ความรู้เรื่อง "โรคเบาหวาน"

Page 1


รายการบรรณานุกรมสำ�เร็จรูป (CIP) รายการบรรณานุกรมส�ำเร็จรูป (CIP) ของห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มข. สายสมร พลดงนอก ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน = Diabetes / สายสมร พลดงนอก, สิทธิชัย เนตรวิจิตรพันธ์, จันจิราภรณ์ วิชัย.- - พิมพ์ครั้งที่ 1. - - ขอนแก่น : หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์, 2558. 19 หน้า : ภาพประกอบ 1. เบาหวาน. (1) ชื่อเรื่อง. (2) จันจิราภรณ์ วิชัย. (3) สิทธิชัย เนตรวิจิตรพันธ์. (4) โรงพยาบาลศรีนครินทร์. งานเวชกรรมสังคม. หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ. [WK810 ส663 2558]


คำ�นำ� โรคเบาหวานเป็นโรคเรือ้ รังทีป่ อ้ งกันได้ แต่ปจั จุบนั พบว่า ประชาชน มีปัจจัยเสี่ยง ทั้งปัจจัยพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จากวิถีชีวิตที่มี การเปลี่ยนแปลง เช่น เร่งรีบกับการทำ�งาน บริโภคอาหาร โดยไม่ได้คำ�นึง ถึงคุณค่าทางโภชนาการ เคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำ�ลังกาย เครียด ทำ�ให้แนวโน้มของการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้น การให้ ค วามรู้ ส ร้ า งความเข้ า ใจเรื่ อ งโรค รวมทั้ ง การปฏิ บั ติ ตั ว ที่ถูกต้อง ถือเป็นการส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ทำ�ให้สามารถป้องกันการเกิดโรค หรือผูท้ เ่ี ป็นโรคอยูแ่ ล้วสามารถดูแลตนเอง ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ทำ�ให้สุขภาพแข็งแรงโดยไม่มีโรคแทรกซ้อน

คณะผูจ้ ดั ทำ� กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ รศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า และนางกาญจนศรี สิงห์ภู่ ที่ให้ค�ำปรึกษาและค�ำแนะน�ำในการจัดท�ำคู่มือ ขอขอบคุณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดท�ำคู่มือฉบับนี้


สารบัญ •• •• •• •• •• •• •• ••

โรคเบาหวาน คืออะไร ชนิดของโรคเบาหวาน สาเหตุของการเกิดโรคเบาหวาน อาการสำ�คัญของโรคเบาหวาน เกณฑ์การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน วิธีป้องกันโรคเบาหวาน การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคเบาหวาน

หน้า 1 2 3 4 5 7 8 10


6

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


โรคเบ�หว�น คืออะไร ? โรคเบาหวานเป็ น โรคเรื้ อ รั ง ที่ รั ก ษาไม่ ห ายขาด แต่ ก็ ส ามารถ รั ก ษาได้ เพื่ อ ป้ อ งกั น ภาวะแทรกซ้ อ นจากโรคเบาหวานไม่ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น หรือชะลอให้เกิดช้าลง ที่เรียกว่า “เบาหวาน” เพราะมีนำ้าตาล (กลูโคส) ออกมาในปัสสาวะ เนื่องจากมีนำ้าตาลในเลือดมาก จากการที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำาตาลได้ ตามปกติ เพราะมีอินซูลินไม่เพียงพอต่อความต้องการตามปกติของร่างกาย โดยอินซูลินเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อน มีหน้าที่ควบคุมระดับนำ้าตาล ในเลือดให้ปกติ เมื่อขาดอินซูลินหรือร่างกายดื้อต่ออินซูลินจะทำาให้ร่างกาย ใช้นำ้าตาลไม่ได้ตามปกติ ส่งผลให้ระดับนำ้าตาลในเลือดสูงขึ้น เมื่อมีนำ้าตาล ในเลือดสูง นำ้าตาลนี้เองจะเป็นอาหารที่ดีของเชื้อโรคต่างๆ ทำาให้ผู้ปวย เบาหวานติดเชื้อง่าย และแผลหายช้า รวมทั้งอาจทำาให้มีภาวะความดัน โลหิตสูง ซึ่งถือว่าเป็นโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ที่อาจทำาให้เกิด ความพิการ หรือเสียชีวิตได้

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

1


ชนิดของโรคเบ�หว�น โรคเบ�หว�นที่พบบอยมี 2 ชนิด คือ เบ�หว�น ชนิดที่ 1 เกิดจากเซลล์สร้างอินซูลินในตับอ่อนถูกทำาลายโดยไม่ทราบสาเหตุ ทำ า ให้ ส ร้ า งอิ น ซู ลิ น ได้ น้ อ ย หรื อ ไม่ ไ ด้ เ ลย มั ก พบในเด็ ก มากกว่ า ผู้ ใ หญ่ รูปร่างผอม

เบ�หว�น ชนิดที่ 2 ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และมีภาวะดื้ออินซูลิน พบได้มากกว่าชนิดที่ 1 มักพบในผู้ใหญ่ คนอ้วน และคนที่มีอายุมากกว่า 40 ป ขึ้นไป

2

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


ส�เหตุของก�รเกิดโรคเบ�หว�น • พันธุกรรม ผู้ปวยที่เป็นเบาหวานมักมีประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน ได้แก่ บิดา มารดา หรือพี่น้อง • คว�มอ้ ว น ร่ า งกายอ้ ว นขึ้ น ในผู้ ช าย รอบเอว มากกว่ า 90 ซม. และในผู้หญิงรอบเอว มากกว่า 80 ซม. และไม่ออกกำาลังกาย • อ�ยุที่เพิ่มม�กขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่อายุมากกว่า 40 ป • ส�เหตุอื่นๆ ได้แก - การกินยาประเภทสเตียรอยด์ - ตับอักเสบเรื้อรัง - พิษสุราเรื้อรัง - การตั้งครรภ์บ่อยหรือมีลูกมากเกินไป

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

3


อ�ก�รสำ�คัญของโรคเบ�หว�น 1. กระหายนำ้า 2. กินจุ แต่นำ้าหนักลด 3. อ่อนเพลีย 4. ถ่ายปัสสาวะจำานวนมากและบ่อยครั้ง 5. ติดเชื้อง่าย เช่น เป็นแผล ฝ ง่ายแต่หายยาก

4

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


เกณฑก�รตรวจคัดกรองโรคเบ�หว�น ให้ทำาในกรณี 1. มีอาการของโรคเบาหวาน 2. มีอายุ 40 ป หรือมากกว่า 3. มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน ได้แก่ • มีประวัติครอบครัวเป็นโรคเบาหวาน • นำ้าหนักเกิน (ดัชนีมวลกายมากกว่าหรือเท่ากับ 23 กก./ม2.)

• ความดันโลหิตสูง (มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มม.ปรอท)

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

5


• เอชดี แ อลโคเลสเตอรอลน้ อ ยกว่ า หรื อ เท่ า กั บ 35 มก./ดล. และไตรกลีเซอไรด์ มากกว่าหรือเท่ากับ 150 มก./ดล. • ประวัติคลอดบุตรนำ้าหนักเกิน 4 กิโลกรัม หรือเคยได้รับ การวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

• เส้นรอบเอวเกิน 80 เซนติเมตร ในผู้หญิง และ เกิน 90 เซนติเมตร ในผู้ชาย

6

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


โรคแทรกซอนของโรคเบ�หว�น อันตรายทีแ่ ท้จริงจากโรคเบาหวาน คือ โรคแทรกซ้อน ผูป้ ว ยเบาหวาน ส่วนใหญ่ใช้ชวี ติ ด้วยโรคแทรกซ้อน โรคแทรกซ้อนทีพ่ บได้ในผูป้ ว ยเบาหวาน แบ่งเป็น

1. โรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับหลอดเลือดขน�ดเล็ก ได้แก • โรคไตเสื่อม • โรคจอตาเสื่อม • ระบบประสาทเสื่อม

2. โรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับหลอดเลือดขน�ดใหญ ได้แก • โรคหลอดเลือดแข็ง • โรคหลอดเลือดสมอง • โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด • โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

7


วิธีปองกันโรคเบ�หว�น 1. ออกกำ�ลังก�ยเปนประจำ�

การออกกำาลังกายจะทำาให้ระดับแป้งและนำ้าตาลในกล้ามเนื้อลดลง กล้ า มเนื้ อ จะย่ อ ยสลายแป้ ง ที่ ส ะสมไว้ และดึ ง นำ้ า ตาลจากเลื อ ดเป็ น แหล่งพลังงาน ป้องกันภาวะนำ้าตาลในเลือดสูง

2. ระวังอย�ให้นำ้�หนักเกิน

มวลไขมั น ที่ ม ากเกิ น จะปล่ อ ยฮอร์ โ มนกระตุ้ น การอั ก เสบเข้ า สู่ กระแสเลือด และทำาให้ตัวรับอินซูลิน (insulin receptor) ที่ผนังเซลล์ต่างๆ ดื้อต่ออินซูลิน (อินซูลินเป็นฮอร์โมนที่ช่วยนำานำ้าตาลเข้าเซลล์ ทำาให้ระดับ นำ้าตาลในเลือดตำ่าลง)

3. ระวังอย�ให้อ้วนลงพุง

วัดเส้นรอบเอวผู้ชายไม่ควรเกิน 90 เซนติเมตร ผู้หญิงไม่ควรเกิน 80 เซนติเมตร การลดอ้วนลงพุงจำาเป็นต้องใช้วธิ อี อกกำาลัง เช่น เดินเร็ว เดินขึน้ -ลงบันได ตามโอกาส ปันจักรยาน สลับกับการออกกำาลังต้านแรง เช่น ยกนำ้าหนัก

8

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


4. ลดข้�วข�วหรือแปงขัดสี

ให้ลดแป้งขัดสี เช่น ข้าวขาว อาหารทำาจากแป้ง ฯลฯ และนำา้ ตาลลง และลดนำ้ า ตาลในรู ป เครื่ อ งดื่ ม รวมทั้ ง นำ้ า ผลไม้ ก รองกาก วิ ธี ที่ ดี คื อ เปลี่ยนข้าวขาวเป็นข้าวกล้อง และเปลี่ยนขนมปังขาวเป็นขนมปังโฮลวีท อย่างน้อยครึง่ หนึง่ , ลดปริมาณข้าว-อาหารทำาจากแป้งลง ¼ ตัง้ แต่อายุ 20 ป, เพิ่มผัก-ถั่วแทน

5. ไมดื่มแอลกอฮอลและไมสูบบุหรี่

การดืม่ แอลกอฮอล์เพิม่ ความเสีย่ งต่อโรคตับอ่อนอักเสบ (เป็นอวัยวะ ที่สร้างอินซูลิน) ทำาให้กินมากและอ้วนลงพุงง่าย

6. กินอ�ห�รให้ครบทุกหมู

ควรกินอาหารสุขภาพหนักไปทางผักถัว่ ธัญพืชไม่ขดั สี เช่น ข้าวกล้อง เมล็ดพืช ปลาทีไ่ ม่ผา่ นการทอด อย่างน้อย 80% ของอาหารทัง้ หมด เนือ่ งจาก เส้นใยหรือไฟเบอร์ ไขมันชนิดดี สารพฤกษเคมี (สารคุณค่าพืชผัก ได้แก่ ผั ก ผลไม้ ถั่ ว หลายๆ สี ) และสารต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระจะช่ ว ยลดอั น ตราย ของอาหารกลุ่มนี้

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

9


ก�รปฏิบัติตัวเม�อเปนโรคเบ�หว�น 1. ควบคุมอ�ห�ร

การควบคุมอาหารเป็นหัวใจสำาคัญของการควบคุมโรคเบาหวาน โดยการควบคุมอาหารอย่างสมำ่าเสมอจะช่วยให้ • นำ้าหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ • รักษาระดับนำ้าตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกับระดับปกติ • ป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆ • สุขภาพแข็งแรง และอายุยืน

หลักในก�รกินอ�ห�รง�ยๆ สำ�หรับผู้ปวยโรคเบ�หว�น 1. กินอาหารวันละ 3 มื้อ ไม่งดมื้อใดมื้อหนึ่ง กินในปริมาณใกล้เคียงกันทุกวันทุกมื้อ 2. กินอาหารตรงเวลา ไม่กินจุบจิบ 3. กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ 4. อาหารประเภทแป้ ง ให้ กิ น ในจำ า นวน พอเหมาะ ไม่มากหรือน้อยเกินไป 5. รับประทานเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน หลีกเลี่ยง การกินเครื่องในสัตว์ ไขมันสัตว์ นำ้ามันหมู เนย มันหมู มันไก่ เนื้อติดมัน หมูสามชั้น ครี ม กะทิ นำ้ า มั น มะพร้ า ว นำ้ า มั น ปาล์ ม ไข่แดง อาหารทอด เลือกใช้นำ้ามันพืช หรือ นำ้ามันรำาข้าวแทน 10

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


6. กินผักให้มากๆ ปริมาณไม่จาำ กัด โดยเฉพาะผักประเภทใบและถัว่ สด เช่น ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า ผักกาดขาว ผักบุ้ง ผักกระเฉด มะระ มะเขือยาว ถั่วงอก ถั่วแขก ถั่วฝักยาว ฯลฯ 7. กิ น ผลไม้ ที่ มี ร สหวานไม่ ม าก เช่ น ส้ ม พุ ท รา ฝรั่ ง ได้ ป ระมาณ มื้อละ 6 – 8 คำา 8. ห้ า มกิ น นำ้ า ตาล นำ้ า ผึ้ ง นำ้ า หวาน นำ้ า อั ด ลม ชาและกาแฟสำ า เร็ จ รู ป ขนมหวาน ขนมเชื่อม นำ้าตาล ผลไม้กระปอง ผลไม้แช่อิ่มหรือเชื่อม นำ้าตาล นมหวาน 9. ไม่รับประทานอาหารรสเค็มจัด และอาหารสำาเร็จรูป 10. ควรงดดื่มเหล้า เบียร์ ไวน์ ยาดองเหล้า เครื่องดื่มบำารุงกำาลัง

สรุป หลักในก�รเลือกรับประท�นอ�ห�ร ควรให้ถูกหลัก และปริมาณใกล้เคียงกันในแต่ละมื้อ ซึ่งอาจจำาแนก ชนิดของอาหารเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ ประเภทที่ 1. อาหารที่ ไ ม่ ค วรรั บ ประทาน ได้ แ ก่ นำ้ า ตาล นำ้ า หวาน ชาและกาแฟสำาเร็จรูป นำา้ อัดลม ขนมหวานทุกชนิด อาหารทีม่ ไี ขมันสูง และ แอลกอฮอล์ ประเภทที่ 2. รั บ ประทานได้ แ ต่ ต้ อ งจำ า กั ด ปริ ม าณ ได้ แ ก่ แป้ ง ข้ า ว กวยเตี๋ยว ผลไม้ ประเภทที่ 3. รั บ ประทานได้ โ ดยไม่ จำ า กั ด จำ า นวน ได้ แ ก่ ผั ก ใบเขี ย ว ทุกชนิด เช่น ผักกาดหอม ผักกาดขาว ผักบุง้ จีน ผักกวางตุง้ ผักตำาลึง แตงกวา ผักเขียว แตงร้าน บวบ นำ้าเต้า สายบัว เป็นต้น

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

11


2. ก�รออกกำ�ลังก�ย ทำ�ให้

• นำ้าหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ที่ควรเป็น • ร่างกายใช้นาำ้ ตาลได้เพิม่ ขึน้ ระดับนำา้ ตาลในเลือดลดลง • เลือดในร่างกายไหลเวียนดีขึ้น ความดันโลหิตดีขึ้น • ป้องกันโรคแทรกซ้อน • ความรู้สึกทั้งร่างกาย จิตใจ สดชื่นขึ้น

ก�รออกกำ�ลังก�ยที่ปลอดภัย ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. เริ่มต้นช้าๆ คือ 5 – 10 นาทีต่อวัน และค่อยๆ เพิ่มเวลา อย่าหักโหม 2. ถ้ า มี เ ครื่ อ งตรวจวั ด ระดั บ นำ้ า ตาลในเลื อ ด ให้ ต รวจนำ้ า ตาลในเลื อ ด ก่อนและหลังออกกำาลังกาย 3. หลังออกกำาลังกาย ควรดื่มนำ้าเปล่าให้เพียงพอ 4. ออกกำาลังกายอย่างน้อยครัง้ ละ 15 – 20 นาทีตอ่ สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 – 4 ครัง้ 5. ควรอุ่นเครื่องก่อนการออกกำาลังกายทุกครั้ง และหลังการออกกำาลังกาย ควรผ่อนคลายเป็นระยะเวลา 5 – 10 นาที เพื่อหลีกเลี่ยงการอักเสบ ของกล้ามเนื้อ 6. นำาของหวาน เช่น ลูกกวาดพกติดตัวไว้ด้วย เพราะขณะที่ออกกำาลังกาย อาจทำาให้นำ้าตาลตำ่ามาก 7. พกบัตรติดตัวว่าเป็นผูป้ ว ยเบาหวาน โดยระบุ ชือ่ ทีอ่ ยู่ ชือ่ ยา เบอร์โทรศัพท์ ตนเอง ญาติและแพทย์ผู้รักษา พร้อมวิธีแก้ไขเบื้องต้น เพื่อช่วยเหลือ ได้ทันท่วงที ถ้าเกิดอันตรายต่างๆ

12

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


8. เลือกถุงเท้าและรองเท้าที่สวมใส่สบายๆ เลือกรองเท้าที่เหมาะสมกับเท้าและชนิด ของการออกกำ า ลั ง กายและตรวจสอบ ว่าเท้ามีแผล พอง หรือ แดงบวม ก่อนและ หลังการออกกำาลังกายทุกครั้ง 9. ควรหลีกเลี่ยงการออกกำาลังกายในสภาพที่ร้อนและเย็น มากเกินไป 10. ควรหลี ก เลี่ ย งการออกกำ า ลั ง กาย เมื่ อ มี ร ะดั บ นำ้ า ตาลในเลื อ ด ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี

สัญญ�ณอันตร�ยขณะออกกำ�ลังก�ย

ขณะออกกำาลังกายหากมีอาการ มือสัน่ ใจสัน่ เหงือ่ ออกมากผิดปกติ หายใจหอบมากผิ ด ปกติ ตาพร่ า ปวดศี ร ษะ อ่ อ นเพลี ย แน่ น หน้ า อก เจ็บที่หน้าอก ร้าวไปที่แขนและขากรรไกร ให้หยุดออกกำาลังกายทันที

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

13


3. รับประท�นย� หรือฉีดอินซูลินต�มก�รรักษ�ของแพทย • ย�เม็ดรับประท�น จะใช้รักษาผู้ปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่การควบคุมอาหารแล้วไม่ได้ผล

• ย�ฉีดอินซูลิน เป็ น อิ น ซู ลิ น ที่ ใช้ ท ดแทน และจะ ใช้ในผู้ปวยที่ใช้ยาเม็ดแล้วไม่ได้ผล หรือกรณีที่มีนำ้าตาลในเลือดสูงมาก ก�รเก็บย�อินซูลิน - ยาอินซูลนิ ให้เก็บไว้ในตูเ้ ย็นช่องธรรมดา จะรักษาคุณภาพอินซูลนิ ให้คงตัวอยู่ได้อย่างน้อย 1 เดือน - ถ้าต้องเดินทางให้เก็บยาอินซูลินไว้ในกระติกนำ้าแข็ง อย่าเก็บยา ไว้ในรถหรือถูกแสงแดด เพราะจะทำาให้อินซูลินเสื่อมสภาพ ซึ่งปัจจุบันมี อินซูลินชนิดต่างๆที่บรรจุในหลอดคล้ายปากกา เหมาะสำาหรับการเดินทาง

14

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


ก�รบริห�รย�ฉีดอินซูลิน - ฉีดยาทุกวันตามแพทย์สั่ง และตรงเวลาทุกวัน - เลื อ กตำ า แหน่ ง ฉี ด ยาที่ เ หมาะสมได้ แ ก่ หน้ า ท้ อ ง หรื อ ต้ น แขน หรือต้นขา หรือก้น - หมุนเวียนตำาแหน่งที่ฉีดยาแนะนำาให้เปลี่ยนที่ฉีดอินซูลินบ่อยๆ เพราะการฉี ด ซำ้ า บริ เ วณที่ เ ดิ ม บ่ อ ยๆจะทำ า ให้ ผิ ว หนั ง หนา เป็นไตนูนแข็ง ทำาให้อินซูลินดูดซึมได้น้อยลง - อย่าหยุดฉีดยาเอง โดยไม่ปรึกษาแพทย์

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

15


4. ประเมินก�รควบคุมนำ้�ต�ล

• ผู้ปวยเบาหวานที่ควบคุมนำ้าตาลในเลือดได้ดี ควรตรวจนำ้าตาลในเลือด เดือนละครั้ง ระดับนำ้าตาลที่เหมาะสม คือ 80-120 มก/ดล. • การตรวจฮีโมโกลบินเอวันซี (HbA1c) การตรวจชนิดนี้สามารถบ่งบอกถึง การควบคุมเบาหวานของผูป้ ว ยในช่วง 10 – 12 สัปดาห์ ก่อนการตรวจ โดย ค่าฮีโมโกบินเอวันซี ที่เหมาะสมต้องน้อยกว่า 7

5. ดูแลรักษ�เท้� คนที่ เ ป็ น เบาหวานมี ก ารเสื่ อ มของหลอดเลื อ ดและปลายประสาท ทำาให้เกิดอาการเท้าชา หากเหยียบของมีคม หรือถูกของร้อนจะไม่รู้สึก จึ ง มี โ อกาสเกิ ด แผลได้ ง่ า ยและหายช้ า เนื่ อ งจากเลื อ ดมาเลี้ ย งได้ น้ อ ย และเกิดการติดเชื้อได้ง่าย ผู้ปวยเบาหวานจึงต้องดูแลรักษาเท้าเป็นพิเศษ

16

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


กฎในก�รดูแลรักษ�เท้� 1. ล้างเท้าอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง 2. ห้ามใช้แปรงขนแข็งขัดเท้าและเล็บ 3. หากต้องการแช่เท้าในนำ้า ไม่ควรแช่นาน และควรใช้นำ้าอุณหภูมิห้อง เพราะถ้าใช้นำ้าอุ่น อาจทำาให้แผลพุพองได้ง่าย 4. ควรเช็ดเท้าให้แห้ง โดยเฉพาะบริเวณซอกนิ้ว โรยแป้งเพื่อกันอับชื้น 5. ตัดเล็บให้สั้นเสมอปลายนิ้ว ถ้ามีอาการอักเสบ ควรปรึกษาแพทย์ทันที 6. สวมถุ ง เท้ า นุ่ ม ๆ ทุ ก ครั้ ง ที่ ใ ส่ ร องเท้ า เพื่ อ ป้ อ งกั น การเกิ ด บาดแผล และควรเปลี่ยนถุงเท้าทุกวัน 7. เลือกรองเท้าหุ้มปลายเท้าเพื่อป้องกันการกระแทก 8. เมื่อซื้อรองเท้าใหม่ในวันแรกๆ ใส่วันละ 1 – 2 ชั่วโมง เพื่อให้ชินเท้าก่อน 9. กรณีที่เกิดบาดแผล หรือมีความผิดปกติที่เท้าควรปรึกษาแพทย์ทันที​ี

สรุป โรคเบาหวานแม้จะรักษาไม่หายขาด แต่ถ้าเราเข้าใจเรื่องโรคเบาหวาน ดูแลตนเองได้ดี ปฏิบัติตัวได้เหมาะสมและถูกต้อง รวมทั้งการควบคุม อาหาร การออกกำาลังกาย การใช้ยาต่างๆ การดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง และการติ ด ตามการรั ก ษากั บ แพทย์ อ ย่ า งสมำ่ า เสมอ จะทำ า ให้ สุ ข ภาพ แข็งแรงได้โดยไม่มีโรคแทรกซ้อน

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

17


บรรณ�นุกรม กาญจนศรี สิงห์ภู่ และสุกานดา อริยานุชติ กุล. (2555). คูม อื ก�รดูแลสุขภ�พ สำ�หรับประช�ชน เรื่อง ภ�วะไขมันในเส้นเลือดสูง โรคเบ�หว�น และโรคคว�มดันโลหิตสูง. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. ทรงขวั ญ ศิ ล ารั ก ษ์ , รั ช นี โชติ ม งคล, สมจิ ต ร ชุ่ ม จั น ทร์ และดารารั ต น์ จันทา. (2552). คูมือประช�ชน เรื่อง โรคคว�มดันโลหิตสูง และโรคเบ�หว�น. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. เมวิตา วงศ์วิเชียรชัย. (2553). เบาหวาน. ใน เมวิตา วงศ์วิเชียรชัย. ชีวิตปลอดโรค. กรุงเทพฯ: รีดเดอร์ส ไดเจสท์. วัลลภ พรเรืองวงศ์. (2552). 9 วิธปี อ งกันเบ�หว�น. ค้นเมือ่ 10 พฤษภาคม 2557, http://health2u.exteen.com/ 20090511/entry-8. สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. (2554). แนวท�งปฏิบัติสำ�หรับ โรคเบ�หว�น พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ศรีเมือง การพิมพ์ จำากัด. สถาบันสุขภาพแห่งชาติ (NIH) และ ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC). (2550). 4 ขั้นตอนในก�รควบคุมโรคเบ�หว�นของคุณตลอดไป. ค้ น เมื่ อ 21 เมษายน 2557, จาก :http://ndep.nih.gov/ media/4_steps_thai.pdf. สายสมร พลดงนอก, ธนพล ต่ อ ปั ญ ญาเรื อ งและจั น จิ ร าภรณ์ วิ ชั ย . (2557). คว�มรู้ เรื่ อ งโรคเบ�หว�น (Diabetes). ขอนแก่ น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. 18

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


Alberti, K.G. & Zimmet, P.Z. (1998). Definition, diagnosis and classification of diabetes mellitus and its complications. Part 1: diagnosis and classification of diabetes mellitus. Provisional report of a WHO Consultation. Diabetic Medicine, 15, 539-53. Bowen, D.J & Beresford, S.A.A. (2002). Dietary interventions to prevent disease. Annals Review Public health, 23, 255- 86. Schulze, M.B. & HU, F.B. (2005). Primary prevention of diabetes: What can be done and how much can be prevented?. Annals Review Public health, 26, 445- 67. World Health Organization. Diabetes. Available at: http://www. who.int/mediacentre/factsheets/fs312/en/ Diabetes Mellitus. http://www.who.int/topics. Accessed June 30, 2014.

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

19


ประวัติผูเขียน นางสายสมร พลดงนอก คุณวุฒิ : พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำาแหน่ง : พยาบาลชำานาญการพิเศษ หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ (043) 363077-9 อ.นพ สิทธิชัย เนตรวิจิตรพันธ์ คุณวุฒิ : แพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิบัตรสาขาอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิบัตรอนุสาขาอายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติสซั่ม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำาแหน่ง : อายุรแพทย์โรคข้อ และรูมาติสซั่ม สาขาวิชาเวชศาสตร์ ผู้ปวยนอก ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นางสาวจันจิราภรณ์ วิชัย คุณวุฒิ : สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการระบาด) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำาแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ (043) 363077-9 20

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


คูมือเรื่อง รคเบาหวาน

21


พิมพที่ : โรงพิมพคลังนานาวิทยา 232/199 ถ.ศรีจันทร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 Tel. 0-4332-8589-91 Fax. 0-4332-8592 E-mail : klungpress@hotmail.com 83/2558

22

คูมือเรื่อง รคเบาหวาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.