องคความรู
กลุมจังหวัดลานนาตะวันออก ๓๒ ชาติพันธุ
แพร
นาน
พะเยา
เช�ยงราย
จัดทำโดย สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดแพร
กลุ่มชาติพันธุ์ล้านนาตะวันออก
ค�ำน�ำ
การจัดท�ำหนังสือองค์ความรู้ ๓๒ ชาติพนั ธุ์ ภายใต้ โครงการศึกษาและ พัฒนาการท่องเที่ ยววิถีชีวิต กลุ่มชาติพันธุ์ล้านนาตะวันออก ของกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือ (จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดเชียงราย) โดยมุง่ เน้ น การศึกษาอัตลักษณ์ และการด� ำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ เพื่ อเป็ นฐานข้ อมูลใน การพัฒนาสูก่ ารท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน รวมทังการสร้ ้ างเสริ มและพัฒนาการเชื่อมโยง ฐานข้ อมูลทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น และการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ภายใน เล่มประกอบด้ วย ประวัติความเป็ นมาโดยสังเขป และ ๘ วิถีชุมชนท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมที่อาศัยอยูใ่ นพื ้นที่กลุม่ จังหวัดภาคเหนือ จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัด พะเยา และจังหวัดเชียงราย ขอขอบคุณหน่วยงานทังภาครั ้ ฐและภาคเอกชน เครื อข่ายชาติพนั ธุ์ และ บุคลากรในพื ้นที่ ทีม่ สี ว่ นเกี่ยวข้ องและมีสว่ นร่วมสนับสนุน ข้ อมูลชุมชนและภาพถ่าย ทางวัฒนธรรมของชาติพนั ธุ์กลุม่ จังหวัดภาคเหนือท�ำให้ หนังสือ “องค์ความรู้ชาติพนั ธุ์ กลุม่ จังหวัดภาคเหนือ จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดเชียงราย” เล่มนี ้เสร็ จสมบูรณ์ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า หนังสือองค์ความรู้ ชาติพนั ธุ์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ จะเป็ นประโยชน์ในด้ านการศึกษาและการเรี ยนรู้ รวมทังการค้ ้ นคว้ าด้ านการส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ซึง่ จะส่งเสริมให้ แต่ละ ชาติพนั ธุ์เห็นคุณค่าในเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ ของวัฒนธรรมชุมชน มีความรัก ความภาคภูมิใจ ร่ วมกันอนุรักษ์ วฒ ั นธรรมและวิถีชีวิต ตลอดจนการสืบสานและ สืบทอดให้ เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของแต่ละชาติพนั ธุ์อย่างยัง่ ยืนต่อไป ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร่
สารบัญ
ค�ำน�ำ สารบัญ บทที่ ๑ บทน�ำ
ก ข
แนวคิดการจัดโครงการศึกษาและพัฒนาการ ท่องเที่ยววิถีชีวิตกลุม่ ชาติพนั ธุ์ล้านนาตะวันออก
๔
ความรู้กลุม่ ชาติพนั ธุ์ ความส�ำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ อนุรักษ์ และการด�ำรงอยูข่ องกลุม่ ชาติพนั ธุ์ องค์ประกอบการเก็บข้ อมูล ๘ วิถีไทยของ กระทรวงวัฒนธรรม
๕ ๘
บทที่ ๒ ความรู้ท่ เี กี่ยวข้ อง
๘
บทที่ ๓ ข้ อมูล ๓๒ ชาติพนั ธุ์ จากกิจกรรม
การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ การจัดเวทีประชาคม และการลงพืน้ ที่เก็บข้ อมูล
กลุม่ ชาติพนั ธุ์จงั หวัดแพร่ กลุม่ ชาติพนั ธุ์จงั หวัดน่าน กลุม่ ชาติพนั ธุ์จงั หวัดพะเยา กลุม่ ชาติพนั ธุ์จงั หวัดเชียงราย
๑๐ ๖๙ ๑๑๗ ๑๓๗
บทที่ ๑ บทน�ำ
แนวคิ ด การจั ด โครงการศึ ก ษาและ พัฒนาการท่ องเที่ยววิถีชีวติ กลุ่มชาติพนั ธุ์ ล้ านนาตะวันออก
หนังสือองค์ความรู้กลุม่ ชาติพนั ธุ์ล้านนาตะวันออก ๔ จังหวัด ได้ แก่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัด น่าน และจังหวัดแพร่ เป็ นการสรุ ปภาพรวมของการ ด�ำเนินกิจกรรมที่ ๑ ในโครงการศึกษาและพัฒนาการ ท่ อ งเที่ ย ววิ ถี ชี วิ ต กลุ่ม ชาติ พัน ธุ์ ล้ า นนาตะวัน ออก ซึง่ ประกอบด้ วย การประชุมชี ้แจง การแลกเปลีย่ นเรียน รู้ และการจัดเวทีประชาคม เป็ นการจัดกิจกรรมเพื่อ สร้ างการรับรู้ และความเข้ าใจ ในการก�ำหนดแนวทาง ในการสร้ างเสริ มและพัฒนาการเชื่อมโยงข้ อมูลและ รากฐานทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้ องถิ่น และเพื่อส่ง เสริ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยมีกิจกรรมย่อย ที่เกี่ยวข้ อง ดังนี ้ ๑. กิจกรรมส่งเสริ มการรวมกลุม่ และพัฒนาศักยภาพ กลุม่ ชาติพนั ธุ์ ด้ วยการอบรมและบรรยายให้ ความรู้ รวมทังการแลกเปลี ้ ่ยนเรี ยนรู้ ๒. กิจกรรมสนทนากลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ใน ประเด็นการศึกษาอัตลักษณ์และการด�ำรงอยูข่ องกลุม่ ชาติพันธุ์ สืบค้ นข้ อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ เพื่ อเป็ นฐาน ข้ อมูลในการพัฒนาสูก่ ารท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน ๓.กิจกรรมส่งเสริ มและสนับสนุนการมีส่วนร่ วมของ ผู้มีสว่ นได้ เสีย ตามกลุม่ เป้าหมายของโครงการ ร่วมกับกลุม่ เป้าหมายชาติพนั ธุ์ ทัง้ ๘ ชาติพนั ธุ์ ต่อ ๑ จังหวัด ด้ วยการจัดเวทีประชาคม ๔. กิจกรรมกลุม่ สัมพันธ์ สร้ างความคุ้นเคยและให้ ร้ ูจกั กันเร็วขึ ้น อันจะเป็ นประโยชน์ตอ่ การสร้ างเครื อข่าย
๔
จากผลการประเมินของกิจกรรมที่ ๑ ตามที่กล่าวมา พบว่า ผู้แทนกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ๔ จังหวัด จังหวัดละ ๑๐ คน ๘ ชาติพนั ธุ์ รวม ๘๐ คน และ ๓๒ ชาติพนั ธุ์ ที่เข้ า ร่ วมโครงการ มีความพึงพอใจในการท�ำกิจกรรมที่ ๑ ได้ รับความรู้ และความเข้ าใจ ในความเป็ นตัวตนและ ความเป็ นชาติพนั ธุ์ สามารถสร้ างศักยภาพและการ ด�ำรงอยูข่ องกลุม่ ชาติพนั ธุ์ได้ มากขึ ้นและส่งผลต่อการ ท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมได้ อย่างยัง่ ยืน อีกทังการจั ้ ดเวที ประชาคมของแต่ละกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ท�ำให้ เกิดการแลก เปลีย่ นเรี ยนรู้ที่เป็ นประสบการณ์ตรง จากข้ อเท็จจริ งที่ เกิ ดขึน้ ในอดีต การด�ำเนินชีวิตในปั จจุบัน และการ วางแผนในอนาคตได้ เป็ นอย่างดี ที่สำ� คัญเวทีประชาคมครัง้ นี ้มีความส�ำคัญในลักษณะ การสานเสวนาของกลุ่มชาติพนั ธุ์ เป็ นการเสริ มสร้ าง หัวข้ อ “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ตามศาสตร์ พระราชาเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ส่งผลให้ แต่ละกลุม่ ชาติพนั ธุ์มคี วาม เข้ ม แข็ ง ทางความคิ ด และพัฒ นาตนเองไปสู่ห ลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ในเรื่ อ งของการสร้ าง ภูมคิ ้ มุ กันในตนเอง การมีภมู คิ ้ มุ กันทีด่ ใี นตนเอง หมาย ถึ ง การเตรี ย มตัว ให้ พร้ อมรั บ ผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้ านการต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ ้นโดยค�ำนึงถึง ความเป็ นไปได้ ของสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกิด ขึ ้นในอนาคตทังใกล้ ้ และไกล เมื่อแต่ละกลุม่ ชาติพนั ธุ์ มีความเข้ มแข็ง จะเป็ นแรงผลักดันให้ ชมุ ชนมีความเข้ ม แข็ ง เช่ น เดี ย วกัน สอดคล้ อ งตามยุท ธศาสตร์ ช าติ “มัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน”
บทที่ ๒
ความรูก้ ลุม่ ชาติพนั ธุ์ ความรู้ กลุ่มชาติพนั ธุ์
“
กลุ่มชาติพันธุ์ หมายถึง
ประเทศไทยทางภาคเหนือมีกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ที่อาศัยอยู่ กลุ่มคนหรือกลุ่มชนที่ถูกมองว่าแตก ร่วมกันจ�ำนวนมาก กลุม่ ชาติพนั ธุ์ (ethnic group) เป็ น ต่างจากกลุ่มอื่น ๆ ในทางกายภาพ มโนทัศน์สำ� คัญมโนทัศน์หนึง่ ที่นกั มานุษยวิทยาใช้ ใน หรือในทางวัฒนธรรม การจ�ำแนกกลุม่ ชนต่าง ๆ โดยแพร่หลายในสาขาวิชา มนุษยวิทยา ตังแต่ ้ ทศวรรษ ๒๔๙๐ เป็ นต้ นมา ซึง่ ก่อน ทศวรรษดังกล่าว นักมานุษยวิทยาให้ ความส�ำคัญกับ แบบแผนของพฤติ ก รรมมนุ ษ ย์ หรื อที่ เ รี ยกว่ า “วัฒนธรรม” มากกว่าการจ�ำแนกตัวกลุม่ ชาติพนั ธุ์ Ashley Montague ให้ ข้อคิดเห็นว่า มโนทัศน์ “กลุม่ ชาติพนั ธุ์” เป็ นค�ำที่มีประโยชน์ในการจ�ำแนกกลุม่ ชน ในประเทศอังกฤษ นักมานุษยวิทยาบางกลุม่ ให้ ความ ได้ อย่างถูกต้ องมากขึ ้น เพราะเป็ นค�ำใหม่ ยังไม่มคี วาม สนใจการจ�ำแนกประเภทกลุ่มชาติพนั ธุ์ ตัวอย่างเช่น สับสนมากเท่าความหมายของค�ำว่า “ชนชาติ” ใน การใช้ ค�ำว่ามโนทัศน์ “tribe” แปลว่าเผ่าพันธุ์ หรื อชน ความคิดของ Ashley Montague “กลุ่มชาติพันธุ์” เผ่าในภาษาไทย ตามมาด้ วยการใช้ มโนทัศน์อนื่ ๆ ส่วน หมายถึง กลุม่ คนหรื อกลุม่ ชนที่ถกู มองว่าแตกต่างจาก ในประเทศสหรั ฐอเมริ กา นักมานุษยวิทยาใช้ ค�ำว่า กลุ่ม อื่ น ๆ ในทางกายภาพหรื อ ในทางวัฒ นธรรม “band” แปลว่ากลุม่ ชนเร่ร่อน หรื อ “peasant” แปลว่า แต่ Ashley Montague ได้ เน้ นการยกตัวอย่างการ ชาวนาชาวไร่ ในภาษาไทย ตามที่ได้ กล่าวมานัน้ เพื่อ จ�ำแนกกลุม่ ชาติพนั ธุ์ในทางกายภาพ ให้ เห็นความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ในเชิ งวิวัฒนาการ มโนทัศน์ “กลุ่มชาติพันธุ์” หรื อ หลังจากทศวรรษของ ๒๔๙๐ มโนทัศน์ “กลุม่ ชาติพนั ธุ์” “ethnic group” มีข้อสันนิษฐาน จากความเชื่อมโยง ได้ แพร่หลายในสาขาชาติพนั ธุ์วทิ ยาหรื อมานุษยวิทยา กับกระแสความเคลื่อนไหวของนักมานุษยวิทยาและ สั ง คมและวั ฒ นธรรม และสาขาวิ ช าอื่ น ๆ ใน นักสังคมศาสตร์ อื่น ๆ ในเรื่ องสิทธิมนุษยชน เพราะนัก สังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยา จิตวิทยา และรัฐศาสตร์ มานุษยวิทยาบางคน เช่น Ashley Montague เป็ นนัก มโนทัศน์อื่นๆ ที่เคยใช้ กนั ก็ยงั มีใช้ ควบคู่กนั ไป แต่ใช้ มานุษยวิทยากายภาพชีวภาพ ได้ ออกแถลง การณ์ของ กันน้ อยลงด้ วยเหตุผลต่าง ๆ เช่น ค�ำว่า “เผ่าพันธุ์” ยูเนสโกในการวิพากษ์การใช้ มโนทัศน์ “ชนชาติ” (race) (tribe) กลายเป็ นค�ำที่มีนัยยะของการไร้ อารยธรรม ในการจ�ำแนกกลุม่ ชน ในครัง้ แรก พ.ศ.๒๔๙๓ (ค.ศ. และสะท้ อนอคติแบบจักรวรรดินยิ มตะวันตก เพราะค�ำ ๑๙๕๐) แถลงการณ์เรื่ องปั ญหา “ชนชาติ” ซึง่ ได้ มีข้อ ว่า “tribe” มาจากค�ำว่า “tribu” ซึง่ หมายถึง คนป่ าเถื่อน เสนอให้ ใช้ มโนทัศน์ “กลุม่ ชาติพนั ธุ์” แทน “ชนชาติ” ที่อยูน่ อกอาณาจักรแห่งอารยธรรม
“
๕
ส่วนค�ำว่า “ethnic group” หรื อกลุม่ ชาติพนั ธุ์ มีความ หมายที่เป็ นกลางมากกว่า ไม่ได้ บ่งบอกประเภทหรื อ ระดับคุณลักษณะทางวัฒนธรรมที่เหนือกว่าหรื อต�่ำ กว่า เพียงแต่บง่ บอกว่าเป็ นกลุม่ ชนที่มีความแตกต่าง ทางวัฒนธรรม ในระยะแรกการจ�ำแนกกลุม่ ชาติพนั ธุ์ เป็ นการจ� ำ แนกโดยนั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาหรื อนั ก ภาษาศาสตร์ เช่น ในงาน “Ethnic Groups of Mainland Southeast Asia” ของ LeBar, Hickey and Musgrave (๑๙๖๐) ที่จ�ำแนกกลุม่ ชาติพนั ธุ์ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเกณฑ์ความแตกต่างและความ สัมพันธ์ทางภาษา ช่วงหลัง พ.ศ.๒๕๐๐ แนวคิดการจ�ำแนกกลุม่ ชาติพนั ธุ์ โดยอาศัยเกณฑ์เชิงวัตถุวิสยั ได้ รับค�ำวิพากษ์ วิจารณ์ โดยนักมานุษยวิทยาที่ท�ำงานในภูมิภาคต่าง ๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น Leach ศึกษากะฉิ่ นในพม่า ตัง้ ข้ อสังเกตว่า กะฉิ่ น (Kachin) มี หลายกลุ่ม หลายภาษา และพบว่าไม่ สามารถสือ่ สารระหว่างกลุม่ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ ยอมรับกันว่าเป็ นกะฉิ่น ในขณะที่ Moerman ซึง่ ศึกษา ลื ้อในทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ เสนอว่าการ จ�ำแนก “กลุ่มชาติพันธุ์” ควรค�ำนึงถึงจิตส�ำนึกของ สมาชิ ก ชาติ พัน ธุ์ ด้ ว ย ว่ า เขาคิ ด ว่ า ตนเองเป็ น ใคร ข้ อสังเกตแม้ วา่ “ลื ้อ” จะมีลกั ษณะทางวัฒนธรรมแทบ จะไม่แตกต่างจากคนเมืองหรื อไตยวน ที่เป็ นคนทาง เหนือ ทังแบบแผน ้ ความเชื่อ ภาษา และการแต่งกาย แต่ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ซึง่ มีอยูเ่ พียงเล็กน้ อย ที่ท�ำให้ “ลื ้อ” อาศัยความแตกต่างดังกล่าวแยกตัวเอง จาก “คนเมือง” ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรม Moerman ตัง้ ข้ อสังเกตว่า ประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของกลุม่ ชน ก็มคี วามหมายต่อชื่อเรียกและความเป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ การนิยามความเป็ นกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยเกณฑ์ ที่เป็ น วัตถุวสิ ยั โดยนักมานุษยวิทยา แนวทางทีใ่ กล้ เคียงตาม ที่ Levine และ Campbell ได้ ตัง้ ข้ อ สัง เกตไว้ ว่ า
๖
นักมานุษยวิทยาสมัยนันมั ้ กสนใจแต่เรื่ องวัฒนธรรม จึ ง เข้ า ใจว่ า กลุ่ม ชาติ พัน ธุ์ ห นึ่ ง ๆ ก็ คื อ กลุ่ม ชนที่ มี วัฒ นธรรมหนึ่ ง ร่ ว มกัน ซึ่ ง ในความเป็ น จริ ง มิ อ าจ จ�ำแนกได้ อย่างชัดเจน ข้ อวิพากษ์ ตา่ ง ๆ ดังกล่าว ได้ กระตุ้ นความสนใจของนั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาและนั ก สังคมวิทยาบางกลุม่ ที่ถามค�ำถามเกี่ยวกับ “ความเป็ น ชาติพนั ธุ์” มากขึ ้นในเวลาต่อมา ซึ่งครอบคลุมสาระ ส�ำคัญ ดังนี ้ ๑. กระบวนการจ�ำแนกกลุม่ ชาติพนั ธุ์โดยคนในกลุม่ ๒. การเรี ยนรู้ และแสดงอัตลักษณ์ชาติพนั ธุ์ในบริ บท ต่าง ๆ ๓. ความสัมพันธุ์และความรู้สกึ ระหว่างกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ๔. ปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคลที่ตา่ งกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ๕. กระบวนการด� ำ รงรั ก ษาพรมแดนระหว่า งกลุ่ม ชาติพนั ธุ์ ๖. กระบวนการเปลี่ยนแปลงในทางชาติพนั ธุ์ Fredrik Barth นักคิดที่มีบทบาทในการกระตุ้นมโน ทัศ น์ ก ารศึก ษาชาติ พัน ธุ์ คื อ “อัต ลัก ษณ์ ช าติ พัน ธุ์ ” (ethnic identity) และ พรมแดนชาติพันธุ์ (ethic boundary) ซึง่ ถือเป็ นแนวใหม่มีลกั ษณะเป็ นจิตวิสยั ที่ ให้ ความส�ำคัญกับความรู้ สึกนึกคิดของสมาชิกกลุ่ม ชาติพนั ธุ์วา่ เป็ นใคร เป็ นสมาชิกของกลุม่ ใด แตกต่าง จากกลุม่ อื่นอย่างไร และลักษณะทางวัฒนธรรมใดที่มี ความหมายต่อการจ�ำแนกทางชาติพนั ธุ์
การศึกษาทางชาติพนั ธุ์ จึงเป็ นกระบวนการระบุอตั ลักษณ์ชาติพนั ธุ์ เอกลักษณ์ชาติพนั ธุ์ (ethnic category) และพรมแดนชาติพนั ธุ์ ในการปฏิสมั พันธ์ระหว่าง ปั จเจกบุคคลจากต่างกลุม่ ชาติพนั ธุ์
ข้ อเสนอของ Barth คือ ให้ เปลี่ยนมุมมองจากการที่ กลุม่ ชาติพนั ธุ์เป็ นหน่วยที่ถือวัฒนธรรมร่วมกันมาเป็ น “รู ป แบบการจั ด ระเบี ย บสั ง คมแบบหนึ่ ง ” ซึ่ ง มี ความหมายคล้ ายกั น กั บ ค� ำ ว่ า “สถานภาพ” ใน กระบวนการปฏิสมั พันธ์ระหว่างปั จเจกบุคคลที่อยูร่ ่วม กลุ่มชาติพนั ธุ์เดียวกัน หรื ออยู่ต่างกลุ่มชาติพนั ธุ์กัน การก�ำหนดความหมาย กลุม่ ชาติพนั ธุ์ตามความคิดนี ้ ท� ำ ให้ ลั ก ษณะทางวั ฒ นธรรมมี ค วามส� ำ คั ญ ใน การจ�ำแนกความเป็ นชาติพนั ธุ์ของปั จเจกบุคคล และ เป็ นสัญลักษณ์ส�ำคัญในการจ�ำแนกตนเองและคนอื่น ว่าต่างกลุม่ กันในแง่นี ้ ความเป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ก็จะเปรี ยบเสมือนสถานภาพ อื่น ๆ ในสังคม เช่น เพศสภาพ ชนชัน้ วัยวุฒิ หรื อ ถิ่นฐานทีอ่ ยู่ ทีก่ ลายเป็ นมาตรฐานการปฏิสมั พันธ์ทจี่ ะ ท�ำให้ ร้ ู ว่าคูป่ ฏิสมั พันธ์ควรจะถือปฏิบตั ิอย่างไรต่อกัน อย่างเหมาะสม ตามความคิดนี ้ สิง่ ที่มีความส�ำคัญใน
ข้ อสังเกตของ Barth ก็คือว่า พรมแดนชาติพนั ธุ์อาจ ด�ำรงอยูไ่ ด้ แม้ วา่ จะมีการปฏิสมั พันธ์ข้ามกลุม่ ชาติพนั ธุ์ กัน อยู่เ สมอ และแม้ ว่ า จะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงทาง วัฒนธรรมไปในทางที่ใกล้ เคียงกัน Barth ให้ ความ สนใจเรื่ อ งการแสดงอั ต ลั ก ษณ์ ช าติ พั น ธุ์ ใ นการ ปฏิสมั พันธ์มากกว่าสนใจความเป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์อย่าง ในกรณีของ Moerman นอกจากแนวคิดของ Barth แ ล้ ว ยั ง มี แ น ว คิ ด ข อ ง นั ก ม า นุ ษ ย วิ ท ย า แ ล ะ นักสังคมศาสตร์ อื่น ๆ อีก เช่น Abner Cohen ได้ พยายามปรั บปรุ งความหมายของกลุ่มชาติพันธุ์ให้ รัดกุมขึ ้น โดยก�ำหนดว่า กลุม่ ชาติพนั ธุ์ คือ กลุม่ คนที่มี แบบแผนพฤติกรรมทางวัฒนธรรมร่ วมกัน เป็ นส่วน หนึ่ ง ของสั ง คมใหญ่ ท� ำ ให้ มี ก ารปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ กลุม่ ชาติพนั ธุ์อื่น ๆ ที่อยูร่ ่วมระบบสังคมเดียวกัน นัย ยะของความหมายนี ้ คือ กลุม่ ชาติพนั ธุ์จะต้ องอยูร่ ่วม ระบบสัง คมเดี ย วกั น และแนวคิ ด ในการจ� ำ แนก กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ข อง Cohen ก็ ยั ง มี ลั ก ษณะที่ ใ ห้ ความส�ำคัญกับเกณฑ์ที่เป็ นวัตถุวิสยั อยูด่ ี แม้ Cohen จะให้ ความสนใจกับการปฏิสมั พันธ์ระหว่าง กลุม่ ชาติพนั ธุ์เหมือนกับ Barth แต่ Cohen ให้ ความ สนใจปั จเจกบุคคลน้ อยกว่า และเน้ นการวิเคราะห์ ความเป็ นกลุม่ หรื อการจัดระเบียบสังคมภายในกลุม่ สรุปได้ วา่ การให้ ความหมายกับ “กลุม่ ชาติพนั ธุ์” จึงมี ความหลากหลาย ซึ่ง ส่ว นหนึ่ ง เป็ น ผลมาจากการ พิจารณาปรากฏการณ์ หรื อสถานภาพที่แตกต่างกัน และจากมุม มองที่ ต่า งกัน ท� ำ ให้ มิ อ าจนิ ย ามค� ำ ว่า “กลุม่ ชาติพนั ธุ์” ได้ อย่างชัดเจนแน่นอน ขึ ้นอยู่กบั ว่า นักมานุษยวิทยาและนักสังคมวิทยา ต้ องการศึกษา ข้ อมู ล ในเชิ ง วั ฒ นธรรม หรื อ ความสั ม พั น ธ์ ข อง ปั จเจกบุคคลหรื อกลุม่ ชาติพนั ธุ์
๗
ความส�ำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และ อนุรักษ์ และการด�ำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ เอกลักษณ์ ความหมายค�ำว่า “เอกลักษณ์” ตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ คือ ลักษณะที่เหมือน กันหรื อมีร่วมกัน เช่น ชุมชนนีม้ ีเอกลักษณ์ อยู่ที่การ ทอผ้ า จก หมายความว่ า ชุม ชนนี ม้ ี อ าชี พ ทอผ้ า จก เหมือน ๆ กันหมด อย่างไรก็ตามคนไทยส่วนใหญ่นิยม ใช้ ค� ำ ว่ า “เอกลัก ษณ์ ” ในความหมายว่ า ลัก ษณะ อันเป็ นเฉพาะเจาะจง มีหนึง่ เดียวของสิง่ ๆ หนึง่ เช่น ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ของชาติไทย อัตลักษณ์ ความหมายค�ำว่า “อัตลักษณ์” เป็ นคุณลักษณะเฉพาะ ตัว เป็ นตัวบ่งชี ้ของลักษณะเฉพาะของบุคคล องค์กร สัง คม ชุม ชน หรื อ ประเทศนัน้ ๆ ยกตัว อย่ า งเช่ น เชื อ้ ชาติ ภาษา วัฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ประเพณี และ ศาสนา เป็ นต้ น ซึ่งมีคณ ุ ลักษณะที่ไม่มีทว่ั ไป หรื อมี ลักษณะที่ไม่เหมือนกับของคนอื่น ๆ
การด�ำรงอยู่ของกลุ่มชาติพนั ธุ์ คนไทยโดยส่วนใหญ่ยงั นิยมใช้ ค�ำว่า “เอกลักษณ์” ใน ความหมายว่าลักษณะเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใคร ซึ่ง เป็ นสิ่งตายตัวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ส่วนค�ำว่า “อัตลักษณ์” นันมั ้ กจะใช้ ในวงแคบ ๆ อาทิเช่น ในงาน วิชาการ หรื อการสัมมนา เป็ นต้ น อัตลักษณ์สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ตามความจริ งที่ปรากฏ รวมทังบริ ้ บท อัตลักษณ์ ตามความหมายส�ำนักงานราชบัณฑิตย ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ วิ ถี เ ชิ ง วั ฒ นธรรมของชุ ม ชนกลุ่ ม (๑๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๐) ประกอบด้ วยค�ำว่า อัต ชาติพนั ธุ์นนั ้ ๆ ซึ่งหมายถึง ตน หรื อตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว ค�ำว่า อัตลักษณ์ (Identity) หมายถึง จากการถอดบทเรี ยนเวทีประชาคม กลุม่ ชาติพนั ธุ์ มี ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งท�ำให้ ความคิดเห็นร่วมกันว่า การจัดให้ มีศนู ย์การเรี ยนรู้เชิง สิ่ ง นั น้ เป็ นที่ ร้ ู จั ก หรื อ จ� ำ ได้ เช่ น นั ก ร้ องกลุ่ ม นี ม้ ี วัฒนธรรมของแต่ละชุมชน จะเป็ นการอนุรักษ์ และการ อัตลักษณ์ ทางด้ านเสียงที่โดดเด่นมาก สังคมแต่ละ ด�ำรงอยูข่ องกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ซึง่ จะเป็ นแหล่งรวบรวมและ สังคมมีอตั ลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง เรี ย นรู้ ทัง้ ในเรื่ อ ง ภาษา การแต่ ง กาย ประเพณี วัฒนธรรม และศาสนา รวมทังเสนอเพิ ้ ่มเติมว่าจุดเริ่ ม ต้ นของการรักษาวัฒนธรรมได้ อย่างมีความส�ำคัญ คือ เริ่ มจากครอบครัว โดยเฉพาะเรื่ องการใช้ ภาษา หากมี การฝึ กพูด และสนับสนุนให้ สื่อสารกันในชุมชนด้ วย หมายถึง ภาษาชาติพนั ธุ์ตนเองจะเป็ นการอนุรักษ์ ด้านภาษาไว้ คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน การรักษาให้คงเดิม
“
อนุรักษ์
“
๘
บทที่ ๓ ข้อมูล ๓๒ ชาติพันธุ์ จากกิจกรรม การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ก ารจั ด เวที ประชาคม และการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
๘ ๑๐
กลุ่มชาติพันธุ์ จังหวัดแพร่
ชาติพันธุ์ กะเหรีย่ ง
ชุมชนเผ่ ากะเหรี่ ยงบ้ านค้ างใจ หมูท่ ี่ ๗ ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิน้ จังหวัดแพร่ หมู่บ้านชุมชนชาวเขาเผ่า กะเหรี่ยง เป็ นหมูบ่ ้ านทีอ่ ยูใ่ นทีร่ าบเชิงเขา อุดมสมบูรณ์ ล้ อมรอบด้ วยป่ าไม้ และภูเขา อยูต่ ดิ กับอุทยานแห่งชาติ เวียงโกศัย มีลำ� ห้ วยธรรมชาติที่สวยงามไหลผ่านตลอด ปี ชาวบ้ านอยู่กนั อย่างเรี ยบง่าย มีวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีที่คงความดังเดิ ้ ม มีเสน่ห์ในแบบของบ้ านค้ าง ใจเดิม อยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอลอง จังหวัด แพร่ เมื่ อ มี ก ารตั ง้ อ� ำ เภอใหม่ จึ ง มาขึ น้ อยู่ กั บ เขต การปกครองต�ำบลแม่ปา้ ก อ�ำเภอวังชิ ้น จนเมื่อมีการ แบ่งแยกเขตต�ำบลใหม่ บ้ านค้ างใจได้ มาอยูใ่ นเขตการ ปกครองของต�ำบลแม่เกิ๋ง บ้ านค้ างใจ มีชื่ออีกชื่อหนึง่ ว่ า “แม่ เ กิ๋ ง ” เป็ นหมู่ บ้ านชาวเขาเผ่ า กระเหรี่ ย ง เป็ นหมูบ่ ้ านทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ไปด้ วย ป่ าไม้ สัตว์ป่า ผู้ใหญ่ บ้ านคนแรก คือ นายจีอวั ้ ค้ างใจจะหลี่ ชาวบ้ านส่วน ใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ และนับถือผี ในชุมชนไม่มีวดั แต่จะไปท�ำบุญที่หมูบ่ ้ านใกล้ เคียง ๑๑
บ้ านค้ างใจ สมัยก่อนจะเป็ นแค่หมู่บ้าน เล็ก ๆ มีบ้านไม่กี่หลังคาเรื อน ผู้คนก็จะ ไม่ค่อยมีเยอะ สภาพหมู่บ้านจะเป็ นป่ า ทุรกันดารมาก ไปไหนก็ไม่สะดวกสบาย ในสมัยก่อนจะไม่มีไฟฟ้า ไม่มีโรงเรี ยน ไม่มีรถยนต์ ไม่มีมอเตอร์ ไซด์ ไม่มีถนน ลาดยาง ทางเดินของชาวบ้ านสองฝั่งทาง จะมีแต่ป่า ต้ นไม้ และหญ้ ารกรุงรัง สมัย ก่อนบ้ านค้ างใจขึน้ อยู่กับอ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง เวลาที่ชาวบ้ านต้ องเสีย ภาษี อ ากรนัน้ ชาวบ้ า นจะต้ อ งขึน้ เขา ลงห้ วยไป อ�ำเภอแม่ทะจังหวัดล�ำปาง เพือ่ ไปจ่ายค่าภาษีอากรของชาวบ้ านเอง บ้ า นค้ า งใจได้ ย้ ายโอนมาสัง กั ด อยู่ ที่ อ�ำเภอลอง ตอนนันยั ้ งไม่มีอ�ำเภอวังชิ ้น และต่อมาได้ ยกให้ อ�ำเภอวังชิ ้น เป็ นกิ่ง อ� ำ เภอวัง ชิ น้ และอ� ำ เภอวัง ชิ น้ ก็ มี ม า จนถึงปั จจุบนั นี ้ ซึง่ หมู่บ้านค้ างใจก็เป็ น อี ก หมู่บ้ า นหนึ่ ง ที่ ตัง้ อยู่ใ นเขตอ� ำ เภอ วังชิ ้นด้ วยเช่นกัน วิถีชีวิตของชาวบ้ านค้ างใจในสมัยก่อน จะเป็ นแบบเรี ย บง่ า ย อยู่ แ บบพื น้ ๆ การท� ำ มาหากิ น ก็ เ รี ยบง่ า ยเหมื อ น ส่วนการท�ำเกษตรชาวบ้ านจะใช้ กระบือ (ควาย) เป็ นเครื่ องมือในการท�ำนา หรื อ ไถนา ส่ ว นยานพาหนะนั น้ ก็ จ ะเป็ น ๑๒
เกวี ย น ใช้ ส� ำ หรั บ ในการบรรทุ ก คน สิ่ ง ของ และเครื่ อ งใช้ ต่ า ง ๆ เป็ น ต้ น ส่วนอาหารการกินนันก็ ้ จะไม่คอ่ ยมีเยอะ เท่าไหร่ อาหารการกินที่วา่ นี ้ก็คือ อาหาร ประเภทพวกอาหารส�ำเร็จรูปจะไม่คอ่ ยมี เยอะเหมือนสมัยนี ้ชาวบ้ านส่วนใหญ่จะ ท�ำมาหากินโดยตามธรรมชาติ เช่น หากิน ตามป่ า ตามเขา ตามล�ำห้ วย เมื่อสมัย ก่อนอาหารประเภทสัตว์ป่านี ้จะมีเยอะ มาก เช่ น นก หนู หมูป่ า เก้ ง กวาง กระต่าย รวมทัง้ สัตว์ ใหญ่ อีกมากมาย หลายชนิดนับไม่ถ้วน เพราะว่าเมื่อสมัย ก่ อ นนั น้ หมู่ บ้ านค้ างใจจะเป็ นป่ าที่ มี ความอุดมสมบูรณ์ดีมาก ข้ อมูล เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิวฒ ั นธรรม ชื่ อ ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม กะเหรี่ ยง บ้ านแม่พงุ หลวง และกะเหรี่ ยง บ้ านค้ างใจ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ ภาษากะเหรี่ยง เครื่ องแต่งกาย ชุดกะเหรี่ ยง ค�ำขวัญของชุมชนหรือประโยคทีแ่ สดงถึง ความโดดเด่นของชุมชน - บ้ านค้ างใจ แม่น�ำ้ สองสี ต้ นไม้ พันปี หลวง (บ้ านค้ างใจ)
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นางสาวแอน หิรัญคีรี ผู้น�ำชุมชน บ้ าน เลขที่ ๘๖ หมู่ ๑๕ ต�ำบลแม่พงุ อ�ำเภอ วั ง ชิ น้ จั ง หวั ด แพร่ มี ข้ อมู ล ที่ ส� ำ คั ญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร ย�ำเย็นปลา แกงหน่อหวาย ต�ำหน่อหวาย ย�ำไก่
ด้ านประเพณี พิธีกรรม ประเพณีมดั มือ ประเพณีอยูก่ �๋ำ ประเพณีเลี ้ยงผีเรื อน ประเพณี เลี ้ยงผีขุนน�ำ ้ ประเพณี เลี ้ยงผี ฝาย กะเหรี่ ยงจะใช้ ภาษากลาง ภาษา กะเหรี่ ยง ภาษาเหนือมัดมือ เลี ้ยงผีเฮือน เลี ้ยงผีฝาย เลี ้ยงผีขนุ น� ้ำ
“
ด้ า นการแต่ ง กาย การแต่ ง กายชาย เ สื อ้ ก ะ เ ห รี่ ย ง ช า ย / ห ญิ ง ( โ ส ด ) ชุดกะเหรี่ ยงสีขาว (แต่งงานแล้ ว) เสื ้อลูก เดือย ผ้ าซินกะเหรี่ ยง เด็กชุดสุม่ ร่อง ส่วน หนึง่ ยังคงเป็ นไปตามธรรมเนียมประเพณี เครื่ องแต่ ง กายบ่ ง บอกถึ ง เพศ วั ย สถานภาพการแต่งงานของเพศหญิงด้ วย
มะแขว่ นลือชื่อ สื่อสองภาษา ป่ าเขียวขจี วิถพ ี อเพียง ลือเลื่องสมุนไพร เยาวชนห่ างไกลยาเพสติด
“
ด้ านที่ อยู่ อาศั ย อาคาร สถานที่ ลักษณะที่อยู่อาศัยเป็ นบ้ านไม้ ยกพื ้นสูง หลังคามุงหญ้ าคา
๑๓
ด้ า นอาชี พ ส่วนใหญ่ ป ระกอบอาชี พ การเกษตรท�ำไร่ หมุนเวียนเป็ นหลัก เมื่อ ท�ำไร่ปีหนึง่ แล้ วจะปล่อยที่ทิ ้งไว้ ๗-๑๐ ปี ให้ ป่ าเจริ ญ เติ บ โตขึ น้ เป็ นป่ าที่ อุ ด ม สมบูรณ์อีกครัง้ จึงกลับมาท�ำไร่อีก ปกติ ท� ำ นา พื ช ที่ นิ ย มปลูก ได้ แ ก่ ถั่ ว ลิ ส ง ข้ าวโพด แตงโม ปลูกข้ าว มันส�ำปะหลัง ผ้ าทอกะเหรี่ ยง น� ำ้ มั น งาสกั ด เย็ น สมุนไพร ปลูกทังข้ ้ าวและพืชผักที่จ�ำเป็ น ด้ านภาษา ภาษากะเหรี่ ยง ภาษาค�ำ เมืองและภาษากลาง มีภาษาสือ่ สารเป็ น ต่อการบริ โภค ของตนเอง ลักษณะเฉพาะแตกต่างจาก การค้ าขาย ในอดีตจะไม่มีการใช้ เงินตรา ภาษาของกลุม่ ชาติพนั ธุ์เดียวกัน แต่อยู่ ส่วนใหญ่จะเป็ นการแลกเปลี่ยนสินค้ า ต่างพื ้นที่ ส�ำเนียง การออกเสียง มีความ เมื่อล่าสัตว์ หรื อหาของป่ าได้ จะน� ำไป เป็ น ท้ อ งถิ่ น แตกต่า งจากถิ่ น อื่ น ๆ แต่ แลกเปลี่ยนกับสิ่งของเครื่ องใช้ ในเมือง สามารถสื่ อ สารกั บ คนที่ พู ด ภาษา หรื อแลกเปลี่ยนกันเองระหว่างสองฝ่ าย เดียวกันที่อยูท่ ้ องถิ่นอื่น ๆ เมือ่ ยุคสมัยเปลีย่ นไปมีการค้ าขายโดยใช้ เงินตราเป็ นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ด้ านความเชื่อ มีลกั ษณะการบูรณาการ ความเชือ่ ด้ านต่าง ๆ ทังความเชื ้ อ่ พื ้นบ้ าน การเลี ้ยงสัตว์ ในอดีตจะนิยมเลี ้ยงสัตว์ ผี บ รรพบุ รุ ษ ศาสนาพราหมณ์ แ ละ จ�ำพวกเป็ ด ไก่ สุกร เพือ่ น�ำมาเป็ นอาหาร ศาสนาพุทธ เข้ าด้ วยกัน เดือนกุมภาพันธ์ โค กระบือ น�ำมาใช้ ไถนา และช้ าง น�ำมา ประเพณีมดั มือ ใช้ ในงานลากไม้ ซงุ ปั จจุบนั แรงงานสัตว์ ถูกน�ำมาใช้ ในเชิงธุรกิจการท่องเทีย่ วมาก ครอบครัวและระบบเครื อญาติมีรูปแบบ ขึ ้น เช่น ช้ าง ก็จะเป็ นการน�ำมาใช้ ในการ เป็ นครอบครัวเดี่ยว ประกอบด้ วยพ่อ แม่ ท�ำทัวร์ เป็ ด ไก่ สุกร ก็มีการเลี ้ยงเพื่อส่ง และลูก แต่ก็ยงั ปรากฎรูปแบบครอบครัว เข้ าโรงฆ่าสัตว์ และน�ำเนื ้อที่ได้ มาขายให้ ขยายอยู่ด้วย เพราะในบางครอบครั ว อาจมีพ่อแม่ของฝ่ ายหญิงอาศัยอยู่ด้วย กับนักท่องเที่ยวเป็ นหลัก ๑๔
นอกจากนี ก้ ารที่สังคมกะเหรี่ ยงนับถื อ ญาติฝ่ายแม่ เมื่อแต่งงานแล้ วฝ่ ายชาย ต้ องไปอยูบ่ ้ านฝ่ ายหญิง นับถือญาติทาง ฝ่ ายหญิง ในครอบครัวจึงมีครอบครัวของ ลูกสาวและลูกเขยอยู่อีกครอบครัวหนึ่ง จนกระทัง่ ๑ ปี ผา่ นไป หรื อหากน้ องสาว แต่งงาน ครอบครัวพี่สาวจึงจะแยกออก ไปสร้ างบ้ านอยูใ่ กล้ ๆ แต่สำ� หรับบุตรสาว คนสุดท้ อง จะต้ องอยูก่ บั พ่อแม่ไปตลอด ไปแม้ จะแต่งงานแล้ วก็ตาม เพราะมีหน้ า ที่เลี ้ยงดูตอบแทนบุญคุณพ่อแม่ ดังนัน้ ลูกสาวคนสุดท้ องจึงได้ รับมรดก เช่น ที่ นาและวัวควายมากกว่าพีน่ ้ อง ซึง่ จะไม่มี การอิจฉาริ ษยากันเลย ครอบครั วใดที่ ไม่มีลูกสาว ลูกชายก็จะท�ำหน้ าที่แทน บ้ านใดที่แม่บ้านเสียชีวิตลง ต้ องรื อ้ บ้ าน ทิ ้งแล้ วสร้ างใหม่ เพื่อลูกสาวที่แต่งงาน แล้ วจะได้ ประกอบพิ ธี ก รรม เลี ย้ งผี บรรพบุรุษได้ ผู้อาวุโสในบ้ าน ซึง่ ได้ แก่พ่อแม่ของฝ่ าย หญิง มีบทบาทในการช่วยอบรมสมาชิก ในครอบครัว ผู้อาวุโสจะได้ รับการเคารพ ยกย่องอย่างสูงในการตัดสินใจต่างๆของ ครอบครัว จะต้ องมีการปรึกษาหารือและ เชื่อฟั งความคิดเห็นของผู้อาวุโสในบ้ าน
การนับญาติ การเรี ยกชื่อ :การสืบเชือ้ สายของกะเหรี่ยงเป็ นการสืบเชื ้อสายทาง ฝ่ ายแม่ แต่ก็ยงั ให้ ความเคารพต่อพ่อแม่ ของฝ่ ายชาย กะเหรี่ ยงสมัยก่อนนันไม่ ้ มี นามสกุล แต่ในปั จจุบนั นี ้มีนามสกุลกัน เกือบหมดแล้ ว และบุตรจะใช้ นามสกุล ของพ่ อ ส่ ว นชื่ อ ของเด็ ก พ่ อ แม่ ห รื อ ผู้ อาวุโ สฝ่ ายภรรยาจะเป็ น คนตัง้ ชื่ อ ให้ หากเป็ นผู้ หญิ ง มั ก จะมี ค� ำ ขึ น้ ต้ นว่ า “หน่อ” และถ้ าเป็ นผู้ชายมักจะมีคำ� ขึ ้นต้ น ว่า “พะ” หรื อ “จอ” ซึง่ เป็ นค�ำแสดงความ เป็ นเพศหญิงหรื อชาย ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น การร�ำกะเหรี่ยงทุหลิง่ และการเดินกะลา อุปกรณ์ ๑.) เชือก ยาวประมาณ ๑ วา ครึ่ งแล้ วแต่ความถนัดของผู้เล่นทุกคน ๒.) กะลามะพร้ าวแก่ ๒ อัน ขัน้ ตอนการท�ำ ๑.) ผ่ากะลาครึ่งซีก แล้ ว เจาะรูทกี่ ้ นกะลา ๒.) น�ำเชือกมาร้ อยผ่าน รู ก ะลาอัน หนึ่ ง มัด เป็ น ปมขัน้ รู ก ะลา ท�ำอีกข้ างหนึง่ เช่นเดียวกัน เป็ นอันเสร็ จ สมบูรณ์ ๑๕
การเดิน ไม้ ก้ า งเก้ ง อุปกรณ์ การเล่น ไม้ ก้างเก้ ง ๑ คู่ ต่อผู้เล่น ๑ คน ขัน้ ตอนการท�ำ ๑.) วัดความยาวไม้ ไผ่ ประมาณ ๒๕๐ ซม.ส�ำหรั บไม้ จับและ ประมาณ ๕๐ ซม.ส� ำ หรั บ แท่ น ยื น ๒.) เจาะรูไม้ แท่นยืนจุดศูนย์กลางเท่าไม้ จับ เผือ่ สวมเข้ ากับไม้ จบั ๓.) สวมไม้ แท่น ยืนเข้ าไปในไม้ จบั โดยให้ อยู่เหนือข้ อต่อ ไม้ มาเล็กน้ อย วิธีการเล่ น จับไม้ ตัง้ ฉากแล้ ววางเท้ า ไว้ บนแท่นยืน ทรงตัวบนไม้ แล้ วเริ่ มเดิน
สถานที่ท่องเที่ยว ด้ านอื่ นๆ น�ำ้ ตกแม่พุงหลวง ห้ องอบ แม่ น� ำ้ สองสี เป็ นล� ำ ห้ วยธรรมชาติ ที่ สมุนไพร นวดเพื่อสุขภาพ บรรจบของแม่น� ้ำสองสาย ได้ แก่ สายน� ้ำ แม่เกิ๋งน้ อยและสายน�ำ้ ตกแม่เกิ๋งหลวง ข้ อมูลชุมชน จากอุทยานแห่งชาติแม่เกิ๋ง การเดินทาง ๑. รถยนต์ ส่ว นตัว เดิ น ทางผ่ า นถนน ศู น ย์ เ รี ย นรู้ ผ้ าทอกะเหรี่ ย งครบวงจร หลวงหมายเลข ๑๐๓ ไปอ�ำเภอลอง แพร่- เป็ น แหล่ ง แสดงรวมสิ น ค้ า ของชุ ม ชน วังชิ ้น ถึงบ้ านค้ างปั นใจและต่อด้ วยแม่ มีการสาธิตการทอผ้ า เย็บผ้ า และวิถีชวี ติ พุงหลวง ของชาวกะเหรี่ ยง ซึง่ ความโดดเด่นจาก ๒. รถไฟ ลงที่สถานีบ้านปิ น อ.ลอง และ เสื อ้ ผ้ า ชาวกะเหรี่ ย ง ที่ มี ล วดลายเป็ น ต่อด้ วย ลอง - วังชิ ้น เอกลักษณ์ ดูสวยงาม และประณีต ท�ำให้ ๓. รถประจ�ำทาง ลงที่สถานีขนส่ง จ.แพร่ ได้ รั บ รางวัล เป็ น สิ น ค้ า OTOP ระดับ และต่อด้ วย แพร่ - วังชิ ้น ๔ ดาว และมีสนิ ค้ าอื่นๆ อาทิ เช่น ผ้ าถุง ผู้น�ำชมภายในชุมชน นางสาวจันทร์ กะเหรี่ ยง สร้ อยคอ-สร้ อยแขน มะเดือย เพ็ญ ค�ำเหลือง พูดได้ ๓ ภาษา (รวม พวง ภาษาชาติพนั ธุ์หรื อภาษาท้ องถิ่น)
๑๖
ศูนยทอผากระเหรี่ยงครบวงจร
โรงเรียนถิ่นโอภาสวิทยา
แมนํ้าสองสี
ทางหลวงหมายลขเ 1023
ศูนยการเรียนรู บานคางใจ
ตนไมพันป
จังหวัดแพร
สถานที่ท่องเที่ยว
กะเหรี่ยง
ชาติพนั ธุ์
ไทใหญ่
ไทใหญ่ หรื อ ฉาน หรื อ เงี ้ยว (แปลว่า งู) ซึ่ ง เป็ นค� ำ เรี ยกที่ ไ ม่ สุ ภ าพ คื อ กลุ่ ม ชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่ง เป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ขนาดใหญ่อนั ดับสอง ของพม่ า ส่ ว นมากอาศั ย ในรั ฐ ฉาน ประเทศพม่ า และบางส่ ว นอาศัย อยู่ บริ เ วณดอยไตแลง ชายแดนระหว่ า ง ประเทศไทยกับประเทศพม่า คนไทใหญ่ ในประเทศพม่ามีประมาณ ๓ หรือ ๔ ล้ าน คน แต่มไี ทใหญ่หลายแสนคน ทีไ่ ด้ อพยพ
๑๘
เข้ าสู่ป ระเทศไทยเพื่ อ หนี ปั ญ หาทาง การเมื อ งและการหางาน ตามภาษา ของเขาเองจะเรี ยกตัวเอง ไต หรื อ ไต (ตามส� ำ เนี ย งไทย) มี ห ลายกลุ่ม เช่ น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื ้อ และไตมาว แต่ ก ลุ่ ม ใหญ่ ที่ สุ ด คื อ ไตโหลง ไต = ไท และโหลง (หลวง) = ใหญ่ ซึง่ คนไทย เรี ย ก ไทใหญ่ เหตุฉ ะนัน้ จะเห็ น ได้ ว่า ภาษาไต และภาษาไทยคล้ ายกันบ้ าง แต่ไม่เหมือนกัน
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายสมยศ เกิดผล ผู้ใหญ่บ้าน บ้ านเลข ที่ ๘๕/๑หมู่ ๖ ต�ำบลนาพูน อ�ำเภอวังชิ ้น จังหวัดแพร่ มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียด ดังนี ้
เสื ้อสัน้ สาบเสื ้อก็สลับทับไปคนละด้ าน
ด้ านอาหาร ความจริ งไทใหญ่มีกบั ข้ าว หลายอย่าง มีทงั ้ อุ๊บ (ประเภทอาหารที่ ผัด จากนันใส่ ้ น� ้ำและอบด้ วยฝาหม้ อหรือ กระทะ) อาทิเช่น อุ๊บปลาดุก อุ๊บผักเขียว (มี ส่ ว นผสมเป็ นผั ก หลายชนิ ด ) เนื อ้ แอ๊ บอุ๊บ (เนื อ้ วัวกระป๋ องอุ๊บ กับ เครื่ อง ปรุ ง) อุ๊บ ถั่วพู อุ๊บ ถั่ว พูเผื อกกับ จิ๊ นหมู (เต้ าหู้ขาวกับ เนื ้อหม)ู และแกงมะเขือ เคือ (แกงมะเขือเทศ) เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ยังได้ ชิมน� ้ำพริ ก (ภาษาไทใหญ่ เรี ยกว่า “น� ้ำพิด”) หลากหลายประเภท ทังที ้ ่กิน เป็ นกับข้ าวหลักและเป็ นเครื่ องเคียงร่วม กับ กับข้ าว จานอื่นพร้ อมกับผักสด
ไทใหญ่ หรื อ ไตหลวง กลุม่ ชนชาติที่ว่า กันว่ามีรากเหง้ าทางวัฒนธรรม การพูด ฯลฯ คล้ ายคลึงกับ คนไทยในสยามการ แต่งกายของสตรี ชาวไทใหญ่ นิยมสวม เสื ้อป้ายข้ าง นิยมผ้ าที่นมุ่ บาง เพื่อความ สบายในการสวมใส่ ทรงผมทีท่ ำ� นิยมรวบ เป็ นมวยขึ ้น และกดส่วนบนให้ แบนลง คล้ ายกล่องข้ าว ผ้ าซิ่นที่สวมใสจะนิยม ซิ่ น ที่ ไ ด้ อิ ท ธิ พ ลจากชาวไทใหญ่ ใ นดิ น แดนพม่า อาทิ ซิ่นอินเล ซึ่งเป็ นซิ่นที่มี ลวดลาย และการทอเป็ นแบบมัดหมีต่ าม แบบฉบับของชาวอินเลการแต่งกายของ บุรุษไทใหญ่ นิยมสวมเสื ้อไต หรื อเสื ้อผ่า หน้ ามี ก ระดุ ม จี น ประกอบกั น เป็ น คู่ ๆ ตลอดแถว นิยมสวมเสื ้อสีอ่อนซ้ อนทับ ข้ างในบ้ างในโอกาสที่ส�ำคัญ เคียนหัว และพันเอวด้ วยผ้ าสีอ่อน อาทิสีชมพู สี ขาว เป็ นต้ น
ด้ า นการแต่ ง กาย การแต่ง กายชาว ไทใหญ่ ผู้ช ายสวมเสื อ้ ไต นุ่ง กางเกง ขาก๊ วย มีผ้าเคียนศีรษะ ส่วนผู้หญิง สวม ผ้ าซิน่ หรื อผ้ าถุงยาวคลุมตาตุม่ เสื ้อแขน ยาวคลุม เอว สาบเสื อ้ ป้า ยทับ ไปด้ า น เดียวกับผ้ าถุงบ้ าง และเป็ นแบบหลวม ๆ แต่ปัจจุบนั มีการประยุกต์เป็ นแบบรัดรูป
ด้ านที่อยู่อาศัย ชาวไทใหญ่อาศัยอยูต่ ามพื ้นที่ราบลุม่ ริม แม่น� ำ ้ ตามหุบเขา มี ขนาดตัง้ แต่ ๒๐ หลังคา จนถึงขนาด ๗๐๐-๑๐๐๐ หลังคา เรือน ด้ านหลังของเมืองมักจะเป็ นเชิงเขา หันหน้ าเข้ าสู่ท่งุ นา ชีวิตของไท ชีวิตถูก ก�ำหนดด้ วยฤดูกาล ที่จะเป็ นตัวก�ำหนด ๑๙
วิถีชวี ติ การท�ำงาน การประกอบ พิธีกรรม ด้ านความเชื่อ และประเพณีทางศาสนาต่าง ๆ ตลอดปี ชาวไทใหญ่ จะมีเสื ้อบ้ านและหอเสื ้อบ้ าน เพื่ อ ให้ ชาวบ้ านทุ ก คนมาประกอบ ด้ านประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิตชาวไท พิธีกรรม เพื่อ ความเป็ นสวัสดิมงคลของ ใหญ่ เช่ น พิ ธี ก ารด� ำ หัว ตามประเพณี หมูบ่ ้ าน และเพือ่ ความอยูด่ กี ินดี พืชพันธุ์ ดังเดิ ้ มของชาวไทใหญ่ การแสดงฟ้อนไต เจริ ญ งอกงาม วัว ควาย สัต ว์ เ ลี ย้ งทัง้ การฟ้ อ นนก ฟ้ อ นโต การฟ้ อ นเจิ ง หลายเติบโต ปราศจากโรคภัยจากสภาพ การฟ้อนดาบ กับเครื่องดนตรีโบราณ เช่น ทางภูมิศาสตร์ ถิ่นที่อยู่ และความเชื่อ ระนาดเหล็ก ฆ้ องแผง กลองยาว ฉาบ ตี ประเพณี พิ ธี ก รรมที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ล ยอ หรื อไวโอลินพม่า อาหารของชาวไท ทางพุ ท ธศาสนา และความเชื่ อ เรื่ อ ง ใหญ่จะมี “ถัว่ เน่า” เป็ นเอกลักษณ์ คล้ าย ผีสางนางฟ้า กะปิ เป็ นอาหารทีม่ ปี ระโยชน์เพือ่ สุขภาพ อาทิ น� ำ้ พริ ก คั่ ว ทรายที่ ผ สมถั่ ว เน่ า เป็ นหลัก การท�ำถัว่ เน่าจิ ้นลุง หรื อลูกชิ ้น ของชาวไทยใหญ่ น�ำ้ พริ กพู หรื อ ขนม เช่น ข้ าวหลามมูล คล้ าย ๆ กะละแม แต่ อยูใ่ นกระ บอกไม้ ไผ่ ด้ านภาษา ภาษาไทใหญ่ หรื อ ภาษา ฉาน (ไทใหญ่ : ลิก่ ไต๊ ) เป็ นภาษาตระกูล ไท-กะได ใช้ พดู ในภาคเหนือของประเทศ พม่า ประเทศไทย และทางตอนใต้ ของ ประเทศจี น มี อั ก ษรเป็ นของตนเอง ชาวไทใหญ่ จะตังนามสกุ ้ ลที่ขึ ้นต้ นด้ วย ลุง เช่น ลุงต่า ลุงลู่ ลุงค�ำ ลุงป้าง ฯลฯ เนื่องจากชาวบ้ านส่วนใหญ่นกึ ไม่ออกว่า จะใช้ นามสกุลอะไร ก็เอาชื่อพ่อแม่ญาติ พี่น้องที่ตายไปแล้ วมาตังเป็ ้ นนามสกุล ๒๐
ไปมอนเสาหิน+นาพูน
มสูง
ล
บานแมสูงเหนือ
ชุมชน ไทยใหญ
เนินสะอาด
วัดจินดาราม
ปาไรหลวง
พระธาตุเตาคํา
เขตสุโขทัย อําเภอศรีสัชนาลัย
ลําหวยแมสิน
ไปเดนชัย
ไปส
ําหว ยแ
ทาง
ุโขท สน ยั เ หม ลข ายเ 10 1
ไปอําเภอวังชิ้น เสนทางหมายเลข 1175
สถานที่ท่องเที่ยว
ชาติพันธุ์ ไทลื้อ “ไตลื อ้ ” หรื อ “ไทลื อ้ ” นอกจากจะมี ดินแดนกว้ างใหญ่อยูท่ ี่สบิ สองปั นนา ใน ประเทศจีนยังอพยพโยกย้ ายถิ่นฐานและ ถูกกวาดต้ อนเพราะสงครามและเข้ ามาที่ ประเทศไทยและแตกสาขา การอพยพไป หลายแห่ง “ลื ้อ” เป็ นกลุม่ ชนชาติพนั ธุ์ที่ พูดภาษาตระกูลไท คือ “ไทลื ้อ” หรื อ “ไต ลื ้อ” มีถิ่นฐานดังเดิ ้ มอยูใ่ นเขตสิบสองปั น นาส� ำ หรั บ ประเทศไทย ชาวไทลื อ้ ได้ อพยพเข้ ามาตัง้ ถิ่ น ฐานตามหัว เมื อ ง ต่าง ๆ ในภาคเหนือตอนบน ในจังหวัด เชียงราย พะเยา น่าน แพร่ ล�ำปาง ล�ำพูน ๒๒
และเชี ย งใหม่ ส� ำ หรั บ ไทลื อ้ เมื อ งแพร่ จากประวัติ ศ าสตร์ จัง หวัด แพร่ พ บว่ า ขุน หลวงพลผู้ส ร้ างเมื อ งพลนคร หรื อ เมืองแพร่ ได้ รวบรวมผู้คนที่มาจากเมือง เชียงแสน เมืองไชยบุรี เมืองพางค�ำสร้ าง เมืองบริ เวณริ มฝั่งแม่น� ้ำยม โดยตังชื ้ ่อว่า เมืองพลนคร หรือนครพล และในปั จจุบนั นี ้ชาวต�ำบลบ้ านถิ่น ถือว่าเป็ นลูกหลาน ของ ไทลื ้อ เนื่องจากมีภาษาพูดตามแบบ ฉบับของ ไทลื ้อ ที่ยงั คงรากเหง้ าอยูท่ ี่สบิ สองปั นนาเหมือนกันอย่างไม่ผิดเพีย้ น
ข้ อมูล เอกลักษณ์/ อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชื่ อ ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม : กลุม่ ชาติพนั ธุ์ไตลื ้อบ้ านถิ่น เอกลัก ษณ์ อัต ลัก ษณ์ อัน โดดเด่ น : ด้ านภาษา, วัฒนธรรม, ประเพณี, อาหาร การกิน, ความเชื่อ, การแต่งกาย ค�ำขวัญของชุมชน : บ้ านถิ่นไตลื ้อ ลือชื่อ ของเก่า ที่สกั การะของเรา เจ้ าคุณโอภาส วัด ถิ่ น หลวง พระธาตุถิ่ น แถน ค้ า ขาย ทัว่ แดน สุขแสนทัว่ หน้ า ประชาร่วมใจ ชาติพันธุ์ภายในชุมชน ส่วนใหญ่เป็ น ชาวไตลื ้อ หมูบ่ ้ าน ๑, ๒, ๓, ๕, ๗, ๘, ๙ สะพายย่าม ผู้หญิงสวมเสื ้อปั๊ด นุง่ ซิน่ เป็ น และ ๑๑ ชาวไทยล้ านนาบ้ านโป่ งศรี ๓ ลวดลายที่เป็ นของไทลื ้อ โพกศีรษะด้ วย หมูบ่ ้ าน ๔, ๖ และ ๑๐ ผ้ าขาว หรื อชมพู สะพายย่าม ชาวไทลื ้อ ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง มีการทอผ้ าจะพบน้ อยลง เนือ่ งจากมีการ วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน ผสมกลมกลืนของวัฒนธรรมหลายชาติ ดาบต�ำรวจพิชิต นันทวรรณ บ้ านเลขที่ เข้ าไป แต่ยงั คงเอกลักษณ์ ภาษาพูดไว้ ๑๑๖/๒ หมู่ ๘ ต�ำบลบ้ านถิ่น อ�ำเภอเมือง อย่างเหนียวแน่นในหมู่บ้านหมู่ที่ ๑, ๒, จังหวัดแพร่ มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียด ๓, ๕, ๗, ๘, ๙ และ ๑๑ ดังนี ้ ผู้หญิงนุง่ เสื ้อปั ดสีขาว/ด�ำ มีผ้าโพกหัวใส่ ด้ านการแต่ งกาย การแต่งตัวของชาว ถุงหมาก มีปิ่นและเครื่องประดับทีท่ ำ� จาก ไทลื ้อทีพ่ บเห็น เช่น ชายสวมเสื ้อแขนยาว เงิน ซิ่นตาซิวแดง ผู้ชายนุ่งชุดเสื ้อแขน สวมทับ ด้ ว ยเสื อ้ กั๊ก ปั ก ลวดลายด้ ว ย ทรงกระบอก ใส่กางเกงขาก๊ วย ๓ ใน ๕ เลื่อม สวมกางเกงหม้ อห้ อมขายาว (เปา ส่วน เป็ นเสื ้อผ่าหน้ า ผ้ าขาวพันศีรษะ โย้ ง) โพกหั ว ด้ วยผ้ าขาว หรื อ ชมพู ใส่ถงุ ปื๋ อ ผ้ าขาวม้ าพาดเอว ๒๓
ด้ านอาหาร ข้ าวแคบ แอ๊ บถั่ ว เน่ า หน่ อ โอ่ ย� ำ หญ้ าหมาน้ อย ส้ าเมี ย้ ง น� ้ำพริ กน� ้ำผัก น� ้ำพริ กน� ้ำหม่อ ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ บ้ านใต้ ถนุ สูงบ้ านทรงมนแผ่นหิน มีชาน น� ้ำหม้ อส�ำหรับแขก บ้ านไตลื ้อส่วนใหญ่ ใช้ ไม้ ลมิ่ หลังคาแบนเกล็ด หน้ าต่างบาน ไหล ห้ องครัวแยกออกจากตัวบ้ าน
เข้ าไปเกี่ยวข้ องและจะพบเห็นการเป็ น ประจ�ำเช่น ประเพณีการแต่งงาน และ งานพิธีตา่ ง ๆ
ด้ านภาษา มีภาษาพูด ภาษาเขียน (ตัว อักษรมีความคล้ ายคลึงกับล้ านนา) อยู่ ด้ านประเพณี พิธีกรรม ในภาษาไท-กะได ภาษาลื ้อจะมีเสียงสระ วั น กตั ญ ญู ๑๓ เมษายน ของทุ ก ปี อิ อุ อึและไม่มีสระผสม เช่น เกลือ – เก๋อ มีการนับถือผีบรรพบุรุษ ปู่ ย่า และผีย่า หม้ อนึง่ วัฒนธรรมประเพณีทม่ี กี ารสืบสานกันมา ของชาวไทลื ้อบ้ านถิ่น นอกจากภาษาพูด ที่เป็ นเอกลักษณ์ และมีการแต่งตัวของ ชาวไทลื ้อ ทีมีการประยุกต์ใช้ ในการจัด งานประเพณีตา่ ง ๆ โดยการน�ำประเพณี วัฒ นธรรมการแต่ ง ตัว ของชาวไทลื อ้ ๒๔
ด้ า น อ า ชี พ ส่ ว น ใ ห ญ่ ท� ำ อ า ชี พ เกษตรกรรม ค้ าขายผ้ า ค้ าของเก่า เงินค�ำ เลี ้ยงผึ ้ง ด้ านความเชื่อ นับถือผีบรรพบุรุษปู่ ย่า และผีย่าหม้ อนึง่ ศาสนาดังเดิ ้ มของชาว ไทลื ้อ คือการนับถือผี ต่อมานับถือพุทธ ศาสนาด้ วย พิธีที่ส�ำคัญคือ พิธีเข้ ากรรม ซึ่งเป็ นพิธีการไหว้ ผี เลี ้ยงผี ซึ่งท�ำกันปี ละครัง้ บางแห่ง อาจท�ำ ๓ ปี ครัง้ พิธีเข้ า กรรมมี ๒ ระดับคือ พิธีเข้ ากรรมเมือง คือ การเลี ้ยงผีเจ้ าเมืองและพิธีกรรมบ้ าน คือ การเลี ้ยงผีประจ�ำหมูบ่ ้ าน ในพิธีเข้ ากรรม จะมีการฆ่าวัว ควาย เป็ ด ไก่ สังเวยผี ด้ านศิ ล ปะพื ้น ถิ่ น การทอผ้ าเป็ น แต่อ าจมี ร ายละเอี ย ดต่า งกัน ไปแต่ล ะ เอกลักษณ์เฉพาะท้ องถิ่น ลวดลายความ พื ้นที่ ประณีตในการทอ มีฟ้อนไทลื ้อ ในการ เล่า เรื่ อ งราวทัง้ ประวัติศ าสตร์ อาหาร ประเพณี วัฒ นธรรม เครื่ อ งแต่ ง กาย ของชาวไตลื ้อ
๒๕
ข้ อมูลชุมชน ที่ อ ยู่ ชุ ม ชน หมู่ที่ ๔ และ ๘ ต� ำ บล บ้ านถิ่น อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ Facebook สภาเด็กและเยาวชนต�ำบล บ้ านถิ่น แหล่ งประวัติศาสตร์ จ�ำนวน ๔ แห่ง ๑.วัดถิ่นใน ๒.วัดถิ่นนอก ๓.วัดถิ่นหลวง ๔.เสาใจบ้ านศาลเจ้ าพ่อพระยาแก้ ว ศูนย์ เรียนรู้ชุมชน จ�ำนวน ๘ แห่ง ๑.วัด ถิ่ น ใน ๒.วั ด ถิ่ น นอก ๓.วั ด ถิ่ น หลวง ๔.ศูนย์เรียนรู้หมู่ ๑๑ ๕.หมูบ่ ้ านเศรษฐกิจ พอเพียงหมู่ ๑๒ ๖.ศูนย์เรี ยนรู้แก้ วมังกร ๗.ศูนย์แปรรู ปแก้ วมังกร ๘.เสาใจบ้ าน ศาลเจ้ าพ่อพระยาแก้ ว ลานวัฒนธรรมของชุมชน จ�ำนวน ๒
๒๖
แห่ง ๑.ลานวัฒนธรรมวัดถิ่นใน ๒.ลาน พื ้นทีเ่ ชิงสร้ างสรรค์ สภาเด็กและเยาวชน. สถานที่ ที่เป็ นเอกลักษณ์ ของชุมชน จ�ำนวน ๔ แห่ง ๑.วัดถิ่นใน ๒.วัดถิ่นนอก ๓.เสาใจบ้ าน ๔.วัดถิ่นหลวง สถานที่ชมทิวทัศน์ ของชุมชน จ�ำนวน ๑ แห่ง วัดถิ่นหลวง ร้ านเครื่องดื่ม จ�ำนวน ๒ แห่ง ๑.ร้ านเมอ แอ่ว ๒.ร้ านกาแฟสดไตลื ้อ ผลิตภัณฑ์ ท่ ีมีเอกลักษณ์ /อัตลักษณ์ / ความโดดเด่ นทางวัฒนธรรม จ�ำนวน ๒ แห่ง ศูนย์ทอผ้ าวัดถิ่นนอก ถิ่น ในเส้ นทางจักรยาน ทางขึ ้นพระธาตุถนิ่ – ไร้ แก้ วมังกร –รอบ ๆ บริเวณอ่างเก็บน� ้ำ ร่องฮ่าง(ราชด�ำริ )
โรงเรียนถิ่นโอภาสวิทยา
โฮมสเตย
โฮมสเตย การจักสาน
ศูนยการเรียนรู แกวมังกร การจักสาน
โฮมสเตย
โฮมสเตย
สมุนไพรรักษาโรค
วัดถิ่นนอก
โฮมสเตย
โฮมสเตย
อางเก็บนํ้ายังงา
สถานที่ท่องเที่ยว
อางเก็บนํ้ารองฮาง
ขาวแคบโบราณ
เครื่องดนตรีไทย
โฮมสเตย
ลานเศรษฐกิจพอเพียง
ศาลเจาพอพญาแกว
ชมทุงดาวเรือง
โรงเรียนบานถิ่นวิทยาการ
เครกะลา ื่อง ของ ปร ใช ะดับ งานเศรษฐกิจพอเพียง
วัดถิ่นใน
จังหวัดแพร
ไทลื้อ
วัดพระธาตุถิ่นหลวง
ชาติพันธุ์ ไทพวน
๒๘
พวน (Phuen, Puen) เป็ นค�ำทีเ่ รียกกลุม่ ชนทีต่ งถิ ั ้ น่ ฐาน อยู่ในแคว้ นเชียงขวางหรื อบริ เวณที่ราบสูง ในประเทศ สาธารณรัฐธิปไตยประชาชนลาว มีอาณาเขตติดต่อกับ ญวน ได้ ชื่อว่าพวน เพราะเชียงขวางมีแม่น� ้ำสายส�ำคัญ ไหลผ่านพื ้นที่ ชื่อแม่น� ้ำพวน ชาวพวนนิยมตังถิ ้ ่นฐาน สร้ างที่ท�ำกิน บริเวณลุม่ แม่น� ้ำ ด้ วยมีอาชีพเกษตรกรรม ท�ำไร่ไถนา ชาวพวนได้ อพยพเข้ ามาอยูใ่ นประเทศไทย หลายครัง้ ด้ วยกัน คือ สมัยกรุ งธนบุรีตอนปลาย สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมัยพระบาท สมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั สมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ในครัง้ ที่ไทยยกทัพไปปราบฮ่อ เมื่ออพยพมาอยู่ในประเทศไทย จึงเลือกสถานที่สร้ าง บ้ านเรื อนอยูต่ ามแม่น� ้ำล�ำคลอง สังเกตได้ จากชาวไทย พวนอ�ำเภอปากพลี จะสร้ างบ้ านอยูต่ ามล�ำคลองตลอด แนว ตังแต่ ้ ต�ำบลหนองแสง ต�ำบลเกาะหวาย ต�ำบล เกาะโพธิ์ จนถึงต�ำบลท่าเรื อ เป็ นต้ น ที่อ�ำเภอเมือง นครนายก จะมีชาวไทยพวนอาศัยอยู่ที่ต�ำบลสาลิกา
และต�ำบลเขาพระชาวไทยพวนในจังหวัดนครนายก เชื่อกันว่า อพยพเข้ ามาในสมัยสมเด็จพระเจ้ ากรุงธนบุรี ประมาณ ปี พ.ศ.๒๓๒๒ เมื่อสมเด็จพระเจ้ ากรุงธนบุรี ทรงโปรดเกล้ าให้ สมเด็จเจ้ าพระยามหากษั ตริ ย์ศึก ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์และหัวเมืองต่าง ๆ ซึง่ มีชื่อ เรี ย กรวมกั น ว่ า หัว พัน ทัง้ ห้ าทัง้ หก ประกอบด้ ว ย เมืองค�ำม่วน เมืองค�ำเกิด เมืองเวียงไชย เมืองไพศาลลี เมืองซ�ำเหนือ และเมืองเชียงขวาง ได้ กวาดต้ อนเอาลาว เวียง(ลาวเวียงจันทน์) ลาวพวนและไทด�ำ(ปั จจุบนั นิยม เรี ย กว่า ไทยทรงด� ำ หรื อ ลาวโซ่ง ) มาไว้ ที่ เ มื อ งร้ าง (เพราะถู ก พม่ า กวาดต้ อนราษฎรไปตั ง้ แต่ ส มั ย กรุงศรี อยุธยาเสียแก่พม่า เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๐) เช่นเมือง สระบุรี ลพบุรี นครนายก และฉะเชิงเทรา ระยะที่สอง ในราวปี พ.ศ.๒๓๓๕ สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลก เมืองแถงและเมืองพวนแข็งข้ อต่อเมือง เวียงจันทน์ เจ้ าเมืองเวียงจันทน์จึงได้ ยกทัพไปปราบ และกวาดต้ อ นครอบครั ว ไทด� ำ และลาวพวนส่ ง มา กรุงเทพฯ ลาวทรงด�ำถูกส่งไปอยูท่ ี่เพชรบุรี ลาวพวนถูก ส่งมาทีเ่ มืองลพบุรี สระบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา ราชบุรี และจันทบุรี ด้ วย ระยะที่สาม ในราวปี พ.ศ.๒๓๗๐ เจ้ าอนุ ว งศ์ เ มื อ งเวี ย งจัน ทน์ ก่ อ กบฏต่ อ กรุ ง เทพฯ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๓ โปรด เกล้ าให้ พระยาราชสุภาวดี(เจ้ าพระยาบดินทรเดชา) เป็ นแม่ทพั ขึ ้นไปปราบกบฏ และได้ กวาดต้ อนครอบครัว ลาวพวนมาไว้ ที่อ�ำเภอกบินทร์ บรุ ี อ�ำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ ว จังหวัดลพบุรี และ จังหวัดพิจิตร เป็ นต้ น ชาวไทยพวน มีอปุ นิสยั ยิ ้มแย้ ม ๒๙
แจ่มใส โอบอ้ อมอารี เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ และรักสงบ ยึดมัน่ ใน ขนบธรรมเนียมประเพณี มีวฒ ั นธรรม มีภาษา มี ความผูกพันในระบบเครือญาติ เผ่าพันธุ์ เป็ นเอกลักษณ์ ของตนเองมาช้ านาน ชาวไทยพวนจะพูดได้ ทงภาษา ั้ ไทยกลาง และภาษาไทยพวน โดยจะใช้ ภาษาไทยกลาง พูดกับคนต่างถิ่น แต่จะพูดภาษาไทยพวนกับกลุ่มชน เดี ย วกัน ภาษาพูด ของไทยพวนมี ส� ำ เนี ย งไพเราะ ซึง่ จะแตกต่างจากภาษาพูดของลาวเวียง ที่มีส�ำเนียง สัน้ ๆ ห้ วน ๆ
อาหารที่มีอยู่ตามธรรมชาติ กินผักตาม รัว้ บ้ านนิยมกินผักนึง่ มากกว่าผักต้ ม ผัก ที่ ปลูกตามบ้ านตามไร่ ตามนา อาหาร ประเภท ปู ปลา ออกไปหาตามไร่ น า เอาไปแกงแค คัว่ แจ่ว ปลาเต้ นที่ท�ำมา จากปลาซิวและน� ำ้ พริ กมะเด่นท� ำจาก มะเขื อเทศเป็ นอาหารที่ มีชื่อเสียงและ เป็ นที่นิยมมากของคนไทยพวน ๓๐
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายสมเพชร ศรี ทิพงค์ นายกเทศมนตรี เทศบาลต� ำ บลทุ่ ง โฮ้ ง ต� ำ บลทุ่ ง โฮ้ ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร อาหารของชาวไทยพวนที่มี ประจ�ำทุกครัวเรื อนคือ ปลาร้ า เมื่อมีงาน บุญมักนิยมท�ำขนมจีน และข้ าวหลาม ส่วนอาหารอื่น ๆ จะเป็ นอาหารง่าย ๆ ที่ประกอบจากพืชผัก ปลา ที่มีในท้ องถิ่น เช่น ปลาส้ ม ปลาส้ มฟั ก เป็ นต้ น ด้ านการแต่ งกาย ยังคงเอกลักษณ์ วัฒนธรรมผ้ า ทอและ การแต่งกายแบบดังเดิ ้ มไว้ ได้ มีการน�ำ เอาการทอผ้ าจากกลุ่มชาติพันธุ์อื่นมา ดั ด แปลงเป็ นของตนเอง และมี ก าร ออกแบบสร้ างสรรค์ ขึน้ ใหม่ ในอดี ต ผู้ หญิง ใช้ ผ้าคาดอกแทนการสวมเสื ้อ นุ่ง ซิน่ ตีนจก หรื อ สีพื ้นแทรกลายขวาง บาง ท้ องถิน่ นิยมนุง่ ซิน่ มัดหมี่ ผู้ชายนุง่ กางเกง ขาก๊ วยสี ด� ำ ใส่ เ สื อ้ สี ด� ำ และผ้ า นุ่ง จู ง กระเบนผ้ าขาวม้ าพาดบ่า หรื อคาดเอวผู้ หญิงนุ่งผ้ าซิ่น ผ้ าขาวม้ ารัดนม เรี ยกว่า แห้ งตู้ ทังชายหญิ ้ งไม่สวมเสื ้อ แต่เวลาไป
ไร่นาต้ องสวมเสื ้อสีด�ำ หรื อสีคราม หญิง สวมเสื ้อรัดตัวแขนยาวถึงข้ อมือกระดุม เสื ้อใช้ เงินกลมติดเรี ยงลงมาตังแต่ ้ คอถึง เอว เด็กผู้ชายก็จะใส่ก�ำไลเท้ า เด็กผู้หญิง ใส่ทงก� ั ้ ำไลมือก�ำไลเท้ า ปั จจุบนั ผู้หญิ ง นิยมสวมเสื ้อตามสมัยนิยม ส่วนคนสูง อายุมกั สวมเสื ้อคอกระเช้ า ผู้ชายยังแต่ง เหมือนเดิม
๓๑
ด้ านอาชีพ อาชีพดังเดิ ้ ม ตีเหล็ก ตีพร้ า ตีมีด และก็ ท�ำผ้ าหม้ อห้ อม สมัยก่อนไม่ได้ เรี ยกทุ่ง โฮ้ ง แต่เป็ น “ บ้ านทัง่ ” หรื อเรี ยกว่า “ ทัง่ โฮ่ง” เกิดจากทัง่ ที่มนั โฮ้ ง คือ มันยุบลงไป เหมือนกับหนองน� ้ำ ค�ำว่า โฮ่ง เหมือนกับ น� ้ำขัง เป็ นหลุมลงไป ต่อมาเพี ้ยนมาก็เป็ น ทุง่ โฮ้ ง จะมีอยู่ ๗ หมูก่ บั ๒ ชุมชน รวม แล้ วเป็ น ๙ ชุมชน วิธีตีเหล็กสมัยก่อนก็ เหมือนบ้ านร่ องฟอง โดยเอาถ่านไฟสูบ ให้ ไฟมันแรงแล้ วก็เอาเหล็กใส่ แล้ วก็เอา
๓๒
มาเผาไฟ จากนัน้ เอาค้ อ นทุบ ให้ แ บน ลักษณะค้ อนทีเ่ อามาทุบเหล็ก หัวค้ อนจะ เป็ นเหล็กแต่ด้ามเป็ นไม้ แล้ วใช้ ตะไบมา ฝนกับหินมาถูกกับเหล็กให้ คมเป็ นพร้ า แล้ วจะสลักชื่อคนท�ำทีพ่ ร้ า ปั จจุบนั จะไม่ ใช้ สูบแล้ วแต่จะใช้ พัดลมเป่ าไฟให้ แรง สมัยก่อนสูบจะเป็ นไม้ รูปทรงกระบอก มี ๒ อัน และก็จะมีไม้ อกี ๒ อันเสียบท�ำเป็ น ทีจ่ บั สูบเป็ นแกนจนถึงข้ างล่างทีป่ ลายไม้ จะมีผ้าพันเวลาสูบก็จะดึงไม้ อนั นี ้จะเกิด แรงดันลมเป่ าไฟให้ แรงสูบ
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น - เครื่ องดนตรี ปี่ ขลุย่ ซอ สล้ อ ซึง กลอง - ผ้ าซิน่ ไหมมัดหมี่ ไทพวน ลักษณะเด่น ลายมัดหมี่ มักมีเส้ นลายขวางปิ ดหัวและ ท้ ายลวดลายเสมอ ด้ านความเชื่อ ชาวพวนมี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งผี จะมี ศ าล ประจ�ำหมูบ่ ้ านเรียกว่า ศาลตาปู่ หรือศาล เจ้ าปู่ บ้ าน รวมทังการละเล่ ้ นในเทศกาล ก็ จ ะมี ก ารเล่ น ผี น างด้ ง ผี น างกวั ก ประเพณีที่เป็ นเอกลักษณ์ ของชาวพวน คือ ประเพณีใส่กระจาด ประเพณีก�ำฟ้า ซึ่ ง เ ป็ น ป ร ะ เ พ ณี ที่ แ ส ด ง ถึ ง ก า ร สักการะฟ้า เพือ่ ให้ ผีฟา้ หรื อเทวดาพอใจ เพื่อไม่ให้ เกิดภัยพิบตั ิ
๓๓
ประเพณีท่ สี ำ� คัญ - ประเพณีที่มีการส่งผีย่าผีเกียงสอนลูก หลานไม่ให้ เป็ นคนเห็นแก่กิน - ประเพณี ก�ำเมื่อมีคนตาย คือไม่ให้ มี การท�ำงานหนักในบ้ าน - ประเพณี ห่อข้ าวด�ำดิน เพือ่ ส่งข้ าวเปรต คื อ ผี ปู่ ย่ า ตายาย พ่ อ แม่ ญ าติ พี่ น้ อ ง ที่ตายไป - ประเพณี ทานข้ าวสะจะ เป็ นการท�ำบุญ ที่จดั ขึ ้น แรม ๑๕ ค�่ำ ในเดือน ๑๐ ซึ่ง ประเพณีท�ำบ้ องไฟจุดเป็ นพุทธบูชา - ประเพณีสงกรานต์ เรี ยกว่า สังขานต์ มี ๓ วัน คื อ วัน สัง ขานต์ ล่อ ง วัน เนา และวันเถลิงศก ปั จ จุบัน ชาวไทพวนรั บ เอาวัฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอีสาน เข้ ามายึดถือปฏิบตั ิ ทังการใช้ ้ ภาษา การแต่งกาย การนับถือศาสนา เป็ นต้ น สิง่ ที่กล่าวมาท�ำให้ ความเป็ นอยูแ่ ละการ ด�ำเนินชีวิตของชาวไทพวน กลายไปเป็ น ชาวไทอีสานอย่างเต็มตัว
๓๔
สนามกีฬา ตําบลทุงโฮง
อนุสาวรียเจาชมพู
รานคาไมไผ
หมอหอม ปาเหลือง
ลานจอดรถ
ตลาดชุมชนทุงโฮงใต (ตลาดชั่วโมง)
เทศบาลซอย 6
ถนน ทุงโฮง – รองฟอง เสนทางหมายเลข 1101
วัดทุงโฮงเหนือ
วัดทุงโฮงใต
ตลาดสดตําบลทุงโฮง
บานไทยพวนจําลอง
ถนนยันตกิจโกศล ทางหลวงหมายเลข 101
ตลาดชุมชน (รานชุมชน)
โรงเรียนทุงโฮง อภิวังวิทยาลัย
ศูนยแสดงสินคา ชุมชนตําบลทุงโฮง
สถานธนานุบาล เทศบาลตําบลทุงโฮง
จังหวัดแพร เทศบาลซอย 5
สถานที่ท่องเที่ยว
ศูนยการเรียนรูชุมชน การทอผายอมสีธรรมชาติ
วิสาหกิจชุมชนหมอหอม ทุงเจริญฯ (บานปาเหรี่ยม)
เทศบาลตําบลทุงโฮง
ชาติพันธุ์
ม้ง
ยัง ไม่ ส ามารถสรุ ป ได้ ว่ า ชนชาติ พัน ธุ์ ม้ งมาจากที่ไหน แต่สนั นิษฐานกันว่าม้ ง น่ า จะอพยพมาจากที่ ร าบสู ง ทิ เ บต ไซบีเรี ย และมองโกเลีย เข้ าสูป่ ระเทศจีน และตังหลั ้ กแหล่งอยูแ่ ถบลุม่ แม่น� ้ำเหลือง (แม่น� ้ำฮวงโห) เมื่อราว ๓,๐๐๐ ปี มาแล้ ว ซึ่ ง ชาวเขาเผ่ า ม้ งจะตัง้ ถิ่ น ฐานอยู่ ใ น มณฑลไกวเจา ฮุน หน� ำ กวางสี และ มณฑลยูนาน ประมาณคริ สตศตวรรษที่ ๑๗ ราชวงค์แมนจู (เหม็ง) มีอ�ำนาจใน ประเทศจีน กษัตริ ย์ในราชวงค์เหม็งได้ เปลี่ ย นนโยบายเป็ นการปราบปราม เพราะเห็นว่าม้ งทีเ่ ป็ นผู้ชายส่วนใหญ่แล้ ว รู ปร่ างหน้ าตาคล้ ายกับคนรัสเซีย ท�ำให้ คนจีนคิดว่า ม้ งเป็ นคนรัสเซีย จึงเป็ นเหตุ ให้ มกี ารปราบปรามม้ งเกิดขึ ้น โดยให้ ชาว ๓๖
ม้ งยอมจ�ำนน และยอมรับวัฒนธรรมของ จีน และอีกประการหนึง่ คือเห็นว่า ม้ งเป็ น พวกชนแห่งขุนเขา (คนป่ าเถื่อน) จึงได้ มี การต่อสู้กนั อย่างรุนแรงในหลายแห่ง เช่น ในเมืองพังหยุนในปี พ.ศ.๒๐๐๙ และการ ต่อ สู้ใ นมณฑลไกวเจา ระหว่า ง พ.ศ. ๒๒๗๖-๒๒๗๘ และการต่อสู้ในมณฑล เสฉวน ระหว่าง พ.ศ.๒๓๐๖ – ๒๓๑๘ ชาวม้ งประสบกับความพ่ายแพ้ สูญเสีย พลรบ และประชากรเป็ นจ�ำนวนมาก ใน ที่สดุ ม้ งก็เริ่ มอพยพร่ นถอยสู่ทางใต้ และ กระจายเป็ นกลุม่ ย่อย ๆ ขึ ้นอยูบ่ นทีส่ งู ป่ า เขาในแคว้ นสิบสองจุไทย สิบสองปั นนา และอี กกลุ่มได้ อพยพไปตามทิศตะวัน ออกเฉี ยงเหนือของราชอาณาจักรลาว บริ เ วณทุ่ง ไหหิ น เดี ย นเบี ย นฟู โดยมี
หัว หน้ า ม้ ง คนหนึ่ ง คื อ นายพลวัง ปอ ไ ด้ ร ว บ ร ว ม ม้ ง แ ล ะ อ พ ย พ เ ข้ า สู่ ประเทศไทยเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๐๐ เศษ เป็ นต้ นมา ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นางสาวประณีต แก้ วกึง่ กรม บ้ านเลขที่ ๙๑ หมู่ ๒ ต� ำ บลเตาปูน อ� ำ เภอสอง จังหวัดแพร่ มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียด ดังนี ้ ด้ านอาหาร ม้ งนิยมใช้ ตะเกียบซึง่ ได้ รับ มาจากวัฒนธรรมเนียมของจีน ส่วนเหล้ า จะนิยมดืม่ กันในงานเลี ้ยงต่าง ๆ เช่น งาน แต่งงาน งานเลี ้ยงญาติ อาจเป็ นญาติ ของภรรยาที่มาเยี่ยม ฝ่ ายญาติทางสามี จะต้ องริ นแก้ วเหล้ าแจก ครัง้ ละ ๒ แก้ ว โดยเชื่อกันว่าจะท�ำให้ คู่สามีภรรยาอยู่ ด้ วยกันตลอดไป ก่อนจะดื่มเหล้ าแต่ละ คนจะพูดว่า “ผมจะดื่มเพื่อทุกคน” และ จะต้ องคว�่ำจอก หรื อคว�่ำแก้ วเมื่อหมด แล้ ว ม้ งจะนิ ย มดื่ ม เหล้ าครั ง้ เดี ย ว หมดแก้ ว มีการดื่มซ� ้ำวนเวียนหลายครัง้ ผู้ที่มิใช่นกั ดื่มย่อมจะทนไม่ได้ อาจขอให้ บุคคลอื่นช่วยดื่มแทนก็ได้ เหล้ าจะท�ำ กันเองในหมูบ่ ้ าน ซึง่ ท�ำจากข้ าวโพด ข้ าว หรือข้ าวสาลี ม้ งให้ เกียรติแก่ผ้ ชู าย เพราะ
ฉะนัน้ ผู้หญิ งจึงรับประทานอาหารหลัง ผู้ชายเสมอ การประกอบอาหารของม้ ง ส่วนใหญ่จะเป็ นในลักษณะการต้ ม ทอด และม้ งยังมีความสามารถในการถนอม อาหารได้ หลายแบบ เช่น การหมัก การ ดอง (ซึง่ ปั จจุบนั นี ้ ม้ งส่วนใหญ่ไม่ได้ ใช้ ตะเกียบในการรับประทานข้ าวแล้ ว ส่วน ใหญ่จะใช้ ช้อนมากกว่า ซึง่ เมืองไทยแทบ จะไม่พบม้ งที่ใช้ ตะเกียบในการทานข้ าว แต่ ม้ ง ที่ ป ระเทศลาวยัง คงใช้ ต ะเกี ย บ ในการรับประทานข้ าวอยู)่
๓๗
ด้ านการแต่ งกาย ในอดีตผ้ าปั กชาวขาวส่วนใหญ่จะใช้ ผ้า ไหมดิ บ ที่ ผ ลิ ต เองมาปั ก เป็ น ลวดลาย ต่ า ง ๆ ซึ่ ง ลวดลายเหล่ า นี ้ ม้ ง คิ ด ค้ น ออกแบบของลวดลายเอง ปกติแล้ วม้ งจะ มีความประณีตในการคิดลวดลาย และ การปั กลวดลายต่าง ๆ ซึง่ จะเห็น ได้ จาก กระโปรงของม้ งที่ท�ำจากผ้ าบาติกกับผ้ า ปั ก และเมื่อมีการปั กลายเรี ยบร้ อยแล้ ว จะน�ำมาแปรรูปเป็ นเสื ้อผ้ าทีจ่ ะสวมใส่ใน เทศกาลปี ใหม่ หรื อในวันส�ำคัญต่าง ๆ และสามารถที่จะประดิษฐ์ เป็ นเครื่ องใช้ อย่างอื่นได้ เช่น ถุงย่าม กระเป๋ าสะพาย กระเป๋ าเป้ กระเป๋ าใส่ ส ตางค์ ถุ ง ใส่ โทรศัพท์มือถือ เครื่ องใช้ อื่น ๆ เป็ นต้ น ซึง่ ผ้ าปั กของม้ งจะมีลวดลายที่แตกต่าง กันไป และมีชื่อเรี ยกแตกต่างกัน ด้ านที่อยู่อาศัย รัชกาลที่ ๙ ให้ อพยพมาตังรกรากอยู ้ ่ใ น พื ้นราบลุม่ เขา และยังมีม้งบางกลุม่ ก็ยงั คงตัง้ รกรากอยู่บนดอย แต่ไม่ลึก การ คมนาคมพอที่จะเข้ าไปถึงได้ หมูบ่ ้ านม้ ง จะประกอบด้ วยกลุม่ เรื อนหลาย ๆ กลุม่ แต่ ล ะกลุ่ ม จะมี บ้ านประมาณ ๗-๘ หลังคาเรื อน โดยที่มีเรื อนใหญ่ ของคน ๓๘
ส�ำคัญอยูต่ รงกลาง ส่วนเรื อนที่เป็ นเรื อน เล็กจะเป็ นลูกบ้ านหรื อลูกหลาน ส่วน แต่ ล ะกลุ่ ม นั น้ จะหมายถึ ง ตระกู ล เดียวกัน หรื อเป็ นญาติพี่น้องกันนัน่ เอง ตัวบ้ านปลูกคล่อมอยูบ่ นพื ้นดินทีท่ บุ แน่น โดยใช้ พื ้นดินเป็ นพื ้นบ้ าน ฝาบ้ านเป็ นไม้ แผ่น มุงด้ วยคา มีห้องนอน กับห้ องครัว ในบ้ าน บ้ านจะมีขนาดใหญ่ เพราะอยู่ อาศัยในลักษณะครอบครัวขยาย ม้ งถือ ผู้อาวุโสเป็ นหัวหน้ าครอบครัว วัสดุสว่ น ใหญ่ใช้ ไม่เนื ้ออ่อน ผนังกันระหว่ ้ างห้ อง หรื อบ้ านท�ำใช้ ล�ำไม้ ไผ่ ผ่าคลี่เป็ นแผ่น หลังคามุง ด้ วยหญ้ าคา หรื อใบจาก แต่ เสาจะเป็ นไม้ เนื อ้ แข็ง แปลนเป็ นแบบ ง่ายๆ ตัวบ้ านไม่มีหน้ าต่าง เนื่องจากอยู่ ในที่อากาศหนาวเย็น ใกล้ กบั ประตูหลัก จะมีเตาไฟเล็ก และแคร่ ไม่ไผ่ส�ำหรับนัง่ หรื อนอน เอาไว้ รับแขก กลางบ้ านจะเป็ น
ที่ท�ำงานบ้ าน เข้ าไปในสุดด้ านซ้ ายจะ เป็ นเตาไฟใหญ่ส�ำหรับ ท�ำอาหารเลี ้ยง แขกจ�ำนวนมาก และเอาไว้ ต้มอาหารหมู บางบ้ านจะมีครกไม้ ใหญ่ส�ำหรับต�ำข้ าว เปลือก มี ลูกโม่หินส�ำหรั บบดข้ าวโพด แป้ง ถัว่ เหลือง ใกล้ กบั ที่ท�ำงานจะมีกระ บอกไม้ ใผ่รองน� ้ำตังอยู ้ ่ ส�ำหรับมุมบ้ านฝั่ง ซ้ ายมักจะกันเป็ ้ นห้ องนอนของพ่อแม่ กับ ลูก ภายในบ้ านจะมีสถานที่ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ อยู่ ๔ แห่ง คือ ประตูทางเข้ าหลัก, เสากลาง บ้ าน, ผนังบ้ านที่ตรงข้ ามกับประตูหลัก (เป็ นสถานประกอบพิ ธี กรรมทาง ไสยศาสตร์ ข องม้ ง จะประกอบด้ วย กระดาษที่ ตัดมาติดเป็ นแผ่นใหญ่ และ ยาวเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ ม และมี การตังโต๊ ้ ะหมู่ บูชาจะมีการน�ำกระป๋ องหรื อ กระบอก ไม้ ไผ่ ใ ส่ ข้ าวเปลื อ ก หรื อ ขึ เ้ ถ้ า หรื อ ข้ าวโพดก็ได้ จะน�ำธูปจ�ำนวน ๗ ดอกมา ปั กข้ างๆ กระบอกธูป จะมีกระบอกสุรา และกระบอกน� ้ำไว้ เซ่นไหว้ ), และเตาไฟ ใหญ่ชาวม้ งจะไม่ค่อยย้ ายที่อยู่บ่อยนัก เมื่อเทียบกับเผ่าอื่น บางทีอยู่นาน ๑๕๒๐ ปี จึงย้ ายไปอยู่ที่ใหม่ และอาจย้ าย กลับมาที่เดิมอีกม้ งมีระบบ เครื อญาติที่ มัน่ คงมาก จึงเป็ นการยากที่จะถูกกลืน โดยชนชาติอื่นๆ ในปั จจุบันนี ย้ ังมี การ สร้ างบ้ านเรื อนเช่นนี ้อยู่ แต่พบน้ อยมาก
ส่วนใหญ่ม้งจะรับวัฒนธรรมของสังคม อื่น ๆ มา จึงท�ำให้ การสร้ างบ้ านเรื อน เปลี่ ย นแปลงไป โดยสร้ างบ้ า นเรื อ น เหมือนกับคนไทยมากขึ ้น และจะมีการ ย้ ายบ้ านเมื่ อ มี โ รคระบาด หรื อมี เหตุการณ์ที่ร้ายแรงเกิดกับหมูบ่ ้ าน หรื อ ขัดแย้ งกับราชการจนต้ องมีการต่อสู้เกิด ขึน้ ในการย้ ายแต่ละครั ง้ จะมีการย้ าย แบบระมัดระวังที่สดุ เมื่อใกล้ จะย้ ายแล้ ว ม้ งมีการขุดหลุมเพื่อที่จะฝั งสัมภาระ ที่ เป็ นหม้ อข้ าว-หม้ อแกงที่ไม่จ�ำเป็ นมาก และจะท� ำ เครื่ องหมายบางอย่ า งที่ ๓๙
สามารถทีจ่ ะจ�ำได้ ไว้ เพือ่ ย้ อนกลับมาเอา เมื่อเหตุการณ์สงบเรี ยบร้ อย เมื่อเริ่ มย้ าย ม้ งจะน�ำม้ า เป็ นพาหนะในการบรรทุก ของ โดยให้ ผ้ ชู ายน�ำขบวนเดินทางพร้ อม กับแผ้ วถางทางเดินให้ กบั ผู้หญิง และลูก เดินตามกับม้ าที่ บรรทุกของด้ วย และ ผู้ชายที่มีอาวุธอยูท่ ้ ายขบวนคอยป้องกัน ดูแ ล เมื่ อ การเดิ น ทางไปถึ ง บริ เ วณที่ ต้ องการทีจ่ ะตังรกรากแล้ ้ ว การทีจ่ ะอยูใ่ น บริ เ วณนั่น ได้ นัน้ จะต้ อ งให้ ค นที่ เ ป็ น หมอผีหรือคนทรงเจ้ าจะเป็ นคนเสีย่ งทาย พีน้ ที่นัน้ ก่อน เพื่อความอยู่รอดของม้ ง ความเชื่อก่อนที่จะปลูกบ้ านเรื อน: ม้ งจะ มีการเสี่ยงทายพื ้นที่ที่จะมีการปลูกบ้ าน เรื อนก่อน เพื่อครอบครัวจะได้ มีความสุข และร�่ ำรวย โดยกระท� ำดังนี ้ เมื่ อเลือก สถานที่ได้ แล้ ว จะขุดหลุมหนึง่ หลุมแล้ ว น�ำเม็ดข้ าวสารจ�ำนวนเท่ากับสมาชิกใน ครอบครัวโรยลงในหลุม แล้ วโรยข้ าวสาร อีกสามเม็ดแทนสัตว์เลี ้ยงเสร็จแล้ ว จะจุด ธูปบูชาผีเจ้ าที่เจ้ าทาง เพื่อขออนุญาต และเอาชามมาครอบก่อนเอาดินกลบ รุ่ง ขึ ้นจึงเปิ ดดู หากเมล็ดข้ าวยังอยู่เรี ยบ ก็ หมายความว่า ทีด่ งั กล่าวสามารถท�ำการ ปลูกสร้ างบ้ านเรื อนได้ รอบ ๆ ตัวบ้ านมัก จะมีโรงม้ า คอกหมู เล้ าไก่ ยุ้งฉางใส่ข้าว เปลือก ถัว่ และ ข้ าวโพด ๔๐
ด้ านประเพณี พิธีกรรม วัฒนธรรม ชาวเขาเผ่าม้ ง มีประเพณีและวัฒนธรรม ตลอดทังความเชื ้ ่อเป็ นของตนเองสืบมา แต่ บ รรพบุรุ ษ เช่ น ประเพณี แ ต่ ง งาน เมื่อฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิ งรู้ จักกันและ เกิดรักกัน ทัง้ ๒ คนอยากใช้ ชีวิตร่วมกัน ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิ งจะกลับมาบ้ าน ของตนเอง และฝ่ ายชายค่อยมาพาฝ่ าย หญิ ง จากบ้ า นของฝ่ ายหญิ ง โดยผ่า น ประตูผีบ้านของฝ่ ายหญิง เพราะคนม้ ง ถื อและเป็ นวั ฒ นธรรมของคนม้ ง หลังจากทีฝ่ ่ ายชายและฝ่ ายหญิงกลับมา ถึงบ้ านของฝ่ ายชาย พ่อ แม่ของฝ่ ายชาย จะเอาแม่ไก่มาหมุนรอบศีรษะทังสองคน ้
๓ รอบเรี ยกว่า “หรื อข๊ า” เป็ นการต้ อนรับ คนทังสองเข้ ้ าบ้ าน ซึง่ ฝ่ ายชายต้ องแจ้ ง ให้ ญาติทางฝ่ ายหญิงทราบภายใน ๒๔ ชัว่ โมง โดยจัดหาคน ๒ คน เพื่อไปแจ้ ง ข่ า วให้ พ่ อ แม่ แ ละญาติ ท างฝ่ ายหญิ ง ทราบ ว่าตอนนี บ้ ุตรชายของเราได้ พา บุตรสาวของท่านมาเป็ นลูกสะใภ้ ของเรา แล้ ว ท่านไม่ต้องเป็ นห่วงบุตรสาว โดยคน ที่ ไ ปแจ้ งข่ า วนั น้ คนม้ งเรี ย กว่ า “แม่ โก๊ ง”พ่อแม่ฝ่ายหญิ งจะแจ้ งให้ ทางฝ่ าย ชายว่าทราบว่าอีก ๓ วันให้ “แม่โก๊ ง” มา ใหม่ นันหมายถึ ้ งว่าพ่อแม่ทางฝ่ ายหญิง ต้ องการจัดงานแต่งงาน สมัยก่อนคนม้ งมักจะอยูก่ นิ ด้ วยกันก่อนสองถึง ๓ เดือน
หรื ออาจจะเป็ นปี แล้ วค่อยมาจัดงานแต่ง แต่ ปั จ จุ บัน นี ส้ ัง คมเปลี่ ย นไปตามยุ ค เทคโนโลยี ท�ำให้ การจัดงานแต่งงานของ คนม้ งได้ ก�ำหนดจัดงานแต่งงานภายใน ๓ วันเป็ นที่นิยมกันในปั จจุบนั ชาวม้ ง จะไม่เกี ้ยวพาราสี หรื อแต่งงาน กับคนแซ่หรื อตระกูลเดียวกันเพราะถือ เป็ นพี่น้องกัน ชาวม้ งนิยมแต่งงาน ใน ระหว่างอายุ ๑๕-๑๙ ปี เมื่อแต่งงานกัน แล้ วฝ่ ายหญิ งจะย้ ายเข้ ามาอยู่ในบ้ าน ของฝ่ ายชาย ซึง่ นับเป็ นการเพิ่มสมาชิก ในครอบครัวชายชาวม้ งอาจมีภรรยาได้ มากกว่าหนึ่งคน อยู่รวมกันในบ้ านของ ฝ่ ายสามี ลูกข้ าวใหม่เพื่อจะเซ่นบูชา คุณผีป-ู ผียา่ กับเจ้ าที่ทกุ ตน ซึง่ การกินข้ าวใหม่จะท�ำ เดือนตุลาคมของทุกปี ข้ าวใหม่คือข้ าวที่ ปลูกขึ ้นมาเพื่อที่จะเซ่นถวายให้ กบั ผีป-ู่ ผี ย่า แล้ วสุกในระหว่างเดือนกันยายนถึง ต้ นเดือนตุลาคม แล้ วจะต้ องเก็บเกี่ ยว โดยเคียวเกี่ยวข้ าว ที่มีขนาดเล็ก เพราะ เคี่ยวที่ใช้ เกี่ยวนันสามารถที ้ ่จะเกี่ยวต้ น ข้ าวได้ เพียง ๓-๔ ต้ นเท่านัน้ จะเริ่ มเกี่ยว ได้ เมื่อรวงข้ าวสุกแต่ยงั ไม่เหลืองมาก มีสี เขี ย วปนเหลื อ ง จะน� ำ มานวดให้ ข้ า ว ๔๑
เปลือกหลุดออกโดยไม่ต้องตากให้ แห้ ง น�ำข้ าวเปลือกที่นวดเรี ยบร้ อยแล้ ว มาคัว่ ให้ เม็ดข้ าวแข็งและเปลือกข้ าวแห้ ง เพื่อ ให้ ส ะดวกในการต� ำ ข้ า ว ในอดี ต นิ ย ม การต�ำข้ าวด้ วยครกกระเดือ่ ง เมือ่ ต�ำเสร็จ เรี ยบร้ อยน�ำข้ าวมาหุงเพื่อเซ่นไหว้ ผีป-ผี ู่ ย่า ซึ่งในการท�ำพิธีเซ่นผี นัน้ ต้ องน� ำไก่ ตัว ผู้ที่ ต้ ม ทัง้ ตัว มาเซ่น ไหว้ ต รงผี ป ระตู ก่อน ต�ำแหน่งที่จะต้ องเซ่นไหว้ มี ๕ แห่ง ได้ แก่ สื่อก๋าง ดังขอจุ ้ ๊ บ ดังขอจุ ้ ด ดังขอ ้ จ่อง ดังจี ้ ้ดัง้ ขณะท�ำพิธีต้องสวดบทสวด เพื่อที่บอกให้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นบั ถือได้ รับรู้ และเข้ า มาทานก่ อ น เมื่ อ ท� ำ พิ ธี เ สร็ จ คนในบ้ านถึงจะสามารถทานต่อได้ ซึง่ พิธี กินข้ าวใหม่นนได้ ั ้ สืบ ทอด มานานหลาย ชัว่ อายุคน ด้ านอาชีพ การท�ำไร่และท�ำสวน ในอดีตม้ งอาศัยอยู่ ตามภูเขาอยู่ตามธรรมชาติ ตรากตร� ำ ท�ำงานหนักอยู่แต่ในไร่ เท่านัน้ ท�ำให้ ม้ง ไม่ มี เ วลาดู แ ลตั ว เองและครอบครั ว ชีวิตความเป็ นอยู่จึงเป็ นแบบเรี ยบง่าย เพราะคลุกคลีกบั ธรรมชาติชวี ติ ประจ�ำวัน ของม้ งคือ จะท�ำไร่ ท�ำสวน และหารายได้ เล็กน้ อยเพื่อจุนเจือครอบครัว ส่วนเรื่ อง อาหารก็จะเป็ นเรื่ องเรี ยบง่าย ๔๒
ด้ านภาษา ภาษาม้ งจัดอยู่ใ นสาขาเมี ย้ ว-เย้ าจอง ตระกูลจีน-ธิ เบตไม่มีภาษาเขียนแต่ยืม ตัวอักษรภาษาโรมัน มาใช้ ม้ งไม่มีภาษา ที่แน่นนอน ส่วนใหญ่มกั จะรับภาษาอื่น มาใช้ พดู กัน เช่น ภาษาจีนยูนนาน ภาษา ลาว ภาษาไทยภาคเหนือ เป็ นต้ น ซึง่ ม้ ง ทัง้ ๓ เผ่าพูดภาษาคล้ ายๆ กัน คือ มีราก ศัพท์ และไวยากรณ์ที่เหมือนกัน แต่การ ออกเสียงหรื อส�ำเนียงจะแตกต่างกันเล็ก น้ อย ม้ งสามารถใช้ ภาษาเผ่าของตนเอง พูดคุยกับม้ งเผ่าอื่นเข้ าใจได้ เป็ นอย่างดี แต่ ม้ ง ไม่ มี ภ าษาเขี ย นหรื อ ตัว หนัง สื อ อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั ชาวม้ งได้ เขียน และอ่านหนังสือภาษาม้ ง โดยการใช้ ตวั อัก ขระหนัง สื อ ละติ น (Hmong RPA)
เรื่ องราวความเป็ นมาต่าง ๆ ของม้ ง จึง อาศัยวิธีการจ�ำและเล่าสืบต่อกันมาเพียง เท่านัน้ ด้ านความเชื่อ ศาสนา ความเชื่อ และพิธีกรรมชาวม้ ง มี ก า ร นั บ ถื อ วิ ญ ญ า ณ บ ร ร พ บุ รุ ษ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เกี่ ย วกั บ ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อมที่ อยู่บนฟ้า ในล�ำน� ำ ้ ประจ� ำ ต้ นไม้ ภูเขา ไร่นา เป็ นต้ น ชาวม้ งจะต้ อง เซ่นสังเวยสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ตา่ ง ๆ เหล่านี ้ปี ละ ครัง้ โดยเชื่อว่าพิธีไสยศาสตร์ เหล่านี ้จะ ช่วยให้ วินิจฉัยโรคได้ ถกู ต้ องและท�ำการ รั ก ษาได้ ผ ล เพราะความเจ็ บ ป่ วยทัง้ หลาย ล้ วนแต่เป็ นผลมาจากการผิดผี ท� ำให้ ผีเดื อดดาลมาแก้ แค้ นลงโทษให้ เจ็บป่ วย จึงต้ องใช้ วธิ ีจดั การกับผีให้ คนไข้ หายจากโรค หากว่าคนทรงเจ้ ารายงาน ว่าคนไข้ ที่ล้มป่ วยเพราะขวัญหนี ก็ จะ ต้ องท�ำพิธีเรี ยกขวัญกลับเข้ าสู่ร่างของ บุคคลนัน้ แต่การที่จะเรี ยกขวัญกลับมา นั น้ จะต้ องมี พิ ธี ก รรมในการปฎิ บั ติ มากมาย บางครัง้ บางพิธีกรรมก็มีความ ยุ่งยากในการปฎิบตั ิแต่ม้งก็ไม่ย่อท้ อต่อ อุปสรรคเหล่านัน้ ม้ งเชื่อว่าการมีร่างกาย ส ม บู ร ณ์ แ ข็ ง แ ร ง ไ ม่ มี โ ร ค ภั ย ม า เบี ย ดเบี ย น คื อ ความสุ ข อั น ยิ่ ง ใหญ่
ของม้ ง ฉะนันม้ ้ งจึงต้ องท�ำทุกอย่างเพื่อ เป็ นการรักษาให้ หายจากโรคเหล่านัน้ ซึง่ พิธีกรรมในการรักษาโรคของม้ งนันมี ้ อยู่ หลายแบบ ซึ่ ง แต่ ล ะแบบก็ รั ก ษาโรค แต่ละโรค แตกต่างกันออกไป การทีจ่ ะท�ำ พิธีกรรมการรักษาได้ นนต้ ั ้ องดูอาการของ ผู้ป่วยว่าอาการเป็ นเช่นไร แล้ วจึงจะเลือก วิธีการรักษาโดยวิธีใดถึงจะถูกต้ องความ เชื่ อ เรื่ อ งการท� ำ ผี หรื อ การลงผี (กา รอัว๊ เน้ ง) เป็ นการรักษาอีกประเภทหนึ่ง ของม้ ง การอัว๊ เน้ ง (การท�ำผีหรื อลงผี) การจะอัว๊ เน้ งได้ เมือ่ มีคนในครอบครัวเจ็บ ป่ วยโดยไม่ร้ ู สาเหตุ เป็ น การรั ก ษาอี ก ประเภทหนึง่ ดังนันม้ ้ งมักจะนิยมอัว๊ เน้ ง เพื่อการเรี ยกขวัญที่หายไปหรื อมีผีพาไป ให้ กลับคืนมาเท่านัน้ ๔๓
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ถ่ายทอดออกมาเป็ น บทเพลงร�ำน�ำโดยผ่านริมฝี ปาก ถ่ายทอด โดยอาศัยเครื่ องดนตรี ซึง่ มีอยู่มากมาย หลายชนิด ส�ำหรับเครื่องดนตรีของคนม้ ง ที่มีมาแต่โบราณกาลนันก็ ้ มีหลากหลาย แต่ว่าดนตรี เหล่านีด้ ูเหมือนว่าก�ำลังจะ สูญ หายไปจากวิ ถี ชี วิ ต ของคนรุ่ น ใหม่ สามารถแบ่งได้ เป็ น ๒ ประเภท ๑.) เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเป่ า ได้ แก่ จิ๊งหน่อง “จ่าง” ขลุย่ และ แคนหรื อเฆ่ง ๒.) เครื่ องดนตรี ประเภทตี ได้ แก่ กลอง “จัว๊ ”
๔๔
ม้ง
จังหวัดแพร
ศาลาผูใหญบาน
ที่ทําการผูใหญบาน
ศูนยการเรียนรูแมฟาหลวง
ลานกีฬาหมูบาน ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
ทางหลวงหมายเลข 101 นาน - แพร
ชาติพันธุ์
มลาบรี
๔๖
ชุมชนเผ่ าตองเหลือง “มลาบรี” บ้ านบุญยืน (ชื่อตาม ป้ายหมูบ่ ้ าน) หมูท่ ี่ ๑๓ ต�ำบลบ้ านเวียง อ�ำเภอร้ องกวาง จังหวัดแพร่ หมู่บ้านของชนเผ่ามละ ปั จจุบนั อาศัยอยู่ ในพืน้ ที่ของคุณบุญยืน สุขเสน่ห์ หรื อ Mr. Eugene Robert Long ซึง่ เป็ นมิชชันนารีชาวอเมริกา ทีเ่ ข้ ามาเผย แพร่ศาสนามากกว่าสิบปี เนือ่ งจากสมัยก่อนชนเผ่ามละ อาศัยอยูใ่ นพื ้นทีข่ องชนเผ่าม้ ง ทีอ่ ำ� เภอสอง จังหวัดแพร่ ท�ำงานรับจ้ างให้ กบั คนม้ ง บ้ างก็ได้ ข้าวสารอาหารแห้ ง บ้ างท�ำงานทังปี ้ ได้ แค่หมูตวั เดียวก็มี กระทัง่ วันหนึง่ มีผ้ ู สือ่ ข่าวได้ ไปพบวิถีความเป็ นอยูข่ องชนเผ่ามละ แล้ วได้ ท�ำการถ่ายและเผยแพร่ ข่าวความเป็ นอยู่ของชนเผ่า มละ ออกไป ท�ำให้ สงั คมได้ รับรู้ ขณะเดียวกันเป็ นช่วง เวลาที่คณ ุ บุญยืน สุขเสน่ห์ ได้ มาปั กหลักอยูใ่ นหมูบ่ ้ าน ห้ วยฮ่อมพอดี เมื่อคุณบุญยืนเห็นวิถีความเป็ นอยู่ของ พี่น้องชนเผ่ามละ จึงเกิดความสงสารและอยากช่วย เหลือ เพื่อให้ มีชีวิตความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ ้น จึงไปชักชวนให้ ชนเผ่ามละ จากที่ท�ำงานรับจ้ างอยูก่ บั ชนเผ่าม้ ง ลงมา
อยู่กบั เขาโดยให้ มาอยู่อาศัยในพื ้นที่ ที่ ยังมีการท�ำเพิงพักแบบที่พวกเขาอาศัย อยู่ในป่ า โดยผู้หญิงชนเผ่ามละ จะเป็ น คุณบุญยืนได้ จบั จองไว้ ช่วงแรกมีชนเผ่ามละ ลงมาใช้ ชีวติ อยูก่ บั คนหาไม้ หาตองมาสร้ างเพิ ง พัก เอง ส่วนผู้ชายก็เข้ าไปหาผึ ้ง ล่าสัตว์ เป็ นต้ น บุญยืนไม่กี่ครอบครัว แต่เมื่ออยูน่ านเข้ า เมื่อเวลานานเข้ าก็เริ่ มมีการสร้ างบ้ าน ชนเผ่ามละ เกิดความกลัว กลัวโน่นกลัว ใหม่โ ดยใช้ ห ญ้ า คา หรื อ บางบ้ า นก็ ใ ช้ นี่ กลัวผู้คนที่เข้ ามาเยี่ยมดูพวกเขา หรื อ บล็อกก่ อ มุงกระเบื อ้ ง บางส่วนได้ รับ ไม่ ชิ น กั บ สถานที่ ห รื อ วิ ถี ก ารใช้ ชี วิ ต ความช่ ว ยเหลื อ จากคุ ณ บุ ญ ยื น และ ข้ างล่าง ทนอยู่ไม่ไหวจึงตัดสินใจย้ าย บางส่ ว นก็ มี ร ายได้ จ ากการไปรั บ จ้ า ง กลั บ ไปอยู่ ใ นพื น้ ที่ เ ดิ ม อี ก รอบหนึ่ ง ท�ำงานให้ กบั คนข้ างนอก เช่น คนม้ ง หรื อ แต่เมื่อกลับไปอยูใ่ นพื ้นที่เดิมรับจ้ างก็ได้ พื น้ ราบ จนมาสร้ างบ้ านใหม่ ที่ คงทน รับค่าตอบแทนที่ไม่เพียงพอต่อการด�ำรง ถาวร ในเวลาต่อมา เวลานานเข้ าชนเผ่า อยู่ของพวกเขา หรื อเมื่อมีคนไม่สบาย มละ ที่แห่งนี ้เริ่ มมีคนเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ ก็ไม่ได้ เข้ ารับการรักษาที่ดีพอ จึงตัดสิน จนถึงปั จจุบนั ปี พ.ศ.๒๕๕๑ มีชนเผ่า ใจย้ ายลงมาอยู่กับคุณบุญยืน อีกรอบ มละ ในหมู่บ้ า นของบุญ ยื น รวม ๓๙ เมื่ออยูไ่ ด้ ไม่กี่เดือนก็ย้ายกลับไปอีก แล้ ว ครอบครัว ๒๘ หลังคาเรื อน ๑๕๕ คน ก็ย้ายมาอีกเป็ นแบบนี ้เรื่ อย ๆ หลายรอบ เมื่อพวกเขารู้สกึ ชินกับผู้คน ชินกับสถาน ข้ อมูลเพิ่มเติม จากชุมชนเผ่าตองเหลือง ที่ จึงได้ ปักหลักอยูใ่ นหมูบ่ ้ านของคุณบุญ (มลาบรี ) บ้ านบุญยืน หมู่ ๑๓ ต.บ้ าน ยืนเรื่ อยมา และเมื่อมีที่อยูท่ ี่คิดว่ามัน่ คง เวี ย ง อ.ร้ องกวาง จัง หวัด แพร่ ก ารตัง้ แล้ วก็มกี ารชักชวนเพือ่ น ๆ หรือญาติจาก ถิ่นฐานมาลบรี จะอพยพตามลักษณะ ที่อื่นมาอยู่ด้วยเช่น กลุ่มที่อยู่ในไร่ สวน ภูมิประเทศที่อดุ มสมบูรณ์ โดยจะอาศัย ของคนม้ งบ้ าง หรื อจากอ�ำเภอนาหมื่น อยูใ่ นแต่ละพื ้น ทีเ่ ป็ นเวลา ๕-๑๐ วัน แล้ ว อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ หรื อบางกลุ่ม ย้ ายไปที่อื่นที่มีอาหารเพียงพอรู ปแบบ ก็ ม าจากอ� ำ เภอเวี ย งสา จัง หวัด น่ า น ในการอพยพในลักษณะวนกลับมาทีเ่ ดิม จนประชากรของชนเผ่ า มละก็ เ พิ่ ม ขึน้ ในรัศมี ประมาณ ๓๐ ตารางกิโลเมตร ใน เรื่ อยๆ เมื่อเข้ ามาอยูค่ รัง้ แรกชนเผ่า มละ แต่ละปี เมื่อถึงฤดูกาลที่ต้องเร่ร่อนเข้ าป่ า ๔๗
“ ๔๘
ข้ อมูล เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชื่อชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : มลา บรี (เผ่าตองเหลือง) เอกลั ก ษณ์ อั ต ลั ก ษณ์ อั น โดดเด่ น : อยู่ แ บบครอบครั ว ไม่ มี หั ว หน้ าเผ่ า หัว หน้ า ครอบครั ว เป็ น ผู้น� ำ ครอบครั ว ตนเอง
ชิมน�้ำผึ้งป่ าหวาน ชีวติ เคียงคู่ธรรมชาติ พวกเราพี่น้องมลาบรี
“
เพื่อตีผึ ้ง ต้ องอพยพไปทังหมู ้ บ่ ้ านมลาบรี เป็ นกลุ่มสังคมล่าสัตว์ (Hunting and Gathering Society) พวกเขาจะสร้ าง ที่พกั ชัว่ คราว มีลกั ษณะ เป็ นเพิง สร้ าง จากไม้ ไผ่ มุงด้ วยใบตองกล้ วยจึงถูกเรียก ชื่อว่าเผ่าตองเหลือง เพราะจะย้ ายที่อยู่ เมื่อเวลาที่ใบตองเริ่ มออกสีเหลือง ขนาด ของเพิ ง จะขึ น้ อยู่ กั บ จ� ำ นวน สมาชิ ก แต่ละครอบครัว โดย จะสร้ างส่วนท้ าย บ้ าน เป็ นส่วนที่สงู หน้ าบ้ านจะลาดต�่ำ เวลานอนมลาบรี จะนอนท่าตะแคงเอาหู แนบพื ้น สันนิษฐานว่าใช้ ประโยชน์ในการ ฟั งเสียงของสัตว์ และคนเดินหรื อ ศัตรู ที่ จะเข้ ามาในบริ เวณที่พกั จ�ำนวนสมาชิก ที่อาศัยอยูใ่ นบริ เวณหนึง่ ๆ จะมีจ�ำนวน ๒-๓ ครอบครั ว ต่ อ หนึ่ ง พื น้ ที่ หรื อ ประมาณ ๑๐-๑๕ คน ชาวมลาบรี ยดึ มัน่ ในประเพณี ข องตนโดยจะไม่ ย อมรั บ แบบแผนในการเป็ นผู้ผลิตท�ำการเกษตร เพราะเชื่อว่าผิดผี
ด้ านประเพณี พิธีกรรม การแต่งงาน เจ้ าบ่าวไปขอพ่อแม่ฝ่ายหญิง ถ้ าพอใจก็ จะให้ แต่งงานกันโดยไม่มีพิธีและย้ ายไป อยูร่ วมกับครอบครัวฝ่ ายแม่ ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน คุ ณ บุ ญ ยื น สุข เสน่ ห์ มิ ช ชั น นารี ช าว อเมริ กา ผู้เข้ ามาดูแลพื น้ ที่ และชนเผ่า มลาบรี ม าสิ บ กว่ า ปี ภายใต้ ชื่ อ ชุม ชน เผ่าตองเหลืองบ้ านบุญยืน หมู่ ๑๓ ต�ำบล บ้ านเวียง อ�ำเภอร้ องกวาง จังหวัดแพร่ มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้
ด้ า นอาชี พ ท� ำ ไร่ ถัก เปล รั บ จ้ า งกับ การเกษตรในชุมชนใกล้ เคียง ด้ านความเชื่อ อดีตบูชาผี เปลี่ยนมา เป็ นคริ สเตียน ประมาณ ๑๐ ปี ศาสนา เดิมชนเผ่าตองเหลือง ไม่มศี าสนา เหตุผล คือ อ้ างว่าการนับถือศาสนาคือการเสีย เวลา
ด้ านอาหาร น� ้ำผึ ้งป่ า มันป่ า หมู ปลา ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ ป่ า ชอบ ปู ไก่ ข้ าวต้ มหมู (หมูสามชันต้ ้ มเกลือ) อยูก่ บั ธรรมชาติ ด้ านการแต่ งกาย ไม่มีชดุ ประจ�ำเผ่า
ด้ านภาษา ภาษามลาบรี
๔๙
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ย่ามท�ำจากเถาวัลย์ ไม้ เท้ าท� ำ จากไม้ ไผ่ ก� ำ ไลข้ อมื อ ท� ำ จากหวาย ก๋วยท�ำจากไม้ ไผ่ ข้ อมูลชุมชน ทีอ่ ยูช่ มุ ชนหมูท่ ี่ ๑๓ ต�ำบล บ้ านเวียง อ�ำเภอร้ องกวาง จังหวัดแพร่ Facebook นายบุญยืน สุขเสน่ห์ สถานที่ ส� ำ คั ญ ภายในชุ ม ชน ศูน ย์ เรี ยนรู้ชมุ ชน จ�ำนวน ๑ แห่ง พิพิธภัณฑ์ ท้ องถิ่นศูนย์พฒ ั นาราษฎรบนพื ้นที่สงู
๕๐
บานมง
บานบุญยืน มลาบรี พิพิธภัณฑทองถิ่น
มอนแมถาง อางแมสาง
ระยะทาง 50 กม.
เมืองแพร
พระธาตุปูแจ
สถานที่ท่องเที่ยว
ไหวพระธาตุปูแจ เช็คอินมอนแมถาง เที่ยวบานวิถีมง เยี่ยมชมวิถีตองเหลือง
ชาติพันธุ์ อาข่า อาข่ า เป็ นแขนงหนึ่งของชนเผ่าทิเบตพม่า รู ปร่ างเล็กแต่ล�่ำสันแข็งแรง ผิวสี น� ำ้ ตาลอ่อ นและกร้ าน ผู้ห ญิ ง มี ศี ร ษะ กลม ล�ำตัวยาวกว่าน่อง และขาสันผิ ้ ดกับ ผู้ชาย มีภาษาพูดมาจากแขนงชาวโล-โล คล้ ายกับภู ภาษาลาหู่ (มูเซอ) และลีซู (ลีซอ) ไม่มตี วั อักษรใช้ วัฒนธรรมของคน อาข่าท�ำให้ พวกเขามองชีวิตของคนใน เผ่าเป็ นการต่อเนื่องกัน เด็กเกิดมาเป็ น ประกันว่าเผ่าจะไม่สูญพันธุ์ พอโตขึน้ กลายเป็ นผู้สร้ างเผ่า และเป็ นผู้รักษา “วีถี ชีวิตอาข่า” ในที่สดุ ก็ตาย และกลายเป็ น วิ ญ ญาณบรรพบุ รุ ษ คอยปกป้ อ งลู ก หลานต่อไป กฎต่าง ๆ เหล่านี ้ครอบคลุม ทุกคนในเผ่า ตังแต่ ้ ตนื่ นอนจนถึงเข้ านอน ตังแต่ ้ เกิดจนตาย เป็ นแนวทางสอน และ แนะน�ำทุกคนในเรื่ องของกฎหมายของ เผ่า ประเพณี ศาสนา ยา และการรักษา โรค กสิกรรม สถาปั ตยกรรม การตีเหล็ก และการท�ำของเครื่องใช้ เครื่องนุง่ ห่ม เพือ่ ให้ งา่ ยต่อการจดจ�ำเพาะ พวกเขาไม่มตี วั หนั ง สื อ ใช้ แม้ จะไม่ ไ ด้ มี ก ารบั น ทึ ก ๕๒
ประวัติ ศ าสตร์ เ ป็ น ลายลัก ษณ์ อัก ษร อาข่าก็มตี ำ� นาน สุภาษิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีการมากมาย ที่ท�ำให้ หมาย รู้ ในเผ่าพันธุ์ และซาบซึง้ ในความเป็ น อาข่าของตน เขาสามารถสืบสาวรายงาน บรรพบุรุษฝ่ ายบิดาขึ ้นไปได้ ถึงตัว “ต้ น ตระกูล” และรู้ สึกว่าท่านเหล่านัน้ ก่ อ ก� ำ เนิ ด ชี วิ ต เขามา และประทานวิ ช า ความรู้ ในการเลีย้ งชี วิตมาโดยตลอด เพราะเหตุที่มองตัวเองเป็ นส่วนหนึง่ ของ โซ่สร้ อยซึง่ ร้ อยมายาวนักหนา
ข้ อมูล ๘ วิถี ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ ผ้ ูน�ำชุมชน นายเทวินทร์ อามอ บ้ านเลขที่ ๔๘ หมู่ ๗ ต�ำบลนาพูน อ�ำเภอวังชิ ้น จังหวัดแพร่ มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ า นอาหาร ปกติ นิ ย มกิ น ผัก เป็ น หลัก
อาหารที่ นิ ย ม เช่ น ข้ า วปุ๊ ก ข้ า วดอย ลาบอาข่า ลาบหมูซาเบีย รากชูดอง น� ้ำ พริ กมะเขือส้ ม เป็ นต้ น ด้ านการแต่ งกาย
สาวอาข่าเมื่อแต่งตัวครบเครื่ องนันเพริ ้ ศ เพรา จนน่าตะลึง ตังแต่ ้ ศีรษะจรดเท้ า ส่ว นเครื่ อ งแต่ ง กายของบุรุ ษ แม้ จ ะไม่ รุ่ ม รวยด้ วยสี สัน เช่ น ของสตรี แต่ ก็ มี
ความเฉี ย บที่ จ ะเรี ยบ แต่ เ ท่ อ ย่ า ง ประหลาด อาข่าใช้ ผ้าฝ้ายทอเนือ้ แน่น ย้ อมเป็ นสีน� ้ำเงินเข้ มเกือบด�ำ ซึง่ แต่ก่อน นี จ้ ะปลูกฝ้ายมาปั่ นใช้ เอง ปั จจุบันซือ้ ฝ้า ยดิ บ จากคนไทยน� ำ มาอัด เป็ น ก้ อ น ใหญ่ ยาว ๒๐ ซม. บรรจุในปล้ องหรื อ กล้ องไม้ ไผ่ เวลากรอด้ ายผู้หญิ งจะผูก กล่องฝ้ายไว้ กบั เอว เกี่ยวใยเข้ ากับตะขอ กง ซึ่ง เกาะไว้ กับ ต้ น ขาแล้ ว ปั่ น อย่า ง รวดเร็ วออกมาเป็ นฝ้ายหนา และเหนียว ทนทาน หญิงอาข่าสอนให้ ปั่นด้ ายตังแต่ ้ อายุ ๖-๗ ขวบ เพราะมารดาคนเดียวปั่ น ด้ ายไม่ทนั มาทอผ้ าให้ ใช้ กนั ทังครอบครั ้ ว ผู้หญิงอาข่าทุกวัยปั่ นด้ ายกันตลอดเวลา ทีม่ อื ว่างจากงานอืน่ เช่นระหว่างเดินทาง ไปไร่ ขณะแบกฟื น หรื อ หาบน� ำ ้ จน กระทัง่ ขณะที่นงั่ ผิงไฟอยูใ่ นบ้ าน ยามค�่ำ สาวอาข่ามักแข่งขันกันว่า ใครจะปั่ นด้ าย ได้ ม ากที่ สุด ในแต่ ล ะวัน ด้ า ยนี น้ � ำ ไป ทอผ้ าเนือ้ แน่นหน้ ากว้ าง ๑๗-๒๐ ซม. จากนันก็ ้ น�ำไปย้ อมคราม ซึง่ เป็ นผลิตผล พื ้นบ้ าน ใช้ เวลาย้ อมร่ วมเดือนจึงจะได้ สีน� ้ำเงินเข้ มที่ต้องการ เพราะต้ องย้ อมซ� ้ำ แล้ วซ� ้ำอีกทุกวัน ผู้หญิงอาข่าในเมืองไทย มีแบบแผนการแต่งกายสามแบบด้ วยกัน แบบแรก “อู่โล้ อาข่า” สวมหมวกแหลม ๕๓
แบบที่สอง “โลมี ้อาข่า” สวมหมวกแบน แบบทีส่ าม “ผาหมีอาข่า” สวมหมวกแบน เช่นกันแต่รูปทรงของหมวกต่างกัน เครื่อง เงินที่ ใช้ ตกแต่ง ก็ มีความละเอี ยดกว่า แบบ “โลมี ้อาข่า” การแต่ งกายแบบ “อู่โล้ อาข่ า” ผู้หญิ ง หมวกแหลมนี ้แบ่งออกเป็ นสอง ส่วน คือ ส่วนฐานซึง่ เป็ นผ้ าคาด ศีรษะ ประดับด้ วย เหรี ยญตรา กระดุมเงิน และ ลูกปั ดส่วนยอดมี โครงไม้ ไผ่อยูใ่ ต้ ผ้าฝ้าย ย้ อมครามตกแต่งด้ วยเครื่ องเงิน ลูกปั ด ลูกเดือย พูแ่ ดงทีไ่ ด้ จาก ขนไก่ย้อมสี และ ของแปลก ๆ ที่ แ ต่ล ะคนจะสรรหามา จ�ำนวนและชนิด ของ วัสดุตกแต่ง จะแตก ต่างกันไปตามฐานะ สภาพ อายุ และการ มีบตุ ร ส�ำหรับ ตัวเสื ้อนัน้ เป็ นผ้ าฝ้ายย้ อม ๕๔
คราม แขนยาวตกแต่งด้ วยผ้ าหลากสี ตัวเสื ้อยาวขนาดสะโพก ด้ านหลังปักด้ วย ลวดลาย สาบเสื ้อตกแต่งด้ วยผ้ าสี แผ่น เสื ้อด้ านหน้ า ไม่ค่อยเน้ น ลายมากเท่า ด้ า นหลัง ส่ ว นกระโปรงเป็ น ผ้ า ชนิ ด เดียวกัน ท�ำจีบเฉพาะด้ านหลัง ยาวเหนือ เข่า และมีผ้าชิ ้นเล็กตกแต่ง ด้ วยเครื่ อง เงิน และพูส่ ีแดงส�ำหรับคาดทับกระโปรง ด้ านหน้ า ส่วนถุงน่องนัน้ ตกแต่งด้ วย ผ้ าหลากสีและลูกเดือย ผู้ชาย สวมเสื ้อแขนยาวตกแต่งด้ วยผ้ า หลากสี และปักลวดลายคล้ ายของผู้หญิง แต่ตวั เสื ้อจะสันกว่ ้ า ส่วนกางเกงคล้ าย กางเกงสะดอ แต่เป็ นผ้ าฝ้าย ย้ อมคราม หมวกท�ำเป็ นผ้ าหนาแล้ วม้ วนปลายสอง ด้ านเข้ าหากันแล้ วเย็บติด น�ำผ้ าฝ้ายย้ อม พันอีกที ตกแต่งด้ วยพูส่ ีแดง
การแต่ งกายแบบ “โล้ มีอ้ าข่ า” ผูห้ ญิ ง หมวกแบนนี ้จะต้ องมีแผ่นเงินรูป สี่เหลี่ยมคางหมูเชิดขึ ้นมาทางด้ านหลัง ด้ านหน้ าแต่งด้ วยแถวลูกปัด สลับกับแถว กระดุ ม เงิ น ล้ อมกรอบใบหน้ าด้ วย ลูกบอลเงิน เหรี ยญและลูกปั ดห้ อยเป็ น สายประบ่า ตัวเสื ้อด้ านหลัง แต่งด้ วยลาย ปะเศษผ้ าชิ ้นเล็กชิ ้นน้ อยหลากสีสลับกับ ลายปั กงามวิจติ ร แต่งด้ วยกระดุมเปลือก หอยกระดุมเงิน ลูกเดือย ลูกปั ด และพู่ ห้ อย รัดน่องและย่ามก็ปักแต่งในท�ำนอง เดี ยวกัน ผ้ าผูกเอวจะแต่งด้ วยเปลือก หอย และ ลูกเดือย ของสาวโสดจะกว้ าง กว่าหญิงแต่งงานแล้ ว ส่วนกระโปรงนัน้ ชาวอาข่าจะสวมเหมือนกันหมด ผูช้ าย เสื ้อของบุรุษและเด็กชายมีลายปัก ประดับชายเสื ้อโดยรอบและรอบตะเข็บ ข้ างทัง้ ซ้ ายขวา หรื อบางที่ไม่มีปักชาย เปลี่ ย นเป็ นปั กประดั บ อย่ า งงดงาม ที่สาบหน้ า
แถบผ้ าคราม เข้ มกุ้นขาวเล็กๆ เรี ยงซ้ อน กัน แต่ละแถบยังปั กลายละเอียด เช่น เดี ย วกับ แขนเสื อ้ ผ้ า ผูก เอว และย่า ม อาข่ากลุม่ นี ้จะแตกต่างจากอีกสองกลุม่ คือ จะ มีตวั เสื ้อชันในอี ้ กตัวหนึง่ เป็ นผ้ า ฝ้ายย้ อมตกแต่งด้ วยกระดุมเงินเหรี ยญ และแผ่นเงิน ผูช้ าย เสื ้อผู้ชายตัวยาวกว่าอาข่ากลุม่ อืน่ เย็บด้ วยแถบผู้ก้ นุ ขาวเรี ยงซ้ อนกัน อาจ ติดกระดุมหน้ าหรืออ้ อมไปติดกระดุมข้ าง ซ้ าย มักประดับสาบหน้ าด้ วยเหรี ยญเงิน หรื อสร้ อยเงินร้ อยลูกกระพรวน กางเกงก็ คล้ ายกับกลุม่ อื่น
การแต่ งกายแบบ “ผาหมีอาข่ า” ผูห้ ญิ ง หมวกสตรี มีรูปคล้ ายหมวกเกราะ ของนั ก รบโบราณและประดั บ ด้ วย กระดุมเงิน เหรี ยญ ลูกปั ด ไม่เว้ นช่องว่าง เลย ด้ านข้ างห้ อยสายลูกปั ดสีแดงร้ อย ยาวเกือบถึงเอว เสื ้อด้ านหลังมักเย็บด้ วย ๕๕
ด้ านที่อยู่อาศัย อาข่าเป็ นชนเผ่าที่นิยมอาศัยอยู่บนที่สงู สูงจากระดับน� ้ำทะเล ๕๐๐ เมตร ขึ ้นไป โดยการตังชุ ้ มชนของอาข่าจะมีการเลือก ท�ำเล พร้ อมทังมี ้ การเสีย่ งทาย โดยการใช้ ไข่ ไ ก่ เรี ย กว่ า “ จ้ อ อูแ จเออ” ซึ่ง การ เสี่ยงทายนี ้ถือเป็ นการตัดสินใจว่า จะตัง้ ชุมชนหรื อไม่ตงชุ ั ้ มชน ทังนี ้ ้หากตังชุ ้ มชน ได้ เวลาโยนไข่ เ พื่ อ เสี่ ย งทายการตัง้ ชุมชน ไข่จะแตก แต่ถ้าไข่ไม่แตกก็ ไม่ สามารถจะตัง้ ชุ ม ชนในบริ เ วณนัน้ ได้ เนื่ องจากอาข่ามีความเชื่ อว่าเจ้ าที่เจ้ า ทาง ไม่อนุญาต ดังนัน้ การตังชุ ้ มชนของอาข่า จึงน�ำหลัก ความเชื่อตามธรรมชาติเข้ ามาเกี่ยวข้ อง สถานที่ในการตังชุ ้ มชนต้ อง อยูห่ า่ งจาก แม่น� ้ำ หรื อหนองน� ้ำ หรื อพื ้นที่ราบ ทังนี ้ ้ เนื่องจากในอดีตการแพร่ระบาดของโรค มาลาเรี ย เป็ นเหตุส�ำคัญที่ชมุ ชนต้ องอยู่ ห่างจากแม่น� ้ำ และอีกประการหนึ่งชาว อาข่ากลัวว่า เมื่อฝนตกลงมาอาจท�ำให้ บ้ านเรื อนถูกน� ้ำท่วม และท�ำให้ เกิดความ เสียหาย อาข่ามีการพูดว่าพญานาคจะ พัดพาเอาไป อันเป็ นภูมิปัญญาในการ ป้องกันไม่ให้ เกิดอุทกภัยในชุมชนนัน่ เอง การตัง้ ชุ ม ชนของอาข่ า มัก นิ ย มตัง้ ใน ๕๖
พื ้นทีล่ าดเท หรื อตามสันเขา ปากทางเข้ า หมู่บ้านจะมี การสร้ างประตูหมู่บ้านไว้ เรี ยกว่า “ล้ อข่อง” เพื่อไว้ ป้องกันสิ่งเลว ร้ ายต่างๆ ไม่ให้ เข้ ามาในชุมชน นอกจาก นี ้ยังมีศาสนสถานที่สำ� คัญ เพื่อใช้ ในการ ประกอบพิธีกรรม อาทิเช่น ศาลพระภูมิ ชุมชน บ่อน�ำ้ ศักดิ์สิทธิ์ ลานวัฒนธรรม เป็ นต้ น ขนาดในการตังชุ ้ มชนอาข่าโดย เฉลี่ย ประมาณ ๓๐-๕๐ หลังคาเรื อน ด้ านประเพณี พิธีกรรมรรม ชนเผ่ า อาข่ า ในประเทศไทย แต่ ล ะ ประเภทมีความคล้ ายคลึงกันทังการแต่ ้ ง กาย ภาษา วิถีชีวติ เทศกาลและพิธีกรรม ซึ่งมีความเป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะชนเผ่า อ่าข่าจึงมีข้อห้ ามเพื่อใช้ ควบคุมคนใน ชุมชนโดยผ่านมิตขิ องวัฒนธรรมออกมา แ ล ะ ข้ อ ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ มี ปฏิสมั พันธ์ ในชุมชน ข้ อห้ ามของอาข่า บางอย่างไม่ได้ มีไว้ เพื่ออ่าข่าเท่านัน้ แต่ รวมไปถึงคนนอกชุมชนด้ วย ในกรณี ที่ เข้ ามาท�ำผิดกฎก็ต้องถูกปรับเหมือนกับ ชนอาข่า ทั่ว ไป เช่ น การเอามี ด ไปฟั น ประตูหมูบ่ ้ าน การเข้ ามาชุมชนอาข่า จึง มี ความจ� ำเป็ นอย่างมากที่ต้องรู้ จักกฎ หรื อข้ อห้ าม หรื อสิ่งที่ไม่ควรท�ำในกรณี ต่าง ๆ ของอาข่า ดังนี ้
๑. การเห็นงูแล้ วไม่ประกอบพิธีกรรมใดๆ ตามความเชื่อของอาข่างูเป็ นสัตว์ที่เป็ น เสนียดจัญไร หรื อที่อ่าข่าเรี ยกว่า “ต๊ อ” เพราะว่าในอดีตงูเคยเป็ นสัตว์ชนสู ั ้ ง และ อะเผ่วหมี่แย้ เลี ้ยงไว้ แต่งไู ม่ยอมเชื่อฟั ง ขโมยของอะเผ่วหมี่แย้ อีก จึงถูกสาปให้ ขาขาด เลยต้ องใช้ ท้องเลื่อยตลอด การ ประกอบพิ ธี ก รรมใดๆ ของอาข่ า เมื่ อ พบเห็นงู จึงต้ องยกเลิกพิธีกรรมนัน้ เช่น การท�ำพิธีกรรม “อะเผ่วล้ อ – เออ” ถ้ าเจอ งูผ้ เู จอเข้ าบ้ านไม่ได้ จนกว่าพิธีกรรมแล้ ว เสร็ จ ๒. การไม่เอามีดฟั นในสถานที่ดงั ต่อไปนี ้ ประตูหมู่บ้าน (ล้ องข่อง) เป็ นสถานที่ที่ อาข่าท�ำไว้ เพือ่ ป้องกันสิง่ ชัว่ ร้ ายเข้ ามาใน หมูบ่ ้ าน ประตูหมูบ่ ้ านมีสว่ นที่ส�ำคัญอยู่ เช่น รู ปนกอินทรี ย์ เพราะมีความเชื่อว่า นกอินทรี ย์เป็ นสัตว์ที่บนิ เบื ้องบน เป็ นต้ น เสาโล้ชิงช้า (หล่าเฉ่อ) เมื่อถึงเทศกาล โล้ ชิงช้ าทุกปี อ่าข่าก็ไปตัดเสาใหญ่ ๆ จ�ำนวนสีต่ ้ นมา เพือ่ มาประกอบเป็ นชิงช้ า และในหนึง่ ปี การละเล่นชิงช้ ามีเพียงครัง้ เดียว ชาวอาข่าจึงเล่นเต็มที่ หลังจากสิ ้น สุ ด เทศกาลก็ ต้ องมั ด เชื อ กติ ด เสาให้ เรี ยบร้ อย และจะไม่มีใครไปแกะเชือกมา เล่นอีก หากแกะมาเล่นต้ องเสียหมูเพื่อ
ท�ำพิธี ชิงช้ าไม่สามารถเอาของมีคมไป ฟั นได้ ถ้ าผิดก็ต้องเอาหมูและเหล้ าไป เลี ย้ งแก้ บน เทศกาลนี ไ้ ด้ ชื่ อ ว่ า เป็ น เทศกาลส�ำหรับเชิดชูผ้ หู ญิงอาข่า ศาลพระภูมิเจ้าที ่ของหมู่ บ้าน (มิ๊ซ้อง) เป็ น สถานที่ ส ร้ างขึ น้ มาพร้ อมกับ การ สร้ างหมู่ บ้ าน สร้ างขึ น้ เพื่ อ ให้ ความ คุ้มครองจากสิง่ ไม่ดใี ห้ หมูบ่ ้ าน ชาวอาข่า ทุกคนจึงไม่เอามีดหรื อของมีคมไปฟั น สถานที่ ดัง กล่า ว เพราะเป็ น การไม่ใ ห้ เกียรติเจ้ าที่ ซึง่ อาจท�ำอันตรายกับคนใน ชุมชนได้ และหากผู้ใดท�ำผิดก็ต้องเอาหมู และเหล้ าไปขอขมา บ่ อน�้ ำศักดิ์ สิทธิ์ (อีซ้อล้ อเขาะ) ในการ ประกอบพิธีกรรมนัน้ เมื่อต้ องการใช้ น� ้ำ บริสทุ ธิ์ก็ต้อง มาตักในบ่อน� ้ำนี ้เพื่อน�ำไป ใช้ ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ของอาข่า การตักน�ำ้ ในบ่อก็มีจารี ตกฎ เกณฑ์บางตัว เช่น เมื่อไปถึงก่อนตักน� ้ำ ต้ องมีการล้ างหน้ า มือ และขา เพราะมี ความเชื่อว่าการประกอบพิธีกรรมต้ องใช้ น� ำ้ บริ สุท ธิ์ จึ ง ให้ สิ่ ง สกปรกตกข้ า งใน ไม่ได้ และการตักน� ้ำก็ต้องตักตามล�ำดับ มาก่อนหลัง เพราะเป็ นการควบคุมสังคม ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ความวุ่น วายในสัง คมอาข่ า โดยผ่านมิตวิ ฒ ั นธรรม บ่อน� ้ำศักดิส์ ทิ ธิ์ใน ๕๗
หมู่บ้ า นอาข่ า มี เ พี ย งแห่ ง เดี ย ว แต่ ใ น ชุมชนที่ ประกอบพิธีกรรมทุกครั วเรื อน เมื่อไปถึงถ้ าไม่เรี ยงล�ำดับก่อนหลัง ก็จะ เกิดการแย่งน� ้ำในสถานที่ตรงนี ้ และไม่ สามารถเอาของมีคมไปฟั นได้ ผู้เอาของ มี ค มไปฟั น ต้ อ งเสี ย หมูแ ละเหล้ า เพื่ อ ขอขมาเช่นกัน ป่ าช้า (หล่อ บยุ้ม) ป่ าช้ าเป็ นสถานทีท่ คี่ น อาข่าให้ ความเคารพมากอีกสถานที่หนึง่ เนื่องจากว่าป่ าช้ าเป็ นป่ าเยอะและครึม้ ๆ และไม่เอาของมีคมไปฟั นรวมถึงการไม่ น�ำของมาจากป่ าช้ า เช่น หน่อ ฟื น เป็ นต้ น ถ้ าท�ำผิดขึ ้นมาก็ต้องเอาหมูไปเลี ้ยงและ เหล้ า เพื่อขอขมาด้ วยเช่นกัน ลานวัฒนธรรม (แตห่อง) สถานที่ตรงนี ้ เป็ นสถานที่เดียวกับที่คนไทยทัว่ ไปรู้ จกั ในนาม ลานสาวกอด ที่ผ่านมาสถานที่ ตรงนี แ้ ปลและตี ค วามหมายผิ ด มา โดยตลอด เนื่ อ งจากผู้ ที่ ม าสะท้ อน วัฒนธรรมอาข่า ไม่ใช่คนอาข่า ซึ่งอาจ สื่อคลาดเคลื่อนด้ วยเหตุผลต่าง ๆ เช่น ภาษา เป็ นต้ น ๓. การไม่ตดั ผมและไม่ซกั ผ้ าในวันที่มี งานศพในชุมชนตามประเพณีของอาข่า ถ้ าคนเป็ น จะท� ำพิธีกรรมใด ๆ ก็ ตาม ต้ องท�ำจากขาขึ ้นหัว ความหมายคือ ทุก ๕๘
สิง่ ทีเ่ พิม่ ความสูงหรือขยาย ถ้ ามีชวี ติ หรือ เป็ น ประกอบพิธีส�ำหรับคนตาย จะท�ำ จากหัวลงสูข่ า ความหมาย คือ ความสูง ไม่เพิ่ม มีแต่ความสลายไป ๔. การไม่ท�ำไร่และตัดฝื นในวันแกะและ วันเสือ (ย้ อ, ข่าหล่า) สองวันนี ้ตามความ เชื่อของอาข่าเชื่อว่าเป็ นวันหยุดของ “อะ เผ่วหมี่แย้ ” ผู้สร้ างสรรพสิ่งในโลก และ “อะเผ่วหมี่แย้ ” ได้ หยุดพักผ่อนการสร้ าง สรรพสิ่งต่างๆในโลกในสองวันนี ้ ดังนัน้ เพื่อเป็ นการให้ เกียรติผ้ มู ีพระคุณ จึงไม่ ตัดฟื นและท�ำไร่ ในสองวันนี ้ หากมีผ้ ใู ด ฝ่ าฝื น ก็ ถูก ปรั บ ตามความผิ ด ที่ ก ระท� ำ เช่นอาจเป็ นเหล้ าหรื อไก่
ด้ านภาษา ภาษาของเผ่ า อาข่ า จัด อยู่ใ นสาจา ยิ (โลโล) ของตระกูลพม่า-ทิเบต มีภาษาพูด แต่ไม่มีภาษาเขียน ไม่มีประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของภาษา และต้ นก�ำเนิดที่ แน่ชดั แต่จะเป็ นในลักษณะสืบทอดต่อๆ กัน มามากกว่า อย่า งไรก็ ต าม การใช้ ภาษาของชนเผ่าอาข่า มีลกั ษณะการสือ่ เพื่ อให้ เกิ ดความเข้ าใจต่างกัน โดยใช้ ลั ก ษณะวั ย และลั ก ษณะงานเป็ นตั ว แยกแยะการพูดสือ่ สาร กล่าวคือหากพูด กั บ เด็ ก เล็ ก ที่ ก� ำ ลัง ฝึ ก พู ด จะมี ก ารใช้ ภาษาอีกแบบหนึง่ เช่น น� ้ำ ก็จะเรี ยกว่า “อ่าอ่า” ในขณะที่ถ้าสื่อสารกัน ได้ ก็จะ เรี ยกว่า “อี๊จ”ุ ด้ านความเชื่อ ความเชือ่ ในภาษาอาข่าเรียกว่า “นือจอง” อาข่าเป็ นชนเผ่าที่มีความเชื่อในเรื่ องจิต วิญญาณ ภูตผี ปี ศาจ ไสยศาสตร์ สิง่ เร้ น ลับ พิธีกรรมค�ำสอนที่ได้ รับการปลูกฝั ง มาจากบรรพบุรุษ และสืบทอดปฏิ บัติ ตามอย่างเคร่งครัด ผี “แหนะ” ตามความ เชื่อของอาข่ามีดงั นี ้ ๑. ผี เ รื อ นหรื อ ผี บ รรพบุรุ ษ ชาวอาข่ า ถือว่าเป็ นผีที่ดีที่สดุ เพราะเป็ นวิญญาณ บรรพบุรุษที่คอยคุ้มครองดูแลครอบครัว
มาโดยตลอดหลายชัว่ อายุคน ๒. ผีหมูบ่ ้ าน ก็คอื ผีที่อาศัยอยูใ่ นหมูบ่ ้ าน ที่ ค อยปกป้ อ งรั ก ษาคนในชุ ม ชนให้ อยูเ่ ย็นเป็ นสุข จะสถิตย์อยูท่ ศี่ าลผีประจ�ำ หมูบ่ ้ าน บริเวณทิศตะวันออกของหมูบ่ ้ าน ซึง่ ศาลนี ้จะต้ องสร้ างก่อนทีจ่ ะตังหมู ้ บ่ ้ าน ๓. ผีทวั่ ไป เป็ นผีที่สิงอยู่ประจ�ำที่ต่างๆ ทัว่ ไปนอกจากผีทบี่ อกมาในเบื ้องต้ นแล้ ว ก็ยงั มี ผีไฟ ผีดนิ ผีน� ้ำ ผีดอย ผีฟา้ ผ่า ผี จอมปลวก เป็ นต้ น ๔. ผีเร่ร่อน คือผีตายทังกลมกั ้ บผีตายโหง ตามความเชื่ อ ของอาข่ า ถื อ ว่ า ทัง้ สอง ประเภทนีเ้ ป็ นผีที่ไม่ดี เป็ นผีที่ไม่มีที่อยู่ ร่อนเร่ไปทัว่ บางครัง้ คอยหลอกหลอนคน ที่จิตใจไม่เข้ มแข็ง ปั จจุบนั อาข่าที่นบั ถือดังเดิ ้ ม ยังมีการใช้ หลักความเชื่อในการด�ำรงชีวิตอยู่ แต่อา ข่าบางส่วนก็หนั ไปนับถือศาสนาคริ สต์ และอิสลาม เนื่องจากความ ซับซ้ อนและ ความหลากหลายของพิธีกรรม บวกกับ สภาพเศรษฐกิจของปั จจุบนั ที่ไม่เอื ้อต่อ การด�ำรงชีวติ เพราะการนับถือดังเดิ ้ มจะ ต้ องเคร่ ง ในการ ประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา จะขาด หรื อ ผิดพลาดไม่ได้ ใน ขณะเดียวกันต้ องใช้ สตั ว์ตา่ งๆ ในการท�ำ พิธีเซ่นไหว้ เป็ นจ�ำนวนมาก เป็ นเหตุทำ� ให้ ๕๙
หลาย หมู่บ้านต้ องทิ ้งความเป็ นดังเดิ ้ ม พิธีกรรมต่าง ๆ ชาวอาข่าจะเป่ าแคนหลัง แล้ วหันไปนับถือศาสนาอื่น จากพิธีไล่ผีจนถึงเทศกาลกินข้ าวใหม่ ซึง่ จะไม่เป่ าในเดือน พฤศจิกายน เพราะว่า ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ในเดือนนี ้ผีจะเข้ ามาอยู่ในหมู่บ้าน ชาว เครื่องดนตรีประเภทเป่ า ได้ แก่ แคน (หละ บ้ านจึ ง ไม่ ก ล้ า ที่ จ ะเป่ าแคนในช่ ว งนี ้ เจ่) เป็ นเครื่ องดนตรี ที่นิยมเล่นกันของ เพราะว่า อาย และกลัว ว่า ผี จ ะลงโทษ ผู้ชายอาข่า ซึง่ จะเล่นในเวลาที่ว่างหรื อ เนื่องจากชาวบ้ านเรี ยนรู้ จงั หวะ และวิธี ช่วงประเพณีต่าง ๆ โดยใช้ บริ เวณลาน การเป่ าแคนมาจากผีนนั่ เอง วัฒนธรรมชุมชนเป็ นสถานทีเ่ ล่น หรือเล่น ขลุ่ย (ชิ วลิ่ ว) ขลุย่ ของอาข่าจะเป็ นขลุย่ ระหว่างทางไปท่องเทีย่ วต่างหมูบ่ ้ าน เพือ่ ๓ รู จะเป็ นเครื่ องดนตรี ที่นิยมเล่นในหมู่ ส่ง เสี ย งให้ ผ้ ูค นได้ ยิ น เครื่ อ งแคนของ ผู้ชายอาข่า ซึ่งในปั จจุบนั ก็ยงั มีขลุ่ยอยู่ อาข่ายังไม่พบว่าเกิดขึ ้นในช่วงใด หรื อมี แต่คนทีส่ ามารถเป่ าได้ มอี ยูน่ ้ อยมากส่วน ต� ำ นานกล่ า วว่ า อย่ า งไร จากที่ ไ ด้ ใหญ่จะเป็ นผู้เฒ่าผู้แก่ที่ยงั เป่ ากันอยู่ใน สอบถามข้ อมูลกับผู้เฒ่าผู้แก่ของอาข่าได้ ร ะ ห ว่ า ง เ ดิ น ท า ง ไ ป ท� ำ ไ ร่ ท� ำ ส ว น ความว่า เมือ่ ก่อนชาวอาข่าท�ำแคนขึ ้นมา เพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น สนุ ก สนานแต่ เอง แต่ไม่สามารถที่จะเล่นได้ เพราะไม่ร้ ู เด็ก ๆ และเยาวชนในหมูบ่ ้ านจะไม่นิยม จังหวะ และวิธีการเป่ า แต่เนื่องจากคน เป่ ากันแล้ ว อาข่าสื่อสารกับผีได้ ซึ่งผีสามารถที่จะ เป่ าใบไม้ (อะปะบอเออ) ส่วนใหญ่ชาว เป่ าแคนได้ ชาวอาข่าจึงเรี ยนรู้ จังหวะ บ้ านจะนิยมเป่ าในระหว่างทางไปท�ำไร่ และวิธีการเป่ าแคนมาจากผี ซึ่งความรู้ ท�ำสวนหรื อระหว่างทางไปท่องเที่ยวต่าง นันจึ ้ งตกทอดกันมาจนถึงปั จจุบนั หมูบ่ ้ าน เขาจะห้ ามเป่ าในบริเวณหมูบ่ ้ าน คนอาข่าเชื่อกันว่า พระเจ้ าเป็ นผู้สร้ าง ผี เพราะเชื่อกันว่าใบไม้ เป็ นของดิบใช้ ได้ หรื อ “แหนะ” ขึ ้นมา เช่น ผีแม่น� ้ำ ผีเจ้ าป่ า ครัง้ เดียว และก็ต้องทิ ้งไปถ้ าเกิดเอามา เจ้ าเขา ผีเจ้ าที่เจ้ าทาง ซึง่ จะมีลกั ษณะ เป่ าในหมูบ่ ้ าน ก็จะไม่ดีถือเป็ นลางร้ าย เหมือนกับคนและจะอยูร่ ่วมกันกับคน แต่ จะมองเห็ น ได้ ใ นช่ ว งที่ มี เ ทศกาลหรื อ ๖๐
ไป อ.เดนชัย
ศูนยการเรียนชุมชน ชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” บานดงยางอาขา
ศาลประชุม
ลานวัฒนธรรม
ไปสุโขทัย
บ้านดงยางอาข่ า จังหวัดแพร่
ชาติพันธุ์
อึมปี้
เรี ยกตนเองว่ า อึมปี ้ ผู้อ่ ืนเรี ยกว่ า ก่ อ เมืองแพร่ หรื อก่ อ ภาษาที่ใช้ พดู และ เขียน คือ ภาษาอึมปี ้ (Mpi) จัดอยูใ่ นตระ กูลภาษาทิเบโต-เบอร์ มา (Tibeto-Burman) ทางประวัติศาสตร์ คนในหมูบ่ ้ าน ดงเหนื อ และบ้ า นดงใต้ เ รี ย กตนเองว่า “อึมปี ”้ (Um-Pi) วิธีการออกเสียงจะออก เสียงค�ำว่า “อึม” แค่ครึ่งเสียงหรื อสันและ ้ เบากว่าเสียงหลัง ส่วนค�ำว่า “ปี ”้ ออก เสียงเต็ม เพราะฉะนันเวลาออกเสี ้ ยงค�ำ หน้ าจะเบากว่าส่วนค�ำหลังจะหนักกว่า แต่เวลาที่ชาวบ้ านพูดกับคนภายนอกจะ ออกเสียงเต็มทัง้ สองค�ำ เพราะถ้ าออก เสียงตัวหน้ าสันจะท� ้ ำให้ คนภายนอกฟั ง ไม่ ทัน การออกเสี ย งเต็ ม ทัง้ สองค� ำ นี ้ เป็ นการก� ำหนดโดยชาวบ้ าน ดร.มยุรี ถาวรพัฒน์ แห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ มาศึกษาภาษาอึมปี แ้ ละสร้ างระบบตัว เขียนกับชาวบ้ าน เมื่อราวปี พ.ศ.๒๕๕๐ ๖๒
อย่างไรก็ตาม ในหนังสือบางเล่มได้ แก่ Mpi Dictionary โดย ศรี นวล ดวงหอม (Srinuan Duanghom) เขียนว่า “มปี ” (Srinuan Duanghom ๑๙๖๗) ชาวบ้ านไม่สามารถแปลค�ำว่า “อึมปี ”้ ได้ และไม่มีใครรู้ ความหมายที่แน่นอนเลย “ปี ”้ มีคำ� ในภาษาอึมปี ใ้ กล้ เคียงสุดคือค�ำ ว่า “บี ้” แปลว่า น� ้ำตา ส่วนค�ำว่า “อึม” แปลว่ า ไม่ แต่เ ราก็ ไ ม่ อ าจจะแปลว่ า “ไม่มีน� ้ำตา” และชาวบ้ านก็ไม่อยากเชื่อ ว่าควรแปลเป็ นค�ำนี ้ และกลัวคนภายใน ชุมชนและคนภายนอกสับสน นอกจากอึ ม ปี แ้ ล้ ว ยัง มี ก ลุ่ม คนที่ พูด ภาษาใกล้ เคียงกันกับอึมปี ค้ ือ “ก่อ” หรื อ “เผ่าก่อ” ชาวก่อปั จจุบนั อยูท่ ี่บ้านสะเกิน ต�ำบลยอด อ�ำเภอสองแคว จังหวัดน่าน สมัยก่อนคนเมือง (ชาวแพร่) จะเรี ยกอึม
ปี ว้ ่า “ก่อ” ซึ่งอึมปี ไ้ ม่ชอบ เพราะถือว่า ตนเองเป็ นอึมปี ้ (สัมภาษณ์ นายธีรภพ เขื่ อนสี่, ๒๕๕๘) ในความคิดของชาว บ้ านแล้ วไม่ถือว่าอึมปี เ้ ป็ นกลุ่มเดียวกัน กับชาวก่อที่จงั หวัดน่าน แม้ จะทราบว่า ภาษาของตนเองใกล้ เคียงกัน และยังรับ รู้ ด้ ว ยว่า ภาษาของตนเองมี ค วามใกล้ เคียงกับอาข่า (อีก้อ) แต่ก็ไม่คิดว่าเป็ น พวกเดียวกัน จากการส�ำรวจทางด้ านภาษาพบว่ามีคน ที่พดู ภาษาอึมปี อ้ ยู่เพียง ๒ หมู่บ้านคือ บ้ า นดง ต� ำ บลสวนเขื่ อน อ� ำเภอเมื อง จังหวัดแพร่ และบ้ านสะเกิน ต�ำบลยอด อ�ำเภอสองแคว จังหวัดน่าน แต่ในแง่ของ ส� ำ นึ ก ทางชาติ พัน ธุ์ นัน้ บ้ า นดงถื อ ว่ า ตนเองเป็ นอึมปี ้ ในขณะที่ บ้านสะเกิ น นิ ย า ม ว่ า ต น เ อ ง เ ป็ น ช า ว “ ก่ อ ” หรื อ “ก้ อ” ภาษาของอึมปี ไ้ ด้ รับการศึกษาอย่างเป็ น ระบบหลังปี พ.ศ.๒๕๑๕ เป็ นต้ นมา งาน ส� ำ คัญ คื อ เมื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพัน ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๗ ได้ เริ่ มท�ำ “พจนานุกรม มปี -ไทยอังกฤษ” หลังจากท�ำวิจยั ทางด้ านภาษา แล้ ว Mr. Jimmy G. Harris ได้ สอนวิธี ถ อ ด เ สี ย ง ม า เ ป็ น ตั ว เ ขี ย น โ ด ย ใ ช้
สัทศาสตร์ ให้ แก่นายศรี นวล ดวงหอม เมื่อสามารถเขียนภาษาของตนได้ คล่อง แล้ ว นายศรี นวลได้ เริ่ มลงมือรวบรวมค�ำ ศั พ ท์ ใ น ภ า ษ า ข อ ง ต น แ ล ะ เ ขี ย น พจนานุกรมขึ ้น (Srinuan Duanghom ๑๙๖๗: ค�ำน�ำ) หมู่บ้านดงตังอยู ้ ่ทางทิศตะวันออกของ อ� ำ เภอเมื อ งแพร่ ไปประมาณ ๑๐ กิโลเมตร การเดินทางใช้ เส้ นทางเดียวกัน กับการไปพระธาตุช่อแฮ เมื่อถึงตลาด ใกล้ กบั พระธาตุชอ่ แฮให้ เลี ้ยวซ้ ายไปตาม ทางประมาณ ๕ กิโลเมตรจะถึงหมูบ่ ้ าน ดง โดยทิศเหนือติดกับบ้ านโป่ งศรี ต�ำบล บ้ านถิ่น เป็ นบ้ านไทลื ้อ ทิศใต้ ตดิ กับบ้ าน หนองแขม ต�ำบลป่ าแดง เป็ นบ้ านคน เมือง ทิศตะวันออกติดกับบ้ านสวนเขื่อน ต�ำบลสวนเขื่อน เป็ นบ้ านคนเมือง และ ทิศตะวันตกติดกับบ้ านหัวฝาย ต�ำบล กาญจนา เป็ นบ้ านคนเมือง (สัมภาษณ์ นายธีรภพ เขื่อนสี่, ๒๕๕๘) โรงเรี ยนบ้ านดงตังขึ ้ ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๖ ที่ บริ เวณวัดดงเหนือ โดยมีพระสงฆ์อึมปี ้ เป็ นผู้ สอน ต่ อ มา พ.ศ.๒๔๙๐ ทาง ราชการให้ แยกโรงเรี ยนออกจากวัด แล้ ว ยกฐานะขึ ้นเป็ นโรงเรี ยนประชาบาลมีชื่อ ๖๓
ว่า โรงเรี ยนบ้ านดง (ธรรมราษฎร์ นสุ รณ์) ปั จจุบนั โรงเรี ยนนี ้ได้ ถกู ยุบไปแล้ ว (มยุรี ถาวรพัฒน์, ๒๕๕๔) ประวัติ ในหนังสือ Mpi Dictionary โดย ศรี นวล ดวงหอม (Srinuan Duanghom) ได้ บนั ทึกไว้ วา่ Mr. Richard Davis อาสา สมั ค รชาวอเมริ กั น ประจ� ำ อ� ำ เภอสา จัง หวัด น่า น ได้ ค้ น พบหมู่บ้ า นมปี โ ดย บังเอิญ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๐ ส่วนประวัติ ความเป็ นมาของคนมปี ไม่มใี ครบันทึกไว้ เป็ นลายลัก ษณ์ อั ก ษรที่ แ น่ น อน Mr. Richard Davis ซึง่ เป็ นผู้ค้นพบหมูบ่ ้ านม ปี ได้ รายงานเรื่ องนี ้แก่ Mr. Jimmy G. Harris ดังนัน้ ในปี พ.ศ.๒๕๑๐ Mr. Jimmy G. Harris และ Mr. Richard Davis จึงได้ เริ่ มออกไปส�ำรวจและเก็ บข้ อมูล ภาษามปี ในวันสุดสัปดาห์ โดยมีนายวิชยั เขื่อนสอง อายุ ๖๑ ปี และภริ ยา นางบัว สี เขื่อนสอง อายุ ๔๔ ปี เป็ นผู้บอกภาษา ต่ อ ม า ป ร ะ ม า ณ เ ดื อ น เ ม ษ า ย น พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๕ นายบุญเรี ยง ดวงหอม เดินทางมาเป็ นผู้บอกภาษาที่ กรุงเทพฯ ส�ำหรับวิชาฝึ กฟั งให้ ผ้ เู ข้ าอบรม สัทศาสตร์ ภาคฤดูร้อน โดยมี Mr. Jimmy G. Harris เป็ นผู้สอน ควบคุมและให้ ค�ำ แนะน�ำ (Srinuan Duanghom ๑๙๗๖: ค�ำน�ำ) ๖๔
ข้ อมู ล เอกลั ก ษณ์ / อั ต ลั ก ษณ์ ที่ โดดเด่ น ชื่อชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : กลุม่ ชาติพนั ธุ์อมึ ปี .้ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ อันโดดเด่น : ภาษาอึ ม ปี ้ การนั บ ถื อ เทวดา และ การไหว้ เทวดา ค�ำขวัญของชุมชน : แดนสองภาษา ดอก หญ้ า ไม้ กวาด หลากหลายวัฒนธรรม อึมปี น้ ี ้น� ้ำใจงาม ข้ อ มู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายธีรภพ เขื่อนสี่ บ้ านเลขที่ ๘๗ หมู่ ๘ ต�ำบลสวนเขื่อน อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร ย� ำ กะแหน่ ก าล่ อ (ย� ำ สมุนไพร) ก� ำปูแป่ (แอ๊ ปชะอม) ตือ ลึ อือ ลู (แกงตัวอ่อนแมลงปอ) ด้ านการแต่ งกาย ผู้ชาย แต่งชุดหม้ อ ห้ อม และผู้หญิง ซิน่ แหล้ เสื ้อหม้ อห้ อม ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ บ้ านใต้ ถุนสูงมุงด้ วยหญ้ าคา มีชานฝา บ้ านสานด้ วยไม้ ไผ่ยกลาย (ลายสอง)
หรื อแมลงมารบกวน ประกอบด้ วยท้ าว ด้ านประเพณี พิธีกรรม ไหว้ เทวดา / การขอฝนอุปโค / สังคหะ เวสสุวรรณ ท้ าววิรุหะ (ท้ าววิรุฬหก) ท้ าว วิ รู ปั กษ์ และคนธรรพ์ (ท้ าวธตรฐ) หมูบ่ ้ าน พระอินทร์ และพระแม่ธรณี ชาวบ้ านถือกันว่าเทวดาเป็ นผู้ค้ มุ ครอง “พิธีฝากข้ าวไว้ กบั ท้ าวทังหก” ้ หรื อที่ใน เชิ ง จิ ต วิ ญ ญาณ และเป็ น ผู้น� ำ ในการ ภาษาอึมปี เ้ รี ยกว่า “กอปูจาเค” ซึ่งคน ประกอบพิธีตา่ ง ๆ และมีศาลของเทวดา ภายนอกมัก เข้ าใจว่ า เป็ น พิ ธี บู ช าแม่ เรี ยกว่า “อะลาเกอ” ตังอยู ้ ่นอกหมู่บ้าน โพสพ แต่อมึ ปี ไ้ ม่ได้ นบั ถือพระแม่โพสพ ใกล้ กบั วัดดงใต้ ถือเป็ นพื ้นทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ทุก แต่อย่างใด ค�ำว่า “กอ” แปลว่า ข้ าว (ข้ าว ปี จะมีการประกอบพิธีกรรมที่อะลาเกอ เปลือก) “ปูจา” มาจากค�ำว่า บูชา และ พิ ธี ก อปูจ าเคจะท� ำ ในวัน พระช่ ว งเข้ า ค�ำว่า “เค” แปลว่าท�ำ พรรษา ช่วงเวลาที่ท�ำก็คือเป็ นช่วงที่ข้าว ก� ำ ลั ง ตั ง้ ท้ อง โดยมากจะปลู ก ไปได้ ประมาณ ๒ เดือนแล้ ว โดยต้ นข้ าวจะสูง ประมาณ ๖๐ เซนติเมตร ช่วงเวลานี ้จะ ตกในราวเดือนสิงหาคม จุดประสงค์ของ การท�ำพิธีกอปูจาเคคือ ต้ องการฝากข้ าว ไว้ กบั ท้ าวทังหกเพื ้ อ่ ให้ ชว่ ยดูแลไม่ให้ สตั ว์ ๖๕
ด้ านภาษา ภาษาอึมปี ้ (Mpi) จัดอยูใ่ นตระกูลภาษา ทิเบโต-เบอร์ มา (Tibeto-Burman) สาย โลโลใต้ (Southern Lolo) กลุม่ ย่อยฮาโน อิช (Hanoish) ซึง่ มีลกั ษณะใกล้ เคียงกับ ภาษาของบีซู (Bisu) และภูน้อย (Phu Noi) เป็ นต้ น ภาษาที่ใกล้ เคียงกับอึมปี น้ ี ้ กระจายอยูใ่ นเขตประเทศจีนตอนใต้ และ ในเขตประเทศลาว ปัจจุบนั ภาษาอึมปี ถ้ อื เป็ นภาษาที่มีคนพูดน้ อยลงไปมากและ อยูใ่ นวิกฤตใกล้ สญ ู ด้ า นอาชี พ ท� ำไม้ กวาด เกษตรกรรม เลี ้ยงสัตว์ ความเชื่อเรื่ องขวัญ อึมปี เ้ ชื่อว่าขวัญมี ๓๒ ประการ ขวัญเรี ยกว่า “ส่าโหล” นาย ธี ร ภพอธิ บ ายว่ า ขวั ญ แตกต่ า งจาก วิญญาณ เพราะวิญญาณตามความเชื่อ ในศาสนาพุทธมีเพียงดวงเดียว แต่ถ้าจะ เรี ยกขวัญว่าเป็ นวิญญาณก็ต้องแสดงว่า คนเรามีวิญญาณ ๓๒ ประการเช่นกัน ชาวบ้ านจะมีความเชื่อเรื่ องขวัญ เช่น ถ้ า เคราะห์ไม่ดี ไม่สบายก็จะมีการเรียกขวัญ หรือถ้ าเด็กเกิดมาแล้ วไม่คอ่ ยสบายก็เป็ น เพราะขวัญไม่ครบ ๓๒ ประการ เป็ นต้ น (สัมภาษณ์ พระครู วิจิตรศิลปาคม และ นายธีรภพ เขื่อนสี่, ๒๕๕๘) ๖๖
ความเชือ่ เรื่องการก�ำเนิดใหม่ อึมปี เ้ ชือ่ ว่า เด็กทุกคนทีเ่ กิดมาคือผีบรรพบุรุษทีล่ งมา เกิดใหม่ โดยเชื่อว่าคนที่เกิดมา เกิดจาก การตายแทนกั น ชาวบ้ านจะท� ำ พิ ธี เสีย่ งทายว่าบรรพบุรุษคนนันคื ้ อใคร ก็ตอ่ เมือ่ เด็กทีเ่ กิดมาใหม่นนแสดงอาการป่ ั้ วย ไม่สบาย ดังนัน้ เพื่อให้ ร้ ู ว่าผีบรรพบุรุษ คนไหนที่ลงมาเกิด ผู้อาวุโสที่เป็ นผู้หญิง จะมีการเชิญผีลงมาสิงที่ก้อนข้ าว โดย เอาเชือกผูกก้ อนข้ าวเอาไว้ ถ้ าก้ อนข้ าว แกว่งตามการถาม ซึง่ จะถามไปเรื่ อย ๆ ว่าผีบรรพบุรุษนันคื ้ อใคร เช่น เป็ นปู่ เป็ น ย่า เป็ นลุง เป็ นต้ น เมื่อทราบว่าเป็ นใคร ผู้หญิงที่ท�ำพิธีจะถามว่าผีบรรพบุรุษนัน้ ต้ องการอะไรบ้ าง เช่น ผ้ าแพร เงิน ทอง เป็ นต้ น ถ้ าผีเลือกอย่างใดอย่างหนึง่ พ่อ แม่เด็กจะรี บไปเอาของจ�ำลอง เช่น ถ้ าผี เอาผ้ าแพรก็จะเอากระดาษตัดมาแล้ ว บอกว่านี่คือผ้ าแพร เป็ นต้ น เมื่อได้ ของ ตามต้ องการแล้ ว ก็ เ ป็ นอั น เสร็ จ พิ ธี นอกจากนี ้ ตามความเชื่ อ ของอึม ปี ้ ผี บรรพบุรุษคนหนึง่ สามารถเกิดเป็ นเด็กกี่ คนก็ได้ เช่น ผีบรรพบุรุษหนึง่ คนสามารถ ลงมาเกิดได้ จ�ำนวน ๕ คน เป็ นต้ น พิ ธี สัง คหะ หรื อ ในภาษาอึม ปี เ้ รี ย กว่า “สังคหะเค” (ค�ำว่า เค แปลว่าท�ำ) เป็ นพิธี
ที่ มี เ ป้า หมายเพื่ อ ส่ง เคราะห์ สะเดาะ เคราะห์ ให้ พ้นจากภัยพิบตั ิต่างๆ ถือว่า เป็ นพิธีกรรมระดับหมูบ่ ้ าน พิธีนี ้จะท�ำกัน ๒ วัน โดยพิธีจะเริ่มหลังจากวันวิสาขบูชา ๗ วัน ซึง่ จะตรงกับวันแรม ๗ ค�่ำ เดือน ๖ (ปกติตรงกับเดือนพฤษภาคม) ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น การร้ องเพลง และการละเล่น การเดินทาง รถยนต์ ส่วนตัว เดินทางผ่านถนนหลวง หมายเลข ๑๐๑ และต่อด้ วยแยกร่องฟอง เลี ย้ วขวา เดิ น ทางผ่ า นถนนทุ่ ง โฮ้ งป่ าแดง รถไฟ ลงที่สถานีเด่นชัย และต่อด้ วยรถ บัส สายเด่ น ชัย เลี ย้ วขวา เดิ น ทางไป จังหวัดแพร่ รถประจ�ำทาง ลงที่สถานีขนส่งจังหวัด แพร่ และต่อด้ วยรถสองแถวเข้ าหมูบ่ ้ าน. สถานทีส่ �ำคัญภายในชุมชน แหล่งประวัตศิ าสตร์ จ�ำนวน ๒ แห่ง ได้ แก่ วัดบ้ านดงใต้ และวัดบ้ านดงเหนือ สถานที่ ที่เป็ นเอกลักษณ์ ของชุมชน จ�ำนวน ๒ แห่ง วัดและศาลาเทวดา สถานทีช่ มทิวทัศน์ ของชุมชน จ�ำนวน ๑ แห่ง สระเก็บน� ้ำอ่างบ้ านดง
อื่น ๆ จ�ำนวน ๔ แห่ง ๑. พระธาตุอินทร์ แขวน ๒. น� ้ำตกแม่แคม ๓. สะพานไม้ ไผ่ บ้ านนา ๔. ถ� ้ำผาสิงห์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในชุมชน สถานที่ พั ก โรงแรม จ� ำ นวน ๑ แห่ ง พระจันทร์ เคียงดาว เส้ นทางภายในชุ มชน วัดดงใต้ -ศาล เทวดา-บ้ านเศรษฐกิจพอเพียงสมุนไพรบ้ านหัตถกรรมไม้ กวาด และวัดดงเหนือกราบหลวงปู่ สีระน� ้ำบ้ านดง เส้ นทางจักรยาน วัดดงใต้ -วัดดงเหนือบ้ านหัตถกรรมไม้ กวาด. เส้ นทางเดินเท้ า วัดดงใต้ -ศาลเทวดา ดงเหนือ โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ ต�ำบล สวนเขื่อน สถานี ต�ำรวจ ป้ อมต�ำรวจและป้ อม ยามชุมชน สภ.สวนเขื่อน ๖๗
สถานที่ท่องเที่ยว
ต.เหมืองหมอ - ต.บานถิ่น
เทศบาลตําบล สวนเขือน
วัดดงเหนือ
รานกาแฟ
จุดเรียนรูสวนครัว
หัตถกรรม ชุมชน
หัตถกรรม ชุมชน
วัดดงใต
ณาปนสถาน
เรียนรูประวัติศาสตร
ลานอเนกประสงค
รานคาประชารัฐ
ตลาดสดเชา
อาหารตามสั่ง
ศาลาอเนกประสงค
โรงเรียน
ต.ปาแดด - ชอแฮ
จังหวัดแพร่
ฮึอึมปี้ ศาลเทวดา
๘
กลุ่มชาติพันธุ์ จังหวัดน่าน
๖๙
ชาติพันธุ์ ขมุ ชาติ พั น ธุ์ ขมุ เป็ นชาติ พั น ธุ์ เ ก่ า แก่ กลุม่ ชาติพนั ธุ์หนึง่ ของภูมภิ าคอุษาคเนย์ และอาจจะเป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ที่อาศัยอยู่ บนผืนแผ่นดินใหญ่มาก่อนกลุม่ อืน่ ๆ เช่น ก่ อ นที่ ก ลุ่ ม คนในตระกู ล ไทย-ลาว จะเคลื่อนย้ ายเข้ ามาและอาจจะมีส่วน เป็ น เจ้ า ของวัฒ นธรรมการถลุง เหล็ ก และการสลักหินยุคแรก ๆ ด้ วย และขมุ ถือว่าเป็ นชาติพนั ธุ์กลุ่มย่อยของชาวข่า ชาวข่าฮัด ชาวข่าฮอก ชาวข่าเม็ด ชาวข่า หมุ (ขมุ) ๗๐
ขมุ แปลว่ า “คน” เป็ นค�ำที่ชาวขมุใช้ เรียกตัวเองว่า “ขมุ” บางทีกเ็ รียกว่า “ ข่า” ในประเทศลาวเป็ นแหล่งใหญ่ท่ีมีชาวขมุ จะเรี ยกชาวขมุวา่ “ลาวเทิง” หรื อลาวบน ที่สงู ในประเทศไทย ชาวขมุเข้ ามานาน พอสมควร อาศัยอยูใ่ นจังหวัดน่าน และ บริ เวณชายแดนจังหวัดเชี ยงราย โดย กระจายอยูใ่ นจังหวัดภาคกลาง อาทิเช่น จัง หวัด สุพ รรณบุรี จัง หวัด กาญจนบุรี และจังหวัดอุทยั ธานี เป็ นต้ น ชาวขมุ แบ่ง ออกได้ เป็ นหลายกลุม่ ตามลักษณะการ ใช้ ภาษาและวัฒนธรรม ความเป็ นอยู่ ค�ำที่ชาวขมุใช้ เรี ยกพวกกันเองแต่ต่าง กลุ่ม คื อ “ตม้ อ ย” โดยจะใช้ ลัก ษณะ
เฉพาะของกลุ่มนัน้ ๆ ต่อท้ าย อาทิเช่น ตม้ อยปูลวง (ชาวขมุจากหมู่บ้านที่อยู่ เดิม) ตม้ อยดอย(ชาวขมุจากเขตภูเขา) ตม้ อยลื ้อ (ชาวขมุที่อยู่ในกลุ่มพวกลื ้อ) เป็ นต้ น ดังนัน้ ขมุเป็ นชาติพนั ธุ์ทมี่ คี วาม ส�ำคัญอย่างยิง่ ทังในฐานะของความเป็ ้ น ชนชาติของขมุเองและในฐานะที่เป็ นก ลุ่มที่คงความเป็ นวัฒนธรรม ประเพณี แ ล ะ ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ มี ค ว า ม เ ป็ น ประวัตศิ าสตร์ อยูอ่ ย่างเด่นชัด คือ ความ เป็ นมนุษย์ ที่ยังเคารพผู้อาวุโส ถื อเป็ น แหล่ง ของประสบการณ์ ความรู้ และ ความสามารถ รวมทังมี ้ ความอ่อนน้ อม ถ่อมตน ที่ไม่ได้ คดิ ว่ามนุษย์ยิ่งใหญ่ หรื อ มีอ�ำนาจเหนือกว่าธรรมชาติ ตลอดจนมี แนวคิดที่วา่ สิง่ มีชีวติ อืน่ ที่อยูร่ ่วมกัน ต้ อง มี ค วามรั ก เอื อ้ อาทร ต้ อ งมี ค วามช่ ว ย เหลือกัน ต้ องแบ่งปั นกัน และไม่เคยลืม อดีตของความเป็ นชาติพนั ธุ์ตนเอง ดังจะ เห็นได้ จากพิธีกรรมความเชื่อต่าง ๆ
ข้ อมูลเอกลักษณ์ / อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม - ชือ่ ชุมชนท่องเทีย่ ววัฒนธรรมวัฒนธรรม ไทย : ชุมชนแดน - เอกลัก ษณ์ / อัต ลัก ษณ์ อัน โดดเด่ น และมี ค วามแตกต่ า งจากชุ ม ชนอื่ น : ภาษา, การแต่งกาย - ชาติพนั ธุ์ ขมุ, ลื ้อ, ถิ่น ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายประสาน เสารงทอย บ้ านเลขที่ ๔๙ หมู่ ๘ ต� ำ บลชนแคน อ� ำ เภอสองแคว จังหวัดน่าน มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียด ดังนี ้ ด้ านอาหาร แกงแค (ขมุ) มีวิธีการท�ำ เหมือนต้ มย�ำไก่น� ้ำใส ใส่ผกั กาดดอง โรย ๗๑
ด้ วยใบโหระพา และพริ กแห้ งคัว่ ข้ างบนทอเป็ นลวดลายประดับ กระดุม ต�ำหวาย แกงยอดต๋าว หลามบอน หลาม เปลือกหอย ห้ อยเหรี ยญเงิน ใส่เสื ้อสีด�ำ ปู แอ๊ บใบผักเขียว ต�ำมะมื่น สันเหนื ้ อเอว แขนยาว มีแถบสีแดงริ มคอ เสือ้ นุ่งผ้ าซิ่นลายสีต่างๆ ผู้หญิ งนิ ยม ด้ านภาษา เจาะรูหู ใส่ลานเงินหรื อตุ้มหู เอายางไม้ ภาษาขมุหรื อภาษาก� ำมุ (Khmu) เป็ น ย้ อมฟั นสีด�ำ ใส่ก�ำไลเงินที่แขน สักดอก ภาษาตระกูล ออสโตรเอเชี ย ติ ก กลุ่ม จันทร์ ไว้ ทหี่ ลังมือแ ต่ปัจจุบนั ไม่ นิยมแล้ ว มอญ-เขมร ภาษาขมุที่ใช้ ในชุมชน อาทิ ผู้ชาย เดิมไว้ ผมยาว เกล้ ามวยมีผ้าโพก เช่น ขมุเป ขมุอลั ขมุอ�ำ เป็ นต้ น ศี ร ษะ ปั จ จุ บัน ตัด ผมสัน้ นุ่ ง กางเกง ด้ านประเพณีและพิธีกรรม ขายาว เสื ้อกุยเฮงผ่าอกสีด�ำ เน้นพิธีกรรมทีส่ �ำคัญของชาวขมุจะใช้ใน ด้ านที่อยู่อาศัย การรักษาความเจ็บป่ วย บ้ านสร้ างด้ วยไม้ ไผ่ ยกเว้ นเสาและขื่อ - พิ ธี เ ลี ย้ งผี ด้ ว ยไก่ แ ละหมู (ซู้ ฮ เอี ย้ ร รองรับหลังคาใช้ ไม้ แผ่นประกอบ หลังคา ซู้เซื ้อง) ใช้ ใบจาก ฝาบ้ านใช้ แฝก ปั จจุบนั บ้ านที่ - พิธีการการฆ่าควาย (ซังพ้ านตร้ าก) เพือ่ ฐานะดีจะเปลี่ยนจากไม้ ไผ่เป็ นไม้ แผ่น รักษาผู้ป่วยหนัก ใต้ ถนุ บ้ านจะเป็ นที่เก็บฟื นและสัตว์เลี ้ยง - พิธีผกู ข้ อมือ (ตุ๊กติ ้) เรี ยกขวัญ เช่น ไก่ หมู เป็ นต้ น บริ เวณจันทัน ใช้ เป็ น ด้ านการแต่ งกาย ที่เก็บของเช่น ตะกร้ า อาหารแห้ ง กับดัก ผู้หญิง ไว้ ผมมวยเกล้ าไว้ ข้างหลัง มีแผ่น สัตว์ เมล็ดพันธ์พืชและสิง่ มีคา่ อื่น ๆ ผ้ าพันรอบกรวยใหญ่ เอาปลายผ้ าปิ ด ๗๒
นํ้ารอนโปงก็
ส
วองแค
เชีย
จุดผอนปรน การแลกเปลี่ยนสินคา ไทย-ลาว
ที่ทําการกํานัน
ขมุ ํ้ายาว
แมน
จังหวัดนาน
สนามกีฬา เครื่อหมูงกรองนํ บาน ้า
ศูนยสงเสริมสุขภาพ
ธนาคารประจําหมูบาน
จุดชมวิว
หองประชุม
ว) น(ลา
งฮอ
โรงเรียนบรรณโศภิษฐ
สถานที่ท่องเที่ยว
ชาติพันธุ์ ไทพวน
๗๔
ตามประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยเรานันมี ้ ถิ่นฐานเดิมอยู่ ในตอนใต้ ข องประเทศจี น แล้ วได้ ถ อยร่ น ลงมาเป็ น ล�ำดับตามเหตุการณ์ตา่ ง ๆ จนกระทัง่ ได้ มาตังอยู ้ ่ ณ ที่ ปั จจุบันนี ้ ถิ่ นฐานเดิมของชาวไทยพวน กล่าวไว้ ใน หนังสืออักขรานุกรมภูมศิ าสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๑ หน้ า ๒๙๕ ซึง่ นายถวิล เกษรราช น�ำมาลงไว้ ใน หนังสือประวัติผ้ ูไทยตอนหนึ่งมีข้อความว่า “ชนชาติ ต่าง ๆ ทีอ่ าศัยอยูใ่ นประเทศไทยปัจจุบนั นี ้นอกจากชาว ไทยแล้ ว ยั ง มี ค นไทยสาขาอื่ น ๆ อี ก หลายสาขา เช่น ผู้ไทย พวน และโซ่ง ซึง่ เป็ นคนไทยสาขาหนึง่ เดิม ผู้ไ ทย พวน และโซ่ง มี ถิ่ น ฐานอยู่ท างฝั่ ง แม่ น� ำ้ โขง ในประเทศลาว ทางแขวงซ�ำเหนือ และแขวงเซียงขวาง พวกผู้ไทยมีอยู่ทางอีสาน อาทิเช่น จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม เป็ นต้ น ส่วนพวกพวนและพวกโซ่ง มีอยูก่ ระจัดกระจายเป็ นแห่ง ๆ ทางภาคกลาง อาทิเช่น จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย จั ง หวั ด ลพบุ รี จั ง หวั ด สระบุ รี จังหวัดราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี
เป็ นต้ น ไทยทัง้ ๓ พวกนี ้มีลกั ษณะทาง ภาษาใกล้ เคียงกันมาก แทบจะกล่าวได้ อย่า งกว้ า ง ๆ ว่า เป็ น ภาษาไทยสาขา เดียวกัน แม้ ชาวไทยพวนเอง เรี ยกพวก บ้ านเดียวกันหรื อต่างบ้ าน ก็จะมีค�ำว่า “ไทย” ก�ำกับด้ วยเสมอ คล้ ายกับประเทศ พวกตนเองว่าเป็ นคนไทยเช่น ไทยบ้ าน เหนื อ ไทยบ้ านกลาง ไทยบ้ านใต้ ไทยบ้ านหาดสูง ไทยบ้ านใหม่ ไทยบ้ าน แม่ ร าก และเรี ย กคนต่ า งถิ่ น ว่ า เป็ น คนไทยด้ วย เช่ น ถ้ าพบคนต่ า งถิ่ น เมื่ อ ต้ อ งการทราบว่า เป็ น คนบ้ า นไหน ก็จะถามว่าท่านเป็ นคนบ้ านไหน (ภาษา ไทยพวนว่า เจ้ าเป็ นไทยบ้ านเลอ) ดังนัน้ จึงเข้ าใจว่าชาวไทยพวนคงจะมีถิ่นฐาน รวมอยู่ ณ ที่แห่งเดียวกันด้ วย
ซึง่ เลิกใช้ แล้ วแต่ก็ต้องผิดหวังเพราะไม่มี ค�ำว่าพวน ซึง่ ให้ ความหมายเป็ นชื่อเรี ยก คนเลย มีแต่ เชือกเกลียว, แนว, รวงข้ าว ที่ น วดแล้ ว หรื อ อ้ อ ยซึ่ ง หี บ ครั ง้ ที่ ส อง เมื่อความหมายไม่ตรงกับที่ผ้ เู รี ยบเรี ยง ต้ องการ ดังนันจึ ้ งได้ มกี ารค้ นคว้ าต่อจาก การศึกษาทัว่ ไป ไม่วา่ จะเป็ นกาสอบถาม หรื อ การค้ น คว้ าจึ ง ได้ ค วามหมายว่ า ค�ำว่า “พวน” เป็ นชื่อของคนไทยสาขา ห นึ่ ง ซึ่ ง ท า ง ภ า ค อี ส า น เ รี ย ก ว่ า “ไทยพวน” แต่ท างภาคกลางเรี ย กว่า “ลาวพวน”
“พวน” ซึง่ เป็ นค�ำเรี ยกชื่อชาวไทยสาขา หนึง่ มีถิ่นฐานอยูท่ ี่เมืองพวน แขวงเมือง เชียงขวาง ในประเทศลาว มีความหมาย ว่ากระไร เหตุไ รจึง เรี ยกชื่ อว่า “พวน” การค้ นคว้ าได้ ตงค� ั ้ ำถามที่จะค้ นคว้ าไว้ คือ “พวน , คนพวน , ชาวพวน, ไทยพวน, ลาวพวน“ หนังสือทีจ่ ะค้ นคือพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณ ฑิ ต ยสถาน อัข รานุก รม ภูมศิ าสตร์ ปทานุกรม กระทรวงธรรมการ
- ชือ่ ชุมชนท่องเทีย่ ววัฒนธรรมวัฒนธรรม ไทย : ชาติพนั ธุ์ไทพวนบ้ านฝายมูล - เอกลักษณ์/ อัตลักษณ์อนั โดดเด่นและ มี ความแตกต่างจากชุมชนอื่ น:ภาษา, ประเพณี - ชาติพันธุ์ ไทยพวน (๙๘%), ไทยวน (๒%)
ข้ อ มู ล เ อ ก ลั ก ษ ณ์ / อั ต ลั ก ษ ณ์ ที่ โ ด ด เ ด่ น ข อ ง ชุ ม ช น ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วัฒนธรรม
๗๕
“
งเหมืองมหัศจรรย์ “ ป่แหล่าเบญจพรรณเขี ยวขจี
ประเพณีด�ำน�้ำ มีดพร้าคมกล้า ภาษาไทยพวน
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายสมศักดิ์ จินปั ณ (ผู้ใหญ่บ้านป่ าคา) บ้ านเลขที่ ๒๑ หมู่ ๑ ต�ำบลป่ าคา อ�ำเภอ ท่าวังผา จังหวัดน่าน มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร - โซะจาน (ต�ำหน่อไม้ ดอง) แบ่งออกเป็ น โซะจานม่อ จะเป็ นหน่อไม้ ดอง ๒ วัน และ โซะจานเค็ม เป็ นหน่อไม้ ดองด้ วยเกลือ - เจียวมะแขว่น (น� ้ำพริ กมะแขว่น) ฝอปา โท (คล้ ายแกงแค) ขนมเกีย หนาบสะลี ข้ าวปุน้ ๗๖
ด้ านการแต่ งกาย ในอดีตผู้หญิง ใช้ ผ้า คาดอกแทนการสวมเสือ้ นุ่งซิ่นตีนจก หรื อ สีพืน้ แทรกลายขวาง บางท้ องถิ่น นิยมนุง่ ซิน่ มัดหมี่ ผู้ชายนุ่งกางเกงขาก๊ วยสีด�ำใส่เสื ้อสีด�ำ และผ้ านุ่งจูงกระเบน ผ้ าขาวม้ าพาดบ่า หรื อคาดเอว ผู้หญิงนุง่ ผ้ าซิน่ ผ้ าขาวม้ ารัดนม เรี ยกว่า แห้ งตู้
ทังชายหญิ ้ งไม่สวมเสื ้อ แต่เวลาไปไร่นา ต้ องสวมเสื ้อสีด�ำ หรื อสีคราม หญิงสวม เสื ้อรัดตัวแขนยาวถึงข้ อมือกระดุมเสื ้อใช้ เงิ น กลมติ ด เรี ย งลงมาตัง้ แต่ค อถึง เอว เด็กผู้ชายก็จะใส่ก�ำไลเท้ าเด็กผู้หญิงใส่ ทังก� ้ ำไลมือก�ำไลเท้ า ปั จจุบนั ผู้หญิงนิยม สวมเสื ้อตามสมัยนิยม ส่วนคนสูงอายุ มัก สวมเสื อ้ คอกระเช้ า ผู้ช ายยัง แต่ ง เหมื อ นเดิ ม ยั ง มี บ างท้ องถิ่ น แต่ ง แบบไทย-ลาว ด้ านที่อยู่อาศัย เป็ นเรื อนสูง นิยมปลูก เป็ น เรื อ นที่ มี ห้ อ งตัง้ แต่ ๓ ห้ อ งขึ น้ ไป ใต้ ถุนเรื อนใช้ ท�ำประโยชน์ หลายอย่าง เช่ น ท� ำ คอกวัว -ควาย เล้ า เป็ ด เล้ า ไก่ ตังเครื ้ ่ องส�ำหรับผูกหูกทอผ้ า หลังคาทรง มะนิ ล า ไม้ เ ครื่ อ งบนผูก มัด ด้ ว ยหวาย แทนการตอกตะปู แต่ถ้าเป็ นบ้ านเจ้ านาย หรื อผู้มีฐานะดีและวัดจะใช้ ตะปูซึ่งท�ำ ขึน้ เอง และหลังคามุงด้ วยหญ้ าคา ถ้ า เป็ นบ้ านผู้มีฐานะดีมงุ ด้ วยกระเบื ้องไม้ เรี ยกว่าไม้ แป้นเก็ด หรื อกระ เบื ้องดินเผา พื ้นและฝาเรือนปูด้วยกระดาน ไม้ ไผ่สสี กุ สับแผ่ออกเป็ นแผ่นๆ เรี ยกว่า ฟาก แล้ วมีเสือ่ สานด้ วยหวายทับอีกชันหนึ ้ ง่ มีห้องครัว อยู่บนเรื อน มีชานยื่นออกมาจากตัวเรื อน และมีบนั ไดขึ ้นลงพาดที่นอกชานด้ าน ทิศเหนือ ส่วนเสาเรื อนนันอาจใช้ ้ ไม้ ทงต้ ั ้ นหรื อใช้ อิฐก่อเป็ นเสาขนาดใหญ่ ๗๗
ด้ านประเพณี พิธีกรรม ประเพณีกำ� ฟ้ า เป็ นการสักการะบูชาฟ้า ซึง่ จะถือเอาวันขึ ้น ๓ ค�่ำเดือน ๓ เป็ นวัน ก�ำฟ้า ก่อนวันก�ำฟ้า ๑ วัน คือวันขึ ้น ๒ ค�ำ่ เดือน ๓ จะถือเป็ นวันสุกดิบแต่ละบ้ าน จะท� ำ ข้ า วปุ้น หรื อ ขนมจี น พร้ อมทัง้ น� ้ำยา และน� ้ำพริ กไว้ เลี ้ยงดูกนั มีการท�ำ ข้ าวหลามเผาไว้ ในกระบอกข้ าวหลาม อ่อน มีการท�ำข้ าวจี่ ข้ าวจี่จะน�ำไปเซ่น ไหว้ ผฟี า้ และแบ่งกันกินในหมูญ ่ าติพนี่ ้ อง พอถึงวันก�ำฟ้าทุกคนในบ้ านจะไปท�ำบุญ ที่วดั มีการใส่บาตรด้ วยข้ าวหลาม ข้ าวจี่ ตกตอนบ่ า ยจะมี ก ารละเล่ น ไปจนถึ ง กลางคืน การละเล่นที่ นิยมได้ แก่ ช่วง ชัย มอญซ่อนผ้ า นางด้ ง ฯลฯ ๗๘
ประเพณีใส่ กระจาด เป็ นประเพณีอย่าง หนึง่ ของชาวไทพวน ตรงกับฤดูเทศกาล ออกพรรษา คือระยะเดือน ๑๑ ข้ างแรม การใส่กระจาดเริ่ มต้ นเมื่อมีการประกวด ก�ำหนดงานบุญมหาชาติแต่ละหมู่บ้าน จะก�ำหนดท�ำบุญไม่ตรงกัน หากหมูบ่ ้ าน ใดมีการก�ำหนดท�ำบุญก่อน แต่ละบ้ านก็ จะท�ำขนมจีนและข้ าวต้ มมัด นอกจากนี ้ ยังมีผลไม้ ตา่ ง ๆ เช่น กล้ วย อ้ อย ส้ ม ฯลฯ ไปให้ กบั หมูบ่ ้ านที่มีงาน การท�ำบุญร่วม กันนี ้อาจใช้ เงินหรื อผลไม้ ที่น�ำมาร่วมกัน สมทบท�ำบุญ และการท�ำบุญนี ้เองเรี ยก ว่า “การใส่กระจาด” ประเพณีลงข่ วง เป็ นประเพณีของไทย พวนอย่างหนึง่ “ข่วง” หมายถึงบริ เวณที่ โล่งแจ้ งซึง่ กว้ างพอสมควร เพือ่ จะท�ำงาน “การลงข่วง” หมายถึงการนัดหมายเพือ่ น
บ้ านออกมาท�ำงานพร้ อมกันและเป็ นการ นัด พบของคนหนุ่ม ใกล้ เ คี ย งกัน เช่ น ล้ องบ้ านด้ าน ล้ องบ้ านชั่ ว เป็ นต้ น ประเพณีลงช่วงมีจดุ มุง่ หมายส�ำคัญอยูท่ ่ี การได้ พบปะพูดคุยกันของคนหนุ่มสาว เพราะประเพณี ส มัย โบราณหนุ่ม สาว มีโอกาสพบกันมาก งานที่น�ำมาท�ำขณะ ลงบ่ ว งนั น้ ส่ ว นใหญ่ เป็ นประเภท เบ็ดเตล็ด เช่น การทอผ้ า ปั่นด้ าย กะเทาะ เปลือกถัว่ ลิสง (เตรี ยมไว้ ปลูก) การซ้ อม ข้ าว ฯลฯ และส่วนมากเป็ นงานพื ้นบ้ าน ประเพณีกำ� เกียง เป็ นประเพณีทก่ี ระท�ำ กันในวันขึ ้น ๑๑ ค�ำ ่ เดือน ๙ เป็ นประเพณี ทีท่ ำ� ขึ ้นเพือ่ เป็ นการท�ำบุญอุทศิ ส่วนกุศล ให้ กบั ผีทอี่ ดอยาก เพือ่ จะได้ ไม่มารบกวน คนในหมูบ่ ้ าน
ประเพณี ทานข้ าวสะ ประเพณี เดือน ๑๐ เรี ยกว่า “ การทานข้ าวสะ” ปั จจุบนั นีเ้ ป็ นประเพณี ที่ไม่นิยมปฏิบัติกันแล้ ว การทานข้ าวสะนันเดิ ้ มใช้ ปฏิบตั กิ นั เนือ่ ง มาจากความเชื่อว่า เป็ นการอ้ อนวอนขอ ความอุดมสมบูรณ์ในการเกษตรกรรม ด้ านภาษา ช า ว ไ ท ย พ ว น จ ะ มี ภ า ษ า พู ด เ ป็ น เอกลักษณ์ ของตนเอง ซึ่งมีความคล้ าย เสียงภาษาถิ่นเหนือ โดยอาศัยหลักการ ผั น เสี ย งให้ กลายเป็ นสระเออ และ สระเอีย เช่น ไปไหน จะเป็ น ไปก๋อ, ท�ำยัง ไง เป็ น เอ๋ดกะเหลอ, ไปกับใคร จะเป็ น ไปกับเผอ เป็ นต้ น ๗๙
ด้ านความเชื่อ ชาวพวนมี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งผี จะมี ศ าล ประจ� ำหมู่บ้านเรี ยกว่า ศาลตาปู่ หรื อ ศาลเจ้ าปู่ บ้ า น รวมทัง้ การละเล่ น ใน เทศกาลก็ จะมี การเล่นผี นางด้ ง ผี นาง กวัก ประเพณีที่เป็ นเอกลักษณ์ของชาว พวนคือ ประเพณีใส่กระจาด ประเพณีก�ำ ฟ้ า ซึ่ ง เป็ นประเพณี ที่ แ สดงถึ ง การ สักการะฟ้า เพือ่ ให้ ผีฟา้ หรื อเทวดาพอใจ เพื่อไม่ให้ เกิดภัยพิบตั ิ
ท�ำเป็ นลายมุกพิกลุ และมุกบัวลอย ลาย ยกดอกไทยพวน และลายพื น้ เมื อ ง ปั จจุบนั มีคนทอผ้ าในชุมชน ประมาณ ๕๐ คน “เลี ้ยงขึ ้น เลี ้ยงลง”
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น - เครื่ องดนตรี พื ้นเมือง เช่น สะล้ อ, ซอ, ซึง, ปวน, จ้ อย - การฟ้อนแว้ น, การฟ้อนไทยพวน - การละเล่น เตย, ลับสี (ซ่อนแอบ), มอญ ซ่อนผ้ า, วัดโด (กระโดหนังยาง) - หัตถกรรม,จิตรกรรม มีการวาดภาพ ด้ านอาชีพ - ตีเหล็ก เป็ นอาชีพหลักของผู้ชาย ตีเหล็ก เรื่ อ งราวความเป็ น มาและวิ ถี ชี วิ ต บน เพื่ อ ท� ำ เป็ นมี ด และเครื่ อ งมื อ ส� ำ หรั บ ก�ำแพง ท�ำการเกษตร - ทอผ้ าเป็ นอาชีพของผู้หญิง ใช้ สายทุ่ง ๘๐
สายลมหวน และ โคโคนันรี สอร์ ท - สถานที่พกั กางเต็นท์ จ�ำนวน ๒ แห่ง ได้ แก่ มอนดาวบนดิน มีห้องน� ้ำ ๖ ห้ อง รับรองได้ ๔๐ คน และ โรงเรี ยนฝายมูล ลานฟุตบอล มีห้องน� ้ำพร้ อม รับรองได้ ๕๐ คน ๒. ร้ านอาหาร - ร้ านอาหารพื ้นบ้ านจ�ำนวน ๓ แห่งได้ แก่ ร้ านริมริน, ร้ านซุ้มหมูล้อมเกาะ, ร้ านสาน ตะกร้ า - ร้ านอาหารทัว่ ไปจ� ำนวน ๒ แห่งร้ าน ก๋วยเตี๋ยวค�ำนวณ, ร้ านก๋วยเตี๋ยวไล่ที่, ร้ านขนมจีนแม่หล้ า, ร้ านอาหารตามสัง่ กาญจนา - ร้ านเครื่ องดื่ ม ได้ แก่ ร้ านริ ม ริ น , ร้ านบัวผัน
ข้ อมูลการเดินทาง - การเดินทางรถยนต์สว่ นตัวเดินทางผ่าน ถนนน่าน-ทุ่งช้ าง กม.ที่ ๔๐ อยู่ซ้ายมือ มี จุ ด สัง เกตคื อ มื อ พร้ าใหญ่ อ ยู่ ก่ อ น ทางเข้ าหมูบ่ ้ าน - รถประจ� ำ ทางสายน่ า น-ทุ่ง ช้ า งจาก ขนส่งน่านไปทุง่ ช้ าง กม.ที่ ๔๐ - เครื่ องบินลงที่สนามบินน่านนคร และ ๓. ร้ านจ�ำหน่ายของที่ระลึก ต่ อ ด้ ว ยรถแท็ ก ซี่ ไ ปสถานี ข นส่ ง จาก ร้ านจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ทางวัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ขนส่งไปทุง่ ช้ าง กม.ที่ ๔๐ ผลิตภัณฑ์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในชุมชน - ประเภทเสือ้ ผ้ าจ� ำนวน ๓ แห่งได้ แก่ ๑. สถานที่พกั กลุ่มทอผ้ าลายดอกไทยพวนและกลุ่ม - โฮมสเตย์ จ�ำนวน ๑๐ แห่ง กระจาย ทอผ้ าพื ้นเมือง อยูท่ วั่ หมูบ่ ้ านทัง้ ๖ หมวด รวมประมาณ - ประเภทหัตกรรม ได้ แก่ กลุ่มตีเหล็ก, ๒๕ ห้ อง รับรองได้ ประมาณ ๕๐ คน กลุม่ จักสาน,กลุม่ ท�ำไม้ กวาด - โรงแรม จ�ำนวน ๒ แห่ง ได้ แก่ ม่อน๘๑
ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นเอกลักษณ์/ อัตลักษณ์ ความโดดเด่นทางวัฒนธรรม : ตีเหล็ก และทอผ้ า ๔. เส้ นทางคมนาคมและสาธารณูปโภค ภายในชุมชน เส้นทางภายในชุมชน ได้ แก่ เส้ นน่าน ทุง่ ช้ าง เส้ นวรนครสายเก่า และเส้ นเทิดพระเกียรติ เส้ นทางจักรยาน (ปัจจุบนั ยังไม่มเี ส้ นทาง รถจัก รยานแต่ เ ตรี ย มความพร้ อม ๒ เส้ นทาง ได้ แก่ เส้ นล�ำเหมืองมหัศจรรย์ และเส้ นพระธาตุศรี บรรณา เส้ นทางเดินเท้ า ได้ แก่ เส้ นทางล�ำเหมือง มหัศจรรย์และเส้ นทางพระศรี บรรพต ป้ า ยบอกทางป้ า ยบอกรายละเอี ย ด ต่าง ๆ ภายในชุมชน ได้ แก่ ป้ายช่วงเจ้ า หลวง ป้ายศูนย์เรี ยนรู้ประวัติชมุ ชนที่ล�ำ เหมืองมหัศจรรย์ ป่ าชุมชนและพระศรี บรรพต กลุ่ม ตี เ หล็ ก ตลาดประชารั ฐ วัดฝายมูล ๕. สถานที่ อ� ำ นวยความสะดวกด้ า น ความปลอดภัย ได้ แก่ โรงพยาบาลส่ง เสริ ม สุ ข ภาพต� ำ บลป่ าคา ห่ า งจาก หมูบ่ ้ าน ๑ กิโลเมตร สถานพยาบาลป่ า คา โรงพยาบาลท่ า วัง ผา และสถานี ต�ำรวจป้อมต�ำรวจและป้อมยามชุมชน ท่าวังผา ๘๒
การบริ หารจัดการภายในชุมชนที่ได้ รั บการคัดเลือกเป็ นชุมชนท่ องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม คณะกรรมการชุมชน เพือ่ การด�ำเนินงาน ต่างๆ ภายในชุมชน มีจ�ำนวน ๒๐ คน - ประธานคณะกรรมการชุมชน ขื่อ นาย ประสาน เสารางทอย (ก� ำ นัน ต� ำ บล ชนแดน) การรวมกลุม่ การด�ำเนินงานต่างๆภายใน ชุมชนเช่นสหกรณ์กลุม่ หัตถกรรมเป็ นต้ น - กลุม่ ทอผ้ า มีสมาชิกจ�ำนวน ๕๐ คน - กลุม่ ตีเหล็ก มีสมาชิกจ�ำนวน ๙๕ คน - กลุม่ จักสานมีจ�ำนวนสมาชิก ๑๒ คน
ผู้น�ำชมภายในชุมชน ผู้น�ำชมภายในชุมชนจ�ำนวน ๒ คน - นายสมศักดิ์ จินปั ณ พูดได้ ๔ ภาษา ได้ แก่ ไทยพวน ไทยกลาง ไทยล้ านนา และไทยลื ้อ - นางปิ ยะมาศ อารี รักษ์ พูดได้ ๔ ภาษา ได้ แก่ ไทยพวน ไทยกลาง ไทยล้ านนา และไทยลื ้อ ข้ อส�ำคัญที่ควรและไม่ ควรปฏิบัติใน ชุมชน ข้ อควรปฏิบตั ภิ ายในชุมชนและข้ อปฏิบตั ิ ที่เกี่ยวข้ องกับชาติพนั ธุ์หรื อท้ องถิ่น เพื่อ ให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ปฏิบตั ติ าม -ต้ องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของชุมชน -เวลาเดินเข้ า-ออก ให้ ไหว้ เจ้ าหลวงชมภู
ข้ อห้ ามปฏิ บั ติ ภ ายในชุ ม ชนและข้ อ ปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ องกับชาติพนั ธุ์หรื อท้ อง ถิ่น เพื่อให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ปฏิบตั ติ าม - ผู้หญิงห้ ามแต่งกายวาบหวิว ใส่ชดุ สัน้ เกาะอก และสายเดี่ยว - ห้ ามตัดต้ นไม้ ล่าสัตว์ในเขตป่ าชุมชน โดยเด็ดขาด หรื อ เก็บเห็ด หาของป่ า - ห้ ามจับปลาในเหมืองมหัศจรรย์
๘๓
ความต้ องการของชุ ม ชนในการ พั ฒ นาเป็ นแหล่ งท่ องเที่ ยวเชิ ง วัฒนธรรม ปั จจุบนั มีการพัฒนาแหล่งเรี ยนรู้หรื อจุด ส�ำคัญในชุมชน ทีต่ ้ องการพัฒนาเป็ น จุด ท�ำป้าย จุดเช็คอิน ได้ แก่ วัดฝายมูล , ข่วงเจ้ าหลวง, ลานวัฒนธรรม, กลุม่ ทอ ผ้ า, กลุ่มตีเหล็ก, ป่ าชุดชน, วัดพระศรี บรรพต, ลานเหมืองมหัศจรรย์, จุดปั่ น จักรยานน�ำชมวิวแม่น� ้ำข่วง, ทุง่ นาที่เป็ น จุดปั่ นจักรยานและเดินเท้ า
๘๔
วิสัยทัศน์ ของชุ มชนในการส่ งเสริ ม การท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็ นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผสม กับเชิงนิเวศโดยเป็ นกระบวนการมีส่วน ร่ วมของคนในชุมชนและจัดสรรรายของ กลุม่ และเจ้ าของโฮมสเตย์ และในสัดส่วน ๔๐ : ๖๐ โดยโฮมสเตย์ ๖๐% จะเป็ น ที่พกั และหาร และกลุม่ จะรับ ๔๐% เป็ น ค่ า อาหารรวมน� ำ เที่ ย ว ค่ า ตอบแทน มัคคุเทศก์ และค่าจัดการบริ หารชุมชน
ตนจามจุรี อายุ 86 ป
รานคาประชารัฐ
เสาสัญญาณ ระบบAIS
ศูนยการเรียนรูวัฒนธรรม
ถนนวรนครสายเกา เสนทางหมายเลข 1256
ปมนํ้ามันหยอดเหรียญ
จุดชมวิว
วัดฝายมูล
กลุมทอผาแมทองมูล
ทุงนา
โรงเรียนบานฝายมูล
ปาชุมชน
เพื่อการเกษตร
ถนนนาน - ทุงชาง
กลุมตีเหล็กตี บานฝายมูบ
ลานวัฒนธรรม, สนามกลาง
กลุมตีเหล็ก
จุดตรวจอาสาสมัครปองกันภัย ฝายพลเรือน (อปพร.)
รานรมรื่นอุปโภคบริโภค
ลานเจาหลวงเหมยฟา
สะพานบานดอนชัย
ตลาดทาวังผา
เทศบาลทาวังผา
จุดลองเรือชมทิวทัศน
จุดลงรถหนาฝาย
รพ.ทาวังผา
เหมืองมหัศจรรย ฝายลูกที่ 1
พระธาตุศรีบรรพรต
บานตนฮาง, โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลปาคา
ปาสุสาน
ไทพวน จังหวัดนาน
กม. 40 จากเมืองนาน
ถนน อบต.บานมวง 1.5 กม. สถานที่ท่องเที่ยว
อบต.ปาคา
ชาติพนั ธุ์
ไทลื้อ
เดิมชาวลือ้ หรือไทลือ้ มีถนิ่ ทีอ่ ยูบ่ ริเวณ เมื อ งลื อ้ หลวง จี น เรี ย กว่ า “ลื อ แจง” ต่อมาได้ เคลือ่ นย้ ายลงมาอยูบ่ ริเวณเมือง หนองแส หรือทีเ่ รียกว่าคุนหมิงในปัจจุบนั แล้ วย้ ายลงมาสูล่ มุ่ น� ้ำน� ้ำโขง สิบสองปั น นาปั จจุบนั ประมาณศตวรรษที่ ๑๒ จึง เกิดมีวีรบุรุษชาวไทลื ้อชื่อ เจ้ าเจื๋องหาญ ได้ ร วบรวมหัว เมื อ งต่ า ง ๆ ในสิ บ สอง ปั นนาปั จจุบันตัง้ เป็ นอาณาจักรแจ่ลือ้ (เซอลี)่ โดยได้ ตงศู ั ้ นย์อำ� นาจการปกครอง เอาไว้ ทหี่ อค�ำเชียงรุ่ง นาน ๗๙๐ ปี ต่อมา ถึงสมัยเจ้ าอิ่นเมืองครองราชต่อมาในปี ค.ศ.๑๕๗๙-๑๕๘๓ (พ.ศ.๒๑๒๒๒๑๒๖) ได้ แบ่งเขตการปกครองเป็ นสิบ สองหัวเมือง แต่ละหัวเมืองให้ มีที่ท�ำนา ๑,๐๐๐ หาบข้ าว (เชื ้อพันธุ์ข้าว) ต่อนา หนึ่งที่/ หนึ่งหัวเมือง จึงเป็ นที่มาจนถึง ๘๖
ปั จจุบันเมื องสิบสองปั นนาได้ แบ่งเขต การปกครองเอาไว้ ในอดีตดังนี ้(ที่มาของ ค�ำว่า สิบสองพันนา อ่านออกเสียงเป็ น “สิบสองปั นนา”) ชาวไทลื ้ออาศัยอยูส่ อง ฝั่ ง แม่ น� ำ้ โขง คื อ ด้ า นตะวัน ออกและ ตะวันตกของแม่น� ้ำ มีเมืองต่าง ๆ ดังนี ้ ภาษาไทลื ้อ ได้ กล่าวไว้ ว่า ห้ าเมิงตะวัน ตก หกเมิงตะวันออก รวมเจงฮุง่ (เชียงรุ่ง) เป็ น ๑๒ ปั นนา ประกอบด้ วยเมืองใหญ่ น้ อยต่าง ๆ เช่นฝั่ งตะวันตก : เชียงรุ่ ง, เมืองฮ� ำ, เมืองแช่, เมืองลู, เมืองออง, เมืองลวง, เมืองหุน, เมืองพาน, เมืองเชียง เจิ ง , เมื อ งฮาย, เมื อ งเชี ย งลอ และ เมืองมาง และฝั่ งตะวันออก : เมืองล่า, เมือง-บาน, เมืองแวน, เมืองฮิง, เมือง ปาง, เมืองลา, เมืองวัง, เมืองพง, เมือง หย่วน, เมืองมาง และเมืองเชียงทอง
การขยายตัวของชาวไทลื ้อ สมัยรัชกาลที่ ๒๔ เจ้ าอินเมืองได้ เข้ าตีเมืองแถน เชียง ตุง เชียงแสน และล้ านช้ าง กอบกู้บ้าน เมืองให้ เป็ นปึ กแผ่น พร้ อมทังตั ้ งหั ้ วเมือง ไทลื ้อเป็ นสิบสองเขต เรี ยกว่า สิบสองปั น นา และในยุคนี ้ได้ มีการอพยพชาวไทลื ้อ บางส่วนเพื่อไปตังบ้ ้ านเรื อนปกครองหัว เมืองประเทศราชเหล่านัน้ จึงท�ำให้ เกิด การกระจายตัวของชาวไทลื ้อ ในลุ่มน� ้ำ โขงตอนกลาง (รั ฐ ฉานปั จ จุ บัน ) อัน ประกอบด้ ว ยเมื อ งยู้ เมื อ งยอง เมื อ ง หลวย เมื อ งเชี ย งแขง เมื อ งเชี ย งลาบ เมืองเลน เมืองพะยาก เมืองไฮ เมืองโก และเมืองเชียงทอง หรื อ หลวงพระบาง (ล้ า นช้ าง) เมื อ งแถน(เดี ย นเบี ย นฟู ) ซึ่ง บางเมื อ งในแถบนี เ้ ป็ น ถิ่ น ที่ อ ยู่ข อง
ชาวไทลื ้ออยู่แล้ ว เช่น อาณาจักรเชียงแขงซึ่ ง ประกอบด้ วย เมื อ งเชี ย งแขง เมื อ งยู้ เมื อ งหลวย เมื อ งเชี ย งกก เมื อ งเชี ย งลาบ เมื อ งกลาง เมื อ งลอง เมื อ งอาน เมื อ งพูเ ลา เมื อ งเชี ย งดาว เมืองสิง เป็ นต้ น ชาวไทลื อ้ บางส่ ว นได้ อพยพหรื อ ถู ก กวาดต้ อ น ออกจากเมื อ งเหล่ า นี เ้ มื่ อ ประมาณหนึง่ ร้ อยถึงสองร้ อยปี ที่ผา่ นมา แล้ ว ลงมาตัง้ ถิ่ น ฐานใหม่ ใ นประเทศ ตอนล่าง เช่น พม่า, ลาว และไทย
๘๗
“
“
วิหารเก่าไทย เลื่องลือผ้าลายโบราณ สืบสานประเพณี บ้านศาลเจ้าหลวง ช้างเผือกงาม เที่ยวชมบ่อน�้ำผุดสะดุด เซิ่นไทลื้อ
ข้ อมูลเอกลักษณ์ / อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม - ชือ่ ชุมชนท่องเทีย่ ววัฒนธรรมวัฒนธรรม ไทย : ชุมชนไทลื ้อร้ องแง เอกลักษณ์/ อัตลักษณ์อนั โดดเด่นและมี ความแตกต่างจากชุมชนอื่น : ภาษา, การแต่งกาย ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายสนิ ท เนตรทิ พ ย์ (ก� ำ นั น ต� ำ บล วรนคร) บ้ านเลขที่ ๙๔ หมู่ ๗ ต�ำบลว รนคร อ�ำเภอปั ว จังหวัดน่าน มีข้อมูล ที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร ได้ แก่ น� ำ้ พริ ก เครื่ อง แกงหยวก ต�ำหัวปลี ไก่ในม้ ง และย�ำผัก ป๋ ดแป๋ ง ๘๘
ด้ านการแต่ งกาย ผู้ ห ญิ ง จะสวมเสือ้ แขนยาวที่ เรี ยกว่า “เสื ้อปั๊ ด” และนุง่ ซิน่ หญิงไทยลื ้อจะโพก ผ้ าสีขาวเป็ นเอกลักษณ์ สวมเสื ้อปั ด้ เป็ น เสื ้อรัดรู ปสีด�ำคราม เอวลอย แขนยาว ตรงสาบหน้ าตกแต่งด้ วยผ้ าแถบสีเฉียง มาผู ก ติ ด กั น ตรงมุ ม ซ้ ายทางล� ำ ตั ว ติดกระดุมเงินนุ่งซิ่นลายขวาง ทอด้ วย เทคนิคเกาะหรื อล้ วง เรี ยกว่าลายน� ้ำไหล ผู้หญิ งแต่งกายด้ วยเสือ้ ผ้ าสีสันต่าง ๆ คอเสือ้ ปั กลวดลายสารพัดสี ด้ านหน้ า และด้ า นหลัง ปั ก ลายสดสวย ผ้ า นุ่ ง ทอสลับสี สาวไทยลื ้อรูปร่างอรชร หน้ าตา สะสวย กิริยาอ่อนโยน ชอบสวมก�ำไลเงิน สร้ อยเงิ น ตุ้ม หูเ งิ น มี ต ราเงิ น กลม ๆ ติดเสื ้อ เป็ นเครื่ องเงินฝี มือประณีต เวลา มี ง านพิ เ ศษ สาว ๆ จะโพกผ้ า สี ข าว ทรงรูปหมวกแขก
ผู้ชาย สวมเสื ้อแขนยาวสีด�ำครามคล้ าย เสื ้อหม้ อห้ อม มี ๒ แบบ แบบดังเดิ ้ มเป็ น เสื ้อเอวลอย สายหน้ าขลิบด้ วยผ้ าแถบสี ป้ายมาติดกระดุมที่ใต้ รักแร้ และเอว อีก แบบเป็ นแบบเมืองเงิน เป็ นเสื ้อคอตัง้ มี แถบผ้ าจกลายขอนาค ตกแต่งทัง้ ชาย และหญิงจะมีผ้าโพกศีรษะ โดยผู้เฒ่าผู้ แก่ชาวไทลื ้อบางคนก็ยงั คงแต่งกายเช่น นี ้อยู่ การแต่งกายของผู้ชายชาวไทยลื ้อ คือนุง่ กางเกงผ้ าฝ้าย สีน� ้ำเงินเข้ ม ที่แต่ง อย่างคนเมืองก็มี
แต่ในวันประเพณีส�ำคัญๆหญิงสาวชาว ไทลื อ้ ก็ ยัง คงอนุรั ก ษ์ ก ารแต่ง กายของ ชาวไทลื ้อไว้ ด้ านภาษา ภาษาลื ้อ จัดอยู่ในกลุม่ ภาษาตระกูลไท (ไต) เพราะภาษาทั ง้ สองมี ค วาม คล้ ายคลึงกันมาทังเสี ้ ยงพยัญชนะเสียง สระค�ำศัพท์พื ้น ฐานร่วมกันและการเรี ยง ค�ำเข้ าประโยค เป็ นต้ น
ในปั จจุบนั นี ้การแต่งกายของชาวไทลื ้อก็ จะคล้ ายกับชาวเหนือทั่วไป วัยรุ่ นแต่ง กายตามยุคตามสมัยถ้ าจะดูหญิงสาวกับ หนุม่ ไทลื ้อแต่งชุดไทลื ้อคงจะต้ องไปหาดู ในหนั ง สื อ หรื อพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ สี ย แล้ ว ๘๙
ด้ านที่อยู่อาศัย เป็ นเรื อนไม้ ยกใต้ ถนุ สูง ใช้ งานใต้ ถนุ เรื อนทางขันบั ้ นไดหน้ าเพียง บันไดเดียว มีหลังคาคลุม ทังที ้ ห่ ลังคาผืน ใหญ่คลุมและที่ต่อชายคายื่นยาวคลุม หลังคาผืนใหญ่ ยื่นยาว และท�ำเป็ นสอง ตับ จนแทบมองไม่เห็นผนังมีและใช้ เสา แหล่งหมามีบริเวณทีเ่ รียกว่า หัวค่อมหรือ ค่อม เหมือนเติน๋ ในเรื อนล้ านนา แต่นิยม ท�ำม้ านัง่ ยาวโดยรอบแทนการท�ำราวกัน ตกภายในเรื อนเป็ นโถง แบ่งพื ้นที่ซ้ายขวา เป็ นส่วนเกอเนกประสงค์และส่วน นอน ซึง่ อาจแบ่งสองส่วนนี ้ด้ วยฝาไม้ หรือ เพียงผ้ าม่านโถงอเนกประสงค์ใช้ พกั ผ่อน ครัวไฟ เก็บของ ส่วนปลายเป็ นลานซัก ล้ างหรือจานกอนใช้ แม่เตาไฟเป็ นกระบะ ไม้ ดาดดินเหนียวใช้ ตงเตาไฟ ั้ ส่วนนอน จะกันพื ้ ้นที่แต่ละคนด้ วยผ้ าม่าน ใช้ เตียง หรื อ ฟู ก ปูน อนมี หิ ง้ ผี บ รรพบุรุ ษ ติ ด ตัง้ กับฝาบ้ านในห้ องโถง ไม่มีหิ ้งพระ
๙๐
ลักษณะบ้ าน ที่อยู่อาศัยของชาวไทลื ้อ ในชุมชนไทลื ้อร้ องแง มีการเปลีย่ นแปลง ตามยุค สมัย แต่ยัง คงอนุรั ก ษ์ โ บราณ สถานเพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ ด้ า น ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ พิ ธี ก ร ร ม ได้ แก่ พิธีตานดอน พิธีสืบชะตาข้ าว พิธี สังคหะทุง่ เลี ้ยงปางเจ้ าหลวง ตานธรรม ยี่เป็ ง และประเพณีจงึ บ้ าน ลั ก ษณะเด่ น ของภาษาลื อ้ คื อ การ เปลีย่ นแปลงเสียงสระภายในค�ำ โดยการ เปลีย่ นระดับของลิ ้น เช่นค�ำในภาษาไทย หรื อภาษาล้ านนามีเสียงสระเอ เออ โอ ตรงกับค�ำในภาษาลื ้อที่มีเสียงสระอิ อึ อุ
ตัวอย่าง ภาษาไทย ภาษาล้ านนา ภาษา ลื ้อ คน คน กุน เป็ น เป่ นปิ๊ น เงิน เงิน งึน และภาษาลื ้อมีเสียงสระเดี่ยว มีทงสระ ั้ เสียงสันและสระเสี ้ ยงยาว และภาษาลื ้อ จะไม่มีสระประสมเลย ตัวอย่าง ภาษา ไทย ภาษาล้ านนา ภาษาลื ้อ อาทิเช่น เกลือ เกี๋ยเก๊ อ กล้ วย ก้ วยโก๋ย ด้ านอาชีพ ได้ แก่ ท�ำการเกษตร ท�ำไร่ ท�ำ สวน ทอผ้ า และรับราชการ ด้ านความเชื่อ ได้ แก่ การเลี ้ยงผีฝาย เพื่อเป็ นสิริมงคล การเรี ยกขวัญข้ าว ปี ไหนที่เห็นว่าข้ าวเจริ ญเติบโตไม่เต็มที่จงึ จัดให้ มกี ารเรียกขวัญข้ าว การสูข่ วัญข้ าว ใหม่ ฤดูเก็บเกี่ยวข้ าวได้ ผลผลิตเป็ นที่นา่ พอใจก็จะท�ำพิธีสขู่ วัญข้ าวใหม่ นอกจากนี ้ ไทลื ้อยังมีประเพณีส�ำคัญที่ น่าสนใจอีกมากมายเช่น การเรี ยกขวัญ มีลกั ษณะคล้ ายประเพณีเรี ยกขวัญของ ชาวเหนือโดยทัว่ ไป เพือ่ เป็ นขวัญก�ำลังใจ แก่ผ้ หู ายป่ วยใหม่ๆ การส่งเคราะห์ เพื่อ ให้ อยู่สขุ สบายขึ ้น การสืบชะตาเพื่อให้ เป็ นสิริมงคล ขับไล่สิ่งชั่วร้ าย มี ทัง้ สืบ ชะตาคนและสืบชะตาหมู่บ้าน การขึน้ เฮินใหม่หรื อการขึ ้นบ้ านใหม่
การขึ น้ ปี ใหม่ ระหว่ า งวัน ที่ ๑๓-๑๘ เมษายน ของทุก ปี การแต่ ง งานและ การตายซึง่ เดิมจะใช้ การฝัง ต่อมาใช้ การ เผาแทน ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ได้ แก่ การขับลื ้อ การ ฟ้อนเจิง การเล่นมะกอน การเล่นโกงกาง และการเล่นก้ อปแก๊ ป เส้ นทางคมนาคมและสาธารณูปโภค ภายในชุมชน เส้นทางภายในชุมชน ถนนผ่านสายปั ว ชมพูภคู าบ่อเกลือ เส้นทางจักรยาน ถนนสาย ทุง่ นา เส้นทางเดิ นเท้า ถนนสายชมทุง่ นา
๙๑
ป้ายบอกทาง ต่าง ๆ ภายในชุมชน ตังอยู ้ ่ ที่ลานวัฒนธรรม ห้องสุขาสาธารณะภายในชุมชน ลาน วัฒนธรรม วัดร้ องแง
ผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ประเภทเสื ้อผ้ า จ�ำนวน ๒ แห่ง ผลิ ต ภัณ ฑ์ ป ระเภทหัต ถกรรม จ�ำนวน ๒ แห่ง ผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ อั ต ลั ก ษณ์ และความโดดเด่ น ทาง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในชุมชน วั ฒ นธรรม จ� ำ นวน ๑ แห่ ง ร้ านค้ า สถานที่พัก ได้ แก่ โฮมสเตย์ จ�ำนวน ๙ ผลิตภัณฑ์สร้ างสรรค์หรื อผลิตภัณฑ์ที่ได้ แห่ง และสถานที่ พัก กางเต็น ท์ ขุน บัว รับการพัฒนารู ปแบบผลิตภัณฑ์ดงเดิ ั้ ม รี สอร์ ท จ�ำนวน ๓ แห่ง ร้ านอาหาร ได้ แก่ ร้ านอาหารพืน้ บ้ าน จ�ำนวน ๒ แห่ง ร้ านอาหารทัว่ ไปจ�ำนวน สถานที่ อ� ำ นวยความสะดวก และ ๒ แห่ง ร้ านเครื่ องดื่มชานมกาแฟจ�ำนวน ความปลอดภัย ๒ แห่ง และร้ านอาหารอื่ น ๆ จ� ำนวน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปั ว ผู้น�ำชมภายในชุมชน ๒ แห่ง ร้ านจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องที่ ร ะลึ ก ผู้นำ� ชมภายในชุมชน จ�ำนวน ๒ คน ได้ แก่ จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างวั ฒ นธรรม นายเหรี ยญ ยุทธหลวง พูดได้ ๓ ภาษา ๙๒
และนายจิรัน ธนินอุตรชนพูดได้ ๓ ภาษา การบริ หารจัดการภายในชุมชนที่ได้ และมัคคุเทศก์น้อยจ�ำนวน ๑ คน ได้ แก่ รั บการคัดเลือกเป็ นชุมชนท่ องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม นายเมธายุตถ์ ยัง่ ยืน พูดได้ ๒ ภาษา คณะกรรมการชุมชนเพื่อการด�ำเนินงาน ข้ อส�ำคัญที่ควรและไม่ ควรปฏิบัติใน ต่าง ๆ ภายในชุมชน มีจ�ำนวน ๑๕ คน ชุมชน ข้ อส�ำคัญที่สมที่ควรและไม่ควร ประธานกรรมการชุ ม ชนนายสนิ ท ปฏิบตั ภิ ายในชุมชน ทีเ่ กี่ยวข้ องกับชาติติ เนตรทิพย์ (ก�ำนันบ้ านร้ องแง) พันธ์ หรื อท้ องถิ่นเพื่อให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ปฏิบัติตาม ได้ แก่ รั กษาความสะอาด การร่ ว มกลุ่ ม การด� ำ เนิ น งานต่ า ง ๆ แต่งกายให้ สภุ าพเหมาะสมถูกกาลเทศะ ภายในชุ ม ชนเช่ น กลุ่ ม สหกรณ์ ก ลุ่ ม ไม่สง่ เสียงดังรบกวนผู้อื่น หัตถกรรม ได้ แก่ กลุ่มทอผ้ ามี สมาชิ ก ข้ อห้ ามปฏิบตั ิในชุมชนและที่เกี่ยวข้ อง จ�ำนวน ๓๕ คน กลุ่มแชมพูสมุนไพรมี กับชาติติพนั ธ์หรื อท้ องถิ่นเพื่อให้ นกั ท่อง สมาชิก จ�ำนวน ๑๕ คน เที่ยวปฏิบตั ิตาม ได้ แก่ การแต่งกายไม่ สุภาพ ห้ ามลงไปเล่นในบ่อน�ำ้ ผุด และ เขียนหรื อท�ำลายโบราณวัตถุ ๙๓
ถนนปว – นํ้ายาว เสนทางหมายเลข 1081
จังหวัดนาน
ถนนปว
บอนํ้าผุด
วัดรองแง
หอเจาหลวง
พิพิธภัณฑบานไทลื้อ
ือ เสนท าง วิสหกิจชุมชน หมายเลข 1 256 ตลาดประชารัฐ
-ดอยภ คู า-บอ เกล
ลานจึงบาน, เสาหลักบาน
เกษตรทฤษฎีใหม
ไทลื้อ
ศูนย OTOP
วัดพระธาตุเบ็งสกัด
ถนนนาน – ทุงชาง เสนทางหมายเลข 1080
สถานที่ท่องเที่ยว
ผาทอลายโบราณ
ชาติพันธุ์ ลัวะ ชาวถิ่น(ลั วะ) ตัง้ ถิ่นฐานดัง้ เดิมอยู่ใน จังหวัดน่านของไทย และบริเวณชายแดน แขวงสายะบุรีของประเทศลาว ชื่อ “ถิ่น” เป็ นชื่อที่ทางราชการตังให้ ้ (บางครัง้ เรี ยก “ข่าถิ่น” ) แต่ชนกลุม่ นี ้จะเรี ยกกลุม่ ของ ตัว เองว่า “ลัว ะ” (Lua ) หรื อ “พ่า ย” (Phay) โดยแบ่งออกตามความแตกต่าง ของภาษาได้ ๒ กลุม่ ใหญ่ คือ ถิ่นไปรต์ และถิ่ น มาลล์ ชาวถิ่ น เป็ น ชนเผ่ า ที่ มี จ�ำนวนมากทีส่ ดุ ในจังหวัดน่านแต่ในทาง ด้ านวิชาการ เอกสารบางชิน้ ได้ ระบุว่า “ลัวะ”และ “ถิ่น” ต่างมีภาษาที่เป็ นของ ตนเอง นอกจากนี ้ยังมีลกั ษณะสังคมและ
วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน การสื่อภาษา ของทัง้ ๒ เผ่า ไม่สามารถกระท�ำกันได้ ดังนันชาวเขาเผ่ ้ าถิ่นและชาวเขาเผ่าลัวะ จึงเป็ นคนละเผ่ากันและมีความแตกต่าง กันชาวเขาเผ่าถิน่ ซึง่ ตังถิ ้ น่ ฐานอยูใ่ นแถบ ภูเ ขา รอยต่ อ ระหว่ า งจัง หวัด น่ า นกับ แขวงชั ย บุ รี ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวนัน้ มีประวัติ ความเป็ นมาของเผ่ า ที่ ยั ง ไม่ ชั ด เจน เนื่ อ งจากชาวถิ่ น ไม่ มี ภ าษาเขี ย นของ ตนเอง จึงไม่มกี ารจดบันทึกประวัตคิ วาม เป็ น มาที่ เ ป็ น ลายลัก ษณ์ อัก ษร ซึ่ง ข้ อ สงสัยดังกล่าวแยกเป็ น ๒ แนวทาง คือ ๙๕
ชาวเขาเผ่าถิ่นเป็ นชนชาติดงเดิ ั ้ มซึ่งตัง้ รกรากอยู่ในประเทศไทยก่อนแล้ ว และ อีกแนวหนึง่ ว่าอพยพมาจากประเทศลาว ซึ่งยังไม่สามารถยืนยันได้ นักวิชาการ ท่านหนึ่งได้ เขียนไว้ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๗ คาดคะเนว่าชาวถิ่นได้ เข้ ามาตังถิ ้ ่นฐาน ในประเทศไทยเมือ่ ๔๐-๘๐ ปี มาแล้ ว อีก ท่านหนึง่ ได้ เขียนไว้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๐๖ ว่า ชาวถิ่นกลุ่มแรกได้ เข้ ามาตังถิ ้ ่นฐานใน ประเทศไทยเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๗๑ และยังได้ คาดคะเนไว้ อีกว่าชาวถิ่นอาจจะเข้ ามา อยูใ่ นประเทศไทยก่อนทีค่ นไทยจะอพยพ จากประเทศจีนมาอยูใ่ นแหลมอินโดจีน
ข้ อ มู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายประวัน วิ ท ย์ คณิ ต สากล (ผู้ใ หญ่ บ้ าน) บ้ านเลขที่ ๑๐๖ หมู่ ๔ ต�ำบลป่ า กลาง อ�ำเภอปั ว จังหวัดน่าน มีข้อมูล ที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้
ด้ านอาหาร แกงหยวกกล้วย หยวกหรือต้ นกล้ วย ส่วน ที่น�ำมาแกง คือใจกลางต้ นที่ยงั อ่อนอยู่ นิยมแกงใส่ไก่บ้าน และวุ้นเส้ น บ้ างแกง ใส่ปลาแห้ ง มีวธิ ีการแกงเช่นเดียวกับแกง อ่อมเนื ้อต่างๆ อีกแบบหนึง่ มีวิธีการแกง เช่นเดียวกับแกงผักหวาน สูตรทีแ่ กงแบบ ข้ อมูลเอกลักษณ์ / อัตลักษณ์ ท่ ีโดด เดียวกับแกงอ่อมเนื ้อต่างๆ นัน้ นิยมใช้ เ ด่ น ข อ ง ชุ ม ช น ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง เลี ้ยงแขกในงานบุญต่างๆ หรื องานอื่น ๆ เมื่อท�ำหม้ อใหญ่ ไม่นิยมใส่ว้ นุ เส้ น วัฒนธรรม ชื อ่ ชุมชนท่องเทีย่ ววัฒนธรรมวัฒนธรรม ไทย : บ้ านจูน, บ้ านตาหลวง เอกลักษณ์/อัตลักษณ์อนั โดดเด่นและมี ความแตกต่ า งจากชุ ม ชนอื่ น ได้ แก่ การแต่งกาย ภาษาที่ใช้ ในชุมชน และวิถี ชีวิตที่เรี ยบง่าย
๙๖
แกงฟักเขี ยวหรื อแกงฟักหม่น มีวิธีการ แกงคล้ ายกับแกงอ่อมเนื ้อสัตว์ตา่ ง ๆ ที่ แตกต่างคือแกงฟั กเขียวใส่มะแขว่นโขลก ลงไปพร้ อมกับเครื่ องแกง เมี ย่ งอม“เมี ย่ ง” เป็ นอาหารว่างของชาว ล้ านนาในอดีต เมี่ยง เป็ นภาษาถิ่นของ ภาคเหนื อ แปลว่ า ใบชา เป็ นพื ช ที่ มี สรรพคุ ณ หลากหลาย ในอดี ต นั น้ ทุก บ้ า นในภาคเหนื อ จะมี เ มี่ ย งไว้ เ ป็ น ของว่าง และใช้ ต้ อ นรั บ แขกหรื อญาติ ผู้ หญิ ง สวมเสื อ้ สี ด� ำ ผ่ า อกแขนยาว ปั ก เป็ นแผ่ น ใหญ่ ที่ ห น้ าอกตามแถว ที่มาเยี่ยมเยือน กระดุม และแถวรังดุมรอบคอ ปั กที่ชาย แกงข้าวคัว่ (ข้ าวคั่ว ใช้ ส�ำหรั บปรุ งรส แขนเสื อ้ ตรงข้ อมื อ ทั ง้ สองข้ างและที่ ประกอบการปรุงอาหารได้ หลายเมนู ข้ าว ใต้ ตะโพกรอบเอวด้ วยดิ ้นเลื่อมไหมเงิน คัว่ หอม ๆ ท�ำใหม่ใช้ ใส่ในอาหารต่าง ๆ คล้ ายเสื ้อขุนนางไทยโบราณ ผ้ าซิน่ ติดผ้ า ลาบ น� ้ำตก แกงอ่อม ซุป เพื่อเพิ่มรสชาติ ขาวสลับด�ำเล็ก ๆ ตอนกลางเป็ นริ ว้ ลาย ความอร่ อ ยเข้ ม ข้ น กลมกล่อ มเข้ า กัน ชายซิน่ ติดผ้ าสีด�ำกว้ างประมาณ ๑ ศอก รสชาติเข้ มข้ นหอมอร่อยยิง่ ขึ ้น เรามีเคล็ด ตามปกติผ้ หู ญิงอยู่บ้านไม่ค่อยสวมเสื ้อ ลับคือ น�ำข้ าวเหนียวมาคัว่ ให้ สกุ ออกสี ชอบเปิ ดอกเห็นถัน ถ้ าเข้ าไปในเมืองก็จะ น� ำ้ ตาลหอม ๆ จากนั น้ น� ำ มาต� ำ ให้ สวมเสื ้อแต่งกายอย่างชาวเหนือ ถ้ าออก ละเอียด หรื อจะใช้ เครื่ องปั่ น เครื่ องบด ไปหาผักตามป่ า เอาผ้ าขาวโพกศีรษะสะ ตามต้ องการ) บายกระบุงก้ นลึกโดยเอาสายเชือกคล้ อง ด้ า น ก า ร แ ต่ ง ก า ย ชาวลั ว ะ มี ศี ร ษะตรงเหนื อ หน้ าผาก ใส่ ค าดคอ ขนบธรรมเนียมเครื่ องแต่งกายต่างกับ รองรั บ น� ำ้ หนัก อี ก ชัน้ หนึ่ง ไม่ส วมเสื อ้ ชาวเหนื อมักจะเน้ นสีด� ำและสีกรมท่า แต่ ดึ ง ผ้ าซิ่ น ขึ น้ ไปเหน็ บ ปิ ดเหนื อ ถั น เป็ นหลัก มีสีแดงประดับบ้ างบางส่วน แบบนุง่ ผ้ ากระโจมอก ๙๗
ผู้ชาย นุง่ ผ้ าพื ้นโจงกระเบนหรือโสร่ง เสื ้อ ของผู้ชายอย่างเดียวกันกับผู้หญิง แต่ไม่ ปั กดอกลวดลายที่คอเสือ้ และชายเสือ้ เครื่ องแต่งกายดังกล่าวนีป้ ั จจุบนั ไม่ใช้ กันแล้ ว หันมานิยมเสื ้อเชิ ้ตแขนยาวผ่า อกกลาง กางเกงจีนธรรมดา แต่ผ้ ชู ายที่ นุง่ ผ้ ากระโจงกระเบนยังมีอยูบ่ ้ าง ด้ านที่ อ ยู่ อาศั ย มัก ตัง้ อยู่บ นภูด อย บริ เวณเทื อกเขาสูงที่ ขนานตัวสลับซับ ซ้ อนกันในจังหวัดน่าน ระดับความสูง ระหว่าง ๒,๕๐๐- ๓,๐๐๐ ฟุต ลักษณะ บ้ านเรื อ นจะเป็ นเรื อ นไม้ มุ ง หญ้ าคา ชายคายืน่ โค้ งลงมาแทบถึงพื ้นดิน ยกพื ้น สูง มีบนั ไดขันบ้ ้ าน ตัวเรื อนจะมีครัวไฟ และยุ้งข้ าว และมีชานบ้ านเชือ่ มต่อถึงกัน ด้ านประเพณี พิธีกรรม ประเพณี ก ารกิ น สโหลด(ตี พิ ) ต� ำ บล สกาด อ� ำเภอปั ว จังหวัดน่าน วันแรก ของประเพณี ตีพิ บ้ านสกาด ชาวบ้ านจะ ต้ องออกจากบ้ านตังแต่ ้ เช้ าตรู่ เพือ่ เข้ าป่ า ลึกเพือ่ หาไม้ ไผ่ (ไม้ เฮี ้ย) ทีจ่ ะมาท�ำเครื่อง ดนตรี ที่เรี ยกว่า “พิ” โดยมีหมอผีประจ�ำ หมูบ่ ้ านเป็ นผู้ก�ำหนด ระหว่างที่เดินทาง จะเข้ า ป่ า จะไม่ มี ก ารฆ่ า สัต ว์ ตัด ชี วิ ต เพราะว่าถือว่าเป็ นการอยูก่ รรม เมือ่ ไปถึง ๙๘
ป่ าไม้ ไผ่ที่เป็ น หมอผีจะเป็ นผู้ลงมือตัด เป็ นคนแรก จากนันชาวบ้ ้ านก็จะช่วยกัน ตัดโดยจะเลือกไม้ ไผ่ที่มีล�ำต้ นตรงได้ ที่ ขนาดพอเหมาะ ตัดเป็ นปล้ อง ๆ ส่วนใต้ ข้ อลงไปและเหนือข้ อขึ ้นไป ขนาดเกือบ ๑ ฟุต เมื่ อ ได้ ข นาดที่ ต้ อ งการตามที่ ก� ำ หนด จะเจาะรูทงสองด้ ั้ านของปล้ องไม้ ไผ่ แล้ ว เหลาไม้ ยาวเท่า ๆ ขนาดของปล้ องไม้ ไผ่ ใช้ เสียบทะลุตรงรู ที่เจาะเหนือข้ อปล้ อง โดยทิ ้งปลายไม้ ทงสองด้ ั้ าน ปลายส่วน หนึ่งสันท� ้ ำไว้ จบั อีกปลายส่วนหนึ่งยาว กว่าไว้ ใช้ ตี เพื่อท�ำให้ เกิดเสียง จากนัน้ ชาวบ้ าน จะท�ำการทดสอบโดยใช้ ไม้ เคาะ ส่วนปลายไม้ ที่ยาวกว่า เพื่อให้ เกิดเสียง และความไพเราะ หากไม่ได้ ตามต้ องการ จะค่อย ตัดปลายไม้ ออก จนกว่าจะได้ เสียงที่ดีและไพเราะ เมื่อได้ ตามต้ องการ ชาวบ้ า นจะท� ำ ต่อ แบบนี ต้ ่อ ไปเรื่ อ ย ๆ ชาวบ้ านคนหนึง่ จะต้ องประกอบพิขึ ้นมา และท�ำให้ ครบชุด ๑ ชุดหนึง่ จะมี ๓ ตัว เพื่อให้ เกิดเสียงแตกต่างกัน ชาวบ้ านที่ เข้ าป่ าไปเอาพิ มีจ�ำนวนร่วมสองร้ อยคน ฉะนันเมื ้ อ่ ถึงเวลาทีท่ กุ คนทดสอบเสียงพิ ที่ท�ำขึ ้นมา เสียงเคาะจากคนหนึ่งสู่คน หนึง่ เมื่อท�ำเสร็ จก็จะส่งเสียงพร้ อม ๆ กัน
้ จนเสี ยงเประห์ จ ะดังก้ องกังวานไปทัง้ งานขึ้ นบ้านใหม่ จัดท�ำกันขึ ้นมาตังแต่ หุบเขา ปี นีป้ ระเพณี ตีพิ ที่จัด ขึน้ เป็ น สมัยโบราณ โดยมีอยู่ ๒ กรณี คือหนึง่ รื อ้ บ้ านเก่าสร้ างบ้ านใหม่ และสองบุตรชาย เวลา ๗ วัน คนที่ โ ตหรื อรองที่ แ ต่ ง งานแล้ วย้ าย การแต่งงาน หญิงจะต้ องมาอยูบ่ ้ านฝ่ าย ครอบครั วจากพ่อแม่ ในการสร้ างชาว ชาย ยกเว้ นกรณี หากบ้ านนันเป็ ้ นหญิง บ้ านจะช่วยกันตลอดโดยที่ไม่ต้องอาศัย ล้ วนผู้ที่เป็ นแม่ของฝ่ ายหญิงจะต้ องเป็ น ช่ า ง ส่ ว นมากใช้ เ วลาสร้ างไม่ เ กิ น ๒ คนที่เลือกว่าจะให้ ลกู คนใดอยูด่ ้ วย และ อาทิตย์ การขึ ้นบ้ านใหม่ของชนเผ่าลัวะ ลัวะนัน้ ชายหญิ งตระกูลเดียวกันจะไม่ นิยมสร้ างในช่วงเดือนธันวาคมไปจนถึง สามารถแต่ ง งานกั น ได้ ชายหญิ ง จะ เดือนมีนาคม แต่งงานกันจะต้ องดูชีวิตซึ่งกันและกัน อย่ า งน้ อย ๒-๓ ปี ซึ่ ง หลัก พิ จ ารณา จ ะ เ น้ น ที่ ค ว า ม ข ยั น ห มั่ น เ พี ย ร ความเอาใจใส่ตอ่ บทบาทและหน้ าที่ของ ตนเอง ๙๙
ด้ านภาษา จัดอยู่ในตระกูลย่อยมอญ- วัดเจดีย์หลวงในจังหวัดเชียงใหม่ และ เขมร ของกลุ่มภาษาออสโตรเอเชียติค เสาอินทขิลคือที่สิงสถิตของผีบรรพบุรุษ ได้ แก่ ภาษาไปร์ และภาษามัล ของพวกตนเมื่อลัวะถูกขับไล่ไปอยู่บน ภูเขาซึ่งไม่มีพระและวัด ชีวิตประจ�ำวัน ด้ านอาชีพ ได้ แก่ ท�ำนา ไร่ สวน เลี ้ยง จึงขึ ้นอยู่กบั สภาพทางธรรมชาติมากขึ ้น สัตว์จ�ำพวกวัว ควาย หมู ไก่ หมู ทอผ้ า ความเชือ่ ในเรื่องพุทธศาสนาก็เริ่มจางลง ต�ำข้ าว จักสาน และรับจ้ างทัว่ ไป และหันไปนับถือผีแทน ด้ านความเชื่อ ลัว ะนับ ถื อ พุท ธศาสนาควบคู่กับ การ นับถือผีมาแต่เดิมเหมือนคนไทย ลัวะมี ความเชือ่ ว่าบรรพบุรุษของตนเป็ นผู้สร้ าง
๑๐๐
ลัวะเชื่ อเรื่ องผี ว่ามีทัง้ ผีดีและผีเลวสิง สถิ ตอยู่ตามสิ่งต่างๆเป็ นต้ นว่าผี ที่เฝ้า ครอบครัว ผีฟา้ ผีป่า ผีภเู ขา ผีเข้ าประตู หมู่บ้าน ซึง่ บางครัง้ ผีอาจจะเป็ นสาเหตุ
ก่อความเจ็บป่ วยให้ แก่คนได้ การติดต่อ กับผีจะติดต่อโดยการเซ่นด้ วยอาหารที่ผี ประเภทนัน้ ๆ ชอบโดยมี ผ้ ูท� ำ พิ ธี คื อ “ ล�ำ” และ “ สะมัง” หรื อคนที่มีคาถา อาคม จะมี ก ารเชิ ญ ผี ม ากิ น อาหาร การฆ่าสัตว์เลี ้ยงผีจะจัดส่วนต่างๆ ของ สัตว์ให้ ผีอย่างละน้ อย สัตว์ที่ใช้ เซ่น ผีมี ไก่ หมู วัว ควาย และ หมา
ขนข้ าวกลับจากไร่ มายุ้งฉางในหมู่บ้าน เนื่ องจากทางเดินจากไร่ เป็ นระยะทาง ไกลๆ และต้ องลัดเลาะขึ ้นลงตามภูเขา เพื่อไม่ให้ ร้ ู สึกเหนื่อยล้ า จึงตีเประห์มา ตลอดทาง เสียงเประห์จะดังก้ องกังวาน ไปทังหุ ้ บเขา ส่วน “พิ“ หรือ “ปิ อ์” ของชาว ถิ่ น มาลล์ ใช้ ตี ใ ห้ จั ง หวะเพื่ อ ความ สนุกสนานเพลิดเพลินในพิธีโสลดหลวง
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น เครื่องดนตรี เป็ นประเภทเครื่องเคาะทีท่ ำ� จากไม้ ไผ่ ถิ่นไปรต์จะเรี ยกว่า “ เประห์” ถิ่นมาลล์เรี ยกว่า “ปิ อ์” หรื อที่คนเมือง เรี ยกว่า “พิ” มีลกั ษณะแตกต่างกันเล็ก น้ อย ชาวถิ่นไปรต์จะตีเประห์ ในยามที่
นอกจากนี ้ ลัวะยังเชื่อว่า คนมีวิญญาณ หรื อขวัญ ๓๒ ขวัญ หากขวัญใดขวัญ หนึ่ ง ออกจากตัว ไป จะท� ำ ให้ เ กิ ด การ เจ็ บ ป่ วย ต้ อ งมี ก ารประกอบพิ ธี ก รรม เรียกขวัญให้ กลับเข้ ามาสูร่ ่าง โดยการผูก ข้ อมื อ ด้ วยด้ ายสี ข าว เชื่ อ ว่ า จะช่ ว ย ป้องกันไม่ให้ ขวัญหายและไม่มีโรคภัย ไข้ เจ็บ มีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรง
๑๐๑
ปาสาธารณะ
ปาสุสาน
ศาลเจาที่ อาราม
รานคา
วง งสร ภูคา ุจ บว วงบัวด ล เจาห
อางหวยทรายขาว
โรงเรียน
หวยทรายขาวนอย
โรงนํ้าดื่ม
หอประชุม หนองรถไถ
ชุมชนมง
สนามบินเกา ถนนนํ้าเปน-บานจูน
ศาลาพิพิธภัณฑ วัฒนธรรม
โบสถคริสต
หอประชุม หมูบาน
ปาสุสาน
ลัวะ (นาน)
สถานที่ท่องเที่ยว
ทางไปบานไร
ชาติพันธุ์ เมี่ยน เย้ า เรี ย กตั ว เองว่ า เมี่ ย น (Mien) แปลว่าคนราชวงศ์ซง่ (Sung Dynasty) ของจีนมักเรี ยกว่า เย้ า มาจากค�ำว่า ม่อ เย้ า หมายถึง ไม่อยูใ่ นอ�ำนาจใคร เดิมเย้ า มี แ หล่ ง ก� ำ เนิ ด แถบตอนกลางของจี น บริ เวณลุม่ แม่น� ้ำฉางเจียว และลุม่ น� ้ำฮัน่ เจีย ต่อมากระจายตัวอยูม่ ณฑลยูนนาน กวางตุ้ง กวางสี และกุ้ ยโจว และได้ เคลื่ อ นเข้ า สู่ภ าคเหนื อ ของเวี ย ดนาม พม่า ลาว และอพยพจากลาวเข้ าสูไ่ ทย เมื่อประมาณ ๑๔๕ ปี มาแล้ ว ระยะแรก ตั ้ง ถิ่ น ฐ า น อ ยู่ บ ริ เ ว ณ ด อ ย ห ล ว ง อ.เชียงของ จ.เชียงราย เมื่อประชากร
เพิ่ ม ขึ น้ จึ ง ย้ า ยถิ่ น ฐานไปตามจัง หวัด ต่าง ๆ เช่น เชียงราย พะเยา เชียงใหม่ แ ม่ ฮ่ อ ง ส อ น น่ า น แ ล ะ ล� ำ ป า ง ในประเทศไทย มี เย้ าอยู่กลุ่มเดี ยวคื อ กลุม่ เบี ้ยนเย้ า หรื อ พ่านเย้ า เมี่ยน (เย้ า) ได้ รับการจัดให้ อยู่ในเชื ้อ ชาติ มองโกลอยด์ คืออยู่ในตระกูลจีน ธิเบต ได้ ปรากฏครัง้ แรกในเอกสารบันทึก ของจีน สมัยราชวงศ์ถงั โดยปรากฏในชือ่ ม่อ เย้ า มีความหมายว่าไม่อยูใ่ ต้ อ�ำนาจ ของผู้ใด เล่ากันว่า เมือ่ ประมาณ ๒,๐๐๐ กว่าปี มาแล้ วบรรพชน ได้ ตงถิ ั ้ ่นฐานอยู่ ๑๐๓
ทีร่ าบรอบทะเลสาปตงถิง แถบแม่น� ้ำแยง ซี ยอมอ่อนน้ อมให้ ชนชาติผ้ ปู กครองรัฐ และไม่ยินยอมอยู่ภายใต้ การบังคับกดขี่ ของรัฐ จึงได้ ทำ� การอพยพเข้ าไปในป่ าลึก บนภูเขาสูง ได้ ตงถิ ั ้ ่นฐานสร้ างบ้ านด้ วย มือของเขาเอง เพื่อปกป้องเสรี ภาพจึงถูก ขนานนามว่า ม่อ เย้ า ซึง่ เหยา ซี เหลียน ได้ บัน ทึ ก ไว้ ใ นเหลี ย งซู ต่ อ มาในสมัย ราชวงศ์ซ่ง ค�ำเรี ยกนี ้ถูกยกเลิกไปเหลือ แต่คำ� ว่า “เย้ า” เท่านันต่ ้ อมาค�ำว่าเย้ าเคย ปรากฏในเอกสารจี น เมื่ อ ประมาณ ศตวรรษที่ ๕ ก่ อ นคริ ส ตศัก ราช ซึ่ง มี ความหมายว่าป่ าเถื่อน หรื อคนป่ ากล่าว กันว่าในประเทศจีนชนชาติเย้ ามีค�ำเรี ยก ขานชื่อของตนเองแตกต่างกันถึง ๒๘ ชื่อ แต่คนเย้ าในประเทศไทย เรี ยกตัวเอง ว่า เมี่ยน หรื อ อิ ้วเมี่ยน ซึง่ มีความหมาย ว่า มนุษย์ หรื อ คนเหยา ซุน่ อัน กล่าวว่า ชาวเย้ าในประเทศจี นแยกออกเป็ น ๔ กลุม่ ใหญ่ คือ เผ่าเปี ย้ น เผ่าปูนู เผ่าฉาซัน และเผ่าผิงตี ชาวเย้ ้ าเผ่าเปี ย้ นมีประชากร มากที่ สุด และเป็ น กลุ่ม ที่ ย้ า ยถิ่ น ฐาน ตลอดเวลาเป็ นระยะทางที่ไกลที่สดุ และ กระจายกันอยู่ในอาณาบริ เวณที่กว้ าง ขวางที่ สุด ด้ ว ย ภาษาเย้ าในปั จ จุ บัน ผ่านการพัฒนากลายเป็ นภาษาถิ่นย่อย ๑๐๔
๓ ภาษา คือ ภาษาเมี่ยน ภาษาปูนู และ ภาษาลักจา ข้ อมูลเอกลักษณ์ / อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชื่อชุมชนท่องเที่ยววัฒนธรรมวัฒนธรรม ไทย : บ้ านห้ วยสะนาว หมู่ ๒ ต�ำบลป่ า กลาง อ�ำเภอปั ว จังหวัดน่าน เอกลักษณ์/ อัตลักษณ์อนั โดดเด่นและมี ความแตกต่ า งจากชุม ชนอื่ น : ภาษา, การแต่งกาย ข้ อ มู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายวิทยา แซ่จา๋ ว (ผู้ใหญ่บ้าน) บ้ านเลข ที่ ๑๑๖ หมู่ ๒ ต�ำบลป่ ากลาง อ�ำเภอปั ว จังหวัดน่าน มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียด ดังนี ้
ด้ านอาหาร นิยมกินข้ าวเจ้ า (ข้ าวสวย) ใส่ถ้วยพร้ อม ตะเกียบ ส่วนกับข้ าวนิยมกินอาหารที่สกุ แล้ วทุกชนิด ปรุงง่าย ๆ รสชาติสว่ นมาก มีรสเค็มอย่างเดียว ไม่เผ็ด วิธีปรุงก็ง่าย เช่ น กัน ส่ว นมากใส่เ กลื อ และน� ำ้ ปลา อาหารประจ� ำ ชาติ พั น ธุ์ ได้ แก่ ต้ ม สมุนไพรใส่ไก่ ต้ มกระดูกหมูใส่หน่อไม้ ดอง ต้ มหมูสบั ใส่ขิง และห่อนึง่ ด้ านการแต่ งกาย ชาวเมี่ยนหญิง เครื่ องแต่งกายประกอบ ด้ ว ย ก า ง เ ก ง ข า ก๊ ว ย เ ป็ น ผ้ า สี ด� ำ ปั กลวดลายด้ านหน้ า ผ้ าคาดเอว ผ้ าโพก ศี ร ษะ ส่ ว นเสื อ้ จะเป็ นเสื อ้ แขนยาว ลักษณะคลุมยาวด้ านหลังเป็ นผ้ าตรงชิ ้น เดียว ด้ านหน้ าเป็ นผ้ า ๒ ชิ ้น ชาวเมี่ยนผู้ชาย จะสวมเสื ้อตัวสันหลวม ้ คอกลม ชิ ้นหน้ าห่ออกอ้ อมไปติดกระดุม ลูก ตุ้ ม เงิ น ๘-๑๐ เม็ ด เป็ น แถวทาง
ด้ า นขวา กางเกงเป็ น กางเกงขาก๊ วย ตัดเย็บผ้ าทอมือย้ อมครามสีน� ้ำเงินหรือด�ำ จะมีลายปั กและกระเป๋ าติดอยู่ด้านหน้ า ด้ านที่อยู่อาศัย บ้ านจะปลูกคร่ อมดินโดยใช้ พื ้นดินเป็ น พื น้ บ้ าน ผังของบ้ านมี ลักษณะเป็ นรู ป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า ด้ านยาวจะเป็ นหน้ าบ้ าน และหลังบ้ าน หลังคามุงด้ วยใบหวาย หญ้ าคาส่วนฝาบ้ านจะใช้ ไม้ เป็ นแผ่นหรือ ไม้ ไผ่ทบุ ปล้ อง เมี่ยนไม่นิยมปลูกสิ่งก่อ สร้ างใดๆ ไว้ หลังบ้ าน ส่วนสิ่งก่อสร้ าง อื่นๆ จะมีเช่น ยุ้งข้ าว เล้ าหมู ซึง่ จะสร้ าง ไว้ ด้านหน้ า (ด้ านประตูใหญ่) ปั จจุบนั ชาวเมีย่ งในชุมชนบ้ านห้ วยสะนาว มีการ ปลูกบ้ านตามยุคสมัยปั จจุบนั ๑๐๕
ด้ านประเพณี พิธีกรรม พิ ธี ก รรมที่ ส� ำ คั ญ จะมี พิ ธี ก รรมการ ตัง้ ครรภ์ พิธีกรรมการเกิ ด การสู่ขวัญ การบวช การแต่ ง งาน พิ ธี ง านศพ ขึ ้นปี ใหม่ และวันกรรม วันเจี๋ยเจียบเฝย (สาร์ ทจี น) พิ ธีซิบตะปูงเมี ย้ น เมี่ ยนมี ความเชื่อ ประเพณีวฒ ั นธรรมที่ชบั ช้ อน มากมายโดยเฉพาะความเชื่ อ ในเรื่ อ ง สิง่ ที่อยูเ่ หนือธรรมชาติ สิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์
เกี่ยวกับสถานที่ สิ่งศักดิ์สิทธิ์เช่น สุสาน ภูเขา ป่ า ต้ นไม้ หนองน�ำ ้ แม่น�ำ ้ จอม ปลวก นรก – สวรรค์ และอีกอย่างหนึง่ ที่ เมี่ยนเชื่ อก็คือ การนับวันเดือนปี สิ่งที่ เกี่ยวข้ องกับชีวิตประจ�ำวัน โชคลางและ การท�ำนาย
ด้ านอาชีพ ได้ แก่ การเกษตร ค้ าขาย เครื่ องเงิน และรับราชการ ด้ านภาษา จัดอยูใ่ นตระกูลจีน – ทิเบต สาขาแม้ ว – ด้ านความเชื่อ ชาวเมี่ยนส่วนใหญ่ จะนับถื อวิญญาณ เย้ า ส่วนภาษาพูดจะพัฒนามาจากกลุม่ บรรพบุรุษ วิญญาณที่เมี่ยนนับถือแบ่ง ภาษาหนึ่ ง ของชาวหมาน ภาษาเย้ า ออกเป็ น ๓ กลุม่ คือ วิญญาณเทพยดา ปั จจุบนั แบ่งเป็ นภาษาถิ่นย่อย ๓ ภาษา วิญญาณบรรพบุรษ และวิญญาณทัว่ ไป คือ ภาษาเมี่ยน ภาษาปูน และภาษาลัก เมี่ยนทุกบ้ านจะมีหิ ้งบูชา เป็ นที่สิงสถิต จา ชาวเมี่ยนจะมีแต่ภาษาพูดไม่มีภาษา ของวิญญาณบรรพบุรุษและมีความเชื่อ เขียน จึงได้ น�ำเอาภาษาเขียนของภาษา ฮัน่ มาใช้ ๑๐๖
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น การร� ำ ถาด เป็ น การร� ำ ที่ ใ ช้ ร� ำ ในงาน มงคลสมรสเท่ า นัน้ ซึ่ง ถื อ เป็ น การให้ เกียรติแก่ฝ่ายเจ้ าสาว โดยจะมีการเชิญ น� ้ำชาให้ กบั แขกทังฝ่ ้ ายเจ้ าบ่าวและเจ้ า สาว และจะมีการร� ำด้ วยกัน พอร� ำเสร็ จ ก็ จ ะรั บ ถ้ ว ยน� ำ้ ชากลับ บรรเลงเพลงปี่ การบรรเลงเพลงปี่ เป็ นการบรรเลงเพื่อ ความบันเทิ ง มาตัง้ แต่ส มัยก่ อน ซึ่งใน เพลงบรรเลงแต่ละเพลงมีความหมาย ของเพลงนัน้ ๆ อยู่ และมีลกั ษณะการ บรรเลงเพลงเพื่อใช้ ในพิธีกรรมต่าง ๆ กัน เครื่ องดนตรี ของเมี่ยนมีลกั ษณะเป็ นการ เล่นดนตรี แบบง่ายๆ ไม่ซบั ซ้ อน โอกาส ในการเล่นดนตรีของเมีย่ นค่อนข้ างจ�ำกัด คือ ดนตรีของเมีย่ นจะมีโอกาสน�ำออกมา เล่นได้ ก็เฉพาะ เพื่อใช้ เป็ นส่วนประกอบ ในการด� ำ เนิ น พิ ธี ก รรมใหญ่ ๆ หรื อ ส�ำคัญๆ ตามต�ำราพิธีกรรมระบุไว้ วา่ ต้ อง ใช้ เครื่ องดนตรี ประกอบเท่านัน้ เช่น การ แต่งงาน พิธีบวช พิธีงานศพ พิธีกรรมดึง วิญญาณคนตายจากนรก (เชวตะหยัว่ ) เป็ นต้ น และในบางพิธีกรรมเหล่านี ้ การ ใช้ เ ครื่ อ งดนตรี ร่ ว มประกอบพิ ธี ก รรม ยังไม่อาจใช้ เครื่ องดนตรี ครบทุกประเภท
อีกด้ วย ทังนี ้ ้ขึ ้นอยู่กบั ชนิดของพิธีกรรม และคุณสมบัติของบุคคลที่เป็ นเจ้ าของ พิธีกรรม เช่น ดนตรี ประกอบพิธีกรรมแก่ ผู้ตายที่ไม่เคยผ่านการบวชใหญ่ จะใช้ ปี่ ไม่ได้ หรื อพีธีดงึ วิญญาณคนตายขึ ้นจาก นรก จะใช้ เครื่ องดนตรี เพียงแค่ฉาบและ กลองเท่านัน้ นอกจากกรณีเพื่อเป็ นส่วน ประกอบทางพิธีกรรมดังกล่าวแล้ ว ดนตรี ของเมี่ยนไม่มีโอกาสส่งเสียงส�ำเนียงให้ ผู้อื่นได้ ยินอีกแม้ แต่การฝึ กซ้ อม
๑๐๗
ข้ อมูลชุมชน ที่อยูช่ มุ ชน : หมู่ ๒ ต�ำบลป่ ากลางอ�ำเภอ ปั วจังหวัดน่าน การเดิ นทาง : การเดินทางรถยนต์สว่ นตัว เดินทางผ่านถนนหลวงหมายเลข ๑๐๘๐ ถึงปั วถนนปั ว-น� ้ำยาง รถประจ�ำทางลง สถานี ข นส่ง อ� ำ เภอปั ว ,เครื่ องบินลงที่ สนามบินน่านและต่อด้ วยรถประจ�ำทาง
(เครื่ องจักรสานชนิดม้ านัง่ ) ผลิตภัณฑ์ที่ มีเอกลักษณ์ /อัตลักษณ์ /ความโดดเด่น ทางวัฒนธรรม (ร้ านจ�ำหน่ายเครื่ องเงิน) และร้ านจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สร้ างสรรค์ หรื ผลิตภัณฑ์ที่ได้ รับการพัฒนาแปรรู ป แบบจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง้ เดิ ม บริ ษั ท ดอยซิลเวอร์ เฟคเตอร์ ตังอยู ้ ่บ้านป่ านา อ�ำเภอปั ว
สถานที่สำ� คัญภายในชุมชน ลานวัฒนธรรมของชุมชน ศูนย์การเรี ยนรู้วฒ ั นธรรม (ปั จจุบนั ปรับ เป็ นที่ท�ำการกลุม่ เย็บปั ก) สถานทีท่ เี่ ป็ นเอกลักษณ์ของชุมชน ได้ แก่ อ่างเก็บน� ้ำนิวซีแลนด์ โรงพยาบาลส่วน ต�ำบลป่ ากลาง วัด ศาลาเอนกประสงค์ ชุมชน
เส้ นทางคมนาคมและสาธารณูปโภค ภายในชุ ม ชน เส้ นทางภายในชุมชน (เป็ นภนนคอนกรี ตเชื่อมต่อทังหมด) ้
สถานที่ อ� ำ นวยความสะดวกด้ าน ความปลอดภัย โรงพยาบาลส่ง เสริ มสุขภาพต� ำ บลป่ า กลาง และสถานีต�ำรวจป้อมต�ำรวจและ ป้อมยามชุมชน ตังอยู ้ ห่ น้ าโรงเรียนมัธยม สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในชุมชน ป่ ากลาง สถานที่ พั ก โฮมสเตย์ ปาล์ ม เดอปั ว ข้ อส�ำคัญที่ควรและไม่ ควรปฏิบัติใน ๔ ห้ องพัก ชุมชน ร้ านอาหาร ครัวคุณเหมียว ร้ านจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องที่ ร ะลึ ก ข้ อควรปฏิบตั ภิ ายในชุมชนและข้ อปฏิบตั ิ ร้ านจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ทางวัฒนธรรม ที่เกี่ยวข้ องกับชาติพนั ธุ์หรื อท้ องถิ่น เพื่อ ผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ปฏิบตั ติ าม ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ประเภทเสื ้อผ้ า (กลุ่ม ได้ แก่ หากต้ องการจะถ่ายภาพบุคคลควร เย็ บ ปั ก ) ผลิ ต ภัณ ฑ์ ป ระเภทหัต กรรม ขออนุ ญ าตก่ อ น และ ให้ เกี ย รติ แ ละ เคารพวิถีชมุ ชน ๑๐๘
ข้ อห้ ามปฏิ บั ติ ภ ายในชุ ม ชนและข้ อ ปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ องกับชาติพนั ธุ์หรื อท้ อง ถิ่น เพื่อให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ปฏิบตั ติ าม ได้ แก่ พิธีคนทังหมู ้ ่บ้านท�ำร่ วมกันห้ าม บุค คลภายนอกเข้ า ร่ ว มหรื อ ถ่ า ยภาพ บ้ านที่มีตะเหลงปั กอยูห่ ้ ามเข้ า และบ้ านที่มีผ้ ูหญิ งคลอดลูกใหม่ยังไม่ ครบเดือนห้ ามเข้ า วิสัยทัศน์ ของชุ มชนในการส่ งเสริ ม การท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ๑. ส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เพื่ อ สนับ สนุน ให้ เ กิ ด การอนุรั ก ษ์ แ ละ สืบสานวัฒนธรรมของชุมชน ๒. ส่งเสริ มการพัฒนาแหล่งเศรษฐกิจ ดังเดิ ้ มสูส่ ากลเช่นเครื่ องเงินผ้ า, ผ้ าปั ก ๓. ปรับปรุงภูมิทศั น์ให้ สอดคล้ องกับการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
๔. จัดให้ มีระบบการบริ การข้ อมูลการ ท่องเที่ยว ความต้ องการของชุ ม ชนในการ พั ฒ นาเป็ นแหล่ งท่ องเที่ ยวเชิ ง วัฒนธรรม ต้ องการสร้ างศูนย์เรี ยนรู้วิถี ชี วิ ต วัฒ นธรรม เพื่ อ เป็ น การสื บ สาน ขนบธรรมเนียมประเพณี อิ ้วเมี่ยน ให้ คน รุ่นหลังและผู้ที่สนใจสืบต่อไป
๑๐๙
ไปปว
โรงเรียน มัธยมปากลาง
ม.1
ม.6
อางเก็บนํ้า นิวซีแลนด เด็กเล็ก อบต.(เกา)
โรงเรียนมัธยม ปากลางมิตรภาพ ที่166
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
รพ.ส.ต.
วัด
ม.7
ศิลาเพชร
บานนิคม (ทาวังผา)
ม.7
ม.3
1.ศูนยวัฒนธรรม 2.ศาลาเอกประสงค อุปกรณกอสราง เครื่องเงิน รานของชํา
จังหวัดนาน
เมี่ยน
ชาติพันธุ์
มลาบี
ชนเผ่ าตองเหลื อ งเรี ย กชื่ อ เชื อ้ ชาติ ข องตนเองว่ า “ มลาบรี ” มีความหมายว่า “คนป่ า” ส�ำหรั บค�ำว่า “ผีตองเหลือง” นันเป็ ้ นชื่อเรี ยกของชาวบ้ านคนไทยทาง ภาคเหนือ ที่ใช้ เรี ยกชนกลุ่มนี ้ เนื่องจาก ชนกลุ่มนีม้ ี พฤติกรรมเร่ ร่อน เสาะหาแหล่งอาหารโดยการล่าสัตว์ และเก็บพืชผักผลไม้ ตามที่ตา่ ง ๆ ในป่ ามารับประทาน ที่ พัก หรื อ บ้ า นก็ ส ร้ างเป็ น เพิ ง หลัง คามุง ด้ ว ยใบตอง ส�ำหรับเป็ นที่อยูอ่ าศัยในระหว่างหาอาหาร เมื่อแหล่งที่ อยูอ่ าศัยนันมี ้ อาหารไม่เพียงพอ ก็จะย้ ายไปอยูท่ อี่ นื่ เพือ่ หาอาหารต่อไป และเป็ นความบังเอิญที่วา่ ชาวบ้ านใน แถบนันเคยพบชนกลุ ้ ม่ นี ้ตังแต่ ้ เริ่มสร้ างที่อยูแ่ ละสังเกต ว่า เมื่อใบตองเปลี่ยนสีเป็ นสีเหลือง ก็จะย้ ายหนี ไป ประกอบกับลักษณะนิสยั ของเขาเมื่อได้ พบกับคนไทย หรื อคนเผ่าอื่นที่ไม่ร้ ูจกั กัน ก็อพยพหลบหนีทนั ที จึงถูก เรี ยกชื่อว่า “ ผีตองเหลือง” ๑๑๑
มี ห ลั ก ฐ า น บ า ง ป ร ะ ก า ร ท า ง ประวัตศิ าสตร์ และต�ำนานเรื่องเล่า ท�ำให้ เชื่อได้ วา่ ผีตองเหลืองมีถิ่นก�ำเนิดอยูใ่ น บริ เ วณแม่ น� ำ้ โขงของแขวงไชยะบุ รี ประเทศลาว ส�ำหรั บชนเผ่ามลาบรี ใน ประเทศไทย อพยพเข้ ามาเมื่อไหร่ ไม่มี ใครทราบ ในอดีตเคยอยู่กระจายกันใน หลายจังหวัด เช่น เชียงใหม่ เชียงราย น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ และเลย แต่ปัจจุบนั ชนเผ่ามลาบรี อาศัยอยูใ่ นสองจังหวัดใน ประเทศไทยเท่านัน้ คือ แพร่และน่าน ข้ อมูลเอกลักษณ์/ อัตลักษณ์ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
๑๑๒
ชื่อชุมชนท่องเที่ยววัฒนธรรมวัฒนธรรม ไทย : ห้ วยลู้อ�ำเภอเมือง เอกลักษณ์/ อัตลักษณ์อนั โดดเด่นและมี ความแตกต่างจากชุมชนอื่น: คนอยู่คู่ กับป่ า ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นางสาว รัชนก เตชนันท์ (ผู้ใหญ่บ้าน) บ้ านเลขที่ ๑ หมู่ ๑ ต�ำบลแงง อ�ำเภอปั ว จังหวัดน่าน มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียด ดังนี ้
ด้ านการแต่ งกาย การแต่งกายของชนเผ่า มลาบรี ในสมัย ก่อนจะใช้ เปลือกปอปกปิ ดร่ างกายและ เพื่อความอบอุ่นของร่ างกาย โดยมีวิธี การ คือ ไปลอกเปลือกจากต้ นปอมาแล้ ว น�ำเปลือกของต้ นปอ ไปทุบให้ ละเอียด ตากให้ แห้ ง แล้ วน�ำมาท�ำเป็ นเครื่ องแต่ง กายของชนเผ่ามลาบรี ทัง้ ผู้หญิ งและ ผู้ชาย ซึ่งมี การท�ำแบบนี ม้ าเรื่ อยๆ ใน ปั จ จุบัน ไม่ มี ก ารน� ำ ใบตองมาท� ำ เป็ น เครื่ องแต่งกายแล้ ว เนื่องจากใบตองขาด ง่ายและใส่ได้ ไม่นาน ส�ำหรับใบตองชน เผ่ า มละจะใช้ ส� ำ หรั บ ท� ำ เพิ ง พัก อย่ า ง เดี ยวเท่านัน้ และใส่เสือ้ ผ้ าเหมื อนคน ปกติทว่ั ไป ไม่มีการแต่งกายแบบดังเดิ ้ ม ด้ านประเพณี และพิธีกรรม ให้ เห็ น จะมี ใ ห้ เห็ น ก็ แ ค่ ผ้ ู เฒ่ า ผู้ แก่ ใ น ประเพณีการแต่งงานชาวมลาบรี ใช้ การ แต่ ง งานแบบสมั ย ก่ อ น ไม่ มี ก ารขอ หมูบ่ ้ านบางคนเท่านัน้ สินสอดทองหมัน้ ไม่มีการหมัน้ หรื อจัด ด้ านที่อยู่อาศัย งาน ฆ่าหมูเลีย้ งแขก แต่เป็ นลักษณะ มัก จะสร้ างที่ พักอาศัยในลักษณะเพื่ อ ง่ายๆ คือ เอาญาติของทังสองฝ่ ้ ายมาคุย เป็ นที่พกั ชัว่ คราวเท่านัน้ มีลกั ษณะเป็ น กั น หากทั ง้ สองรั ก กั น และพ่ อ แม่ ไ ม่ เพิง เพราะสร้ างง่าย ที่พกั อาศัยจะสร้ าง ขัดข้ อง ทังสองก็ ้ ถือได้ วา่ เป็ นสามีภรรยา จากไม้ ไผ่ หลังคาจะมุงด้ วยใบตอง ใบ นับตังแต่ ้ นนเป็ ั ้ นต้ นไป หวาย หรื อใบไม้ ชนิดอื่น ๆ ที่มีใบใหญ่ ประเพณี ปีใหม่ มักจัดขึน้ ในช่วงเดือน พอที่จะมุงเป็ นหลังคาได้ (ชุมชนห้ วยลู้ มกราคม ก่อตังมาเป็ ้ นเวลากว่า ๗ ปี ) ๑๑๓
ด้ านภาษา ชาวมลาบรี มีภาษาพูเป็ นของตนเอง คือ ภาษามลาบรี จดั อยูใ่ นตระกูลย่อยมอญเขมร ของกลุ่มภาษาออสโตรเอเชียติค และใช้ ภาษาเขียนเป็ นภาษาไทย ด้ านอาชีพ ได้ แก่ ท�ำการเกษตร ท�ำไร่ ท�ำสวน ล่าสัตว์ และรับจ้ างทัว่ ไป ด้ านความเชื่อ การนับ ถื อ ผี และมี พิ ธี ก รรมเซ่ น สรวง บรรพบุรุษ ซึง่ เป็ นผีผ้ รู ักษาป่ า ภูเขา และ ล�ำห้ วยต่าง ๆ อันเป็ นต้ นก�ำเนิดเป็ นแหล่ง อาหารที่ส�ำคัญ แต่การนับถือของชนเผ่า ๑๑๔
มลาบรี ไม่ซบั ซ้ อนเหมือนกับชนเผ่าอืน่ ๆ ชนเผ่ามลาบรี นบั ถือผีป่า ผีภเู ขา และผี ล� ำ ห้ ว ย การเซ่น ไหว้ บูช าจะกระท� ำ ใน คืนวันเพ็ญ ด้ วยการเต้ นร� ำรอบ ๆ หอก ยาว เครื่องดนตรีมอี ย่างเดียวคือ แคน ผีต องเหลืองจะกระท�ำพิธีโดยการวางศพลง บนกองไม้ แล้ วปิ ดด้ วยใบไม้ ญาติพี่น้อง จะหมอบลงใกล้ ศพ ร�่ ำไห้ จุดไฟเผาแล้ ว พากันรี บย้ ายไปอยู่ที่อื่นทันที คนตาย แล้ ว เขาเชื่อว่า วิญญาณจะออกจากร่าง ท่องเที่ยวไปแล้ วก็ไปสิงในร่ างของสัตว์ ชนิดต่าง ๆ การเจ็บป่ วย เชื่อว่า วิญญาณ ที่ ชั่วมาท� ำร้ าย จะรั กษาโดยใช้ ไฟหรื อ ควันไฟขับไล่ให้ ออกไป ชาวตองเหลืองมี ความเชื่อว่า เขาเป็ นมลาบรี ซึง่ แปลว่า “คนป่ า” ต้ องอาศัยอยู่กบั ป่ า จะสร้ างที่ อยูอ่ าศัยแบบถาวรไม่ได้ และหากท�ำการ เกษตร เช่น การปลูกพืช (ทุกชนิด) การ เลีย้ งสัตว์ เป็ นของตนเองจะถูกลงโทษ จากผีสางเทวดา ชาวตองเหลือจึงได้ แต่ รับจ้ างชาวเขาเผ่าอื่น ๆ และสร้ างเพิงพัก ชัว่ คราวตามไร่ที่ตนเองรับจ้ างอยูเ่ ท่านัน้ ชาวตองเหลืองจะมีสตั ว์เลี ้ยงชนิดเดียว คือ “ สุนขั ”
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ชนเผ่ามลาบรี จะใช้ กระบอกไม้ ไผ่ มา เคาะเป็ นจังหวะ ประกอบการร้ องร� ำท�ำ เพลง เวลาทีม่ คี วามดีใจทีห่ าอาหารมาได้ นอกจากนี ้ยังมีการเป่ าแคนเป็ นท�ำนอง แบบลาว การเป่ าขลุย่ แบบชาวม้ ง ข้ อมูลชุมชน ที่ อ ยู่ชุม ชน : บ้ า นห้ ว ยลู้ต� ำ บลน� ำ้ เกี๋ ย นอ�ำเภอภูเพียงจังหวัดน่าน การเดินทาง : การเดินทางด้ วยรถยนต์ ส่วนตัวเดินทางผ่านถนนหนองเต่า-บ้ า นก๊ อต, รถโดยสารประจ�ำทาง จากขนส่ง น่านไปทุ่งช้ าง กรมที่ ๔๐ เดินทางด้ วย เครื่ องบิน ลงที่สนามบินน่าน ต่อด้ วยรถ โดยสารประจ�ำทางไปขนส่งไปทุง่ ช้ าง
สถานที่สำ� คัญภายในชุมชน ลานวัฒนธรรมของชุมชน จ�ำนวน ๑ แห่ง สถานที่ชมวิวทิวทัศน์ของชุมชน จ�ำนวน ๑ แห่ง ป่ าชุมชน จ�ำนวน ๑ แห่ง สิง่ อ�ำนวยความสะดวกภายในชุมชน สถานที่พกั กางเต้ นท์ จ�ำนวน ๑ แห่ง บ้ าน ๑๕ ครัวเรื อน ประชากร ๕๘ คน ผู้น�ำชุมชน ๒ คน ร้ านอาหารอื่น ๆ จ�ำนวน ๑ แห่ง สหกรณ์ ร้ านค้ าชุมชน ร้ านจ� ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ของที่ระลึก ย่าม ถแปด ท�ำจากเถาวัลย์, ย่ามเรี ยก ญอก, ตะกร้ าสาน เรี ยก ปม สถานที่อ�ำนวยความสะดวกด้ านความ ปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพ ต�ำบลบ้ านน� ้ำโค้ ง ผู้น�ำชมภายในชุมชน นายพินิจ และนาง บุญทิพย์ ๑๑๕
ศูนยวัฒนธรรม
เสนทางธรรมชาติ
แปลงปลูกสตรอเบอรี่
เวทีชุมชน
ที่จอดรถ
เสาวรส
สนามฟุตบอล
ดาน ตชด.
ลานดูดาว
สามแยก
ที่พักปาไม
จังหวัดนาน
มลาบรี
สถานที่ท่องเที่ยว
๘
กลุ่มชาติพันธุ์ จังหวัดพะเยา
๑๑๗
ชาติพันธุ์ ไทลื้อ ความแตกต่า งจากชุม ชนอื่ น : เครื่ อ ง แต่งกายไทลื ้อ โดยเฉพาะเสื ้อปัดแขนยาว แถบบุกด�ำขาว ชาติพันธุ์ไทลือ้ ในพื ้นที่จงั หวัดพะเยา ชาติพนั ธุ์ภายในชุมชน : ไทลื ้อ ส่วนใหญ่ เคลือ่ นย้ ายมาจาก ประเทศจีน ลาว และพม่า โดยเข้ ามาตังถิ ้ ่นฐานใน ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เขตการปกครองของเมืองน่านในสมัยนัน้ วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน และได้ มีการเคลื่อนย้ ายที่ ท� ำมาหากิ น นางหทัยทิพย์ เชื ้อสะอาด เจ้ าหน้ าทีด่ แู ล ั นธรรม บ้ านเลขที่ ๑๘๖ หมู่ ๓ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ใ นพื น้ ที่ ต่ า ง ๆ ทั ง้ ใน ศูนย์วฒ จังหวัดน่าน จังหวัดเชียงราย และจังหวัด ต� ำ บลหย่ ว น อ� ำ เภอเชี ย งค� ำ จัง หวัด พะเยาในปั จ จุบัน โดยในพื น้ ที่ จังหวัด พะเยา มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียดดังนี ้ พะเยามีไทลือ้ ตัง้ ถิ่ นฐานอยู่ในพืน้ ที่ ๔ ด้ านอาหาร อาหารของชาวไทลื ้อส่วน อ� ำ เภอ ได้ แ ก่ อ� ำ เภอเชี ย งค� ำ อ� ำ เภอ มากจะเป็ น การเก็ บ พื ช ผัก ที่ อ อกตาม เชียงม่วง อ�ำเภอภูซาง และอ�ำเภอจุน ฤดูกาลมาเป็ นวัตถุดิบในการปรุงอาหาร ข้ อมูล เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม ชื่อชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : ไทย ลื ้อ หมูบ่ ้ ารร้ องแง เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ อันโดดเด่นและมี
๑๑๘
เช่น จิน้ ซ้ าพริ ก ส้ มผักกาด ปลาปิ ง้ อบ หมกปลาตาย เป็ น ต้ น ส่ว นอาหารใน พิ ธี ก รรม ส่ว นมากจะใช้ เ นื อ้ สัต ว์ เช่ น ลาบเลือด ห่อนึง่ แกงขนุน ไก่ต้ม เป็ นต้ น ในช่วงเข้ าพรรษาจะท�ำ “ขนมปาด” เป็ น ข น ม ที่ น� ำ น� ำ้ แ ป้ ง ผ ส ม กั บ น� ำ้ อ้ อ ย
“
แอ่วร้องแง แลวิถีไทลื้อ
“
เคี่ยวจนงวดแล้ วน�ำตักใส่ถาด พอเย็นลง ก็ ใ ช้ มี ด ปาดหรื อตั ด เป็ นชิ น้ เล็ ก ๆ ด้ านที่ อยู่ อาศั ย อาคาร สถานที่ การสร้ างบ้ านเรื อนในอดีตจะสร้ างด้ วย ไม้ ไผ่ แต่ในปัจจุบนั ทีอ่ ยูอ่ าศัยของชาวไท ลื ้อจะเป็ นบ้ านยกสูง มีใต้ ถนุ บ้ าน หลังคา จัว่ ผสม (หลังคาจัว่ ผสมปั น้ หยา) ฝาตัง้ บานออก บ้ านเป็ นห้ องโถงโล่ง มีเชิงไฟ ด้ า นการแต่ ง กาย การแต่ ง กายของ ชาวไทลื ้อ ผู้ชายจะสวมเสื ้อป้ายมีแถบสี ใส่กางเกงที่เรี ยกว่า เต่วสามดูก หรื อเต่ว เผ่า มีผ้าโพกศรี ษะ สวมกับเสื ้อม่า (เสื ้อ กัก๊ ) และสะพายดาบ ส่วนผู้หญิง จะสวม เสื ้อปั๊ ด สีแถบแดง ใส่ผ้าซิน่ (ซิน่ ต๋า) นิยม เกล้ ามวยผมทีเ่ รียกว่า “เกล้ ามวยวิดว้ อง” หรื อ โพกผ้ ารอบศรี ษ ะ คาดเอวด้ วย เข็มขัด และมี เครื่ องประดับเป็ นสร้ อย ดอกปี ป ทัง้ ผู้ชายผู้หญิ งเวลาออกนอก บ้ านนิ ย มสะพายถุ ง หมากแดง หรื อ ย่ามสีแดง
๑๑๙
ด้ านอาชี พ เดิ ม ไทลื อ้ มี อ าชี พ ทางการ เกษตร ท�ำไร่ ท�ำนาน ท�ำสวน แต่ในปั จจุบนั ด้ านประเพณี พิธีกรรม ประเพณีของ จะรับราชการ ค้ าขาย ปลูกผักสวนครัวตาม ชาวไทลื ้อ คือประเพณี ตานธรรม ซึง่ จะ บ้ านเรื อน เนื่องจากไทลื ้อเป็ นคนขยันและ ต้ องท�ำทุกปี ปี ละ ๑ ครัง้ ในช่วงเดือน ชอบการเกษตร
หรื อ ประมาณเดื อ นมี น าคม เพื่ อ เป็ น การอุทศิ ตานไปหาผู้วายชนม์ ไทลื ้อเรี ยก “กิ น ใหญ่ ต ายโหลง” คื อ เป็ น งานบุ ญ ที่ ใหญ่ และส�ำคัญมาก อี กทัง้ ในแต่ละ หมู่บ้านยังมีประเพณีที่แตกต่างกันออก ไป เช่น ประเพณีตงธรรม ั้ ประเพณีเลี ้ยง ป๋ างใหญ่ ประเพณีเลี ้ยงเทวดาเจ้ าช้ าง เผือก เป็ นต้ น
ด้ านภาษา ภาษาตระกู ล ไทลื อ้ เป็ น ภาษาคระกูลไต-ไท และมีภาษาพูดเป็ น ของตัวเองและภาษาเขียน ใช้ อกั ขระล้ าน นา เป็ นอักษรธรรม ค�ำศัพท์ ส่วนใหญ่ จึงเหมือนกับค�ำเมืองหรื อภาษาล้ านนา ๑๒๐
ด้ านความเชื่อ ชาวไทลื ้อมีความเชื่อ ในเรื่ องของผี ผี เ มื อ ง ผี บ รรพบุ รุ ษ ในทุก ๆ ปี จะมีการเลี ้ยง (บวงสรวงเซ่น ไหว้ ) เทวดาหลวงเมืองหย่วน พระเทวดา หลวงเมืองมาง เลี ้ยงผีบ้าน เลี ้ยงผีล๊อก (ผีประจ�ำตระกูล) ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น การขับลื ้อเป็ นการ ขับเกี ้ยวพาราสีกนั ระหว่าง ชายหนุม่ และ หญิ งสาว เป็ นการสื่อสารอย่างหนึ่งใน การเลื อ กคู่ ,ตี ก ลองปูจ า จะใช้ ตี เ ป็ น สัญญานในชุมชน และตีถวายเป็ นพุทธ บูช า ในวัน โกนและวัน พระ และยัง มี ศิลปะพื ้นถิ่นอีก เช่น การฟ้อนดาบ ,ฟ้อน เริ ง และร� ำนางนก
วัดแสนเมืองมา
ศาลพ่อเมืองมาง
นํ้าลาว แม่นแม ้ำลาว
ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช
48
11 ถนน
ถนนสิทธิประชาราษฎร์ เส้นทางหมายเลข 1021
วัดเชียงบาน
วัดทุ่งหมอก
กลุ่มทอผ้าไทลื้อ
วัดนันตาราม พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดนันตาราม
วัดดอนไชย
กะละแมโบราณ
วัดหย่วน
สถานที่ท่องเที่ยว
ผ้าฝ้ายแปรรูป สีธรรมชาติ
กลุ่มทอผ้าไทลื้อ
กลุ่มทอผ้าไทลื้อ บ้านธาตุสบแวน
วัดพระธาตุสบแวน
จังหวัดพะเยา
ไทลื้อ บ้านไทลื้อแม่แสงดา
ศูนย์วัฒนธรรมไทลื้อ
สถานีตำรวจ
กลุ่มทอผ้าไทลื้อลายต่ำ ก้าวบ้านทุ่งหมอก
ชาติพันธุ์ ปะโอ กลุ่มชาติพันธุ์ปะโอ หรื อ ตองสู้ ตาม ต�ำนานชาวปะโออพยพมาจาก เมืองทาง ทิศตะวันออกของย่างกุ้ง ก่อนจะอพยพ เข้ ามาในเมืองต่าง ๆ ของดินแดนล้ านนา และเดินทางเข้ ามาค้ าขายและติดตาม พ่อเฒ่านันตา วงค์อนันต์ ซึง่ เป็ นคหบดี ชาวปะโอ ที่ เ ข้ ามาค้ าขายและเป็ น ตัว แทนท� ำ ไม้ ใ ห้ กับ บริ ษั ท ของอัง กฤษ และเดินทางเข้ ามาค้ าขายและติดตาม พ่อเฒ่านันตา วงค์อนันต์ ซึง่ เป็ นคหบดี ชาวปะโอ ที่ เ ข้ ามาค้ าขายและเป็ น ตั ว แ ท น ท� ำ ไ ม้ ใ ห้ กั บ บ ริ ษั ท ข อ ง อั ง กฤษ ผู้ ที่ อ พยพตามเข้ ามามี ทั ง้ ที่เป็ นชาวบ้ าน และพระสงฆ์ เข้ ามาอยู่ จ�ำพรรษา ณ.วัดนันตาราม วัดบุญนาค ตลอดถึ ง อาศั ย อยู่ ใ นตลาดเชี ย งค� ำ บ้ า น ทุ่ ง บ า น เ ย็ น บ้ า น ด อ น ไ ช ย ข้ อมูล เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ ที่โดดเด่นของ ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ชื่อชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : บ้ าน ทุง่ บานเย็น เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ อันโดดเด่นและ มีความแตกต่างจากชุมชนอื่น : มีความ ๑๒๒
หลากหลายด้ านชาติพนั ธุ์ ค�ำขวัญของชุมชน : ทุง่ บานเย็นเย็นสุขใจ ชาติพนั ธุ์ภายในชุมชน : ปะโอ ไตใหญ่
ข้ อมูล ๘ วิถี ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู ำ� ชุมชน พระอธิการสันติ ชยธัมโม เจ้ าอาวาสวัดนันตาราม ประธาน ชาติพนั ธุ์ปะโอ บ้ านเลขที่ ๑ หมู่ ๑๓ ต�ำบล หย่วน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา มีข้อมูล ที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร ชาวปะโอจะนิยมท�ำอาหาร
จากพืช ผักตามฤดูกาล รวมไปถึงการใช้ เครื่องเทศต่างๆ ในการปรุงอาหาร อาหาร ที่นิยมท�ำในครัวเรื อนส่วนมากจะเป็ น น� ้ำ พริ กคัว่ ปะโอ ,แกงฮังเล ,แกงน� ้ำขิง และ ย�ำใบมะขามอ่อน เป็ นต้ น ขนมที่นิยมท�ำ กันในงานประเพณี งานบุญ ที่เรี ยกว่า “ขนมปิ ้ง ” ซึ่ ง จะคล้ ายกั บ ขนมจาก ห่อด้ วยใบตอง
ด้ า นการแต่ ง กาย ผู้ห ญิ ง จะแต่ ง กาย ด้ า นอาชี พ อาชี พ ในปั จ จุบัน ของชาว
ประกอบไปด้ ว ย ผ้ าโพกหัว (เปรี ย บ เสมือนหัวพญานาค) ใส่ผ้าถุงสีขาว เสื ้อ จะเป็ น เสื อ้ แขนสัน้ คอเป็ น รู ป ตัว วี (V) แขนเสือ้ ซ้ อนกัน ๒ ตอน ใช้ สีด�ำ มีผ้า ปลอกขา หรื อ ผ้ าโพกขา ส่ ว นเครื่ อ ง ประดับจะมี ตุ้มหู ก�ำไลมือ และปิ่ นปักผม ส่วนผู้ชาย จะนิยมใส่กางเกงเป้าหย่อน ที่เรี ยกว่า “เตี่ยวโหล่ง” ใส่เสือ้ คอกลม แขนกระบอก หรื อแขนยาว สวมทับด้ วย เสื ้อชัน้ นอก มีผ้าโพกหัว ทัง้ ผู้ชายและ ผู้หญิงจะสะพายถุงย่าม
ปะโอ คือ เกษตรกร ค้ าขาย ข้ าราชการ และท�ำไม้ ด้ านความเชื่อ มีความเชื่อในเรื่ องก�ำเนิด
บรรพบุรุษ จากนางนาค ชื่อนากา และ วิทยาธร ชื่อผาวิจา และจะจัดวัมาฆบูชา ในเดือนมีนาคม ก่อนหรื อหลัง ๑ – ๑๕ มีนาคมทุกปี
ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ ที่อยู่
อาศัยของชาวปะโอนัน้ จะเป็ นบ้ านชัน้ เดียวยกสูง ท�ำจากไม้ ไผ่ หรื อไม้ เนื ้อแข็ง ด้ า นประเพณี พิธี ก รรม บวชลูก แก้ ว
(ปอยเชี ย งลอง), ท� ำ บุ ญ บรรพบุ รุ ษ , ตานข้ าวส้ มต่อ (ถวายข้ าวมัสธุปายาท) ,ถวายโคมไฟ (ออกพรรษา ,ลอยกระทง) ด้ านภาษา ชาวปะโอจะมีภาษาพูดของ
ตัวเอง คือภาษาปะโอ
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น การเต้ นปะโอ (ร่ายร� ำ)
การตี ก ลองปูจ่ า โดยมี ด นตรี เ ป็ น ของ ตนเอง และมีกลองกันยาว
๑๒๓
วัดดอนไชย
ปะโอ ครัวอิ่มอรอย
วัดนันตาราม
โฮมสเตย
โฮมสเตย
รร.สาธิต
ที่ทําการผูใหญบาน
สถานที่ท่องเที่ยว
BANK
ธนาคารกสิกร
โฮมสเตย
ชาติพันธุ์ ภูไท ชาวภูไท ดังเดิ ้ มมีภมู ิล�ำเนาอยู่ที่แคว้ น สิบสองจุไท ประเทศเวียดนาม ต่อมาได้ มีการเคลื่อนย้ ายเข้ าสูป่ ระเทศลาว และ สูป่ ระเทศไทยตามล�ำดับ การอพยพเข้ า มาประเทศไทยครัง้ แรกเข้ ามาในรัชสมัย ของพระเจ้ า กรุ ง ธนบุรี ส่ว นครั ง้ ที่ ส อง เข้ ามาในสมั ย เจ้ าอนุ ว งศ์ เ วี ย งจั น ทร์ ส่วนครั ง้ ที่สองเข้ ามาในสมัยที่ ๓ แห่ง กรุง รัตนโกสินทร์ ชุมชนภูไท ในจังหวัด พะเยา เป็ นชุมชนที่ย้ายถิ่นฐานมาจาก ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตั ง้ แต่ ปี พ.ศ.๒๕๐๒ ๑๒๕
ข้ อมูล เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ๑. ชื่อชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : ชุมชนท่องเที่ยว อีสาน - ล้ านนา ๒. เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ อันโดดเด่นและ มีความแตกต่างจากชุมชนอื่น : ภาษา อาหาร การแต่ ง กาย วิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมประเพณี ๓. ชาติพันธุ์ภายในชุมชน : ภูไท ,ไทอีสาน ,ไทยวน ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นางหทัยทิพย์ เชื ้อสะอาด เจ้ าหน้ าทีด่ แู ล ศูนย์วฒ ั นธรรม บ้ านเลขที่ ๑๘๖ หมู่ ๓ ต� ำ บลหย่ ว น อ� ำ เภอเชี ย งค� ำ จัง หวัด พะเยา มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร
คือ ข้ าวเหนียว แกลบ ลูกข้ าวหมาก หรื อ แป้งข้ าวหมาก รสชาติจะออกหวาน ๆ ขม ๆ ผสมกับดีกรี แอลกอฮอล ด้ านการแต่ งกาย ผู้หญิง จะนิยมไว้ ผมยาวและเกล้ ามวย ผมไว้ กลางกระหม่อม เวลาออกนอกบ้ าน จะมีผ้ามัดที่ผม เรี ยกว่า “ผ้ าแพรมน” มี ลักษณะคล้ ายผ้ าเช็ดหน้ าขนาดใหญ่ มี สีสนั และลวดลายฉบับภูไท เสื ้อจะเป็ น เสื ้อมอมหรื อเสื ้อด�ำ ผ้ าซิ่นจะเป็ นซิ่นมัด หมี่ต่อด้ วยตีนจก สวมรองเท้ าแตะคีบ และจะมีก�ำไลข้ อมือ /เท้ า เงินทังสองข้ ้ าง เวลามีงานบุญต่าง ๆ จะเห็นชาวภูไทน�ำ สไบที่มีความประณีต ส่วนใหญ่จะเป็ นสี แดง สาวภูไทยจะทอเอาไว้ ใช้ ผืนเดียวใน ชีวิต เรี ยกว่า “แพรวา” หรื อ ผ้ าเบี่ยง
ชาวภู ไ ทบริ โ ภคข้ าวเหนี ย วเป็ นหลัก ท� ำ อาหารจากธรรมชาติ ป่ าเขา และ อาหารตามฤดูกาล เช่นข้ าวจี่ ,ไก่ใต้ น� ้ำ ,ต�ำมะฮุง ,แจ่วมอง ,แกงยอดยวบ ,ซุป หน่อไม้ ,หมกหน่อไม้ ,ป่ นต่าง ๆ เป็ นต้ น กรณีที่มีเทศกาลต่าง ๆ ถึงจะมีการล้ ม สัตว์ใหญ่ เครื่ องดื่มที่นิยมท�ำกินกันใน ผู้ ช า ย มั ก จะนิ ย มนุ่ ง โสร่ งไหมใน เทศกาลต่าง ๆ ก็คือ เหล้ าอุ มีลกั ษณะ งานพิเศษ เวลาปกติจะนุง่ กางเกงขาก๊ วย เป็ นโอ่งเล็ก ๆ วัตถุดิบที่น�ำมาท�ำเหล้ าอุ หรื อ โสร่ ง ที่ ท� ำ จากผ้ า ฝ้า ย เสื อ้ จะเป็ น ๑๒๖
โทนสี ด� ำ มั ก จะมี ผ้ าชาวม้ า หรื อ ที่เรี ยกว่า “แพ” พาดบ่า มัดเอว หรื อมัด หัวเวลาเดินทาง ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ เฮือนภูไท เป็ นเรื อนปลูกสร้ างคู่กนั สอง หลังระหว่างเรือนใหญ่ หรือเรือนนอนและ เรื อนโข่ง (เรื อนระเบียง) ในปั จจุบนั ที่อยู่ อาศัยส่วนมากของชาวภูไทจะเป็ นบ้ าน ไม้ ใต้ ถนุ สูง มีระเบียง มีชานบ้ าน และมี ครัวไฟอยูข่ ้ างบนบ้ าน ด้ านภาษา ชาวภูไทมีภาษาในการพูด คือ ภาษาภูไท (จัดอยู่ในตระกูลภาษา ไท-กะได มีภาษาที่ใกล้ เคียงกับภาษา ไทอี ส าน) ,ภาษาอี ส าน และค� ำ เมื อ ง (ภาษาเหนือ) ด้ า นความเชื่ อ ชาวภูไ ทมี ค วามเชื่ อ ในเรื่ องของการนับถือศาสนาพุทธ ซึง่ จะ ประกอบกับการท�ำประเพณี พิธีกรรม การแห่ ด อกไม้ และเชื่ อ ในเรื่ อ งของ การนับถือผีบ้านผีเรื อน ซึ่งจะมีการจัด แจ่งในบ้ านเรื อนของตนเอง มักจะมีการ กล่ า วบอกก่ อ นจะมี ง านบุญ ของบ้ า น หรือการท�ำบุญบ้ าน บุญเบิกบ้ าน เป็ นต้ น ด้ านศิ ล ปะพื ้น ถิ่ น การฟ้ อ นผู้ ไท ,โปงลาง
๑๒๗
วัดพระธาตุนอยจําไก
กลุมทอเสื่อกก
โรงเรียนบานจําไก วัดแสงแกวมงคล
รานอาหารชัยภูมิ
ศูนยเรียนรูชุมชน วัดบํารุงราษฎร
กลุมทอผา
รพ.สต.บานจําไก
ฐานเรียนรูจักสาน
นวดสมุนไพร
ฐานเรียนรูโปงลาง
วัดพระธาตุหลวงจําไก
อางเก็บนํ้า หวยชมพู
อางเก็บนํ้า หวยผาหนีบ
ผาเทวดา
นวดแผนโบราณ
รานอาหาร บอปลาพิศมัย
กลุมอาหาร พื้นบานและขนม
รูปปนไกคู
รพ.ส.ต
ร้านอาหาร
สถานที่ท่องเที่ยว
สี่แยกจําไก
จังหวัดพะเยา
ที่วาการอําเภอ ดอกคําใต
ไปเชียงคํา
พะเยา - เชียงคํา เสนทางหมายเลข1021
ไปตําบลบานถํ้า
โรงพยาบาล ดอกคําใต
ปมนํ้ามัน PT
ชาติพันธุ์ ม้ง ม้ ง หรื อ แม้ ว เป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ในเขต ภูเขาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชาวม้ งอพยพลงมาทางใต้ ตงแต่ ั ้ ศตวรรษที่ ๑๘ เนื่องจากสถานการณ์ ที่ไม่สงบทางการ เมื อ งและหาพื น้ ที่ ที่ เ หมาะสมกับ การ เพาะปลูก ปั จจุบนั มีชาวม้ งอาศัยอยู่ใน ประเทศไทย เวียดนาม ลาว และพม่า ม้ ง ในประเทศไทยได้ อาศัย อยู่ ใ นหลาย จังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย เช่น เชียงราย น่าน แพร่ ล�ำปาง เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เป็ นต้ น ในจังหวัดพะเยามี หมู่บ้านของชาวเขาเผ่าม้ ง จ�ำนวน ๑๕ หมูบ่ ้ าน
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายวิโรจน์ แซ่กือ ประธานชาติพนั ธุ์ม้ง บ้ านแสงไทร ต�ำบลขุนปวง อ�ำเภอปง จัง หวัด พะเยา มี ข้ อ มูล ที่ ส� ำ คัญ ราย ละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร การปรุ งอาหารของชาวม้ ง วัตถุดิบหลักในอดีตจะไม่มีเครื่ องปรุงรส หลัก ๆ จะใช้ เกลือ ,ผักชีฝรั่ง ,ใบโหระพา อาหารส่วนมากจะเป็ นอาหารที่ท�ำจาก พืช ผักตามฤดูกาล เช่น น� ้ำพริ กมะเขือ เทศ ,ต้ มจืดฟั ก/ฟั กทอง ,เนื ้อหมูใส่แกง ผักกาด ,ไก่ต้มสมุนไพร ,ข้ าวเม่า (หมอ เจ๋า) ,ไส้ กรอกม้ ง ข้ าวปุก ยัวะไก่ ถัว่ เน่า แผ่น (หวอชือ) เป็ นต้ น ๑๒๙
ด้ านประเพณี พิธีกรรม ในรอบชีวิต หนึง่ ของชาวม้ งจะมีพิธีกรรมต่าง ๆ เข้ า มาเกี่ยวข้ องกับวิถีชีวิตเป็ นอย่างมากไม่ ว่าพิธีกรรมเฉพาะบุคคล เช่น พิธีกรรม เกี่ ย วกั บ การเกิ ด ,พิ ธี ก รรมงานศพ ,ประเพณีการแต่งงาน เป็ นต้ น หรือแม่แต่ พิ ธี ก รรมที่ เ กี่ ยวข้ อ งกับ ทางสังคมและ ชุมชน เช่น ประเพณีปีใหม่ม้ง ,ประเพณี ปู่ ซุ /อูซุ ,ประเพณีกินข้ าวใหม่ เป็ นต้ น
ด้ า นการแต่ ง กาย ของม้ งนัน้ จะมี ชุด ประจ�ำเผ่า ผู้ชายจะใส่เสือ้ กางเกง มี หมวกและผ้ าคาดเอว (ซี) ส่วนผู้หญิงจะ ใส่เสื ้อ กระโปรง มีผ้าคาดเอวและผ้ าพัน ขา (โช๊ งหรื อเซ) ซึง่ ชนเผ่าม้ งจะแบ่งออก เป็ นม้ งขาวและม้ งด�ำ มีความแตกจ่างกัน ในเรื่ องของการแต่งกายคือ ผู้หญิงจะใส่ กระโปรง หรื อกางเกงตามชื่อเผ่า ม้ งขาว จะใส่สีขาว ส่วนม้ งด�ำจะใส่สีด�ำ ม้ งขาว มี วิ ถี ชี วิ ต ประจ� ำ วั น โดยผู้ หญิ ง จะใส่ ด้ านที่ อยู่ อาศั ย อาคาร สถานที่ กางเกงมีผ้าปิ ดหน้ า - หลัง ของชาวม้ ง จะเป็ นบ้ านชันเดี ้ ยว ติดกับ พื ้นดิน หลังคามุงด้ วยหญ้ าคา ฝาบ้ านท�ำ ด้ านอาชีพ อาชีพในปั จจุบนั ของชาวม้ ง ด้ วยไม้ หรื อไม้ ฝาก (ไม้ ไผ่) ประตูทางเข้ า คืออาชีพ เกษตรกรรม ปลูกข้ าว ข้ าวโพด มี ๒ ประตู และเลี ้ยงสัตว์
๑๓๐
ด้ านภาษา ภาษาม้ งเป็ นภาษาตระกูล หนึ่ ง ของภาษาจี น แต่ ไ ม่ ใ ช่ ภ าษาจี น โดยเฉพาะ ชาวม้ งมี ภ าษาพู ด และ ภาษาเขียนเป็ นของตนเอง อักษรจะมี ม้ งประดิ ษ ฐ์ และอั ก ษรที่ เ ป็ นภาษา อั ง กฤษแล้ วน� ำ มาประดิ ษ ฐ์ ป รั บ เป็ น ภาษาม้ ง ด้ านความเชื่ อ ชาวม้ งมี ค วามเชื่ อ ในการนับถือผี ผีบ้าน ผีเรือน ผีบรรพบุรุษ ผี เ จ้ าป่ าเจ้ าเขา หรื อ ความเชื่ อ เรื่ อ ง เทพเจ้ าต่ า งๆ จะมี ก ารบู ช าเทพเจ้ า ต่าง ๆ ขึ ้น เช่น การเซ่นดงเซ้ ง และการบน เทพเจ้ าสิง่ เหนือธรรมชาติ เป็ นต้ น
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น เอกลักษณ์ ศิลปะของ ชาวม้ งเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของชาวม้ ง เอง ซึ่งจะแตกต่างไปจากกลุ่มอื่น เช่น การละเล่น ตีลูกข่าง ,หน้ าไม้ ,ลูกช่วง และชัก คะเย้ อ ม้ ง รวมไปถึง การแสดง ศิ ล ปะดนตรี เช่ น การระบ� ำ ม้ ง ,หลู่จ้ า (จ๊ อยม้ ง) ,การเป่ าแคน .เป่ าเติง้ ,เป่ า ใบไม้ และศิ ล ปะป้ อ งกั น ตั ว ที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ ๑๓๑
ไป อ.ปง
อําเภอเชียงคํา
ทุงปอเทือง
สถานที่ท่องเที่ยว
ศูนยเรียนรูวัฒนธรรม
หมูบาน 12 พัฒนา
ปาชุมชน
จุดชมวิว (ทุงนา)
หมูบานมงใหม
สายนํ้าภูลังกา ตนกําเนิดแมนํ้ายม
อบต.ผาชางนอย
ปาชุมชน
Home Stay บานนํ้าตม
ลานกางเต็นท
เขตอุทยานแหงชาติภูลังกา
โครงการหลวงปงคา ศูนยอาหาร
ลานอเนกประสงค โรงเรียนราชานุเคราะห
ดานบานแฮะ
ยอดดอยภูลังกา
จังหวัดพะเยา
ทางไปนาน
มง
บานปางมะโอ
ทะเลหมอก
ชาติพันธุ์ ลัวะ ชาวลัวะ ละว้ า หรือ ข่าว้ า เป็ นเจ้ าถิน่ เดิม ของภาคเหนือ ลัวะได้ เข้ ามาตังถิ ้ ่นฐาน อยู่ในเขตเมืองเชียงใหม่ เมื่อประมาณ ๙๐๐ ปี มาแล้ ว พวกมอญจากลพบุรีซงึ่ เป็ นผู้สร้ างเมืองล�ำพูนและล�ำปาง ได้ รุ กรานลัวะจนต้ องหนีไปอยูบ่ นภูเขากลาย เป็ นชาวเขาไป ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ชนชาติไทยได้ อพยพเข้ าสู่ดินแดน แถบนี ้ และตีพวกมอบแตกพ่ายไปและมี สัมพันธไมตรี กบั พวกลัวะในปั จจุบนั ชาว ลัว ะได้ ก ระจายตัว กั น อยู่ ต ามจัง หวัด ต่าง ๆ ๖ จังหวัด คือ เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน อุ ทัย ธานี สุพ รรณบุ รี เชี ย งราย และ ล�ำปาง
บ้ านเลขที่ ๑๔๙ หมู่ ๑ ต�ำบลชียงแรง อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีข้อมูลที่ ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร ผักนึง่ ,ลาบปลา , ปลาปิ ง้ ,แกงหน่อไม้ ,น� ้ำพริ กถัว่ ลิสง (คัว่ แล้ วต้ ม ใส่พริ กแห้ ง) ด้ านที่ อยู่ อาศั ย อาคาร สถานที่ ที่อยู่อาศัยของชาวล๊ วะ ตัวบ้ านจะเป็ น ไม้ ไผ่ บ้ านปูน หรื อบ้ านครึ่งไม่ครึ่งปูน
ด้ านประเพณี พิธีกรรม ในรอบชีวิต หนึง่ ของชาวม้ งจะมีพธิ ีกรรมต่างๆ เข้ ามา เกี่ยวข้ องกับวิถีชีวิตเป็ นอย่างมากไม่ว่า พิธีกรรมเฉพาะบุคคล เช่น พิธีกรรมเกี่ยว ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง กับการเกิด ,พิธีกรรมงานศพ ,ประเพณี วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน การแต่งงาน เป็ นต้ น หรื อแม่แต่พิธีกรรม นายณภัทร บุญวงศ์สกุล ผู้น�ำบ้ านถิ่น ที่เกี่ยวข้ องกับทางสังคมและชุมชน เช่น ๑๒๓
เลี ้ยงผี (ปู่ ยา่ ตายาย)และเลี ้ยงศาลเจ้ าพ่อ มหาญ ด้ า นภาษา ภาษาลัวะจะมีอัตลักษณ์ อย่างเด่นชัด คือมีภาษาพูดแต่ไม่มภี าษา เขียน มีความเข้ าใจในภาษาพูดเฉพาะ กลุ่มของตนเอง ซึ่งจะถูกสอนมาตังแต่ ้ ประเพณี ปี ใ หม่ ม้ ง ,ประเพณี ปู่ ซุ /อูซุ เด็ก และพูดคุยกันเป็ นประจ�ำทุกวัน ,ประเพณีกินข้ าวใหม่ เป็ นต้ น ด้ านอาชีพ อาชีพหลักของชาวลัวะส่วน ด้ านการแต่ งกาย ยของชาวลัวะ ในอดีต มาก คื อ รั บ จ้ างทั่ว ไป รองลงมาคื อ มีขนมธรรมเนียมเครื่ องแต่งกายต่างจาก การเช่าที่ในการ ท�ำไร่ ท�ำนา เนื่องจาก ชาวเหนือ ผู้ชายจะนุ่งโจงกระเบนหรื อ ไม่มีที่นาเป็ นของตนเอง โสร่ง เสื ้อสีดำ� ผ่าอกแต่ไม่มลี วดลาย ส่วน ด้ านความเชื่อ ชาวลัวะ นอกจากนับถือ ผู้ห ญิ ง จะสวมเสื อ้ สี ด� ำ ผ่ า อกแขนยาว ศาสนาพุทธ ยังมีความเชื่อในเรื่ องของ มีลายปั ก ส่วนการแต่งกายในปั จจุบัน การนับถือผี ผีบรรพบุรุษ (ผีปยู่ า่ ) มีการ จะนิยมสวมเสื ้อเชิ ้ตแขนยาวผ่าอกกลาง นับถือผีเสื ้อบ้ าน (ผีหมูบ่ ้ าน) กางเกงจีนธรรมดา ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ชาวลัวะจะมีการละ ด้ านประเพณี พิธีกรรม ของชาวลัวะ เล่นที่เรี ยกว่า “การตีเกิ ้ง” เป็ นการละเล่น จะมีลกั ษณะเฉพาะกลุม่ ของตน ในทุกๆ หลักของชุมชน ถ้ ามีนักท่องเที่ยวที่มา ปี จะมีงานดอกแดง (งานปี ใหม่) ทุกวันที่ เทีย่ วในงานดอกแดง จะได้ ชมการละเล่น ๘ มิถนุ ายนของทุกปี รวมถึงพิธีกรรมการ ตีเกิ ้งภายในงาน ๑๒๔
N
เมืองพะเยา
ะเยา -
เมืองพ
อําเภอ
อําเภอ ํา 90
เชียงค
อ.เชียงคํา
ลัวะ(พะเยา) ว งหล า ท เสน
021 , ง1
ปาสุสาน
นํ้าเปอยเกา
7ก
าม ทางส ตร โิ ลเม
ูซาง แยกภ
โรงเรียนบานรองเชียงแรง
โรงเรียน
วัดดอนแกว
สถานที่ท่องเที่ยว
อําเภอภูซาง
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลเชียงแรง
บานรองเชียงแรง
บานถิ่นไทยของเกาภูซาง
ไปเทิง
นํ้าตกภูซาง
ชาติพนั ธุ์
ลาวเวียงจันทร์
ลาวเวียง หรือลาวเวียงจันทร์ เป็ นชาว นครเวี ย งจั น ทร์ แ ละเมื อ งใกล้ เ คี ย งที่ อพยพเข้ ามาสู่ ส ยาม ทั ง้ โดยหนี ภั ย สงครามหนี ภัย ธรรมชาติ ตัง้ แต่ ส มัย อยุธยาตอนปลาย ลาวเวียงจันทร์ เป็ น ชนกลุ่ ม หนึ่ ง ที่ อ พยพมาจากหลวงพระบางและเวี ย งจัน ทร์ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้ ามาตัง้ ถิ่ น ฐานอาศั ย อยู่ ใ นจั ง หวั ด พะเยา จ�ำนวน ๕ หมูบ่ ้ าน ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายวิโรจน์ แซ่กือ ประธานชาติพนั ธุ์ม้ง บ้ านแสงไทร ต�ำบลขุนปวง อ�ำเภอปง จั ง ห วั ด พ ะ เ ย า มี ข้ อ มู ล ที่ ส� ำ คั ญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ า นอาหาร อาหารส่วนมากของชาว ลาวเวียงจันทร์ จะคล้ ายกับอาหารทาง ภาคอีสาน เช่น หมกฮวก ,หมกปลา ,หมก หน่อไม้ ,น� ้ำปู ,ต�ำหวาย ,น� ้ำพริ กมะขาม ,น� ้ำพริ กมะกอก ,ส้ มต�ำ เป็ นต้ น ๑๒๖
ด้ านที่ อยู่ อาศั ย อาคาร สถานที่
ทีอ่ ยูอ่ าศัยของชาวลาวเวียงจันทร์ ในอดีต จะเป็ นบ้ านไม้ สองชัน้ ชันล่ ้ างหรื อใต้ ถนุ จะมีการเลี ้ยงสัตว์ เช่น วัว ควาย เป็ ด ไก่ แต่ในปั จจุบนั รู ปแบบบ้ านได้ เปลี่ยนไป ตามสมัย ด้ านประเพณี พิธีกรรม ของชาวลาว
เวี ย งจัน ทร์ จ ะมี เ อกลัก ษณ์ แ ละมี ก าร สืบทอดกันมาช้ านาน จะมีพธิ ีกรรมทีเ่ ป็ น เอกลัก ษณ์ แ ละเป็ นวิ ถี ชี วิ ต ของกลุ่ ม ลาวเวียงจันทร์ ได้ แก่ ประเพณีแห่ดอก ฝ้า ย ,พิ ธี เ ลี ย้ งขึ น้ เลี ย้ งลง (ข้ า วเม่ า ข้ าวฮาง) และประเพณี ขึ น้ พระธาตุ หินฮาว ซึ่งจะมีการท�ำบุญบังไฟ ้ ซึ่งจะ จัดขึ ้นทุกปี ด้ า นการแต่ ง กาย ของชาวลาวเวี ยง จันทร์ นัน้ จะคล้ ายกับการแต่งกายของ ประเทศลาว ในอดีตมีการปลูกฝ้ายเพื่อ ทอผ้ า ผู้หญิงจะนุง่ ผ้ าถุงหรื อโจงกระเบน สวมเสื อ้ แขนกระบอกเอวรั ด รู ป ปล่อ ย ชายมาราวสะโพก ชายเสื ้อบานออกเล็ก น้ อ ย ห่ ม สไบ ส่ว นผู้ช ายส่ว นใหญ่ นุ่ง กางเกงหลวม ๆ คล้ ายกางเกงจีน แต่เอว
แคบกว่า สีกางเกงจะเป็ นสีดํา เสื ้อคอ กลมหลวม ๆ มีกระดุมและไม่มีกระดุม ไม่มลี วดลาย ทีส่ าํ คัญคือมีผ้าขาวม้ าคาด เอวเพื่อความทะมัดทะแมง
๑๒๗
ด้ า นความเชื่ อ ชาวลาวเวี ย งจัน ทร์ มี
ความเชื่อในเรื่ องของ การนับถือผี การ นับถื อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ได้ แก่ ผีบรรพบุรุษ และผีเจ้ าที่ เจ้ าทาง โดยได้ มีการสักการ บูชา ด้ วยพิธีกรรม “เลี ้ยงขึ ้น เลี ้ยงลง”
ด้ านศิ ล ปะพื น้ ถิ่ น ศิ ล ปะที่ โ ดดเด่ น ของชาวลาวเวียงจันทร์ คือการฟ้อนเซิง (มีการร�ำดาบและไม่มดี าบ) หมอล�ำ และ ดนตรี พื ้นบ้ านคือ การเป่ าแคน ด้ า นภาษา ชาวลาวเวี ย งจัน ทร์ จะใช้ ด้ า นอาชี พ อาชี พ ในปั จ จุบัน ของชาว
ภาษา คือ ภาษาลาว แต่จะมีหลากหลาย ส� ำ เนี ย ง เช่ น ส� ำ เนี ย งหลวงพระบาง ส�ำเนียงเวียงจันทร์ ส่วนในกลุม่ ลาวเวียง จั น ทร์ จะมี ส� ำ เนี ย งที่ เ รี ย กกั น เองว่ า “ลาวผาหาว” ๑๒๘
ลาวเวี ย งจั น ทร์ จะประกอบอาชี พ เกษตรกรรมเป็ นหลัก โดยจะมีการปลูก พืชไร่ตามฤดูกาล เช่น ข้ าว ,ข้ าวโพด .ถัว่ ลิสง เป็ นต้ น อีกทังยั ้ งมีการท�ำสวนผลไม้ เช่น สวนล�ำไย และการท�ำสวนยางพารา
เล ข ลําหวยนํ้าแวน
มาย
ลาวเวี ย ง จังหวัดพะเยา
อําเภอเชียงคํา
อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
ห ทาง เสน
อ.ปง
แขวงการทางเชียงคํา
ัง ากจ ห ศาลจังหวัดเชียงคํา
โรงเรียนบานแวนโคง อนุบาล – มัธยมศึกษาปที่ 3
โรงเรียนบานแมตํ๋า รานอาหารกุงเผา
อางเก็บนํ้าแวน พื้นที่การเกษตร
หมู 3,หมู6
บานสันติสุข หมู 11
อางหวยสวด
สถานที่ท่องเที่ยว
ปาชุมชน แผนพัฒนา สรางอางเก็บนํ้าหวยหลวง ในโครงการพระราชดําริ ยังไมไดสรางประมาน 200 ไร
วัด
ที่ทําการเขตรักษา พันธุสัตวปาเวียงลอ
บานใหมเจริญไพร หมู 9
พระธาตุขุนหวยสวด
ปาชุมชน
โรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบล
บานฐานพัฒนา หมู 16
อางเก็บนํ้าหวยโคง
เสนทางหมายเลข 1179 บานแวนโคง หมู 8 สวนชลสินธุ วัดบานแวนโคง Home stay พระธาตุหินขาว ปาชุมชน
เสนทางหมายเลข 1148 ไปจังหวัดนาน
หมูบานผาสุก ผาฮาว
โรงเรียนบานผาฮาว
จ ทาง เสน 1 2 10
าํ ชยี งค เภอเ ํ า ู อ เขา ส ะเยา วดั พ
ชาติพันธุ์ ลีซู ช า ว ลี ซู เดิ ม อาศั ย อยู่ ที่ ต้ นแม่ น� ำ้ สาละวิน และแม่น�ำ้ โขงทางตอนเหนือ ของธิเบต และทางตะวันตกเฉียงเหนือ ของประเทศจี น แต่ ถู ก กดดั น ทาง การเมือง การปกครอง และขาดแคลน ที่ ดินท�ำกิ นในพม่า จึงได้ อพพยเข้ ามา อาศั ย อยู่ ใ นจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ตาก แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ ล�ำปาง สุโขทัย พะเยา และแพร่ ลีซแู บ่งออกเป็ น ๒ กลุม่ ย่อย คือ ลีซูลายกับลีซูด�ำ ชาวลีซูที่อยู่ ในประเทศไทยเกือบทังหมดเป็ ้ นลีซูลาย ส่วนลีซดู �ำนันอยู ้ ่ พม่า จีน ๑๓๐
ข้ อมูล เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชื่อชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : ลีซู ป่ าเมี่ยง (บ้ านป่ าเมี่ยง) เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ อันโดดเด่น :เป็ น ชุมชนชาติพนั ธุ์ลีซแู ห่งเดียวในพะเยา ค�ำขวัญของชุมชน : ซากุระบานสะพรั่ง ลานนัง่ ชิมชา เย็นอุราบ้ านป่ าเมี่ยง ชาติพนั ธุ์ภายในชุมชน : ลีซู ลาหู่ อาข่า เมี่ยน จีนฮ่อ ลัว๊ ะ ลาว ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายโสภณ ตระกุลพิทกั ษ์ ผู้ใหญ่บ้านป่ า เมี่ยง บ้ านเลขที่ ๙ หมู่ ๑ ต�ำบลเจริ ญ ราษฎ์ อ� ำ เภอแม่ ใ จ จั ง หวั ด พะเยา มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้
ด้ านอาหาร อาหารของชาวลีซู วัตถุดิบ ด้ านการแต่ งกาย ของผู้หญิงจะประกอบ
จะมาจากพื ช ผักที่ ปลูกไว้ และสัตว์ ที่ เลี ย้ งไว้ เช่ น ไก่ อ บสมุน ไพร ,น� ำ้ พริ ก มะเขือส้ ม ,ย�ำผักกาดดอง เป็ นต้ น อีกทัง้ มีสมุนไพร ๓ ชนิดเป็ นส่วนผสมในอาหาร บางอย่าง เพื่อท�ำร่ างกายแข็งแรง และ ปรั บ อุ ณ หภู มิ ข องร่ า งกายก่ อ นเข้ าสู่ หน้ าหนาว
ไปด้ วย หมวก ,เสื ้อแขนยาว ,กางเกง ,ถุง น่อง ,เข็มขัด ,ก�ำไลข้ อมือ ,สร้ อย ,ตุ้มหู ,เครื่ อ งเงิ น ,พวงหาง (พู่ ห างสี แ ดง) ,กระเป๋ าสะพาย ผู้หญิงทีย่ งั ไม่ได้ แต่งงาน จะแตกต่างจากคนที่มีครอบครัวคือสวม หมวก และผู้หญิงทีม่ คี รอบครัวแล้ วจะไม่ แต่ง กายด้ ว ยสี ฉูด ฉาด ส่ว นผู้ช าย จะ ประกอบไปด้ วย หมวก ,เสื ้อประดับเงิน ด้ านอาชีพ ของชาวลีซสู ว่ นมากจะเป็ น (ผ้ าก�ำมะหยี)่ ,กางเกง (สีเขียว /สีฟา้ ) ,ถุง อาชีพเกษตรกร ปลูกชา/กาแฟ นอกจาก น่ อ ง ,พวงทางใส่ ด้ า นหน้ า ,กระเป๋ า นัน้ จะประกอบอาชี พการเกษตรอื่ น ๆ สะพาย ,ตุ้มหูใส่ข้างซ้ าย และรับจ้ าง ด้ านภาษา ชาวลีซมู ีภาษาพูด คือ ภาษา ลีซู แต่ไม่มีภาษาเขียน ส่วนลีซุที่นบั ถือ คริ สเตียน ได้ ใช้ อกั ษรโรมันมาดัดแปลง เป็ นภาษาเขียนของชนเผ่า
“ ลีซู ”
หมายถึง ผู้ใฝ่รู้แห่งชีวิต ๑๓๑
ด้ า น ศิ ล ป ะ พื ้ น ถิ่ น ศิ ล ปะที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องชาวลี ซู ส่ ว นมากจะ เป็ น การร้ องและเต้ น ที่ เ ป็ น เอกลัก ษณ์ เช่น การเต้ นจะคึ ,จ๊ อย - ซอ ,เพลงปี ใหม่ ,เพลงเกี ้ยวสาว ,เพลงฮ้ องขวัญ เป็ นต้ น รวมไปถึง การทอผ้ า ด้ านความเชื่อ ชาวลีซูสว่ นใหญ่นบั ถือ ผี (เหน่ ) ควบคู่กับ ศาสนาคริ ส ต์ หรื อ ศาสนาพุทธ และทิศของการปลูกสร้ าง บ้ าน ประตูหลักและเสาหลัก จะต้ องหัน รับทางทิศตะวันออก และยังมีความเชื่อ ในเรื่ องการท�ำนาย และการดูกระดูกไก่ ว่าเกิดสิง่ ที่ดีหรื อไม่ดี ด้ านที่ อยู่ อาศั ย อาคาร สถานที่ ที่อยู่อาศัยของชาวลีซูส่วนมากตัวบ้ าน จะติ ด ดิ น ประตูจ ะหัน หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวันออก หัวเตียงหันไปทางทิศตะวันตก เตี ย งรั บ แขกจะอยู่ ข้ า งกองไฟเพื่ อ ให้ ความอบอุน่ ๑๓๒
ไปเมืองพะเยา
แยกศรีบุญเรือง
อ.แมใจ
บานปางปูเลาะ
ทางไปเชียงราย
จังหวัดพะเยา
ลีซู บานปาเมี่ยง
สวนชา ชาอัสสม
สถานที่ท่องเที่ยว
จุดเช็คอิน
ลานจอดรถ
ศูนยเด็กเล็ก
บานโฮมสเตย
บานโฮมสเตย
จุดชมวิวที่ 2 สวนชา
บานโฮมสเตย บานโฮมสเตย
อนามัย
ศาลเจา
ชาติพันธุ์
อิ้วเมี่ยน
อิว้ เมี่ยน เรียกอีกอย่างว่า เมีย่ น หรือ เย้ า ถิ่นเดิมของเมี่ยนอยู่ทางตะวันออกของ มณฑลไกวเจา ยูนนาน หูหนาน และ กวางสีในประเทศจีน ต่อมาการท�ำมา หากินฝื ดเคืองและถูกรบกวนจากชาวจีน จึ ง ไ ด้ อ พ ย พ ม า ท า ง ใ ต้ เ ข้ า สู่ เวียดนามเหนือ ตอนเหนือของลาว และ ทางตะวันออกของพม่า และภาคเหนือ ของไทย ชาวเมี่ ย นที่ เ ข้ ามาอยู่ ใ น ประเทศไทย อพยพมาจากประเทศลาว และพม่า ปั จจุบนั มีชาวเมี่ยนอาศัยอยู่ มากในจังหวัด เชียงราย พะเยา และน่าน รวมทังในจั ้ งหวัด ก�ำแพงเพชร เชียงใหม่ ตาก เพชรบูรณ์ ล�ำปาง สุโขทัย
ข้ อมูล เอกลักษณ์ /อัตลักษณ์ ที่โดดเด่ น ของชุมชนท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ชือ่ ชุมชนท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม : ชุมชน แม่ใจ /ชุมชนปง เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ อันโดดเด่น และมี ค วามแตกต่ า งจากชุ ม ชนอื่ น : การแต่งกาย ภาษา ประเพณี ค�ำขวัญของชุมชน : อยูไ่ หนให้ รักกัน ศิลปะของเมี่ยนได้ รับการยกย่องว่าเป็ น ราชินีแห่งลายปั ก - ราชาแห่งเครื่ องเงิน ชาติพนั ธุ์ภายในชุมชน : อิ๋วเมี่ยน
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ องเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สัมภาษณ์ ผ้ ูน�ำชุมชน นายแคะแว่ น ศรี สมบัติ ประธานชาติ พันธุ์อ๋ ิวเมี่ยน บ้ านเลขที่ ๙๑ หมู่ ๑๑ ด้ านการแต่ งกาย ของอิ๋วเมี่ยนนันจะ ้ ต�ำ บลหย่ ว น อ�ำ เภอเชี ย งค�ำ จั ง หวั ด เป็ นชุ ด ชนเผ่ า ซึ่ ง ขึ น้ ชื่ อ ในเรื่ อ งของ พะเยา มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียด ดังนี ้ ลายปั กและเรื่ องของเครื่ องเงิน
๑๓๔
ด้ านอาชีพ ในปั จจุบนั ของชาวอิ๋วเมี่ยน
ส่วนมากจะประกอบอาชีพ ค้ าขายและ เกษตรกรรม ปลูกลิ ้นจี่ กาแฟ อะโวคาโด เป็ นต้ น ด้ านที่ อ ยู่ อาศั ย อาคาร สถานที่ ที่อยูอ่ าศัยของชาวอิ๋วเมี่ยนนันจะอยู ้ บ่ น พื ้นที่สงู อยูบ่ นหุบเขา ที่อยูอ่ าศัยจึงเป็ น บ้ านชันเดี ้ ยวติดดิน ด้ านความเชื่ อ ชาวอิ๋วเมี่ ยนส่วนใหญ่
จะนับถือลัทธิเต๋า (เล่าซื ้อ) เชื่อในเรื่ อง เกี่ยวกับ ดิน น� ้ำ ลม ไฟ และมีความเชื่อ ในเรื่ อ งของบรรพบุ รุ ษ เรื่ อ งของเทพ หรื อเซียน
ด้ า น ศิ ล ป ะ พื ้น ถิ่ น ด้ านศิ ล ปะขอ
งชาวอิ๋วเมี่ยนจะเด่นในเรื่ องของดนตรี ด้ านอาหาร ของชาวอิ๋วเมี่ยนส่วนใหญ่ ค�ำสอน ค�ำคม มีการแสดงพื ้นบ้ านทีเ่ รียก จะเป็ นอาหารที่ง่ายและสามารถเก็บไว้ ว่า เต้ นร� ำเฉพาะกลุม่ และติ ้ว และร� ำถาด ได้ นาน เช่นหลู้กระด้ าง ,หน่อไม้ ดอง และ และยังเด่นในเรื่ องของสมุนไพรพื ้นบ้ าน น� ้ำพริ กเย้ า เป็ นต้ น ที่ใช้ รักษาโรคต่าง ๆ ด้ านภาษา ชาวอิ๋ ว เมี่ ย นมี ภ าษาพู ด คื อ ภาษาเมี่ ย น ส่ว นภาษาเขี ย น คื อ ด้ านประเพณี พิธีกรรม ชาวอิ๋วเมี่ยน จะยึดตามประเพณี และพิธีกรรมของจีน ภาษาจีน หรื อไทย ซึง่ ได้ แก่ ประเพณีลยุ ไฟ (ตรุษจีน) ,สารทจีน ,พิธเี ลี ้ยงผีพอ่ บ้ าน และพิธเี ลี ้ยงผีต้นน� ้ำ ๑๓๕
อำเภอเชียงคำ
อบต.ผาช้างน้อย
อำเภ
อปง
เส
โครงการหลวงปางค่า
92
สะพาน
สำนักสงฆ์
หอประชุม หมู่บ้าน
โฮมสเตย์ 3
นางเฟย ร้านค้าชนเผ่า
สินค้า ชนเผ่า
โฮมสเตย์ 5
ภูลังการีสอร์ท
รพ.ส.ต
ร้านอาหาร
สถานที่ท่องเที่ยว
จังหวัดน่าน
จุดชมวิว
ทะเลหมอก
ชุมชนปางค่าใต้(ต.ผาช้างน้อย) อ.ปง จ.พะเยา
บ้านสานก๋วย
หัตถกรรม จักรสานนายสิต
โฮมสเตย์ 4
ร้านอาหาร
ร้านค้าผลิตภัณฑ์
เกษตรที่สูง
โบสถ์คริตส์
บ้านน้ำคะ
ถนนสาย 1148
โฮมสเตย์ 2
รพ.สต.ปางค่า
ป้อมตำรวจ
ร้านอาหาร
โฮมสเตย์ 1
ร้านค้าชุมชน
สะพาน
ร้านอาหาร
น้ำตกวังพญานาค
ดอยภูนม
ดอยภูลังกา สูง 1,720 เมตร
ร.ร. บ้านใหม่ปางค่า
วนอุทยานภูลังกา
ข 10
ายเล
น้ ทาง หม
๘
กลุ่มชาติพันธุ์
จังหวัดเชียงราย
๑๓๗
ชาติพันธุ์ จีนยูนนาน ชาติพนั ธุ์จนี ยูนนานหรื อชาวจีนฮ่อเป็ น ชาวจีนทีอ่ าศัยอยูใ่ นมณฑลยูนานอยูท่ าง ประเทศจีนตอนใต้ มีอาณาเขตติดกับรัฐ ฉานของพม่ า แบ่ ง ออกเป็ น สองกลุ่ม ได้ แ ก่ กลุ่ม ผาสี คื อ ชาวจี น ยูน นานที่ นับถือศาสนาอิสลาม และ กลุม่ ผาห้ า คือ ช า ว จี น ยู น น า น ที่ นั บ ถื อ วิ ญ ญ า ณ บรรพบุรุษ หลังสงครามกลางเมื อ งระหว่างพรรค คอมมิวนิสต์กบั พรรคก๊ กมินตัง๋ พรรคก๊ ก มินตัง๋ เป็ นฝ่ ายแพ้ ส่วนหนึง่ ได้ อพยพมา ตังหลั ้ กอยูท่ มี่ ณฑลยูนาน แล้ วอพยพเข้ า ประเทศไทยในปี พ.ศ.๒๔๙๕ โดยตัง้ ๑๓๘
ถิ่ น ฐานอยู่ บ ริ เวณพื น้ ที่ อ� ำ เภอไชย ปราการ จังหวัดเชียงใหม่ ชาติ พั น ธุ์ จี น ยู น านที่ อ พยพเข้ ามา ประเทศไทย แบ่งได้ เป็ น ๓ กลุม่ ได้ แก่ ๑. กลุม่ พ่อค้ าคาราวาน ที่ใช้ ม้าต่าง หรื อ ชาวล่อ เป็ นพาหนะในการบรรทุกสินค้ า เดินผ่านตามช่องทางฮ่องลึกหรื อด่าน แม่สาย มาตังแต่ ้ โบราณ ๒. กลุ่ม จี น ฮ่ อ ลี ภ้ ัย ช่ ว งที่ มี ก ารปราบ ปรามกบฏปันทาย ซึง่ น�ำโดยสุลต่านสุลยั มานหรือตู้เหวินซิว่ ผู้สถาปนารัฐผิงหนาน ในมณฑลยูนนาน ช่วงปี ค.ศ.๑๘๕๖๑๘๗๓ แต่ ก ลั บ ถู ก ทางราชวงศ์ ชิ ง
ปราบปราม คาดว่ามีผ้ เู สียชีวิตทังทหาร ้ และพลเรื อนไปนับล้ านคน ๓. กลุม่ จีนทหารกู้ชาติ อพยพเข้ ามาหลัง การปฏิวตั ปิ ระเทศจีนประสบความส�ำเร็จ ใน ปี ค.ศ.๑๙๔๙ ภายใต้ การน� ำของ เหมาเจ๋อตง ท�ำให้ ทหารกองพล ๙๓ ของ จีนคณะชาติหรือพรรคก๊ กมินตัง๋ ต้ องถอย ร่ นลงมาอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า และต่อมาส่วนหนึ่งได้ เดินทางไปอยู่ที่ ประเทศไต้ หวัน อีกส่วนหนึ่งปั กหลักอยู่ ทางภาคเหนือของไทย
บรรพชนนัน้ จะมี ซิ น แสหรื อ ที่ เ รี ย กว่า สล่าเป็ นผู้ประกอบพิธีกรรมตามความ เชือ่ อย่างชาวจีน นอกจากนี ้ยังมีบางกลุม่ ที่ เ ปลี่ ย นไปนั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ และ ศาสนาคริ สต์ อย่างไรก็ตามชาวจีนฮ่อ มุ ส ลิ ม ตามความหมายของรั ฐ บาล สาธารณรั ฐประชาชนจี น จะหมายถึง ชาวหุ ย ซึ่ ง หมายถึ ง ชาวมุ ส ลิ ม ที่ มี ลักษณะวัฒนธรรมและค่านิยมเช่นเดียว กับชาวจีน เพียงแต่นบั ถือศาสนาอิสลาม ชาวจี น ฮ่ อ ประมาณ ๑ ใน ๓ นับ ถื อ มักอาศัยอยู่ทางตอนใต้ และตะวันออก ศาสนาอิสลามใช้ ภาษาจีนกลาง นอกนัน้ เฉียงเหนือของประเทศจีน จะนับถือบูชาบรรพบุรุษ และถูกกลืนไป ในวัฒนธรรมล้ านนา โดยผู้ที่เป็ นมุสลิม ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง จะถูกเรี ยกว่า ผ่าสี่ แต่ผ้ ทู ี่ไม่ใช่มสุ ลิมจะ วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน เรี ยกว่า ผ่าห้ า สันนิษฐานได้ วา่ ค�ำว่าผ่า นายชัชวาลย์ พรสวรรค์ครี ี ผู้นำ� กลุม่ บ้ าน สี่อาจจะมาจากภาษาไทใหญ่ มีความ เลขที่ ๑๔๕ หมู่ ๒ ต� ำบลแม่สลองใน หมายว่า เปอร์ เซีย ชาวฮ่อที่ยงั นับถือผี อ�ำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย มี ข้ อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ๑๓๙
ด้ านอาหาร เป็ นที่ร้ ู จกั ๕ ชนิด สุกีย้ ูนนาน ภาษาจีนยูนนาน เรี ยกว่า “หยูหนานโห่วโกว” สุกีป้ ระเภทหนึ่งที่ นิยมกินกันในกลุม่ คนจีนยูนนาน และจะ ท�ำเมื่อมีญาติมารวมกันหลายคนที่บ้าน หรื อเป็ นวันส�ำคัญ รวมทังโอกาสพิ ้ เศษ ต่า ง ๆเพราะสุกี ช้ นิ ด นี ต้ ้ อ งใช้ เ วลาใน การเตรี ยมล่วงหน้ าอย่างน้ อย ๑ วัน แถม ยังมีเครื่องเคียงประกอบมากมายจัดเรียง อยู่ในหม้ อสุกีใ้ บโตถึงสิบอย่าง ซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็ นเนื ้อสัตว์ อาทิเช่น หมูแฮม ไข่ ม้ วน และไก่ด�ำ เป็ นต้ น ขาหมู - หมั่ นโถว มี ลัก ษณะเหมื อ น ซาลาเปาไม่ มี ไ ส้ รั บ ประทานคู่ กั บ ขาหมูตนุ๋ หมู พั น ปี (เคาหยก) เป็ น อาหารจี น กวางตุ้งชนิดหนึ่ง แปลว่าเนื ้อคว�่ำ และ ตรงกับภาษาจีนกลางว่าโค่วโหย่ว เป็ น ๑๔๐
อาหารที่ มี ชื่ อ เสี ย งของหู ห นานและ กวางตุ้ง เคาหยกแบบจี น มี ส องแบบ แบบแรกใช้ หมูสามชันหั ้ น่ สี่เหลี่ยมผสม กับผักกาดดองเค็มแห้ งทีป่ รุงรสมาแล้ ว ที่ เรียกเหมยไช่หรือไช่กวั ส่วนแบบทีส่ องจะ ใส่เผือกที่หั่นชิน้ เท่าหมู ใส่เผือกจะน� ำ เผือกชนิดที่เนื ้อซุยที่จี่พอสุก ราดด้ วยน� ้ำ ปรุงรสทีท่ ำ� จากเต้ าหู้ยี ้น� ้ำมันหอย น� ้ำมัน งา ผงพะโล้ จากนันจะน� ้ ำหมูกบั เครื่ อง ปรุ งใส่ชาม ตุ๋นให้ หมูเปื่ อยนุ่ม เมื่อสุก แล้ ว จะน�ำจากมาปิ ดปากชามแล้ วพลิก กลับด้ านให้ เนื ้อหมูลงไปอยูใ่ นจาน ไก่ ด� ำ ตุ๋ นยาจี น มี ต้ น ก� ำ เนิ ด มาจาก มณฑลเจียงซี ประเทศจีน โดยผู้คนใน มณฑลเจียงซี ใช้ ไก่ด�ำ หรื อ ไก่กระดูกด�ำ ประกอบอาหารผู้คนทางตอนใต้ ของจีน ทราบถึงคุณสมบัตใิ นการฟื น้ ฟูพละก�ำลัง ของซุ ป ไก่ ด� ำ ตุ๋ น ยาจี น เป็ นอาหาร
ทีเ่ หมาะกับผู้หญิงหลังคลอดรับประทาน เพื่อบ�ำรุ งเลือด ประสมดุลพลังชีวิตและ ช่วยท�ำให้ ร้ ู สึกกระปรี ก้ ระเปร่ า ซึ่งตาม ทฤษฎีแพทย์แผนจีนอาหารที่มีสีดำ� ตาม ธรรมชาติมีสรรพคุณในการบ�ำรุ งเลือด และพลังงานหยิน (Yin) ในตับ และในไต หมาล่ าปิ ้ งย่ างหมาล่ า คือ เครื่ องเทศรส เผ็ดที่มีต้นก�ำเนิดมาจากมณฑลเสฉวน ประเทศจี น เป็ น เครื่ อ งเทศที่ ใ ห้ ร สชาติ “เผ็ดจนลิ ้นชา โดยค�ำว่า “หมา” หมายถึง อาการชาที่ ป ลายลิ น้ ในขณะที่ ค� ำ ว่ า “ล่า” หมายถึง รสชาติเผ็ด ด้ านการแต่ งกาย ผู้ ชายสวมหมวกกลม ๆ ไม่มีปีก แต่มี ยอดจุกอยูต่ รงกลางเรี ยกว่า “กะน้ าก้ วย” เสือ้ หลายชัน้ ชิดต้ นคอ ผ่าอกป้ายข้ าง หรื อผ่าอกกลาง เสื ้อยาวใต้ เอวเล็กน้ อย แขนเสื อ้ กว้ างยาวหุ้ มข้ อมื อ นิ ย มใช้ สีด�ำมากกว่าสีขาว ใช้ กระดุมผ้ า กางเกง ขากว้ าง ผู้ ห ญิ ง ไว้ ผ มมวย แต่ง กายคล้ า ยชาย แต่ ผ่ า อกป้ า ยมาทางไหล่ ข้ างซ้ าย ติดกระดุมผ้ าใต้ รักแร้ ใช้ ผ้าสีขาวสับด้ วย แถบชายผ้ าใหญ่สดี ำ � สีแดง เป็ นสีสำ� หรับ เสือ้ ผ้ าใส่ในงานมงคล ชุดแต่งงานจะ มีลวดลายเป็ นหงส์และมังกร
ด้ านที่อยู่อาศัย นิยมตังบ้ ้ านเรือนทีล่ ้ อมรอบด้ วยภูเขา อยู่ กันเป็ นกลุม่ ไม่มชี นชาติอนื่ เข้ าไปตังบ้ ้ าน เรื อนอยูป่ ะบน การปลูกบ้ านของชาวฮ่อ จะใช้ ดนิ มาปั น้ เป็ นก้ อน ๆ โดยไม่ต้องเผา ไฟ ท�ำเป็ นอิฐก่อกันเป็ นตึก ๒ ชันเตี ้ ้ย ๆ ข้ างบนทึบ ชายคายื่นล� ้ำลงมาเพื่อกันไม่ ให้ ฝนสาดฝาพังทลาย และเพื่อป้องกัน อิฐดิบนันจากนั ้ นใช้ ้ ปนู ผสมดินเหนียวกับ ทรายฉาบนอกอีกชันหนึ ้ ง่ นิยมสร้ างบ้ าน เป็ นรูปทรงสีเ่ หลีย่ มแบ่งเป็ นห้ อง ๆ ได้ แก่ ห้ องไหว้ บรรพบุรุษ ห้ องนอนพ่อแม่ ห้ อง นอนลูกชายคนโต อยูช่ นบน ั ้ ห้ องนอนลูก คนอื่น ๆ อยูช่ นล่ ั ้ าง ๑๔๑
ด้ านประเพณีพธิ ีกรรม ตรุ ษจีนเป็ นหนึ่งในเทศกาลที่ส�ำคัญที่สดุ ของชาวจีน ถือเป็ นวันขึ ้นปี ใหม่ตามปฏิทนิ จีน คล้ ายกับวันสงกรานต์ ของไทย เช็งเม้ งเป็ นเทศกาลประจ�ำปี ในการบูชาบรรพบุรุษที่ ล่วงลับไปแล้ วของชาวจีน วันไหว้ ศาลเจ้ าช่วงเทศกาลกินเจ ลูกหลานชาวจีนจะ ไปรวมตัวกันที่ โรงเจ หรื อตามศาลเจ้ าต่างๆ เพราะมีข้อ ปฏิบตั เิ คร่งครัดอยูข่ ้ อหนึง่ ว่า ห้ ามกินอาหารทีค่ นปรุงไม่ ได้ ถือศีลกินเจ ดังนันสถานที ้ ่แห่งศรัทธาเหล่านี ้มัน่ ใจได้ เลยว่าคนท�ำอาหารนันก็ ้ ถือศีลด้ วย อีกทังเพื ้ ่อเป็ นการ ช� ำ ระล้ า งร่ า งกายและจิ ต ใจ ไหว้ พ ระ ไหว้ เ จ้ า ร่ ว ม พิธีกรรมที่ทางศาลเจ้ าจัดขึ ้น สารทจีน ตามปฏิทนิ ทางจันทรคติ เทศกาลสารทจีนจะ ตรงกับวันที่ ๑๕ เดือน ๗ ตามปฏิทินจีน เทศกาลสารท จีนถือเป็ นวันส�ำคัญที่ลกู หลานชาวจีนจะแสดงความ ๑๔๒
กตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็ น เดือนที่ประตูนรกเปิ ดให้ วิญญาณทังหลายมารั ้ บกุศล ผลบุญได้ วั น ไหว้ พ ระจั น ทร์ เทศกาลวัน ไหว้ พ ระจัน ทร์ เป็ น เทศกาลที่มีความส�ำคัญส�ำหรับคนจีนมากเป็ นอันดับ สองรองจากเทศกาลตรุ ษจีน ซึง่ ตรงกับวันขึ ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๘ ของทุกปี โดยจะตรงกับเดือนกันยายน หรื อ ตุลาคม อยูใ่ นช่วงกลางฤดูใบไม้ ร่วง ชาวจีนจึงเรี ยกว่า จงชิว แปลว่า กลางฤดูใบไม้ ร่วง เป็ นประเพณีที่ชาวจีน ถื อปฏิบัติสืบต่อกันมานับพันปี ซึ่งมีต�ำนานเล่าขาน เกี่ยวกับวันไหว้ พระจันทร์ ตา่ งๆ มากมาย ส่วนใหญ่จะ เป็ นเรื่ องของ เทพธิ ดาฉางเอ๋อเหินสู่ดวงจันทร์ และ กระต่ายบนดวงจันทร์ งานแต่ ง-ยกน�ำ้ ชา ในประเพณีการแต่งงานแบบจีน “พิธียกน� ้ำชา” ถือเป็ นสิ่งส�ำคัญที่คบู่ า่ ว-สาวจะขาดไม่ ได้ เนื่องจากพิธียกน� ้ำชาแสดงถึงการเคารพและคารวะ ญาติผ้ ใู หญ่ของทังสองฝ่ ้ าย
๑๔๓
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น การเต้ นอสูไจ๊ เป็ นการเต้ นร� ำช่วงตรุษจีน เทศกาลมงคลคล้ า ยล�ำ ตัด ใช้ ค นร้ อง สามารถใช้ ทำ� นายโชคชะตา อนาคตและ ๒ คน และบรรเลงกีต้าร์ ความรุ่งเรืองของบุคคลได้ ความเชือ่ เกีย่ ว ด้ า นความเชื่ อ ชาวจี น ยูน นานมี ก าร กับธรรมชาติ และชีวิตหลังความตาย นับถือสามศาสนาหลักคือ พุทธ คริ สต์ และอิสลาม ในประเทศไทย สามารถแบ่ง ด้ านภาษา กลุม่ ตามความเชื่อทางศาสนาได้ ๓ กลุม่ ภาษาทีใ่ ช้ ในชีวติ ประจําวัน คือ ภาษาจีน ใหญ่ ๆ ได้ แก่ ฮัน่ เจียว เป็ นกลุม่ ที่นบั ถือ อิ่ น หน่ า นหว่ า ในตระกู ล จี น -ทิ เ บต ศาสนาพุทธ นิกายมหายานผสมลัทธิเต๋า ในกลุ่ม ภาษาจี น แมนดาริ น ตะวัน ตก มี ศ าลเจ้ า และในบ้ านจะมี หิ ง้ บู ช า เฉียงใต้ ด้านอาชีพ ปัจจุบนั มีการใช้ ภาษา บรรพบุรุษ หุยเจี ยว เป็ นกลุ่มที่ นับถื อ ไทยควบคูไ่ ปด้ วย ศาสนาอิสลาม มีมสั ยิด หรื อสุเหร่า เพื่อ ด้ านอาชีพ ประกอบพิธี จีต๋เู จียว เป็ นกลุ่มที่นบั ถือ การเกษตร สวนยางพารา ปลูกเมี่ยง ข้ าว ศาสนาคริ สต์ มีโบสถ์ เป็ นศาสนสถานที่ เจ้ า และข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ บริ การไกด์ ใช้ เพื่อท�ำพิธีกรรมในหมูบ่ ้ าน และความ ท่องเที่ยว ขายเครื่ องประดับ เชื่อ เรื่ องสิง่ สักการบูชา ๕ ประการ ได้ แก่ ฟ้า ดิน กษั ตริ ย์ บิดา มารดา และครู สี แ ดงเป็ น สี ม งคล การบูช าผี เ รื อ นจะ ท� ำ ให้ ผ้ ูบูช าอยู่เ ย็ น เป็ น สุข กระดูก ไก่ ๑๔๔
10
โบสถ์คริสต์ 3
ป่าชุมชน 1
ประปาภูเขา 3 เสนทาง
ศาลเจ้า 4
8
7
ตู้ยามเทิดไทย
โฮมสเตย์หลงเฉิน
ร้านอาหาร
7/1
วัดเจ้าแม่กวนอิม
ประปาภูเขา 4 เสนทาง ป่าชุมชน 2
6 5
ศาลเจ้า 2
โรงเรียนจีน
3
4
อาคารอเนกประสงค์
2
30 ก ตร
ิโลเม ทาง
เสน ยเล ข
หมา
ศาลเจ้า 1
1
แม่น้ำคำ
101 6
จีนยูนนาน
ประปาภูเขา 1 เสนทาง
จัน
อแม
ป่าชุมชน 3
ศาลเจ้า 3
โบสถ์คริสต์ 2
โบสถ์คริสต์ 1 โรงเรียนไทย
พมพ.แม่ฟ้าหลวง-แม่จัน
บ้านห้วยผึ้ง จังหวัดเชียงราย
จีนยูนนาน ําเภ
ยอ
งรา
เรีย
จาก
เมืองเชียงราย
ป แยก
ง า่ ซา
12 กิโลเมตร
บานหวยผึ้ง
สถานที่ท่องเที่ยว
แม่สลองใน
15 กิโลเมตร
แม่สลองนอก
ชาติพันธุ์
ไทยเขิน
ไทยเขิ น เป็ น ชนชาติ ห นึ่ ง ในกลุ่ม ไต ส่ ว นใหญ่ อ าศั ย อยู่ ใ นเมื อ งเชี ย งตุ ง รัฐฉาน ประเทศพม่า ไทยเขินเรี ยกตัวเอง ว่ า “ขึ น ” ซึ่ง มาจากชื่ อ แม่ น� ำ้ ในเมื อ ง เชียงตุง ภาษาพูดและเขียนของไทยเขิน มีความคล้ ายคลึงกันกับไทยองและไทลื ้อ มาก พูดภาษาภาษาไทขึน ซึง่ เป็ นภาษา ในกลุม่ ภาษาย่อยไทพายัพ ในกลุม่ ภาษา ค� ำ -ไต ตระกู ล ภาษาไท-กะได ใน ประเทศไทยพบชาวไทยเขิ น บริ เ วณ สันป่ าตอง สันก�ำแพง แม่แตง ดอยสะเก็ด และในเขตอ� ำ เภอเมื อ ง ในจั ง หวั ด เชียงใหม่ ไทขึน หรื อ ไทยเขิน เป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ชาวไทกลุ่มหนึ่ง ส่วนมากอาศัยอยู่ใน ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศจีน และประเทศลาว คนไทยส่วนใหญ่เรี ยก ว่าไทยเขิน เพราะว่าพวกเขาเก่งทางด้ าน ท�ำเครื่ องเขิน เคยตังอาณาจั ้ กร มีเมือง ๑๔๖
หลวงอยูท่ ี่เมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศ พม่า พูดภาษาไทขึน เป็ นภาษาในกลุม่ ภาษาย่อยไทพายัพ ในกลุม่ ภาษากัม-ไท ตระกูลภาษาไท-กะได ขึ น มี ค วามหมายว่ า ฝื น ที่ เ ป็ น เช่ น นี ้ เพราะแม่น�ำ้ ขึนนัน้ ไหลขึน้ ไปทางเหนือ ไม่ได้ ไ หลลงไปทางทิ ศใต้ เช่น เดี ย วกับ แม่น� ้ำเมย ชาวไททีอ่ าศัยอยูจ่ งึ ถูกเรียกว่า ไทขึน พวกนี ้มีความสามารถในการท�ำ ภาชนะเครื่ องใช้ จากไม้ ไผ่ที่สานอย่าง ละเอียดแล้ ว เคลือบด้ วยยางไม้ สีแดง
จึงเรียกว่าเครื่องขึน แต่คนไทยเรียกเพี ้ยน ว่าเขินภาษาเขิน หรื อ ภาษาขึน (อังกฤษ: Khün language; เขิ น : Dai Kun) บ้ างก็ว่า ไทเขิน หรื อ ไทขึน ในจังหวัด เชี ย งใหม่ แ ละเชี ย งราย ใกล้ เ คี ย งกับ ภาษาไทลื ้อและภาษาไทเหนือ เขียนด้ วย อักษรเขินทีม่ ลี กั ษณะคล้ ายอักษรล้ านนา จัด อยู่ใ นตระกูล ภาษาไท-กะได กลุ่ม ภาษากัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไทแสก เป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ที่ดงเดิ ั ้ มอาศัยอยู่ แถบดิ น แดนสิ บ สองปั น นา หรื อ แถบ เมืองยอง ในประเทศพม่า
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นาย สาม ดวงแก้ ว ผู้น�ำกลุม่ บ้ านเลขที่ ๒๘๑ หมู่ ๑๔ บ้ านเหล่าพัฒนา ต�ำบล บ้ า นดู่ อ� ำ เภอเมื อ ง จัง หวัด เชี ย งราย มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ “เขินเชียงตุง” เป็ นชือ่ ของชุมชนท่องเทีย่ ว วัฒ นธรรม แต่ช าติ พัน ธุ์ ภ ายในชุม ชน เรี ยกตัวเองว่า “ไตเขิน” มีความโดดเด่น ด้ านเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ ทีแ่ ตกต่าง จากชุมชนอืน่ คือ การแต่งกายและภาษา ในชุมชน ด้ านอาหาร ข้ าวแรมฟื นหรื อข้ าวแรมคืน ท�ำจาก ข้ าวโม่ละเอียด น�ำไปกวนกับน� ้ำปูนใสจน สุก ตักใส่ภาชนะให้ แข็งตัว แล้ วจึงตัดแบ่ง รับประทาน ถ้ าใส่แต่ข้าวอย่างเดียวมีสี ขาวเรี ย กข้ า วฟื นข้ า ว ใส่ถั่ว ลัน เตาโม่ พร้ อมกั บ ข้ าวจะได้ สี เ หลื อ งเรี ยก ข้ าวฟื นถัว่ ข้ าวซอยน้ อย เป็ นก๋วยเตี๋ยวปากหม้ อ นุม่ ๆสด ๆ มีไส้ เป็ นหมูผดั เป็ นอาหารว่าง ชาวไทยเขินนิยมน�ำมาเส้ นก๋วยเตี๋ยวหัน่ ในลักษณะเส้ นที่เล็กกว่ามาก ใหญ่กว่า เส้ นขนมจีนนิดหนึง่ นิยมน�ำเส้ นที่วา่ นี ้มา ท�ำเป็ นข้ าวซอยน� ้ำเงี ้ยว หรื อข้ าวซอยน� ้ำ ๑๔๗
สูก่ รรมวิธีในการท�ำข้ าวซอยน้ อยนัน้ เมื่อ น�ำแป้งไปนึง่ แล้ ว แผ่นก๋วยเตีย๋ วที่ได้ จะมี ลักษณะเล็กและบางกว่าแผ่นก๋วยเตีย๋ วที่ มีขายตามท้ องตลาดทัว่ ไป เพราะฉะนัน้ อาจจะเรี ย กเพื่ อ ให้ แตกต่ า งกั น เพื่ อ ไม่ให้ สบั สน ข้ าวซอยน�ำ้ คั่ว เป็ นเส้ นก๋วยเตี๋ยวในน� ้ำ ซุบกระดูก ใส่มะเขือเทศส่วนน� ้ำหน้ า ท�ำ เหมือนน� ้ำพริ กอ่อง คัว่ หมูสบั กับน� ้ำพริ ก น� ้ำเงี ้ยว ข้ าวเหลื อ งเนื อ้ ไก่ เป็ น ข้ าวเหนี ย ว เหลื อ งผสมน� ำ้ ขมิ น้ มูน กะทิ ท านคู่กับ แกงไก่ ใช้ ในงานมงคลขึ ้นบ้ านใหม่ ด้ านการแต่ งกาย ผู้หญิง เสื ้อจะไม่มีปก และจะใช้ เชือก หรื อเกลียวด้ ายผูกที่เอวรัดรู ป ชายเสื ้อ ตรงเอวจะกางออกเหมือนเสื ้อผู้หญิงใน ราชส�ำนักพม่า ใช้ ผ้าสีชมพูอ่อนโพกหัว และจะนุง่ ซิน่ ผู้ชาย จะใส่เสื ้อแขนสามส่วนเป็ นผ้ าฝ้าย ทอมือสมัยดังเดิ ้ ม ผ้ าโพกหัวส่วนมากจะ ใช้ สีครี มหรื อสีขาว จะใส่กางกงสะดอ ใช้ ได้ ทกุ สี เสื ้อของชายไทขึนจะเป็ นเสื ้อ ผ่า หน้ า ใช้ ก ระดุม ตัด เป็ น เสื อ้ คอกลม นิ ย มใส่เ สื อ้ แบบไทยใหญ่ ส วมทับ ข้ า ง นอก ส่วนเสือ้ ข้ างในมักจะเป็ นเสือ้ ยื ด หรื อเสื ้อสีขาวมีปก
๑๔๘
เสื ้อผ้ าต้ องเป็ นผ้ าปั ดซ้ ายหรื อขวาตาม การปักผ้ าถุงผ้ าซิน่ ผ้ าถุงต้ องมีลายปักบัว คว�ำ่ บัวหงายทีม่ าเกิดจากเจ้ านางเชียงตุง ใช้ สวมในงานมงคลพิธีเสื ้อแต่ผงกางเกง กับเสื ้อเป็ นสีเดียวกันยามที่ปักธงย่างที่ ปั ก ธงชาติ ไ ตไตเขิ น หญิ ง ชายจะต้ อ ง มีผ้าโพกหัว ด้ านที่อยู่อาศัย อาคารสถานที่เป็ นบ้ านยกพื ้นสูงขนาด เล็ก ๑๒ ต้ นขนาดใหญ่ ๑๘ ต้ นเสาทุกต้ น วางบนหินหลังคาคล้ ายกระเบื ้องแต่ท�ำ จากดินดินขอ บ้ านทุกหลังจะต้ องมีฉนั มี ยุงข้ าวมีรัว้ ที่ท�ำจากไม้ ไผ่มาจักสานเป็ น รัว้ หลังคาทรงจัว่ วางในแนวแกนเหนือใต้ ฝาเรือนผายออกเพือ่ รองรับน� ้ำนักหลังคา ที่ลาดต�่ำภายในเรื อนประกอบด้ วยพื ้นที่ ๓ ส่วน คือ “นอก” “ใน” และ “ชาน” โดย พื ้นที่ “นอก” เป็ นส่วนด้ านหน้ าสุดของ เรื อน มีลกั ษณะการใช้ งานเหมือน “เติน๋ ” ของล้ านนา โดยเป็ นพื ้นที่อเนกประสงค์ ใช้ รับแขก นัง่ พักผ่อนหรื อท�ำงานในเวลา กลางวัน เพราะเป็ นพื น้ ที่ ที่ มี อ ากาศ ถ่ายเทได้ ดี โดยตีฝาผนังห่าง ๆ แบบไม้ ระแนงหรื อติด “ลูกเรี ยง” (ระเบียง) แทน การท�ำฝาทึบอาคารสถานที่ ส่วนพืน้ ที่ “ใน” เป็ นห้ องโถงโล่ง มีห้องนอนอยูท่ าง
ด้ านตะวันออกของเรือน และต้ องนอนหัน ศีรษะไปทางด้ านตะวันออกด้ วยทางด้ าน ตะวันตกเป็ น “เตาไฟ” ส่วน “ชาน” มักอยู่ ทางด้ านหลัง เรื อ น เป็ นพื น้ ที่ ส� ำ หรั บ ซักล้ างตาก ด้ านประเพณี พิธีกรรม วัฒนธรรมประเพณีชาวเชียงตุงเป็ น ชาติติพนั ธุ์อนั เดียวกันของไทยเขิน คือมี ความเชื่ อว่าการร่ วมศาสนากิ จซึ่งเป็ น รู ป แบบประเพณี พิ ธี ก รรมต่ า ง ๆ จะ น้ อ มน� ำ ซึ่ง สวัส ดิ์ ม งคลทัง้ ส่ว นตัว และ ครอบครัวญาติมิตร ความเชื่อนี ้น�ำไปสู่ การร่ ว มกิ จ กรรมทางศาสนาที่ พ ร้ อม เพรี ยง สมานสามัคคี และเป็ นระเบียบ เรี ยบร้ อย ส่วนประเพณีซึ่งเกี่ยวข้ องกับ ชีวิต เช่น งานขึ ้นบ้ านใหม่งานสืบชะตา งานศพ ชาวเชียงตุง จะช่วยเหลือร่วมมือ กันอย่างเต็มที่
ประเพณีทางน�ำ้ ย้ อย ของหนุม่ สาวและ พ่อเรื อนแม่เรื อน ที่ถือว่าเป็ นไปประเพณี ส�ำคัญของชีวิต การจิ ต้ นปก การจุ ด ต้ นเกี๊ ย ะเป็ น พุทธบูชา จิไฟก๊ อกพัน จุดโคมไฟเป็ นพุทธบูชา ปล่อยโคมไฟเป็ นโคมไฟขนาดใหญ่ ท�ำ ด้ วยกระดาษสาตังแต่ ้ ๔๐๐ แผ่นขึ ้นไป ด้ านอาชีพเกษตรกรรม ชาวไทยเขินมีอาชีพ ท�ำไร่ท�ำนา ท�ำสวน เลี ้ยงปลา เลี ้ยงวัวควาย มาตังแต่ ้ ดงเดิ ั้ ม ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ร� ำวงไตเขิน ตีกลองยาวใช้ ในขณะที่แห่ นกแก้ ว (บวชเณร) ร�ำฟ้อนแป้นหางนกยูง เปิ ดงานรับแขกและเพลงไตยขินเซินคูก่ บั การเล่นซิง ๑๔๙
ด้ านความเชื่อ ประเพณีความเชื่อ ปฏิทนิ ๑๒ เดือน ๑. เมษายน ประเพณีสงกรานต์บวชพระ ๒. พฤษภาคม ประเพณีสรงน� ้ำพระธาตุ ๓. มิถนุ ายน ประเพณีเลี ้ยงผีบ้านผีเรื อน ๔. กรกฎาคม ประเพณีสะเดาะเคราะห์บ้านเมือง ๕. สิงหาคม ประเพณีไล่ผีไล่เปรต ๖. กันยายน ประเพณีการท�ำมหาป๋ าง ๗. ตุลาคม ประเพณีตานเทียน ๑,๐๐๐ ตานต้ นไม้ เกี๊ยะ ๘. พฤศจิกายน ประเพณี ตานสลากตักบาตรหลวงผ้ ากฐิ น ๙. ธันวาคม ประเพณีเข้ ากรรม ๑๐. มกราคม ประเพณีเลี ้ยงผีขนุ น� ้ำ ๑๑. กุมภาพันธ์ ประเพณีตานท�ำน� ้ำอ้ อย ๑๒. มีนาคม ประเพณี ขึน้ พระธาตุเ ลี ย้ งผี ก าด (ตลาด) และประเพณีร�ำดอกไม้ ๑๕๐
พระธาตุจอมสัก
ไปบานปาซาง
ไทยเขิ น จังหวัดเชียงราย
บานเหลาพัฒนา หมูที่ 14 ต.บานดู อ.เมือง จ.เชียงราย
ตลาดนํ้าบานเหลาพัฒนา ขัวแคร
ตลาดนํ้าบานเหลาพัฒนา ตลาดนํ้าบานขัวแคร
ตลาดชุมชน
ทองเที่ยววิถีชีวิต
สถานที่ท่องเที่ว
กลุมชาติพันธุ 32 ชนเผา แพร นาน พะเยา เชียงราย
กลุมชาติพันธุลานนาตะวันออก
ไปเชียงราย - ไปอําเภอแมจัน
ชาติพันธุ์
ไตหย่า
ชนเผ่ า ไทหย่ า หรือ ไตหย่ า เดิมอาศัย อยูท่ ี่ “เมืองหย่า” ติดกับฝั่งแม่น� ้ำเต้ า ทาง ด้ านเหนื อของเมืองซีเม่า เมืองทะลาง และใต้ เมืองคุนหมิง ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ภูมปิ ระเทศเป็ นพื ้นทีร่ าบล้ อม รอบไปด้ วยไร่นาป่ าไม้ และทิวเขา อันเรียง รายสลับซับซ้ อน ค�ำที่ออกเสียงว่า ไต หมาย ถึง “ไท” ซึง่ แปลว่าคนส่วนค�ำว่า “หย่า” หมายถึงชื่อ เมืองที่ตัง้ บ้ านอยู่จะสันนิษฐานได้ จาก บรรดาหัวเมืองต่าง ๆ บริ เวณใกล้ เคียง เช่น เมืองชาย เมืองลุง เมืองแวว เมืองลา เมืองจัง้ เมือ่ ข้ า เมืองปอ เมือ่ คะแนน ฯลฯ คนไทยทีอ่ าศัยอยูเ่ มืองเหล่านี ้ถูกเรี ยกว่า ไตชาย ไตลุง ไตกา ไตจัง้ ใตปอ ไตคะ แมน ค�ำว่า “ไทยหย่า” จึงหมายความถึง คนที่อยูใ่ นเมืองหย่า ๑๕๒
ชาวไทยหย่ าตังบนเรื ้ อนอยู่รวมกันเป็ น หมู่ ๆ ในอาณาเขตของจีน ไม่มีพื ้นที่นา เป็ นของตนเอง ต้ องอาศัยรับจ้ างท�ำนา หรื อเช่านาจากพวกชาวจีนฮ่อ (ยูนนาน) มักถูกรบกวนจากเจ้ าพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ฝ่ ายปกครองเก็ บภาษี อากรสูง เกณฑ์ ผู้คนไปท�ำถนนหนทาง เอาไปเป็ นคนใช้ ทหาร ฯลฯ เมื่อถูกรบกวนหนักเข้ าชาว ไทยหย่าบางเหล่าจึงอพยพลงมาใต้ มา อาศัยอู่บริ เวณ ใกล้ เคี ยงเมื องเชี ยงรุ่ ง ซึ่งตังอยู ้ ่ริมฝั่ งแม่น� ้ำโขง ที่ดินว่างเปล่า อยู่บ้าง และได้ อพยพเข้ ามาอยู่ในเขต อ� ำ เ ภ อ แ ม่ ส า ย จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ร า ย ประเทศไทย ใน พ.ศ.๒๔๙๐ พบว่ามี จ�ำนวนชาวไทยใหญ่ในจังหวัดเชียงราย มีประมาณ ๑,๐๐๐ คน
ก่อนที่ชาวไทยหย่าจะรู้ ว่ามีประเทศไทย และคนไทยทีเ่ ป็ นเชื ้อสายเดียวกันอยูท่ าง ทิ ศ ใต้ นัน้ ได้ มี ห มอ วิ ล เลี ย มคลิ ฟ ตัน ดอด์ด อาจารย์ บี.บี. อาจารย์คาแลนเดอร์ หมอสอนศาสนาลัทธิโปรเตสแตนต์ ชาวอเมริ กนั ได้ เดินทางผ่านประเทศไทย ไปเผยแพร่ ศาสนาอยู่ในดินแดนเหล่านี ้ เป็ น เวลาหลายปี โดยเฉพาะอาจารย์ บี.บี. ได้ ใช้ เวลาอยู่คลุกคลีกับชาวไทย หย่า ซึง่ มาเรี ยนหนังสือไทยอยูท่ ี่โรงเรี ยน คริ สต์เตียนวิทยาคม จังหวัดเชียงราย ๒ คน ชื่อ นายหยีใหญ่กบั นายหยีเล็ก ภาย หลังเมื่ออาจารย์บี.บี. กลับอเมริ กา เด็ก ไทหย่าทังสองได้ ้ เดินทางกลับไปบ้ านเกิด เมื อ งนอนของเขา ประจวบกั บ มี เหตุการณ์ ยุ่งยากเกี่ยวกับการปกครอง บ้ านเมืองของชาวจีนยูนนาน ก่อความ เดือนร้ อนให้ แก่ชาวไทหย่า เถ้ าแก่นาคา กับนายสามเปา (บิดานายหยี) จึงชักชวน กัน อพยพมาอยู่บ้ า นห้ ว ยไคร้ อ� ำ เภอ แม่ ส าย จัง หวัด เชี ย งราย ราว ๒๐๐ หลังคาเรื อน ต่อมาก็ได้ อพยพเข้ ามาอยู่ เรื่ อ ย ๆ จนขยายหมู่บ้ า นออกเป็ น ๒ หมูบ่ ้ านคืออยูท่ างทิศตะวันตกเรี ยกบ้ าน น� ้ำบ่อขาวตีนดอยตุง ซึง่ อยูห่ า่ งจากถนน ๑ กิโลเมตร ใน พ.ศ.๒๔๙๐ นี ้ ชาวไทย
หย่ายังอาศัยตังบ้ ้ านเรื อนอยู่ ณ ที่นนั ้ การเดิ น ทางไปเมื อ งพม่ า ค่อ นข้ า ง ล�ำบากในช่วง พ.ศ. ๒๔๙๐ มีถนนไปได้ แค่เมืองพะยาก เขตรัฐฉานของพม่านอก นัน้ ต้ องเดินทางด้ วยเท้ าหรื อขี่ม้าไปถึง เมืองยอง ขึ ้นภูเขาข้ ามแม่น� ้ำล�ำธารและ ผ่านป่ าใหญ่เป็ นเวลา ๑๕ วัน จึงบรรลุถงึ เมืองหย่า เมืองเชียงรุ่ ง ตังอยู ้ ่ริมฝั่ งขวา ของแม่น� ้ำโขง เป็ นที่อยู่ของคนไทยเผ่า หนึง่ ซึง่ เรี ยกตนเองว่า “ ลื ้อเชียงรุ่ง – ลื ้อ เจี ย งฮุ่ง ” จากเชี ย งรุ้ งเดิ น ทางผ่ า นป่ า ภูเขา และหมู่บ้านชาวไทยลือ้ ชาวเขา ชาวจีนฮ่อเรื่ อยไปเป็ นเวลา ๑๒ วัน จึง บรรลุถึงเมืองหย่า ระหว่างทางจะผ่าน เมืองใหญ่ที่ส�ำคัญ คือ เมืองสีเม้ า (ซือ เหมา) เมืองฟูเออ เมืองทะลาง (หรื อม่วย เจียว) เมืองหยุ่ง อันเป็ นแหล่งที่อยู่ของ ชาวจีนฮ่อ ส่วนชาวไทมักอยูบ่ ริ เวณรอบ นอกเมืองใหญ่เหล่านัน้ เมืองหย่ าตังอยู ้ ่ระหว่างภูเขาล้ อมรอบ ตัวบ้ านปลูกคล้ ายโรงเตี๊ยมจีน ๒ ชัน้ คือ ยกพื ้นสูงประมาณ ๑ ศอก มีทางเดินตรง กลางกรุฝาด้ วยอิฐหนา ๒ ชันอย่ ้ างโบสถ์ อิฐที่ใช้ เป็ นอิฐดินดิบ คือเป็ นดินเหนียว ปั น้ เป็ นก้ อนสี่เหลี่ยมโตผึ่งแดดให้ แห้ ง แล้ วน�ำมาก่อซ้ อน ๆ กันเป็ นฝาบ้ าน โดย ๑๕๓
ใช้ ดิ น เหนี ย วผสมกับ ทรายใช้ แ ทนปูน หลังคาเทลาดลงมาอย่างแบบบ้ านชาว จีนยูนนาน ยุ้งข้ าวอยูใ่ ต้ เรือน บริเวณใกล้ เคียงมีคอกหมูและเล้ าไก่ บางบ้ านมีคอก ม้ า ซึง่ ใช้ เป็ นพาหนะเดินทางไกล ชาวไทหย่ าอยู่ภายใต้ การปกครองของ จีนฮ่อ มณฑลยูนนาน มีผ้ ใู หญ่บ้านเรี ยก “สีจาง” ก�ำนันเรี ยก “เปาตุง” นายอ�ำเภอ เรี ยก “แสนจาง” ใช้ อ�ำนาจปกครองแบบ ป่ าดังเดิ ้ ม เช่น หากคนหมู่บ้านหนึ่งไป ขโมยวัวจากหมู่บ้านหนึง่ คนในหมู่บ้าน ที่ถูกขโมยจะยกพวกมาริ บเอาวัวควาย อีกหมูบ่ ้ านหนึง่ จนหมด หากไม่ยอมก็จะ ต้ องฆ่ า ฟั น กั น การขโมยครั ง้ แรกไม่ ท�ำร้ าย นอกจากริ บข้ าวของวัวควาย ครัง้ ที่ ๒ จะฆ่าฟั นตัดสินความกันเองก่อนไป แจ้ งนายอ�ำเภอหรื อแสนจาง
ข้ อมูลเอกลักษณ์ / อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชื่อชุมชนท่องเที่ยววัฒนธรรมวัฒนธรรม ไทย : บ้ านบ่อน� ้ำขาว เอกลักษณ์/ อัตลักษณ์อนั โดดเด่นและมี ความแตกต่างจากชุมชนอืน่ การแต่งกาย และภาษาพูด ชาติ พั น ธุ์ ภายในชุ ม ชน : ไตหย่ า ไทใหญ่ ไทยวน
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน ร้ อยต�ำรวจเอก บุญยืน วงค์วรรณ ผู้น�ำ กลุม่ บ้ านเลขที่ ๑ หมู่ ๖ ต�ำบลห้ วยไคร้ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีข้อมูล ที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้
ด้ านอาหาร หลู้ส้ม มีสว่ นผสมของผักกาดดองส้ มย�ำ คัว่ แห้ ง มีส่วนผสมของเนื ้อหมูบดผัดใส่ กุ่ยช่ายและเครื่ องเทศ ขมไก่ มีสว่ นผสมของคล้ ายหลู้ส้มแต่ใช้ ผักฮ้ วนหมูย�ำใส่เครื่ องในไก่แทน
๑๕๔
ไตหย่ารั บประทานข้ าวเจ้ าเป็ นอาหาร หลักไม่กินข้ าวต้ มหรื อข้ าวเหนียวอาหาร ที่โดดเด่นที่สดุ คือคัว่ แห้ ง เดิมใช้ เนื ้อสุนขั แต่ต่อมาเมื่อการกินเนือ้ สุนัขมันขัดกับ วัฒนธรรมหลักของท้ องถิ่นรวมไปถึงผิด
กฎหมายจึงเปลี่ยนวัตถุดิบเป็ นเนือ้ หมู หรื ออย่างอื่ น แทน อาหารที่ ขึน้ ชื่ อ ของ ไตหย่ า อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ อาหารพวก หมั ก ดอง อาหารไตหย่ า ล้ วนเข้ า เครื่ องปรุ ง เครื่ องหมักดองของไตหย่า ซึ่งดองตังแต่ ้ ผกั เนือ้ สัตว์สารพัดอาหาร ดองเหล่านี ้เก็บได้ เป็ นปี ๆ โดยไม่เน่าเสีย หรื อกลายเป็ นร้ า
“ อูลินจินหวาน “
หมู ป าดมั น กั บ กระเที ย มบด มี ส่ว น ผสมของ สั น ค อห มู ต้ ม สุ ก ทา นกั บ กระเทียมบด ข้ าวแหลกล้ อม มีส่วนผสมของคล้ าย บั ว ลอย ใช้ แป้ ง ต้ มสุ ก ราดหน้ าด้ วย น� ้ำอ้ อย ชา น� ำ้ ร้ า(เฝอล่า ) ชาที่ ต้ ม จากใบร้ า เครื่ องดื่มไตหย่าแตกต่างจากชาวจีนคือ ดื่มน� ้ำชาจากใบเฝอเรี ยกว่า เฝอล่า (ล่า แปลว่าชา)
(แทนค�ำสวัสดีและขอบคุณ)
๑๕๕
ด้ านการแต่ งกาย ผ้ าถุงหรื อผ้ าซิ่นผู้หญิงมี ๒ ชัน้ ชันใน ้ ใหญ่กว่า ใช้ สดี ำ� ยาวหุ้มลงไปเกือบถึงข้ อ เท้ า มีเชิงตอนปลายสลับสีและลายปั ก ด้ วยสีและจ�ำพวกดิ ้นไหม การนุง่ ผ้ าซิน่ นี ้ มี แ ปลกอยู่ อ ย่ า งหนึ่ ง คื อ ทุ ก คนต้ อง หยักรัง้ เอวซ้ ายสูงข้ าง หนึง่ ต�ำ่ ข้ างหนึง่ ไม่ เสมอกั น ผ้ าซิ่ น ชั น้ นอกสี ด� ำ ตั ด รู ป สี่เหลี่ยมผืนผ้ าปั กดอกลวดลายต่าง ๆ ตอนบน แต่ใช้ ปิดเฉพาะข้ างหน้ า ส่วนที่ ตะโพกหลังสันระดั ้ บหัวเข่าคล้ ายเอี๊ยม หรื อผ้ ากันเปื อ้ น ผู้หญิงชาวไทหย่าโพก ศีรษะด้ วยผ้ าสีด�ำรอบศีรษะคล้ ายหมวก ขุนนางจีนฝ่ ายบุ๋น สมัยโบราณ ผิดแต่ ปลายชายผ้ าลงมาปิ ดหูทงั ้ ๒ ข้ าง ที่หใู ส่ ต่ า งหู ท� ำ ด้ วยโลหะเงิ น เป็ นวงกลม อันใหญ่ การโพกศีรษะนี ้ผิดกับบรรดาคน ไทเผ่ า อื่ น เช่ น พวกไตลื อ้ ไตหย่ า วน ไตมาง ซึ่ ง โพกศี ร ษะด้ ว ยผ้ า ขาวหรื อ ผ้ า สี ช มพูรู ป แบะบานใหญ่ อ ย่ า งขนม โดนัท ทิ ้งช่องว่างให้ มวยผมโผล่ตรงกลาง แต่ ช าวไทหย่ า โพกศี ร ษะครอบผ้ า คล้ ายถุง
๑๕๖
ชายชาวไทหย่ า มีส่วนคล้ ายคลึงพวก ไทใหญ่ (เงี ้ยว) ไทลี ้อ ไทเชียงรุ่งในแคว้ น สิ บ ส อ ง พั น น า แ ล ะ รั ฐ ฉ า น ทั่ ว ไ ป ผิดแต่ผ้ ชู ายชอบไว้ ผมสัน้ ๑๕ วันตัดครัง้ หนึง่ สวมหมวกสานด้ วยไม้ ไผ่กว้ างใหญ่ อย่ า งหมวกฝาชี ข องชาวญวนแต่ ไ ม่ มี ยอดแหลมสู ง เสื อ้ สี ด� ำ แบบกุ ย เฮง ผ่ากลางตลอด มีขอบคอเสื ้อสูง ๒ นิ ้วยาว ลงมาใต้ เอว กางเกงขากว้ างและหุ้มลง มาเกือบจรดข้ อเท้ า
การแต่ งกายของชาวไตหย่ า ผู้หญิงจะ มี ก ารแต่ ง กาย ๓ แบบได้ แ ก่ ในชี วิ ต ประจ�ำวัน เทศกาลส�ำคัญ และท�ำงาน ส่วนผู้ชายจะมีการแต่งกายแบบเดียว ด้ านที่อยู่อาศัย ที่ อ ยู่อ าศัย คล้ า ยชาวจี น ยูน นานในยุค ก่อน คือ เป็ นบ้ านดินรูปทรงสี่เหลี่ยมผืน ผ้ า อาจจะมี ก ารต่ อ เติ ม เป็ นสองชั น้ ห รื อ ข ย า ย ตั ว บ้ า น ชั ้น เ ดี ย ว ใ ห้ มี ด้ านภาษา ภาษาไตหย่ากับภาษาไทย ความกว้ างออก ถิ่นเหนือมีลกั ษณะคล้ ายกัน แต่มีความ ด้ านประเพณีพธิ ีกรรม แตกต่ า งอยู่ บ้ าง เช่ น หน่ ว ยเสี ย ง ป ร ะ เ พ ณี พิ ธี ก ร ร ม ข อ ง ไ ท ห ย่ า พยัญชนะและสระต่างกัน เช่น เสียง ต ใน เชียงรายได้ รับการปรับตัวให้ กลมกลืนกับ ภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นเหนือ คนท้ องถิ่ น ซึ่ ง เป็ นเผ่ า ไทยเหมื อ นกั น จะเป็ น เสี ย ง ล ในภาษาไตหย่ า เช่ น วัฒนธรรมใกล้ เคียงรวมทัง้ ปรั บให้ เข้ า ดอกไม้ เป็ น ลอกไม้ สี ด� ำ เป็ น สี ล� ำ ศาสนาคริสต์ ประเพณีพธิ ีกรรมได้ แก่งาน เป็ น ต้ น ภาษาไตหย่ า ไม่ มี ร ะบบเสี ย ง ประชุมใหญ่ประจ�ำปี ระยะเวลาใกล้ ควบกล� ้ำ เช่น ปลา เป็ น ปา เป็ นต้ น ใน พิธีแต่ งงาน พิธีข้าวพ่ายไข่ เอกลักษณ์ ด้ านส�ำเนียงการพูด พบว่า ส�ำเนียงไต ของงานแต่งไตหย่า ห ย่ า ต่ า ง จ า ก ภ า ษ า ไ ท ย ถิ่ น เ ห นื อ การอยู่เดือนหลังคลอด จะมีการมอบ เนื่ อ งจากภาษาไตหย่ า มี ห น่ ว ยเสี ย ง ไก่เป็ นการแสดงความยินดี พยัญชนะ ๑๘ เสียง เสียงสระ ๑๘ เสียง พิธศี พ มีการจัดแบบคริสเตียนผู้ร่วมงาน วรรณยุกต์ ๕ เสียง ในขณะที่ภาษาไทย แต่ ง กายแบบชุด ชนเผ่ า เพื่ อ ให้ เ กี ย รติ ถิ่นมีเสียงพยัญชนะ ๑๙ เสียง สระ ๑๘ แก่ผ้ ตู าย เสียง และเสียงวรรณยุกต์ ๖ เสียง ๑๕๗
ด้ านความเชื่อ มีความเชือ่ เรื่องการรักษาพยาบาลคล้ าย ชาวจีนยูนานคือการรักษาไข้ ด้วยการขูด ร่างกาย และการกรี ดหรื อ เจาะเลือดตรงหน้ าผาก (ระหว่างคิ ้ว) ให้ ด้ านอาชีพ ชาวไตหย่าในหมูบ่ ้ านน� ้ำบ่อขาว แต่เดิม เลือดออกเพื่อรักษาอาการปวดหัวเรี ยก ประกอบอาชี พ การท� ำ เกษตรเพื่ อ การ ว่า “กอกตา” ยังชีพ แต่ปัจจุบนั วิถีชีวติ เปลีย่ นแปลงไป ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ชาวไตหย่ า ส่ ว นใหญ่ เ ดิ น ทางเข้ าไป - ไตหย่ามี เครื่ องดนตรี ของตัวเองเป็ น ท� ำ งานในจัง หวัด อื่ น ๆ เช่ น เชี ย งใหม่ เครื่องดีดเหมือนพิณเปี๊ ยะของคนล้ านนา กรุ ง เทพฯ มี เ พี ย งบางส่ ว นที่ ป ระกอบ เรี ยกว่าติ ้งต่องมี ๓ สายและปี่ น� ้ำเต้ า (ท�ำ อาชี พ เกษตร ท� ำ นาข้ าว ท� ำ นากก จากน� ้ำเต้ า) เนื่องจากกกเป็ นพันธุ์พืชที่ชาวไตหย่าน�ำ - การร้ องเพลงของไตหย่า เรี ยกว่าร้ อง มาด้ ว ยในคราวที่ อ พยพจากแคว้ น ยูน ครามไม่มีเนื ้อร้ องและท�ำนองหลักๆมีให้ นาน การท�ำนากกในประเทศไทยจึงเริ่ ม จังหวะกับการใช้ ขบั เล่าเรื่ องไป ต้ นจากหมูบ่ ้ านของชาวไตหย่าและต่อมา - การละเล่ น มี ก ารเล่ น ลูก ข่ า งคล้ า ย แพร่ กระจายไปสู่หมู่บ้านใกล้ เคียง เมื่อ จีนยูนาน กกโตเต็มที่จะตัดเพื่อไปเป็ นวัตถุดิบใน - ลวดลายการปั กผ้ าเป็ นลายกราฟฟิ ค การทอเสื่อกก เน้ นรูปสามเหลี่ยม ๑๕๘
อาขา
บะหมี่ไตหยา รานไตหยา
ไทใหญ
ดอย ตุ ง สายใ หม
หมูบานจีน
บานไตหยา
เชี ย งราย - แม ส าย
บานไตหยา
คริสตจักร นทีธรรม
รีสอรท
ดอยตุง ไทใหญ
ด อ ย ตุ ง ส าย เก า
ร้านอาหาร
สถานที่ท่องเที่ยว
ไตหย่า
ชาติพนั ธุ์
ดาราอั้ง
ดาราอัง้ (ปะหล่ อง) เป็ นชนเผ่าที่อพยพ มาจากพม่ า เข้ าสู่ ไ ทยเมื่ อ ประมาณ ปี ๒๕๑๑ เรี ย กตัว เองว่ า “ดาระอัง ” (Da - ang , Ra – ang , Ta - ang) ค�ำว่า “ปะหล่อง” เป็ นภาษาไทยใหญ่ซงึ่ ใช้ เรียก ชนกลุม่ นี ้นอกจากนันยั ้ งมีคำ� เรี ยกทีแ่ ตก ต่างกันออกไปอีก เช่น ชาวพม่าเรี ยกปะ หล่องว่า “ปะลวง”(Palaung) และไทย ใหญ่บางกลุม่ ก็ใช้ คำ� ว่า “คุณลอย” (Kunloi) ซึง่ มีความหมายว่า คนดอย หรื อคน ภูเขา แทนค�ำว่าปะหล่อง เอกสารทางประวัตศิ าสตร์ หลาย ฉบั บ กล่ า วถึ ง ชาวปะหล่ อ งว่ า เป็ น พลเมื องกลุ่มหนึ่งภายใต้ การปกครอง ของนครรัฐแสนหวี ๑ ใน ๙ นครรัฐของ อาณาจักรไตมาว ซึ่งเป็ นอาณาจักรยิ่ง ๑๖๐
ใหญ่ของชนชาติไต พ.ศ.๑๒๐๐ โดยมี ศูนย์กลางของอาณาจักรในขณะนันอยู ้ ่ บริ เวณเมืองแสนหวีในรั ฐฉานประเทศ พม่า ประหล่องมีฐานเดิมอยูใ่ นโกสัมพีซง่ึ ก็เป็ นข้ อมูลที่ตรงกันเพราะ ค�ำว่า โกสัม พีเป็ นการเรี ยกนครรัฐแสนหวี และ กับ ความหมาย ครอบคลุมรัฐฉานทังหมด ้ จ� ำ นวนประชากรประหล่ อ ง โดยการ ส�ำรวจของ องค์การพิทกั ษ์ สทิ ธิมนุษยชน ณ ประมาณว่ามี ๑ ล้ านคน ถิ่นที่อยูก่ นั หนาแน่น คือบริ เวณเทือกเขาในรัฐฉาน แถบเมืองตองแปง น� ้ำซัน สีปอ้ เมืองมิต และทางตอนใต้ ในรัฐฉานคือ เมืองเชียง ตุง นอกจากนันยั ้ งพบว่า ปะหล่องกระจัด กระจายกันอยู่ทางตอนใต้ ของรัฐคะฉิ่น และภาคตะวันตกเฉี ยงใต้ ของยูนานใน ประเทศจีน
ราวปี พ.ศ.๒๕๑๑ ที่ชาวปะหล่องได้ เริ่ มอพยพเข้ าใน บางกลุม่ มาจนถึงปี พ.ศ.๒๕๒๗ ได้ ปรากฏชาวปะหล่อ งจ�ำนวน ๒,๐๐๐ คน อพยพ มารวมกันที่ชายแดนไทยพม่า บริ เวณดอยอ่างขาง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ฟื น้ ฟูบ้านนอแล ซึง่ เป็ นหมูบ่ ้ านใกล้ กบั พื ้นที่รับผิดชอบ ของโครงการหลวงดอยอ่างขางสถานการณ์ครัง้ นันน� ้ ำ ความล�ำบากใจมาสูเ่ จ้ าหน้ าทีผ่ ้ ปู ฏิบตั งิ านในพื ้นทีอ่ ย่าง ยิง่ เนื่องจากกลุม่ อพยพครัง้ นี ้เป็ นชาวปะหล่องจากดอย ลาย อยูร่ ะหว่างเมืองเชียงตอง กับเมืองปั่ น เขตเชียงตุง ฉะนันบุ ้ คคลเหล่านี ้จึงถือ เป็ นบุคคลอพยพเข้ าเมืองโดย ผิดกฎหมาย สาเหตุของการอพยพสืบต่อเนื่องมาจาก สถานการณ์ ในประเทศพม่าเมื่ อประเทศอังกฤษคืน อิสรภาพมีผลท�ำให้ เกิดความระส�ำ่ ระสายไปทัว่ เกิดการ ขัดแย้ งและสู้รบกันตลอดเวลา ระหว่างกองก�ำลังชนก ลุม่ น้ อยทีร่ วมตัวกันจัดตังองค์ ้ กรแนวร่วมประชาธิปไตย แห่งชาติกบั ทหารรัฐบาลพม่าที่ด�ำเนินการอยู่ในพื ้นที่ ต่างๆ สงครามส่งผลต่อชาวปะ- หล่องทังทางตรงและ ้ ทางอ้ อมชาวปะหล่องมีการรวมตัวกันเป็ นองค์กร ชื่อ องค์กรปลดปล่อยรัฐปะหล่อง (Palaung state liberation Organization : PSLO) มี กองก� ำลัง ติดอาวุธ ประมาณ ๕๐๐ คน องค์กรดังกล่าวเป็ นพันธมิตรอยูใ่ น แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติซงึ่ เป็ นองค์กรหลักทีร่ วม อาองค์กรต่อสู้เพื่อสิทธิในการปกครองตนเองของชนก ลุม่ น้ อยทังหมดไว้ ้ ในแต่ละครัง้ ทีเ่ กิดการสู้รบ หรือปะทะ กัน ระหว่ า งองค์ ก รปลดปล่อ ยรั ฐ ปะหล่อ งกับ ทหาร รัฐบาลชาวบ้ านประสบความเดือดร้ อนมาก ต้ องสูญเสีย ๑๖๑
ทังชี ้ วติ และทรัพย์สนิ นอกจากนันพื ้ ้นที่ ๆ ชาวปะหล่ อ งอาศั ย อยู่ ยั ง เป็ นพื น้ ที่ เคลื่ อ นไหว ปฏิ บัติ ง านมวลชนพรรค คอมมิวนิสต์พม่าทหารฝ่ ายรัฐบาลจะเข้ า มาปฏิบตั ิการโจมตีเพื่อสะกัดกัน้ ความ เคลือ่ นไหวอยูต่ ลอดเวลา การปฏิบตั กิ าร เหล่านี ้มีผลต่อชีวติ ความเป็ นอยูข่ องชาว ปะหล่องดอยลายเป็ นอย่างมาก นายค�ำ เหียง(จองตาล) ผู้น�ำการอพยพ เล่าว่าเมือ่ ทหาร ของขบวนการกู้ชาติไทย ใหญ่มาตังกองทั ้ พใกล้ หมูบ่ ้ านและทหาร คอมมิ ว นิ ส ต์ ก็ ม าบัง คับ ให้ ส่ ง เสบี ย ง อาหารเป็ น เหตุใ ห้ ฝ่ ายรั ฐ บาลพม่ า ส่ง ก�ำลังเข้ าปราบปรามชาวบ้ านถูกฆ่าตาย เป็ นจ�ำนวนมากโดยถูกกล่าวหาว่าให้ การ สนับสนุนทหารกู้ชาติและคอมมิวนิสต์ นอกจากนันยั ้ งเอาสัตว์เลี ้ยงไปฆ่ากินยึด ของมีค่า เผายุ้งข้ าว ข่มขืนผู้หญิง และ บังคับผู้ชายให้ ไปเป็ นลูกหาบขนอาวุธ เสบียงอาหาร บางคนถูกสอบสวน ทุบตี อย่างทารุณ เพื่อบังคับบอกฐานที่ตงของ ั้ ท ห า ร กู้ ช า ติ ไ ท ย ใ ห ญ่ แ ล ะ ท ห า ร คอมมิวนิสต์ เมื่อชาวบ้ านต้ องเผชิญกับ ความล�ำบาก นานัปการจึงพากันอพยพ หลบหนี จนในที่ สุ ด มาอยู่ ร วมกั น ที่ ชายแดนไทย - พม่าบริ เวณดอยอ่างขาง ๑๖๒
ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั เสด็จเยี่ยมเยือนราษฎรชาวเขาเผ่ามูเซอ ที่บ้านขอบด้ งในพื ้นที่โครงการหลวงดอย อ่ า ขาปะหล่ อ งคนหนึ่ ง จึ ง ได้ น� ำ ความ กราบบังคมทูลขออนุญาตอาศัยอยู่ใน ประเทศไทยซึง่ เป็ นผลให้ โปรดเกล้ าฯจัด ที่อยู่ในฐานะผู้อพยพที่บ้านนอแลจนถึง ปั จ จุบัน ช่ ว งที่ ห มู่บ้ า นและประหล่อ ง ประสบปัญหาความเดือดร้ อนอันเนือ่ งมา จากพื น้ ที่ นัน้ อยู่ใ กล้ เ ขตอิ ท ธิ พ ลขุน ส่า ท� ำ ให้ ได้ รั บ ผลกระทบจากการสู้ รบ ระหว่างกองทัพไทยใหญ่ ของขุนส่ากับ กองก� ำ ลัง ว้ าแดงอั น เนื่ อ งมาจากผล ประโยชน์ จ ากการค้ าฝิ่ นอยู่ เ นื่ อ ง ๆ ประกอบกับการขาดแคลนพื น้ ที่ ท� ำมา
หากินและภาวะอากาศทีห่ นาวเย็น ท�ำให้ ชาวประหล่อง บางกลุม่ พากันอพยพโยก ย้ ายหาที่อยู่ใหม่ และกระจายกันไปตัง้ บ้ านเรื อนอยู่ ห ลายพื น้ ที่ จากการ สอบถามชาวประหล่องที่อพยพแยกย้ าย กั น ไปตั ง้ บ้ านเรื อนอยู่ ต ามที่ ต่ า ง ๆ แต่ ยังทีการเดินทางไปมาหาสูก่ นั อยูพ่ อ ป ร ะ ม า ณ ไ ด้ ว่ า ปั จ จุ บั น ห มู่ บ้ า น ชาวประหล่ อ งอยู่ ใ นพื น้ ที่ อ� ำ เภอฝาง อ�ำเภอเชียงดาว อ�ำเภอแม่อาย จ�ำนวน ๑๐ หมูบ่ ้ าน
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายยอด ขวานทอง หมูบ่ ้ านชาติพนั ธุ์ดา ระอ้ างพระเจ้ าทันใจ หมู่ ๘ ต�ำบลโปร่งงาม อ� ำ เภอแม่ ส าย จัง หวัด เชี ย งราย มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ด้ านอาหาร ผักกาดดองแห้ ง (ดอเอิม) ลาบสมุนไพร มะกอก (ยั่ ง เส่ ย เฮบิ น้ ) ปลาดองใน กระบอกไม้ ไผ่ ข้ าวป้าย (ใช้ ในเทศกาล ส�ำคัญ) ข้ าวปุ๊ ก (บมดุ๊ก) ข้ าวฟุ่ ง (ท�ำจาก น� ้ำข้ าวโพด ปรุงรสด้ วยพริ กและเกลือ) ด้ านการแต่ งกาย ผู้หญิง การแต่งกายจะใส่เสื ้อแขนยาว คอกลมหรื อคอจีน ใส่ผ้าซิ่นทอมือเน้ นสี แดง ส่วนตีนซิน่ สามารถเป็ นสีใดก็ได้ และ จะมีเข็มขัดเงินขนาดใหญ่ที่เอว เรี ยกว่า “น๊ องเริ น” และมี ส ายรั ด เรี ยกว่ า “น๊ องว่อง” (ท�ำจากหวาย) ผู้ ชาย การแต่งกายจะใส่เสือ้ แขนยาว ประดับด้ วยเหรี ยญเงิ นและมี เสือ้ คลุม สวมทับ กางเกงจะเป็ นกางเกงขายาวผ้ า แ บ บ ธ ร ร ม ด า ห รื อ ก� ำ ม ะ ห ยี่ สี ด� ำ และมีเข็มขัดหัวเงินสายเป็ นหนัง ๑๖๓
ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ สมัยก่ อน ที่อยูอ่ าศัยในสมัยก่อนจะเป็ น บ้ านไม้ ๒ ชัน้ ยกเสาสูง มุงด้ วยหญ้ าคา ตรงกลางบ้ า นจะยกพื น้ สูง ต่ า งระดับ ประมาณ ๒๐ เซนติเมตร ข้ างล่างจะมี เตาไฟเพื่ อสร้ างความอบอุ่นและใช้ ใน การท�ำอาหาร สมัยใหม่ ที่อยู่อาศัยในสมัยปั จจุบนั จะ เป็ นทีอ่ ยูอ่ าศัยแบบสมัยใหม่ เป็ นบ้ านปูน ,บ้ านไม้ หรื อแบบผสม โดยจะสร้ างแบบ ชันเดี ้ ยวหรื อ ๒ ชันปะปนกั ้ นไป
๑๖๔
ด้ านประเพณี พิธีกรรม ประเพณี ส งกรานต์ จัด ในช่ว งเดื อ น เมษายน โดยจะมีจดุ สรงน� ้ำพระทีว่ ดั โดย จะแบ่ ง การท� ำ กิ จ กรรม ๑๓-๑๕ ค�่ ำ พิธีขอขมาผู้สงู อายุ (ปี เก่า) และ ๑๕ ค�่ำ ขอพรผู้สงู อายุ (ปี ใหม่) เข้ าพรรษา จัดในช่วง ๓ เดือนทุก ๑๕ ค�ำ ่ มีการถือศีล (ท�ำต้ นผ้ าป่ า) กินข้ าวใหม่ จัดในช่วงหลังเข้ าพรรษา เป็ นการท�ำพิธีเรี ยกขวัญข้ าวตามความ เชื่อ เพราะเชื่อว่าถ้ าท�ำพิธีกรรมกินข้ าว
บล๊ อยตัง้ ถ�่ำ จัดขึ ้นในช่วงหลังสงกรานต์ (ปี ใหม่เมือง) เป็ นการเทศน์มหาชาติ พิธีกรรมล๊ อคเน่ ย เป็ นการหยุดท�ำไร่ ท�ำนา ในช่วงวันปี ใหม่ เรียกขวัญข้ าว จะเป็ นการเรียกขวัญข้ าว ที่ท�ำหลังจากการตีข้าวเสร็จ ปิ ดประตูหมู่บ้าน จะท�ำในช่วงปลาย เดือนมิถนุ ายน (ก่อนเข้ าพรรษา) งานแต่ งงาน จะท� ำพิธีที่บ้านเจ้ าบ่าว และเจ้ าสาว
ด้ านอาชีพ อาชีพในปัจจุบนั ของดาราอัง้ ส่ ว นมากจะเป็ นอาชี พ เกษตรกรรม ปลูกข้ าวโพด สับปะรด ข้ าว และพืชผัก สวนครัว ด้ านความเชื่อ มีความเชื่อในเรื่ องของ หมอดู “พุท ธ-ศาสนา” ตามพิ ธี ก รรม ต่าง ๆ และพระเจ้ าทันใจ
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น การทอผ้ าเพือ่ ท�ำผ้ าถุงหรือกระเป๋ า (ย่าม) ซึง่ จะทอด้ วย “เล่า” และคิดลวดลายขึ ้น ด้ านภาษา ภาษาของดาราอ้ างทังภาษา ้ พูดและภาษาเขี ยน ในส่วนของภาษา มาเอง ย่ามของผู้ชายจะใช้ พื ้นสีขาว ส่วน เขี ย นจะมี ภ าษาพม่ า ด้ วย และจะมี ผู้หญิงจะไม่เน้ นในการใช้ สี สามารถใช้ สีใดก็ได้ ส�ำเนียงที่แตกต่างกัน
๑๖๕
จังหวัดเชียงราย
ดาราอั้ง
สามแ ยกดอ ยตุง
สามแยกแม่ส ลอง กเช สามแย ียงแสน
สี่แยกหน้า อ.แม่จัน
ขุนน้ำโป่ง
หมู่บ้านสันตันปุย แม่สาย
เฮือนภักดีรีสอร์ท
ันใจ วัดพ สถานที่ท่องเที่ยว
หมู่บ้านดาราอ้าง พระเจ้าทันใจ
ระเจ ้าท
ชาติพันธุ์
ม้ง
ยังไม่มีผ้ ูใดสามารถสรุ ปได้ ว่าชนชาติม้งมาจากไหน แต่สันนิ ษ ฐานกันว่า ม้ ง คงจะอพยพมาจากที่ ร าบสูง ธิ เบต ไซบีเรี ย และมองโกเลีย เข้ าสู่ประเทศจีนและ ตังหลั ้ กแหล่งอยู่แถบลุ่มแม่น�ำ้ เหลือง (แม่น�ำ้ ฮวงโห) เมือ่ ราว ๓,๐๐๐ ปี มาแล้ ว ซึง่ ชาวเขาเผ่าม้ งจะตังถิ ้ น่ ฐาน อยูใ่ นมณฑลไกวเจา ฮุนหน�ำ กวางสี และมณฑลยูนาน ม้ งอาศัยอยู่ในประเทศจีนมาหลายศตรรษ จนกระทัง่ ประมาณคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๗ ราชวงค์แมนจู (เหม็ง) มีอ�ำนาจในประเทศจีน กษัตริ ย์จีนในราชวงค์เหม็งได้ เปลี่ยนนโยบายเป็ นการปราบปราม เพราะเห็นว่าม้ ง ที่ เ ป็ น ผู้ ชายส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว รู ป ร่ า งหน้ าตาคล้ า ยกั บ คนรัสเซีย ท�ำให้ คนจีนคิดว่า ม้ งเป็ นคนรัสเซีย จึงเป็ น เหตุให้ มีการปราบปรามม้ งเกิดขึ ้น โดยให้ ชาวม้ งยอม จ�ำนน และยอมรับวัฒนธรรมของจีน และอีกประการ หนึง่ คือเห็นว่า ม้ งเป็ นพวกอนารยชนแห่งขุนเขา (คนป่ า เถื่อน) จึงได้ มีการต่อสู้กนั อย่างรุ นแรงในหลายแห่งใน ทีส่ ดุ ชาวม้ งประสบกับความพ่ายแพ้ สูญเสียพลรบ และ ประชากรเป็ นจ�ำนวนมาก ในที่สดุ ม้ งก็เริ่ มอพยพถอย ๑๖๗
ร่นสู่ ทางใต้ และกระจายเป็ นกลุม่ ย่อยๆ กลับขึ ้นอยูบ่ น ที่สงู ป่ าเขาในแคว้ นสิบสองจุไทย สิบสองปั นนา และ อีกกลุ่มได้ อพยพไปตามทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ ราชอาณาจักรลาวบริ เวณทุ่งไหหินเดียนเบียนฟู โดย มีหวั หน้ าม้ งคนหนึ่ง คือ นายพลวังปอ ได้ ราบรวมม้ ง และอพยพเข้ าสูป่ ระเทศไทยเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๐๐ เป็ นต้ นมา ปั จจุ บั น ชาวม้ งส่ ว นใหญ่ ใ นประเทศไทย ตัง้ ถิ่ น ฐานอยู่ต ามภูเ ขาสูง หรื อที่ ราบเชิ งเขาในเขต พื ้นทีจ่ งั หวัดเชียงราย พะเยา น่าน เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน แพร่ ล�ำปาง ก�ำแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุ โ ข ทั ย แ ล ะ ต า ก มี จ� ำ น ว น ป ร ะ ช า ก ร ทั ง้ สิ น้ ประมาณ ๑๕๑,๐๘๐ คน ข้ อมูล ๘ วิถี ชุมชนท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยได้ สัมภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายเอกภพ จตุโชคอุดม ผู้ใหญ่ บ้ านห้ วยหาร บ้ านเลขที่ ๖๐ หมู่ ๙ ต�ำบลปอ อ�ำเภอ เวียงแก่น จังหวัดเชียงราย มีข้อมูลทีส่ ำ� คัญ รายละเอียด ดังนี ้
๑๖๘
ด้ านอาหาร ต้ มไก่ สมุนไพร ม้ งใช้ พืชสมุนไพรท้ อง ถิ่นที่ปลูกอยู่ค่ทู กุ หลังคาเรื อน น�ำมาใช้ ท�ำอาหารและใช้ เป็ นยารักษาโรค วัตถุดบิ ในการปรุง โดยน�ำสมุนไพรใส่เข้ าไปใส่ใน ไก่ด�ำ ต้ มเป็ นเมนูอาหารใช้ ดแู ลสุขภาพ ผัดยอดผักม้ ง (ซาโยเต้ ) เป็ นพืชไม้ เถา วงแตง เรี ยกว่าฟั กแม้ ว น�ำ้ พริกม้ ง มีผกั ชี เกลือ และ พริ กขี ้หนู เป็ นส่วนประกอบหลัก น�ำโขลกรวมกัน ทุกอย่างสดไม่มกี ารย่าง แกล้ มกับผักเช่น บร็ อ คโคลี่ เห็ ด นางฟ้ า ดอกกะหล�่ ำ กะหล�่ำปลี แครอท ผักกาด ถั่วฝั กยาว เป็ นต้ น ด้ านการแต่ งกาย ลักษณะการแต่งกายม้ งขาว หรื อม้ งด๊ าว ทั ง้ ชายและหญิ ง ตั ว เสื อ้ จะเป็ นผ้ า ก�ำมะหยี่ เสื ้อแขนยาวจรดข้ อมือ ชายเสื ้อ จะยาวคลุมเอว ด้ านหน้ ามีสาบเสื ้อสอง ข้ างลงมาตลอดแนว สายเสื ้อลงไปยังชาย เสื ้อ ด้ านหลัง มักจะปั กลวดลายสวยงาม ด้ วย ปั จจุบนั นิยมใส่ซปิ ลงขอบ สาบเสื ้อ เพื่อสะดวกในการใส่ ส่วนกางเกงจะสวม ใส่กางเกงขาก๊ วย หรื อกางเกงจีนเป้าตื ้น ขาบาน มีลวดลายน้ อย และใส่ผ้าพันเอว สีแดง คาดทับกางเกง และอาจมีเข็มขัด
เงินคาดทับอีกชันหนึ ้ ง่ ด้ วยเหมือนกัน ตัวเสื ้อจะเป็ นผ้ าก�ำมะหยี่ เสื ้ออาจจะเป็ น สีน� ้ำเงินเข้ มหรื อด�ำ แต่ปัจจุบนั ก็มี การ เปลีย่ นแปลงให้ มหี ลากสีมากขึ ้น เป็ นเสื ้อ แขนยาว ซึ่ ง ที่ ป ลายแขนนี ้ มี ก ารปั ก ๑๖๙
ลวดลายใส่ด้านหน้ ามีสาบเสื ้อสองข้ าง ลงมา และมีการปั กลวดลาย ใส่ด้วย การ แต่งกายของหญิงม้ งขาว (ม้ งเด๊ อะ) เดิม จะสวมกระโปรงจีบ รอบตัวสีขาวล้ วน ไม่มีการปั กลวดลายใด ๆ เมื่อสวมใส่จะ ปล่อยรอยผ่าไว้ ด้ านหน้ า พร้ อมกับมีผ้า สีเ่ หลีย่ มยาวปั กลวดลายปิ ดทับรอยผ่า มี ผ้ าแถบ สีแดงคาดเอวไว้ ชนหนึ ั ้ ง่ โดยผูก ปล่อยชายเป็ นหางไว้ ด้านหลัง ปั จจุบนั นิยม ใส่กระโปรงสีขาวเฉพาะงานส�ำคัญ เท่านัน้ เพราะกระโปรงขาวเปรอะเปื อ้ น ได้ งา่ ย จึงหันมานิยมสวมกางเกงทรงจีน กับเสื ้อแทนกระโปรง และมีผ้าสี่เหลี่ยม ผืนยาวห้ อยลงทังด้ ้ านหน้ า และหลัง ผ้ า นี ้มักจะปั กลวดลาย สวยงามมีผ้าแถบสี แดงคาดเอว ส�ำหรับเครื่ องโพกผมของ หญิงม้ งขาวนัน้ นิยมพันมวยผมคล้ อยมา ด้ านหน้ า และใช้ ผ้าสีด�ำโพกผมเป็ นวง รอบศีรษะ โดยมีการปั กลวดลายไว้ ด้วย นอกจากนี ้ยังมีเครื่องประดับอืน่ ประกอบ เพิม่ เติม ซึง่ มักจะสวมใส่กนั ในงานส�ำคัญ จ�ำพวกเครื่ องเงิน ก�ำไลคอ ก�ำไลข้ อมือ ตุ้มหู แหวน รวมทังเหรี ้ ยญเงินขนาดต่าง ๆ ทังรู้ ปวงกลม และสามเหลีย่ ม ทีป่ ระดับ ตามเสื ้อผ้ าแพรพรรณ รวมทังสายสะพาย ้ ปั กลวดลายสวยงาม เวลาใช้ จะสะพาย ๑๗๐
ไหล่เฉียงสลับกันสองข้ าง ลักษณะการแต่งกายของม้ งด�ำ ทังชาย ้ และหญิง เสื ้อแขนยาวจรดข้ อมือ แต่ชาย เสื ้อระดับเอว ปกสาบเสื ้อด้ านขวา จะ ป้ายเลยมาทับซีกซ้ ายของตัวเสื ้อตลอด จนแนวสาบเสื ้อจะใช้ ด้ายสี และผ้ าสีปัก ลวดลายต่าง ๆ สะดุดตา กางเกงสีเดียว กับเสื ้อ มีลกั ษณะขากว้ างมากแต่ปลาย ขาแคบลง ส่วนที่เห็นได้ เด่นชัดคือ เป้า กางเกงจะหย่อนลงมาจนต�่ำกว่าระดับ เข่า รอบเอวจะมี ผ้ าสีแดงพันทับกางเกง ไว้ ซึ่ ง ชายผ้ าทั ง้ สองข้ างปั ก ลวดลาย สวยงาม อยู่ด้ า นหน้ า และนิ ย มคาด เข็มขัดทับผ้ าแดงไว้ ปั จจุบนั เสื ้อม้ งเขียวหรื อม้ งด�ำจะท�ำให้ มี หลากหลายสีมากขึ ้นเหมือนกัน ชายเสื ้อ ยาวจะถูกปิ ดด้ วยกระโปรงเวลาสวมใส่ สาบเสื ้อทังสองข้ ้ างจะปั ก ลวดลาย หรื อ ขลิบด้ วยผ้ าสี ตัวกระโปรงจีบเป็ นรอบ ท�ำ เป็ นลวดลายต่าง ๆ ทังการปั ้ ก และย้ อม รอยผ่าของกระโปรงอยู่ด้านหน้ า มีผ้า เหลี่ยมผืนยาวปั ก ลวดลายปิ ดรอยผ่า และมีผ้าสีแดงคาดเอวทับอีกทีหนึง่ โดย ผูกปล่อยชาย เป็ นหางไว้ ด้านหลัง ส�ำหรับ กระโปรงนี ้จะใส่ในทุกโอกาส และในอดีต นิยม พันแข้ งด้ วยผ้ าสีด�ำอย่างประณีต ซ้ อนเหลื่อมเป็ นชัน้ ๆ ปั จจุบนั ก็ไม่ค่อย
นิยมใส่กนั แล้ ว ผู้หญิงม้ งด�ำนิยมพันผม เป็ นมวยไว้ กลางกระหม่อม และมีช้องผม มวยซึง่ ท�ำมาจากหางม้ าพันเสริ มให้ มวย ผมใหญ่ขึ ้นใช้ ผ้าแถบเป็ นตาข่าย สีดำ� พัน มวยผมแล้ วประดับด้ วยลูกปั ดสีสวย ๆ ส่วนเครื่ องประดับเพิม่ เติมนัน้ มีลกั ษณะ เหมือนกับม้ งขาว ด้ านที่อยู่อาศัย ตัวบ้ านปลูกคล่อมอยูบ่ นพื ้นดินทีท่ บุ แน่น วัส ดุส่ ว นใหญ่ ใ ช้ ไ ม้ เ นื อ้ อ่ อ น ผนัง กัน้ ระหว่างห้ องหรื อบ้ านท�ำใช้ ล�ำ ไม้ ไผ่ ผ่าคลีเ่ ป็ นแผ่น หลังคามุง ด้ วยหญ้ า คา หรื อใบจาก แต่เสาจะเป็ นไม้ เนื ้อแข็ง แปลนเป็ นแบบง่ า ย ๆ ตั ว บ้ านไม่ มี หน้ าต่าง เนื่องจากอยู่ในที่อากาศหนาว เย็น ใกล้ กับประตูหลัก จะมีเตาไฟเล็ก และแคร่ไม่ไผ่ส�ำหรับนัง่ หรื อนอน เอาไว้ รับแขก กลางบ้ านจะเป็ นที่ท�ำงานบ้ าน เข้ าไปในสุด ด้ านซ้ ายจะเป็ นเตาไฟใหญ่ ส�ำหรับ ท�ำอาหารเลี ้ยงแขกจ�ำนวนมาก และเอาไว้ ต้มอาหารหมู บางบ้ านจะมี ครกไม้ ใหญ่สำ� หรับต�ำข้ าวเปลือก มีลกู โม่ หินส�ำหรั บบดข้ าวโพด แป้ง ถั่วเหลือง ใกล้ กบั ทีท่ ำ� งานจะมีกระบอกไม้ ไผ่รองน� ้ำ ตัง้ อยู่ ส�ำหรั บมุมบ้ านฝั่ งซ้ ายมักจะกัน้ เป็ นห้ องนอนของพ่อแม่กบั ลูก
ด้ านประเพณีพธิ ีกรรม ชาวเขาเผ่ าม้ ง มีประเพณีและวัฒนธรรม ตลอดทังความเชื ้ ่อเป็ นของตนเองสืบมา แต่บรรพบุรุษ ประเพณี แต่ งงาน ฝ่ ายชายและ ฝ่ ายหญิงจะกลับมาบ้ านของตนเอง และ ฝ่ ายชายค่อยมาพาฝ่ ายหญิ งจากบ้ าน ของฝ่ ายหญิ งโดยผ่านประตูผีบ้านของ ฝ่ ายหญิ ง เพราะคนม้ งถื อ และเป็ น วัฒนธรรมของคนม้ ง หลังจากที่ฝ่ายชาย และฝ่ ายหญิ งกลั บ มาถึ ง บ้ านของ
๑๗๑
ฝ่ ายชาย พ่อ แม่ของฝ่ ายชาย จะเอาแม่ไก่มาหมุนรอบศีรษะทัง้ สองคน ๓ รอบเรี ยกว่า “หรื อข๊ า” เป็ นการต้ อนรับคนทังสองเข้ ้ า บ้ าน ซึง่ ฝ่ ายชายต้ องแจ้ งให้ ญาติทางฝ่ ายหญิงทราบภายใน ๒๔ ชัว่ โมง โดยจัดหาคน ๒ คน เพื่อไปแจ้ งข่าวให้ พ่อแม่และญาติ ฝ่ ายหญิงทราบว่า ตอนนี ้บุตรชายของเราได้ พาบุตรสาวของท่าน มาเป็ นลูกสะใภ้ ของเราแล้ ว ท่านไม่ต้องเป็ นห่วงบุตรสาว โดยคน ที่ไปแจ้ งข่าวคนม้ งเรี ยกว่า “แม่โก๊ ง” ประเพณีขน้ึ ปี ใหม่ หรื อประเพณีฉลองปี ใหม่ เป็ นงานรื่ นเริ ง ของชาวม้ งของทุกๆ ปี จะจัดขึ ้นหลังจากได้ เก็บเกี่ยวผลผลิตใน รอบปี เรี ยบร้ อย และเป็ นการฉลองถึงความส�ำเร็ จในการเพาะ ปลูกของแต่ละปี ซึง่ จะต้ องท�ำพิธีบชู าถึงผีฟ้า - ผีป่า – ผีบ้าน ที่ให้ ความคุ้มครอง และดูแลความสุขส�ำราญตลอดทังปี ้ รวมถึง ผลผลิตที่ได้ ในรอบปี ด้วย ซึง่ แต่ละหมู่บ้านจะท�ำการฉลองกัน อย่างพร้ อมเพรี ยงกัน หรื อตามวันและเวลาที่สะดวกของแต่ละ หมู่บ้ า น ซึ่ ง โดยมากจะอยู่ ใ นช่ ว งเดื อ นธั น วาคมของทุ ก ปี ประเพณีฉลองปี ใหม่ม้งนี ้ชาวม้ งเรี ยกกันว่า “น่อเป๊ โจ่วฮ์” ในงาน ขึ ้นปี ใหม่ เช่น การละเล่นลูกช่วง การตีลกู ข่าง การร้ องเพลงม้ ง ประเพณีกินข้ าวใหม่ ของม้ ง เป็ นประเพณี ที่สืบทอดกันมา ตังแต่ ้ สมัยรุ่ นทวด-รุ่ นปู่ ซึ่งม้ งจะมีความเชื่อว่าจะต้ องเลี ้ยง ผี ปู่ -ผียา่ เพราะช่วงเวลาในหนึง่ รอบปี หรื อในหนึง่ ปี ที่ผา่ นมานันผี ้ ปู่ -ผียา่ ได้ ดแู ลครอบครัวของแต่ละครอบครัวเป็ นอย่างดี ดังนัน้ จึงมีการปลูกข้ าวใหม่เพือ่ จะเซ่นบูชา คุณผีป-ู ผียา่ กับเจ้ าทีท่ กุ ตน ซึง่ การกินข้ าวใหม่จะท�ำกันในเดือน ตุลาคมของทุกปี ข้ าวใหม่ คือข้ าวทีป่ ลูกขึ ้นมาเพือ่ ทีจ่ ะเซ่นถวายให้ กบั ผีป-ู่ ผียา่ เมือ่ ต�ำเสร็จ เรี ยบร้ อยน� ำข้ าวมาหุงเพื่อเซ่นไหว้ ผีปู่-ผี ย่า ซึ่งในการท�ำพิธี ๑๗๒
เซ่นผีนนสามารถท� ั้ ำโดยการน�ำไก่ตวั ผู้ทตี่ ้ มทังตั ้ วมาเซ่นไหว้ ตรง ผีประตูก่อน ซึง่ ต�ำแหน่งที่จะต้ องเซ่นไหว้ มี ๕ แห่งได้ แก่ สื่อก๋า ง ดังขอจุ ้ ๊ บ ดังขอจุ ้ ด ดังขอจ่ ้ อง ดังจี ้ ้ดัง้ ขณะท�ำพิธีต้องสวดบท สวดเพื่อที่บอกให้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นบั ถือได้ รับรู้ และ เข้ ามาทาน ก่อน เมื่อท�ำพิธีเสร็ จคนในบ้ านถึงจะสามารถทานต่อได้ ซึง่ พิธี กินข้ าวใหม่นนได้ ั ้ สืบทอด มานานหลายชัว่ อายุคน
ด้ านภาษา ภาษาม้ ง จัด อยู่ใ นสาขาเมี ย้ ว-เย้ า จอง ตระกูลจีน-ธิ เบตไม่มีภาษาเขียนแต่ยืม ตัวอักษรภาษาโรมัน มาใช้ ม้ งไม่มีภาษา ที่แน่นนอน ส่วนใหญ่มกั จะรับภาษาอื่น มาใช้ พดู กัน เช่น ภาษาจีนยูนนาน ภาษา ลาว ภาษาไทยภาคเหนือ เป็ นต้ น ซึง่ ม้ ง ทัง้ ๓ เผ่าพูดภาษาคล้ าย ๆ กัน คือ มีราก ศัพท์ และไวยากรณ์ที่เหมือนกัน แต่การ ออกเสี ย งหรื อ ส� ำ เนี ย งจะแตกต่ า งกัน
เล็กน้ อย ม้ ง สามารถใช้ ภาษาเผ่าของ ตนเอง พูดคุยกับม้ งเผ่าอื่นเข้ าใจได้ เป็ น อย่ า งดี แต่ม้ ง ไม่ มี ภ าษาเขี ย นหรื อ ตัว หนังสือ อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั ชาวม้ ง ได้ เขียน และอ่านหนังสือภาษาม้ ง โดย การใช้ ตวั อักขระหนังสือละติน (Hmong RPA) เรื่องราวความเป็ นมาต่าง ๆ ของม้ ง จึงอาศัยวิธีการจ�ำและเล่าสืบต่อกันมา เพียงเท่านัน้ ๑๗๓
ด้ านอาชีพ การท�ำเกษตร ปลูกข้ าวโพด ท�ำเครื่ องเงิน ปั กผ้ าม้ ง ตีมีด ด้ านความเชื่อ ชาวม้ งมีการนับถือวิญญาณบรรพบุรุษ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เกี่ ย วกั บ ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อมที่ อยู่บนฟ้า ในล�ำน� ำ ้ ประจ� ำ ต้ นไม้ ภูเขา และไร่นา ชาวม้ งจะต้ องเซ่น สังเวยสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ตา่ ง ๆ เหล่านี ้ปี ละครัง้ โดยเชื่อว่าพิธีไสยศาสตร์ เหล่านี ้จะช่วย ให้ วนิ จิ ฉัยโรคได้ ถกู ต้ องและท�ำการรักษา ได้ ผล เพราะความเจ็บป่ วยทังหลาย ้ ล้ วน แต่ เ ป็ นผลมาจากการผิ ด ผี ท� ำ ให้ ผี เดือดดาลมาแก้ แค้ นลงโทษให้ เจ็บป่ วย จึงต้ องใช้ วธิ ีจดั การกับผีให้ คนไข้ หายจาก โรค หากว่าคนทรงเจ้ ารายงานว่าคนไข้ ที่ ล้ มป่ วยเพราะขวัญหนี ก็จะต้ องท�ำพิธี เรียกขวัญกลับเข้ าสูร่ ่างของบุคคลนัน้ แต่ การที่จะเรี ยกขวัญกลับมานัน้ จะต้ องมี พิธีกรรมในการปฎิบตั ิมากมาย บางครัง้ บางพิ ธี ก รรมก็ มี ค วามยุ่ ง ยากในการ ปฎิ บั ติ แ ต่ ม้ งก็ ไ ม่ ย่ อ ท้ อต่ อ อุ ป สรรค เหล่ า นั น้ ม้ งเชื่ อ ว่ า การที่ มี ร่ า งกาย สมบู ร ณ์ แ ข็ ง แรง โดยไม่ มี โ รคภั ย มา เบียดเบียน นัน่ คือความสุขอันยิง่ ใหญ่ขอ งม้ ง ฉะนัน้ ม้ ง จึ ง ต้ อ งท� ำ ทุก อย่ า งเพื่ อ ๑๗๔
เป็ นการรักษาให้ หาย จากโรคเหล่านัน้ ซึง่ พิธีกรรมในการรักษาโรคของม้ งนันมี ้ อยู่ หลายแบบ ซึ่ ง แต่ ล ะแบบก็ รั ก ษาโรค แต่ละโรค แตกต่างกันออกไป การทีจ่ ะท�ำ พิธีกรรมการรักษาได้ นนต้ ั ้ องดูอาการของ ผู้ป่วยว่าอาการเป็ นเช่นไร แล้ วจึงจะเลือก วิธีการรักษาโดยวิธีใดถึงจะถูกต้ อง ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น เ ค รื่ อ ง ด น ต รี ข อ ง ค น ม้ ง ที่ มี ม า แ ต่ โบราณกาลนัน้ ก็ มี ห ลากหลาย แต่ ว่ า ดนตรีเหล่านี ้ดูเหมือนว่าก�ำลังจะสูญหาย ไปจากวิถีชีวิตของคนรุ่ นใหม่ สามารถ แบ่งได้ เป็ น ๒ ประเภท ได้ แก่ เครื่ องดนตรี ประเภทเป่ า จิง๊ หน่ อง (จ่ าง-Ncas): เป็ นเครื่ องดนตรี คูก่ ายคูใ่ จของหนุม่ สาวม้ ง จ่างเป็ นเครื่อง ดนตรี ที่ปยู่่ าตายายท่านสร้ างไว้ และเชื่อ กันว่ามีผีสงิ อยู่ ใช้ เป่ าเพื่อบรรยายความ
รู้สกึ ในใจ แคน (Qeej): เป็ นภาษาม้ ง อ่านว่า เฆ่ง หรื อ qengซึง่ แปลว่า แคน หรื อ mouth organ เฆ่ง หรือแคนเป็ นเครื่องดนตรีทที่ ำ� จากล�ำไม้ ไผ่ และไม้ เนื ้อแข็ง ถือได้ วา่ เป็ น เครื่ องดนตรี ที่เก่าแก่ที่สดุ ชนิดหนึง่ ขลุ่ย: ขลุ่ยเป็ นเครื่ องดนตรี อีกประเภท หนึ่งของม้ งที่ใช้ เป่ าเรี ยกหาคู่ และสร้ าง ความจรรโลงใจ ซึง่ ขลุย่ ม้ งจะท�ำมาจาก กระบอกไม้ ไผ่และท่อพีวีซี จะใช้ เป่ าแทน ความรู้ สึก ของสภาพจิตใจของผู้นนจะ ั้ เป่ าในวันส�ำคัญ เช่น งานปี ใหม่และงาน ส�ำคัญอื่นๆ เครื่ องดนตรี ประเภทตี กลอง หรื อ จั๊ว: เป็ นเครื่ องดนตรี ของม้ ง ที่มีลกั ษณะเป็ นกลองสองหน้ าหรื อหนึ่ง หน้ าก็ได้ รูปร่างกลมแบน โดยใช้ แผ่นผนัง สัต ว์ ส องแผ่ น มาประกอบเข้ า กับ โครง กลอง หลอมตัวกลองทังสองด้ ้ าน ริมขอบ
ของแผ่นผนังทัง้ สองแผ่นจะเจาะรู เป็ น คู่ ๆ ส�ำหรับเสียบสลักไม้ เล็ก ๆ เพื่อใช้ เชื อ กร้ อยสลัก ไม้ ข องแผ่ น ผนัง ทัง้ สอง ด้ านดึงเข้ าหากัน ซึ่งจะท�ำให้ แผ่นผนัง กลองตึ ง ตัว เต็ ม ที่ เมื่ อ ตี จ ะมี เ สี ย งดัง กังวานและมีไม้ ตกี ลองหนึง่ คู่ หรือสองอัน ท� ำ จากไม้ ด้ านหนึ่ ง จะเอาผ้ าพั น ไว้ ส�ำหรับตีกลอง ส่วนด้ านที่ไม่มีผ้าห่อใช้ ส�ำหรับจับกลองม้ งนี ้จะใช้ เมื่อประกอบ พิธีงานศพ การปล่อยผีหรื อปลดปล่อย วิญญาณ เท่านัน้
๑๗๕
ลํานํ้าหวยหาน
ไปเวียงแกน
ไปภูชี้ฟา
ไปบานหวยคุ
รานอาหาร
ศาลาประชาคม
รานอาหาร
โรงเรียนหวยหาน
รพ.ส.ต
รานกาแฟ
ศูนยวัฒนธรรม
ศูนยสมุนไพรบานหวยหาน หมู 9
จ.เชียงราย
จุดลองแพ
รพ.ส.ต
ร้านอาหาร
สถานที่ท่องเที่ยว
ศูนย์เรียนรู้สมุนไพร บ้านห้วยหาน
หมู่ 9 ตำบลปอ อำเภอเวียงแก่น จ.เชียงราย ที่อบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ แหล่งเรียนรู้และศึกษาสมุนไพร จุดชมวิวอละถ่ายภาพวิวมุมสวย กราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศูนย์สมุนไพร ดูถ้ำสวย จุดซ่อนทองคำบ้านห้วยหาน จุดชมวิวหน้าผา
ชาติพันธุ์ ลาหู่ ลาหู่หรื อละหู่ (Lahu) ซึง่ แปลว่า “คน” มีเชื ้อสายมาจากกลุม่ โลโล ซึง่ เคยเจริ ญ รุ่ งเรื องอาศัยอยู่บนที่ราบสูงทิเบต-ชิงไห่ และได้ รับการยอมรับจากจีนให้ จดั การ ปกครองตนเองได้ อ ย่า งอิ ส ระ บริ เวณ ตอนกลางและตอนใต้ ของมณฑลยูนนาน ก่อนที่ชนชาติไทใหญ่ และจี นจะเข้ าไป ครอบครอง ต่อมาได้ มีการอพยพเคลื่อน ย้ ายถิ่นอยูต่ ลอดเวลาในแถบประเทศจีน พม่า ลาว และไทย ก่อนคริ สตศตวรรษที่ ๑๙ ลาหูเ่ คยเร่ร่อน มาก่ อ น ต่ อ มาจี น ได้ ให้ อ� ำ นาจการ ปกครองตนเองแก่ลาหู่ โดยให้ หัวหน้ า กลุ่มเป็ นผู้รับสาส์นตราตังจากพระเจ้ ้ า
จักรพรรดิ เพื่อแสดงให้ เห็นว่า ลาหูย่ งั คง ยอมอยู่ ใ ต้ อ� ำ นาจการปกครองของ จั ก รพรรดิ แต่ ภ ายหลั ง จากที่ จี น ได้ เปลี่ยนแปลงการปกครอง จีนได้ ส่งเจ้ า หน้ าที่ทางทหารเข้ าไปปกครองท้ องถิ่น รวมทังดิ ้ นแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ ของ จีนในแถบมณฑลยูนนาน อันเป็ นที่อยู่ อาศัยของชาวลาหู่ส่วนใหญ่ (ศาสตรา จารย์ ต้ วน ลี เชิ ง นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิทยาลัยปั กกิ่ง ได้ ให้ ข้อมูลเพิม่ ไว้ วา่ ในปี ๒๕๒๕ มีลาหู่ ๓๒๐,๐๐๐ คน อยู่ ในเขตอ�ำเภอล้ านช้ างถึง ๑๕๔,๐๐๐ คน ฉะนันจึ ้ งสันนิษฐานได้ วา่ ชุมชนใหญ่ของ ลาหูอ่ ยูท่ อี่ ำ� เภอล้ านช้ าง ในแคว้ นสิบสอง ปั นนา มณฑลยูนนาน ท� ำให้ ชาวลาหู่ ๑๗๗
ส่ ว นหนึ่ ง เกิ ด ความไม่ พ อใจ พากั น กระด้ างกระเดื่องต่ออ�ำนาจการปกครอง ของจีน ในที่สุดผู้น�ำทางศาสนาคนหนึ่งได้ รวบ รวมศาสนิกตังตั ้ วขึ ้นเป็ นขบถ จับอาวุธ ขึน้ ต่อสู้ และมีการบันทึกไว้ ว่า (โสฬส, ๒๕๓๙) ชาวลาหู่พ ร้ อมด้ ว ยอาวุธ ซึ่ง ประกอบด้ วยหน้ าไม้ และลูกธนูอาบยา พิษ ได้ ท�ำการต่อต้ านทหารจีนอย่างเข้ ม แข็ง แต่ในที่สดุ ก็ไม่ส�ำเร็ จ ลาหูส่ ว่ นใหญ่ จ�ำยอมอยูภ่ ายใต้ อาณัติของจีน ยอมรับ อ�ำนาจการปกครองของจีนและยอมผสม ผสานกับวัฒนธรรมจีนที่แผ่ขยายเข้ ามา พร้ อมกับอ�ำนาจทางการเมืองจนกลาย เป็ นชาวจีน แต่ก็ยังมีลาหู่อีกส่วนหนึ่งที่ปฏิเสธการ ครอบง�ำทางวัฒนธรรม และไม่ยอมถูก กดขี่ ก็ พ ากั น อพยพลงมาทางใต้ ของ ประเทศจีน และตังหลั ้ กแหล่งอาศัยอยูใ่ น มณฑลยูนนาน ลงไปถึงแคว้ นเชียงตุง ของพม่า ในปี ๒๕๒๕ มีตวั เลขแสดงให้ เ ห็ น ว่ า มี จ� ำ น ว น ช า ว ล า หู่ อ ยู่ ถึ ง ๔๗๔,๐๐๐ คน (สมาคม IMPECT, ๒๕๔๕) ๑๗๘
ต่อมาเมื่ อลาหู่ทนต่อการปกครองของ ทหารจีนไม่ไหว กลุม่ หนึง่ ได้ หนีอพยพลง มาอยู่ใ นแคว้ น เชี ย งตุง ประเทศพม่ า ขณะที่มีการอพยพนันเขตเชี ้ ยงตุงอยู่ใน อ�ำนาจการปกครองของอังกฤษ Walker ได้ อ้างรายงานของร้ อยเอก Mc Leod นายทหารฝ่ ายข่าวกรองของอังกฤษ ซึง่ ได้ บนั ทึกไว้ เมือ่ ปี ค.ศ.๑๘๓๗ เกี่ยวกับลา หู่ซึ่งสืบเชื ้อสายมาจากกลุ่มที่อพยพมา จากจีนว่า (โสฬส, ๒๕๓๙) ลาหู่รับเอา วัฒนธรรมการปกครองจากชาวไทใหญ่ ในรั ฐฉาน โดยเรี ยกผู้น�ำที่ มีฐานะทาง สังคมสูงว่า “พญา” (Pha-ya) เมื่ อ ชาวลาหู่เ ข้ า มาอยู่ใ นเขตเชี ย งตุง ประเทศพม่า ก็พบกับปั ญหาส�ำคัญอีก หลายประการ โดยเฉพาะกั บ ความ
พยายามของกลุ่มหมอสอนศาสนาชาว อังกฤษ ซึง่ พยายามโน้ มน้ าวให้ ลาหูล่ ะทิ ้ง ขนบธรรมเนียมประเพณีดงเดิ ั ้ มแล้ วหัน ไปนับ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ ชาวลาหู่ซึ่ ง มี ความศรั ท ธาต่ อ ศาสนาดั ง้ เดิ ม ไม่ ปรารถนาเช่นนัน้ จึงเกิดการรวมกลุม่ ขึ ้น โดยมีผ้ นู �ำศาสนาดังเดิ ้ มคนหนึง่ ชื่อ “มะ แฮ” ได้ ตงตนขึ ั้ ้นเป็ นผู้วิเศษ เพื่อรวบรวม บริ วารต่อต้ านการครอบง�ำจิตส�ำนึกของ ฝ่ ายคริ สตจักรอังกฤษ ซึง่ ท�ำให้ ชาวลาหู่ จากที่ ต่า งๆ เดิ น ทางไปแสวงบุญ และ มอบตัวเป็ นบริ วารกับปู่ จองมะแฮเป็ น จ�ำนวนมาก จึงคิดวางแผนยึดเอาเมือง สาต (Hsat) เพื่อตังเป็ ้ นศูนย์กลางของ อาณาจักรลาหูข่ ึ ้น ในทีส่ ดุ ฝ่ ายอังกฤษซึง่ ปกครองพม่าอยูก่ ็ต้องส่งก�ำลังเข้ าปราบ ปราม แต่ฝ่ายของปู่ จองมะแฮก็เตรี ยม รับมืออย่างแข็งขันด้ วยการขุดคู ปั กไม้ ไผ่ เสี ้ยมปลายแหลมไว้ รอบ ๆ ที่มั่น และ สร้ างขวัญก�ำลังใจให้ แก่บริ วารด้ วยการ แจกเทียนศักดิส์ ทิ ธิ์ซงึ่ ปู่ จองมะแฮอ้ างว่า เป็ นตัวแทนแห่งอ�ำนาจของพระเจ้ าที่จะ ช่วยปกป้องบริวารมิให้ ได้ รบั อันตรายจาก อาวุธของฝ่ ายตรงกันข้ าม แต่เมื่อการสู้รบผ่านไป ศรัทธาและความ เชื่อถือของบริ วารทังหลายก็ ้ ค่อยๆเสื่อม ถอย เพราะทุก อย่า งไม่ไ ด้ เ ป็ น ไปตาม
แผนที่เคยคุยกันไว้ ลาหูบ่ ริ วารพากันล้ ม ตายลงทุกวัน เมือ่ ฝ่ ายอังกฤษบุกเข้ าถึงที่ มัน่ สุดท้ าย ลาหู่ที่เหลือรวมทังปู่ ้ จองมะ แฮก็ เผ่นหนี เอาชี วิตรอด จนกระทั่งได้ อพยพเข้ าสู่ประเทศไทยเมื่ อประมาณ ๒๐๐ กว่าปี ที่แล้ ว การอพยพครั ง้ ใหญ่ อีกครั ง้ หนึ่งเกิ ดขึน้ เมื่ออังกฤษคืนเอกราชให้ พม่า เพื่อเปิ ด โอกาสให้ จัดตัง้ รั ฐบาลปกครองตนเอง ชาวลาหูใ่ นพม่าก็ต้องเผชิญกับปัญหาใน การด� ำ รงชี วิ ต ด้ วยแรงกดดั น จาก นโยบายอันแข็งกร้ าวของรัฐบาลทีก่ ระท�ำ ต่อชนกลุม่ น้ อยเผ่าต่างๆ แรงกดดันจาก การด�ำเนินนโยบายดังกล่าว ก่อให้ เกิด การรวมตัวของลาหูอ่ ีกครัง้ หนึง่ โดยมี “ปู่ จองจะฟู” ผู้น�ำทางศาสนาคน ส�ำคัญคนหนึง่ ของชาวลาหู่ ได้ ตงตนขึ ั้ ้น เป็ นผู้วิเศษใช้ ชื่อว่า “เหมาะนะ-โตโบ” หรื อ “ฤษี ลงิ ด�ำ” (โดยทัว่ ไปจะรู้จกั กันใน ชื่อว่า “ปู่ จองหลวง”) ขึ ้นที่ดอยลาง เขต เมืองเชียงตุง มีการกระจายข่าวลือไปยัง ลาหูท่ งที ั ้ อ่ ยูใ่ นเขตพม่าและเขตไทยว่า ได้ มีพระเจ้ าจากสวรรค์ลงมาประทานข้ าว ทิพย์ อาหารทิพย์แก่ชาวลาหู่ทกุ คน ขอ ให้ คนที่อยากได้ ข้าวทิพย์ อาหารทิพย์ เดิ น ทางไป “เฝ้า พระเจ้ า ” ที่ ด อยลาง ๑๗๙
การเฝ้าพระเจ้ าในที่นี ้คือ การน�ำเงินหรื อ สิง่ ของมีคา่ อื่นไปเซ่นไหว้ เหมาะนะโตโบ ซึ่งถือเป็ นร่ างทรง หรื อเป็ นตัวแทนของ พระเจ้ า เพื่อขอพรหรื อเพื่อรักษาโรคไข้ เจ็บต่างๆ การต่ อ ต้ านครั ง้ นี ช้ าวลาหู่ ส ามารถ รวบรวมผู้ค นและทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ สะสม อาวุธได้ เป็ นจ�ำนวนมาก เนือ่ งจากชาวลา หู่มีศรัทธาต่อตัวผู้น�ำศาสนาของตนเป็ น อย่ า งมาก แต่ ก ารต่ อ ต้ านครั ง้ นี ก้ ็ ไ ม่ ประสบผลส�ำเร็จ เหมาะนะ-โตโบ จึงต้ อง พาบริ วารหนีเข้ าเขตประเทศไทย และได้ ตัง้ หลักแหล่งอยู่บริ เวณบ้ านต้ นน� ำ้ แม่ มาว ต�ำบลม่อนปิ่ น อ�ำเภอฝาง จังหวัด เชี ย งใหม่ และแถบบริ เ วณเขตติ ด ต่ อ ระหว่า งจัง หวัด เชี ย งใหม่ และจัง หวัด เชียงราย จนกระทัง่ เสียชีวิตที่อ�ำเภอฝาง เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๒๗ การอพยพครั ง้ นี ้ ถื อ ว่ า เป็ น ครั ง้ ส� ำ คัญ หลัง จากนัน้ ก็ มี การอพยพเข้ ามาสู่ป ระเทศไทยแบบ ประปราย สาเหตุ ก็ เนื่ องมาจาก นโยบายการปราบปรามของรั ฐ บาล พม่า การชักน�ำของหมอสอนศาสนา และ การชักชวนของญาติพี่น้อง
๑๘๐
ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายไอใจ ปู่ หมื่อ บ้ านเลขที่ ๒๔ หมู่ ๑๓ ต�ำบลดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชี ยงราย มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียดดังนี ้ ข้ อมูล เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ ที่โดดเด่น ของชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม มีความแตกต่างจากชุมชนอื่น : เครื่ องแต่งกาย ภาษา การกินวอ ดาวบน ดิน และรอยเท้ าไดโนเสาร์ ด้ านการแต่ งกาย ผ้ าลายถัก เป็ นเสื ้อผ้ าที่ใส่โดยทัว่ ไป และ ชุดปั กเงิน เป็ นเสื ้อผ้ าที่จะนิยมใส่ในช่วง เทศกาล โดยสีสามารถบ่งบอกถึงเผ่าของ ลาหูไ่ ด้
ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ ที่อยู่อาศัยของชาวลาหู่จะเป็ นบ้ านที่ท�ำ จากไม้ ไผ่ หลังคาท�ำจากหญ้ าคา โดย บ้ านจะยกสูงจากพื ้นดิน ด้ านประเพณี พิธีกรรม กินวอ จัดในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือน กุมภาพันธ์ เป็ นประเพณีปีใหม่ของลาหู่ ซึง่ จะตรงกับตรุษจีน จะมีการละเล่น เต้ น จะคึ ในช่วงกลางคืนเพื่อเฉลิมฉลอง มี การกรวดน�ำ้ ด�ำหัวผู้ใหญ่ ผู้อาวุโสของ หมูบ่ ้ าน ก่ อทราย จัดในช่วงเดือนเมษายน ก่อน หรื อหลังเทศกาลสงกรานต์ ๑ วันช่วง เวลาเย็น เพือ่ เป็ นการขอขมาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ภายในหมูบ่ ้ าน
ท�ำศาลา จัดในช่วงเดือนพฤษภาคมถึง เดือนมิถนุ ายน เป็ นการท�ำบุญในหมูบ่ ้ าน การเลี ้ยงผีตามความเชื่อ โดยท�ำศาลา เล็ก ๆ ขึน้ มา แล้ วน�ำอาหารของแต่ละ บ้ านอย่างละนิดอย่างละหน่อยน�ำไปใส่ ในศาลา กินข้ าวใหม่ จัดในช่วงเดือนตุลาคม หลัง จากการเก็บเกี่ยว โดยแต่ละบ้ านจะท�ำ กับข้ าวแล้ วน�ำมารับประทานร่วมกันเพื่อ เฉลิมฉลองหลังการเก็บเกี่ยวแล้ วเสร็ จ สะเดาะเคราะห์ – สืบชะตา - เสริ ม ดวง เป็ นประเพณี ที่ จ ะท� ำ เมื่ อ เวลา ไม่สบาย หรื อเจ็บไข้
๑๘๑
ด้ านภาษา ชาวลาหู่มีทงั ้ ภาษาพูดและภาษาเขียน ในภาษาพูดนันจะใช้ ้ ภาษา ลาหูด่ �ำ แดง ขาว เหลือง และลาหูแ่ ซแล
ด้ านความเชื่อ มีความเชื่อในเรื่ องของ ผีบรรพบุรุษ โดย มีการสร้ างบ้ านอยูบ่ ริเวณหัวหมูบ่ ้ านโดย ท�ำหน้ าที่ปกปั กษ์ รักษาหมูบ่ ้ าน
ด้ านอาชีพ อาชีพในปัจจุบนั ของชาวลาหูส่ ว่ นมากจะ ได้ แก่ เกษตรกร ปลูกข้ าว สับปะรด และ ข้ าวโพด นอกเหนือจากนันจะมี ้ อาชีพตี มีด ท�ำกระเป๋ า และถุงย่าม
ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น - การละเล่นลูกข่างไม้ ไผ่ ลูกสะบ้ า ลูก ช่วง (เล่นเฉพาะผู้ชาย) โดยจะมีการละ เ ล่ น ใ น ช่ ว ง ข อ ง เ ท ศ ก า ร กิ น ว อ ใ น วันสุดท้ าย - เต้ นจะคึ เป็ นการเต้ นเข้ าจังหวะตาม จังหวะเสียงกลอง (กลองจาโก) วนรอบ ไม้ ไผ่ โดยมีเครื่ องดนตรี คือ กลองจาโก ที่ท�ำจากไม้ และหนังควาย มีฉาบ (แส่) ท� ำ มาจากทองเหลื อ ง ท� ำ การเต้ นที่ บริ เวณลานเอนกประสงค์
๑๘๒
นํ้าตกโปงพระบาท
โปงพระบาทรีสอรท
ชุมชนชาวลาหู บานดู จังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัย ราชภัฎเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
ลาหู่ สถานที่ท่องเที่ยว
ชาติพันธุ์
อาข่า
อาข่ า เป็ นแขนงหนึ่งของชนเผ่าธิเบตพม่า รู ปร่ างเล็กแต่ล�่ำสันแข็งแรง ผิวสี น� ำ้ ตาลอ่อ นและกร้ าน ผู้ห ญิ ง มี ศี ร ษะ กลม ล�ำตัวยาวกว่าน่อง และขา แขน และ ขาสันผิ ้ ดกับผู้ชาย มีภาษาพูดมาจากแข นงชาวโล-โล คล้ า ยกับ ภู ภาษาลาหู่ (มูเซอ) และลีซู (ลีซอ) ไม่มีตวั อักษรใช้ วัฒ นธรรมของคนอาข่า ท� ำให้ พ วกเขา มองชีวิตของคนในเผ่าเป็ นการต่อเนื่อง กัน เด็กเกิดมาเป็ นประกันว่าเผ่าจะไม่ สูญพันธุ์ พอโตขึ ้นกลายเป็ นผู้สร้ างเผ่า และเป็ นผู้รักษา “วีถีชีวติ อาข่า” ในที่สดุ ก็ ตาย และกลายเป็ นวิญญาณบรรพบุรุษ คอยปกป้องลูกหลานต่อไป กฎต่าง ๆ เหล่านี ้ครอบคลุมทุกคนในเผ่า ตังแต่ ้ ตื่น นอนจนถึงเข้ านอน ตังแต่ ้ เกิดจนตาย เป็ น แนวทางสอน และแนะน�ำทุกคนในเรื่ อง ของกฎหมายของเผ่า ประเพณี ศาสนา ย า แ ล ะ ก า ร รั ก ษ า โ ร ค ก สิ ก ร ร ม สถาปั ตยกรรม การตีเหล็ก และการท�ำ ๑๘๔
ของเครื่ องใช้ เครื่ องนุ่งห่ม เพื่อให้ งา่ ยต่อ การจดจ�ำเพาะ พวกเขาไม่มตี วั หนังสือใช้ แม้ จะไม่ได้ มีการบันทึกประวัติศาสตร์ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร อาข่าก็มีต�ำนาน สุภาษิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีการ มากมาย ที่ท�ำให้ หมายรู้ในเผ่าพันธุ์ และ ซาบซึง้ ในความเป็ นอาข่าของตน เขา สามารถสืบสาวรายงานบรรพบุรุษฝ่ าย บิดาขึ ้นไปได้ ถงึ ตัว “ต้ นตระกูล” และรู้สกึ ว่าท่านเหล่านัน้ ก่อก� ำเนิ ดชี วิตเขามา และประทานวิชาความรู้ ในการเลี ้ยงชีวติ มาโดยตลอด เพราะเหตุทมี่ องตัวเองเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโซ่ ส ร้ อยซึ่ ง ร้ อยมายาว นักหนา
อาข่าจะอดทนผจญความยากเข็ญทัง้ หลาย ด� ำ รงเผ่า พัน ธุ์ต่อ ไป เพื่ อ ว่า ลูก หลานจะได้ ร�ำลึกบูชาเขา เช่น บรรพชน คนหนึ่งในวันข้ างหน้ า ตามต�ำนานของ อาข่า ธรณี (อึม่ มา) และท้ องฟ้า (อึม่ ก๊ ะ) นันเสกสรรค์ ้ ขึ ้นมา โดยมหาอ�ำนาจ อะ โพว่หมิแย้ (บางครัง้ แปลออกมาว่า “พระ ผู้เป็ นเจ้ า”) จากอึม่ ก๊ ะ สืบทอดเผ่าพันธุ์ กันลงมา อีก ๙ ชัว่ เทพ คือกาเน เนซ้ อ ซ้ อสือ สือโถ โถม่า ม่ายอ ยอเน้ เน้ เบ่ และ เบ่ซุง พยางค์หลังชื่อบิดาจะกลายเป็ น พยางค์หน้ าของชื่อบุตร ดังนี ้เรื่ อยลงมา ตามแบบแผนการตังชื ้ ่อของอาข่า ซึง่ ยัง ท�ำกันอยู่จนทุกวันนี ้ ต�ำนานนี ้ ระบุว่า มนุษย์คนแรกเป็ นบุตรของเบ่ซงุ ชื่อ ซุ้มมิ โอ ซึ่งเป็ นบิดาของมนุษยชาติ สืบสาย กันลงมาอีก ๑๓ ชัว่ โคตร จึงถึงโซตาป่ า ซึง่ เป็ นมหาบิดรของอาข่าทังปวง ้ เวลาที่ คนอาข่าล่ารายชือ่ การสืบสายของตน จะ มีชื่อต้ นตระกูลของเขารวมอยู่ด้วยเสมอ การร่ายรายชื่อบรรพบุรุษจนครบองค์ ซึง่ มีอยูก่ ว่า ๖๐ ชื่อนี ้ มิได้ ท�ำการพร�่ ำเพรื่ อ จะท�ำก็ในพิธีใหญ่ เช่น งานศพ หรื อใน ยามเกิดกลียุค ถึงต้ องภาวนาขอความ ช่ ว ยเหลื อ จากบรรพบุรุ ษ เท่ า นัน้ ตาม ธรรมดาอาข่าจะไม่ร่ายครบองค์ จะไล่ชนั ้ ไปเท่าที่จ�ำเป็ น เช่น เมื่ออาข่าแซ่เดียวกัน
สององค์ อยากจะรู้ ว่า เป็ นญาติใกล้ ชิด หรื อห่างแค่ไหน และที่ส�ำคัญเมื่อหนุ่ม สาวจะแต่งงานหรื ออยู่กินกันนัน้ พ่อแม่ ทังสองฝ่ ้ าย จะต้ องไล่ชื่อบรรพบุรุษขึ ้นไป ให้ แน่ใจว่า มิได้ ร่วมบรรพบุรุษอย่างน้ อย ๗ ชัว่ โคตร นอกจากจะทราบชัด เรื่ อ งการสื บ สาย โลหิ ต ของตน อาข่ า ยั ง ทราบชั ด ว่ า บรรพบุรุษ อพยพสืบทอดกันมา ตามเส้ น ทางจีน พม่า และไทย แม้ ว่าภาพจะยิ่ง ลางเลือน ไร้ รายละเอียด เมื่อไล่ขึน้ ไป ไกลขึ ้น ๆ เราก็ได้ ค�ำให้ การที่ตรงกันจาก อาข่าที่พบในพม่า ไทย และลาว ซึง่ นับ ว่าเป็ น ชนชาติที่มีประวัตศิ าสตร์ แจ่มชัด อย่างน่าอัศจรรย์ใจ ทังๆ ้ ที่ไร้ อกั ขระวิธี และกระจัดกระจาย ผลัดพรากกันไปไกล แสนไกล ๑๘๕
ข้ อ มู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นายมนัส ไพศาลรุ่ งเรื องกิจ บ้ านเลขที่ ๑๕ หมู่ ๙ ต� ำ บลศรี ค� ำ ้ อ� ำ เภอแม่จัน จั ง หวั ด เชี ย งราย มี ข้ อมู ล ที่ ส� ำ คั ญ รายละเอียดดังนี ้ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ ที่โดดเด่นของ ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม - ชื ่ อ ชุม ชนท่ อ งเที ่ย วเชิ ง วัฒ นธรรม : ชุมชนบ้ านแสนสุข - ค� ำขวัญของชุมชน : โล้ ชิงช้ า ชิมชา สัมผัสวิถีอาข่า บ้ านแสนสุข ด้ านอาหาร ย�ำบุก รถด่วน ดักแด้ น� ้ำ พริ กมะเขือเทศ ย�ำวุ้นไม้ ไผ่ ย�ำผักกาด ด้ านประเพณี พิธีกรรม ด้ านประเพณี และลาบหมก ประเพณี โ ล้ ชิ ง ช้ า ซึ่ง จะจัด ในเดื อ น ด้ านการแต่ งกาย สิงหาคมถึงเดือนกันยายน เพื่อเป็ นการ การแต่งกายของอาข่านันจะมี ้ ชดุ ที่เรี ยก ผ่อนคลายช่วงเสร็จสิ ้นการเพาะปลูกและ ว่า “ชุดอาข่า” ซึง่ เป็ นการแต่งกายที่ถ่าย ผลผลิตก�ำลังเจริ ญงอกงาม ถอดมาจากการแต่งกายแบบดังเดิ ้ ม และ แต่งเหมือนกันทุกกเพศทุกวัยตังแต่ ้ เด็ก เทศกาลชนไข่ แดง จะจัดในช่วงส่งท้ าย ปี เ ก่ า ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ (ตรงกับ เทศกาล ไปจนถึงผู้สงู อายุ สงกรานต์ ) เป็ น ประเพณี ที่ เ น้ น ความ ด้ านที่อยู่อาศัย อาคาร สถานที่ สนุ ก สนาน โดยจะมี ก ารน� ำ พื ช จาก ทีอ่ ยูอ่ าศัยของอาข่าส่วนมากจะเป็ นแบบ ธรรมชาติมาย้ อมไข่ให้ เป็ นสีแดง แล้ วเอา ดังเดิ ้ ม คือเป็ นบ้ านชันเดี ้ ยวที่ติดกับพื ้น มาชนเล่นกันไข่ของใครแตกก่อนก็ถือว่า หรื อใช้ ไม้ ไผ่เป็ นพื ้นบ้ าน และบางบ้ านก็ แพ้ จะเป็ นแบบประยุกต์ ๑๘๖
ตีลกู ข่ าง เป็ นประเพณีเปลีย่ นฤดูกาลท�ำ มาเลี ้ยงชีพ ประเพณีนี ้จะจัดขึ ้นประมาณ เดือนธันวาคมของทุกปี พิธีกรรมท�ำประตูหมู่บ้านใหม่ ประตู ที่ท�ำจะเป็ นประตูทงั ้ ๒ ทิศของหมู่บ้าน (หัวบ้ าน - ท้ ายบ้ าน) โดยจัดจัดขึ ้นทุกปี พิ ธี จั บ ตั๊ ก แตน จะจั ด ในช่ ว งเดื อ น มิถนุ ายน พิธี ไ ล่ ผี จัดขึน้ เดือนตุลาคมของทุกปี ตรงกับช่วงที่พืชมีผลผลิต และเริ่ มเก็บ เกี่ยว เช่น แตงโม แตงกวา พืชผักต่าง ๆ ประเพณี นี จ้ ัด ขึ น้ มาเพื่ อ ขับ ไล่ สิ่ ง ไม่ ดี ออกจากชุมชน เซ่ นไหว้ ศาลเจ้ าที่หมู่บ้าน จะท�ำหลัง จากปลูกสร้ างประตูหมูบ่ ้ านแล้ ว และจะ มีการบูชาทุกปี ปี ละครัง้ พิ ธี ก รรมปลู ก ข้ าว เป็ นพิ ธี ก รรมที่ ประกอบการมาตังแต่ ้ สมัยบรรพบุรุษ พิธี นี จ้ ะท� ำการประมาณเดือนพฤษภาคม ก่อนปลูกข้ าวของทุกปี ด้ านภาษา อาข่าจะใช้ ภาษาอาข่าในการพูด ส่วน ภาษาเขียนนันจะใช้ ้ ทงภาษาอาข่ ั้ าและ ทางสากล เช่ น ภาษาลาว ภาษาจี น ภาษาพม่า และภาษาไทย ด้ านอาชีพ ๑๘๗
อาชี พ ในปั จ จุบัน ของอาข่ า คื อ การท� ำ เกษตรกรรม ได้ แก่ ข้ าว ข้ าวโพด ยางพารา ชา เป็ นต้ น รวมไปถึงการค้ าขาย ได้ แก่ กาแฟ สั บ ปะรด และการเลี ย้ งสั ต ว์ ร่วมด้ วย ด้ านความเชื่อ มี ค วามเชื่ อ ในเรื่ องของการนั บ ถื อ บรรพบุรุษเกี่ยวกับเรื่องจิตวิญญาณ และ เรื่ องของศาสนาดัง้ เดิมของบรรพบุรุษ รวมไปถึ ง ศาสนาพุ ท ธ ศาสนาคริ ส ต์ และจีน ด้ านศิลปะพืน้ ถิ่น ศิลปะพืน้ ถิ่นของอาข่ า ได้ แก่ การทอ ผ้ า ปั ก ผ้ า การตี มี ด จัก รสาน ต� ำ ข้ า ว เครื่ องเงิน ๑๘๘
การละเล่ นที่เป็ นเอกลักษณ์ ได้ แก่ การ เป่ าแคน เป่ าใบไม้ และเป่ าจิ ้งหน่อง การเต้ น แด-ช่ อง และการเต้ น บ่ อฉ่ องตุ จะเล่นในช่วงทีม่ พี ธิ ีกรรม หรือ ประเพณีเท่านัน้ โดยทังชาย ้ และหญิงจะ แต่งกายด้ วยชุดประจ�ำเผ่าที่งดงาม แล้ ว มารวมตัวกันที่ ลานหมู่บ้าน หรื อ ที่ ๆ มีพื ้นที่กว้ างขวาง สามล้ อภูเขา เป็ นการละเล่นพืน้ บ้ าน ของอาข่าที่เด็กอาข่า นิยมเล่นกันมาก โดยเมื่อต้ องการท�ำสามล้ อก็จะไปหาตัด ท่อนไม้ ที่มีขนาดใหญ่พอสมควร มา ๓ ล้ อ จากนัน้ ก็ ตัดไม้ มามัด หรื อตอกให้ แน่น โดยข้ างหน้ าจะมีเพียงล้ อเดียว และ ข้ างหลังมี ๒ ล้ อ สะบ้ า ลูกข่าง เป็ นการละเล่นของอาข่า ที่เล่นในช่วงที่มีพิธีกรรม หรื อประเพณี เท่ า นั น้ จะมี ปี ละครั ง้ โดยสะบ้ าจะ เป็ นการละเล่นของผู้หญิง ส่วนลูกข่างจะ เป็ นการละเล่นของผู้ชาย
โฮมสเตย์
ดอยแม่สลอง
อางเก็บนํ้า 3
พระธาตุดอยตุง
สีสันชาวดอย
โฮมสเตย์
อางเก็บนํ้า 2
โซนกาแฟ
ศูนย์พัฒนาที่ 12
รร.นิคมฯ
ศูนยเศรษฐกิจ พอเพียง
ป้อมตำรวจ ป่าซาง
บ้านแสนสุข
อางเก็บนํ้า 1
ศูนยวิถีอาขา
สวนเขา
วัดแสนสุข
12 กิโลเมตร
อาข่า
NIKOR AQ KAQ บ้านแสนสุข
ไรชาฉุยฟง
สถานที่ท่องเที่ยว
N
เส น ทางหมายเลข เชี ย งราย - แม ส าย 1290
ชาติพันธุ์ ลีซู ลี ซู เป็ นกลุ่มชาติพันธุ์ที่จัดอยู่ในกลุ่ม ธิเบต-พม่า ของชนชาติโลโล ถิ่นก�ำเนิด ดังเดิ ้ มของชนเผ่าลีซอู ยูบ่ ริเวณต้ นน� ้ำโขง และแม่น� ้ำสาละวิน อยูเ่ หนือหุบเขาสาละ วินในเขตมณฑลยูนนานตะวันตกเฉียง เหนื อ และตอนเหนื อ ของรั ฐ คะฉิ่ น ประเทศพม่า ชนเผ่าลีซูสว่ นใหญ่เชื่อว่า เมือ่ ๔,๐๐๐ ปี ทีผ่ า่ นมา เคยมีอาณาจักร เป็ นของตนเอง แต่ต้องเสียดินแดนให้ กบั จีนและกลายเป็ นคนไร้ ชาติตอ่ มาชนเผ่า ลีซู จึงได้ เคลื่อนย้ ายเข้ าสูร่ ัฐฉานตอนใต้ กระจัด กระจายอยู่ต ามภูเ ขาในเมื อ ง ต่างๆ เช่น เมืองเชียงตุง บางส่วนอพยพ ไปอยู่เขตเมืองซือเหมา สิบสองปั นนา ประเทศจีน หลังจากนันได้ ้ อพยพลงมา ๑๙๐
ทางใต้ เนื่องจากเกิดการสู้รบกันระหว่าง ชนเผ่าอื่น นับเวลาหลายศตวรรษ ชนเผ่า ลีซไู ด้ ถอยร่นเรื่อยลงมา จนในทีส่ ดุ ก็แตก กระจายกัน เข้ าสูป่ ระเทศพม่า จีน อินเดีย แล้ วเข้ าสู่ประเทศไทย เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๖๔ กลุม่ แรกมี ๔ ครอบครัว มา ตัง้ ถิ่นฐานเป็ นชุมชนครั ง้ แรกอยู่ที่บ้าน ห้ วยส้ าน อ.เมือง จ.เชียงราย อยูไ่ ด้ โดย ประมาณ ๕-๖ ปี ก็มีการแยกกลุม่ ไปอยู่ หมู่บ้ า นดอยช้ า ง ท� ำ มาหากิ น อยู่แ ถบ ต� ำ บลวาวี อ� ำ เภอแม่ ส รวย จั ง หวั ด เชียงราย จากการสอบถามคนเฒ่าคนแก่ ชาวลี ซู ถึ ง เรื่ อ งราวการอพยพว่ า ได้ อพยพมาจากหมู่บ้านแห่งหนึ่งทางตอน ใต้ ของเมืองเชียงตุงประเทศพม่า เข้ ามา ตังถิ ้ ่น ฐานอยูท่ ี่บ้านลีซหู ้ วยส้ าน อ.เมือง จ.เชียงราย และโยกย้ ายไปตังบ้ ้ านเรื อน ในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน
ล� ำ ปาง ตาก พะเยา ก� ำ แพงเพชร เพชรบูรณ์ แพร่และสุโขทัย ลีซไู ม่มีภาษา เขียนของตนเองลีซแู บ่งออกเป็ น ๒ กลุม่ ย่อย คือ ลีซลู ายกับลีซดู �ำ ชาวลีซทู ี่อยูใ่ น ประเทศไทยเกื อ บทัง้ หมดเป็ น ลี ซูล าย ส่วนลีซดู �ำนันอยู ้ ่ พม่า จีน ข้ อมู ล ๘ วิ ถี ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยได้ สมั ภาษณ์ผ้ นู �ำชุมชน นางสาวรจนา แซ่ ลี บ้ า นเวี ย งกลาง ต�ำบลแม่ข้าวต้ ม อ� ำเภอเมื อง จังหวัด เชียงราย มีข้อมูลที่ส�ำคัญ รายละเอียด ดังนี ้ ด้ านอาหาร ลีซมู อี าหารทีจ่ ะประกอบในเทศกาล หรือ เวลามีพิธีกรรมอยู่ ๓ อย่าง ได้ แก่ มา หวูจ่ ๊ าจ๊ า (ต้ มหน่อไม้ กบั กระดูกหมู)่ ขว่า กีกือ (ลาบหมู) และ ขว่าลู ๆ (ทอดหมู) นอกจากนันลี ้ ซยู งั มีการถนอมอาหารเพือ่ ที่จะสามารถเก็บไว้ กินในยามแล้ ง ได้ แก่ ผักกาดดอง ผักกาดตากแห้ ง ไส้ กรอก หมู รมควัน ลากหอมชูด อง เป็ น ต้ น และ อาหารที่ ขึน้ ชื่ อ ของลี ซูอี ก อย่า งคื อ จ้ า สู่ แปะ แปะ หรือ ย�ำมะขือเทศ เป็ นอาหาร ที่จะต้ องมีเพื่อไปท�ำไร่ท�ำสวน
ด้ านการแต่ งกาย เครื่ องแต่งกายชาย ลีซูสวมกางเกงขากว้ างยาวเลยเข่าเล็ก น้ อยลักษณะ สีที่นิยมคือ สีฟา้ เขียวอ่อน หรื อสีอื่น ๆ (ที่เป็ นสีโทนเย็น) ส่วนคนสูง อายุนิยมใช้ สดี ำ� หรื อสีมว่ งเข้ ม เสื ้อคล้ าย เสื ้อแจ็คเก็ต สีดำ� ท�ำด้ วยผ้ าใยกัญชา (ใน อดี ต ) หรื อ ผ้ า ก� ำ มะหยี่ (ในปั จ จุ บัน ) ประดับด้ วยแผ่นโลหะเงินรู ปครึ่งวงกลม เย็บติดกับเสื ้อเรี ยงเป็ นแถวทังข้ ้ างหน้ า และข้ า งหลัง (เสื อ้ ก� ำ มะหยี่ นี จ้ ะสวม เฉพาะวัน ปี ใ หม่ และวัน แต่ ง งานของ ตนเองเท่านัน) ้ อีกทังนิ ้ ยมสวมถุงน่องเป็ น ผ้ าด�ำ และติดด้ วยแถบสีสดใสเครื่ องแต่ง กายหญิงลีซูไม่ว่าจะเป็ นเด็ก หญิงสาว หญิ งแต่งงานแล้ ว หรื อคนชรา จะแต่ง กายเหมือนกันหมด กางเกงจะเป็ นสีด�ำ ยาวเลยเข่าเล็กน้ อย มีเสื ้อคลุมยาว นิยม สีฟ้า หรื อสีโทนเย็นที่มีสีสดใส ตัวเสือ้ ตังแต่ ้ เอวลงมาจะผ่าทังสองข้ ้ าง แขนยาว ที่ ปกคอติดแถบผ้ าสีด�ำ ยาวประมาณ ๑๙๑
๑ คืบ ช่วงต้ นแขนและหน้ าอกตกแต่ง ด้ วยผ้ าหลากสีเย็บติดกันเป็ นแผ่น คาด เข็มขัดซึง่ เป็ นผ้ าด�ำผืนใหญ่ กว้ างขนาด ฝ่ ามือ หญิงนิยมโพกศีรษะ (จะใช้ ผ้าโพก ศี ร ษะเฉพาะในงานส� ำ คัญ เช่ น งาน แต่งงาน ปี ใหม่ ) ใช้ ผ้าพันแข้ งด้ วยผ้ า พืน้ สีโทนร้ อน (แดง ชมพู ม่วง) ปลาย ขอบล่างติดแถบผ้ าหลากสีและมีลายปั ก ที่สวยงาม เมื่อมีพิธีกรรมหรื องานฉลอง ก็จะสวมเสื ้อกัก๊ ผ้ าก�ำมะหยี่ ซึ่งประดับ ด้ วยแผ่นโลหะเงิ นรู ปครึ่ งวงกลม และ เหรี ยญรูปี
๑๙๒
ด้ านที่อยู่อาศัย การสร้ างปลูกบ้ านแต่ละหลัง มีวิธีการ แบบเดียวกับอาข่า ไม่วา่ จะเป็ นบ้ านเล็ก หรื อ หลัง ใหญ่ จ ะสร้ างเสร็ จ ภายในวัน เดียวโดยใช้ เวลาช่วงเช้ าถึงเย็นเท่านัน้ ที่ สามารถปลูกสร้ างกันได้ อย่างรวดเร็ วก็ เพราะจะช่วยกันสร้ าง หรื อใช้ วธิ ีเดียวกับ การลงแขกเกี่ยวข้ าว ช่วยกับลงมือลงแรง พร้ อม ๆ กันโดยเจ้ าบ้ านจะเตรี ยมวัสดุ ต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นไม้ เสา ฟาก หญ้ าคา และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ไว้ ล่วงหน้ า พอถึง เวลาก็ลยุ กันไม่เสร็ จไม่เลิก ทางฝ่ ายเจ้ า บ้ านที่เป็ นสตรี ก็มีหน้ าที่เตรี ยมกับข้ าว และเหล้ าเลี ้ยงผู้ที่มาช่วยสร้ างบ้ าน พิธีที่ ส�ำคัญที่จะละเลยกันไม่ได้ ในการปลูก
บ้ าน คือการท�ำพิธีเสีย่ งทายอธิษฐานเสีย ก่อน ใช้ ไม้ วดั อาณาเขตที่จะปลูกบ้ านสี ทิศแล้ ว น�ำข้ าวสารจ�ำนวนหนึง่ ใส่ในถ้ วย แล้ วยกขึน้ จบอธิ ษฐานขออนุญาตต่อผี ป่ า ผีดอย ผีเจ้ าที่เจ้ าทาง เสร็ จแล้ วจึง หยิบข้ าวสารโรยลงไปในหลุมขุด และ เปิ ดดู หากเม็ดข้ าวสารในหลุมยังอยูเ่ ป็ น ระเบียบเหมือนเดิม ก็แสดงว่าผีเจ้ าที่เจ้ า ทางอนุญาต ถ้ าหากว่าเม็ดข้ าวในหลุม เกิ ด กระจั ด กระจายไม่ เ ป็ นระเบี ย บ เหมือนกับตอนที่โรยที่แรก แสดงว่าผีเจ้ า ทีเ่ จ้ าทาง ผีป่า และผีดอยท่านไม่อนุญาต ด้ านประเพณี พิธีกรรม ประเพณีการแต่งงานชายลีซไู ม่วา่ คนใด จะต้ องไม่แต่งงานกับสตรีทเี่ ขาเรียกว่า “จิ จิ” หรื อญาติ นันคื ้ อ พี่สาว หรื อน้ องสาว ร่วมตระกูล หรือแม้ แต่ลกู ของน้ าก็แต่งไม่ ได้ แ ต่ง ได้ กับ ลูกสาวของอา และไม่ใช่ ตระกูลเดียวกัน การเลือกคู่ หนุ่มสาวลีซูหาคู่กันรอบ ๆ ครกต� ำ ข้ า วนัน้ เอง ยามค�่ ำ สาว ๆ จะ ชุมนุมกันต�ำข้ าวไว้ หุง ในวันรุ่ งขึน้ เป็ น โอกาสให้ หนุม่ ๆ ไปอาสาช่วยต�ำ แล้ วต่อ ปากต่อค�ำ หยอกเย้ าเกี ย้ วพา พอสาว หยุดพักหนุ่มก็ พาคนที่ ถูกใจไปนั่งพร�่ ำ พรอดกัน โดยบางคู่ก็ ถึง ขัน้ แลกก� ำ ไล
หรื อสัญลักษณ์เสน่หาอื่น ๆ ซึง่ ต่างฝ่ ายก็ จะพกติ ด ตัว ไว้ ใ นกระเป๋ าเสื อ้ แนบใน หัวใจ บ่อยครัง้ การเกี ้ยวพาจะท�ำกันอย่าง ครึกครื น้ เมื่อถึงเวลาท�ำงานในนา หรื อใน ไร่ สาวจะส่งข่าวไปนัดหมายหนุ่ม ๆ ว่า วันนี ้จะไปนาไหนแล้ วทังสาว ้ ทังหนุ ้ ่มก็ แต่งตัวชุดใหญ่ไป “เล่นเพลง” กันนัน่ คือ แม่เพลงว่าบาทแรก แล้ วลูกคูก่ ็ร้องรับกัน ทังหมู ้ จ่ นจบบท แล้ วพ่อเพลงก็ตอบบาท แรกให้ ลกู คูก่ ็รับจนจบบท โต้ กนั ไปโต้ กนั มาด้ วยความหมายเกี ้ยวพา ทังลู ้ กล่อลูก ชน เป็ นต้ น ด้ วยเพลง “เดือนหกฝนตกแค่ พร� ำ ๆ พอเดือนเก้ าฟ้าจะล่มเสียให้ ได้ เมือ่ เดือนหกอกพีก่ แ็ ค่เสียวๆ ตกเดือนเก้ า ราวกับเคียวกรี ดหัวใจ...” ฝ่ ายใดติด หรื อ จนให้ อีกฝ่ ายเอาไปต่อเองได้ เป็ นอันว่า แพ้ เด็ดขาดจบเกมในวันนัน้ ข่าวก็จะแพร่ สะพัด ไปทัง้ หมู่บ้ า นท� ำ ให้ ฝ่ ายแพ้ เ สี ย หน้ าไปไม่น้อย ครอบครัวของทังสองฝ่ ้ าย มักจะรู้ อยู่ว่าลูกชาย ลูกสาวชอบกันถึง เวลาคราวมีคไู่ ด้ แล้ ว ลีซเู ปรียบเทียบชาย เหมื อ นล� ำ ต้ น และกิ่ ง ไม้ ส่ ว นผู้ ห ญิ ง เหมือนใบ เมื่อล�ำต้ นรู้ สกึ ว่าใบก�ำลังจะ ถูกแย่งชิงไปก็จ�ำเป็ นจะต้ องป้องกัน
๑๙๓
พิ ธี แ ต่ ง งาน: ชนเผ่ า ลี ซู นั น้ จะเข้ าพิ ธี แต่งงาน โดยค่าสินสอดของหญิ งสาว และค่าน� ำ้ นมจะมอบให้ กับพ่อแม่ของ ฝ่ ายหญิงฝ่ ายเดียว ค่าตัวสาวลีซจู ะค่อน ข้ างแพง อาจแพงกว่าสาวบางเผ่า ค่าตัว สาวลีซู ประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาทขึ ้นไป สาเหตุที่คา่ ตัวหญิงสาวค่อนข้ างแพงนัน้ เพราะว่าเมื่อแต่งงานแล้ วฝ่ ายหญิ งจะ ต้ องไปอยู่กับทางฝ่ ายชาย และจะต้ อง ช่วยท�ำงานทุกสิง่ ท�ำทุกอย่างทังในบ้ ้ าน และนอกบ้ าน ท�ำงานค่อนข้ างจะหนัก ส�ำหรับเงินค่าตัวของฝ่ ายหญิงนัน้ ทาง พ่ อ แม่ ข องฝ่ ายชายจะเป็ น คนออกให้ ทังหมด ้ ประเพณีปีใหม่ (โข่เซยี่ย)จัดขึ ้นในวันที่ ๑ เดือน ๑ ของเดือนลีซู ซึง่ ลีซเู รี ยกเดือนนี ้ ว่ า “โข่ เ ซยี่ ย อาบา” เป็ น วัน ที่ มี ค วาม ส�ำคัญมากส�ำหรับชาวลีซู เพราะเชื่อว่า เป็ นวันที่เริ่ มต้ นส�ำหรับชีวิต และสิ่งใหม่ ให้ สิ่งเก่าๆ ที่ไม่ดีหมดไปพร้ อมกับปี เก่า จึ ง ต้ องมี ก ารเฉลิ ม ฉลองด้ วยการท� ำ พิ ธี ก รรม และจัด งานรื่ น เริ ง เช่ น การ ท�ำบุญศาลเจ้ า และเทพเจ้ าต่างๆ ของ ชาวลีซู การขอศีลพรจากเทพเจ้ าและผู้ อาวุโส การร้ องเพลง การเล่นดนตรี และ การเต้ นร� ำ เป็ นต้ น ก่อนวันปี ใหม่ ๑ วัน หรื อวันสุดท้ ายของเดือน “หลายี” (เดือน ๑๙๔
๑๒) จะมีการต�ำข้ าวปุ๊ ก หรื อเรี ยกว่า “ป่ า ปาเตี๊ยะ”ส�ำหรั บกิจกรรมและพิธีกรรม ต่างๆ ที่ท�ำในวันนี ้คือ นึง่ ข้ าวเหนียว เพื่อ ต�ำข้ าวปุ๊ กในตอนเช้ า เมื่อข้ าวสุกแล้ วก็ น�ำข้ าวเหนียวไปต�ำใน “ลูทวู ” จนนุม่ และ โรยแป้ ง หรื อ งา เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ข้ า วเหนี ย ว ติดมือ และปั น้ เป็ นก้ อนพอประมาณ ใส่ ลงไปในใบตองทีเ่ ตรี ยมไว้ โดยทบไปตอง ไปมา หน้ าละ ๒ ก้ อน จนกระทัง่ ใบตอง หมดแผ่น จึงท�ำแผ่นใหม่เรื่ อยๆ จนหมด ก่อนวัน “ป่ าปาเตี๊ยะ” ๑ วัน ตอนเย็นวัน นัน้ “มื อ หมื อ ” จะต้ อ งเป็ น คนแช่ ข้ า ว เหนียวก่อน และจุดประทัดเป็ นสัญญาณ บอก จากนันชาวบ้ ้ านอื่น ๆ จึงจะแช่ข้าว เหนียวได้ ช่วงเย็นต้ องเตรียมต้ นไม้ “โข่เซ ยี่ยและจึว” ซึง่ จะเลือกเอาจากต้ นไม้ ที่มี ลักษณะงาม ล�ำต้ นเรียวยาว สูงประมาณ
๑.๕ เมตร โดยน�ำต้ นไม้ มาปั กกลางลาน บริ เวณบ้ าน จากนันน� ้ ำ “ป่ าปา” และเนื ้อ หมูหั่นยาวประมาณ ๖-๗ นิว้ “ซาซือ” แขวนที่เสา และจุดธูป ๒ ดอก และมี การเตรี ยมไข่ต้ม และเส้ นด้ ายยาวขนาด ที่จะมัดที่คอหรื อข้ อมือได้ เท่ากับจ�ำนวน สมาชิกในบ้ าน ผู้อาวุโสในบ้ าน (จะเป็ น ผู้ชาย) เป็ นผู้ทำ� พิธีเรียกขวัญ “โชวฮาคูว” โดยการเอาไข่ต้มทังหมด ้ และเส้ นด้ ายที่ จะใช้ มดั วางขนถ้ วยที่ใส่ข้าวสุกที่วางบน ผ้ า อี ก ชัน้ หนึ่ ง ไปยื น เรี ย กขวัญ ที่ ห น้ า ประตูบ้านเมื่อท�ำพิธีเสร็ จ จึงท�ำการผูก ด้ ายสายสิญจน์ และให้ ไข่ต้มแก่สมาชิก คนละใบเพื่อให้ ขวัญ พิธีเซ่นไหว้ เทพ (หงัว่ ฮาหวู่)มีขึ ้นในวันที่ ๕ เดือน “หงัว่ ฮา” (เดือน ๕ ของลีซ)ู ใน วันนี ้จะมีการท�ำพิธีเซ่นไหว้ เทพ “อาปา โหม่” และมีการพัฒนาศาลเจ้ า ตลอดจน มีการขอศีลขอพรจากเทพอาปาโหม่ เพือ่ ให้ พืชผักเจริ ญงอกงาม เชื่อกันว่าหาก เพาะปลูกพืช ผัก ในวันนี ้จะท�ำให้ พืชผัก เจริ ญ งอกงามมาก แม้ แต่ ก ารหายา สมุนไพรก็ตาม เชื่อกันว่าในวันนีต้ วั ยา จะมีฤทธิ์แรง สามารถรักษาโรคได้ ดีกว่า วันอื่นๆ
วันศีล เรียกว่า“จื ้อ”วันศีลหรือวันอยูก่ รรม ของลีซู จะมีขึ ้นทุกๆ ๑๕ วันในรอบการ นับวันของลีซู ซึง่ การนับ วันเดือนปี ของลี ซูนนนั ั ้ บตามปฏิทนิ จีน และวันศีลของลีซู คือวันที่ พระจันทร์ เต็มดวงและพระจันทร์ มืดมิด จึงเป็ นวันศีล เป็ นหน้ าที่ของผู้น�ำ ศาสนา ประจ�ำหมูบ่ ้ าน (มือหมือผะ) ทีจ่ ะ ประกาศให้ ชาวบ้ านทราบล่วงหน้ า ๑ วัน ว่า วันรุ่งขึ ้นจะเป็ นวันศีล บอกให้ ชาวว่า ห้ ามใช้ ของมี คม เช่น มี ด ขวาน จอบ เสียม ห้ ามท�ำงานไร่,สวน นอกจากนันก็ ้ ห้ าม ฆ่าหมู ไก่หรื อสัตว์ทกุ ชนิดที่มีชีวิต วันศีลจะหยุดงาน ๑ วัน อยูท่ ี่บ้านอยูก่ บั ครอบครัว ส่วนผู้หญิงก็เย็บผ้ าปักผ้ า ส่วน ผู้ชาย ท�ำงานบ้ านเล็ก ๆ น้ อย ๆ ที่บ้าน เซ่นไหว้ หลุมศพ ลีซู เรี ยกว่า “หลี่ฮีชวั ” หลังจากปี ใหม่ผา่ นไปสักสองเดือนกว่าๆ พิธีนี ้จะจัดขึ ้น ณ สุสานหรื อหลุมฝังศพ ลี ซูมีการเซ่นไหว้ ที่ ณ หลุมฝังศพ พิธีกรรม นี ้จะท�ำการ ๓ ครัง้ ท�ำทุกๆปี หลังจากนัน้ เซ่นไหว้ ครบ ๓ ครัง้ แล้ ว ไม่ต้องท�ำแล้ ว ลี ซูมีความเชื่อว่าวิญญาณไปเกิดใหม่แล้ ว ถ้ าครอบครัวไหนอยากจะท�ำต่อสามารถ ท�ำได้ พิธีนี ้ท�ำได้ เฉพาะคนทีม่ ลี กู ชาย เช่น เวลาพ่อและแม่เสียชีวิตไป ลูกชายก็จะ ท�ำพิธี “หลีฮ่ ชี วั ” ให้ พอ่ แม่ทเี่ สียไปแล้ ว ถ้ า ๑๙๕
ครอบครัวไหนไม่มลี กู ชาย มีแต่ลกู สาวไม่ สามารถที่ จ ะท� ำ ได้ เพราะผู้ หญิ ง ไม่ สามารถท�ำพิธีกรรมได้ นอกจากผู้ชาย การเซ่นไหว้ ให้ กบั คนตายที่สสุ าน หมอผี ลีซูเรี ยกว่า (หนี่ผะ) จะเป็ นคนสวดบท บริ เวณหลุมฝั งศพ เพื่อให้ ทราบว่าวันนี ้ มาท�ำพิธี และสร้ างบ้ านใหม่ให้ ก็จะมีการ ฆ่าหมูและไก่ ท�ำอาหารเลี ้ยงแขกกันทีม่ า ช่วยงาน ณ บริ เวณหลุมฝังศพ มีการละ เล่นกัน คือ ใช้ โคลนหรื อขี ้หมิ่นก้ นหม้ อ และก้ นกะทะ ที่มีสีด�ำๆ มาทาหน้ ากัน และทาเสื ้อผ้ า ทังชายหญิ ้ งและผู้ทไี่ ปร่วม พิธีกรรม ลีซูมีความเชื่อว่า ถ้ าใครไม่ท�ำ หน้ าสกปรกผีร้ายสามารถเอาชีวิตไปได้ ด้ านอาชีพท�ำไร่ ท�ำนาอาชีพที่ส�ำคัญ ของชาวลีซคู ือ การท�ำไร่ข้าว ซึง่ ในไร่ข้าว จะมี พริ ก ทานตะวัน ถัว่ แตง บวก และ ผักต่าง ๆ การท�ำไร่ข้าวเพียงเพื่อบริ โภค ภายในครอบครั วตลอดปี มากกว่าขาย เป็ น สิ น ค้ า การท� ำ ไร่ ข้ า วโพดมี ค วาม ส�ำคัญรองจากการท�ำไร่ ข้าว ข้ าวโพดที่ ผลิตได้ นำ� ไปเลี ้ยงสัตว์ เช่น หมู ไก่ บริโภค เองบ้ างและบางส่วนน�ำมาหมักต้ มกลัน่ เป็ นสุราข้ าวโพด เพื่อดื่มในระหว่างงาน พิธีฉลองปี ใหม่ หรื องานพิธีอื่นภายใน ครัวเรื อนและหมูบ่ ้ าน ส่วนพืชผักอื่น ๆ ก็ ปลู ก แต่ เ พี ย งพอส� ำ หรั บ บริ โภคใน
๑๙๖
ครอบครัวเท่านัน้ นอกจากนี ้แล้ วชาวลีซู ยังเลี ้ยงสัตว์ตา่ ง ๆ เช่น ไก่ หมู แพะ แกะ ม้ าอีกด้ วย โดยเฉพาะหมูและไก่นนเป็ ั้ น สัตว์ เลีย้ งที่จะขาดเสียมิได้ ทุกหลังคา เรื อนจะเลี ้ยงสัตว์ทงสองชนิ ั้ ดนี ้ ทังนี ้ ้เพื่อ ใช้ ในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ตาม ประเพณีของเผ่า นอกจากการท�ำไร่และ เลี ้ยงสัตว์แล้ วงานช่างฝี มือ ลีซถู ือว่าเป็ น ชนที่มีความเชี่ยวชาญในงานฝี มือมาก ชนหนึง่ งานฝี มือที่สามารถพบเห็นได้ ใน ชุ ม ชน ได้ แ ก่ ช่ า งจัก สาน (ตระกร้ า, ไม้ กวาด, เก้ าอี ้หวาย, กระบุง,อุปกรณ์ดกั สัตว์)ช่างตีเหล็ก (จอบ มีด เสียม) ช่างตี เงิน (แผ่นโลหะเงินรูปครึ่ง, เครื่องประดับ) ช่างเย็บผ้ า เป็ นต้ น ด้ า นภาษา ภาษาแม่ ลีซูพูดภาษาใน กลุม่ หยี (โลโล) ธิเบต – พม่า ไม่มีภาษา เขียนของตนเอง ต่อมากลุม่ มิชชัน่ นารี ที่ เผยแพร่ ศาสนาคริ สต์ก็ได้ น�ำเอาอักษร โรมันมาดัดแปลงเป็ นภาษาเขียนของลีซู ด้ านความเชื่อ ชาวลีซอส่วนใหญ่นบั ถือผี (เหน่) ควบคู่ กับ ศาสนาคริ ส ต์ ห รื อ ศาสนาพุท ธ ผี ที่ ส�ำคัญมาก คือ ผีปู่ ตา ย่า ยาย ผีที่นบั ถือ หรื อเกรงกลัว คือ ผีท่ีอยู่ตามธรรมชาติ
เช่น ผีดอย ผีดิน ผีน� ้ำ ผีไร่ เป็ นต้ น การ เรี ย กขวัญ เป็ น ความเชื่ อ ด้ ว ยด้ า นจิ ต วิญญาณ เพื่อความสุขสบายกายและใจ ท�ำต่อเมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่ วยบาด เจ็บ ส่วนการท�ำนายโชค จะใช้ กระดูกไก่ ท� ำ นายโชคชะตาของเจ้ าภาพและ ครอบครัว ชาวลีซูนบั ถือผีบรรพบุรุษเป็ นส่วนใหญ่ เช่นเดียวกับชนเผ่าอืน่ ๆ จะมีอยูบ่ ้ างทีห่ นั มานับถือศาสนาพุทธและศาสนาคริ สต์ การนับถื อผีบรรพบุรุษยังคงพบเห็นใน หมู่บ้ า นโดยทั่ว ไป เช่ น จะมี ผี ป ระจ� ำ หมูบ่ ้ าน ผีบ้าน ผีเรื อน ผีหลวง ผีป่า ผีน� ้ำ ผีล�ำห้ วย ผีต่างๆ อาจแบ่งออกเป็ นผีดี และผีร้าย ผีดีเป็ นผีที่ให้ คณ ุ แก่ชาวบ้ าน เช่น ผีประจ�ำหมูบ่ ้ าน ผีบรรพบุรุษ ผีบ้าน ผีเรื อน ส่วนผีร้าย ได้ แก่ ผีป่า ผีคนตายไม่
ดี เช่ น ถูก ยิ ง ตาย หรื อ คลอดลูก ตาย ปั จ จุบัน คนภายในชุมชนยัง มี กิ จกรรม วัฒนธรรมและพิธีกรรมตามความเชื่ อ ดั ง้ เดิ ม อยู่ แ ละปฏิ บั ติ กั น อยู่ ส ถานที่ ศัก ดิ์สิท ธิ์ ในสัง คมชุม ชนลี ซูมี ส ถานที่ ส�ำคัญ ๆ ได้ แก่ อีด๊ า่ มอ ซึง่ เป็ นทีท่ อี่ ำ� นาจ ศักดิส์ ทิ ธิ์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ อาศัยอยู่ ซึง่ มีหน้ าที่ ปกป้อง คุ้มครองทรัยพยากรธรรมชาติใน อาณาเขตของชุมชน ซึง่ รวมไปถึงพื ้นทีใ่ น การท�ำมาหากินด้ วย และ อาปาโหม่ฮี ต้ องเป็ นพื ้นที่ป่าที่อยูเ่ หนือชุมชน หรื อสูง กว่ า ที่ พัก อาศัย ของคนในชุม ชน เป็ น สถานทีป่ ระกอบพิธีกรรมระดับครอบครัว โดยมี ผ้ ูอ าวุโ สที่ สุด ในครอบครั ว เป็ น ผู้ ประกอบพิธี และระดับชุมชนที่มีหมือ ห มื อผะหรื อโชโหม่วโชตี เช่นบางคนผูก ขวัญ ไว้ ที่ อ าปาโหม่ ฮี ก็ ต้ อ งประกอบ พิธีกรรมเรี ยกขวัญที่อาปาโหม่ฮี เป็ นต้ น
๑๙๗
ด้ า นศิ ล ปะพื น้ ถิ่ น เครื่ อ งดนตรี ข อง แต่ละชนเผ่า คือ สิ่งที่บ่งบอกถึงความ สวยงามและความหลากหลายทาง ภูมิปัญญาความคิด ภูมิปัญญาของชาว บ้ านที่ เกิ ดขึน้ มา เพื่ อใช้ ในการสื่อทาง อารมณ์ แทนการบอกเล่ากันทางปากต่อ ปาก เสียงไพเราะ เพาะพริ ง้ ของเครื่ อง ดนตรี แต่ละชนิดยามตะวันแลง จะยังคง อยูแ่ ละสืบเนื่องต่อไป หากได้ รับการปลูก ฝั ง และการเอาใจใส่ของกลุม่ คนที่ได้ ชื่อ ว่าชนรุ่นใหม่ เครื่ องดนตรี ที่นิยมกันมาก ของชนเผ่าลีซู คือ พิณ ๓ สาย เรี ยกว่า ซึง (ซือบือ) และ แคน (ฝู่ หลู่)แคนน� ำ้ เต้ า “ฟู่ วหลูว”เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทเป่ า และนิยมเล่นกันของผู้ชายลีซู มี ๓ ชนิด คือ แคนชนิดสัน้ ชนิดธรรมดา และชนิด ยาว ท�ำด้ วยน� ้ำเต้ าและปล้ องไผ่เล็ก ๆ ที่ คัดเป็ นพิเศษ ปั จจุบนั ช่างท�ำฝู่ หลู่ได้ หา ๑๙๘
ยากเข้ าทุกที การจะเป็ นเจ้ าของฝู่ หลูไ่ ด้ จึงต้ องเดินทางไปถึงหมู่บ้านที่มีช่างท�ำ อยู่ และสัง่ จองล่วงหน้ า คนทีส่ ามารถเป่ า ฝู่ หลูไ่ ด้ ในแต่ละหมูบ่ ้ านจึงมีไม่มากเพียง หมูบ่ ้ านละ ๓-๔ คนเท่านัน้ เพราะการหา ซื ้อฝู่ หลูท่ �ำได้ ยาก และการฝึ กเป่ าฝู่ หลูก่ ็ ยากกว่า ด้ วยการเล่นดนตรี ถือเป็ นเรื่ อง ของผู้ชาย ไม่ถือเป็ นบทบาทของผู้หญิง หนุ่ม ลี ซู จ ะเล่ น ในเวลาที่ ว่ า งหรื อ ช่ ว ง ประเพณี ต่ า ง ๆ โดยใช้ บริ เ วณลาน วัฒนธรรมชุมชน เป็ นสถานที่เล่น หรื อ เล่นระหว่างทางไปท่องเที่ยวต่างหมูบ่ ้ าน เพื่ อ ส่ง เสี ย งให้ ผ้ ูค นได้ ยิ น และก็ จ ะใช้ เครื่องดนตรีเป็ นสือ่ เพือ่ แสดงความคิดถึง ต่อกัน จนท�ำให้ เครื่ องดนตรี เป็ นที่นิยม และสื บ ทอดกัน มาจนถึ ง ปั จ จุบัน นี ซ้ ึ ง “ชือบือ”เป็ นเครื่องดนตรีประเภทดีด หนุม่ ลีซูมกั จะฝึ กดนตรี ตงแต่ ั ้ อายุได้ ๑๒-๑๓ ปี ส่วนใหญ่พ่อจะท�ำซึงให้ ลกู ชายได้ ใช้ ฝึ กซ้ อม ตัวซึงมีคนั ยาว ท�ำด้ วยไม้ และ หนังตะกวด (คนเมืองเรี ยกว่า “แลน”) เวลาที่งานไม่ชกุ นัก หนุม่ ลีซจู ะเอาไปฝึ ก ดี ด ในไร่ ด้ วย การดี ด ซึ ง ก็ มี จั ง หวะ สนุกสนาน เร้ าใจ การเดินทางไปเที่ยว ต่างหมู่บ้านหนุ่มลีซูจะพกเครื่ องดนตรี ติดตัวไปด้ วย
ไปแมสาย
ทางหลวงหมายเลข 1290
ไปเชียงราย
บานถํ้า
บานลีซู
สวนยาง
จังหวัดเชียงราย
ลีซู
โรงเรียนเวียงกลาง
สถานที่ท่องเที่ยว
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเวียงกลาง
ไปไรพีบี วัลเลย
แพร
นาน
พะเยา
เช�ยงราย
จัดทำโดย สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดแพร
โครงการศึกษาและพัฒนาการทองเที่ยวว�ถีช�ว�ต กลุมชาติพันธุลานนาตะวันออก “งานตามภารกิจ ของโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำป” งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
Qr Code