สรุป Anes Practice for vet

Page 1

1st edition, 2554 By

ไหม

Vet CU 68

[สรุป ANES PRACTICE] เอกสารนี้เป็นสรุปที่เนื้อหาที่ควรรู้ก่อนฝึกงานทางคลินิก และสรุปเนื้อหาที่ได้จากการฝึกงาน ของคณะสัตวแพทย์ จุฬาฯ จุดประสงค์การทาเพื่อให้น้องๆได้อ่านเพื่อเตรียมพร้อมก่อนการ ฝึกงานและการสอบ หากเนื้อหาผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ขออุทิศส่วนกุศลที่ได้จากการเผยแพร่ให้กิ๊กกิ้วและหนานุ่ม,สัตว์ทดลอง,แมวๆที่เคยเลี้ยง และสัตว์ที่ได้เบียดเบียนโดยไม่ได้เจตนา


ห น้ า | 1

Anes practice

Pain  Nociception = กระบวนการรับรุ้ความเจ็บปวดจากการกระตุ้นผ่าน Nociceptors  Nociception มี 4 ขั้นตอน

กระตุ้น receptors ใช้ „ Local anesthetic „ Antiinflamatory drugs

ถ่ายทอดสัญญาณ ประสาท  afferent sensory fibers  ไปไขสัน หลัง

ไขสันหลัง(Dorsal horn)เปลี่ยนแปลง สัญญาณประสาท ให้มีความแรง เหมาะสม

ใช้

ใช้

„ Local anesthetic

„ Local anesthetic „ Opioids „ α2 agonist

สมอง(Cerebral cortex)ได้รับ สัญญาณประสาท ใช้

„ Opioids „ α2 agonist

 Pain จะกระตุ้นระบบ sym  เจ็บแล้วบางทีถึงHR หรือเป็นลม  Pain ทําให้เกิดการหลั่ง Catecholamines,Endorphines,Cortisol  Concept : ก่อนผ่าใช้ Opioids  ตอนผ่าใช้ยาสลบ  หลังผ่าใช้ NSAIDS

Premedication

Induction

maintenance

„ Transquilizers + Opioids

„ injection anesthetic

„ inhalation anesthetic


ห น้ า | 2

Anes practice

ยาทีใ่ ช้ระงับปวด Morphine (Gold std. ของ

Pure mu agonist

pure mu agonist)

Fentanyl (Potent มากสุด) Meperidine

Local anesthetics

Partial mu agonist

Buprenorphine

Opioids NSAIDS

Mixed agonist/antago nist

Butorphanol

(K partial agonist, mu antagonist)

ยาระงับปวด

Pure mu antagonist Xylazine Detomidine

α2 agonist Romifidine

Metomidine

Naloxone (แก้ Butorphanol ไม่ได้)


Anes practice

ห น้ า | 3

1.Local anesthetics  ปิด Na channel ที่ n.  ไม่เกิด Action potential ไม่เกิดการส่งกระแสประสาท

2. Opioids  ฤทธิ์กระตุ้น Opioids receptors ที่สําคัญ คือ o Mu (μ) ทําให้ analgesia,euphoria(เพ้อเหมือนขึ้นสวรรค์), กดการหายใจ,HR o Kappa (K)

ทําให้ analgesia,miosis,sedate,dysphoria(ล่อกแล่ก ,เบลอ,เหมือนตกนรก)

 ผลข้างเคียง o กดการหายใจ(ขึ้นกับ dose) o แรงดันสมอง o HR(Bradycardia) o คลื่นไส้ อ้วก o Sedate/excite (ไม่ตื่นเต้นก็ซึมไปเลย) o ติดได้

3.NSAIDS  ระดับการทํางาน  Peripheral anti-inflammatory  ทํางานระดับ Local ลด inflammatory mediator


ห น้ า | 4

Anes practice  Central  ทําให้ Cox ในสมองทํางานได้แย่ลง  กดการทํางานของ Thalamus  ยับยัง้ ความรู้สึกจากไขสันหลัง  ต้านการเกิดไข้ใน Hypothalamus  COX1 vs COX2

COX1 „ เป็น enz. สร้าง PGF „ ควบคุม „ Renal blood flow „ Gastric mucosal blood flow „ ปกป้อง Gastric mucosal layer „ หลั่ง HCO-3 „ เกี่ยวข้องกับการทํางานของ Platelet

 ห้ามใช้ใน  Acute renal insufficiency  Hepatic insufficiency  Dehydrate  Hypotension(BP)  CHF  Ascites

COX2 „ เกิดขึ้นเมื่อเกิดการอักเสบ „ ทําให้เนื้อเยื่ออักเสบหรือเสียหาย „ เป็น precursr ผลิต PGF

 Coagulopathies  Gastric ulceration/GI disorder  Shock  Trauma  ไม่ใช้กับ Corticosteroids  ไม่ใช้ NSAIDS 2 ชนิดพร้อมกัน  ท้อง(COX2 induction สาคัญต่อการตก ไข่และการฝังตัวของ embryo)


ห น้ า | 5

Anes practice

4.α2 agonist  จับ α2 adrenagic receptor ใน CNS  กระตุ้น

Sedate ซึม Analgesia ไม่มีความรู้สึก (ฤทธิ์ไม่เด่นมาก ให้เพิ่มก้ไม่ได้ทาให้ฤทธิ์ แก้ปวดมากขึ้น) m. relax กล้ามเนื้อคลาย Anxiolysis คลายกังวล

 ผลข้างเคียง  Vasoconstrict  BP ในช่วงเริ่ม  receptor คิดว่าเลือดพอ HR CO  ถ้าใช้ dose สูง  ผลข้างเคียงมาก

องค์ประกอบของการวางยาสลบ

painless

m. relaxant Unconscious


ห น้ า | 6

Anes practice

ผลของการวางยาต่อ CVS  HR

Ketamine Atropine

Contractility

Ketamine

Preload

Fluids Vasoconstrictors α 2 -agonist  Xylazine  Medetomidine Halothane Thiopenthal

 Arhythmia

 α 2 -agonist  Xylazine  Medetomidine Opioids  Morphine  Meperidine  Fentanyl Halothane Thiopenthal Propofol Acepromazine Acepromazine


ห น้ า | 7

reflex รุนแรงต่อการกระตุ้น มี reflex กลืน,อาเจียน,ไอ

HR& แรง

HR& แรง

รูม่านตาขยาย

รูม่านตาขยาย

อาจกลั้นหายใจ

หายใจไม่สม่ําเสมอ(เร็ว/กลั้น) น้ําตาไหล

อึ,ฉี่

มี palpebral reflex

น้ําลายมาก

Nystagmus

ล้มตัวนอน

หายใจสม่ําเสมอ

ไม่รู้สึกตัว

(ยกเว้น แมว)

ไม่มี reflex กลืน

Plane1 „ เริ่มตั้งแต่หายใจช้า,HR  อย่างสม่ําเสมอ „ ไม่ขยับขา „ ไม่เจ็บ „ มี „ Nystagmus „ palpebral reflex „ Corneal reflex „ Pedal reflex „ ไม่มี „ reflex ไอ „ Laryngospasm „ m.ขาหย่อน

อ้วก Plane2

เป็น plane ที่ต้องการเพื่อผ่าตัด น plane ที่ต้องการ

„ เริ่มตั้งแต่หยุดกรอกลูกตา „ ลูกตาดําอยู่ „ กลางตา(ม้า) „ ใต้หนัง/เปลือกตาล่าง „ มี Corneal reflex „ ไม่มีPedal reflex(ช้าลง) ง้างขากรรไกรได้ „ หายใจเร็วแต่ตื้นสม่ําเสมอ „ แมวมี laryngospsm ถึง กลาง plane

Plane3 „ หายใจเร็วแต่ตื้นสม่ําเสมอ „ ลูกตาอยู่กลางช่องตา „ m.,หูรูด หย่อน „ ไม่มี „ Corneal reflex(เว้นม้า) „ Pedal reflex Plane4 „ ยาสลบเกินขนาด „ กด resp.+nervous.+cir. „ เลือดตรงที่ผ่า &mm.เขียวคล้ํา „ BPแต่ PP „ m.หูรูด หย่อน „ ไม่มี reflex ตา „ รูม่านตาขยาย

Stage4

ตื่นเต้น

เริ่มตั้งแต่ไม่รู้สึกตัว

Stage3

เริ่มตั้งแต่ให้ยาสลบ

Stage2

Stage1

Anes practice

อ้าปากหายใจ หยุดหายใจ PP.เบา BP Pale mm.

m.หูรูดก้น/UB หย่อน รูม่านตาขยาย ไม่มีPupilary reflex

ตายถ้าแก้ไม่ทัน


Anes practice

ห น้ า | 8

การเฝ้าระวังการสลบ (Monitoring and Complication) แบ่งออกเป็น 3 ระบบคือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system) 2. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Cardiovascular system) 3. ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system) ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system)

 อาการชัก (seizure)     

มีประวัติการชัก/มีโรคทางระบบประสาท ภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา (hypoglycemia) Severe metabolic disease การใช้ acepromazine, enflurance, ketamine การแก้ไข : o ให้ออกซิเจน o ให้ diazepam 0.2 mg/kg o หยุดการใช้ยาที่ทําให้เกิดอาการชัก

 Hypothermia     

จากฤทธิ์ของการสลบ อุณหภูมิที่เย็นของห้อง/โต๊ะผ่าตัด การได้รับสารน้ําที่มีอุณหภูมิต่ํากว่าอุณหภูมิร่างกาย ผ่าตัดเปิดช่องอกหรือช่องท้อง การแก้ไข : o ลดขนาดของยาสลบ o อบอุ่นร่างกายโดยใช้ผ้าธรรมดาห่มขวดน้ําอุ่นวางไว้ข้างตัวสัตว์, ส่อง ไฟกก, ใช้ heat pad o ให้สารน้ําที่มีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมปิ กติของร่างกายสัตว์


Anes practice

ห น้ า | 9

o ใช้ฉนวนรองระหว่างโต๊ะผ่าตัดกับตัวสัตว์

 Hyperthermia     

สัตว์สลบตื้นหรือใกล้จะฟื้น มีขนาดตัวใหญ่หรืออ้วน เป็นไข้ ต่อมไทรอยด์ทํางานมากกว่าปกติ Ketamine, halothane และ succinylcholine พันธุกรรม เช่น malignant hyperthermia ในสุนัข สุกร การแก้ไข : ช่วยระบายความร้อนโดย o ให้สารน้ําที่เย็นทาง IV หรือ ช่องท้อง o สวนสารน้ําเข้าทางทวาร o ควรให้ออกซิเจน o อาจให้ dantrolene sodium แก้ไข malignant hyperthermia

 Recovery excitement     

เจ็บปวดจากบาดแผลผ่าตัด ความสับสนหรือยังไม่คืนสติเต็มที่ (disorientation) เกิดสภาวะออกซิเจนในเลือดต่ําหรือมีการตีบแคบ อุดตันช่องทางเดินหายใจ ให้ยาพวก opioids มากเกินไป (dysphoria) การแก้ไข : o ป้องกันอันตรายจากการดิ้นรนของสัตว์ o ให้รักษาด้วยยาระงับปวดกลุ่ม opioids เช่น morphine o ถ้าเกิดจาก dysphoria ให้รักษาด้วยยาสงบประสาท เช่น xylazine, acepromazine

 Prolonged recovery    

อุณหภูมิร่างกายต่ํา การหายใจที่ไม่มีประสิทธิภาพ ระบบหมุนเวียนโลหิตถูกกด สัตว์อยู่ในสภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา


Anes practice

ห น้ า | 10

ระบบหมุนเวียนโลหิต (Cardiovascular system)  ภาวะหัวใจเต้นช้า (Bradycardia): สุนัข < 60, แมว < 100, วัว < 60 ครั้งต่อนาที  ยาที่ใช้ร่วมในการวางยาสลบ  ยากลุ่ม opioids เช่น morphine, fentanyl  ยากลุ่ม alpha-2 adrenergic agonist เช่น xylazine  ระดับความลึกของการสลบมากเกินไป  ร่างกายมีอุณหภูมิต่ํา  มีความผิดปกติของหัวใจ  มีออกซิเจนในเลือดต่ํา (hypoxemia)  Hyperkalemia  Hyperglycemia  การแก้ไข :  ลดยาสลบ, ระงับการกระตุ้น vagal reflex, เพิ่มความอบอุ่นของร่างกาย, แก้ไขระดับโพแทสเซียมในเลือด, เสริมน้ําตาลในกระแสเลือด, เสริมน้ําตาลใน กระแสเลือด  Anticholinergic เช่น atropine 0.01-0.02 mg/kg หรือ glycopyrriate 0.005 mg/kg เข้าทางหลอดเลือดดํา  ภาวะหัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia): สุนัข > 180, แมว > 240, วัว > 100 ครั้งต่อ นาที  ยาที่ใช้ร่วมในการวางยาสลบ  ยากลุ่ม sympathomimetics เช่น adrenaline  ยากลุ่ม anticholinergic เช่น atropine  Ketamine  ระดับความลึกของการสลบน้อยเกินไป  ร่างกายมีอุณหภูมิสูง (hyperthermia)  สภาวะที่มี CO2 สูง (hypercapnia)


Anes practice

ห น้ า | 11

 มีออกซิเจนในเลือดต่ํา (hypoxemia)  เกิดความดันต่ํา (baroreceptor reflex)  การแก้ไข:  ปรับระดับความลึกของการสลบให้เหมาะสม, ลดอุณหภูมิร่างกาย, แก้ไขสภาวะ ความดันต่ํา  ให้สารน้ําบําบัดหรือเสริมยาระงับปวด เช่น ยากลุ่ม opioids เพื่อลดขนาด ยาสลบที่ใช้  ภาวะความดันโลหิตต่าํ (Hypotension): มีค่า systolic pressure < 80 mmHg  Cardiac output หรือ systemic vascular resistance มีค่าลดลงจาก vasodilation ที่เกิดจาก septicemia, peritonitis หรือมี mast cell tumor ทํา ให้เกิดการอักเสบและมีการปล่อยสารที่ทําให้เกิด vasodilation เช่น histamine  สภาพขาดน้ําในร่างกาย (dehydration) หรือเสียเลือด ซึ่งถ้าเสียเลือดมากกว่า 10% ของปริมาณเลือดในร่างกายจะเกิดอาการช็อคได้  การบีบตัวของหัวใจลดลง จากการสลบลึกเกินไป หรือสภาวะที่มี CO2 ในร่างกายสูง (hypercapnia)  หัวใจเต้นผิดจังหวะ  Anaphylactic/anaphylactoid shock เช่นเกิดอาการแพ้ยาปฏิชีวนะ, opioids, ยาสลบ, แอลกอฮอล์, สารสีที่ฉีดเข้าไป, เลือดจากการถ่ายเลือด  การแก้ไข :  ปรับระดับความลึกของการสลบให้เหมาะสม  ถ้ามีสภาพขาดน้ําก็ให้สารน้ําบําบัด เช่น Acetar, Lactate Ringer’s solution, NSS  ลดขนาดยาสลบ  รักษาโดยให้ยากลุ่ม inotropic agents เช่น dopamine, dobutamine, ephedrine โดยใช้ dopamine หรือ dobutamine 40-200 mg ใน 5%D5W หรือ NSS 250-500 ml เข้าทางหลอดเลือดดํา อัตราเร็ว 2.5-20 μg/kg/นาที  ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension): ค่า systolic pressure > 180 mmHg, Mean > 110 mmHg และ diastolic pressure > 140 mmHg


Anes practice

ห น้ า | 12

     

ระดับความลึกของการสลบไม่เพียงพอ มี catecholamines สูงในร่างกาย : adrenaline มี CO2 สูง (hypercapnia) มีออกซิเจนในเลือดต่ํา (hypoxemia) โรคไต, hyperthyroidism หรือมีความดันในสมองเพิ่มขึ้น การแก้ไข :  ปรับระดับความลึกของการสลบให้เหมาะสม  ลดการใช้ตาที่มีฤทธิ์กระตุ้นระบบหมุนเวียนโลหิต เช่น adrenaline  ถ้ามี CO2 สูง, ออกซิเจนในเลือดต่ํา จะให้ออกซิเจน  Hemorrhage: สังเกต suction bottle, lap spongs, towel ฯลฯ เพื่อประเมิน ปริมาณของเลือดที่เสียไป  การแก้ไข :  ทําการห้ามเลือดให้เร็วที่สุด  ในกรณีที่สัตว์มีความแข็งแรง แต่เสียเลือดในระหว่างการผ่าตัด ถ้าเสียเลือด น้อยกว่า 20-30 % ของปริมาณเลือดทั้งหมด (blood volume ของสุนัข = 100 ml/kg, แมว = 60 ml/kg) จะให้  Crystalloid 3 เท่าของปริมาณเลือดที่เสีย  ถ้าใช้ colloid ให้ชดเชยในปริมาณที่เท่ากับปริมาณเลือดที่เสียไป ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system)

 Tachypnea/ hyperventilation      

ระดับความลึกของการสลบไม่เพียงพอ มี CO2 สูง (hypercapnia) มีออกซิเจนในเลือดต่ํา (hypoxemia) สภาวะความดันเลือดต่ํา (hypotension) มีอุณหภูมิร่างกายสูง เช่น มีไข้ Airway disease, pulmonary interstitial disease, ความผิดปกติของผนังช่องอก หรือกระบังลม


Anes practice

ห น้ า | 13

 การจัดวางตัวสัตว์ในระหว่างผ่าตัด  การแก้ไข :  หาสาเหตุและแก้ไข  ปรับระดับความลึกของการวางยาสลบให้เหมาะสม  ทําการช่วยหรือควบคุมการหายใจ เช่น บีบ ambu bag ช่วยหายใจ  Bradypnea/hypoventilation  ระดับการวางสลบที่ลึกมาก  ยาสลบส่วนใหญ่, ยาทีใ่ ช้ร่วมในการวางยาสลบบางชนิด เช่น morphine หรือ xylazine ทําให้สัตว์หายใจน้อยและช้ากว่าปกติ  ภายหลังสภาวะ hyperventilation  โรคที่มีวิการในสมอง  ประสิทธิภาพการหายใจลดลงจาก  ความอ้วน, มีความดันในช่องท้องมาก  ทางเดินหายใจตีบแคบหรืออุดตัน  การใช้ยาคลายกล้ามเนื้อ  การแก้ไข :  หาสาเหตุและแก้ไข  ปรับระดับความลึกของการวางยาสลบให้เหมาะสม  ทําการช่วยหรือควบคุมการหายใจ เช่น บีบ ambu bag ช่วยหายใจ

 Apnea    

ระดับการวางสลบที่ลึกมาก มีออกซิเจนในเลือดต่ํา (hypoxemia) สภาวะความดันเลือดต่ํา (hypotension) กระบวนการหายใจลําบาก เช่น  สัตว์ที่อ้วนมากๆ  ทางเดินหายใจตีบแคบ หรืออุดตัยบางส่วน  การใช้ยาคลายกล้ามเนื้อ  Pneumothorax, diaphragmatic hernia


Anes practice

ห น้ า | 14

 การแก้ไข :  พยายามควบคุมทางเดินหายใจให้ได้ เช่น รีบสอดท่อช่วยหายใจ  ทําการช่วยหายใจด้วยการให้ออกซิเจนเข้มข้นสูง  ปรับระดับความลึกของการวางยาสลบให้เหมาะสม  Airway obstruction: เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ มักจะแสดงอาการ paradoxical breathing  ท่อหลอดลมเกิดการพับงอ ตีบแคบ  การพัน bandage บริเวณคอหรือศีรษะที่แน่นมากเกินไป  การสําลักสิ่งแปลกปลอม  โรคของทรวงอก เช่น ผนังทรวงอกมีลม ของเหลว เนื้องอก และกระบังลมเลื่อนหรือ ผนังทรวงอกยุบเนื่องจากกระดูกซี่โครงหัก เป็นต้น ทําให้ปอดและหลอดเลือดใหญ่ ขยายได้ไม่เต็มที่  การแก้ไข :  พยายามยืดคอสัตว์ให้ตรงและอ้าปากสัตว์  ทําการสอดท่อช่วยหายใจ  ถ้าจําเป็นต้องรีบทํา tracheostomy  พยายามหาสาเหตุและแก้ไข


Anes practice

ห น้ า | 15

การรักษาสัตว์ปว่ ยในภาวะฉุกเฉิน กรณีมีความผิดปกติของระบบอื่นที่มีความรุนแรงกว่าร่วมด้วย ควรทําการแก้ไขระบบนั้นก่อน เช่น  ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบทางเดินหายใจ  Hypovolumic shock  การบาดเจ็บบริเวณหัวใจหรือปอด  การบาดเจ็บภายในช่องท้อง  Hemorrhage จากกระดูกที่หัก ทิ่มอวัยวะภายใน  การบาดเจ็บของระบบทางเดินปัสสาวะจากกระดูกเชิงกรานหัก  ความผิดปกติของระบบประสาท  ปลายกระดูกหักตัดเฉือนเส้นประสาทบริเวณใกล้ๆ การแก้ไข  การเสียเลือด จะต้องทําการห้ามเลือด แต่ในกรณีที่เกิด hypovolumic shock ควรให้สาร น้ําโดยในสุนขั จะให้ในอัตรา 90 ml/kg/hr ในชั่วโมงแรก และ 45 ml/kg/hr ในชั่วโมงถัดไป ส่วนในแมวจะให้ในอัตรา 45 ml/kg/hr ในชั่วโมงแรก และ 22.5 ml/kg/hr ในชั่วโมงถัดไป ถ้าเป็น severe shock ควรให้ colloid หรือ hypertonic solutions และแก้ไขภาวะสมดุล กรดเบสที่ผิดปกติ  Dehydration ควรให้สารน้ําโดยคิดจาก Total fluid/day = deficit loss + maintenance need + continuing loss เมื่อ Deficit loss = body weight x %dehydration x 10 Maintenance need = 40-60 ml/kg/day Continuing loss = ปริมาณ vomiting หรือ diarrhea (หน่วย ml/day) และแก้ไขภาวะสมดุลกรดเบสที่ผิดปกติ


Anes practice

ห น้ า | 16

 การหยุดหายใจ ให้ clear airway แล้วกระตุ้นการหายใจ  Monitor ค่าต่างๆ ของร่างกาย ให้เลือดทดแทนกรณีที่ค่าเม็ดเลือดแดงอัดแน่นน้อยกว่า 20 % ให้ plasma protein ทดแทนกรณี plasma protein ลดลงต่ํากว่า 3.5 g/100cc นอกจากนี้ควรทํา urinalysis ร่วมด้วย การให้สารน้ําในสัตว์เล็ก  สารน้ํา isotonic crystalloid solutions o ชั่วโมงแรก 10-20 ml/kg/hr o ชั่งโมงต่อๆไป 5-10 ml/kg/hr  สารน้ํา hypertonic saline 4-6 ml/kg อัตราเร็ว < 100 ml/hr  สารน้ํา colloids 10-20 ml/kg/day อัตราเร็ว 5-20 ml/kg/hr การให้เลือดในสัตว์ เล็ก  ให้เมื่อมีค่า Hemoglobin < 7 g/dl หรือ Hematocrit < 20%  ขนาดการให้ (อัตราเร็ว 5-10 ml/kg/hr) o สุนัข : 10-40 ml/kg o แมว : 5-20 ml/kg


Anes practice

ห น้ า | 17

Cardiopulmonary Cerebral Resuscitation (CPCR) คือการแก้ไขสภาวะ Cardiopulmonary arrest (CPA) (CPA คือภาวะที่เกิด ventilation failure หรือ circulation failure) ปัจจัยโน้มนํา  Hypoxia  Acid-base, fluid, electrolyte imbalance  ANS imbalance เช่น การกระตุ้น parasympathetic มากกว่าปกติจากการวางยาสลบ มากเกินไป ทําให้กดการทํางานของหัวใจและการหายใจ  การให้ยาเกินขนาด  โรคหัวใจ หรือ arrhythmias  Trauma อาการแสดง (Clinical Sign)      

Agonal gasping (อ้าปากพะงาบ เหยียดแขนขา เงยคอหายใจ) Cyanotic, grey or pale mucous membrane ม่านตาขยาย ชีพจรอ่อน คลําไม่เจอ เลือดสีคล้ําลงเรื่อยๆ ไม่มีเลือดออกบริเวณที่ผ่าตัด


Anes practice

ห น้ า | 18

การรักษา การทํา CPCR ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน  Immediate basic support คือ การทํา basic life support โดยคํานึงถึง o A = airway  Clear airway โดยตรวจภายในช่องปาก และขจัดสิ่งอุดกั้นทางเดิน หายใจออก  สอด endotracheal tube  ผายปอด 2 ครั้งแรงๆ o B = breathing  อัดด้วย 100% O2 (positive pressure ventilation with 100% O2)  จิ้มบริเวณจุดกึ่งกลาง/รอยต่อระหว่างจมูกและริมฝีปากบน โดยปักลึก 1 cm และบิดเข็มซ้ายขวา  ผายปอดโดยการนวดหัวใจสลับกับบีบ ambu bag เป็น 5:1 หรือ 15:2 o C = circulation แบ่งเป็น 2 ประเภท  ปกั้ถภนวดหัวใจผ่านผนังช่องอก โดยอัตราการนวดหัวใจจะเท่ากับอัตรา การเต้าของหัวใจ คือ 80-120 ครั้ง/นาที  เปิดช่องอกแล้วใช้มือบีบหัวใจโดยตรง โดยเมื่อนวดหัวใจแล้วหัวใจยังไม่ เต้นภายใน 5 นาทีหรือหัวใจเต้นแล้วแต่ยังเต้นเองไม่ได้ ภายใน 10 นาที ให้เปิดช่องอก

 Advance cardiac life support o Fluid  Crystalloid 10-40 ml/kg IV สําหรับสุนัข และ 10-20 ml/kg IV สําหรับ แมว  Hypertonic saline solution เช่น 7.5% saline ขนาด 6ml/kg หรือ 20-25% mannitol ขนาด 5-10 ml/kg IV  Colloidal solution เช่น 6% dextran 70 หรือ 6% hetastarch ขนาด 10 ml/kg


Anes practice

ห น้ า | 19

o Sympathomimetics  Epinephrine (adrenaline) 0.01-0.02 mg/kg หรือ 0.1-0.2 mg/kg IV ทาง cephalic vein หรือ jugular vein (กรณีหัวใจหยุดเต้น) o Anticholinergic  Atropine 0.02-0.04 mg/kg IV (กรณีหัวใจเต้นช้า) o Sodium bicarbonate 0.5 mEq/kg/5 min โดย drip เข้าหลอดเลือดร่วมกับ fluid 5-10 นาทีหลังเกิด failure o Antiarrhythmics  Lidocaine 1-3 mg/kg IV ใช้แก้ไขสภาวะ ventricular arrhythmia o Inotropes  dopamine หรือ dobutamine 40-200 mg ใน 5%D5W หรือ NSS 250500 ml เข้าทางหลอดเลือดดํา อัตราเร็ว 2.5-20 μg/kg/นาที

** หลีกเลีย่ งการใช้ glucose ยกเว้นกรณีทเี่ กิด hypoglycemia เท่านัน้ จึงจะให้ได้  Recommendation for postresuscitative care o o o o

ให้ O2 เพียงพอ ผายปอด ให้สารน้ําอย่างเพียวพอเพื่อให้เกิด perfusion ไปที่ปอด สังเกต tissue perfusion โดยการดู CRT, วัดความแรงของชีพจร และวัดการ สร้างปัสสาวะ o พยายามทําให้เกิด reperfusion กลับมาที่สมองให้เร็วที่สดุ (เนื่องจากสมองจะขาด O2 เมื่อเกิด CPA นานเกิน 10 วินาที) และจัดสภาพแวดล้อมของการทํางานของ ระบบประสาทให้ดีโดยการจัดการกับ electrolyte, free radical และ leukocyte เช่น การให้ mannitol เพื่อจัดการกับ free radical ทําให้ลดอาการสมองบวม


ห น้ า | 20

Anes practice Anesthetic practice 1. งดน้ํา,งดอาหารก่อนผ่าตัด a. งดอาหาร&นม 6 ชม. b. งดน้ํา 2 ชม. c. โรคไตไม่งดน้ํา 2. ประเมินสภาพสัตว์ป่วย a. % dehydrate b. HR & Rhthm c. Pulse d. CRT (>2 sec = dehydrate) e. RR & Pattern f. mm color 3. Premedication ให้ก่อน Induction 15-20 นาที (IM) 2-3 นาที (IV) Anticholinergic drug

‘Atropine’ Dose

IV IM/SC

0.02 mg/kg 0.04 mg/kg

ฤทธิ์

1.เพิ่ม HR (ใช้แก้ภาวะ HR ถูกกดจาก Opioids & α-2 adenoreceptor agonist) 2.ขยายหลอดลม 3.ลดน้ําลาย(ใช้แก้ฤทธิ์น้ําลายมากจาก Ketamine) 4.ลดคลื่นไส้,อาเจียน


Anes practice

ห น้ า | 21

5.ลด GI movement 6.รูม่านตาขยาย 7.อาจทําให้ฟื้นจากยาสลบกลุ่ม Thiobarbiturate ช้ากว่าปกติ 8.ขัดขวางการทํางานของต่อมเหงื่อ  อุณหภูมิร่างกาย ผลข้างเคียง 1.ตอนเริ่มให้ HR จะ  2.Sinus tachycardia 3.ผ่าน BBB,รก ห้ามใช้ใน 1.Heart failure 2.กรณี HR หมา >140 bpm แมว >160 bpm 3.Premature ventricular contraction/Ventricle ไวต่อการถูกกระตุ้น ใช้ Glycopylorate แทน 4.m.หัวใจมีเลือดเลีย้ งไม่พอ 5.Glaucoma

}

‘Glycopylorate’ -Safe กว่า Atropine -ห้ามผสมร่วมกับยาอื่น Dose IV 0.005 mg/kg IM/SC 0.01 mg/kg ฤทธิ์ 1.เพิ่ม HR ได้ดีกว่า Atropine,โอกาสเกิดหัวใจเต้นเร็วผิดปกติน้อยกว่าด้วย 2.ลดน้ําลายได้มากกว่า Atropine 5 เท่า 3.ลด GI movement,ป้องกันการขย้อน 4.ไม่ผ่านรก 5.ผ่าน BBB ยากกว่า Atropine  ไม่มีฤทธิ์กระตุ้น CNS


ห น้ า | 22

Anes practice Phenothiazine

‘Acepromazine’ Dose

IV /IM/SC 0.03 – 0.05 mg/kg (แมวได้ถึง 0.1 mg/kg) ห้ามให้เกิน 3 mg/ตัว ฤทธิ์ 1.คลายกังวล 2.ทําให้ m.คลาย,ลดการเคลื่อนไหว 3.ลด dose ยาสลบ 4.ลดอ้วก 5.ลดหัวใจเต้นผิดจังหวะ ข้อควรระวัง 1.ทําให้ BP(Hypotension) แก้ไขโดยให้ Ephedrine/Methoxamine/Norepinephrine/ Phenylephrine ห้ามให้ Epinephrine 2.ห้ามใช้ในกรณี Shock BP ต่ํา Anemia โรคตับ/โรคหัวใจ 3.ยาจะมีฤทธิ์นานในสัตว์ที่เป็นโรคตับ 4.ทําให้ Treshold ในการชักชักง่ายขึ้น 5.ควรใช้ Low dose แล้วใช้คู่กับยาอื่น เช่น Morphine เพราะถ้าใช้ Dose สูงจะทําให้สลบนานขึ้น โดยไม่ได้ทําให้สลบลึกขึ้น 6.ห้ามให้ยากลุ่มนี้ก่อนทํา Epidural หรือ Spinal anesthesia เพราะอาจทําให้ BP  มาก 7.ระวัง T ร่างกาย 8.ผ่านรก 9.Blood glucose


ห น้ า | 23

Anes practice

10.Hct,Blood protein,Plateletและทํางานผิดปกติ 11.ปัสสาวะ 12.มีฤทธิ์ต้าน Histamine -ห้ามใช้กับสัตว์ที่เป็นโรคภูมิแพ้ -เหมาะกับผ่าเนื้องอก mast cell tumor 13.เสริมฤทธิ์ OP และ Procaine HCl α -2 agonist

‘Xylazine’ Dose

IV 0.03-0.2 mg/kg IM 1-3 mg/kg Antidote คือ Yohimbine ฤทธิ์ 1.ลดความกระวนกระวาย,ทําให้ซึม 2.ทําให้กล้ามเนื้อหย่อน 3.ระงับชัก 4.ต้าน sympathetic 5.BP 6.RR แต่ปริมาตรการหายใจต่อครั้ง 7.ลดปวด 8.ปัสสาวะ ข้อควรระวัง 1.HRCO หัวใจเต้นผิดปกติ(1 หรือ 2 AV block,severe bradycardia,Sinus arrhythmia,Ventricular fibrillation) เพราะฉะนั้นอย่าใช้กับสัตว์ weak,โรคหัวใจ,โรคตับ,โรคทางเดิน หายใจ 2.หมา&แมวจะอ้วกตอนเริ่มให้ยา


ห น้ า | 24

Anes practice

3.ถ้า HR ให้ใช้ Antagonist(Yohimbine)อย่าใช้ Atropine 4.GI activity 5.Hyperglycemia 6.Plasma glucose(esp.แมว)  ควรเลี่ยงในรายเบาหวาน 7.ใช้กับ Ketamine อาจ Apnea 8.การเพิ่มขนาดยาจะทําให้ซึมนานขึ้น แต่ไม่ได้ทําให้ซึมมากขึ้น 9.ระวัง T ร่างกาย Benzodiazepines

‘Diazepam’

‘Midazolam’

Dose

Dose

IV 0.2-0.6 mg/kg IM 0.4 mg/kg

IV 0.1-0.2 mg/kg IM 0.2-0.3 mg/kg

Antidote คือ Flumazenil ฤทธิ์ 1.ไม่ซึม แต่สงบลง แต่อาจทําให้ตื่นเต้นได้ 2.ไม่ระงับปวด แต่เสริมฤทธิ์ Opioids&Barbiturate จึงช่วยลด dose ได้ 3.ทําให้กล้ามเนื้อหย่อน 4.ระงับชัก 5.กระตุ้นความอยากอาหาร esp. แมว 6.ลดการหลั่ง Catecholamine  กันหัวใจเต้นผิดปกติ เหมาะกับการใช้ กับพวกที่มีปัญหาหัวใจขาดเลือด,GDV 7.ไม่มีผลต่อตับ,ไตSafe กับสัตว์ชรา&สัตว์ที่มีความเสี่ยงสูง ข้อควรระวัง 1.ยาไม่ละลายน้ํา  ห้ามผสมกับยาอื่นนอกจาก Ketamine ใน Syringe เดียวกัน 2.ถ้า IV ควรให้ช้าๆ ป้องกัน Venous thrombosis & HR 3.ยาถูกทําลายช้าในสัตว์อายุน้อยและสัตว์โรคตับ


ห น้ า | 25

Anes practice Opioids

‘Fentanyl’ [ ] 50 -*first choice สําหรับสัตว์โรคไต* -มีฤทธิ์ 20 นาทีให้ตอนต้องการระงับปวดเร็วๆ IV เลย -มี potent สูงสุด มีฤทธิ์เป็น 50-300 เท่าของ Morphine Dose หมา IV 0.04-0.08 mg/kg แมว IV 0.02-0.04 mg/kg Ortho IV 0.06-0.08 mg/kg Soft tiss. IV 0.04 mg/kg CRI

2-6

/kg/hr

‘Morphine’ [ ] 10 -ฤทธิ์ 4 ชั่วโมงให้ตอนกลับบ้าน -ห้ามใช้กับรายที่ BUN สูง Dose หมา IM/SC 0.2-0.6 mg/kg ทั่วไปใช้ IM/SC 0.3 mg/kg Ortho/เจ็บมาก IM/SC 0.5-0.6 mg/kg แมว IM/SC 0.1-0.2 mg/kg *แมว&ม้า ห้ามให้ > 0.2 mg/kg เด็ดขาด* Epidural 0.1 mg/kg CRI 0.1-0.3 mg/kg/hr


ห น้ า | 26

Anes practice

‘Meperidine(Pethidine)’

[ ] 50 mg/ml

-ฤทธิ์ 1 ชั่วโมงให้ตอนกลับบ้าน -มีฤทธิ์แค่ 1 ใน 10 ของ Morphine -ไม่ค่อยทําให้อาเจียน -ใช้กรณี weak Dose IV/IM/SC 2-5 mg/kg ฤทธิ์ 1.ทําให้สุนัขซึม แต่แมวอาจคลุ้มคลั่งได้ 2.ระงับปวด ข้อควรระวัง 1.กดการหายใจ 2.HR 3.เพิ่มความดัน CSF  ห้ามใช้ในรายที่มีการบาดเจ็บที่สมอง 4.กระตุ้นการบีบตัวของ GI & กล้ามเนื้อหูรูด ทําให้อาเจียน ท้องเสีย น้ําลายไหล จากนั้นจะท้องผูก 5.ห้ามใช้ในกรณีบาดเจ็บที่ท่อน้ําดีและหลอดไต 6.ผ่านรก Partial opioids agonist

‘Pentazocine’ -ฤทธิ์ 2 ชม. -มีฤทธิ์แค่ 1 ใน 3 ของ Morphine Dose IV/IM/SC 2 mg/ml


Anes practice

ห น้ า | 27

4. Induction

‘Propofol’ [ ] 10 mg/ml -ถ้าเปิดยา > 24 ชม.มี Endotoxin จาก Bact.สุนัขเกิด Septic shock -ให้ 1/3 เร็วๆ แล้วค่อยๆให้ 2/3 ที่เหลือช้าๆ Coz. ถ้าให้ Bolusapnea -ให้ True effect = พอสอดท่อพอ (Phase 3 plane 2 ) -ออกฤทธิ์เร็ว(เป็นวินาที) แต่สั้น (5-10 นาที ก็ฟื้น) -ผลข้างเคียงน้อย -ยาสลายตัวหลายที ่ ไม่ค่อยสะสม -ชอบอยู่ในไขมัน>สมองสัตว์จะรู้สึกตัวก่อนแม้จะยังกําจัดยาไม่หมด Dose หลัง Xylazine 1 mg/kg ให้ IV 1-2 mg/kg หลัง Acepromazine 0.025 mg/kg ให้ IV 2-3 mg/kg หลัง Diazepam/Midazolam ให้ IV 3-5 mg/kg ถ้าไม่ให้ Premed ให้ IV 4-6 mg/kg ฤทธิ์ เป็นยานอนหลับและระงับปวดได้เล็กน้อย ข้อควรระวัง 1.BP 2.กดการหายใจมาก อาจทําให้ Apnea ได้ถ้า bolus เร็ว 3.HR 4.ห้ามใช้กรณี Bacterimia เพราะยาเป็นอาหารของเชื้อได้ 5.ผ่านรก แต่ผลข้างเคียงต่อลูกน้อย

‘Thiopental’ -ปัจจุบันไม่ค่อยใช้เพราะผลข้างเคียงมาก Dose หลัง Acepromazine 0.03-0.05 mg/kg IM  IV 7-8 mg/kg ถ้าไม่มี premed  IV 8-20 mg/kg


Anes practice

ห น้ า | 28

ฤทธิ์

1.ทําให้สลบได้ 10-20 นาที 2.ระงับปวดน้อย ข้อควรระวัง 1.หัวใจเต้นผิดปกติ,กดการทํางานของหัวใจ บีบตัว,BP 2.กดการหายใจมาก,GI 3.Acidosis 4.Sight hound มีไขมันน้อยThiopental อันตรายต่อพันธุ์นี้มาก 5.ความปลอดภัยต่ํา 6.ผ่านรก  กดการหายใจลูก 7.ถ้าสัตว์มี BUN สูงจะเสริมฤทธิ์ของยา  ต้องลด Dose 8.Blood glucose/Lactic acid/amino acid 9.ลด Glycogen ในตับ  ถ้าให้ Dose สูงตับพัง 10.ลดการขับปัสสาวะ

‘Ketamine’ Dose

[ ] 50 mg/ml

ถ้าใช้กับ Acepromazine 0.2 mg/kg หรือ Xylazine 0.7-1 mg/kg IM  ใช้ 10 mg/kg ถ้าใช้กับ DiazepamหรือMidazolam 0.2 mg/kg IV  ใช้ 5.5 mg/kg ฤทธิ์ 1. สลบ 2. ระงับปวดได้ดีแต่หมดฤทธิ์เร็ว 3. HRBPCO(กระตุ้น Sym) ข้อควรระวัง 1.กด/กระตุ้นสมอง ชักได้ในหมา&ม้า (ใช้ Benzodiazepineแก้) 2.กด resp เล็กน้อย 3.เพิ่มความดันในลูกตา  ระวังในรายบาดเจ็บที่ Cornea 4.น้ําลาย ยังมี reflex ตา,กลืน 5.ความดันในสมอง  ห้ามใช้ในรายที่มีการบาดเจ็บทางสมอง


Anes practice

ห น้ า | 29

6.ผ่านรก

‘Tiletamine(เกร็ง)/Zolazepam(คลาย)’ [ ] 100 หรือ 50 mg/ml Dose

หมา IV/IM 2-8 mg/kg แมว IV/IM 7 mg/kg แต่ถ้าใช้คู่กับ Propofol 1 mg/kg  5 mg/kg ฤทธิ์ 1. สลบ 2. ระงับปวด 3. HRBPCO(กระตุ้น Sym) ข้อควรระวัง 1.ยังมี reflex ตา,กลืน 2.น้ําลาย  ใช้ Atropine แก้ 3.T 4.แมวอาจเป็นบ้าจากฤทธิ์ Tiletamine หลังฤทธิ์ Zolazepam หมด แก้ไขโดยให้ Diazepam ไป *Ketamine & Zoletil ห้ามใช้กับโรคตับ,โรคไต,โรคตา esp. Cornea coz. มี eye reflex*

‘Etomidate’ [ ] 10 mg/ml -เหมาะถ้าเป็นโรคหัวใจ ใช้แทน Propofol -สีนม เกิน 24 ชม.ต้องทิ้ง -ออกฤทธิ์เร็ว,ไม่สะสม -ความปลอดภัยกว้าง Dose IV 0.5-2 mg/kg

Mask induction -ใช้กรณี weak,สอดท่อได้แบบไม่ต้องวางยา


Anes practice

ห น้ า | 30

-ให้ 100% O2 3-5 L ก่อนเพิ่ม Halothane หรือ Isoflurane เป็น 0.5% ทุก 30 วินาที จนถึง 3-4% 5.Maintenance -ต้องสอด Endotracheal tube เสมอ คลํา trachea ดู size ก่อน -ถ้าทางเดินหายใจแคบ เช่น ลูกแมวตัวเล็กๆ ไม่ต้องสอด tube coz. กินที่ -Endotracheal tube  หน้าที่ 1.กันอาหารจากการอ้วกติดทางเดินหายใจ 2.ทําให้ทางเดินหายใจโล่ง  ขนาด  ถ้าเล็กไป  leak  ถ้าใหญ่ไป  กด Cardiovascular system  ให้ Dexamethasone 0.5 mg/kg ถ้าคิดว่าบวม,อักเสบ  สอดอย่าให้ลึกเกิน shoulder ไม่งั้นจะเข้าปอดข้างเดียว ไม่สลบ -Injectable anesthetics ให้ 10-50% ของ Dose Induction เช่น Propofol มีฤทธิ์ 15 นาที, Ketamine 30 นาที -Inhalation anesthetics 1-2% Halothane ปัจจุบันไม่ใช้ coz. มีผลต่อตับและหัวใจ (Fibrillation,arrhythmia) ใช้ 1.5-3% Isoflurane แทน -ให้น้อยที่สุดพอที่ surgeon จะทํางานได้ -อาจเพิ่มเป็น 3-4% ตอนจะฟื้น(เพิ่มเร็วๆ) พอสลบแล้วก็ลดลง -O2 flowrate หมาต้องการ O2 4-6 ml/kg/min -บีบ ambu bag ทุก 5 นาที พอให้ช่องอกพอง (<20 mmHg)


ห น้ า | 31

Anes practice

‘Non-rebreathing system(Bain)’ ใช้กับหมา < 7 kg,แมว O2 flow rate 200 ml/kg/min(เปิดอย่างน้อย 1.5 L) ต้องใช้ O2 flow rate สูงเพื่อไล่ CO2 ออกที่ปากทาง

‘Semiclosed rebreathing system’ F-circuit & circle ‘Circle’

ใช้กับหมา > 7 kg O2 flow rate 22-44 ml/kg/min (อย่างน้อย 1 L) จริงๆนิยม 60 ml/kg/min เผื่อรั่ว มีแรงต้านทานสูง ไม่เหมาะกับสุนัขเล็ก

‘F-circuit’

-Fluid  ใช้ Isotonic crystalloid solution  ให้ Crystalloid 3 ml : เลือดที่เสียไป 1 ml -Rate 10 ml/kg/hr = 3 หยด/kg/นาที =

น้ําหนัก

ลด rate ลงครึ่งนึง -Shock rate หมา 90 ml/kg/hr แมว 44 ml/kg/hr -ถ้า Dehydrate/BP 20-30 ml/kg/hr -ถ้า Protein ต่ํา,anemia  ให้ colloid -ถ้าจะต้องให้เลือด ให้ใช้ Fluid เป็น NSS

(หัว 20 หยด/ml) พอชั่วโมงที่ 2


ห น้ า | 32

Anes practice

‘Monitoring anesthesia’ 1.ไม่มี/มี Palpebral reflex นิดหน่อย 2.ไม่มี Pedal reflex 3.Cornea จมใต้เปลือกตาล่าง ยกเว้น Ketamine 4.ขากรรไกรผ่อน 5.Pink mm. 6.RR หมา : 8-43 bpm แมว : 8-52 bpm สรุป RR >8 ครั้ง/นาที Critical < 8 bpm HR >60 bpm 7.HR หมา : 86-166 bpm MAP >60 mmHg แมว : 112-198 bpm SBP >80 mmHg Critical < 60 bpm 8.Mean BP 80-120 mmHg Critical < 60 mmHg 9.Systolic BP 100-120 mmHg Critical < 80 mmHg 10.ทําให้ร่างกายอบอุ่น coz. ถ้า T  metabolism  ยา Overdose -ถ้า BP เพิ่ม rate น้ําเกลือให้ colloidให้ Dopamine ใน D5W ให้ Adrenaline -กําลังจะฟืน้

}

 ถ้าใช้ NO2 : ต้องให้ O2 5-10 นาทีก่อนเอาท่อออก ป้องกัน Diffusion hypoxia  ถ้าใช้ Halothane & Isoflurane : รอให้ surgeon เย็บ Skin ถึงปิด Gasเปิด แต่ O2 พอทําทุกอย่างเสร็จก็ Flush gas ทิ้ง  เปิด 100% O2 เป็น 4-6 L เอาลมออกจาก Cuff  พอเคี้ยวท่อแล้วถึงดึงออก


ห น้ า | 33

Anes practice  ทําให้ร่างกายอบอุ่น

ตัวอย่างการวางยา 1.ปักกิ่ง 5 ปี 7.5 kg ทํา Salivary mucocele Acepromazine

0.03 mg/kg

Morphine

0.5 mgkg

Propofol

3 mg/kg

ให้ ABO เป็น Marbocyl

น้ําหนัก

Metronidazole

= 0.22 cc = 0.36 cc

}

รวมเข็ม IM

= 2.19 cc

= 0.7 cc

น้ําหนัก

= 7 cc

2.หมาไทย 20.55 kg Midazolam

0.2 mg/kg

= 0.82 cc

Morphine

0.5 mg/kg

= 1.02 cc

Propofol

4 mg/kg

ให้ ABO เป็น Cefa

น้ําหนัก

}

รวมเข็ม IM

= 8.22 cc

= 2 cc

3.ร็อตไวเลอร์ มีประวัติเคยชัก 37.8 kg Acepromazine

0.03 mg/kg

Morphine

0.3 mg/kg

Propofol

3 mg/kg

= 1.134 cc = 1.134 cc = 11.34 cc

}

รวมเข็ม IM


ห น้ า | 34

Anes practice

Round 

ถ้าให้ opioids dose สูงกับแมว กระตุ้นระบบประสาท เพราะฉะนั้นควรให้ dose ต่ําๆ

ถ้าให้โคเคนนกหงษ์หยก  ตาย

ตัวผู้มี metabolism > ตัวเมีย  ตัวผู้ใช้ dose ยา > ตัวเมีย

สัตว์ตัวเล็กมี metabolism > ตัวใหญ่  สัตว์ตัวเล็กใช้ dose ยา > ตัวใหญ่

สัตว์ยังเด็กมี enz. >  สัตว์ยังเด็กใช้ dose ยา > สัตว์แก่

Ketamine เป็นยา induction ที่ช่วยระงับปวดได้ แต่ทําให้กล้ามเนื้อเกร็ง,เช็ค reflex ตายาก

RR  CO2   ขาดตัวกระตุ้น ทําให้ Bradycardia ได้

BP  ร่างกายจะกระตุ้นให้หัวใจบีบตัว  HR ไม่ 

Rate น้ําเกลือขณะผ่าตัด = 10 ml/kg/hr = น น ตัว (หน่วยเป็น วินาที/หยด) ชั่วโมงต่อไป =

ชั่วโมงแรก

เสียงแรกที่ได้ยินจาก Doppler คือ เสียง Systolic

Oscillometer  ใช้หลักการจับความสั่นขณะเกิด systolic p.  จุดที่ไม่ได้สั่น(ไม่ได้ยินเสียง) คือ diastolic 

Cuff ขนาด 40% ของเส้นรอบวงบริเวณที่จะวัด  ถ้ารัด cuff แน่น

อ่านค่า BP ได้ กว่าความเป็นจริง

 ถ้าขนาด cuff กว้างไป

อ่านค่า BP ได้ กว่าความเป็นจริง

 ถ้าขนาด cuff แคบไป

อ่านค่า BP ได้ กว่าความเป็นจริง

 ติด cuff ต่ํากว่าระดับหัวใจอ่านค่า BP ได้ กว่าความเป็นจริง  ติด cuff สูงกว่าระดับหัวใจอ่านค่า BP ได้ กว่าความเป็นจริง 

คุม

ถ้าต้องวางยาสัตว์ป่วย ให้เลือกใช้ Midazolam(แพงกว่า) หรือ Diazepam

Systolic BP ให้ > 80 mmHg Mean arterial blood pressure > 60 mmHg


Anes practice 

มักใช้ Acepromazine คู่กับ Morphine  ใช้ Propofol 2-3 mg/kg

Morphine  ทั่วไปให้ 0.3 mg/kg  

ห น้ า | 35

เจ็บมากให้ 0.5 mg/kg แมวห้ามเกิน 0.2 mg/kg ถ้าให้ 0.5 mg/kg อาจเป็นแมวบ้า ใช้ naloxone

ถ้าเลือกใช้ Xylazine หรือ Metomidine  มันกดทั้ง resp.,CVS,n.  อาจ AV block  หัวใจหยุดเต้น  ต้องมั่นใจว่าแข็งแรงจริงๆถึงเลือกใช้  ใช้ Propofol 2 mg/kg พอ

ปัจจัยความเข้มข้นของยาในลมหายใจเข้า มี 3 effects 1. Concentration effect a. เพิ่มความเข้มข้นของยาจาก vaporizer b. การใช้ FGF สูงๆ c. ผลของ concentration effect และ second gas effect d. ถ้าสามารถทําให้ FA /FI =1 หรือใกล้เคียงได้เร็วก็จะนําสลบได้เร็ว 2. second gas effect a. เกิดเมื่อใช้ N2O ร่วมกับยาดมสลบชนิดอื่น b. N2O ทําให้ความเข้มข้นของยาดมสลบอีกชนิดนั้น สูงขึ้น 3. Ventilation effect a. บีบถุง RR Vent. Gas แพร่ผ่าน alveolar สลบ

“Diffusion Hypoxia”  

หมายถึงภาวะ hypoxia ที่เกิดขึ้นหลังปิด N2O ทั้งนี้เนื่องจาก N2O สามารถละลายได้ ดีกว่า N2 ถึง 34 เท่า N2O ปริมาณมากจากกระแสเลือดเข้าไปในถุงลมปอด ผูป้ ่วยหายใจเอาอากาศปกติ เข้าสู่ปอด  ทําให้ความเข้มข้นของ O2 ในถุงลมปอด


ห น้ า | 36

Anes practice  

ทําให้ CO2 ในถุงลมและในเลือดต่ํา ซึ่งCO2 เป็นตัวกระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ผู้ป่วยไม่หายใจ มักเกิด 5-10 นาทีหลังหยุดให้ N2O

ป้องกันด้วยการให้ 100% O2 5-10 นาทีทุกครั้งที่หยุดให้ N2O

เติม Propofol ได้อีก 50% ของ dose แรกที่ใช้ไป

ถ้าตอนสอดท่อเกรงว่าอาจเกิด tracheitis  ให้ Dexamethazone 1 mg/kg IV หรือ IM ตั้งแต่หลังสอดท่อเลย

ตัวที่ขูดหินปูน ดุดลมจาก cuff 50 % พอ ตอนดึงจะได้เอาเสมหะออกมาด้วย

แมว Laryngospasm ง่าย ไม่จําเป็นต้องรอฟื้นดีก็ดึง Endotracheal tube ออกได้

น้าํ ท่วมปอด  อาการ  HR 

 น้ํามูกไหล  RR วิธแี ก้ 1. ลด rate น้ําเกลือ 2. ดม O2 ตลอด แม้ฟื้นก็ยังให้ดมต่อ 3. สวนฉี่ ให้ยาขับน้ํา 4. ให้ความอบอุ่น

Pulse oxymetry  วัดค่า Hb ที่มี O2 จับอยู่  

 Crackle lung sound

คุมให้ 95% ขึ้นไปเสมอ ถ้า anemia ควรคุมให้ได้ 98-100% เลย

 Vascular resistant ขึ้นอยู่กับ 1. ขนาดของเส้นเลือด 2. ความหนืด


ห น้ า | 37

Anes practice

 Plasmax ทําให้เลือดข้นขึ้น หนืดขึ้น Vascular resistant และยังเพิ่ม volume ด้วย ทําให้ BP  Colloid ต้องให้ร่วมกับ crystalloid เพื่อลดความเสี่ยงต่อการระคายเคืองจนเกิด phlebitis  Tramadol IM ควรให้ก่อนผ่าครึ่งชั่วโมง  NSAIDS ลดการเกาะกลุ่มกันของ platelet ทําให้เลือดแข็งตัวช้า มักงดก่อนผ่า 2-3 วัน ยกเว้น Rimadyl (ยับยั้ง COX2 > COX1) 

หากเปิด gas สูงแล้วยังสลบไม่ดี อาจเกิดจาก 1. สอดท่อไม่เข้า 2. RR ต่ํา (RR  gas เข้าปอดน้อยได้รับยาสลบน้อย) 3. Gas รั่ว a. ต่อวงจรไม่ครบ c. Tube เล็กไป b. ท่อหลุด d. อัด cuff ไม่แน่น 4. สอด tube ลึกไป(ถ้าสอดลึกมันเข้าปอดข้างเดียว ให้สอดถึง thoracic inlet พอ) 5. คอหรือท่อพับ

Brachial N. block ฉีดได้ 5-10 cc หมาตัวใหญ่ อาจ 12-15 cc

Epidural n. block      

ใช้ Lidocaine หรือ Bupivacaine 1 mL/5kg Morphine 0.1 mg/kg ถ้าจะให้ Lidocaine + Morphine ก็ต้องรวมกันให้ได้ 1mL/5kg ถ้าหยดเร็วไป ยาไปข้างหน้า(ไปทางหัว)มากไป ถ้าหมาท่าหัวต่ํา ยาไปข้างหน้ามากไป ถ้าให้มากไป Block sympathetic n. ที่ออกจาก T5 ถ้าไม่ได้ผล

แก้โดย ให้ adrenaline 1 : 1000

1cc/10kg  1cc/5kg

 Acetate เข้า Krebs cycle ได้เลย แต่ Lactate ต้องไปเปลี่ยนเป็น Acetate ที่ตับก่อน หมาโรคตับจึงไม่ควรใช้ LRS  ถ้าทํา myelogram


Anes practice

ห น้ า | 38

ฉีดสี  P

 

จะใช้ diazepam เพราะช่วยเพิ่ม treshold  ทําให้ชักยากขึ้น ถ้าใช้ Acepromazine จะลด threshold ชักง่ายขึ้น เพราะฉะนั้นห้ามใช้

 ถ้า HR < 70 bpm  ให้ Atropine เลย dose 0.02-0.04 mg/kg IV  Ephredine เป็น sympathomimetic amine  ถ้าให้ Xylazine  ควรให้ Atropine ก่อนซัก 15 นาที  

ถ้าไม่ให้ Atropine  ผลข้างเคียง คือ HRBPอ้วก ใช้ Propofol 2 mg/kg

ถ้าให้ diazepam  ใช้ Propofol 3-5 mg/kg

Ketamine 10 mg/kg เติมได้ทีละ 50% ของ dose แรก

Propofol เติมได้ทีละ 10% ของ dose แรก

Thiopental เติมได้ทีละ 10-50% ของ dose แรก  มีฤทธิ์แค่ 10-15 นาที เติมไปแล้วครั้งต่อไปรอ 10 นาที ถึงค่อยๆเติมอีก

Drip Propofol เพื่อกดประสาททั้งหมด โดย Nembutal กดมากสุด

Respiratory acidosis พอวางยาสลบ ให้ O2 เดี๋ยวก็หายเอง

Metabolic acidosis ถ้า HCO-3 22-26 อยู่(ค่าปกติ=21)  ยังผ่าได้ HCO3- need = (18-ค่าที่อ่านได้) X B.W. X 0.3

ถ้าเป็นโรคไต ใช้ Fentanyl ดีที่สุด(แต่ฤทธิ์แค่ 20 นาที)

ถ้าเป็นโรคหัวใจ,ตับ,ไต เลือก Diazepam หรือ Midazolam

สรุป ถ้าโรคหัวใจ,ตับ,ไต ใช้ Fentanyl + Diazepam หรือ Midazolam

Xylazine ทําให้ m. relax และ แก้ปวด ถ้าใช้ Xylazine ก็ลด dose Morphine ได้

Acepromazine,Midazolam,Diazepam จะกดประสาทส่วนกลาง  แก้ปวดทางอ้อมได้


ห น้ า | 39

Anes practice 

บางครั้งจะให้ Fentanyl ด้วยการ Drip

Ketamine ระงับปวดได้

Lidocaine   

ถ้าให้มากๆ  หัวใจหยุดเต้น ใช้ลด HR ที่สูงไป เช่น HR > 300 bpm ซึ่งอาจเกิด Fibrillation ใช้ Dose 1 cc/10 kg

ถ้าสัตว์ซึมๆ คุมอยู่ อาจให้ Acepromazine IV + Morphine IM ได้

Nitrous oxide  ใช้ coz.  1.analgesia  2.ประหยัด Isoflurane  ทําให้ Side effectของIsoflurane   ห้ามใช้กรณีมี Gas ในร่างกาย เช่น Gastric dilatation,pneumothorax coz. เวลา หายใจเอา N2Oเข้าไป  N2O เข้า CVS  เกิดการแลกเปลี่ยนระหว่างเลือดกับ Gas ในช่องว่าง  Gas ในช่องว่างขยายตัว  ดันกะบังลม,รบกวนการเต้นของหัวใจ,กด ปอด(BP),Caudal vena cavaถูกกดVenous returnCardiac output BP N2 ไปเส้นเลือดน้อย N2O เข้าช่องว่างมาก

เส้นเลือด

ช่องว่าง

ถ้า Gastric dilatation แล้ว N2Oเข้าไป จะทําให้เกิด o Tissue ischemia o Vagal reflex  HR แก้โดยให้ Atropine หรือ สอดท่อ

N2O ต้อง Semi-close เท่านั้น coz. ความดันสูง ต้องเปิด Pop of valve


ห น้ า | 40

Anes practice  

N2O มักทําให้เกิด Diffusion hypoxia (O2 < 14%)

Zoletil 

[ ] = 5 mg/kg

ในแมว   

 ใช้Zoletil 5 mg/kg  ใช้Zoletil 7 mg/kg

ถ้าให้กับ Propofol 1 mg/kg ถ้าให้ Zoletil อย่างเดียว

วางยาแมว  Ketamine 10 mg/kg + Diazepam 0.2 mg/kg หรือ Midazolam

Dopamine  เพิ่ม Renal blood flow,Brain blood flow 

แต่ถ้ามีเลือดน้อย  BP

ผสมใน NSS หรือ D5W ศัลย์ใช้ dose 4 g/kg D = dose ยา( g/kg/min)

= mg ยาที่ใช้

V = Volume น้ําเกลือ(ml) R = maintenance rate(ml/hr)

MAC 1. = [ ] ยาที่ 1 atm ในถุงลมที่ทําให้สัตว์ 50% ไม่ตอบสนองต่อ Pain 2. MAC  = Potency = ความปลอดภัย  3. Induction = 3-5 X MAC 4. Maintain = 1-2 X MAC

ปัจจัยทําให้สลบเร็วหรือช้า 1. Ventilation effect 2. Concentration effect 3. Second gas effect


ห น้ า | 41

Anes practice 4. 5. 6. 7. 8. 

การสอดท่อ คุณสมบัติยาดมสลบ Cardiac output ระบบ และ วิธีใช้เครื่อง ความสมดุลระหว่างการระบายลมหายใจ และ ปริมาณเลือดที่ถุงลมปอด

ความผิดปกติทตี่ อ้ งแก้กอ่ นวางยา 1. Dehydrate รุนแรง 2. Anemia

3. 4. 5. 6.

 TP <3.5  PCV <20 สมดุลกรด-ด่าง/Elecrolyte ผิดปกติ  pH <7.2 โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ Cyanotic mm. Oliguria หรือ ไม่มีปัสสาวะเลย

Albumin <1.5

K <2.5-3 หรือ >6

 เครื่อง Ventilator ปกติตั้งไว้ < 20 cmH2O เป็แรงดันที่เกิดจากเมื่อหายใจจนปอดขยายชนผนัง อกแล้วจะมีแรงดันออกไปเครื่อง Ventilator  ช่วยหายใจ ให้อัตราส่วนหายใจเข้า:ออก = 1:3 หรือ 1:2 อย่าให้หายใจเข้านานไปเพราะจะทําให้ กดหลอดเลือดปอดvenous return  กระตุ้นการหายใจช่วงแรกอย่าเพิ่งบีบถุงให้กระตุ้นลิ้นหรือตบที่ซี่โครงถ้าไม่หายใจ>1นาทีถึงบีบถุง  บีบ ambu bag ช่วงหลัง ≤ 4 ครั้ง/นาที  CO2 กระตุ้นการหายใจได้เอง  ถุง  Bain = Ambu bag  Rebreathing = Rebreathing bag  ถุงบีบเพื่อช่วยหายใจโดยเฉพาะ = Ambule bag

 ถ้าเป็นโรคตับหรือกล้ามเนื้อฝ่อลีบ ควรให้ Acetar ดีกว่า LRS


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.