เส้นเลือดขอดที่ขา

Page 1

เส้นเลือดขอดที่ขา เส้นเลือดขอด หมายถึง เส้นเลือดที่มีการยืดโป่ง พองและคดเคี้ยว มักเกิดกับเส้นเลือดดาที่อยู่บ ริเวณ ตื้นๆใต้ผิวหนังของขา

อาการและอาการแสดง ผู้ ป่ ว ยบางรายอาจจะไม่ มี อ าการ แต่ ม าพบ แพทย์เนื่องจากมองดูแล้วไม่สวยงาม บางรายอาจจะมี อาการปวดน่อง น่องตึงเวลายืนหรือเดินนานๆ เมื่อหยุด พักยกขาสูงอาการจะดีขึ้น,มีอาการบวม,มีผื่นคัน, ผิวหนัง สี ด าคล้ าบริ เ วณเหนื อ ข้ อ เท้ า ด้ า นใน มี แ ผลเกิ ด ขึ้ น ได้ นอกจากนี้อาจมีภาวะแทรกซ้อน เช่น ปวดและอักเสบ ตามเส้ น เลื อ ดด าขอด มี เ ส้ น เลื อ ดด าขอดแตกและมี เลือดออก มีก้อนจากหลอดเลือดดาอุดตัน เป็นต้น

มีด้วยกันหลายวิธีขึ้นอยู่กับว่าเส้นเลือดขอดนั้น เป็นมากหรือน้อยเพียงใด โดยอาจจะมีวิธีต่างๆ ดังนี้ 1. สวมถุงน่องชนิดพิเศษที่ ออกแบบมา เพื่อ ที่ จะรั ก ษาเส้ น เลื อ ดขอดโดยเฉพาะ เหมาะส าหรั บ เส้ น เลือดขอดเล็กๆ หรือมีข้อห้ามในการผ่าตัดหรือการฉีดยา 2. การฉีดยาที่ทาให้เส้นเลือด แฟบและแข็งตัว 3. การผ่าตัดเลาะเอาเส้นเลือดดาที่อยู่ชั้นตื้นของขา ออกทั้งเส้นหรือบางส่วน 4. การรักษาด้วยแสงเลเซอร์

สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง เกิดจากความผิ ดปกติข องลิ้ น ของเส้ น เลื อดด า หรือมีการอุดตันของเส้นเลือดดาในชั้ นลึก ทาให้เลือด ไหลเวียนขึ้นไปยังส่วนบนของร่างกายไม่ดี เกิดเลือดคั่งใน เส้ น เลื อ ดด าชั้ น ตื้ น จนขยายตั ว โป่ ง พองกลายเป็ น เส้นเลือดขอด ปัจจัยเสี่ยงที่อาจทาให้เกิดโรคนี้ ได้แก่ อาชีพ ที่ต้องยื นนานๆ การตั้งครรภ์ ภาวะอ้ว น อายุมาก อุบัติเหตุที่ขา การอุดตันของเส้นเลือดดาจากมะเร็ง

การรักษา

การวินิจฉัย จากการซั ก ประวั ติ แ ละการตรวจร่ า งกายหา สาเหตุ ก ารเกิ ด โรค ถ้ า ไม่ มี ส าเหตุ ข องการเกิ ด โรค จะตรวจหาความผิดปกติ ตาแหน่งของลิ้นปิด -เปิดใน หลอดเลือดดา นอกจากนี้การตรวจหลอดเลือดดาด้วย คลื่นเสียงชนิดมีภาพและสี (Venogram) เป็นการช่วย ยืนยันการวินิจฉัย


HPMD MF03258

การป้องกัน 1. หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทาให้เกิดเลือดคั่งค้าง บริ เ วณขา ได้ แ ก่ การหลี ก เลี่ ย งการยื น หรื อ นั่ ง เป็ น ระยะเวลานานๆ ถ้าจาเป็นต้องยืนนานๆ ควรเขย่งหรือ ยกเท้ า เป็ น ครั้ ง คราว ถ้ า ต้ อ งนั่ ง อยู่ น านๆ ควรมี การเคลื่อนไหวขาและเท้าขณะที่นั่ง

4. หลีกเลี่ยงกีฬาที่ทาให้เกิดการกระแทกบริเวณ ข้อเท้า เช่น เทนนิส กระโดดสูง ยกน้าหนัก

เส้นเลือดขอด 5. ในกรณีที่มีเส้นเลือดขอดมากขณะตั้งครรภ์ บางครั้ ง เส้ น เลื อ ดขอดนั้ น อาจหายเองได้ ห ลั ง คลอด โดยที่ไม่จาเป็นต้องรักษาแต่อย่างใด

2. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงของเส้นเลือดขอด เช่น ถ้าอ้วนมากควรลดน้าหนัก

เนื้อหาโดย : นางสาวสุนัน เลขวรรณวิเศษ พยาบาลชานาญการพิเศษ ห้องตรวจศัลยกรรม แผนกการพยาบาลผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศรีนครินทร์

3. ทาให้เส้นเลือดดาไหลเวียนสะดวก ได้แก่ การนอนยกขาสูง หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้าโดยเฉพาะ กางเกงที่รัดเกินไป

จัดทาโดย : นางสาวธัญญลักษณ์ ทอนราช นักวิชาการสาธารณสุข หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ สนับสนุนการพิมพ์โดย : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

จัดทาโดย หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร. 043 – 363077-9 เว็ปไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th

ที่ปรึกษา อาจารย์นพ. วัชรพงศ์ โยธาทัย นางมาสินี ไพบูลย์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.