กลุมจังหวัดลานนาตะวันออก แพร
นาน
พะเยา
เช�ยงราย
จัดทำโดย สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดแพร
ค�ำน�ำ การจัดท�ำหนังสือความเชือ่ และศรัทธา ๑๖ ชาติพนั ธุ์ ภายใต้ โครงการศึกษาและ พั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ววิ ถี ชี วิ ต กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ล้ านนาตะวั น ออกของกลุ่ ม จั ง หวั ด ภาคเหนือ (จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดเชียงราย) จากทังหมด ้ ๓๒ ชาติพนั ธุ์ โดยจากการลงพื ้นที่เก็บข้ อมูลศึกษาด้ านอัตลักษณ์ วิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ประเพณี ความเชื่อจะพบว่าแต่ละชาติพนั ธุ์มีความเชื่อและศรัทธาและนับถือศาสนาทัง้ ที่เหมือนและต่างกันบ้ างก็สืบทอดมาจากพ่อแม่ และบรรพบุรุษ บ้ างก็เชื่อตามเผ่าพันธุ์ ที่สบื เชื ้อสายต่อกันมา แต่ละกลุม่ แต่ละเผ่าพันธุ์ก็มกั จะเชื่อว่าสิง่ ที่ตนเองศรัทธานันเป็ ้ น สิ่งที่ถกู ต้ องอาจเป็ นผู้วิเศษ เป็ นเทพเจ้ า เป็ นภูตผี เป็ นศาสนาหรื อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้อง เคารพนับถือจากความเชื่อเหล่านี ้ท�ำให้ มีความน่าสนใจเป็ นอย่างยิ่งว่า แต่ละชาติพนั ธุ์ มีการอนุรักษ์ ประเพณี ความเชื่อ ความศรัทธาต่าง ๆ ไว้ ผ่านกาลเวลามาได้ อย่างไร และแต่ล ะความเชื่ อ มี ร ายละเอี ย ดพิ ธี ก ารอย่า งไรจึง เป็ น ที่ ม าของการศึก ษาเรื่ อ ง ความเชื่อและศรัทธาโดยได้ ท�ำการคัดเลือกมาทังสิ ้ ้น ๑๖ ชาติพนั ธุ์ ในการถ่ายท�ำเป็ น สารคดี แ ละหนัง สื อ ความรู้ ที่ ท่ า นได้ ถื อ อยู่นี ้ ท่า นจะพบว่า บางความเชื่ อ ก็ ล ะม้ า ย คล้ ายคลึงกันกับคนไทยเรานี ้เอง และในบางความเชื่อท่านก็อาจจะไม่เคยรู้จกั หรื อเคย เห็นมาก่อนเลย ขอขอบคุณหน่วยงานทังภาครั ้ ฐและเอกชน เครื อข่ายชาติพนั ธุ์ และบุคคลใน พื ้นที่ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ องและเอื ้อเฟื อ้ ในการเก็บข้ อมูลในการท�ำหนังสือ และถ่ายท�ำออก มาเป็ นสารคดี ๑๖ ตอน ออกมาจนเสร็ จสมบูรณ์ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าหนังสือความเชื่อและ ศรัทธา ๑๖ ชาติพนั ธุ์เล่มนีจ้ ะเป็ นประโยชน์ทงในด้ ั ้ านองค์ความรู้ และช่วยส่งเสริ ม สืบสานอนุรักษ์ ความเชื่อต่าง ๆ ที่แต่ละชาติพนั ธุ์ได้ สืบทอดต่อกันมาเป็ นเวลาช้ านาน ให้ คงสืบต่อไปเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของแต่ละชาติพนั ธุ์ตอ่ ไปนานเท่านาน ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร่
สารบัญ
ความเชื่อและศรัทธา
กลุ่มชาติพันธุ์ ๑๖ ชาติพันธุ์
๐๑
๐๒
จังหวัดแพร่ ชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ชาติพันธุ์ไทลื้อ ชาติพันธุ์อาข่า
จังหวัดน่าน ๕ ๑๔ ๒๔
ชาติพันธุ์ขมุ ชาติพันธุ์ไทพวน ชาติพันธุ์ไทยวน ชาติพันธุ์ไทลื้อ
๓๔ ๔๑ ๔๙ ๕๔
๐๓
จังหวัดพะเยา ชาติพันธุ์ภูไท ชาติพันธุ์อิ๋วเมี่ยน ชาติพันธุ์ลาวเวียง ชาติพันธุ์ลีซู
๖๑ ๗๐ ๘๓ ๙๔
๐๔
จังหวัดเชียงราย ชาติพันธุ์จีนยูนนาน ชาติพันธุ์ดาราอ้าง ชาติพันธุ์ม้ง ชาติพันธุ์ลาหู่
๑๑๒ ๒๒๙ ๑๒๙ ๑๔๑
จังหวัดแพร่ ชาติพันธุ์กะเหรี่ยง (โพล่ง)
ข้ อ มู ล โดยการสั ม ภาษณ์ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน นางสาว แอน หิรัญคีรี บ้านเลขที่ ๘๖ หมู่ ๑๕ ต�ำบลแม่พุง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
กะเหรี่ ยงเป็ นชนเผ่าที่จดั ได้ วา่ มีหลายเผ่า พันธุ์ หลายภาษา มีการนับถือศาสนาที่ ต่างกัน แต่กะเหรี่ ยงดังเดิ ้ มจะนับถือผี เชื่อ เรื่ องต้ นไม้ ป่าใหญ่ ภายหลังหันมานับถือ พุทธ คริ สต์ เป็ นต้ น กะเหรี่ ยง มีถิ่นฐานตัง้ อยู่ท่ีประเทศพม่า แต่หลังจากถูกรุ กราน จากสงครามจึงมีกะเหรี่ ยงที่อพยพเข้ ามา อาศัยอยูป่ ระเทศไทย กะเหรี่ ยงที่อาศัยอยู่
ในประเทศไทย แบ่งออกได้ เป็ น ๔ ประเภท แบ่งออกเป็ นกลุม่ ย่อย กะเหรี่ยงสะกอ หรือ ที่เรี ยกนามตัวเองว่า ปากะญอ หมายถึง คนหรื อมนุษย์นนเอง ั ้ กะเหรี่ ยงสะกอเป็ น กลุม่ ทีม่ จี ำ� นวนมากทีส่ ดุ มีภาษาเขียนเป็ น ของตนเอง โดยมีมิชชันนารี เป็ นผู้คิดค้ น ดัดแปลงมาจากตัวหนังสือพม่าผสมภาษา โรมัน กลุ่ม นี ห้ ัน มานับ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ ๕
เป็ นส่วนใหญ่ กะเหรี่ ยงโปร์ นนเป็ ั ้ นกลุม่ ที่ ค่อนข้ างเคร่ งครัดในประเพณี พบมากที่ อ� ำ เภอ แม่ส ะเรี ย ง จัง หวัด แม่ฮ่อ งสอน อ�ำเภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และแถบ ตะวันตกของประเทศไทย คือ กะเหรี่ ยง บริ เวณที่พบอ�ำเภอขุนยวม แม่ฮ่องสอน ส่วนปะโอ หรือตองสูกม็ อี ยูบ่ ้ างแต่พบน้ อย มากในประเทศไทย ชนเผ่า“ปกากะญอ” เป็ นชนเผ่าที่บอกกล่าวถึงประวัติศาสตร์ ความเป็ นมานับร้ อยนับพันเรื่ อง เรี ยงร้ อย เก็บไว้ ในเเนวของนิทาน อาจจะไม่ใช่หลัก ฐานทีเ่ เน่ชดั เเต่กพ็ ยายามทีจ่ ะเล่าสืบทอด ให้ ลูกหลานได้ ร้ ู ถึงความเป็ นมาของเผ่า พันธุ์
๖
ประวั ติ ค วามเป็ นมาของชุ ม ชนเผ่ า กะเหรี่ ยงบ้ านค้ างใจ หมูท่ ี่ ๗ ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ ้น จังหวัดแพร่ หมู่บ้านชุมชน ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ ยง เป็ นหมู่บ้านที่อยู่ใน ที่ราบเชิงเขา อุดมสมบูรณ์ ล้ อมรอบด้ วย ป่ าไม้ และภูเขา อยูต่ ดิ กับอุทยานแห่งชาติ เวียงโกศัย มีล�ำห้ วยธรรมชาติที่สวยงาม ไหลผ่ า นตลอดปี ชาวบ้ า นอยู่กัน อย่ า ง เรี ยบง่าย มีวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีที่ คงความดังเดิ ้ ม มีเสน่ห์ในแบบของบ้ าน ค้ า งใจเดิ ม อยู่ใ นเขตการปกครองของ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ เมือ่ มีการตังอ� ้ ำเภอ ใหม่จงึ มาขึ ้นอยูก่ บั เขตการปกครองต�ำบล แม่ปา้ ก อ�ำเภอวังชิ ้น จนเมือ่ มีการแบ่งแยก เขตต�ำบลใหม่ บ้ านค้ างใจได้ มาอยูใ่ นเขต การปกครองของต�ำบลแม่เกิ๋ง บ้ านค้ างใจ มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า “แม่เกิ๋ง” เป็ นหมู่บ้าน
ชาวเขาเผ่ากระเหรี่ ยง เป็ นหมู่บ้านที่อดุ ม สมบูรณ์ไปด้ วย ป่ าไม้ สัตว์ป่า ผู้ใหญ่บ้าน คนแรก คือ นายจีอวั ้ ค้ างใจจะหลี่ ชาวบ้ าน ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ และนับถือผี ในชุมชนไม่มีวดั แต่จะไปท�ำบุญที่หมูบ่ ้ าน ใกล้ เคียง บ้ านค้ างใจ สมัยก่อนจะเป็ นแค่ หมูบ่ ้ านเล็ก ๆ มีบ้านไม่กี่หลังคาเรือน ผู้คน ก็จะไม่ค่อยมีเยอะ สภาพหมู่บ้านจะเป็ น ป่ า ทุร กัน ดารมาก ไปไหนก็ ไ ม่ ส ะดวก สบาย ในสมัย ก่ อ นจะไม่ มี ไ ฟฟ้ า ไม่ มี โรงเรียน ไม่มรี ถยนต์ ไม่มมี อเตอร์ ไซด์ ไม่มี ถนน ลาดยาง ทางเดินของชาวบ้ านสองฝั่ง ทางจะมีแต่ป่า ต้ นไม้ และหญ้ ารกรุ งรั ง สมั ย ก่ อ นบ้ านค้ างใจขึ น้ อยู่ กั บ อ� ำ เภอ แม่ทะ จังหวัดล�ำปาง เวลาที่ชาวบ้ านต้ อง เสียภาษี อากรนัน้ ชาวบ้ านจะต้ องขึ ้นเขา ลงห้ วยไป อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง เพือ่ ไปจ่ายค่าภาษีอากรของชาวบ้ านเอง บ้ าน ค้ างใจได้ ย้ายโอนมาสังกัดอยูท่ ี่ อ�ำเภอลอง ตอนนันยั ้ งไม่มีอ�ำเภอวังชิ ้น และต่อมาได้ ยกให้ อำ� เภอวังชิ ้น เป็ นกิง่ อ�ำเภอวังชิ ้น และ อ� ำ เภอวัง ชิ น้ ก็ มี ม าจนถึ ง ปั จ จุบัน นี ้ ซึ่ ง หมู่บ้านค้ างใจก็เป็ นอีกหมู่บ้านหนึ่งที่ตงั ้ อยูใ่ นเขตอ�ำเภอวังชิ ้นด้ วยเช่นกัน วิถีชีวติ ของชาวบ้ านค้ างใจในสมัยก่อนนัน้ จะเป็ นแบบเรียบง่าย อยูแ่ บบพื ้น ๆ การท�ำ
มาหากิ นก็เรี ยบง่าย ส่วนการท�ำเกษตร ชาวบ้ านจะใช้ กระบือ (ควาย) เป็ นเครื่ อง มื อ ในการท� ำ นา หรื อ ไถนา ส่ ว นยาน พาหนะนันก็ ้ จะเป็ น เกวียน ใช้ ส�ำหรับใน การบรรทุกคน สิง่ ของ และเครื่ องใช้ ตา่ งๆ เป็ นต้ น ส่วนอาหารการกินนันก็ ้ จะไม่คอ่ ย มีเยอะเท่าไหร่ อาหารการกินที่ว่านีก้ ็คือ อาหารประเภทพวกอาหารส�ำเร็ จรูปจะไม่ ค่อยมีเยอะเหมือนสมัยนี ้ ชาวบ้ านส่วน ใหญ่จะท�ำมาหากินโดยตามธรรมชาติ เช่น หากินตามป่ า ตามเขา ตามล�ำห้ วย เมื่อ สมัย ก่ อ นอาหารประเภทสัต ว์ ป่ านี จ้ ะมี เยอะมาก เช่น นก หนู หมูป่า เก้ ง กวาง กระต่ า ย รวมทัง้ สัต ว์ ใ หญ่ อี ก มากมาย หลายชนิดนับไม่ถ้วน เพราะว่าเมื่อสมัย ก่อนนันหมู ้ บ่ ้ านค้ างใจจะเป็ นป่ าที่มีความ อุดมสมบูรณ์ดีมาก ความเชื่อด้านต่าง ๆ ของกะเหรี่ยง พิธีส่อนขวัญ “เดิมทีมาอยูบ่ ้ านสมัยก่อน พ่อแม่ก็เป็ นชาวกระเหรี่ ยงก็เชื่อถือ ไม่มี หมอไม่มีโรงพยาบาล ก็เชื่ อไสยศาสตร์ เชื่อผีสางสมมุติว่าอย่างมีอบุ ตั ิเหตุรถลูก หลานไปล้ มไปชนไปโรงพยาบาลกลับมา บ้ านอาการและแผลมันไม่ค่อยดียงั แผล ก็ยงั ไม่หาย ถ้ าจะให้ สอ่ นขวัญให้ กลับมา ๗
บ้ านก่อน เอาใบตองมาใส่ ใส่ใบตอง น�ำ ใบตองท�ำเป็นห่อ ใส่หมู ใส่หมาก ใส่ข้าวเปียก ข้ าวสาร บุหรี่ ยาลม ก็ใส่ให้ หมด ไปขอคืน กับเจ้ าป่ า เจ้ าเขา ผีตายโหงไป อยู่ในป่ า เนี่ย ขวัญตก ขวัญหาย ไปอยูท่ ี่ไหน ผีป่า เอาหรื อผีนางไม้ แบ่งข้ าว เหล้ าแก้ วหนึ่ง น� ้ำแก้ วหนึง่ แบ่งน� ้ำ ข้ าวต้ ม ขนม ที่หอ่ มา แกะเรี ยกขวัญต่อเอาขวัญพ่อขวัญแม่ลกู หลานเอามาให้ หมดมาด้ วย คนที่ตามมา ช่วยกันมัด ตอนแรกท�ำพิธีคนหนึง่ ก่อน ก็ ดีขึ ้นมาครับ ดีขึ ้น คนทีอ่ ยูโ่ รงพยาบาลเป็ น เดือน กลับมาก็ ท�ำพิธีให้ เขาก็ หาย เชื่ อ เพราะสมัยปู่ ย่าตายายบอกมา ก่อนจะ มาสมัยปู่ ยา่ เขาบอก กับความเชือ่ เขาเลี ้ยง ผี นี ม้ ี ค รั บ ” (สัม ภาษณ์ : ผู้ น� ำ ชุ ม ชน) “ประเพณี เ ลี ้ย งผี เ รื อน” ในสั ง คม กะเหรี่ ยง การเลี ้ยงผีเรื อนและผีบรรพบุรุษ จะท�ำกันปี ละครัง้ หลังจากเกี่ยวข้ าวเสร็ จ แล้ ว เป็ นพิธีที่ศกั ดิ์สิทธิ์ก่อนวันท�ำพิธีลกู หลานทุ ก คนจะต้ อ งมาค้ างคื น ที่ อ ย่ า ง พร้ อมหน้ าพร้ อมตากัน หากมีใครขาดผู้ทำ� พิธีจะต้ องเอาข้ าวก้ อนที่คนต้ องกินเก็บไว้ ให้ เขากินเมื่อเขากลับมาบ้ าน หากเขาไม่ กลับมาได้ ส่งไปให้ เขา มิฉะนัน้ จะถื อว่า การเลี ้ยงผีไม่ได้ ผล ในพิธีนีค้ นกะเหรี่ ยง นิ ย มใส่ เ สื อ้ อย่ า งกะเหรี่ ย งทุ ก คนต้ อง ๘
ส�ำรวมกิริยาวาจาจะพูดมากไม่ได้ มิฉะนัน้ จะต้ องเลิกพิธีเสียกลางคัน และต้ องท�ำพิธี กัน ใหม่ ใ นเดื อ นถัด ไป และยัง มี ข้ อ ควร ปฏิบตั ิและห้ ามอื่น ๆ เช่น ต้ องกินข้ าวใน ขันโตกเดียวกันหมด ต้ องหุงข้ าวหม้ อเดียว กินเสร็ จแล้ วแม่บ้านต้ องล้ างขันโตกล้ าง จานคนเดียวจะให้ คนอืน่ ช่วยไม่ได้ ถ้ ายังมี คนกินข้ าวไม่เสร็ จคนอื่น ๆ จะลงจากบ้ าน ไม่ได้ ในวันท�ำพิธีห้ามการตัดผม ห้ ามกิน ของที่มีรสเปรี ย้ วอีกด้ วย การท�ำพิธีเลี ้ยงผี เรื อนและผีบรรพบุรุษมี ๒ แบบคือ แบบไม่ มัดมือ และแบบมัดมัดมือ แบบไม่มดั มือ พิ ธี เริ่ มด้ วยการที่ สมาชิ กทุ ก คนใน
ครอบครัวนัง่ ล้ อมรอบโตกข้ าว พ่อบ้ านหรือ แม่บ้านจะเริ่ มรับประทานก่อนด้ วยข้ าว ๑ ค�ำ กับเนื ้อไก่ต้มและน� ้ำ จากนันแม่ ้ บ้าน หรื อพ่อบ้ านก็ท�ำตาม และลูก ๆ ก็ท�ำเช่น เดียวกัน เริ่มตังแต่ ้ ลกู คนโตไปจนถึงลูกคน เล็กสุด ทุกคนกินได้ คนละค�ำเท่านัน้ และ กินได้ รอบเดียว พอกินครบทุกคน ผู้ท�ำพิธี ก็หยิบข้ าวสุก ๑ ก้ อนและเนื ้อไก่ที่ต้มกับ แกง วางลงบนพืน้ แล้ วสวดมนต์ขอเชิญ ดวงวิ ญ ญาณของบรรพบุ รุ ษ ทั ง้ หลาย มารั บ อาหารเครื่ อ งเซ่น และขอให้ ด วง วิ ญ ญาณเหล่า นัน้ ช่ว ยปกป้อ งคุ้ม ครอง กันภัย ขอให้ ชีวิตความเป็ นของครอบครัว ดีขึ ้น ให้ มคี วามสุขไม่เจ็บป่ วย ท�ำมาหากิน อุดมสมบูรณ์ หลังจากนัน้ ก็รับประทาน อาหารร่ วมกันได้ แบบมัดมือ พิธีเริ่ มด้ วย การที่สมาชิกทุกคนในครอบครัวนั่งล้ อม รอบขันโตกข้ าว ในขันโตกข้ าวมีข้าวและ กับข้ าวทีท่ ำ� จากไก่หรือหมู และมีด้ายขวัญ ขาวพาดบนอาหาร จากนันแม่ ้ บ้านเริ่ มท�ำ พิธีด้วยการหยิบด้ ายขวัญมามัดมือให้ พอ่ บ้ าน พร้ อมกั บ กล่ า วอ� ำ นวยความสุ ข ความเจริ ญให้ แก่พอ่ บ้ าน จากนันพ่ ้ อบ้ าน ก็ผกู มือให้ แม่บ้านและเรียกขวัญในท�ำนอง เดียวกัน เสร็จแล้ วทังพ่ ้ อและแม่กผ็ กู มือให้ ลูก ๆ คน พร้ อมให้ พรและเรียกขวัญให้ เมือ่
มัดมือทุกคนแล้ ว พ่อบ้ านหรื อแม่บ้านก็ หยิบก้ อนข้ าว ๑ก้ อน ให้ ตกลงลงบนพื ้นดิน เพือ่ อุทศิ ให้ กบั ผีบ้านผีเรื อน จากนันทุ ้ กคน ก็ร่วมกันกินข้ าวได้ การเลี ้ยงผีเรื อนและผี บรรพบุรุษทัง้ ๒ แบบ ไม่ใช้ เหล้ าในการ ประกอบพิ ธี การเลี ย้ งผี เ รื อนและผี บรรพบุรุษ นอกจะท�ำตามปกติปีละครัง้ แล้ ว เมื่อสมาชิกในบ้ านอยู่ไม่สขุ สบายมี คนเจ็บป่ วยบ่อย และเลี ้ยงหมู,ไก่ไม่เติบโต ก็อาจมีการเลี ้ยงผีเรือนและผีบรรพบุรุษอีก ได้ การเลี ้ยงในลักษณะนี ้มีพธิ ีการมากมาย จะต้ องใช้ เหล้ าในพิธี รวมทังท� ้ ำข้ าวเหนียว ต้ ม ด้ ว ย ต้ อ งมี ก ารเชิ ญ หมอผี ม าท� ำ พิ ธี ๙
และเชิญแขกมาร่วมกินด้ วย ซึง่ ต่างจากพิธี เลี ย้ งผี เ รื อนตามปกติ ที่ ห้ ามคนนอก ครอบครัวกินอาหารด้ วยเป็ นอันขาด การ เลี ้ยงผียงั มีหลายพิธีและต่างวาระกัน เช่น การเลี ย้ งผี เ พื่ อ ฉลองโชคฉลองชัย ใน โอกาสย้ ายหมู่บ้านไปตังอยู ้ ่ในที่แห่งใหม่ การเลี ้ยงผีเพื่อขอขมาลาโทษต่อเจ้ าบ้ าน เจ้ าเมือง ซึง่ เป็ นผีป่า ผีหลวง ผีฟา ้ และการ เลี ้ยงผีเพื่อบ�ำบัดโรคภัยไข้ เจ็บ ประเพณี เลี ้ยงผีขุนน�ำ้ ประเพณี เลี ้ยงผีฝาย เลี ้ยง ผีเฮือน เลี ้ยงผีฝาย เป็ นต้ น กระเหรี่ ยงมี ลัก ษณะการบู ร ณาการความเชื่ อ ด้ าน ต่าง ๆ ทังความเชื ้ ่อพื ้นบ้ าน ผีบรรพบุรุษ ศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธเข้ าด้ วย กัน เดือนกุมภาพันธ์ จะมี ประเพณีมดั มือ ครอบครัวและระบบเครือญาติ : ครอบครัว กะเหรี่ ย งมี รู ป แบบเป็ น ครอบครั ว เดี่ ย ว ประกอบด้วยพ่อ แม่ และลูก แต่กย็ งั ปรากฎ รู ปแบบครอบครัวขยายอยู่ด้วย เพราะใน บางครอบครัว อาจมีพ่อแม่ของฝ่ ายหญิง อาศั ย อยู่ ด้ วย นอกจากนี ก้ ารที่ สัง คม กะเหรี่ ยงนับถือญาติฝ่ายแม่ เมื่อแต่งงาน แล้ ว ฝ่ ายชายต้ อ งไปอยู่ บ้ า นฝ่ ายหญิ ง นับถือญาติทางฝ่ ายหญิง ในครอบครัวจึง มีครอบครัวของลูกสาวและลูกเขยอยู่อีก ครอบครัวหนึง่ จนกระทัง่ ๑ ปี ผา่ นไป หรื อ หากน้ องสาวแต่งงาน ครอบครัวพี่สาวจึง ๑๐
จะแยกออกไปสร้ างบ้ า นอยู่ใ กล้ ๆ แต่ ส�ำหรับบุตรสาวคนสุดท้ องจะต้ องอยู่กับ พ่อแม่ไปตลอดไปแม้ จะแต่งงานแล้ วก็ตาม เพราะมีหน้ าที่เลี ้ยงดูตอบแทนบุญคุณพ่อ แม่ ดังนันลู ้ กสาวคนสุดท้ องจึงได้ รับมรดก เช่น ทีน่ าและวัวควายมากกว่าพีน่ ้ อง ซึง่ จะ ไม่มีการอิจฉาริ ษยากันเลย ครอบครัวใดที่ ไม่ มี ลูก สาว ลูก ชายก็ จ ะท� ำ หน้ า ที่ แ ทน บ้ านใดทีแ่ ม่บ้านเสียชีวติ ลง ต้ องรือ้ บ้ านทิ ้ง แล้ วสร้ างใหม่ เพื่อลูกสาวที่แต่งงานแล้ ว จะได้ ประกอบพิธีกรรม เลี ้ยงผีบรรพบุรุษ ได้ ผู้อาวุโสในบ้ าน ซึง่ ได้ แก่พอ่ แม่ของฝ่ าย หญิง มีบทบาทในการช่วยอบรมสมาชิกใน ครอบครั ว ผู้อ าวุโ สจะได้ รั บ การเคารพ ยกย่องอย่างสูงในการตัดสินใจต่าง ๆ ของ
ครอบครัว จะต้ องมีการปรึกษาหารื อและ เชื่อฟั งความคิดเห็นของผู้อาวุโสในบ้ าน, การนับญาติ การเรี ยกชื่อ :การสืบเชื ้อ สายของกะเหรี่ ยงเป็ นการสืบเชื ้อสายทาง ฝ่ ายแม่ แต่ก็ยงั ให้ ความเคารพต่อพ่อแม่ ของฝ่ ายชาย กะเหรี่ ยงสมัยก่อนนัน้ ไม่มี นามสกุล แต่ในปั จจุบนั นีม้ ีนามสกุลกัน เกือบหมดแล้ ว และบุตรจะใช้ นามสกุลของ พ่อ ส่วนชือ่ ของเด็กพ่อแม่หรือผู้อาวุโสฝ่ าย ภรรยาจะเป็ นคนตังชื ้ ่อให้ หากเป็ นผู้หญิง มักจะมี ค�ำขึน้ ต้ นว่า “หน่อ” และถ้ าเป็ น ผู้ชายมักจะมีคำ� ขึ ้นต้ นว่า “พะ” หรือ “จอ” ซึง่ เป็ นค�ำแสดงความเป็ นเพศหญิงหรือชาย ด้ า นดนตรี พื น้ ถิ่ น (โกละ) โกละ เป็ น เครื่ องดนตรี ชนิ ดหนึ่งที่ มีราคาค่อนข้ าง แพง จะใช้ ใ นงานประเพณี ต่ า ง ๆ เช่ น ประเพณี ขึ น้ ปี ใหม่ ประเพณี ง านศพ เป็ นต้ น เมื่อตีเสียงจะก้ องดังทัว่ หมู่บ้าน ไม่นิยมตีอย่างพร�่ ำเพรื่ อ แต่จะตีในโอกาส ส�ำคัญและจ�ำเป็ นเท่านัน้ สามารถตีได้ ทงั ้ เด็ ก และผู้ใ หญ่ หากหมู่บ้ า นใดมี ก ลอง มโหระทึกประจ�ำอยู่ เชื่อกันว่าหมูบ่ ้ านนัน้ จะมี ค วามร่ ม เย็ น เป็ น สุข ซอ ระนาด (เสอะ เลาะ ปอกุ๊) ซอ ระนาดเป็ นเครื่ อง ดนตรีตงเดิ ั ้ มของชนปกาเกอะญอชนิดหนึง่ ท�ำขึ ้นมาเองด้ วยกระบอกไม้ ไผ่หรื อกะลา
น� ้ำเต้ า คันซอท�ำด้ วยไม้ ไผ่ สายซอท�ำด้ วย ใยกาบกล้ วย และสีท�ำด้ วยเส้ นผมของผู้ หญิงหรื อหางม้ า ชนปกาเกอะญอจะมีซอ และขับล�ำน�ำไปด้ วย ผู้ทเี่ ชีย่ วชาญการสีซอ นัน้ เสียงซอของเขาจะคล้ อยตามบทล�ำน�ำ ทีข่ บั เมือ่ ได้ ยนิ แล้ วจะมีความไพเราะยิง่ นัก พิณเตหน่ า (เตหน่ า) เตหน่า เป็ นเครื่ อง ดนตรีชนิดหนึง่ ของชนปกาเกอะญอทีม่ มี า แต่โบราณเช่นกันมีลกั ษณะคล้ ายพิณ ฐาน ท�ำด้ วยขอนไม้ ที่แกะเป็ นรู กลวง คันจะมี ลักษณะโค้ งงอเข้ าหาตัวเอง ระหว่างฐาน และคันก็จะขึงสายซึง่ มีทงหมด ั้ ๖ เส้ น แต่ บางคนท�ำ ๗ เส้ น หรื อ ๙ เส้ นหรื อ ๑๒ เส้ น ก็มี การดีดจะดีดร่วมกับการขับล�ำน�ำ ผู้ที่ มีความเชี่ยวชาญการดีดพิณเสียงของเขา จะมีหลากหลาย ซึ่งมีความไพเราะเป็ น อย่ า งยิ่ ง เตหน่ า สามารถเล่ น ได้ ใ นทุ ก โอกาส ไม่จำ� กัดเฉพาะโอกาสงานประเพณี ส�ำคัญ ๆ เท่านัน้ ฆ้ อง ฉิ่ง กลอง (โม จว๊ ะ เดอ) ฆ้ อง (โม) เป็ นเครื่องดนตรีทไี่ ม่ใช่ชนปกาเกอะญอท�ำ ขึ ้นเอง แต่รับเอามาจากพวกมอญ เพราะ พวกมอญและชนปกาเกอะญอเป็ นชนชาติ ที่สายเลือดใกล้ เคียงกันและอาศัยอยู่ใน ถิ่นแดนเดียวกัน และเคยช่วยเหลือเกื ้อกูล กันมาก่อน ฉิ่ง ฉาบ (จว๊ ะ) เป็ นเครื่องดนตรี ๑๑
ประเภทตีกระทบกัน ฉาบหนึ่งชุดจะมีอยู่ สองข้ าง ท�ำมาจากทองแดงผสมเหล็กเป็ น เครื่ อ งดนตรี ที่ ม าจากพวกมอญเช่ น กัน กลอง (เดอ) เป็ นเครื่ องดนตรี ที่ท�ำมาจาก ไม้ แกะเป็ นรูปกลวง และขึงหนังกลองด้ วย หนังวัว หรื อแพะ เป็ นต้ น เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทตี ชนปกาเกอะญอสามารถผลิต ขึน้ มาด้ ว ยตนเอง มี ลัก ษณะกลมกลวง เรี ยงลงไปในส่วนหางและบานออกที่สดุ ปลายหาง ส่วนหัวจะขึงด้ วยหนังสัตว์ ซึง่ เป็ นส่วนที่ใช้ ตีให้ มีเสียงดัง โม จว๊ ะ เดอ ปกติจะใช้ เล่นในวงเดียวกัน เรียกได้ วา่ เป็ น เครื่ อ งดนตรี ที่ ต้ อ งผสมโรงเล่ น ด้ ว ยกัน ๑๒
ตลอดไป จะขาดประเภทใดประเภทหนึ่ง ไม่ได้ ใช้ เล่นบางโอกาสในงานประเพณี ส�ำคัญ ๆ เช่น ประเพณีขึ ้นปี ใหม่ พิธีเลี ้ยง เจดีย์ เป็ นต้ น แต่ทนี่ ยิ มเล่นกันมากทีส่ ดุ คือ ประเพณีมงคลสมรส แตร ปี่ ไม้ ท�ำเสียง (แกว ปี๊ ส่ อ เฆ) แกว ปี๊ เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทเป่ า แกว อาจท�ำมาจากเขาหรื องาหรื อสัตว์ ไม้ เช่น งาช้ าง เขาควาย เขาวัว เขาเลียงผาก็ได้ เชื่อกันว่าแกวที่ท�ำด้ วยเขาควายแม่ที่ตาย ขณะตังครรภ์ ้ อยูน่ นั ้ เมื่อเดินเป่ าวนรอบไร่ สามรอบควายจะไม่ลอดรัว้ เข้ าไปกินข้ าว ในไร่ เลย โดยปกติแล้ วจะใช้ เป่ าขณะเดิน
“ประเพณีเลี้ยงผีเรือน”
การเลี้ยงผีเรือนและผีบรรพบุรุษ จะท�ำกันปีละครั้ง เป็นพิธีที่ ศักดิ์สิทธิ์ก่อนวันท�ำพิธี ลูกหลาน ทุกคนจะต้องอยู่พร้อมหน้า พร้อมตากัน
ทางไปท�ำงานตามท้ องไร่ท้องนา ในฤดูเก็บ เกี่ยวข้ าวระหว่างเดือนพฤศจิกายน หาก ได้ ยินเสียงทุกคนก็จะรับรู้ ว่าถึงเวลาเก็บ เกี่ยวข้ าวแล้ ว ชายหนุ่มบางคนไปท�ำงาน โดยไม่มีเพื่อนร่ วมเดินทางก็จะเอาแกวนี่ แหละเป็ เพื่อนทดแทน ปี๊ เป็ นเครื่ องดนตรี ที่ท�ำมาจากไม้ ไผ่ ใช้ เป่ าในโอกาสทัว่ ๆ ไป แ ล ะ ทุ ก เ พ ศ ทุ ก วั ย ส า ม า ร ถ เ ป่ า ไ ด้ ผู้เชี่ยวชาญจะสามารถเป่ าได้ หลายหลาก เสียง เมื่อเป่ าปี่ จะไม่นิยมขับล�ำน�ำตามไป ด้ วย ส�ำหรับส่อ เฆ ท�ำมาจากไม้ ไผ่เช่นกัน เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทเป่ า และดีด ใน เวลาเดียวกัน เล่นได้ ในโอกาสทั่ว ๆ ไป และทุกเพศทุกวัยสามารถเล่นได้ การร�ำดาบและหอก (ศิลปะการป้องกัน ตัว) ศิลปะการร่ายร�ำดาบและหอกจะมีลาย
หลายแบบทังง่ ้ ายและยาก บางคนร่ ายร� ำ ได้ สองสามลาย แต่บางคนที่เก่งสามารถ ร่ ายร� ำ ได้ หลากลายและใช้ ดาบถึงสามสี่ เล่ม ลายการร่ายร� ำดาบและหอกเรี ยกชื่อ หลายอย่าง เช่น ลายหมี ลายป้องกันตน และลายฟั นคูต่ อ่ สู้ เป็ นต้ น การฝึ กร่ ายร� ำ ดาบและหอกต้ องไปฝึ กกับอาจารย์ใหญ่ที่ มากด้ วยวิชาความรู้ในด้ านนี ้ ผู้ฝึกจะต้ อง อยู่ใ นระเบี ย บกฎเกณฑ์ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด และต้ องเสียค่าฝึ กตามขันที ้ ่ผ้ ฝู ึ กตังไว้ ้ ซึง่ ปกติจะตังไว้ ้ ไม่แพงมากนัก เพราะจะไม่ ถื อว่าเป็ นเรื่ องธุรกิ จการค้ า แต่เป็ นวิชา ความรู้ทจี่ ะต้ องถ่ายทอดให้ คนรุ่นหลังต่อไป
๑๓
ชาติพันธุ์ไทลื้อ ข้อมูลโดย ดาบต�ำรวจพิชติ นันทวรรณ ผูน้ ำ� ชุมชน บ้านเลขที่ ๑๑๖/๒ หมู่ ๘ ต�ำบลบ้านถิน่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่
“ไตลื ้อ” หรือ “ไทลื ้อ” นอกจากจะมีดนิ แดน กว้ างใหญ่อยู่ที่สิบสองปั นนา ในประเทศ จี น ยั ง อพยพโยกย้ ายถิ่ น ฐานและถู ก กวาดต้ อ นเพราะสงครามและเข้ า มาที่ ประเทศไทยและแตกสาขา การอพยพไป หลายแห่ง “ลื ้อ” เป็ นกลุม่ ชนชาติพนั ธุ์ทพี่ ดู ภาษาตระกูลไท คือ “ไทลื ้อ” หรื อ “ไตลื ้อ” มีถิ่นฐานดัง้ เดิมอยู่ในเขตสิบสองปั นนา ส�ำหรับประเทศไทย ชาวไทลื ้อได้ อพยพเข้ า ๑๔
มาตังถิ ้ ่นฐานตามหัวเมืองต่าง ๆ ในภาค เหนือตอนบน ในจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน แพร่ ล�ำปาง ล�ำพูน และ เชียงใหม่ ส�ำหรับไทลื ้อเมืองแพร่ ในประวัติศาสตร์ จังหวัดแพร่พบว่า ขุนหลวงพลผู้สร้ างเมือง พลนคร หรือเมืองแพร่ ได้ รวบรวมผู้คนทีม่ า จากเมืองเชียงแสน เมืองไชยบุรี เมืองพาง ค�ำสร้ าง เมืองบริ เวณริ มฝั่ งแม่น� ้ำยม โดย ตังชื ้ ่อว่า เมืองพลนคร หรื อนครพล และใน
ปั จจุบนั นี ้ชาวต�ำบลบ้ านถิ่น ถือว่าเป็ นลูก หลานของ ไทลื ้อ เนื่องจากมีภาษาพูดตาม แบบฉบับของไทลื ้อ ที่ยงั คงรากเหง้ าอยูท่ ี่ สิบสองปั นนาเหมือนกันอย่างไม่ผิดเพี ้ยน ความเชื่อด้านต่าง ๆ ของไทลื้อ จารี ตครรลองประเพณีท่ สี ำ� คัญ ได้ แก่ “การเกิด” ตามปกติหญิงไทลื ้อตัง้ ครรภ์ ไม่ มี ข้ อห้ ามในเรื่ องอาหารการกิ น รับประทานอาหารได้ ตามปกติ ครัน้ เมื่อ ถึงเวลาเจ็บท้ องใกล้ คลอดลูก ผู้เป็ นแม่จะ นัง่ ใกล้ ๆ โดยมีผ้ ทู �ำคลอด ซึง่ อาจจะเป็ น แม่ตวั เองหรื อแม่สามีชว่ ยท�ำคลอดให้ เมื่อ ทารกตกถึงฟาก ผู้ท�ำคลอดจะใช้ ป่านผูก สายสะดื อ ใช้ มี ด ตัด (ท� ำ ด้ ว ยผิ ว ไม้ ไ ผ่ ) บรรจุลงในกระบอกไม้ ไผ่เจาะรูด้านข้ างปิ ด อัดไว้ เพราะคนลื ้อมีความเชือ่ ว่าถ้ าหากไม่ เจาะรู จะท�ำให้ เด็กหายใจไม่ได้ หลังจาก นันท� ้ ำความสะอาดผู้เป็ นแม่และเด็กน้ อย แล้ วก็ส่งให้ แม่รับ ซึ่งจะเลือกจากหญิงที่ ประวัตดิ ี มีฐานะดีพอสมควร ไม่เป็ นหม้ าย หรื อหย่าร้ างมาก่อน แม่รับอุ้มเด็กไปวาง ในกระด้ งที่เตรี ยมไว้ แล้ วน�ำไปวางไว้ ที่หวั บันไดพร้ อมกับตะโกนด้ วยเสียงดัง ๆ ว่า “ ผีจะกินก็กินเหแต่น้อย ผีบ่เล้ งกูซิเล้ ง ”
จากนันก็ ้ เอามามอบให้ แม่ของเด็ก ส�ำหรับ รกของเด็ก ผู้เป็ นพ่อจะเลือกหาวันดีแล้ ว น�ำกระบอกใส่รกไปแขวนไว้ ที่กิ่งไม้ ในป่ า ข้ างบ้ านขณะกลับถึงเรื อน ถ้ าเป็ นลูกสาว พ่อของเด็กจะจับเครื อทีท่ อผ้ าก่อน ถ้ าเป็ น ลูกชายก็จะจับมีดตัดไม้ กอ่ นขึ ้นเรื อน ที่ท�ำ เช่นนี ้เพราะเชื่อว่าเมื่อเด็กเติบโตขึ ้น จะมี ความอดทนและขยัน หมั่น เพี ย รในการ ท� ำ งาน ภายหลั ง คลอดจะต้ องอยู่ ก� ำ (อยู่ไฟ) มีก�ำหนด ๓๐ วัน ภายใน ๓ วัน แรกจะรั บ ประทานอาหารได้ แ ต่ข้ า วกับ เกลือเท่านันเรี ้ ยกว่า อยู่ก�ำน้ อย เมื่อครบ ๓ วัน แล้ วก็ท�ำพิธี ออกก�ำน้ อย โดยน�ำเอา เกลือมาสูข่ วัญผูกข้ อมือให้ แก่แม่และเด็ก น้ อย อาหารของแม่ ร ะหว่ า งอยู่ ก� ำ รับประทานได้ แต่น� ้ำพริ กข่าจิ ้มผักต้ มและ ไก่ที่มีขนสีด�ำ ห้ ามอาหารประเภทไข่ เนื ้อ สัตว์ประเภทวัวควาย นอกจากนี ้ยังมีข้อ ห้ ามเพิ่มเติมส�ำหรับคลอดบุตรคนแรก ซึง่ เรี ยกว่า ท้ องหัวสาว มี ข้ อห้ ามต่อไปอีก ๑ ปี คือห้ ามรับประทานเนื ้อควายเผือก หมู แม่ต้อง (หมูที่มีลกู แล้ ว) เนื ้อเสือ เก้ ง กวาง ปลาร้ า ปลาไม่มีเกล็ด ปลาบก ปลาไน เป็ นต้ น เมือ่ ครบ ๓๐ วัน จะไปเชิญหมอพร มาสูข่ วัญ ซึง่ ต้ องฆ่าไก่ ๑ ตัว ท�ำพิธีสขู่ วัญ แม่และเด็กน้ อย โดยถือว่าวันออกก�ำเป็ น ๑๕
วันเกิดของเด็กน้ อยอีกด้ วย หมอพรจะน�ำ เด็กไปวางที่หวั บันไดบ้ านเพื่อบอกผีสาง นางร้ ายมาดูพร้ อมท�ำเสียงนกเค้ าแมวแล้ ว พูดว่า “ แก็ก ๆ กู้... หื ้อมาเอิ ้นมาเรี ยกเอา หลานสูคืนเมือถ้ าปิ๋ นลูกสูหลานสู หื ้อมา เรี ยกเอาป้อกไปเหเดี่ยวบ่ต้องหือ้ เหลือ จากวันนีก้ ๋ายมื่อนีว้ นั นีบ้ ่หือ้ มาเกี่ยวข้ อง ปิ๋ นลูกกูหลานกู ” แล้ วกระทืบเท้ าให้ เด็ก น้ อยตืน่ และพูดต่อไปว่า “ ถ้ าตายก็หื ้อตาย เห หื ้อใจขาด คันใจบ่ขาด ก๋ายสามบาท ปิ๋นลูกกูหลานกู สูเอาบ่ได้แล้ว ” หมายถึง ให้ ผีร้ายมาเรียกเอาลูกหลานกลับคืนในวันนัน้ หลังจากนันเป็ ้ นลูกคน ถัดจากนันก็ ้ กระทืบ เท้ าให้ เด็กสะดุ้งตื่นแล้ วพูดในท�ำนองว่า ถ้ าจะตายก็ขอให้ ขาดใจตายทันที ถ้ าไม่ ตายหลังจากนัน้ ก็จะเป็ นลูกคนหลังจาก นั น้ หมอพรจะท� ำ พิ ธี ส วดมนต์ ตั ด ขาด จากผี แล้ วน�ำเด็กน้ อยมาท�ำพิธีสขู่ วัญให้ แก่ผ้ เู ฒ่าผู้แก่ พ่อแม่และญาติพนี่ ้ องผูกข้ อ มือเพื่อให้ เป็ นลูกเป็ นหลานต่อไป “การเลือกคู่ครอง” ชาวไทลื ้อเมือ่ อายุยา่ ง เข้ าสูว่ ยั หนุม่ สาว จะมีสทิ ธิเสรี ภาพในการ เลือกคู่ครอง ชี วิตคู่ระเริ่ มจากประเพณี แอ่วสาว กล่าวคือ พอถึงยามค�ำ่ คืนบรรดา ชายหนุ่มจะไปปลุกสาวที่ตนชอบพอถึง หัวนอน หากสาวพอใจก็จะออกมาพูดคุย ๑๖
กันที่ชานบ้ าน ถ้ าเป็ นยามฤดูหนาวบรรดา สาว ๆ จะนัดเพื่อนสาวละแวกบ้ านใกล้ เรื อนเคียงมาลงข่วงปั่ นฝ้ายรอบกองไฟ บริ เวณลานบ้ าน หนุ่มลื ้อก็จะชวนกันมา แอ่วสาวปั่ นฝ้ายในระหว่างเดินทางหรื อ ขณะพูดคุยกับสาว ๆ ก็จะขับล�ำน�ำเคล้ า เสี ย งปี่ ใ นเชิ ง เกี ย้ วพาราสี โ ต้ ต อบกัน ไป เรี ยกว่า “ขับลือ้ ” พอถึงยากดึกต่างก็แยก กั น กลับ บ้ าน โดยมี ช ายหนุ่ ม ที่ รั ก ใคร่ ชอบพอช่วยถือฝ้ายไปส่งถึงเรื อน แล้ วผู้ สาวก็จะเชิญชวนหนุ่มขึ ้นไปคุยกันต่อบน เรื อน จนกระทัง่ เลยสองยามอาจถึงสาม นาฬิกาของวันใหม่จึงร�่ ำลากลับ เมื่อต่าง ฝ่ ายรักใคร่จริงใจต่อกันแล้ วก็จะบอกให้ พอ่
แม่ทราบ เพื่อขอความเห็นชอบและนัด เจรจาสูข่ อ ตามธรรมเนียมของชาวไทลื ้อ นัน้ ก่อนการสู่ขอ พ่อแม่จะไปหาผู้ร้ ู หรื อ ปราชญ์ ชาวบ้ านช่วยพิจารณาชะตาของ หนุม่ สาวเรี ยกว่า ท�ำ พิธีไขว่ หมาย ถึงการ สืบสวนถึงประวัตกิ ารสืบสายโลหิตของทัง้ สองฝ่ าย ถ้ าหากเป็ นญาติใกล้ ชิดชะตา จะขวางกัน แต่งงานกันไม่ได้ หากฝ่ าฝื น จะเกิดภัยพิบตั ิแก่พ่อแม่หรื อญาติผ้ ใู หญ่ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย อาจเป็ นอัมพาตหรื อ มีเหตุร้ายเกิดขึ ้นกับบุคคลเหล่านัน้ ถือว่า เป็ นข้ อห้ ามส�ำคัญซึง่ เป็ นจารี ตของสังคม ไทลื ้อ เมือ่ ฝ่ ายชายได้ รับความ ยินยอมจาก พ่อแม่แล้ ว ก็จะมอบหน้ าที่ให้ “พ่อใช้ ” ซึง่ โดยปกติจะเป็ นญาติหรื อนายบ้ านพร้ อม ญาติผ้ ูใหญ่อีกคนหนึ่งไปเจรจาสู่ขอ พิธี สูข่ อใช้ ขนั ห้ า คือ พาน มีดอกไม้ และธูป ๕ คู่ หมากพลู ในการเจรจาสูข่ อจะกล่าวเป็ น ค� ำ กลอนที่ ค ล้ อ งจองกัน ฝ่ ายหญิ งอาจ ตอบตกลงหรื อเจรจาถามความสมัครใจ ของลูกสาวก่อน โดยจะให้ พอ่ ใช้ ฝ่ายหญิง ไปแจ้ งข่าวภายหลัง กินดองน้ อย เมื่อทัง้ สองฝ่ ายตกลงเป็ นเอกภาพกันดีแล้ วก็จะ นัด วัน หมัน้ ซึ่ง เรี ยกว่า “กิ น ดองน้ อ ย” ในวันกินดองน้ อย ฝ่ ายหญิงจะฆ่าหมู ๑ ตัว และไก่อีกจ�ำนวนหนึง่ จัดส�ำรับอาหาร
เลี ้ยงต้ อนรับญาติผ้ ใู หญ่ของฝ่ ายชาย ส่วน ฝ่ ายชายจะมอบก�ำไลเรี ยกว่า ปลอกแขน ขวัญ น� ้ำหนักเงิน ๒ หมัน ๕ บี ้ให้ แก่คหู่ มัน้ ถ้ าหากคู่หมันมี ้ พี่ชายหรื อพี่สาวที่ยงั เป็ น โสดจะต้ องเตรี ยมอีก ๒ หมัน ๕ บี ้ ใส่พาน ไปมอบให้ เพือ่ “ข่มขวัญอ้ ายเอื ้อย” ภายหลัง พิธีหมัน้ แล้ วฝ่ ายชายจะอยู่ในฐานะเป็ น เขยพราง คือ อยูไ่ ปพลางก่อน หลังจากนัน้ ก็ท�ำพิธีเซ่นไหว้ บอกเทวดาเรื อน (ผีเรื อน) เขยพรางจะอยู่ในฐานะเป็ น คนสองเรื อน สามารถไปมาหาสูน่ อนค้ างคืนได้ เพื่อช่วย การงานที่บ้านฝ่ ายหญิ ง แต่ยังไม่มีสิทธ์ หลับนอนด้ วยกัน ในระหว่างนันชายจะไม่ ้ ไปเกี ้ยวพาราสีหญิงอื่น ส่วนหญิงก็จะไม่ ไปลงข่วงปั่ นเหมือนแต่ก่อน ทัง้ จะตังใจ ้ เก็บหอมรอมริ บเพื่อสร้ างฐานะครอบครัว เตรี ยมกายเตรี ยมใจที่จะเข้ าสูพ่ ิธีแต่งดอง เรี ยกว่า สูข่ วัญโอม ซึง่ เขยพรางจะเปลี่ยน สถานภาพเป็ นเขยสู่ เพื่ออยูก่ ินกันฉันสามี ภรรยาต่อไปตามปกติ ระยะเวลาจากเขย พรางไปหาเขยสูจ่ ะกินเวลา ๓ เดือน ถึง ๑ ปี ต่อมาถึงจะเป็ นพิธี “กินแขกแต่ งดอง” เป็ นพิธีแต่งงานของเผ่าลื ้อนิยมท�ำกันหลัง เทศกาลออกพรรษา คือ เดือนเกี๋ยงหรื อ เดื อ นยี่ คื อ ราวเดื อ นพฤศจิ ก ายนหรื อ ธันวาคมเป็ นต้ นไป นิยมท�ำในเดือนคู่ โดย ๑๗
ให้ พระสงฆ์หรื อผู้ร้ ู ในหมู่บ้านเลือกหามื ้อ ใสวันดีให้ เพื่อเป็ นสิริมงคลแก่คู่บ่าวสาว พิธีกินดองของเผ่าลือ้ จะที่บ้านของฝ่ าย หญิง โดยให้ ทงสองฝ่ ั้ ายรับผิดชอบค่าใช้ จ่ายร่วมกัน ส่วนที่นอนหมอนมุ้งฝ่ ายหญิง จะจัดหา หรื อท�ำเองเตรี ยมไว้ เมื่ออยูใ่ นวัย สาว โดยปกติงานวันที่ฝ่ายหญิงจัดเตรี ยม สิ่งของเครื่ องใช้ และอาหารบางอย่างไว้ ล่วงหน้ าเพื่อเลี ้งแขกในวันรุ่งขึ ้น วันที่สอง เป็ นวัน “กินดอง” จะมีแขกซึง่ เป็ นญาติของ ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงรวมทังชาวบ้ ้ านมา ร่วมจ�ำนวนมาก พิธีกินดองเริ่ มจากพิธีแห่ เขยไปสูเ่ รื อนเจ้ าสาว เมื่อถึงหัวบันไดจะมี หญิงผู้หนึง่ ที่เป็ นกุลสตรี ของหมูบ่ ้ านเรี ยก ว่า แม่คนดี รี บเอาถุงเงิน ง้ าว (ดาบ) และ มีดอุม่ (มีดเหน็บ) จากเจ้ าบ่าวน�ำไปมอบ ให้ ญ าติ ผ้ ูใ หญ่ ข องเจ้ า สาว แล้ ว เข้ า พิ ธี บายศรี เรี ยกว่า “สู่ขวัญโอม” ในพิธีสขู่ วัญ โอมจะมีญาติผ้ ใู หญ่ของทังสองฝ่ ้ ายมาผูก ข้ อมืออวยพรให้ แก่คู่ สมรส หลังจากนันก็ ้ จะแห่สะใภ้ มายังเรื อนฝ่ ายชาย ท�ำพิธีเซ่น ไหว้ เทวดาเรื อนเพื่ อขอรั บเอาเขยไปอยู่ เรื อนของตน ในขณะเดียวกันญาติของ ฝ่ ายชายก็จะท�ำพิธีสขู่ วัญรับสะใภ้ ใหม่เพือ่ เป็ น สิ ริ ม งคลแก่ เ จ้ า สาว ตามครรลอง ประเพณีของลื ้อที่เคยปฏิบตั ิสืบต่อกันมา ๑๘
เขยสู่ จะ อาศัยอยู่กบั พ่อตาแม่ยาย ๓ ปี แล้ วจึงแต่งดองกลับคืนไปอยูเ่ รื อนพ่อแม่ สามีอกี ๓ ปี เรียกว่า “สามปี ไป สามปี ปอ้ ก” ในพิธแี ต่งดองกลับคืน จะมีการฆ่าหมู ๑ ตัว ไก่ อี ก จ� ำ นวนหนึ่ ง ท� ำ พิ ธี สู่ข วัญ และเงิ น สินสอดอีก ๑๕ หมัน ก่อนจะลงจากเรือน ก็ ท�ำพิธบี อกกล่าวเทวดาเรือนเพือ่ ไปอยูก่ บั พ่อ แม่ของสามีจนครบ ๓ ปี จึงจะปลูกเรือนหลัง ใหม่ได้เพือ่ แยกสร้ างครอบครัว นอกจากนี ้ชาวไทยลื ้อยังมีความเชื่อเรื่ อง พิธีกรรม “สามปี สี รวงข้ าว” การที่ชาว ไทลื อ้ ประกอบพิ ธี ก รรมดัง กล่ า วก็ เ พื่ อ ร� ำลึกถึงบุญญาบารมีของเจ้ าหลวงเมือง ล้ า นักรบผู้เก่งกล้ าสามารถสร้ างความเป็ น ปึ กแผ่นแก่ชาวไทลื ้อเมืองล้ าทังหลายทั ้ ง้ ปวง เหตุที่ประกอบพิธีกรรมนี ้เพื่อให้ ชาว ไทลื อ้ ได้ ตระหนั ก ถึ ง บุ ญ คุ ณ ของผู้ มี คุณูปการต่อบ้ านต่อเมืองและเคารพใน ความเป็ นผู้น�ำของท่าน จากค�ำบอกเล่า ของผู้เฒ่าผู้แก่ซึ่งเล่าสืบต่อกันมา เป็ นที่ เชื่อถือได้ วา ่ เจ้ าหลวงเมืองล้ า คือเจ้ าเมือง ผู้ปกครองเมืองล้ าในดินแดนแคว้ นสิบสอง ปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจี น ซึ่ง เป็ น บรรพบุรุษของชาว ไทลื อ้ และได้ ถึ ง แก่ พิ ร าลั ย ในดิ น แดน สิบสองปั นนา นอกจากนี ้เจ้ าหลวงเมืองล้ า
“กินแขกแต่งดอง”
เป็นพิธีแต่งงานของเผ่าไทลื้อ นิยมท�ำกันหลังเทศกาล ออกพรรษา ยัง มี บ ริ ว ารหรื อ ผู้ช่ ว ยอี ก หลายคน เช่ น หิง่ ช้ าง หิง่ ม้ า ล่ามเมือง หาบมาด แจ่งฝาย เชียงล้าน โอ๊กา ่ ช้างเผือก น� ้ำปั๊ด ปู่ กำ�่ ผมเขียว ค�ำแดง ปางแสน ปางสา ปางเม็ด ม่อนเชียง เคื อ ปากบ่ อ ทัง้ ห้ า บ่ อ ต่ ว น สวนตาล เมืองหลุก อางเรี ยง บ้ านตอง เป็ นต้ น “ประเพณี เ ลี ้ย งเทวดาหลวงและ บริวาร” จะปฏิบตั สิ ืบต่อกันมาทุก ๆ สาม ปี ซึง่ มักพูดกันเป็ นค�ำคล้ องจองว่า “สามปี สี่รวงข้ าว” หมายความว่า หากนับตาม ปฏิทินจะเป็ น ๓ ปี หรื อถ้ านับจากการท�ำ นาจะเป็ น ๔ ครัง้ ในลักษณะหมุนเวียน ปกติจะเป็ นช่วงเดือน ธันวาคม ซึง่ เป็ นช่วง ที่ เ ก็ บ เกี่ ย วข้ าวในนาเสร็ จแล้ ว การ ประกอบพิธีกรรมในอดีต จะก�ำหนด ๗ วัน ปัจจุบนั ก�ำหนด ๓ วัน เพือ่ ให้ สอดคล้ องกับ สภาวการณ์ในปั จจุบนั วันแรก เป็ นวันปิ ด ตาแหลว (เฉลว) ซึง่ เป็ นวันทีป่ ิ ดกันทางเข้ ้ า ออกหมูบ่ ้ าน โดยห้ ามคนในออกและห้ าม คนนอกเข้ า (คนนอกในที่นี ้หมายถึงบุคคล ที่ไม่ใช่เชื ้อสายไทลื ้อเมืองล้ า หรื อบุคคลที่
ไม่ได้ อาศัยอยูใ่ นหมูบ่ ้ าน) เพือ่ คนในหมาย ถึงชาวไทลื ้อ จะเข้ าก�ำเมืองไม่ให้ ตดิ ต่อกับ บุคคลภายนอกหรื อประกอบธุรกิจใด ๆ นอกบ้ าน วันที่ สอง เป็ นวันเลีย้ งเทวดา หลวงหรื อเจ้ าหลวงเมืองล้ า เรี ยกกันว่า “วันเต่า” วันที่สามเป็ นวันเลีย้ งผีอู หรื อ เทวดาอู หมายถึง การประกอบพิธีเลี ้ยง โดยชาวไทลื ้อที่นบั ถือผีอหู รื อเทวดาอูแห่ง เมืองอูเหนือและอูใต้ แคว้ นสิบสองปั นนา และในตอนเย็นของวันนี ้จะท�ำพิธีบายศรี สูข่ วัญเจ้ าเมืองและหมอเมือง แล้ วส่งเจ้ า เมื องและหมอเมื องกลับบ้ าน จึงจะเอา ตาแหลวลง เรี ยกว่า “ต้ าวแหลว“ จากนัน้ ผู้คนในหมูบ่ ้ านจะเข้ าออกได้ ตามปกติชาว ไทลื ้อ ยึดอาชีพการเกษตรเป็ นหลัก มีการ ๑๙
ปลูก พื ช ผัก สวนครั ว เลี ย้ งสัต ว์ เ ช่น วัว ควาย หมู เป็ ด และไก่ ไว้ ใ ช้ ง าน หรื อ ประกอบ อาหาร ในครัวเรือน โดยถือคติวา ่ ”ไม่ซื ้อ ไม่ขาย เก็บไว้ กิน และ แบ่งปั นพี่ น้ อง“ ชาวไทลือ้ ต่างนับถื อพุทธศาสนา ดัง จะเห็ น ได้ จ ากการสร้ างวัด ที่ มี ศิ ล ปะ แบบของไทลื ้อล้ วน ๆ และแบบศิลปะไทลื ้อ ผสมพม่าซึง่ ในท้ องที่ อ.เชียงค�ำ มีอยูห่ ลาย วัด เช่น วัดหย่วน วัดมาง และวัดนันตาราม ความเชื่ อถื อ ของบรรพบุรุษก็คือนับถื อ เทพยดา อารักษ์ ผีสาง จะเห็นได้ จากการ ทีม่ กี ารไหว้ ผปี ระจ�ำปี ของแต่ละหมูบ่ ้ าน ซึง่ จะมีขึ ้นเป็ นประจ�ำ ผีที่ชาวไทลื ้อนับถือมี ๓ จ�ำพวก ได้ แก่ ผีบรรพบุรุษ ผีบ้าน และ พระ(ผี )เสือ้ เมื อง เพราะชาวไทลื ้อเชื่อว่า เหตุก ารณ์ ภ ายในอาคารบ้ า นเรื อ นเป็ น หน้ าทีข่ องผีบ้านผีเรือน ทีต่ ้ องดูแลคุ้มครอง ๒๐
ส่วนการนับถือผีบรรพบุรุษอย่างมัน่ คง จะ ช่วยให้ เกิดสวัสดิมงคล อยูด่ ีมีสขุ ท�ำมาค้ า ขึ ้น ส�ำหรับพระ (ผี) เสื ้อเมืองจะคอยรักษา เหตุการณ์ บ้านเมื องให้ อยู่ในความสงบ โดยปราศจากเหตุร้ายต่าง ๆ สมัยก่อนชาว ไทลื ้อไม่นิยน�ำพระพุทธรู ปไว้ สกั การบูชา ในบ้ าน โดยให้ เหตุผลว่าพระพุทธรู ปเป็ น ของสูงที่ทรงความศักดิ์สิทธิ์ควรจะน�ำไป ประดิษฐาน ในโบสถ์หรื อวิหารไม่เหมาะ สมที่ จ ะน� ำ มาเก็ บ รั ก ษาในบ้ า นเหมื อ น เป็ นการลบหลู่ดหู มิ่น ชาวไทลื ้อถือคติว่า ในโลกนี ้ไม่มีใครช่วยเขาได้ นอกจากดวง วิญญาณของผีปยู่ า่ ตายายของเขา เท่านัน้ ด้ วยเหตุนี ้ทุกบ้ านจึงมีหิ ้งบูชาบรรพบุรุษที่ จัดไว้ ในห้ องเป็ นพิเศษ ส่วน การนับถือ ผี บ้ านผีเรื อน และพระ(ผี)เสื ้อเมือง ชาวไท ลื อ้ จะมี ค วามเชื่ อ มั่น อย่ า งจริ ง จัง เวลา
เคราะห์หามยามร้ ายอะไรขึ ้นมาก็มกั กล่าว หาว่าผีบ้านท�ำเอาบ้ าง พระ(ผี)เสื ้อเมือง ลงโทษเอาบ้ างสุดแต่จะยกเหตุผลมาอ้ าง ไปต่าง ๆ นานา เช่น หากออกไปนอกบ้ าน กลับมามีอาการผิดปกติ หนาวจับไข้ ขึ ้นก็ หาว่าผีตายโหงท�ำเอาโทษบ้ าง พระ(ผี)เสื ้อ เมืองท�ำอันตรายเอาบ้ าง แม้ แพทย์แผน ปั จจุบนั รักษาไม่หายยังมีอาการแบบสาม วันดีสวี่ นั ไข้ เจ้ าของบ้ านจะท�ำพิธี “สะเดาะ เคราะห์” หรื อที่เรี ยกตามภาษาพื ้นบ้ านว่า “กรรมเฮือน” ส�ำหรับพิธีกรรม เลี ้ยงพระ(ผี) เสื ้อเมืองจะร่วมใจกันจัดเป็ นงานใหญ่โดย จัดกัน เป็ น ๓ ปี ต่อหนึ่งครัง้ คือเริ่ มต้ นใน ฤดูเก็บเกี่ ยวในปี แรกจนครบ ๓ ปี ตาม ปฏิทนิ หรือฤดูกาลท�ำนาครัง้ ที่ ๔ ชาวไทลื ้อ เรี ยกพิธีนี ้ว่า ๓ ปี ๔ งวง (รวง) ข้ าว เวลา ท� ำ พิ ธี เ ลี ย้ งพระเสื อ้ เมื อ งเขาห้ า มคนใน ออกไปที่อื่น คนนอกเข้ ามาในหมู่บ้าน มี การแสดงเขตก�ำหนดบริ เวณหมูบ่ ้ าน โดย การท�ำเฉลว(ตาเหลว) ที่สานด้ วยไม้ ไผ่ไป ผูกติดไว้ ที่ประตูชวั่ คราวตรงปากทาง เป็ น เครื่ องหมายพร้ อมกับมีหนังสือก�ำชับหรื อ มีคนคอยป่ าวประกาศห้ าม พอคนต่างถิ่น มาเห็นเข้ าก็ต้องเดินอ้ อมไปอีกทางหนึ่ง เพราะถ้ าขื นล่วงล�ำ้ เข้ าไปในหมู่บ้านใน ขณะที่ ช าวบ้ า นก� ำ ลัง กระท� ำ พิ ธี เ ลี ย้ งผี ประจ�ำหมู่บ้าน บุคคลนันจะถู ้ กปรับไหม
แบบหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งชาวไทลื ้อทุกคน ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต าม มิ ฉ ะนั น้ จะถู ก ประณามอย่างเสียหาย พิธีกรรมเลี ้ยงผีเริ่ม ท�ำกันตังแต่ ้ ตอนเช้ าตรู่เป็ นต้ นไป ซึง่ เป็นที่ รู้จกั กันว่า ถ้ ามีการเลี ้ยงผี ก�ำนันผู้ใหญ่และ ชาวบ้ า นทุก หลัง คาเรื อ นจะต้ อ งน� ำ ไก่ มี ชี วิ ต มารวมกัน ที่ บ้ า นของหมอผี ป ระจ� ำ หมู่บ้าน โดยหมอผีเป็ นผู้กระท�ำพิธีทาง ไ ส ย ศ า ส ต ร์ ไ ป ด้ ว ย เ รื่ อ ง ก า ร น� ำ ไ ก่ มีชวี ติ ไปรวมกัน ถือเป็ นข้ อปฏิบตั ทิ ที่ กุ บ้ าน จะขาดเสียมิได้ ถ้ าเวลานันเจ้ ้ าของบ้ านที่ เป็ นผู้ชายไม่อยู่ อาจมีกิจธุระต้ องออกไป ท�ำงานนอกบ้ าน ผู้เป็ นภรรยาจะต้ องให้ คน น�ำ ไก่ไปที่บ้านหมอผี แต่ตวั ของนางจะไม่ ไปเองเด็ดขาด เหตุผลก็คอื ผู้หญิงเป็ นเพศ ที่ขวัญอ่อน มักตื่นตระหนกใจง่าย เวลาที่ เห็ น การฆ่ า สัต ว์ หรื อ บางที ผ้ ูห ญิ ง สวย เข้ าไปในงานพิธีพระ(ผี)เสื ้อเมืองอาจถูกใจ เอาไปเป็ นเมียที่เมืองผีก็ได้ ดังนัน้ ในพิธี เลยมีเฉพาะผู้ชายเท่านัน้ เมือ่ เจ้ าของ บ้ าน ที่ เ ป็ นผู้ ชาย ทุ ก คนอุ้ มไก่ ค นละตั ว ไป บ้ านหมอผี จ นได้ ไก่ ค รบตามจ� ำ นวน ครอบครัว ขันตอนการปฏิ ้ บตั ติ อ่ มาเขาจะ เชิญหมอผีประจ�ำหมูบ่ ้ านมาท�ำพิธี ใครที่ เอาไก่ ไ ปก็ ล งมื อ เชื อ ดคอไก่ ด้ ว ยตนเอง แบบของใครของมัน ส่วนอีกพวกหนึง่ ก็จดุ ไฟต้ มน�ำ้ ร้ อนไว้ ลวกไก่ หลังจากถอนขน ๒๑
เสร็ จก็เอาใส่รวมกันในกระทะใบใหญ่ ต้ ม ให้ สกุ จากนันเอาไก่ ้ เพียงตัวเดียว ใส่พาน ไม้ พร้ อมกับข้ าว เหนียวนึง่ ๑ จาน เทียน สีผึ ้ง และสุรา ๑ จอก (ประมาณ ๑๐๐ ซี ซี.) โดยหมอผี ประจ�ำหมูบ่ ้ านจะถือไปด้ วย ตนเองเพื่อเปิ ดการเจรจากับพระเสื ้อเมือง หรื อเทพารักษ์ ประจ�ำหมูบ่ ้ าน หลังจากที่ ทุกอย่างพร้ อมแล้ ว บรรดาผู้ชายต่างพากัน นัง่ ยอง ๆ ด้ วยอาการสงบนิ่งอยูใ่ นบริ เวณ นันโดยหมอผี ้ ประจ�ำหมูบ่ ้ าน จะเปล่งเสียง สาธยายมนต์ ต ามต� ำราอย่ างชัดเจนว่า “ปี นีก้ ็ควบไคว่ เติงเวลาแล้ ว หมู่จุมจาว บ้ าน ตังหลายตังมวล ได้ ร�่ำเปิ งหา ปู่ เจ้ า เสื ้อบ้ าน จึงมาร�่ ำรี ร้ �่ ำไร สูมาคารวะปู่ เจ้ า เสื ้อบ้ าน ขออาราธนา ปู่ เจ้ าได้ รับของกิน ของทาน ดังนี ้แล้ วขอปู่ เจ้ า เสื ้อบ้ านจุงได้ โผด กรุณาให้ ลกู ให้ หลาน เหลนหลีกลี ้ได้ อยูด่ ีมีสขุ ผู้ทกุ คนฮอดไปเติงหมู หมา เป็ ด ไก่ ช้ าง ม้ า วัว ควาย หื ้ออย่าได้ มีภยั พยาธิ์ มา เติงโดยแล ” ต่อจากนันก็ ้ ยกไก่ และสุรา ไว้ บ นหอ ให้ เวลาประมาณ ๑๕ นาที คาดคะเนว่ า ปู่ เสื อ้ บ้ า น ได้ รั บ ของเช่ น สัง เวยเรี ย บร้ อยแล้ ว ก็ จ ะเอาไก่ ต้ ม ตัว ดังกล่าว ลงจากหอปู่ เสื ้อบ้ านไปรวมกับไก่ ต้ มตัวอื่นๆ ก่อนที่จะลงมือฉี กเนือ้ ไก่จิม้ น� ำ้ ปลากิ น กัน อย่ า งเอร็ ด อร่ อ ย พร้ อม ๒๒
แกล้ ม กั บ สุร าที่ เ ตรี ย มเอามาล่ ว งหน้ า บรรดาอาหารต่าง ๆ ห้ ามน�ำเอากลับบ้ าน เหลืออะไรก็ให้ เอาไว้ ทใี่ ต้ ต้นไม้ ฮงุ (ต้ นไทร) ใ ห ญ่ ห น้ า ศ า ล ปู่ เ สื ้อ บ้ า น ทั ้ง ห ม ด ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ กราบพระได้ บญ ุ เลี ้ยงผีคน ได้ กินอิม่ ท้ อง ในวันนันเป็ ้ นวันหยุดงานทุก ชนิด คนในหมู่บ้านทัง้ หมดจะห้ ามออก นอกบ้ านไปทางหนึ่งทางใดเด็ดขาด ต้ อง อยู่ใ นหมู่บ้ า นตลอดเวลา ถ้ า ใครที่ เ ดิ น ทางออกไปจากบ้ า น ชาวบ้ า นจะถื อ ว่า ละเมิดประเพณี แสดงว่าเป็ นตัว “อุบาทว์” หรื อ “ขึด” ประจ�ำหมู่บ้านไม่มีผ้ ใู ดอยาก
คบหาสมาคมด้ วย พิธีกรรมเมืองหรื อ การ มโหรี ปี่ซอ บรรเลงกันเต็มที่ ตลอดจนมี บู ช าเทพาอารั ก ษ์ ของแต่ ล ะเมื อ ง มี อาหารการกิน ทุกอย่างเลี ้ยงกันเต็มที่ ขนบธรรมเนียมทีแ่ ตกต่างกันไปคนละแบบ ไม่เหมือนกันตลอดจนการจัดพิธีกรรม ก็ไม่ ตรงกัน เพราะบางเมืองจะมีพระเสื ้อเมือง ไม่เท่ากัน บางเมืองมีเพียง ๓ – ๔ คน แต่ “สามปีสีรวงข้าว” บางเมือง มีมากถึง ๒๐ – ๓๐ คน ท�ำให้ ก า ร ที่ ช า ว ไ ท ลื้ อ ป ร ะ ก อ บ ต้ องเลี ้ยงกันนานถึง ๓ วันติดต่อกัน และ พิธกี รรมเพือ่ ร�ำลึกถึงบุญญาบารมี จะจั ด เพี ยง ๓ ปี ต่ อ ครั ้ง เรี ยกว่ า ของเจ้าหลวงเมืองล้า นักรบผู้เก่ง กล้าสามารถสร้างความเป็น ” ๓ปี ๔ งวง (รวง ) ข้ าว ” ในพิธี ๓ ปี ๔ ปึกแผ่นแก่ชาวไทลื้อ รวงข้ า วนัน้ มี ก ารสนุก รื่ น เริ ง เฮฮาตาม ประสา ชาวชนบท มีการละเล่น และเสียง ๒๓
ชาติพันธุ์อาข่า ข้อมูลโดยข้อมูลโดยนายเทวินทร์ อามอ ผูน้ ำ� ชุมชน บ้านเลขที่ ๔๘ หมู่ ๗ ต�ำบลนาพูน อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ อาข่าเป็ นแขนงหนึง่ ของชนเผ่าทิเบต-พม่า รู ปร่ างเล็กแต่ล�่ำสันแข็งแรง ผิวสีน� ้ำตาล อ่อนและกร้ าน ผู้หญิงมีศีรษะกลม ล�ำตัว ยาวกว่าน่อง และขาสัน้ ผิ ดกับผู้ชาย มี ภาษาพูดมาจากแขนงชาวโล-โล คล้ ายกับ ภู ภาษาลาหู่ (มูเซอ) และลีซู (ลีซอ) ไม่มี ตัวอักษรใช้ วัฒนธรรมของคนอาข่าท�ำให้ พวกเขามองชีวติ ของคนในเผ่าเป็ นการต่อ เนื่องกัน เด็กเกิดมาเป็ นประกันว่าเผ่าจะ ไม่สญ ู พันธุ์ พอโตขึ ้นกลายเป็ นผู้สร้ างเผ่า และเป็ นผู้รักษา “ วีถีชีวิตอาข่า ” ในที่สดุ ก็ตายและกลายเป็ นวิญญาณบรรพบุรุษ คอยปกป้องลูกหลานต่อไป กฎต่าง ๆ เหล่า นี ค้ รอบคลุมทุกคนในเผ่าตัง้ แต่ตื่นนอน จนถึ ง เข้ านอนตั ง้ แต่ เ กิ ด จนตาย เป็ น แนวทางสอน และแนะน�ำทุกคนในเรื่ อง ของกฎหมายของเผ่าประเพณี ศาสนา ยา และการรักษาโรค กสิกรรม สถาปั ตยกรรม การตีเหล็ก และการท�ำของเครื่ องใช้ เครื่ อง นุ่ ง ห่ ม เพื่ อ ให้ ง่ า ยต่ อ การจดจ� ำ เพาะ ๒๔
พวกเขาไม่ มี ตัว หนัง สื อ ใช้ แ ม้ จ ะไม่ ไ ด้ มี การบันทึกประวัติศาสตร์ เป็ นลายลักษณ์ อั ก ษ ร อ า ข่ า ก็ มี ต� ำ น า น สุ ภ า ษิ ต ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีการมากมาย ที่ท�ำให้ หมายรู้ ในเผ่าพันธุ์ และซาบซึ ้งใน ความเป็ นอาข่าของตน เขาสามารถสืบ สาวรายงานบรรพบุรุษฝ่ ายบิดาขึ ้นไปได้ ถึงตัว “ต้ นตระกูล” และรู้ สกึ ว่าท่านเหล่า นัน้ ก่อก�ำเนิดชีวติ เขามา และประทานวิชา ความรู้ ในการเลี ย้ งชี วิ ต มาโดยตลอด เพราะเหตุที่มองตัวเองเป็ นส่วนหนึ่งของ โซ่สร้ อยซึง่ ร้ อยมายาวนักหนา ชนเผ่าอาข่า ต�ำบลนาพูน อ�ำเภอวังชิน้ แต่เดิมมีไม่กี่ครัวเรื อนอาศัยอยูใ่ นชุมชนนี ้ โดยมีเฉพาะชนเผ่าอาข่าเท่านันจากการ ้ บุกเบิกมาอาศัยจนขณะนี ้มีครอบครัวเรือน ประมาณ ๕๐ หลังคาเรือน ประชากรอาข่า ๒๕๐ คน มีการอยูภ่ ายใต้ การปกครองของ อบต.นาพูน อ.วังชิ ้น จ.แพร่
ว่ า กัน ว่ า สาวอาข่ าเมื่ อ แต่ ง ตั ว ครบ เครื่ องนั ้น เพริ ศ เพรา จนน่ าตะลึ ง ตัง้ แต่ ศีรษะจรดเท้ า ส่วนเครื่ องแต่งกาย ของบุรุษแม้ จะไม่รุ่มรวยด้ วยสีสนั เช่นของ สตรีแต่กม็ คี วามเฉียบทีจ่ ะเรียบแต่เท่อย่าง ประหลาด อาข่ า ใช้ ผ้ า ฝ้า ยทอเนื อ้ แน่ น ย้ อมเป็ นสีน� ้ำเงินเข้ มเกือบด�ำ ซึง่ แต่ก่อนนี ้ จะปลูกฝ้ายมาปั่ นใช้ เอง ปั จจุบนั ซื ้อฝ้าย ดิบจากคนไทยน�ำมาอัดเป็ นก้ อนใหญ่ ยาว ๒๐ ซม. บรรจุในปล้ องหรื อกล้ องไม้ ไผ่ เวลากรอด้ ายผู้หญิงจะผูกกล่องฝ้ายไว้ กบั เอวเกี่ยวใยเข้ ากับตะขอกงซึ่งเกาะไว้ กับ
ต้ นขาแล้ วปั่นอย่างรวดเร็วออกมาเป็ นฝ้าย หนาและเหนียวทนทาน หญิงอาข่าสอนให้ ปั่ นด้ ายตังแต่ ้ อายุ ๖-๗ ขวบ เพราะมารดา คนเดียวปั่นด้ ายไม่ทนั มาทอผ้ าให้ ใช้ กนั ทัง้ ครอบครัว ผู้หญิงอาข่าทุกวัยปั่ นด้ ายกัน ตลอดเวลาที่ มื อ ว่ า งจากงานอื่ น เช่ น ระหว่างเดินทางไปไร่ ขณะแบกฟื นหรื อ หาบน� ำ้ จนกระทัง้ ขณะที่ นั่ง ผิ ง ไฟอยู่ใ น บ้ านยามค�ำ่ สาวอาข่ามักแข่งขันกันว่าใคร จะปั่ นด้ ายได้ มากที่สดุ ในแต่ละวัน ด้ ายนี ้ น�ำไปทอผ้ าเนือ้ แน่นหน้ ากว้ าง ๑๗-๒๐ ซม. จากนั น้ ก็ น� ำ ไปย้ อมครามซึ่ ง เป็ น ๒๕
ผลิตผลพื ้นบ้ านใช้ เวลาย้ อมร่ วมเดือนจึง จะได้ สนี � ้ำเงินเข้ มทีต่ ้ องการเพราะต้ องย้ อม ซ�ำ้ แล้ วซ�ำ้ อีกทุกวัน อาข่าในเมืองไทยมี แบบแผนการแต่งกายสามแบบด้ วยกัน แบบแรก “อู่โล้ อาข่า” สวมหมวกแหลม แบบที่สอง “โลมีอ้ าข่า” สวมหมวกแบน แบบที่สาม “ผาหมีอาข่า” สวมหมวกแบน เช่นกันแต่รูปทรงของหมวกต่างกัน เครื่ อง เงินที่ใช้ ตกแต่ง ก็มีความละเอียดกว่าแบบ “โลมี ้อาข่า” โดยมีรายละเอียดดังนี ้ “อู่โล้ อาข่ า” ผู้หญิง :หมวกแหลมนี ้แบ่งออกเป็ น สองส่วน คือ ส่วนฐานซึง่ เป็ นผ้ าคาดศีรษะ ประดับด้ วยเหรี ยญตรากระดุมเงิน และ ลูกปั ดส่วนยอดมีโครงไม้ ไผ่อยู่ใต้ ผ้าฝ้าย ย้ อมครามตกแต่งด้ วยเครื่ องเงิน ลูกปั ด ลูกเดือย พู่แดงที่ได้ จากขนไก่ย้อมสีและ ของแปลก ๆ ที่ แ ต่ ล ะคนจะสรรหามา จ�ำนวนและชนิดของวัสดุตกแต่งจะแตก ต่างกันไปตามฐานะ สภาพ อายุ และการ มีบตุ ร ส�ำหรับตัวเสื ้อนันเป็ ้ นผ้ าฝ้ายย้ อม คราม แขนยาวตกแต่ ง ด้ ว ยผ้ า หลากสี ตัวเสื ้อยาวขนาดสะโพก ด้ านหลังปั กด้ วย ลวดลาย สาบเสื ้อตกแต่งด้ วยผ้ าสี แผ่น เสื ้อด้ านหน้ าไม่คอ่ ยเน้ นลายมากเท่าด้ าน หลัง ส่วนกระโปรงเป็ นผ้ าชนิดเดียวกัน ท�ำ จีบเฉพาะด้ านหลัง ยาวเหนือเข่า และมีผ้า ๒๖
ชิ ้นเล็กตกแต่งด้ วยเครื่ องเงินและพู่สีแดง ส�ำหรับคาดทับกระโปรงด้ านหน้ า ส่วนถุง น่องนันตกแต่ ้ งด้ วยผ้ าหลากสีและลูกเดือย ผู้ชาย :สวมเสือ้ แขนยาวตกแต่งด้ วยผ้ า หลากสีและปั กลวดลายคล้ ายของ ผู้หญิง แต่ตวั เสื ้อจะสันกว่ ้ า ส่วนกางเกงคล้ ายกาง เกงสะดอ แต่เป็ นผ้ าฝ้ายย้ อมครามหมวก ท� ำ เป็ น ผ้ า หนาแล้ ว ม้ ว นปลายสองด้ า น เข้ าหากันแล้ วเย็บติด น�ำผ้ าฝ้ายย้ อมพัน อีกที ตกแต่งด้ วยพู่สีแดง “โล้ มีอ้ าข่ า” ผู้ หญิ ง :หมวกแบนนี จ้ ะต้ องมีแผ่นเงินรู ป สี่เหลี่ยมคางหมูเชิดขึน้ มาทางด้ านหลัง ด้ านหน้ าแต่งด้ วยแถวลูกปั ด สลับกับแถว กระดุมเงิน ล้ อมกรอบใบหน้ าด้ วยลูกบอล เงินเหรียญและลูกปั ดห้ อยเป็ นสายประบ่า ตัวเสื ้อด้ านหลังแต่งด้ วยลายปะเศษผ้ าชิ ้น เล็กชิ น้ น้ อยหลากสีสลับกับลายปั กงาม วิจิตร แต่งด้ วยกระดุมเปลือกหอยกระดุม เงิน ลูกเดือย ลูกปัด และพูห่ ้ อย รัดน่องและ ย่ามก็ปักแต่งในท�ำนองเดียวกัน ผ้ าผูกเอว จะแต่งด้ วยเปลือกหอยและลูกเดือยของ สาวโสดจะกว้ า งกว่า หญิ ง แต่ง งานแล้ ว ส่วนกระโปรงนันชาวอาข่ ้ าจะสวมเหมือน กันหมด ผู้ชาย :เสื ้อของบุรุษและเด็กชาย มีลายปั กประดับชายเสื ้อโดยรอบและรอบ ตะเข็บข้ างทัง้ ซ้ ายขวาหรื อบางที่ไม่มีปัก
ชายเปลี่ยนเป็ นปั กประดับอย่างงดงามที่ ส า บ ห น้ า “ ผ า ห มี อ า ข่ า ” ผู้หญิง :หมวกสตรี มีรูปคล้ ายหมวกเกราะ ของนักรบโบราณและประดับด้ วยกระดุม เงิน เหรียญ ลูกปั ด ไม่เว้ นช่องว่างเลย ด้ าน ข้ างห้ อยสายลูกปั ดสีแดงร้ อยยาวเกือบถึง เอว เสื ้อด้ านหลังมักเย็บด้ วยแถบผ้ าคราม เข้ มกุ้นขาวเล็ก ๆ เรี ยงซ้ อนกัน แต่ละแถบ ยั ง ปั ก ล า ย ล ะ เ อี ย ด เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ แขนเสื ้อ ผ้ าผูกเอว และย่าม อาข่ากลุม่ นี ้ จะแตกต่างจากอีกสองกลุม่ คือจะมีตวั เสื ้อ ชัน้ ในอีกตัวหนึ่งเป็ นผ้ าฝ้ายย้ อมตกแต่ง ด้ วยกระดุ ม เงิ น เหรี ยญและแผ่ น เงิ น ผู้ชาย :เสื ้อผู้ชายตัวยาวกว่าอาข่ากลุม่ อื่น เย็บด้ วยแถบผู้ก้ นุ ขาวเรียงซ้ อนกัน อาจติด กระดุมหน้ าหรืออ้ อมไปติดกระดุมข้ างซ้ าย มักประดับสาบหน้ าด้ วยเหรี ยญเงินหรื อ สร้ อยเงินร้ อยลูกกระพรวน กางเกงก็คล้ าย กับกลุม่ อื่น
“
“
อาข่าในมีแผนการแต่งกาย สามแบบด้วยกัน แบบแรก “อู่โล้อาข่า” สวมหมวกแหลม แบบที่สอง “โลมี้อาข่า” แบบที่สาม “ผาหมีอาข่า” สวมหมวกแบนเช่นเดียวกัน
ความเชื่อของชาวอาข่า ความเชื่ อเรื่ องที่ อยู่อาศัยของชาวอาข่า อาข่าเป็ นชนเผ่าที่นิยมอาศัยอยู่บนที่สูง จากระดับน� ้ำทะเล ๕๐๐ เมตรขึ ้นไป โดย การตังชุ ้ มชนของอาข่าจะมีการเลือกท�ำเล พร้ อมทังมี ้ การ “เสี่ยงทาย” โดยการใช้ ไข่ ไก่ เรียกว่า “จ้ ออูแจเออ” ซึง่ การเสีย่ งทาย นี ้ถือเป็ นการตัดสินใจว่า จะตังชุ ้ มชนหรื อ ไม่ตงชุ ั ้ มชน ทังนี ้ ้หากตังชุ ้ มชนได้ เวลาโยน ไข่เพือ่ เสีย่ งทายการตังชุ ้ มชน ไข่จะแตกแต่ ถ้ าไข่ไม่แตกก็ไม่สามารถจะตังชุ ้ มชนใน บริเวณนันได้ ้ เนือ่ งจากอาข่ามีความเชือ่ ว่า เจ้ า ที่ เ จ้ า ทางไม่ อ นุญ าต ดัง นัน้ การตัง้ ชุมชนของอาข่าจึงน�ำหลักความเชื่อตาม ธรรมชาติเข้ ามาเกี่ยวข้ องสถานทีใ่ นการตัง้ ชุมชนต้ องอยูห่ า่ งจากแม่น� ้ำหรื อหนองน� ้ำ หรื อพื น้ ที่ ราบทัง้ นี เ้ นื่ องจากในอดี ตการ แพร่ ร ะบาดของโรคมาลาเรี ย เป็ น เหตุ ส�ำคัญที่ชมุ ชนต้ องอยู่ห่างจากแม่น� ้ำและ อีกประการหนึ่งชาวอาข่ากลัวว่า เมื่อฝน ตกลงมาอาจท�ำให้ บ้านเรื อนถูกน� ำ้ ท่วม และท�ำให้ เกิดความเสียหาย อาข่ามีการ พูดว่าพญานาคจะพัดพาเอาไป อันเป็ น ภูมปิ ัญญาในการป้องกันไม่ให้ เกิดอุทกภัย ในชุมชนนัน่ เอง การตังชุ ้ มชนของอาข่ามัก ๒๗
นิ ย มตัง้ ในพื น้ ที่ ล าดเทหรื อ ตามสัน เขา ปากทางเข้ าหมู่บ้านจะมีการสร้ างประตู หมูบ่ ้ านไว้ เรียกว่า “ล้ อข่อง” เพือ่ ไว้ ปอ้ งกัน สิ่งเลวร้ ายต่าง ๆ ไม่ให้ เข้ ามาในชุมชน นอกจากนี ้ยังมีศาสนสถานทีส่ ำ� คัญเพือ่ ใช้ใน การประกอบพิธกี รรม อาทิเช่น ศาลพระภูมิ ชุม ชน บ่ อ น� ำ้ ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ลานวัฒนธรรม เป็นต้น ขนาดในการตังชุ ้ มชนอาข่าโดยเฉลีย่ ประมาณ ๓๐-๕๐ หลังคาเรือน ชนเผ่าอาข่าในประเทศไทย แต่ละประเภท มี ค วามคล้ ายคลึ ง กั น ทั ง้ การแต่ ง กาย ภาษา วิถีชีวิต เทศกาลและพิธีกรรม ซึง่ มี ความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะชนเผ่าอาข่าจึง มีข้อห้ ามเพื่อใช้ ควบคุมคนในชุมชนโดย ผ่ า นมิ ติ ข องวัฒ นธรรมออกมา และข้ อ ปฏิ บัติ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ป ฏิ สัม พัน ธ์ ใ น ชุมชน ข้ อห้ ามของอาข่าบางอย่างไม่ได้ มี ไว้ เพื่ออาข่าเท่านัน้ แต่รวมไปถึงคนนอก ชุมชนด้ วย ในกรณีทเี่ ข้ ามาท�ำผิดกฎก็ต้อง ถูกปรับเหมือนกับชนอาข่าทัว่ ไป เช่น การ เอามี ด ไปฟั น ประตูห มู่บ้ า น การเข้ า มา ชุมชนอาข่าจึงมีความจ�ำเป็ นอย่างมากที่ ต้ องรู้จกั กฎหรือข้ อห้ าม หรือสิง่ ทีไ่ ม่ควรท�ำ ในกรณีตา่ ง ๆ ของอาข่า ดังนี ้ การเห็นงูแล้ วไม่ ประกอบพิธีกรรมใด ตามความเชื่อของอาข่างูเป็ นสัตว์ที่เป็ น ๒๘
เสนี ย ดจัญ ไรหรื อ ที่ อ าข่า เรี ย กว่า “ต๊ อ ” เพราะว่าในอดีตงูเคยเป็ นสัตว์ชนสู ั ้ ง และ อะเผ่วหมี่แย้ เลี ้ยงไว้ แต่งูไม่ยอมเชื่อฟั ง ขโมยของอะเผ่ว หมี่ แ ย้ อี ก จึง ถูก สาปให้ ขาขาด เลยต้ องใช้ ท้องเลื่อยตลอด การ ประกอบพิ ธี ก รรมใด ๆ ของอาข่ า เมื่ อ พบเห็นงู จึงต้ องยกเลิกพิธีกรรมนัน้ เช่น การท�ำพิธกี รรม “อะเผ่วล้อ – เออ” ถ้ าเจองูผ้ ู เจอเข้าบ้านไม่ได้ จนกว่าพิธกี รรมแล้วเสร็จ การไม่ เ อามี ด ฟั น ในสถานที่ ดัง ต่ อ ไปนี ้ ประตูหมู่บ้าน (ล้ องข่ อง) เป็ นสถานที่ที่ อาข่าท�ำไว้ เพื่อป้องกันสิ่งชัว่ ร้ ายเข้ ามาใน หมู่บ้าน ประตูหมู่บ้านมีส่วนที่ส�ำคัญอยู่
เช่น รูปนกอินทรี ย์ เพราะมีความเชื่อว่านก อินทรี ย์เป็ นสัตว์ที่บนิ เบื ้องบน เป็ นต้ น เสา โล้ ชิงช้ า (หล่ าเฉ่ อ) เมื่อถึงเทศกาลโล้ ชิงช้ าทุกปี อาข่าก็ไปตัดเสาใหญ่ ๆ จ�ำนวน สี่ต้นมาเพื่อมาประกอบเป็ นชิงช้ า และใน หนึ่งปี การละเล่นชิ ง ช้ ามี เพี ยงครั ง้ เดี ยว ชาวอาข่ า จึ ง เล่น เต็ ม ที่ หลัง จากสิ น้ สุด เทศกาลก็ต้องมัดเชือกติดเสาให้ เรี ยบร้ อย และจะไม่มใี ครไปแกะเชือกมาเล่นอีก หาก แกะมาเล่นต้ องเสียหมูเพื่อท�ำพิธี ชิงช้ าไม่ สามารถเอาของมีคมไปฟั นได้ ถ้ าผิดก็ต้อง เอาหมูและเหล้ าไปเลี ้ยงแก้ บนเทศกาลนี ้ ได้ ชื่อว่าเป็ นเทศกาลส�ำหรับเชิดชูผ้ ูหญิง
ศาลพระภูมเิ จ้ าที่ของหมู่บ้าน (มิซ๊ ้ อง) เป็ นสถานที่สร้ างขึ ้นมาพร้ อมกับการสร้ าง หมูบ่ ้ าน สร้ างขึ ้นเพือ่ ให้ ความคุ้มครองจาก สิ่งไม่ดีให้ หมู่บ้าน ชาวอาข่าทุกคนจึงไม่ เอามีดหรือของมีคมไปฟั นสถานทีด่ งั กล่าว เพราะเป็ นการไม่ให้ เกียรติเจ้ าที่ ซึง่ อาจท�ำ อันตรายกับคนในชุมชนได้ และหากผู้ใด ท� ำ ผิ ด ก็ ต้ อ งเอาหมูแ ละเหล้ า ไปขอขมา บ่ อน�ำ้ ศักดิ์สิทธิ์ (อีซ้อล้ อเขาะ) ในการ ประกอบพิธีกรรมนัน้ เมื่อต้ องการใช้ น�ำ้ บริสทุ ธิ์กต็ ้ องมาตักในบ่อน� ้ำนี ้เพือ่ น�ำไปใช้ ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของ อาข่า การตักน� ้ำในบ่อก็มีจารี ตกฎเกณฑ์ บางตัว เช่น เมื่อไปถึงก่อนตักน� ้ำต้ องมีการ ล้ างหน้ า มือ และขา เพราะมีความเชื่อ ว่าการประกอบพิธีกรรมต้ องใช้ น� ้ำบริ สทุ ธิ์ จึงให้ สง่ิ สกปรกตกข้ างในไม่ได้ และการตัก น� ้ำก็ต้องตักตามล�ำดับมาก่อนหลัง เพราะ เป็ น การควบคุม สัง คมไม่ ใ ห้ เกิ ด ความ วุ่ น วายในสั ง คมอาข่ า โดยผ่ า นมิ ติ วัฒนธรรม บ่อน� ้ำศักดิ์สิทธิ์ในหมู่บ้านอา ข่ามีเพียงแห่งเดียว แต่ในชุมชนทีป่ ระกอบ พิธีกรรมทุกครัวเรื อน เมื่อไปถึงถ้ าไม่เรี ยง ล� ำ ดับ ก่ อ นหลัง ก็ จ ะเกิ ด การแย่ ง น� ำ้ ใน สถานที่ตรงนี ้และไม่สามารถเอาของมีคม ไปฟั นได้ ผู้เอาของมีคมไปฟั นต้ องเสียหมู ๒๙
และเหล้ าเพื่ อ ขอขมาเช่ น กั น ป่ าช้ า (หล่ อ บยุ้ม) เป็ นสถานที่ที่คนอาข่าให้ ความเคารพมากอีกสถานที่หนึง่ เนื่องจาก ว่าป่ าช้ าเป็ นป่ าเยอะและครึม้ ๆ และไม่เอา ของมี คมไปฟั นรวมถึงการไม่น�ำของมา จากป่ าช้ า เช่น หน่อ ฟื น เป็ นต้ น ถ้ าท�ำผิด ขึ น้ มาก็ ต้ องเอาหมู ไ ปเลี ย้ งและเหล้ า เพื่อขอขมาด้ วยเช่นกัน ลานวัฒนธรรม (แตห่ อง) สถานที่ตรงนี ้ เป็ นสถานที่เดียวกับที่คนไทยทัว่ ไปรู้จกั ใน นาม ลานสาวกอด ที่ผา่ นมาสถานที่ตรงนี ้ แปลและตีความหมายผิดมาโดยตลอด เนื่องจากผู้ที่มาสะท้ อนวัฒนธรรมอาข่า ไม่ใช่คนอาข่า ซึง่ อาจสือ่ คลาดเคลือ่ นด้ วย เหตุผลต่าง ๆ เช่น ภาษา เป็ นต้ น การไม่ ตดั ผมและไม่ ซกั ผ้ าในวันที่มงี าน ศพ ในชุมชนตามประเพณีของอาข่า ถ้ า คนเป็ น จะท� ำ พิ ธี ก รรมใด ๆ ก็ ต าม ต้ องท�ำจากขาขึ ้นหัว ความหมายคือทุกสิง่ ทีเ่ พิม่ ความสูงหรือขยาย ถ้ ามีชวี ติ หรือเป็ น ประกอบพิธีส�ำหรับคนตาย จะท�ำจากหัว ลงสูข่ า ความหมาย คือ ความสูงไม่เพิม่ มี แต่ความสลายไป การไม่ ทำ� ไร่ และตัดฝื นในวันแกะและ วันเสือ (ย้ อ, ข่ าหล่ า) สองวันนี ้ตามความ เชื่อของอาข่าเชื่อว่าเป็ นวันหยุดของ “อะ ๓๐
เผ่วหมี่แย้ ” ผู้สร้ างสรรพสิ่งในโลก และ “อะเผ่วหมี่แย้ ” ได้ หยุดพักผ่อนการสร้ าง สรรพสิ่งต่าง ๆ ในโลกในสองวันนี ้ ดังนัน้ เพื่อเป็ นการให้ เกียรติผ้ มู ีพระคุณ จึงไม่ตดั ฟื นและท�ำไร่ในสองวันนี ้ หากมีผ้ ใู ดฝ่ าฝื น ก็ถกู ปรับตามความผิดที่กระท�ำ เช่นอาจ เป็ นเหล้ าหรื อไก่ ไม่แค่นนชาวอาข่ ั้ ายังมี ความเชื่อในเรื่ องจิตวิญญาณ ภูตผี ปี ศาจ ไสยศาสตร์ สิง่ เร้ นลับ พิธีกรรมค�ำสอนทีไ่ ด้ รั บ การปลูก ฝั ง มาจากบรรพบุ รุ ษ และ สื บ ทอดปฏิ บั ติ ต ามอย่ า งเคร่ ง ครั ด ผี “แหนะ” ตามความเชื่ อของอาข่ามีดังนี ้ ผีเรื อนหรื อผีบรรพบุรุษ ชาวอาข่าถื อว่า
“
ประตูหมู่บ้าน (ล้องข่อง)
เป็นสถานที่ที่อาข่าท�ำไว้เพื่อ ป้องกันสิ่งชั่วร้ายเข้ามา ในหมู่บ้าน
“
เป็ นผี ที่ ดี ที่ สุ ด เพราะเป็ นวิ ญ ญาณ บรรพบุรุษที่คอยคุ้มครองดูแลครอบครัว มาโดยตลอดหลายชัว่ อายุคน ผีหมูบ่ ้ านก็ คือผีที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านที่คอยปกป้อง รั ก ษาคนในชุม ชนให้ อ ยู่เ ย็ น เป็ น สุข จะ สถิตย์อยูท่ ศี่ าลผีประจ�ำหมูบ่ ้ านบริเวณทิศ ตะวันออกของหมู่บ้าน ซึ่งศาลนีจ้ ะต้ อง สร้ างก่อนที่จะตังหมู ้ บ่ ้ าน ผีทวั่ ไป เป็ นผีท่ี สิ ง อยู่ป ระจ� ำ ที่ ต่ า ง ๆ ทั่ว ไปนอกจากผี ที่บอกมาในเบื ้องต้ นแล้ วก็ยงั มี ผีไฟ ผีดนิ ผีน� ้ำ ผีดอย ผีฟา้ ผ่า ผีจอมปลวก เป็ นต้ น ผี เ ร่ ร่ อ น คื อ ผี ต ายทัง้ กลมกับ ผี ต ายโหง ตามความเชื่ อ ของอาข่ า ถื อ ว่ า ทั ง้ สอง
๓๑
“
ผีหมู่บ้าน
คือผีที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านที่คอย ปกป้องรักษาคนในชุมชนให้ อยู่เย็นเป็นสุข
“
ประเภทนี เ้ ป็ นผี ที่ไม่ดี เป็ นผี ที่ไม่มีที่อยู่ ร่ อ นเร่ ไ ปทั่ว บางครั ง้ คอยหลอกหลอน คนที่จิตใจไม่เข้ มแข็ง ปั จจุบนั อาข่าที่นบั ถือดังเดิ ้ ม ยังมีการใช้ หลั ก ความเชื่ อ ในการด� ำ รงชี วิ ต อยู่ แต่อ าข่า บางส่ว นก็ หัน ไปนับ ถื อ ศาสนา คริ สต์และอิสลาม เนื่องจากความซับซ้ อน และความหลากหลายของพิธีกรรม บวก กับสภาพเศรษฐกิจของปัจจุบนั ทีไ่ ม่เอื ้อต่อ การด�ำรงชีวิต เพราะการนับถือดังเดิ ้ มจะ ต้ อ งเคร่ ง ในการประกอบพิ ธี ก รรมทาง ๓๒
ศาสนาจะขาดหรื อผิดพลาดไม่ได้ ในขณะ เดียวกันต้ องใช้ สตั ว์ต่าง ๆ ในการท�ำพิธี เซ่นไหว้ เป็ น จ� ำนวนมาก เป็ น เหตุท�ำให้ หลายหมูบ่ ้ านต้ องทิ ้งความเป็ นดังเดิ ้ มแล้ ว หันไปนับถือศาสนาอื่น
จังหวัดน่าน ชาติพันธุ์ขมุ
ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ ผูน้ ำ� ชุมชน นายประสาน เสารงทอย บ้านเลขที่ ๔๙ หมู่ ๘ ต�ำบลชนแคน อ�ำเภอสองแคว จังหวัดน่าน
ชาติพันธุ์ขมุ เป็ นชาติพันธุ์เก่าแก่กลุ่ม ชาติพนั ธุ์หนึง่ ของภูมภิ าคอุษาคเนย์ และ อาจจะเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ที่อาศัยอยู่บน ผืนแผ่นดินใหญ่ มาก่อนกลุม่ อื่น ๆ เช่น ก่ อนที่ กลุ่มคนในตระกูลไทย-ลาว จะ เคลื่อนย้ ายเข้ ามาและอาจจะมีสว่ นเป็ น เจ้ าของวัฒนธรรมการถลุงเหล็ก และการ สลักหินยุคแรก ๆ ด้ วย และขมุ ถือว่าเป็ น ชาติพนั ธุ์กลุม่ ย่อยของชาวข่า ชาวข่าฮัด ชาวข่าฮอก ชาวข่าเม็ด ชาวข่าหมุ(ขมุ) ๓๔
ขมุ แปลว่า “คน” เป็ นค�ำทีช่ าวขมุใช้ เรียก ตัวเองว่า “ขมุ” บางทีก็เรี ยกว่า “ ข่า” ใน ประเทศลาวเป็ นแหล่งใหญ่ ที่มีชาวขมุ จะเรี ยกชาวขมุวา ่ “ลาวเทิง” หรื อลาวบน ที่สงู ในประเทศไทย ชาวขมุเข้ ามานาน พอสมควร อาศัยอยูใ่ นจังหวัดน่าน และ บริ เ วณชายแดนจัง หวัด เชี ย งรายโดย กระจายอยูใ่ นจังหวัดภาคกลาง อาทิ เช่น จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดอุทยั ธานี เป็ นต้ น ชาวขมุแบ่ง
ออกได้ เป็ นหลายกลุม่ ตามลักษณะการ ใช้ ภ าษาและวัฒ นธรรมความเป็ น อยู่ ค�ำที่ชาวขมุใช้ เรี ยกพวกกันเองแต่ต่าง กลุ่ม คื อ “ตม้ อ ย” โดยจะใช้ ลัก ษณะ เฉพาะของกลุ่มนัน้ ๆ ต่อท้ าย อาทิเช่น ตม้ อยปูลวง (ชาวขมุจากหมู่บ้านที่อยู่ เดิม) ตม้ อยดอย(ชาวขมุจากเขตภูเขา) ตม้ อยลื ้อ (ชาวขมุที่อยู่ในกลุ่มพวกลื ้อ) เป็ นต้ น ดังนัน้ ขมุเป็ นชาติพนั ธุ์ที่มีความ ส�ำคัญอย่างยิง่ ทังในฐานะของความเป็ ้ น ชนชาติ ข องขมุเ องและในฐานะที่ เ ป็ น กลุ่มที่คงความเป็ นวัฒนธรรมประเพณี และความเชือ่ ทีม่ คี วามเป็ นประวัตศิ าสตร์ อยูอ่ ย่างเด่นชัด คือ ความเป็ นมนุษย์ทยี่ งั เคารพผู้ อาวุ โ ส ถื อ เป็ นแหล่ ง ของ ประสบการณ์ ความรู้ และความสามารถ รวมทังมี ้ ความอ่อนน้ อมถ่อมตน ที่ไม่ได้ คิดว่ามนุษย์ยิ่งใหญ่ หรื อมีอ�ำนาจเหนือ กว่าธรรมชาติตลอดจนมีแนวคิดที่ว่าสิ่ง มีชีวิตอื่นที่อยูร่ ่วมกัน ต้ องมีความรักเอื ้อ อาทร ต้ องมีความช่วยเหลือกัน ความเชื่อของชาวขมุ ความเชื่อด้ านอาหารดังนี ้ แกงแค (ขมุ) มีวิธีการท�ำเหมือนต้ มย�ำไก่น� ้ำใส ใส่ผกั กาดดอง โรยด้ วยใบโหระพา และพริ ก แห้ งคัว่ ต�ำหวาย แกงยอดต๋าว หลาม บอน หลามปู แอ๊ บใบผักเขียว ต�ำมะมื่น
อาหารการกิน กินข้ าวเหนียวเป็ นหลัก และกินเนื ้อสัตว์และผักทุกชนิด อาหาร ประจ�ำวันส่วนใหญ่จะเป็ นจ�ำพวกพืชผัก ต่าง ๆ ทังที ้ ่ปลูกไว้ ในไร่ และพืชผักสวน ครัว บางส่วนได้ มาจากจากการล่าสัตว์ หาของป่ า อาหารจ�ำพวกหมู ไก่ จะใช้ เฉพาะในพิธีกรรม การประกอบอาหาร ส่วนใหญ่จะใช้ พริก เกลือ ผงชูรส และมัก ใส่ผกั ขี ้อ้ น (กลู้ช) เพื่อให้ มีกลิน่ หอมและ มีรส เป็ นแกงผักน� ้ำใส อาหารที่ชาวขมุ ชอบมาคือ ปลาหมก (ก้ ะ กูบ) ชาวขมุ จะ หมัก เหล้ า ไว้ ใ ช้ เ อง เหล้ า ของชาวขมุ เป็ นเหล้ าอุเรี ยกว่า “ ปูจ” ไว้ ต้อนรับแขก ผู้มาเยือน และในการเซ่นไหว้ ผี ความเชื่อด้ านประเพณี ประวัฒนธรรม ชาวขมุเป็ นผู้ทเี่ คร่งครัดต่อประเพณี และ พิ ธี ก รรมความเชื่ อ เรื่ อ งผี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ทางเข้ าหมู่บ้านหรื อตามทางแยกมักจะ พบสัญลักษณ์ หรื อเครื่ องเซ่นไหว้ อย่าง เด่นชัดไว้ ที่ประตูหมู่บ้านหรื อทางแยก ชาวขมุนบั ถือผีโร้ ย มีพิธีเซ่นไหว้ ด้วย ไก่ ข้ าว เหล้ า พิธีเลี ้ยงผีที่ส�ำคัญคือ เลี ้ยงผี ที่เกี่ยวข้ องในชีวิต มีทงผี ั ้ ป่า ผีหมู่บ้าน ทุก บ้ า นจะมี ผี บ้ า นโรยถาง ซึ่ง เชื่ อ ว่ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น ใ น บ ริ เ ว ณ ที่ หุ ง ข้ า ว พิธีต่าง ๆ เกี่ ยวกับการเลีย้ งผีคือ การ เลี ้ยงผีข้าว, เลี ้ยงผีหมู่บ้าน, เลี ้ยงผีเพื่อ รักษาผู้เจ็บป่ วย, เลี ้ยงผีบรรพบุรุษ, เลี ้ยง ๓๕
ผีเพื่อแก้ ความผิดต่าง ๆ ป้องกันเหตุร้าย ที่ จ ะเกิ ด ขึ น้ เวลาที่ เ ลี ย้ งผี จ ะมี ก ารตัด ไม้ ไผ่ หรื อตแล้ ไว้ เป็ นเครื่ องหมายด้ วย เป็ นพิธีที่ปฏิบตั ิมาแต่โบราณ เพื่อแสดง ว่า มี ก ารเลี ย้ งผี แ ล้ ว การท� ำ พิ ธี เ ลี ย้ งผี หมูบ่ ้ านจะต้ องท�ำตะแล้ เอาไว้ ทงั ้ ๔ ทิศ ของหมูบ่ ้ าน โดยตะแล้ จะอยูส่ องข้ างทัง้ ด้ านซ้ ายและด้ านขวา การท�ำพิธีเลี ้ยงผี ต่าง ๆ ของขมุเพื่อความปลอดภัย การ กินดีอยูด่ ี เพือ่ ความอุดมสมบูรณ์ของพืช พรรณทางการเกษตร เพื่อป้องกันรักษา คนเจ็บป่ วย และพิธีกรรม ชาวขมุนบั ถือ ผี (โร้ ย) มีพิธีเซ่น ไหว้ ด้วยหมู ไก่ ข้ าว เหล้ า จะเลี ้ยงผีในพิธีสำ� คัญต่างๆ มีทงผี ั้ ป่ า ผีบ้าน ผีนน� ้ำ ผีหมูบ่ ้ าน ทุกบ้ านจะมี ผีเรื อน (โร้ ยกาง) ซึง่ เชื่อว่า ประดิษฐาน ในบริเวณเตาหุงข้ าว เวลามีพธิ ีเลี ้ยงผี จะ มี ก ารติ ด “เฉลว” (ตแล้ ) ไว้ เป็ น เครื่ อ งหมายที่ ปฏิ บั ติ ม าแต่ โ บราณ พิธีกรรมทีส่ ำ� คัญของชาวขมุจะใช้ ในการ รั ก ษาความเจ็ บ ป่ วย การประกอบ พิธีกรรมเพื่อรักษาโรคของขมุ มีลกั ษณะ ของการรั กษาโรคที่เน้ นเรื่ องของจิตใจ อันเกี่ยวพันกับสิ่งเหนือธรรมชาติ เพื่อ สร้ างความรู้ สึกสบายใจ สร้ างก�ำลังใจ และการเน้ นใน เรื่ องของสัญลักษณ์ โดย การประกอบพิธีกรรมจะมีการใช้ อปุ กรณ์ กิ ริ ย าท่ า ทาง และถ้ อยค� ำ อั น แสดง ๓๖
ลักษณะของสัญลักษณ์ เช่น การปักเฉลว หรื อตแล้ เพื่อเป็ นเขตหวงห้ ามส�ำหรั บ ภูต ผี ห รื อ สัต ว์ ไ ม่ ใ ห้ เ ข้ า มาเบี ย ดเบี ย น การกล่าวคาถาก็ถือเป็ นสัญลักษณ์อย่าง หนึง่ ที่แสดงถึงความรู้สกึ และความตังใจ ้ อันแน่วแน่ทจี่ ะจัดท�ำสิง่ ต่าง ๆ ให้ ถกู ต้ อง เพื่อสื่อกับสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติอนั ถือ เป็ นการท� ำ ให้ เกิ ด การผลั ก ดั น ทาง อารมณ์ เกิดพลังจิตที่จะต่อสู้อาการเจ็บ ป่ วย นอกจากนี ย้ ั ง รวมถึ ง การสร้ าง พลังจิตเพื่อแก้ ไขเรื่ องร้ ายให้ กลายเป็ นดี อันเป็ นการคลายอารมณ์ได้ อีกทางหนึง่ การประกอบพิธีกรรมเพื่ อรั กษาความ เจ็บป่ วย มีสิ่งส�ำคัญที่ใช้ ในพิธี คือ การ ใช้ สัตว์ เพื่อเซ่นไหว้ ผี ส่วนการวินิจฉัย สาเหตุของการเจ็บป่ วย และก�ำหนดวิธี การรั กษา เป็ น ห น้ า ที่ ขอ ง ห มอ ดู (ม้ อกแน้ ะ) ซึง่ จะเป็ นผู้ติดต่อกับผี และ
ท� ำ นายสาเหตุ ข องอาการเจ็ บ ป่ วยที่ ส� ำ คัญ ของชาวขมุจ ะใช้ ใ นการรั ก ษา ความเจ็บป่ วยวิธีการป้องกันและรักษา โรคแบบพื น้ บ้ า นของขมุ มี ๒ วิ ธี ก าร ส�ำคัญได้ แก่ การใช้ พืชสมุนไพรพื ้นบ้ าน และการประกอบพิธีกรรมเพื่อรักษาการ เจ็บป่ วย พืชสมุนไพรพื ้นบ้ านที่ขมุนิยม น�ำมาป้องกัน และรักษาอาการเจ็บป่ วย ต่าง ๆ อาทิ ตู้ดาลเมิน หรื อชุมเห็ดเทศ ใช้ ใ บต� ำ หรื อ ซอยต้ ม ดื่ ม เพื่ อ ให้ ร ะบบ หมุนเวียนโลหิตดี ผิวพรรณดี และทาแก้ โรคผิวหนัง เช่น หิด กลาก เกลื ้อน ใช้ ราก ต้ มดื่มแก้ ปวดศีรษะ ส่วนการประกอบ พิธีกรรมเพื่อรักษาโรคของขมุ มีลกั ษณะ ของการรั กษาโรคที่เน้ นเรื่ องของจิตใจ อันเกี่ยวพันกับสิ่งเหนือธรรมชาติ เพื่อ สร้ างความรู้ สึกสบายใจ สร้ างก�ำลังใจ และการเน้ นในเรื่ องของสัญลักษณ์ โดย การประกอบพิธีกรรมจะมีการใช้ อปุ กรณ์ กิ ริ ย าท่ า ทาง และถ้ อยค� ำ อั น แสดง ลัก ษณะของสัญ ลัก ษณ์ เช่ น การปั ก เฉลว หรื อ ตแล้ เพื่อเป็ นเขตหวงห้ าม ส�ำหรับภูตผีหรื อสัตว์มา เบียดเบียน การ กล่า วคาถาก็ ถื อ เป็ น สัญ ลัก ษณ์ อ ย่ า ง หนึง่ ที่แสดงถึงความรู้สกึ และความตังใจ ้ อันแน่วแน่ทจี่ ะจัดท�ำสิง่ ต่าง ๆ ให้ ถกู ต้ อง เพื่ อ สื่ อ กั บ สิ่ ง เหนื อ ธรรมชาติ อั น ถื อ เป็ นการท� ำ ให้ เกิ ด การผลั ก ดั น ทาง
อารมณ์ เกิดพลังจิตที่จะต่อสู้อาการเจ็บ ป่ วยนอกจากนี ย้ ั ง รวมถึ ง การสร้ าง พลังจิตเพื่อแก้ ไขเรื่ องร้ ายให้ กลายเป็ นดี อันเป็ นการคลายอารมณ์ได้ อีกทางหนึง่ การประกอบพิธีกรรมเพื่ อรั กษาความ เจ็บป่ วย มีสิ่งส�ำคัญที่ใช้ ในพิธี คือ การ ใช้ สัตว์ เพื่ อเซ่นไหว้ ผี ส่วนการวินิจฉัย สาเหตุของการเจ็บป่ วยและก�ำหนดวิธี การรั ก ษา เป็ น หน้ าที่ ข องหมอดู( ม้ อ กแน้ ะ) ซึ่ ง จะเป็ นผู้ ติ ด ต่ อ กั บ ผี และ ท�ำนายสาเหตุของอาการเจ็บป่ วย บาง ครัง้ การเจ็บป่ วย บางครัง้ ก็ไม่เกี่ยวกับ โรค อาจจะเป็ นผีเรื อน ผีบรรพบุรุษ เปิ น้ ไค้ กนิ เหมือนลักษณะว่าเป็ นการทาน ถ้ า เป็ นศาสนาพุทธเข้ าไปทานทีว่ ดั แต่วา่ ชน เผ่าของชาติพนั ธุ์ขมุ เขานับถือบรรพบุรุษ เขาถื อว่าถ้ าเจ็บไข้ ได้ ป่วยไปรั กษาโรง พยาบาลไม่ ห ายก็ ต้ อ งกลับ ไปเลี ย้ งผี ๓๗
บรรพบุรุษ เพื่อให้ ผีบรรพบุรุษได้ กินของ ที่ทานไปนะครับ ชาติพนั ธุ์ชนเผ่าขมุ ซึง่ ความเชื่อของชนเผ่าบรรพบุรุษนับถือผี ครั บ ผี จ ะแยกผี บ้ า น ผี บ้ า น คื อ ผี ที่ บรรพบุรุษของสมาชิกเคารพนับถื อ ผี เรื อนเขาจะเลี ย้ งต่ อ เมื่ อ สมาชิ ก ใน ครอบครัวเจ็บไข้ ได้ ป่วยฉุกเฉิน ไปรักษา โรงพยาบาลไม่หายก็จะกลับมาเลี ้ยงผี เรื อนผีบรรพบุรุษ แล้ วจะมีผภี าพรวม คือ ผีหมู่บ้าน ซึง่ ผีหมู่บ้าน ๑ ปี จะเลี ้ยง ๑ ครัง้ ทุกหมู่บ้าน ชุมชน ทุกคนไม่ว่าคน เฒ่าคนเก่า คนเล็กเด็กแดงจะมารวมใน การประกอบพิธีกรรม บ้ านผมจะก�ำหนด เลี ้ยงนับถือแม่นางธรณี ซึง่ จะเลี ้ยงทุกปี ในช่วงเดือนมกรา ซึง่ ทุกหมูบ่ ้ านจะต้ อง ท�ำขันดอกไม้ เทียน ขนม ข้ าวต้ ม เพื่อจะ สังเวยในการประกอบพิธีกรรม สืบทอด ๓๘
ตังแต่ ้ บรรพบุรุษมา ตังแต่ ้ คนเฒ่าคนแก่ มาไม่ให้สญ ู เสีย สืบไปจากชนเผ่าโดยจัดพิธี เลี ้ยงผีด้วยไก่และหมู (ซู้ ฮเอี ้ยร ซู้ เซื ้อง) พิธีการการฆ่าควาย (ซังพ้ าน ตร้ าก) เพื่อ รั ก ษาผู้ป่ วยหนัก พิ ธี ผูก ข้ อ มื อ (ตุ๊ก ติ )้ สะเดาะเคราะห์ ตามปกติ เมื่อไม่มีคน เจ็บป่ วยหรื อโรคระบาด ทุก ๆ ๓ ปี จะมี การฆ่ากระบือ เซ่น ผีเมือง ท�ำพิธีเซ่นผีไร เวลาปลูกข้ าว เมื่อมีคนตายในหมู่บ้าน เพื่ อ นบ้ า นจะน� ำ ไก่ ไ ปให้ ค รอบครั ว ละ ๑ ตัว ศพถูกห่อด้ วยเสื่อสะเดาะเคราะห์ ตามปกติ เมื่อไม่มีคนเจ็บป่ วยหรื อโรค ระบาดทุก ๆ ๓ ปี จะมีการฆ่ากระบือ เซ่น ผีเมืองท�ำพิธีเซ่นผีไร่เวลาปลูกข้ าว เมื่อมี คนตายในหมูบ่ ้ าน เพื่อนบ้ านจะน�ำไก่ไป ให้ ครอบครัวละ ๑ ตัว ศพถูกห่อด้ วยเสื่อ ใช้ ไม้ คานสอดหามไปยังป่ าช้ า หลุมฝั ง
ศพใช้ ไม้ ฟากรอง พื ้นดินวางเสื่อ ห่อศพ ลงแล้ ว กลบดิ น เหนื อ หลุ ม ศพมี สุ ร า อาหาร ดอกไม้ เทียน วางไว้ ลูกหลาน ต้ องส่งอาหารเซ่น วิญญาณผู้ ตายติดกัน ๓ วัน เมื่อกลับมาบ้ าน เจ้ าบ้ านจะฆ่าหมู เลี ้ยง วิญญาณผู้ตายที่บ้าน อยู่กรรมมี ก� ำ หนด ๑ เดื อ น คื อ ไม่ อ อกไปไกล หมู่ บ้ านหยุ ด ท� ำ งาน หนั ก ในไร่ น า (บุ ญ ช่ ว ย ๒๕๐๖, น.๒๑๘-๒๑๙) ปั จจุบนั ชาวขมุหนั มานับถือศาสนาพุทธ และ คริ ส ต์ บ้ า ง (บุญ ช่ว ย ๒๕๐๖ น. ๒๑๐-๒๑๑) การแต่งกายของชาวขมุ ผู้หญิงไว้ ผม มวยเกล้ าไว้ ข้างหลัง มีแผ่น ผ้ าพันรอบกรวยใหญ่ เอาปลายผ้ าปิ ด ข้ างบนทอเป็ นลวด ลายประดับ กระดุม เปลือกหอย ห้ อยเหรี ยญเงิน ใส่เสื ้อสีด�ำ สันเหนื ้ อเอว แขนยาว มีแถบสีแดง ริมคอ เสือ้ นุ่งผ้ าซิ่นลายสีต่างๆ ผู้หญิ งนิยม เจาะรูหู ใส่ลานเงินหรื อตุ้มหู เอายางไม้ ย้ อมฟั นสีด�ำ ใส่ก�ำไลเงินที่แขนสักดอก จัน ทร์ ไ ว้ ที่ ห ลัง มื อ แต่ปั จ จุบัน ไม่ นิ ย ม แล้ ว ส่วนผู้ชายเดิมไว้ ผมยาว เกล้ ามวย มี ผ้ า โพกศี ร ษะ ปั จ จุบัน ตัด ผมสัน้ นุ่ง กางเกงขายาว เสื อ้ กุย เฮงผ่ า อกสี ด� ำ (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๒๐๗-๒๐๘) ระบบ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ช า ว ข มุ ขึ ้น อ ยู่ กั บ การเกษตรเป็ นส�ำคัญ ได้ แก่ ข้ าว ข้ าวโพด
กล้ วย อ้ อย ถั่ว พริ ก ยาสูบ ฝิ่ น ฝ้าย เป็ น ต้ น ชาวขมุนิ ย มถางป่ า เผา ป่ า ท�ำไร่ สัตว์เลี ้ยงของชาวขมุ ได้ แก่ สุนขั ควาย หมู ไก่ เป็ ด เป็ นต้ น นอกจากนัน้ ยังเก็บของป่ า ล่าสัตว์ ดักสัตว์ รายได้ ของ ชาวขมุ ได้ มา จากการเป็ นแรงงานรับจ้ าง ในไร่ นาของ พวกลาว คนจีน พวกแม้ ว เป็ นต้ น (Lebar and others ๑๙๖๔, p.๑๑๔-๑๑๕) ชาวขมุเป็ นผู้ที่รักความ สงบ ไม่ชอบทะเลาะวิวาทหรื อตีรันฟั น แทงหรือกลัน่ แกล้ งใคร มีนสิ ยั ขยัน อดทน ซื่อสัตย์ และรับค�ำสัง่ ชอบมีเพื่อนฝูงมี การกินข้ าวกินเหล้ าร่วมกัน ชาวขมุจะให้ ความเคารพผู้เฒ่าผู้แก่และญาติผ้ ใู หญ่ ของตนอย่างเคร่ งครัด ถ้ าปฏิบตั ิตนไม่ เหมาะสม จะถือว่าท�ำผิดประเพณีและ ถูกปรับไหม ๓๙
ชาติพนั ธุ์ไทพวน ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชน นายสมศักดิ์ จินปัณ (ผู้ใหญ่บ้านป่าคา) บ้านเลขที่ ๒๑ หมู่ ๑ ต�ำบลป่าคา อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
ตามประวัติศาสตร์ ถิ่นฐานเดิมของชาว ไทยพวนกล่าวไว้ ในหนังสืออักขรานุกรม ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๑ หน้ า ๒๙๕ ซึง่ นายถวิล เกษรราช น�ำ มาลงไว้ ในหนังสือประวัตผิ ้ ไู ทยตอนหนึง่ มีข้อความว่า “ชนชาติตา่ ง ๆ ที่อาศัยอยู่ ในประเทศไทยปั จจุบนั นี ้ นอกจากชาว ไทยแล้ ว ยังมีคนไทยสาขาอืน่ ๆ อีกหลาย สาขา เช่น ผู้ไทพวน และโซ่ง ซึง่ เป็ นคน ไทยสาขาหนึง่ เดิมผู้ไทพวน และโซ่ง มี ถิ่นฐานอยู่ทางฝั่ งแม่น�ำ้ โขงในประเทศ ลาว ทางแขวงซ�ำเหนือ และแขวงเซียง ขวาง พวกผู้ไทยมีอยูท่ างอีสาน อาทิเช่น
จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม เป็ นต้ น ส่วนพวกพวนและพวกโซ่งมีอยู่ กระจัดกระจายเป็ นแห่ง ๆ ทางภาคกลาง อาทิเช่น จังหวัดสุโขทัย จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัด เพชรบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี เป็ นต้ น ไทยทัง้ ๓ พวกนี ้มีลกั ษณะทางภาษาใกล้ เคียงกันมาก แทบจะกล่าวได้ อย่างกว้ าง ว่าเป็ นภาษาไทยสาขาเดียวกัน แม้ ชาว ไทยพวนเอง เรี ยกพวกบ้ านเดียวกันหรื อ ต่างบ้ าน ก็จะมีค�ำว่า “ไทย” ก�ำกับด้ วย เสมอ คล้ ายกับประเทศพวกตนเองว่า เป็ น คนไทยเช่ น ไทยบ้ า นเหนื อ ไทย ๔๑
“
ภาคอีสานเรียกว่า
“ไทยพวน”
ภาคกลางเรียกว่า
“
บ้ านกลาง ไทยบ้ านใต้ ไทยบ้ านหาดสูง ไทยบ้ านใหม่ ไทยบ้ านแม่ราก และเรี ยก คนต่างถิ่นว่าเป็ นคนไทยด้ วย เช่น ถ้ าพบ คนต่างถิ่น เมื่อต้ องการทราบว่าเป็ นคน บ้ า นไหนก็ จ ะถามว่า ท่า นเป็ น คนบ้ า น ไหน (ภาษาไทยพวนว่า เจ้ าเป็ นไทยบ้ าน เลอ) ดังนัน้ จึงเข้ าใจว่าชาวไทยพวน คงจะมีถิ่นฐานรวมอยู่ ณ ที่แห่งเดียวกัน ด้ วย “พวน” ซึง่ เป็ นค�ำเรี ยกชื่อชาวไทย สาขาหนึง่ มีถิ่นฐานอยูท่ ี่เมืองพวน แขวง เมืองเชียงขวาง ในประเทศลาว มีความ หมายว่ า กระไร เหตุไ รจึ ง เรี ย กชื่ อ ว่ า “พวน” การค้ น คว้ า ได้ ตัง้ ค� ำ ถามที่ จ ะ ค้ นคว้ าไว้ คือ “พวน , คนพวน , ชาวพวน, ไทยพวน, ลาวพวน “ หนังสือที่จะค้ นคือ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อัข รานุกรมภูมิศาสตร์ ปทานุกรม กระทรวง ธรรมการซึง่ เลิกใช้ แล้ วแต่ก็ต้องผิดหวัง เพราะไม่มีค�ำว่าพวน ซึง่ ให้ ความหมาย เป็ นชื่อเรี ยกคนเลย มีแต่ เชือกเกลียว, แนวรวงข้ าวที่นวดแล้ ว หรื ออ้ อยซึ่งหีบ ครัง้ ที่สอง “ เมื่อความหมายไม่ตรงกับที่ ผู้เรี ยบเรี ยงต้ องการ ดังนัน้ จึงได้ มีการ ค้ นคว้ าต่อไม่วา่ จะเป็ นการสอบถาม หรือ การค้ นคว้ าจึ ง ได้ ความหมาย ค� ำ ว่ า “พวน” เป็ นชื่อของคนไทยสาขาหนึง่ ซึง่ ทางภาคอีสานเรี ยกว่า “ไทยพวน” แต่ ทางภาคกลางเรี ยกว่า “ลาวพวน” ๔๒
“ลาวพวน” ความเชื่อต่าง ๆ ของชาวไทยพวน ความเชื่อด้ านที่อยู่อาศัย บ้ านของชาว ไทพวนเป็ นเรื อนสูง นิยมปลูกเป็ นเรื อนที่ มีห้องตังแต่ ้ ๓ ห้ องขึ ้นไป ใต้ ถนุ เรื อนใช้ ท�ำประโยชน์ หลายอย่าง เช่น ท�ำคอก วัว-ควาย เล้ าเป็ ดเล้ าไก่ ตังเครื ้ ่องส�ำหรับ ผูกหูกทอผ้ า หลังคาทรงมะนิลา ไม้ เครื่อง บนผูกมัดด้ วยหวายแทนการตอกตะปู แต่ถ้าเป็ นบ้ านเจ้ านายหรื อผู้มีฐานะดี และวั ด จะใช้ ตะปู ซึ่ ง ท� ำ ขึ น้ เอง และ หลังคามุงด้ วยหญ้ าคา ถ้ าเป็ นบ้ านผู้มี ฐานะดี มุง ด้ ว ยกระเบื อ้ งไม้ เ รี ย กว่า ไม้ แป้นเก็ด หรื อกระ เบื ้องดินเผา พื ้นและ ฝาเรื อนปูด้วยกระดานไม้ ไผ่สีสกุ สับแผ่ ออกเป็ นแผ่น ๆ เรี ยกว่า ฟาก แล้ วมีเสื่อ สานด้ วยหวายทับอีกชันหนึ ้ ง่ มีห้องครัว อยูบ่ นเรือน มีชานยืน่ ออกมาจากตัวเรือน
และมีบนั ไดขึ ้นลงพาดทีน่ อกชานด้ านทิศ เหนือ ส่วนเสาเรื อนนันอาจใช้ ้ ไม้ ทงต้ ั้ น หรื อใช้ อิฐก่อเป็ นเสาขนาดใหญ่ตามคติ ความเชื่ อ ของไทพวนจะปลูก ( ปลูก สร้ าง) บ้ านปลูกเฮือน จะต้ องเลือกที่ให้ ได้ ลกั ษณะที่ดีที่เป็ นมงคล การเลือกที่ ต้ องมีผ้ ูร้ ู ผู้เฒ่าผู้แก่ไปดูที่ดทู างให้ การ เลือกที่จะเสี่ยงทายหาที่ด้วยการ ๑. ขุดหลุมให้ ลึกพอประมาณ แล้ วเอา ใบไม้ ปกหลุมไว้ ๑ คืน รุ่งเช้ าเปิ ดหลุมเอา ดินขึ ้นมาดมดูกลิน่ อย่างไร ถ้ าดินมีกลิน่ เหม็นกลิ่นเน่าผิดกลิ่นธรรมชาติของดิน เป็ นอัปมงคลปลูกเฮือนไม่ได้ จะท�ำให้ เจ็บ ไข้ ได้ ป่วย ๒. นอกจากดูดิน ดมกลิ่นดิน ดูน�ำ้ ใน หลุมด้ วยว่า น� ้ำเป็ นอย่างไร สีอะไรน� ้ำใส หรือสีเน่ามีมนั น� ้ำมีกลิน่ เหม็น ปลูกเฮือน ไม่ได้ จะเจ็บป่ วย น� ้ำจะท่วมบ้ าน
๓. ปลูกเฮือน ต้ องไม่ปลูกใกล้ หอบ้ าน เป็ นขะล�ำ ๔. ปลูกเฮือนที่รือ้ ลงจะสร้ างใหม่ต้องทิ ้ง ไว้ ๑ ปี ก่อนจึงปลูกใหม่ได้ เมื่อเลือกที่ปลูกได้ แล้ วก็จะต้ องเชิญแม่ ธรณีออกจากพื ้นที่ที่จะปลูกเฮือนไปไว้ ที่ อื่นก่อน เพราะจะขุดหลุมฝั งเสา จอบ เสียมจะไปถูกแม่ธรณีให้ เดือนร้ อน และ เชิญเทวดาลงมาเสี่ยงหาพื ้นที่มงคลอีก ครั ง้ เมื่อเชิญแม่ธรณี ออกไปแล้ วก็เชิญ เทวดาลงมา เจ้ าของที่จะกวาดพื ้นตรงที่ ปลูกเฮือนให้ สะอาดเตียน เอาตะปูตอก ลงไปที่พื ้นให้ เป็ นรู เอาเมล็ดข้ าวสาร ๗ เมล็ดใส่ลงในรูตะปู เอาดอกไม้ ธูปเทียน วางบนรูตะปูแล้ วใช้ ขนั ครอบรูตะปูเอาไว้ ๑ คืน รุ่งเช้ าเปิ ดทีค่ รอบดูถ้าเมล็ดข้ าวทัง้ ๗ เ ม ล็ ด ยั ง อ ยู่ เ ห มื อ น เ ดิ ม ไ ม่ กระจัดกระจายเสียหายถือว่าที่ตรงนันดี ้ ๔๓
เป็ นมงคลปลูกเฮือนแล้ วจะอยูด่ กี ินดี แต่ ถ้ าเมล็ดข้ าวกระจัดกระจายแสดงว่าที่ ตรงนันเป็ ้ นอัปมงคลจะอยูไ่ ม่เป็ นสุข การ ปลูกเฮือนต้ องปลูกให้ เสร็ จในวันเดียว คือ ขึงศุกร์ ปลูกเสาร์ เมือ่ ขุดหลุมเสร็จจะ ใช้ ของมาปิ ดปากหลุมกันไม่ให้ สตั ว์ลงไป ห ลุ ม เ ส า แ ต่ ล ะ ห ลุ ม จ ะ มี ชื่ อ เ รี ย ก คล้ องจองกันเช่น ค�ำสี ค�ำดี ค�ำมี ฯลฯ การตัดไม้ ทำ� เสาเฮือนจะต้ องหาวันไปตัด ให้ ได้ มงคล และไม้ ทเี่ อามาท�ำเสาจะต้ อง ๑. ล�ำต้ นตรง ไม่คดงอ ๒. ไม้ ไม่แตก ไม่กลวง เมื่อล้ มไม้ ลงแล้ ว จึงพบว่าใจไม้ แตกกลวง ก็จะเอามาใช้ ปลูกเฮือนไม่ได้ ๓. ไม้ ทจี่ ะท�ำเสาต้ องเป็ นไม้ โม่แยงเงา คือ เงาของไม้ไม่ทอดลงน� ้ำ ๔. ไม่มีกิ่งตาย มีใบดก มีมดอยู่มาก ๆ ถือว่าจะท�ำให้ อยูด่ ีกินดี มีความสามัคคี กลมเกลียว ๕. ขณะตัดไม้ ท�ำเสา ถ้ ามีเสียงนกเค้ า แม้ วร้ อง ตุ๊กแกร้ อง แลนร้ อง (ตะกวด) ฟานร้ อง (เนื ้อทราย) แม้ ไม้ จะล้ มแล้ วก็ เอามาท�ำเสาไม่ได้ ถือเป็ นอัปมงคล การ ลงเสาเอกหรื อเสาแฮกเสาขวัญ ต้ องหา วันลงเสาจะต้ องไม่ให้ ถกู วันเก้ ากอง ถือ เป็ นอัปมงคลก่อนยกเสาลงหลุมต้ องว่า คาถานกคุม่ ตีใส่หน้ าเสา หัวเสาติดแผ่น ทอง มัด ด้ ว ยไซ ยอดกล้ ว ย ต้ น อ้ อ ย ๔๔
ภายในไซจะใส่ เงิน ทอง ข้ าวสาร ดอกไม้ มี ก ารแห่ ร อบบริ เ วณเฮื อ น ๓ รอบ พราหมณ์ หรื อผู้ร้ ู จะกระท�ำพิธีเดินด้ วย การถือไหเกลือไหปลาร้ า ชาวบ้ านจะถือ กบ ฆ้ อเฒ่า ( หลาว มีด สิว่ ลูกแหงา) ประเพณีก�ำฟ้ าเป็ นการสักการบูชาฟ้า จะจัดขึ ้นระหว่างวันที่ ๑-๔ กุมภาพันธ์ของ ทุกปี โดยประมาณวันขึ ้น ๓ ค�่ำเดือน ๓ เป็ นวันก�ำฟ้า ก่อนวันก�ำฟ้า ๑ วัน คือวัน ขึ ้น ๒ ค�่ำเดือน ๓ จะถือเป็ นวันสุกดิบ แต่ละบ้ านจะท�ำข้ าวปุ้น หรื อ ขนมจีน พร้ อมทังน� ้ ้ำยา และน� ้ำพริกไว้ เลี ้ยงดูกนั มี การท� ำ ข้ าวหลามเผาไว้ ในกระบอก ข้ าวหลามอ่อน มีการท�ำข้ าวจี่ ข้ าวจี่ท�ำ โดยน�ำข้ าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ วน�ำมาปั น้ เป็ นก้ อนขนาดพอเหมาะ อาจจะใส่ใส้ หวานหรือใส่ใส้ เค็มหรือไม่ใส่ใส้ เลย ก็ได้ เสียบเข้ ากับไม้ ทาโดยรอบด้ วยไข่ แล้ วน�ำ ไปปิ ง้ ไฟจนสุกหอม ข้ าวจีจ่ ะน�ำไปเซ่นไหว้ ผีฟา้ และแบ่งกันกินในหมูญ ่ าติพนี่ ้ อง พอ ถึงวันก�ำฟ้าทุกคนในบ้ านจะไปท�ำบุญที่ วัด มีการใส่บาตรด้ วยข้ าวหลาม ข้ าวจี่ ตก ตอนบ่ายจะมีการละเล่นไปจนถึงกลางคืน การละเล่นทีน่ ยิ มได้ แก่ ช่วงชัย มอญซ่อน ผ้ า นางด้ ง ฯลฯ ประเพณี ก�ำฟ้า เป็ น ประเพณีสำ� คัญตังแต่ ้ สมัยโบราณ ซึง่ เกีย่ ว กั บ วิ ถี ชี วิ ต ของชาวไทยพวนที่ อ าศั ย กระจายไปอยู่ในหลายภูมิภาค แม้ การ
รวมตัวในแต่ละถิ่นไม่มากนัก แต่ทกุ แห่ง ต่ า งก็ ส ามารถรั ก ษาวิ ถี ชี วิ ต และ ขนบธรรมเนียมดังเดิ ้ มไว้ ได้ อย่างดี ก�ำ หมายถึง การสักการบูชา (ภาษาพวน) ก�ำฟ้า หมายถึง การสักการบูชาฟ้า ประวัติ ประเพณีก�ำฟ้า ตามประวัตศิ าสตร์ ที่เล่า ต่อกันมาว่าครังหนึ ้ ง่ พระเจ้ าแผ่นดินสยาม มีโอกาสให้ เจ้ าชมพูแห่งเมืองพวนยกทัพ ไปตีร่วมกับเจ้ าเวียงจันทน์ ตีได้ สำ� เร็จ ต่อ มาเจ้ าชมพูแข็งเมือง ไม่ยอมส่งส่วยให้ เวียงจันทน์ และหลวงพระบางเหมือนเช่น เคย เจ้ านนท์แห่งเวียงจันทน์โกรธมาก จึงส่งให้ แม่ทพั ชือ่ เขียวไปปราบเมืองพวน เจ้ าชมพูแพ้ ถกู จับได้ และถูกสัง่ ประหาร ชีวิตด้ วยหอก ขณะที่ท�ำการประหารนัน้ เกิดเหตุอศั จรรย์ ฟ้าได้ ผา่ ลงมาถูกหอกหัก สะบัน้ เจ้ านนท์เห็นว่าเจ้ าชมพูเป็ นผู้ที่มี บุญญาบารมี จึงสัง่ ให้ ปล่อยกลับไปครอง เมืองพวนดังเดิม ด้ วยเหตุนี ้ชาวไทยพวน
จึ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ของฟ้ า จึ ง เกิ ด ประเพณี “ก�ำฟ้า” ขึ ้นตังแต่ ้ บดั นันเป็ ้ นต้ น มา ความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีกำ� ฟ้ า ก�ำ ฟ้าตามความเชือ่ ของชาวไทยพวน หมาย ถึง การนับถือสักการบูชาฟ้า การแสดง กตเวทิตาต่อฟ้าทีท่ า่ นได้ค้มุ ครองให้ มอี ายุ ยืนยาว ให้ อยู่ดีกันดี มีฝนตกต้ องตาม ฤดูกาล มีข้าวปลาอาหารสมบูรณ์ โดย ชาวไทยพวนทุกคนจะหยุดท�ำงานทุกชนิด คือ หยุดท�ำไร่ ท�ำนา ทอหูก ปั่ นด้ าย ตีเหล็ก เป็ นต้ น แม้ แต่อปุ กรณ์ เครื่องมือ ท� ำมาหากิ นก็ ต้องเก็ บเข้ าที่ ให้ หมดคง เหลือแต่อปุ กรณ์ในการหุงหาอาหารใน แต่ละมื ้อเท่านัน้ และชาวไทยพวนจะมี กิจกรรมร่วมกัน คือการท�ำบุญตักบาตรใน ตอนเช้ าการละเล่นในตอนกลางวัน และ การพบปะสังสรรค์ระหว่างเครือญาติด้วย กัน กิ จกรรมในงาน “ประเพณี ก�ำฟ้า” ๔๕
ประกอบไปด้ วย พิธีบวงสรวงบรรพบุรุษ ไทพวน การแสดงนิทรรศการชาวไทพวน ตลาดไทพวน การประกวดตัดเย็บผ้ าหม้ อ ห้ อม การแสดงของโรงเรี ยนและชุมชน การประกวดฟ้อนแอ่น การประกวดท�ำ อาหารพื น้ เมื อ ง การเดิ น แฟชั่ น โชว์ ผลิตภัณฑ์ผ้าหม้ อห้ อม การประกวดเทพี ก�ำฟ้า และขบวนแห่งานประเพณีก�ำฟ้า สาเหตุที่เกิดประเพณีก�ำฟ้า ชาวพวนมี ความสามารถในด้ านการเกษตร โดย เฉพาะการท� ำนา สมัยก่อนต้ องพึ่งพา ธรรมชาติ ชาวนาจึงเกรงกลัวต่อฟ้ามาก จึงมีการเซ่นไว้ สักการบูชา ซึง่ ชาวบ้ าน รู้สกึ ส�ำนึกบุญคุณของฟ้าทีใ่ ห้ น� ้ำฝน ท�ำให้ มีประเพณีนี ้เกิดขึ ้น แต่เดิม ถือเอาวันทีม่ ี ผู้ทไี่ ด้ ยนิ ฟ้าร้ องครังแรกในเดื ้ อน ๓ เป็ นวัน เริ่ มประเพณี แต่ทกุ คนไม่สามารถได้ ยิน ได้ ทกุ คน ภายหลังจึงก�ำหนดให้ วนั ก�ำฟ้า คือ วันขึ ้น ๓ ค�ำ่ เดือน ๓ ของทุกปี และ ยังมีความเชื่อค�ำท�ำนายเกี่ยวกับฟ้าร้ อง ดังนี ้ ท�ำนายเกี่ยวกับเหตุการณ์และงาน อาชีพ ,ฟ้าร้ องดังมาจากทิศเหนือหรื อ ตะวันออกเฉียงเหนือ ท�ำนายว่าฝนจะดี ท�ำนาได้ ข้าวงาม ,ฟ้าร้ องดังมาจากทิศใต้ ท� ำ นายว่ า ฝนจะแล้ ง ข้ า วจะเสี ย หาย ,ฟ้าร้ องดังมาจากทิศตะวันตก ท�ำนายว่า ฝนจะน้ อย ท�ำนาไม่ได้ ผล ,ท�ำนายเกี่ยว กับชีวิตและความเป็ นอยู่ ,ฟ้าร้ องดังมา ๔๖
จากทิศเหนือ ท�ำนายว่าชาวบ้ านจะอด ข้ าว ,ฟ้าร้ องดังมาจากทิศใต้ ท�ำนายว่า ชาวบ้ านจะอดเกลือ ,ฟ้าร้ องดังมาจากทิศ ตะวันออก ท�ำนายว่าชาวบ้ านจะอยูเ่ ย็น เป็ นสุข ,ฟ้าร้ องดังมาจากทิศตะวันตก ท�ำนายว่าชาวบ้ านจะเดือดร้ อน ตามประเพณี “วันสุกดิบ” เป็ นวันเตรียม งาน ตรงกับวันขึน้ ๒ ค�่ำ เดือน ๓ ซึ่ง ข้ าวหลามที่ใช้ ในพิธีบายศรี สขู่ วัญจะท�ำ ในวัด เรียกว่า “ข้ าวหลามทิพย์” ซึง่ ใครได้ กินเชือ่ ว่าจะไม่ถกู ฟ้าผ่า วันก�ำฟ้า ทุกคน จะหยุดงาน ๑ วัน จึงมีเวลา ส�ำหรับการ ต้ อ นรั บ ญาติ พี่ น้ อ งที่ ม าเยี่ ย มเยื อ นได้ อย่างเต็มที่ หลังจากวันก�ำฟ้าไป ๗ วัน ก็ จะเกิดวันก�ำฟ้าอีกครึ่งวัน ต่อจากครึ่งวัน นี ้ไปอีก ๕ วันถือว่าเสร็จสิ ้น ชาวบ้ านจะ จัดอาหารคาวหวานไปที่วดั อีกหนึ่งครัง้ จากนันจะเอาดุ ้ ้ นฟื นทีต่ ดิ ไฟ ๑ ดุ้น ไปท�ำ พิธีตามล�ำน� ้ำ เรี ยกว่า การเสียแล้ งตาม แม่น� ้ำล�ำคลองโดยจะทิ ้งดุ้นไปตามสายน� ้ำ เป็ นการบอกกล่าวเทวดาว่า หมดเขตก�ำ ฟ้าแล้ ว ในปั จจุบนั ยังคงถือประเพณีกนั ทุกปี แต่บรรยากาศในอดีตมีแต่จะหายไป โดยความสนุกท่ามกลางเสียงแคน การละ เล่นพื ้นบ้ าน มาแทนที่ จึงกลายมาเป็ น ราตรี ก�ำฟ้า ประเพณีก�ำฟ้าในแต่ละท้ อง ถิ่นอาจมีรายละเอียดแตกต่างกันออกไป แต่ชาวไทยพวนก็ยงั รักษาคติดงเดิ ั ้ มไว้ ได้
“
ก�ำ หมายถึง การสักการบูชา(ภาษาพวน) ก�ำฟ้า หมายถึง การสักการบูชาฟ้า
“
อย่างมัน่ คงตลอดมา วิธกี ารปฏิบตั เิ ท่านัน้ การเข้ าก�ำฟ้า จะเข้ าก�ำ ๓ ครัง้ พิธกี ำ� ฟ้ าครัง้ แรก จะก�ำหนดงานสองวัน คือวันสุกดิบวันเเรก ตรงกับเดือนสาม ขึ ้น ๒ ค�่ำ ถื อว่าเป็ นวันเตรี ยมงานหรื อวัน สุกดิบ หลังจากกินอาหารเช้ าแล้ ว บรรดา สาว ๆ และแม่บ้านทังหลายต่ ้ างพากัน แต่งตัวอย่างวิจิตรบรรจงไปวัด ถ้ าเป็ น ผู้ใหญ่ก็จะนุ่งผ้ าซิ่นรัดอก ถ้ าเป็ นหญิง สาวอายุ ๑๕-๑๖ ปี กไ็ ว้ ผมยาวทรงตุ๊กตา ไทยและใช้ เชื อ กผูก ผม สาว ๆ ที่ อายุ ๑๗-๑๙ ปี ก็ทำ� ผมทีเ่ รียกว่า “โค้ งผม” ส่วน ผู้หญิงที่อายุตงแต่ ั ้ ๒๐ ปี ขึ ้นไปจะไว้ ผม ขมวดเป็ นกระจุกไว้ กลางหัวคล้ าย ๆ จุก กระเทียม นับแต่ตอนสายของวันสุกดิบ ตามถนนหนทางจากหมู่บ้านจะเต็มไป ด้ วยหญิงสาว คนเฒ่าคนแก่ เมือ่ ไปถึงวัด แล้ วก็แยกกันไปท�ำงานตามทีต่ วั เองถนัด บางคนก็เผาข้ าวหลาม บางคนก็จี่ข้าว (ปิ ง้ ข้ าวเหนียว) ในขณะทีท่ ำ� งานก็พดู คุย เล่าเรื่ องต่าง ๆ สูก่ นั ฟั งอย่างสนุกสนาน ข้ าวหลามที่ได้ จากการเผาในงานนี ้ชาว ไทยพวนถือว่าเป็ น “ข้ าวหลามทิพย์” ซึง่ จะใช้ ในพิธีบายศรี ที่เหลือก็แจกแบ่งปั น กันกินด้ วยความเชือ่ กันว่า ใครก็ตามทีก่ นิ ข้ าวหลามจะไม่โดนฟ้าผ่า พอถึงเวลาสาม โมงเย็น ชาวไทยพวนก็จะร่วมกันท�ำบุญ เมือ่ พิธสี งฆ์เสร็จสิ ้นลง เจ้ าพิธซี งึ่ เป็ นผู้ร้ ูใน
หมูบ่ ้ านก็จะท�ำหน้ าทีส่ วดเบิกบายศรีบชู า ผีฟา้ แล้ วอ่านประกาศอัญเชิญเทวดาให้ มารับเครื่องสังเวย เสร็จแล้ วจึงเป็ นการร�ำ ขอพรจากผีฟ้าเพื่อให้ อยู่ร่มเย็นเป็ นสุข จากนันก็ ้ จะแยกย้ ายกลับบ้ านของตน ตก ดึกก่อนทีจ่ ะเข้ านอนคนเฒ่าคนแก่จะเอา ไม้ ไปเคาะที่ เตาไฟแล้ วพูดในสิ่งที่ เป็ น มงคล เพือ่ ให้ ผฟี า้ ผีบ้าน ผีเรือน ได้ ชว่ ยปก ปักรักษาคนในครอบครัวให้ มคี วามสุข ท�ำ มาหากินได้ ข้าวปลาอาหารสมบูรณ์ วันที่ สองเป็ นวันก�ำฟ้า ตรงกับเดือนสามขึ ้น ๓ ค�่ำ ชาวไทยพวนจะหยุดท� ำงานตัง้ แต่ พระอาทิตย์ขึ ้นจนพระอาทิตย์ตกดิน และ ใครจะส่งเสียงอึกทึกครึกโครมไม่ได้ โดย เชือ่ ว่า ถ้ าใครท�ำเสียงอึกทึกครึกโครมฟ้า จะผ่า ท�ำให้ ความเงียบสงบครอบคลุมไป ทังหมู ้ บ่ ้ าน เกิดบรรยากาศเยือกเย็นขรึม อย่างประหลาด ในวันก�ำฟ้านี ชาวบ้ ้ านจะ ๔๗
พากันตื่นตังแต่ ้ เช้ ามืด หุงหาอาหารทัง้ คาวหวาน รวมทังข้ ้ าวหลามและข้ าวจีใ่ ส่ ส�ำรับไปถวายพระที่วดั โดยใส่ตะกร้ ามี สายส�ำหรับคล้ องไม้ คานแล้ วเอาอาหาร ไปรวมกันทีก่ ฏุ ทิ เี่ รียกว่า “หอแม่ออก” คน เฒ่าคนแก่และญาติโยมซึง่ เรี ยกว่า “พ่อ ออกและแม่ออก” จะช่วยกันจัดส�ำรั บ ภัตตาหารถวายพระ จากนันพระสงฆ์ ้ จะ ให้ ศลี และแสดงธรรมสัน้ ๆ เสร็จแล้ วฉัน ภัตตาหาร ยถาสัพพีตามประเพณี ส่วน ชาวบ้ านก็จะร่วมรับประทานอาหารด้ วย กัน และกลับถึงบ้ านตอนสาย ๆ พิธีกำ� ฟ้า ครัง้ ที่ ๒ การก�ำครัง้ ทีส่ องจะห่างจากการ ก�ำครัง้ แรกเจ็ดวัน โดยเริ่มจากเดือนสาม ขึ ้น ๙ ค�ำ่ จะมีการก�ำฟ้าตังแต่ ้ ตะวันตกดิน ไปจนถึงวันรุ่งขึ ้น ๑๐ ค�ำ่ เมือ่ ถึงเวลาเพล ชาวบ้ านจะน�ำอาหารเพลไปถวายพระที่ วัดเรียกว่า “ไปเพล” วิธีการก็เช่นเดียวกับ การถวายอาหารเช้ า คือ การน�ำเอาอาหาร ไปรวมกันที่หอแม่ออกแล้ วรับศีลและฟั ง ธรรมต่อจากนันจึ ้ งถวายอาหาร พระฉัน เสร็ จแล้ วจึงยถาสัพพี เป็ นอันเสร็ จการ ท�ำบุญ เมือ่ กลับจากการไปเพลแล้ ว ชาว ไทยพวนเรี ยกว่า “คืนเพล” ถือว่าเลิกก�ำ ใครจะท�ำงานท�ำการอะไรก็ได้ พิธีก�ำฟ้า ครัง้ ที่ ๓ จะห่างจากการก�ำครัง้ ที่สอง ๕ วัน พอเดือนสามขึ ้น ๑๔ ค�่ำ เมื่อตะวัน ตกดินแล้ ว ชาวไทยพวนเริ่มจะก�ำอีกครัง้ ๔๘
หนึง่ และก�ำตลอดไปจนถึงวันรุ่งขึ ้น ๑๕ ค�ำ่ ชาวบ้ านจะรีบตืน่ กันแต่เช้ า จัดเตรียมข้ าว ปลาอาหารทังคาวหวานไปถวายพระเรี ้ ยก ว่า “ไปจังหัน” การก�ำครัง้ นี ้ถือว่าเป็ นการ ก�ำครังสุ ้ ดท้ าย ในตอนเย็น เมือ่ หุงข้ าวเย็น รับประทานกันแล้ ว ชาวไทยพวนทุกบ้ าน จะต้ องเอาดุ้นฟื นเฉพาะดุ้นทีไ่ ฟไหม้ มาก ที่สดุ ไปดับที่แม่น� ้ำล�ำคลอง โดยการโยน ทิ ้งให้ ไหลไปตามสายน� ้ำ หรื ออาจน�ำไป โยนตรงหนทางที่บรรจบกัน แสงไฟจาก ดุ้นฟื นทีว่ าบไหวไปตามทางเดินในความ มืดให้ บรรยากาศสัง่ ลาพิธีก�ำฟ้าเป็ นไป อย่างน่าศรัทธา การดับฟื นชาวไทยพวน จะใช้ มือหนึ่งถื อดุ้นฟื น อี กมื อหนึ่งถื อ กะลามะพร้ าวใส่น� ้ำส�ำหรับดับไฟ เมือ่ ไป ถึงแม่น� ้ำล�ำคลองหรือทางทีม่ าบรรจบกัน ก็เทน� ้ำในกะลามะพร้ าวดับไฟ จากนันจึ ้ ง โยนทิ ้งไปเรี ยกว่า “เสียแสงฟื นแสงไฟ” เป็ นอันเสร็จพิธีกำ� ฟ้าในปี นนั ้
ชาติพันธุ์ไทยวน ข้อมูลโดยได้สัมภาษณ์ผู้น�ำชุมชน นายปรีชา ดีสม (ผู้ใหญ่บ้าน) ต�ำบลน�้ำเกี๋ยน อ�ำเภอภูเพียง จังหวัด น่าน
ไทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรื อ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) หรือ คนเมือง เป็ นกลุม่ ประชากรที่ พู ด ภาษาตระกู ล ภาษา ไทกะไดกลุ่มหนึ่งที่ตงถิ ั ้ ่นฐานทางตอน เหนือของประเทศไทยที่เคยเป็ นที่ตงของ ั้ อาณาจักรล้ านนาในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ล� ำ พู น ล� ำ ปาง แพร่ น่ า น เชี ย งราย แม่ฮ่องสอน เป็ นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ ที่สดุ ในอาณาจักรล้ านนา ซึ่งมีค�ำเรี ยก ตนเองหลายอย่าง เช่น “ยวน โยน หรือ ไต (ไท)” และถึงแม้ ในปัจจุบนั ชาวล้ านนาจะ กลายเป็ นพลเมืองของประเทศไทยแล้ ว
ก็ตาม แต่ก็มกั เรี ยกตนเองว่า “คนเมือง” ซึง่ เป็ นค�ำเรียกทีเ่ กิดขึ ้นในภายหลัง ในยุค เก็ บผักใส่ซ้าเก็ บข้ าใส่เมื อง เพื่ อฟื ้นฟู ประชากรในล้ านนาหลังสงคราม โดย การกวาดต้ อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ า มายังเมืองของตน คนไทยภาคกลางใน สมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิน่ เหนือ ว่ า “ยวน” โดยปรากฎหลั ก ฐานใน วรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของ อยุธยารจนาขึ ้นในสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ นัก วิ ช าการต่า งประเทศ สันนิษฐานว่า ค�ำว่า ยวน อาจจะมาจาก ๔๙
ค�ำสันสกฤตว่า “yavana” แปลว่า คน แปลกถิน่ หรือคนต่างถิน่ เจ้ าอาณานิคม อังกฤษในสมัยทีเ่ ข้ าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็ นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี ้ว่า “คนฉานสยาม” (Siamese Shan) เพือ่ แยกแยะออกจากจาก ชาวรัฐฉานในประเทศพม่าทีอ่ งั กฤษเรียก ว่า “ฉานพม่า” (Burmese Shan) แสดง ให้ เห็นถึงความใกล้ ชิดทางวัฒนธรรม ประเพณีของคนไทใหญ่หลาย ๆ กลุม่ ความเชื่ อด้ านการแต่ งกายของชาว ไทยวนจะนิยมนุ่งซิ่นที่ทอขึ ้นเอง ซึ่งใน ปั จจุบนั นิยมเป็ นผ้ าฝ้ายทอด้ วยกี่ทอมือ เป็ นลายแบบโบราณ ที่มีการยกมุกเป็ น ลวดลายดอก และมีสสี นั สวยงาม ผู้หญิง ชาวไทยวน ในอดีต จะนุ่งผ้ าซิ่นตะเข็บ เดียวลายขวางล�ำตัว ซึง่ ประกอบด้ วย หัว ซิน่ และตีนซิน่ นิยมใช้ ผ้าสีออ่ น คล้ องคอ ใช้ ผ้าแถบคาดอก ปล่อยชายข้ าวหนึง่ ลง มา หรือห่มเฉวียงไหล่ ต่อมานิยมสวมเสื ้อ แขนกระบอก เสื ้อแขนกุด เสื ้อคอกระเช้ า ห่มสไบเฉียง ไว้ ผมยาวเกล้ ามวย ปั กปิ่ น และประดับด้ วยดอกไม้ หอม ผู้ชายชาว ไทยวน จะไว้ ผมทรงมหาดไทย มีทงสวม ั้ เสื อ้ และไม่ ส วมเสื อ้ นุ่ง ผ้ า เตี่ ย วหรื อ ผ้ าต้ อยสีเข้ ม โดยนิยมถกชายผ้ าขึ ้นมา เหน็บที่เอวจนเหมือนกับกางเกงขาสัน้ ๕๐
เรียกว่า “เค้ ดหม้ าม” เพือ่ อวดลวดลายสัก ที่สวยงามบนร่างกาย แล้ วใช้ ผ้าพาดบ่า หรื อคลุมตัว ต่อมานิยมนุ่งกางเกงแบบ ชาวไทใหญ่ ทีเ่ รียกว่า “ เตีย่ วสะดอ” และ “สวมเสื ้อคอกลม” ความเชื่ อ ด้ า นประเพณี พิ ธี ก รรม ประเพณีต้นสลากภัต มีการจัดทุกปี ใน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ หรื อตามความ เหมาะสมเริ่มมีการจัดครัง้ แรกในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ทบี่ ้ านต้ นตาล โดยมีการจัดเลี ้ยง อาหารเย็น ซึง่ เรียกเป็ นภาษาไท-ยวนว่า “กินข้ าวแลงขันโตก” การร�ำโทน เป็นการ ร� ำแบบดัง้ เดิมโบราณของชาวไท-ยวน ประเพณีทานขันข้ าว (ตานขันข้ าว) ช่วง เวลา เทศกาลสงกรานต์ เข้ า พรรษา ออกพรรษา
ประเพณีทานขันข้ าว คือ ประเพณีการ ท�ำบุญเพือ่ อุทศิ ส่วนกุศลให้ แก่ผ้ วู ายชนม์ ไปแล้ ว เป็ นวัฒนธรรมที่แสดงถึงความ กตัญญูอกี แบบหนึง่ ของชาวไทย โดยน�ำ ส�ำรับกับข้ าวไปถวายวัดในวันเทศกาล ส�ำคัญ เช่น สงกรานต์ เข้ าพรรษาและ ออกพรรษา หรื อท�ำบุญอุทิศส่วนกุศล ในโอกาสอื่นๆ ก่อนวันท�ำบุญ มีการจัด เตรียมอาหาร หวาน คาว น�ำเอาใบตองมา เย็บท�ำสวย (กรวย) ส�ำหรับใส่ดอกไม้ ธูป และเตรี ยมขวดน� ้ำหยาด (ส�ำหรับกรวด น� ้ำ) รุ่งขึ ้นอันเป็ นวันท�ำบุญ เวลาประมาณ ๖.๓๐-๘.๐๐ น. ทุกครัวเรื อนเตรี ยมอุ่น อาหารและบรรจุใส่ปิ่นโต พร้ อมทังสวย ้ ดอกไม้ และน� ้ำหยาด บางบ้ านอาจเขียน ชือ่ ผู้ทตี่ นต้ องการจะ ทานไปหา (อุทศิ ส่วน กุศลไปให้ ) ลงในกระดาษ จากนันคนใน ้
ครอบครัวจะช่วยกันหิ ้วปิ่ นโตไปวัด วัดจะ จัดสถานที่ส�ำหรับให้ ศรัทธาชาวบ้ านน�ำ ปิ่ นโตมาถวาย การประเคนปิ่ นโต มักจะ เอาสวยดอกไม้ เสียบไปพร้ อมกับปิ่ นโต บ้ านที่มีกระดาษจดรายชื่อผู้ที่จะท�ำบุญ ไปให้ ก็ จ ะเอากระดาษเหน็ บ ติ ด ไปกับ ปิ่ นโตด้ วย พร้ อมกันนันก็ ้ เทน� ้ำหยาดจาก ขวดใส่ลงในขันทีว่ างอยูห่ น้ าพระสงฆ์ เมือ่ ศรั ท ธาชาวบ้ า นมากัน พอสมควรแล้ ว พระสงฆ์กจ็ ะมีโวหารกล่าวน�ำการท�ำบุญ และให้ พรดังนี แสดงความชื ้ น่ ชมทีศ่ รัทธา ชาวบ้ านได้ ชว่ ยกันรักษาจารีตแต่โบราณ กล่าวถึงผู้รับของทาน พระสงฆ์อา่ นชื่อผู้ วายชนม์ ตามที่ศรั ทธาเขียนมาในแผ่น กระดาษ ส่วนบางคนทีไ่ ม่ได้ เขียนมาก็จะ เอ่ยว่าการทานครังนี ้ ้มีไปถึงบรรพบุรุษ เจ้ า กรรมนายเวร เทวบุตร เทวดา แม่พระธรณี เจ้ าทีเ่ จ้ าทางสรรพสัตว์ ฯลฯ กล่าวให้ มา ๕๑
“
ประเพณีทานขันข้าว
คือ ประเพณีการท�ำบุญเพือ่ อุทศิ ส่วนกุศลให้แก่ผวู้ ายชนม์ไปแล้ว
“
รับของทานมารับเอาทานครังนี ้ ้หากมารับ ไม่ได้ ให้ ผ้ ใู ดผู้หนึง่ เป็ นผู้นำ� ไปให้ - อวยพรให้ แก่ผ้ มู าท�ำบุญทานขันข้ าว - กล่าวยถา สัพพี ในการให้ พรนันหลั ้ งจากจบค�ำว่า อายุ วัณ โณ สุขงั พลัง ศรัทธาชาวบ้ านจะกล่าวสาธุ พร้ อมกัน จากนัน้ จึงรับเอาปิ่ นโตไปให้ สามเณรหรื อเจ้ าหน้ าที่จดั การเทอาหาร ออก เป็ นอันเสร็จพิธีทานการทานขันข้ าว นอกจากจะเป็ นการท�ำบุญ ที่แสดงถึง ความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษแล้ ว การประกอบอาหารก็ดี การไปท�ำบุญร่วม กันทีว่ ดั ก็ดี เป็ นกิจกรรมทีท่ ำ� ให้ ครอบครัว เกิดความรัก ความอบอุน่ ประการส�ำคัญ การพาเด็ก ๆ ไปทานขันข้ าวทีว่ ดั นอกจาก จะเป็ นการอนุรกั ษ์และสืบทอดวัฒนธรรม การท�ำบุญแล้ ว ยังเป็ นการสืบทอดในเรื่อง ความกตัญญูตอ่ บรรพบุรุษ โดยไม่ต้องใช้ วิธีอบรมสัง่ สอน แต่เป็ นวิธีที่ผ้ ูใหญ่ ได้ ปฏิบตั ติ นให้ ลกู หลานได้ เห็นเป็ นตัวอย่าง ซึ่งเป็ นวิธีสืบทอดหรื อการสอนที่ดีท่ีสดุ วิธีหนึ่ง โดยไม่จ�ำเป็ นต้ องมีการพูดแต่ ๕๒
อย่างใด การนําอาหารใส่ถ้วยวางบน สํารับ (ถาด) น�ำไปถวายภิกษุบอกท่านว่า ต้ องการอุทศิ กุศลนี ้ ไปให้ แก่ผ้ ไู ด้ ภกิ ษุรับ ประเคนแล้ วก็จะกล่าวถ้ อยศาเป็ นเชิง บอกให้ วญ ิ ญาณผู้นนทราบมี ั้ ใครน่าอาสา รับอาหารมาให้ ให้ ผ้ นู นมารั ั ้ บส่วนกุศล ถ้ อยค�ำทีภ่ กิ ษุ กล่าวนี ้จะคล้ องจองไพเราะ ฟังแล้ วจะรู้สกึ ประหนึง่ ว่าจะมีวญ ิ ญาณผู้ นันมารั ้ บกุศลอย่างจริ ง ๆ ทานขันข้ างนี ้ จะทําด้ านใดก็ได้ ไม่จํากัดวันประเพณี เวนทานวัตถุประสงค์ของประเพณีนี ้ก็เพือ่ ต้ องการอุทศิ ส่วนกุศลไปให้ แก่ผ้ ตู าย เช่น การทําบุญเจ็ดวัน ร้ อยวัน จะนิมนต์ พระ มาสวดพระพุทธมนต์บอกญาติมติ ร มาใส่ บาตรร่วมกัน เมื่อพระสงฆ์สวดบทถวาย พรพระจบแล้ ว เจ้ าภาพก็จะนําผ้ าขาวมา ปลาด ให้ ยาวคลอดแถวทีภ่ กิ ษุนงั่ อยู่ จาก นันก็ ้ น�ำเอาอาหารมาวางบนผ้ าขาวโดย จะวางรวมกันเป็ นสํารับส่วนหนึ่งวางไว้ หน้ าพระพุทธรูป ขณะเจ้ าภาพทังหมดจะ ้ มานัง่ รวมกันหน้ าอาสนสงฆ์ที่มีอาหาร วางอยู่ จากนันมรรคนายก ้ (อาจารย์วดั ) ก็จะกล่าวศเวนทานด้ วย ส�ำเนียงไทยวน เนือ่ งในทีก่ ล่าวจะเริ่มต้ นด้ วยศกนอบน้ อม ต่อพระรัตนตรัย และเทวดา จากนันก็ ้ จะ บอกว่า บุญ นี ใ้ ครเป็ น เจ้ า ภาพขออุทิ ศ ส่วนกุศลให้ แก่ผ้ ใู ดจะขอเชิญเทวดาจึง ช่วยบอกให้ วญ ิ ญาณผู้นนรั ั ้ บกุศล ถ้ อยค�ำ
ดังกล่าวค่อนข้ างจะยาวพอสมควรแต่ก็ ไพเราะ และหย่อนให้ เพือ่ ว่าศักดิส์ ทิ ธิ์ ความเชือ่ ดังเดิ ้ มของชาวไตยวนเป็ นความ เชือ่ ลัทธิบชู าผีบรรพบุรุษก่อนได้ รับความ เชือ่ ลัทธิพราหมณ์ (ก่อนสมัยโยนก) และ พุ ท ธศาสนาในภายหลัง วัฒ นธรรม ล้านนาของชาวไตยวนภายหลังจึงสะท้ อน การผสมผสานความเชื่ อทัง้ สามโดยมี ความเชือ่ เรื่องผีทฝี่ ังรากลึกทีส่ ดุ ในชุมชน ที่อยูอ่ าศัยและเรื อนประเพณีชาวไตยวน จึงสะท้ อนความเชื่อเหล่านี ้อย่างชัดเจน หมูบ่ ้ านและเมืองมีพื ้นทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธ์ทสี่ ำ� คัญ ที่ สุด เป็ น ศูน ย์ ร วมจิ ต ใจ เป็ น ใจบ้ า น ใจเมือง อิทธิพลของลัทธิพราหมณ์ทำ� ให้ การสร้ างเมืองปรับใจเมืองเป็ นสะดือเมือง หลายเมืองยังคงใจเมืองไว้ ต่างหากอีก แห่งทีร่ ้ ูจกั กันว่า “เสื ้อเมือง” เช่นเดียวกัน ในหมู่บ้านจะรู้ จกั กันดีในชื่อ “เสื ้อบ้ าน” หรือ “เจ้ าบ้ าน” ภายหลังทีศ่ าสนาพุทธได้ เจริญขึ ้นในล้ านนา จึงได้ มกี ารสร้ างวัดขึ ้น ในชุม ชนเป็ น พื น้ ที่ ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ เ พิ่ ม ขึ น้ บางเมืองมีการสร้ างวัดคร่อมพื ้นที่สะดือ เมืองหรือใจเมืองเดิม เช่นทีเ่ มืองเชียงใหม่ ชาวไตยวนบูชาผีขนุ เขา ผีขนุ น� ้ำ ผีป่า ผี เหมืองฝาย แม่น�ำ้ รุ กขเทวดา รวมทัง้ พระอินทร์ พระแม่ธรณี และเทวดาในทิศ ทังสี ้ ่ มีการบวงสรวงผีเจ้ าที่และท้ าวทังสี ้ ่ ก่อนมีพธิ มี งคล เช่น ขึ ้นเรือนใหม่นยิ มบูชา
ผีบรรพบุรุษในหอผีปู่ย่าในเขตรั ว้ บ้ าน หรื อ หิ ้งผีบรรพบุรุษบนเสามงคลในห้ อง นอนเจ้ าของเรือน ผีเรือนได้ รบั การบูชาใน ความหมายเดียวกับผีบรรพบุรุษ ชาว ไตยวนมีความเชื่อรับรู้ของการมีผีเรื อนที่ สิงสถิตในเรือน ต�ำแหน่งส�ำคัญในเรือนที่ นิ ย มก� ำ หนดที่ บู ช า ได้ แ ก่ เสามงคล แม่ เ ตาไฟ เหนื อ ประตูห้ อ งนอนหลัก (มีห�ำยนต์ส�ำหรับเรื อนกาแล) หัวบันได ต�ำแหน่งที่บชู าผีเรื อนมีความคล้ ายคลึง กับวัฒนธรรมชาวลัวะมาก
ยวน อาจจะมาจากค�ำ สันสกฤตว่า “yavana”
แปลว่า คนแปลกถิน่ หรือคนต่างถิน่ ๕๓
ชาติพันธุ์ไทลื้อ ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชน นายสนิท เนตรทิพย์ (ก�ำนันต�ำบลวรนคร) บ้านเลขที่ ๙๔ หมู่ ๗ ต�ำบล วรนคร อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน
เดิมชาวลื ้อ หรื อไทลื ้อ มีถิ่นที่อยูบ่ ริ เวณ เมืองลื ้อหลวง จีนเรี ยกว่า “ลือแจง” ต่อ มาได้ เคลื่อนย้ ายลงมาอยู่บริ เวณเมือง หนองแส หรื อที่ เ รี ยกว่ า คุ น หมิ ง ใน ปั จจุบัน แล้ วย้ ายลงมาสู่ลุ่มน� ำ้ น� ำ้ โขง สิบสองปั นนาปั จจุบนั ประมาณศตวรรษ ที่ ๑๒ จึ ง เกิ ด มี วี ร บุ รุ ษ ชาวไทลื อ้ ชื่ อ เจ้ าเจื๋องหาญ ได้ รวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ในสิบสองปั นนาปั จจุบันตัง้ เป็ นอาณา จักรแจ่ลื ้อ (เซอลี่) โดยได้ ตงศู ั ้ นย์อ�ำนาจ การปกครองเอาไว้ ที่หอค�ำเชียงรุ่ ง นาน ๗๙๐ ปี ต่อมาถึงสมัยเจ้ าอิ่นเมืองครอง ๕๔
ราชต่ อ มาในปี ค.ศ.๑๕๗๙-๑๕๘๓ (พ.ศ.๒๑๒๒-๒๑๒๖) ได้ แบ่งเขตการ ปกครองเป็ นสิบสองหัวเมือง แต่ละหัว เมืองให้ มที ที่ ำ� นา ๑,๐๐๐ หาบข้ าว (เชื ้อ พันธุข์ ้าว) ต่อนาหนึง่ ที/่ หนึง่ หัวเมือง จึงเป็น ที่ มาจนถึงปั จจุบันเมื องสิบสองปั นนา ได้ แบ่งเขตการปกครองเอาไว้ ในอดีตดังนี ้ (ที่มาของค�ำว่า สิบสองพันนา อ่านออก เสียงเป็ น “สิบสองปั นนา”) ชาวไทลือ้ อาศัยอยูส่ องฝั่งแม่น� ้ำโขง คือ ด้ านตะวัน ออกและตะวันตกของแม่น� ้ำ มีเมืองต่างๆ ดังนีภ้ าษาไทลื ้อ ได้ กล่าวไว้ ว่า ห้ าเมิง
ตะวันตก หกเมิงตะวันออก รวมเจงฮุ่ง (เชียงรุ่ง) เป็ น ๑๒ ปั นนา ประกอบด้ วย เมืองใหญ่น้อยต่าง ๆ เช่นฝั่ งตะวันตก : เชียงรุ่ง, เมืองฮ�ำ, เมืองแช่, เมืองลู, เมือ งออง, เมืองลวง, เมืองหุน, เมืองพาน, เมืองเชียงเจิง, เมืองฮาย, เมืองเชียงลอ และเมืองมาง และฝั่งตะวันออก : เมือง ล่า, เมืองบาน, เมืองแวน, เมืองฮิง, เมือง ปาง, เมืองลา, เมืองวัง, เมืองพง, เมือง หย่วน, เมืองมาง และเมืองเชียงทอง การขยายตัวของชาวไทลื ้อสมัยรัชกาลที่ ๒๔ เจ้ าอิ น เมื อ งได้ เข้ าตี เ มื อ งแถน เชียงตุง เชียงแสน และล้ านช้ าง กอบกู้ บ้ านเมืองให้ เป็ นปึ กแผ่น พร้ อมทังตั ้ งหั ้ ว เมืองไทลื ้อเป็ นสิบสองเขต เรี ยกว่า สิบ สองปั นนา และในยุคนีไ้ ด้ มีการอพยพ ชาวไทลื ้อบางส่วนเพื่อไปตัง้ บ้ านเรื อน ปกครองหัวเมืองประเทศราชเหล่านัน้ จึง ท�ำให้ เกิดการกระจายตัวของชาวไทลื ้อ ในลุม่ น� ้ำโขงตอนกลาง (รัฐฉานปั จจุบนั ) อั น ประกอบด้ วยเมื อ งยู้ เมื อ งยอง เมืองหลวย เมืองเชียงแขง เมืองเชียงลาบ เมืองเลน เมืองพะยาก เมืองไฮ เมืองโก และเมืองเชียงทอง หรื อ หลวงพระบาง (ล้ านช้ าง) เมืองแถน (เดียนเบียนฟู) ซึง่ บางเมืองในแถบนี ้เป็ นถิ่นที่อยู่ของชาว ไทลื ้ออยูแ่ ล้ ว เช่น อาณาจักรเชียงแขงซึง่ ประกอบด้ วย เมืองเชียงแขง เมืองยู้ เมือง
หลวย เมืองเชียงกก เมืองเชียงลาบ เมือง กลาง เมืองลอง เมืองอาน เมืองพูเลา เมืองเชียงดาว เมืองสิง เป็ นต้ น ชาวไทลื ้อ บางส่วนได้ อพยพหรือถูกกวาดต้ อน ออก จากเมืองเหล่านี ้เมื่อประมาณหนึ่งร้ อย ถึ ง สองร้ อยปี ที่ ผ่ า นมา แล้ ว ลงมาตัง้ ถิ่ น ฐานใหม่ ใ นประเทศตอนล่ า ง เช่ น พม่า, ลาว และไทย ไทลื ้อ หมายถึง คน เชื ้อสายไทยที่อาศัยอยูแ่ ค้ วนสิบสองปั น นาจุไทยหรื อสิบสองปั นนามณฑลยูนาน ประเทศจี น ส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ การเกษตร และทอผ้ า นิยมตังบ้ ้ านเรื อน อยู่ตามที่ล่มุ แม่น� ้ำของเมืองเชียงรุ้ ง ซึ่ง เป็ นเมืองหลวงของแค้ วนสิบสองปั นนา แม้ พื ้นเพของคนไทยอยูใ่ นแค้ วนสิบสอง ปั นนาตอนใต้ ของประเทศจีน แต่คนไทย หรือก็โยกย้ ายถิน่ ฐานบ้ าง อพยพบ้ าง ถูก กวาดล้ างตอนยามสงครามบ้ าง ดังนันจึ ้ ง พบคนไทยหรื ออาศัยอยู่ในรัฐฉานของ ประเทศพม่าด้ วย ส่วนประเทศไทยมีชาว ไทลื ้อเข้ ามาอาศัยอยูเ่ มือ่ ประมาณ ๓๐๐ ปี ม าแล้ ว ปั จ จุบัน อาศัย อยู่ใ นจัง หวัด เชียงราย เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง พะเยา แพร่ น่าน ไทลื ้อในสิบสองปั นนา เป็ นดินแดนของ ชาวไทยหรื อที่ มี ค วามเป็ นปึ กแผน ยาวนานหลาย ๑๐๐ ปี ตังแต่ ้ เมื่อครัง้ ชาวไทยหรื อนับถื อหูอือ้ เจื องเป็ นปฐม ๕๕
กษั ต ริ ย์ ข องอาณาจัก รเชี ย งรุ้ ง และมี พระเจ้ าแผ่นดินปกครองถึง ๔๕ องค์ โดย ในประวัติศาสตร์ กล่าวว่า ไทลื ้อเคยถูก ลุกรานและอยู่ภายใต้ การปกครองของ จีน พม่า เชียงใหม่ แต่ก็ด�ำรงความเป็ น อาณาจักรอยู่ได้ จนกระทัง่ เมื่อจีนตกอยู่ ภายใต้ การปกครองระบบคอมมิวนิสต์ ต�ำแหน่งเจ้ าหอค�ำหรื อพระเจ้ าแผ่นดิน ของเชียงรุ้ งก็สิ ้นสภาพลง เวียงผาคราง ซึ่ ง เป็ นวั ง ของพระเจ้ าแผ่ น ดิ น จึ ง ถู ก ท�ำลายลง กลายเป็ นสวนยางในปั จจุบนั แต่สิ่งที่ ยัง คงแสดงความมี อารยธรรม สู ง ส่ ง ข อ ง เ ช้ า ห รื อ คื อ ห อ ค� ำ ห รื อ พระราชวังของเจ้ าหม่อมค�ำลือ เจ้ าเมือง เชียงรุ้ งองค์สดุ ท้ ายที่พ�ำนักอยู่ ณ เวียง ผาคราง ซึง่ ตังอยู ้ บ่ นเนินเขาห่างจากฝั่ ง โขงราว ๔ กิโลเมตรทางทิศใต้ ของเชียง รุ้ง และเป็ นจุดทีแ่ ม่น� ้ำฮอดไหลมาบรรจบ กับแม่น� ้ำโขงต่อมาหอค�ำจึงถูกท�ำลายลง เมื่อครัง้ จีนได้ ปฏิวตั ิวฒ ั นธรรม และใน ปัจจุบนั จึงได้เปิดเป็นแหล่งท่องเทีย่ วในทีส่ ดุ สมัยรัชกาลที่ ๒๔ เจ้าอินเมือง ได้กอบกู้บ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่น พร้อมทั้งตั้งหัวเมืองไทลื้อ เป็นสิบสองเขต เรียกว่า ๕๖
“
“ สิบสองปันนา
ความเชื่อต่าง ๆ ของชาวไทลื้อ ชาวไทยลือ้ ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา มี ป ระเพณี ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ศาสนา มากมาย เช่นประเพณี ตานก๋วยสลาก ประเพณีสงกรานต์และประเพณีขึ ้นธาตุ ส่วนสถาปัตยกรรมแบบไทย และยังได้ รบั ยกย่ อ งว่ า งดงามมากอี ก ด้ ว ย โดยมี เอกลักษณ์ทหี่ ลังคาโบสถ์หรือวิหาร จะท�ำ เป็ นสองชัน้ หลังคาชัน้ ล่างยาวคุมตัว อาคาร มุมชายคาประดับด้ วยไม้ แกะสลัก รูปสัตว์ป่าหิมพานต์ วิ ถี ชี วิ ต และความเป็ น อยู่ห ลายหลาย อย่างของชาวไทยลื ้อ ถือเป็ นลักษณะทีม่ ี เอกลักษณ์ในตัวเอง โดยเฉพาะบ้ านเรือน ทีห่ ากเป็ นบ้านไทยลื ้อดังเดิ ้ มก็จะเป็ นบ้าน ใต้ ถนุ สูง หลังคาสูง มุงด้ วยหญ้ าคา ฝา บ้ านท�ำด้ วยไม้ ไผ่ขดั แตะ มี “ปุม้ ปุก” หรือ
ฉันยกระดับก่อนบันไดขันแรก ้ ใช้ เป็ นที่ วางรองเท้ า หรือเป็ นบ้านไม้ หลังคามุงด้ วย แป้นเกล็ด ด้ า นประเพณี แ ละพิ ธี ก รรม ได้ แ ก่ พิธีตานดอน พิธีสบื ชะตาข้ าว พิธีสงั คหะ ทุ่ง เลี ้ยงปางเจ้ าหลวง ตานธรรมยี่เป็ ง และประเพณีจงึ บ้ าน ด้ านความเชือ่ ได้ แก่ การเลี ้ยงผีฝาย เพือ่ เป็ นสิริมงคล การเรียก ขวัญข้ าว ปี ไหนทีเ่ ห็นว่าข้ าวเจริญ เติบโต ไม่เต็มทีจ่ งึ จัดให้ มกี ารเรียกขวัญข้ าว การ สูข่ วัญข้ าวใหม่ ฤดูเก็บเกีย่ วข้ าวได้ผลผลิต เป็ นที่นา่ พอใจก็จะท�ำพิธีสขู่ วัญข้ าวใหม่ นอกจากนี ไทลื ้ ้อยังมีประเพณีสำ� คัญทีน่ า่ สนใจอีกมากมายเช่น การเรี ยกขวัญ มี ลักษณะคล้ายประเพณีเรียกขวัญของชาว เหนือโดยทัว่ ไป เพือ่ เป็ นขวัญก�ำลังใจแก่ ผู้หายป่ วยใหม่ ๆ การส่งเคราะห์ เพือ่ ให้ อยูส่ ขุ สบายขึ ้น การสืบชะตาเพื่อให้ เป็ น
สิริมงคล ขับไล่สงิ่ ชัว่ ร้ าย มีทงสื ั ้ บชะตาคน และสืบชะตาหมูบ่ ้ าน การขึ ้นเฮินใหม่หรือ การขึ ้นบ้ านใหม่ การขึ ้นปี ใหม่ ระหว่างวัน ที่ ๑๓-๑๘ เมษายน ของทุกปี การแต่งงาน และการตายซึง่ เดิมจะใช้ การฝัง ต่อมาใช้ การเผาแทน ชมุ ชนร้ องแงเป็ นชุมชนไทลื ้อ ทีอ่ พยพมาจากแคว้ นสิบสองปันนา เมือง เล็น มาตังรกรากฐานอยู ้ โ่ ดยแกนน�ำของ พระเจ้ าพญาสิน พระเจ้ าช้ างงาเขียว เป็ น ประเพณีของไทลื ้อทังหมดที ้ ่ยงั มีอยู่ใน อดีตถึงปัจจุบนั จะมีพธิ ีตา่ ง ๆ ในหมูบ่ ้ าน เช่น การสังคหะทุง่ การสืบชะตาข้ าว ใน การสัง คะหะทุ่ ง นั น้ ท� ำ ในป่ าละม่ อ ม หมูบ่ ้ านละครัง้ การสืบชะตาข้ าวก็ท�ำใน วัด เลี ้ยงปางเจ้ าหลวง พิธีอนุ่ จึงบ้ านสีป่ ี มี ครัง้ วันที่ ๓๑ ก็มพี ธิ ตี านดอน ตานสังเวียง ผี ตานผีที่ไม่มีท่ี พิธีสงั เคราะห์บ้านก็จะ เอาชาวบ้ านทังหมด ้ ก็จะเอาเสื ้อผ้ ามาท�ำ ๕๗
“
การส่งเคราะห์
เพือ่ ให้อยูส่ ขุ สบายขึน้
“
ตรงกลางใจหมูบ่ ้ าน เวลามีคนตาย เราก็ จะมีพิธีเลี ้ยงผี เลี ้ยงบ้ าน เลี ้ยงเมืองจะ เลี ้ยงปิ ดประตูบ้าน ปิ ดประตูเมือง ก็ไม่ให้ มีคนตาย ให้ อยูส่ ขุ สบาย พิธปี ิ ดประตูบ้าน จะมีไก่ มีเหล้ า มีดอกไม้ เทียน ตาเหลว ส่วนคนทีไ่ ปช่วยงานศพ ทีห่ ามศพ ยกโลง อะไรต่างๆ ถ้ าเป็ นญาติที่ไปแตะผู้ตาย เวลากลับถึงบ้ านเขาก็จะมีพิธีทูนขวัญ สูข่ วัญให้ มาอยูก่ บั เนื ้อกับตัวไม่ให้ เจ็บไข้ ได้ ป่วย ก็เป็ นความเชือ่ ของชาวไทลื ้อ มา ตัง้ แต่ ส มัย บรรพบุรุ ษ (บทสัม ภาษณ์ ก�ำนันสนิท เนตรทิพย์) อั ต ลั ก ษณ์ ด้ า นวั ฒ นธรรม ศาสนา พิธีกรรมความเชือ่ และประเพณีพื ้นบ้ าน ชาวไทลื ้อนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรเทว ประยุกต์เข้ ากับวัฒนธรรมชาวไทลื ้อ เช่น การนับถือผีข้อห้ ามส�ำหรับแขกหรือบุคคล ที่ไม่ได้ นบั ถือบรรพบุรุษเดียวกันคือห้ าม บุคคลที่ นับถื อผี ต่างกัน หรื อแขกที่ มา เยีย่ มเข้ าไปห้ องนอนของเจ้ าของบ้ าน โดย เด็ดขาดเพราะห้ องนอนจะเป็ นทีส่ ถิตของ ผีครูและผีเรือน ผีเจ้ าเมือง ทีท่ ำ� หน้ าทีด่ แู ล ปกปั กรั ก ษาบ้ านเมื อ ง ด้ วยหากมี เหตุการณ์ไม่ปกติต้องบวงสรวงด้ วย วัว ควาย หมูเป็ ด ไก่ ข้ อห้ าม คือ ห้ ามผู้หญิง เข้ าเขตบวงสรวงนี ้โดยเด็ดขาด ผีเรือน ซึง่ มีทงผี ั ้ เรือนฝ่ ายพ่อ และฝ่ ายแม่ การสือ่ ผีนนผู ั ้ ้ หญิงจะท�ำหน้ าที่สอื่ ผีเรื อน ๕๘
การสืบชะตา
เพือ่ ให้เป็นสิรมิ งคลขับไล่สงิ่ ชัว่ ร้าย
คือต้ องท�ำหน้ าที่ต่อกับผีเส้ นไหว้ ไม่ให้ ขาดการบวงสรวงผีเรื อนจะกระท�ำหลัง จากบวงสรวงผีเจ้ าเมืองการบวงสรวงจะ บวงสรวงด้ วย ไก่สดี ำ� และไข่ไก่ ฝ้ายเทียน เหลือง หรือขี ้ผึ ้ง ผู้หญิงจะเป็ นคนกระท�ำ ผี เตาไฟและผีหม้ อนึ่ง มีหน้ าที่ดแู ลรักษา บ้ านเรือน ไม่ให้ เกิดไฟไหม้ และอาหารเป็ น พิษ อันจะท�ำให้ เกิดโรคภัยต่าง ๆ นอกจาก นี ้ยังมีหน้ าทีต่ รวจตราว่าเกิดสิง่ ร้ ายอันใด ขึ ้นกับบุคคลในครอบครัวและผู้อนื่ กล่าว คือ เมือ่ มีคนไม่สบายในบ้ านเรือน เข้ าจ� ้ำ จะท�ำพิธีหาสาเหตุโดยเสีย่ งทายจากหม้ อ นึ่ง การส่งผีหม้ อนึ่งผู้ท�ำหน้ าที่ต้องเป็ น ผู้ห ญิ ง เท่า นัน้ และจะต้ อ งสื บ ทางสาย เลือด เมือ่ มีการส่งนันจะน� ้ ำน� ้ำเต่าและไห ข้ าวมาผูกกับไม้ คานให้ เป็ นรู ปคนเขียน หรื อ เขี ย นตา จมูก ใส่เ สื อ้ ห้ า แล้ ว น� ำ ข้ าวสารใส่กระดง ผีก๊ะผีหา ่ คือผีไม่มญ ี าติ หรื อสัมภเวสีต่าง ๆ ที่คอยมารั งควาน ท�ำร้ ายชาวบ้ านเมือ่ เจ็บป่ วยหมอจะท�ำพิธี
เสีย่ งทาย และจะให้ นำ� ของไปเส้นไหว้ ตาม ที่ผลเสี่ยงทายออกมา ผีครู คือผีครู บา อาจารย์ ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ป กปั ก รั ก ษาศิ ษ ย์ ผู้ เ รี ย นคาถาเวทมนตร์ ต่ า ง ๆ ระบบ ความเชือ่ และศาสนาดังเดิ ้ มของชาวไทลื ้อ มีพธิ ีไหว้ ผเี รือนผีตระกูล พิธีบชู าย่าขวัญ ข้ าว พิธีไหว้ ใจบ้ าน ใจเมือง พิธีบวงสรวง เสื ้อบ้ านเสื ้อเมือง พิธบี ายศรีสขู่ วัญ พิธสี บื ชะตา ซึง่ ความเชื่อเรื่ องผีก็ยงั คงสืบทอด ต่ อ มาแม้ เ มื่ อ รั บ พุท ธศาสนาแล้ ว ชาว ไทลื ้อนับถือพระพุทธศาสนา พิธีบายศรี สูข่ วัญ พิธีสบื ชะตา ซึง่ ความเชือ่ เรื่องผีก็ ยังคงสืบทอดต่อมา แม้ เมือ่ รับพุทธศาสนา แล้ ว ชาวไทยหรือนับถือพระพุทธศาสนา เถรเทว ท� ำให้ มีวัฒนธรรมที่ เนื่ องด้ วย พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ต า ม ม า เ ช่ น สถาปั ตยกรรม วัดวาอาราม วรรณกรรม ชาดก คัมภีร์ใบลาน วัดเป็ นศูนย์กลาง ข อ ง ชุ ม ช น แ ล ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง ส ะ ส ม วรรณกรรมมากมายหลาย ๑๐๐ เรื่ อง และมี ว รรณกรรมร่ ว มกับ ทางล้ า นนา จ�ำนวนมาก เช่น ลังกา ๑๐ โมง โบราวงศ์ จ�ำปาสี่ต้น หูงผาค�ำ (หงส์ผาทองค�ำ) เจ้ าสุธน เป็ นต้ น
“
“
การขึน้ ปีใหม่ไทลือ้
ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๘ เมษายน ของทุกปี ๕๙
จังหวัดพะเยา ชาติพันธุ์ภูไทหรือผู้ไท
ข้อมูลโดยผู้น�ำชุมชน นางหทัยทิพย์ เชื้อสะอาด เจ้ า หน้ า ที่ ดู แ ลศู น ย์ วั ฒ นธรรม บ้ า นเลขที่ ๑๘๖ หมู่ ๓ ต�ำบลหย่วน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา
ชาวภูไทดังเดิ ้ มมีภมู ลิ ำ� เนาอยูท่ แี่ คว้ นสิบ สองจุไท ประเทศเวียดนาม ต่อมาได้ มี การเคลื่อนย้ ายเข้ าสูป่ ระเทศลาว และสู่ ประเทศไทยตามล�ำดับ การอพยพเข้ ามา ประเทศไทยครั ง้ แรกเข้ ามาในรั ชสมัย ของพระเจ้ ากรุงธนบุรี ส่วนครัง้ ที่สองเข้ า มาในสมัยเจ้ าอนุวงศ์ เวี ยงจันทร์ เป็ น กบฏต่ อ กรุ ง เทพฯ เมื่ อ พ.ศ.๒๓๖๙
กองทัพไทยยกขึ ้นไปปราบจนสงบแล้ ว จึงมีนโยบายจะอพยพพวกภูไทจากฝั่ ง ซ้ า ยแม่น� ำ้ โขง (ฝั่ ง ลาว) มาอยู่ที่ ภ าค อีสานของไทย เพื่อให้ เป็ นก�ำลังต่อเวียง จันทร์ และญวนอีก ต่อมาเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.๒๕๑๐ ชาวภู ไ ทในจั ง หวั ด กาฬสินธุ์ และมุกดาหาร ได้ อพยพเข้ ามา ตัง้ ถิ่ นฐาน อยู่ที่บ้านใหม่ราษฎร์ บ�ำรุ ง ๖๑
(บ้ านจ�ำไก่) หมู่ ๕ ต�ำบลสันโค้ ง อ�ำเภอ ดอกค� ำ ใต้ จัง หวัด พะเยา ที่ นี่ จึง มี ช่ื อ เรียกว่า “อีสานล้ านนา” ผู้คนไทอีสานกับ คนพื น้ เมื อ งล้ า นนาที่ นี่ อยู่ร่ ว มกัน ใน สังคมแบบราบรื่ น กลมเกลียวสามัคคี พื ้นที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ติดกับป่ าสงวน สภาพอากาศจึงมีความเหมาะสมต่อการ ท� ำ เกษตร โดยชุ ม ชนยั ง คงอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปวัฒ นธรรมและประเพณี เ ดิ ม ของ ตนเองอยู่ ประชากรอาศัยแบบช่วยเหลือ ซึง่ กันและกัน มีวถิ ีชวี ติ ความเป็ นอยูแ่ บบ เอื ้อเฟื อ้ เผือ่ แผ่ อยูร่ ่วมกันแบบเครือญาติ ชาวภูไ ทมี ลัก ษณะความเป็ น อยู่แ บบ ครอบครัวใหญ่ในบ้ านเดียวกัน เป็ นกลุม่ คนท�ำงานที่มีความขยันขันแข็ง มัธยัสถ์ ท�ำงานได้ หลายอาชีพเช่น ท�ำนา ท�ำไร่ ค้ าวัว ค้ าควาย น� ำกองเกวียนบรรทุก สินค้ าไปขายต่างถิ่นเรี ยกว่า ‘นายฮ้ อย’ เผ่าภูไทเป็ นกลุม่ ที่พฒ ั นาได้ เร็ วกว่าเผ่า อื่น มีความรู้ความเข้ าใจและมีความเข้ ม แข็งในการปกครอง มีหน้ าตาที่สวย ผิว พรรณดี กริ ย ามารยาทแช่ ม ช้ อย มี อัธยาศัยไมตรี ในการต้ อนรับแขกแปลก ถิ่นจนเป็ นที่กล่าวขวัญถึง เผ่าภูไทนิยม นุ่งผ้ าซิ่นหมี่ตีนต่อ ย้ อมครามเกือบสีด�ำ เรี ยกว่าผ้ าด�ำหรื อซิ่นด�ำ สวมเสือ้ แขน กระบอก ชาวภูไทบริ โภคข้ าวเหนียวเป็ น หลัก ท�ำอาหารจากธรรมชาติ ป่ าเขา และ ๖๒
อาหารตามฤดูก าล เช่น ข้ า วจี่ ใต้ น� ำ้ ต�ำมะฮุง แจ่วบอง แกงยอดบวบ ซุปหน่อ ไม้ หมกหน่อไม้ ป่ นต่าง ๆ เป็ นต้ น กรณี ที่มีเทศกาลต่าง ๆ ถึงจะมีการล้ มสัตว์ ใหญ่ เครื่ องดื่ ม ที่ นิ ย มท� ำ กิ น กั น ใน เทศกาลต่าง ๆ ก็คือ เหล้ าอุ มีลกั ษณะ เป็ นโอ่งเล็ก ๆ วัตถุดบิ ที่น�ำมาท�ำเหล้ าอุ คือ ข้ าวเหนียว แกลบ ลูกข้ าวหมาก หรื อ แป้งข้ าวหมาก รสชาติจะออกหวาน ๆ ขมๆ ผสมกับดีกรี แอลกอฮอล์ ความเชื่อของชาวผู้ไทหรือภูไท ผู้หญิง จะนิยมไว้ ผมยาวและเกล้ ามวย ผมไว้ กลางกระหม่อม เวลาออกนอกบ้ าน จะมีผ้ามัดที่ผม เรี ยกว่า “ผ้ าแพรมน” มี ลักษณะคล้ ายผ้ าเช็ดหน้ าขนาดใหญ่ มี สีสนั และลวดลายฉบับภูไท เสื ้อจะเป็ น เสื ้อมอบหรื อเสื ้อด�ำ ผ้ าซิน่ จะเป็ นซิน่ มัด หมี่ต่อด้ วยตีนจก สวมรองเท้ าแตะคีบ และจะมีก�ำไลข้ อมือ เท้ า เงินทังสองข้ ้ าง เวลามีงานบุญต่าง ๆ จะเห็นชาวภูไทน�ำ สไบที่มีความประณีต ส่วนใหญ่จะเป็ นสี แดง สาวภูไ ทจะทอเอาไว้ ใ ช้ เ รี ย กว่ า “แพรวา” หรื อ ผ้ าเบี่ยง ผู้ ช าย มักจะนิ ยมนุ่งโสร่ งไหมในงาน พิเศษ เวลาปรกติจะนุ่งกางเกงขาก๊ วย หรือโสร่งทีท่ ำ� จากผ้ าฝ้าย เสื ้อจะเป็ นโทน
สี ด� ำ มัก จะมี ผ้ า ชาวม้ า หรื อ ที่ เ รี ย กว่า “แพร” พาดบ่า มัดเอว หรื อมัดหัวเวลา เดินทาง ชาวภูไ ทมี ค วามเชื่ อ ในการสร้ างที่ อ ยู่ อาศัย โดยจะสร้ างเป็ นบ้ านไม้ ใต้ ถนุ สูง มีระเบียง มีชานบ้ าน และมีครัวไฟอยูข่ ้ าง บนบ้ าน ประเพณีพิธีกรรมของชาวภูไท ในส่ ว นใหญ่ จ ะผสมผสานกั บ พุ ท ธ ศาสนา พิธีกรรมตาม “ฮีตสิบสอง” มี ความเชื่อมาจากค�ำสองค�ำได้ แก่ ฮีต คือ ค�ำว่า จารี ต ซึง่ หมายถึงความประพฤติ ธรรมเนียมประเพณีความประพฤติที่ดี และ สิบสอง หมายถึง สิบสองเดือน ดัง นัน้ “ฮีตสิบสอง” จึงหมายถึงประเพณีที่ ชาวลาวในภาคอีสาน และประเทศลาว ปฏิบตั กิ นั มาในโอกาสต่าง ๆ ทังสิ ้ บสอง
เดื อนของแต่ละปี เป็ นการผสมผสาน พิธีกรรมที่เกี่ ยวกับเรื่ องผีและพิธีกรรม ทางการเกษตร เข้ ากับพิธีกรรมทางพุทธ ศาสนานักปราชญ์ โบราณได้ วางฮีตสิบ สองไว้ ดงั นี ้ บุญเข้ ากรรม คือบุญที่ท�ำ ขึ ้นในเดือนอ้ าย (เดือนเจียง) ซึง่ เป็ นเดือน แรกของปี ทชี่ าวอีสานจะต้ องประกอบพิธี บุญกันจนเป็ นประเพณี ซึ่งอาจจะเป็ น ข้ างขึ ้นหรือข้ างแรมก็ได้ พิธีบญ ุ นี ้จะเกีย่ ว กับพระโดยตรงซึ่งความจริ งน่าจะเป็ น เรื่ องของสงฆ์โดยเฉพาะ แต่มีความเชื่อ กัน ว่ า เมื่ อ ท� ำ บุญ กับ พระที่ ท� ำ พิ ธี นี จ้ ะ ท�ำให้ ได้ อานิสงส์มาก ญาติโยมจึงคิดวัน ท�ำบุญเข้ ากรรมขึ ้น เดือนยี่ – บุญคูน ลาน เป็ นการท� ำบุญเพื่ อรั บขวัญข้ าว เมื่อถึงเดือนยี่ หรื อเดือนที่ ๑ คือเดือน ๖๓
มกราคมของทุกปี หลังจากเก็บเกี่ยวข้ าว เสร็ จ ชาวบ้ า นจะขนเอามัด รวงข้ า วที่ เกี่ยวเสร็จแล้ ว นันไปกองรวมกั ้ นไว้ ทลี่ าน เก็บข้ าวด้ วยมีความเชื่อว่าข้ าวนัน้ เป็ น พืชเลี ้ยงชีวิตที่มีเทพารักษา เทพองค์นนั ้ มีนามว่า “แม่โพสพ” ซึง่ เป็ นขวัญข้ าวที่ เลี ย้ งมนุษ ย์ ม า การท� ำ บุญ มี พ ระสวด มนต์เย็น ฉันเช้ าเพื่อเป็ นสิริมงคลแก่ข้าว เปลือก เมือ่ พระฉันเช้ าแล้ วก็ทำ� พิธีสขู่ วัญ ข้ าว และผูกข้ อต่อแขนกันในหมูช่ าวบ้ าน ผู้ร่วมพิธี เรื่ องผี ชาวภู ไ ทก็ นั บ ถื อ เหมื อ นกั น บรรพบุรุษที่ล้มหายตายจากไปแล้ ว คือ เราก็เรี ยกว่า “ผี” เราก็นบั ถือ ในประเพณี ของคนภูไทนี ้ เรายังไม่ถึงเดือน ๓ ออก ใหม่ ๓ ค�่ำ คือตัวนี ้คือแบบว่าเราจะมา ท� ำขวัญข้ าว คือจะว่าผี ก็ไม่เชิ ง จะว่า เทวดาก็ ไ ม่เ ชิ ง ทุก ปี เ ราจะมาท� ำ พิ ธี สู่ ขวัญข้ าว แต่ละปี คือเดือน ๓ ออกใหม่ ๓ ค�่ำ เดือน ๓ นี ้ก็คือ เราเปิ ดประตูย้ งุ สาง คือเปิ ดประตูเล้ าภาษาเราเรี ยกว่าเปิ ด ประตูเล้ า คือเปิ ดยุ้งสาง เรามาท�ำให้ แม่ โพสพ อันนี ้ความเชื่อของคนภูไท เพราะ ความเชื่อของผู้เฒ่าผู้แก่ แล้ วเราก็สบื ต่อ กันมา สมัยตะก่อนเราใช้ ววั ควาย แล้ วใช้ ไม้ ตี ไอ่ตวั นี ้เราไปตีแม่โพสพ แล้ วถูกใส่ ข้ าว เราต้ องมาท�ำพิธีท�ำขวัญข้ าวให้ กบั ๖๔
รวงข้าวที่เกี่ยวเสร็จแล้วมี ความเชื่อว่าข้าวนั้นเป็นพืช เลี้ยงชีวิตที่มีเทพารักษา เทพองค์นั้นมีนามว่า
“แม่โพสพ” แม่โพสพ เรามาขอโทษแม่โพสพที่ท่าน มาให้ เ ราตี เราเหยี ย บเราย�่ ำ ทุก อย่า ง พอถึงเดือน ๓ ออกใหม่ ๓ ค�่ำ เราก็มา ท�ำขวัญให้ เหมือนกับแทนคุณ ขอสุมาลา โทษ แทนเป็ นความเชื่อ คือแบบว่าเรามี เสื ้อผ้ า เรามีน� ้ำอบ น� ้ำหอม แล้ วก็อาหาร เราก็เอามาให้ ท่านทานใช่ไหม คือแบบ ว่ามีข้าวเหนียว หมกปลา หมกไก่ อันนี ้ เป็ นอาหารคาว แล้ วของหวานจะมี ข้ าวต้ มมัด ข้ าวปาด ข้ าวขนมชัน้ แล้ วก็ มีผลไม้ มีกล้ วย มีอะไรต่างๆ ทีเ่ อามาเซ่น ไหว้ บรรพบุรุษของเรา ดอกไม้ ธูปเทียน เป็ น เครื่ อ งบูช า กับ บูช าข้ า ว บูช าแม่ โพสพ ให้ เจริ ญรุ่งเรื องต่อไป ปี หน้ าก็ไม่ ให้ ฝนแล้ ง ให้ มนั ได้ เหมือนเดิมหรื อให้ ได้ เยอะกว่าเก่า ความเชื่ออันนี ้ ความเชื่อ ของบรรพบุรุษของเรามาเป็ นอย่างนัน้ เดือนสาม – บุญข้ าวจี่ ตามความเชื่อ ในสมัยพุทธกาล นางปุณณะทาสี ได้ ท�ำ ขนมแป้งจี่ ถวายแด่พระสัมมาสัมพุทธ เจ้ าและพระอานนท์เถระ ครัน้ ถวายแล้ ว
นางคิดว่า พระองค์คงไม่เสวยและอาจ เอาทิ ้งให้ สนุ ขั หรื อกากิน เพราะ อาหารที่ นางถวายไม่ประณีตน่ารับประทาน เมื่อ พระพุทธเจ้ าทรงทราบภาวะจิตของนาง ปุณณะทาสี จึงรับสัง่ ให้ พระอานน์ปลู าด อาสนะ แล้ วทรงประทับนัง่ ฉันท์ ณ ที่ นางถวายนัน้ เป็ นผลให้ นางเกิดปี ตยิ ินดี เป็ นอย่างยิง่ และเมือ่ นางได้ ฟังพระธรรม เทศนาที่พระพุทธเจ้ าทรงแสดง ก็บรรลุ โสดาบันปั ตติผลด้ วยอานิงสงฆ์ที่ถวาย ขนมแป้งจี่ ชาวอีสานจึงเชื่อในอานิสงส์ ของการทานดั ง กล่ า ว จึ ง พากั น ท� ำ ข้ า วจี่ ถ วายทานแด่พ ระสงฆ์ สื บ ต่อ มา เดือนห้ า – บุญสงกรานต์ ตามคตินยิ ม โบราณ นิยมสรงน� ้ำพระและผู้อาวุโสอัน เป็ น การแสดงความเคารพและความ
กตัญญู เพื่อความเป็ นสิริมงคล เดือน หก – บุญบัง้ ไฟ ตามความเชื่อประเพณี บุญบังไฟ ้ หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึง่ ว่า บุญ เดือนหก จัดเป็ นบุญประจ�ำปี ทกุ ปี ในช่วง เดื อ นพฤษภาคมซึ่ง เป็ น ช่ ว งก่ อ นที่ จ ะ ลงมือท�ำนาโดยมีจดุ ประสงค์ส�ำคัญ คือ การขอฝน ชาวบ้ านในภาคอีสาน ถือว่า บุญบังไฟเป็ ้ นพิธีกรรมที่มีความส�ำคัญ มาก เพราะเชื่อว่าหากหมู่บ้านใดไม่จดั บุญบังไฟก็ ้ อาจก่อให้ เกิดภัยพิบตั ิ เดือนเจ็ด – บุญซ�ำฮะ เป็ นงานบุญที่ ชาวอีสานจะจัดงานประเพณี ขึน้ มีจุด ประสงค์ เ พื่ อ ปั ดรั ง ควานและขั บ ไล่ เสนียดจัญไร ตลอดถึงเหล่าภูติผีปีศาจ หรื อ สิ่ ง ชั่ว ร้ ายให้ อ อกไปจากหมู่บ้ า น ค�ำว่า “ซ�ำฮะ” ก็คอื “ช�ำระ” ทีห่ มายทีก่ าร ๖๕
“
บุญซ�ำฮะ
“
ล้ างให้ สะอาด บุญซ�ำฮะ อาจจะเรี ยกว่า เป็ นบุญเบิกบ้ าน หรือ บุญบ้ าน ซึง่ ในงาน บุญนี ้นอกจากจะท�ำพิธิขบั ไล่สิ่งชัว่ ร้ าย แล้ ว ยังต้ องมีการท�ำพิธีบชู าสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ คู่บ้านคู่เมื อง เพื่ อให้ เกิ ดความเป็ นสิริ ม ง ค ล แ ก่ ห มู่ บ้ า น แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น เดื อ นแปด – บุ ญ เข้ า พรรษา “เข้ า พรรษา” แปลว่ า “พัก ฝน” หมายถึ ง พระภิกษุสงฆ์ต้องอยูป่ ระจ�ำ ณ วัดใดวัด หนึง่ ระหว่างฤดูฝน โดยเหตุทพี่ ระภิกษุใน สมัยพุทธกาล มีหน้ าที่จะต้ องจาริกโปรด สัตว์ และเผยแผ่พระธรรมค�ำสัง่ สอนแก่ ประชาชนไปในที่ตา่ ง ๆ ไม่จ�ำเป็ นต้ องมี ที่ อ ยู่ป ระจ� ำ แม้ ใ นฤดูฝ นชาวบ้ า นจึ ง ต�ำหนิวา่ ไปเหยียบข้ าวกล้ าและพืชอื่น ๆ จนเสี ย หาย พระพุ ท ธเจ้ าจึ ง ทรงวาง ระเบียบการจ� ำพรรษาให้ พระภิ กษุ อยู่ ประจ�ำที่ตลอด ๓ เดือน ในฤดูฝน โดย แบ่ ง เป็ น “ปุริ ม พรรษา” หรื อ วัน เข้ า พรรษาแรก เริ่ มตังแต่ ้ วนั แรม ๑ ค�ำ่ เดือน ๘ ของทุกปี หรื อถ้ าปี ใดมีเดือน ๘ สอง ครัง้ ก็เลื่อนมาเป็ นวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๘ หลัง และออกพรรษาในวันขึ ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑ “ปั จฉิมพรรษา” หรื อวันเข้ า พรรษาหลัง เริ่มตังแต่ ้ วันแรมค�ำ่ ๑ เดือน ๙ จนถึงวันขึ ้น ๑๕ ค�่ำเดือน ๑๒ เดือน เก้ า – บุญข้ าวประดับดิน ตามความ เ ชื่ อ คื อ เ พื่ อ อุ ทิ ศ บุ ญ กุ ศ ล ใ ห้ กั บ ๖๖
เป็นงานบุญที่จัดขึ้น มีจุดประสงค์เพื่อปัดรังควาน และขับไล่เสนียดจัญไร ตลอดถึง เหล่าภูติผีปีศาจหรือสิ่งชั่วร้าย ดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ และ เปรต โดยการน� ำของกิ นต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ น ค�ำหมาก ค�ำพลู อาหารหวาน อาหารคาว วางลงบนพื ้นดินเพื่อให้ ดวงวิญญาณทัง้ หลายที่ยงั อยูใ่ นภพภูมิต�่ำได้ รับบุญกุศล และได้ เสพอาหารหวานคาวเหล่านี ้ บาง ท้ องถิ่นมีความเชื่อว่า หากดวงวิญญาณ ของญาติมิตรที่ต้องเกิดในขุมนรก ก็จะ ถูกปลดปล่อย เพื่อให้ มารับบุญในวันนี ้ ขณะเดี ย วกัน ก็ มี ค วามเชื่ อ ว่า เมื่ อ น� ำ อาหารลงดิ น ให้ กับ ดวงวิ ญ ญาณหรื อ เปรตแล้ ว ห้ า มคนน� ำ มากิ น เด็ ด ขาด เพราะเป็ นของเหลือเดนจากเปรตซึง่ ไม่ ควรกิน และ ห้ ามน�ำหยิบฉวยเอาของกิน เหล่ า นี ไ้ ป ไม่ เ ช่ น นัน้ เปรตจะมาตาม หลอกหลอนเพื่อทวงคืน เดือนสิบ – บุญข้ าวสาก ชาวบ้ านเชื่อว่า เป็ นการ ท�ำบุญตามประเพณีในพระพุทธศาสนา ซึ่ ง ได้ จั ด สลากภั ต นี ว้ ่ า เป็ นสั ง ฆทาน ประเภทหนึง่ ซึง่ นิยมถวายตามฤดูกาลที่ มีผลไม้ ออกใหม่ โดยจะถวายตามสลาก
เช่น หน้ ามะม่วง ก็เรี ยกสลากภัตมะม่วง หน้ าทุ เ รี ย น ก็ เ รี ย ก สลากภัต ทุ เ รี ย น เป็ น ต้ น ซึ่ ง คงขึ น้ อยู่กับ สิ่ ง ของที่ มี ใ น แต่ละท้ องถิ่ นเป็ นหลักในการใช้ ถวาย ทาน เดือนสิบเอ็ด - บุญออกพรรษา ชาวบ้ านมีความเชือ่ ว่าเหมือนได้ บญ ุ จาก นิโรธสมาบัติ (การออกจากการพักผ่อน ของพระอรหันต์ ) ดังนัน้ ลูกหลานที่ ไป ท�ำงานต่างถิ่นจึงนิยมกกลับบ้ านเพื่อมา ท� ำบุญนี แ้ ละออกพรรษากับ พ่อธรรม หรื อ ของฮักษา ที่ได้ เข้ าไว้ ในช่วงบุญเข้ า พรรษา เดือนสิบสอง – บุญกฐิน เชื่อ กันว่าใครที่ได้ มาบูชานัน้ เงินทองจะไหล มาเทมา โชคลาภจะไหลบ่าไม่ขาดสาย เปรี ยบเทียบไม่ตา่ งกับกระแสแรงศรัทธา ของผู้คนที่ตา่ งมุง่ หน้ ามางานทอดกฐิ นที่
จะมากันเป็ นประจ�ำทุกปี เอาข้ าวของ เครื่องใช้ ตา่ งๆมาถวายวัด เอาเงินทองมา ร่วมท�ำบุญ การท�ำ ประเพณี พิ ธี ก รรมการแห่ ดอกไม้ ชาวบ้ านมีความเชื่อว่า การที่ได้ น� ำ ดอกไม้ ม าบูช าพระรั ต นตรั ย นัน้ จะ ท�ำให้ อยูด่ มี สี ขุ ฝนตกต้ องตามฤดูกาล ให้ เรื อสวนไร่ นาอุดมสมบูรณ์ บ้ านเมืองมี ความร่มเย็นเป็ นสุขปราศจากโรค ภัย ไข้ เจ็บ วัว ควาย สัตว์เลี ้ยงต่างๆ ขยายดอก ออกผลสมบูรณ์ เกิดเป็ นศิริมงคลแก่ทงั ้ ตนเอง ญาติๆ และชาวบ้ านคนอื่นๆ และ เชื่อในเรื่ องของการนับถือ ผีบ้านผีเรื อน ความเชื่อในการนับถือผีบ้านผีเรื อน เป็ น วัฒนธรรมส่วนหนึ่งที่ได้ รับสืบทอดมา จากปู่ ย่ า ตายาย ทั ง้ นี เ้ พราะระบบ ครอบครั วมี ความผูกพันกันอย่างแน่น เฟ้น สิง่ ใดทีบ่ รรพบุรุษท�ำไว้ กจ็ ะพากันท�ำ ตามด้ วยเชื่อว่ากระท�ำแล้ วท�ำให้ สงั คม หรื อ บุ ค คลในครอบครั วปกติ สุ ข ชาวนครไทย เรี ยกผีบ้านผีเรื อนว่า ผีพอ่ เฒ่าเจ้ าเรื อน ผีพ่อเฒ่าใหญ่ ผีเหย้ าผี เรื อน ผีเหล่านี ้เป็ นผีบรรพบุรุษที่ตายไป เช่น ปู่ ย่าตายาย ผู้ที่นบั ถือผีเรื อนจะท�ำ หิ ง้ ขนาด ๑-๒ ฟุ ต วางของใช้ ของ บรรพบุ รุ ษ เช่ น พระห้ อ ยคอ หนัง สื อ เสื ้อผ้ า ฯลฯ พิธีนี ้ เชื่อว่าถ้ าปี ใดไม่ท�ำพิธี เซ่ น ไหว้ ผี บ้ า นผี เ รื อ น ผี จ ะมารบกวน ๖๗
คนในบ้ านให้ เจ็บป่ วย สามี-ภรรยาจะ ทะเลาะกัน เด็ ก เล็ ก ร้ องให้ ทัง้ คื น ถ้ า ครอบครัวใดท�ำพิธีเซ่นไหว้ จะมีแต่ความ สุขความเจริญ ซึง่ จะมีการจัดแจงในบ้ าน เรื อนของตนเอง มักจะมีการกล่าวบอก ก่ อ นจะมี ง านบุ ญ ของบ้ าน หรื อ การ ท�ำบุญบ้ าน บุญเบิกบ้ าน เป็ นต้ น ความเชื่อเกี่ยวกับเครื่ องนุ่ งห่ ม จะ เห็ น แต่ผ้ า คลุม หี บ ศพ เมื่ อ หามศพลง เรื อนผ้ าคลุมหีบจะปลดออกไว้ ใช้ ต่อไป ก่อนจะน�ำมาใช้ จะมีพิธีโยนผ้ าก่อน ใน ปัจจุบนั การโยนผ้ าก็ยงั ปฏิบตั กิ นั อยู่ และ นอกจากนี ้ประเพณีของชาวภูไทเกี่ยวกับ เครื่ องนุง่ ห่ม ๔ อย่างนี ้ คือ ผ้ าห่ม ที่นอน หมอน ผ้ าขาวม้ า หญิงสาวชาวผู้ไทยต้ อง จัดสร้ างขึ ้นมาไว้ มาก ๆ เมื่อหนุ่มมาขอ ๖๘
แล้ วฝ่ ายสาวต้ องเร่ ง ส้ างเคิ ้ง คือ สร้ าง เครื่ อ งนุ่ง ห่ ม นั่น เอง ในปั จ จุบัน นี ก้ ็ ยัง ยึดถือประเพณีนี ้อยู่ เพียงแต่วา่ หญิงสาว ทุกวันนี ้ต้ องเรี ยนหนังสือ หรื อไปท�ำงาน ต่างถิ่นไม่มีเวลาท�ำ เมื่อใกล้ จะแต่งงาน อาจจะให้ ญาติ ๆ ช่ ว ยท� ำ หรื อซื อ้ ส�ำเร็จรูป ชาวภูไทมีความเชื่อเรื่ องความ สั ม พั น ธ์ ข องบุ ค คลในครอบครั ว ใน ครอบครัวก็จะมีพอ่ เป็ นใหญ่ที่สดุ รองลง มาคือ แม่ พี่คนโต และรองลงไปตาม ล�ำดับ ในอดีตเมื่อ ๔๐ ปี ก่อน สังคมภูไท ได้ ให้ ความส�ำคัญต่อผู้เป็ นสามีมาก ใน ปั จจุบนั ก็ยงั ให้ ความนับถืออยู่ เพียงแต่ ลดพฤติกรรมบางอย่างลงไป เช่น การสม มาสามีในวันพระ บางคนไม่ได้ ท�ำเลย โดยเฉพาะภรรยารุ่ น ใหม่ แต่ จ ะสม
“
บุญข้าวประดับดิน ตามความเชื่อคือเพื่อ อุทิศบุญกุศลให้กับ ดวงวิญญาณของ บรรพบุรุษ และ เปรต
“
มาสามี ตอน “ออกค�ำ” (ออกจากการ อยูไ่ ฟใหม่ ๆ) เหมือนในอดีตเพราะสามี เป็ นผู้ล�ำบากทุกข์ยาก อดตาหลับขับตา นอน ตักน� ำ้ หาฟื นดูแ ลภรรยาที่ อยู่ค� ำ (การอยู่ค� ำ ภาษาลาวจึง เรี ย กว่ า “อยู่ กรรม”) ชาวภูไทมีความเชื่อและข้ อห้ าม ปฏิ บั ติ ภ ายในชุ ม ชนที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ ชาติพนั ธุ์หรือท้ องถิ่น เช่น ไม่ดมื่ สุรา และ เล่นการพนัน ,ไม่สง่ เสียงดังในเวลากลาง คืน ,ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้ อม และช่วยกัน รักษาความสะอาด ,ไม่พกอาวุธเข้ ามา ภายในชุมชน
๖๙
ชาติพนั ธุอ ์ วิ๋ เมีย่ น ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชน นายแคะแว่น ศรีสมบัติ ประธานชาติพันธุ์อิ๋วเมี่ยน บ้านเลขที่ ๙๑ หมู่ ๑๑ ต�ำบลหย่วน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา
อิ๋วเมี่ยน หรื อเย้ าอาศัยอยูใ่ น ๙ จังหวัด ๔๔ อ�ำเภอ ๑๙๕ หมูบ่ ้ าน จ�ำนวนหลังคา เรื อน ๙,๕๐๑ หลังคาเรื อน ประชากร รวม ประมาณ ๕๐,๐๐๐ กว่าคน เป็ น ชนชาติเชือ้ สายจีนเดิม เรี ยกตัวเองว่า เมี่ยน หรื อ อิ ้วเมี่ยน แปลว่า มนุษย์ และ มีชื่อเรี ยกอีกชื่อหนึง่ ว่า เย้ า ถิ่นฐานเดิม อยู่ทางตะวันออกในมณฑล กวางเจา ยูนนาน หูหนาน และกวางสี ของประเทศ จีน ต่อมาถูกรบกวนจากชาวจีน การท�ำ มาหากิ นฝื ดเคืองจึงได้ อพยพมทางใต้ ๗๐
เข้ าสูเ่ วียดนามเหนือ ตอนเหนือของลาว และทางตะวันออกของพม่าบริ เวณรั ฐ เชียงตุง และภาคเหนือของไทย (ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๔๘) ปั จ จุ บัน มี ช าวเมี่ ย นอาศั ย อยู่ ม ากในจั ง หวั ด เชี ย งราย พะเยา และน่ า นรวมทั ง้ ในจั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร เชียงใหม่ ตาก เพชรบูรณ์ ล�ำปาง สุโขทัย และ กาญจนบุรี (อ�ำเภอ สังขบุรี) เย้ า เรี ยกตัวเองว่า เมี่ยน (Mien) แปลว่า คน ราชวงศ์ซง่ (Sung Dynasty) ของจีนมักเรี ยกว่า เย้ า มาจากค�ำว่า ม่อ
เย้ า หมายถึง ไม่อยูใ่ นอ�ำนาจใคร เดิมเย้ า มี แ หล่ง ก� ำ เนิ ด แถบตอนกลางของจี น บริ เวณลุม่ แม่น� ้ำฉางเจียว และลุม่ น� ้ำฮัน่ เจีย ต่อมากระจายตัวอยูม่ ณฑลยูนนาน กวางตุ้ง กวางสี และกุ้ย โจว และได้ เคลื่ อ นเข้ า สู่ภ าคเหนื อ ของเวี ย ดนาม พม่า ลาว และอพยพจากลาวเข้ าสูไ่ ทย เมื่อประมาณ ๑๘๕ ปี มาแล้ ว ระยะแรก ตัง้ ถิ่ นฐานอยู่บริ เวณดอยวาว จังหวัด น่าน โดยการน�ำของพญาคีรีศรี สมบัติ และกลุม่ เชียงราย อยู่ที่ดอยหลวง และ อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เมื่อ ประชากรเพิ่มขึ ้นจึงย้ ายถิ่นฐานไปตาม จังหวัดต่าง ๆ ความเชื่อของชาวอิ๋วเมี่ยน ประเพณีลุยไฟ (ตรุ ษจีน) ตามความ เชื่อคนโบราณจะพิสจู น์ความบริ สทุ ธิ์วา่ บุคคลใด ที่ โดนกล่าวหาว่าท� ำผิ ด แต่ บุคคลนันอ้ ้ างว่าตนเองมิได้ ท�ำความผิด จะมีการพิสจู น์แสดงความบริสทุ ธิ์โดยวิธี การลุยไฟ การพิสจู น์ความบริ สทุ ธิ์ด้วย วิธีนี ้ความเชื่อจากคนโบราณเชื่อว่าคนที่ มีใจบริสทุ ธิ์จะเดินผ่านกองไฟได้ โดยไม่มี อันตราย เริ่ มโดยน�ำเชื ้อไฟมากองไว้ แล้ ว จุดไฟขึ ้น ผู้โดนกล่าวหาว่าท�ำผิดตังจิ ้ ต อธิฐานว่า “ตนบริ สทุ ธิ์ขออย่าให้ มีความ
‘เย้า’ มาจาก ค�ำว่า ‘ม่อเย้า’ หมายถึง ไม่อยู่ในอ�ำนาจใคร
ร้ อนจากกองไฟท�ำลายได้ ” จิตที่แน่วแน่ ประกอบกั บ เทพเทวาจะเป็ นพยาน ปกป้องร่ างขณะเดินลุยไฟ นอกจากนี ้ วรรณกรรมเรื่ องดังมีตวั ละครที่ต้องการ แสดงความบริ สทุ ธิ์ของตนโดยวิธีลยุ ไฟ แต่การลุยไฟจะต้ องใช้ เท้ าเปลือยเปล่า เหยียบไปที่กองเพลิง ว่ากันแล้ วบุคคลที่ โดนกล่าวหาจะบริสทุ ธิ์หรื อไม่ อาจได้ รับ อัน ตรายด้ ว ยกัน ทัง้ สิ น้ ดัง นัน้ การจะ พิ สูจ น์ ค วามบริ สุท ธิ์ ไ ม่ ค วรเลื อ กวิ ธี นี ้ นอกจากพิธีทรงเจ้ าแสดงความศักดิส์ ทิ ธิ์ ในเทศกาลกินเจแล้ ว พิธีลยุ ไฟหรื อเกี่ย โฮ้ ยเป็ นอีกพิธีหนึง่ ส�ำหรับเทศกาลกินเจ ที่ใช้ เรี ยกความศรัทธา พิธีนี ้จะจัดขึ ้นใน วันที่เจ็ดเดือนเก้ าตามปฏิทินจันทรคติ ของจีนหรื อวันเก๊ าวัย่ ชิวชิค เจ้ าหน้ าทีโ่ รง เจจะน�ำไม้ เชื ้อเพลิงวางไว้ ท่ีทางเดินยาว ประมาณสิบเมตร ส�ำหรับให้ ผ้ ทู กี่ นิ เจเดิน ลุยไฟ คติความเชือ่ จากคนจีนโบราณเชือ่ ว่าการลุยไฟเป็ นการสะเดาะเคราะห์ ใน ๗๑
“
วันสารทจีน
เป็นวันที่เงี่ยมล้อเทียนจือ (ยมบาล) จะตรวจดูบัญชีวิญญาณคนตาย ส่งวิญญาณดีขึ้นสวรรค์และ ส่งวิญญาณร้ายลงนรก
“
พิธีกินเจวันดังกล่าว การวางไม้ เชื ้อเพลิง ทีว่ า่ นี ้เจ้ าหน้ าทีจ่ ะเว้ นทีว่ า่ งส�ำหรับลงน� ้ำ หนักเท้ า การเดินผู้ที่จะเดินลุยไฟควร ส�ำรวจเส้ นทางเชื ้อเพลิงก่อน เวลาร่ วม พิธีผ้ ทู จี่ ะเดินลุยไฟเลือกเหยียบบริเวณที่ มอดไฟแล้ ว สลับกับที่ว่างที่เว้ นไว้ และ การเดินลุยไฟควรเดินเท้ าเปล่าที่แห้ ง ไม่ ควรเปี ยกน� ้ำเพราะน� ้ำจะเป็ นตัวพาความ ร้ อนสู่ฝ่าเท้ าหรื อบางคนไม่กล้ าลุยก็ยืน ร่ ว มพิ ธี อ ยู่ ห่ า งๆ ก็ ไ ด้ ความเชื่ อ คน โบราณทุ ก ชาติ พั น ธุ์ กั บ ไฟ มี ค วาม สัมพันธ์กนั มายาวนาน เพราะเชื่อว่าไฟ คือเทพองค์หนึง่ ที่คอยช�ำระล้ าง สิ่งที่ไม่ ดี และเป็ นสะพานส่งสรรพสิง่ สูอ่ กี ปรโลก ความเชื่อเรื่ องสารทจีน ต�ำนานที่ ๑ ต�ำนานนี ้กล่าวไว้ วา่ วันสารทจีนเป็ นวันที่ เงี่ยมล้ อเทียนจือ (ยมบาล) จะตรวจดู บัญชีวญ ิ ญาณคนตาย ส่งวิญญาณดีขึ ้น สวรรค์ แ ละส่ ง วิ ญ ญาณร้ ายลงนรก ชาวจีนทังหลายรู ้ ้ สกึ สงสารวิญญาณร้ าย จึงท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ดังนันเพื ้ ่อให้ วิญญาณร้ ายออกมารับกุศลผลบุญนี ้จึง ต้ องมีการเปิ ดประตูนรกนัน่ เอง ต�ำนาน ที่ ๒ มี ช า ย ห นุ่ ม ผู้ ห นึ่ ง มี น า ม ว่ า “มูเ่ หลียน” (พระมหาโมคคัลลานะ) เป็ น คนเคร่ งครัดในพุทธศาสนามาก ผิดกับ มารดาที่เป็ นคนใจบาปหยาบช้ าไม่เคย เชื่อเรื่ องนรก-สวรรค์มีจริ ง ปี หนึง่ ในช่วง ๗๒
เทศกาลกินเจนางเกิดความหมัน่ ไส้ คนที่ นุ่งขาวห่มขาวถือศีลกินเจ นางจึงให้ มู่ เหลียนไปเชิญผู้ถือศีลกินเจเหล่านันมา ้ กิ นอาหารที่ บ้านโดยนางจะท� ำอาหาร เลีย้ งหนึ่งมื อ้ ผู้ถือศี ลกิ นเจต่างพลอย ยินดีที่ทราบข่าวว่ามารดาของมู่เหลียน เกิดศรัทธาในบุญกุศลครัง้ นี ้จึงพากันมา กิ น อาหารที่ บ้ านของมู่ เ หลี ย นแต่ ห า ทราบไม่ว่าในน� ำ้ แกงเจนัน้ มีน�ำ้ มันหมู เจือปนอยู่ด้วย การกระท�ำของมารดามู่ เหลียนนันถื ้ อว่าเป็ นกรรมหนัก เมื่อตาย ไปจึงตกนรกอเวจีมหานรกขุมที่ ๘ เป็ น นรกขุมลึกที่สดุ ได้ รับความทุกข์ทรมาน แสนสาหัส เมือ่ มูเ่ หลียนคิดถึงมารดาก็ได้ ถอดกายทิพย์ลงไปในนรกภูมิ จึงได้ ร้ ูวา่ มารดาของตนก� ำ ลัง อดอยากจึ ง ป้อ น
อาหารแก่มารดา แต่ได้ ถกู บรรดาภูตผีที่ อดอยากรุ มแย่งไปกินหมดและเม็ดข้ าว สุ ก ที่ ป้ อ นนั น้ กลับ เป็ นไฟเผาไหม้ ริ ม ฝี ปากของมารดาจนพอง แต่ด้วยความ กตัญญูและสงสารมารดาที่ได้ รับความ ทุ ก ข์ ท รมานอย่ า งสาหั ส มู่ เ หลี ย นได้ เข้ าไปขอพญาเหงี่ยมล่ออ๊ อง (ยมบาล) ว่าตนของรับโทษแทนมารดา แต่กอ่ นทีม่ ู่ เหลียนจะถูกลงโทษด้ วยการน�ำร่างลงไป ต้ มในกระทะทองแดง พระพุทธเจ้ าได้ เสด็จลงมาโปรดไว้ ได้ ทนั โดยกล่าวว่า กรรมใดใครก่อก็ย่อมจะเป็ นกรรมของ ผู้นัน้ และพระพุทธเจ้ าได้ มอบคัมภีร์อิ๋ว หลันเผิน ให้ มเู่ หลียนท่องเพื่อเรี ยกเซียน ทุกทิศทุกทางมาช่วยผู้มีพระคุณให้ หลุด พ้ น จากการอดอยากและทุก ข์ ท รมาน
ต่าง ๆ ได้ โดยที่ มู่เหลี ย นจะต้ อ งสวด คัมภีร์อวิ๋ หลันเผินและถวายอาหารทุกปี ในเดือนที่ประตูนรกเปิ ดจึงจะสามารถ ช่วยมารดาของเขาให้ พ้นโทษได้ นับแต่ นั น้ เป็ นต้ นมา ชาวจี น จึ ง ได้ ถื อ เป็ น ประเพณีปฏิบตั ิสืบต่อมากันโดยตลอด ด้ วยการเซ่นไหว้ โดยจะน�ำอาหารทังคาว ้ หวาน และกระดาษเงินกระดาษทองไป วางไว้ ที่หน้ าบ้ านหรื อตามทางแยกที่ไม่ ไกลนัก มีนยั ว่าเป็ นการเบี่ยงเบนความ สนใจของบรรดาวิญญาณเร่ร่อนที่ก�ำลัง จะผ่านมาใกล้ ที่พกั ของตน พิธีเลีย้ งผี ลักษณะความเชื่อ การเลี ้ยง ผี หมายถึงการจัดอาหารคาวหวานไป เซ่นสังเวย ดวงวิญญาณผู้ตาย ณ หิ ้งผี ปู่ ยา่ หรื อหอผีชาวล้ านนาถือว่า เมื่อปู่ ย่า ๗๓
ตา ยาย ตายไปวิญญาณจะวนเวียนมา รั กษาลูกหลาน ดังนัน้ ภายในบ้ านของ ชาวล้ านนา จึงจัดท�ำ”หิ ้งผีปยู่่ า” ไว้ ทกุ บ้ าน โดยจัดตังไว้ ้ ที่สงู นิยมจัดตังไว้ ้ บน หัวนอนของบ้ าน สูงจากพื ้นกระดานราว ๒ เมตร หิ ้งผีปยู่ า่ นี ้ถือว่าเป็ นของสูงเด็ก จะไปเล่ น ไม่ ไ ด้ ผู้ อาวุ โ ส หรื อ พ่ อ แม่ เท่ า นั น้ ที่ จ ะเกี่ ย วข้ องกั บ หิ ง้ ปู่ ย่ า ได้ นอกจากนี ช้ าวชนบทล้ านนาบางแห่ง เชือ่ ว่า ปู่ ยา่ ตายายทีต่ ายไปแล้ วหลายคน และ เป็ นญาติพ่ีน้องสายเลือดเดียวกัน น่าจะอยูร่ ่วมกันได้ จึงคิดสร้ าง “หอผี” ขึ ้น เพือ่ ให้ ผอี ยูร่ ่วมกัน ความส�ำคัญการเลี ้ยง ผี เป็ นสิ่งส�ำคัญที่ ผูกพันกับการด�ำเนิ น ชีวิตเป็ นอย่างยิ่ง โดยเชื่อว่าการเลี ้ยงผี จะท�ำให้ ครอบครัวอยู่อย่างเป็ นสุข ชาว เย้ า หรื อเย้ าจุ เกิดมา ๒,๗๐๐ กว่าปี ใน ๗๔
ช่วงนันเย้ ้ าเองก็มีเรื่ องราวเกิดขึ ้นในสมัย พระเจ้ าผิวเหมาฮ่องเต้ ๒,๗๗๐ ปี ก่อน ศตวรรษ สมัยนัน้ เวลาเป็ นเจ้ าเมืองจะ ต้ องมีการลบ มีการฆ่าประหารชีวิต คือ ว่ามีเรื่องราวเยอะ เพราะฉะนันจะต้ ้ องท�ำ พิธีให้ เค้ าได้ ขึ ้นสวรรค์ จะได้ ท�ำบุญล้ าง บาปไปด้ วย จึงเกิดชุดของเซียน ซึ่งจะ ต้ องถือศีลกินเจก่อนมาประกอบพิธี ถ้ า ไม่มีชดุ นี ้ติดต่อกับเทพเจ้ าต่าง ๆ ไม่ได้ ก่อนจะติดต่อได้ ไม่ใช่จะอยู่ ๆ จะมาได้ นะ เราต้ องท�ำหนังสือประทับตราเชิญ เป็ นองค์ ๆ มาที่วางไว้ ตรงนี ้ จะมีตรา ประทับและเอาเขาควายเป่ าขึ ้นสวรรค์ มีคถาที่จะบ่งบอกว่าอยู่จุดนี ้นะ ท�ำพิธี ใหญ่ตรงนีน้ ะ ดังนัน้ เย้ าจึงมีความเชื่อ และความศรั ทธาสิ่ ง นี เ้ ป็ นต้ นมา การท�ำบุญครัง้ นี ้เค้ าบอกว่าก่อนที่เราจะ
มีความสุขต้ องให้ บรรพบุรุษต้ องมีความ สุขก่อน แต่ถ้าตกนรกมาไม่ได้ จะมาได้ คือวันปล่อยผี หรื อวันเซ้ งเม้ ง วันเดียวที่ ปล่อยมาเยี่ ยมลูกหลานแล้ วก็ รีบกลับ เพราะคุกจะปิ ด ฉะนันหมอผี ้ จะต้ องท�ำ พิธีเพือ่ ทีจ่ ะอยูไ่ ด้ ขึ ้นสวรรค์ได้ พ่อแม่เค้ า นี ้ละเสียมาหลายปี ก็ท�ำพิธีมา ๑ ครัง้ ๒ ครัง้ ละ นี ้ก็ ๓ ครัง้ ละ พิธีต้องเอาหมอผี ๒ คน เราท�ำพิธีของเราประกอบขึ ้นมา พอตายไปปุบ เค้ าว่าร่างกายสกปรก ขึ ้น โต๊ ะกินข้ าวแบบมีศกั ดิ์ศรี ไม่ได้ กลิ่นตัว มนุ ษ ย์ เ หม็ น สาบ มี บ าปกรรมเยอะ ฉะนันเลยต้ ้ องท�ำพิธีศกั ดิ์สทิ ธิ์นี ้ ก่อนจะ ท�ำพิธีเราจะต้ องกินเจ ๓ วัน ห้ ามนอนกับ ลูกเมีย ท�ำเสร็ จแล้ วอีก ๓ วัน ถึงจะนอน กับลูกเมียได้ ให้ วิญญาณที่ตายไปแล้ ว ได้ ขึ ้นสวรรค์ ให้ อยูใ่ นที่ๆ ดี ถ้ าอยูใ่ นที่ไม่
ดี ไม่ส ามารถมาช่ ว ยลูก หลานได้ ลูก หลานจะเจ็บป่ วย ค้ าขายไม่ขึ ้น เพราะว่า บรรพบุรุษเราไม่มีแรงมาช่วย บรรพบุรุษ ตกนรกลูกหลานต้ องท�ำพิธีให้ เค้ าจนกว่า เค้ าจะมีแรงแล้ วกลับมาช่วยเรา พิธีกรรม การเลี ้ยงผี มี ๒ อย่างคือ เลี ้ยงผีปยู่ า ่ ท�ำ ใน “วันพญาวัน” (วันสงกรานต์) หรื อวัน ปี ใหม่ ตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน ของทุก ปี เลี ้ยงผีหอ นิยมท�ำกัน ระหว่างเดือนสี่ เดือนหก เดือนเจ็ด โดยมี ขัน้ ตอนการ เลี ้ยงผี ดังนี ้ ๑. ท�ำความสะอาดหิ ้ง และหอผี ๒. บอกกล่าวให้ พี่น้องทราบเรื่ องการ เลี ้ยงผี ๓. ร่วมกันจัดอาหารเครื่ องเซ่นสังเวยผี ๔. พิธีเลี ้ยงผี ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ ๔.๑ เลี ้ยงผีปยู่่ า เจ้ าของบ้ าน (อาวุโส) ๗๕
น� ำ สิ่ ง ของขึ น้ สัง เวยหิ ง้ แล้ ว กล่ า วค� ำ สังเวยผี ๔.๒ เลี ้ยงหอผี - เหล่าญาติชมุ นุมกัน ณ หอผี น�ำเครื่ อง ดนตรี พื ้นบ้ าน คือ ปี่ ขลุย่ สะล้ อ ซอ ซึง บรรเลง เพลงขับกล่อมและร้ องเพลงค่าว จ๊ อย ซอ ด้ วยกัน - ผู้อาวุโส หรื อ พ่ออาจารย์กล่าวค�ำเชิญ ผีปยู่่ า (บางแห่งเรี ยกว่าผู้กล่าวหา “เจ้ า ด้ าม” หรื อ “พ่อเจ้ าด้ าม”) - ทุกคนที่มาร่ วมงานจะเงียบสงบ คอย จ้ องมองหอผีรอคอยดูวา ่ เมือ่ ใดผีปยู่ า่ จะ มารับของสังเวย มีข้อสังเกตว่า ถ้ ามีผี ปู่ ย่า มารับเครื่ องเซ่นสังเวย ให้ ดเู ปลว เทียนทีเ่ คลือ่ นทีไ่ หวขึ ้นลง หรือแมลงทีไ่ ต่ ตอมเครื่ องเซ่นสังเวย พิธีเลีย้ งผีขุนน�ำ้ คือ การท�ำพิธีสงั เวยผี หรื อเทวดาอารักษ์ ผู้เป็ นหัวหน้ าของผี อารักษ์ ทงหลายที ั้ ่ท�ำหน้ าที่ ปกปั กรักษา ป่ าไม้ อนั เป็ นต้ นน� ้ำล�ำธาร เพื่อเป็ นการ ขอบคุณ เทวดาที่ บันดาลให้ มีน�ำ้ ใช้ ใน การเกษตรกรรม โดยเฉพาะในเขตลุม่ น� ้ำ ของล�ำน� ้ำนัน้ ๆ และยังเป็ นการขอให้ ผี ประจ�ำขุนน� ้ำบันดาลให้ ฝนตกและมีน� ้ำ จากขุนน� ้ำหรื อต้ นน� ้ำนันลงมาสู ้ ่พื ้นราบ ได้ ผี ขุ น น� ำ้ เป็ น อารั ก ษ์ ป ระจ� ำ ต้ น น� ำ้ แต่ละสาย ซึ่งสิงสถิตอยู่บนดอยสูงอัน เป็ นต้ นแม่น� ้ำทังหลาย ้ มักจะอยู่ตามใต้ ๗๖
ต้ นไม้ ใหญ่ ๆ เช่น ไม้ ไฮ (ไทร) ไม้ มะค่า หรือไม้ ยาง เป็ นต้ น ชาวบ้ านก็จะอัญเชิญ มาสถิตอยู่ในหอผีที่ปลูกขึน้ อย่างค่อน ข้ างถาวรใต้ ต้นไม้ เหล่านัน้ ผีขนุ น� ้ำที่อยู่ แม่น� ้ำใดก็จะได้ ชื่อตามแม่น� ้ำนัน้ เช่น ขุน ลาว เป็ นผีอยูต่ ้ นแม่น� ้ำ-ลาว เขตอ�ำเภอ เวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย ขุนวัง อยู่ ต้ นแม่น� ้ำวัง ในจังหวัดล�ำปาง ขุนออน อยู่ ต้ นแม่น� ้ำ แม่ออน เขตอ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นต้ น ความส�ำคัญ เพื่อแสดงความขอบคุณผีขนุ น� ้ำที่ปกปั ก รั กษาป่ าไม้ ที่เป็ นต้ นน�ำ้ ล�ำธาร ให้ ชาว บ้ านมี น�ำ้ เพื่ อใช้ ในการท� ำ การเกษตร เช่น ท�ำนา ท�ำไร่ และเป็ นการเตรี ยมตัว เพื่อรับฤดูการท�ำการเกษตร และร่วมมือ กันในการปฏิบตั ิตาม กฎเกณฑ์ของการ
“
พิธีเลี้ยงผีขุนน�้ำ
การท�ำพิธีสังเวยผีหรือเทวดาอารักษ์ ผู้เป็นหัวหน้าของผีอารักษ์ทั้งหลาย ที่ท�ำหน้าที่ ปกปักรักษาป่าไม้อันเป็นต้นน�้ำล�ำธาร เพื่อเป็นการขอบคุณเทวดาที่บันดาล ให้มีน�้ำใช้ในการเกษตรกรรม
“
ใช้ น� ำ้ ช่ ว ยกัน ขุด ลอกเหมื อ งฝาย จัด เตรี ยมอุปกรณ์ ในการท�ำการเกษตรให้ พร้ อม พิธีกรรม เมื่อถึงเดือน ๘ เดือน ๙ เหนื อ (ประมาณเดื อ นพฤษภาคมมิถุนายน) ชาวบ้ านจะจัดท�ำพิธีเลี ้ยงผี ขุนน� ้ำ กันเป็ นประจ�ำทุกปี โดยผู้ที่เป็ น หัว หน้ า ในพิ ธี คื อ แก่ ฝ าย หรื อ ผู้ดูแ ล เหมื อ งฝาย ซึ่ ง ท� ำ หน้ า ที่ ค วบคุม หรื อ จัดสรรการใช้ น� ้ำแก่เกษตรกรในเขตท้ อง ที่รับน� ้ำจากฝาย แก่ฝายจะเรี ยกประชุม ลูก ฝาย หรื อ เกษตรกรผู้ใ ช้ น� ำ้ เพื่ อ หา ฤกษ์ ยามที่เหมาะสม เมื่อถึงวันก�ำหนด สมาชิกก็จะได้ เตรี ยมเครื่ องสังเวยต่าง ๆ พากันไปยังหอผีขุนน�ำ้ ซึ่งเป็ นสถานที่ ประกอบพิ ธี เครื่ องสั ง เวยผี ขุ น น� ำ้ ประกอบด้ วยเทียน ๔ แท่ง ดอกไม้ ๔ กรวย พลู ๔ กรวย หมาก ๔ ขด หรื อ ๔
ท่อน ช่อ (ธงสามเหลีย่ มขนาดเล็ก) สีขาว ๘ มะพร้ าว ๒ ทะลาย กล้ วย ๒ หวี อ้ อย ๒ ท่อน หม้ อใหม่ ๑ ใบ แกงส้ มแกงหวาน อาหาร ๗ อย่าง หัวหมู เหล้ าไห ไก่คู่ (ไก่ ต้ ม ๑ คู่ เหล้ าขาว ๑ ขวด) ทังให้ ้ มีเมี่ยง บุหรี่ครบถ้ วน เมือ่ จัดหาเครื่องสังเวยครบ แล้ ว จึงสานชะลอมขึน้ ๓ ใบ ส�ำหรั บ บรรจุเครื่ องสังเวยเหล่านัน้ ให้ คนหาบ และคอนชะลอมไปยังบริ เวณพิธี หากที่ ท�ำพิธีนนไม่ ั ้ มี หอผี หรื อศาลเทพารักษ์ ชาวบ้ านจะสร้ างศาลชัว่ คราวขึ ้นใกล้ ๆ กับบริ เวณด้ านต้ นน� ้ำ พร้ อมทังจั ้ ดให้ มี หลักช้ าง หลักม้ า คือ หลักผูกช้ างหรื อม้ า ของเทพารักษ์ หรือผีขนุ น� ้ำนันไว้ ้ ด้วย เมือ่ เตรี ยมการพร้ อมแล้ ว แก่ ฝ ายหรื อ อาจารย์ผ้ ปู ระกอบพิธีจะท�ำพิธีอญ ั เชิญ เทวดาอารักษ์ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทงหลาย ั้ ๗๗
ที่ ป ระจ� ำ รั ก ษาขุ น น� ำ้ ให้ มารั บ เครื่ อ ง สัง เวย พร้ อมทัง้ ใช้ ถ้ อ ยค� ำ เป็ น โวหาร อ้ อนวอนขอให้ มีน� ้ำอุดมสมบูรณ์ และมี ฝนตกต้ อ งตามฤดูก าล เมื่ อ ประกอบ อาหารเสร็ จแล้ ว ปู่ จารย์ หรื ออาจารย์ผ้ ู ประกอบพิธีก็จะน�ำชิ ้นลาบแกงอ่อมและ เหล้ าขาว ทังขวด ้ ข้ าวตอกดอกไม้ ธูป เทียน และกระทง หรื อ สะตวง ที่มีเครื่ อง เซ่น อยู่ภ ายในไปท� ำ พิ ธี บ วงสรวงหรื อ เลี ้ยงผีขณะทีย่ กไปเลี ้ยงบนหอผี อาจารย์ ก็จะกล่าวค�ำอัญเชิญผีมากินโภชนาหาร ที่ชาวบ้ านน�ำมาเลี ้ยง เมื่อกล่าวค�ำเสร็ จ แล้ ว อาจารย์ ก็ จ ะน� ำ ข้ า วปลาอาหาร เหล่า นัน้ ยกขึน้ วางไว้ บ นหอผี และทิ ง้ ๗๘
ระยะให้ เ วลาผ่ า นไปชั่ว ธู ป หมดดอก ขณะที่รอผีรับเครื่ องสังเวยนัน้ ชาวบ้ าน ซึ่ง อยู่ใ นบริ เ วณพิ ธี ก็ จ ะพากัน กิ น ข้ า ว ปลาอาหาร จนกว่าจะบ่ายได้ เวลาอัน สมควรก็จะชวนกันกลับ เป็ นอันเสร็ จพิธี การบวช (โต่ วโซและกว๋ าตัง) พิธีบวช (กว๋ า ตัง ) ค� ำ ว่ า “กว๋ า ตัง ” ในภาษา เมี่ยนมีความหมายว่าแขวนตะเกียง ซึง่ เป็ นการท�ำบุญเพื่อให้ เกิดความสว่างขึ ้น และเมี่ยนเองก็จะถือว่าผู้ที่ผา่ นพิธีนี ้แล้ ว จะมีตะเกียง ๓ ดวง พิธีนี ้ได้ รับอิทธิพล มาจากลัทธิเต๋า เป็ นพิธีทที่ ำ� เฉพาะผู้ชาย เท่านัน้ ถือเป็ นการสร้ างบุญบารมีให้ กบั
“
การบวช (โต่วโซและกว๋าตัง)
“
เป็นพิธีที่ท�ำเฉพาะผู้ชายเท่านั้น ถือเป็นการสร้างบุญบารมี ให้กับตนเอง ท�ำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษ และเป็นผู้สืบสกุล
ตนเอง ท�ำบุญอุทศิ ให้ บรรพบุรุษ และเป็ น ผู้สืบสกุล ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชดั ว่า พิธีกรรมนี ้มีประวัติความเป็ นมาอย่างไร มีเพียงแต่คำ� บอกเล่าจากการสันนิษฐาน ของผู้อาวุโสว่า พิธีกว๋าตัง นีม้ ีมานาน มากแล้ ว คงจะเป็ น “ฟ่ ามชิงฮู่ง” เป็ นผู้ บั ญ ญั ติ ใ ห้ ชาวเมี่ ย นท� ำ พิ ธี นี ้ เมื่ อ ประมาณ ๒๓๖๑ ปี มาแล้ ว เพราะ ฟ่ ามชิงฮูง่ เป็ นผู้สร้ างโลกวิญญาณและ โลกของคน ฟ่ ามชิงฮู่ง จึงบอกให้ ท�ำพิธี กว๋าตัง เพื่อช่วยเหลือคนดีที่ตายไปให้ ได้ ขึ ้นสวรรค์ หรื อไปอยู่กบั บรรพบุรุษของ ตนเอง จะได้ ไม่ตกลงไปในนรกที่ ยาก ล�ำบาก พิธีนีเ้ ป็ นพิธีบวชพิธีแรกซึ่งจะ ท�ำให้ กบั ผู้ชายเมีย่ น โดยไม่จำ� กัดอายุ ใน ประเพณีของเมี่ยน โดยเฉพาะผู้ชายถ้ า จะเป็ นคนที่สมบูรณ์จะต้ องผ่านพิธีบวช ก่ อ น พิ ธี ก ว๋ า ตั ง หมายถึ ง พิ ธี แ ขวน ตะเกี ย ง ๓ ดวง เป็ น พิ ธี ท่ี ส� ำ คัญ มาก เพราะถือว่าเป็ นการสืบทอดตระกูล และ
เป็ นการท�ำบุญให้ บรรพบุรุษด้ วย ในการ ประกอบพิธีกว๋าตังนี ้จะต้ องน�ำภาพเทพ พระเจ้ าทัง้ หมดมาแขวน เพื่อเป็ นสักขี พยานว่าบุคคลเหล่านี ้ว่าได้ ท�ำบุญแล้ ว และจะได้ ขึ ้นสวรรค์เมื่อเสียชีวิตไป จุด ส�ำคัญของพิธีนี ้คือ การถ่ายทอดอ�ำนาจ บุ ญ บารมี ข องอาจารย์ ผ้ ู ประกอบ พิธีกรรม ซึ่งในขณะท�ำพิธีนีจ้ ะมีฐานะ เป็ นอาจารย์ (ไซเตีย๋ ) ของผู้เข้ าร่วมพิธีอกี ฐานะหนึง่ และผู้ผา่ นพิธีนี ้จะต้ องเรี ยกผู้ ที่ถ่ายทอดบุญบารมีนี ้ว่า อาจารย์ตลอด ไป ผู้เป็ นอาจารย์ ไม่จ�ำเป็ นต้ องเป็ นผู้ ประกอบพิธีกรรมเสมอไป แต่ต้องผ่าน การท�ำพิธีกว๋าตัง หรื อพิธีบวชขันสู ้ งสุด ” โต่วไซ” ก่อน เมือ่ ผ่านพิธีนี ้แล้ วจะท�ำให้ เขาเป็ นผู้ชายที่สมบูรณ์ เขาจะได้ รับชื่อ ใหม่ ชื่ อ นี จ้ ะปรากฏรวมอยู่ ร วมกั บ ท�ำเนียบวิญาณของบรรพบุรุษของเขา ซึง่ เป็ นการสืบต่อตระกูลมิให้ หมดไป เมือ่ เขาเสี ย ชี วิ ต เขาสามารถไปอยู่ กั บ ๗๙
“
ฝะบั๋ว
หมายถึงความมีชีวิต การโอบอุ้มให้มั่นคง และ การเจริญเติบโต
“
บรรพบุรุษที่ (ย่าง เจียว ต่ง) และอาจจะ หลงไปอยูใ่ นที่ตำ�่ ซึง่ เป็ นที่ที่ไม่ดหี รื อนรก ก็ได้ พอเวลาลูกหลานท�ำบุญส่งไปให้ ก็ จะไม่ได้ รับ เพราะไม่มีชื่อ นอกจากนี ้ผู้ ผ่านพิธี (กว๋า ตัง)ยังจะได้ รับต�ำแหน่ง ศักดินาชันต� ้ ำ่ สุดของโลกวิญญาณ จะได้ รับบริ วารทหารองครักษ์ ๓๖ องค์ และ ท�ำให้ ภรรยามีเพิม่ เป็ น ๒๔ องค์ ดังนัน้ ผู้ ชายเมี่ยนทุกคนต้ องท�ำพิธี (กว๋า ตัง) จะ ใช้ เวลาในการท�ำพิธี ๓ วันเป็ นพิธีถวาย ตัวแก่เทพเจ้ าเต๋า เพื่อวิญาณจะไปอยู่ ร่วมกับบรรพชนและมีเทพ (ฮู่ง อิน) มา ดูแลปกปั กรักษาเมื่อสิ ้นชีวิตลง และจะ ท�ำให้ เขาเป็ นผู้ใหญ่เต็มตัว มีศกั ดิ์และ สิทธิที่จะเข้ าร่วมพิธีตา่ ง ๆ ของเผ่าได้ ทกุ พิธี ช่วงที่ท�ำพิธีนี ้ผู้เข้ าร่ วมจะต้ องกินเจ และถือพรหมจรรย์ ตามประเพณีแล้ วผู้ ชายเมี่ยนทุกคนจะต้ องเข้ าพิธี (กว๋า ตัง) ซึง่ จะไม่จ�ำกัดอายุ จะน้ อยหรื อมากก็ได้ และจะมีชีวิตหรื อไม่มีก็ได้ การผ่านพิธี (กว๋ า ตัง ) ยัง สามารถท� ำ ให้ ป ระกอบ พิธีกรรมหลายอย่างได้ ด้วยตนเอง รวม ทังการท� ้ ำกิจกรรมงานอื่น ๆ ก็จะได้ รับ การเชื่อถื อ ส�ำหรั บชายที่แต่งงานแล้ ว เวลาท�ำพิธีบวช ภรรยาจะเข้ าร่วมพิธีด้วย โดยจะอยูด่ ้ านหลังของสามี และการท�ำ พิธีสามารถท�ำได้ พร้ อม ๆ กันหลาย ๆ คน ก็ ได้ แต่คนที่ ท�ำนัน้ จะต้ องเป็ นญาติพี่ ๘๐
น้ องกัน หรื อนับถื อบรรพบุรุษเดียวกัน เมี่ยนเรี ยกว่า(จ่วง เมี ้ยน) หลังจากผ่าน พิธีนี ้แล้ ว ผู้ท�ำพิธีจะได้ รับชื่อผู้ใหญ่ และ ชื่อที่ใช้ เวลาท�ำพิธีด้วยเรี ยกว่า (ฝะ บัว๋ ) ยังหมายถึงความมีชีวิต การโอบอุ้มให้ มัน่ คง และการเจริ ญเติบโตด้ วย เชื่อกัน ว่า ผู้ที่เกิดในเดือนมกราคม พฤษภาคม กันยายน เป็ นผู้ทเี่ กิดในธาตุดนิ ดังนัน้ จะ มีลกั ษณะเป็ นคนหนักแน่น มัน่ คง ส่วน ด้ านน� ้ำ สือ่ ถึงสิง่ ที่จ�ำเป็ นต่อชีวติ แต่เต็ม ไปด้ วยการเปลีย่ นแปลง ผู้ที่เกิดในเดือน มีนาคม กรกฎาคม และพฤศจิกายนเป็ น คนธาตุน� ้ำ ซึง่ จะดูเป็ นคนลักษณะอ่อน หวาน ช่างฝั น อารมณ์ อ่อนไหว เทพน จอร์ ด เทพแห่งทะเลและลม ด้ านลม เป็ น สัญ ลัก ษณ์ ข องการเคลื่ อ นไหว การ สือ่ สาร อันน�ำมาซึง่ ความรู้ ผู้ทเี่ กิดในช่วง เดือนกุมภาพันธ์ มิถนุ ายน และตุลาคม เป็ นคนธาตุลม เป็ นคนบอบบาง อารมณ์
พลิกผันง่ายสุดท้ ายคือ ด้ านไฟ เป็ นทังผู ้ ้ สร้ าง และผู้ ท� ำ ลาย ผู้ ที่ เ กิ ด ในเดื อ น เมษายน สิงหาคม และธันวาคมเป็ นคน ธาตุไฟ มักจะเป็ นผู้ที่มีพลังในตัวอย่าง เห็นได้ ชดั มีความมุง่ มัน่ และมัน่ ใจในตัว เองสูง แต่ก็ ดัง ได้ ก ล่า วแล้ ว ว่า ธาตุนี ้ สามารถเป็ นได้ ทั ง้ ผู้ สร้ างสรรค์ แ ละ ท�ำลายล้ าง การจะใช้ คนประเภทนี จ้ ึง ต้ องใช้ ให้ เป็ นจึงจะเกิดประโยชน์สงู สุด ถึงวันนี ก้ ็ ยังมี ผ้ ูเชื่ อว่า คนเราทัง้ โลกนี ้ เป็ น ธาตุใ ดธาตุห นึ่ ง ใน ๔ ธาตุ และ แนวคิ ด นี เ้ องก็ ก่ อ ก� ำ เนิ ด ให้ เ ป็ น นิ ย าย และภาพยนตร์ หลายเรื่ อง ซึ่งในความ เห็ น ของผู้ เขี ย น หากจะพู ด ถึ ง ความ ส�ำคัญของดิน น� ำ้ ลม ไฟแล้ ว ผู้ที่จะ
สื่อสารได้ ดีที่สดุ ในยุคปั จจุบนั นี ้ น่าจะ เป็ นผู้ที่มีความเชื่อแบบเอเชีย เพราะใน ยุโรป หรื ออเมริ กา ได้ ละเลยเรื่ องพวกนี ้ กันไปนานแล้ ว ดังนัน้ เมื่ อภาพยนตร์ แอ็กชั่นแฟนตาซีเรื่ อง The Last Airbender มหาศึก ๔ ธาตุจอมราชัน ที่ กล่าวถึงการต่อสู้กบั ไฟ โดยการร่ วมมือ ของ ลม ดิน และน� ้ำ ผ่านฝี มือของเอ็ม ไนท์ ชายามาลาน ผู้ ก� ำ กั บ เชื อ้ สาย อินเดีย จึงท�ำให้ เชื่อว่า น่าจะสื่อถึงได้ อย่างเต็มที่ ทังในแง่ ้ ของสัญลักษณ์ และ ความสมดุล ที่โลกเรา มิอาจขาดธาตุทงั ้ ๔ นี ้ได้ เลย (อิว่ เมีย่ นยังมี การเต้ นร�ำเหละ ติ ้วในพิธีแต่งงาน และเพลงเมีย่ น (กลอน สด) นิทานเมีย่ น ในการรักษาโรคต่าง ๆ ๘๑
๘๐
ชาติพนั ธุล์ าวเวียง ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชน นายสมจิตร อืน่ ค�ำ ก�ำนันต�ำบลฝายกวาง บ้านเลขที่ ๑ หมู่ ๑ ต�ำบล ฝายกวาง อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา
การตังชุ ้ มชนกลุม่ วัฒนธรรมไทย-ลาวใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปรากฏชัดใน พุทธศตวรรษที่ ๑๙ ซึง่ ร่ วมสมัยกับกรุ ง สุโขทัย เพราะมีการกล่าวถึง ชุมชนลุ่ม แม่น� ้ำโขงตอนเหนือ ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ การขยายวัฒนธรรมไทย-ลาว เข้ าสูด่ นิ แดนแอ่งโคราช ในพงศาวดารหัวเมือง มณฑลอีสานกล่าวว่า พื ้นที่เขตมณฑล ลาว เมื่อปี พ.ศ.๒๑๘๑ เป็ นท�ำเลป่ าดง
เป็ นที่อาศัยของคนเชือ้ สายมาแต่ขอม ต่อมาเรี ยกกันว่า พวกข่า ส่วย กวย โดย เฉพาะบริ เวณเมื อ งจ� ำปาศักดิ์นัน้ เป็ น ชุมชนค่อนข้ างใหญ่ เป็ นเอกราชก่อน กลุม่ ไทยลาว เคลือ่ นย้ ายเข้ าไป เขตแดน เมืองจ�ำปาศักดิ์ทิศเหนือตังแต่ ้ ยางสาม ต้ น อันสามขวย หลักทอดยอดยาว ทิศ ตะวันออกติดเขาบรรทัดต่อแดนญวน ทิศใต้ ไม่ปรากฏ ทิศตะวันตกต่อเขตแขวง ๘๓
เมืองพิมายฟากล�ำน� ้ำยุง ลาวเวียง เข้ าใจ กันว่าเป็ นชาวนครเวียงจันทร์ และเมือง ใกล้ เคียงที่อพยพเข้ ามาสูส่ ยาม ทังโดย ้ หนีภยั สงครามหนีภยั ธรรมชาติ และถูก กวาดต้ อนมาเป็ นเชลยสงครามต่างวาระ กัน ตังแต่ ้ สมัยอยุธยาตอนปลาย คนลาว เวี ย ง แต่ ง กายคล้ ายคนลาวลุ่ ม ใน ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว ส�ำเนียงพูดก็คล้ ายกัน น� ้ำ เสียงห้ วนและสันกว่ ้ าคนลาวคัง่ ถูกจัดให้ อยู่ในพื น้ ที่ อ�ำเภอบ้ านโป่ งและอ� ำเภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี, อ�ำเภออู่ทอง อ�ำเภอด่านช้ าง จังหวัดสุพรรณบุรี แล้ ว อพยพลงใต้ ไ ปยัง อ� ำ เภอเขาย้ อ ยและ ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี อพยพขึ ้นเหนือ ไปอยูจ่ งั หวัดอุทยั ธานี โดยเฉพาะอ�ำเภอ บ้ านไร่ และไปอยู่ที่กิ่งอ�ำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท จากนันก็ ้ ได้ กระจายไปยัง จังหวัดนครสวรรค์ ปะปนกับลาวคัง่ ใน อ� ำ เภอบรรพตพิ สัย อ� ำ เภอลาดยาว อ� ำ เภอท่ า ตะโก และอ� ำ เภอไพศาลี จัง หวัด พิ จิ ต รที่ อ� ำ เภอสามง่ า ม และ จัง หวัด ก� ำ แพงเพชรที่ อ� ำ เภอขาณุ ว ร ลักษณ์บรุ ี อ�ำเภอคลองขลุงและอ�ำเภอ ไทรงาม การอพยพกระจายตัวไปในถิ่น ต่าง ๆ ท�ำให้ กลุ่มชาติพนั ธุ์นี ้ขาดความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกั น จนถู ก กลื น โดย ประเพณี วิถีชีวิต และวัฒนธรรมที่เข้ ม ๘๔
แข็งกว่าในท้ องถิ่นที่อพยพเข้ าไป จนคน ลาวเวี ย งบางส่ว นไม่ ส ามารถสื บ สาน ประเพณี วัฒนธรรมและวิถีชวี ติ แบบลาว เวียงของตนได้ อย่างต่อเนื่อง (สมจิตร ศรี เดช.พงศ์ ศัก ดิ์ เฉื่ อ ยทิ ม .สัม ภาษณ์ . , ๒๕๕๕) ชาวลาวเวียงเนินขาม มีเชื ้อสาย มาจากหลวงพระบาง นครเวียงจันทร์ ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว เมื่อครัง้ รัชกาลที่ ๓ เกิด สงคราม ประชาชนลาวถูกกวาดต้ อนมา ในประเทศไทย และอพยพมาอยูบ่ ้ านโค่ง บ้ านขาม อ�ำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาอพยพมาอยู่ที่บ้านหนองแห้ ว ตัง้ ถิ่นฐานได้ ไม่นาน เกิดไฟไหม้ วดั จึงย้ าย มาตังที ้ ่ใหม่ใกล้ เคียงกัน เป็ นที่สงู น� ้ำไม่
ท่วม จะมีต้นมะขามใหญ่ จึงตัง้ ชื่อว่า บ้ านเนินขาม นับแต่นนมา ลาวเวี ั้ ยงเนิน ขามประกอบอาชีพท�ำนา ท�ำไร่ เป็ นหลัก ยามว่างจากการท�ำนา ชาวลาวเวียงมี งานเสริมเช่นเดียวกับกลุม่ ชาติพนั ธุ์อนื่ ๆ คือ จักสานเครื่ องใช้ ท�ำอุปกรณ์ ทอผ้ า เช่น กี่ ไน เป็ นต้ น ซึง่ เป็ นหน้ าทีข่ องผู้ชาย และทอผ้ าเป็ นหน้ าที่ของฝ่ ายหญิ ง(สม จิตร ศรี เดช.สัมภาษณ์.พงศ์ศกั ดิ์ เฉื่อย ทิม.สัมภาษณ์, ๒๕๕๕) แจ่มชัดอย่างน่า อัศจรรย์ใจ ความเชื่อของชาวลาวเวียง ประเพณี ของลาวเวียงนัน้ มีความเชื่อ เกี่ยวกับการท�ำมาหากิน ที่เกี่ยวข้ องกับ การท�ำนา โดยมี พิธขี อพืน้ ที่ทำ� กินจาก ผีบรรพบุรุษหรื อผีปยู่่ าตายาย มักท�ำ ในช่วงเดือน ๓ ชาวลาวเวียง เชื่อว่าพื ้น ดินท�ำกินทุกแห่งในหมูบ่ ้ านเป็ นทีส่ งิ สถิต ของผีบรรพบุรุษ และเป็ นเจ้ าของแผ่นดิน ที่สามารถให้ คุณให้ โทษได้ ดังนัน้ ชาว บ้ า น จ ะ ต้ อ ง ท� ำ ก า ร บ อ ก ก ล่ า ว ผี บรรพบุ รุ ษ ให้ ทราบถึ ง การเข้ าไปใช้ ประโยชน์ จ ากที่ น า พิ ธี ท� ำ ขวั ญ แม่ โพสพ ในช่วงเดือน ๑๑ หัวหน้ าครัวเรือน เป็ นผู้ท�ำพิธีในเวลาเย็น น�ำเครื่ องบูชา ประกอบด้ วย เฉลว ธงสามสี แป้ง น� ้ำมัน หอม หวี กระจก ผ้ าถุง ผ้ าเบี่ยง ข้ าวปลา
กล้ วย อ้ อย ถัว่ งา และผลไม้ รสเปรี ย้ ว เครื่ องบูชาประดับธงสามสี และเฉลวที่ ยอดเสาน�ำไปปั กไว้ ที่หวั คันนา แปลงที่ ปลูกข้ าว บอกกล่าวแม่โพสพโดย ขอให้ ข้ าวเจริญงอกงาม ออกรวงใหญ่รวงงาม, พิธีปลงข้ าว ก่อนการนวดข้ าว ชาวลาว เวียงจะท�ำพิธีปลงข้ าว หรื อท�ำขวัญข้ าว ก่อน โดยเตรี ยมเครื่ องท�ำขวัญ ประกอบ ด้ วย ไข่ไก่ต้ม ๑ ใบ เผือกหรื อมันต้ ม ๑ หัว หมากพลู ๒ ค�ำ ใบคูน ใบยอ อย่าง ละ ๔ คู่ ยาสูบ ๒ มวน และเฉลว ๑ อัน น�ำเครื่องบูชาใส่กระติบข้ าว น�ำไปวางบน ลานนวดใกล้ ๆ กับลอมข้ าว แล้ วอัญเชิญ ผีตาแฮกและแม่โพสพให้ เข้ าสู่พิธี และ เป็ นการบอกกล่าวให้ ทราบว่าถึงเวลา ๘๕
“
“
พิธีขอพื้นที่ท�ำกินจาก บรรพบุรุษหรือผีปู่ย่าตายาย
ชาวลาวเวียง เชื่อว่าพื้นดินท�ำกินทุกแห่งในหมู่บ้าน เป็นที่สิงสถิตของผีบรรพบุรุษ และเจ้าของแผ่นดินสามารถให้คุณให้โทษได้
ท�ำการนวดข้ าวแล้ วท�ำบุญคูนลานข้ าว ก่อนจะเก็บเมล็ดข้ าวเปลือกเข้ ายุ้ง ชาว ลาวเวียงจะท�ำพิธีบญ ุ คูนลานก่อน โดย เลือกฤกษ์ งามยามดี นิมนต์พระมาเจริญ พระพุทธมนต์ ถวายภัตตาหาร และร่วม รับประทานอาหาร ช่วงบ่ายหัวหน้ าครัว เรื อนกล่าวอัญเชิญแม่โพสพที่อยูใ่ นลาน นวดข้ าวเข้ าไปอยู่ในยุ้งฉาง เพื่อแสดง ความเคารพบูชาก่อนเทข้ าวเข้ ายุ้ง ให้ น�ำ ใบคูนหรื อใบยอมาเหน็ บไว้ ที่ฝายุ้งทัง้ ด้ านนอกและด้ านใน พร้ อมจัดขัน ๕ มา บูชาแม่โพสพที่อญ ั เชิญมาจากลานนวด ข้ าวให้ มาอาศัย อยู่ เ พื่ อ ความเป็ น สิ ริ มงคลภายในยุ้งข้ าว ชาวลาวเวียงเชื่อว่า ในคูนจะช่วยค� ้ำจุนให้ เกิดความดี ท�ำให้ สิง่ ต่าง ๆ เป็ นอย่างที่เป็ นอยูห่ รื อเพิ่มขึ ้น มากกว่าเดิม ส่วนใบยอหมายถึงการยก สิง่ ต่าง ๆ ให้ ดีขึ ้นสูงขึ ้น ท�ำให้ ได้ เพิ่มขึ ้น ความหมายโดยนัยคือให้ ผลผลิตเพิม่ ขึ ้น มาก ๆ อย่างที่ได้ ในปี นี ้ ประเพณีบุญ ๘๖
ข้ าวหลาม ในวันขึ ้น ๑๔ ค�ำ่ เดือน ๓ ชาว ลาวเวี ย งจะตระเตรี ย มอาหารพิ เ ศษ ถวายพระ ๒ อย่าง คือ ขนมจีนและน� ้ำยา ป่ า หรื อน� ้ำยาปลาร้ าไม่ใส่กะทิ และใน ตอนเย็นชาวบ้ านร่วมกันท�ำข้ าวหลาม รุ่ง เช้ าวันขึ ้น ๑๕ ค�่ำ ปอกเปลือกข้ าวหลาม น�ำใส่กระจาดหนึง่ ขนมจีน น� ้ำยาป่ า และ ข้ าวใส่ ก ระจาดหนึ่ ง หาบไปถวาย ภัตตาหารเช้ าที่วดั , บุญเดือนสิบ ชาว ลาวเวียงกวนขนมกระยาสารทแล้ วห่อ ใบตองไว้ หลาย ๆ ห่อ จัดใส่กลางกระจาด ล้ อมรอบด้ วยขนมบ้ าบิ่น ขนมหม้ อแกง ขนมเปี ยกปูน ขนมต้ มและขนมอื่น ๆ น�ำ ใบตองปิ ดทับด้ านบน หลังจากนันน� ้ ำข้ าว สุก กับข้ าว ขนมจีน และอาหารคาวอื่น ๆ จัดใส่หอ่ ไปไว้ ในกระจาดเป็ นชันที ้ ่สอง น� ำ ใบตองปิ ดเอาไม้ ปัก ทับ แล้ วจึง จัด พวกของแห้ ง เช่น ข้ าวสาร เกลือ กะปิ ห่อ เป็ นห่อ ๆ เช่นเดียวกันใส่ลงกระจาดเป็ น ชันที ้ ่ ๓ เอาใบตองปิ ดทับด้ านบน เอาไม้
ปั กทับอีกชันหนึ ้ ง่ ดังนัน้ เหมือนมีของ ๓ ชันซ้ ้ อนกันอยู่ในกระจาด ส่วนอาหารที่ จะใส่บาตร จัดใส่ภาชนะถึงเวลาเพลจึง พากันหาบไปที่วดั น�ำของต่าง ๆ ไปวาง เรี ยงกันแล้ วให้ พระสวด เจ้ าอาวาสจะท�ำ “เซ่น” ผี เสร็จงานน�ำกระยาสารทไปแจก กินกันในหมู่บ้าน, พิธีเลี ้ยงผีบรรพบุรุษ ท�ำในช่วงเดือน ๖ ย่างเข้ าฤดูฝน ก่อนการ ปลูกข้ าวไร่ เจ้ าของนาจะต้ องท�ำพิธีเลี ้ยง ผีบรรพบุรุษ โดยจัดเตรี ยมหมาก ๔ ค�ำ พลู ๔ ใบ และขัน ๕ (ดอกไม้ ธูปเทียน อย่า งละ ๕ ดอก ๕ เล่ม ) พร้ อมด้ ว ย ข้ าวสารห่อในกระทงใบตอง น�ำไปวางไว้ ในตูบหรื อร้ านไม้ ไผ่เล็ก ๆ ในบริ เวณหัว ไร่ เพื่อบอกกล่าวผีบรรพบุรุษให้ ทราบ พิธเี อาฝุ่ นเข้ านา เป็ นพิธีการเริ่มต้ นจอง
การปลูกข้ าวในวันขึ ้น ๓ ค�ำ่ เดือน ๓ ชาว บ้ านเชื่อว่าถ้ าเอาปุ๋ ย เอาฝุ่ นมาใส่นาใน ช่วงนี ้จะท�ำให้ ได้ ผลผลิตงอกงาม ได้ ข้าว เพิ่มมาก หัวหน้ าครอบครัวจะน�ำเอาปูน หรื อปุ๋ ยคอกประมาณ ๑ ตะกร้ ามาเทใส่ ในแปลงแฮก โดยเชื่อว่าผีตาแฮกสิงสถิต อยู่ เพื่อบอกกล่าวผี และขอให้ ต้นข้ าว เจริ ญงอกงามดี พิธีแฮกนา ชาวลาว เวียงท�ำพิธีนี ้ในครอบครัว ช่วงเดือน ๖ ข้ างขึ ้นหรือข้ างแรม ๑ ค�ำ่ ๓ ค�ำ่ ๖ ค�ำ่ ๑๑ ค�่ำ ๑๒ ค�่ำ และ ๑๓ ค�่ำ วันใดวันหนึ่ง ด้ วยเชื่อว่าการไถนาครัง้ แรกในฤดูกาล เริ่ มท�ำนาของปี จะเป็ นการได้ เอาฤกษ์ ก่อนไถนาหว่านกล้ า และปั กด�ำ หัวหน้ า ครัวเรือนจะน�ำเครื่องบูชาหมากพลู ๒ ค�ำ ยาสูบ ๒ มวน และขัน ๕ มอบให้ ตาแฮก ๘๗
“
พิธีเอาฝุ่นเข้านา
เป็นพิธีการเริ่มต้นจองการปลูก ข้าวในวันขึ้น ๓ ค�่ำ เดือน ๓ ชาวบ้านเชื่อว่าถ้าเอาปุ๋ย เอาฝุ่น มาใส่นาในช่วงนี้จะท�ำให้ได้ ผลผลิตงอกงามได้ข้าวเพิ่มมาก
“
ซึง่ เป็ นพระภูมเิ จ้ าทีป่ ระจ�ำไร่นาคอยดูแล รั ก ษาผื น นา หลัง จากนัน้ จะไถนาใน ทิศทางตามเกล็ดพญานาคที่ประจ�ำอยู่ ในเดือน ๖ เพื่อเป็ นเคล็ดให้ เกิดความ อุดมสมบูรณ์ ฝนตกต้ องตามฤดูกาล พิธี แฮกด�ำ ก่อนการถอนกล้ าจากแปลงนา ไปปั กด�ำนัน้ ชาวลาวเวียงจะต้ องท�ำพิธี “แฮกด�ำ” ซึ่งเป็ นการปั กด�ำครั ง้ แรกใน เดือน ๗ ซึง่ จะถือฤกษ์ วนั พฤหัสบดีหรื อ วัน ศุก ร์ เพราะเชื่ อ ว่ า จะให้ ผ ลผลิ ต ดี หัวหน้ าครอบครัวท�ำพิธีแฮกด�ำที่แปลง แฮก โดยน�ำเครื่องบูชาแฮก ประกอบด้ วย ต้ นกล้ า ๑ มัด หมากพลู ๒ ค�ำ ยาสูบ ๒ มวน และขัน ๕ มาถวายให้ แก่ตาแฮก เริ่ มโดยน� ำต้ นกล้ ามาปั กด�ำบนพื น้ ที่ ที่ เตรี ยมไว้ จากนันน� ้ ำต้ นกล้ าที่เหลือจาก พิธีด�ำไปรวมกับต้ นกล้ าในแปลงตกกล้ า ๘๘
เพื่อให้ เกิดความเป็ นสิริมงคลแก่ผืนนา ทัว่ ไป นอกจากนี ้ยังมีการท�ำเฉลวหรือตะ เหลวไปปั กในแปลงนาเป็ นการปั ด รังควานสิง่ ชัว่ ร้ ายทีท่ ำ� ให้ ต้นข้ าวไม่เจริญ งอกงามพิธีส่ ูขวัญควายเมื่อปั กด�ำนา เสร็ จแล้ ว ในเดือน ๘ จะมีการท�ำพิธีสู่ ขวัญควาย เพื่อขอขมาและร� ำลึกถึงบุญ คุณ ของควายโดยผู้ท� ำ พิ ธี จ ะน� ำ จะน� ำ ควายไปช�ำระล้ างตัวให้ สะอาดในช่วงเช้ า และเตรี ยมเครื่ องสูข่ วัญ คือ บายศรี ข้ าว สุก ไข่ต้ม กล้ วย ด้ ายขาว ๓๒ เส้ น หญ้ า อ่ อ นหรื อ ต้ น กล้ า ข้ าว ๑-๒ มัด แล้ ว ท�ำการสู่ขวัญควาย หลังจากนัน้ จะน�ำ ด้ ายขาวผูกปลายเขาควายทัง้ สอง น�ำ หญ้ าอ่อนหรือต้ นกล้ ามาให้ ควายกิน เป็ น อันเสร็จพิธสี ขู่ วัญควาย หลังจากนันท� ้ ำพิธี เลีย้ งตาแฮกอี กครั ง้ ก่ อนเวลาเที่ ยงวัน
(สุรชัย ทาเอื ้อ,สมจิตร ศรีเดช,อดิศกั ดิ์ แก้ ว สุข.พงศ์ศกั ดิ์ เฉือยทิม.สัมภาษณ์.๒๕๕๕) ชาวลาวเวียงยังคงมีการธ�ำรงอัตลักษณ์ ทางสังคมวัฒนธรรมของตนเองไว้ อย่าง เข้ มแข็ ง โดยมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นราย ละเอี ย ดของวิ ถี ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต และ ประยุก ต์ วัฒ นธรรมบางอย่ า งเพื่ อ ให้ เหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ ยุ ค สมัย ความเชื่อและประเพณี ความเชื่อเป็ นสิง่ ที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อพฤติกรรมของ มนุษย์ โดยเฉพาะความเชื่อในรู ปของ ศาสนาและอ�ำนาจเร้ นลับเหนือธรรมชาติ หรื อภูตผี วิญญาณต่าง ๆ (Animism) เป็ นระบบความเชือ่ พื ้นฐานทีม่ มี านานใน สังคมทุกแห่ง และยังถือเป็ นระบบทีใ่ ช้ ใน การรักษากฎเกณฑ์ระเบียบสังคมด้ วย วัฒนธรรมดังเดิ ้ มของกลุ่มคนในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ นนมี ั ้ ความเชื่อในเรื่ อง การนับถื อผีอยู่ก่อนที่วัฒนธรรมความ เชื่อทางศาสนาแบบพราหมณ์และพุทธ จะเข้ ามีอิทธิพล ต่อผู้คนในดินแดนแถบนี ้ และหลัง จากการเข้ ามาของศาสนา พราหมณ์และพุทธแล้ ว การนับถือผียงั มี สืบต่อมาจนถึงทุกวันนี ้จากความเชื่อดัง กล่าวท�ำให้ ผ้ ูคนในสังคมได้ มีประเพณี พิธีกรรมทีเ่ ป็ นสัญลักษณ์สอื่ ถึงความเชือ่ แ ล ะ ถื อ ป ฏิ บั ติ สื บ ท อ ด ต่ อ กั น ม า
ความเชื่อและแนวทางปฏิบตั ิในวิถีการ ด�ำเนินชีวิตไม่ได้ แยกอย่างชัดเจนว่าพิธี ใดเป็ น ผี พราหมณ์หรื อพุทธ ประเพณี และพิธีกรรมทีเ่ กิดขึ ้นล้ วนมีวตั ถุประสงค์ หรือเป้าหมายส�ำคัญก็คอื เป็ นการปฏิบตั ิ เพื่อให้ สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างปกติมีความสุข ชาวลาวเวียง เป็ น กลุม่ ชาติพนั ธุ์ทมี่ คี วามเชือ่ พิธีกรรม และ ประเพณีที่สืบทอดต่อกันมาซึง่ พิธีกรรม เหล่านันสะท้ ้ อนให้ เห็นถึงการผสมผสาน ความเชื่อทังพุ ้ ทธ พราหมณ์ และผีเป็ น พิธีกรรมที่ สืบทอดมาตัง้ แต่บรรพบุรุษ เช่น พิธีเบิกหอบ้ านเป็ นพิธีที่จดั ขึ ้นทุกปี เพื่ อ แสดงความเคารพสั ก การะผี บรรพบุรุษซึง่ เชื่อว่าผี บรรพบุรุษจะเป็ นผี ที่ ให้ ความคุ้มครองชาวบ้ านให้ อยู่เย็น ๘๙
“
การบายศรีสู่ขวัญ
เป็นพิธีที่จัดขึ้นเพื่อความเป็น สิริมงคล เรียกขวัญให้กลับมา อยู่กับตัว อวยพรให้อยู่เย็น เป็นสุข อายุมั่นขวัญยืน เจริญก้าวหน้าประสบโชคชัย
“
เป็ นสุข ทังชาวบ้ ้ านที่อยู่ในชุมชน และ ชาวบ้ านที่เดินทางไปท�ำงานนอกชุมชน แต่เดิมนัน้ จะเป็ นพิธีเลีย้ งผี บรรพบุรุษ โดยเฉพาะแต่ เ มื่ อ ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจาก ศาสนาพุทธ ชาวลาวเวียงจึงได้ นำ� เอาพิธี ทางศาสนาพุทธเข้ ามาผสมผสานด้ วย โดยจะ นิมนต์พระสงฆ์มาสวดมนต์ในพิธี สะท้ อนให้ เห็นถึงการผสมผสานหว่าง ผี และพุ ท ธ ในพิ ธี เ ดี ย วกั น พิ ธี ใ ต้ หาง ประทีปเป็ นพิธีที่ชาวลาวเวียงตลอดจน ภิกษุสามเณรจุดประทีปโคมไฟ เพื่อเป็ น พุทธบูชาองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ใน วันออกพรรษาเป็ นเวลา ๓ วันชาวบ้ าน จะร่วมกับวัดจัดสร้ าง“ฮ้ านประทีป” ขึ ้นที่ หน้ าพระอุโบสถ ฮ้ านประทีปสร้ างด้ วย เสาสี่ต้นใช้ ไม้ ไผ่หรื อไม้ อื่นได้ ตามความ เหมาะสม ประดับด้ วยต้ นกล้ วยต้ นอ้ อย ๙๐
ระหว่างเสาสี่ต้นนัน้ ยกพื ้นสูงประมาณ หนึ่งเมตรพืน้ ของฮ้ าน ประทีปท�ำด้ วย ไม้ ไผ่สานขัดแตะตาห่าง ๆ ท�ำพิธี ๓ วัน ในวันขึ ้น ๑๔ ค�่ำ ๑๕ ค�่ำ และแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ พิธีใต้ หางพระทายคือการบูชา พระทรายในเทศกาลสงกรานต์ ซึง่ ในพิธี นี ้จะเริ่ มจากการ การสรงน� ้ำพระและแห่ ดอกไม้ รอบหมูบ่ ้ านในช่วงเย็นของแต่ละ วัน เป็ น เวลา ๓ วัน หลัง จากการแห่ง ดอกไม้ แล้ วชาวลาวเวียงจะช่วยกันขน ทรายเข้ ามาก่อกองทรายหลาย ๆ กองไว้ ในบริ เวณวัด มีไม้ ไผ่ปัก ไว้ เป็ นเสากลาง น�ำดอกไม้ ธูปเทียนมามาปั กไว้ รอบกอง ทรายที่ก่อไว้ จากนันพระสงฆ์ ้ จะท�ำพิธี เจริ ญ พระพุ ท ธมนต์ และตามด้ วย กิจกรรมรื่ นเริ ง ร� ำวง ล�ำแคน ด้ วยความ สนุกสนาน การบายศรี ส่ขู วัญเป็ นพิธีที่ จัดขึ ้นเพื่อความเป็ นสิริมงคล เรี ยกขวัญ ให้ กลับมาอยู่กับตัว อวยพรให้ อยู่เย็น เป็ นสุข อายุมนั่ ขวัญยืน เจริ ญก้ าวหน้ า ประสบโชคชัย ปลอบประโลมจิตใจให้ เข้ มแข็ง มัน่ คงปราศจากความกลัว หาก เดิ น ทางก็ ใ ห้ ป ลอดภัย นิ ย มท� ำ พิ ธี ใ น โอกาสอันเป็ นมงคลต่าง ๆ เช่น การสู่ ขวัญนาค การสูข่ วัญแต่งงาน การสูข่ วัญ ขึ ้นบ้ านใหม่ การสูข่ วัญโชคชัย ประเพณี ส�ำคัญ เช่น บุญข้ าวจี่ บุญบังไฟ ้ สารท ลาว ตักบาตรเทโว ซึง่ วัฒนธรรมประเพณี
ที่สะท้ อนอัตลักษณ์ ที่โดดเด่นของชาว ลาวเวียง คือ ประเพณีบญ ุ บังไฟ ้ ที่จดั ขึ ้น อย่า งต่อ เนื่ อ งทุก ปี ต าม ความเชื่ อ แต่ ดังเดิ ้ มเพื่อขอให้ ฝนตกตามฤดูกาลจะได้ มีน�ำ้ เพื่อใช้ ในการเกษตรซึ่งเป็ นอาชีพ หลักของชาวลาวเวียง โดยมีต�ำนานมา จากนิทานพืน้ บ้ านของภาคอีสานเรื่ อง พระยาคันคาก เรื่ องผาแดงนางไอ่ ซึง่ ใน นิทานพื ้นบ้ านดังกล่าวได้ กล่าวถึงการที่ ชาวบ้ านได้ จั ด งานบุ ญ บัง้ ไฟขึ น้ เพื่ อ เป็ นการบูชาพระยาแถน หรื อเทพวัสส กาลเทพบุตร ซึง่ ชาวบ้ านมีความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้ าที่คอยดูแลให้ ฝนตก ถูกต้ องตามฤดูกาล และมีความชื่นชอบ ไฟ หากหมู่บ้านใดไม่จดั ท�ำการจัดงาน บุญบังไฟบู ้ ชา ฝนก็จะไม่ตกถูกต้ องตาม ฤดู ก าล อาจก่ อ ให้ เกิ ด ภั ย พิ บั ติ กั บ
หมูบ่ ้ าน ช่วงเวลาของประเพณีบญ ุ บังไฟ ้ คื อ เดื อ นหกหรื อ พฤษภาคมของทุก ปี ปั จจุบนั ยังคงสืบทอดประเพณีนีจ้ ดั ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทุกปี ซึง่ เป็ นบุญบังไฟเพี ้ ยง แห่งเดียวของของชาวลาวเวียงที่อยู่ใน ภาคกลาง จากในอดี ต ประเพณี บุ ญ บังไฟมี ้ คณ ุ ค่าและความหมายต่อวิถีการ ด�ำเนินชีวิตในด้ านความเชื่อเรื่ องขอฝน ส�ำหรับการเกษตรกรรม แต่ในปั จจุบนั กล่าวได้ ว่าความหมายเหล่านี ้ได้ ลดลง การเกษตรกรรมไม่จ�ำเป็ นต้ องพึง่ น� ้ำฝน เพียงอย่างเดียวเหมือนในอดีต เพราะมี ระบบชลประทานเข้ ามาช่วย สนับสนุน ส่งผลให้ คณ ุ ค่าและความหมายทีเ่ ด่นชัด มากขึน้ แทนที่ คุณ ค่า และความหมาย เดิมคือการแสดงถึงอัตลักษณ์ เด่นของ ชาวลาวเวียงทีย่ งั คงมีความความร่วมมือ ๙๑
“
ประเพณีบุญบั้งไฟ มีคุณค่าและความหมายต่อ วิถีการด�ำเนินชีวิตในด้าน ความเชื่อเรื่องขอฝน ส�ำหรับการเกษตรกรรม
“
ร่ ว มใจ ความสามัค คี ช่ ว ยกั น รั ก ษา ประเพณีบญ ุ บังไฟไว้ ้ และส่งเสริมให้ เป็ น เทศกาลหรือสินค้ าการท่องเทีย่ วดึงดูดให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วมาเที่ ย วชมประเพณี ปั จ จุบัน ประเพณี บุญ บัง้ ไฟ ได้ รั บ การ สนับสนุนจาก หน่วยงานภาครั ฐทัง้ ใน ระดับท้ องถิ่นและในระดับจังหวัด ความเชื่อของชาวลาวเวียง ถ้ ามีคน เข้ ามาอยู่ในหมู่บ้าน จะต้ องมีการบอก กล่าว ถ้ าคนไหนเข้ ามาแล้ วไม่บอกกล่าว ก็ จ ะมี อ าเพศอะไรสัก อย่า งเกิ ด ขึน้ กับ ชีวิตและครอบครัวของคนนัน้ ๆ ถ้ าคน นันที ้ เ่ ข้ ามาอยูจ่ ะต้ องเส้ นไหว้ ดงเจ้ าทีถ่ งึ จะรับเป็ นลูกเป็ นหลาน ดงเจ้ าที่เกิดขึ ้น มาพร้ อมกับการตัง้ หมู่บ้าน ความเชื่ อ ของชาวลาวเวียงสมัยก่อนเวลาวันพระ ๙๒
วั น ศี ล ทุ ก คนจะไม่ อ อกบ้ านไปไหน บรรพบุรุษเขาถือกันมา คนทุกคนที่จะ เข้ ามาอยู่ในบ้ านต้ องมาขออยู่มีสวยมา ขึ ้นบอกเจ้ าที่เจ้ าทางว่า “ลูกจะมาขอพึง่ บารมี เจ้ าปู่ เจ้ าตาตรงนัน” ้ ให้ เจ้ าปู่ เจ้ า ตารั บ ทราบให้ เป็ นลู ก หลานอยู่ ใ น หมูบ่ ้ านเขาก็จะรักษาไม่มภี ยั อันตรายมา หาครอบครั ว นั น้ ครอบครั ว นั น้ ก็ จ ะ อยู่เย็นเป็ นสุข เป็ นความเชื่อและความ ศรัทธาในหมูบ่ ้ าน (พ่อหลวง) ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ชาติพนั ธุ์ลาวเวียง มี ความเชื่อ ว่าโรคภัยไข้ เจ็บเกิดจากเชื ้อ โรค และบางคนเชื่อว่าเกิดจากการกระ ท�ำของผี ความเจ็บป่ วยทีเ่ กิดจากเชื ้อโรค สามารถเยียวยาให้ หายได้ ด้วยการรักษา โดยการใช้ ยา ส่วนความเจ็บปวดที่เกิด
“
ชาติพันธุ์ลาวเวียง
มีความเชื่อ ว่าโรคภัยไข้เจ็บ เกิดจากเชื้อโรค และบางคนเชื่อว่า เกิดจากการกระท�ำของผี
“
จากผีนนั ้ เชื่อว่าต้ องได้ รับการรักษาจาก พิธี หมอล�ำผีฟ้า หรื ออ�ำนาจอย่างอื่น อย่างไรก็ตามเมื่อถึงคราวชีวิตจะสิ ้นสุด ลง ก็ไม่สามารถมีใครเหนี่ยวรัง้ เอาไว้ ได้ คนป่ วยทีไ่ ด้ รับการรักษาจากวิธีการสมัย ใหม่หรื อจากยาไม่ได้ ผลแล้ วคนใช้ หรื อ ญาติพนี่ ้ องของคนไข้ กจ็ นปัญญาจ�ำต้ อง หันหน้ าพึ่งทางอื่น และพึ่งทางอันนันก็ ้ คือ หมอล�ำผีฟ้า ถึงแม้ ว่าทุกคนจะไม่มี ความเชือ่ ในหมอล�ำผีฟา้ ดังกล่าว แต่เพือ่ ชีวิตอย่างน้ อยก็ต้องลองเสี่ยงดูหมอล�ำ ผีฟ้าอาจแปลความได้ ว่า คณะหมอล�ำ ทีท่ ำ� การติดต่อสือ่ สารกับผีฟา ้ บางท้ องที่ เรี ยกหมอล�ำผีฟ้าว่า หมอล�ำไทเทิง ซึ่ง หมายถึง หมอล�ำที่ตดิ ต่อกับผีที่อยูเ่ บื ้อง บน (ไท หมายถึง กลุม่ คนหรื อวิญญาณ เทิง หมายถึง เหนือหรื อข้ างบน) ในบาง ท้ องที่เรี ยกหมอล�ำผีฟา้ ว่า หมอล�ำผีแถน ซึง่ หมายถึง คณะหมอล�ำที่จะติดต่อกับ ผีแถนผู้ซงึ่ เป็ นใหญ่ในเมืองฟ้า ถึงแม้ วา่ หมอล�ำผีฟา้ จะเป็ นที่ร้ ูจกั กันในหลายชื่อ และรายละเอียดปลีกย่อยของการล�ำจะ แตกต่า งกัน ไปบ้ า งตามแต่ล ะท้ อ งถิ่ น ก็ตามแต่มีจดุ ประสงค์อนั เดียวกัน
๙๓
ชาติพันธุ์ลีซู ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชนนายโสภณ ตระกุลพิทกั ษ์ ผู้ใหญ่บ้านป่าเมี่ยง บ้านเลขที่ ๙ หมู่ ๑ ต�ำบลเจริญราษฎ์ อ�ำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
ต�ำนานของลีซูจะมีต�ำนานเล่าคล้ าย ๆ กับชนเผ่าอื่น ๆ เผ่าในเอเชียอาคเนย์ถงึ น� ้ำท่วมโลกครัง้ ใหญ่ ซึง่ มีผ้ รู อดชีวิตอยู่ เพียงหญิงหนึง่ ชายหนึง่ ซึง่ เป็ นพี่น้องกัน เพราะได้ อาศัยโดยสารอยู่ในน�ำ้ เต้ าใบ มหึมา พอน� ้ำแห้ งสองพีน่ ้ องก็ออกมาและ ตามหาใครก็ไม่พบ จึงประจักษ์ ใจว่าตน เป็ นหญิงชายคู่สดุ ท้ ายในโลก ซึ่งถ้ าไม่ สืบสายพันธุ์มนุษยชาติกต็ ้ องเป็ นอันสูญ พันธุ์ไป แต่กต็ ะขิดตะขวงใจในการเป็ นพี่ ๙๔
น้ อง เป็ นก�ำลังจึงต้ องเสี่ยงทายฟั งความ เห็นของสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ทงหลาย ั้ เห็นมีโม่อยู่ บนยอดเขาจึงจับตัวครกกับลูกโม่แยกกัน เข็นให้ กลิ ้งลงจากเขาคนละฟาก โม่เจ้ า กรรมพอจะถึ ง ตี น ก็ ไ ม่ ย อมหยุ ด นิ่ ง อุตสาห์กลิ ้งอ้ อมตีนเขาไปรวมกันเข้ ารูป เดิมอย่างดิบดี ไม่ว่าจะลองเสี่ยงทาย ด้ วยอะไรก็จะได้ ผลแบบนี ้ทังนั ้ น้ พี่ชาย น้ องสาวเห็นว่าพระเจ้ ายินยอมพร้ อมใจ ให้ สืบพันธุ์แน่ ๆ จึงแต่งงานกันไม่นานก็
(ค�ำว่า “ลี” มาจาก “อิ๊หลี่” แปลว่า จารีต ประเพณี หรือวัฒนธรรม “ซู” แปลว่า “คน”)
“
“
“ลีซู”
มีความหมายว่ากลุ่มชนที่มีขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี และความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง มีลกู ด้ วยกัน ลีซมู คี วามเชือ่ ว่าเป็ นชนเผ่า ทีม่ กี ารแต่งกายมีสสี นั สดใส และหลากสี มาก ความกล้ า ในการตัด สิ น ใจ และ ความเป็ นอิสระชนสะท้ อนออกมาให้ เห็น จากการใช้ สีตัดกันอย่างรุ นแรงในการ เครื่ องแต่งกาย คนอื่นเรี ยกว่าลีซอ แต่ เรี ยกตนเองว่า “ลีซ”ู (ค�ำว่า “ลี” มาจาก “อิ๊ ห ลี่ ” แปลว่ า จารี ต ประเพณี ห รื อ วัฒนธรรม “ซู” แปลว่า “คน”) มีความ หมายว่ า กลุ่ม ชนที่ มี ข นบธรรมเนี ย ม จารี ตประเพณี และความภาคภูมิใจใน วัฒนธรรมของตนเอง อาจกล่าวได้ ว่า ชาวลีซูเป็ นกลุ่มชนที่รักอิสระ มี ระบบ จัดการความสัมพันธ์ทางสังคมทีย่ ดื หยุน่ เป็ นนักจัดการที่มีประสิทธิ ภาพ จะไม่ ยอมรับสิ่งใหม่โดยไม่ผ่านการเลือกสรร และจะไม่ปฏิเสธวัฒนธรรมที่แตกต่าง โดยไม่แยกแยะ ด้ วยเหตุนี ้เองท�ำให้ ชาว ลีซมู ศี กั ยภาพในการปรับตัวเข้ ากับความ เปลี่ยนแปลงได้ เป็ นอย่างดี ลีซเู ป็ นกลุม่
ชาติพนั ธุ์ทจี่ ดั อยูใ่ นกลุม่ ธิเบต–พม่า ของ ชนชาติโลโล ถิ่นก�ำเนิดดังเดิ ้ มของชนเผ่า ลี ซู อ ยู่ บ ริ เวณต้ นน� ำ้ โขงและแม่ น� ำ้ สาละวิน อยูเ่ หนือหุบเขาสาละวินในเขต มณฑลยูนนานตะวันตกเฉียงเหนือและ ตอนเหนือของรัฐคะฉิ่น ประเทศพม่า ชน เผ่าลีซสู ว่ นใหญ่เชื่อว่าเมื่อ ๔,๐๐๐ ปี ที่ ผ่านมาพวกตนเคยมีอาณาจักร เป็ นของ ตนเอง แต่ต้องเสียดินแดนให้ กบั จีนและ กลายเป็ นคนไร้ ชาติต่อมาชนเผ่าลีซู จึง ได้ เคลื่ อ นย้ ายเข้ าสู่ รั ฐ ฉานตอนใต้ กระจัด กระจายอยู่ต ามภูเ ขาในเมื อ ง ต่าง ๆ เช่น เมืองเชียงตุง บางส่วนอพยพ ไปอยู่เขตเมืองซือเหมา สิบสองปั นนา ประเทศจีน หลังจากนันได้ ้ อพยพลงมา ทางใต้ เนื่องจากเกิดการสู้รบกันระหว่าง ชนเผ่าอืน่ นับเวลาหลายศตวรรษ ชนเผ่า ลีซไู ด้ ถอยร่นเรื่ อยลงมาจนในที่สดุ ก็แตก กระจายกัน เข้ าสูป่ ระเทศพม่า จีน อินเดีย แล้ ว เข้ า สู่ป ระเทศไทยเมื่ อ ประมาณปี ๙๕
พ.ศ.๒๔๖๔ กลุม่ แรกมี ๔ ครอบครัว มา ตังถิ ้ ่นฐานเป็ นชุมชนครัง้ แรกอยู่ที่บ้าน ห้ วยส้ าน อ.เมือง จ.เชียงราย อยูไ่ ด้ โดย ประมาณ ๕-๖ ปี ก็มีการแยกกลุม่ ไปอยู่ หมู่บ้านดอยช้ าง ท� ำมาหากิ นอยู่แถบ ต.วาวี อ.แม่สรวย จ.เชียงราย จากการ สอบถามคนเฒ่าคนแก่ชาวลีซู ถึงเรื่ อง ราวการอพยพว่ า ได้ อพยพมาจาก หมู่บ้านแห่งหนึ่งทางตอนใต้ ของเมือง เชียงตุงประเทศพม่า เข้ ามาตังถิ ้ ่น ฐาน อยูท่ บี่ ้ านลีซหู ้ วยส้ าน อ.เมือง จ.เชียงราย และโยกย้ ายไปตังบ้ ้ านเรื อน ในจังหวัด เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน ล�ำปาง ตาก พะเยา ก�ำแพงเพชร เพชรบูรณ์ แพร่ และสุ โ ขทัย ลี ซู ไ ม่ มี ภ าษาเขี ย นของ ๙๖
ตนเองลีซแู บ่งออกเป็ น ๒ กลุม่ ย่อย คือ ลี ซู ล ายกั บ ลี ซู ด� ำ ชาวลี ซู ที่ อยู่ ใ น ประเทศไทยเกื อบทัง้ หมดเป็ นลีซูลาย ส่วนลีซดู ำ� นันอยู ้ ่ พม่า จีน ลีซเู ป็ นชาวเขา ทีม่ คี วามขยัน สามารถท�ำไร่ปลูกข้ าวโพด ข้ าวฟ่ าง ตามไหล่เขาทีม่ ีความสูงชันได้ ดี ผู้ชายลีซูมีความสามารถในการใช้ หน้ า ไม้ ลา่ สัตว์เป็ นอย่างดี ลีซมู ีลกั ษณะนิสยั รักสงบ มีความสุภาพ ซือ่ สัตย์จริงใจและ เคารพผู้อาวุโส ไม่ประพฤติตนหรือท�ำตัว นอกรี ตนอกรอย ผู้ใหญ่มกั อบรมสัง่ สอน เด็ก ๆ ลูกหลานลีซใู ห้ ร้ ูจกั ขยัน ตังใจท� ้ ำ มาหากิ น ไม่ลัก ขโมยของคนอื่ น รู้ จัก หวงแหนทรัพย์สินของตน ไม่สบู ฝิ่ น ไม่ เล่นการพนัน ไม่ประพฤติผิดลูกเมียผู้อื่น
“ เทวดาประจ�ำหมู่บ้านลีซู (อาปาโหม่ฮี)
“อาปา” หมายถึง ปู่ ส่วนค�ำว่า “โหม่” หมายถึง แก่เฒ่า รวมความแล้วหมายถึง บรรพบุรุษผู้ดูแลผู้ดูแลทุกคนในหมู่บ้าน เพื่อให้ลูกหลานลีซูอยู่ดีกินดี
“
ซึง่ โดยประเพณีแล้ วผู้ชายลีซสู ามารถจะ มีภรรยาได้ มากกว่าหนึ่งคน แต่จะต้ อง กระท�ำตามประเพณีด้วยการไปสูข่ อต่อ พ่อแม่ของฝ่ ายหญิงให้ ถกู ต้ อง ลีซนู บั ถือ ผี แ ละเชื่ อ ว่ า ผี มี ทั ง้ ผี ดี แ ละผี ร้ าย ซึ่ ง ประจ�ำอยู่ตามที่ต่าง ๆ เช่น บ้ านเรื อน ห้ วยหนอง และไร่นา เป็ นต้ น ดังนันด้ ้ วย ความเกรงกลัวต่อผีและวิญญาณภูตผี ชาวลีซูจงึ ต้ องสร้ างศาลผีไว้ ส�ำหรับบูชา เซ่นไหว้ เป็ นศาลผีประจ�ำหมูบ่ ้ าน ซึง่ เชื่อ ว่าจะให้ คณ ุ ค่ามากกว่าให้ โทษ หากมีคน ไปล่วงเกินก็จะให้ โทษได้ เช่นกัน เช่น ผีน� ้ำ ผีไฟ ผีดนิ ผีดวงอาทิตย์ ส่วนผีร้ายก็คือผี ตายโหง ผีจรจัด ซึง่ จะน�ำความเจ็บไข้ ได้ ป่ วยมาให้ เป็ นต้ น “อี๊ดะมา” เป็ นผีใหญ่ หรื อเทวดา เจ้ าที่ที่ดแู ลขุนเขาในละแวก นัน้ เมื่อลีซูตกลงตังหมู ้ ่บ้าน หมอมื ้อผะ จะท�ำพิธีเชิญ “อี๊ ดะ มา” หรือเทวดาใหญ่ ลงมาสิงอยูใ่ ต้ ต้นไม้ ใหญ่ โดยจะมีศาลผี หรื อเทวดาประจ�ำหมู่บ้าน(อาปาโหม่ฮี) “อาปา” หมายถึ ง ปู่ ส่ว นค� ำ ว่ า โหม่ หมายถึ ง แก่ เ ฒ่ า เมื่ อ รวมความแล้ ว หมายถึ ง บรรพบุ รุ ษ ผู้ ดู แ ลทุ ก คนใน หมู่บ้านเพื่อให้ ลกู หลานลีซูอยู่ดีกินดีท�ำ มาหากินได้ ผลบริบรู ณ์ “คัวลือ” ท�ำหน้ าที่ ป้องกันผีร้าย ดังนันหมอมื ้ ้อผะจะเชิญคัว ลือมาอยูข่ ้ างศาลอาปาโหม่ฮี และคัวลือ ที่ประจ�ำอยู่ต้นไม้ เล็กจะมีความส�ำคัญ
ต่อชาวลีซูมากพอ ๆ กันเพราะผีเหล่านี ้ จะเป็ นผู้ค้ มุ ครองหมูบ่ ้ าน คือเป็ นผีดี ส่วน ผีร้าย ที่ท�ำให้ เกิดความเจ็บป่ วย มีอยู่ ๒ ชนิดคือ ผี ตายโหง หรื อจะเหน่ และผี จรจัด หรื อ โข่ ผื่อ เหน่ ผีทงสองชนิ ั้ ดนี ้จะ ท� ำ ให้ ลี ซู เ จ็ บ ไข้ ไ ด้ ป่ วย ซึ่ ง จะต้ อ งให้ หมอผีมาท�ำพิธี จึงจะหายจากป่ วยไข้ ได้ วิ ถี ชี วิ ต ของชาวลี ซู จ ะด� ำ เนิ น ไปอย่ า ง เรี ยบง่าย มีผ้ เู ฒ่าผู้แก่คอยอบรมสัง่ สอน ลูกหลานให้ เป็ นคนดี ด้ วยการเล่านิทาน บ้ าง ใช้ สภุ าษิ ตค�ำพังเพยเปรี ยบเทียบ บ้ าง เช่นค�ำว่า “อะ มา ฮี อะ มา เลอ” หมายถึงบ้ านใครก็ให้ กวาดเฉพาะบ้ าน ของตน ซึง่ อาจจะหมายถึงให้ ใส่ใจเฉพาะ เรื่ องของตนเองเท่านัน้ อย่ายุ่งเรื่ องของ คนอื่น เป็ นต้ น ลีซนู ิยมการดื่มเหล้ าที่ท�ำ จากข้ าวโพด และชอบอาหารทีป่ รุงรสจืด ๆ ชอบเนื ้อหมูมากกว่าสัตว์ชนิดอื่น แกง ใส่ผกั กาดหรื อกะหล�่ำปลี ข้ าวที่ลีซูนิยม ๙๗
รั บประทานคือข้ าวไร่ ที่มีเมล็ดกลมรี สี ข้ าว เวลานึง่ เป็ นก้ อนไม่เหนียวติดกัน มี รสมันอร่ อย ปกติชีวิตความเป็ นอยู่ของ ชาวเขาเผ่าลีซูมกั จะติดต่อค้ าขายและ ใกล้ ชิ ด กลับ ชาวเขาเผ่า อื่ น เสมอ โดย เฉพาะชาวจีนฮ่อจะมีความสัมพันธ์ใกล้ ชิดถึงขนาดปลูกบ้ านเรื อนอยู่ใกล้ กนั มี ประเพณีวฒ ั นธรรมคล้ ายกัน เช่น งาน ฉลองปี ใหม่ หรื อ การเซ่ น ไหว้ ศาลผี ประจ�ำหมูบ่ ้ าน และในบางครัง้ หญิงชาว ลีซจู ะแต่งงานกับชายชาวจีนฮ่อ เด็ก ๆ ลี ซูสามารถพูดภาษาจีนฮ่อได้ และเรี ยนรู้ ภาษาจีนฮ่อด้ วย ส�ำหรับชาวเขาเผ่าอื่น ๆ ลีซจู ะมีความสัมพันธ์กบั ชาวเขาเผ่าอา ข่า และเมีย่ นมาก ในฐานะทีห่ มูบ่ ้ านใกล้ กัน ติดต่อค้ าขายไปมาหาสูก่ นั เสมอ ในอดีตโครงสร้ างการปกครองที่ไม่เป็ น ๙๘
ความเชื่อของชาวลีซู ทางการมีบทบาทส�ำคัญมากในชุมชน เช่น (๑) มือหมือผะ (ผู้น�ำด้ านพิธีกรรม) ท� ำ หน้ าที่ ด้ านพิ ธี ก รรม (๒) หนี่ ผ ะ (หมอผี) ท�ำหน้ าที่เชื่อมโยงระหว่างโลก มนุษย์กบั โลกของวิญญาณ (๓) โชโหม่ว โชตี (ผู้อาวุโส) บุคคลที่มีอายุ และเป็ นที่ เคารพนับถือของชุมชน ท�ำหน้ าที่ให้ ค�ำ ปรึกษาในกิจกรรมหรื อข้ อพิพาษต่าง ๆ พิธีกรรมและความเชื่ อ ชาวลีซอ มี ความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี เป็ นพื ้น ฐานเดิม (Animism) ต่อมามีการนับถือ ศาสนาคริ สต์ เพิ่ ม มากขึ น้ เรื่ อย ๆ เนื่ อ งจากมี มิ ช ชัน นารี เ ข้ า มาเผยแพร่ ศาสนาถึ ง ในหมู่ บ้ าน ชาวลี ซ อบาง ครอบครัวได้ ให้ ความสนใจในพระพุทธ
“
ผีประจ�ำบ้าน
(อ๊าปา อ๊าส่า เหน่)
ชาวลีซอจะถือว่าบรรพบุรุษ ที่ตายไปจะคอยปกป้องรักษา ดูแลคนภายในบ้านให้ปลอดภัย
“
ศาสนา และเริ่ มรั บนับถื อพุทธศาสนา ควบคูไ่ ปกับการนับถือผีตามแบบแผนที่ ยึ ด ถื อ ปฏิ บัติ สื บ ต่ อ กั น มา โดยได้ น� ำ พระพุท ธรู ป มาบูช าและตัง้ ไว้ ใ นบ้ า น ใกล้ ๆ หิ ้งบูชาผี เช่น ทีบ่ ้ านของนายอาหวู่ แซ่ยา่ ง เป็ นต้ น ชาวลีซอโดยเฉลีย่ แล้ วใน ทุกหมูบ่ ้ านจะมีผ้ ทู นี่ บั ถือผีตามประเพณี ดังเดิ ้ มประมาณ ๕๐ เปอร์ เซ็นต์ นับถือ ศาสนาคริ สต์ประมาณ ๔๕ เปอร์ เซ็นต์ และนับถือผีผสม ศาสนาพุทธ ประมาณ ๕ เปอร์ เซ็นต์ การนับถือผี เป็ นความเชื่อ ดัง้ เดิม และเป็ นความเชื่อพืน้ ฐานของ ชาวลีซอ โลกทัศน์เรื่ องผีของชาวลีซอ จะ แบ่งผีออกเป็ น ๒ ประเภทใหญ่ คือ ผีดี และผี ร้าย ผี ดีจะเป็ นผี ที่คอยคุ้มครอง ป้องกันภยันตรายต่าง ๆ ทังในระดั ้ บส่วน ตัว ระดับครอบครัว และระดับหมู่บ้าน บางหมู่ บ้ านอาจมี ผี ใ นระดั บ สู ง กว่ า หมู่บ้านก็ได้ ผีบรรพบุรุษ เป็ นผีประจ�ำ บ้ าน (อ๊ าปา อ๊ าส่า เหน่) โดยชาวลีซอจะ ถือว่า บรรพบุรุษทีต่ ายไปจะคอยปกป้อง รักษา ดูแลคนภายในบ้ านให้ ปลอดภัย และจะตังหิ ้ ้งบูชา (ต๋า เบี๊ยะ) ไว้ ด้านใน ของบ้ าน ตรงกับประตูเข้ าบ้ าน เป็ นชันไม้ ้ ๒ ชันวางต่ ้ อกันบนหิ ้งจะมีถ้วยน� ้ำชาวาง อยู่ ผี บ รรพบุ รุ ษ จะเป็ นผี ที่ ใ ห้ ความ คุ้มครองในระดับครอบครัว และระดับ ส่วนบุคคล ดังนันถ้ ้ าจะกล่าวไปแล้ ว ต๋า
เบี๊ยะ อาจจะคล้ ายกับหิ ้งบูชาบรรพบุรุษ ของคนเมื อ งหรื อไทลื อ้ และเมื่ อ มี ประเพณี ส�ำคัญ เช่นประเพณี กินวอปี ใหม่ ประเพณีกินข้ าวใหม่ ประเพณีเกี่ยว กับการเกิด การแต่งงาน การตาย ชาว ลี ซ อจะต้ องน� ำ อาหารมาเซ่ น ไหว้ ผี บรรพบุรุษเสมอ ผีประจ�ำหมูบ่ ้ าน (อ๊ า ปา โหม่ ฮี) เป็ นผีที่คอยดูแลรักษาหมู่บ้าน เช่นเดียวกับปู่ ตาประจ�ำหมู่บ้านของคน เมือง เป็ นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คอยดูแลรักษา ชุมชน ในระดับหมูบ่ ้ าน ระดับครอบครัว และระดับบุคคล นอกจากจะคอยปกป้อง สร้ างก�ำลังใจให้ คนในชุมชนแล้ ว ยังเป็ น สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ช่วยจัดระเบียบสังคม จัด ระเบียบการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น� ำ้ ป่ าไม้ ศาลผี ประจ� ำหมู่บ้านจะถูก เลือกสร้ างในสถานทีท่ เี่ หมาะสม บนเนิน เขาที่ สูง สุด ใกล้ ห มู่บ้ า นมี รั ว้ รอบเพื่ อ ป้องกันสัตว์เข้ ามาท�ำลายเป็ นอาณาเขต ๙๙
ของความศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ห้ า มไม่ใ ห้ ผ้ ูห ญิ ง เข้ าไปโดยเด็ดขาด ผู้ที่จะเข้ าไปท�ำพิธีได้ มีแต่เฉพาะผู้ชายเท่านัน้ พิธีเซ่นไหว้ ที่ ส�ำคัญของชุมชน ได้ แก่ ประเพณีกินวอ ปี ใ หม่ ประเพณี กิ น ข้ า วใหม่ ป ระเพณี เกี่ยวกับการเกิด การแต่งงาน การตาย นอกจากนี ถ้ ้ า มี ใ ครประพฤติ ผิ ด จารี ต ประเพณีของหมูบ่ ้ าน หรื อเจ็บไข้ จะต้ อง มาเซ่นไหว้ ที่ศาลผีประจ�ำหมู่บ้านด้ วย เมื่อจัดงานประเพณีตา่ ง ๆ ของลีซอ และ ต้ องไหว้ อ๊ า ปา โหม่ ฮี ครอบครัวชาวลีซอ ทีบ่ ้ านเปี ยงหลวงก็จะเลือกไปไหว้ อ๊ า ปา โหม่ ฮี ของหมู่บ้านอื่นที่ตนรู้ จักหรื อมี ญาติอาศัยอยู่ ผีหลวง เป็ นผีทคี่ อยปกปัก รั ก ษาชาวลี ซ อ ในชุม ชนต่ า ง ๆ ที่ อ ยู่ บริ เ วณใกล้ เ คี ย ง ผี ห ลวงจะ มี ค วาม ส�ำ คัญสูง กว่า ผี ป ระจ� ำหมู่บ้ าน ศาลผี ๑๐๐
หลวงไม่จ�ำเป็ นต้ องมีในทุกหมู่บ้าน ใน เขตอ�ำเภอเวียง แหง ศาลผีหลวงจะอยูท่ ี่ ลี ซ อบ้ า นแม่ แ ตะเท่ า นัน้ โดยเรี ย กว่ า “ศาลผีดอยเชี ยงดาว” (ดอยเชี ยงดาว เป็ นดอยสูง ที่เป็ นตัวแทนเจ้ าเขา หรื อผี ดอย ที่ส�ำคัญในภูมิภาคนีน้ อกจากจะ เป็ นตัวแทนผีหลวงของชาวลีซอแล้ วยัง เป็ นตัวแทนผีหลวงของกลุม่ ชาติพนั ธุ์อื่น ด้ วย) ศาลผีหลวงที่บ้านแม่แตะ จะสร้ าง อยูใ่ กล้ กบั ศาลผีประจ�ำหมูบ่ ้ านแต่อยูบ่ น เนินที่สงู กว่า โดยจะมีการเซ่นไหว้ ผีดอย เชียงดาว เฉพาะในพิธีทสี่ ำ� คัญของชุมชน เท่ า นั น้ เช่ น ประเพณี กิ น วอปี ใหม่ ประเพณีกินข้ าวใหม่ เป็ นต้ น นอกจากผี ส� ำ คัญ ๆ ที่ ก ล่า วมาแล้ ว ชาวลี ซ อยัง นับถือผีอนื่ ๆ ทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั สภาพ แวดล้ อม และวิถีชีวิต เช่น ผีน� ้ำ ผีป่า ผี
เขา ผีดิน ผีไร่ ผีนา ผีไฟ ผีต้นไม้ ใหญ่ เป็ นต้ น การทีช่ าวลีซอมีความเชือ่ ในเรื่อง ผี ม ากแสดงให้ เห็ น ถึ ง การสร้ างกฎ ระเบียบในการจัดการทรัพยากรภายใน ชุมชนให้ เหมาะสม และเกิดประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ชุ ม ชน การผิ ด ผี จ ะมี ห ลาย ประการด้ วยกัน เช่น การเจ็บไข้ เมือ่ ไปหา หมอผี (หนี่ผะ) แล้ วหมอผีทายว่าผิดผี อะไรที่ไหน ผู้นนก็ ั ้ ต้องไปท�ำพิธีเซ่นไหว้ ผี โดยหมอผีก็จะบอกว่าต้ องใช้ เครื่ องเซ่น อะไร และต้ องไปท� ำพิธีเซ่นไหว้ ที่ไหน เครื่องเซ่นก็จะมีลกั ษณะ เดียวกัน คือ หมู ไก่ เหล้ า ธูป ไข่ไ ก่ ผ้ า ด� ำ หรื อ ผ้ า แดง เป็ นต้ น ตัวอย่างเช่น ผิดผีน� ้ำ ก็ต้องไป ขอขมาเซ่นไหว้ ผีน� ้ำ ผิดผีป่าก็ต้องไปเซ่น ไหว้ ผีป่า การผิดผีในกรณีอื่น ๆ เช่น เมื่อ ไปตัดไม้ หรื อตัดฟื นในป่ าแล้ วแบกฟื น กลับบ้ าน ถ้ าไปตัดใบตองอีกจะถื อว่า ผิดผี จะท�ำให้ พดู ไม่ออกก็จะต้ องจูงมือ คนที่ผิดผีวิ่งขึ ้นดอยไป แต่ก็ต้องกลับไป เลี ้ยงผีด้วยโดยจะต้ องใช้ หมู หรื อไก่และ เหล้ า เป็ นต้ น ชาวลีซอบ้ านแม่แตะจะมี พิธีที่ส�ำคัญอีกพิธีหนึง่ คือ การเลี ้ยงผีน� ้ำ แตะ โดยจะใช้ หมู ไก่ เหล้ า ธูป ท�ำพิธีขอ ขมาผีน� ้ำที่ริมห้ วยแม่แตะ การขอขมาผี น� ำ้ นี ้ เป็ น การบูช าและขอโทษหากได้ แสดงอาการไม่ เ คารพผี น� ำ้ โดยที่ ไ ม่ มี เจตนา พิธีนี ้จะแตกต่างจากการเซ่นไหว้
ผี น� ำ้ เพราะผิ ด ผี ต ามการท� ำ นาย ของ หมอผี ในแต่ละหมู่บ้านมักจะมีหมอผี ประจ� ำ หมู่บ้ า น เช่ น ที่ บ้ า นแม่ แ ตะ มี หมอผี ถึง ๓ คน แต่ บางหมูบ่ ้ านอาจไม่มี หมอผีเลยก็ได้ หมูบ่ ้ านที่ไม่มีหมอผี นัน้ เมื่ อ มี ค วามจ� ำ เป็ นต้ องให้ หมอผี ม า ท�ำนายทายทัก ก็จะไปเชิญหมอผีจาก บ้ านอืน่ มา หรื อเดินทาง ไปขอค�ำท�ำนาย จากหมูบ่ ้ านอื่น ๆ ก็ได้ แต่เดิมนันลี ้ ซอที่ บ้ า น จ อ ง มี ห ม อ ผี ซึ่ ง เ ป็ น พ่ อ ข อ ง นายอาหวู่ แซ่ย่าง แต่ท่านเสียชีวิตแล้ ว และนายอาหวู่ไม่สามารถสืบทอดการ เป็ นหมอผี ต่ อ จากพ่ อ ได้ เพราะการ สืบทอดการเป็ นหมอผีตามประเพณีของ ชาวลีซอนันก� ้ ำหนดไว้ วา่ ถ้ าผู้จะสืบทอด เป็ นคนในครอบครัวเดียวกันกับหมอผีที่ สิ ้นไปจะไม่สามารถสืบทอดไปยังรุ่ นต่อ ไปได้ ทนั ที คือจากรุ่ นพ่อไม่สามารถสืบ ทอดไปยังรุ่ นลูกได้ จะต้ องทิ ้งช่วงต่อไป อีก ๓ รุ่น ดังนันผู ้ ้ ที่จะสืบทอดเป็ นหมอผี ต่อไปในครอบครัวของนายอาหวูต่ อ่ จาก พ่อของนายอาหวูไ่ ด้ ก็คอื ลูกของลูกของ นายอาหวู่ หรื อ หลานของนายอาหวู่ นัน่ เอง (สัมภาษณ์: นายอาหวู่ แซ่ย่าง) พิธีเซ่นไหว้ เทพ (หงัว่ ฮาหวู)่ มีขึ ้นในวันที่ ๕ เดือน “หงัว่ ฮา” (เดือน ๕ ของลีซ)ู ใน วันนี ้จะมีการท�ำพิธีเซ่นไหว้ เทพ “อาปา โหม่” และมีการพัฒนาศาลเจ้ า ตลอดจน ๑๐๑
“
การสืบทอดการเป็นหมอผี
ตามประเพณีของชาวลีซอนั้นก�ำหนด ไว้ว่าถ้าผู้จะสืบทอดเป็นคนใน ครอบครัวเดียวกันกับหมอผีที่สิ้นไป
“
มีการขอศีลขอพรจากเทพอาปาโหม่ เพือ่ ให้ พืชผักเจริ ญงอกงาม เชื่อกันว่าหาก เพาะปลูกพืช ผัก ในวันนี ้จะท�ำให้ พืชผัก เจริ ญ งอกงามมาก แม้ แต่ ก ารหายา สมุนไพรก็ตาม เชือ่ กันว่าในวันนี ้ตัวยาจะ มีฤทธิ์แรง สามารถรักษาโรคได้ ดีกว่าวัน อื่น ๆ พิธีขอบคุณเทพ (ฉวือแป๊ ะกัว๊ ะ) มี ขึ ้นในวันที่ ๑๒-๑๔ เดือน ๗ “ซยี่ฮา” เป็ น พิธีแสดงความขอบคุณเทพเจ้ า ที่ช่วย ดู แ ลรั ก ษาพื ช พรรณธั ญ ญาหารของ ชุมชน ให้ มี ค วามอุด มสมบูรณ์ เจริ ญ เติบโตจนได้ ผลผลิต ในช่วงตลอดปี ที่ ผ่านมา พิธีกรรมจะไม่เหมือนกัน เพราะ ว่าแต่ละตระกูลจะมีรายละเอียดของการ ประกอบพิธีกรรมทีไ่ ม่เหมือนกัน โดยรวม แล้ วในวันแรกจะมีการน�ำผลผลิตพืชผล ต่าง ๆ เช่น กล้ วย แตงกวา ข้ าวโพด อ้ อย และดอกไม้ ตา่ ง ๆ มาประดับประดาบน หิ ้งบูชาบรรพบุรุษ และท�ำพิธีสวดบทสัก การะแก่เทพต่าง ๆ ซึ่งในเทศกาลนี ้ทุก ๑๐๒
บ้ าน จะต้ องท�ำความสะอาดบ้ านและ ร่ างกายของตัวเอง เพื่อเป็ นสิริมงคลกับ บ้ าน และตนเอง ไม่มีการไปท�ำงานหรื อ ท�ำธุระนอกบ้ าน หากไม่จ�ำเป็ น จากนัน้ ในวันที่ ๓ จึงน�ำพืชผล และดอกไม้ ตา่ ง ๆ ออกจากหิ ้งบูชา ตอนเย็นเปลี่ยนน�ำ้ และจุดธูป อันเป็ นว่าจบพิธี ซ่อมแซม ศาลเจ้ า (เฮ้ อยี่ปา) จะจัดขึ ้นในวันที่ ๗ ของเดือน “เฮ้ อยีปา” (เดือน ๒ ของลีซ)ุ พิธีจดั ขึ ้นที่ศาลเจ้ า “อาปาโหม่” โดยมี การท� ำ พิ ธี เ ซ่ น ไหว้ “อาปาโหม่ ” และ พัฒนาศาลเจ้ า เมื่อเสร็ จแล้ วมีการกิน ข้ าวร่ วมกัน ร้ องเพลงและเต้ นร� ำตลอด จน มีการเสวนาแลกเปลีย่ นต่าง ๆ กัน ซึง่ ผู้ เข้ าร่ ว มพิ ธี นี จ้ ะมี แ ต่ ผ้ ู ชายเท่ า นั น้ เพราะถือว่า “เฮ้ อยีปา” เป็ นการเฉลิม ฉลองปี ใหม่ของผู้ชาย มีเรื่องเล่ากันว่าใน อดีตช่วงที่มีเทศกาลปี ใหม่นนั ้ ผู้ชายทัง้ หลายต้ องออกไปสู้รบกัน เหลือแต่ผ้ หู ญิง ทีอ่ ยูร่ ่วมพิธีในวันปี ใหม่ ดังนันหลั ้ งปี ใหม่ ๑ เดือน พวกผู้ชายได้ กลับมา และได้ จดั งานปี ใหม่อีกครั ง้ หนึ่งเป็ นการทดแทน พระประจ�ำหมูบ่ ้ าน (หมื่อหมื ้อผะ) หมื่อ หมื ้อผะเป็ นหัวหน้ าหมูบ่ ้ าน จะเป็ นผู้ดแู ล ศาลเจ้ า “อาปาโหม่” และเป็ นผู้นำ� ในการ ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของลีซู ตลอด จนเมื่อถึงวันส�ำคัญต่าง ๆ หมื่อหมื ้อผะก็ จะไปรับการปรึกษาจากบรรดาผู้สงู อายุ
ในหมู่บ้าน ส�ำหรับหน้ าที่ของหมื่อหมื ้อ ผะ คือทุก ๆ ๑๕ วัน ในขึ ้น ๑๕ ค�่ำ หรื อ แรม ๑๕ ค�่ำ เป็ นวันศีลหรื อวันหยุดงาน ของลีซู หมื่อหมื ้อผะจะต้ องไปท�ำความ สะอาดปั ด กวาดเช็ ด ถูหิ ง้ ที่ อ าปาโหม่ และจุดธูป เปลีย่ นน� ้ำ แล้ วก็บอกกล่าวให้ อาปาโหม่รับรู้วา่ วันนี ้เป็ นวันศีล ขอให้ อา ปาโหม่ช่วยเมตตาดูแลคุ้มครองบรรดา ลูก หลาน และสัต ว์ เ ลี ย้ งทัง้ หลายใน หมูบ่ ้ านเถอะ เอ้ อยี่ปาจะมีขึ ้นหลังจากปี ใหม่ผา่ นไปประมาณเดือนกว่า ๆ พิธีนี ้มี เพียง ๑ วัน ๑ คืน เท่านันจะมี ้ การเซ่นไหว้
บูชาบรรพบุรุษในบ้ านและผีบรรพบุรุษ ประจ�ำหมู่บ้าน ตอนกลางคืนก็จะมีการ เต้ นร� ำกัน หน้ าบ้ านของผู้น�ำศาสนา (มือ หมือผะ) จะไม่มีต้นไม้ ปีใหม่ พิธีกรรมนี ้ ก็ส�ำคัญมากส�ำหรับชาวลีซูเช่นกัน กิน ข้ าวโพดใหม่ ลีซู เรี ยกว่า “ชือแป๊ ะกว๊ ะ” วั น กิ น ข้ าวโพดใหม่ จ ะอยู่ ช่ ว งเดื อ น สิงหาคมของทุกปี ตรงกับกลางเดือน ๗ ของลี ซู จะมี วัน ส� ำ คัญ อยู่ ๓ วัน ใน หมู่บ้านทุกคนหลังคาเรื อนจะต้ องหยุด ท�ำงาน (ยกเว้ นผู้ทนี่ บั ถือคริสต์) จะมีการ เซ่นไหว้ ผีบรรพบุรุษในบ้ านและผีประจ�ำ ๑๐๓
“
วันศีล เรียกว่า “จื้อ”
“
หมูบ่ ้ าน พิธีกรรมนี ้ทุกหลังคาเรื อนจะหา ของเซ่นไหว้ คือ ข้ าวโพด แตงกวา อ้ อย ดอกไม้ พืชผักต่าง ๆ และธูป เทียน และ มีการสวดบทขอบคุณผีบรรพบุรุษและ เทพเจ้ าที่ช่วยดูแลพืชพันธุ์ุธัญญาหาร รวมถึงสัตว์เลี ้ยงต่าง ๆ และคนในบ้ านให้ อยูอ่ ย่างมีความสุขตลอดมา วันศีล เรียก ว่า “จื ้อ” วันศีลหรือวันอยูก่ รรมของลีซู จะ มีขึ ้นทุก ๆ ๑๕ วันในรอบการนับวันของ ลีซู ซึ่งการนับวันเดือนปี ของลีซูนัน้ นับ ตามปฏิทนิ จีน และวันศีลของลีซคู อื วันที่ พระจันทร์ เต็มดวงและพระจันทร์ มืดมิด จึงเป็ นวันศีล เป็ นหน้ าที่ของผู้น�ำศาสนา ประจ� ำ หมู่ บ้ าน (มื อ หมื อ ผะ) ที่ จ ะ ประกาศให้ ชาวบ้ านทราบล่วงหน้ า ๑ วัน ว่า วันรุ่งขึ ้นจะเป็ นวันศีล บอกให้ ชาวว่า ห้ ามใช้ ของมีคม เช่น มีด ขวาน จอบ เสียม ห้ ามท�ำงานไร่,สวน นอกจากนันก็ ้ ห้ าม ฆ่าหมู ไก่หรื อสัตว์ทกุ ชนิดที่มีชีวิต วันศีลจะหยุดงาน ๑ วัน อยูท่ ี่บ้านอยูก่ บั ครอบครั ว ส่ว นผู้ห ญิ ง ก็ เ ย็ บ ผ้ า ปั ก ผ้ า ส่วนผู้ชาย ท�ำงานบ้ านเล็ก ๆ น้ อย ๆ ที่ บ้ าน เซ่นไหว้ หลุมศพ ลีซู เรี ยกว่า “หลี่ ฮีชวั ” หลังจากปี ใหม่ผา่ นไปสักสองเดือน กว่า ๆ พิธีนี ้จะจัดขึ ้น ณ สุสานหรื อหลุม ฝังศพ ลีซมู ีการเซ่นไหว้ ที่ ณ หลุมฝังศพ พิธีกรรมนี ้จะท�ำการ ๓ ครัง้ ท�ำทุก ๆ ปี หลังจากนันเซ่ ้ นไหว้ ครบ ๓ ครัง้ แล้ ว ไม่ ๑๐๔
เป็นวันอยู่กรรมของลีซู
ต้ องท�ำแล้ ว ลีซูมีความเชื่อว่าวิญญาณ ไปเกิดใหม่แล้ ว ถ้ าครอบครัวไหนอยาก จะท�ำต่อสามารถท�ำได้ พิธีนี ้ท�ำได้ เฉพาะ คนที่มีลกู ชาย เช่น เวลาพ่อและแม่เสีย ชีวิตไป ลูกชายก็จะท�ำพิธี “หลี่ฮีชวั ” ให้ พ่อแม่ทเี่ สียไปแล้ ว ถ้ าครอบครัวไหนไม่มี ลูกชาย มีแต่ลกู สาวไม่สามารถทีจ่ ะท�ำได้ เพราะผู้หญิงไม่สามารถท�ำพิธีกรรมได้ นอกจากผู้ชาย การเซ่นไหว้ ให้ กบั คนตาย ที่สสุ าน หมอผี ลีซูเรี ยกว่า (หนี่ผะ) จะ เป็ นคนสวดบทบริเวณหลุมฝังศพ เพือ่ ให้ ทราบว่าวันนี ม้ าท� ำพิธี และสร้ างบ้ าน ใหม่ ใ ห้ ก็ จ ะมี ก ารฆ่ า หมู แ ละไก่ ท� ำ อาหารเลี ย้ งแขกกัน ที่ ม าช่ ว ยงาน ณ บริ เวณหลุมฝั งศพ มีการละเล่นกัน คือ ใช้ โคลนหรื อขี ้หมิน่ ก้ นหม้ อและก้ นกะทะ ที่มีสีด�ำ ๆ มาทาหน้ ากันและทาเสื ้อผ้ า ทังชายหญิ ้ งและผู้ทไี่ ปร่วมพิธีกรรม ลีซมู ี ความเชื่อว่า ถ้ าใครไม่ท�ำหน้ าสกปรกผี ร้ ายสามารถเอาชีวิตไปได้ ความเชื่อด้ านศาสนา ชาวลีซอทีน่ บั ถือ
ศาสนาคริ สต์ จะมีพิธีกรรมทางศาสนา เช่ น เดี ย วกับ ชาวไทยคริ ส ต์ หรื อ ชาว คริ สต์ทวั่ ๆ ไป แต่พิธีกรรมทางศาสนา คริ สต์ ที่ ช าวลี ซ อปฏิ บั ติ กั น อยู่ นี จ้ ะ เป็ นการผสมผสานรู ปแบบพิธีกรรมให้ สัมพันธ์กบั วิถีชีวิต และประเพณีดงเดิ ั้ ม ของชาวลีซอ เช่น ชาวลีซอที่หนั ไปนับถือ ศาสนาคริ สต์ก็ยงั คงรักษาประเพณีกิน ข้ าวใหม่ ประเพณีกินข้ าวโพดใหม่ตาม ประเพณีดงเดิ ั ้ มของเผ่าไว้ แต่มีการปรับ เปลี่ยนการประกอบพิธีแต่ละขันตอนให้ ้ เหมาะสมและด�ำเนินไปตามความเชื่อ ของศาสนาทีร่ ับนับถือใหม่ด้วยบ้ านลีซอ แต่ละหมู่บ้านจะมีโบสถ์คริ สต์เพื่อใช้ ใน การประกอบพิธีทางศาสนา ชาวลีซอที่ หันมานับถือศาสนาคริสต์ จะละทิ ้งความ เชื่ อดัง้ เดิมเกี่ ยวกับเรื่ องผี ตามค�ำสอน ของศาสนาคริ ส ต์ “แต่เ ดิ ม นับ ถื อ ผี มี ความเชื่อและประกอบพิธีกรรมที่เกี่ยว กับความเชื่อเรื่ องผีมาโดยตลอด แต่เมื่อ ย้ ายมาอยู่บ้านดอยสามหมื่นได้ เปลี่ยน มานับถือศาสนาคริ สต์ จึงได้ ละทิ ้งความ เชื่ อเรื่ องผี และเมื่ อย้ ายมาตัง้ หมู่บ้าน ใหม่ที่ริมห้ วยแม่แตะซึง่ เป็ นบริ เวณที่ลือ กันว่ามีผีดมุ าก ไม่มใี ครกล้ าเข้ ามาอยูใ่ น บริเวณนี ้ทัง้ ๆ ที่เป็ นพื ้นที่ท่ีอดุ มสมบูรณ์ แต่เพราะเชือ่ ว่าผีไม่มใี นโลกนี ้ตามความ เชื่อของศาสนาคริสต์จงึ ได้ เข้ ามาตังบ้ ้ าน
เรือนทีบ่ ริเวณดังกล่าว” ถึงแม้ วา่ ชาวลีซอ ที่นบั ถือศาสนาคริ สต์จะละทิ ้งความเชื่อ ในเรื่ องผี ตามค�ำสอนของศาสนาแต่ใน การด�ำเนินชีวิตแต่ละวันนัน้ ผู้คนส่วน ใหญ่ก็ยงั คงมีความเชื่อพื ้นฐานเรื่ องของ ผีตา่ ง ๆ ตามที่ได้ รับการถ่ายทอดสืบต่อ กันมาอยู่ และก็พยายามหลีกเลี่ยงไม่ ประพฤติ หรื อปฏิบตั ิตวั ให้ เกิดการผิดผี ตามความเชื่อดังเดิ ้ มเหล่านัน้ วิ ถี ชี วิ ต และประเพณี ชาวลี ซ อ มี อาชีพหลัก คือการปลูกข้ าว และข้ าวโพด มีการเลี ้ยงสัตว์บ้างเล็ก ๆ น้ อย ๆ เช่น เลี ้ยงหมู ไก่ ทังไว้ ้ บริ โภคในครอบครัว ใช้ ในงานเฉลิมฉลอง และในการประกอบ พิธีกรรมต่าง ๆ เช่น เรียกขวัญ ส่งเคราะห์ สะเดาะเคราะห์ เลี ย้ งผี จ ากการผิ ด ผี ๑๐๕
“
ชาวลีซูนับถือทั้ง ศาสนาคริสต์และ ศาสนาพุทธ
“
เป็ นต้ น การเพาะปลู ก ชองชาวลี ซ อ เป็ นการปลูกแบบย้ ายที่ไปเรื่ อย ๆ ใน แต่ละปี ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั ความสมบูรณ์ของ ป่ าด้ วย ดังนันการท� ้ ำมาหากินของชาว ลีซอแบบดังกล่าวนี ้จึงอาจเป็ นสาเหตุให้ ชาวลีซออพยพโยกย้ ายที่อยูไ่ ปเรื่ อย ๆ ก็ เป็ นได้ นอกจากการปลูกข้ าวแล้ วชาว ลี ซ อยั ง ปลู ก พื ช ผั ก หลายชนิ ด เพื่ อ ไว้ บริ โภคหรื อน�ำไปขายที่ตลาดด้ วย การ ปลูกพืชผักเหล่านี ้ก็มกั จะปลูกไว้ ในไร่ ริม ห้ วย หรื อบริ เวณรอบ ๆ บ้ านที่อยู่ ชาว ลีซอบางหมู่บ้าน ฝิ่ นแต่เดิมมา โดยมี หน่วยงานของทางราชการเข้ ามาให้ ค�ำ แนะน�ำในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และ ได้ รั บ การส่ง เสริ ม ให้ ป ลูก ลิ น้ จี่ กาแฟ ตลอดจนพืชผักเมืองหนาวด้ วย ความเชื่ อ ประเพณี และพิธีกรรม ต่ าง ๆ การแต่งงานการแต่งงานของชาว ลีซอ ถือเป็ นประเพณีเฉพาะทีแ่ ตกต่างไป ๑๐๖
จากกลุม่ ชาติพนั ธุ์อื่น ๆอย่างชัดเจน แต่ เดิมชาวลีซอจะแต่งงานเมื่ออายุเฉลี่ย ประมาณ ๑๔-๑๗ ปี แต่ปั จ จุบัน การ ศึกษาและวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ า มา อายุเฉลีย่ ของชาวลีซอในการแต่งงาน จะอยู่ที่ประมาณ ๑๖-๒๕ ปี การเกี ้ยว พาราสี ข องชาวลี ซ อในอดี ต จะอยู่ ใ น บริ เวณที่ต�ำข้ าวกลางลานหมู่บ้าน โดย สาว ชาวลีซอจะน�ำข้ าวใส่กระบุงมาต�ำ ข้ าวกลางลานบ้ าน หนุม่ ๆ ก็จะน�ำซึงมา ดีดร้ องเพลงจีบสาว ซึ่งในปั จจุบนั กลุ่ม ชาติพนั ธุ์ลซี อที่เวียงแหงไม่มีการจีบสาว ที่ลานต�ำข้ าวอีกแล้ ว แต่ใช้ สถานที่อื่น ๆ แทน เมื่อมีการจีบกันแล้ วความสัมพันธ์ ของหนุ่มสาวจะถื อว่าอยู่ในระดับหนึ่ง ฝ่ ายชายจะต้ องเอาของไปให้ ฝ่ายหญิง ที่ เรี ยกว่า ปี -้ ชี-พู ของที่เอาไปให้ อาจเป็ น นาฬิกา แหวน เงิน ทอง หรื อของขวัญ อื่น ๆ ก็ได้ ถ้ าฝ่ ายหญิงไม่รับของขวัญ ฝ่ ายชายก็จะเลิกตามจีบฝ่ ายหญิง แต่ถ้า ฝ่ ายหญิงรับของขวัญ แสดงว่าฝ่ ายหญิง พึงพอใจฝ่ ายชาย ฝ่ ายชายก็จะหาโอกาส พาฝ่ ายหญิ งหนี ออกจากบ้ าน ไปอยู่ท่ี บ้ า นฝ่ ายชายหรื อ บ้ า นญาติ ป ระมาณ ๑-๒ คืน เมื่อฝ่ ายชายพาฝ่ ายหญิงหนีไป ฝ่ ายชายก็ จ ะให้ คนไป แจ้ งข่ า วและ นัดแนะเรื่ องการแต่งงาน และค่าสินสอด จากนันก็ ้ จะกลับมาแต่งงานที่บ้านฝ่ าย
หญิ ง โดยฝ่ ายชายจะออกค่ า ใช้ จ่ า ย ทังหมด ้ รวมทัง้ ค่าสินสอดด้ วย โดยจะ เชิญญาติ ๆ มาร่วมพิธีผ้ ปู ระกอบพิธีอาจ จะเป็ น หมอผี ห รื อ ผู้ใ หญ่ บ้ า นที่ ท� ำ พิ ธี เป็ น ก็ ไ ด้ การท� ำ พิ ธี จ ะมี เ ครื่ อ งเซ่ น ผี ประจ�ำบ้ าน ประกอบด้ วย หมู ไก่ เหล้ า เป็ นต้ น จากนันฝ่ ้ ายหญิงจะยกเหล้ าให้ พ่อแม่ฝ่ายชายกิน ฝ่ ายชายก็จะยกเหล้ า ให้ พ่อแม่ฝ่ายหญิงกิน ในปั จจุบนั อาจ เป็ นชา หรื อเป๊ บซี่ก็ได้ สุดท้ ายจะมีการ กินเลี ้ยงกันเป็ นเสร็ จพิธี นอกจากนีใ้ น ปั จจุบนั ยังพบการแต่งงานข้ ามเผ่าพันธุ์ บ้ าง เช่น การแต่งงานระหว่างชาวลีซอ กับชาวมูเซอ หรื อกับชาวจีนฮ่อ เป็ นต้ น การตาย ชาวลีซอจะมีวิธีในการจัดการ ศพผู้ตายแตกต่างกันตามสาเหตุการตาย ถ้ าตายไม่ปกติทเี่ รียกว่า “ตายโหง” จะน�ำ ศพไปเผาทันที แล้ วเก็บกระดูกไปฝัง ส่วน ผู้ที่ตายธรรมดา ถ้ าตายในเดือน ๙ ก็จะ ต้ องน�ำไปเผาเช่นกัน ส�ำหรับผู้ทตี่ ายปกติ ในเดือนอืน่ ๆ จะท�ำพิธีทบี่ ้ าน และจะไม่มี การเซ่นไหว้ ผีบรรพบุรุษ โดยจะคว�่ำแก้ ว น� ้ำบนหิ ้งผีทงหมด ั้ และจะแต่งศพด้ วย ชุดทีส่ วยทีส่ ดุ ห่อด้ วยผ้ าขาวใส่โลงเอาไว้ ที่บ้าน มีการเชิญญาติ และเพื่อนฝูงมา เป็ นเพื่อนศพ มีการเลี ้ยงอาหารศพและ ท�ำอาหารเลี ้ยงแขกที่มาในงาน ถ้ าเป็ น ศพผู้ชายจะมีงาน ๙ วัน ถ้ าเป็ นหญิงจะ
จัดงาน ๗ วัน จากนันจะน� ้ ำศพไปฝังโดย จะดูทิศทาง ต�ำแหน่งที่ฝังศพด้ วย โดยมี ข้ อห้ ามคือ ห้ ามฝังศพในทีร่ าบ ทีช่ ื ้น และ ทางทิ ศ ตะวั น ออกของหมู่ บ้ าน เมื่ อ ท� ำ การฝั ง แล้ ว จะใช้ ตอกท� ำ เป็ น คอก สี่เหลี่ยม ปั กธูป แล้ วปลูกหญ้ าคาหลัง จากนันจะน� ้ ำสิ่งของเครื่ องใช้ ของผู้ตาย ไปเผาข้ างทาง เมื่อเสร็ จพิธีแล้ วจะมีการ ไปเซ่นไหว้ หลุมศพ ทุก ๆ ต้ นเดือนเมษา เรียก หนี-่ ฮี-ชัวะ ้ คล้ ายกับเช็งเม้ งของชาว จีน การสะเดาะเคราะห์ (ยี่-เคอ-โซ่ ะ) เมื่อมีผ้ ไู ม่สบายใจ ไม่สบายกาย ก็จะมา ให้ หมอผี ดูว่าเป็ นเพราะเหตุผลใด ถ้ า หมอผี ทั ก ว่ า จะต้ องท� ำ การสะเดาะ เคราะห์ ก็จะนัดวันท�ำโดยการ น�ำเศษ เล็ บ มื อ เล็ บ เท้ า ผม เศษเสื อ้ ผ้ า ถ่ า น ไฟฉาย กระดาษตัดเป็ นรูปดอกไม้ ใส่ลง ในกระบะที่สานด้ วยไม้ ไผ่ขนาดเล็ก ๆ หมอผีจะท�ำพิธีสวดแล้ วเอากระบะที่ใส่ ของต่าง ๆ นัน้ ไปทิ ้งนอกหมู่บ้าน การ เรี ยกขวัญ (โชว์ -ฮา-เคอวะ) การเรี ยก ขวัญจะท�ำเมื่อมีผ้ เู จ็บไข้ ได้ ป่วยบ่อย ๆ โดยมีหมอผีมาท�ำพิธี ใช้ ข้าวสวยใส่ถ้วย มี ไข่ไก่ต้มปลอกเปลือกวางบนข้ าว มีผ้า วางรอบถ้ วยอีกทีหนึ่ง นอกจากนี ้คนใน บ้ านจะน�ำเงิน ประมาณ ๑-๕ บาท มา วางไว้ บนผ้ าและเย็บให้ เป็ นถุงเล็ก ๆ ใน ขณะที่หมอผีท�ำพิธี จะใช้ เชือกผูกที่คอ ๑๐๗
“
การไปเซ่นไหว้หลุมศพ เรียกว่า
หนี่-ฮี-ชั้วะ
“
และมื อ และน� ำเงิ นที่ เย็บเป็ นถุงไว้ มา ห้ อยคอ น�ำไข่ที่วางบนข้ าวให้ ผ้ ปู ่ วยกิน จากนันจะน� ้ ำไก่ไปฆ่า เพื่อดูกระดูก แล้ ว ท�ำอาหารเลี ้ยงคนในบ้ าน ประเพณีกนิ วอปี ใหม่ (กวู-ชูว์) ประเพณีปีใหม่เป็ น ประเพณี ที่ชาวลีซอทุกคนรอคอย เช่น เดี ย วกั บ ประเพณี ปี ใหม่ ข องกลุ่ ม ชาติพนั ธุ์อนื่ ๆ เพราะประเพณีปีใหม่เป็ น ประเพณี ที่ มี แ ต่ ค วามสนุก รื่ น เริ ง โดย เฉพาะเด็ก ๆ และหนุม่ สาว ประเพณีปี ใหม่จะตรงกับวันตรุ ษจีน ราวต้ นเดือน กุมภาพันธ์ ก่อนถึงวันปี ใหม่ผ้ ชู ายลีซอจะ ไปตัดต้ นเกี๊ยมาปั กไว้ ที่กลางลานบ้ านที่ จะจัดงาน ส่วนผู้หญิงจะท�ำขนมข้ าวปุก โดยเอาข้ าวเหนี ยวนึ่งสุกมาต�ำในครก ใหญ่พร้ อมกับงาด�ำ เมือ่ ผสมกันละเอียด ได้ ที่ แ ล้ ว น� ำ แป้ ง มาท� ำ เป็ นแผ่ น บน ใบตอง จากนันน� ้ ำมาปิ ง้ หรื อทอด ขนม ข้ า วปุก จะเป็ น ขนมที่ น� ำ มากิ น ร่ ว มกัน ตลอดงานปี ใหม่ ซึง่ เป็ นที่ชอบของเด็ก ๆ มาก เพราะขนมนี ้จะได้ กินเฉพาะในงาน ปี ใหม่เท่านัน้ ในวันงานช่วงเช้ าผู้ชายจะ ไปเซ่นไหว้ ผีที่ศาลผีประจ�ำหมูบ่ ้ านซึง่ จะ ไม่อนุญาตให้ ผ้ หู ญิงเข้ าไป จากนันแต่ ้ ละ บ้ านจะกลับ ไปไหว้ ผีบ รรพบุรุษ ที่ บ้าน เมื่อไหว้ ผีบรรพบุรุษแล้ ว ชาวลีซอทุกคน จะแต่ง กายสวยงามตามแบบของชาว ลี ซ อมารวมกั น ที่ ต้ นเกี๊ ย กลางลาน ๑๐๘
คล้ายกับเช็งเม้งของชาวจีน
หมู่บ้าน โดยหมอผีหรื อผู้น�ำหมู่บ้านจะ ห้ อยชิ น้ เนื อ้ หมู และขนมข้ าวปุ ก สัญลักษณ์ของปี ใหม่ทใี่ ต้ ต้นเกี๊ย จากนัน้ จะมีการเต้ นร� ำรอบ ๆ ต้ นเกี๊ ยมีเครื่ อง ดนตรี ประกอบการร้ องเพลง คือ ซึงและ แคนน� ้ำเต้ า ผู้สงู อายุของชุมชนจะเป็ นผู้ ร้ อง เพลงเป็ นค�ำอวยพรตอบโต้ กนั หนุม่ สาวจะผลัดกันออกไปเต้ นร� ำ หนุ่มสาว บางคนจะหาโอกาสนี เ้ กี ย้ วพาราสีกัน การเต้ นร� ำจะเต้ นไปเรื่ อย ๆ ตลอดทังคื ้ น ในส่ ว นของชาวลี ซ อที่ นั บ ถื อ ศาสนา คริสต์กจ็ ะจัดงานปี ใหม่เช่นกัน โดยจะจัด ขึ ้นในวันที่ ๓๑ ธันวาคมเช่นชาวคริ สต์ โดยทั่ว ไป นอกจากนี ย้ ัง มี เ ทศกาลวัน คริ สต์มาสอีกด้ วย โดยประเพณีทงสอง ั้ จะมีการน�ำอาหารสดเท่าที่จะหามาได้ เช่น เนื อ้ หมู ไก่ พื ช ผัก มารวมกัน ท� ำ อาหารเลี ้ยงกันกินทังสามมื ้ ้อ มีการแสดง มีการร้ องเพลง และเต้ นร� ำ เป็ นต้ น ประเพณี ปี ใหม่ น้ อย (เอ้ อ -ยี่ - ป๋ า)
“
ประเพณีกินข้าวใหม่ (ดจา-วู้-จ๊ะ)
“
ประเพณี ปีใหม่น้อยจะจัดขึน้ หลังจาก ประเพณีปีใหม่ ประมาณ ๑ เดือน โดย แต่ละบ้ านจะน�ำไม้ ไผ่มาท�ำเป็ นกระบะ รูปสี่เหลี่ยม น�ำเศษเสื ้อผ้ าที่ไม่ได้ ใช้ แล้ ว มีด เสียมที่ไม่ดีแล้ ว ข้ าว กับข้ าว เนื ้อหมู สดใส่ลงในกระบะ แล้ วน�ำออกไปทิ ้งข้ าง ทางเดินนอกหมูบ่ ้ าน ประเพณีกนิ ข้ าว ใหม่ (ดจา-วู้-จ๊ ะ) จะจัดขึ ้นหลังจากการ เก็ บเกี่ ยวข้ าวเรี ยบร้ อยแล้ ว ประมาณ เดือนพฤศจิกายน ถึงธันวาคม โดยแต่ละ ครอบครัวจะน�ำข้ าวสารที่เพิ่งเก็บเกี่ยว มาใหม่ หัวมัน เนื ้อหมู พืชผักอื่น ๆ มา เซ่นไหว้ ผีบรรพบุรุษ จากนัน้ น�ำมาปรุ ง อาหารโดยเอามัน ต้ ม กับ ข้ า ว และท� ำ กับข้ าว เมือ่ ท�ำอาหารเสร็จแล้ วจะต้ องน�ำ อาหารไปให้ สุนัข ที่ เ ป็ น สัต ว์ เ ลี ย้ งของ ครอบครัวกินก่อน ทังนี ้ ้เพราะตามความ เชื่อของชาวลีซอนัน้ สุนขั เป็ นผู้ที่ท�ำให้ ชาวลี ซ อได้ มี ข้ าวกิ น มาจนทุ ก วั น นี ้ แล้ วจึ ง น� ำ อาหารนั น้ มากิ น เลี ย้ งกั น ภายในบ้ าน ตรุ ษจีนขึน้ ปี ใหม่ ลีซู (ปี ใหม่ผ้ หู ญิง)– ต�ำข้ าวปุก (มีข้าวเหนียว งา หรื อถัว่ ลิสง) ในปี ใ หม่เ ล็ก (ปี ใ หม่ผ้ ูช าย) ท� ำ ขึน้ ใน เดือน ๒ โดยการน�ำหมู ๑ ตัว ไก่ ๕ ตัว ไปไหว้ ที่ ศ าลเจ้ า เชงเม้ ง คื อ การไหว้ บรรพบุรุ ษ ที่ ห ลุม ศพ สารทจี น จัด ใน เดื อนเจ็ ด เป็ นการไหว้ ผีบรรพบุรุษใน
จะจัดขึ้นหลังจากการ เก็บเกี่ยวข้าวเรียบร้อยแล้ว
บ้ านด้ วย ไก่ หมู ผลไม้ และดอกไม้ สด เลี ้ยงผีดอยหลวง จัดในเดือนเจ็ด น�ำหมู ที่ไม่ได้ ตอน ไก่คู่ ธูป เทียน พืช/ผักที่เพาะ ปลูกไว้ น�ำไปไหว้ หลังเขาในที่ที่ไม่ได้ ยิน เสียงของหมูและไก่ทเี่ ราเลี ้ยง ถ้ ายังได้ ยนิ จะถือว่าสิง่ ที่น�ำไปไหว้ นนยั ั ้ งไม่ถงึ ผีดอย หลวงต้ องไปด้ วยกั น ทัง้ หมด (ท� ำ ได้ เฉพาะผู้ชาย) สงเคราะห์หมู่บ้านจัดท�ำ ในเดือนหกต้ องฆ่าหมู ๑ ตัว ไก่ ๕ ตัว การดูดวง เสี่ยงทายจากตับหมู ถ้ าเป็ น กระดูกไก่จะเป็ นส่วนกะโหลก ปาก ลิ ้น และกระดูกต้ นขาไก่ วิธีการเสี่ยงทาย ใช้ ได้ ทกุ เรื่ องมนการด�ำรงชีวิตของแต่ละ วัน แต่ละเดือน แต่ละปี ไม่วา่ จะเป็ นการ เดินทาง การขอสาว หมันสาว ้ การซื ้อรถ ทุก อย่ า งขัน้ ตอนก็ คื อ ลูก หลานจะไป ท� ำ งานในต่า งประเทศได้ ห รื อ ไม่ไ ด้ มี อะไรติดขัดหรื อขัดข้ องไหม ไปแล้ วจะได้ กลับ ไหม สิ่ ง เหล่า นี จ้ ะโกหกกัน ไม่ ไ ด้ จะท�ำให้ ร้ายกลายเป็ นดีไม่สามารถท�ำได้ ๑๐๙
ก็เหมือนเราดี ๆ กัน จะโกหกกันมันก็ไม่ ดีอยู่แล้ ว ยิ่งความเชื่อด้ านจิตวิญญาณ มี ห ลอกค� ำว่า โกหก จะโกหกว่าดี ให้ มี ความหวังแบบนี ้ไม่ดีอยู่แล้ ว อยากรู้ ว่า ลูกหลานจะไปท�ำงานต่างประเทศ วิธี การก็คือ ไปหาไก่มา ๑ ตัว ก่อนที่จะฆ่า หรือว่าก่อนทีจ่ ะเลี ้ยง เราก็ต้องบนไว้ กอ่ น ว่า ให้ ส�ำแดงริ ษออกมาในกระดูกไก่ ว่า จะไปได้ หรื อไม่ได้ ดีหรื อไม่ดี เสร็ จแล้ ว ค่อยฆ่า พอฆ่าไก่เสร็จแล้ วเราก็เอาไก่ไป ต้ ม จะขอเจ้ าทีบ่ ้ านผีปยู่ า่ ในหมูบ่ ้ าน หรือ ในตระกูลก็ได้ หรื อไปขอที่ศาลเจ้ าจะคุย ไว้ ก่อน วิธีการดูคือเราเอาส่วนต้ นขาไก่ มาดู ซ้ ายเป็ นด้ านของคนส่วนขวาเป็ น ด้ านของผี เป็ นความเชื่อมาตังแต่ ้ สมัย บรรพบุ รุ ษ การดั ว ไก่ กระดู ก ไก่ ถ้ าไปได้ จะออกมาอีกรูปแบบหนึง่ ถ้ าไป ๑๑๐
ไม่ได้ เขาก็จะไม่ไปกัน ความเชื่อนี ้มีมา ตังแต่ ้ ดงเดิ ั ้ ม ทุกสิ่งทุกอย่างของชาวลีซู จะดูกระดูกไก่เป็ นส่วนใหญ่ รองมาจาก ศาลเจ้ า เป็ นความเชื่อที่ถ่ายทอดกันมา เป็ นอย่างนันจริ ้ ง ๆ มันจึงได้ ฝังลึกอยูใ่ น ชาติ พัน ธุ์ ลี ซู ม าตลอด (พ่ อ หลวงบุ ญ จันทร์ กุลชาติ) ด้ านความเชื่อทิศของการปลูกสร้ าง บ้ าน ประตูหลักและเสาหลักจะต้ องหัน รั บทางทิศตะวันออก ความเชื่ อเรื่ องผี บรรพบุรุษ ความเชื่ อเรื่ องผีดอยหลวง ความเชื่อเรื่ องผีศาลเจ้ าความเชื่อเรื่ อง การท�ำนาย งูขวางทาง การดูกระดูกไก่ ว่าเกิดสิง่ ที่ดีหรื อไม่ดี
จังหวัดเชียงราย ชาติพันธุ์จีนยูนนาน
ข้อมูลโดย นายชัชวาลย์ พรสวรรค์คีรี ผู้น�ำชุมชน อยู่บ้านเลขที่ ๑๔๕ หมู่ ๒ ต�ำบลแม่สลองใน อ�ำเภอ แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ชาติพนั ธุ์จีนยูนนานหรื อชาวจีนฮ่อเป็ น ชาวจี น ที่ อ าศัย อยู่ใ นมณฑลยูน านอยู่ ทางประเทศจีนตอนใต้ มีอาณาเขตติด กับรั ฐฉานของพม่า แบ่งออกเป็ นสอง กลุม่ ได้ แก่ กลุม่ ผาสี คือชาวจีนยูนนาน ที่นบั ถือศาสนาอิสลาม และ กลุม่ ผาห้ า คื อ ชาวจี น ยูน นานที่ นับ ถื อ วิ ญ ญาณ บรรพบุ รุ ษ หลัง สงครามกลางเมื อ ง ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กับพรรคก๊ ก มินตัง๋ พรรคก๊ กมินตัง๋ เป็ นฝ่ ายแพ้ ส่วน หนึ่งได้ อพยพมาตัง้ หลักอยู่ที่มณฑลยู นาน แล้ ว อพยพเข้ า ประเทศไทยในปี พ.ศ.๒๔๙๕ โดยตัง้ ถิ่นฐานอยู่บริ เวณ พื ้นทีอ่ ำ� เภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ ชาติ พั น ธุ์ จี น ยู น านที่ อ พยพเข้ ามา ประเทศไทย แบ่งได้ เป็ น ๓ กลุม่ ได้ แก่ ๑. กลุม่ พ่อค้ าคาราวานที่ใช้ ม้าต่าง หรื อ ชาวล้ อ เป็ นพาหนะในการบรรทุกสินค้ า เดินผ่านตามช่องทางฮ่องลึกหรื อด่าน ๑๑๒
แม่สาย มาตังแต่ ้ โบราณ ๒. กลุ่มจี นฮ่อลีภ้ ัย ช่วงที่ มีการปราบ ปรามกบฏปันทาย ซึง่ น�ำโดยสุลต่านสุลยั มานหรื อ ตู้ เ หวิ น ซิ่ ว ผู้ สถาปนารั ฐ ผิ ง หนานในมณฑลยูน นาน ช่ ว งปี ค.ศ. ๑๘๕๖-๑๘๗๓ แต่กลับถูกทางราชวงศ์ ชิ ง ปราบปราม คาดว่า มี ผ้ ูเ สี ย ชี วิ ต ทัง้ ทหารและพลเรื อนไปนับล้ านคน ๓. กลุม่ จีนทหารกู้ชาติ อพยพเข้ ามาหลัง การปฏิ วั ติ ป ระเทศจี น ประสบความ ส�ำเร็ จใน ปี ค.ศ.๑๙๔๙ ภายใต้ การน�ำ ของเหมาเจ๋อตง ท�ำให้ ทหารกองพล ๙๓ ของจีนคณะชาติหรื อพรรคก๊ กมินตัง๋ ต้ อง ถอยร่ นลงมาอยู่ตามแนวชายแดนไทยพม่า และต่อมาส่วนหนึ่งได้ เดินทางไป อยูท่ ปี่ ระเทศไต้ หวัน อีกส่วนหนึง่ ปักหลัก อยูท่ างภาคเหนือของไทย ชาวจี น ฮ่ อ ประมาณ ๑ ใน ๓ นับ ถื อ ศาสนาอิสลามใช้ ภาษาจีนกลาง นอกนัน้
จะนับถือบูชาบรรพบุรุษ และถูกกลืนไป ในวัฒนธรรมล้ านนา โดยผู้ที่เป็ นมุสลิม จะถูกเรี ยกว่า ผ่าสี่ แต่ผ้ ทู ี่ไม่ใช่มสุ ลิมจะ เรี ยกว่า ผ่าห้ า สันนิษฐานได้ วา่ ค�ำว่าผ่า สี่อาจจะมาจากภาษาไทใหญ่ มีความ หมายว่า เปอร์ เซีย ชาวฮ่อที่ยงั นับถือผี บรรพชนนัน้ จะมี ซินแสหรื อที่ เรี ยกว่า สล่าเป็ นผู้ประกอบพิธีกรรมตามความ เชือ่ อย่างชาวจีน นอกจากนี ้ยังมีบางกลุม่ ที่ เ ปลี่ ย นไปนั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ และ ศาสนาคริ สต์ อย่างไรก็ตามชาวจีนฮ่อ มุ ส ลิ ม ตามความหมายของรั ฐ บาล สาธารณรั ฐประชาชนจี น จะหมายถึง ชาวหุ ย ซึ่ ง หมายถึ ง ชาวมุ ส ลิ ม ที่ มี ลักษณะวัฒนธรรมและค่านิยมเช่นเดียว กับชาวจีน เพียงแต่นบั ถือศาสนาอิสลาม มักอาศัยอยู่ทางตอนใต้ และตะวันออก เฉียงเหนือของประเทศจีน
ความเชื่อต่าง ๆ ของจีนยูนนาน ความเชื่ อด้ านอาหารของชาวจีนยูน นาน เป็ นทีร่ ้ ูจกั กันอย่างแพร่หลาย ๕ ชนิด ได้ แก่ “สุกี ้ยูนาน” ภาษาจีนยูนาน เรียกว่า “หยูหนานโห่วโกว” สุกี ้ประเภทหนึง่ ทีน่ ยิ ม กินกันในกลุม่ คนจีนยูนาน และจะท�ำเมือ่ มีญาติมารวมกันหลายคนทีบ่ ้ านหรือเป็ น วัน ส� ำ คัญ รวมทัง้ โอกาสพิ เ ศษต่า ง ๆ เพราะสุกี ้ชนิดนี ้ต้ องใช้ เวลาในการเตรียม ล่วงหน้ าอย่างน้ อย ๑ วัน แถมยังมีเครื่อง เคียงประกอบมากมายจัดเรียงอยูใ่ นหม้ อ สุกี ้ใบโตถึงสิบอย่าง ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ น เนื ้อสัตว์ อาทิเช่น หมูแฮม ไข่ม้วน และไก่ ด�ำ เป็ นต้ น “ขาหมู-หมัน่ โถว” มีลกั ษณะ เหมือนซาลาเปาไม่มไี ส้ รับประทานคูก่ บั ขาหมูตนุ๋ โดยที่ “หมัน่ โถว” ซึง่ แปลว่า หัว เชลยเผ่าหมัน และท�ำตกทอดกันมาจน แพร่หลายไปทัว่ โดยในอดีตนันหมั ้ น่ โถว ๑๑๓
ยังเป็ นแบบมีไส้ และมีขนาดใหญ่ แต่มา ปั จจุบนั หมัน่ โถวในแต่ละท้ องถิ่นก็มีการ ปรุงแตกต่างกันไปสารพัดแบบ “หมูพันปี (เคาหยก)” เป็ นอาหารจีน กวางตุ้งชนิดหนึง่ แปลว่าเนื ้อคว�ำ่ และตรง กับภาษาจีนกลางว่าโค่วโหย่ว เป็ นอาหาร ทีม่ ชี ื่อเสียงของหูหนานและกวางตุ้ง เคา หยกแบบจีนมีสองแบบ แบบแรกใช้ หมู สามชันหั ้ น่ สี่เหลี่ยมผสมกับผักกาดดอง เค็มแห้ งที่ปรุงรสมาแล้ ว ที่เรี ยกเหมยไช่ หรือไช่กวั ส่วนแบบทีส่ องจะใส่เผือกทีห่ นั่ ชิ ้นเท่าหมู ใส่เผือกจะน�ำเผือกชนิดทีเ่ นื ้อ ซุยทีจ่ ี่พอสุก ราดด้ วยน� ้ำปรุงรสทีท่ ำ� จาก เต้ าหู้ยี น�้ ้ำมันหอย น� ้ำมันงา ผงพะโล้ จาก นันจะน� ้ ำหมูกบั เครื่ องปรุงใส่ชาม ตุน๋ ให้ หมูเปื่ อยนุ่ม เมื่อสุกแล้ ว จะน�ำจากมา ปิ ดปากชามแล้ วพลิกกลับด้ านให้ เนื ้อหมู ลงไปอยูใ่ นจาน “ไก่ดำ� ตุน๋ ยาจีน” ไก่ดำ� ตุน๋ ยาจีน มีต้นก�ำเนิดมาจากมณฑลเจียงซี ประเทศจีน โดยผู้คนในมณฑลเจียงซี ใช้ ไก่ดำ� หรือ ไก่กระดูกด�ำ ประกอบอาหาร ผู้ คนทางตอนใต้ ของจี นทราบถึ ง คุณสมบัติในการฟื น้ ฟูพละก�ำลังของซุป ไก่ด�ำตุน๋ ยาจีน เป็ นอาหารที่เหมาะกับผู้ หญิ ง หลัง คลอดรั บ ประทานเพื่ อ บ� ำ รุ ง เลือด ประสมดุลพลังชีวติ และช่วยท�ำให้ รู้สกึ กระปรีก้ ระเปร่า ซึง่ ตามทฤษฎีแพทย์ แผนจีนอาหารที่มีสีด�ำตามธรรมชาติมี ๑๑๔
สรรพคุณในการบ�ำรุงเลือด และพลังงาน หยิน (Yin) ในตับ และในไต “หมาล่าปิ ง้ ย่างหมาล่า” คือ เครื่องเทศรสเผ็ดทีม่ ตี ้ น ก�ำเนิดมาจากมณฑลเสฉวน ประเทศจีน เป็ นเครื่องเทศทีใ่ ห้ รสชาติ “เผ็ดจนลิ ้นชา โดยค�ำว่า “หมา” หมายถึงอาการชาที่ ปลายลิ ้น ในขณะทีค่ ำ� ว่า “ล่า” หมายถึง รสชาติเผ็ด ความเชื่อด้ านที่อยู่อาศัย ชาวจีนยูนาน นิยมตังบ้ ้ านเรือนทีล่ ้ อมรอบด้ วยภูเขา อยู่ กันเป็ นกลุม่ ไม่มชี นชาติอนื่ เข้ าไปตังบ้ ้ าน เรื อนอยูป่ ะปน การปลูกบ้ านของชาวฮ่อ จะใช้ ดนิ มาปัน้ เป็ นก้ อน โดยไม่ต้องเผาไฟ ท�ำเป็ นอิฐก่อกันเป็ นตึก ๒ ชันเตี ้ ้ย ๆ ข้ าง บนทึบ ชายคายืน่ ล� ้ำลงมาเพือ่ กันไม่ให้ ฝน สาดฝาพังทลาย และเพื่อป้องกันอิฐดิบ นันจากนั ้ นใช้ ้ ปนู ผสมดินเหนียวกับทราย ฉาบนอกอีกชันหนึ ้ ง่ นิยมสร้ างบ้ านเป็ นรูป ทรงสีเ่ หลีย่ มแบ่งเป็ นห้ อง ๆ ได้ แก่ ห้ องไหว้
“ เช็งเม้ง
เป็นเทศกาลประจ�ำปีใน การบูชาบรรพบุรษุ ที่ ล่วงลับไปแล้วของชาวจีน
“
บรรพบุรุ ษ ห้ อ งนอนพ่อ แม่ ห้ อ งนอน ลูกชายคนโต อยูช่ นบน ั ้ ห้ องนอนลูกคน อืน่ ๆ อยูช่ นล่ ั ้ าง ความเชื่อด้ านประเพณีและพิธีกรรม มีมากมายหลายเทศกาลทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ ตรุ ษจีน เป็ นงานเฉลิมฉลองที่ยาวที่สดุ และส�ำคัญที่สดุ ในปฏิทินจีน จุดก�ำเนิด ของตรุ ษจีนนันมี ้ ประวัติหลายศตวรรษ และมี ค วามส� ำ คัญ เพราะต� ำ นานและ ประเพณีหลายอย่าง ตรุษจีนมีการเฉลิม ฉลองกันในหลายประเทศและดินแดนซึง่ มีประชากรจีนอาศัยอยูม่ าก อย่างเช่น จีน แผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเก๊ า มาเลเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ สิงคโปร์ ไต้ หวัน ไทย รวมทังในชุ ้ มชนชาวจีนที่อื่น ตรุษจีนถูก มองว่าเป็ นวันหยุดส�ำคัญส�ำหรับชาวจีน และได้ มอี ทิ ธิพลต่อการเฉลิมฉลองการขึ ้น ปี ใหม่จนั ทรคติของประเทศเพือ่ นบ้ าน ซึง่ รวมทัง้ เกาหลี (โซลนาล) ภูฏาน และ เวียดนามตรุ ษจีนเป็ นหนึ่งในเทศกาลที่ ส�ำคัญที่สดุ ของชาวจีน ถือเป็ นวันขึ ้นปี ใหม่ตามปฏิทนิ จีน คล้ ายกับวันสงกรานต์ ของไทย เช็งเม้ ง, เชงเม้ ง (ตามส�ำเนียง แต้ จวิ๋ ) หรือ “เฉ่งเบ๋ง” (ในส�ำเนียงฮกเกี ้ยน) “เช็ง”หรือ”เฉ่ง” หมายถึง สะอาด บริสทุ ธิ์ และ “เม้ ง”หรือ”เบ๋ง” หมายถึง สว่าง รวม แล้ วหมายความถึง ช่วงเวลาแห่งความ แจ่มใส รื่นรมย์ เช็งเม้ งเป็ นเทศกาลประจ�ำ
ปี ในการบูชาบรรพบุรุษที่ลว่ งลับไปแล้ ว ของชาวจีน เทศกาลเช็งเม้ ง ถือวันที่ ๕ เมษายนของทุกปี เป็ นหลัก แล้ วนับวัน ก่อนถึง ๓ วัน และเลยไปอีก ๓ วัน รวม เป็ น ๗ วัน (๒ - ๘ เมษายน) วันไหว้ ศาล เจ้ าช่วงเทศกาลกินเจ ลูกหลานชาวจีนจะ ไปรวมตัวกันที่ โรงเจ หรื อตามศาลเจ้ า ต่างๆ เพราะมีข้อปฏิบตั ิเคร่ งครัดอยู่ข้อ หนึ่ง ว่า ห้ า มกิ น อาหารที่ ค นปรุ ง ไม่ไ ด้ ถื อศีลกิ นเจ ดังนัน้ สถานที่แห่งศรั ทธา เหล่านี ้มัน่ ใจได้ เลยว่าคนท�ำอาหารนันก็ ้ ถือศีลด้ วย อีกทังเพื ้ ่อเป็ นการช�ำระล้ าง ร่างกายและจิตใจ ไหว้ พระ ไหว้ เจ้ า ร่วม พิธีกรรมที่ทางศาลเจ้ าจัดขึ ้น สารทจีน ตามปฏิทนิ ทางจันทรคติ เทศกาลสารทจีน จะตรงกับวันที่ ๑๕ เดือน ๗ ตามปฏิทนิ จีน เทศกาลสารทจีนถือเป็ นวันส�ำคัญที่ ลูกหลานชาวจีนจะแสดงความกตัญญูตอ่ ๑๑๕
บรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็ น เดื อ นที่ ป ระตูน รกเปิ ด ให้ วิ ญ ญาณทัง้ หลายมารับกุศลผลบุญได้ จึงมีการเซ่น ไหว้ ด้วยของไหว้ สารทจีน หลากความ หมายทีป่ ฏิบตั สิ บื กันมาเนิน่ นาน วันสารท จีนถือเป็ นเดือนส�ำคัญทีล่ กู หลานจะแสดง ความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ และยังเป็ น เวลาที่ประตูนรกเปิ ดให้ บรรดาภูตผีออก เร่ร่อนตามสถานทีต่ า่ ง ๆ ซึง่ เทศกาลสารท จีน ตรงกับ วันเพ็ญ ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๗ ตาม ปี ป ฏิ ทิ น ทางจัน ทรคติ ข องจี น แต่ท าง จันทรคติไทยกลับเป็ น วันขึ ้น ๑๔ ค�ำ่ เดือน ๙ ตามปฏิทนิ จีนโบราณ เดือน ๗ ชาวจีน ทัง้ หลายรู้ สึก สงสารวิ ญ ญาณร้ าย จึง ท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ เมื่อประตูนรก เปิ ด เพือ่ ให้ วญ ิ ญาณร้ ายออกมารับกุศล ผลบุญใน วันสารทจีน ซึง่ ตรงกับ วันที่ ๑๕ เดือน ๗ เพราะเป็ นวันทีเ่ ช็งฮีไต๋ตจี๋ ะตรวจ ดูบญ ั ชีวญ ิ ญาณคนตาย ส่งวิญญาณดีขึ ้น สวรรค์ และส่งวิญญาณร้ ายลงนรก คนจีน จะมีไหว้ เจ้ าใหญ่ ๘ ครัง้ เรี ยกว่าไหว้ ๘ เทศกาลโป๊ ะโจ่ย การไหว้ เจ้ า สารทจีน หรือ วันสารทจีน ซึง่ ถือกันว่าเป็ นเดือนผี เป็ น เดื อ นที่ ป ระตูน รกปิ ด -เปิ ด ให้ ผี ทัง้ หลายมารับกุศลผลบุญ วันไหว้ พระจันทร์ เป็ นเทศกาลทีม่ คี วาม ส�ำคัญส�ำหรับคนจีนมากเป็ นอันดับสอง รองจากเทศกาลตรุษจีน ซึง่ ตรงกับวันขึ ้น ๑๑๖
๑๕ ค�ำ่ เดือน ๘ ของทุกปี โดยจะตรงกับ เดือนกันยายน หรื อตุลาคม อยู่ในช่วง กลางฤดูใบไม้ ร่วง ชาวจีนจึงเรียกว่า จงชิว แปลว่า กลางฤดูใบไม้ ร่วง เป็ นประเพณีที่ ชาวจีนถือปฏิบตั สิ บื ต่อกันมานับพันปี ซึง่ มี ต� ำ นานเล่ า ขานเกี่ ย วกั บ วั น ไหว้ พระจันทร์ ตา่ ง ๆ มากมาย ส่วนใหญ่จะ เป็ น เรื่ อ งของ เทพธิ ด าฉางเอ๋ อ เหิ น สู่ ดวงจันทร์ และ กระต่ายบนดวงจันทร์ ทุก ๆ ครัวเรื อนจะซื ้อขนมไหว้ พระจันทร์ มาไหว้ พระจั น ทร์ พร้ อมกั บ การชม พระจันทร์ จนกลายเป็ นประเพณีของจีน ตลอดมา ส�ำหรับประเพณีรับประทาน ขนมไหว้ พระจันทร์ในวันไหว้ พระจันทร์นนั ้ เกิดขึ ้นเมื่อสมัยมองโกลเข้ ามาปกครอง แผ่นดินจีน เมื่อชาวมองโกลกดขี่ข่มเหง และท�ำร้ ายชาวจีนอย่างโหดเหี ้ยม และ เพือ่ ควบคุมดูแลชาวจีนอย่างใกล้ ชดิ ชาว มองโกลจึงส่งทหารของตนไปประจ�ำอยู่ ในบ้ านของชาวจีนครอบครัวละ ๑ คน เป็ นอันว่าชาวจีนทุก ๆ ครัวเรือนต่างต้ อง เลี ้ยงดูทหารมองโกล ๑ คน ทหารมองโกล เหล่านี ้ยังก่อกรรมท�ำชัว่ ไปหมด ท�ำให้ ชาว จีนขุน่ เคืองใจเป็ นอย่างยิง่ ต่อมาท่านหลิว ปั๋ วเวิน คิดได้ วธิ ีหนึง่ คือ ให้ น�ำกระดาษ เขียนข้ อความ แล้ วสอดไส้ ไว้ ในขนม เรียก ร้ องให้ ชาวจีนทุกคนลงมือสังหารทหาร มองโกลทีป่ ระจ�ำอยูใ่ นบ้ านของตน อย่าง
พร้ อมเพรียงกันในวันเพ็ญเดือนแปด ทังนี ้ ้ เพือ่ ให้ ชาวจีนทีไ่ ปซื ้อขนมมารับประทาน กัน ต่างได้ อา่ นข้ อความดังกล่าวและช่วย กัน กระจายข่ า วนี อ้ อกไป เพื่ อ ก่ อ การ ปฏิวตั ิโดยพร้ อมเพรี ยงกัน ณ วันเพ็ญ เดือนแปด ท�ำให้ สามารถโค่นล้ มอ�ำนาจ การปกครองของมองโกลในที่สุด เพื่อ เป็ นการฉลอง และร� ำลึกการกอบกู้แผ่น ดินที่ ประสบความส�ำเร็ จ ประเพณี รับ ประทานขนมไหว้ พระจันทร์ในวันเทศกาล ดังกล่า วจึง มี การสืบ ทอดกันตลอดมา จนถึงปัจจุบนั ไม่วา่ แห่งหนใดทีม่ ชี าวจีน เดินทางไปถึงก็จะพาประเพณีรบั ประทาน ขนมไหว้ พระจันทร์ ไปด้ วย ส�ำหรับขนม ไหว้ พระจันทร์ ทแี่ พร่หลายในไทยนัน้ เป็ น แบบของกวางตุ้งโดยส่วนใหญ่ หลายปี ที่ ผ่านมา ขนมไหว้ พระจันทร์ ทผี่ ลิตในไทย ไม่วา่ ด้ านคุณภาพ รสชาติ และการบรรจุ ล้ วนมีระดับทีส่ งู ขึ ้น
งานแต่ ง-ยกน� ำ้ ชา ในประเพณี การ แต่ ง งานแบบจี น “พิ ธี ย กน� ำ้ ชา” หรื อ “คัง แต๊ ” เป็ น พิ ธี ที่ มี ค วามส� ำ คัญ มาก ส�ำหรับคูบ่ า่ วสาว เนื่องจากพิธียกน� ้ำชา เป็ นการแสดงถึงความเคารพและคารวะ ต่อญาติผ้ ใู หญ่ ต้ องยอมรับว่าในสังคม วัฒนธรรมของชาวจีน ครอบครัวถือว่า เป็ นสิง่ ที่สำ� คัญมาก ในสมัยโบราณกาล นัน้ คนทีเ่ ป็ น “แซ่” เดียวกัน ก็ถือว่าเป็ น ครอบครัวเดียวกัน รวมถึงการให้ ความ เคารพต่อผู้ที่อาวุโสมากกว่าถือเป็ นสิ่ง ส�ำคัญทีค่ บู่ า่ ว-สาวจะขาดไม่ได้ เนือ่ งจาก พิธยี กน� ้ำชาแสดงถึงการเคารพและคารวะ ญาติผ้ ใู หญ่ของทังสองฝ่ ้ าย ด้ านความเชื่อ ด้ านศาสนา ชาวจีนยู นานมีการนับถือสามศาสนาหลักคือ พุทธ คริ ส ต์ และอิ ส ลาม ในประเทศไทย สามารถแบ่ ง กลุ่ม ตามความเชื่ อ ทาง ศาสนาได้ ๓ กลุม่ ใหญ่ ๆ ได้ แก่ ฮัน่ เจียว ๑๑๗
๑๑๗
“
วันสารทจีน
ถือกันว่าเป็นเดือนผี เป็นเดือนทีป่ ระตูนรกปิด-เปิดให้ ผีทงั้ หลายมารับกุศลผลบุญ
“
เป็ นกลุ่ ม ที่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธนิ ก าย มหายานผสมลัทธิเต๋า มีศาลเจ้ า และใน บ้ านจะมีหิ ้งบูชาบรรพบุรุษ หุยเจียว เป็ น กลุม่ ทีน่ บั ถือศาสนาอิสลาม มีมสั ยิด หรือ สุเหร่า เพือ่ ประกอบพิธี จีตเู๋ จียว เป็ นกลุม่ ที่นบั ถือศาสนาคริ สต์ มีโบสถ์เป็ นศาสน สถานทีใ่ ช้ เพือ่ ท�ำพิธีกรรมในหมูบ่ ้ าน และ ความเชื่อเรื่องสิง่ สักการบูชา ๕ ประการ ได้ แก่ ฟ้า ดิน กษัตริย์ บิดา มารดา และครู สีแดงเป็ นสีมงคล การบูชาผีเรือนจะท�ำให้ ผู้บชู าอยูเ่ ย็นเป็ นสุข กระดูกไก่สามารถใช้ ท� ำ นายโชคชะตา อนาคตและความ รุ่ งเรื องของบุคคลได้ ความเชื่อเกี่ยวกับ ธรรมชาติ และชีวติ หลังความตาย
ชาติพันธุ์ดาราอ้าง ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ผูน้ ำ� ชุมชน นายยอด ขวานทอง หมูบ่ า้ นชาติพนั ธุด์ าระอ้างพระเจ้าทันใจ หมู่ ๘ ต�ำบลโปร่งงาม อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ดาราอ้ าง (ปะหล่อง) (Palaung) หรื อ (ปอหล่อง มาจากคนฉาน และ ปู่ หลง มา จากคนจีน หมายถึง บรรพบุรุษล่องมา ตามสายน� ้ำบนภูเขาที่สงู หนาว)เป็ นชน เผ่าที่อพยพมาจากพม่า เข้ าสู่ไทยเมื่อ ประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๑ เรี ยกตัวเองว่า “ดาราอ้ าง” (Da - ang , Ra - ang , Ta - ang) ค�ำว่า “ปะหล่อง” เป็ นภาษาไทย ใหญ่ซงึ่ ใช้ เรี ยกชนกลุม่ นี ้นอกจากนันยั ้ ง มีค�ำเรี ยกที่แตกต่างกันออกไปอีก เช่น ชาวพม่าเรี ยกปะหล่องว่า “ปะลวง” (Palaung) และไทยใหญ่บางกลุม่ ก็ใช้ ค�ำว่า “คุนลอย” (Kunloi) ซึง่ มีความหมายว่า คนดอย หรื อคนภูเขา เป็ นค�ำที่ชาวรั ฐ ฉานใช้ เรียกแทนค�ำว่าดาราอ้ าง ส่วนชาว จีนนันเรี ้ ยกดาราอางว่า หลง คนมังกร ห รื อ ลู ก ห ล า น ข อ ง ก ษั ต ริ ย์ แ ห่ ง พระอาทิตย์ (King of the Sun) เลือกที่ จะอาศัย อยู่บ นที่ สูง อากาศหนาวเย็ น เป็ นชนเผ่าที่รักความสงบ และปลูกชา จนเป็ นที่เลื่องลือ เอกสารทางประวัติศาสตร์ หลายฉบับ
กล่า วถึ ง ชาวปะหล่อ งว่า เป็ น พลเมื อ ง กลุม่ หนึง่ ภายใต้ การปกครองของนครรัฐ แสนหวี ๑ ใน ๙ นครรัฐของอาณาจักรไต มาว ซึ่ ง เป็ นอาณาจั ก รยิ่ ง ใหญ่ ข อง ชนชาติไต พ.ศ.๑๒๐๐ โดยมีศนู ย์กลาง ของอาณาจัก รในขณะนัน้ อยู่บ ริ เ วณ เมืองแสนหวีในรัฐฉานประเทศพม่า ประ หล่องมี ฐานเดิมอยู่ในโกสัมพีซึ่งก็ เป็ น ข้ อ มูล ที่ ต รงกัน เพราะ ค� ำ ว่ า โกสัม พี เป็ นการเรี ยกนครรั ฐแสนหวี และ กับ ความหมาย ครอบคลุมรัฐฉานทังหมด ้ จ� ำ นวนประชากรปะหล่ อ ง โดยการ ๑๑๙
ส�ำรวจของ องค์การพิทกั ษ์สทิ ธิมนุษยชน ณ ประมาณว่ามี ๑ ล้ านคน ถิ่นที่อยูก่ นั หนาแน่น คือบริ เวณเทือกเขาในรัฐฉาน แถบเมืองตองแปง น� ้ำซัน สีปอ้ เมืองมิต และทางตอนใต้ ในรัฐฉานคือ เมืองเชียง ตุง นอกจากนันยั ้ งพบว่า ปะหล่องกระจัด กระจายกันอยู่ทางตอนใต้ ของรัฐคะฉิ่น และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ของยูนานใน ประเทศจีนราวปี พ.ศ.๒๕๑๑ ที่ชาวปะ หล่อ งได้ เ ริ่ ม อพยพเข้ า ในบางกลุ่ม มา จนถึงปี พ.ศ.๒๕๒๗ ได้ ปรากฏชาวปะ หล่องจ�ำนวน ๒,๐๐๐ คน อพยพ มารวม กันทีช่ ายแดนไทย- พม่า บริเวณดอยอ่าง ขาง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ฟื น้ ฟู บ้ านนอแล ซึ่งเป็ นหมู่บ้านใกล้ กบั พื ้นที่ รับผิดชอบของโครงการหลวงดอยอ่าง ขางสถานการณ์ครัง้ นันน� ้ ำความล�ำบาก ใจมาสู่เ จ้ า หน้ า ที่ ผ้ ูป ฏิ บัติ ง านในพื น้ ที่ อย่างยิ่งเนื่องจากกลุ่มอพยพครัง้ นี ้เป็ น ชาวปะหล่องจากดอยลาย อยู่ระหว่าง เมืองเชียงตอง กับเมืองปั่ น เขตเชียงตุง ฉะนัน้ บุค คลเหล่า นี จ้ ึง ถื อ เป็ น บุค คล อพยพเข้ าเมืองโดยผิดกฎหมาย สาเหตุ ของการอพยพสื บ ต่ อ เนื่ อ งมาจาก สถานการณ์ในประเทศพม่าเมื่อประเทศ อังกฤษคืนอิสรภาพมีผลท�ำให้ เกิดความ ระส�่ำระสายไปทัว่ เกิดการขัดแย้ งและสู้ รบกันตลอดเวลา ระหว่างกองก�ำลังชน ๑๒๐
กลุ่มน้ อยที่รวมตัวกันจัดตังองค์ ้ กรแนว ร่ ว มประชาธิ ป ไตยแห่ ง ชาติ กับ ทหาร รัฐบาลพม่าทีด่ ำ� เนินการอยูใ่ นพื ้นทีต่ า่ งๆ สงครามส่งผลต่อชาวปะ- หล่องทังทาง ้ ตรงและทางอ้ อมชาวปะหล่องมีการรวม ตัวกันเป็ นองค์กร ชื่อองค์กรปลดปล่อย รัฐปะหล่อง (Palaung state liberation Organization : PSLO) มีกองก�ำลังติด อาวุธประมาณ ๕๐๐ คน องค์กรดังกล่าว เ ป็ น พั น ธ มิ ต ร อ ยู่ ใ น แ น ว ร่ ว ม ประชาธิ ป ไตยแห่ ง ชาติ ซึ่ง เป็ น องค์ ก ร หลักทีร่ วมเอาองค์กรต่อสู้เพือ่ สิทธิในการ ปกครองตนเองของชนกลุม่ น้ อยทังหมด ้ ไว้ ในแต่ละครัง้ ที่เกิดการสู้รบ หรื อปะทะ กันระหว่างองค์กรปลดปล่อยรัฐปะหล่อง กับทหารรัฐบาลชาวบ้ านประสบความ เดือดร้ อนมาก ต้ องสูญเสียทังชี ้ วิตและ ทรั พย์ สิน นอกจากนัน้ พืน้ ที่ ๆ ชาวปะ หล่องอาศัยอยู่ยังเป็ นพืน้ ที่เคลื่อนไหว ปฏิ บัติ ง านมวลชนพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ พม่าทหารฝ่ ายรัฐบาลจะเข้ ามาปฏิบตั ิ การโจมตีเพื่อสะกัดกันความเคลื ้ ่อนไหว อยูต่ ลอดเวลา การปฏิบตั กิ ารเหล่านี ้มีผล ต่อชีวิตความเป็ นอยู่ของชาวปะหล่อง ดอยลายเป็ นอย่างมาก นายค�ำ เหียง (จองตาล) ผู้น� ำ การอพยพเล่า ว่า เมื่ อ ทหาร ของขบวนการกู้ชาติไทยใหญ่มา ตั ง้ กองทั พ ใกล้ หมู่ บ้ านและทหาร
คอมมิ ว นิ ส ต์ ก็ ม าบัง คับ ให้ ส่ ง เสบี ย ง อาหารเป็ น เหตุใ ห้ ฝ่ ายรั ฐ บาลพม่ า ส่ง ก�ำลังเข้ าปราบปรามชาวบ้ านถูกฆ่าตาย เป็ นจ� ำ นวนมากโดยถู ก กล่ า วหาว่ า ให้ การสนั บ สนุ น ทหารกู้ ชาติ แ ละ คอมมิวนิสต์ นอกจากนันยั ้ งเอาสัตว์เลี ้ยง ไปฆ่ากินยึดของมีคา ่ เผายุ้งข้ าว ข่มขืนผู้ หญิง และบังคับผู้ชายให้ ไปเป็ นลูกหาบ ขนอาวุ ธ เสบี ย งอาหาร บางคนถู ก สอบสวน ทุบตีอย่างทารุ ณ เพื่อบังคับ บอกฐานที่ตงของทหารกู ั้ ้ ชาติไทยใหญ่ และทหารคอมมิวนิสต์ เมื่อชาวบ้ านต้ อง เผชิญกับความล�ำบากนานัปการจึงพา กันอพยพหลบหนีจนในที่สดุ มาอยู่รวม กันทีช่ ายแดนไทย - พม่าบริเวณดอยอ่าง ขาง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั เสด็จเยี่ยมเยือนราษฎรชาวเขาเผ่ามูเซอ ทีบ่ ้ านขอบด้ งในพื ้นทีโ่ ครงการหลวงดอย อ่างขางปะหล่องคนหนึ่งจึงได้ น�ำความ กราบบังคมทูลขออนุญาตอาศัยอยู่ใน ประเทศไทยซึง่ เป็ นผลให้ โปรดเกล้ าฯจัด ที่อยู่ในฐานะผู้อพยพที่บ้านนอแลจนถึง ปั จ จุ บัน ช่ ว งที่ ห มู่บ้ า นและปะหล่ อ ง ประสบปั ญหาความเดือดร้ อนอันเนื่อง มาจากพื ้นทีน่ นอยู ั ้ ใ่ กล้ เขตอิทธิพลขุนส่า ท� ำ ให้ ได้ รั บ ผลกระทบจากการสู้ รบ ระหว่างกองทัพไทยใหญ่ของขุนส่ากับ
กองก� ำ ลัง ว้ าแดงอัน เนื่ อ งมาจากผล ประโยชน์ จ ากการค้ าฝิ่ นอยู่ เ นื่ อ งๆ ประกอบกับการขาดแคลนพืน้ ที่ท�ำมา หากิ น และภาวะอากาศที่ ห นาวเย็ น ท� ำ ให้ ช าวประหล่ อ ง บางกลุ่ม พากัน อพยพโยกย้ ายหาที่อยูใ่ หม่ และกระจาย กันไปตัง้ บ้ านเรื อนอยู่หลายพืน้ ที่ จาก การสอบถามชาวประหล่องที่อพยพแยก ย้ ายกันไปตังบ้ ้ านเรื อนอยู่ตามที่ต่าง ๆ แต่ ยังทีการเดินทางไปมาหาสูก่ นั อยูพ่ อ ประมาณได้ ว่ า ปั จ จุ บัน หมู่บ้ า นชาว ประหล่องอยู่ในพื ้นที่อ�ำเภอฝาง อ�ำเภอ เชี ยงดาว อ� ำเภอแม่สาย จ� ำนวน ๑๐ หมูบ่ ้ าน ๑๒๑
ความเชื่อต่าง ๆ ของดาราอ้าง ชาวดาราอ้ างมีความเชื่อ ด้ านการแต่ ง กาย ผู้หญิ งจะใส่เสื ้อแขนยาวคอกลม หรือคอจีน ใส่ผ้าซิน่ ทอมือเน้ นสีแดง ส่วน ตี น ซิ่น สามารถเป็ นสี ใ ดก็ ไ ด้ และจะมี เข็มขัดเงินขนาดใหญ่ทเี่ อว เรียกว่า “น๊ อง เริ น” และมี สายรัด เรี ยกว่า “น๊ องว่อง” (ท� ำ จากหวาย) เครื่ องแต่ ง กายซึ่ ง ประกอบด้ วยเสื ้อผ่าหน้ า แขนกระบอก เอวลอย สีพื ้นสดใส ส่วนใหญ่มกั เป็ นสี ฟ้า สีน� ้ำเงิน สีเขียวใบไม้ ตกแต่งสาบเสื ้อ ด้ านหน้ าด้ วยแถบผ้ าสีแดง สวมผ้ าซิน่ ที่ ทอขึ ้นเอง สีแดงสลับลายริ ว้ ขาวเล็ก ๆ ขวางล�ำตัวความยาวจรดเท้ า โพกศรี ษะ ด้ วยผ้ าผืนยาว จะโพกโดยใช้ ผ้าพาดไว้ ใต้ มวยผมด้ านหลังแล้ วทบมาซ้ อนกัน ด้ านหน้ า ลักษณะที่โดดเด่นคือ การสวม ที่เอวด้ วยวงหวายลงรักแกะลายหรื อใช้ เส้ นหวายเล็ก ๆ ย้ อมสีถกั เป็ นลาย บาง คนก็ใช้ โลหะสีเงินลักษณะเหมือนแผ่น สังกะสี น�ำมาตัดเป็ นแถบยาว ตอกลาย และขดเป็ นวง สวมใส่ปนกัน วงสวมเอว เหล่านี ้ ปะหล่องเรี ยกว่า “หน่องว่อง” หญิงดาราอ้ างทังเด็ ้ ก สาว คนชราจะสวม หน่องว่องตลอดเวลาด้ วยความเชื่อว่า คือ สัญลักษณ์ นของการเป็ นลูกหลาน นางฟ้า ทังนี ้ ้สืบเนือ่ งมาจากต�ำนานทีเ่ ล่า ๑๒๒
สวมเสื ้อเชิ ้ตสีเข้ ม แต่หากมีงานรื่ นเริ งจะ สวมเสื ้อเชิ ้ตหลากสีแทน ความเชื่อด้ านประเพณี พิธีกรรม ก็มี มากมายเช่น ประเพณีสงกรานต์ จัดใน ช่วงเดือนเมษายน โดยจะมีจุดสรงน� ำ้ พระทีว่ ดั โดยจะแบ่งการท�ำกิจกรรม ๑๓๑๕ ค�่ำ พิธีขอขมาผู้สงู อายุ (ปี เก่า) และ ๑๕ ค�่ำ ขอพรผู้สงู อายุ (ปี ใหม่) ประเพณี เข้ าพรรษา จัดในช่วง ๓ เดือนทุก ๑๕ ค�ำ่ มีการถือศีล (ท�ำต้ นผ้ าป่ า) ประเพณีกิน ข้ าวใหม่ จั ด ในช่ ว งหลั ง เข้ าพรรษา เป็ นการท�ำพิธีเรี ยกขวัญข้ าวตามความ เชื่อ เพราะเชื่อว่าถ้ าท�ำพิธีกรรมกินข้ าว ใหม่จะมีกินมีใช้ ตลอดทังปี ้ พิธีหลังสงกรานต์ ปี ใหม่โลกเป็ นการ เทศน์ มหาชาติ พิธีเรี ยกขวัญข้ าว จะ เป็ นการเรี ยกขวัญข้ าว ที่ท�ำหลังจากการ ตีข้าวเสร็จ พิธีปิดประตูหมูบ่ ้ าน จะท�ำใน ช่ ว งปลายเดื อ นมิ ถุ น ายน (ก่ อ นเข้ า
สืบต่อกันมาถึงนางฟ้าที่ชื่อ “หรอยเงิน” ได้ ลงมายังโลกมนุษย์ แต่โชคร้ ายไปติด แร้ วดั ก สั ต ว์ ข องชาวมู เ ซอ ท� ำ ให้ ไม่ สามารถเดินทางกลับสวรรค์ได้ ต้องอยูใ่ น โลกมนุษย์ หลายกลุ่ม ชนเผ่าปะหล่อง เชือ่ ว่าพวกตนเป็ นลูกหลานกลุม่ หนึง่ ของ นางหรอยเงิน ฉะนันจึ ้ งต้ องสวม “หน่อง ว่อง” ซึง่ เปรี ยบเสมือนแร้ วดักสัตว์ไว้ เป็ น สัญญาลักษณ์เพื่อระลึกถึงนางฟ้าหรอย เงินตลอดเวลา ส่วนผู้ชายชาวดาราอ้ าง การแต่งกายจะใส่เสื ้อแขนยาวประดับ ด้ วยเหรี ยญเงินและมีเสื ้อคลุมสวมทับ กางเกงจะเป็ น กางเกงขายาวผ้ า แบบ ธรรมดาหรื อก�ำมะหยี่สีด�ำ และมีเข็มขัด หัวเงินสายเป็ นหนัง เครื่ องแต่งกายของ ชายชาวดาระอัง้ ค่อนข้ างที่จะเรี ยบง่าย กว่าเครื่ องแต่งกายของผู้หญิง เสื ้อผู้ชาย จะเป็ นเสื ้อแขนยาว ผ่าหน้ าคล้ ายกับเสื ้อ ไทยใหญ่ ท�ำจากผ้ าฝ้ายสีน� ้ำเงินหรือสีดำ� ความยาวพอดีกบั เอว ผ้ าโพกศีรษะของ ผู้ชายจะเริ่ มโพกโดยใช้ ชายผ้ าด้ านหนึ่ง วางไว้ บนศีรษะแล้ วขมวดผ้ าส่วนที่เหลือ จนรอบ โดยทัว่ ไปแล้ วจะพบ ผู้ชายสวม ใส่เสื ้อดาระอังน้ ้ อยมาก ส่วนใหญ่จะมี เฉพาะผู้เฒ่าผู้แก่ ต้ องท�ำงานกลางแจ้ ง จึงไม่สะดวกที่จะสวมเสื ้อดาระอัง้ ชาย หนุ่มดาราอ้ างจึงนิยมที่จะสวมเสื ้อเชิ ้ต มากกว่า โดยในเวลาที่ ต้องท� ำงานจะ
พรรษา) ความเชื่ อ เรื่ อ ง งานแต่ง งาน เวลาประกอบพิ ธี ก็ จ ะกล่ า วถึ ง สิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์พวกนี ้แต่ไม่ได้ เกี่ยวกับศาสนา จะไปสูข่ อสาวคนนี ้ไปเป็ น เจ้ าสาวต้ องใช้ ชาเอาห่อขาเล็ก ๆ ประมาณ๒นิ ้วไปให้ เจ้ าสาว ถ้ าเจ้ าสาวยอมรับก็แปลว่าเจ้ า สาวตกลงกับเจ้ าบ่าวแล้ วแต่ถ้าไม่รับก็ แปลว่าไม่ตกลง ถึงเจ้ าบ่าวจะรักอย่างไร ก็ท�ำอะไรไม่ได้ ชาเป็ นองค์ประกอบของ ความส�ำเร็จไม่วา่ จะท�ำงานอะไรต่าง ๆ ก็ จะใช้ ชาเป็ นหลักทุกคนที่เข้ ามาร่ วม จะ เชิญหรือไม่ได้ เชิญจะเป็ นเพือ่ นบ้ านทีเ่ ข้ า มาฟั ง จะมีการแจกคนละนิดละนิดไป ส่วนประกอบทีส่ องก็จะมีเป็ น อันดับแรก ก็เป็ นเกลือห่อเป็ นห่อเดียวแล้ วก็หนั่ เป็ น สองท่อน เปรี ยบเสมือนใบปูหนึง่ ใบแล้ ว ฉีกแบ่งกันแบ่งกันกินแบ่งกันใช้ แสดงถึง ความเชื่อใจส่วนส�ำคัญอีกอย่างคือหมู ห่ อ ในใบตอง ก็ สื่ อ ความหมายที่ ว่ า ๑๒๓
เป็ นการแจ้ งความชัดเจนว่าผู้น�ำ หนุ่ม สาวคู่นีจ้ ะแต่งงานแล้ ว แล้ วเอาหมูตวั กิโลหนึง่ ไปให้ ผู้นำ� ให้ ไปแจ้ งว่าหนุม่ สาว คูน่ ี ้จะแต่งงานในวันนี ้ เวลานี ้ วันที่เท่านี ้ ท�ำนองนี ้ต่อมาก็ยงั มีเกี่ยวกับไข่สอื่ ถึงไม่ ว่าจะท�ำอะไรก็จะได้ ไข่จะได้ มลี กู มีหลาน เป็ นสิง่ หนึง่ ในพิธีกรรมนันว่ ้ าจะต้ องมีถ้า ไม่มีก็เหมือนพิธีกรรมขาดอย่างใดอย่าง หนึ่ ง ไป เป็ นเหมื อ นการสื่ อ กั บ สิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์เจ้ าที่เจ้ าทางว่า สองคนจะอยู่ แบบสามรภรรยากันอย่างถูกต้ องตาม ระเบียบ วินัยของชาวบ้ าน(สัมภาษณ์ ผู้ น� ำ ชุ ม ชน นายยอด ขวานทอง) นอกจากนี ้หนุ่มสาวในชนเผ่าดาราอ้ าง จะไม่นิยมแต่งงานกับคนต่างเผ่า เมื่อถึง เทศกาลหรื อพิธีท�ำบุญต่าง ๆ หากชาย หนุม่ ถูกใจหญิงสาวคนใด ก็จะหาโอกาส ไปเที่ยวบ้ านฝ่ ายหญิ งในตอนกลางคืน โดยจะเป่ าปี่ (เว่อ) หรื อดีดซึง (ดิ ้ง) เพื่อ บอกกล่ า วให้ ฝ่ ายหญิ ง ตื่ น ขึ น้ มาเปิ ด ประตูรับ หากฝ่ ายหญิงไม่รังเกียจจะลุก ขึ ้นมาเปิ ดประตูให้ และพากันเข้ าไปใน บ้ านเพื่อนั่งคุยกันที่เตาไฟจนหนุ่มสาว เข้ าใจกันและตกลงจะแต่งงานกัน จึง บอกพ่อแม่ของฝ่ ายชายไปสูข่ อกับพ่อแม่ ฝ่ ายหญิง ส่วนใหญ่สนิ สอดทีเ่ รียกร้ องกัน จะอยูร่ ะหว่าง ๓-๔ พันบาท ค่าใช้ จา่ ยใน พิธีแต่งงานเป็ นของฝ่ ายชายทังหมด ้ เมือ่ ๑๒๔
เสร็จพิธีแต่งงานแล้ วฝ่ ายหญิงต้ องไปอยู่ กับครอบครัวฝ่ ายชาย ในกรณีทฝี่ ่ ายชาย ไม่มีเงินค่าสินสอด พ่อแม่ฝ่ายหญิ งจะ เป็ นฝ่ ายออกค่าใช้ จา่ ยในการแต่งงานให้ ทัง้ หมด ในพิธีแต่งงานจะมีการเลี ้ยงผี เรื อน ผีปยู่ า่ ตายายในวันมัดมือ และหลัง จากนันคู ้ แ่ ต่งงานก็จะพากันไปท�ำบุญที่ วัดเป็ นการท�ำพิธีทางศาสนา และหลังพิธี แต่ ง งานฝ่ ายชายจะต้ องไปอยู่ กั บ ครอบครัวฝ่ ายหญิง เป็ นเวลา ๓ ปี เพื่อ ท� ำงานชดใช้ ค่าสินสอด จากนัน้ จึงจะ สามารถแยกครอบครัวของตนก็ได้ นอกจากนี ้ยังมีประเพณีเกี่ยวกับการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ในแต่ละหมูบ่ ้ านจะ มีบุคคลผู้ซึ่งมีความรู้ ในเรื่ องการรักษา
แบบพื ้นบ้ าน ทังโดยการท� ้ ำพิธีเซ่นสรวง บูชา ใช้ มนต์คาถา และการใช้ ยาสมุนไพร เรี ยกว่า “สล่า” ซึง่ มีหน้ าที่ในการรักษา อาการเจ็บป่ วย ท�ำนายทายทักเหตุการณ์ ต่าง ๆ ตังชื ้ ่อเด็กเกิดใหม่เพื่อความเป็ น มงคล และท�ำหน้ าที่ปลุกเสกเครื่ องลาง ของขลัง เป่ ามนต์ ค าถา เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ล ทางการป้อ งกันตัว หรื อท� ำ เสน่ห์ ม หา นิ ย มด้ วย หากมี ก ารตายเกิ ด ขึ น้ ใน หมูบ่ ้ าน ญาติพี่น้องจะตังศพไว้ ้ เป็ นเวลา ๒ วัน ระหว่างนันจะมี ้ การเลี ้ยงอาหาร ชาวบ้ านทังหมู ้ บ่ ้ านตลอดงานพิธี และมี การเลี ย้ งผี เ พื่ อ บอกกล่ า วโดยด่ า ย่ า น เท่านัน้ เมื่อถึงเวลาน�ำไปเผาที่ป่าช้ าจะ นิมนต์พระมาชักศพน�ำและท�ำการสวด ส่งวิญญาณด้ วย พิธีกรรมของชนเผ่าปะ หล่องในเมียนมาร์ จะแตกต่างจากชนเผ่า ปะหล่องในประเทศไทย กล่าวคือ ในเมีย นมาร์ การเผาศพจะเผาเฉพาะคนตายที่ เป็ นคนชราเท่านัน้ หากเป็ นคนหนุม่ ต้ อง ฝั ง แต่ปะหล่องในประเทศไทยจะใช้ วิธี เผาเพี ย งอย่ า งเดี ย ว การบูช าผี เ จ้ า ที่ จะกระท�ำปี ละ ๒ ครัง้ คือ ช่วงเข้ าพรรษา ๑ ครัง้ และช่วงก่อนออกพรรษา ๑ ครัง้ พิธีบูชาผี เจ้ าที่ก่อนเข้ าพรรษาเรี ยกว่า “เฮี ย้ งกะน�่ ำ ” มี จุด มุ่ง หมายเพื่ อ บอก กล่าวแก่ผีเจ้ าที่ หรื อเป็ นการย� ้ำแก่ผีเจ้ า ที่ว่าในช่วงเข้ าพรรษา ชาวบ้ านจะไม่มี
การเอาผัวเอาเมีย หรื อ พิธีแต่งงานเกิด ขึ ้น จากนันจึ ้ งท�ำพิธี “กะปี๊ สะเมิง” หรื อ ปิ ดประตูศาลเจ้ าที่ เมื่อใกล้ ออกพรรษา ชาวบ้ านก็จะท�ำพิธี “แฮวะ ออกวา” คือ บูชาผีเจ้ าที่อีกครัง้ หนึ่ง เพื่อท�ำการเปิ ด ประตูศาลผีเจ้ าที่ หรื อ “วะ สะเมิง” เพื่อ เป็ นการบอกกล่าวช่วงฤดูทชี่ าวบ้ านจะมี การแต่ ง งานกั น มาถึ ง แล้ ว และในพิ ธี แต่งงานนี ้ จะมีการเชื ้อเชิญผีเจ้ าที่ออก ไปรั บเครื่ องเซ่นบูชาด้ วย ชาวบ้ านทุก หลังคาเรื อนจะต้ องมาในพิธีนี ้โดยน�ำไก่ ต้ มสับเป็ นชิ ้น ๆ น�ำไปรวมกันที่ศาลเจ้ า ที่จากนัน้ “ด่าย่าน” หรื อผู้น�ำในการท�ำ พิธีกรรม ก็จะเป็ นผู้บอกกล่าวแก่ผีเจ้ าที่ ต่อไป ๑๒๕
ประกอบพิ ธี ในหมู่ บ้ านของชนเผ่ า ปะหล่อ งจะมี ส ถานที่ ศัก ดิ์ สิท ธิ์ ส� ำ คัญ ที่สดุ ของหมูบ่ ้ าน คือ “ศาลผีเจ้ าที่” หรื อ “คะมูเมิ ้ง” ซึ่งเป็ นที่สิงสถิตย์ของผีหรื อ วิญญาณ ที่คอยคุ้มครองหมู่บ้าน โดย บริ เวณศาลจะอยูเ่ หนือหมูบ่ ้ าน ก่อสร้ าง อย่ า งปราณี ต มี รั ว้ ล้ อมรอบสะอาด เรี ยบร้ อย
“
ทุกพิธีกรรมจะมี หัวหน้าพิธีกรรมเรียกว่า
“ด่าย่าน”
“
หมอดู “พุ ท ธศาสนา” ตามพิ ธี ก รรม ต่าง ๆ และพระเจ้ าทันใจ ชนเผ่าดารา อ้ างมีความเชื่อในเรื่ องวิญญาณควบคู่ ไปกับการนับถือพระพุทธศาสนา โดยมี เชื่อว่าวิญญาณทัว่ ไปจะมีอยู่ ๒ ระดับ ได้ แก่ ระดับหนึ่ง เรี ยกว่า “กาบ” เป็ น วิญญาณของสิง่ มีชวี ติ และอีกระดับหนึง่ เรียกว่า “กาน�ำ” เป็ นวิญญาณทีส่ งิ สถิตย์ อยูใ่ นสิง่ ทีไ่ ม่มชี วี ติ เช่น ต้ นไม้ ภูเขา แม่น� ้ำ เป็ นต้ น การเซ่นสรวงบูชาผีหรือวิญญาณ จะท�ำควบคู่ไปกับพิธีกรรมทางศาสนา พุท ธอยู่เ สมอ และทุก พิ ธี จ ะมี หัว หน้ า พิ ธี ก รรม เรี ย กว่ า “ด่ า ย่ า น” เป็ นผู้
เป็นผู้ประกอบพิธี
๑๒๗
“
พิธีบูชาผีเจ้าที่ก่อนเข้าพรรษา เรียกว่า “เฮี้ยงกะน�่ำ” มีจุดมุ่งหมายเพื่อบอกกล่าวแก่ผีเจ้าที่ ว่าในช่วง เข้าพรรษา ชาวบ้านจะไม่มีการเอาผัวเอาเมีย หรือ พิธีแต่งงานเกิดขึ้น
“
๑๒๘
ชาติพันธุ์ม้ง ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชน นายเอกภพ จตุโชคอุดม ผู้ใหญ่บา้ นห้วยหาร บ้านเลขที่ ๖๐ หมู่ ๙ ต�ำบลปอ อ�ำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
ยัง ไม่มี ผ้ ูใ ดสามารถสรุ ป ได้ ว่า ชนชาติ ม้ งมาจากไหน แต่สนั นิษฐานกันว่าม้ ง คงจะอพยพมาจากที่ ร าบสู ง ธิ เ บต ไซบีเรี ย และมองโกเลีย เข้ าสูป่ ระเทศจีน และตั ง้ หลั ก แหล่ ง อยู่ แ ถบลุ่ ม แม่ น� ำ้ เหลือง (แม่น� ้ำฮวงโห) เมื่อราว ๓,๐๐๐ ปี มาแล้ ว ซึง่ ชาวเขาเผ่าม้ งจะตังถิ ้ น่ ฐานอยู่ ในมณฑลไกวเจา ฮุนหน�ำ กวางสี และ มณฑลยูนาน ม้ งอาศัยอยูใ่ นประเทศจีน มาหลายศตรรษ จนกระทั่ง ประมาณ คริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๑๗ ราชวงค์ แ มนจู
(เหม็ง) มีอ�ำนาจในประเทศจีน กษัตริ ย์ จี นในราชวงค์ เหม็งได้ เปลี่ยนนโยบาย เป็ นการปราบปราม เพราะเห็นว่าม้ งที่ เป็ นผู้ชายส่วนใหญ่ แล้ วรู ปร่ างหน้ าตา คล้ ายกับคนรัสเซีย ท�ำให้ คนจีนคิดว่า ม้ ง เป็ นคนรัสเซีย จึงเป็ นเหตุให้ มีการปราบ ปรามม้ งเกิดขึ ้น โดยให้ ชาวม้ งยอมจ�ำนน และยอมรับวัฒนธรรมของจีน และอีก ประการหนึ่ ง คื อ เห็ น ว่ า ม้ งเป็ นพวก อนารยชนแห่งขุนเขา (คนป่ าเถื่อน) จึงได้ มีการต่อสู้กนั อย่างรุ นแรงในหลายแห่ง ๑๒๙
ในที่สดุ ชาวม้ งประสบกับความพ่ายแพ้ สูญเสียพลรบ และประชากรเป็ นจ�ำนวน มาก ในที่สดุ ม้ งก็เริ่ มอพยพถอยร่นสูท่ าง ใต้ และกระจายเป็ นกลุม่ ย่อย ๆ กลับขึ ้น อยู่บนที่สงู ป่ าเขาในแคว้ นสิบสองจุไทย สิบสองปั นนา และอีกกลุ่มได้ อพยพไป ตามทิ ศ ตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ ของราช อาณาจัก รลาวบริ เ วณทุ่ง ไหหิ น เดี ย น เบียนฟู โดยมีหวั หน้ าม้ งคนหนึง่ คือ นาย พลวังปอ ได้ ราบรวมม้ ง และอพยพเข้ าสู่ ประเทศไทยเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๐๐ เป็ นต้ นมา ปั จจุบนั ชาวม้ งส่วนใหญ่ในประเทศไทย ตังถิ ้ ่นฐานอยูต่ ามภูเขาสูง หรื อที่ราบเชิง เขาในเขตพื ้นที่จงั หวัดเชียงราย พะเยา น่าน เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน แพร่ ล�ำปาง ก�ำแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และตาก มีจ�ำนวนประชากรทัง้ สิ ้นประมาณ ๑๕๑,๐๘๐ คน
“
ปัจจุบันชาวม้งส่วนใหญ่ ในประเทศไทยมีจ�ำนวน ประชากรทั้งสิ้น ประมาณ ๑๕๑,๐๘๐ คน
“
๑๓๐
ความเชื่อด้านต่าง ๆ ของม้ง ความเชื่อด้ านอาหาร ชาวม้ งเชื่อว่า อาหารทานเพือ่ เป็ นยา ต้ มไก่สมุนไพรม้ ง ใช้ พืชสมุนไพรท้ องถิ่นที่อยู่ค่ทู กุ หลังคา เรื อ นของชนเผ่ า ม้ ง ที่ ป ลูก ไว้ ทัง้ ใช้ ท� ำ อาหารและใช้ เป็ นยารักษาโรค น�ำมาใช้ เป็ นวัตถุดิบในการปรุ ง โดยน�ำสมุนไพร ใส่เข้ าไปใส่ในไก่ด�ำ แล้ วน�ำไปต้ มเป็ น เมนูอาหารใช้ ดูแลสุขภาพ บางที ม้ ง ก็ เรี ยกอาหารนี ้ว่า ชุดส�ำรับอาหาร “ยอด ชายคนองศึก” ซึง่ ประกอบไปด้ วย ต้ มไก่ บ้ านสมุนไพรม้ ง ต้ มหมื่นปี และข้ าวลืม ผัว ด้ วยความโดดเด่นของข้ าวลืมผัว กิน ข้ าวลื ม ผั ว ร่ ว มกั บ เมนู พื น้ บ้ านอั น มี ลัก ษณะเฉพาะ น� ำ โดย ๒ เมนู เ ด่ น ประจ�ำหมูบ่ ้ าน คือ “ต้ มหมื่นปี ” เป็ นผัก กาดม้ ง (คล้ ายผักกวางตุ้งแต่ชาวบ้ าน บอกว่าไม่ใช่ผกั กวางตุ้ง) ต้ มกับกระดูก หมูคล้ ายการท�ำผักกาดจอส่วนอีกเมนู หนึ่งคือ “ต้ มไก่บ้านสมุนไพรม้ ง” ซึง่ ถือ เป็ นเมนูพเิ ศษ เพราะชาวบ้ านทีน่ ี่บอกว่า เมนูนีม้ ี การใส่สมุนไพรที่ เป็ นเคล็ดลับ ของชาวม้ ง (เชือ่ ว่า)ช่วยเพิม่ พลังทางเพศ ลงไป แม้ จะไม่เทียบเท่ากับไวอากร้ า แต่ ถ้ ากิ นบ่อยๆก็ จะดี ต่อ สมรรถภาพทาง เพศ ดีต่อสุขภาพ ร่ างกาย และไม่มีผล กระทบข้ างเคียง ซึง่ ว่ากันว่า “มื ้อเย็นวัน
ไหน ถ้ าแม่บ้านท�ำชุดส�ำรับนี ้ให้ สามีกิน และท�ำอร่อยจนสามีกินเพลินคืนนันต้ ้ อง เจอศึกหนักแน่นอน” ผัดยอดผักม้ ง (ซา โยเต้ ) เป็ นพืชไม้ เถาวงแตง เรี ยกว่าฟั ก แม้ ว น� ้ำพริ กม้ ง มีผกั ชี เกลือ และ พริ ก ขี ้หนู เป็ นส่วนประกอบหลัก น�ำโขลกรวม กัน ทุกอย่างสดไม่มกี ารย่าง แกล้ มกับผัก เช่น บร็ อคโคลี่ เห็ดนางฟ้า ดอกกะหล�่ำ กะหล�่ำปลี แครอท ผักกาด ถั่วฝั กยาว เป็ นต้ น ความเชื่อด้ านที่อยู่อาศัยของชาวม้ ง นัน้ ตัวบ้ านปลูกคล่อมอยูบ่ นพื ้นดินทีท่ บุ แน่น วัสดุสว่ นใหญ่ใช้ ไม่เนื ้ออ่อน ผนังกัน้ ระหว่างห้ องหรื อบ้ านท�ำใช้ ล�ำ ไม้ ไผ่ ผ่า คลีเ่ ป็ นแผ่นหลังคามุง ด้ วยหญ้ าคา หรื อ ใบจาก แต่เสาจะเป็ นไม้ เนื ้อแข็ง แปลน เป็ น แบบง่า ย ๆ ตัว บ้ า นไม่มี ห น้ า ต่า ง เนื่องจากอยู่ในที่อากาศหนาวเย็น ใกล้ กับประตูหลัก จะมีเตาไฟเล็ก และแคร่ไม่ ไผ่ส� ำ หรั บ นั่ง หรื อ นอน เอาไว้ รั บ แขก กลางบ้ านจะเป็ นที่ท�ำงานบ้ าน เข้ าไปใน สุด ด้ านซ้ ายจะเป็ นเตาไฟใหญ่ส�ำหรับ ท�ำอาหารเลี ้ยงแขกจ�ำนวนมาก และเอา ไว้ ต้ ม อาหารหมู บางบ้ านจะมี ครกไม้ ใหญ่ส�ำหรั บต�ำข้ าวเปลือก มีลูกโม่หิน ส�ำหรับบดข้ าวโพด แป้ง ถัว่ เหลือง ใกล้ กับที่ท�ำงานจะมีกระบอกไม้ ไผ่รองน� ้ำตัง้
อยู่ ส�ำหรับมุมบ้ านฝั่ งซ้ ายมักจะกันเป็ ้ น ห้ อ งนอนของพ่ อ แม่ กับ ลูก ชนเผ่ า ม้ ง นิยมสร้ างบ้ านอยูบ่ นภูเขาสูง โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ม้ งบางกลุม่ จะมีการปลูกฝิ่ นเป็ น พืชหลัก แต่ในปั จจุบันนี ้ ม้ งได้ รับพระ มหากรุ ณาธิ คุณ จากพระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยู่หวั รัชกาลที่ ๙ ให้ อพยพมา ตังรกรากอยู ้ ่ในพื ้นราบลุม่ เขา และยังมี ม้ งบางกลุม่ ก็ยงั คงตังรกรากอยู ้ ่บนดอย แต่ไม่ลกึ การคมนาคมพอที่จะเข้ าไปถึง ได้ หมูบ่ ้ านม้ งจะประกอบด้ วยกลุม่ เรื อน หลาย ๆ หย่อม แต่ละหย่อมจะมีบ้าน ราว ๆ ๗-๘ หลังคาเรื อน โดยที่มีเรื อน ใหญ่ ข องคนส� ำคัญ อยู่ตรงกลาง ส่วน เรื อนที่เป็ นเรื อนเล็กจะเป็ นลูกบ้ านหรื อ ลูกหลาน ส่วนแต่ละหย่อมนันจะหมาย ้ ถึงตระกูลเดียวกัน หรื อเป็ นญาติพี่น้อง ๑๓๑
กันนัน่ เอง ตัวบ้ านปลูกคล่อมอยู่บนพื ้น ดินที่ทบุ แน่น โดยใช้ พื ้นดินเป็ นพื ้นบ้ าน ฝาบ้ านเป็ นไม้ แผ่น มุงด้ วยคา มีห้องนอน กับห้ องครัวในบ้ าน บ้ านจะมีขนาดใหญ่ เพราะอยู่อ าศัย ในลัก ษณะครอบครั ว ขยาย ม้ งถื อ ผู้ อาวุ โ สเป็ นหั ว หน้ า ครอบครัว วัสดุส่วนใหญ่ใช้ ไม่เนื ้ออ่อน ผนังกัน้ ระหว่างห้ องหรื อบ้ านท� ำใช้ ล�ำ ไม้ ไผ่ ผ่าคลี่เป็ นแผ่น หลังคามุง ด้ วย หญ้ าคา หรือใบจาก แต่เสาจะเป็ นไม้ เนื ้อ แข็ง แปลนเป็ นแบบง่าย ๆ ตัวบ้ านไม่มี หน้ าต่าง เนื่องจากอยูใ่ นที่อากาศหนาว เย็น ใกล้ กบั ประตูหลัก จะมีเตาไฟเล็ก และแคร่ไม่ไผ่ส�ำหรับนัง่ หรื อนอน เอาไว้ รับแขก กลางบ้ านจะเป็ นที่ท�ำงานบ้ าน เข้ าไปในสุดด้ านซ้ ายจะเป็ นเตาไฟใหญ่ ส�ำหรับ ท�ำอาหารเลี ้ยงแขกจ�ำนวนมาก ๑๓๒
และเอาไว้ ต้มอาหารหมู บางบ้ านจะมี ครกไม้ ใ หญ่ ส� ำ หรั บ ต� ำ ข้ าวเปลื อ ก มี ลูก โม่หิ น ส� ำ หรั บ บดข้ าวโพด แป้ง ถั่ว เหลื อ ง ใกล้ กับ ที่ ท� ำ งานจะมี ก ระบอก ไม้ ไผ่รองน� ้ำตังอยู ้ ่ ส�ำหรับมุมบ้ านฝั่งซ้ าย มักจะกันเป็ ้ นห้ องนอนของพ่อแม่ กับลูก ภายในบ้ านจะมีสถานที่ศกั ดิ์สทิ ธิ์ อยู่ ๔ แห่ง คือ ประตูทางเข้ าหลัก, เสากลาง บ้ าน, ผนังบ้ านที่ตรงข้ ามกับประตูหลัก (เป็ นสถานประกอบพิ ธี กรรมทาง ไสยศาสตร์ ข องม้ ง จะประกอบด้ ว ย กระดาษที่ตดั มาติดเป็ นแผ่นใหญ่ และ ยาวเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ ม และมี การตังโต๊ ้ ะหมู่ บูชาจะมีการนะกระป๋ องหรื อ กระบอก ไม้ ไ ผ่ ใ ส่ ข้ า วเปลื อ ก หรื อ ขึ เ้ ถ้ า หรื อ ข้ าวโพดก็ได้ จะน�ำธูปจ�ำนวน ๗ ดอกมา ปั กข้ างๆ กระบอกธูป จะมีกระบอกสุรา
และกระบอกน� ้ำไว้ เซ่นไหว้ ), และเตาไฟ ใหญ่ ชาวม้ งจะไม่ค่อยย้ ายที่อยู่บ่อยนักเมื่อ เทียบกับเผ่าอืน่ บางทีอยูน่ าน ๑๕-๒๐ ปี จึงย้ ายไปอยูท่ ี่ใหม่ และอาจย้ ายกลับมา ที่เดิมอีกม้ งมีระบบ เครื อญาติที่มนั่ คง มาก จึงเป็ นการยากที่จะถูกกลืนโดยชน ชาติอื่นๆ ในปั จจุบนั นี ้ยังมีการสร้ างบ้ าน เรื อนเช่นนี ้อยู่ แต่พบน้ อยมาก ส่วนใหญ่ ม้ งจะรับวัฒนธรรมของสังคมอื่น ๆ มา จึงท�ำให้ การสร้ างบ้ านเรื อนเปลีย่ นแปลง ไป โดยสร้ างบ้ านเรื อนเหมือนกับคนไทย มากขึ ้น และจะมีการย้ ายบ้ านเมื่อมีโรค ระบาด หรือมีเหตุการณ์ทรี่ ้ ายแรงเกิดกับ หมูบ่ ้ าน หรื อขัดแย้ งกับราชการจนต้ องมี การต่อสู้เกิดขึ ้น ในการย้ ายแต่ละครัง้ จะ มีการย้ ายแบบระมัดระวังที่สดุ เมื่อใกล้ จะย้ ายแล้ วม้ งมีการขุดหลุมเพื่อที่จะฝั ง สัมภาระ ที่เป็ นหม้ อข้ าว-หม้ อแกงที่ไม่ จ�ำเป็ นมาก และจะท�ำเครื่ องหมายบาง อย่างที่สามารถที่จะจ� ำได้ ไว้ เพื่อย้ อน กลับมาเอาเมื่อเหตุการณ์สงบเรี ยบร้ อย เมื่อเริ่ มย้ ายม้ งจะน�ำม้ า เป็ นพาหนะใน การบรรทุกของ โดยให้ ผ้ ูชายน�ำขบวน เดินทางพร้ อมกับแผ้ วถางทางเดินให้ กบั ผู้หญิง และลูกเดินตามกับม้ าที่บรรทุก ของด้ ว ย และผู้ช ายที่ มี อ าวุธ อยู่ท้ า ย ขบวนคอยป้องกันดูแล เมื่อการเดินทาง
ไปถึงบริเวณทีต่ ้ องการทีจ่ ะตังรกรากแล้ ้ ว การทีจ่ ะอยูใ่ นบริเวณนัน่ ได้ นนั ้ จะต้ องให้ คนทีเ่ ป็ นหมอผีหรือคนทรงเจ้ าจะเป็ นคน เสีย่ งทายพี ้นที่นนก่ ั ้ อน เพื่อความอยูร่ อด ของม้ ง ความเชื่อด้ านประเพณีพธิ ีกรรม ชาว เขาเผ่า ม้ ง มี ป ระเพณี แ ละวัฒ นธรรม ตลอดทังความเชื ้ ่อเป็ นของตนเองสืบมา แต่บรรพบุรุษ เช่น ประเพณีแต่งงาน ฝ่ าย ชายและฝ่ ายหญิ งจะกลับมาบ้ านของ ตนเอง และฝ่ ายชายค่อยมาพาฝ่ ายหญิง จากบ้ านของฝ่ าย หญิงโดยผ่านประตูผี บ้ านของฝ่ ายหญิ งเพราะคนม้ งถือและ เป็ นวัฒนธรรมของคนม้ ง หลังจากที่ฝ่าย ชายและฝ่ ายหญิ งกลับมาถึงบ้ านของ ฝ่ ายชาย พ่อ แม่ของฝ่ ายชาย จะเอาแม่ ไก่มาหมุนรอบศีรษะทังสองคน ้ ๓ รอบ ๑๓๓
เรี ยกว่า “หรื อข๊ า” เป็ นการต้ อนรับคนทัง้ สองเข้ าบ้ าน ซึง่ ฝ่ ายชายต้ องแจ้ งให้ ญาติ ทางฝ่ ายหญิงทราบภายใน ๒๔ ชัว่ โมง โดยจัดหาคน ๒ คน เพือ่ ไปแจ้ งข่าวให้ พอ่ แม่และญาติฝ่ายหญิ งทราบว่า ตอนนี ้ บุตรชายของเราได้ พาบุตรสาวของท่าน มาเป็ นลูกสะใภ้ ของเราแล้ ว ท่านไม่ต้อง เป็ นห่วงบุตรสาว โดยคนที่ไปแจ้ งข่าว คนม้ งเรี ยกว่า “แม่โก๊ ง” พ่อแม่ฝ่ายหญิง จะแจ้ งให้ ทางฝ่ ายชายว่าทราบว่าอีก ๓ วันให้ “แม่โก๊ ง” มาใหม่ นันหมายถึ ้ งว่า พ่ อ แม่ ท างฝ่ ายหญิ ง ต้ องการจั ด งาน แต่งงาน สมัยก่อนคนม้ งมักจะอยูก่ นิ ด้ วย กันก่อนสองถึง ๓ เดือน หรื ออาจจะเป็ น ปี แล้ วค่อยมาจัดงานแต่ง แต่ปัจจุบนั นี ้ สังคมเปลีย่ นไปตามยุคเทคโนโลยี ท�ำให้ การจัดงานแต่งงานของคนม้ งได้ ก�ำหนด จัดงานแต่งงานภายใน ๓ วันเป็ นที่นิยม
กันในปั จจุบนั ชาวม้ ง จะไม่เกี ้ยวพาราสี หรื อแต่ ง งานกั บ คนแซ่ ห รื อตระกู ล เดียวกันเพราะถือเป็ นพี่น้องกัน ชาวม้ ง นิยมแต่งงาน ในระหว่างอายุ ๑๕-๑๙ ปี เมื่อแต่งงานกันแล้ วฝ่ ายหญิงจะย้ ายเข้ า มาอยูใ่ นบ้ านของฝ่ ายชาย ซึง่ นับเป็ นการ เพิ่ ม สมาชิ ก ในครอบครั ว ชายชาวม้ ง อาจมีภรรยาได้ มากกว่าหนึ่งคนอยู่รวม กันในบ้ านของฝ่ ายสามี ประเพณีขึ ้นปี ใหม่หรื อประเพณีฉลองปี ใหม่ เป็ นงานรื่ นเริ งของชาวม้ งของทุก ๆ ปี จะจัดขึ ้นหลังจากได้ เก็บเกี่ยวผลผลิต ในรอบปี เรี ยบร้ อย และ เป็ นการฉลองถึง ความส�ำเร็จในการเพาะปลูกของแต่ละปี ซึง่ จะต้ องท�ำพิธีบชู าถึงผีฟา ้ - ผีป่า – ผี บ้ าน ที่ให้ ความคุ้มครอง และดูแลความ สุขส�ำราญตลอดทังปี ้ รวมถึงผลผลิตทีไ่ ด้ ในรอบปี ด้วย ซึง่ แต่ละหมูบ่ ้ านจะท�ำการ
หลังประเพณีแต่งงาน เมื่อฝ่ายชายและหญิง กลับมาถึงบ้าน พ่อและแม่ของฝ่ายชายจะเอา แม่ไก่มาหมุนรอบศรีษะฝ่ายชายและหญิง ๓ รอบ เพื่อเป็นการต้อนรับคนทั้งสองเข้าบ้าน เรียกว่า
“หรือข๊า” ๑๓๔
ฉลองกันอย่างพร้ อมเพรี ยงกัน หรื อตาม วันและเวลาที่สะดวกของแต่ละหมู่บ้าน ซึ่งโดยมากจะอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม ของทุกปี ประเพณีฉลองปี ใหม่ม้งนี ้ชาว ม้ งเรี ยกกันว่า “น่อเป๊ โจ่วฮ์” ในงานขึ ้นปี ใหม่ เช่น การละเล่นลูกช่วง การตีลกู ข่าง การร้ องเพลงม้ ง ประเพณี กินข้ าวใหม่ ของม้ ง เป็ น ประเพณี ที่ สื บ ทอดกัน มา ตังแต่ ้ สมัยรุ่นทวด-รุ่นปู่ ซึง่ ม้ งจะมีความ เชื่อว่าจะต้ องเลี ้ยง ผีป-ผี ู่ ย่า เพราะช่วง เวลาในหนึง่ รอบปี หรือในหนึง่ ปี ทผี่ า่ นมา นันผี ้ ป-ู่ ผียา ่ ได้ ดแู ลครอบครัวของแต่ละ ครอบครัวเป็ นอย่างดี ดังนันจึ ้ งมีการปลูก ข้ าวใหม่เพื่อจะเซ่นบูชา คุณผีป-ู ผียา่ กับ เจ้ าที่ทกุ ตน ซึง่ การกินข้ าวใหม่จะท�ำกัน ในเดือน ตุลาคมของทุกปี ข้ าวใหม่คือ ข้ าวทีป่ ลูกขึ ้นมาเพือ่ ทีจ่ ะเซ่นถวายให้ กบั ผีป-ู่ ผียา ่ เมื่อต�ำเสร็จเรี ยบร้ อยน�ำข้ าวมา หุงเพื่อเซ่นไหว้ ผีป-ผี ู่ ย่า ซึง่ ในการท�ำพิธี เซ่นผีนนสามารถท� ั้ ำโดยการน�ำไก่ตวั ผู้ที่ ต้ มทังตั ้ วมาเซ่นไหว้ ตรงผีประตูก่อน ซึง่ ต�ำแหน่งที่จะต้ องเซ่นไหว้ มี ๕ แห่งได้ แก่ สื่อก๋าง ดังขอจุ ้ ๊ บ ดังขอจุ ้ ด ดังขอจ่ ้ อง ดัง้ จี ้ดัง้ ขณะท�ำพิธีต้องสวดบทสวดเพื่อที่ บอกให้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่นบั ถือได้ รับรู้ และ เข้ ามาทานก่อน เมื่อท�ำพิธีเสร็ จคนใน บ้ านถึงจะสามารถทานต่อได้ ซึง่ พิธีกิน ข้ าวใหม่นนได้ ั ้ สืบทอด มานานหลายชัว่
อายุคน ด้ านความเชื่ อ ชาวม้ ง มี ก ารนับ ถื อ วิญญาณบรรพบุรุษ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์เกีย่ วกับ ธรรมชาติสงิ่ แวดล้ อมทีอ่ ยูบ่ นฟ้า ในล�ำน� ้ำ ประจ�ำต้ นไม้ ภูเขา และไร่นา ชาวม้ งจะ ต้ องเซ่นสังเวยสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ตา่ ง ๆ เหล่านี ้ ปี ละครัง้ โดยเชื่อว่าพิธีไสยศาสตร์ เหล่า นี จ้ ะช่ว ยให้ วิ นิ จ ฉัย โรคได้ ถูก ต้ อ งและ ท�ำการรักษาได้ ผล เพราะความเจ็บป่ วย ทังหลาย ้ ล้ วนแต่เป็ นผลมาจากการผิดผี ท�ำให้ ผีเดือดดาลมาแก้ แค้ นลงโทษให้ เจ็ บ ป่ วย จึ ง ต้ อ งใช้ วิ ธี จัด การกับ ผี ใ ห้ คนไข้ หายจากโรค “ชาติพนั ธุ์ม้งเราเนี่ย ส�ำคัญจริ ง ๆ ก็มีความเชื่อถือบรรพบุรุษ หลังจากนันมาก็ ้ เชื่อความเชื่อของเจ้ าที่ เจ้ าทางในดอยทีไ่ หนในห้ วยทีไ่ หน ต้ องมี เจ้ าที่เจ้ าทางอยู่ ด้ วยยกตัวอย่างเด็ก ๆ ที่ไปท�ำงานในป่ าอาจจะมีเจ้ าที่เจ้ าทาง อยู่ เขากินข้ าวเขาไม่อวยพร ให้ เจ้ าที่เจ้ า ทางสิง่ อันตรายอาจมาท�ำร้ ายได้ สมมุติ ว่าเราจะตัง้ หมูบ้านตรงไหน เราจะตัง้ ศูนย์อยู่ตรงไหนเราจะตังโรงเรี ้ ยนเราจะ ตังศู ้ นย์อยู่ตรงไหน เราดูว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อยูจ่ ดุ ไหน พอทีจ่ ะนับถือได้ ไหมเราก็ต้อง ดูให้ คนเฒ่าคนแก่ดู หนึ่งต้ นไม้ หิน ๒ อย่าง หินที่ไม่แตกฝังดิน อาจจะมีหลาย อย่างมาเกาะท�ำให้ เข้ มแข็ง ลักษณะต่อ ไปไม่มกี ารล้ มไม่มกี ารเสียต้ นไม้ กเ็ หมือน ๑๓๕
กันจะต้ องรากดีแข็งล�ำต้ นสมบูรณ์ ต้น ใหญ่ เราถึงจะตังเป็ ้ นเจ้ าที่เจ้ าทางได้ ก็ ศาลทีม่ ตี รงนี ้ก็สว่ นมากเดีย๋ วนี ้วัยรุ่นแถว นี ก้ ็ จ ะไม่ เ คารพแต่ ค นเฒ่ า คนแก่ ที่ มี ความเชื่อเค้ าก็พาเด็กมา ตรงนี ้เป็ นเจ้ าที่ เจ้ าทางนะมาก็อย่าไปท�ำอะไรไม่ดี จะ ต้ องรักษาความสะอาดต้ องเคารพนะก็ สอนลูกหลานแบบนี ้ ต้ องมาไหว้ ต้องมา กล่าว เจ้ าที่เจ้ าทางคุ้มครองเรานะเราไป ไหนมาไหนให้ ค้ ุมครองเรา มอบความ ปลอดภัยให้ เราถ้ าเราแบบนีจ้ ริ ง เราก็ ปลอดภัยจริ ง ๆ อย่าให้ สญ ู หายไป ที่ท�ำ มาก็เพราะอย่างนี ้ ให้ เจ้ าที่เจ้ าทาง ๑ แล้ ว๒สมุนไพรทุกอย่างต่าง ๆ อย่าให้ สู ญ หายไปแล้ ว ทุ ก อย่ า งที่ อ ยู่ ใ นป่ า เราต้ องช่วยกันรั กษา เป็ นการที่ จ ะไม่ ท�ำให้ สญ ู หายไป ให้ ลกู หลานสืบทอดต่อ ๑๓๖
ๆ กั น ไป (สั ม ภาษณ์ : ผู้ น� ำ ทางจิ ต วิญญาณ) หากว่าคนทรงเจ้ ารายงานว่า คนไข้ ที่ล้มป่ วยเพราะขวัญหนี ก็จะต้ อง ท�ำพิธีเรี ยกขวัญกลับเข้ าสูร่ ่างของบุคคล นัน้ แต่การที่จะเรี ยกขวัญกลับมานัน้ จะ ต้ อ งมี พิ ธี ก รรมในการปฎิ บัติ ม ากมาย บางครัง้ บางพิธีกรรมก็มีความยุง่ ยากใน การปฎิบตั ิแต่ม้งก็ไม่ย่อท้ อต่ออุปสรรค เหล่ า นั น้ ม้ งเชื่ อ ว่ า การที่ มี ร่ า งกาย สมบู ร ณ์ แ ข็ ง แรง โดยไม่ มี โ รคภั ย มา เบียดเบียน นัน่ คือความสุขอันยิง่ ใหญ่ขอ งม้ ง ฉะนัน้ ม้ ง จึง ต้ อ งท� ำ ทุก อย่า งเพื่ อ เป็ นการรักษาให้ หาย จากโรคเหล่านัน้ ซึง่ พิธีกรรมในการรักษาโรคของม้ งนันมี ้ อยู่หลายแบบ ซึง่ แต่ละแบบก็รักษาโรค แต่ละโรคแตกต่างกันออกไป การทีจ่ ะท�ำ พิ ธี กรรมการรั ก ษาได้ นัน้ ต้ อ งดูอ าการ ของผู้ป่วยว่าอาการเป็ นเช่นไร แล้ วจึงจะ เลือกวิธีการรักษาโดยวิธีใดถึงจะถูกต้ อง ความเชื่อเรื่ องการท�ำผี หรื อการลงผี (การอั๊วเน้ ง) เป็ นการรักษาอีกประเภท หนึ่งของม้ ง การอั๊วเน้ ง (การท�ำผีหรื อ ลงผี) มีอยู่ ๓ ประเภท คือ การอัว๊ เน้ งข่อย ชัว๊ ะ การอัว๊ เน้ งเกร่ทงั่ และการอัว๊ เน้ งไซ ใย่ ซึ่งแต่ละอัว๊ เน้ งมีความแตกต่างกัน ออกไป การรักษาก็แตกต่างกันไปด้ วย การจะอั๊วเน้ งได้ เมื่อมีคนในครอบครั ว เจ็บป่ วยโดยไม่ร้ ูสาเหตุ เป็ นการรักษาอีก
ประเภทหนึง่ ดังนันม้ ้ งมักจะนิยมอัว๊ เน้ ง เพื่อการเรี ยกขวัญที่หายไปหรื อมีผีพาไป ให้ กลับคืนมาเท่านัน้ ซึง่ ม้ งเชือ่ ว่าการเจ็บ ป่ วยเกิดจากขวัญที่อยูใ่ นตัวหายไป มีวธิ ี การรักษาดังนี ้ เวลาอัว๊ เน้ งหรื อท�ำผีนนั ้ คนที่เป็ นพ่อหมอจะเริ่ มไปนั่งบนเก้ าอี ้ แล้ วร่ ายเวทมนต์คาถาต่าง ๆ พร้ อมกับ ติดต่อ สื่อสารกับผีแล้ วไปคลี่คลายเรื่ อง ราวต่าง ๆ กับผี ถ้ าคลี่คลายได้ แล้ วจะมี การฆ่าหมู แต่ก่อนจะฆ่าหมูนนั ้ จะต้ อง ให้ คนไข้ ไปนัง่ อยู่ข้างหลังพ่อหมอ แล้ ว ผูกข้ อมือ จากนัน้ น� ำหมูมาไว้ ข้างหลัง คนไข้ แล้ วพ่อหมอจะสัง่ ให้ ฆา่ หมู การที่ จะฆ่าหมูได้ นนั ้ จะต้ องมีคนหนึ่งซึ่งเป็ น ตัวแทนของพ่อหมอ และสามารถฟั งเรื่อง ราวของการอัว๊ เน้ งได้ รู้วา่ ตอนนี ้พ่อหมอ ต้ องการอะไร หรื อสัง่ ให้ ท�ำอะไร เมื่อพ่อ หมอสัง่ ลงมา คนที่เป็ นตัวแทนต้ องบอก กับ คนในครอบครั ว ให้ ท� ำ ตามค� ำ บอก กล่าวของพ่อหมอ เมื่อสัง่ ให้ หาหมูก็ต้อง น� ำ หมูม าฆ่ า แล้ ว จะน� ำ กัว ะมาจุ ม กับ เลือดหมู พร้ อมกับมาปะทีห่ ลังคนไข้ แล้ ว พ่อ หมอจะเป่ าเวทมนต์ให้ จากนันจะน� ้ ำ กัวะไปจุม่ เลือดหมู เพื่อไปเซ่นไหว้ ที่ผนัง ที่เป็ นที่รวมของของบูชาเหล่านัน้ ความ เชื่อเรื่ องรั กษาคนตกใจ (การไซ่ เจง) เป็ น การรั ก ษาอี ก ประเภทหนึ่ง ของม้ ง การไซ่เจงจะกระท�ำเมื่อมีคนป่ วยที่ตัว
เย็น เท้ าเย็น ใบหูเย็น มือเย็น ซึง่ ม้ งเชื่อ ว่าการที่เท้ าเย็น มือเย็น หรื อตัวเย็น เกิด จากขวัญในตัวคนได้ หล่นหายไป หรื อไป ท�ำให้ ผกี ลัว แล้ วผีกแ็ กล้ งท�ำให้ บคุ คลนัน้ ไม่สบาย มีวิธีการรักษาดังนี ้ พ่อหมอจะ น�ำเอาขิงมานวดตามเส้ นประสาท ได้ แก่ บริเวณปลายจมูกตรงไปทีห่ น้ าผาก นวด แล้ วย้ อนกลับไปที่ใบหู แล้ ว นวดบริ เวณ หน้ า ผากไปที่ ใ บหูซ� ำ้ ๓ ครั ง้ จากนัน้ เปลีย่ นเป็ นการนวดทีเ่ ส้ นประสาทมือ คือ จะนวดที่ปลายนิ ้วมือไล่ไปที่ข้อมือท�ำซ� ้ำ ทุกนิ ้วมือ แล้ วรวมกันที่ข้อมือนวด และ หมุนรอบที่ข้อมือ ซึ่งขณะนวดต้ องเป่ า คาถาด้ ว ย และบริ เ วณฝ่ าเท้ า ให้ น วด เหมือนกัน ต้ องท�ำซ� ้ำกัน ๓ ครัง้ ซึง่ การ รักษาไซ่เจงนี ้จะท�ำการรักษา ๓ วัน เมื่อ เสร็จจากการรักษาแล้ ว ถ้ าอาการไม่ดขี ึ ้น ๑๓๗
จะกระท�ำเมื่อมีคนป่วยที่ตัวเย็น เท้าเย็น ใบหูเย็น มือเย็น ซึ่งม้งเชื่อว่า เกิดจากขวัญในตัวคนได้หล่นหายไป
ก็หาวิธีอื่นๆ มารักษาต่อ เช่น อัว๊ เน้ งหรื อ การฮูปรี เป็ นต้ น ความเชือ่ เรื่องการรักษาด้ วยการเป่ าด้ วย น� ำ้ (การเช้ อ แด้ ะ ) เป็ น การรั ก ษาอี ก ประเภทหนึ่ ง ของม้ ง การเช้ อ แด้ ะ จะ เป็ นการกระท�ำเมื่อมีคนในครอบครัวที่ ป่ วยร้ องให้ ไม่หยุด และตกใจมากเป็ น พิเศษโดยไม่ร้ ู สาเหตุ หรื อเหมือนว่าคน ป่ วยเห็นอะไรสักอย่างที่ท�ำให้ เขากลัว มากมีวธิ ีการรักษาดังนี ้คนทีเ่ ป็ นพ่อหมอ หรื อ แม่ ห มอ จะให้ ค นป่ วยอาการดัง กล่า วไปนั่ง ใกล้ กับ กองไฟหรื อ เตาไฟ แล้ วเอาถ้ วยหนึง่ ใบใส่น� ้ำให้ เรี ยบร้ อยมา ตังไว้ ้ ข้าง ๆ พ่อหมอหรื อแม่หมอ คือ ผู้ที่ จะท�ำการรักษาจะใช้ ตะเกียบคูห่ นึง่ หนีบ ก้ อนถ่าน ที่ก�ำลังรุกไหม้ เป็ นสีแดงขึ ้นมา แล้ วเป่ าก้ อนถ่าน จากนันเริ ้ ่ มท่องคาถา แล้ วน�ำก้ อนถ่านก้ อนนันไปวนบนหั ้ วของ คนป่ วย ขณะวนนันก็ ้ สวดคาถาด้ วย เมื่อ วนเสร็จก็จะเอาก้ อนถ่านก้ อนนันไปใส่ ้ ใน ๑๓๘
“
“
ความเชื่อรักษาคนตกใจ (การไซ่เจง)
ถ้ วยที่เตรี ยมไว้ พร้ อมกับปิ ดฝาด้ วย ให้ ท�ำซ� ้ำกันแบบนี ้สามรอบเมือ่ เสร็จแล้ วจับ มื อ คนป่ วยขึน้ มาเป่ าพร้ อมท่อ งคาถา เมื่อเสร็จสิ ้นแล้ ว จะเอามือชุบน� ้ำที่อยูใ่ น ถ้ วยขึ ้นมาลูบหน้ าของคนป่ วย หรื อลูบ แขนคนป่ วย เมื่อท�ำเสร็ จแล้ วอาการของ คนป่ วยจะทุเลาลง ม้ งจะน�ำวิธีรักษานี ้มา ใช้ ในการรั กษาคนไข้ ที่ตกใจมาก และ ปั จจุบนั นี ้ม้ งก็ยงั คงยึดถือ และปฏิบตั กิ นั อยู่ แต่ก็มีบ้างที่อาการหนักมากจนไม่ สามารถทีจ่ ะรักษาให้ หายขาดได้ แล้ วจึง จะน�ำไปรักษาที่โรงพยาบาลต่อไป ความเชื่อเรื่ องการปั ดกวาดสิ่งที่ไม่ ดี ออกไป (การหรื อซู้) เป็ นการรักษาอีก วิธีหนึง่ ของม้ งทีจ่ ะปฏิบตั ใิ นช่วงขึ ้นปี ใหม่ เท่ า นั น้ คื อ ในหนึ่ ง รอบปี ที่ ผ่ า นมา ครอบครัวจะเจอสิง่ ที่ไม่ดี ดังนันจึ ้ งมีการ หรื อซู้เพื่อปั ดเป่ า หรื อกวาดสิ่งที่ไม่ดีให้ ออกไปจากบ้ าน และตั ว บุ ค คลหรื อ เป็ นการปั ดเป่ า กวาดโรคภัยไข้ เจ็บออก
จากตัวบุคคล หรื อออกจากบ้ านให้ หมด เพือ่ ทีจ่ ะรับปี ใหม่ทเี่ ข้ ามา และต้ อนรับสิง่ ดีๆ ทีก่ �ำลังจะมาในปี ถดั ไป พิธีกรรมนี ้ม้ ง จะท�ำทุกปี และคนในครอบครัวต้ องอยู่ ให้ ครบทุกคน ไม่ให้ ขาดคนใดคนหนึ่ง (แต่หากว่าคนในครอบครั วนัน้ เกิดไป ท�ำงานต่างจังหวัดและไม่สามารถที่จะ กลับมาร่วมพิธีกรรมนี ้ได้ ผู้ปกครองของ ครอบครัวต้ องน�ำเสื ้อผ้ าของคน ที่ไม่อยู่ มาร่ วมพิธีกรรมให้ ได้ หากไม่ได้ เข้ าร่ วม พิธีกรรมนี ้ม้ งเชือ่ ว่า สิง่ ทีไ่ ม่ดจี ะติดตัวไป ยังปี ถดั ๆ ไป และท�ำอะไรก็ไม่เจริ ญ) ความเชื่ อเรื่ องหมู ประตูผี (อัวะบั๊ว จ๋ อง) เป็ นพิธีกรรมที่ม้งกระท�ำเพื่อรักษา คนทังหมดในบ้ ้ านหลังนันให้ ้ ปราศจาก โรคภัยโดยมีวิธีการรักษา ดังนี ้ ซึ่งการ ประกอบพิธีกรรมหมูประตูนนจะท� ั้ ำใน ตอนกลางคืนเท่านัน้ อันดับแรกคือจะมี การกล่าวปิ ด และกล่าวเปิ ดประตู จาก นันจะมี ้ การฆ่าหมูแล้ วต้ มให้ สกุ จากนัน้ ก็กล่าวปิ ดประตู แล้ วน�ำ หมูที่ต้มสุกนัน้ มาหัน่ ให้ เป็ นชิ ้นเล็ก ๆ จัดไว้ ตามจานที่ วางไว้ ๙ จาน ซึง่ แต่ละจานจะใส่ชิ ้นเนื ้อ ไม่เหมือนกัน โดย จานที่ ๑ ใส่มือซ้ ายหมูและหัวข้ างซ้ าย จานที่ ๒ จะใส่ขาขวาหมูกบั หัวข้ างขวา จานที่ ๓ จะใส่ขาซ้ ายหมูกบั คางซ้ ายหมู จานที่ ๔ ใส่มือขวาหมูกบั คางขวาหมู
จานที่ ๕ ใส่มือซ้ ายหมู จานที่ ๖ ใส่ขาขวาหมู จานที่ ๗ ใส่ขาขวาหมูกบั ใบหู ๕ ชิ ้น จานที่ ๘ ใส่มือขวาหมู จานที่ ๙ ใส่จมูกและหางหมู ความเชื่ อ ด้ า นศิ ล ปะพื น้ ถิ่ น เครื่ อ ง ดนตรีของคนม้ งทีม่ มี าแต่โบราณกาลนัน้ ก็ มี ห ลากหลาย แต่ ว่ า ดนตรี เ หล่ า นี ด้ ู เหมือนว่าก�ำลังจะสูญหายไปจากวิถชี วี ติ ของคนรุ่ นใหม่ สามารถแบ่งได้ เป็ น ๒ ประเภท ได้ แก่ เครื่ องดนตรี ประเภทเป่ า จิ๊งหน่อง (จ่าง-Ncas) เป็ นเครื่ องดนตรี คู่ กายคูใ่ จของหนุม่ สาวม้ ง จ่างเป็ นเครื่ อง ดนตรี ที่ปยู่่ าตายายท่านสร้ างไว้ และเชื่อ กันว่ามีผีสงิ อยู่ ใช้ เป่ าเพื่อบรรยายความ ๑๓๙
๑๔๐
“ ความเชื่อเรื่อง หมูประตูผี (อัวะบั๊วจ๋อง)
เป็นพิธีกรรมที่ม้งกระท�ำเพื่อ รักษาคนทั้งหมดในบ้านหลังนั้น ให้ปราศจากโรคภัย
“
รู้สกึ ในใจ แคน (Qeej) เป็ นภาษาม้ ง อ่าน ว่า เฆ่ง หรื อ qeng ซึง่ แปลว่า แคน หรื อ mouth organ เฆ่ง หรื อแคนเป็ นเครื่ อง ดนตรี ที่ท�ำจากล�ำไม้ ไผ่ และไม้ เนื ้อแข็ง ถื อได้ ว่าเป็ นเครื่ องดนตรี ที่เก่าแก่ที่สุด ชนิ ด หนึ่ ง ขลุ่ย เป็ น เครื่ อ งดนตรี อี ก ประเภทหนึ่งของม้ งที่ ใช้ เป่ าเรี ยกหาคู่ และสร้ างความจรรโลงใจ ซึง่ ขลุย่ ม้ งจะ ท�ำมาจากกระบอกไม้ ไผ่และท่อพีวีซี จะ ใช้ เป่ าแทนความรู้ สึก ของสภาพจิตใจ ของผู้นนจะเป่ ั้ าในวันส�ำคัญ เช่น งานปี ใหม่และงานส�ำคัญอื่น ๆ กลอง หรื อ จัว๊ เป็ นเครื่ องดนตรี ของม้ งที่มีลกั ษณะเป็ น กลองสองหน้ าหรื อหนึง่ หน้ าก็ได้ รูปร่ าง กลมแบน โดยใช้ แผ่นผนังสัตว์สองแผ่น มาประกอบเข้ ากับโครงกลอง หลอมตัว กลองทังสองด้ ้ าน ริ มขอบของแผ่นผนัง ทัง้ สองแผ่ น จะเจาะรู เ ป็ น คู่ๆ ส� ำ หรั บ เสียบสลักไม้ เล็ก ๆ เพื่อใช้ เชือกร้ อยสลัก ไม้ ของแผ่นผนังทังสองด้ ้ านดึงเข้ าหากัน ซึ่งจะท� ำให้ แผ่นผนังกลองตึงตัวเต็มที่ เมือ่ ตีจะมีเสียงดังกังวานและมีไม้ ตกี ลอง หนึง่ คู่ หรือสองอันท�ำจากไม้ ด้านหนึง่ จะ เอาผ้ าพันไว้ ส�ำหรับตีกลอง ส่วนด้ านที่ ไม่มีผ้าห่อใช้ ส�ำหรับจับ กลองม้ งนี ้จะใช้ เมื่อประกอบพิธีงานศพ การปล่อยผีหรื อ ปลดปล่อยวิญญาณเท่านัน้
ชาติพันธุ์ลาหู่ ข้อมูลโดยได้สมั ภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชน นายไอใจ ปูห่ มือ่ บ้านเลขที่ ๒๔ หมู่ ๑๓ ต�ำบลดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด เชียงราย
ชนกลุ่มนีเ้ รี ยกตัวเองว่า ลาหู่หรื อละหู่ (Lahu) ซึง่ แปลว่า “คน” มีเชื ้อสายมาจาก กลุ่มโลโล ซึง่ เคยเจริ ญรุ่ งเรื องอาศัยอยู่ บนที่ราบสูงทิเบต-ชิงไห่ และได้ รับการ ยอมรับจากจีนให้ จดั การปกครองตนเอง ได้ อย่างอิสระ บริเวณตอนกลางและตอน
ใต้ ของมณฑลยูนนานก่อนที่ชนชาติไท ใหญ่และจีนจะเข้ าไปครอบครอง ต่อมา ได้ มี การอพยพเคลื่อนย้ ายถิ่นอยูต่ ลอด เวลาในแถบประเทศจีน พม่า ลาว และ ไทย ก่อนคริ สตศตวรรษที่ ๑๙ ลาหูเ่ คย เร่ ร่ อ นมาก่ อ น ต่ อ มาจี น ได้ ใ ห้ อ� ำ นาจ ๑๔๑
การปกครองตนเองแก่ ล าหู่ โดยให้ หัวหน้ ากลุ่มเป็ นผู้รับสาส์นตราตังจาก ้ พระเจ้ าจักรพรรดิ เพื่อแสดงให้ เห็นว่าลา หู่ยังคงยอมอยู่ใต้ อ�ำนาจการปกครอง ของจักรพรรดิ แต่ภายหลังจากที่จีนได้ เปลี่ยนแปลงการปกครอง จีนได้ ส่งเจ้ า หน้ าที่ทางทหารเข้ าไปปกครองท้ องถิ่น รวมทังดิ ้ นแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ ของ จีนในแถบมณฑลยูนนาน อันเป็ นที่อยู่ อาศัยของชาวลาหู่ส่วนใหญ่ (ศาสตรา จารย์ ต้ วน ลี เชิ ง นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ได้ ให้ ข้อมูลเพิม่ ไว้ วา ่ ในปี ๒๕๒๕ มีลาหู่ ๓๒๐,๐๐๐ คน อยู่ ในเขตอ�ำเภอล้ านช้ างถึง ๑๕๔,๐๐๐ คน ฉะนันจึ ้ งสันนิษฐานได้ วา ่ ชุมชนใหญ่ของ ลาหู่อยู่ที่อ�ำเภอล้ านช้ าง ในแคว้ นสิบ สองปั นนา มณฑลยูนนาน ท�ำให้ ชาวลา หู่ส่ ว นหนึ่ ง เกิ ด ความไม่ พ อใจ พากัน กระด้ างกระเดือ่ งต่ออ�ำนาจการปกครอง ของจีน ในที่สดุ ผู้น�ำทางศาสนาคนหนึง่ ได้ รวบรวมศาสนิกตังตั ้ วขึ ้นเป็ นขบถ จับ อาวุ ธ ขึ น้ ต่ อ สู้ และมี ก ารบัน ทึ ก ไว้ ว่ า (โสฬส, ๒๕๓๙) ชาวลาหู่พ ร้ อมด้ ว ย อาวุธซึง่ ประกอบด้ วยหน้ าไม้ และลูกธนู อาบยาพิษ ได้ ท�ำการต่อต้ านทหารจีน อย่างเข้ มแข็ง แต่ในที่สดุ ก็ไม่สำ� เร็จ ลาหู่ ส่วนใหญ่จ�ำยอมอยู่ภายใต้ อาณัติของ จีน ยอมรับอ�ำนาจการปกครองของจีน ๑๔๒
และยอมผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนที่ แผ่ขยายเข้ ามาพร้ อมกับอ�ำนาจทางการ เมืองจนกลายเป็ นชาวจีน ต่อมาเมือ่ ลาหู่ ทนต่อการปกครองของทหารจีนไม่ไหว กลุ่มหนึ่งได้ หนีอพยพลงมาอยู่ในแคว้ น เชียงตุง ประเทศพม่า ขณะทีม่ กี ารอพยพ นันเขตเชี ้ ยงตุงอยูใ่ นอ�ำนาจการปกครอง ของอังกฤษ Walker ได้ อ้างรายงานของ ร้ อยเอก Mc Leod นายทหารฝ่ ายข่าว กรองของอังกฤษ ซึ่งได้ บนั ทึกไว้ เมื่อปี ค.ศ.๑๘๓๗ เกี่ยวกับลาหูซ่ งึ่ สืบเชื ้อสาย มาจากกลุม่ ทีอ่ พยพมาจากจีนว่า (โสฬส, ๒๕๓๙) ลาหู่ รั บ เอาวั ฒ นธรรมการ ปกครองจากชาวไทใหญ่ในรัฐฉาน โดย เรี ยกผู้ น� ำ ที่ มี ฐ านะทางสั ง คมสู ง ว่ า
“พญา” (Pha-ya) เมื่อชาวลาหูเ่ ข้ ามาอยู่ ในเขตเชี ยงตุง ประเทศพม่า ก็ พบกับ ปั ญ หาส� ำ คัญ อี ก หลายประการ โดย เฉพาะกับ ความพยายามของกลุม่ หมอ สอนศาสนาชาวอังกฤษ ซึง่ พยายามโน้ ม น้ าวให้ ลาหูล่ ะทิ ้งขนบธรรมเนียมประเพณี ดังเดิ ้ มแล้ วหันไปนับถือศาสนาคริสต์ ชาวลาหู่ซึ่ง มี ค วามศรั ท ธาต่ อ ศาสนา ดังเดิ ้ ม ไม่ปรารถนาเช่นนัน้ จึงเกิดการ รวมกลุม่ ขึ ้น โดยมีผ้ นู �ำศาสนาดังเดิ ้ มคน หนึง่ ชื่อ “มะแฮ” ได้ ตงตนขึ ั้ ้นเป็ นผู้วิเศษ เพื่อรวบรวมบริ วารต่อต้ านการครอบง�ำ จิตส�ำนึกของฝ่ ายคริ สตจักรอังกฤษ ซึ่ง ท�ำให้ ชาวลาหู่จากที่ต่าง ๆ เดินทางไป แสวงบุญและมอบตัวเป็ นบริ วารกับปู่ จองมะแฮเป็ นจ�ำนวนมาก จึงคิดวางแผน ยึ ด เอาเมื อ งสาต (Hsat) เพื่ อ ตัง้ เป็ น ศูนย์กลางของอาณาจักรลาหูข่ ึ ้น ในทีส่ ดุ ฝ่ ายอังกฤษซึง่ ปกครองพม่าอยูก่ ็ต้องส่ง ก�ำลังเข้ าปราบปราม แต่ฝ่ายของปู่ จอง มะแฮก็ เตรี ยมรั บมื ออย่างแข็งขันด้ วย การขุดคู ปั กไม้ ไผ่เสี ้ยมปลายแหลมไว้ รอบ ๆ ทีม่ นั่ และสร้ างขวัญก�ำลังใจให้ แก่ บริ วารด้ วยการแจกเทียนศักดิ์สิทธิ์ซึ่งปู่ จองมะแฮอ้ างว่า เป็ นตัวแทนแห่งอ�ำนาจ ของพระเจ้ าที่ จ ะช่ ว ยปกป้ อ งบริ ว าร มิให้ ได้ รับอันตรายจากอาวุธของฝ่ ายตรง กันข้ าม
แต่เมือ่ การสู้รบผ่านไป ศรัทธาและความ เชื่อถือของบริวารทังหลายก็ ้ คอ่ ย ๆ เสือ่ ม ถอย เพราะทุกอย่างไม่ได้ เป็ นไปตาม แผนที่เคยคุยกันไว้ ลาหูบ่ ริ วารพากันล้ ม ตายลงทุกวัน เมือ่ ฝ่ ายอังกฤษบุกเข้ าถึงที่ มัน่ สุดท้ าย ลาหู่ที่เหลือรวมทังปู่ ้ จองมะ แฮก็เผ่นหนี เอาชี วิตรอด จนกระทั่งได้ อพยพเข้ าสู่ประเทศไทยเมื่อประมาณ ๒๐๐ กว่าปี ที่แล้ ว การอพยพครั ง้ ใหญ่ อีกครั ง้ หนึ่งเกิดขึน้ เมื่ออังกฤษคืนเอกราชให้ พม่า เพื่อเปิ ด โอกาสให้ จัดตังรั ้ ฐบาลปกครองตนเอง ชาวลาหูใ่ นพม่าก็ต้องเผชิญกับปัญหาใน การด� ำ รงชี วิ ต ด้ วยแรงกดดั น จาก นโยบายอั น แข็ ง กร้ าวของรั ฐ บาลที่ กระท�ำต่อชนกลุ่มน้ อยเผ่าต่าง ๆ แรง กดดันจากการด�ำเนินนโยบายดังกล่าว ก่อให้ เกิดการรวมตัวของลาหูอ่ กี ครัง้ หนึง่ โดยมี “ปู่ จองจะฟู” ผู้น�ำทางศาสนาคน ส�ำคัญคนหนึง่ ของชาวลาหู่ ได้ ตงตนขึ ั้ ้น เป็ นผู้วิเศษใช้ ชื่อว่า “เหมาะนะ-โตโบ” หรื อ “ฤษี ลงิ ด�ำ” (โดยทัว่ ไปจะรู้จกั กันใน ชื่อว่า “ปู่ จองหลวง”) ขึ ้นที่ดอยลาง เขต เมืองเชียงตุง มีการกระจายข่าวลือไปยัง ลาหู่ทงที ั ้ ่อยู่ในเขตพม่าและเขตไทยว่า ได้ มีพระเจ้ าจากสวรรค์ ลงมาประทาน ข้ าวทิพย์ อาหารทิพย์แก่ชาวลาหูท่ กุ คน ขอให้ คนทีอ่ ยากได้ ข้าวทิพย์ อาหารทิพย์ ๑๔๓
เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๒๗ การอพยพครั ง้ นี ้ ถือว่าเป็ นครัง้ ส�ำคัญ หลังจากนันก็ ้ มีการ อ พ ย พ เ ข้ าม าสู่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ บ บ ประปราย สาเหตุก็เนื่องมาจากนโยบาย การปราบปรามของรั ฐ บาลพม่ า การ ชัก น� ำ ของหมอสอนศาสนา และการ ชักชวนของญาติพี่น้อง
“
ปู่จองจะฟู
ผู้น�ำทางศาสนาคนส�ำคัญ ของชาวลาหู่ ได้ตั้งตนขึ้นเป็น ผู้วิเศษใช้ชื่อว่า “เหมาะนะ-โตโบ” หรือ “ฤษีลิงด�ำ”
“
เดินทางไป “เฝ้าพระเจ้ า” ที่ดอยลาง การ เฝ้า พระเจ้ า ในที่ นี ค้ ื อ การน� ำ เงิ น หรื อ สิง่ ของมีคา่ อื่นไปเซ่นไหว้ เหมาะนะโตโบ ซึ่งถือเป็ นร่ างทรง หรื อเป็ นตัวแทนของ พระเจ้ า เพื่อขอพรหรื อเพื่อรักษาโรคไข้ เจ็บต่าง ๆ การต่ อ ต้ านครั ง้ นี ช้ าวลาหู่ ส ามารถ รวบรวมผู้ค นและทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ สะสม อาวุธได้ เป็ นจ�ำนวนมาก เนือ่ งจากชาวลา หูม่ ีศรัทธาต่อตัวผู้น�ำศาสนาของตนเป็ น อย่ า งมาก แต่ ก ารต่ อ ต้ า นครั ง้ นี ก้ ็ ไ ม่ ประสบผลส�ำเร็จ เหมาะนะ-โตโบ จึงต้ อง พาบริ วารหนีเข้ าเขตประเทศไทย และได้ ตัง้ หลักแหล่งอยู่บริ เวณบ้ านต้ นน� ำ้ แม่ มาว ต�ำบลม่อนปิ่ น อ�ำเภอฝาง จังหวัด เชี ย งใหม่ และแถบบริ เ วณเขตติ ด ต่อ ระหว่างจังหวัดเชี ยงใหม่ และจังหวัด เชียงราย จนกระทัง่ เสียชีวติ ที่อ�ำเภอฝาง ๑๔๔
พิธีกินวอ จัดในช่วงเดือนมกราคมถึง เดือนกุมภาพันธ์ เป็ นประเพณีปีใหม่ของ ลาหู่ ซึ่งจะตรงกับตรุ ษจีน จะมีการละ เล่น เต้ นจะคึ ในช่วงกลางคืนเพื่อเฉลิม ฉลอง มี ก ารกรวดน� ำ้ ด� ำ หัว ผู้ใ หญ่ ผู้ อาวุโสของหมู่บ้าน ประเพณีแซก่อ ก่อ ทราย จัดในช่วงเดือนเมษายน ก่อนหรื อ หลังเทศกาลสงกรานต์ ๑ วันช่วงเวลา เย็ น เพื่ อ เป็ น การขอขมาสิ่ ง ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ภายในหมู่บ้าน ประเพณี แซก่อนี ม้ ี มา ตังแต่ ้ สมัยบรรพบุรุษปฎิบตั มิ า ชนเผ่าละ หูท่ ี่นบั ถือพุทธ (ผี) ซึง่ แซก่อ ตรงกับวันที่ ๑๔ เมษายนของทุ ก ปี และเป็ นวั น สงกรานต์ไทย ชนเผ่าลาหูจ่ ะมีประเพณี แซก่ อ เป็ นประเพณีทปี่ ฏิบตั เิ พือ่ เป็ นการ อุทิศส่วนกุศลให้ กบั สิ่งที่ล่วงลับที่ท�ำไป แล้ วในการประกอบอาชีพ ท�ำไร่ ท�ำสวน โดยที่ ฆ่ า สัต ว์ โ ดยตั ง้ ใจหรื อ ไม่ ตั ง้ ใจ เชื่ อ ว่ า ท� ำ พิ ธี ก รรมจะท� ำ ให้ ไม่ มี บ าป แล้ วอาชีพการท�ำไร่ ท�ำสวน ผลผลิตจะ ได้ ดี การเตรี ยมสิ่งของที่จะไปประกอบ พิธีกรรมแซก่อ แต่ละบ้ านจะต้ องจัดหา ดอกไม้ สวย ๆ น�ำมาใส่กระบอกไม้ ไผ่เพือ่ ที่จะน�ำมาท�ำพิธีกรรม เช่น เตรี ยมเมล็ด พื ช ข้ าว ข้ าวโพด พริ ก เตรี ย มทราย เตรี ยมเทียนไขนี ้ไปเก็บไว้ ณ จุดที่เคารพ
“
ประเพณีแซก่อ
เป็นประเพณีที่ปฏิบัติ เพื่ออุทิศส่วนกุศล ให้กับสิ่งที่ล่วงลับที่ท�ำไปแล้ว
“
ความเชื่อด้านต่าง ๆ ของลาหู่
พิธีทำ� ศาลา จัดในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึ ง เดื อ นมิ ถุน ายน เป็ น การท� ำ บุญ ใน หมูบ่ ้ าน การเลี ้ยงผีตามความเชือ่ โดยท�ำ ศาลาเล็ก ๆ ขึ ้นมา แล้ วน�ำอาหารของ แต่ละบ้ านอย่างละนิดอย่างละหน่อยน�ำ ไปใส่ในศาลา พิธีกินข้ าวใหม่ จัดในช่วง เดือนตุลาคม หลังจากการเก็บเกี่ยว โดย แต่ล ะบ้ า นจะท� ำ กับ ข้ า วแล้ ว น� ำ มารั บ ประทานร่วมกันเพื่อเฉลิมฉลองหลังการ เก็บเกี่ยวแล้ วเสร็ จ พิธสี ะเดาะเคราะห์ – สืบชะตา - เสริม ดวง เป็ นประเพณี ที่จะท�ำเมื่อเวลาไม่ สบาย หรื อเจ็บไข้ ในการท�ำบุญสะเดาะ เคราะห์ เมื่อชาวลาหูไ่ ด้ รับเคราะห์ หรื อ มีการเจ็บป่ วยไม่สบายกายและใจ ก็จะ ได้ จดั เตรี ยม สิ่งของเพื่อไปให้ ผ้ ูน�ำทาง ศาสนาท�ำพิธี ซึง่ ชาวลาหู่ เรี ยกว่า ค๊ อตา เตเว่ โดยเครื่ องมือเหล่านี ้จะมีผ้ บู อกวิธี การท�ำ คือ ลาซ่อ ซึง่ เป็ นผู้เชี่ยวชาญการ เครื่ องมือในการประกอบพิธีกรรม เพื่อ ๑๔๕
น�ำไปไห้ ผ้ นู �ำทางศาสนา หรื อที่เรี ยกว่า โตโบ เพื่อสวดขอพรให้ หายจากเคราะห์ ร้ ายต่ า งๆ หรื อเคราะห์ ที่ จ ะมาถึ ง นอกจากนี ย้ ังมี สิ่งของที่ จะต้ องเตรี ยม เพื่อน�ำไปประกอบการท�ำพิธีกรรม ได้ แก่ เทียน ถือว่าให้ น�ำไปจุดเพื่อ แสงสว่างใน การประกอบพิธีกรรม ,ส�ำลี หรื อ ฝ้าย ส�ำลีต้องเป็ นสีขาว ชาวลาหู่ถือว่า ส�ำลี หรื อฝ้ายนี ้ จะไปรับค�ำพูดที่เคยพูดไม่ดี หรื อผู้ให้ ร้ายแก่ผ้ อู ื่น ,ผ้ าขาว เพื่อความ สะอาดและความบริ สทุ ธิ์ ผ้ าจึงต้ องเป็ น ผ้ าสี ข าว น� ำ้ เพื่ อ น� ำ ไปล้ างมื อ ผู้ น� ำ ศาสนาหรื อโตโบ ,ด้ าย การพิธีจะต้ อง เป็ นด้ ายขาวเหมื อนกัน ส�ำหรั บด้ ายนี ้ เมื่อโตโบท�ำพิธีเสร็ จก็เอาผูกข้ อมือหรื อ ห้ อยคอ เพื่ อป้องกันอันตรายสิ่งต่างๆ เหล่านี ้ทังหมด ้ จะเห็นได้ วา่ อุปกรณ์ที่น�ำ ๑๔๖
ไปท� ำ ประกอบกั บ เครื่ อ งมื อ ในการ ประกอบพิธีกรรมนัน้ จะต้ องเป็ นสีขาว ชาวลาหู่ หรื อแม้ แต่ศาสนาใดก็ตาม จะ ใช้ สขี าวเป็ นสือ่ ในการประกอบพิธีกรรม ถือว่า เป็ นสีแห่งความบริ สทุ ธิ์และถือว่า เป็ นมงคลความเชื่อของ ชาวลาหูม่ คี วาม เชื่อเรื่ องบาป บุญ คุณ โทษ ซึง่ มีความ เหมือนกับศาสนาพุทธในประเทศไทย แต่ต่า งกัน ตรงที่ ก ารขอพรกับ เทพเจ้ า การท� ำ พิ ธี แ ละการปฏิ บัติ ธ รรม ลาหู่ ท�ำให้ ได้ ทราบถึงเกี่ยวกับความเชื่อและ พิธีกรรมต่างๆ ถึงแม้ วา่ พิธีกรรมของชาว ลาหู่ ใช้ เวลาในการท�ำพิธีกรรมไม่นาน นัก แต่กเ็ ชือ่ ว่ามีความหมายต่อการด�ำรง ชีวิตในอนาคตได้ เป็ นอย่างมากอย่างดี กับชนเผ่าลาหู่
“
พิธีสะเดาะเคราะห์ สืบชะตา เสริมดวง เป็นประเพณีที่จะท�ำเมื่อเวลาไม่สบาย ในการท�ำบุญสะเดาะเคราะห์ เมื่อชาวลาหู่ได้รับเคราะห์หรือมีการเจ็บป่วย ไม่สบายกายและใจ
“
ประเพณีการแต่ งงาน การจีบสาว หรื อ การหาคู:่ การจีบสาวชาวลาหูจ่ ะเป็ นช่วง เทศกาลปี ใหม่ เพราะหนุ่มโสดจะว่าง แล้ วจะจั บ เป็ นกลุ่ ม ตระเวณหาสาว หมู่บ้านอื่น ๆ วิธีการติดต่อก็คือ ใช้ เด็ก เป็ นสื่อกลาง พอไปถึงหมู่บ้านจะเรี ยก เด็กๆ มาคุยแล้ วบอกให้ เด็กว่าไปบอกให้ สาวๆ ว่าหนุม่ มาเที่ยวเด็ก ๆ ก็ดีใจรี บไป ส่งข่าวให้ กบั สาว ๆ ส่วนสาวๆ ก็เตรี ยม อาหารแล้ วจะต้ อนรับ หนุ่มรับประทาน อิ่มแล้ ว ดูวา่ ใครชอบคนไหนจะจับไปคุย กัน แล้ วสาว ๆ ก็ถามว่าพี่มีเมียแล้ วหรื อ ยัง หนุม่ ๆ ก็จะตอบว่าถ้ าพี่มีเมียแล้ วจะ มาหาน้ องท�ำไม ไกลแสนไกลนี่เสียเวลา ประเพณีวันศีล วันศีลของชาวลาหู่จะ ตรงกับวันขึ ้น ๑๕ ค�ำ่ และแรม ๑๕ ค�ำ่ แต่ วันศีลในช่วงปี ใหม่จะตรงวันทีส่ ามของปี ใหม่ จะต้ องงดการกินเนื ้อสัตว์ การฆ่า สัตว์ การดื่มเหล้ าในเมื่อวันศีล พวกเขา มีความเชื่อว่าเป็ นวันพักผ่อนของพวก
เขา ตอนเย็ น ของวัน ศี ล จะมี พิ ธี ร ดน� ำ้ ด� ำ หัว ผู้ เฒ่ า ผู้ แก่ แล้ ว โตโบจะกล่ า ว อวยพรทุก ๆ คน ดึก ๆ ค�่ำคืน จะมีการ ประกอบพิ ธี ใ นหอแหย่ (โบสถ์ ) แล้ ว เต้ นร� ำ ตี ก ลองและเป่ าแคนกั น อย่ า ง สนุกสนานต่อหน้ าต้ นวอ ชุมชนในแต่ละ พื น้ ที่ แ ต่ละแห่ง วิ ถี ก ารด� ำรงชี วิต และ ความเชื่อที่แตกต่างกันไป เพราะมาจาก การสืบทอดจากบรรพบุรุษที่ไม่เหมือน กัน การกระท�ำใดๆ ในความเชื่อที่ในสิ่ง ต่างๆ หรื อที่เรี ยกว่าพิธีกรรม เพื่อที่จะให้ ชาวบ้ านได้ มีการจัดการท�ำพิธีกรรมทาง ความเชื่อ โดยเฉพาะพิธีกรรมในวันศีล ชาวลาหูถ่ ือว่า เป็ นพิธีกรรมอย่างหนึง่ ที่ ส�ำคัญที่ผ้ เู ฒ่าหยุดงานเพื่อที่จะท�ำบุญ รับศีล และจากไปประกอบพิธีกรรมก็จดั เตรี ยม น� ้ำ เทียน เข้ าไปในหอแหย่ เพื่อ บูชาสักการะตามความเชื่ออของชนเผ่า ลาหู่ ชาวบ้ านจะหยุดงานท�ำไร่ ท�ำนา ๑๔๗
ท�ำสวน และพักผ่อนอยูท่ ี่บ้าน เพื่อจะท�ำ พิธีกรรมที่หอแหย่ในวันศีลตอนเย็น น�ำ น� ้ำมาเพื่อล้ างมือให้ แก่ผ้ เู ฒ่า ผู้แก่ และ ผู้น�ำศาสนาการรดน� ำ้ ล้ างมื อนัน้ ชาว บ้ านถือว่าเป็ นการล้ างบาปไปในตัว เพื่อ เป็ นการล้ างบาปในสิ่งต่างๆ ที่มือได้ ท�ำ ลงไป และก็มีการเต้ นร� ำในหอแหย่กัน สนุกสนาน สถานที่ประกอบพิธกี รรม หอเหย่: ชาว ลาหู่ เ กื อ บทุ ก หมู่ บ้ านจะมี ส ถานที่ ประกอบพิธีกรรมที่เรี ยกว่า หอแหย่ มีไว้ เพื่ อประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของ ลาหู่ ชาวลาหูน่ บั ถือบรรพบุรุษ วิญญาณ และเทพเจ้ ากือซา จึงท�ำให้ ไม่เหมือนกับ ศาสนาพุ ท ธทั่ ว ไปในประเทศไทย ๑๔๘
“หอแหย่” เปรี ยบเสมือนโบสถ์ หรื อวัด ตามความเชื่อ ของศาสนานันๆ ้ สถานที่ ประกอบพิธีกรรม หรื อหอแหย่ของชาว ลาหู่ จะสร้ างอยูท่ ี่สงู และใกล้ ๆ กับบ้ าน ของ ผู้น�ำศาสนา (โตโบ) จึงสังเกตได้ วา่ ถ้ ามีหอเเหย่อยูท่ ี่ไหนก็มีบ้านของโตโบที่ ตรงนัน้ สิง่ ของส�ำคัญใู นหอเหย่ คือ โต๊ ะ บูชา หรื อชาวลาหู่เรี ยกว่า “กะปะแต” เป็ น ที่ ส� ำ หรั บ เทพเจ้ า (กื อ ซา) ลงมา ประทับ และเป็ นทีส่ อื่ สารกับผู้น�ำศาสนา ถือว่าเป็ น ที่ส�ำคัญที่สดุ ในศาสนสถาน นกเทพเจ้ าจะมี ๒ ตัวคูก่ นั มีตวั ผู้และตัว เมีย ชาวลาหูเ่ รี ยกตัวผู้วา ่ นานะบุจแุ งะ และตัวเมียเรี ยกว่า นะสิจแุ งะ เขาจะเชื่อ กัน ว่ า เป็ น นกของพระเจ้ า ที่ จ ะน� ำ พา ขวัญของผู้ที่เสียขวัญกลับคืนมาเข้ าสู่ ร่างกาย นกไม้ ๒ ตัวนี ้จะอยูค่ กู่ บั บ่อน� ้ำ ทิพย์ เรียกว่า ลิเด่ ซึง่ ผู้น�ำศาสนา จะคอย เติมน� ้ำทุกๆ วันศีลโดยแต่ละเดือนจะมี วันศีลอยู่ ๒ วันคือ วันแรม และขึ ้น ๑๕ ค�่ำของทุกเดือนจะถือวันศีล ดังนันชาว ้ ลาหู่ก็หยุดท�ำงานเพื่อถื อศีล และได้ มี การจัด เตรี ย มเครื่ อ งบู ช า ที่ จ ะน� ำ ไป ท� ำ บุญ ที่ ห อเเหย่ เ พื่ อ ท� ำ พิ ธี ก รรมทาง ศาสนาจากนันก็ ้ มีการเต้ น “ปอยแตแว” หรือ “จะคึ” กันอย่างสนุกสนาน ถือกันว่า ถ้ าเต้ นมากก็จะได้ บญ ุ มาก
“
ประเพณีวันศีล
จะต้องงดการกินเนื้อสัตว์ การฆ่าสัตว์ การดื่มเหล้าใน วันศีล ชาวลาหู่มีความเชื่อว่า เป็นวันพักผ่อน
“
ผู้ทำ� พิธีกรรมทางศาสนา ผู้ไหว้ และ บูชาขอพรสวดมนต์นนจะต้ ั้ องเป็ น “โต โบ” ซึง่ เป็ นผู้ที่ท�ำหน้ าที่สอนศาสนา และ เป็ นสือ่ กลาง ระหว่างชาวบ้ านกับเทพเจ้ า กื อ ซา นอกจากนี โ้ ตโบยัง ต้ อ งปฏิ บัติ หน้ าทีท่ จี่ ะต้ องดูแลรักษาหอแหย่อกี ด้ วย เพราะเป็ นคนทีม่ คี วามเมตตากรุณา และ เป็ นบุคคลที่ชาวบ้ านยอมรับนับถือ การ เป็ นโตโบจะต้ องเป็ นผู้ที่ได้ รับการสือ่ สาร จากเทพเจ้ า หรื อกือซาเข้ าทรง ผู้เฒ่าใน ชุมชนเล่าว่าผู้ทจี่ ะมาเป็ น โตโบ ได้ นนจะ ั้ ต้ องมีบคุ ลิกดังนี ้ เป็ นคนที่มีความเมตา และชอบช่วยเหลือผู้อื่น โดยจะให้ ความ รักกับทุกคนในหมูบ่ ้ าน และไม่เลือกที่ จะ ล�ำเอียงข้ างใดข้ างหนึง่ เป็ นคนที่มีความ ซื่อสัตย์ สุจริ ต ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่คดิ เบียดเบียนผู้อื่นในทังทางตรง ้ และทาง อ้ อม เป็ นคนที่มีจิตใจ กายที่บริ สทุ ธิ์ ไม่
ชอบการฆ่าสัตว์ ไม่ยงุ่ เกี่ยวกับยาเสพติด และน� ้ำมึนเมาทุกชนิด การจะเป็ นโตโบ ได้ นนอยู ั ้ ท่ ี่เทพเจ้ า หรื อกือซาจะทรงร่ าง เท่ า นัน้ ถึ ง เป็ น โตโบได้ หรื อ เป็ น ผู้ น� ำ ศ า ส น า ช า ว ล า หู่ ใ น ข ณ ะ ที่ บุ ค ค ล ภายนอก มองไม่เห็นประโยชน์ของความ เชื่อของชาวลาหู่ แต่กลับมองเป็ นความ เชื่อที่งมงาย ไร้ สาระ ลาหู่ซึ่งมีวิถีชีวิต แตกต่างจากชาวเขาเผ่าอื่นๆ ซึ่งยังคง เหนียวแน่น ในวิถีชีวิตที่บรรพบุรุษสร้ าง สมกันมา และถ่ายถอด ไว้ ป็นมรดกของ เผ่าพันธุ์ อาจกล่าวได้ วา่ ชาวเขาทังหมด ้ ลาหู่ เ ป็ นชาวเขาที่ สม�่ ำเสมอ ใน ขนบธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาของ ตนเองมากที่สดุ คนลาหูจ่ ะเชื่อฟั งค�ำสัง่ สอน ของผู้น�ำศาสนา มีการไปชุมนุมกัน ที่หอแหย่ ทุกวันขึ ้นและแรม ๑๕ ค�่ำ เพื่อ การท�ำพิธีกรรมทางศาสนา เนื่ องจาก เป็ นวันศีล มีการรดน�ำ้ เพื่อล้ างบาปใน ตอนเย็น และตอนค�ำ่ ก็จะมีการเต้ นร�ำกัน อย่างสนุกสนาน “จาบือ เป็ นโตโบเป็ นคนรักษาประเพณี วัฒนธรรม เวลาแบบว่าคนไม่สบายเค้ า ก็เป็ นคนท�ำพิธีให้ แบบเนี ้ยค่ะ เวลาเสริ ม ดวงแล้ วใครคิดว่าไม่สะบายใจก็จะมีการ สะเดาะเคราะห์ให้ ถ้ายังไม่ดี ก็ทำ� บุญอีก ทีหนึ่ง จะมีไม้ ไผ่ แล้ วก็มีเทียน เขาจะ เสริ มให้ นกเนี่ยมีความส�ำคัญหมายถึง ๑๔๙
คนที่มาช่วยให้ ปลอดภัย จากความชัว่ ร้ าย ไม้ ไผ่กบั เทียนก็เป็ นเครื่ องประกอบ เวลาท�ำให้ แล้ ว คนทีไ่ ม่สบายใจก็จะดีขึ ้น สบายใจขึ ้น เมื่อตอนเช้ าที่ตีฆ้องท�ำให้ พระเจ้ ารู้วา่ เค้ าไม่เจ็บไข้ ได้ ป่วย ผ้ าขาย คือตัวแทน แบบว่าบางคนก็เอาเสื ้อผ้ ามา เวลาสะเดาะเคราะห์ เสร็ จเค้ าก็จะเอา เสื ้อผ้ ามาใส่ ไม่ใช่วา่ โตโบใครจะท�ำก็ได้ นอกจากพระเจ้ าเลือกไว้ เท่านันเขาถึ ้ งจะ เป็ นได้ อย่างพวกหนูเนี่ยเป็ นไม่ได้ เพราะ ไ ม่ รู้ พิ ธี ก ร ร ม อ ะ ไ ร พ ว ก นี ้ ค่ ะ ” (สัมภาษณ์ :แปลโดยหลานสาว โตโบ ผู้น�ำทางจิตวิญญาณ) ด้ านความเชื่ อ มีความเชื่ อในเรื่ อง ของผีบรรพบุรุษ โดยมีการสร้ างบ้ าน อยู่บริ เวณหัวหมู่บ้านโดยท�ำหน้ าที่ปก ๑๕๐
ปักษ์รักษาหมูบ่ ้ าน มีความเชือ่ นับถือผี มี บรรพบุรุษและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็ นหลัก แต่ ปั จจุบนั ก็มีการนับถื อศาสนาพุทธหรื อ ศาสนาคริ สต์ มากขึน้ มี ความเชื่ อที่ มี พิธีกรรมเข้ ามาเกี่ยวข้ องในการด�ำรงชีวติ การเกิด เจ็บ ตาย บุคคลที่มีอิทธิพลใน หมูบ่ ้ านมากทีส่ ดุ ได้ แก่ พ่อครู หรือปู่ จอง การตัด สิ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ๆของหมู่ บ้ าน หัว หน้ า หมู่บ้ า นและทุก คนจะต้ อ งฟั ง ความคิ ด เห็ น ของ พ่ อ ครู เ ป็ น หลัก ซึ่ง หัวหน้ าหมู่บ้านกับพ่อครู อาจจะเป็ นคน เดียวกัน ที่เป็ นผู้น�ำทางพิธีกรรมเป็ นผู้ ท� ำนายทายทัก รั กษาอาการเจ็ บป่ วย ด้ วยสมุนไพรหรื อภูมิปัญญาท้ องถิ่น พื ้น ฐานความเชื่ อ ของลาหู่ นี จ้ ะนั บ ถื อ พระเจ้ า หรือ(อือ่ ซา) ชาวลาหูม่ คี วามเชื่อ
“
ชาวลาหู่เกือบทุกหมู่บ้านจะมี สถานที่ที่เรียกว่า
“หอแหย่”
มีไว้เพื่อประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา
“
เรื่ องภูต ผี ขวัญ วิญญาณ ผสมผสานไป ด้ วยกัน ความเชื่อเรื่ องพระเจ้ า (อื่อซา) ถื อ เป็ น ผู้ยิ่ ง ใหญ่ ผู้ใ ห้ ก� ำ เนิ ด โลกและ ความดีทงปวง ั ้ การบูชาสวดอ้ อนวอน อือ่ ซา ถือเป็ นสิง่ ส�ำคัญ เพราะจะบันดาลให้ ทุกคนสมบูรณ์ พูนสุข ข้ าวปลาอาหาร อุดมสมบูรณ์ อย่างเช่นเทศกาลปี ใหม่ หรื อกินวอ (เขาะจาเว) ช่วงปลายเดือน มกราคม หรื อเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ทุ ก หลั ง คาเรื อ น ทุ ก กลุ่ ม บ้ าน หรื อ หมู่ บ้ านก็ ต้ องท� ำ การบู ช า และสวด ผลผลิตที่ได้ ในรอบปี นนั ้ ๆ ให้ กบั อื่อซา เพื่อได้ รับประทาน และได้ รับรู้ รับทราบ บวกกับขอโชคลาภในปี ตอ่ ไป เช่น ในปี นี ้ผลผลิตได้ เท่านี ้ท�ำถวายให้ ท่านอื่อซา หนึ่งถ้ วย - จาน ท่านอื่อซารับประทาน และได้ รับรู้ ปี หน้ าขอผลผลิตให้ ได้ เก้ า
เท่า เก้ าถ้ วย - จาน เป็ นต้ น ความเชื่อ เรื่ องผี ผีนนชาวลาหู ั้ เ่ ชื่อว่ามีอยูท่ วั่ ไปแต่ มีทงผี ั ้ ดี และร้ าย ตังแต่ ้ ในเรื อนไปจนทัว่ บริ เวณหมู่บ้าน เช่น ผีหมู่บ้าน ผีเรื อน เป็ นผีทคี่ อยให้ ความคุ้มครอง ส่วนผีน� ้ำ ผี ป่ า ผีดอยและผีอื่นๆ ที่อยู่นอกบ้ าน ถือ เป็ นผีร้ายที่ให้ โทษต่อคน ตัวอย่าง เช่น ผี บ้ าน ผี เ รื อ น ที่ ช าวไทยเรี ย กว่ า ศาล พระภู มิ หรื อ เจ้ าที่ ใ นหมู่ บ้ านก็ ช่ ว ย คุ้มครองสมาชิก ในครอบครัวนันๆ ้ เช่น กับ ชาวไทยพุท ธ ผี ป่ า หรื อ เจ้ า ที่ เ จ้ า ทางในป่ า เหมือนกันในเมื่อคนเข้ าไปท�ำ สิง่ ไม่ดใี ห้ กบั สถานที่ ๆ นัน้ หรือทีช่ าวไทย เรี ยกว่าลบหลูผ่ ีป่า ผีเขา หรื อเจ้ าป่ า เจ้ า เขา เจ้ าที่ ที่แห่งนัน้ มันก็จะท�ำคนคนนัน้ มีอนั เป็ นไป และถ้ าคนคนนันรู ้ ้ ตวั เองว่า ได้ กระท�ำผิดไว้ แล้ วได้ ไปลบหลูท่ แี่ ห่งนัน้ ๑๕๑
ก็จะมีวธิ ี เช่น ชาวลาหูร่ ้ ูวา่ ขวัญหาย ก็จะ หาไก่หนึ่งตัว เพื่อที่จะน�ำมาท�ำพิธีเรี ยก ขวัญตามวิธีชาวลาหู่ ขวัญกลับมาหรื อ ยังอย่างไรนันต้ ้ องฆ่าไก่ ตัวที่ท�ำพิธีแล้ ว ก็มาท�ำ กินกันเองในกลุ่มหมอผี หรื อผู้ เฒ่ า เพี ย งไม่ กี่ ค นเท่ า นัน้ พอกิ น เสร็ จ หมอผี หรื อผู้เฒ่า ผู้แก่ก็จะดูที่กระดูกไก่ ก็จะรู้วา่ ขวัญกลับมาหรื อยัง ก็จะรู้ทนั ที
“
ไม่น�ำถุงผ้าของผู้หญิง ติดไปในการไปล่าสัตว์ เพราะจะ ท�ำให้เกิดการมั่วและยิงคนผิดได้
ห้ามผู้หญิงจับอาวุธ เช่น อุปกรณ์ล่าสัตวต่าง ๆ เพราะจะท�ำให้อาวุธนั้นไม่แม่น เวลาไปล่าสัตว์
“
แล้ วก็จะไปหาหมอผีมาแก้ บน หรือท�ำพิธี ตามความเชื่อชาวลาหูเ่ กี่ยวกับผี ความ เชื่อเรื่ องวิญญาณ หรื อขวัญ วิญญาณ หรื อขวัญ เป็ นภาคจิตของร่างกาย คล้ าย กับความเชื่อทางไสยศาสตร์ ของคนไทย หากวิ ญ ญาณออกจากร่ า ง หรื อ ถูก ผี ร้ ายกระท�ำ เจ้ าของร่ างกายจะเจ็บป่ วย ความเชื่อชาวลาหู่ ขวัญ วิญญาณ คือ ช่วงที่ คนไม่ค่อยมี แรง ไม่สบายบ่อยๆ ครัง้ นัน้ ชาวลาหูก่ จ็ ะไปหาโตโบ ชึง่ ทีเ่ ป็ น ผู้น�ำทางศาสนา ท�ำพีธีไสยศาสตร์ จุด เทียนแล้ วสวด กล่าวตามวิธีโตโบ โตโบ ท�ำเสร็ จพิธี และรู้ วา่ จะต้ องท�ำอะไรชึง่ ผู้ ป่ วยก็ถามว่า จะท�ำอย่างไร และจะต้ อง แก้ ในด้ านไหน แล้ วโตโบก็จะตอบ และ บอกตามจริ งที่ได้ รับค�ำสัง่ จากเบื ้องบน ให้ กบั คนที่ไม่สบาย รับรู้ และให้ กลับไป แก้ ตามจริ งที่โตโบบอก เช่น ช่วงนี ้บุญมี ไม่มากแล้ วนะ และขวัญหาย วิญญาณ ไม่อยูก่ บั เนื ้อกับตัว ถ้ าเป็ นอย่างนี ้แล้ วผู้ ป่ วยหรือผู้ไม่สบายก็ต้องรีบหาหมอผี ท�ำ พิ ธี แ ก้ สิ่ง เหล่า นี ้ การท� ำ พิ ธี มี ดัง นี ้ พิ ธี เล็กๆ ท�ำพิธีหา บุญกู ็จะมีไก่ก็ได้ หมูก็ได้ พิธีเล็กๆ ก็ไก่ พิธีใหญ่ๆ ก็หมูได้ น�ำหมู - ไก่มาฆ่าเลี ้ยงให้ กบั สมาชิกในหมูบ่ ้ าน เพื่อที่จะขอบุญคนในหมูบ่ ้ าน และคนใน หมูบ่ ้ านก็ผกู ข้ อมือ และอวยพรให้ กบั คน ไม่สบายคน ๆ นัน้ ถ้ าขวัญหายชาวลาหู่ ๑๕๒
แหล่งที่มา สืบสานต�ำนานไทลื ้อ (www.hugchiangkham.com/) ค ว า ม เ ชื่ อ ด้ า น ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม ( w e b . f a c e b o o k . c o m / com/๒๐๐๗๔๑๕๔๓๗๓๓๓๒๔/posts/) ด้ านความเชื่ออื่น ๆ (www.natthawatpumpoung.blogspot.com/) วันขึ ้นบ้ านใหม่ (www.stou.ac.th) ความเชื่อเรื่ องผี (www.sites.google.com) ผีนางกวัก (www.library.tru.ac.th/inlop/lpcul/๓๐๘-lpcul๐๙.html) พิธีออนเปี๋ ยง (เพื่อป้องกันการแท้ งลูก) (www.openbase.in.th/node/๑๐๑๓) การสูข่ วัญ (www.openbase.in.th/node/๑๐๓๓) วันเจี๋ยเจียบเฝย(วันสารทจีน) (www.openbase.in.th/node/๑๐๒๙) พิธีสะพานเรี ยกขวัญหรื อพิธีต่ออายุ (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/ mien.html) ชาติพนั ธุ์ไทยวน (www.hugchiangkham.com) ประเพณีทานขันข้ าว (www.openbase.in.th/node/๗๘๗๐) ความเชือ่ เรื่องทีอ่ ยูอ่ าศัย (www.matichonweekly.com/column/article_๑๓๙๐๑๗) เดือนยี่-บุญคูนลาน (www.watpamahachai.net/Buddha/Buddha๑๒.htm) เดือนสาม-บุญข้ าวจี่ (www.isangate.com/new/tradition/๓๑๗-heet-m๓.html) เดือนเจ็ด-บุญซ�ำฮะ (www.isangate.com/new/tradition/๓๒๑-heet-m๗.html) เดือนเก้ า-บุญข้ าวประดับดิน (www.tnews.co.th/contents/๔๗๗๕๖๖) เดือนสิบสอง-บุญกฐิ น (th.wikipedia.org/wiki) ผีบ้านผีเรื อน (www.openbase.in.th/node/๘๖๕๙) ประเพณีพิธีกรรม (horoscope.thaiza.com/content/๓๔๙๒๕๘/) สารทจีน (th.wikipedia.org/wiki) เลี ้ยงผีหอ (www.prapayneethai.com)
แหล่งที่มา พิธีเลี ้ยงผีขนุ น� ้ำ (www.prapayneethai.com) การบวช (โต่วโซและกว๋าตัง) (www.openbase.in.th/node/๑๐๓๐) ด้ านความเชื่อเรื่ องศาสนา (www.inclusivechurch.net/) พลังของเทพอัคคี (www.thairath.co.th/content/๙๖๙๐๗) พิธีสขู่ วัญควาย (www.hugchiangkham.com) บุญบังไฟ ้ (www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Download/Format_Checker/๗/๓. pdf) หมอล�ำผีฟา ้ (www.lib.ru.ac.th/journal/isan/art/index.html) ชาติพนั ธุ์ลีซู (www.cmdiocese.org/th/_/ethnic/lisu/๓๖-๓๖) เซ่นไหว้ หลุมศพลีซู (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/lisu.html) ประเพณีกินข้ าวใหม่ (repository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/.pdf ) ขาหมู-หมัน่ โถว (th.wikipedia.org/wiki) สารทจีน (www.myhora.com/.aspx) วันไหว้ พระจันทร์ (www.sanook.com/horoscope/๖๙๗๒๑/) งานแต่ง-ยกน� ้ำชา (www.buddyriverside.com/Wedding/tea_ceremony/) การแต่งกายของผู้หญิ งดาราอ้ าง (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/ daraang.html) การแต่งกายของผู้ชายดาราอ้ าง (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/ daraang.html) ชนเผ่าดาราอ้ าง (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/daraang.html) การบูชาผีเจ้ าที่ (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/daraang.html) ความเชื่อด้ านศาสนา (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/daraang.html) ด้ านที่อยูอ่ าศัยของม้ ง (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/hmong.html) ประเพณีแต่งงานม้ ง (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/hmong.html)
แหล่งที่มา ความเชื่อเรื่ องการท�ำผี ลงผี (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/hmong. html) ความเชื่อเรื่ องรักษาคนตกใจ (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/hmong. html) ความเชื่อเรื่ องการรักษาด้ วยการเป่ าด้ วยน� ้ำ การเช้ อแด้ ะ (www.sawadee.co.th/ thailand/hilltribes/hmong.html) ความเชือ่ เรื่องการปัดกวาดสิง่ ไม่ดอี อกไป (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/ hmong.html) ความเชื่อเรื่ องหมูประตูผี (อัวะบัว๊ จ๋อง) (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/ hmong.html) ประเพณีแซก่อ (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/lahu.html) พิธีสะเดาะเคราะห์-สืบชะตา-เสริ มดวง (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/ lahu.html) ประเพณีวนั ศีล (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/lahu.html) สถานที่ประกอบพิธีกรรม หอเหย่ (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/lahu. html) ผู้ท�ำพิธีกรรมทางศาสนา (www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/lahu.html)
แพร
นาน
พะเยา
เช�ยงราย
จัดทำโดย สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดแพร
โครงการศึกษาและพัฒนาการทองเที่ยวว�ถีช�ว�ต กลุมชาติพันธุลานนาตะวันออก “งานตามภารกิจ ของโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำป” งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑