เล่มฝึกงาน นางสาว มณีกานต์ ทองชุม

Page 1



กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ขา้ พเจ้าได้มาฝึ กงาน ณ บริ ษทั G”MM’GRAMMY Co.,Ltd. ตั้งแต่วนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2556ถึ ง วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.6552 ส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับความรู ้ใหม่ๆและประสบการณ์ต่างๆอย่างมากมาย สาหรับรายงาน การฝึ กงานฉบับนี้สาเร็จลงได้ดว้ ยดีจากความร่ วมมือและสนับสนุนจากหลายฝ่ าย และบุคคลท่านอื่นๆในแผนก Computer Graphic ทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือในการจัดทารายงานฉบับนี้ ข้าพเจ้าใคร่ ขอขอบพระคุ ณผูท้ ี่มีส่วนเกี่ ยวข้อ งทุกท่านที่มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มู ล เป็ นที่ปรึ กษาในการทา รายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวติ การทางานจริ ง ข้าพเจ้าขอขอบคุณ ไว้ ณ ที่น้ ี

นางสาว มณี กานต์ ทองชุม ผูจ้ ดั ทารายงาน 22 มิถุนายน 2556


บทคัดย่ อ ครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย[2] ก่ อ ตั้งโดย ไพบูลย์ ดารงชัยธรรม และเรวัต พุทธิ นันทน์ เมื่ อ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็ นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทยและอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับ ของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ[ต้องการอ้างอิง] นอกจากนี้ ยงั เป็ นบริ ษทั ที่มีคนอยากเข้าทางานมากที่สุดเป็ นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย[ต้องการอ้างอิง] จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทาธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวทิ ยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อี เวนต์เมเนจเม้น ท์ เป็ นต้น โดยระยะแรกด าเนิ นธุ ร กิ จ หลักสร้ างสรรค์ผ ลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัล บั้ม ชุ ด แรก "นิยายรั กจากก้ อนเมฆ" โดย แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิม้ ใส่ ไข่, มัน กว่าแห้ว และ เสียงติวดาว จากนั้นจึงเริ่ มขยายกิจการ ไปสู่ ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ บริ ษทั ได้ขยาย การดาเนิ นธุรกิจเข้าสู่ ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์ , การจัดคอนเสิ ร์ต, การศึกษา, สื่ อสิ่ งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจ ร้านค้าปลีบเพื่อจัดจาหน่ ายสิ นค้าต่างๆ ของบริ ษทั ในเครื อ เช่นเทปและซี ดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่ าวส่ งให้บริ ษทั ดาเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็ นผูน้ าในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้ก่อตั้งบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จากัด (มหาชน) เพือ่ ดาเนินธุรกิจสื่อทุกประเภท


5

สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ

หน้า 1 2 3

บทที่ 1 บทนา 4 1.1 ชื่อและที่ต้งั สถานที่ประกอบการ 6 1.2 ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ 7 1.3 รู ปแบบการจัดการองค์กรและการบริ การงานขององค์กร 8 1.4 หลักการ 8 1.5 วัตถุประสงค์ของการฝึ กงาน 8 1.6 การปฏิบตั ิตวั ระหว่างการฝึ กงาน 8 บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ 10 2.1 ที่มาและจุดเริ่ มต้นของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ 10 2.2 การวิเคราะห์ โดยใช้ McKinsey 15 2.3 การจัดโครงสร้างเพือ่ การโฆษณาและการส่งเสริ มการตลาดในองค์กร 19 บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 20 3.1 การปฎิบตั ิงานของฝ่ าย Computer Graphic บริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ 20 3.2 งานที่ได้รับมอบหมาย 21 บทที่ 4 ผลที่ได้ รับจากการปฎิบัติงาน 29 บทที่ 5 สรุปผลการปฎิบัติงาน 32 บรรณานุกรม 33 ภาคผนวก 35


6

บทที่ 1 บทนา ชื่อและทีต่ ้ งั สถานทีป่ ระกอบการ หน่วยงานที่ฝึกงาน : G”MM’ GRAMMY Co.,Ltd. แผนก Computer graphic design ที่ต้งั : เลขที่ 50 ซอย สุขมุ วิท 21 (อโศก) แขวง คลองเตยเหนือ เขต วัฒนา กรุ งเทพฯ โทรศัพท์: 02-6698392 ประเภท

บริ ษทั มหาชน (SET:GRAMMY)

ก่ อตั้งเมื่อ

11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526

อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่เพลส สานักงานใหญ่ ถนนอโศกมนตรี แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนากรุ งเทพมหานคร

บุคลากรหลัก

ไพบูลย์ ดารงชัยธรรม - ประธานกรรมการ กิตติศกั ดิ์ ช่วงอรุ ณ - ประธานหน้าที่กรรมการกลุ่ม บุษบา ดาวเรื อง - ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารกลุ่ม สายทิพย์ มนตรี กุล ณ อยุธยา - ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร (สายธุรกิจสื่อ) กริ ช ทอมมัส - ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร (สายธุรกิจเพลง) ธนา เธียรอัจฉริ ยะ - ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร (สายธุรกิจบรอดแคสติ้ง)

อุตสาหกรรม

สื่อดนตรี และบันเทิง

ผลิตภัณฑ์

สื่ อ ดนตรี สื่ อ โทรทัศน์ สื่ อ สิ่ งพิม พ์สื่อวิทยุ สื่ อ ภาพยนตร์ สื่ อ ดิ จิตอลละครเวที อี เวนต์ อื่นๆ

รายได้

8,863.97 ล้านบาท (รายได้รวมปี พ.ศ. 2553)

จานวนพนักงาน 5,216 คน เว็บไซต์

www.gmmgrammy.com


7

ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (อังกฤษ: GMM Grammy) เป็ นบริ ษทั แม่ของกิจการบันเทิง ซึ่ งประกอบด้วย กลุ่ม ธุรกิจดนตรี , สื่ อ, ภาพยนตร์ , ดิจิตอล, สถานี โทรทัศน์ดาวเทียม, สถานี วิทยุ, สื่ อสิ่ งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจ เม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย[2] ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดารงชัยธรรม และเรวัต พุทธิ นันทน์ เมื่อวันที่ 11พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็ นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทยและอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิ ตยสารชื่อดังของอังกฤษ[ต้องการอ้างอิง] นอกจากนี้ ยงั เป็ นบริ ษทั ที่มีคน อยากเข้าทางานมากที่สุดเป็ นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย[ต้องการอ้างอิง] จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทาธุ รกิจทางด้านดนตรี สื่ อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานี โทรทัศน์ดาวเทียม สถานี วิทยุ สื่ อ สิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็ นต้น โดยระยะแรกดาเนิ นธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก "นิยายรั กจากก้ อนเมฆ" โดย แพทย์หญิงพันทิวา สิ นรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสี ยงติวดาว จากนั้นจึงเริ่ มขยายกิจการ ไปสู่ ธุรกิ จผลิ ตรายการ โทรทัศน์และรายการวิทยุ บริ ษทั ได้ขยายการดาเนิ นธุรกิจเข้าสู่ ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์ , การ จัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีบเพือ่ จัดจาหน่ ายสิ นค้าต่างๆ ของบริ ษทั ในเครื อ เช่ น เทปและซี ดีเ พลงการขยายธุ ร กิ จ ดัง กล่ า วส่ ง ให้บ ริ ษ ัทด าเนิ น ธุ รกิ จ อย่า งครบวงจร และเป็ นผูน้ าใน อุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้ก่อตั้งบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จากัด (มหาชน) เพือ่ ดาเนินธุรกิจสื่อทุกประเภท โดยงานคอมพิว เตอร์ ก ราฟฟิ ก ของจี เ อ็ ม เอ็ ม จะต้อ งไม่ ใ ช่ ง านที่ แ ค่ เ น้น ในเรื่ อ งของความคิ ด สร้างสรรค์เพียงอย่างเดี ยวเท่านั้น แต่จะต้อ งมีเรื่ องของการออกบริ หารงานนอกสถานที่กับทีม และดารา นักแสดง เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เนื่ องจาก GRAMMY เชื่ อว่างานกราฟฟิ กที่ดีตอ้ งเป็ น Consumer in mind Event ไม่ใช่เป็ นแค่ Art Form เพราะงานสื่อในทีวถี ือเป็ นการลงทุนของลูกค้าที่ตอ้ งทาให้อยูใ่ น Art form ที่ดี ดังนั้นจะเห็นว่างานโฆษณาของ GRAMMYส่ วนใหญ่มกั จะไม่ค่อยมีเรื่ องของรางวัลเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่เมื่อ เทียบกันในเรื่ องของยอดขายแล้วงาน เพลงและสื่อรายการทีวขี อง GRAMMY ถือว่าติดอยูใ่ นอันดับต้นๆ ใน การสร้างยอดขายให้กบั ลูกค้า ซึ่ งงานเพลงและสื่ อรายการทีวีที่สามารถสร้างยอดขายของสื่ อรายการทีวีให้ เพิม่ ขึ้นได้ถือว่าเป็ น รางวัลของคนทางานซึ่งแมคแคนจะให้ความสาคัญในส่วนนี้ เป็ นอันดับแรก ส่ วนการได้ รางวัลจากการประกวดแมคแคนจะให้ความสาคัญในเรื่ องนี้เป็ นอันดับ 6 ผูด้ ูแลควบคุมการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ


8

รู ปแบบการจัดการองค์กรและการบริการงานขององค์กร ลักษณะงานที่นิสิตได้ รับมอบหมายให้ รับผิดชอบ ช่ วงระยะเวลาฝึ กงาน : วันที่ 1 มีนาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาและสภาพในการทางานช่วงเวลาในการฝึ กงาน :เริ่ มฝึ กงานตั้งแต่วนั ที่ 1 มีนาคม เวลา 10.00 น.เวลา พักกลางวันเวลา 12.00 – 13.00 น. เลิกงาน 19.00 น. สภาพในการทางาน : สถานที่ทางานตั้งอยูใ่ นอาคาร G”MM’ Computer Graphic ชั้น 25 ซึ่งเป็ นส่ วนของการ ปฏิบตั ิงานด้านกราฟฟิ กโดยมีหอ้ งทางานเป็ นโต๊ะทางานแบบล็อคของแต่ละคนมีคอมพิวเตอร์คนละเครื่ อง หลักการ 1.จัดประสบการณ์ให้เป็ นระบบและกระบวนการที่ต่อเนื่อง 2.ให้มีการฝึ กสถานการณ์จริ งให้มากที่สุดเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการทางานให้กบั นักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีให้สอดคล้องกับการนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 4.สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีระหว่างสถาบันกับองค์การและหน่วยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีศกั ยภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานและผูใ้ ช้ วัตถุประสงค์ของการฝึ กงาน 1. เพือ่ ให้นกั ศึกษามีโอกาสเรี ยนรู ้และได้รับ ประสบการณ์ชีวติ การทางานที่แท้จริ ง 2. เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เตรี ยมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทางาน 3. เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้รู้จกั การปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพือ่ ให้นกั ศึกษานาประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึ กงานมาประยุกต์ใช้ในการทางานต่อไป การปฏิบัติตัวระหว่ างการฝึ กงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณี ใส่เสื้อช็อปต้องผ่านความเห็นชอบจากบริ ษทั ก่อน 4. การลากิจ ลาป่ วย ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่ องการวางตัวและการใช้เครื่ องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่ องระยะเวลาการฝึ กงานหรื อ เรี ยกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน


9

7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึ กงานก็คือการทางาน และทาการ ฝึ กงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ 9. การไปฝึ กงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่กระทา การ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม 10. ในระหว่างการฝึ กงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึ กษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดต่อกลับมา ยังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถา้ มีปัญหาเกี่ยวกับการฝึ กงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึ กงานให้ติดต่อคณะฯ หรื อมหาวิทยาลัย


10

บทที่ 2 รายละเอียดเกีย่ วกับทีป่ ฎิบัติงาน การจัดการภายในองค์ กร ที่มาและจุดเริ่มต้ นของ G”MM’ พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2529 เมื่ อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 เรวัต พุทธินันทน์ และไพบูลย์ ดารงชัยธรรม ร่ วมกับกลุ่ มเพื่อ นจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก่อตั้งบริ ษทั แกรมมีเอ็นเตอร์เทนเมนต์ จากัดขึ้นเพื่อ ดาเนินธุรกิจดนตรี มีสถานะเป็ นค่ายเพลง และผลิตศิลปิ นนักดนตรี เป็ นหลัก มีศิลปิ นคนแรกคือ แพทย์หญิง พันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิม้ ใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติวดาว ในปี พ.ศ. 2527 แกรมมี่ประสบความสาเร็จอย่างมากในการออกอัลบั้ม เต๋ อ 1 ของ เรวัต พุทธินันทน์ และใน ปี พ.ศ. 2529 มีการออกอัลบั้มแรกของ ธงไชย แมคอินไตย์ อัลบั้ม หาดทราย สายลม สองเรา ออกวางตลาด พร้อมทั้งเพิม่ การผลิต แนวเพลงร็อค ได้แก่ วงไมโคร ในอัลบั้มแรก ร็อก เล็ก เล็ก พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2536 ในปี พ.ศ. 2531 จัดตั้งบริ ษทั เอ็มจีเอ จากัด ( MGA ) เพือ่ ผลิตและจัดจาหน่ายเทปเพลงและสินค้าบันเทิงต่างๆ จากนั้นจึงเริ่ มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ ในปี พ.ศ. 2532 ได้ขยายธุ รกิ จวิทยุ โดยจัดตั้ง บริ ษทั เอไทม์ มีเดีย จากัด ควบคุ มโดย สายทิพย์ ประภาษา นนท์ ออกอากาศ GreenWave และ Hot Wave เป็ นสองสถานีแรก ในปี พ.ศ. 2534 จัด ตั้ง บริ ษ ัท เอ็ ก แซ็ ก ท์ จ ากัด โดยผลิ ต รายการโทรทัศ น์ ควบคุ ม โดย ถกลเกี ย รติ วีรวรรณ และเริ่ มออกอากาศละครซิ ทคอม เรื่ อง "3 หนุ่ ม 3 มุม" และในปี เดียวกัน ได้จดั สร้างบริ ษทั เอ็กซ์ ทรอกาไนเซอร์ จากัด เป็ นธุรกิจการแสดงและคอนเสิร์ต ทาให้บริ ษทั เจริ ญเติบโตมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2536 บริ ษทั เริ่ มต้นเข้าสู่ยคุ ยุดแห่งการคุม้ ครองลิขสิทธิ์และภูมิปัญญาของผูส้ ร้างสรรค์ผลงานเพลง และผลงานบันเทิง และเมื่อปี พ.ศ. 2537 เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เป็ นบริ ษทั แกรมมีเอ็นเตอร์เทน เมนต์ จากัด (มหาชน) ดาเนินการทาธุรกิจดนตรี และสื่อควบคู่กนั เรื่ อยมา จนกระทัง่ กลายเป็ นบริ ษทั ที่ครอง ตลาดเพลงเป็ นอันดับหนึ่งของประเทศไทยโดยมีรายได้จากธุรกิจดนตรี ไม่นอ้ ยกว่า 3,000 ล้านบาทต่อปี ในปี


11

เดียวกันเริ่ มมีธุรกิจภาพยนตร์โดยชื่อว่า แกรมมี่ภาพยนตร์ หรื อ แกรมมี่ ฟิ ล์ม และเมื่อปี พ.ศ. 2539 เริ่ มขยาย เข้าสู่ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ โดยการเข้าลงทุนในนิตยสารอิมเมจ พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2547 แล้วจากนั้นก็เริ่ มขยายไปยังตลาดต่างประเทศ โดยเปิ ดบริ ษทั ในประเทศไต้หวัน ในปี พ.ศ. 2540 และใน ปี พ.ศ. 2542 ได้มีการจัดตั้งสถาบันดนตรี โรงเรี ยนมีฟ้า แล้วปี ถัดไปในปี พ.ศ. 2543 จัดตั้งหน่ วยธุรกิจ E Business ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2545 มีการปรับโครงสร้างธุรกิจและองค์กรครั้งใหญ่ โดยแบ่งการดาเนินธุรกิจเป็ นสองกลุ่ม อย่างชัดเจน พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็ นบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จากัด (มหาชน) (เปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2544) และ ก่อตั้งบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จากัด (มหาชน) ควบคุมโดย สายทิพย์ มนตรี กุล ณ อยุธยา เพื่อดาเนิ นธุรกิจสื่ อ ทุกประเภท โดยนาทั้งสองบริ ษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และมีมูลค่าตลาดอยูท่ ี่ 5,000 ล้านบาท โดยมีการโอนขายบริ ษทั ย่อ ยที่ประกอบธุรกิจวิทยุ ธุ รกิจผลิตรายการโทรทัศน์ และธุรกิ จ สิ่งพิมพ์ จานวน 8 บริ ษทั ต่อ มาในปี พ.ศ. 2546 กลุ่ ม บริ ษ ัทมี ก ลยุทธ์ใ นการขยายธุ ร กิ จ ภาพยนตร์ ภายในปี เดี ยวกันมี ภาพยนตร์ เรื่ อง แฟนฉัน โดย 365 ฟิ ล์ม ร่ วมทุนสร้างกับ ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ หับ โห้ หิ้ น เป็ นภาพยนตร์ที่ทา รายได้มากที่สุดจากการฉายสูงสุดในปี นั้น ด้วยมูลค่าถึง 137.7 ล้านบาท และในปี เดียกัน ภาพยนตร์เรื่ อง บิวตี้ ฟูล บ๊อกเซอร์ ยังได้รับความสนใจจากต่างประเทศอย่างมาก กากับโดย เอกชัย เอื้อครองธรรม จากนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2547 บมจ.จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีรายได้และกาไรสูงที่สุดนับแต่ก่อตั้ง เป็ นจานวนกว่า 6,671 ล้านบาท และเป็ นผลให้มูลค่าตลาดของ กลุ่มบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีมูลค่ากว่า 11,025 ล้านบาท และในปี เดี ยวกันบริ ษทั ตั้งเป้ าหมายสู่ การเป็ น "King of content" โดยการร่ วมทุนกับพันธมิตรทางธุ รกิ จ ได้แก่ บริ ษทั ดีทอล์ก จากัด เป็ นธุรกิจโทรทัศน์, บริ ษทั สยามอินฟิ นินิท จากัด ให้บริ การเกมออนไลน์, บริ ษทั จีเอ็ม เอ็ ม ไท หับ จากัด ธุ ร กิ จภาพยนตร์ และบริ ษ ัท นิ น จา รี เ ทิ นส์ คอมมู นิเ คชั่น จ ากัด รั บ จัด กิ จ กรรมและ คอนเสิร์ต พ.ศ. 2548 - 49 ในปี พ.ศ. 2548 ในเดือนเมษายน ได้ขยายเข้าสู่ธุรกิจอีเวนท์ โดยเข้าลงทุน 50% ในบริ ษทั อินเด็กซ์ อีเวนต์เอ เจนซี่ จากัด (มหาชน) ( Index Event ) ผ่านบริ ษทั ย่อย บมจ.จีเอ็มเอ็ม มีเดีย ในเดือนเดี ยวกัน ได้รับผลโหวต


12

ให้เป็ น "Best Small Cap" ของประเทศไทย และได้อนั ดับสองในการจ่ายเงินปั นผลสม่ าเสมอ ซึ่ งจัดโดยนิ ตร สาร FinanceAsia -เดือนมิถุนายน เข้าลงทุนใน บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เพือ่ พัฒนาความร่ วมมือทางธุรกิจ เช่น ช่องทางการจาหน่ายสินค้า -เดือนกรกฎาคม เข้าร่ วมทุนในบริ ษทั คลีน คาราโอเกะ จากัด เพื่อให้บริ หารจัดการเรื่ องลิขสิ ทธิ์เพลง การจัดการเรี ยกเก็บเงิน จากตูค้ าราโอเกะ โดยบริ ษทั ถื อหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 80 ของทุนจดทะเบียน จานวน 20 ล้านบาท -เดื อ นกันยายน ลงทุนผ่านบมจ.จีเอ็มเอ็ม มี เดี ย เพื่อ ขยายเข้าสู่ ธุรกิ จหนังสื อ พิมพ์ โดยลงทุนใน มติ ชน ในสัดส่วน 20% และบริ ษทั โพสต์ พับบลิชชิ่ง จากัด (มหาชน) ในสัดส่วน 23.6% ในปี พ.ศ. 2549 เข้าร่ วมทุนในบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม ฟิ ตเนส คลับ จากัด เพื่อให้บริ การด้านสถานออกกาลังกาย โดยบริ ษทั ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน จานวน 40 ล้านบาท ในปี เดียวกัน เข้าร่ วมทุนใน บริ ษทั ลักษ์มิวสิก 999 จากัด เพือ่ ขยายธุรกิจด้านผลิตและจัดจาหน่ายสินค้าเพลงโดยบริ ษทั ถือหุ ้นในสัดส่ วน ร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนจานวน 20 ล้านบาท พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน ในปี ต่อมา พ.ศ. 2550 บริ ษทั ซื้ อหุ ้นสามัญของบริ ษทั ทรี -อาร์ดี จากัด ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 50 จานวน 2.63 ล้านบาท ในปี เดียวกัน บริ ษทั จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จากัด (มหาชน) ได้ลงทุนในหุน้ สามัญของแชนแนลวี ไทย แลนด์ มิวสิก ในสัดส่วนร้อยละ 25 จานวน 16.65 ล้านบาท จากนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2551 มีการปรับโครงสร้างธุรกิจและองค์กรขนานใหญ่อีกครั้ง โดยเพิกถอน บมจ.จีเอ็ม เอ็ม มีเดีย ออกจากตลาดหลักทรัพย์ และให้ บมจ.จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เข้าถือหุ ้นทั้งหมด เพื่อควบรวมกิจการ โดยให้ บมจ.จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็ นบริ ษทั แม่ของกลุ่ม ส่งผลให้มีรายได้กาไรสุ ทธิในปี นั้น เป็ นจานวน 7,834 ล้านบาท ซึ่งสูงสุดอีกครั้งนับแต่ก่อตั้ง ต่อ มาเมื่อ ปี พ.ศ. 2552 กลุ่ มบริ ษทั จีเอ็ม เอ็ม แกรมมี่ ร่ วมถื อ หุ ้นกับตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยใน สัดส่วน 50% ผ่านบริ ษทั แฟมมิลี่ โนฮาว จากัด[5] โดย บมจ.จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จัดตั้งสถานี โทรทัศน์ผ่านระบบ ดาวเที ย มขึ้ น จ านวน 4 ช่ อ งสัญ ญาณ ด้ว ยเงิ น ลงทุ น จ านวน 500 ล้า นบาท เพื่ อ น าเสนอในรู ป แบบ สถานีโทรทัศน์บนั เทิง ซึ่งใช้เวลาออกอากาศตลอด 24 ชัว่ โมง


13

และในปี พ.ศ. 2553 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีรายได้รวมสู งสุ ดกว่า 8,863 ล้านบาท ในปี เดียวกัน ได้เข้าร่ วมลงทุน ในบริ ษทั แอ็กซ์ สตูดิโอ จากัด และ บริ ษทั เอ็กแซ็กท์ จากัด ซึ่งเป็ นบริ ษทั ร่ วมเพือ่ ดาเนินการก่อสร้างสตูดิโอ ขนาดใหญ่ โดยถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนจานวน 200 ล้านบาท ในปี เดี ยวกัน เข้าร่ วมลงทุนในบริ ษทั ลักษ์ แซทเทิล ไลท์ จากัด เพื่อผลิ ตรายการโทรทัศน์ออกอากาศผ่าน ดาวเทียม โดยถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียนจานวน 20 ล้านบาท บุคลากรสาคัญ -เรวัต พุทธินน ั ทน์ - เศรษฐศาสตร์บณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นโปรดิวเซอร์ นักแต่งเพลง และ

ร่ วมก่อตั้ง แกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ร่ วมกับ ไพบูลย์ ดารงชัยธรรม เรวัตินับเป็ นผูป้ ฏิวตั ิวงการเพลง ไทย ให้ไปสู่ยคุ ทองแห่งความเจริ ญรุ่ งเรื อง (เสียชีวติ แล้ว) -ไพบูล ย์ ดารงชัยธรรม – นิ เทศศาสตร์ บ ณ ั ฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูก้ ่อตั้ง แกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ร่ วมกับ เรวัต พุทธินันทน์ ปั จจุบนั ไพบูลย์เป็ นผูบ้ ริ หารสู งสุ ด และผูถ้ ือหุ ้น ใหญ่ที่สุด ของกลุ่มบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -กิ ตติศกั ดิ์ ช่ วงอรุ ณ – นิ เทศศาสตร์ บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูร้ ่ วมงานกับแกรมมี่เอ็นเตอร์เท นเม้นท์ต้งั แต่ยคุ แรก ปั จจุบนั เป็ นประธานหน้าที่กรรมการกลุ่มบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -บุ ษบา ดาวเรื อ ง – ศิล ปศาสตร์ บ ณ ั ฑิ ต มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ ผูร้ ่ ว มงานกับแกรมมี่ เอ็น เตอร์ เ ท นเม้นท์ต้งั แต่ยคุ แรก ปั จจุบนั เป็ นประธานเจ้าหน้าที่บริ หารกลุ่ม -สายทิ พ ย์ มนตรี กุล ณ อยุธยา – นิ เทศศาสตร์ บ ณ ั ฑิต (สื่ อ สารมวลชน) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ผู ้ ดาเนินงานสถานี วิทยุเพลงของแกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเมนต์ต้ งั แต่ยคุ แรก ปั จจุบนั ดารงตาแหน่ งประธาน เจ้าหน้าที่บริ หาร (สายธุรกิจสื่อ) บมจ.จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร บมจ.จีเอ็มเอ็ม มีเดีย กรรมการผูจ้ ดั การ บจก.เอ-ไทม์มีเดีย (สายงานธุรกิจวิทยุ) และ บจก.เอไทม์แทร เวเลอร์ (สายงานธุรกิจนาเที่ยว) ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -กริ ช ทอมมัส – นิ เทศศาสตร์บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูร้ ่ วมงานกับแกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ตั้งแต่ยคุ แรก ปั จจุบนั ดารงตาแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร (สายธุรกิจเพลง) ของกลุ่มบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และผูบ้ ริ หารสูงสุดของ บจก.แกรมมี่โกลด์ ค่ายเพลงลูกทุ่ง ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -ถกลเกียรติ วีรวรรณ - บัณฑิตสาขาการละคร มหาวิทยาลัยบอสตัน เป็ นโปรดิ วเซอร์ ละครโทรทัศน์ คน แรกของแกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ผูก้ ่อตั้งและกรรมการผูจ้ ดั การ บจก.เอ็กแซ็กท์ และ บจก.ซี เนริ โอ ใน


14

เครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ปั จจุบนั เป็ นกรรมการ บจก.จีเอ็มเอ็ม มีเดีย และกรรมการผูจ้ ดั การ บจก.ทีนทอล์ค อีกด้วย -วาณิ ช จรุ งกิจอนันต์ - อดีตกรรมการกลุ่มบริ ษท ั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และกวีซีไรต์ (เสียชีวติ แล้ว) -นิ ติพงษ์ ห่ อนาค – สถาปั ตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกวงเฉลียง และนัก แต่งเพลงคนดังของแกรมมี่ต้งั แต่ยคุ แรก ปั จจุบนั เป็ นรองกรรมการผูอ้ านวยการสายงานธุรกิจเพลง ของ กลุ่มบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -ธงไชย แมคอินไตย์ - เป็ นศิลปิ นนักร้องของแกรมมี่ ต้ งั แต่ยค ุ แรก ปั จจุบนั เป็ นนักร้องซูเปอร์สตาร์ดาว ค้างฟ้ าของไทย ซึ่ งมี ยอดจาหน่ ายของทุกอัลบั้มเพลงรวมกันมากกว่า 20 ล้านชุด อันเป็ นสถิ ติสูงสุ ด ตลอดกาล -อัสนี และ วสันต์ โชติกุล - เป็ นศิลปิ นคนสาคัญของแกรมมี่ เอ็นเตอร์ เทนเมนท์ ปั จจุบน ั เป็ นกรรมการ สายงานธุรกิจเพลง ของกลุ่มบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และกรรมการผูจ้ ดั การ บจก.มอร์มิวสิ ก ค่ายเพลง ร็อกในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -วิ สู ต ร พู ล วรลั ก ษณ์ – นิ เ ทศศาสตร์ บ ัณ ฑิ ต จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ผู ้บ ริ ห ารของ บจก.ไท เอ็นเตอร์เทนเมนท์ อดีตยักษ์ใหญ่วงการภาพยนตร์ไทย ปั จจุบนั เป็ นประธานกรรมการ บจก.จีเอ็มเอ็มไท หับ (จีทีเอช) ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -คารณ ปราโมช ณ อยุธยา - ปั จจุบน ั เป็ นกรรมการ บมจ.จีเอ็มเอ็ม มีเดีย ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และ บรรณาธิการบริ หารนิตยสารอิมเมจ -ยุทธนา บุญอ้อม – นิ เทศศาสตร์บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผูบ้ ริ หารและดีเจแฟตเรดิโอ อดีต บรรณาธิการบริ หาร นิ ตยสารเพลงดีดีที ปั จจุบนั เป็ นกรรมการอานวยการ บจก.สนามหลวงการดนตรี ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และดีเจ 89 ชิลเอฟเอ็ม -สุ เมธ ดารงชัยธรรม - เศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูบ้ ริ หารสายงานธุรกิจหลักของ กลุ่มบริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -กัลยารัตน์ วารณะวัฒน์ (นิ่ ม สี ฟ้า) - นักแต่งเพลงคนสาคัญของแกรมมี่ เอ็นเตอร์ เทนเมนท์ ปั จจุบน ั ยัง เป็ นผูด้ ูแลการผลิตงานเพลงและคอนเสิร์ต ของศิลปิ นในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ดว้ ย -สถาพร พานิ ชรักษาพงศ์ - กรรมการบริ หาร บจก.จีเอ็มเอ็มทีวี สายงานธุรกิจรายการโทรทัศน์ ในเครื อจี เอ็มเอ็ม แกรมมี่


15

-สุ รชาติ ตั้งตระกูล - อดีตผูบ้ ริ หาร บจก.สกายไฮเน็ตเวิร์ก ผูด้ าเนิ นงานสถานี วิทยุของ บมจ.อาร์ เอส ปั จจุบนั เป็ นกรรมการผูจ้ ดั การ บจก.จีเอ็มเอ็มบรอดแคสติง สายงานธุรกิจสถานี โทรทัศน์ดาวเทียม ใน เครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -วิเชียร ฤกษ์ไพศาล - รัฐศาสตร์ บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปั จจุบนั เป็ นกรรมการผูจ้ ดั การ บจก. จีนีเรคคอร์ดส ค่ายเพลงร็อกใหญ่ที่สุดในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -เกรี ยงกานต์ กาญจนะโภคิ น - บัณ ฑิต มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ปั จจุ บน ั เป็ นประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร บมจ.อินเด็กซ์อีเวนต์เอเจนซี สายงานธุรกิจรับจัดกิจกรรม ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -เกรี ยงไกร กาญจนะโภคิน - ปั จจุบน ั เป็ นประธานเจ้าหน้าที่บริ หารร่ วม อินเด็กซ์ครี เอทีฟวิลเลจ และ กรรมการผูจ้ ดั การ บจก.อราทิสต์ ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ -สันติสุข จงมัน ่ คง - สามีของบุษบา ดาวเรื อง ปั จจุบนั เป็ นกรรมการบริ หาร บจก.จีเอ็มเอ็มไลฟ์ สายงาน ธุรกิจโปรดักชัน่ คอนเสิร์ตโชว์บิซ ในเครื อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ นับเป็ นผูน้ าด้านการสร้ างสรรค์ และผลิ ตผลงานบันเทิ งทุกรู ปแบบ มาเป็ นระยะเวลา ยาวนาน มีวสิ ยั ทัศน์ในการเสริ มสร้าง ให้เป็ นองค์การแห่ งการเรี ยนรู ้ โดยส่ งเสริ มบุคลากร ให้มีความรักใน องค์กร และเชี่ยวชาญในงานที่ทา การวิเคราะห์ โดยใช้ McKinsey Strategy เนื่องจากไลฟ์ สไตล์ของผูบ้ ริ โภคที่เปลี่ยนแปลง และจากข้อมูลผลการวิจยั ถึงพฤติกรรม ผูบ้ ริ โภค พบว่าผูบ้ ริ โภคมีความต้องการหลากหลายมากยิง่ ขึ้น มี ความเป็ นตัวของตัวเองสู ง ปั จจัยดังกล่าว ส่งผลให้แกรมมี่ตอ้ งกลับมาทบทวน จนได้ขอ้ สรุ ปในการปรับโครงสร้างธุรกิจเพลง ที่เป็ นรายได้หลักของ บริ ษทั ฯ ครั้งใหญ่ บริ ษทั จึงนาแนวคิดการวางกลยุทธ์ Customer Centric เข้ามาปรับใช้ ที่ได้ยดึ เอาผูบ้ ริ โภค เป็ นศูนย์กลาง โดยมุ่งการจัดทัพในการเจาะกลุ่มตลาดเพลงด้วยการแยกย่อยเซ็กเมนต์อย่างชัดเจน เซ็กเมนต์ กลุ่มเพลงที่บริ ษทั แกรมมี่ ได้ทาการแบ่งออกมานั้นมี ด้วยกัน 6 ประเภท ได้แก่ ทีน ไอดอล (Teen Idol), ป๊ อป ไอดอล (Pop Idol), ร็ อก(Rock), เรโทร และวินเทจ(Retro & Vintage), นิ ช (Niche)และลูกทุ่ง(Country) โดย ในแต่ละกลุ่มที่ถูกแยกออกมานั้นจะมีความแตกต่าง เจาะเข้าหากลุ่มเป้ าหมายที่มีความหลากหลายทั้งช่วงอายุ และไลฟ์ สไตล์ ที่ชดั เจน


16

นอกจากนั้นยังมีการใช้กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ ง เพือ่ สร้าง Royalty Brand เช่น แบรนด์บริ ษทั คือ แกรมมี่โกลด์ แบรนด์ครู เพลง และแบรนด์นกั ร้อง Structure ลักษณะของโครงสร้างองค์กรมีประโยชน์ต่อการจัดทากลยุทธ์ขององค์กร เป็ น อย่า งมาก เนื่ อ งจากโครงสร้ า งขององค์ก รจะเป็ นตัว รองรั บ แผนกลยุท ธ์ขององค์ก ร ซึ่ งจะต้อ งมี ค วาม เหมาะสมและสอดคล้องกันด้วย ถ้าโครงสร้างขององค์กรมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ แล้ว ก็จะเป็ นจุดแข็งขององค์กร แต่ถา้ โครงสร้างขององค์กรไม่เหมาะสมสอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร ก็ จะทาให้เกิดเป็ นจุดอ่อนขององค์กร สาหรับโครงสร้างองค์กรของบริ ษทั แกรมมี่น้ นั จะเป็ นในรู ปแบบ Strategic Bussiness Unit (SBU) Structure คือเป็ นกลุ่มของหน่ วยธุรกิจที่เป็ นอิสระอยูภ่ ายใต้อานาจหน้าที่และความ รับผิดชอบของผูบ้ ริ หารระดับสู ง การจัดในรู ปแบบนี้ ทาให้มีตลาดเป้ าหมายที่ชดั เจน มีคู่แข่งที่สามารถระบุ ได้ โดยบริ ษทั แบ่งโครงสร้างการดาเนินธุรกิจ ออกเป็ น 7 กลุ่ม ดังนี้ -ธุรกิจเพลง -ธุรกิจสร้างสรรค์และรับจัดกิจกรรมและคอนเสิร์ต -ธุรกิจบริ หารศิลปิ น -ธุรกิจภาพยนตร์ -ธุรกิจดิจิตอล -ธุรกิจสื่อ -ธุรกิจอื่น ๆ


17

System ระบบการบริ หารจัดการภายในองค์กรจัดเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญอย่างยิง่ ในการที่ จะบริ หารจัดการองค์กรให้มีประสิทิภาพ สาหรับระบบที่บริ ษทั แกรมมี่ใช้น้ นั จะเป็ นรู ปแบบ Integration โดย การบริ หารจัดการนั้นมีการเชื่อมโยงข้อมูลกันในแต่ละฝ่ าย เพื่อให้งานออกมาอย่างมีคุณภาพ โดยเริ่ มจาก ระบบในการสรรหาและคัดเลือ กพนักงานที่มี คุณสมบัติเหมาะสม เพื่อช่ วยในการบริ หารดาเนิ นงานของ องค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพือ่ กระบวนการผลิตและสร้างสรรค์งานเพลงจากค่ายเพลงต่างๆ ของบริ ษทั จะได้ มีคุณภาพ มีระบบในการวางแผนการจัดจาหน่ ายทั้งการค้าส่ ง และค้าปลีกที่ได้ขอ้ มูลจานวนยอดสิ นค้ามา จากฝ่ ายผลิต ตลอดจนมีการนาข้อมูลจากผูบ้ ริ หารมาวางระบบการทากิจกรรมทางการตลาดเพือ่ ส่ งเสริ มการ ขาย และระบบการศึกษาและวิจยั เพื่อพัฒนาผลงานของกลุ่มบริ ษทั อยูต่ ลอดเวลา อีกทั้งยังมีการสารวจและ ประเมินผลการตอบรับเกี่ยวกับผลงานที่ได้ออกสู่สาธารณะชนไปแล้วว่ามีผลการตอบรับเป็ นอย่างไร ซึ่ งจะ ทาให้กลุ่มบริ ษทั ได้รับทราบถึงผลสะท้อนกลับของผูบ้ ริ โภคเพือ่ ใช้ในการพัฒนาและผลิตผลงานที่มีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของผูบ้ ริ โภคต่อไป Style รู ปแบบการทางานของผูบ้ ริ หารนั้น มีความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะผูบ้ ริ หาร ระดับสูง จะมีอิทธิพลต่อความรู ้สึกนึกคิดของพนักงานภายในองค์กร มากกว่าคาพูดของผูบ้ ริ หาร ซึ่ งถ้าหาก ผูบ้ ริ หารมีความมุ่งมัน่ ในการทางาน มีความสามารถในการจูงใจ เป็ นแบบอย่างในการทางานที่ดีก็จะเป็ นผล ในการสร้างขวัญและกาลังใจในการทางาน ของพนักงานเป็ นอย่างยิง่ ในส่ วนรู ปแบบการทางานของผูบ้ ริ หารบริ ษทั แกรมมี่ นั้นจะเป็ นลักษณะที่กล้าคิด กล้า ตัดสินใจ เป็ นคนที่มองการณ์ไกล กล้าปรับเปลี่ยนในสิ่งใหม่ ๆ เพือ่ ให้เกิดผลที่ดีต่อองค์การดังจะเห็นได้จาก การปรับโครงสร้างการดาเนิ น ธุรกิจเพลงอย่างต่อเนื่ องตลอดระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมาเพื่อทาให้สอดคล้อ ง และเท่าทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงในธุรกิจเพลงที่เกิดขึ้นทัว่ โลก และมีการตั้งเป้ าหมายที่ชดั เจนให้กบั พนักงานเพือ่ พนักงานจะได้มีแนวทางในการปฏิบตั ิงานและสามารถปฏิบตั ิงานนั้นจนบรรลุเป้ าหมายที่ต้งั ไว้ Staff กลุ่มบริ ษทั แกรมมี่มีพนักงานประมาณ 3,280 คน และให้ความสาคัญกับทรัพยากร บุคคลขององค์กร เนื่องจากเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะทาให้การดาเนินธุรกิจของบริ ษทั เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด รวมทั้งบรรลุตามเป้ าหมายและนาไปสู่ความสาเร็จร่ วมกันตามวิสยั ทัศน์ (Vision) ของ บริ ษทั ดังนั้นบริ ษทั จึงพยายามผลักดันและกระตุน้ ให้บุคลากรมีความตื่นตัวอยูต่ ลอดเวลาในการปฏิบตั ิงาน เพื่อจะได้สร้างสรรค์ผลงานเพลงออกมาได้อ ย่างมีคุณภาพ และบริ ษทั ยังสร้างขวัญกาลังใจและเสริ มสร้าง


18

ความมั่น ใจในการทางานร่ วมกับ บริ ษ ัทฯโดยได้มี การปรั บปรุ งสวัส ดิ การและสิ ทธิ ป ระโยชน์ต่ างๆ ให้ สอดคล้องกับธุรกิจของบริ ษทั ฯด้วย Skill บริ ษทั มีนโยบายสนับสนุ นการพัฒนาทักษะบุคลากรในทุก ระดับทั้งในด้านทักษะทัว่ ไป การบริ หารจัดการและเทคนิควิชาชีพเฉพาะของแต่ละสายงาน ตลอดจนได้สนับสนุ นและส่ งเสริ มการพัฒนา ให้แหล่งเรี ยนรู ้ โดยได้จดั ให้มีกิจกรรมส่ งเสริ มความรู ้และสนับสนุ นให้พนักงานเข้ารับการฝึ กอบรมและ สัมมนาทั้งภายในและภายนอกบริ ษทั ฯ เพื่อให้พนักงานได้พฒั นาแนวความคิด และความรู ้จากวิทยากรที่มี ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์จากหลายสาขาอาชีพอย่างต่อเนื่ อง เพื่อการบริ หารงานเพลงให้มีคุณภาพ ออกสู่ตลาดกลุ่มเป้ าหมาย Shared Value ค่านิยมที่แสดงถึงเป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์ที่บริ ษทั กาหนดขึ้น เพือ่ ให้พนักงาน ใช้เป็ นหลักในการยึดถือในปั จจุบนั ของบริ ษทั คือ การเป็ น "King of Content" ภายใต้ปรัชญา "การสร้างสรรค์ ผลิ ตภัณฑ์และบริ การทางด้านบันเทิง จากความคิดที่กว้างไกลและเทคโนโลยีที่ใหม่ ๆอย่างต่อ เนื่ อ ง โดย คานึงถึงคุณภาพสูงสุดและความรับผิดชอบต่อสังคม” การที่บริ ษทั มีการนาปรัชญานี้ มาประกาศใช้ในบริ ษทั สามารถแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมัน่ ในการที่จะเป็ นผูน้ าทางการตลาดของประเทศ ถึงแม้ในปั จจุบนั บริ ษทั จะ เป็ นผูค้ รองส่วนแบ่งทางการตลาดมากถึง 60 % แล้วก็ตาม แต่ธุรกิจเพลงในต่างประเทศก็ยงั มีโอกาสในการ เติบโตอี กมากเช่ นกัน การที่ จะสามารถแย่งชิ งส่ ว นแบ่ง ตลาดจากคู่ แข่งขันได้น้ ันบริ ษ ัทจาเป็ นที่จ ะต้อ ง สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ขึ้นมา โดยการคานึ งถึงคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์และความต้องการของ ผูบ้ ริ โภค นอกจากนั้นบริ ษทั ยังสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการที่จะแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ เสมอ ยิง่ ในปั จจุบนั เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทที่สาคัญต่อการดาเนินธุรกิจ บริ ษทั จึงต้องปรับปรุ งและเปลี่ยนแปลงให้ ทันต่อกระแสโลกที่เปลี่ยนไปด้วย และที่สาคัญการที่บริ ษทั มีเป้ าหมายที่ชดั เจนและผูบ้ ริ หารมีปณิ ธานที่แน่ ว แน่ในการบริ หารเช่นนี้จะส่งผลให้พนักงานผูป้ ฏิบตั ิงานรู ้สึกถึงความตั้งใจของผูบ้ ริ หารในการที่จะพยายาม ไปให้ถึงเป้ าหมาย และตัวพนักงานเองก็จะตระหนักถึ งความสาคัญในหน้าที่ของตนเองทาให้เข้าสามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข และทาให้ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ สามารถส่งมอบความสุ ขให้แก่ทุก กลุ่มผูบ้ ริ โภคได้อย่างเต็มที


19

การจัดองค์กรเพื่อการโฆษณาและการส่ งเสริมการตลาด: บทบาทของGRAMMYโฆษณาและองค์กรสื่ อสารการตลาดอื่นๆ การพัฒ นาและใช้ง านโปรแกรมการสื่ อ สารการตลาดแบบครบวงจรมัก จะมี ก ารซับ ซ้อ นและ กระบวนกานในการทางานมักจะต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลจานวนมาก ในฐานะผูบ้ ริ โภคทัว่ ไปมักจะไม่ได้ให้ ความสนใจถึงบุคคลหรื อองค์ต่างๆ ที่สร้างสรรค์โฆษณาอย่างชานฉลาดที่สามารถดึงดูดความสนใจได้อย่างดี เยีย่ ม หรื อการแข่งขันหรื อการชิงโชคที่เราอยากได้รับรางวัล แต่สาหรับผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการ ตลาดแล้ว นับ ว่า มี ค วามส าคัญอย่า งยิ่งที่ ตอ้ งเข้า ใจในโครงสร้ างรวมทั้งการทางานต่ างๆ ขององค์กรที่ เกี่ ยวข้อ ง เนื่ อ งจากจะเห็ นได้ว่าธุ รกิ จผลิ ตเสี ยงเพลง และรายการทีวี และการส่ ง เสริ มการตลาดกาลังอยู่ ระหว่างการเปลี่ยนแปลง บรรดานักการตลาดต่างมองหาวิธีการต่างๆ เพือ่ จัดการการสื่อสารการตลาด รวมทั้ง ความสาพันธ์กบั GRAMMY และผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการสื่อสารอื่นๆ การจัดโครงสร้ างเพื่อการโฆษณาและการส่ งเสริมการตลาดในองค์กร : บทบาทของลูกค้า โดยพื้นฐานแล้วทุกองค์กรธุรกิจจะมีการใช้รูปแบบการสื่อสารทางการตลาดรู ปแบบใดแบบหนึ่ งโย วีการที่บริ ษทั จัดโครงสร้างเพื่อการทางานเหล่านี้ จะขึ้นกับปั จจัยหลายๆ ประการ เช่น ขนาดองค์กรจานวน สินค้าที่ทาตลาด บทบาทของการโฆษณาและการส่งเสริ มการตลาดในส่วนประสมทางการตลาดงบประมาณ เพื่อ การโฆษณาและการส่ งเสริ มการตลาด รวมทั้งโครงสร้างทางการตลาด โยอาจมีบุคคลหลายบุคคลใน องค์กรมี ส่วนร่ วมในกระบวนการตัดสิ นใจเกี่ ยวกับการโฆษณาและการส่ งเสริ มการตลาดพนักงานด้าน การตลาดซึ่งความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการโฆษณามักจะมีส่วนเกี่ยวข้องมากที่สุดนับตั้งแต่การเตรี ยมข้อมูล ของแคมเปญ การเลื อ กไปจนถึ ง การประเมิ น ผลโปรแกรม ขณะที่ ผูบ้ ริ ห ารระดับ บนจะสนใจเพีย งว่า โปรแกรมการโฆษณาแสดงภาพลักษณ์ขององค์กรอย่างไร และอาจเข้ามามีส่วนในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการ โฆษณา


20

บทที่ 3 การปฏิบัติงาน หลักการของการปฎิบัติงาน 1. เพื่อเพิม่ ทักษะ สร้างเสริ มประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชี พตามสภาพความเป็ นจริ งในสถาน ประกอบการ 2. เพือ่ จะได้ทราบถึงปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบตั ิงานและสามารถใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้ อย่างมีเหตุผล 3. เพือ่ ให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินยั และทางานร่ วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพือ่ ให้มีเจตคติที่ดีต่อการทางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบ อาชีพต่อไปภายหลังจากสาเร็จการศึกษา 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหน่ วยงานรัฐบาล ระเบียบว่าด้วย งานที่ได้รับมอบหมาย การปฏิบัติตัวระหว่ างการฝึ กงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณี ใส่เสื้อช็อปต้องผ่านความเห็นชอบจากบริ ษทั ก่อน 4. การลากิจ ลาป่ วย ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่ องการวางตัวและการใช้เครื่ องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่ องระยะเวลาการฝึ กงานหรื อ เรี ยกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึ กงานก็คือการทางาน และทาการ ฝึ กงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ 9. การไปฝึ กงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้อง ไม่กระทาการ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม


21

10. ในระหว่างการฝึ กงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึ กษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดต่อ กลับมายังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึ กงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่ วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมี อุบตั ิเหตุเกิ ดขึ้นระหว่างการฝึ กงานให้ติดต่อคณะมนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หรื อ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม การปฎิบัติงานของฝ่ าย Computer Graphic บริษัท G”MM’ GRAMMY โดยแผนกที่ผูฝ้ ึ กประสบการณ์ วิช าชี พ ได้เ ข้า ไปปฎิ บ ั ติ งานคื อ แผนกราฟิ ก ซึ่ งท างานออกแบบ สร้างสรรค์งานกราฟิ ก โดยมีผจู ้ ดั การของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก จัดแบ่งภาระงานตามเหมาะสม ผูเ้ ข้าฝึ กงานจะ ได้รับงานจากกราฟฟิ กดีไซด์เนอร์ ซึ่ งงานส่ วนใหญ่จะเป็ นงานด้านออกแบบ หน้าปกอัลบั้ม การตัดต่อเนื้ อ เพลง การออกแบบโครงสร้างของอัลบั้มเพือ่ ขายเลเอาท์ให้ลูกค้าครั้งแรก งานที่ได้ รับมอบหมาย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 1 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design


22

2.เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 2 แสดงภาพผลงานออกแบบการใส่ โล้ โก้ ชื่ออัลบั้มเพลง (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design 3.เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 3 แสดงภาพการตัดต่ อรู ปศิลปิ นลงในปกอัลบั้มเพลง (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design


23

ภาพที่ 4 แสดงภาพการตัดต่ อรู ปศิลปิ นลงในปกอัลบั้มเพลง (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design

4.เรื่อง/รายการ ออกแบบหลังปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 5 แสดงภาพการจัดว่ าง AW ชื่อเพลงลงในปกอัลบั้มเพลง (ปกหลัง CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design


24

5.เรื่อง/รายการ ออกแบบส่วนสมุดตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 6 แสดงภาพการจัดว่ าง AW ชื่อเพลงและคณะผู้จัดทาลงในปกอัลบั้มเพลง (สมุด CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design

ภาพที่ 7 แสดงภาพการจัดว่ าง AW ชื่อเพลงและคณะผู้จัดทาลงในปกอัลบั้มเพลง (สมุด CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design


25

6.เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design ปกหน้ า CD

ปกหลัง CD

ภาพที่ 8 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ปกหน้ า-ปกหลัง CD) แรงใจคนไกลบ้ าน สาระสาคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบปกอัลบั้ม CD แรงใจคนไกลบ้าน ซึ้งการออกแบบจะประกอบ ไปด้วยการออกแบบส่วน ชื่อโล้โก้อลั บั้ม ส่วนพืน้ หลังเนื้อเรื่ องที่แสดงถึงคนที่ไกลบ้าน และการจัดวางของ ตัวหนังสือ ปัญหาที่เกิดขึน้ สาหรับปั ญหาที่เกิดขึ้นคือการจัดวาง การโครงสร้างขององค์ประกอบของภาพ การแก้ ไขปัญหา ดูงานจากตัวอย่างใกล้เคียงแล้วหาฟอนต์ที่ใกล้เคียงและเหมาะสมกับงาน ปรึ กษาพีเ่ ลี้ยง ประสบการณ์ที่ได้ รับ การออกแบบควรดูและศึกษาข้อมูลที่ใกล้เคียงให้หลากหลายและนามาวิเคราะห์สรุ ป พัฒนาเป็ นแบบที่ดีข้ นึ และเป็ นงานออกแบบใหม่ที่ดียงิ่ ขึ้น


26

2.รู ปแบบด้ านนอกและในของสมุดอัลบั้ม CD แรงใจคนไกลบ้ าน

ภาพที่ 9 แสดงภาพผลงานออกแบบ (รู ปส่ วนหน้ าสมุดอัลบั้ม CD-รู ปส่ วนหลังสมุดอัลบั้ม CD)

ภาพที่ 10 แสดงภาพผลงานออกแบบ (รู ปส่ วนหน้ าสมุดอัลบั้ม CD-รู ปส่ วนหลังสมุดอัลบั้ม CD)


27

7. รู ปแบบด้ านในของอัลบั้ม CD แรงใจคนไกลบ้ าน

ภาพที่ 11 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ด้ านในของอัลบั้ม CD แรงใจคนไกลบ้ าน) ประกอบไปด้ วย แผ่ น CD และสมุดปกหลัง CD 8. รู ปแบบของแผ่ น CD แรงใจคนไกลบ้ าน

ภาพที่ 12 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ของแผ่ น CD แรงใจคนไกลบ้ าน)


28

ประกอบไปด้ วยชื่อเพลงในอัลบั้ม CD

9.ภาพที่สมบูรณ์ (บรรจุลงปกใสเรียบร้ อยแล้ ว)

ภาพที่ 12 ภาพที่สมบูรณ์ (บรรจุลงปกใสเรียบร้ อยแล้ ว)


29

บทที่ 4 ผลทีไ่ ด้ รับจากการฝึ กงาน วัตถุประสงค์ของการปฎิบตั ิงานครั้งนี้ คือ การศึกษาเพือ่ สร้างสรรค์ตน้ แบบงาน bill bord ที่สามารถ ออกแบบเพื่อสื่ อสารใช้เป็ นงานต้นแบบเพื่อผลิตและนาเสนอให้แก่ลูกค้า โดยผูป้ ฎิบตั ิงานได้วางแนวทาง วิธีการทางานและสร้างผลงานออกแบบ ไว้เป็ นลาดับขั้น ดังนี้ ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน(Pre Production ) 1. ตั้งสมมติฐาน 2. ศึกษาข้อมูลความต้องการของผูผ้ ลิต และความต้องการในการออกแบบ 3. การศึกษาตัวอย่างจากกรณี ศึกษา ข. การกาหนดแบบร่ างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมุติฐาน 1. วิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการศึกษา 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบร่ างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด(Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรู ปแบบภาพแบบขาว-ดา พร้อมวิเคราะห์และแก้ไข 5. ถ่ายภาพเพือ่ เตรี ยมสร้างภาพกราฟิ กและสร้างภาพจาลองโครงสร้างหรื อหาภาพในสต็อกภาพ 6. การปรับปรุ งแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน 1. การเขียนแบบกราฟิ กแบบ 2 มิติ(Working Drawing) แก้ไขปรับปรุ งตามความต้องการของลูกค้า จนถูกต้อง 2. การ onscreen รี ทชั ภาพของศิลปิ น 3. การทาแบบจาลองเลเอาท์รายละเอียดประกอบแบบ ง. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน(Post Production ) 1. เตรี ยมไฟล์แบบ และตรวจสอบจากลูกค้าอีกทีก่อนผลิตจริ ง 2. เตรี ยมไฟล์ Art Work พร้อมส่งให้ลูกค้า


30

ก. ขั้นการวางแผนก่ อนการผลิตผลงาน การกาหนดประเด็นและการศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องจากการวิเคราะห์ที่มาของปั ญหา และตั้งสมมติฐาน ผูป้ ฎิบตั ิงานได้ทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อนาไปสู่ การออกแบบเพื่อให้ตรงตามสมมติฐาน และวัตถุประสงค์ ซึ่งสามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐาน เมื่อทราบที่มาของปั ญหาและวิเคราะห์ขอ้ มูลแล้วจึงทาการตั้งสมมติฐาน เพื่อใช้ กาหนดขอบเขตแนวทางในการทางาน ดังนี้ แนวคิดในการพัฒนา ลูกค้าทราบว่าเปลี่ยนจากรู ปแบบปกเก่า เป็ นรู ปแบบปกใหม่แล้ว ซึ่งมีการวางแนวการออกแบบหลัก ดังนี้ 1. ใช้ลกั ษณะกราฟิ กสร้างชื่อโล้โก้ให้ออกมาไม่ให้ซ้ ากับแบบเดิมๆ 2. การใช้ภาพประกอบโดยใช้ภาพกราฟิ ก ดูที่อา้ งอิงจากกราฟิ กบนตัวหน้าปกเพื่อให้มีเอกลักษณ์โดด เด่นจาสินค้าได้ 3. ใช้สีแดงหรื อเหลืองเป็ นสีหลัก เพือ่ สื่อถึงอัตลักษณ์ของสินค้า เข้ากับหลักการทางศิลปะในเรื่ องการ ใช้สี ซึ่งเป็ นการใช้สีแบบเอกรงค์ 4. การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ดูงานออกแบบกับสินค้าที่ใกล้เคียงและวิเคราะห์ผลการศึกษา การจัดวางองค์ประกอบ ศึกษาเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบป้ ายโฆษณาและข้อมูลของสิ นค้า ทั้งในภาคเอกสาร และทางสื่อออนไลน์ต่างๆ 5. การศึกษาตัวอย่างจากกรณี ศึกษา โดยมีกรณี ศึกษา 3 ตัวอย่าง ดังนี้ ศึกษาทั้งในในตั้งแต่โครงสร้างของการออแบบปก CD กราฟิ ก ภาพประกอบ เครื่ องหมาย ฯลฯ ที่เกี่ ยวข้อง กับสินค้า 1. กรณี ศึกษาจากผลงานปกอัลบั้มลูกทุง้ ที่ผา่ นมา

ภาพที่ 13 แสดงภาพกรณีศึกษาจากสิ นค้าใกล้ เคียง


31

ข. การกาหนดแบบร่ างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 1. วิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้ วิเคราะห์ขอ้ มูลทั้งหมดที่ได้จากการศึกษาเพื่อกาหนดขอบเขตในการทางาน ต่อไป 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ จากการเห็นกระบวนการผลิตจริ งทาให้ เล็งเห็นว่าสินค้าควรได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมเพือ่ ให้สื่อสารได้ง่ายผูซ้ ้ืองานเพลงจาสินค้าได้ว่ามีการ เปลี่ยนบรรจุภณั ฑ์เป็ นดีไซด์ใหม่และซื้อ 3. ออกแบบแบบร่ างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด (Concept)


32

บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน ในการศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาสาขาออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม นั้น นอกจากนักศึกษาจะได้ความรู ้ในหลักสูตรแล้ว การศึกษาประสบการณ์ วิชาชีพศิลปกรรมยังเป็ นสิ่ งที่สาคัญและจาเป็ นที่นักศึกษาต้องทาการปฏิบตั ิก่อนการจบหลักสู ตรการศึกษา เพือ่ เป็ นการเตรี ยมความพร้อมในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็ นในส่ วนของบุคลิกภาพ สติปัญญา เจตคติ การวางตัวที่ถูกต้องเหมาะสม เพือ่ พร้อมที่จะออกไปดาเนิ นชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ การฝึ กประสบการณ์วิชาชีพนั้นถือเป็ นการฝึ กทักษะการทางานและรู ้จกั การปรับตัวของการทางานร่ วมกับ ผูอ้ ื่น มีประโยชน์อย่างยิง่ สาหรับแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพสาขาออกแบบนิ เทศศิลป์ ณ บริ ษทั โฆษณา จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ในครั้งนี้ ทาให้นกั ศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพได้เพิ่มพูนความรู ้ ความเข้าใจในวิชาชีพมากยิง่ ขึ้น เข้าใจการทางาน ด้านการออกแบบปกอัลบั้ม CD การมีมนุ ษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผูอ้ ื่น การวางตัวในสังคมได้ อีกประการหนึ่ งที่ สาคัญที่สุดสาหรับนักศึกษาที่ได้รับคือ การทางานของตนเองได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยตนเอง เปรี ยบเสมือนตนเองเป็ นบุคลากรคนหนึ่ งขององค์กร โดยมีการควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือนญาติ ตั้งแต่ วันแรกของการฝึ กประสบการณ์จนถึงวันสุดท้ายของการฝึ กประสบการณ์เป็ นอย่างดี ทุกคนต่างมีไมตรี จิตที่ ดีต่อนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ อีกทั้งยังให้คาแนะนาและช่วยเหลือในทุกๆเรื่ อง ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องงาน และเรื่ องส่วนตัวแก่นกั ศึกษาฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพเสมอมา ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการเข้ ารับการฝึ กงาน 1.ได้เรี ยนรู ้ถึงกระบวนการทางานต่างๆของการทางานหลังจากการที่ได้เข้ารับการฝึ กงานใน หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายทาให้ได้ทราบถึงกระบวนการในการทางานของฝ่ ายอื่นๆอีกด้วยและได้ทราบถึง บทบาทหน้าที่และความสาคัญของการทางาน 2. มีความรู ้เกี่ยวกับเทคนิคการใช้โปรแกรมในการออกแบบ illustrator photoshop การขึ้น mock up 3. ได้ความรู ้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลผลงานออกแบบเพือ่ เป็ นตัวอย่างวิเคราะห์ พัฒนาแนวคิดการ ออกแบบ กระบวนการคิดของนักออกแบบ


33

ด้ านนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน 1. ได้รับความรู ้ใหม่และประสบการณ์ในสภาวะการทางานจริ ง 2. ฝึ กให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พัฒนาบุคลิกภาพช่วยสร้างความมัน่ ใจในการทางานการกล้าแสดงออกและการแสดงความคิดเห็น มากขึ้น 4. ได้เรี ยนรู ้การทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นและเพิม่ ทักษะการเรี ยนรู ้ระบบการทางานในองค์กร 5. สามารถนาประสบการณ์จากการฝึ กงานไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจาวันได้ 6. ฝึ กฝนให้เป็ นคนช่างสังเกตและรู ้จกั ปรับปรุ งการพัฒนาการทางานของตน 7. เพิม่ พูนทักษะการใช้โปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรี ยนรู ้โปรแกรมต่างๆที่องค์กรนามาใช้ในการทางาน 9. ฝึ กฝนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน 10. สร้างเสริ มสร้างเสริ มลักษณะนิสยั ให้เป็ นคนตรงต่อเวลามากยิง่ ขึ้น 14. ทาให้มีความขยันหมัน่ เพียรมากยิง่ ขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมากขึ้น 12. ฝึ กฝนให้เป็ นคนที่มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ ด้ านสถานประกอบการ 1. เปิ ดโอกาสให้องค์กรได้รับนักศึกษาฝึ กงานที่มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในสิ่งใหม่เข้ามาทางาน 2. องค์กรได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยต่างๆในการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการฝึ กงาน 3. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในส่วนของการจ้างงานประจามากขึ้นเนื่องจากการดาเนินงานของนักศึกษา ฝึ กงานมาช่วยทางานในส่วนที่สามารถช่วยทาได้ 4. องค์กรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองค์กรจากโครงสร้างนักศึกษา 5. องค์กรได้รับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของแต่ ละมหาวิทยาลัย


34

ด้ านมหาวิทยาลัย 1. เกิดความร่ วมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธ์ที่ดีกบั สถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยได้ขอ้ มูลย้อนกลับเพือ่ การปรับปรุ งและพัฒนาหลักสูตรในการเรี ยนการสอนต่อไป 3. จากการส่งตัวเข้ารับการฝึ กงานไปยังบริ ษทั ต่างๆช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจาก ตลาดแรงงานมากขึ้น ข้ อเสนอแนะเพิ่มเติม เนื่ องจากผูฝ้ ึ กงานยังเป็ นมือใหม่สาหรับงานออกแบบด้านกราฟิ กเพราะฉะนั้นควรฝึ กฝนฝี มือด้วย การดูงานออกแบบจากของทั้งในและต่างประเทศเทศเพือ่ เป็ นแนวทางในการออกแบบเพราะงานออกแบบยัง ดูไม่ทนั สมัย และฝึ กการใช้โปรแกรมทางด้านกราฟิ กให้มีความชานาญยิง่ ขึ้นเพือ่ ให้รวดเร็วในการทางาน การตอบรับจากที่ฝึกงาน จากการที่เข้าไปฝึ กประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้รับการตอบรับ เป็ นอย่างดี มี การให้ค วามช่ วยเหลื อ ในทุกๆด้าน ไม่ ว่าจะเป็ นการให้ค าแนะนาในการใช้งานโปรแกรม เทคนิ คทางด้านโปรแกรม การให้ความรู ้ท้ งั ในและนอกสถานที่โดยได้ไปศึกษางานในด้านการถ่า ยทาใน สตูดิโอ การทางานตั้งแต่ข้ นั เริ่ มต้นและนาเสนองานกับพี่เลี้ยงเพื่อ ฝึ กทักษะการนาเสนอ ให้เราทางานจริ ง เสมือนนักศึกษาคือพนักงานคนหนึ่งขององค์กร ความรู้ สึกที่มีต่อที่ฝึกงาน การฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพศิลปกรรม ณ บริ ษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ นักศึกษามีความประทับใจและดี ใจเป็ นอย่างยิง่ ที่ได้เข้ารับการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพที่องค์กร ที่น้ ี พนักงานทุกคนจะอยูก่ นั แบบพี่น้อง คอย ให้คาปรึ กษาและช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน การทางานจะทางานเป็ นทีม ทาให้นักศึกษาได้เรี ยนรู ้การทางาน ร่ วมกับบุคคลอื่นได้เป็ นอย่างดี และการทางานที่น้ ี นักศึกษารู ้สึกว่าได้ความรู ้ต่างๆ มากมาย นอกเหนื อจาก การศึกษาในชั้นเรี ยน คือ เกิดการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเอง การทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ความรับผิดชอบ และมี ความมัน่ ใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเป็ นคุณสมบัติที่พงึ ประสงค์ของสถานประกอบการ ที่สาคัญนอกเหนื อสิ่ งใด คือ งานที่นกั ศึกษาออกแบบสามารถนามาใช้ได้จริ ง ซึ่งถือเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ดีต่อการทางานจริ งต่อไป


35

บรรณานุกรม


36

ภาคผนวก หมวด ก. เอกสาร


37


38

ภาคผนวก หมวด ข. รูปภาพ


39

งานที่ได้ รับมอบหมาย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 1 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design

2.เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design


40

ภาพที่ 2 แสดงภาพผลงานออกแบบการใส่ โล้ โก้ ชื่ออัลบั้มเพลง (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design 3.เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 3 แสดงภาพการตัดต่ อรู ปศิลปิ นลงในปกอัลบั้มเพลง (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design

ภาพที่ 4 แสดงภาพการตัดต่ อรู ปศิลปิ นลงในปกอัลบั้มเพลง (ปกหน้ า CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design


41

4.เรื่อง/รายการ ออกแบบหลังปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design

ภาพที่ 5 แสดงภาพการจัดว่ าง AW ชื่อเพลงลงในปกอัลบั้มเพลง (ปกหลัง CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design

5.เรื่อง/รายการ ออกแบบส่วนสมุดตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design


42

ภาพที่ 6 แสดงภาพการจัดว่ าง AW ชื่อเพลงและคณะผู้จัดทาลงในปกอัลบั้มเพลง (สมุด CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design

ภาพที่ 7 แสดงภาพการจัดว่ าง AW ชื่อเพลงและคณะผู้จัดทาลงในปกอัลบั้มเพลง (สมุด CD) แรงใจคนไกลบ้ าน ที่มา: บริษัท GMM ฝ่ าย Computer Graphic Design

6.เรื่อง/รายการ ออกแบบหน้าปกตัวอัลบั้ม CD ทั้งหมด ชื่อ อัลบั้ม.. แรงใจคนไกลบ้าน สถานที่ แผนก Computer Graphic Design ปกหน้ า CD ปกหลัง CD

ภาพที่ 8 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ปกหน้ า-ปกหลัง CD) แรงใจคนไกลบ้ าน


43

2.รู ปแบบด้ านนอกและในของสมุดอัลบั้ม CD แรงใจคนไกลบ้ าน

ภาพที่ 9 แสดงภาพผลงานออกแบบ (รู ปส่ วนหน้ าสมุดอัลบั้ม CD-รู ปส่ วนหลังสมุดอัลบั้ม CD)

ภาพที่ 10 แสดงภาพผลงานออกแบบ (รู ปส่ วนหน้ าสมุดอัลบั้ม CD-รู ปส่ วนหลังสมุดอัลบั้ม CD)


44

7. รู ปแบบด้ านในของอัลบั้ม CD แรงใจคนไกลบ้ าน

ภาพที่ 11 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ด้ านในของอัลบั้ม CD แรงใจคนไกลบ้ าน) ประกอบไปด้ วย แผ่ น CD และสมุดปกหลัง CD 8. รู ปแบบของแผ่ น CD แรงใจคนไกลบ้ าน

ภาพที่ 12 แสดงภาพผลงานออกแบบ (ของแผ่ น CD แรงใจคนไกลบ้ าน) ประกอบไปด้ วยชื่อเพลงในอัลบั้ม CD


45

9.ภาพที่สมบูรณ์ (บรรจุลงปกใสเรียบร้ อยแล้ ว)

ภาพที่ 12 ภาพที่สมบูรณ์ (บรรจุลงปกใสเรียบร้ อยแล้ ว)


46


47


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.