ความรู้เรื่อง "อาหารเพื่อสุขภาพ"

Page 1


รายการบรรณานุกรมสําเร็จรูป (CIP) รายการบรรณานุกรมสําเร็จรูป (CIP) ของหองสมุดคณะแพทยศาสตร มข. ธัญญลักษณ ทอนราช ความรู  เ รื่ อ งอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพ = Healthy Food / ธั ญ ญลั ก ษณ ทอนราช, วี ร ะเดช พิศประเสริฐ, สายสมร พลดงนอก.- - พิมพครั้งที่ 1. - - ขอนแกน : หนวยสรางเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร, 2558. 18 หนา : ภาพประกอบ 1. อาหารเพื่อสุขภาพ. 2. โภชนาการ. (1) ชื่อเรื่อง. (2) สายสมร พลดงนอก. (3) วีระเดช พิศประเสริฐ. (4) โรงพยาบาลศรีนครินทร. งานเวชกรรมสังคม. หนวยสรางเสริมสุขภาพ. [QU145 พ796 2558]


คํานํา อาหารเปนปจจัยจําเปนและสําคัญมากทีส่ ดุ ในการดํารงชีวติ อาหาร ทําใหรา งกายเจริญเติบโต แข็งแรง และมีภมู ติ า นโรค อาหารทีม่ ปี ระโยชน ตอสุขภาพอยางแทจริงจะตองเปนอาหารทีป่ ระกอบดวยสารอาหารครบ 5 หมู มีความสมดุลของสารอาหาร รวมทัง้ สะอาดและปลอดภัย จากสถิติ ทางระบาดวิทยาพบวาประชากรไทยมีอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเพิ่มมาก ขึ้น เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหัวใจและหลอดเลือด เปนตน ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากพฤติกรรม การบริโภคที่ไมเหมาะสม การใหความรูสรางความเขาใจเรื่องอาหาร รวมทั้งหลักการบริโภค อาหารทีถ่ กู ตอง ทัง้ ในดานคุณภาพและปริมาณ ถือเปนการสงเสริมการ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ทําใหสามารถปองกันการเกิด โรคทีเ่ กิดจากพฤติกรรมการบริโภคทีไ่ มถกู ตอง ทําใหสขุ ภาพแข็งแรงโดย ไมมีโรคแทรกซอนได คณะผูจัดทํา กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเกาและนางกาญจนศรี สิงหภู ที่ใหคําปรึกษาและคําแนะนําในการจัดทําคูมือสําหรับประชาชน ขอขอบคุณโรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน ที่สนับสนุนงบประมาณในการจัดทําคูมือฉบับนี้


สารบัญ หนา อาหารกับภาวะโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพ การรับประทานอาหารใหสมดุล การรับประทานถูกสวน“2:1:1” รับประทานอาหารตามโซนสี อาหารคลีนเพื่อสุขภาพ รับประทานอาหารแบบใสใจฉลากโภชนาการ สรุปเทคนิคการรับประทานแบบงาย ๆ สําหรับผูที่มีรูปรางสมสวน สําหรับผูที่มีรูปรางอวนลงพุง นํ้าหนักเกิน

1 2 4 7 8 12 15 16


6 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 1

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

อาหารกับภาวะโภชนาการ อาหาร คือ สิ่งที่เรารับประทาน เขาไปแลวใหประโยชนตอรางกาย ใชในการเจริญเติบโต สรางพลังงาน และการทํ า งานของร า งกาย และ ซอมแซมเนื้อเยื่อของรางกายในสวน ที่สึกหรอ ถารางกายไดรับอาหารที่ ถูกหลักโภชนาการ คือ มีสารอาหาร ครบถวน ในปริมาณเพียงพอกับความตองการของรางกาย รางกายก็ใช สารอาหารเหลานั้นในการเสริมสรางสุขภาพไดอยางมีประสิทธิภาพ แตในทางกลับกันหากรางกายไดรบั สารอาหารไมเพียงพอกับความตองการ จะสงผลใหเกิด ภาวะขาดสารอาหาร หรือหากรางกายไดรบั อาหารมากเกิน ความตองการของรางกายสงผลใหเกิด ภาวะโภชนาการเกิน เชน ไดรบั สาร อาหารทีใ่ หพลังงานมากเกินไปจะมีการสะสมไวในรางกายในสภาพไขมัน ทําใหเกิดโรคอวน ดังนั้นหากตองการมีสุขภาพที่ดีหรือมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม เราจําเปนตองมีความรูและปฏิบัติตัวใหถูกตอง ดังคํากลาวที่วา “You are what you eat”


อาหารเพ�อสุขภาพ 1. การรับประทานอาหารใหสมดุล สิ่งสําคัญอยางหนึ่งในการสรางสุขภาวะที่ดี คือ การรับประทาน อาหารทีส่ มดุล ซึง่ หมายถึงความสมดุลระหวางพลังงานจากอาหารทีเ่ รา บริโภคกับพลังงานที่เราใชไปในกิจกรรมทางกายในแตละวัน การเลือกกินตามธงโภชนาการมีความสําคัญยิง่ เพราะธงโภชนาการ จะบอกถึง ปริมาณ สัดสวน และความหลากหลายของอาหารที่คนไทย อายุ 6 ปขึ้นไป ผูใหญ และผูสูงอายุควรกินใน 1 วัน โดยนําเอา อาหาร หลัก 5 หมูมาแบงเปน 4 ชั้น 6 กลุมดังนี้

2 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 3

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

ความตองการพลังงานจะแตกตางกันไปตามอายุ เพศและกิจกรรม ทางกาย (Phyical Activity) เพราะฉะนัน้ รางกายของคุณกินเทาไหร จึงเรียกวาพอดี


2. รับประทานอาหารถูกสวน“2:1:1”

กินถูกสวน 2:1:1 คืออะไร...............

การใชแนวคิดในการกําหนดปริมาณอาหารจากแบบจําลองจาน อาหาร(food plate model)โดยแบงจานออกเปน 4 สวน ขนาดจาน ...ใชจานขนาดเล็กหรือมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 9 นิ้ว วิธีตักอาหาร... ตักอาหารใสจานสูงไดไมเกิน ½ นิ้ว ชนิดอาหาร... 1. เนน ผักครึ่งจาน 2. ผลไมหวานนอย 1 จานเล็ก เชน มะละกอ แกวมังกร สมโอ ประมาณ 6-8 ชิ้นพอดีคํา 3. ขาว-แปงตักเพียง 1 ใน 4 ของจาน เนน ธัญพืชไมขัดสี เชน ขาว กลอง เปนตน 4. เนื้อสัตว ตักเพียง 1 ใน 4 ของจาน เนนเนื้อสัตวไม ติดมัน ปลา เตาหู และถั่วตางๆ 5. อาจเพิ่มนมได 1-2 แกว/วัน แตควรเปนนมไขมันตํ่านอกจากนี้ การปรุงอาหารควรใชวิธีอบ นึ่ง ลวก ตม ตุน ยาง/ปง ยํา และพยายามลด หรือหลีกเลีย่ งการปรุงประกอบอาหารทีใ่ ชนาํ้ มันหรือกะทิ แตถา ตองใชควร ใชนํ้ามันพืชในการปรุงประกอบอาหารและไมควรเกิน 2 ชอนชา/มื้อ/คน 4 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 5

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

ตัวอยางเมนูอาหาร


6 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 7

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

3. รับประทานอาหาร ตามโซนสี

หลักการงายๆของการมีสขุ ภาพดีไดอยางยัง่ ยืน คือ การปรับเปลีย่ น พฤติกรรมการบริโภค เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานที่เหมาะสมกับ ปริมาณการใชงาน ไมควรงด หรืออดอาหารประเภทใดประเภทหนึ่ง เเตควรลดเเละจัดปริมาณการรับประทานดังตารางขางลางจะชวยใหเขาใจ วาอาหารชนิดใดควรบริโภค ชนิดใดควรลด เเละ ชนิดใดตองควบคุม


4. อาหารคลีนเพื่อสุขภาพ อาหารคลีน (Clean Food) คือ อาหารทีเ่ นนธรรมชาติ ของอาหารชนิดนั้นๆ โดย ผานกระบวนการปรุงแตง และ การแปรรูปเพียงเล็ก นอย เปนอาหารทีป่ ระกอบ ดวยสิง่ ทีม่ ปี ระโยชนตอ รางกาย ไมเสริม หรือดัดแปลงโดยกรรมวิธตี า งๆ อีกทั้งตองสดสะอาด ไมใสสารกันบูด ไมเค็มหรือหวานจัด

แลวอาหารแบบไหนที่ไมใชอาหารคลีน ?

อาหารที่ผานกระบวนการแปรรูป เชน อาหารกระปอง, อาหารกึ่ง สําเร็จรูป,อาหารแชแข็ง, อาหารฟาสตฟูด (Fast Food), จั๊งคฟูด (Junk Food) ,ขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มนํ้าอัดลม เปนตน

8 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 9

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

หลักการรับประทานคลีน 1. ทานผักผลไมมากขึ้น

ผักและผลไม ตองรับประทานใหหลาก สี หรือ ครบ 5 สี ไดแก สีเขียว สีเหลือง สี สม สีแดง สีมวงแดง และสีขาว ซึ่งเปน แหลงสําคัญของวิตามิน เชน เบตาแคโรทีน วิตามินซี และแรธาตุรวมทั้งสารอื่นๆ ที่ จําเปนตอรางกาย เชน ใยอาหาร ซึง่ ชวยใน การขับถายและนําคอเลสเตอรอล สารพิษ ที่กอมะเร็งบางชนิดออกจากรางกาย 2. ลดไขมันอิ่มตัวจากมื้ออาหาร ไขมันไมไดเลวรายไปทุกชนิด ไมจําเปนตองงดไขมัน เพียงแตตอง เลือกและงดไขมันชนิดอิ่มตัว และเพิ่มไขมันชนิดดีเขาไป ไขมันดี ไดแก นํ้ามันมะกอก นํ้ามันคาโนลา และถั่วตางๆ เนื่องจากไขมัน เหลานี้ดีสําหรับหัวใจ และชวยเพิ่ม ระดับ HDL อยางไรก็ตามการบริโภคไขมันมาก เกินไป สามารถทําใหอวนได


3. เลือกขาวกลอง โฮลแกรนและธัญพืช...... ขาวกลองนั้นเปนขาวที่ยังไมผาน การขั ด สี ส  ว นของจมู ก ข า วออกจึ ง ทํ า ให ข  า วและธั ญ พื ช เหล า นี้ มี คุ ณ ประโยชน จ ากสารอาหารมากมาย และนอกจากนีก้ ารทานขาวกลองและ ธัญพืชจะทําใหรา งกายมีกระบวนการ ดึงไปใชงานทีเ่ ปนไปอยางชาๆ สามารถทําใหควบคุมระดับนํา้ ตาลในเลือดได ดี แถมยังมีกากใยสูงชวยใหอิ่มนานอีกดวย 4. อยาลืมโปตีน หนาทีห่ ลักของโปรตีน คือ ใชสงั เคราะหเซลลใหม รักษาเซลลกลามเนือ้ ที่ ถูกใชงานไป ซึ่งนับวาเปนสารอาหารที่สําคัญในการเสริมสรางกลามเนื้อ ดังนั้นจึงจําเปนตองรับประทานอาหารประเภทโปรตีนแตตองเลือกโปรตีนที่มี ไขมันดี เชน เนือ้ ปลา หรือ โปรตีนไขมันตํา่ เชน อกไก เนือ้ หมูไมตดิ มัน เปนตน 5. ปริมาณเกลือ (โซเดียม) ก็ตองใสใจ ปริ ม าณเกลื อ ที่ ส ามารถรั บ ประทานได ต  อ วั น คื อ ต อ งไม เ กิ น 2400 มิลลิกรัม หรือประมาณเเค 1 ชอนชาตอวันเทานั้น อาหารแปรรูป สวนใหญจะมีปริมาณเกลือมากกวาอาหารที่ทําเอง หากปรุงอาหารเอง ควรใชเกลือและ ซอสปรุงรสแตนอย ปรุงดวยสมุนไพรและใหรสชาติออน ไวกอนจึงจะถือวาเปน อาหารคลีน 10 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 11

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

ควบคุมความหวาน ปริ ม าณนํ้ า ตาลที่ รั บ ประทานได ต  อ วั น สํ า หรั บ ผู  ห ญิ ง ไม เ กิ น 4 ชอนชา และผูชายไมเกิน 6 ชอนชา ซึ่งหลักการของการรับประทาน อาหารคลีนนั้น ตองลด หรืองด เครื่องดื่มที่มีรสหวาน ลูกกวาด และ ขนมอบตางๆ


5. รับประทานแบบใสใจฉลากโภชนาการ

ฉลากโภชนาการ คือ ฉลากอาหารที่มีการแสดงขอมูลโภชนาการ ซึ่งระบุชนิดและปริมาณสารอาหารของอาหาร มีอยู 2 รูปแบบ ไดแก แบบเต็ม และแบบยอ

อานฉลากโภชนาการเปนชวยได

1. ชวยเลือกอาหารที่เหมาะสมกับความตองการ เชน ตองการ ควบคุมนํา้ หนักควรเลือกผลิตภัณฑทมี่ พี ลังงานนอย หรือผูป ว ยเบาหวาน ตองควบคุมนํ้าตาล ควรเลือกผลิตภัณฑที่ไมมีนํ้าตาลหรือนํ้าตาลนอย ผูปวยความดันโลหิตสูงตองควบคุมโซเดียม ควรเลือกผลิตภัณฑที่มี 12 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 13

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

โซเดียมตํ่า ผูที่กลัวอวนหรือผูที่มีไข มันในเลือดสูงตองควบคุมไขมันตอง เลือกผลิตภัณฑทมี่ ไี ขมันตํา่ หรือไมมี ไขมัน 2. ชวยเปรียบเทียบคุณคาทาง โภชนาการของอาหารและสิ น ค า แตละชนิด เชน เปรียบเทียบวิตามิน หรือที่ใยอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย 3. ชวยดูจาํ นวนหนวยบริโภคตอซอง เพือ่ ทราบวาซองนีค้ วรแบงรับ ประทาน กี่ครั้งหรือกี่คน

ฉลากโภชนาการแบบจีดีเอ เห็นชัดเจน เขาใจงาย

ฉลากโภชนาการแบบจีดเี อ จะแสดงคาพลังงาน นํา้ ตาล ไขมัน และ โซเดียม ดานหนาบรรจุภณ ั ฑ เพือ่ ใหผบู ริโภคเห็นไดชดั เจน และอานงาย


14 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 15

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

สรุปเทคนิคการรับประทานอาหารเพ�อ สุขภาพงายๆ สําหรับผูที่มีรูปรางสมสวน

อยากรักษานํ้าหนักตัวใหคงที่ และเอวไมขยายหางไกลโรค 1.รับประทานอาหารสมดุลควบคุมสัดสวนและปริมาณสารอาหาร แตละกลุมใหพอเหมาะในแตละวัน • ผูหญิงควรรับพลังงาน 1,600 กิโลแคลอรี่ตอวัน • ผูชายควรรับพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี่ตอวัน อยางไรก็ตามในผูที่มีกิจกรรมประจําวันไมไดออกแรงมากนักควรพิจารณา รับประทานอาหารใหนอยลง 2. รับประทานอาหารเชาทุกวัน มื้อเชาเปนมื้อหลักที่สําคัญ เพื่อให พลังงานอาหารพอเหมาะกับความตองการของรางกาย ชวยใหรางกายไม หิวมากในชวงบาย และควบคุมมื้อเย็นใหกินนอยลงได 3. รับประทานอาหารพออิ่ม 4. รับประทานผักและผลไมรสไมหวาน ใหมากพอและครบ 5 สี คือ สีนํ้าเงินมวง สีเขียว สีขาว สีเหลืองสม และสีแดง เพื่อเพิ่มวิตามิน เกลือแร และสารเม็ดสีจากผักผลไมเพื่อเพิ่มระบบภูมิคุมกันโรคในรางกาย 5. รับประทานอาหารมือ้ เย็นหางจากเวลานอนไมนอ ยกวาไมนอ ยกวา 4 ชั่วโมงเพราะชวงเวลานอนหลับ ระบบประสาทจะสั่งงานใหรางกายพัก ผอน จึงเกิดการสะสมไขมันในบริเวณหนาทองมากขึ้น


6. รับประทานอาหารใหเปน หลีกเลี่ยงอาหารมันจัด หวานจัด และ เค็มจัด อาหารในรูปไขมัน นํ้ามัน เนย มาการีน นํ้าตาล แปงและเกลือ เชน เคก คุกกี้ ขนมขบเขี้ยว เปนตน

สําหรับผูที่มีรูปรางอวนลงพุง นํ้าหนักเกิน อยากลดนํ้า หนักตัวลดเอว

1. มีความตั้งใจ สรางความคิดที่ดี ตั้งเปาหมายที่จะ เปนไปไดของนํ้าหนักที่จะลด 2. อั ต ราลดนํ้ า หนั ก ที่ เ หมาะสม คื อ สั ป ดาห ล ะ ½ กิโลกรัม ถึง 1 กิโลกรัม หรือ ลดนํ้าหนัก 5-10 % ของนํ้าหนักเริ่มตน ภายใน 6 เดือน 3. ควบคุมพลังงานจากอาหารใหนอยลง แตไมควรนอยกวา • วันละ 1,200 กิโลแคลอรี่ สําหรับผูหญิง • วันละ 1,600 กิโลแคลอรี่ สําหรับผูชาย หากตองหารลดอาหารตํ่ากวานี้ควรปรึกษาแพทย 4. รับประทานอาหารทุกมื้อ ตองไมอดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่งนํ้าหนักจะ กลับขึ้นมาเร็ว เมื่อไมสามารถควบคุมอาหารไดอยางตอเนื่อง 5. ลดปริมาณอาหารทุกมื้อที่รับประทาน เชน สัปดาหแรกลดอาหารไป หนึ่งในสาม สัปดาหตอไปลดลงครึ่งหนึ่ง เปนตน

16 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 17

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

6. มีความอดทน ถารูส กึ หิวทัง้ ๆ ทีเ่ พิง่ รับประทานไป ใหเปลีย่ นอิรยิ าบถ ไปทําอยางอื่นแทนเพียง 10 นาที ก็จะหายหิวได แตถาไมหายหิวก็ใหรับ ประทานผลไมรสไมหวานคําสองคํา หรือดื่มนํ้าเปลาชวยบรรเทาความหิว 7. เคี้ยวอาหารชาๆ ใชเวลาเคี้ยวประมาณ 30 ครั้ง/คํา ศูนยควบคุม ความหิว-ความอิ่มที่สมองจะรับรูวาอิ่มแลว ใชเวลาไมนอยกวา 15 นาที ดังนัน้ อาหาร 1 จานเล็ก ในมือ้ นัน้ ควรใชเวลาในการรับประทานไมนอ ยกวา 15 นาที

“สุขภาพดี ไมมีขาย อยากไดตองทําเอง”


บรรณานุกรม กองการแพทยทางเลือก กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก. ตําราวิชาการ อาหารเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพองคการ สงเคราะหทหารผานศึก กองโภชนาการ กรมอนามัย. (2550). เมตะบอลิกซินโดรมภัยเงียบ ที่คุณคาดไมถึง. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย สํานักโภชนาการ กรมอนามัย. (2557). อิม่ อรอย ไดสขุ ภาพ สไตลเบาหวาน. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก ชนิดา ปโชติการ, ศัลยา คงสมบูรณเวช และ ดร.อภิสทิ ธ ฉัตรทนานนท. (2558) ธงโภชนาการและพีระมิดแนะแนวอาหารเพื่อสุขภาพ. คนเมื่อ 17 มกราคม 2558, http://www.health-pmk.org/004-2909.pdf. lovefitt.com. (2557). กินคลีนเพื่อสุขภาพกินอยางไรใหถูกวิธี. คนเมื่อ 19 มกราคม 2557 : http://www.lovefitt.com/tips-tricks Franz MJ, et al. (2002). Evidence-based nutrition principles and recommendations for the treatment and prevention of diabetes and related complications. Diabetes Care 25, 148-198 Wijngaart,A.W. (2002). Nutrition labelling: purpose, scientific issues and challenges. Asia Pacific Journal of Clinical Nutrition 11(2): S68–S71 18 ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร


ความรูเร�่อง อาหารเพ�่อสุขภาพ 19

หนวยสรางเสร�มสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม รพ.ศร�นคร�นทร

ประวัติผูเขียน นางสาวธัญญลักษณ ทอนราช คุณวุฒิ : วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ตําแหนง : นักวิชาการสาธารณสุข หนวยสรางเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร หมายเลขโทรศัพทติดตอ (043) 363077 ผศ.นพ.วีระเดช พิศประเสิรฐ คุณวุฒิ : แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล : วุฒิบัตรผูมีความรูความชํานาญสาขาอายุรศาสตร : หนังสืออนุมตั ผิ มู คี วามรูค วามชํานาญสาขาโภชนศาสตรคลินกิ : ปริญญาเอก (Nutrition Sciences) University of Alabama at Birmingham สหรัฐอเมริกา ตําแหนง : ผูชวยศาสตราจารย สาขาโภชนวิทยาคลินิก ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน


ประวัติผูเขียน นางสายสมร พลดงนอก คุณวุฒิ : พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผูใหญ) คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ตําแหนง : พยาบาลชํานาญการพิเศษ หนวยสรางเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร หมายเลขโทรศัพทติดตอ (043) 363077



พิมพที่ : โรงพิมพคลังนานาวิทยา 232/199 ถ.ศรีจันทร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 Tel. 0-4332-8589-91 Fax. 0-4332-8592 E-mail : klungpress@hotmail.com 83/2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.