maneekarn-arti3314-101-final project-guhto corn

Page 1

รายงาน โครงการ….Gusto Corn วิชา…..การออกแบบกราฟิ กบนบรรจุภณ ั ฑ์ ARTI3314 เรื่อง…..ข้าวโพด (Sweet Corn) ส่ ง อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร จัดทาโดย ชื่อ มณี กานต์ นามสกุล ทองชุม รหัส….5213000523 ภาคเรียนที่ 1/54 กลุ่ม 101 เอก…ศิลปกรรม แขนง…..ออกแบบนิเทศศิลป์

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม



คานา

รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชา การออกแบบกราฟิ กบนบรรจุภณ ั ฑ์ ARTI3314 และยัง เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาค้ นคว้ าในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ของข้ าวโพด (Sweet Corn) ซึง่ เป็ น โครงการของจังหวัดกาญจนบุรี หากข้ อมูลในรายงานเล่มนี ้เกิดความผิดพลาดประการใดขออภัย ณ ที่นี ้ด้ วยค่ะ

(………………………) จัดทาโดย นางสาว มณีกานต์ ทองชุม


สารบัญ

เรื่อง

หน้ า

เทคนิคการปลูกข้ าวโพดหวาน

1

ประวิติความเป็ นมาของข้ าวโพด

2

วัสดุอปุ กรณ์และวิธีการทาข้ าวโพดกวน

3

ฉลากสินค้ า

4

LOGO

5

Mood-Board

6

Sketch Up

7

Sketch Model

8

อ้ างอิง

9


เทคนิคการปลูกข้ าวโพดหวาน ให้ ได้ ผลผลิตสูงและคุณภาพฝั กสดดี นายไพศาล หิรัญมาศสุวรรณ นักปรับปรุ งพันธุ์พืช ...................................... ::: พันธุ์ข้าวโพดหวาน พันธุ์ข้าวโพดหวานที่ใช้ ปลูกควรเป็ นข้ าวโพดหวานลูกผสม ในตลาดมีหลายพันธุ์ผลิตจากหลาย บริษัทให้ เลือก แต่พนั ธุ์ที่แนะนาคือพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม ไฮ-บริกซ์ 10 และ ไฮ-บริกซ์ 3 ทัง้ สองพันธุ์เป็ นพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมที่ผลิตโดย บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จากัด ซึง่ สามารถให้ ผลผลิตสูง มีขนาดฝั กใหญ่เป็ นที่ต้องการของตลาด คุณภาพฝั กสดดีมาก รสชาติดี กลิน่ หอม นอกจากนี ้ยังสามารถปลูกได้ ในทุกสภาพแวดล้ อมในประเทศไทย เพราะเป็ นพันธุ์ที่ปรับปรุงขึ ้นโดย ใช้ เชื ้อพันธุกรรมที่มีในประเทศ ทาให้ สามารถปรับตัวได้ อย่างกว้ างขวาง ::: การเตรียมดิน การเตรี ยมดินถือเป็ นหัวใจของการปลูกข้ าวโพดหวานให้ ได้ ผลผลิตสูง เพราะถ้ าดินมีสภาพดี เหมาะกับการงอกของเมล็ดจะทาให้ มีจานวนต้ นต่อไร่สงู ผลผลิตต่อไร่ก็จะสูงตามไปด้ วยการ เตรี ยมดินที่ดคี วรมีการไถดะและทิ ้งตากดินไว้ 3-5 วัน จากนันจึ ้ งไถแปรเพื่อย่อยดินให้ แตกละเอียด ไม่เป็ นก้ อนใหญ่เหมาะกับการงอกของเมล็ด ควรมีการหว่านปุ๋ยคอกเช่นปุ๋ยขี ้ไก่เป็ นต้ น อัตรา ประมาณ 1 ตันต่อไร่ก่อนการไถแปร เพื่อเป็ นการปรับปรุงโครงสร้ างของดินให้ ดีขึ ้นสามารถอุ้มน ้า ได้ นานขึ ้น และยังเป็ นการเพิ่มธาตุอาหารให้ กบั ข้ าวโพดหวาน ::: การปลูก ควรปลูกเป็ นแถวเป็ นแนวซึง่ สามารถปลูกได้ สองวิธี คือ การปลูกแบบแถวเดี่ยว ระยะระหว่างแถว 75 เซนติเมตร ระยะระหว่างต้ น 25-30 เซนติเมตร ปลูก หลุมละ 1 ต้ น จานวนต้ นต่อไร่ประมาณ 7,000-8,500 ต้ น จะใช้ เมล็ดประมาณ 1.0-1.5 กิโลกรัมต่อ ไร่


การปลูกแบบแถวคู่ มีการยกร่องสูง ระยะระหว่างร่อง 120 เซนติเมตร ปลูกเป็ นสองแถวข้ างร่อง ระยะห่างกัน 30 เซนติเมตร ระยะระหว่างต้ น 25-30 เซนติเมตร1 ต้ นต่อหลุม จะมีจานวนต้ น ประมาณ 7,000-8,500 ต้ นต่อไร่และใช้ เมล็ดประมาณ 1.0-1.5 กิโลกรัมต่อไร่ การให้ น ้าจะปล่อยน ้า ตามร่องซึง่ เป็ นวิธีที่สะดวกดี ::: การใส่ ป๋ ยุ ปุ๋ยเป็ นสิง่ จาเป็ นสาหรับการปลูกข้ าวโพดหวาน เพราะปั จจุบนั พื ้นที่การเกษตรของประเทศไทยเป็ น พื ้นที่ที่มีการปลูกพืชติดต่อกันเป็ นระยะเวลานาน ทาให้ ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง จึงควรใส่ ธาตุอาหารพืช (ปุ๋ย) เพิ่มเติมลงในดิน การใส่ป๋ ยในข้ ุ าวโพดหวานมีขนตอนดั ั้ งนี ้ การใส่ป๋ ยรองพื ุ ้น สูตรปุ๋ยที่แนะนาคือ 15-15-15 หรื อ 25-7-7 หรื อ 16-16-8 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่พร้ อมปลูกหรื อใส่ขณะเตรี ยมดิน หมายเหตุ ถ้ าปลูกด้ วยมือ ควรหยอดปุ๋ยที่ก้นหลุมแล้ วกลบดินบาง ๆ ก่อนหยอดเมล็ด ไม่ควรให้ ป๋ ยสั ุ มผัสกับเมล็ดโดยตรงเพราะอาจทาให้ เมล็ดเน่าได้ การใส่ป๋ ยแต่ ุ งหน้ าครัง้ ที่ 1

สูตรปุ๋ยที่แนะนาคือ 46-0-0 (ยูเรี ย) อัตรา 25-30 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่เมื่อ

ข้ าวโพดมีอายุ 20-25 วันหลังปลูก โรยข้ างต้ นในขณะดินมีความชื ้นหรื อให้ น ้าตาม หรื อพูนโคนกลบ ปุ๋ยก็จะเป็ นการกาจัดวัชพืชไปในตัว การใส่ป๋ ยแต่ ุ งหน้ าครัง้ ที่ 2 เมื่อข้ าวโพดมีอายุ 40-45 วันหลังปลูก ถ้ าแสดงอาการเหลืองหรื อไม่ สมบูรณ์ ให้ ใส่ป๋ ยยู ุ เรี ย (46-0-0) อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ โรยข้ างต้ นในขณะดินมีความชื ้นหรื อให้ น ้า ตาม


::: การกาจัดวัชพืช ถ้ าแปลงปลูกข้ าวโพดหวานมีวชั พืชขึ ้นมากจะทาให้ ข้าวโพดไม่สมบูรณ์ ผลผลิตจะลดลงจึงควรมี การกาจัดวัชพืชในแปลงปลูก วิธีการกาจัดวัชพืชสามารถทาได้ ดงั นี ้ การฉีดยาคุมวัชพืช ใช้ อลาคลอร์ ฉีดพ่นลงดินหลังจากปลูกก่อนที่วชั พืชจะงอกขณะฉีดพ่นดิน ควรมีความชื ้นเพื่อทาให้ ยามีประสิทธิภาพดีขึ ้น ใช้ วิธีการเขตกรรม

ถ้ าหากจาเป็ นต้ องใช้ สารเคมีควรได้ รับคาแนะนาจากนักวิชาการที่

เกี่ยวข้ อง หรื อเจ้ าหน้ าที่โรงงานผู้สง่ เสริมการปลูก ::: การให้ นา้ ระยะที่ข้าวโพดหวานขาดน ้าไม่ได้ คือระยะ 7 วันแรกหลังปลูก เป็ นระยะที่ข้าวโพดกาลังงอก ถ้ า ข้ าวโพดหวานขาดน ้าช่วงนี ้จะทาให้ การงอกไม่ดี จานวนต้ นต่อพื ้นที่ก็จะน้ อยลงจะทาให้ ผลผลิต ลดลงไปด้ วย ระยะที่ขาดน ้าไม่ได้ อีกช่วงหนึง่ คือระยะออกดอก การขาดน ้าในช่วงนี ้จะมีผลทาให้ การผสมเกสรไม่สมบูรณ์ การติดเมล็ดจะไม่ดี ติดเมล็ดไม่เต็มถึงปลายหรื อติดเมล็ดเป็ นบางส่วน ซึง่ ฝั กที่ได้ จะขายได้ ราคาต่า โดยปกติถ้าเป็ นพื ้นที่ที่สามารถให้ น ้าได้ ควรให้ น ้าทุก 3-5 วัน ขึ ้นกับ สภาพต้ นข้ าวโพดและสภาพอากาศ แต่ช่วงที่ควรให้ น ้าถี่ขึ ้นคือช่วงที่ข้าวโพดกาลังงอกและช่วง ออกดอก ::: การเก็บเกี่ยว โดยปกติข้าวโพดหวานจะเก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุประมาณ 70-75 วันหลังปลูก แต่ระยะที่เหมาะสม สาหรับการเก็บเกี่ยวที่สดุ คือ ระยะ 18-20 วันหลังข้ าวโพดออกไหม 50% (ข้ าวโพด 100 ต้ นมีไหม 50 ต้ น) ข้ าวโพดหวานพันธุ์ ไฮ-บริกซ์ 10 จะเก็บเกี่ยวที่อายุประมาณ 68-70 วัน และพันธุ์ไฮบริกซ์ 3 จะเก็บเกี่ยวที่อายุประมาณ 65-68 วันหลังปลูก แต่ถ้าปลูกในช่วงอากาศหนาวเย็นอายุ การเก็บเกี่ยวอาจจะยืดออกไปอีก หลังจากเก็บเกี่ยวแล้ วควรรี บส่งโรงงานหรื อจาหน่ายโดยเร็ว เพื่อป้องกันการสูญเสียน ้า หากขาดน ้าจะมีผลต่อเมล็ดและน ้าหนักของฝั ก


::: ปั ญหาและการแก้ ไข ที่พบเห็นบ่ อย ๆ มีดงั นี ้ ความงอก ปกติเมล็ดพันธุ์ไฮ-บริกซ์ 10 และ ไฮ-บริกซ์ 3 ได้ ผา่ นการทดสอบความงอกมาแล้ วจึง จาหน่ายสูเ่ กษตรกร แต่บางครัง้ เมล็ดพันธุ์อาจจะค้ างอยูใ่ นร้ านค้ าเป็ นเวลานานหรื อเกษตรกร อาจจะซื ้อเมล็ดพันธุ์มาเก็บไว้ ที่บ้าน และสถานที่เก็บอาจจะไม่เหมาะสม สิง่ เหล่านี ้มีผลทาให้ เมล็ดพันธุ์มีความงอกลดลง วิธีการแก้ ไขที่ดีที่สดุ คือ ก่อนปลูกทุกครัง้ ให้ ทดสอบความงอกของ เมล็ดที่จะปลูกก่อน โดยการสุม่ เมล็ดจากถุงประมาณ 100 เมล็ด แล้ วปลูกลงในกระบะทรายหรื อ ดินแล้ วรดน ้าเพื่อทดสอบความงอก นับต้ นที่โผล่พ้นดินในวันที่ 7 ถ้ ามีจานวนต้ นเกิน 85 ต้ น ถือว่า มีอตั ราความงอกที่ใช้ ได้ ก็สามารถนาเมล็ดพันธุ์ถงุ นันไปปลู ้ กได้ โรคราน ้าค้ าง ปั จจุบนั พันธุ์ข้าวโพดหวานเกือบทุกพันธุ์ที่ขายในประเทศไทยเป็ นพันธุ์ที่ไม่ต้านทาน โรคราน ้าค้ าง ตังแต่ ้ พนั ธุ์ไฮ-บริกซ์ 10 และ ไฮ-บริกซ์ 3 จนถึงพันธ์ลา่ สุดไฮ-บริกซ์ 9 ซึง่ ทุกพันธุ์ได้ ผ่านการคลุกยาป้องกันโรคราน ้าค้ าง (เมตาแลกซิล) ในอัตรายาที่เหมาะสม เมื่อปลูกแล้ วจะไม่ พบว่าเป็ นโรค แต่การปลูกที่ผิดวิธีก็อาจเป็ นสาเหตุให้ เป็ นโรคราน ้าค้ างได้ การปลูกที่ผิดวิธีที่พบ เห็นบ่อยๆ มีดงั นี ้ แช่เมล็ดพันธุ์ในน ้าก่อนปลูก เกษตรกรเชื่อว่าการแช่เมล็ดพันธุ์ในน ้าก่อนปลูกจะทาให้ การงอกดี และมีความสม่าเสมอ แต่การแช่เมล็ดพันธุ์ในน ้าก่อนปลูกจะทาให้ ยาที่คลุกติดมากับเมล็ดพันธุ์ซงึ่ เป็ นยาป้องกันโรคราน ้าค้ างละลายหลุดออกไป ทาให้ ยาที่เคลือบเมล็ดมีน้อยลงหรือไม่มีเลย เมื่อ นาเมล็ดพันธุ์ที่แช่น ้าไปปลูก ต้ นอ่อนที่งอกออกมาจึงเป็ นโรค ราน ้าค้ าง วิธีแก้ ไข คือ ไม่แช่เมล็ด พันธุ์ในน ้าก่อนปลูกหรื อคลุกสารเคมีอื่นเพิ่มเพราะมีผลต่อความต้ านทานโรคราน ้าค้ างและความ งอกของเมล็ดพันธุ์ ปล่อยน ้าท่วมขังแปลงหลังปลูก เกษตรกรบางรายเมื่อปลูกเสร็จจะปล่อยน ้าท่วมแปลงปลูกหรื อ ปล่อยน ้าท่วมร่องปลูก ซึง่ น ้าจะท่วมขังอยูเ่ ป็ นเวลานานกว่าจะซึมลงดินหมด เมล็ดจะแช่อยูใ่ นน ้า เป็ นเวลานาน ยาป้องกันโรคราน ้าค้ างที่เคลือบเมล็ดอยูจ่ ะละลายหายไปกับน ้า ทาให้ ต้นอ่อนที่งอก ขึ ้นมาไม่ได้ รับยาป้องกันโรคราน ้าค้ าง จึงแสดงอาการเป็ นโรคให้ เห็น วิธีแก้ ไข คือ ให้ น ้าในแปลง ก่อนการปลูกและรอให้ ดินมีความชื ้นเหมาะกับการงอกของเมล็ดจึงทาการปลูก ยาที่เคลือบเมล็ด จะไม่ละลายหลุดไปกับน ้า ต้ นอ่อนที่งอกออกมาจึงได้ รับยาอย่างเต็มที่และไม่เป็ นโรคราน ้าค้ าง


การระบาดของหนู พื ้นที่ที่ปลูกข้ าวโพดหวานติดต่อกันหลายรุ่นมักจะพบว่ามีหนูระบาดและมักจะ เข้ าทาลายข้ าวโพดหวานในระยะงอกและระยะก่อนเก็บเกี่ยว เมื่อมีหนูระบาดจะทาให้ ผลผลิต ลดลง ฝั กที่เก็บได้ มีร่องรอยการทาลายของหนูทาให้ ขายไม่ได้ แก้ ไขโดยการวางยาเบื่อหนู ซึง่ ทา ได้ โดยใช้ ข้าวโพดหวานฝั กสดฝานเอาแต่เนื ้อผสมกับยาเบื่อหนูที่เป็ นผงสีดา (Zinc phosphide) คลุกเคล้ าให้ ทวั่ แล้ วหว่านให้ ทวั่ ในแปลงหลังจากปลูกเสร็จ (อาจจะหว่านในช่วงหลังปลูก คือ ข้ าวโพดกาลังงอก ) และในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว ( ช่วงข้ าวโพดกาลังเป็ นน ้านม ประมาณ 65-70 วันหลังปลูก )หว่านติดต่อกันสัก 3 ครัง้ แต่ละครัง้ ห่างกัน 2-3 วัน จะทาให้ การระบาดของหนู ลดลง หนอนเจาะฝั กข้ าวโพด บางฤดูจะพบว่ามีการระบาดของหนอนเจาะฝั กเกิดขึ ้นซึง่ จะทาให้ ฝักที่เก็บ เกี่ยวได้ มีตาหนิขายไม่ได้ ราคา ผลผลิตต่อไร่ลดลง สามารถป้องกันการระบาดได้ โดยการหมัน่ ตรวจแปลงอยูเ่ สมอโดยเฉพาะในระยะเริ่มผสมเกสร ถ้ าพบว่าเริ่มมีหนอนเจาะฝั กให้ ใช้ ยา ฟลู เฟนนอกซูรอน หรื อ ฟิ โบรนิล (ชื่อสามัญ) ในอัตรา 20 ซี.ซี. ต่อน ้า 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ฝัก 1-2 ครัง้ ห่าง กัน 7 วัน มวนเขียว หลังจากข้ าวโพดผสมเกสรแล้ ว บางครัง้ จะมีมวนเขียวระบาดโดยเฉพาะช่วงฝนทิ ้งช่วง หรื อในหน้ าแล้ ง มวนเขียวจะใช้ ปากเจาะฝั กข้ าวโพดและดูดกินน ้าเลี ้ยงจากเมล็ดที่ยงั อ่อนอยูช่ งึ่ จะ ไม่เห็นร่องรอยการทาลายจากภายนอก เมื่อเก็บเกี่ยวจะพบว่าเมล็ดมีรอยช ้าหรื อรอยดาด่างทาให้ ขายไม่ได้ ราคา ป้องกันได้ โดยการหมัน่ เดินตรวจแปลงในระยะหลังจากผสมเกสรแล้ วถ้ าพบมวน เขียวให้ ฉีดพ่นด้ วยยา คาร์ โบซัลแฟน (ชื่อสามัญ) อัตรา 40 ซี.ซี. ต่อน ้า 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ฝัก ข้ าวโพด เพลี ้ยไฟ ถ้ าข้ าวโพดหวานออกดอกในช่วงฝนทิ ้งช่วงหรื อในหน้ าแล้ ง มักจะพบว่ามีเพลี ้ยไฟ(แมลง ตัวเล็กๆ สีดา) เกาะกินน ้าเลี ้ยงที่ไหมของฝั กข้ าวโพดทาให้ ไหมฝ่ อ การผสมเกสรไม่สมบูรณ์ การ ติดเมล็ดจะไม่ดีตามไปด้ วย ป้องกันได้ โดยหมัน่ ตรวจแปลงในระยะออกดอก ถ้ าพบว่ามีเพลี ้ยไฟ เกาะที่ไหม ให้ ใช้ ยาเอ็นโดซันแฟน (ชื่อสามัญ) หรื อ วีฟอส (ชื่อการค้ า) อัตรา 40 ซี.ซี. ต่อน ้า 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ฝัก


ข้ าวโพดไม่หวาน ถ้ าพบว่าข้ าวโพดหวานฝั กสดมีรสชาติไม่หวานแสดงว่าดินในแปลงที่ปลูก ข้ าวโพดขาดธาตุโปแตสเซี่ยม (K) ธาตุโปแตสเซี่ยมจะช่วยให้ การสะสมน ้าตาลในเมล็ดดีขึ ้น แก้ ไข ได้ โดยการใส่ป๋ ยรองพื ุ ้นที่มีธาตุโปแตสเซีย่ มร่วมด้ วย เช่น ปุ๋ยสูตร 25-7-7 หรื อ 16-16-8 หรื อ 13-1321 ขึ ้นกับสภาพดิน ถ้ าดินขาดโปแตสเซี่ยมมากก็ควรใส่ป๋ ยสู ุ ตรที่มีคา่ K สูง เปลือกหุ้มฝั กเหลือง การเก็บเกี่ยวที่อายุเกิน 20 วันหลังออกไหม 50% จะมีผลทาให้ เปลือกหุ้มฝั กมี สีเขียวอ่อนลงดูเหมือนฝั กจะแก่ บางครัง้ ถึงแม้ วา่ จะเก็บเกี่ยวที่อายุเหมาะสม เปลือกหุ้มฝั กก็ยงั มี สีออกเหลือง การแก้ ไขทาได้ โดยการเพิ่มปุ๋ยยูเรี ย (46-0-0) อัตรา 15-20 กิโลกรัมต่อไร่ โรยข้ างต้ น ข้ าวโพดในขณะดินมีความชื ้นในระยะที่ข้าวโพดออกดอก จะทาให้ เปลือกหุ้มฝั กมีสเี ขียวอยูไ่ ด้ นานขึ ้น โรคราสนิม ถ้ ามีโรคราสนิมระบาดรุนแรงจะทาให้ ฝักข้ าวโพดไม่สมบูรณ์ การติดเมล็ดจะไม่เต็มถึง ปลายขายไม่ได้ ราคา ในพื ้นที่ที่มีการระบาดของโรคราสนิมอยูเ่ ป็ นประจาควรฉีดพ่นด้ วยยาไดฟี โน โคนาโซล (ชื่อสามัญ)หรื อ สกอร์ (ชื่อการค้ า) อัตรา 20 ซี.ซี. ต่อน ้า 20 ลิตร เมื่อเริ่มเป็ นโรค ::: ข้ อควรระมัดระวัง การใช้ สารเคมีป้องกันและกาจัดโรคและแมลง เกษตรกรควรขอคาแนะนาจากโรงงานผู้สง่ เสริม หรื อนักวิชาการโดยตรง เพื่อหลีกเลี่ยงสารตกค้ างที่อาจปนเปื อ้ นไปกับผลิตภัณฑ์ ชนิดของข้ าวโพดหวาน ปั จจุบนั ประเทศไทย ส่งออกข้ าวโพดหวานในรูปแบบต่างๆ สูงเป็ นอันดับ 4 ของโลก รองจาก สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และฮังการี ยอดส่งออก ข้ าวโพดหวานของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างก้ าวกระโดดมาโดยตลอด จากปริมาณการส่งออก 500 กว่าตัน มูลค่ารวม 10 กว่าล้ านบาทในปี แรก ได้ เติบโตเป็ นมากกว่า 109,774 ตัน มีมลู ค่ารวมกว่า 3,200 ล้ านบาท ในปี 2548 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วง 2-3 ปี หลัง มูลค่าการส่งออกในแต่ละปี เติบโตขึ ้นอย่างมาก โดยปริมาณการส่งออกรวมในรูปแบบต่างๆ เพิ่มขึ ้นจาก 77,432 ตัน ในปี 2546 เป็ น 109,774 ตัน ในปี 2548 และมูลค่าการ


ส่งออกเพิ่มจาก 2,122 ล้ านบาท เป็ น 3,200 ล้ านบาท โดยการส่งออกในรูปปรุงแต่ไม่แช่เย็นจน แข็งมีปริมาณการส่งออก 76,118 - 103,975 ตัน และมีมลู ค่า 2,078 - 3,032 ล้ านบาท การส่งออกในรูปข้ าวโพดหวานดิบ หรื อทาให้ สกุ แช่แข็ง มี ปริมาณ 831 - 5,799 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 44 – 169 ล้ านบาท อุตสาหกรรมข้ าวโพดหวานยังมีแนวโน้ มการเติบโตต่อไปในอนาคต เนื่องจากข้ อได้ เปรี ยบ ของประเทศไทยที่สาคัญ 2 ประการ เมื่อเทียบกับ ผู้ผลิตและส่งออกรายใหญ่ คือสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ฮังการี และแคนาดา คือ ประเทศผู้ผลิต เหล่านัน้ มีฤดูกาลสิ ้นประมาณ 60 วัน ในช่วง 1 ปี เนื่องจากข้ าวโพดหวานเป็ นพืชที่ต้องการแสงมาก ในประเทศเมืองหนาว จึงปลูกได้ เฉพาะในช่วง ฤดูร้อนเท่านัน้ ส่วนข้ อได้ เปรี ยบที่สาคัญอีกประการ คือ ค่าใช้ จ่ายทางด้ านขนส่งทางเรื อ ต่ากว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตลาดในเอเชีย เช่น ญี่ปนุ่ เกาหลี ไต้ หวัน ที่มีความต้ องการนาเข้ าสินค้ าข้ าวโพด หวานเป็ นปริมาณมาก ข้ าวโพดหวานจึงเป็ นพืชเศรษฐกิจพืชหนึง่ ที่มีอนาคตในการผลิตและ ส่งออกมาก ข้ าวโพดหวานที่เราปลูกกันและบริโภคใน บ้ านเราจะเห็นว่ามีลกั ษณะฝั ก เปลือกหุ้มฝั ก ความหวาน สีของเมล็ด และความอร่อย ที่ แตกต่างตามลักษณะของพันธุ์ อันเนื่องจากลักษณะทาง พันธุกรรมของแต่ละพันธุ์ของข้ าวโพดหวาน ชนิดของข้ าวโพดหวาน สามารถจาแนกตามหน่วยพันธุกรรม (gene) ที่ควบคุมได้ ดงั นี ้ 1. กลุม่ ที่ควบคุมด้ วยยืนชูการี่ (Sugary, su/su) ข้ าวโพดหวานกลุม่ นี ้มีปลูกในประเทศไทยมา นาน มีความหวานเล็กน้ อย มีน ้าตาลซูโครส (sucrose) ประมาณ 10.2 เปอร์ เซ็นต์ ขณะที่ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์จะมีซูโครสประมาณ 3.5 เปอร์ เซ็นต์ เมล็ดมีสีเหลืองอ่อน มีเปลือกหุ้มเมล็ดค่อน


ข้ างเหนียว เวลารับประทานมักติดฟั น เมล็ดแก่จะเหี่ยวย่น เนื่องจากมีแป้งในเมล็ดเพียง 28 เปอร์ เซ็นต์ ทาให้ เมล็ดเกิดการยุบตัวมาก พันธุ์ข้าวโพด หวานที่อยูใ่ นกลุม่ นี ้ ได้ แก่ พันธุ์อีเหี่ยว 2. กลุม่ ที่ควบคุมด้ วยยีนชรังเค่น (shrunken, sh/sh หรื อ sh2/sh2) ข้ าวโพดหวานกลุม่ นี ้มี ความหวานสูงกว่าในกลุม่ แรก มีซโู ครสประมาณ 30 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อต้ มและทิ ้งไว้ จนเย็นจะเหี่ยวเร็วกว่ากลุม่ แรก เมล็ดมีสีเหลืองส้ ม เปลือกหุ้ม เมล็ดเหนียวน้ อยกว่ากลุม่ แรก เวลารับประทานมักจะ ไม่คอ่ ยติดหรื อมีติดอยูบ่ นซังเพียงเล็กน้ อย เวลารับประทานมักจะไม่คอ่ ยติดหรื อมีติดอยูบ่ นซัง เพียงเล็กน้ อย เมล็ดแก่จะยุบตัวมากกว่า เพราะมีแป้ง เพียง 18 เปอร์ เซ็นต์ พันธุ์ข้าวโพดหวานที่อยูใ่ นกลุม่ นี ้ เช่น พันธุ์อินทรี 2, ชูการ์ 73, ไฮบริกซ์ 5 และ ไฮบริกซ์ 10 เป็ นต้ น 3. กลุม่ ที่ควบคุมด้ วยยีนบริทเทิล (brittle, bt / bt หรื อ bt2 / bt2) ข้ าวโพดหวานในกลุม่ นี ้จะมี ความหวานใกล้ เคียงกับกลุม่ ที่สอง เมล็ดมีสี เหลืองนวล เปลือกหุ้มเมล็ดบาง เวลารับประทานกัดหลุดจากซังง่าย จึงไม่ติดฟั น และจะมี ความหวานกรอบมากกว่ากลุม่ อื่นๆ พันธุ์ที่มียีนบริทเทิล ควบคุมความหวาน เช่น พันธุ์เอทีเอส -2 หรื อซูการ์ 74 4. กลุม่ ที่มียีนเสริม ข้ าวโพดหวานชนิดนี ้จะมียีนที่เป็ น homozygous recessive อยูห่ นึง่ ตาแหน่ง

แต่อีกตาแหน่งหนึง่ จะเป็ น

heterozygous เมื่อนาเมล็ดไปปลูกเพื่อผลิตฝั กสด ยีนที่เป็ น heterozygous จะแยกตัวตามกฎของ Mendel มีผลทาให้ 25 เปอร์ เซ็นต์ ของเมล็ดที่ เรารับประทานนันเป็ ้ น double recessive ทาให้ ผ้ รู ับประทานมีความรู้สกึ ว่าข้ าวโพดนันหวาน ้ ขึ ้น ข้ าวโพดหวานพวกนี ้มียีน su เป็ นพื ้นฐานเพราะ นักปรับปรุงพันธุ์ ต้ องการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานนันให้ ้ หวานขึ ้นโดยการนายีน sh2 หรื อ ซู การ์ รีเอ็นฮานเซอร์ (sugary enhancer, se) มาช่วย


เสริมตัวอย่างข้ าวโพดหวานชนิดนี ้คือพันธุ์ Sugar Loaf, Honey Comb และ Sugar Time เป็ นต้ น ใน ประเทศไทยข้ าวโพดข้ าวเหนียวหวานขอนแก่น อาจจะจัดอยูใ่ นประเภทนี ้ได้ โดยมียีน sh2 เป็ นพื ้นฐาน และมียีน su หรือ wx เป็ นตัวเสริม ได้ มี ผู้นาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานประเภทนี ้เข้ ามาปลูก เหมือนกัน สังเกตง่ายๆ คือ ฝั กข้ าวโพดหวานอาจจะมีเมล็ด 2 สี คือ สีเหลืองและสีขาว โดยจะอยู่ ในอัตราส่วน 75 : 25 ซึง่ นักปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด หวาน หรื อวงการค้ าเมล็ดข้ าวโพดหวานจะเรี ยกว่า bi-color แต่ถ้าจะพิสจู น์ให้ แน่ชดั ว่าข้ าวโพด หวานนัน้ อาจเกิดจากยีนเสริมหรื อไม่ก็จะต้ องนาฝั ก ของข้ าวโพดหวานที่สงสัยนันมาตากให้ ้ แห้ ง แล้ วดูวา่ เมล็ดที่แห้ งแล้ วเหมือนกันทังฝั ้ ก หรื อไม่

ถ้ าเมล็ดที่แห้ งแล้ วเหมือนกันทังฝั ้ กก็แสดงว่าเป็ น

ข้ าวโพดหวานชนิดยีนเดียว แต่ถ้าเมล็ดที่แห้ งแล้ วมีเมล็ดลีบมากๆ คล้ ายข้ าวโพดหวานพิเศษอยู่ ประมาณ 25 เปอร์ เซ็นต์

เมล็ดลีบมากๆ นี ้เป็ น

double recessive ที่เหลืออีก 75 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นเมล็ดข้ าวโพดหวานธรรมดา ข้ าวโพดหวานฝั กนันก็ ้ เป็ นข้ าวโพดหวานที่เกิดจากยีนเสริม 5. กลุม่ ที่เกิดจากยีนร่วม เนื่องด้ วยข้ าวโพดหวานธรรมดามีความหวานน้ อย และปั ญหา เรื่ องอัตราความงอกต่าในข้ าวโพดหวานพิเศษ นัก ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวาน จึงได้ พยายาม นายีนต่างๆ มาอยูร่ ่วมกันในสภาพ homozygous recessive ที่ทกุ ๆ ตาแหน่ง (locus) เพื่อให้ ได้ ข้าวโพด หวานที่มีคณ ุ ภาพดีขึ ้น คือ ปริมาณน ้าตาลสูงขึ ้น และแก้ ปัญหาในเรื่องอัตราความงอกต่า อย่างไรก็ตาม พันธุ์ข้าวโพดที่นิยมปลูกในประเทศไทย ส่วนใหญ่ จะเป็ นพันธุ์ที่ควบคุมความหวานด้ วยยีน 2 ชนิด คือ ยีน ชรังเค่นและยีนบริทเทิล ซึง่ พันธุ์ทงั ้ 2 ชนิดดังกล่าว มีอตั ราส่วนทางการตลาด ใกล้ เคียงกัน


พันธุ์ข้าวโพดหวาน 1. พันธุ์ผสมเปิ ด ได้ แก่ พันธุ์ฮาวายเอี ้ยนชูการ์ ซูเปอร์ สวีท เป็ นพันธุ์ให้ ผลผลิตต่ากว่าพันธุ์ ลูกผสม แต่ความสูงต้ น ความสูงฝั ก และอายุ เก็บเกี่ยวใกล้ เคียงกับพันธุ์ลกู ผสม 2. พันธุ์ลกู ผสม ปั จจุบนั มีข้าวโพดหวานพันธุ์ลกู ผสมมากมายให้ เกษตรกรเลือกใช้ ส่วน ใหญ่จะเป็ นพันธุ์ของบริษัทเอกชนต่างๆ และมี บางพันธุ์เป็ นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาหรับข้ าวโพดหวานพันธุ์ลกู ผสมของกรมวิชาการ เกษตรยังอยูใ่ นขันตอนท้ ้ ายๆ ของการปรับปรุงพันธุ์ ซึง่ คาดว่าจะออกเป็ นพันธุ์รับรองหรื อพันธุ์แนะนาได้ ภายใน 2 - 3 ปี นี ้ สาหรับลักษณะประจาพันธุ์ ของข้ าวโพดหวานพันธุ์ผสม เปิ ดและพันธุ์ลกู ผสม ที่นิยมปลูกในปั จจุบนั ได้ รวบรวมไว้ ใน ตารางที่ 1 และ 2 ตารางที่ 1 ลักษณะประจาพันธุ์ข้าวโพดหวานพันธุ์ผสมเปิ ดและพันธุ์ลูกผสมที่เกษตรกร นิยมปลูกในปั จจุบัน พันธุ์ผสมเปิ ด ลักษณะประจาพันธุ์

พันธุ์ลูกผสม

ฮาวายเอีย้ น ชูการ์ ซูเปอร์ สวีท

สองสี 58

สองสี 39

ทวิวรรณ 2

หวานดัชนี

อินทรี 2

ชนิดยีนควบคุมความหวาน

ชรังเค่น 2

ชรังเค่น 2

ชรังเค่น 2

ชรังเค่น 2

ชรังเค่น 2

ชรังเค่น 2

ผลผลิตทังเปลื ้ อก (กก./ไร่)

1,700

2,000

2,000

2,000

1,800

1,870

ผลผลิตปอกเปลือก (กก./ไร่)

1,050

1,400

1,400

1,400

1,300

1,208

อัตราแลกเนื ้อ (%)

30

-

-

30

34

35

วันออกไหม (วัน)

45

47

52

45

46

48


ความสูงต้ น (ซม.)

190

135-165

170-190

215

215

158

ความสูงฝั ก (ซม.)

105

40-60

60-70

105

105

87

อายุเก็บเกี่ยวหลังออกไหม (วัน)

18

18-20

18-20

18

18

18

อายุเก็บเกี่ยวหลังปลูก (วัน)

65-70

65-70

72-77

62

62

66

สีไหม

เหลือง

ขาว

ขาว

ขาว

ขาว

ขาว

คุณภาพการชิม

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

หวาน-นุ่ม

หวาน-นุ่ม

ดีมาก

ความหวาน (องศาบริกซ์)

ดีมาก

17

17

15-16

15-16

15

ความหนาเปลือกหุ้มเมล็ด

บาง

ปานกลาง

ปานกลาง

-

-

บาง

เหลืองอ่อน

เหลืองทอง

เหลือง

สีเมล็ด

เหลือง

จานวนแถวเมล็ดต่อฝั ก

16-18

16-18

16-18

16-18

12-16

14-16

ความยาวฝั ก (ซม.)

16.5

18-20

18-21

16-17

16-18

17

ความกว้ างฝั ก (ซม.)

5.0

4.9-5.4

4.8-5.3

4.5

3.5

4.4

ดีมาก

ปานกลาง-ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดี

ความแข็งแรงของรากและลาต้ น

ขาว-เหลือง ขาว-เหลือง

ตารางที่ 2 ลักษณะประจาพันธุ์ข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสมที่เกษตรกรนิยมปลูกในปั จจุบัน ลักษณะประจาพันธุ์

ไฮบริกซ์ 10 ไฮบริกซ์ 3 เอทีเอส 2 เอทีเอส 5

ชนิดยีนควบคุมความหวาน

ชรั่งเค่น 2

ผลผลิตทังเปลื ้ อก (กก./ไร่)

3,065

ชรั่งเค่น 2 บริทเทิล 1 3,719

ชรั่งเค่น 2

ชูการ์ 73

ชูการ์ 74

ชูการ์ 75

ชรั่งเค่น 2

บริทเทิล 1

ชรั่งเค่น 2

1,800-2,700 3,000-3,500 1,800-2,700 1,800-2,700 2,500-3,500


ผลผลิตปอกเปลือก (กก./ไร่)

2,027

2,553

อัตราแลกเนื ้อ (%)

30

35

28-31

30-32

30

28-31

30-32

วันออกไหม (วัน)

51

48-50

49

48

48

49

48

ความสูงต้ น (ซม.)

200

195

135-165

180-200

160-20

135-165

170-200

ความสูงฝั ก (ซม.)

110

100

55-65

70-90

70-90

55-65

7090

อายุเก็บเกี่ยวหลังออกไหม (วัน)

18

18

18-20

20

18-20

18-20

18-20

อายุเก็บเกี่ยวหลังปลูก (วัน)

70-15

65-70

70-75

68

72-75

70-75

72-77

สีไหม

ขาว

ขาว

ขาว

ขาว-น ้าตาล

ขาว

คุณภาพการชิม

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ความหวาน (องศาบริกซ์)

ดีมาก

ดีมาก

16-17

ดีมาก

16

16-17

16

ความหนาเปลือกหุ้มเมล็ด

บาง

บาง

บาง

บาง

ปานกลาง

บาง

ปานกลาง

สีเมล็ด

เหลือง

เหลือง

จานวนแถวเมล็ดต่อฝั ก

14-16

16-18

14

16-18

14-16

14

14-16

ความยาวฝั ก (ซม.)

19.7

20-22

16-18

21-22

18-20

16-18

19-21

ความกว้ างฝั ก (ซม.)

5.2

5.5-6.0

4.2-4.7

5-6

4.5-5.0

4.2-4.7

4.7-5.2

ดีมาก

ดีมาก

ดี

ดีมาก

ดี

ดี

ดีมาก

ความแข็งแรงของรากและลาต้ น

1,200-2,100 2,400-2,900 1,200-2,100 1,200-2,100 1,900-2,900

ขาว-น ้าตาล เขียวอ่อน

เหลืองครี ม เหลืองทอง

เหลือง

เหลืองครี ม เหลืองครี ม

ในการที่เกษตรกรจะปลูกข้ าวโพดหวานพันธุ์ใดนันควรศึ ้ กษาความต้ องการของตลาด ฤดูกาลปลูก ความต้ านทานต่อโรคและแมลงศัตรู ตลอด จนพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื ้นที่ปลูกและให้ ผลตอบแทนของผลผลิตคุ้มค่าการลงทุน


การจาแนกตามวัตถุประสงค์ ของการปลูก อาจจาแนกออกได้ เป็ น ๔ ชนิด คือ (๑) ข้ าวโพดใช้ เมล็ด (grain corn) ปลูกเพื่อเก็บเมล็ดแก่ใช้ เป็ นอาหารสัตว์และมนุษย์ หรื อ ทาอุตสาหกรรมอย่างอื่น (๒) ข้ าวโพดหมัก (silage corn) ปลูกเพื่อตัดต้ นสดมาหมักใช้ เป็ นอาหารสัตว์ (๓) ข้ าวโพดอาหารสัตว์ (fodder corn) ปลูกเพื่อตัดต้ นสดไปใช้ เลี ้ยงสัตว์ (๔) ข้ าวโพดฝั กอ่ อน (baby corn) ในประเทศไทยนิยมปลูกเพื่อเก็บฝั กอ่อนไปใช้ ในการ ปรุงอาหาร


ข้ าวโพด จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้ นหา ข้ าวโพด ? Zea mays L.

ข้ าวโพดชนิดต่างๆ การจาแนกชัน้ ทางวิทยาศาสตร์ [ซ่อน]

อาณาจักร Plantae ส่ วน

Magnoliophyta


ชัน้

Liliopsida

อันดับ

Poales

วงศ์

Poaceae

สกุล

Zea

สปี ชีส์

Z. mays ข้ อมูลทั่วไป[ซ่อน]

ชื่อ Zea mays L. วิทยาศาสตร์

ลักษณะของข้ าวโพด


ข้ าวโพด (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zea mays Linn.) ชื่ออื่นๆ ข้ าวสาลี สาลี (เหนือ) คง (กระบี)่ โพด (ใต้ ) บือเคเส่ะ (กะเหรี่ ยง-แม่ฮ่องสอน) เป็ นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ ามีลาต้ นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางของลาต้ น 0.5-2.0 นิ ้ว เมล็ดจากฝั กใช้ เป็ นอาหารคนและสัตว์ เนือ้ หา [ซ่อน]       

1 ลักษณะทางพฤษศาสตร์ 2 ถิ่นกาเนิด 3 การนาเข้ ามาในประเทศไทย 4 ชนิดของข้ าวโพด 5 ประโยชน์ในด้ านอื่นๆ 6 อ้ างอิง 7 แหล่งข้ อมูลอื่น

[แก้ ] ลักษณะทางพฤษศาสตร์ ข้ าวโพดเป็ นพืชจาพวกหญ้ า มีลาต้ นตังตรงแข็ ้ งแรง เนื ้อภายในฟ่ ามคล้ ายฟองน ้าสูงประมาณ 1.4 เมตร ใบ จะเป็ นเส้ นตรงปลายแหลม ยาวประมาณ 30-100 ซม. เส้ นกลางของใบจะเห็นได้ ชดั ตรง ขอบใบมีขนอ่อนๆ ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยูใ่ นต้ นเดียวกัน ช่อดอกตัวผู้อยูส่ ว่ นยอดของลาต้ น ช่อดอกตัวเมียอยูต่ ่าลงมาอยูร่ ะหว่างกาบของใบ และลาต้ นฝั กเกิดจากดอกตัวเมียที่เจริญเติบโต แล้ ว ฝั กอ่อนจะมีสีเขียว พอแก่เป็ นสีนวล [แก้ ] ถิ่นกาเนิด มีการขุดพบซังข้ าวโพดและซากของต้ นข้ าวโพดที่ใกล้ แม่น ้าในนิวเม็กซิโก (แถบอเมริกาใต้ ) และ ปั จจุบนั นิยมปลูกแพร่หลายในแถบอเมริกา แคนาดา สามารถปลูกได้ ในสภาพที่ภมู ิอากาศ แตกต่างกันมาก ๆ เป็ นแหล่งอาหารที่สาคัญของสัตว์ เพราะสามารถนามาเลี ้ยงสัตว์ได้ ทงต้ ั ้ น ใบ และเมล็ด


[แก้ ] การนาเข้ ามาในประเทศไทย สาหรับประเทศไทย คนไทยรู้จกั นาข้ าวโพดมาเลี ้ยงสัตว์ตงแต่ ั ้ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 1 โดย หม่อม เจ้ าสิทธิพร กฤดากร ได้ นาข้ าวโพดพันธุ์ที่ใช้ เลี ้ยงสัตว์มาปลูกและทดลองใช้ เลี ้ยงสัตว์ ซึง่ ใน ขณะนันเป็ ้ นยังเป็ นที่ร้ ูจกั กันน้ อย จนกระทัง่ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 การใช้ ข้าวโพดเริ่มแพร่หลาย ขึ ้นเนื่องจาก หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจได้ นาการเลี ้ยงไก่แบบการค้ ามาเริ่มสาธิต และกระตุ้นให้ ประชาชนปฏิบตั ิตามผู้เลี ้ยงไก่จงึ รู้จกั ใช้ ข้าวโพดมากขึ ้นกว่าเดิม แต่เนื่องจากระยะนันข้ ้ าวโพดมี ราคาสูงและหายาก การใช้ ข้าวโพดจึงใช้ เป็ นเพียงส่วนประกอบของอาหารหลัก ซึง่ มีราและปลาย ข้ าวเป็ นส่วนใหญ่ แต่ในปั จจุบนั ผู้เลี ้ยงสัตว์ร้ ูจกั ข้ าวโพดกันทัว่ ไป และในปั จจุบนั ประเทศไทยได้ ปลูกข้ าวโพดในปี หนึง่ ๆ เป็ นจานวนมาก [แก้ ] ชนิดของข้ าวโพด โดยทัว่ ไปข้ าวโพดจัดออกเป็ น 5 กลุม่ คือ 1. ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ หรือข้ าวโพดไร่ (Field Corn) ที่ร้ ูจกั ในปั จจุบนั เช่นข้ าวโพดหัวบุม๋ (Dent Coorn) และข้ าวโพดหัวแข็ง (Fint Corn) ซึง่ เป็ นการเรี ยกตามลักษณะเมล็ดข้ าวโพด หัวบุม๋ หรื อหัวบุบ ข้ าวโพดชนิดนี ้เมื่อเมล็ดแห้ งแล้ วตรงส่วนหัวบนสุดจะมีรอยบุม๋ ลงไป ซึง่ เป็ นส่วนของแป้งสีขาว ข้ าวโพดชนิดนี ้สาคัญมากและนิยมปลูกกันมากใน ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทางแถบคอร์ นเบลท์ สีของเมล็ดมีตงแต่ ั ้ ขาวไปจนถึงเหลือง เนื่องจากมีหลายสายพันธุมีโปรตีนน้ อยกว่าพวกข้ าวโพดหัวแข็ง ข้ าวโพดหัวแข็ง ข้ าวโพด พันธุ์นี ้ส่วนขนสุดของเมล็ดมักมีสีเหลืองจัดและเมื่อแห้ งจะแข็งมาก ภายในเมล็ดมีสารที่ ทาให้ ข้าวโพดมีสีเหลืองจัดเป็ นสารให้ สที ี่ชื่อ คริปโตแซนทีน (Cruptoxanthin) สารนี ้เมื่อ สัตว์ได้ รับร่างกายสัตว์จะเปลี่ยนสารนี ้ให้ เป็ นไวตามินเอ นอกจากนี ้สารนี ้ยังช่วยให้ ไข่แดง มีสีแดงเข้ ม ช่วยให้ ไก่มีผิวหนัง ปาก เนื ้อ และแข้ งมีสีเหลืองเข้ มขึ ้น เป็ นที่นิยมของตลาด โดยเฉพาะแถบอเมริกาส่วนอังกฤษนันนิ ้ ยมใช้ ข้าวโพดขาว 2. ข้ าวโพดหวาน (Sweet Corn) เป็ นข้ าวโพดที่คนใช้ รับประทาน ไม่มีการแปรรูป เมล็ด มักจะใสและเหี่ยวเมื่อแก่เต็มที่ เพราะมีน ้าตาลมาก ก่อนที่จะสุกจะมีรสหวานมากกว่า ชนิดอื่น ๆ จึงเรี ยกข้ าวโพดหวาน มีหลายสายพันธุ์


3. ข้ าวโพดคั่ว (Pop Corn) เป็ นข้ าวโพดที่คนใช้ รับประทาน ไม่มีการแปรรูป เมล็ดค่อนข้ าง แข็ง สีดีและขนาดแตกต่างกัน สาหรับต่างประเทศ ถ้ าเมล็ดมีลกั ษณะแหลมเรี ยกว่า ข้ าวโพดข้ าว (Rice Corn) ถ้ าเมล็ดกลม เรียกว่า ข้ าวโพดไข่มกุ (Pearl Corn) 4. ข้ าวโพดแป้ง (Flour Corn) เมล็ดมีสหี ลายชนิด เช่น ขาว (ขุน่ ๆ หรื อปนเหลืองนิด ๆ) หรื อสีน ้าเงินคล ้า หรื อมีทงสี ั ้ ขาวและสีน ้าเงินคล ้าในฝั กเดียวกัน เนื่องจากกลายพันธุ์ พวก ที่มีเมล็ดสีคล ้าและพวกกลายพันธุ์เรียกว่าข้ าวโพดอินเดียนแดง (Squaw Corn) หรื อเรี ยก ได้ อีกชื่อว่าข้ าวโพดพันธุ์พื ้นเมือง (Native Corn) พวกข้ าวโพดสีคล ้านี ้จะมีไนอาซีน สูงกว่า ข้ าวโพดที่มีแป้งสีขาว 5. ข้ าวโพดเทียน (Waxy Corn) เป็ นข้ าวโพดที่คนใช้ รับประทาน จะมีแป้งที่มี ลักษณะเฉพาะคือ นุ่มเหนียว เพราะในเนื ้อแป้งจะประกอบด้ วยแป้งพวกแอมมิโลเปคติน (Amylopectin) ส่วนข้ าวโพดอื่น ๆ มีแป้งแอมมิโลส (Amylose) ประกอบอยูด่ ้ วย จึงทาให้ แป้งค่อนข้ างแข็ง ข้ าวโพดที่ใช้ เลี ้ยงสัตว์ในประเทศไทยมีหลายพันธุ์ ที่นิยมปลูกในประเทศไทยได้ แก่ พันธุ์กวั เตมาลา พียี 12 (Rep.1) กัวเตมาลา พีบี 12 (Rep.2) พีบี 5 ข้ าวโพดเหนียว และโอเปค-2 มีเมล็ดตังแต่ ้ สีขาว สีเหลืองไปจนถึงสีแดง ขนาดของเมล็ดขึ ้นอยูก่ บั พันธุ์ โดยทัว่ ไปจะมีเส้ นผ่าศูนย์กลางอยู่ในช่วง 0.5-0.8 ซม. ก่อนนามาเลี ้ยงสัตว์จงึ ต้ องบดก่อนเพื่อช่วยให้ การย่อยและการผสมได้ ผลดีขึ ้น ที่บด แล้ วจะมีขนาดประมาณ 1-8 มม. [แก้ ] ประโยชน์ ในด้ านอื่นๆ ข้ าวโพดสามารถส่งเสริมการย่อยสลายพีเอเอชที่ปนเปื อ้ นในดิน เช่น ฟี แนนทรี น ไพรี นได้ โดยย่อย สลายได้ 90 % ที่ความเข้ มข้ นเริ่มต้ น 100 mg/kg [1] และทนทานต่อดินที่ปนเปื อ้ นน ้ามันเครื่ อง [2]จึง มีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ ฟืน้ ฟูดนิ ที่ปนเปื อ้ นพีเอเอชและปิ โตรเลียม [แก้ ] อ้ างอิง 1.

^ Chouychai, W., Thongkukiatkul, A., Upatham, S., Lee, H., Pokethitiyook, P., and Kruatrachue, M. (2009). Plant-assisted phenanthrene and pyrene biodegradation in acidic soil. Journal of Environmental Biology,30, 139-144


2.

^ Chouychai, W., Tongkukiatkul, A., Upatham, P., Lee, H., Pokethitiyook, P., Kruatrachue, M. (2007). Phytotoxicity of crop plant to phenanthrene and pyrene contaminants in acidic soil. Environmental Toxicology, 22 (6), 597 – 604 

 

พันทิพา พงษ์ เพียจันทร์ . หลักการอาหารสัตว์ หลักโภชนศาสตร์ และการประยุกต์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้ าวโพด เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ข้ าวโพด เว็บไซต์กรมวิชาการเกษตร

[แก้ ] แหล่ งข้ อมูลอื่น

คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่นๆ เกี่ยวกับ: ข้ าวโพด

วิกิสปี ซีส์ มีข้อมูลภาษาอังกฤษเกี่ยวกับ: Zea mays  

      

"Tracking the Ancestry of Corn Back 9,000 Years," New York Times, May 25, 2010 Crop Wild Relatives Gap Analysis Portal reliable information source on where and what to conserve ex-situ, regarding Zea genepool Growing Corn Information on the uses and starting of corn seed Zea mays at Plants For A Future Maize Genetics and Genomics Database project The Maize Genome Sequence Browser Corn ที่ ดีมอซ Zea mays, corn taxonomy, facts, life cycle, kernel anatomy at GeoChemBio.com Major topic "Zea mays": free full text articles in National Library of Medicine


ข้ าวโพดกวนแบบโบราณ

ส่ วนผสมข้ าวโพดกวนโบราณ (สูตรกะทัดรัด) 1. ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์

15

รวง

2. นา้ ตาลปี๊ บ

1.5 - 2 กิโลกรัม

3. นา้ กะทิ

1

กิโลกรัม (มะพร้ าวประมาณ 3 ลูก)

4. เกลือป่ น

1

ช้ อนชา

วิธีการทา 1. นาข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ (สุวรรณ1) ที่ค่อนข้ างแก่ ระยะข้ าวโพดย่ าง มา หั่นเป็ นชิน้ เล็กๆ 2. นาข้ าวโพดที่ห่ ันแล้ วมาบดด้ วยครกบดให้ ละเอียดโดยเติมนา้ เข้ าไป ด้ ว ย (หากจะน ามะพร้ าวขู ดมาผสมกั บข้ า วโพดตามอัต ราส่ ว นแล้ ว นามาคัน้ พร้ อมกันเลยก็ได้ ) 3. นานา้ ข้ าวโพด นา้ กะทิ และเกลือมาผสมกันตัง้ ไฟ ใช้ ไฟค่ อนข้ างแรง และต้ องกวนด้ วยไม้ พายตลอดเวลาไม่ ให้ ก้นกระทะไหม้ และให้ สุกทั่ว กันค่ ะ ขัน้ ตอนนีจ้ ะต้ องดูความเข้ มข้ นของส่ วนผสมด้ วยโดยมีวิธีง่ายๆ คือ จุ่มมือลงในส่ วนผสม หากมีแป้งติดที่หลังมือมากให้ เติมนา้ ลงไป อีก หากแป้งติดน้ อยหรื อไม่ ติดเลยให้ เติมแป้งข้ าวโพดลงไป สาหรั บ ปริมาณที่พอดี คือ แป้งติดหลังมือนิดหน่ อยพอเป็ นสีขาวๆค่ ะ


-2-

4.เมื่อแป้งสุกได้ ท่ ใี ช้ เวลาประมาณ 30 นาที ใส่ นา้ ตาลปี๊ บตามอัตราส่ วนข้ างต้ น กวนต่ อ จนได้ ท่ ี จึงยกลงเทใส่ ถาดที่เตรียมไว้ พักจนเย็นแล้ วนาไปตัดเป็ นชิน้ ๆ ค่ ะ เวลาที่ใช้ ในการกวนทัง้ หมดประมาณ 1 ชั่วโมงค่ ะ คุณรุ จิรา ทองพัฒน์ นั กวิชาการส่ งเสริ มการเกษตร 6 ว. เจ้ าหน้ าที่เคหะกิจของเราได้ ให้ ความรู้ เพิ่มเติมว่ า สาเหตุท่ ีใช้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในระยะใกล้ แก่ เนื่องจากมีปริ มาณแป้งข้ าวโพดสูงเมื่อนามา กวนจะได้ ปริ มาณเนือ้ ขนมมากตามไปด้ วยและขนมก็มีรสชาติท่ ีอร่ อยกว่ าการผสมแป้ง ในปั จจุบันนิยมใช้ ข้าวโพดหวานมาผสมกับแป้งแล้ วกวนตามอัตราส่ วนเมื่อเปรี ยบเทียบ ต้ นทุนการผลิตแล้ วการกวนโดยใช้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ มีต้นทุนที่ต่ ากว่ ามากเนื่ องจากไม่ ต้ องซือ้ แป้งมาผสมและได้ เนื อ้ ขนมมากกว่ าด้ วยค่ ะ ในวันที่ข้าพเจ้ าและคณะไปเราจะ เห็นว่ าปริ มาณนา้ แป้งข้ าวโพดก่ อนกวนและขนมหลัง กวนแตกต่ างกันแค่ ประมาณ 10 15% เท่ านัน้ เองค่ ะ ส่ วนในการหั่นคุณป้าก็ได้ ประยุกต์ ใช้ เครื่องมือของช่ างไม้ คือ กบไสไม้ มาหั่น จากการสอบถามก็ทราบว่ าการใช้ กบไสไม้ ทาให้ การหั่นสะดวกขึน้ ข้ าวโพดไม่ ล่ ืน หรือกลิง้ ไปมา และขนาดชิน้ ข้ าวโพดก็เล็กกว่ าการหั่นด้ วยมือทั่วไปทาให้ สะดวกในการคัน้ นา้ ข้ าวโพดค่ ะ สาหรับข้ าวโพดที่ป้าสมจิตร บานเย็นและคณะนามากวนก็ไม่ ใช่ ข้าวโพดที่ ไหนไกลค่ ะเป็ นข้ าวโพดที่ปลูกแซมในสวนลองกองเพื่อไว้ ใช้ เลีย้ งไก่ ท่ บี ้ านคุณป้า ซึ่งเป็ น การเพิ่มมูลค่ าของผลผลิตเกษตรไปในตัวค่ ะ หากท่ านใดสนใจลองนาไปทาดูนะค่ ะ

ข้ าวโพดหลังบ้ าน

วิธีการหั่น

ใช้ มือจุ่มดูความเข้ มข้ น


วัสดุอุปกรณ์

ขั้นตอนวิธีการทา วิธีที่ 1

นาข้าวโพดดิบมาต้มให้สุก วิธีที่ 2

หลังจากนาข้าวโพดที่ตม้ สุ กแล้วมาแช่น้ าเกลือ


วิธีที่ 3

นาข้าวโพดมาแกะเป็ นชิ้นๆ วิธีที่ 4

นาข้าวโพดที่แกะแล้วมาใส่ ในเครื่ องปันแล้วก็ปันให้ละเอียดดังรู ป

รู ปที่สาเร็ จที่ปันละเอียดแล้ว


วิธีที่ 5

หลังจากนั้นก็นากระทะมาตั้งให้ร้อน วิธีที่ 6

เทน้ ากะทิลงในกระทะแล้วทิ้งให้ร้อน วิธีที่ 7

จากนั้นนาข้าวโพดกวนมาเทใส่ ลงไปในกะทิร้อนๆที่ได้เตรี ยมเอาไว้แล้ว วิธีที่ 8

จากนั้นก็เริ่ มกวนข้าวโพดให้คุกเค้ากันกับกะทิดงั รู ป


วิธีท่ ี 9

จากนันก็ ้ ใส่น ้าตาลลงไปแล้ วก็กวนให้ เข้ ากันจนออกมาเป็ นแบบดังรูป

วิธีท่ ี 10

ผลที่ได้ รับ(เสร็จแล้ ว)


ฉลากสิ นค้ า

ฉลากหน้ าถุงกระดาษ



ฉลากสิ นค้ าและโภชนการ



LOGO


Mood-Board





Sketch Up





Sketch Model


อ้างอิง

ประวัติความเปนมาของข้าวโพด http://kanchanapisek.or.th/kp6./BOOK3/chapter2/-3-2-11.htm เทคนิคการปลูกข้าวโพดหวาน http://www.vegetweb.com วิ ีการทาข้าวโพดกวน http://topicstock.pantip.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.