แผ่นพับโรคกระดูกพรุน

Page 1

การวินจิ ฉัยโรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน คือ โรคที่มีความหนาแน่นของมวลกระดูกลดลง ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างภายในกระดูก เป็นผลให้กระดูกมีความแข็งแรงน้อยลงเสี่ยงต่อการเกิด กระดูกหัก โรคกระดูกพรุนพบมากในสตรีผิวขาว โดย เฉพาะที่อยู่ขั้วโลก รองลงมาเป็นผิวขาวเหลืองในเอเชีย โดยการหักของกระดูกที่พบได้บ่อย ได้แก่ การทรุดหัก ของกระดูกสันหลัง การหักของกระดูกสะโพก และ กระดูกต้นขา จะเห็นได้ว่าปัญหากระดูกพรุนนี้ก่อให้เกิด การสูญเสียต่อชีวิต คุณภาพชีวิต และทรัพย์สินอย่างมาก ดังนั้น การป้องกันโรคนี้จึงเป็นทางออกที่ดีที่สุด โรคกระดูกพรุนพบมากใน ผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เนื่องจากผู้หญิงมีการลดลงของ มวลกระดูกเป็นอย่างมากในช่วง 5 ปีแรก หลังหมดประจาเดือน และเมื่ออายุมากขึ้นโอกาสเกิด กระดูกหักก็สูงเพิ่มขึ้นไปด้วย

สาเหตุของโรคกระดูกพรุน

ในปัจจุบัน การวัดความหนาแน่นของกระดูก (Bone MineralDensity BMD) โดยใช้เครื่อง DEXA (Dual Energy X-ray Absorptiometry) วัดความหนาแน่น ของกระดูกสันหลังและกระดูกสะโพก แล้วนาค่าที่ได้ไป เปรียบเทียบกับค่าความหนาแน่นของกระดูกของคนอายุ 20-30 ปี เพศเดียวกัน (T-score) โดยเกณฑ์การ วินิจฉัยโรคกระดูกพรุน คือ ค่าT-score น้อยกว่า 2.5 SD คือ มีค่าความหนาแน่นของกระดูกน้อยกว่าคน อายุ 20-30 ปี มากกว่า 2.5 เท่าของค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation,SD)


HPMD DF01258

โรคทีม่ ผี ลต่อการเสียเนื้อกระดูก ภาวะขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน จากการทีร่ ังไข่ฝ่อ การตัดรังไข่ ภาวะวัยหลังหมดประจาเดือน ต่อมไทรอยด์หรือต่อมพาราไทรอยด์ทางานมาก เกินไป ไตวายเรื้อรัง โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ การได้รับยาบางอย่าง เช่น สเตียรอยด์ ยาต้าน ฮอร์โมนเพศ ยารักษาเบาหวานบางกลุ่ม

เป้าหมายในการรักษาโรคกระดูกพรุน คือ ป้องกันการเกิดกระดูกหัก ซึ่งทาได้โดย 1. ป้องกันการหกล้ม 2.

ลดการสูญเสียมวลกระดูก  รับประทานแคลเซียมและวิตามินดี ให้เพียงพอ  หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด  รับประทานยาที่ช่วยลดการสูญเสียมวลกระดูก

โรคกระดูกพรุน

การป้องกันและการรักษา กระดูกที่แข็งแรงสมบูรณ์ต้องมีส่วนการสร้างกระดูก และส่วนการสลายกระดูกสมดุลกัน กรณีที่มีภาวะกระดูก พรุนจะพบว่ามีการสลายกระดูกมากกว่าการสร้างกระดูก ดังนั้น หลักการดูแล คือ ให้มีการสร้างกระดูกมากขึ้น หรือลดการสลายของกระดูกให้ลดลง

จัดทาโดย หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร. 043-363077-9 ที่มา : สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย (2557). โรคกระดูกพรุน. www.thaiendocrine.org. เนื้อหาโดย : นางสายสมร พลดงนอก พยาบาลชานาญการพิเศษ หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์

ปัญหาสาคัญของโรคกระดูกพรุน คือ การแตกหักของกระดูก

พิมพ์โดย : นางสาวอรนุช พวงมาลัย พนักงานธุรการ หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ สนับสนุนการพิมพ์โดย : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Website : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th

ที่ปรึกษา : รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า นพ.ธนพล ต่อปัญญาเรือง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.