THE ART OF
Work & Written by
Mana Dkk Edit by Saji Masaya
MANA DKK FB page : MANA DKK Tumblr : Mana_dkk manadkk@gmail.com (+66)902651619
Illustrator Designer Dreamer
Work and Written by
MANA DKK Edit by Saji Masaya
CONTENT 04 06 06 21 26 28 28 30 32 34 36 38
INTRODUCTION CHARACTER DESIGN มะเมี๊ยะ เจ้าน้อย STORYBOARD PLACE ตลาดเซจี มะละแหม่ง เจดีย์ ไจ๊ตะหลั่น เมืองเชียงใหม่ ประตูหายยา บทสรุป
“
มะเมี๊ยะ เป๋นสาวแม่ก้า คนพม่า เมืองมะละแมง งามล�้ำ เหมือนเดือนส่องแสง คนมาแย่ง หลงฮัก สาว. มะเมี๊ยะ บ่ยอมฮักไผ มอบใจ๋ ฮื้อหนุ่มเจื้อเจ้า. เป๋นลูก อุปราชท้าว เจียงใหม่. แต่เมื่อ เจ้าชาย จบก๋าน ศึกษา จ�๋ำต้อง ลาจาก มะเมี๊ยะไป. เหมือนโดน มีดสับ ดาบฟัน หัวใจ๋ ปลอมเป๋น ป้อจาย หนีตามมา. เจ้าชายเป๋นราชบุตรแต่สุด ตี้ฮักเป๋นพม่า ผิดประเพณี สืบมาต้องร้างลา แยกทาง. ก็เมื่อวันนั้นวันตี้ต้อง ส่งคืนบ้านนาง เจ้าชาย ก็จัดขบวนช้างไปส่งนาง คืน ทั้งน�้ำตา. มะเมี๊ยะ ตรอมใจ๋อาลัย ขื่นขม ถวายบังคมทูลลา. สยาย ผมลง เจ๊ดบาท บาทา ขอลา ไปก่อน แล้วจ้าดนี้. .เจ้าชายก็ตรอมใจ๋ตาย มะเมี๊ยะเลยไปบวชชี
ขับร้อง จรัญ มโนเพ็ชร
”
INTRODUCTION The tales based on true story มะเมี๊ยะ เรื่องราวความรักของมะเมี๊ยะที่น�ำมาเสนอใหม่ ในมุม มองของผู้เขียน เป็นเรื่องราวของ หญิงสาวชาวพม่า กับ เจ้า อุตรการโกศล ศุขเกษม ณ เชียงใหม่ หรือที่รู้จักกันในนามเจ้า น้อยแห่งเมืองเชียงใหม่ ความรักของทั้งคู่ เกิดขึ้นครั้นเมื่อเจ้า น้อยถูกส่งตัวมาเรียนที่เมืองพม่า ที่นั่นเจ้าน้อยได้พบกับมะเมี๊ ยะ แม่ค้าขายบุหรี่ ในตลาดแห่งเมืองมะละแหม่ง ทั้งคู่ตกหลุม รักกันตั้งแต่แรกพบ แต่ด้วยฐานะและเชื้อชาติที่ ไม่คู่ควรท�ำให้ ความรักของมะเมี๊ยะกับเจ้าน้อยไม่ ได้รับการยอมรับ ท�ำให้ทั้ง คู่ต้องพลัดพรากจากกันไป ตัวละครหลักในเรื่องมีอยู่สองคนนั้นคือ มะเมี๊ยะและ เจ้าน้อย ผู้เขียนได้ท�ำการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับตัวละครทั้งคู่ มาเป็นอย่างดีและตัดสินใจจะคงเอกลักษณ์ของตัวละครทั้งคู่ เอาไว้ โดยไม่เปลี่ยนแปลงอะไร 66
“มะเมี๊ยะ เป๋นสาวแม่ก้า
คนพม่า เมืองมะละแมง งามล�้ำ เหมือนเดือนส่องแสง คนมาแย่ง หลงฮักสาว.
”
77
88
รูปสเก็ตมะเมี๊ยะทั้งหมดในกระดาษ ด้วยหมึกและดินสอ
มะเมี ย ๊ ะ หญิงสาวผู้ ได้รบั การกล่าวขานว่า
เป็นสาวงามที่สุดในมะละแหม่ง
มะเมี๊ยะเป็นแม่ค้าขายบุหรี่อยู่ที่ตลาด ไม่เคยคิดผูก สัมพันธ์กับใคร แต่มะเมี๊ยะกลับตกหลุมรักเจ้าน้อย บุตรชาย ของอุปราชเชียงใหม่ตงั้ แต่ครัน้ แรกพบ แม้จะไม่สมหวังในความ รัก แต่มะเมีย๊ ะก็เป็นหญิงสาวผูซ้ อื่ สัตย์กบั ความรักของตนมาก เมื่อรักใครคนหนึ่งแล้วก็เธอจะรักไปตราบสิ้นลมหายใจ
รูปจากอินเตอร์เน็ตจ�ำลองภาพมะเมี๊ยะที่กล่าวว่าใกล้เคียงตัวจริงมากที่สุด
99
ชาวพม่าจะมองว่าเรือนผมมีสว่ นช่วยให้ผหู้ ญิงมีความ งามได้มากกว่ากายส่วนอืน่ เหตุนหี้ ญิงสาวพม่าจึงต้องหมัน่ ดูแล เรือนผมของตนเป็นอย่างดี ผูห้ ญิงพม่าจะมีวธิ มี นุ่ มวยผมหลาย รูปแบบให้ดเู หมาะกับใบหน้าและบุคลิก เพราะหากไว้ทรงผมที่ไม่ เหมาะกับตนแล้ว อาจท�ำให้หมดงาม ดังค�ำกล่าวว่า “หญิงนั้น แม้งามด้วยกาย ก็อาจหมดรูป ได้เพราะมวยผม” ผู้หญิงพม่า จึงต้องดูแลรักษาเส้นผมเป็นอย่างดีและถือเป็นของสูง เอกลักษณ์อกี อย่างหนึง่ ของหญิงสาวชาวพม่าคือการทา ทานาคาไว้บนผิวหน้า นอกจากเป็นเครือ่ งประทินผิวทีส่ ามารถ สร้างลวดลายบนใบหน้าได้แล้ว อีกหนึ่งสาเหตุที่หญิงสาวชาว พม่านิยมที่จะทา ทานาคาคือคุณสมบัติที่จะช่วยลดความมัน บนใบหน้าและป้องกันแสงแดด ด้วยความที่พม่าเป็นประเทศ เมืองร้อนนั้นเอง
1010
ออกแบบทรงผมที่นิยมในพม่าในสมัยนั้น
11 11
เนือ่ งจากสาวพม่านิยมไว้ผมยาว ทัง้ ยาวประไหล่ ยาวคลุมก้น และมีบางคนไว้ยาวถึงข้อเท้า ด้วยเหตุนี้ การเกล้าผมมวยจึงเป็นสิง่ จ�ำเป็น และการทัดดอกไม้ ก็กลายเป็นธรรมเนียมของผู้หญิงพม่าไปด้วย ดอกไม้ที่นิยมมีหลายชนิด ทั้งที่มีกลิ่นหอม เช่น มะลิ และที่มีสีสันสวยงาม เช่น กุหลาบ ส่วนดอกไม้ต้องห้ามและ ไม่น�ำมาแซมผม คือ ดอกชบา ด้วยถือว่าเป็นดอกไม้ส�ำหรับทัดหูให้กับผู้ตายเท่านั้น
1212
13 13
เครือ่ งแต่งกายของมะเมีย๊ ะคือการแต่งกายตามรูปแบบ หญิงสาวชาวพม่าทั่วไปในยุคโคโลเนียน มีเอกลักษณ์ที่เด่นชัด คือ ท่อนบนประกอบไปด้วย ยินซีหรือเสื้อกระดุมข้างและผ้า คลุมไหล่หนึง่ ผืน ส่วนท่อนล่างในสมัยนัน้ นิยมใส่ลองจีหรือโสร่ง ทีค่ นไทยรูจ้ กั ลองจีของผูห้ ญิงจะต่างกับผูช้ ายตรงทีจ่ ะมีเชิงอยู่ บริเวณด้านล่างและมีลวดลายกระจายตัวอยู่ทั่วผืนผ้า ลายที่ นิยมนั้นคือลายคลื่นใหญ่และลายดอกไม้ 1414
ออกแบบลายกราฟฟิก ตัดทอนจากลายคลื่นใหญ่
15 15
ออกแบบลายกราฟฟิก ตัดทอนจากลายดอกไม้ของพม่า มีลักษณะเป็นแฉก
1616
พัฒนาตัวละครขั้นสุดท้าย ใส่ลายผ้าทั้งหมดและน�ำมาทดสอบการแสดงสีหน้า
17 17
ชายพม่านั้นเครื่องแต่งกาย นุ่งโสร่งเช่นเดียวกับหญิง แต่สี ไม่ฉูดฉาด เป็นลายตาราง โตบ้าง เล็กบ้าง หรือเป็นลาย ทางยาวบ้าง โดยทัว่ ไปใส่เสือ้ ขาว เมือ่ มีพธิ จี ะสวมเสือ้ คล้ายเสือ้ จีนแขนยาว ถึงข้อมือ แบบหนึ่ง เรียกว่า “กุยตั๋ง” เป็นเสื้อชาย สั้น ๆ ติดดุมถักแบบจีนป้ายมาข้าง ๆ อีกแบบเรียกว่า “กุยเฮง” ตัวยาวถึงสะโพก และติดกระดุมตั้งแต่คอตรงมาจดชายเสื้อใช้ สีสุภาพ เช่น ขาวด�ำ หรือ นวล ถ้าอากาศหนาวจะสวมเสื้อกัก ทอสักหลาดทับอีกชิน้ หนึง่ จะสวมรองเท้าหุม้ ส้นเมือ่ มีพธิ ี ผม ตัดผมสัน้ ไม่นยิ มสวมหมวก หรือโพกศีรษะตามประเพณีเดิม เมือ่ มีพธิ จี ะมีผา้ หรือ แพรโพกศีรษะท�ำเป็นกระจุกปล่อยชายทิง้ ไว้ทางด้านขวา นิยมใช้สีชมพู เนื่องจากมะเมี๊ยะจ�ำต้องปลอมเป็นชายเพื่อกลับเมือง เชียงใหม่กับเจ้าน้อย จึงต้องมีช่วงเวลาที่ ใส่ชุดชายพม่าด้วย 1818
ออกแบบลายกราฟฟิก ตัดทอนจากลายตารางต่างๆผ้าส�ำหรับผู้ชาย
19 19
2020
ภาพดี ไซน์ตัวละครส�ำเร็จ จากมะเมี๊ยะทั้งสามช่วงเวลาในเรื่อง คือตอนปกติ ตอนปลอมเป็นชาย และตอนบวชชี
21 21
ภาพร่างทั้งหมดของตัวละครเจ้าน้อย โดยใช้เทคนิคดินสอและหมึก
2222
เจ้ า น้ อ ย เจ้าชายรูปงามจากเชียงใหม่ เจ้าอุตรการโกศล ศุขเกษม ณ เชียงใหม่ หรือ เจ้าน้อย บุตรชายคนที่สามของอุปราชเชียงใหม่ ถูกส่งตัวมาเรียนภาษา อังกฤษทีเ่ มืองพม่า มีความรักที่ไม่สมหวังกับมะเมีย๊ ะหญิงสาว ผู้เป็นดั่งชาติศัตรูในสายตาของบิดามารดา สาเหตุมาจากตัวเจ้าน้อยเองที่ เมื่อถึงเวลาที่เจ้าน้อย จ�ำเป็นต้องเลือกระหว่าง เชือ้ ชาติ กับ ความรัก เจ้าน้อยได้เลือก เชื้อชาติมากกว่าความรักของตนเอง
23 23
ภาพดี ไซน์ทรงผมส�ำหรับตัวละครเจ้าน้อย
2424
25 25
2626
ภาพดี ไซน์ตัวละครส�ำเร็จ และสีหน้าอารมณ์ ของตัวละครเจ้าน้อย
เนือ่ งจากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ นี้ อยู๋ ในช่วงยุคสมัยรัชกาลที่ 5 ตอนกลางถึงตอนปลาย การแต่งกายของตัวละครเจ้าน้อย จึง จะนุง่ กางเกงแบบฝรัง่ แทนโจงกระเบน สวมหมวกกะโล่ ข้าราชการ จะแต่งเครื่องแบบเหมือนอารยประเทศ (แบบพระราชก�ำหนด) หรือ ผูช้ ายยังคงนุง่ ผ้าม่วงโจงกระเบน สวมเสือ้ ราชประแตน แต่ เริ่มมีการนุ่งกางเกงแบบชาวตะวันตกในภายหลัง แต่ประชาชน ธรรมดาจะนุง่ กางเกงผ้าแพรของจีน สวมเสือ้ คอกลมสีขาว (ผ้า บาง) แม้จะศึกษาในเมืองมะละแหม่งในประเทศพม่า เจ้าน้อย ก็ยังคงแต่งกายคงเอกลักษณ์เช่นเดิม
27 27
STORYBOARD ภาพร่างสตอรี่บอร์ดทั้งหมด โดยได้รับความช่วยเหลือจากเกอ
2828
น�ำสตอรี่บอร์ดที่ร่างไปลงสี เพื่อดู mood and tone โดยรวมและดู color board 29 29
3030
31 31
32
ตลาดเซจี
ตลาดเซจี เป็นตลาดสดที่ชาวมะละแหม่งมาจับจ่าย ใช้สอยกัน ตลาดเซจี และ ตลาดเมี๊ยตยาดานา สถานที่แห่งนี้ เมือ่ อดีตเป็นตลาดทีเ่ จ้าน้อยศุขเกษมได้พบกับมะเมีย๊ ะแม่คา้ มวน บุหรีข่ าย แล้วก็เกิดตกหลุมรัก ปัจจุบนั นี้ ตลาดเซจีคอื ตลาดสด ที่มีของขายทุกอย่าง ผลไม้ อาหารการกิน ดอกไม้ ของกินของ ใช้อื่นๆ อีกมากมาย ที่คนมะละแหม่งมาเดินจับจ่ายใช้สอยกัน ส่วนตลาดเมีย๊ ะยาดานา เป็นตลาดเหมือนห้างของคนมะละแห ม่งแต่ ไม่ ได้ติดแอร์ ภายในตลาดมีสินค้าอุป โภค-บริโภคขาย มากมาย คนมะละแหม่งมาเดินซื้อของกันอย่างคึกคัก และที่ นี่ยังมีสินค้ายอดนิยมของชาวพม่าอย่าง ชานม แป้งทานาคา โสร่ง ผ้าถุงแบบพม่าให้นักท่องเที่ยวได้เลือกซื้อหากัน
33
มะละแหม่ง
เมื่ออดีตมะละแหม่งถูกอังกฤษยึดครองเป็นเมืองขึ้น ท�ำให้มีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก เนื่องจากถูกใช้เป็น เมืองท่าในการเชื่อมต่อกับเมืองมะริด ทวาย ตะนาวศรี เพื่อใช้ ในการขนส่งทางเรือ และเป็นจุดยุทธศาสตร์ ในการขนส่งสินค้า และก�ำลังทหารไปสูย่ า่ งกุง้ ได้งา่ ย และสามารถเดินเรือเข้าแม่นำ�้ อิรวดีเพื่อไปกลางประเทศพม่าได้สะดวกกว่าทางบก และจาก การที่มะละแหม่งตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษได้รับอิทธิพลและ อารยธรรมแบบอังกฤษมา ท�ำให้ทุกวันนี้มะละแหม่งเป็นเมือง ทีม่ เี สน่หอ์ นั น่าหลงใหล ยังคงมีสถาปัตยกรรมสไตล์โคโลเนียล ให้ ได้ยล ผ่านจากสภาพบ้านเรือน โบสถ์คริสต์ศาสนา สถานที่ ราชการและโรงเรียนต่างๆ และยังมีวดั วาอาราม เจดียแ์ บบพม่า อันสวยงามให้ ได้ชมกันทั่วเมือง
34
35
เจดีย์ไจ๊ตะหลั่น
เป็นเจดียศ์ กั ดิส์ ทิ ธิส์ ที ององค์ ใหญ่ตงั้ เด่นเป็นสง่าอยูบ่ น เนินเขา สามารถมองเห็นได้เด่นชัดจากทุกหนทุกแห่งในตัวเมือง มะละแหม่ง เป็นดั่งสัญลักษณ์ของเมืองมะละแหม่งแห่งนี้ และ ที่นี่เป็นสถานที่ท่ีเจ้าน้อยศุขเกษมและมะเมี๊ยะได้มาสาบานรัก กัน ด้านบนเจดีย์ ไจ๊ตะหลัน่ มีพระพุทธรูปให้ ได้กราบไหว้ขอพร ด้านข้างองค์พระเจดีย์ ยังมีพระวิหหารซึ่งด้านในมีพระพุทธรูป ให้ ได้กราบไหว้ขอพร และด้านบนลานเจดียย์ งั ถือว่าเป็นจุดชมวิว เมืองมะละแหม่งแบบ 360 องศาที่สวยงาม สามารถมองเห็น ทัศนียภาพของเมืองมะละแหม่งที่ดูเงียบสงบงาม
36
37
38
เชียงใหม่
เมื่อเจ้าน้อยฯ อายุครบ 20 ปี และมีก�ำหนดต้องเดิน ทางกลับเชียงใหม่ มะเมียะก็ ได้ปลอมตัวเป็นชายติดตามขบวน เพื่อกลับไปยังเมืองเชียงใหม่ ในฐานะเพื่อนหนุ่มชาวพม่า ตาม ความต้องการของเจ้าน้อยฯ โดยทั้งสองไม่รู้เลยว่าเจ้าพ่อและ เจ้าแม่ของเจ้าน้อยฯ ได้หมั้นหมายเจ้าหญิงบัวนวลให้เจ้าน้อยฯ ไว้แล้ว 39
ประตูหายยา
เช้าวันหนึ่งของเดือนเมษายน นับเป็นวันเดินทางกลับ เมืองมะละแหม่งของมะเมียะ อันจะกลายเป็นการจากลาชั่วนิ รันดร์ ณ ประตูหายยาที่เนืองแน่นไปด้วยประชาชนที่ ใคร่เห็น โฉมหน้าของมะเมียะ ทีล่ อื กันว่างามนักงามหนา บรรยากาศเต็ม ไปด้วยความหดหู่และเศร้าหมอง เมื่อเจ้าน้อยฯ พูดภาษาพม่า กับมะเมียะได้เพียงไม่กคี่ ำ � นางผูม้ ีใจรักมัน่ ได้รำ�่ ไห้ดว้ ยความอัด อัน้ ตันใจ ในอ้อมแขนทีย่ ากจะแยกจากกันได้ เวลานัน้ ก็ลว่ งเลย ไปมากแล้ว เจ้าน้อยฯ ได้รบั ปากกับมะเมียะว่าตนจะยึดมัน่ ในค�ำ ปฏิญาณที่ ให้ ไว้ตอ่ หน้าพระพุทธรูปวัดใจ้ตะหลัน่ จนกว่าชีวติ จะ หาไม่ หากท่านนอกใจมะเมียะโดยสมรสกับหญิงอืน่ ขอให้ชวี ติ ของตนประสบแต่ความทุกข์ทรมานใจ แม้แต่อายุกจ็ ะไม่ยนื ยาว เจ้าน้อยฯ ได้ ให้คำ� มัน่ สัญญาว่าภายในเดือนจะกลับไปหามะเมีย ะให้จงได้ นางจึงคุกเข่าลงกับพืน้ ก้มหน้า สยายผมออกเช็ดเท้า เจ้าน้อยฯ ด้วยความอาลัยหา ก่อนที่เธอจะขึ้นไปบนกูบช้าง
40
41
42
บทสรุป
เมือ่ กลับไปถึงเมืองมะละแหม่งแล้ว มะเมียะได้มอบเงิน ทองจ�ำนวนหนึ่งซึ่งเจ้าแก้วนวรัฐและแม่เจ้าจามรีมหาเทวี มอบ ให้นางก่อนเดินทางกลับเป็นการปลอบขวัญแก่พ่อแม่และน้อง จากนั้นนางได้แต่เฝ้ารอคอยเจ้าน้อยฯ จนครบก�ำหนดเดือนที่ ท่านได้รบั ปากไว้ แต่กลับไร้วแี่ ววใดๆ มะเมียะจึงตัดสินใจเข้าพึง่ ใต้รม่ พุทธจักร ครองตนเป็นแม่ชเี พือ่ แสดงความบริสทุ ธิว์ า่ นาง ยังซื่อสัตย์ ต่อความรักที่มีต่อเจ้าน้อยศุขเกษม แต่เจ้าน้อยศุขเกษมผูย้ ดึ สุราเป็นทีพ่ งึ่ ดับความกลัดกลุม้ อันเกิดจากความรักอาลัยในตัวมะเมียะ ชีวติ ที่ไม่เคยมีความสุข ในชีวติ สมรส ท่านไม่สามารถหักห้ามความสงสารทีม่ ตี อ่ มะเมีย ะได้ จึงตรอมใจตายในเวลาสามปีถัดมา
43
Special Thank
Mr. Thanatorn J , Mr. Watanapun K Saji M , Tonlew , Irean S , Tantawan , Tonnam , Nutcha , Kia B , Aom T , Miew8 , Grace PK , Tong P , Ing55 , p’Ferrari D , p’Peace X , Ger , Pep , Pleng , NW , including everyone I didn’t mention and especially my Super Mum :)