HPMD DF00258
การปฏิบตั ิตวั เมือ่ เป็นโรคอ้วนลงพุง
2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกาลังกาย ออกกาลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
1. การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมด้านการบริโภค กินอาหารให้ครบทุกมื้อ กินอาหารเย็นห่างจากเวลานอนอย่างน้อย 4 ชม. ลดปริมาณอาหารทุกมื้อ
ควรใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาที ในการออกกาลังกาย แต่ละครั้ง ก่อนออกกาลังกายควรยืดกล้ามเนื้ออย่างน้อย 5-10 นาที เพื่อป้องกันการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อจากการออกกาลังกาย 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอารมณ์
หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง
สะกิด อธิบายให้คนในครอบครัวเข้าใจและช่วยในการ ลดน้าหนัก
กินอาหารที่มีเส้นใยมากๆ เพราะเส้นใยจะช่วยขัดขวางการดูด ซึมไขมันที่ลาไส้เล็ก
สะกดใจ เพื่อไม่ให้บริโภคมากเกินไป
เลือกใช้น้ามันพืชในการประกอบอาหาร เช่น น้ามันถั่วเหลือง น้ามันงา เป็นต้น
สะกัดสิ่งกระตุ้น เพื่อไม่ให้หิวแล้วลดความอยากอาหาร
ที่มา : ธนพล ต่อปัญญาเรือง, สายสมร พลดงนอก และจันจิราภรณ์ วิชัย. (2557) คู่มือความรู้เรื่องโรคอ้วนลงพุง. หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ
งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์
อาหารที่ควรกิน
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
โรคอ้วนลงพุง
พิมพ์โดย : นางสาวอรนุช พวงมาลัย พนักงานธุรการ หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์
จัดทาโดย หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร. 043-363077-9 facebook : หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลศรีนครินทร์//HPU
สนับสนุนการพิมพ์โดย : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ที่ปรึกษา : รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
รู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคอ้วนลงพุง 1. ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index = BMI) เป็นดัชนีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนสูงและน้าหนักตัว โดย คานวณจากน้าหนักตัว (kg) หารด้วยความสูง (m²) BMI =
น้าหนักตัว ความสูง
ค่า BMI ที่ได้จากสมการข้างบน สามารถนามาเทียบกับค่า จากตารางด้านล่าง ท่านจะทราบได้ว่าดัชนีมวลกายของตนเองนั้น อยู่ ในกลุ่มใด ดัชนีมวลกาย กลุม่ เกณฑ์สาหรับประชากรเอเชีย < 18.5 น้าหนักน้อย 18.5 - 22.99 น้าหนักปกติ 23 – 24.99 น้าหนักเกิน 25 – 29.99 อ้วนระดับ 1 อ้วนระดับ 2 ≥ 30
2. เส้นรอบเอว (Waist circumference) เป็นค่าที่ได้จากการวัดรอบเอวด้วยสายวัดมาตรฐาน โดยอยู่ใน ท่ายืนแล้วใช้สายวัดวัดรอบเอวที่ระดั ระดับกึ่งกลางของข้างเอว วัดผ่าน สะดือให้สายวัดแนบรอบเอวและอยู่ในแนวขนานกับพื้น ซึ่งภาวะ อ้วนลงพุง หมายถึง ผู้ที่มีไขมันสะสมบริเวณช่องท้องมากกว่า ปกติ โดยมีเส้นรอบเอว ≥ 90 cm. ในผู้ชาย และ ≥ 80 cm. ในผู้หญิง
ระดับน้าตาลในเลือด > 100 mg/dL หรือผู้ที่ ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ระดับคอเลสเตอรอลชนิดดีในเลือด หรือ HDLcholesterol < 40 mg/dL ในผู้ชาย และ < 50 mg/dL ในผู้หญิง หรือผู้ที่มีไขมันสูงและได้รับ ยาลดไขมัน
อันตรายของโรคอ้วนลงพุง นอกจากจะทาให้รู้สึกอึดอัดไม่สบายตัวและใส่เสื้อผ้าไม่สวยแล้ว โรคอ้วนลงพุงยังก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ดังนี้ ทาให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบ เกิดโรคหัวใจได้ง่าย ไตจะขับเกลือได้น้อยลง ทาให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง ไขมันไตรกลีเซอไรด์ที่สูสงู เป็นปัจจัยทาให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบ
โรคอ้วนลงพุงมีเกณฑ์วิวนิ จิ ฉัยดังต่อไปนี้ 1. ต้องมีความยาวเส้นรอบเอว ≥ 90 cm. ในผู้ชาย และ ≥ 80 cm. ในผู้หญิง 2. ต้องพบปัจจัยเสี่ยงต่อไปนี้ร่วมด้วย อย่างน้อย 2 ข้อ
เลือดจะแข็งตัวได้ง่าย ทาให้เกิดลิ่มเลือดและไปอุดตันหลอดเลือดที่ไป เลี้ยงหัวใจและสมอง ทาให้เป็นโรคเบาหวานได้ง่าย หายใจไม่เต็มอิ่ม เสี่ยงต่อภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง
ความดันโลหิตตั้งแต่ 130/85 mmHg ขั้นไป หรือ เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเสื่อมจากน้าหนักตัวที่มาก ผู้ที่ได้รับยารักษาความดันโลหิตสูง มีผลกระทบด้านอารมณ์ ขาดความมั่นใจ ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด > 150 mg/dL มีโอกาสเป็นอัมพาตหรือเสียชีวิตได้ หรือผู้ที่มีไขมันสูงและได้รับยาลดไขมัน