามีคนตาย ก็มัดตราสัง ยามเผาผี ทำกองฟอน ทำบุญคลายสมัยนี้ นอกนั้นมีการเลี้ยงไก เลี้ยงเปดเพื่อกินไข และเพื่อบริโภคเปนอาหาร ภายในครัวเรือนแตพอมีมากก็นำมาแลกเปลี่ยนกับอยาง อื่น หรือบางครั้งก็ขายเปนรายไดของครอบครัว บางคนที่มีฝมือในการจักสานก็ทำกระบุง ตะกรา กระจาด กระดง ตะแกง ลอบ ไซ เผือก ทั้งใชในครัวเรือนและขาย บางคนที่มี ฝมือในการเย็บที่นอน หมอนหก จะไปซื้อผามาจากตลาดบานหมี่สวนนุนที่ใชก็จะไปเก็บมาจากตนงิ้วที่ขึ้นตามทุงนา หรือตาม ขอบสระ นำมายัดเปนที่นอน หมอน ในระยะแรก ที่มีการปรับเปลี่ยนการทำนาจากทำเพื่อยังชีพใชในครัวเรือน ที่นากอนจะมีการถือวา ชาวบานจะทำการจับจอง หรือ จางวานถากถางไว ตอมาทางการจะมอบ สค. ๑ นส.๓ และออกโฉนดใหตามลำดับ บางตระกูลมีนามากถึง ๓๐๐ ไร ปจจุบัน การทำนาของชาวบานน้ำจั้นมีคาใชจายในการทำนามากขึ้น ทั้งคาแรง คาปุย คาน้ำมัน รวมถึงการซื้อเครื่องจักร เชนรถไถเดินตาม เครื่องวิดน้ำ ทำใหไมเงินทุนใช จึงตองมากูยืมเงินจากนายทุนในตลาดจันเสน จนบางครั้งยืมไปยืมมา จนตนทบดอก ดอกทบตน ทำใหที่นาหลุดไปอยูในมือของนายทุนชาวจีนในตลาดจันเสน ปจจุบันชาวลาวบานน้ำจั้นมีที่นาในครอบครองนอยมาก บางก็หลุด จำนอง หรือจำหนายไปในราคาที่ถูกเพราะถูกกดดันจากนายทุนไมไหว จากการสำรวจลา95 สุดมีชาวนาในบานน้ำจั้นมีผูถือครอง ที่ดิน มากกวา ๒๐ ไร ประมาณ ๒๐ ราย ปจจุบัน ป ๔๑ ชาวบานมีการทอผา (ปจจุบันผืนละ ๑๕๐ บาท) 95
สัมภาษณนายอำไพ อะโหสี กำนันตำบลไผใหญ
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
132
การสูญเสียที่ดินทำกิน ลุงมวนมีลูก ๕ คน ลูกสาว ๔ คน ลูกชาย ๑ คน รับราชการทหารเปนจาอากาศเอกอยูที่กรุงเทพสวนลูกสาวทั้ง ๔ คน แตงงานไป มีหลักฐานฐานะมั่นคงไมมีอะไรใหหวงใจ ปจจุบันลุงมวนมีที่นา ๔๐ ไร ซึ่งตั้งแตเดิมมีเพียง ๖ ไร ๒ งาน รวมทั้งภรรยาลุง ดวย นอกจากทำนา ลุงมวนก็ขายน้ำแข็งและน้ำขวดที่บาน เก็บหอมรอมริบไว พอมีเงินมากขึ้นก็ไปซื้อนาเพิ่ม เมื่อขาดเงินบางก็ ไปกูเจกสื่อกับยายเกียว คนอื่นที่มีฐานะในตลาดน้ำจั้น พวกเราสงสัยจึงถามลุงมวนวา นายทุนใหกูเงินมีคนเดียวหรือ ลุงมวน เลาวามีหลายคน แตที่ลุงไปกูเจกสื่อก็เพราะวา เจกสื่อเปนคนซื่อสัตย ไมเอาเปรียบชาวลาวหรือคนจน โดยใหกูรอยละ ๑ บาท ตอเดือน และมีการทำสัญญากันอยางถูกตองตามกฎหมายที่อำเภอ ซึ่งไมเหมือนกับคนอื่นที่ไปกูผูอื่นและบางครั้งก็กูแบบขาย ฝาก คือ กูเงินแลวเอานาไปขายฝากไว ถา ๓ ปไมมีเงินมาใหครบ นานั้นก็ตองตกเปนของนายทุน ซึ่งลุงมวนบอกวาชาวบาน น้ำจั้นปจจุบันหลายๆ บานที่ถูกยึดนาไปหมด จนตองมามีอาชีพรับจางไปวันหนึ่งๆ ซึ่งแตเดิมชาวบานน้ำจั้นจะเปนที่เลื่องลือวามี ความร่ำรวย พวกโจรชอบมาปลน เพราะจะไดเงินมาก96
สุขภาพอนามัย สุขภาพอนามัย ของชาวบานน้ำจั้น เดิมในหมูบานมี ผูทำการรักษาโรคตางๆ คือ หมองู เปนคนจีน ชาวบานเรียกวา เจกหลี แซ ตั้ง อีกคนหนึ่งชื่อนายหวั่น พุมเกตุ หมอผี เปนคนภาคอิสาน มาอยูที่บานบานน้ำจั้น ชาวบานเรียกวา หมอลำซอง ? หมอตำแย มีนางจันที ไมทราบนามสกุล และนางแอ พุมเกตุ หมอยาที่รักษาโรค โดยใชสมุนไพร คือนายเงิน ทองโท และอาจารยภัตรซึ่งอพยพมาจากภาคอีสาน ทานยังเปนปราชญของบานน้ำจั้น มีความรูเกี่ยวกับยารักษาโรค เปนมัคทายกผูนำใน การปฏิบัติธรรมและเปนผูนำการทำขาวยาคูสืบมาจนถึงทุกวันนี้ ปจจุบันทานเสียชีวิตแลว ปจจุบันที่บานน้ำจั้นมีสถานีอนามัยประจำตำบล มีเจาหนาที่สาธารณสุขมาทำการใหความรูและการรักษาโรคแกชาวบานอยางใกล ชิด กลาวโดยสรุป ลาวแงวบานหนองเมืองจะอยูในชุมชนดั้งเดิม หมูบานอยูติดตอกันเปนกลุมบานใหญ หลายหมูบาน สวนลาวแงว บานน้ำจั้นจะเปนกลุมที่อพยพโยกยายมาจากหมูบานลาวแงวเดิม แลวมารวมกับกลุมคนไทยแมน้ำ ลาวพวน คนจีน เปนหมูบาน ที่ผสมผสานคนหลายกลุม แตมีคนเชื้อสายลาวแงวมากกวากลุมอื่น สำเนียงและวิธีพูดของลาวแงวบานหนองเมืองจะชากวา ความเชื่อคอนขางซับซอนการนับถือตาปูก็เปลี่ยนมาเปนการนับถือเจาพอ เรียกชื่อวาเจาพอสนั่น
96ลุงมวน
หนูแสง, ๗๔ หมู ๔ ตำบลน้ำจั้น อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๔.
ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี
133